สี เ ท า OLD ARTS
“I slept and dreamt that life was joy. I awoke and saw that life was duty. I acted and behold, duty was joy.� Rabindranath Tagore
OLD ARTS เ พื่ อ เ ข้ า ใ จ ปั จ จุ บั น แ ล ะ ค า ด ค ะ เ น อ น า ค ต เ ร า จ�ำ เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ อ ดี ต อั น เ ป็ น ร า ก ฐ า น ข อ ง สิ่ ง ทั ้ ง ส อ ง นั ้ น ล�ำ พั ง เ ว ล า คื อ ก ร ว ด หิ น เ มื่ อ เ จี ย ร ะ ไ น ด้ ว ย ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก็ ก ลั บ มี ค่ า ดั่ ง ม ณี
OLD ARTS ใ ห้ ถ้ อ ย ค�ำ บ น ก ร ะ ด า ษ จ า ก พี่ เ ก่ า เ ป็ น เ ส มื อ น ไ ท ม์ แ ม ช ชี น เ มื่ อ พ ลิ ก ก็ จ ะ พ า ก ลั บ ไ ป สู่ อ ดี ต ห วั ง ว่ า เ มื่ อ อ่ า น จ บ จ ะ ม อ ง เ ห็ น อ น า ค ต แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ข อ ง ปั จ จุ บั น ม า ก ก ว่ า เ ดิ ม
ส า ร บั ญ ๑ สรรค์ สร้ างบ่ว างเวค
( อัก ษรฯ ตามยุค สมัย )
พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๓-๒๕๒๒ พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๓๓-๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๓-
๒ วจี ว รรณ
( สัมภาษณ์ พี่เ ก่ า )
นิ ธิ เพชรพริ ง้ นราวัลลภ์ วรรณพร นวพล ภิ ญ ญุด า
เอี ย วศรี ว งศ์ สารสิน ปฐมวัฒ น โปษยานนท์ ธ� ำ รงรั ตนฤทธิ์ ตัน เจริ ญ
“ เ พื่ อ เ ผ ย เ กี ย ร ติ ค ณ ะ ฟุ้ ง จ รุ ง ณ ค ค น า น ต์ จั ก ก อ บ ม นู ญ ก า ร อเนก ฯ ใ ด เ ชิ ด ชื่ อ ก็ จะ พ รั ก ส มั ค ร ฤ ท ย ะ เ ส ก ส ร ร ค์ ส ร้ า ง บ่ ว า ง เ ว ค วิ ว ร ณ์ ฯ ”
สรรค์สร้ างบ่วางเวค [สัน-ซ่าง-บ่อ-วาง-เวก] ก. สร้ างขึ ้นอย่างไม่รีรอ สร้ างขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ก็วา่ (ป., ส.)
1 9 6 0 s พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๑๒
คณบดีสมัยนัน้ คือ ศาสตราจารย์รอง ศยามานนท์ (๒๔๙๒-๒๕๑๔) / ๒๕ มกราคม ในหลวงทรงน�ำต้ น จามจุรี ๕ ต้ นมาปลูกหน้ าหอประชุมจุฬาฯ / สมเด็จ พระราชาธิ บ ดี ป อลจากประเทศกรี ซ เสด็ จ เยื อ น คณะอักษรฯ เพื่อรับถวายปริ ญญาอักษรศาสตรดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ / เริ่ มมีภาควิชาปรัชญาและ ศิลปการละคร / เริ่ มใช้ ระบบนับหน่วยกิต / รุ่น ๒๙ มี นิสติ ชายมากที่สดุ ตัง้ ๒๐ คน / อักษรฯ ตีกบั วิศวฯ ใน งานรับน้ องใหม่เรื่ องศักดิ์ศรี ความเป็ นชาย / เป็ น “ยุคทอง” ของคณะ เพราะผู้หญิงฮิตใส่เครื่ องประดับ ที่ท�ำจากทองมาเรี ยน / เป็ นยุคแรก ๆ ที่ฉีดน� ้ำหอมมา เรี ยน จนกลิน่ ฟุ้งไปทัว่ คณะ / ผู้ชายท�ำผมทรง Elvis
๑
1 9 7 0 s พ.ศ. ๒๕๑๓-๒๕๒๒
ผู้หญิงใส่มินิสเกิร์ตตังแต่ ้ ปี ๑ และสันขึ ้ ้น เรื่ อย ๆ ตามชันปี ้ ผู้ชายใส่ขาม้ ากับขาเดฟ / ฮิตเครื่ องส�ำอาง Mary Quant แต่งตา ๓ สี เขียวก่อนแล้ วน� ้ำตาล ต่อด้ วยทอง / ทรงผม มอสแบบสันมาก ้ ๆ ตาม Twiggy กับทรง Olivia Newton - John / ผมผู้ชายเกรี ยน แบบรองทรง / ห้ องเชียร์ คณะอักษรฯ ไม่มี ระบบว้ าก แค่ทกั กันปกติไม่ถงึ กับต้ องไหว้ กัน / ๑๔ ตุลาฯ แสดงความเห็นกันเปิ ดเผย ไม่เข้ าเรี ยน ไม่เข้ าสอบ ไม่ท�ำตามระเบียบ / ฟุตบอลประเพณีฯ โดนงดไป ๓ ปี / ฝรั่งดอง นายเทียมมี่ ลูกชิ ้นปิ ง้ และถัว่ อาบังดังมาก
๒
1 9 8 0 s พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๓๒
มี “บ๊ วยเค็ม มะม่วงเค็ม สาคูไส้ หมู ขนมกล้ วย ข้ าวตังเมี่ยงลาว ขนมตาล ขนมใส่ไส้ ” มาตังขาย ้ / “ค่าย พัฒนา” ของอักษรฯ ต้ องเป็ น “ค่ายสอนหนังสือ” / ไม่มีใครไม่ร้ ูจกั คุณประดิษฐ์ ฝ่ายทะเบียน / หน้ าฝนน� ้ำ ท่วมตลอด ต้ องลุยน� ้ำไปเรี ยน / โรงอาหารคณะเล็กและอับ แต่คนเยอะที่สดุ ในจุฬาฯ / บางครัง้ อาจารย์ก็ สอนตอนเที่ยงไปเลย เพราะถึงไม่มีเรี ยนก็ไม่มีที่นงั่ / ปี ๑ ห้ ามร้ องจามจุรีศรี จฬุ าฯ ไม่งนจะถู ั ้ กรี ไทร์ / ปี ๒๕๒๓ หอสมุดย้ ายจากตึก ๒ ไปอาคารมหาธีรราชานุสรณ์ / ปี ๒๕๒๙ สร้ างโรงอาหารใหม่ใหญ่กว่าเดิม แต่คนแน่นเหมือนเดิม / ส่วนใหญ่เดินสยามกัน ใช้ กระเป๋ าเล็ก ๆ และถือหนังสือเอา / นิยมผมม้ าและ รองเท้ าส้ นเตี ้ย
๓
1 9 9 0 s พ.ศ. ๒๕๓๓-๒๕๔๒
ฮิตเพจเจอร์ ยี่ห้อแพคลิงค์มาก จนเรี ยกเพจเจอร์ วา่ แพคลิงค์แทน / เริ่ มนิยมขับรถมาเรี ยน บางคนมา จองที่จอดตังแต่ ้ ตี ๔ / ช่วงหนึง่ ฮิตถือ Louis Vuitton ลาย Epi Leather (หลุยส์ลายไม้ ) ถึงขนาดมี ร้ านเช่าที่สยาม / ซุบซิบกันว่า ใครใช้ ของจริ ง ของปลอม / พระเทพฯ ทรงเปิ ดตึกบรมฯ และทรงปลูกต้ น เสลาหน้ าตึกวันที่ ๒๖ มีนาคม / เปลี่ยนหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิตจาก พ.ศ. ๒๕๒๗ มาเป็ นของ พ.ศ. ๒๕๓๘ / ช่วงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬนึกว่าจะได้ เปิ ดเทอมช้ า แต่ก็ไม่ / ปี ๒๕๔๐ เกิดวิกฤตการณ์ ต้ มย�ำกุ้ง นิสติ อักษรฯ แห่มาเรี ยนภาคปรัชญา เพราะรู้สกึ ว่า เงินและวัตถุภายนอกไม่ใช่ปัจจัยหลัก แต่เป็ นตัวตนข้ างในของตนเองต่างหากที่ส�ำคัญ / ทุบตึก ๓ สร้ างตึกบรมฯ
๔
ปั จ จุ บั น
พ.ศ. ๒๕๔๓-
รุ่น ๖๙ นิยมใส่เสื ้อตัวใหญ่ รองเท้ าส้ นตึก ถือกระเป๋ า Harrods / ของ ติดกระเป๋ าคือ Talking Dict / รุ่น ๗๐ มีโครงการเสียงตามสาย เปิ ด เพลงดังไปถึงคณะวิศวฯ และศิลปกรรมฯ / ลุงขายกับข้ าวร้ าน ๖ หาย ไป มีคนลือกันว่า ลุงไปเป็ นโรบินฮู้ดที่อเมริ กา / ไฟไหม้ ร้านอาหารร้ าน ๗ / ร้ าน Art Hair เพิ่งเปิ ด ลดราคา ยืดผมถูกมาก ท�ำให้ ผ้ หู ญิงคณะ อักษรฯ นิยมไปยืดผมกันทังคณะ ้ / รุ่น ๗๓ เป็ นรุ่นก่อตัง้ “สูตรหนึง่ ” หลังกลับจาก Artsmen Trip แล้ วยังไม่มีอะไรไปเชียร์ โต้ กบั สถาปั ตฯ จึงคิดสูตรหนึง่ ขึ ้นมา สูตรหนึง่ รุ่นแรกมี ๗ คน / รุ่น ๗๗ ก�ำลังสร้ าง อาคารมหาจักรฯ แทนตึก ๔ / นิสติ นิยมไปนัง่ ที่ม้านัง่ หน้ าบรมฯ / ยังใช้ โรงอาหารอักษรฯ เก่า คนเยอะมาก ต้ องต่อสู้ทงกั ั ้ บทังคนและนกพิ ้ ราบ / จนมารุ่น ๗๘ ยังใช้ โรงอาหารอักษรฯ เก่าอยู่ / เลื่อนเปิ ดเทอม ๒ อาทิตย์ รับน้ องไม่มีค้างคืน เพราะ Central World ถูกเผา / อักษรฯ แชมป์ฟุตซอลอินเตอร์ เกมส์ / ใส่กระโปรงเอวต�่ำมาก ทังพลี ้ ทและสอบ / ของติดกระเป๋ า คือ BB (Blackberry) / รุ่น ๘๑ ขุดท่อทัง้ มหาวิทยาลัย / ยกเลิกห้ องเชียร์ / เปลี่ยนปิ ดเทอมตามแบบอาเซียน / นิยมใช้ กระเป๋ าผ้ า / ๕ มกราฯ ๒๕๕๘ Reg จุฬาฯ เปลี่ยนระบบ ล่มทัง้ มหาวิทยาลัย / ของติดกระเป๋ าคือ Power Bank
๕
เน
“ ผ อ ง พี่ ผิ ว์ มี วั จ น ะ เ ตื อ น ก็ จ ะ เ อื้ อ น ว จี ว ร ร ณ โ ด ย ค�ำ แ ล ะ จ ะ ท�ำ บ่ มิ ดั น ม น ะ ดื้ อ แ ล ะ ถื อ ดี ฯ ”
วจีวรรณ [วะ-จี-วัน] น. ถ้ อยค�ำอันมีคา่ (ป., ส.)
นิ ธิ เ อี ย ว ศ รี ว ง ศ์
ศาสตราจารย์ดา้ นประวัติศาสตร์ รับหน้าทีเ่ ป็ นคณะกรรมการปฏิ รูปประเทศเมื อ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รบั รางวัลมากมาย เช่น รางวัลนักวิ จยั ดีเด่นจากสภาวิ จยั แห่งชาติ รางวัลฟูกูโอกะ และรางวัลศรี บูรพา ปั จจุบนั เขี ยนบทความด้านประวัติศาสตร์ และการเมื องลงหนังสือพิ มพ์มติ ชน
ท�ำไมเลือกเรี ยนอักษรฯ
ส�ำคัญ ซึง่ ผมไม่ร้ ูวา่ จุฬาฯ ยังจะสามารถรักษามันไว้ ได้ แค่ไหน
จริ ง ๆ คือ misinformation (ข้ อมูลผิด) ผมอยากเรี ยน ประวัตศิ าสตร์ ผมควรไปเรี ยนคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร แต่เนื่องจากผมมาจากต่างจังหวัดและไม่มีข้อมูลเพียงพอ แล้ วก็มีคนมา บอกผมว่า ทางศิลปากรจะไม่รับคนที่สอบเทียบ ซึง่ ในสมัยก่อนจะมีคน ที่สอบเทียบชัน้ ม. ๗ ม. ๘ หรื อมัธยมปลายในปั จจุบนั เนี่ยนะฮะ ผมเป็ น คนสอบเทียบ เขาจะไม่รับหรอก ผมก็เลยต้ องไปเรี ยนคณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เพราะนึกว่าเข้ าศิลปากรไม่ได้
กิ จกรรมของมหาวิ ทยาลัยมี บา้ งไหม ยกตัวอย่าง เช่น กิ จกรรมรับน้อง แน่นอน ตังแต่ ้ ก่อตังมหาวิ ้ ทยาลัยแล้ ว ก็มีเตะฟุตบอล ประเพณีกบั ธรรมศาสตร์ มีเล่นกีฬาต่าง ๆ นานา สมัยผมพวกกิจกรรม ที่เป็ นชมรมอะไรที่มนั ไม่เกี่ยวกับกีฬาโดยตรงยังมีอยูค่ อ่ นข้ างน้ อย สิง่ ที่ ผมท�ำส่วนหนึง่ คือร่วมกันตังชมรมวรรณศิ ้ ลป์ขึ ้นในคณะ สิ่ งทีไ่ ด้เรี ยนจากคณะมี ผลต่อแนวคิ ดของอาจารย์มากแค่ไหน
บรรยากาศสมัยนัน้ เช่น เครื ่องแต่งกาย
คงต้ องมีบ้างแหละ มนุษย์ ธรรมดา คุณผ่านประสบการณ์ อะไรก็แล้ วแต่ แล้ วบอกว่ามันหายไปเป็ นไปไม่ได้ หรอก มันก็คงต้ องมีมา ถึงบ้ าง แต่ผมก็ไม่เคยมานัง่ แยกแยะว่า อันนี ้เอามาจากจุฬาฯ หรื อเปล่า ก็ไม่ร้ ูเหมือนกัน แต่จะบอกว่าไม่มีเลยมันเป็ นไปไม่ได้ หรอก
สมัยผมก็มีเครื่ องแบบของนิสติ ชาย คือ กางเกงสีนี ้สีนนั ้ เสื ้อสีนนสี ั ้ นี ้ แต่ไม่ได้ บงั คับว่าต้ องเป็ นสีไหน แล้ วที่ส�ำคัญส�ำหรับผู้ชาย คือ คุณต้ องคาดเข็มขัดของมหาวิทยาลัย สมัยนันท่ ้ านอธิการบดีก็เดิน ตรวจ บางทีไปเจอนิสติ ตามทางเดิน ท่านก็จะดูวา่ นิสติ ใช้ เข็มขัดถูก ระเบียบหรื อเปล่า คนที่ไม่ได้ ใช้ เข็มขัดของมหาวิทยาลัยท่านก็บอกให้ ไปใช้ เสีย ซึง่ อาจจะฟั งดูเชย ๆ แต่ในแง่หนึง่ นัน้ จุฬาฯ ในสมัยที่ผมเรี ยน อย่างน้ อยที่สดุ คนที่เป็ นผู้บริ หารก็ตาม หรื อเป็ นอาจารย์ผ้ สู อนก็ตาม เขา ยังมีความเป็ นครูอยู่ ซึง่ ครูแบบนันคุ ้ ณอาจจะไม่ชอบ แต่อย่างน้ อยก็มี จิตใจของความเป็ นครูไง ไม่ใช่คนที่เป็ นเทวดาลอยไปลอยมาเฉย ๆ เขา รู้สกึ ว่า พันธะหรื อภาระของเขาอยูก่ บั เด็ก มี spirit (จิตวิญญาณ) อันนี ้
ปั จจัยทีท่ �ำให้อาจารย์เลือกเป็ นนักวิ ชาการ นักประวัติศาสตร์ เพราะผมชอบประวัตศิ าสตร์ และอาชีพนักวิชาการเป็ น อย่างเดียวที่ท�ำให้ คณ ุ สามารถเรี ยนรู้เพิ่มเติมไปได้ เรื่ อย ๆ เรี ยนรู้ในที่นี ้ ไม่ใช่การเรี ยนต่อ แต่คือการศึกษาสิง่ ที่สนใจไปได้ เรื่ อย ๆ
๑๐
สมัยเรี ยนมี หลักสูตรหรื อวิ ชาเรี ยนอะไรทีเ่ ห็นว่าดี หรื อเห็นว่าควรเพิ่ ม
เรี ยนประวัติศาสตร์ ไปท�ำไมในเมื อ่ น�ำมาใช้แก้ปัญหาไม่ได้
สรุปอย่างนี ้ละกัน ผมก็ไม่ได้ อยากวิพากษ์ วิจารณ์โรงเรี ยน เก่าผมจนเกินไป เด็กที่เข้ าคณะอักษรศาสตร์ ได้ รุ่นผม รุ่นก่อนผม หรื อ หลังผม อะไรก็แล้ วแต่ พูดได้ วา่ เป็ นครี ม* ของสายศิลป์ทัว่ ประเทศ เหตุ ดังนันผมเชื ้ ่อว่า ถ้ าคุณได้ ครี มมาขนาดนันแล้ ้ ว ถ้ าวิธีสอนของคุณนัน้ ท�ำให้ เด็กกระตือรื อร้ น อยากรู้อยากเห็น ผมว่า คนรุ่นเดียวกับผมจะ รุ่งโรจน์ทงนั ั ้ นเลย ้ มันจะไปไกลกว่าที่มนั เป็ นทุกวันนี ้ ซึง่ ค�ำว่า ไปไกล ใน ที่นี ้ ผมไม่ได้ หมายความว่า ไปเป็ นรัฐมนตรี หรื อคณบดีอะไรพวกนันนะ ้ ผมหมายถึงไปไกลในเรื่ องวิชาความรู้ แต่ทีนี ้การเรี ยนการสอนของคณะ อักษรศาสตร์ นนยั ั ้ งเป็ นคติแบบเก่า ความรู้เป็ นความจริ งอันเดียว เป็ น ความจริ งสูงสุด เอาว่า คุณให้ เด็กหรื อผู้เรี ยนรู้ความจริ งสูงสุดอันเดียว ให้ แม่น จบ เพราะมันไม่มีความจริ งอื่นให้ ต้องรู้ เหตุดงั นันเขาจึ ้ งไปอย่าง ช้ า ๆ เพื่อให้ มนั่ ใจว่า เด็กจะได้ ความรู้ความจริ งสูงสุดอันเดียว แต่ในการ แสวงหาวิชาความรู้ในโลกปั จจุบนั นี ้ ไม่มีใครเชื่อเรื่ องความจริ งสูงสุดอีก แล้ ว ความจริ งมันมองได้ หลายแง่หลายมุม และเราต้ องท�ำให้ เด็กเก่งใน ความหมายว่า คุณสามารถมองความจริ งจากหลาย ๆ แง่ได้ สิง่ นี ้ไม่มีใน ความคิดของอักษรศาสตร์ ในสมัยที่ผมเรี ยน ดังนันจะเรี ้ ยนอะไรมันก็ช้ามาก ๆ เป็ นต้ นว่า ผมเพิ่งมา เรี ยนภาษาบาลีครัง้ แรกเมื่อเข้ ามาที่คณะอักษรศาสตร์ แล้ วน่าเบื่อชิบ เป๋ งเลย มันช้ ามาก การเรี ยนภาษาต่างประเทศนัน้ สิง่ ส�ำคัญ คือ คุณจะ รู้สกึ ถูกท้ าทายบางอย่างเพื่อให้ มีอ�ำนาจในการ command (ควบคุม) มันได้ ในระยะเวลาเพียง ๓ เดือน คุณจะเริ่ มเดาค�ำขวัญภาษาบาลีออก เช่น “ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา” เนี่ย คุณพอจะเดาออกแล้ วว่า มันแปลว่า อย่างนี ้เพราะอะไร อย่างนี ้เป็ นต้ น มันก็เริ่ มสนุก แต่มนั ช้ าจนกระทัง่ น่า เบื่อมาก จนผมมาเจอภาษาบาลีที่มีอาจารย์ทา่ นหนึง่ สอน และสอน แบบที่ผมต้ องการ คือ สอนแบบท้ าทายให้ เราเข้ าไปเล่นกับตัวภาษา บาลี แต่ทา่ นก็สอนผมอยูแ่ ค่เทอมเดียวเท่านันเอง ้ พอเจอกับท่านนัน้ แล้ วผมก็ต้องมาเรี ยนกับอาจารย์ทา่ นอื่น ๆ อีก ซึง่ สอนแบบพระ คือช้ า จนน่าเบื่อมาก ๆ ก็เลยท�ำให้ ภาษาบาลีที่คอ่ นข้ างจะดีในปี ที่สองเนี่ย กลายเป็ นสิง่ ที่นา่ เบื่อหน่าย แล้ วก็ไม่ได้ สนใจกับมันอีก ทุกวิชามันจะ เป็ นลักษณะนี ้หมด มันช้ าเกินไป เด็กต้ องได้ อะไรที่ท้าทายกว่านัน้
ผมคิดว่า การศึกษาของเราคือเราเรี ยน content (ตัว เนื ้อหา) มาก มากจนกระทัง่ เราไม่คอ่ ยสนใจว่า กระบวนการที่ท�ำให้ เกิด เนื ้อหาเหล่านันคื ้ ออะไร สรุปให้ เหลือสัน้ ๆ คือ คุณไม่ได้ เรี ยนวิธีคดิ คุณ เรี ยนแต่เนื ้อหา เพราะฉะนันเวลาพู ้ ดถึงคุณค่าของประวัตศิ าสตร์ ตอ่ ชีวิตเนี่ย มันคืออะไร ประวัตศิ าสตร์ เป็ นหนึง่ ในน้ อยวิชามากในโลกที่ให้ ความส�ำคัญต่อการมองหาปั จจัยของสิง่ ที่เกิดขึ ้นอย่างรอบด้ าน คุณไม่ สามารถบอกได้ วา่ ที่กรุงแตกเพราะพระเจ้ าแผ่นดินคนนี ้แม่งเอาแต่ดู ละคร ไม่ท�ำอะไรเลย ซึง่ ไม่ได้ บอกว่าถูกหรื อผิด ตรงนันก็ ้ อาจจะมีสว่ น แต่วา่ การอธิบายปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึง่ คุณต้ องมองให้ รอบ ด้ านว่า ปั จจัยที่ท�ำให้ เกิดปรากฏการณ์นนคื ั ้ ออะไร ซึง่ อันนี ้มีประโยชน์ใน ชีวิตอย่างยิ่งเพราะถ้ าคุณสังเกตให้ ดีคณ ุ จะพบว่า ระบบการศึกษาของ ไทยที่ไม่สนใจตัวกระบวนการการคิดนี่แหละ ที่ท�ำให้ เราชอบซัดหรื อ ชอบยกเหตุปัจจัยให้ แก่เหตุปัจจัยเดียวหรื อน้ อยอย่างมาก ๆ จนกระทัง่ มันไม่เป็ นความเป็ นจริ งในชีวิต ซึง่ ค�ำถามของคุณเป็ นค�ำถามที่พดู อย่าง ตรงไปตรงมา เป็ นต้ นว่า ท�ำไมถึงมาเรี ยนคณะอักษรศาสตร์ แล้ วคุณ หวังว่า ผมจะตอบคุณได้ ในสามประโยคเนี่ย มันเป็ นค�ำถามที่โง่นะ แต่นี่ เป็ นหัวใจของการด�ำเนินชีวิตนะ ในทัศนะของผม ไม่ใช่ชีวิตของคนอย่าง เดียว แต่คือชีวิตของสังคมด้ วย ถ้ าเราไม่สามารถท�ำให้ คนมองความซับซ้ อนของสิง่ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นกับเรา กับสังคมเรา กับประเทศ หรื อกับโลกของเราก็แล้ วแต่ เราจะแก้ ปัญหาแบบที่มนั ไม่ใช่การแก้ ปัญหาจริ ง ๆ มันจะท�ำให้ ปัญหา ทับถมมากขึ ้น ท�ำไมมันถึงทะเลาะกันมากนัก ท�ำไมถึงเดินขบวนปะทะ กันทุกวัน อย่างนี ้ ถามว่า การเดินขบวนปะทะกันมันดีไหม มันไม่ดีหรอก แต่มนั มาจากเหตุอะไรล่ะ ผมว่า มันต้ องคิดให้ รอบคอบ ให้ มนั มากที เดียว ถึงจะพบปั จจัยต่าง ๆ ที่มีอยูเ่ ยอะมาก และการแก้ ปัญหาด้ วยการ ยึดอ�ำนาจอย่างเดียวเนี่ย มันไม่ได้ แก้ ปัญหา มันเป็ นการตัดปั ญหา มัน ไม่ได้ แก้ ปัญหาอะไรเลย และทังหมดเหล่ ้ านี ้ผมคิดว่า มันมาจากระบบ การศึกษาที่เราสอนอะไรง่ายจนเกินกว่าความเป็ นจริ งของโลก ถ้ าถาม ว่า ประวัตศิ าสตร์ มีประโยชน์ไหม มีแน่นอน ไม่ใช่ตวั เนื ้อหานะ แต่วิธีคดิ ว่า ท�ำไมกรุงฯ แตก ท�ำไมมันต้ องมีการปรับเปลี่ยนระบบการปกครอง อันนี ้ต่างหากที่มีความส�ำคัญกว่า ไม่ใช่ตวั เนื ้อหา ครี ม แปลว่า นักเรี ยนทีเ่ รี ยนเก่งเป็ นพิ เศษ
๑๑
“มองโลก มองมนุษย์จากจุดยืนหลาย ๆ จุด ไม่ใช่จดุ ยืนของคุณคนเดียว ไม่ใช่จดุ ยืนของพระเอกคนเดียว แต่จากจุดยืนผู้ร้ายด้ วย” อาจารย์มองว่า การศึกษาทีด่ ีควรจะสร้างวิ ธีคิดมากกว่าให้ท่องจ� ำ
แสดงว่า เราเรี ยนอักษรฯ เพือ่ เข้าใจมนุษย์
ไม่ใช่การสร้ างวิธีคดิ การสอนต้ องสอนเพื่อให้ ได้ วิธีคดิ ไม่ใช่ได้ เนื ้อหา อย่างวรรณคดีก็เหมือนกัน มันท�ำให้ คณ ุ ได้ วิธีคดิ ไม่ใช่ คุณเรี ยนวรรณคดีเรื่ องขุนช้ างขุนแผนเพื่อจะบอกว่า นางวันทองมันเลว หรื อว่าขุนช้ างมันเลว ไม่ใช่ มันคือการท�ำให้ คณ ุ เข้ าไปยืนอยูจ่ ดุ เดียวกับ ขุนช้ างได้ แล้ วมองโลกจากจุดของขุนช้ าง มองโลกจากจุดของวันทอง แล้ วคุณจะเข้ าใจว่า คนมันขึ ้นอยูก่ บั เงื่อนไขที่แวดล้ อมตัวมันด้ วย ไม่ใช่ ว่ามีความรู้หรื อไม่ร้ ูศีลธรรมเพียงอย่างเดียว แล้ วคุณคิดว่า คุณจะเป็ น คนที่สมบูรณ์ขึ ้นไหม ถ้ าคุณสามารถมองโลก มองมนุษย์ จากจุดยืน หลาย ๆ จุด ไม่ใช่จดุ ยืนของคุณคนเดียว ไม่ใช่จดุ ยืนของพระเอกคน เดียว แต่จากจุดยืนผู้ร้ายด้ วย ถ้ าคุณสอนวรรณคดีแล้ วไปไม่ถงึ จุดนี ้ ก็ ไม่ร้ ูจะเรี ยนไปท�ำไม อะไร ๆ เดี๋ยวก็ลืมทังนั ้ นแหละ ้ ตัวเนื ้อหาน่ะ
ไม่ใช่เพื่อเข้ าใจมนุษย์อย่างเดียว คุณจะเอาไปท�ำเงินก็ได้ ถามว่า เวลาบริ ษัท CP คิดจะท�ำอาหารแช่เย็นขาย คุณว่า เขาต้ อง เข้ าใจไหมว่า มันจะให้ ความรู้สกึ ต่อผู้บริ โภคอย่างไร ผมว่า เขาคงต้ อง คิดมากเลยทีเดียว เป็ นต้ นว่า เขาจะไม่ท�ำอาหารอินเดียแช่เย็นขายใน ประเทศไทย ก็แสดงว่า การที่คณ ุ จะหาเงินคุณต้ องเข้ าใจความรู้สกึ ของ คน มนุษย์เราด�ำเนินชีวิตด้ วยความรู้สกึ ด้ วย ไม่ใช่เพียงแต่ข้อมูลในเชิง ประจักษ์ * จากวิทยาศาสตร์ อย่างเดียว หน้าทีข่ องนิ สิตนักศึกษาในการเมื องทีก่ �ำลังยุ่งเหยิ งอยู่ขณะนี ้ ผมคิดว่า ไม่ใช่เฉพาะแต่เพียงนิสติ นักศึกษานะ ผมคิดว่า สถาบันหรื อมหาวิทยาลัยทังหมด ้ หน้ าที่ส�ำคัญของคุณไม่วา่ จะเป็ นตอน นี ้หรื อตอนไหนก็ตาม คือ การสร้ างความรู้ที่มีเหตุผล มีหลักฐานรองรับ สามารถโต้ เถียงได้ ซึง่ เป็ นหัวใจส�ำคัญของสถาบันอุดมศึกษาทังหลาย ้ รวมทังนิ ้ สติ นักศึกษาด้ วย ไม่ใช่วา่ เราเป็ นนักศึกษา เรารักชาติ แต่คณ ุ ต้ องเข้ าใจว่า สภาวการณ์ที่เกิดขึ ้นในประเทศไทย ไม่วา่ ทางเศรษฐกิจ สังคม หรื อการเมืองในช่วงนันก็ ้ ตาม อะไรคือปั จจัยที่ท�ำให้ คนออกไป เป่ านกหวีด ผมคิดว่า ต้ องมีค�ำอธิบายในเรื่ องเหล่านี ้ด้ วย เป็ นค�ำอธิบาย เชิงวิชาการ ซึง่ มันไม่มี และในทางตรงกันข้ าม ท�ำไมคนอีกจ�ำนวนหนึง่ ถึงได้ สวมชุดแดงออกมานัง่ กันอยูก่ ลางถนน อะไรอย่างนี ้เป็ นต้ น ซึง่ มัน ต้ องการค�ำอธิบาย แน่นอนว่าไม่จ�ำเป็ นต้ องเป็ นค�ำอธิบายที่ถกู ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์ แต่เป็ นค�ำอธิบายที่ถกเถียงได้ และผมคิดว่า สถาบันการ ศึกษาของไทยเป็ นสถาบันที่ล้มเหลวในเรื่ องนี ้ คือล้ มเหลวในการสร้ าง ความรู้ให้ สงั คม แต่กลับไปท�ำอะไรก็ไม่ร้ ูที่มนั ไม่ใช่หน้ าที่ของตัวเอง
การเรี ยนอักษรศาสตร์ ยงั จ� ำเป็ นไหม อย่างที่ผมบอกไปว่า ถ้ าคุณเรี ยนถึงวิธีคดิ เนี่ย ส�ำคัญแน่ ๆ เอาเข้ าจริ ง วิทยาศาสตร์ ก็มีสตู รของมันในการก�ำกับความคิด ก�ำกับ พฤติกรรมของมัน เราไม่ปฏิเสธ แล้ วในขณะเดียวกัน ความรู้สกึ ล่ะ อารมณ์ละ่ คุณคิดว่า พฤติกรรมของคนในโลกทุกวันนี ้ถูกก�ำกับด้ วยสิง่ เหล่านี ้บ้ างไหม มนุษยศาสตร์ สอนให้ คณ ุ เข้ าใจว่า การที่คณ ุ จะไปบรรลุ สิง่ ที่คณ ุ เรี ยกว่าเป็ นความจริ งนัน้ ไม่วา่ มันจะจริ งหรื อไม่ แต่สงิ่ ที่คณ ุ คิด ว่าเป็ นความจริ งนัน้ นอกจากวิถีทางวิทยาศาสตร์ หรื อทางสังคมศาสตร์ แล้ ว มันยังมีอีกวิธีหนึง่ ซึง่ คุณต้ องใช้ อารมณ์ความรู้สกึ เป็ นเครื่ องมือ เข้ าหา เวลาที่แฟนคุณบอกว่า รักคุณ คุณเข้ าใจมันในเชิงวิทยาศาสตร์ หรื อเปล่า ไม่ใช่ คุณใช้ อารมณ์ความรู้สกึ เข้ าใจ แล้ วคุณก็จะมีปฏิกิริยา ตอบสนองเธอ ไม่ใช่จากความเป็ นจริ งทางวิทยาศาสตร์ แต่จากอารมณ์ ความรู้สกึ ของคุณเองต่างหากที่จะเป็ นตัวก�ำกับพฤติกรรมของคุณที่จะมี ต่อเธอ เพราะฉะนันส่ ้ วนนี ้จึงเป็ นส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งของการมีชีวิตอยู่ บนโลกใบนี ้ แล้ วคุณบอกว่า ไม่เห็นมีประโยชน์อะไรเลย ไม่ท�ำให้ เกิด ความเข้ าใจอะไร และไม่ท�ำให้ เกิดเงิน และบอกว่า ความรู้คือตัวท�ำให้ เกิดเงิน ในโลกปั จจุบนั นี ้ที่คดิ ว่า ความรู้เท่านันที ้ ่ท�ำให้ เกิดเงิน ซึง่ ผม คิดว่า มันไม่ใช่
หลังเกษี ยณนอกจากเขี ยนคอลัมน์ รับงานสัมมนา อาจารย์ท�ำอะไรอีก
อายุขนาดผมแค่หายใจก็เหนื่อยแล้ ว -
ข้อมูลเชิ งประจักษ์ แปลว่า ข้อมูลทีเ่ ก็บจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ไม่ใช่จากการครุ่นคิ ดไตร่ ตรอง
๑๒
เ พ ช ร พ ริ ้ ง ส า ร สิ น
ผูอ้ �ำนวยการใหญ่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ องค์กร และผูจ้ ดั การกองพัฒนาการเรี ยนรู้ภายในองค์กรฝ่ ายพัฒนาและบริ การฝึ กอบรม บริ ษัท การบิ นไทย จ� ำกัด (มหาชน) เป็ นทีร่ ู้จกั ในฐานะผูเ้ ชี ย่ วชาญด้านบุคลิ กภาพ และมารยาทไทย
แรงบันดาลใจทีท่ �ำให้ตดั สิ นใจเลือกคณะอักษรฯ
๔ ปี ผ่านไป เป็ นไปตามทีค่ าดหวังไหม
อาจจะเป็ นเพราะว่า เราชอบภาษา แล้ วอยูโ่ รงเรี ยนเราก็ ท�ำกิจกรรมเกี่ยวกับภาษามาตลอด อยูช่ มรมภาษาอังกฤษ อะไรท�ำนอง นี ้ รู้สกึ ว่า ภาษาเป็ นสื่อที่ท�ำให้ เราซาบซึ ้งทุกอย่างได้ คือ ถ้ าเราได้ เรี ยน ื่ บคนท่พูี่ ดภาษานัน้ ๆ ได้ สมัยนันมี ภาษาอะไร มันจะท�ำให้ เราเช่อมกั ้ ให้ เลือกไม่มาก พอบอกว่าชอบภาษา ทุกคนก็มงุ่ ไปอักษรฯ เลือกอักษรฯ เป็ นทุกอันดับเลย อีกอย่างเพราะว่า คณะสวย (หัวเราะ) ตึกเทวาลัย มัน มีความเป็ นจุฬาฯ เห็นตึกก็ร้ ูเลยว่าคณะอักษรศาสตร์ ก่อนจะสอบเข้ าก็ ซื ้อพวงมาลัยมากราบพระบรมรูป ร. ๕ ตอนนันจ� ้ ำได้ วา่ เรากับเพื่อนคุย กันว่า “เธอ เราต้ องเข้ าให้ ได้ เลยนะ” “หวังว่า เราคงติดกันนะเธอ”
เป็ นไปตามที่คาดทุกอย่างเลยค่ะ ชอบบรรยากาศมาก นอกจากจะมีความขลังในความเป็ นเทวาลัย ตึก อาคารเรี ยนต่าง ๆ บรรยากาศ ที่นงั่ สมัยเราจะมีศาลารวมใจ เสียดายตอนนี ้ไม่มีแล้ ว เป็ น ศาลาไม้ เก่า ๆ อยูต่ รงข้ ามกับอาคาร ๒ พวกเราพอช่วงพักเรี ยนก็จะมา นัง่ ตรงนี ้ คุยเล่น หรื อติวหนังสือกัน พวกเรามาจากต่างโรงเรี ยนแต่วา่ เรา เชื่อมกันได้ เร็ วมาก เพราะว่าเราชอบอะไรเหมือนกันไง กลายเป็ นเพื่อน ที่ยงั คบกันจนตอนนี ้ แต่ละคนจะมีความโดดเด่นของตัวเอง เมื่อวันก่อน เพื่อน ๆ ในกลุม่ โพสต์ข้อความหนึง่ ดีมากเลย บอกว่า “The flower does not think of competing to the flower next to it” สมัย เรี ยนชาวอักษรฯ เป็ นอย่างนันจริ ้ ง ๆ ทุกคนมีความโดดเด่นของตัวเอง มีความเป็ นเอกลักษณ์ แต่อยูด่ ้ วยกันได้ ไม่ทะเลาะกัน อีกเรื่ องที่ประทับใจมาก คือ อาจารย์ เรากับอาจารย์ทกุ ท่านมีความสัมพันธ์ที่ดีมาก อาจารย์เอ็นดูแล้ วก็ให้ ความเมตตาดี เวลา ไปห้ องพักครู ห้ องฝรั่งเศส ห้ องญี่ปนุ่ ห้ องภาษาไทย ห้ องบาลี-สันสกฤต เหมือนกับว่า เราได้ ความเมตตาจากทุกห้ องทุกตึก อ้ อ พี่รหัสก็ดีมากค่ะ เก็บ lecture และต�ำราเก่ามาให้ เรา เยอะเลยค่ะ พร้ อมแนะน�ำเรื่ องราวต่าง ๆ ให้ เสมอ ตอนนี ้พี่รหัสก็เป็ น อาจารย์สอนอยูค่ ณะอักษรศาสตร์ คะ่ อาจารย์ ปทมา อัตนโถ
คาดหวังสิ่ งใดกับคณะก่อนทีจ่ ะเข้ามา ตอนยังเด็กพอเราไปดูงานที่ไหน เห็นพี่ ๆ ที่จบจากคณะ อักษรศาสตร์ เห็นความสามารถ เห็นบุคลิกภาพของพี่ ๆ เรามีรุ่นพี่เป็ น แบบอย่าง อยากท�ำงานแบบนี ้ อยากเป็ นแบบนัน้ อยากพูดจาชัดเจน ถ่ายทอดอย่างมีศิลปะ อักษรฯ คือ มีทกุ รสชาติ เราจะเป็ นคนวิชาการ ก็ได้ หรื อเราจะมาสนุกสนานเฮฮาก็ได้ เราเชื่อมกับคนได้ เยอะมาก เราคาดหวังว่า เราจบออกมาเป็ นอย่างที่เราเห็นรุ่นพี่เป็ น ประสบความ ส�ำเร็จในวงการต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ คือ ได้ ท�ำประโยชน์ให้ แก่สงั คม แบ่งปั น ความรู้ และสร้ างความอบอุน่ ความเป็ นกันเองได้ อย่างรวดเร็ ว
๑๔
ได้เรี ยนรู้อะไรจากคณะบ้าง
แปลว่า รายละเอียดปลีกย่อยใช่ไหมทีส่ ร้างเสน่ห์ความเป็ นอักษรฯ
ความเป็ นมนุษย์คะ่ คือ ไม่วา่ เราจะอยูใ่ นสถานะใด เรา ทุกคนมีความเป็ นมนุษย์เหมือนกัน มีโลภ โกรธ หลง ซึง่ เราได้ น�ำมาใช้ ใน การท�ำงานจริ ง ยกตัวอย่าง เช่น เพื่อนรักของเรา ท�ำงานด้ านวงการ บันเทิง เขาพานักแสดงมาฝึ กบุคลิกภาพเป็ นท่านหญิงที่ไม่เรี ยบร้ อยกับ เรา เพราะท่านหญิงก็เป็ นมนุษย์คนหนึง่ ไม่สมบูรณ์แบบ อีกเรื่ อง คือ อักษรฯ ท�ำให้ การท�ำงานของเราสนุกขึ ้น อักษรฯ ไม่ได้ สอนแต่ภาษา แต่ มีหวั ข้ อวิชาที่ท�ำให้ เราได้ เรี ยนรู้ครบ ทังสั ้ งคม ศาสนา ปรัชญา และ วัฒนธรรม เราจะรู้วา่ สิง่ ต่าง ๆ มีที่มาที่ไป มีความหมายอย่างไร อีกเกร็ ดหนึง่ ที่ได้ จากอักษรฯ คือ วิธีจะดูแลคนอย่างไรให้ มี ความสุขได้ จากบรรยากาศรอบ ๆ ข้ าง รอบ ๆ ตัว เราสร้ างบรรยากาศได้ โดยไม่ต้องสิ ้นเปลืองมาก เพราะเราถูกบ่มเพาะมาว่า หลายสิง่ ซื ้อไม่ได้ ด้ วยเงิน เราอยากบอกน้ องว่า ให้ ใช้ วิชาอักษรฯ ให้ เป็ นประโยชน์ เพราะ เราจะเก่งพวกเปรี ยบเปรย เปรี ยบเทียบ เช่น เราวางวัตถุใดวัตถุหนึง่ ไว้ เราเล่าถึงสิง่ นัน้ ๆ อย่างมีที่มาที่ไปได้ อีกอย่างเราจะรู้กาลเทศะในการ แต่งตัว ตามที่เราได้ เรี ยนรู้จากวรรณกรรมต่าง ๆ ที่ส�ำคัญเลย คือ เวลา ต้ องต้ อนรับใคร พอเรารู้วา่ แขกคนนี ้มาจากประเทศนี ้ เราก็สามารถน�ำ สิง่ ที่ส�ำคัญต่อวัฒนธรรม ต่อชาติของเขามาน�ำเสนอให้ เขาประทับใจได้ พอเรารู้ความหมายที่ลกึ ซึ ้งของสิง่ ต่าง ๆ เราจะมีลกู เล่นในการน�ำเสนอ สิง่ เหล่านันได้ ้ อย่างมีศลิ ปะ เช่น เมื่อต้ องน�ำเสนอเรื่ องไทย ๆ เราก็เอาพัด ไทยหรื อเอาระนาดขึ ้นมาตีประกอบ แค่นี ้ก็มีเสน่ห์มากขึ ้นเยอะเลย สามีเรามีเพื่อนเป็ นคนจอร์ แดน ครัง้ หนึง่ เขามาที่บ้านเพื่อ รับประทานอาหาร เราจึงมีโอกาสจัดเลี ้ยงต้ อนรับ แล้ วตอนนันโชคดี ้ ได้ ต้ นมะกอกมาจากลูกค้ า ซึง่ เจ้ าต้ นมะกอกเนี่ยคนจอร์ แดนถือเป็ นต้ นไม้ ศักดิ์สทิ ธิ์ เราเลยจัดต้ นมะกอกไว้ ในห้ องเลี ้ยงรวม เขาปลื ้มมาก เพราะ เราใส่ใจเรื่ องรายละเอียด จากเหตุการณ์นี ้เราก็ได้ ใช้ ความรู้จากอักษรฯ เต็ม ๆ จะเห็นว่า เราสามารถท�ำให้ งานแต่ละงานให้ มีความหมาย สมบูรณ์ครบถ้ วนขึ ้น เราชาวอักษรฯ จะเก่งเรื่ องการลงรายละเอียด การ สร้ างบรรยากาศ จัดงานต้ องได้ เราไปช่วย เพราะเรารู้ที่มาที่ไป เราสร้ าง บรรยากาศให้ คนประทับใจได้
ใช่คะ่ รายละเอียดตรงนี ้ขอให้ รักษาไว้ อักษรศาสตร์ ท�ำให้ เรานับถือความเป็ นปั จเจกบุคคล นับถือความเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละ คน นับถือความเป็ นมนุษย์ และเราก็ยอมรับความเป็ นมนุษย์ที่แตกต่าง กัน ไม่มีอะไรขาวด�ำ ทุกอย่างเป็ นสีเทา เหมือนสีประจ�ำคณะ จากนัน้ เรื่ องรายละเอียด ให้ ความเคารพของเดิม ไม่เปลี่ยนของเดิมจนจ�ำไม่ได้ เรื่ องนี ้พี่อาจจะได้ จากคุณยาย (ท่านผู้หญิงแผ้ ว สนิทวงศ์เสนี) เวลาท่าน ประดิษฐ์ ทา่ ร� ำ แม้ ทา่ นจะไม่ทิ ้งของเดิม แต่จะใส่ความแตกต่างเข้ าไป การปลูกฝั งจากคณะประกอบกับจากครอบครัวท�ำให้ ตรงนี ้หนักแน่นขึ ้น กลายเป็ นศรัทธาของคณะอักษรศาสตร์ เราอยากให้ น้องบัณฑิตอักษรฯ คงไว้ ซงึ่ อัตลักษณ์แบบนี ้ ภาพลักษณ์ คืออะไร ส�ำคัญต่อการท�ำงานและชี วิตเแค่ไหน ภาพลักษณ์ คือ สิง่ ที่เราอยากให้ คนจ�ำไว้ อย่างยัง่ ยืน เป็ น ภาพที่เขาเห็นเราครัง้ แรกและจดจ�ำไปชัว่ ชีวิต จะเป็ นบทบาท ท่าทาง ทุกอย่าง รวมไปถึงข้ างใน อักษรฯ ดีอีกอย่างตรงที่ท�ำให้ เราสนิทกับคน ได้ เร็ ว แล้ วเข้ าใจความรู้สกึ คนด้ วย ท�ำงานทุกอย่างต้ องตังใจท� ้ ำด้ วย หัวใจ มีการวางแผนที่ดี มีการค้ นคว้ า ถึงจะได้ ภาพลักษณ์ที่ชดั เจน ที่ส�ำคัญเมื่อเราได้ ภาพลักษณ์นี ้แล้ ว ต้ องโน้ มน้ าวคนอื่นให้ เห็นภาพ ลักษณ์นี ้เหมือนกัน เพราะเราจะเป็ นคนเดียวไม่ได้ เราต้ องชวนคนอื่น มาเป็ นพลังร่วม จึงจะออกมามีน� ้ำหนัก มีคณ ุ ค่า ต่างคนต่างท�ำไม่ได้ ต้ องมีจดุ หนึง่ ที่เราร่วมกัน การท�ำงานใช้ ความเป็ นอักษรศาสตร์ เยอะ มาก การถ่ายทอดความรู้สกึ ทางการเขียน อ่าน พูด สุ จิ ปุ ลิ ใช้ วิชา อักษรฯ เต็ม ๆ เราอ่านปุ๊ บ เราสรุป และจับประเด็น น�ำมาถ่ายทอดได้ ทงั ้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรื อสมัยนี ้เป็ น ๓ ภาษาได้ ยิ่งดี ถ่ายทอด ผ่านทุกอย่างเลย ทังสี ้ หน้ า ท่าทาง น� ้ำเสียง การแต่งกาย เราจะรู้วา่ ทุก ๆ ท่วงท่า อากัปกิริยานันมี ้ ความหมายทังหมด ้
๑๕
“ภาพลักษณ์ คือ สิง่ ที่เราอยากให้ คนจ�ำไว้ อย่างยัง่ ยืน
เป็ นภาพที่เขาเห็นเราครัง้ แรก และจดจ�ำไปชัว่ ชีวิต”
หลายคนสับสนระหว่างการมี ภาพลักษณ์ ทีด่ ี กับการสร้างภาพ จริ ง ๆ แล้วภาพลักษณ์ สร้างได้ไหม หรื อต้องมาจากภายใน
เห็นด้วยกับวลีติดปากทีว่ ่า “อักษรฯ เรี ยนความเป็ นมนุษย์” ไหม ใช่ ความเป็ นมนุษย์ คือ การถือว่า มนุษย์เป็ นมนุษย์ เราจะ มาบอกว่า เธอเป็ นถึงอย่างนี ้ ท�ำไมเธอถึงท�ำอย่างนี ้ ถามแบบนี ้ไม่ได้ เรา เป็ นมนุษย์ไง ตัวเราทุกคนมีหลายแง่ หลายมุม ชาวอักษรฯ เรี ยนเพื่อ เข้ าใจเรื่ องเหล่านี ้
เป็ นเรื่ องที่สร้ างได้ ประกอบกับภายในด้ วย ทุกอย่างไม่ใช่ born to be บุคลิกที่เป็ นอยูท่ กุ วันนี ้มาจากการหล่อหลอม ตังแต่ ้ สถาบันครอบครัวจนสถาบันการศึกษา กล่อมเกลาเรามาตลอด จนมาที่ ท�ำงาน หากเราไม่ได้ อยูก่ ารบินไทย ซึง่ เป็ นสายการบินแห่งชาติที่คงไว้ ซึง่ เอกลักษณ์ไทย ความเป็ นตัวแทนของประเทศไทย ของวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย เราก็อาจจะเป็ นอีกแบบไปก็ได้ คณะหล่อหลอมเราด้ วย เพื่อน อาจารย์ รุ่นน้ อง จ�ำได้ วา่ น้ องรหัสของเรา ชื่อ น้ องแก้ ว (ชาญวุฒิ พรหมสาขา ณ สกลนคร) เคยพูดถึงเราว่า “พี่รหัสของเราชื่อเพชรพริ ง้ เรายังจ�ำได้ วา่ พี่เราใจดีกบั เรามากเลย เอาหนังสือมาให้ เรา เอาชีทมา ให้ เรา แล้ วพี่ก็ตวั หอมตลอดเวลา” (หัวเราะ) เพราะฉะนันการสร้ ้ างภาพ ลักษณ์ การสร้ างภาพเนี่ย ไม่ได้ เสียหาย ถ้ าเราตังใจจะสร้ ้ างภาพให้ คน อื่นเห็นแล้ วมีความสุขและประทับใจ จะให้ น้องเห็นภาพที่ดี นัน่ ก็คือการ สร้ างภาพ แต่ภาพนันต้ ้ องอยูบ่ นพื ้นฐานของความจริ ง ต้ องจริ งใจและ ต้ องการให้ คนอื่นมีความสุข
ถ้ามี โอกาสกลับมาเรี ยนคณะอักษรศาสตร์ ได้ใช้เวลา ๔ ปี ใหม่อีกครัง้ หนึ่ง อยากท�ำ หรื อแก้ไขอะไรไหม สิง่ ที่เสียดายที่สดุ ตอนอยูอ่ กั ษรฯ คือ เราไม่ลงวิชาการ แสดง ท�ำไมไม่ร้ ู ถ้ าเราลงวิชาดราม่าคงสนุกขึ ้นอีกเยอะ และได้ ทกั ษะ ต่าง ๆ ในการพูด อ่าน เขียน ขึ ้นอีกเยอะด้ วย คือ สมัยที่อยูค่ ณะเรายัง ค้ นตัวตนไม่เจอ ตอนนี ้คิดว่า ถ้ าเราได้ เรี ยนศิลปะของการละครเพิ่มอีก นิดนะ เราจะตีความอะไรได้ อีก มารู้ตวั ก็ตอนปี ๔ แล้ วว่า น่าจะไปเรี ยน เหมือนเพื่อน ๆ บ้ าง โชคดี ที่ได้ เรี ยนวิชา Introduction to Dramatic Arts แต่เราก็ไม่สามารถไปขลุกอยูก่ บั ละครแบบเพื่อน ๆ เอกละครได้ เพราะงานละครไม่มีเวลาที่แน่นอน แล้ วก็อยากร่วมกิจกรรมมากกว่านี ้ เช่น กิจกรรมรับน้ องใหม่ หรื อไปออกค่ายที่เพื่อนในกลุม่ ไปแต่เราไม่ได้ ไปกับเขา เราท�ำในขอบเขตที่เรามัน่ ใจเกินไป ไม่คอ่ ยได้ ก้าวออกไปจาก comfort zone กิจกรรมที่เราท�ำมักเป็ นกิจกรรมของชมรมวิชาการ ชมรมภาษาต่าง ๆ เช่น เป็ นพิธีกรให้ งานวิชาการ ชมรมภาษาฝรั่งเศส ให้ น้ อง ๆ นักเรี ยนที่มาแข่งขันตอบค�ำถาม เป็ นหน้ าที่เรี ยบร้ อย แต่ไม่เคย เสียดายเรื่ องเพื่อนเลย เพื่อน ๆ น่ารักมาก มีความห่วงใยเอื ้ออาทรกันจน ตอนนี ้ก็ยงั คบหากันอยู่ พูดคุยทังทุ ้ กข์ทงสุ ั ้ ขได้ ทกุ ๆ อย่าง ท�ำให้ ไม่คดิ เสียดายเวลาที่เรี ยนที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ แห่งนี ้ -
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับคนทีอ่ ยากเป็ นพนักงานต้อนรับบนเครื ่องบิ น แต่เท่าที่เราสังเกต ได้ คลุกคลีกบั เขา สิง่ ส�ำคัญ คือ เป็ นตัว ของตัวเอง ส่วนค�ำแนะน�ำ คือ เรี ยนภาษาให้ ดี ๆ ภาษาส�ำคัญมาก ทัง้ ภาษากาย ท่าทาง ภาษาพูด เขาต้ องมีสอบ TOEIC ภาษาอังกฤษเป็ น ภาษาหลักที่ต้องใช้ บุคลิกภาพก็ต้องเตรี ยมตัว ความสามารถพิเศษเรา ควรมีไว้ เพื่อเอามาแสดงในห้ องสัมภาษณ์ เคยท�ำกิจกรรมอะไรบ้ าง เคย มีประสบการณ์เรื่ องนันเรื ้ ่ องนี ้อย่างไรบ้ าง ส่วนความสูง น� ้ำหนักนี่ต้องได้ ตามมาตรฐานของเขา
๑๖
น ร า วั ล ล ภ์ ป ฐ ม วั ฒ น
เคยเป็ นนักวิ จยั ด้านศิ ลปะไทยร่ วมสมัยประจ� ำองค์กร Asia Art Archive ปั จจุบนั เป็ นอาจารย์พิเศษ ภาควิ ชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ มหาวิ ทยาลัยศิ ลปากร และเปิ ด The Reading Room ห้องสมุดศิ ลปะทีเ่ ก็บรวบรวมหนังสือศิ ลปะ และเป็ นพืน้ ทีจ่ ดั กิ จกรรมเสวนาเรื ่องสังคมศาสตร์ วรรณกรรม ฯลฯ
สนใจศิ ลปะมาตัง้ แต่เด็ก ท�ำไมถึงเลือกอักษรฯ
เหมื อนว่า การเผชิ ญหน้ากับความท้าทายด้วยตัวเองท�ำให้แข็งแกร่ งขึ้น
เพราะพ่อแม่คะ่ ไม่มีอย่างอื่น จริ ง ๆ พี่อยากเรี ยน โบราณคดี อยากเรี ยนประวัตศิ าสตร์ ศลิ ป์ แต่พอ่ แม่อยากให้ เข้ าอักษรฯ จุฬาฯ สมัยนันยั ้ งเอ็นทรานซ์แบบคะแนนอยู่ หมายความว่า ถ้ าคะแนน ติดอันดับ ๑ ก็ได้ อนั นัน้ ถ้ าไม่ตดิ ก็ไล่ลงมา ๑ ๒ ๓ ๔ พี่ก็คดิ ว่า เลือกไป เหอะ คงไม่ติดหรอก แต่ด้วยความซวยว่า ปี นันคะแนนไม่ ้ ได้ สงู มาก ก็ เลยติดค่ะ ร้ องไห้ เลย ร้ องไห้ เสียใจนะ
คือเราต้ องยอมรับในสิง่ ที่เราตัดสินใจ ถ้ าตัดสินใจผิดเราก็ ต้ องรับผิดชอบสิง่ นัน้ ไม่ใช่เหมือนสมัยก่อนที่ท�ำอะไรผิดก็ให้ พอ่ แม่เก็บ กวาด การอยูม่ หาวิทยาลัยมันดีตรงที่วา่ คุณมีอ�ำนาจตัดสินใจในมือ จริ ง ๆ ชีวิตในมหาลัย ๔ ปี เป็ นใบผ่านให้ ท�ำอะไรได้ เยอะมาก คุณ สามารถออกไปฝึ กงาน เป็ นอาสาสมัคร ไปท�ำงานคณะหลาย ๆ อย่าง และอื่น ๆ อีกมากมาย ต้ องอย่ากลัว จริ ง ๆ เด็กไทยขี ้กลัว โดยเฉพาะ เด็กมหาวิทยาลัย หรื อเด็กที่อยูใ่ นโรงเรี ยนชนชันกลาง ้
พอเข้าคณะอักษรศาสตร์ แล้วเป็ นอย่างไร
อยากแนะน�ำอะไรให้ “คนชายขอบ” ในคณะบ้าง
ทุกข์ใจมากค่ะ ไม่มีความสุขเลย ไม่ชอบสังคม พี่อยูส่ งั คม ผู้หญิงมาตลอด อยูเ่ ซนต์โยฯ ค่ะ พี่ไม่ชอบอะไรจุกจิกแบบนัน้ พี่ชอบพูด ตรง ๆ นิสยั ไม่คอ่ ยผู้หญิง ก็เลยไม่คอ่ ยมีกลุม่ พอ ม.๕ พี่ก็เลยเอ็นฯ ปรากฏว่าก็หนีเสือปะจระเข้ อีก (หัวเราะ) แต่มนั ก็ท�ำให้ เราต้ องส�ำรวจ อะไรและตัดสินใจด้ วยตัวเองเยอะค่ะ เราต้ องเผชิญหน้ ากับ challenge (ความท้ าทาย) หลาย ๆ อย่าง ที่จะเอาตัวเองไปอยูใ่ นที่ ๆ เราไม่สบายใจ ตอนแรกคิดว่าจะไปเอ็นฯ ใหม่ แต่พอเห็นเขาติดป้ายหน้ าห้ อง ก.อศ. ว่า ไปสัมมนาเชียร์ ขึ ้นรถเวลานี ้ พี่เลยลองดู แล้ วก็ได้ เจออะไรหลาย ๆ อย่าง ที่ท�ำให้ เรารู้สกึ ว่าได้ ท�ำอะไรมากกว่าแค่เรี ยน และรู้สกึ เป็ นส่วน หนึง่ มากกว่าเดิม หลังจากนันก็ ้ เรื่ องเรี ยนค่ะ คือเราอยากเรี ยนศิลปะ เลือกเอกอังกฤษ แล้ วเขาให้ โทนอกคณะครึ่งหนึง่ ได้ ก็ดีใจค่ะที่ตดั สินใจ ไปเรี ยนศิลปกรรม ครุฯ อาร์ ต สถาปั ตฯ พวกนี ้
ก็อยากให้ ยอมรับตัวเอง พยายามท�ำตัวเองให้ ดีที่สดุ เมื่อ ก่อนเราอยูก่ บั ความเกลียดตัวเองเยอะมาก เพราะเรารู้สกึ ว่า เราผิดปกติ เราไม่เหมือนคนอื่น จริ งแล้ วลึก ๆ ฉันก็อยากเหมือนคนอื่นนะ แต่มนั ไม่ เหมือน จะท�ำยังไงได้ เพราะอย่างนันอยากให้ ้ คณ ุ พัฒนา self (ตัวตน) ของตัวเองให้ มนั ดีที่สดุ เพราะถ้ าคุณแตกต่าง สุดท้ ายคุณก็จะได้ รับ ค�ำวิพากษ์ วิจารณ์ ตลอดเวลา ฉะนันคุ ้ ณต้ องท�ำตัวให้ ดีพอที่จะไม่ให้ เขา ด่า แต่วา่ อย่า negative (มองโลกในแง่ร้าย) เกินไป ชีวิตสัน้ สุดท้ าย แล้ วมันไม่ได้ แย่กบั คนอื่น มันแย่กบั ตัวเอง เพราะคนอื่นเขาไม่มีสว่ นได้ ส่วนเสียกับตัวเรา
๑๘
ชี วิตตอนไปเรี ยนต่อทีส่ หรัฐอเมริ กาเป็ นอย่างไรบ้าง
พอกลับมาก็เริ่ มท�ำ The Reading Room เลยหรื อเปล่า
เราไปเรี ยนข้ ามสาย ตอนนันคิ ้ ดว่า ตัวเองเก๋า ท�ำทุกอย่าง มาแล้ ว ฉันเป็ น อบจ. ฉันเป็ นกรรมการคณะ ฉันเป็ นบรรณาธิการหนังสือ แต่สดุ ท้ ายพอไปแล้ ว reality (ความเป็ นจริ ง) ก็ชนเหมือนรถกระบะชน เลย มันเรี ยนไม่ได้ เป็ นเพราะเราไม่มีพื ้นฐานอะไรเลย คนละสาย ไม่เคย เรี ยนประวัติศาสตร์ ศลิ ป์ ตอนนันค่ ้ าเงินแพงมาก เกือบ ๕๐ บาท ห้ องที่ อยู่ คือ ถูก ๆ เล็ก ๆ ไม่มีหน้ าต่าง เหมือนอยูค่ กุ อ่านหนังสือก็อา่ นไม่ได้ ร้ องไห้ ทกุ วัน (หัวเราะ) แล้ วพอผ่านไปเทอมหนึง่ ก็ร้ ูสกึ ว่า มันไม่ไหวแล้ ว เลยกลับมาตังหลั ้ ก
แค่เพราะว่าแม่บอกให้ ลองใหม่ จริ ง ๆ ตอนนันก็ ้ เข็ด เหมือนกันนะ แต่ตอนสมัครใหม่ก็ดวู า่ มีสายอะไรที่พอจะเรี ยนได้ เลยไป เรี ยนการจัดการองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร ซึง่ กลายเป็ นว่าตรงสายเป๊ ะ เลย ท�ำให้ ร้ ูวา่ ทุกคนมีที่ทางของตัวเอง สิง่ ที่ส�ำคัญที่สดุ ไม่ใช่วา่ เรา ต้ องการอะไร แต่เรามีความสามารถแค่ไหนด้ วย การท�ำอะไรเกินตัว ไม่ใช่เรื่ องดี ลองหาสิง่ ที่ท�ำได้ และท�ำได้ ดี แล้ วก็ท�ำตรงนันดี ้ กว่า
โอ๊ ย ไม่มีตงั ค์ กลับมาก็เคว้ ง อยูพ่ กั หนึง่ ค่ะ แต่สดุ ท้ ายด้ วย ความโชคดี หลานรหัสแนะน�ำว่า มีองค์กรจากฮ่องกง เป็ นองค์กรเก็บ ข้ อมูลสร้ าง archive (คลังข้ อมูล) ด้ านศิลปะร่วมสมัย ก�ำลังหา researcher (นักวิจยั ) ประจ�ำอยูท่ ี่เมืองไทย เลยไปสมัคร แล้ วเราโชคดีที่ ได้ งานตรงนัน้ ทังที ้ ่ความรู้ภาษาไทยก็แย่ ความรู้เรื่ องศิลปะไทยเป็ น ศูนย์ ความรู้ประวัตศิ าสตร์ ไทยคือไม่มีเลย ต้ องไปเริ่ มต้ นใหม่ทกุ อย่าง หน้ าที่เราคือ ต้ องออกไปตระเวนเก็บข้ อมูลของศิลปะไทยที่เกิดขึ ้นใน ปั จจุบนั ซึง่ ตอนแรก ๆ ก็ล�ำบากเหมือนกัน เพราะวงการมันเล็กมาก พอ ท�ำงานไประยะหนึง่ งานที่ฮอ่ งกงเขาลดจ�ำนวนพนักงานเราก็เลยต้ อง ออก ไม่ใช่อยู่ ๆ เราอยากขึ ้นมาท�ำห้ องสมุดเหมือนเทพนิยาย คือ ด้ วย ความที่ต้องไปเก็บข้ อมูลให้ องค์กร บางทีก็เก็บ ๒ ส�ำเนาบ้ าง ประกอบ กับเริ่ มที่จะต้ องไปสอนเกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์ ศลิ ปะด้ วย เลยรู้วา่ ที่ห้อง สมุดมหาวิทยาลัยมี material (วัตถุดบิ ) น้ อยมาก ตอนนันมี ้ เงินเก็บ จากตอนท�ำงานของฮ่องกง ก็เอามาลงที่บ้านยาย ตอนนันบั ้ งเอิญว่า บ้ านยายปิ ดตายมานาน ก็เกณฑ์เพื่อนเข้ าไปท�ำความสะอาดกัน แล้ ว เริ่ มท�ำ แต่มนั ก็เงียบ นะ เพราะที่มนั ไกล เล็กด้ วย และตรงเจริ ญกรุงเก่า ก็ไปยากนิดหนึง่
พอเรี ยนจบก็ท�ำงานอยู่ทีโ่ น่นสักพัก ท�ำไมถึงตัดสิ นใจกลับมาเมื องไทย
คือรู้สึกว่า มันเล็กไปก็เลยย้ายมาทีป่ ั จจุบนั
จริ ง ๆ อยูน่ านค่ะ อยู่ ๖ ปี ไม่ได้ คดิ ว่าจะกลับ ไม่เคยคิด ไม่ ชอบเมืองไทย แต่ก็ไม่ได้ ชอบทุกอย่างของอเมริ กานะ เพียงแต่เรารู้สกึ ว่า สิง่ ที่ชอบที่นนู่ คือ ๑. คนมีคณ ุ ภาพ ๒. คนให้ space (พื ้นที่) เรา ทุกคนมี space ของตัวเอง อีกอย่างที่นนู่ มันค่อนข้ างดีในการเป็ นเมืองหลวงของ ศิลปะร่วมสมัยโลก เลยคิดว่าอยากอยูต่ รงนัน้ แต่สดุ ท้ ายก็นี่แหละค่ะ ถ้ า เราไม่เจออุปสรรค ก็ไม่ได้ ค้นพบหรื อท้ าทายตัวเอง พอเราเริ่ มหางาน จริ งจังก็หาไม่ได้ เลยนะ มันท้ อแท้ มากอยูป่ ระมาณเกือบปี อยูแ่ บบโคตร หดหู่ เหมือนท�ำไมกูไม่ดีพอ ท�ำไมกูเป็ นอย่างนี ้ เราอยากท�ำงานแบบไม่ แสวงหาผลก�ำไรให้ แก่ชมุ ชน แต่สมัครไปก็ไม่ได้ สกั ที่ ตอนนันอยู ้ ก่ บั แฟนก็มีปัญหากันค่ะ คือ ทุกอย่างมาลงตรงนันพอดี ้ มันเหนื่อย ก็เลย คิดว่ากลับดีกว่า
ไม่นะ เป็ นความบังเอิญอีก คือมีโอกาสเข้ ามา พี่วา่ ส�ำคัญ สุดนะ ในชีวิตจริ ง พออายุมากขึ ้น เริ่ มท�ำงาน คุณสร้ างโอกาสไหม แล้ ว เวลามีโอกาสมา คว้ าหรื อเปล่า เราว่าคนส่วนใหญ่ที่เสถียรอยูก่ บั ที่ คือมี โอกาสเยอะแยะ แต่ไม่คว้ า อาจจะกลัว อาจจะรู้สกึ ไม่พร้ อม แล้ วค�ำว่า ไม่พร้ อม ใครเป็ นคนคิด
ฮึดขึ้นมาได้เพราะอะไร
แปลว่า เมื อ่ โตแล้วเราควรมี ทกั ษะแยกแยะว่า โอกาสไหนควรคว้า ใช่ ๆ ควรมี อีกอย่างหนึง่ ที่ส�ำคัญ คือ ต้ องรู้จกั ตัวเอง รู้ ศักยภาพตัวเอง แล้ วเราก็ต้องเป็ น critic (นักวิจารณ์) ของตัวเอง ไม่ใช่ ว่า สงสารตัวเอง เห็นใจตัวเอง คือ คุณต้ องโหด กับตัวเองให้ เยอะที่สดุ
๑๙
“อาจจะไม่สมควรที่จะเรี ยนให้ เข้ าใจมนุษย์ เรี ยนให้ เข้ าใจ สิทธิของมนุษย์และความรับผิดชอบให้ อยูก่ บั สังคมได้ นา่ จะดีกว่า” เพราะชีวิตต่อไป คือ การท�ำงาน คุณต้ องประเมิน ว่า โอกาสแบบนี ้จะมี มาอีกไหม ถ้ าบวกลบคูณหารแล้ วรู้สกึ ว่า เราพอท�ำได้ แล้ วเต็มที่ ยังไงก็ ไม่พงั แต่คณ ุ ต้ องรู้จกั ตัวเองก่อน อย่างที่บอก พี่วา่ มันเป็ นทักษะ ที่คน underrated (ไม่เห็นค่า) จริ ง ๆ ข้ อดี ใคร ๆ ก็ร้ ูวะ แต่ข้อเสียก็ต้อง ยอมรับว่า บางอย่างแก้ ไม่ได้ เช่น พี่โง่พวกทฤษฎี ยังไงชาตินี ้พี่ก็เป็ นนัก วิชาการไม่ได้ ต้ องเข้ าใจว่า สมองคนแต่ละคนมี capacity (ความ สามารถ) บางอย่าง ไปท�ำในสิง่ ที่ท�ำได้ หรื อไม่ก็หาคนที่ท�ำได้ มาช่วย จบ ใช่เปล่า อีกเรื่ องที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะกับการท�ำงานลักษณะที่ต้อง รับผิดชอบเอง คือ อยากให้ ทกุ คนเข้ าใจว่า คนที่ขึ ้นมาอยูใ่ นความส�ำเร็ จ ระดับสูงหรื อระดับโอเคเนี่ย เพราะทุกคนขยันอดทนตังใจท� ้ ำงานกันมา ไม่มีใครที่อยู่ ๆ บังเอิญได้ ท�ำ ไม่มีทาง ไม่วา่ จะเป็ นอะไรที่คนชอบดูถกู อย่างดาราก็ตาม ถ้ าไม่ขยัน ไม่รับผิดชอบ ก็ไม่มีทางที่จะขึ ้นไปอยูร่ ะดับ นันได้ ้ เด็ดขาด แล้ วก็ไม่ใช่ด้วยความบังเอิญหรื อเส้ นสาย หรื ออะไรอย่าง เดียว ไอ้ อะไรพวกนัน้ ๓ ปี ๕ ปี ก็ถกู ฝั งแล้ ว ถ้ าคุณเป็ นคนที่มีความรู้ ความสามารถจริ ง ๆ มีความรับผิดชอบจริ ง ๆ มันอยูไ่ ด้ ตลอด ที่ส�ำคัญ ต้ องไม่ขี ้เกียจ ต้ องอดทน อย่างพี่ก็ต้องเช็คข่าวด้ านอาร์ ต สังคม วัฒนธรรม ถ้ าไม่เช็ควันหนึง่ จะรู้สกึ ว่า เราช้ ากว่าคนอื่น คุณต้ องมีวินยั ใน ตัวเอง สมมติหลุดไป ๒ อาทิตย์เนี่ย โห จบนะเว้ ย พูดกับคนอื่นไม่ร้ ูเรื่ อง อยากให้ ขยันตังใจอดทนท� ้ ำงานจริ ง ๆ เพราะเป็ นพื ้นฐานของการท�ำงาน และการประสบความส�ำเร็จ
“เรี ยนอักษรฯ เพือ่ เข้าใจมนุษย์” จริ งไหม อ๋อ มันผิดตังแต่ ้ พดู ว่า เรี ยนอักษรฯ เพื่อให้ เข้ าใจมนุษย์ แล้ ว แปลว่าเรี ยนอย่างอื่นไม่เข้ าใจมนุษย์เหรอ หรื อว่ายังไง เอาจริ ง ๆ ก็ รู้สกึ ตังแต่ ้ ตอนอยูแ่ ล้ วว่า ท�ำไมไม่เห็นเข้ าใจกูเลยวะ กูไม่ใช่มนุษย์เหรอ ท�ำไมมึงต้ อง excommunicate (ตัดขาด) กู ไม่มีใครคบกู กูก็มนุษย์นะ แต่ทีนี ้ประเด็นอยูท่ ี่วา่ แล้ วอะไรคือเข้ าใจมนุษย์ อันนี ้พูดยากมาก ตัวพี่ เองเคยอินตอนเรี ยนด้ วยนะ เราว่า สมัยโรแมนติก* มีความพยายาม เข้ าใจเพื่อนมนุษย์ ที่จริ ง ๆ ก็แย่ แต่เรารู้สกึ ว่า คณะเราแย่กว่า เพราะ สมัยโรแมนติก ความพยายามเข้ าใจเพื่อนมนุษย์ คือ การมีความเวทนา ให้ ชนชันล่ ้ าง เห็นขอทานก็สงสารร้ องไห้ อันนี ้เป็ นพวกจิตรกรหรื อนัก เขียนโรแมนติก พวกมึงชนชันสู ้ งหมดเลย ทีนี ้เราไม่แน่ใจว่า เด็กอักษรฯ มีแม้ กระทัง่ ความเวทนาให้ ชนชันล่ ้ างหรื อเปล่าด้ วยซ� ้ำ แต่ก็ใกล้ เคียง กับโรแมนติกในแง่ที่วา่ อะไรพวกนี ้น่าสงสาร แต่ไม่ได้ สมควรที่จะมาอยู่ ในระดับเดียวกับเรา มันมีความรู้สกึ ดูถกู อยู่ เพราะอย่างนัน้ พี่ว่าอาจจะไม่สมควรที่จะเรี ยนให้ เข้ าใจ มนุษย์ น่าจะเรี ยนให้ เข้ าใจสิทธิของมนุษย์และความรับผิดชอบให้ อยูก่ บั สังคมได้ นา่ จะดีกว่า แต่การเรี ยนอักษรฯ ส่วนใหญ่จะเน้ นแต่เรื่ อง ปั จเจก เรื่ องความรู้สกึ ส่วนตัวมากกว่า การท�ำงานร่วมกันก็ไม่คอ่ ยมีนะ ที่บอกฉันสามารถอยูโ่ ดยไม่ต้องมีเพื่อนอะไรมากมายก็ได้ จริ ง ๆ มัน อาจจะไม่ควรหรื อเปล่า คุณอาจจะต้ องผลักดันตัวเองให้ ไปอยูก่ บั คนที่ เกลียด แล้ วก็ต้องท�ำงานด้ วยกัน ต้ องเคารพในความเป็ นตัวเขาเหมือน กัน ไม่อย่างนันจะเข้ ้ าใจมนุษย์คนอื่นได้ อย่างไร
แล้วทุกวันนีบ้ ริ หาร The Reading Room อย่างไร จากความไร้ ทกั ษะในการ manage (บริ หารจัดการ) ก็ตาม มีตามเกิดค่ะ (หัวเราะ) จริ ง ๆ เป็ นคนที่มีจดุ แข็งเรื่ องการจัดโปรแกรม ค่ะ เป็ นคนชอบท�ำอยูเ่ บื ้องหลัง ติดต่อคน คุยกับนักวิชาการ แต่วา่ การ บริ หารจัดการนี่ความสามารถต�่ำมาก แล้ วก็เรื่ องหาทุนอะไรพวกนี ้ ไม่ สามารถเลย ก็ท�ำเท่าที่ท�ำได้ ถ้ าเรื่ องทุนก็ไปหาเงินจากการท�ำอย่างอื่น หรื อมีเพื่อนที่ให้ เงินบริ จาคมาบ้ าง แล้ วก็จากพระบิดาผู้มีพระคุณอย่าง สูง เราพยายามเอาให้ มนั อยูไ่ ด้ สิง่ ที่สนุกส�ำหรับเราคือ การท�ำอะไรใหม่ ๆ มีกิจกรรมใหม่ ๆ ตลอด ให้ มีกิจกรรมสม�่ำเสมอ อย่าหายไป สมมติวา่ คุณท�ำอยูแ่ ล้ วไม่มีอะไรเลย ก็จบนะ
ถ้าสมมติ ยอ้ นเวลากลับไปได้ อยากจะท�ำหรื อแก้ไขอะไรในเวลา ๔ ปี ทีม่ ี อยากจะออกจาก conformity (การยอมตามคนส่วน ใหญ่) ให้ เร็ วกว่าเดิมค่ะ เพราะว่าช่วงปี ๑ ยังรู้สกึ เกร็ งอยู่ ถ้ าเราสามารถ ท�ำสิง่ ที่อยากท�ำได้ ตงแต่ ั ้ ปี ๑ เราน่าจะ ๑. ได้ เรี ยนวิชาที่อยากเรี ยนมาก ขึ ้น ๒. ได้ ท�ำกิจกรรมที่อยากท�ำมากขึ ้น แค่นนเอง ั้ -
สมัยโรแมนติ ก เริ่ มขึ้นเมื อ่ ปลายศตวรรษที ่ ๑๘ แนวคิ ดในยุคนีส้ นับสนุนการแสดงออกอย่างเสรี ดา้ นอารมณ์ ความรู้สึก และความต้องการ
๒๐
ว ร ร ณ พ ร โ ป ษ ย า น น ท์
อดีตรองอันดับ ๑ Miss Thailand World เคยเป็ นผูป้ ระสานงานแฟชัน่ ของ Emilio Pucci ทีม่ ิ ลาน ประเทศอิ ตาลี ปั จจุบนั เป็ นผูอ้ �ำนวยการศูนย์ขอ้ มูลการศึกษาสถาบัน Marangoni และบรรณาธิ การบริ หาร นิ ตยสาร Harper’s BAZAAR ประเทศไทย
ท�ำไมถึงเลือกเรี ยนอักษรฯ พี่วา่ การเรี ยนอักษรฯ ท�ำให้ เราสามารถท�ำได้ หลายอย่าง มาก พี่มองว่า รากฐานของวัฒนธรรม ภาษา และศิลปะ มันสามารถ interpret (ตีความ) แล้ วต่อยอดท�ำอะไรได้ ทกุ อย่างในชีวิต หัวพี่ก็ไป ทางนี ้ชัดตังแต่ ้ เด็ก ตอนอยูม่ าแตร์ ฯ พี่ก็จะท�ำคะแนนวิชาพวกนี ้ได้ ดี แต่ ถ้ าเป็ นเรื่ องเศรษฐกิจหรื อการคูณเลขหนัก ๆ จะรู้ตวั เองว่า ไม่ชอบ พอ เข้ ามาก็ดีคะ่ ประทับใจสภาพแวดล้ อม เราเรี ยนโรงเรี ยนหญิงล้ วนมา ตลอด พอมาอยูอ่ กั ษรฯ ก็เหมือนอยูโ่ รงเรี ยนหญิงล้ วนอีกเหมือนกัน (หัวเราะ) เพื่อน ๆ เป็ นผู้หญิงหมด จะแบ่งกันเป็ นกลุม่ ๆ ไป ส่วนใหญ่ ทุกคนค่อนข้ างเรี ยบร้ อย แต่กลุม่ พี่คอ่ นข้ างซ่าเหมือนกัน ซ่าสุดแล้ วตอน นัน้ เราก็เรี ยนด้ วย เที่ยวด้ วย สนุกมาก นึกแล้ วยังอยากกลับไปเป็ นนิสติ เหมือนเดิมเลย เพราะมันเป็ นช่วงเวลาที่ชีวิตสบายและสนุกที่สดุ ก็วา่ ได้
แต่ปรากฏว่าก็ตดิ พอติดแล้ วก็ได้ ทนุ การศึกษา ๒ ปี และ ได้ เซ็นสัญญากับ BEC TERO ๒ ปี เป็ นงาน ประชาสัมพันธ์พวก คอนเสิร์ตศิลปิ นระดับโลก และเวลามีงาน charity (การกุศล) ที่ สภากาชาด หรื อที่ชอ่ ง ๓ ๕ ๗ ๙ พี่ก็จะไปช่วยเรื่ องการหาทุน ต้ อง ท�ำงานไปด้ วยและเรี ยนไปด้ วย ตอนนันเพิ ้ ่งอายุ ๑๘ เอง ข้ อดีคือ การได้ เจอคนหลายรูปแบบท�ำให้ เราโตเป็ นผู้ใหญ่กว่าอายุ มีความคิดโตกว่า เพื่อนรุ่นเดียวกัน แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดปั ญหาว่า ที่อกั ษรฯ เรี ยนหนัก พี่เรี ยนอิตาเลียน เรี ยนเยอะมาก บางวันไม่มีเวลาให้ กินข้ าว เพราะวิชา ที่ลงทะเบียนไปตรงกับตอนเที่ยง แล้ วก็ต้องเรี ยนตอนบ่ายต่อเลย วันที่ เรี ยนหนัก ๆ แบบนี ้ พอมาเจอกับงานอีกในตอนเย็น เราก็ไม่ได้ พกั เลย ยิ่งช่วงสอบ ยิ่ง challenging (ท้ าทาย) มาก ๆ มันเหมือนจะไม่ไหวแล้ ว พอผ่านมาได้ ก็ร้ ูสกึ tough (เข้ มแข็ง) ขึ ้นมาก แล้ วพี่โชคดีที่ได้ เพื่อน น่ารัก เวลาพี่ขาดเรี ยนบางวิชา ก็จะตามเล็คเชอร์ จากเพื่อน เขาก็จะช่วย
ประสบการณ์ อะไรทีจ่ � ำได้แม่นและประทับใจทีส่ ดุ ตอนอยู่อกั ษรฯ
ช่วงเวลาทีด่ ีทีส่ ดุ ในรัว้ มหาวิ ทยาลัยล่ะ
พี่มีโอกาสเข้ ามาในชีวิตค่อนข้ างมาก ท�ำให้ มี challenge (ความท้ าทาย) เยอะมาก แต่ก็ท้อเยอะเหมือนกัน ตอนพี่อยูป่ ี ๓ มี ประกวด Miss Thailand World พี่ไปประกวดเพราะคุณป้าของพี่ บอกให้ ลองไปประกวดดู เพราะว่าปี นันไม่ ้ ต้องประกวดชุดว่ายน� ้ำ แล้ ว ยังมีทนุ การศึกษาเยอะ เกณฑ์การตัดสินเน้ นเรื่ องความสามารถ ความ ฉลาดในการตอบค�ำถาม เลยลองไปประกวดดู แต่ไม่คดิ ว่าจะได้ ก่อน ไปประกวดก็ไม่ได้ คมุ อาหาร กินเยอะจะตาย (หัวเราะ)
ตอนปี ๑ พี่เป็ นผู้น�ำเชียร์ ของคณะ กลุม่ พี่เป็ นผู้น�ำเชียร์ กนั หลายคน เป็ นคนถือป้ายอักษรฯ เพื่อนสนิทพี่ก็เป็ นนางนพมาศของ อักษรฯ ด้ วย ตอนนันรุ ้ ่นพี่มองว่า กลุม่ เรานี่ซา่ จังเลย เที่ยวเยอะ เขาก็จะ ชอบมาแกล้ งเรา แต่ถงึ อย่างนันเขาก็ ้ มกั จะเลือกกลุม่ เรามาท�ำกิจกรรม บ่อย ๆ ก็สนุกดี พอปี ๒ พี่ก็ชว่ ยคุมผู้น�ำเชียร์ รุ่นน้ อง แต่ปีพี่ไม่โหดกับรุ่น น้ องนะ แล้ วก็มีจะได้ เป็ นผู้น�ำเชียร์ ของจุฬาฯ แต่พี่เลือกไม่ไป เพราะ ยังอยากคงไลฟ์สไตล์ของตัวเองไว้ ได้ เที่ยวกับเพื่อน ได้ เรี ยนหนังสือ
๒๒
ถ้ าเป็ นผู้น�ำเชียร์ จฬุ าฯ จะต้ องฝึ กหนักมาก ตกเย็นก็ต้องไปวิ่งรอบ สนามแล้ ว
ถ้าอยากเป็ นบรรณาธิ การนิ ตยสารควรเตรี ยมตัวอย่างไรบ้าง การเป็ นบรรณาธิการไม่ใช่เรื่ องง่าย อยูด่ ี ๆ จะมาเป็ น บรรณาธิการไม่ได้ หรอกค่ะ ต้ องมี passion (ความหลงใหล) ก่อน อย่างแรกต้ องเป็ นคนชอบอ่านตังแต่ ้ ตอนเด็ก ตอนเด็ก ๆ พี่ชอบอ่าน มาก มีอะไรก็อา่ นหมด ไม่วา่ จะเป็ นนิตยสารไทยหรื อนิตยสารนอก พอ อ่านเยอะ ๆ ก็ต้องลองวิเคราะห์และสังเกต แล้ วเอาที่อา่ นมาลองเขียน เขียนแล้ วอ่าน ท�ำซ� ้ำเรื่ อย ๆ คนที่อยากเป็ นนักเขียน แต่ไม่ชอบอ่าน ฝี มือ ก็จะไม่พฒ ั นา อีกอย่างหนึง่ ถ้ าอยากเป็ นบรรณาธิการต้ องเริ่ มเข้ ามา ฝึ กงาน มาช่วยงานแฟชัน่ ช่วยท�ำหนังสือ มาเรี ยนรู้วา่ การท�ำงานจริ ง ๆ นันเป็ ้ นอย่างไร ตอนเริ่ มเข้ าท�ำงานใหม่ ๆ เราไม่สามารถได้ ต�ำแหน่งใหญ่ ได้ อยูแ่ ล้ ว ต้ องเข้ ามาเป็ นผู้ชว่ ยก่อน การเป็ นผู้ชว่ ยก็จะพิสจู น์ความ สามารถของตัวเราให้ คนที่โตกว่าเห็น แล้ วเขาก็จะมอบหมายหน้ าที่และ ให้ โอกาสเรามากขึ ้นเรื่ อย ๆ อย่างพี่ที่ได้ มาท�ำตรงนี ้ไม่ใช่อยูด่ ี ๆ มาเลย พี่อยูใ่ นวงการแฟชัน่ มาแล้ วกว่า ๑๐ ปี ท�ำมาหลายอย่างมาก ก่อนจะ มาเป็ นบรรณาธิการพี่ก็เป็ น contributor (ผู้เขียนบทความส่ง) ให้ นิตยสาร Harper’s BAZAAR มาก่อนถึง ๒ ปี เขียนเรื่ องเทรนด์และ แฟชัน่ แล้ วก็เคยเขียนให้ นิตยสาร Marie Claire กับนิตยสาร Grazia ด้ วย เวลามีโอกาสเข้ ามา เราต้ องรี บคว้ าโอกาสนันไว้ ้ แล้ วก็พยายาม ค่อย ๆ ไต่ขึ ้นมา
แล้วได้อะไรจากอักษรฯ บ้าง พี่คดิ ว่า อักษรฯ สอนให้ เราเป็ นคนอดทนและแบกรับภาระ ได้ เพราะเราผ่านการเรี ยนการสอนมาเยอะมาก จบจากอักษรฯ มา เรา ก็สามารถผ่านการเรี ยนปริ ญญาโท หรื อการท�ำงานหนัก ๆ ได้ ทงนั ั ้ น้ และ ในเรื่ องของวัฒนธรรม อักษรฯ สอนให้ เราเป็ นคนที่เปิ ดกว้ าง ท�ำให้ เรา ซึมซับศิลปะได้ มาก อย่างพี่เป็ นคนที่ชอบพวกศิลปะมาก การเรี ยนรู้บท วิเคราะห์ตา่ ง ๆ ของประวัตศิ าสตร์ ศลิ ป์ท�ำให้ เวลาไปดูศลิ ปะ หรื อไป พิพิธภัณฑ์ตา่ ง ๆ เรา สามารถน�ำความคิดไปพัฒนาต่อยอดได้ เยอะ มาเป็ นบรรณาธิ การนิ ตยสารได้อย่างไร พี่อยากท�ำนิตยสารแฟชัน่ มาตังแต่ ้ เด็ก พอเรี ยนจบจาก อักษรฯ จุฬาฯ พี่จงึ ตัดสินใจไปเรี ยนต่อด้ าน Fashion Promotion ที่ สถาบัน Marangoni ซึง่ เป็ นสถาบันด้ านแฟชัน่ ที่ครบวงจรที่สดุ เพราะ เขาสอนทังเรื ้ ่ อง Fashion Marketing (การตลาดส�ำหรับแฟชัน่ ) และ Management (การบริ หาร) พอเรี ยนจบกลับมา พี่ก็ได้ รับโอกาสให้ ไป ท�ำงานกับ Luxury Brand แล้ วก็ได้ ไปเป็ นผู้อ�ำนวยการศูนย์การศึกษา ให้ กบั สถาบัน Marangoni ด้ วย ท�ำมากว่า ๑๐ ปี แล้ ว พอมีคนมา ทาบทามให้ เป็ นบรรณาธิการนิตยสารก็ดีใจมาก เพราะเป็ นความตังใจ ้ เดิมอยูแ่ ล้ ว พอมาท�ำงานนิตยสาร พี่ก็ได้ ใช้ ความรู้ทงที ั ้ ่ได้ จากอักษรฯ จาก Marangoni และจากประสบการณ์การท�ำงานที่ผา่ นมาทังหมด ้ อย่างเช่น พี่เป็ นคนที่ชอบศิลปะมาก ความรู้จากอักษรฯ ช่วยให้ สามารถ วิเคราะห์ศลิ ปะได้ อย่างลึกซึ ้ง ไม่ใช่แค่กลวง ๆ ตอนนี ้ที่นิตยสาร Harper’s BAZAAR พี่ก็จะสนับสนุน เรื่ องศิลปะมาก ลองสังเกตดูจะเห็นว่า หน้ าศิลปะในนิตยสารจะกว้ าง ขึ ้นเรื่ อย ๆ โดยจะพูดถึง artist ทังในและนอกประเทศ ้ แต่ตอนนี ้เป้า หมายของพี่ คือ สนับสนุนศิลปะเมืองไทยให้ มากขึ ้น และในเดือนนี ้ พี่ก็ ก�ำลังจัดงานศิลปะขึ ้นในวันที่ ๑๔ ตุลาคมนี ้ ซึง่ ในงานจะมีศลิ ปิ นไทยที่ ก�ำลังมาแรงมาสร้ างสรรค์ผลงานร่วมกัน
บรรณาธิ การนิ ตยสารแฟชัน่ ต้องเป็ นคนมี สไตล์ไหม ไม่จ�ำเป็ น พี่ไม่คดิ ว่าการเป็ นบรรณาธิการต้ องพยาพยาม stylish (มีสไตล์) เพราะหัวใจหลักของการเป็ นบรรณาธิการ คือ ต้ อง ท�ำงานเป็ นทีมได้ ประสานงานเป็ น ประสานกับผู้บริ หารล�ำดับสูง กอง บรรณาธิการ ทีม marketing หรื อกับคนในโปรเจ็คท์ตา่ ง ๆ เช่น เจ้ าของ ห้ างได้ บรรณาธิการจะต้ องเจอทุกคนที่เข้ ามา ดังนันต้ ้ องเป็ นนักจัดการ ที่ดี นักบริ หารที่ดี นักเจรจา และนักฟั งที่ดี มีภาพลักษณ์ที่ดี กาลเทศะก็ เป็ นสิง่ ส�ำคัญ เราต้ องให้ เกียรติคนที่เราท�ำงานด้ วย หรื อคนที่เราไปพบ เจอ เราไม่ต้องพยายาม stylish แต่การมีเซนส์ทางด้ านแฟชัน่ และ ความเข้ าใจในแฟชัน่ ก็นบั เป็ นจุดเสริ มที่ดี ภาพประกอบถ่ายโดย Bird Sivakorn จาก Harper’s BAZAAR ประเทศไทย
๒๓
“อักษรฯ สอนให้ เราเป็ นคนอดทนและแบกรับภาระได้ เพราะเราผ่านการเรี ยนการสอนมาเยอะมาก” ชอบแฟชัน่ แต่เรี ยนไม่ตรงสาย ระหว่างเรี ยนล�ำบากหรื อรู้สึกอึดอัดไหม
ถ้ากลับไปเป็ นนิ สิตได้อีกครัง้ อยากเปลีย่ นอะไร
ไม่เลย พี่ชอบมาก จริ ง ๆ มันเอาทุกอย่างมารวมกันได้ พี่ เลือกแล้ วว่า พี่ชอบอักษรฯ และไม่อยากเรี ยนแฟชัน่ เพราะจริ ง ๆ พี่ไม่ ได้ อยากตัดเย็บ พี่คดิ ว่า อักษรฯ ใช่สดุ เพราะชอบภาษา ชอบสังคม ภาษาจะช่วยหล่อหลอมเรามาเรื่ อย ๆ ช่วยให้ เราวางขอบเขต ความชอบ ของตัวเองได้ เช่น พี่เรี ยนเอกอิตาเลียน ได้ เรี ยนเรื่ องโอเปรา เรื่ องการกิน ดื่ม เรื่ องวัฒนธรรมไวน์ เรื่ องหนังโบราณ พี่ก็ได้ เอาความรู้เหล่านี ้มาใช้ เวลาท�ำงานแฟชัน่ เช่น เวลาวิเคราะห์เทรนด์ตา่ ง ๆ ก็จะเข้ าใจลึก ดังนัน้ ถ้ าน้ องมี passion ต่อประเทศไหน ก็เรี ยนให้ ร้ ูลกึ ซึ ้งทังภาษาและ ้ วัฒนธรรม แล้ วพอมาท�ำงานก็อย่าทิ ้ง เอาไปใช้ ตอ่ ยอด
พี่ไม่คอ่ ยรู้สกึ เสียดายนะ เพราะพี่ชอบเอกอิตาเลียนมาก พี่ชอบหมดทุกวิชาที่ได้ เรี ยน มันสนุกมาก แต่ก็มีชว่ งที่เป็ น sliding door (จุดเปลี่ยนในชีวิต) ที่พี่สงสัยตัวเอง ตอนปี ๑ เทอมแรก ๆ เคยคิด ว่า อยากเรี ยนเอกศิลปการละคร คือ ตอนนันพี ้ ่ยงั เด็กมาก สมัยเรี ยนมา แตร์ ฯ เราชินกับการอ่านหนังสือสอบรอบเดียว ชินกับการท�ำข้ อสอบ multiple choice แต่พอมาอยูอ่ กั ษรฯ ข้ อสอบมันกลายเป็ นข้ อเขียน หมด ต้ องท่องหนังสือไปสอบ เราปรับตัวไม่ได้ ก็เลยตกวิชา อินโทรดราม (Introduction to Dramatic Arts) พี่จงึ สงสัยตัวเองว่า ถ้ าตอนปี ๑ พี่ตงใจอ่ ั ้ านหนังสือสอบแล้ วได้ คะแนนดี จะเรี ยนเอก ดราม่าไหม ชีวิตเราจะเปลี่ยนไปไหม อยากรู้วา่ เราจะกลายเป็ นผู้ก�ำกับ ละครหรื อโปรดิวเซอร์ ละครหรื อเปล่า แต่ตอนนันพอสอบตกก็ ้ ไม่อยาก เรี ยนเอกศิลปการละครแล้ ว ลาก่อน (หัวเราะ)
วิ ธีหาแรงบันดาลใจ จริ ง ๆ แล้ วแรงบันดาลใจมีอยูร่ อบตัว อยูท่ ี่วา่ เรามองเห็น อะไรแล้ วจับมาใช้ เช่น เพียงเราเกิดความรู้สกึ ดีเมื่อเรามองอะไร หรื อฟั ง เพลงเพลงหนึ่งก็สามารถดึงมาเป็ นแรงบันดาลใจและต่อยอดได้ แล้ ว อย่างกระเป๋ าแบรนด์ Rouge Rouge ของพี่ก็ได้ แรงบันดาลใจในการ สร้ างสรรค์ผลงานมาจากศิลปะ แล้ วเวลาพี่ท�ำงาน เป็ นบรรณาธิการ ก็ ต้ องบินไปหลายประเทศทัว่ โลกอยูแ่ ล้ ว ซึง่ พี่ก็จะพยายามหาโอกาสไปดู พิพิธภัณฑ์ศลิ ปะร่วมสมัย พอไปเจอภาพที่เป็ นแรงบันดาลใจ ก็จะต่อ ยอดเป็ นแรงบันดาลใจใหม่ในการสร้ างกระเป๋ าใบใหม่ได้ เหมือนกัน หรื อ ในเรื่ องของการท�ำงานเป็ นบรรณาธิการนิตยสารที่เราต้ องเจอคนเยอะ มาก แรงบันดาลใจจะอยูใ่ นคนที่เจอนี่แหละ บางครัง้ เวลาพี่เดินทางแล้ วไปเจอตากล้ องชื่อดังระดับโลก พี่ก็ดงึ เขามา collaborate (ร่วมมือ) กับ Harper’s BAZAAR ที่ดงั มากและก�ำลังมาแรงที่สดุ ของ Le 21 ème ชื่อ Adam ซึง่ ปกติเขาถ่าย ให้ W Magazine ที่ New York พี่ก็ชวนเขามาร่วมงานกัน โดยให้ เขา ส่งรูปคนที่แต่งตัวเก๋ที่สดุ ในสายตาเขามาให้ พี่เลือก พี่จะเลือกเอาคนที่ พี่คดิ ว่าดูเท่ที่สดุ มาลงหนังสือ จะเห็นว่า แรงบันดาลใจอยูใ่ นเรื่ องใหม่ ๆ คนใหม่ ๆ ที่เราเจอ ขึ ้นอยูก่ บั ว่าเราจะดึงมาใช้ มาเชื่อมโยงยังไง
“อักษรศาสตร์ เป็ นคณะทีส่ อนให้เราเข้าใจมนุษย์” จริ งไหม พี่วา่ จริ ง ไม่ร้ ูคนอื่นคิดเหมือนกันรึเปล่า แต่โดยส่วนตัว พี่ เป็ นคนเปิ ดกว้ าง เวลาเกิดเหตุการณ์อะไรขึ ้นในชีวิต พี่เหมือนเป็ นนัก วิเคราะห์ตลอดเวลา และเวลาพบเจอคนที่เขาเข้ ามา ไม่วา่ จะร้ ายหรื อดี พี่จะวิเคราะห์ตอ่ ว่า ท�ำไมเขาถึงเป็ นแบบนัน้ คือ ท�ำความเข้ าใจเขาใน ฐานะมนุษย์คนหนึง่ แต่พี่จะไม่ตดั สิน เขาว่า “เฮ้ ย ! ท�ำแบบนี ้ไม่ได้ นะ” หรื อคิดง่าย ๆ ว่า อันนี ้คือผิด อันนี ้คือถูก พี่วา่ สิง่ นี ้น่าจะมาจากการที่ อักษรฯ สอนให้ เราซึมซับในเรื่ องศิลปะและมนุษยศาสตร์ เราได้ เรี ยนรู้ ว่า มันไม่มีอะไรตายตัว และเราต้ องเปิ ดกว้ างอยูเ่ สมอ -
๒๔
น ว พ ล ธ�ำ ร ง รั ต น ฤ ท ธิ์
columnist ประจ� ำนิ ตยสาร a day นักเขี ยนบทภาพยนตร์ มี ผลงาน อาทิ รถไฟฟ้ ามาหานะเธอ รัก 7 ปี ดี 7 หน เป็ นผูก้ �ำกับภาพยนตร์ เรื ่อง 36 MARY IS HAPPY, MARY IS HAPPY The Master เป็ นต้น
แรงบันดาลใจทีท่ �ำให้เลือกเรี ยนคณะอักษรฯ
ความคิด หรื อข้ อมูลมาเหมือนกัน อย่างเวลาตอบข้ อสอบใด ๆ ก็ตาม ต้ องตอบแบบเรี ยงล�ำดับใจความ ย่อหน้ าที่ ๑ ต้ องพูดถึงเรื่ องนี ้ ต่อด้ วย develop (ขยายความ) นี ้ ๆ สรุปนี ้ ๆ หรื อเวลาประชุม ก.อศ. ก็เหมือน กัน บางทีเราคุย ๆ กันไปมันจะออกทะเล พวกหัวหน้ า ก.อศ. หรื อพวก หัวปี ก็จะคอยดึงกลับมา หยุด พวกมึงออกนอกประเด็นแล้ ว กลับเข้ า ประเด็นก่อน มันเป็ นเรื่ องการจัดการข้ อมูลน่ะ ซึง่ เอาเข้ าจริ งแล้ ว มันได้ ใช้ ตอนท�ำบท ตอนเล่าเรื่ องเยอะมาก การท�ำหนังหรื อการเขียนหนังสือก็คือการล�ำดับข้ อมูลนัน่ แหละ เพียงแต่มนั ถูกเปลี่ยนเป็ นล�ำดับซีน ล�ำดับย่อหน้ า แล้ วคือเวลา เขียนบทมันต้ องใช้ สติ ต้ อง organise (จัดระบบ) ความคิดประมาณ หนึง่ เพราะเราอยูก่ บั กระดาษ ตัวหนังสือ แล้ วมันมองไม่เห็นภาพขนาด นัน้ หนังบางเรื่ องยาว ๑๒๐ นาที บางทีเขียนไปไม่ร้ ูถงึ ไหน บางทีเขียนไป ครึ่งเล่มแล้ ว เฮ้ ย ถึงกลางเรื่ องหรื อยังวะ
ตอบแล้ วจะดูเศร้ า จริ ง ๆ แล้ วอยากเข้ านิเทศฯ ล่ะ แต่ชว่ ง นันเศรษฐกิ ้ จแย่ ประกอบกับเมื่อ ๑๐ ปี ที่แล้ วเรี ยนนิเทศฯ มักตกงาน ก็ เลยคิดว่า อักษรฯ เซฟ ๆ ไม่ร้ ูวา่ เข้ าใจถูกหรื อเข้ าใจผิดนะ แต่ ณ ตอน นันรู ้ ้ สกึ ว่า เรี ยนแล้ วเปอร์ เซ็นต์การตกงานอาจจะน้ อยกว่า หมายถึงว่า อาจได้ ท�ำงานแปล เป็ นครู แต่ก่อนเชื่อว่า รู้ภาษาแล้ วจะไม่แย่นะ คือคิ ดว่า รู้ภาษาไว้ได้ใช้แน่ ๆ ใช่ แต่อีกใจหนึง่ รู้สกึ ว่า ถ้ าเรี ยนอักษรฯ จะได้ เรื่ องบท ภาพยนตร์ เพราะมันต้ องเรี ยนพวกมนุษยศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ปรัชญา มันก็มนุษย์ ๆ ซึง่ บทหนังมันเกี่ยวกับมนุษย์อยูแ่ ล้ ว และส�ำหรับเรา บท ส�ำคัญสุด ตอนนันเราอยู ้ ่ ม. ๔ ม. ๕ เราไปดูหนังของพี่เจ้ ย (อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล) แล้ วรู้สกึ ว่า หนังเขาแม่งแจ๋วดีวะ่ ไม่คอ่ ยเหมือนหนังปกติ แล้ วเขาเรี ยนคณะสถาปั ตยฯ มา เลยรู้สกึ ว่า อ้ าว ไม่ต้องเรี ยนฟิ ล์มก็ได้ มัง้ บ้ านเราก็ไม่ได้ รวยมากไง มันต้ องค�ำนวณเยอะหน่อย เลยเลือก อักษรฯ นี่แหละ เพราะดูกลาง ๆ โยนข้ ามไปข้ ามมาได้
บรรยากาศโดยรวมของคณะตอนเรี ยนอยู่ เรื่ องภูมิทศั น์มีผลมาก แต่ก่อนมันจะมีตกึ ๔ ซึง่ จะมีม้านัง่ หน้ าตึกเยอะ ๆ เป็ นชุมชนเล็ก ๆ อะ โต๊ ะนี ้ของฝ่ ายนี ้ โต๊ ะนี ้ของกลุม่ นัน้ แล้ วมันก็เจอกันง่าย แต่น้องรุ่นนี ้อาจจะรู้สกึ ว่า กูก็เจอกันง่ายเหมือนกัน แหละ ไม่เห็นมีอะไรเลย ใช้ คยุ Facebook เดี๋ยวก็มาเจอกันได้ แต่เรา รู้สกึ ว่า ยุคเราจะติดเป็ นก้ อน ๆ กันมากกว่า แล้ วเวลาท�ำอะไรจะเห็นกัน หมด สมมติวา่ น้ องไปท�ำอะไรหน้ าตึกเนี่ย ทุกคนตรงนันจะเห็ ้ นหมดเลย อะ เป็ นพื ้นที่กลาง แล้ วมันเล็กกว่าตอนนี ้มัง้ หมายถึงว่า พื ้นที่ก็เท่าเดิม
พอเข้ามาเรี ยนแล้วเป็ นอย่างไร ได้เรี ยนรู้อะไรบ้าง มันก็ได้ วิธีคดิ ได้ วิธีมอง สมมติเรี ยนวิชาปรัชญา เรื่ อง ท�ำแท้ งผิดไหม ก็จะได้ ร้ ูวา่ ทังสองฝ่ ้ ายคิดอย่างไร และได้ เรื่ องการล�ำดับ
๒๖
แหละ แต่วา่ พื ้นที่ที่มนั บีบคนให้ มาอยูจ่ ดุ เดียวท�ำให้ ร้ ูสกึ ว่า มันเป็ นกลุม่ ก้ อน พวกบรรยากาศอื่น ๆ ก็ไม่ร้ ูจะเทียบยังไง ไม่ได้ มาที่นี่นาน นิสติ อักษรฯ จะเรี ยบร้ อย อย่างใครบ้ า ๆ หน่อยก็จะถือว่าเกินขีดแล้ ว
เราว่า มันค่อนข้ างประสบความส�ำเร็ จประมาณหนึง่ นะ เด็กศิลปกรรมฯ ก็มายืนดูความบ้ าบอคอแตกของอักษรฯ อยากท�ำหนังมาตัง้ แต่ก่อนทีจ่ ะเข้าอักษรฯ แล้วท�ำไมไม่เลือกเอก ศิ ลปการละคร
สมัยเรี ยนท�ำกิ จกรรมอะไรบ้าง หลัก ๆ คือ ฉายหนังของภาคละคร ฉายหนังครูป้อม (อาจารย์ปวิตร มหาสาริ นนั ทน์) ทุกวันพุธอะ ตอนนี ้ก็ยงั มีอยูน่ ะ ก็จะ เป็ นคนรับลงทะเบียน แล้ วก็ท�ำโปสเตอร์ วา่ เทอมนี ้มีเรื่ องอะไรบ้ าง ท�ำ เป็ นใบปลิวไปแจก แต่วา่ ก็ไม่ได้ ท�ำแจกแค่ที่คณะ มีไปแจกที่อื่นเผื่อเด็ก จุฬาฯ คณะอื่นมาดูด้วย ตอนแรกก็นกึ ว่าจะได้ ดหู นัง แต่เป็ นคนรับลง ทะเบียนต้ องอยูข่ ้ างหน้ า เข้ าเป็ นคนสุดท้ าย บางทีมีคนมาสาย ๑๐-๑๕ นาที พอสาย ๑๕ นาทีเราก็ไม่ดแู ล้ ว คิดว่า เดี๋ยวไว้ ไปยืมแผ่นมาดูแล้ ว กัน กับอีกแบบหนึง่ คือ การบ้ านไม่เสร็ จ มันจะ crash (ชน) กันนิดหนึง่ เพราะว่า เราเรี ยนจีนแต่อยากจะฉายหนังด้ วย มึงก็ต้องเอาการบ้ านจีน มาคัดหน้ าห้ องฉายหนัง อะไรท�ำนองนี ้ อีกอย่างหนึง่ คือ ท�ำสาราณียกร ท�ำหนังสือ อย่างปี ๑ ปี ๒ ก็เป็ นน้ องมาช่วยพี่เขาเขียนคอลัมน์ ท�ำสัมภาษณ์ พอปี ๓ ก็เป็ น บรรณาธิการ เราก็ดทู งหมด ั้ ท�ำทังหมด ้ เพราะว่ายุคนันไม่ ้ มีคนท�ำอาร์ ต เวิร์กเลย ทักษะการจัดหน้ าเราเป็ นศูนย์ อีกนิดเดียวจะจัดใน Word กัน อยูแ่ ล้ ว แต่เราชอบก็เลยลองท�ำดู อาจจะไม่ได้ ออกมาดีขนาดนัน้ แต่ก็ดี กว่าที่เคยเป็ นมา ยังมีลกู เล่น มีการวาง layout (หน้ ากระดาษ) ตอนปี สุดท้ ายท�ำคอนเสิร์ตอักษรฯ ก่อนที่เราเข้ ามาท�ำ มัน เป็ นงานเหมือนคอนเสิร์ตใต้ ตกึ ที่ใครอยากร้ องเพลงอะไรก็มา audition ลิสต์เพลงมา แล้ วก็ร้องให้ คนมาดู ซึง่ ช่วงปี ๑ ปี ๒ เรารู้สกึ ว่า “เฮ้ ย มึง ร้ องเพลงอะไร กูไม่เห็นรู้จกั เลย” มันก็ดีในแบบมันนะ แต่เราก็จะเห็นว่า แม่งดูกนั ๓๐ คน ไฟก็เสียเท่าเดิม ปี เราท�ำเลยลองจัดดูวา่ ถ้ าเกิดจะเอา คนทัง้ ๔ ปี เข้ ามาร่วมกันทังหมดจะท� ้ ำยังไง เลยไม่ออดิชนั แล้ ว เป็ นการ เลือกเอาตัวท็อปทุกปี มารวมกัน แล้ วก็มีธีม เลือกเพลงที่คนน่าจะรู้จกั หน่อย มีการล�ำดับคิว มีพิธีกร คนนันร้ ้ องเพลงดีก็เอามา แต่บางคนก็ไม่ ชอบนะ คนที่เคยร้ องมาก่อนแล้ วเราไม่เอาอะ บางทีเราว่า มันไม่ใช่เรื่ อง เสียง แต่มนั เป็ นเรื่ องคนนี ้ควรจะร้ องเพลงนี ้แล้ วมันน่าจะสนุก ในปี นัน้
อ๋อ คือไม่ใช่ทางเท่าไหร่ ส�ำหรับเราหนังกับละครดูคล้ าย ๆ กัน แต่ไม่เหมือนกันนะ ตอนที่เราต้ องไปช่วยพี่เล่นละครอยู่ ๒-๓ วัน แล้ วเราต้ องเล่นเป็ นปะการัง (หัวเราะ) คือ ไม่เข้ าใจ ไม่เก็ต อาจจะเป็ น เรื่ องการแสดงด้ วยที่ท�ำให้ ไม่เหมือนกัน อย่างเราก็จะรู้วา่ ในหนังไม่เคย มีใครต้ องเล่นเป็ นปะการัง ก็ใช้ ปะการังจริ งไปเลย หนังมันจะมีความ realistic (สมจริ ง) ประมาณหนึง่ มีคนเล่นเป็ นคน เวลาพูดก็จะพูดตาม ปกติ ในขณะที่ละครต้ องเล่นใหญ่เพื่อจะส่งไปถึงให้ ข้างหลัง ละครเป็ น เรื่ อง space (พื ้นที่) จริ ง เรื่ อง live (การแสดงสด) ซึง่ ไม่ใช่สงิ่ ที่เราสนใจ มากนัก เราก็เลยไม่ได้ เรี ยนละคร พอปี ๓ เราก็ข้ามไปเรี ยนนิเทศฯ เพราะการเรี ยนจีนตอนปี ๓ มันน่าเบื่อโคตร ๆ มันยากขึ ้นเรื่ อย ๆ เหมือน เพิ่งมารู้ตวั ว่าเข้ าคณะผิดตอนปี ๓ “อ้ าว เฮ้ ย เขาอยากให้ กเู ป็ นครู เป็ น นักวิชาการเหมือนเขาเหรอเนี่ย” เพราะฉะนันเราเข้ ้ าใจนะว่า มันต้ อง สอนแบบลึกมาก ๆ ด้ วยจ�ำนวนเวลาที่เหลืออยูแ่ ค่ ๒ ปี สุดท้ ายก็เลย ซูเปอร์ เข้ มข้ นอะ ตอนนันเอกจี ้ นเลือกโทมัว่ ได้ โทมัว่ เป็ นคลาสบ�ำบัด ของเรามาก ประมาณว่า “เฮ้ ย ได้ มาเรี ยนหนังสารคดีวะ่ แจ๋วดีวะ่ สบาย” ตอนนันเริ ้ ่ มคิดว่า นี่กเู ข้ าผิดใช่ไหม กูควรจะมาอยูท่ ี่นี่ตงแต่ ั ้ ปี ๑ ใช่ไหม แต่ก็ชา่ งมัน ปี ๓ แล้ ว ขี ้เกียจซิว่ นิ เทศฯ ดูน่าจะใช่กว่า ถ้ามี โอกาสเลือกใหม่ยงั จะเลือกเข้าอักษรฯ ไหม เลือกอักษรฯ เพราะรู้สกึ ว่า ที่เราผ่านเส้ นทางนี ้ มันเอามา ใช้ ตอนนี ้ได้ เยอะมาก ก็ไม่ร้ ูวา่ ไปเรี ยนนิเทศฯ อาจจะได้ อะไรคล้ าย ๆ กัน รึเปล่า แต่ที่เราผ่านถนนเส้ นนี ้ก็ไม่ร้ ูสกึ เสียดายเวลา เพราะการต้ องผ่าน คนจุกจิก คิดมาก มันจะได้ วิธีการคิด วิธีการมองที่ละเอียด
๒๗
“ท�ำเลย อย่าพูดมาก น่าร� ำคาญ อย่ามา ‘เราว่าจะท�ำอย่างงี ้’ คือท�ำไปเหอะ ห่วยก็หว่ ย เพราะถ้ าไม่หว่ ยก็ไม่ร้ ูวา่ มันผิดหรื อเปล่า” เห็นด้วยกับวาทกรรม “เรี ยนอักษรฯ แล้วเข้าใจมนุษย์” ไหม เราจ�ำเป็ นต้ องเข้ าใจมนุษย์ แต่เราไม่จ�ำเป็ นต้ องเรี ยน อักษรฯ เรี ยนรัฐศาสตร์ อาจจะเข้ าใจกว่าก็ได้ นะ ไม่ใช่ต้องเรี ยนอะไร ที่ไหน ยังไง แล้ วจึงจะเข้ าใจมนุษย์ ที่จริ งอย่างเราเองรู้สกึ เข้ าใจมากขึ ้น เมื่อตอนเรี ยนจบไปแล้ ว เราได้ อา่ นหนังสือที่มนั หลากหลายขึ ้นกว่าตอน ยังเป็ นนิสติ ที่นี่อาจจะดีหน่อยตรงที่คนเป็ นคนคิดมากกันหมดอะ มันจะ ติดโน่นติดนี่ ท�ำไมไม่เป็ นแบบนัน้ ท�ำไมต้ องท�ำอย่างนี ้ ท�ำไมไม่ท�ำแบบ โน้ น อย่างการตอบข้ อสอบปรัชญา มันก็ตอบดุม่ ๆ ตรง ๆ ไม่ได้ ต้ องคิด ไปคิดมานิดหนึง่ ไม่งนตรงนี ั้ ้อาจารย์ยิงชัวร์ อะไรท�ำนองนี ้ แต่มนั ไม่ จ�ำเป็ นต้ องเป็ นที่นี่ก็ได้ เพียงแต่วา่ สภาพพื ้นที่ที่นี่อ�ำนวยให้ คดิ เยอะ หน่อย แต่อาจจะไม่เป็ นที่นี่ที่เดียว ที่อื่นอาจจะดีกว่าก็ได้ เราไม่เคยเรี ยน เราก็ตอบไม่ได้ คนที่ไม่ได้ เรี ยนจุฬาฯ แล้ วเก่งกว่าเรามีเพียบเลยนะ
แล้วจากจุดนัน้ มาถึงภาพยนตร์ เรื ่อง 36 ได้อย่างไร พอ ๑ ปี ก่อนท�ำ 36 เรารู้สกึ ว่า เราพร้ อมแล้ ว มีกล้ อง DSLR มีอะไรแล้ ว มันถ่ายได้ เราเห็นมันเป็ นโปรเจ็คท์เล็ก ไม่ได้ กงั วล มาก ไม่ใช่วา่ “นี่คือหนังเรื่ องแรกของเรานะ เราจะต้ องท�ำให้ มนั ยิ่งใหญ่” เพราะถ้ าเราตังใจท� ้ ำให้ มนั ยิ่งใหญ่ เราคงท�ำใหญ่กว่านี ้ไปแล้ ว ตอนแรก จะแค่ ๔๕ นาที แต่ตดั ไปตัดมาแล้ วยาว ก็เลยปล่อยเป็ นหนังยาวเรื่ อง แรกของเรา เรากะว่าจะฉายที่หอศิลป์เล็ก ๆ ๒-๓ รอบก็พอ โชคดีที่คน มันอินแล้ วสนุกไปกับหนัง โชคดีที่มนั ส่งเทศกาลแล้ วได้ รางวัลด้ วยมัง้ บทพูดในหนังสมจริ งทุกเรื ่อง เคล็ดลับคืออะไร จริ ง ๆ อาจเพราะเราชอบงาน realistic (สัจนิยม) ชอบฟั ง คนคุยกัน ชอบฟั งเวลาเขาโต้ ตอบกัน มันจะเอาไปปรับใช้ ได้ ในหนัง ตลอด ท�ำให้ สมจริ งขึ ้นโดยอัตโนมัติ คนเราเวลาพูดจะไม่พดู ธีม มัน แปลก สมมติวา่ คนที่ไม่ได้ เป็ นเพื่อนที่สนิทกันขนาดนัน้ ถ้ าหิวจะไม่ อยูด่ ี ๆ ลุกขึ ้นมาแล้ วบอกว่า “หิวโว้ ย ! ” มันจะพูดว่า “เฮ้ ย กินข้ าวกันปะ” ๒ ทีแปลว่าหิวมาก มันคือ subtext (ความหมายโดยนัย) ซึง่ นี่เป็ น ธรรมชาติของคนอยูแ่ ล้ ว แล้ วเรารู้สกึ ว่า หนังต้ องเป็ นการ observe (สังเกต) อะ เป็ นการมองแล้ วไปคิดต่อเอง เราอยูใ่ นกรอบ realistic อยู่ ฉะนัน้ เราต้ องเล่นตามเกม realistic วิธีพดู มันต้ องไม่พดู ตรง ๆ ชีวิตคน เราก็เป็ นแบบนัน้
เส้นทางชี วิตหลังเรี ยนจบ จริ ง ๆ ตอนเรี ยนจบ นิตยสาร a day ชวนเราไปท�ำนะ แต่ เรารู้สกึ ว่า เราท�ำหนังสือมา ๒ ปี พอท�ำเป็ นประมาณหนึง่ เลยคิดไปเอง ว่า อ๋อ ๆ มันมีฝึกเท่านี ้แหละ สิง่ ที่ยงั ไม่เคยท�ำจริ ง ๆ คือ หนัง ตอนปี ๒ เราเริ่ มถ่ายหนังแล้ วล่ะ แต่ยงั รู้สกึ ว่า มันเพิ่งเริ่ มหัดท�ำ ยังไม่ร้ ูอะไรเยอะ ไปกว่านัน้ เราอยากจะรู้วา่ สตูดโิ อคืออะไร เป็ นยังไง เขียนบทหนังยาว ยังไง ลึก ๆ แล้ วเราอยากท�ำหนังเป็ นอาชีพมากกว่า ก็เลยบอกตัวเองว่า ให้ เวลาปี แรก ๑ ปี ท�ำยังไงก็ได้ แต่ต้องท�ำหนัง เราก็หดั ตัดต่อ ส่ง ประกวด ซึง่ ก็มีได้ รางวัลบ้ าง จนมันค่อย ๆ ดีขึ ้น ต่อมาเราก็เอาพอร์ ตฯ ไปสมัครตัดต่อที่ GTH ซึง่ โชคดี พี่ฝ่ายเขียนบทจ�ำได้ วา่ “อ๋อ น้ องท�ำส่ง ประกวดงานนี ้เหรอ พี่ไปดู ชอบ แต่ไม่ร้ ูวา่ ใครท�ำ มาพอดี มาเขียนบท ไหม” เขาก็เลยรับ แต่ก็ไปฝึ กตัดต่อก่อนสักพักถึงย้ ายไปเขียนบท ได้ ความรู้เยอะนะ พวกวิธีตดั ตัวอย่างหนัง ตัดสกู๊ป เป็ นความรู้ที่ดี แล้ วก็ได้ ฝึ กเขียนบท ท�ำอยูป่ ระมาณอีก ๑ ปี ก็ได้ เขียนบทเลย ที่ GTH ณ ตอน นันดี ้ ตรงที่วา่ การฝึ กงานไม่ใช่วา่ “น้ องไปซีร็อกซ์นะ” ฝึ กงาน คือ เหมือน ไปเรี ยนนิเทศฯ อีกรอบเลย พี่เขาจะเรี ยกมานัง่ ในห้ องประชุมกัน ๓ คน แล้ วพี่เขาก็เปิ ดหนัง ค่อย ๆ อธิบายสอน รู้สกึ ว่า เหมือนเรี ยนปริ ญญาโท แต่เป็ นการลงมือท�ำไปเลย
ช่วยให้ก�ำลังใจ หรื อฝากข้อคิ ดแก่นอ้ ง ๆ ทีอ่ ยากเป็ นผูก้ �ำกับหน่อย ท�ำเลย อย่าพูดมาก น่าร� ำคาญ (หัวเราะ) อย่ามา “เราว่าจะ ท�ำอย่างงี ้” คือท�ำไปเหอะ ห่วยก็หว่ ย เพราะถ้ าไม่หว่ ยก็ไม่ร้ ูวา่ มันผิด หรื อเปล่า หนังเรื่ องแรกของเราห่วยมากเหมือนกัน แต่ก็ไม่เป็ นไรครับ ค่อย ๆ หัดไป เขียนผิดเขียนถูกก็หดั ไป แต่ต้องท�ำ การท�ำหนังมันเหมือน เวทมนตร์ น้ องนึกไม่ออกหรอก ถ้ าไม่ลงมือ คิดว่า มันจะสวย พอไปถึง พบว่าแสงห่วย ท�ำไงดีวะ มันต้ องค่อย ๆ เรี ยนรู้วา่ อ๋อ ไปหลบถ่ายตรงนี ้ ได้ นี่หว่า สวยกว่าอีก ถ้ าเกิดคิดเอาเองลอย ๆ มันไม่ร้ ูหรอก -
๒๘
ภิ ญ ญุ ด า ตั น เ จ ริ ญ
อดีต columnist ประจ� ำนิ ตยสาร a day ปั จจุบนั เป็ น columnist ประจ�ำ Damn Magazine และ creative ของ เกเร บริ ษัทรับจัดงานดนตรี ผูอ้ ยู่เบื อ้ งหลังเทศกาลดนตรี เช่น Big Mountain มัน ใหญ่ มาก จิ้ มไหล่ และ Genie Fest 16 ปี แห่งความร็ อก
ความทรงจ� ำสมัยเรี ยนทีย่ งั จ� ำได้แม่น
อาจารย์สเุ นตร (รองศาสตราจารย์ ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์) เป็ นคนสอน เขาถามว่า “หากพูดถึงประวัตศิ าสตร์ พวกคุณนึกถึงเรื่ องอะไร” คนหนึง่ ตอบขึ ้นมาว่า “นเรศวร” อาจารย์ถามต่อว่า “นเรศวรท�ำไม” นิสติ คนนัน้ ตอบว่า “ชนช้ าง” “รู้ได้ ไงว่าชนจริ ง” ช็อก ตกลงว่าชนหรื อไม่ได้ ชนวะ แต่ ที่เราเรี ยนตอน ม.ปลาย มา มันชนนะ
คิดถึงตึก ๔ ที่เป็ นตึกเก่า ๆ โสโครก ๆ มันโดนทุบตอนที่เรา อยูป่ ี ๔ เรารู้สกึ ว่า ไอ้ ตกึ โสมมหลังนันเป็ ้ นพื ้นที่ที่ท�ำให้ คนในคณะใกล้ กัน ไอ้ เรื่ องสถาปั ตยกรรม เรื่ องแบบ เรื่ องพื ้นที่ มันมีผลต่อคนนะ เรื่ อง เราอยูใ่ นพื ้นที่แบบไหนแล้ วเราปฏิบตั ติ วั อย่างไร
ตอนเรี ยนเอกประวัติศาสตร์ มีช่วงเวลาไหนทีร่ ู้สึกบรรลุสดุ ๆ ไหม
อธิ บายให้ฟังหน่อยว่า ตึก ๔ เป็ นอย่างไร
เรี ยนตอนนันชอบมาก ้ เรี ยนกับอาจารย์สวุ ิมล (ผู้ชว่ ย ศาสตราจารย์สวุ ิมล รุ่งเจริ ญ) วิชาที่เราชอบที่สดุ คือ วิชาวิธีการความ คิดทางประวัตศิ าสตร์ ตอนที่เราเรี ยนเอกประวัตฯิ เพื่อน หรื อใครก็ตาม ชอบถามว่า เรี ยนประวัตศิ าสตร์ เรื่ องอะไร เรี ยนเกี่ยวกับชาติอะไร ท�ำนองนี ้ คือ เราก็ร้ ูสกึ ว่า เราไม่ใช่คนที่เรี ยนแล้ วจะเซียนจีนยุคโบราณ ยุคกลางยุโรป หรื ออเมริ กา เราไม่ได้ เป็ นเซียนด้ านไหนเลย แต่เรารู้สกึ ว่า สิง่ ที่ส�ำคัญ คือ เรื่ องวิธีการความคิดนี่แหละ ไม่ใช่วา่ การเขียน ประวัติศาสตร์ จะอยู่ด้วยตัวของมันเองโดยไม่ได้ เกี่ยวข้ องกับอะไรเลย เรื่ องความคิด ค่านิยม ระบบการเมือง เศรษฐกิจ ทุกอย่างที่อยูร่ อบตัว บริ บทรอบตัว ล้ วนมีผลต่อการเขียนประวัติศาสตร์ ทงสิ ั ้ ้น บอกไม่ได้ หรอกว่า มีประวัตศิ าสตร์ ชดุ หนึง่ แล้ ว มันจะอยูอ่ ย่างนี ้ตลอดไป แม้ แต่ งานเขียน ตัวงานวิจยั แต่ละชิ ้นต้ องโจมตีได้ ถูกวิจารณ์ได้ ถ้ าสุดท้ ายหา หลักฐานที่ solid (น่าเชื่อถือ) พอมาสนับสนุนได้ งานวิจยั ตัวนี ้ก็ต้องถูก ลบล้ าง ในต่างประเทศเขาถือว่าเป็ นเรื่ องปกตินะ แต่พอมาเป็ นประเทศ ไทยไม่ได้ นะเว้ ย
เป็ นตึก ๓ ชัน้ ชันล่ ้ างมีห้องนาฏศิลป์ มีห้องสัมมนา เรี ยก ว่า ห้ อง ๑๐๓ แล้ วก็มีห้อง ก.อศ. มันเป็ นห้ องที่ไม่วา่ จะเก็บยังไงก็รก ตลอดเวลา ส่วนชันบนเป็ ้ นห้ องเรี ยนคอมฯ (ห้ องโสตทัศนศึกษา) ใช้ เวลาฝึ กฟั ง ฝึ กพูดของคนที่เรี ยนสายภาษา เขาจะมาเปิ ดเทปฟั งกันที่นี่ เราคิดถึง ด้ วยความเก่า ความกักขฬะของมันท�ำให้ คนเป็ นกันเองมากขึ ้น ถ้ าเทียบกัน เวลาอยูท่ ี่ตกึ บรมฯ เราจะรู้สกึ ว่ามันไม่ใช่ที่ของเรา เวลา เข้ าไป เราก็จะเจอพื ้นหินอ่อนขาวสะอาด มียามยืน ความโอ่โถง อะไร อย่างนี ้ มันท�ำให้ เรารู้สกึ ว่า เฮ้ ย เราต้ องวางตัวดี ๆ เทียบกับการที่เราอยู่ ตึก ๔ มันเหมือนอยูก่ บั เพื่อนเหี ้ย ๆ แล้ วจะท�ำอะไรกับมันก็ได้ อะไรทีอ่ กั ษรฯ สอนแล้วยังติ ดตัวมาจนปั จจุบนั เรื่ องวิธีคิดนี่แหละ ตอนคาบแรกที่เรี ยนประวัตศิ าสตร์ หลัง จากเลือกเอกแล้ ว เขาจะหยัง่ เชิงก่อนว่า ที่มาเรี ยนเอกนี ้รู้อะไร แค่ไหน
๓๐
คิ ดอย่างไรกับวาทกรรมทีว่ ่า “เรี ยนอักษรฯ เพือ่ เข้าใจมนุษย์”
เวลาว่างเขาก็เข้ าห้ องสมุดไปค้ นคว้ าเรื่ องเครื่ องทรมาน เรื่ องของเล่นเด็ก ในยุคกลาง ว่า แต่ละอย่างเป็ นอย่างไร ท�ำนองนี ้ มีคนแบบนี ้อยูจ่ ริ ง อีก ตัวอย่างหนึง่ เช่น เพื่อนที่เรี ยนเอกภาษา บางทีเราอาจจะรู้สกึ ว่า มันก็ เป็ นแค่ทกั ษะ ที่เอาไปใช้ ตอ่ ยอดในการท�ำงาน แต่อนั ที่จริ ง พวกเขามี ความสุขสุด ๆ ในจุดที่พวกเขาอยู่ อย่างเพื่อนเราอยูเ่ อกภาษาอังกฤษ เขาบอกว่า “กูเรี ยน phonetics (สัทศาสตร์ ) แล้ วกูออกเสียงเป๊ ะ ๆ ได้ ทกุ ค�ำ ค�ำยาว ๆ กูก็ออกเสียงได้ ถกู มึงพูดมาเลย” สุดท้ ายแม้ คนที่เป็ น เนิร์ดด้ านต่าง ๆ เขาจะไม่ได้ สนใจเรื่ องเดียวกับเรา แต่การที่ได้ คยุ กับเขา มันเปิ ดโลก ขยายกรอบมุมมองของเราต่อไปเรื่ อย ๆ มีความสุขทุกครัง้ เวลานัง่ คุยแลกเปลี่ยนกับเพื่อนที่เชี่ยวชาญแต่ละแขนง แต่ละสาย เหมือนมีคนที่คดิ ทบทวนอะไรกับตัวเองมาเยอะมาก แล้ วก็มาปะทะกัน กับคนที่คดิ ทบทวนมาเหมือนกัน แต่ดนั คิดไม่เหมือนกัน โดยที่ไม่ได้ ทะเลาะกันนะ อาจจะเถียงกันรุนแรงหน่อย แต่สดุ ท้ ายก็ร้ ูวา่ มันมีสงิ่ นัน้ สิง่ นี ้ ไม่ได้ บอกว่า พูดไปแล้ วจะเจอค�ำตอบที่ตายตัว แต่มนั ช่วยขยาย มุมมองและกรอบการมองโลกแน่
ถ้ าอักษรฯ จะอ้ างตัวว่า เป็ นคณะที่สอนให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจ มนุษย์อย่างที่มนั ควรจะเป็ น ต้ องพยายามเลิก stereotype (เหมารวม) เพราะถ้ า stereotype อย่าง โอเค เด็กวิทย์ต้องเนิร์ด ก็จะเห็นแค่นนไง ั้ การ stereotype มันมีข้อดี คือ ท�ำให้ เราจัดการกับอะไรต่าง ๆ ได้ งา่ ยขึ ้น ง่ายในระดับที่ร้ ูวา่ จะเลือกใช้ protocol (วิธี) แบบไหนจัดการกับคน แบบนี ้ แต่พอถึงเวลาจริ ง มันก็อาจจะเป็ นภาพลอย ๆ ที่เราสร้ างขึ ้นเอง ไม่สอดคล้ องกับความเป็ นจริ งก็ได้ ตอนเข้ ามาในคณะอาจารย์บางท่าน เหยียดคนที่บอกว่า อยากเรี ยนจบไปเป็ นแอร์ ฯ มากเลยนะ แล้ วยังไงล่ะ คนที่เขาเรี ยนวิชาชีพอะไรบางอย่างเพื่อหาเงิน ศักดิ์ศรี เขาจะต�่ำกว่าการ เป็ นอาจารย์ เป็ นนักวิชาการเหรอ ? ถึงที่สดุ เเล้ วถ้ าจะยึดถือว่า จุฬาฯ เป็ น เสาหลักของแผ่นดิน มันก็ต้องยอมรับที่จะปรับตัวเข้ าหาสังคม ไม่ งันก็ ้ จะเป็ นได้ เเค่ตอม่อมอเตอร์ เวย์ที่ไม่ร้ ูวา่ มีไว้ เพื่ออะไร แต่ก่อนมันมี เพลงของคณะว่า “อักษรฯ สวย อักษรฯ เก่ง อักษรฯ เลิศ” อะไรท�ำนอง นี ้ เราอวยตัวเอง แล้ วก็อยูแ่ ต่ในกะลาของตัวเอง ต้ องเข้ าใจนะว่า จะ เอาค�ำว่า “สวย” มานิยามอักษรฯ ถึงขันท� ้ ำเสื ้อเขียนว่า “อักษรฯ สวย ตังแต่ ้ รุ่นย่า” ออกมา อะไรเนี่ย แล้ วคนที่เรี ยนอักษรฯ แต่ไม่ได้ อยากเอา ค�ำว่า “สวย” มาเป็ นคุณสมบัติของตัวเองล่ะ จะว่ายังไง เราลืมไปหรื อ เปล่าว่า ผู้ชายแท้ ๆ คณะเราก็มีเหมือนกัน
ช่วงเวลาทีส่ ขุ และทุกข์ ทีส่ ดุ ตอนอยู่อกั ษรฯ ตอนเรี ยนปี ๓ เราเป็ น ก.อศ. ฝ่ ายศิลปะและวัฒนธรรม พอดีเพื่อนเราเป็ นปี ก่อนหน้ า เราเห็นการท�ำงานทุกอย่างแล้ วรู้สกึ ว่า มัน ล�ำบากเกินไปไหม ไม่ร้ ูวา่ รุ่นน้ องยังมีอยูห่ รื อเปล่า การที่ต้องอยูค่ ณะ ยันเช้ าเพื่อท�ำกระทง จัดขบวนประกวด มันเป็ นงานใหญ่ของคณะเลยนะ แล้ วทุกคนก็ต้องมาช่วยกันท�ำ เพื่อนเราเป็ น เราเลยต้ องคอยช่วยเหลือ เขา ท�ำให้ เราคิดว่า เรื่ องบางอย่างเราท�ำให้ มนั ง่ายกว่านี ้ได้ นะ เป็ นการ ท้ าทายตัวเองที่อยากมาท�ำตรงนี ้ เราอยากลองทดลองวิธีการที่ท�ำอย่าง ไรก็ได้ ให้ คนที่มาท�ำงานได้ นอนกันทุกคน สิง่ ที่เราท�ำ คือ จัด head (หัวหน้ า) หมดเลย ขบวนแบ่งการแสดงออกมาเป็ น ๕ ชุด ก็มี head ๕ คน แล้ วก็มี head ตามฝ่ าย เช่น ท�ำกระทง ซื ้อดอกไม้ ซื ้อข้ าว เวลาท�ำ อะไรก็จะ ได้ ไม่ต้องมาถามความเห็นเรา หน้ าที่หลักของเรา คือ ดูภาพ รวม คอยแก้ ปัญหา ประสานให้ ทกุ ฝ่ ายท�ำงานสัมพันธ์กนั
วลีทีส่ มกับคณะอักษรศาสตร์ “อักษรฯ เรี ยนกันจนหัวฟู ประหนึง่ ว่า ๑ วัน มี ๔๘ ชัว่ โมง” (หัวเราะ) เป็ นช่วงเวลาที่หอมหวานดีเนอะ ช่วงเวลาสมัยเรี ยน เรารู้สกึ ว่า ความดีงามของอักษรฯ คือ มันมีคนที่ specialised (เชี่ยวชาญ) ใน ด้ านต่าง ๆ แบบสุดทางจริ ง ๆ เยอะมาก มันเป็ นความน่ายินดีนะ ที่เรา ได้ เรี ยนรู้จากพวกเขา ตัวคณะอักษรฯ เองอาจจะไม่มีวลีอะไรที่กว้ างพอ ครอบคลุมทุกคน แต่ในอักษรฯ เราจะเจอคนที่รักการเรี ยนรู้ แบบสุดโต่ง อาจารย์แต่ละท่าน นิสติ แต่ละคน ทุกคนล้ วนมีความสามารถเฉพาะ ในด้ านที่เขา obsessed (หมกมุน่ ) มาก ๆ เช่น เพื่อนรุ่นเราคนหนึง่ obsessed กับยุคกลางมากเลย คือเขาจะรู้ทกุ อย่างเกี่ยวกับยุคกลาง
๓๑
“ถึงที่สดุ เเล้ ว ถ้ าจะยึดถือว่า จุฬาฯ เป็ นเสาหลักของแผ่นดิน มันก็ต้องยอมรับที่จะปรับตัวเข้ าหาสังคม ไม่งนก็ ั ้ จะเป็ นได้ เเค่ตอม่อมอเตอร์ เวย์” สุดท้ ายก็ส�ำเร็จจริ ง ๆ เป็ นการจัดการที่ดีพอสมควร ทุกคน มีเวลารื่ นเริ ง สนุกกับตัวเอง ซึง่ เป็ นการท�ำงานคณะที่ควรเป็ น การเจียด เวลาจากการเรี ยนอันหนักหน่วง มาท�ำอะไรที่หนักกว่า มันไม่ใช่ เราคิด ว่ากิจกรรมมันควรเป็ นสิง่ ที่สนุก ท�ำแล้ วได้ เพื่อน ได้ พดู คุยหัวเราะเฮฮา กัน ไม่ใช่มาทะเลาะกันเพราะผิดใจกันเรื่ องงาน แล้ วตอนที่เขาประกาศ ที่ ๑ ของมหาวิทยาลัยก็บมู Arts เป็ นวินาทีที่มีความสุขที่สดุ ของเรา แต่ ตอนงานลอยกระทงก็เป็ นช่วงเวลาที่ทกุ ข์ที่สดุ ของเราเหมือนกัน มันมีชว่ งที่รอเดินขบวน ทุกคนนัง่ ด้ วยกัน เราก็เลยนัง่ คุย และขอบคุณทุกคน แต่เราลืมขอบคุณพี่เชียร์ ปี ๒ ซึง่ ท�ำงานกับเรามา ตังแต่ ้ ต้น เป็ นอีกฝ่ ายหนึง่ ที่ท�ำงานหนักจริ ง ๆ เรารู้สกึ ว่ามันเป็ นความ ผิดร้ ายแรงมาก เพราะทุกคนที่ท�ำงานสมควรได้ รับเครดิต ค�ำชม ทุกคน พยายามร่วมกันมา ให้ ใจกับคณะจนท�ำงานส�ำเร็ จ ตอนนันเราขอโทษ ้ ไปแล้ ว แต่มนั ยังติดค้ างอยูใ่ นใจ เรื่ องนี ้สอนเราอย่างหนึง่ ว่า ในการ ท�ำงานไม่มีหน้ าที่ของใครส�ำคัญกว่ากัน ทุกคนเป็ นคนที่เราควรขอบคุณ
ให้ เขียนสปอตวิทยุเลย ตอนนันเราเขี ้ ยนเป็ นเรี ยงความเลย เพราะไม่ร้ ู ต้ องเขียนแบบไหน พี่เต็ดเขาก็ไม่มีเวลาสอนเรามาก ตอนนันเครี ้ ยดมาก รู้สกึ ว่า ตัวเองควบคุมอะไรไม่ได้ ท�ำงานไม่ดี พอเขียนเสร็ จ พี่เต็ดก็เอา ไปแก้ เหมือนเขาท�ำใหม่เองหมด เราไร้ ประโยชน์ เป็ นปี มหาวิปโยคมาก
จับพลัดจับผลูไปท�ำงานข้ามสายได้อย่างไร
หน้ าที่ของหลักของเรา คือ การวางเนื ้อหางาน รวมถึงดู เรื่ องการโปรโมทผ่าน social network และดูพวกกิจกรรมย่อย ๆ ที่มนั จะเกิดขึ ้นกับตัวงานด้ วย เช่น งาน meet & greet หรื อกิจกรรมถ่ายรูป อาจมีคนคิดว่า creative เป็ นงานสบายมาก แค่คดิ อะไรขึ ้นมาสักอย่าง หนึง่ ที่แปลกใหม่ ไม่ซ� ้ำกับชาวบ้ านก็พอแล้ ว แต่อนั ที่จริ ง งานมันไม่ใช่ แค่นนั ้ ทุกฝ่ ายต้ องท�ำงานร่วมกันหมด ดังนันเวลาคิ ้ ดอะไร ต้ องคิดให้ จบ ต้ องคิดถึงเรื่ องกระบวนการและการวางระบบต่อไปด้ วย ไม่ใช่บอก แค่วา่ อยากได้ มีววั มีปีก แค่นนั ้ แล้ วยังไงต่อล่ะ
แล้วผ่านจุดนัน้ มาด้วยวิ ธีใด ก็ครูพกั ลักจ�ำค่ะ โชคดีที่เป็ นคนมีความฉอเลาะในตัวสูง ไปกินเหล้ ากับคนนู้นคนนี ้บ้ าง ให้ เขาช่วยสอนโน่นนี่บ้าง แบบ “เตง ๆ ขอเป็ นเพื่อนด้ วยดิ” แล้ วก็เริ่ มรู้จกั กับคนในตึก ก็ปรึกษากันว่า เราต้ อง ท�ำอันนี ้ แล้ วเราก็ต้องใช้ ทกั ษะในการเอาตัวรอดเอง ต้ องค่อย ๆ เรี ยนรู้ ว่า หน้ าที่ของเรามีอะไรบ้ าง หน้าทีร่ บั ผิ ดชอบของ creative คืออะไร
เราจบเอกประวัตศิ าสตร์ โทวรรณคดีเปรี ยบเทียบ เรา ตังใจจะต่ ้ อ ป.โทวรรณคดีเปรี ยบเทียบเพราะเรารักด้ านนี ้มาก แต่ด้วย ปั ญหาส่วนตัว เราเลยออกมาท�ำงาน หลังจากที่เราเรี ยน coursework เสร็ จ พี่เต็ด ยุทธนา บุญอ้ อม เขาติดต่อมาว่า อยากได้ creative ที่ ออฟฟิ ศใหม่ เขาเคยติดต่อเรามาตังแต่ ้ ตอนเราอยูป่ ี ๒ หรื อปี ๓ นี่แหละ เผอิญพี่ที่ท�ำงานกับพี่เต็ดคนหนึง่ เขาได้ อา่ นบล็อกที่เราเขียน เขาให้ พี่ เต็ดลองอ่านแล้ วพี่เต็ดชอบ เขาเลยอยากให้ เราลองมาเขียนลง DDT (นิตยสารดนตรี ) แต่เราไม่ใช่คนที่มีความรู้เรื่ องเพลงมาก เลยปฏิเสธไป มาครัง้ นี ้เขาเล่าว่า เขาจะจัดเทศกาลดนตรี ในเมืองไทย เป็ นงานแบบ Glastonbury Festival เราฟั งแล้ ว ก็ร้ ูสกึ ว่า มันเจ๋ง ถึงเราจะไม่มี ความรู้ เรื่ องดนตรี มาก แต่เคยท�ำ รี เสิร์ชเกี่ยวกับเรื่ องเทศกาลดนตรี ตอน ท�ำวิทยานิพนธ์แล้ วรู้สกึ ว่า เฮ้ ย ฟั งแล้ วขนลุกซูซ่ า่ อะ เป็ นงานที่ยิ่งใหญ่ มาก ถ้ าท�ำได้ นี่เจ๋งมากเลยนะ ตอนนันยั ้ งเข้ าใจอยูว่ า่ เราสามารถเรี ยนรู้ ได้ ด้วยตัวเอง แบบลงมือท�ำได้ แม้ ไม่มีความรู้ด้านนันมา ้ แต่มนั ก็พิสจู น์ แล้ วว่าท�ำไม่ได้ เราไม่มี Know-how (ความรู้เชิงขันตอน) ้ เกี่ยวกับงาน ที่เราท�ำอยูป่ ั จจุบนั ณ ขณะนันร้ ้ องไห้ ฝั นร้ ายทุกคืน เราเข้ าไปปุ๊ บ เขาก็
ค�ำถามสุดท้าย อยากแนะน�ำอะไรให้รุ่นน้องอักษรฯ บ้าง มันยากมากส�ำหรับเรา บางคนเขาอยากเป็ นนูน่ เป็ นนี่ แต่ เราเป็ นคนที่ไหลไปกับกาลเวลา รับทุกโอกาสที่เข้ ามาหาตัวเอง เราเคย รู้สกึ ว่า เรื่ องบางเรื่ องที่ท�ำ อาจจะไม่ได้ ดสู �ำคัญอะไรกับชีวิต แต่สดุ ท้ าย ทุกอย่างที่เราท�ำ ทังเรื ้ ่ องดีและไม่ดี ล้ วนส่งผลต่อตัวเราเสมอ จนมาถึง วันนี ้ แม้ จะได้ ท�ำงานในจุดที่ไม่เคยคิดว่าจะเข้ ามา แต่เราก็มีความสุขนะ การลองอะไรใหม่ ๆ อาจให้ อะไรกับชีวิตมากกว่าที่คดิ ว่าเราจะได้ รับ -
๓๒
“ ง า ม ตึ ก อั ก ษ ร ศ า ส ต ร์ วิ ล า ศ ว ร วิ จิ ต ร
นิ รั น ด ร์ ฯ ”
สีเทา ทวิตยิ บรรพ
ร่ ม รื่ น ม โ น นิ ต ย์
จัดท�ำโดย
บรรณาธิการบริ หาร บรรณาธิการฝ่ ายสัมภาษณ์ กองบรรณาธิการฝ่ ายสัมภาษณ์
รณกร โรจน์รัตนด�ำรงค์
บรรณาธิการข้ อมูล กองบรรณาธิการข้ อมูล
นัทธมน เปรมส�ำราญ
บรรณาธิการฝ่ ายพิสจู น์อกั ษร กองบรรณาธิฝ่ายพิสจู น์อกั ษร
นงชนก กิตติก้องนภา
บรรณาธิการฝ่ ายศิลปกรรม กองบรรณาธิการฝ่ ายศิลปกรรม
พิมพ์ชนก เข็มพิลา
บรรณาธิการฝ่ ายประสานงาน
ฐาปณี ทับหนองฮี
กองบรรณาธิการเนื ้อหา
นลิน สินธุประมา / จันทร์ อมั พร เงินศรี สทิ ธิ์ / กัญญาณัฐ เจติยานุวตั ร อลิษา ลิ ้มไพบูลย์ / วรดา เอลสโตว์ / ศศิธณัฐ สุดสคร พิมพ์พญา เจริ ญศิริพนั ธ์ / ชลสรวง พรสุขสว่าง / จินต์จฑุ า ตันติ์
ช่างภาพ
พีรวัฒน์ นาวีเจริ ญ / ภัทรมน มานะวงศ์เจริ ญ / มุกดาภา ยัง่ ยืนภราดร ณิชากร นุชเจริ ญ / พรนภัส รัตติวรรณ์ / ปฏิพล รัชตอาภา
กันต์กนิษฐ์ มิตรภักดี ปารย์ เหรี ยญกิจการ / พริ มา อ่อนน่วม / พริ มา โกษาคาร วีรภัทร ศศิสกุลพร / ภัทรพงศ์ ชัยพรหม / จณิสตา ฐิ ตะฐาน วิมาลินท์ จุตแิ สวง / สุภทั ทิยา ลีลาทิพย์กลุ / กฤติมา ศุภศรี สนุ ทร อรฉัตร นาสถิตย์ / ฐิ ตวิ รดา โกยทอง / อภิรุจี สิตรังสี / ชลเทพ อมรตระกูล สิริพิชชา สืบพานิช / เพชรภัสสร อ้ นขวัญเมือง / เมธาวี เทวรังษี พสิษฐ์ หาธะนี / พรประภา พงษารัตน์ / วิภารัตน์ เอิบพบ สุรกานต์ กิตติพีรกร / ณิชารี ย์ ทองช้ อย / นฤภร อนันตชินะ ลภัสรดา ลักษณา
พิมพ์วิภา พินิจ / กฤษดา ปาส�ำลี / ปภาวริ นทร์ สายพัฒนะ กัญญณัฐ วัฒนเหล่าวิชย์ / เยาวเรศ จุฑาศิลปารัตน์ / กชพร อัศวภาคย์ ณัฐภัทร แซ่เบ๊ / นิรินท์ธนา ภัทรศิริกรพัฒน์ / ธนพร ศรี วฒ ั นดิลก
เอพริ ล ค�ำมิ่ง / ภาวิดา เจริ ญเมือง / ศุภรัสมิ์ พิพิธยากร ครองฉัตร ปิ่ นปั ก / ศริ ยา เจียรประดิษฐ / ชลสรวง พรสุขสว่าง นฤภร อนันตชินะ / ลภัสรดา ลักษณา / นัทธมน เปรมส�ำราญ
พีเ่ ก่าทัง้ ๖ ท่าน ทีป่ รากฏอยู่ในหนังสือเล่มนี ้ เลือกด้วยการลงคะแนนเสียงของนิ สิตฝ่ ายสาราณี ยกร โดยยึดความหลากหลายทางยุคสมัยและอาชี พเป็ นหลัก
ด้ วยความช่วยเหลือจาก อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สรรควัฒน์ ประดิษฐพงษ์ คณะกรรมการนิสติ อักษรศาสตร์ ธนะรัตน์ คงศุภลักษณ์ นราวัลลภ์ ปฐมวัฒน นวพล ธ�ำรงรัตนฤทธิ์ ศาสตราจารย์นิธิ เอียวศรี วงศ์ ปาลิตา จุนแสงจันทร์ ปี ย์วรา ชุณหวงศ์ เพชรพริ ง้ สารสิน ภิญญ์สนิ ี ลักษณกุลวงศ์ ภิญญุดา ตันเจริ ญ ภูมิ น� ้ำวล มนสิชา เอกปิ ยะพรชัย วรรณพร โปษยานนท์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ศิริวิไล ธีระโรจนารัตน์ ศิริลกั ษณ์ ศรี ภรู ิ จรรยา ณัฏฐ์ กลิน่ มาลี หนังสือ ๖๐ รุ่น อักษรศาสตรบัณฑิต www.top1walls.com www.nbcnews.com www.polyvore.com www.pramool.com www.pinterest.com www.thaipublica.org www.arts.chula.ac.th www.siamintelligence.com www.trendhunterstatic.com
ข อ ข อ บ คุ ณ
วจีจากน้ อง ประพันธ์ โดย จิตร ภูมศิ ักดิ์ พ.ศ. ๒๔๙๓
(สัททุลวิกกีฬิตฉั นท์ ) ท้าทายเทวพิ มานตระหง่านนภวิ ไล เลอทวยสุเทพไท ประสิ ทธิ์ งามตึกอักษรศาสตร์ วิลาศวรวิ จิตร ร่ มรื ่นมโนนิ ตย์ นิ รนั ดร์ น้องใหม่เนือ่ งคณะน้อมคะค้อมสริ รคัล สรวมสิ งสถานอัน เสลา เอือ้ นโอษฐ์ ออกอภิ พจน์ประณตธวชะเทา จุ่งอวยอ�ำนวยเนา สถาน เพือ่ เผยเกี ยรติ คณะฟุ้งจรุง ณ คคนานต์ จักกอบมนูญการ อเนก ใดเชิ ดชื อ่ ก็จะพรักสมัครฤทยะเสก สรรค์สร้างบ่วางเวค วิ วรณ์ (วสันตดิลกฉั นท์ ) หนึ่งในฤทัยนวกนิ ส สิ ตะคิ ดบ่เนานอน ใดจงประสงคอุปกรณ์ ก็จะช่วยอ�ำนวยพลัน ผองพีผ่ ิ ว์มีวจนะเตือน โดยค�ำและท�ำจะบ่มิดนั
ก็จะเอือ้ นวจี วรรณ มนะดือ้ และถือดี
พลัง้ ใดก็ให้อภยะน้อง เพือ่ ขวัญจะมัน่ อนุชะปรี -
และประคองประคับศรี ดิ มิอางขนางแหนง
ร่ วมรักสมัคระสมาน สัมฤทธิ กิตติ จะด�ำแคง
วิ ธการยะร่ วมแรง คณะวัฒน์สมรรถชัย ฯ
ค ว า ม จ ริ ง เ กิ ด จ า ก ค ว า ม ฝั น
แ ล ะ โ ล ก ข อ ง ฉั น เ ป็ น สี เ ท า
“ จากทีน่ ีค่ ือคืนวันการเริ่ มต้น แต่ก่อนแสงสุดท้ายจะหายลับ
เราทุกคนเป็ นเปลวไฟทีใ่ กล้ดบั เราต้องการไฟส�ำหรับการดับไฟ ฯ ” กรวิ ก - พ.ศ. ๒๕๑๒
ฝ่ ายสาราณียกร คณะกรรมการนิสติ อักษรศาสตร์ OLD ARTS ปี การศึกษา ๒๕๕๗ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย