hhhhh

Page 1

ประวัติศาสตรศิลป History of Art

ศิลปะบาโรก – ศิลปะโรโกโก – ศิลปะนีโอ-คลาสสิค – ศิลปะโรแมนติก Kachornpon Chernkwansri


Baroque Art ศิลปะบาโรก ( ค.ศ.1580-1670 )


ศิลปะบาโรก (Baroque Art)

เริ่มประมาณตนศตวรรษที่ 16 ศูนยกลางอยูที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เปนสมัยของความขัดแยงกันรุนแรงในมโนคติระบบตางๆ เชน -คนชั้นกลางลุกฮือขึ้นทาทายคนชั้นขุนนาง -นิกายโรมันคาทอลิกตอสูกบั นิกายโปรเตสแตนต -ความจริงทางศาสนาตอสูกับความจริงทางวิทยาศาสตร บาโรกเปนรูปแบบลักษณะทางศิลปกรรมหลายแขนง โดยจะเนนหนักไปทางสะเทือนอารมณคนดูและเราอารมณแบบ นาฏกรรม แสดงการใชแสงจัดเงาจัด คือ มีการตัดกันของแสงเงาอยางชัดเจน คําวา บาโรก เปนคําที่ใชเรียกลักษณะงานสถาปตยกรรม และจิตรกรรม ที่มีการตกแตงประดับประดาและใหความรูส ึกออนไหว แตคอนขางเปนเรื่องของความนึกคิดตามลําพังเฉพาะบุคคล


ความรุงเรืองของศิลปะแบบบาโรกไดรับการสงเสริมจากนิกายคาทอลิก ประเด็นที่สําคัญคือ ศิลปะควรจะสื่อสารเรื่องศาสนาโดยใชวิธีจูงใจ และสะเทือนอารมณผูดูโดยตรง บาโรกเปนศิลปะทีส่ รางความประทับใจใหกับผูดู เปนศิลปะที่แสดงความถึงความมีอํานาจ วังแบบบาโรกจึงสรางเพื่อความโออา รายละเอียดตกแตงหรูหราและอลังการเปนลักษณะของศิลปะสมัยนี้ ลักษณะเชนนีค้ รอบคลุมศิลปะทุกแขนง จะนิยมใชรายละเอียดใกลเคียงกัน (repeated and varied patterns) แตๆละครั้งจะคอยๆแปรเปลี่ยนลวดลายไปทีละเล็กละนอย ลักษณะของศิลปะบาโรกทีเ่ ดนและแตกตางคือ ความอลังการ จะเต็มไปดวยลวดลายประดิดประดอย ใชสีจัด หนาตารูปปน จะไมจงใจใหเหมือนจริงแตจะเปนหนาอิ่มเอิบเหมือนเทพ


รายชื่อศิลปนเอกคนสําคัญในยุคบาโรก Italy • Architecture: Bernini • Sculpture: Bernini • Painters: Caravagio

Natherland- Dutch • Painters: Rembrandt , Vermeer , Rubens

Spain • Painters: Velazquez , El Greco


Baroque Paintings


จิตรกรรมยุคบาโรก (Baroque Painting) เริ่มราวป ค.ศ. 1600 จนตลอดศตวรรษที่ 17 - ศตวรรษ 18 ลักษณะของศิลปะแบบบาโรก เปนศิลปะที่เต็มไปดวยนาฏกรรม ใชสสี ด และแสงที่จัดและเงามืด ซึ่งตรงกันขามกับศิลปะในยุคฟนฟูศิลปวิทยา บาโรกจะแสดงวินาทีทเี่ ปนนาฏกรรมหรือวินาทีที่เหตุการณกาํ ลังเกิดขึน้ : ไมเคิล แอนเจโลสลักเดวิด ยืนวางทานิ่งกอนที่จะเขาตอสูกับโกไลแอธ แตเดวิดของแบรนินี เปนเดวิดที่กําลังขวางกอนหินไปยังโกไลแอธ ศิลปะบาโรกเปนศิลปะที่มีจุดประสงคในการกระตุนอารมณผูดู แทนที่จะสรางความสงางามแบบอุดมคติเชนในยุคฟนฟูศิลปวิทยา


Michelangelo Merisi da Caravaggio มิเกลันเจโล เมรีซี ดา คาราวัจโจ

(ค.ศ. 1571 - ค.ศ. 1610) เปนจิตรกรอิตาลีในคริสตศตวรรษที่ 17 ผลงานที่สําคัญคือการเขียนภาพสีน้ํามัน “จิตรกรผูมีชื่อเสียงทีส่ ุดในโรม” คาราวัจโจ ไดรับแรงบันดาลใจจากยุคเรอเนสซองซ เสมือนตนแบบในการสรางงาน โดยเขียนจากแบบที่เปนคนจริงและใชแสงจัดบนตัวแบบบนฉากหลังที่มืด คาราวัจโจไดปูทางไปสูการเขียนภาพแบบใหม จนศิลปนเนเธอรแลนด นําไปพัฒนาตอและเกิดเปนจิตรกรรมยุคทองของเนเธอรแลนด


Madonna with the Serpent 1606 Oil on canvas


The Taking of Christ c. 1598 Oil on canvas


Supper at Emmaus, 1601. Oil on canvas, 139 Ă— 195 cm . London.


Supper at Emmaus , 1606 , Oil on canvas


The Calling of St. Matthew CARAVAGGIO 1599 - 1600 oil on canvas 322 x 340 cm Contarelli Chapel, San Luigi dei Francesi, Rome


The Entombment of Christ

The Crucifixion of St. Peter


The Incredulity of Thomas CARAVAGGIO 1601 - 1602 oil on canvas 42 1/8” x 57 1/2” Neues Palais, Potsdam


Amor Vincit Omnia (Love Conquers All) a depiction of the god of love, Eros. By Michelangelo Merisi da Caravaggio, circa 1601–1602


Medusa. c.1598. Oil on canvas. Galleria degli Uffizi, Florence, Italy.

Narcissus, c. 1597-1599


David with the Head of Goliath ,1597 – 98, oil on canvas,Prado Museum, Madrid


David with the Head of Goliath, 1609-1610, Rome.


Judith Beheading Holofernes CARAVAGGIO 1599 oil on canvas 145 x 195 cm National Gallery of Art, Rome, IT


Rembrandt Harmenszoon van Rijn แรมบรังด ฮารเมนซูน ฟาน แรยน ( 1606-1669 )

เปนจิตรกรที่มชี ื่อเสียงโดงดังชาวเนเธอรแลนด ผลงานของแรมบรังดทําใหเนเธอรแลนดรงุ เรืองสุดขีด หรือทีเ่ รียกวายุคทอง (Dutch golden age) ในชวงศตวรรษที่ 17


Self-Portrait (1669) by Rembrandt • Over 40 yrs. Rembrandt made almost 100 selfportraits that ranged from his youth to his old age. • Rembrandt's self-portraits can be seen as the triumph of Humanism; for Rembrandt, nothing is more important than man - as an individual.


“The Nightwatch” Rembrandt, ค.ศ. 1642


Rembrandt group portrait, The Syndics of the Clothmaker's Guild, 1662.


The Anatomy Lecture of Dr. Nicolaes Tulp 1632 Oil on canvas


Descent from the Cross 1634



Johannes Vermeer โยฮันส เวอรเมียร (1632-1675)

เปนจิตรกรชาวเนเธอรแลนด มักวาดภาพที่แสดงถึงชีวิตประจําวันธรรมดาของคน แสดงถึงเรื่องราวชีวิตของผูคนทีร่ วมสมัยในขณะนั้น สรางผลงานเพื่อผูอุปถัมภสว นตัว ผลงานจะเปนสัญลักษณที่แฝงถึงนัยยะความหมาย เวอรเมียรนิยมใชมุมหนึ่งในหองที่มีหนาตางเปนฉากหลังของภาพ เพื่อแสดงที่มาของแสงอยางมีเหตุผลและเปนไปตามธรรมชาติ


The Milkmaid, 1658-1661

Young Woman with a Water Jug, 1665.


Girl With a Pearl Earring (1665), Vermeer masterpiece "Mona Lisa of the North"


Girl Reading a Letter at an Open Window 1657 Oil on canvas


The Astronomer, 1668

The Geographer, 1668-1669


The Lace maker. c.1669-1670

The Glass of Wine. c.1658-1660


The Painter (Vermeer's Self-Portrait) and His Model


Dutch Still Life and Flower pieces • Still life: Dutch still even • Artfully arranged objects on a table • Still lifes or genre paintings reminding the viewer of the transience of life • Flowers: great advances in botany during the Baroque period. Exporters of tulips.




Clara Peeters. 1611



Frans Snyders, The Pantry, c. 1620.


Northern Netherlands • Rembrandt • Jan Vermeer

Southern Netherlands/Flanders • Peter Paul Rubens


Peter Paul Rubens

ปเตอร พอล รูเบนส (1577-1640) เปนจิตรกรชาวเฟลมมิช ที่มีชื่อเสียงใน คริสตศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก ซึ่งไดรับ อิทธิพลมาจากงานในยุคเรอเนซองส โดย เฉพาะงานของมิเคลลันเจโลและราฟาเอล เรื่องราวในงานของรูเบนส ไดแก เรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา เรื่องราวในเทพนิยาย เรื่องราวในดินแดนหางไกล เรื่องราวเกี่ยวกับผูหญิง ความรัก


Rubens. “The raising of the Cross” 1610



The Descent from the Cross • It has all the traits of Baroque style: from theatrical lighting to darkness, from lighting to ominous darkness, glaringly spot-lit Christ. Curvilinear rhythms led people to focus on Christ; and a tragic theme elicits a powerful emotional response.





Garden of Love by Rubens


Venus at a Mirror c. 1615


El Greco

เอลเกรโก (1541-1614)

เปนจิตรกร ประติมากร และสถาปนิก คนสําคัญของสเปนในคริสตศตวรรษที่ 17 มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ํามัน เอกลักษณทเี่ ปนรูปแบบในงานคือ - รางกายมนุษยจะสูงยาวอยางบิดเบือน - มีการใชสีหนักเนนรูปทรงตางๆภายในภาพ - ใชสีจัดและชอบเขียนแสงกระจายในภาพ อยางระยิบระยับและบรรยากาศภายในภาพจะดูเคลื่อนไหวตลอดเวลา เปนผูที่ใหแนวทางตอลัทธิแสดงพลังอารมณ (Expressionism) และลัทธิบาศกนิยม (Cubism)


El Greco’s Laocoon

Elongated Bodies 




The Opening of the Fifth Seal (The Vision of St John) 1608-14


Diego Velázquez ดีเอโก เวอรลาสเควส (1599-1660)

จิตรกรราชสํานักของสเปนสมัยพระเจาPhilip IV มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ํามัน เอกลักษณที่เปนรูปแบบในงานคือ - ในสมัยแรกเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับสามัญชน - ในสมัยหลังเขียนเกี่ยวกับบุคคลในราชวงค - ใชแสงและเงาในการจัดองคประกอบของภาพ อยางสวยงามและลงตัว รวมถึงนําเสนอมุมมองใหมแกงานจิตรกรรม เปนผูสะทอนภาพความจริงและใหแนวทางตอลัทธิสัจจะนิยม(Realisticism) และลัทธิบาศกนิยม (Cubism) ในสมัยตอมา


Diego Velazquez , Old Woman Cooking Eggs.


Christ in the House of Martha and Mary, 1618.


Prince Baltasar Carlos on Horseback 1635-36 Oil on canvas


The surrender at Breda. 1634



Las Meninas. (Maids of Honor) (1599 – 1660)

This painting shows real images of the human figure. He created form through color and light rather than lines and he created the world's greatest painting.

Used light of shadow to create space.



Baroque Architecture


สถาปตยกรรมบาโรก (Baroque Architecture) มหาวิหารเซนตปเ ตอรที่กรุงโรม ถือวาเปนที่มาของสถาปตยกรรมแบบบาโรก เปนสถาปตยกรรมที่บงถึงความหรูหราโออา และความมีอํานาจของคริสตศาสนา จะเนนเรื่องแสง สี เงา และคุณคาของประติมากรรม

St. Peter’s Basilica facade by Carlo MADERNO completed 1612 Vatican City, Rome, IT


Gian Lorenzo BERNINI จาน โลเรนโซ เเบรนินี

(1598-1680) ประติมากรและสถาปนิกบาโรกที่มีชื่อเสียงในกรุงโรม คริสตศตวรรษที่ 17 ผลงานของแบรนินีที่มีชื่อเสียงคือ จัตุรัสและแนวเสาระเบียงของมหาวิหารเซนตปเตอร ประติมากรรมหินออน Ecstasy of St. Theresa ประติมากรรมหินออนรูป เดวิด

Self-Portrait c. 1630-35 oil on canvas 53 x 43 cm Galleria Borghese, Rome


plan of St. Peter’s Basilica Vatican City, Rome, IT


St. Peter’s Basilica aerial view Vatican City, Rome, IT

Sistine Chapel Michelangelo’s dome Maderno’s facade Bernini’s collonades

Tourists’ Buses


colonnade of St. Peter’s Basilica BERNINI built between 1656 -1667 Vatican City, Rome, IT

The colonnade extends on both sides of the basilica and consists of 284 columns and 88 pillars. Resting on top of the roof are the statues of 140 saints (70 on each side).


Scala Regia BERNINI built between 1663 - 1666 Vatican City, Rome, IT The Scala Regia connects the Vatican apartments with St. Peter’s Basilica and is the formal entrance used by the Pope when entering the Basilica.


More Baroque Architecture


ลักษณะสําคัญของสถาปตยกรรมบาโรก ไดแก

- การใชแสงสีอยางนาฏกรรม ถาไมเปนแสงและเงาที่ตัดกันหรือทีเ่ รียกวา คาตางแสง ก็จะเปนการใชแสงเสมอกันจากหนาตางหลายหนาตาง - มีการตกแตงอยางหรูหราดวยเครื่องตกแตง เชน เทพทีท่ ําดวยไมที่มัก จะทาเปนสีทอง ปูนปลาสเตอร ปูนปน หินออน การทาสีตกแตง - การใชจิตรกรรมฝาผนังบนเพดานกลางใหญที่อยูภายในโดม - ภายในจะเปนโครงสําหรับภาพเขียนและประติมากรรม โดยเฉพาะบาโรกสมัยหลัง มีการผสมผสานระหวางจิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปตยกรรมที่กลืนกันทําใหลวงตา จนไมอาจจะแยกเปนศิลปะแขนงใด





Baroque Sculptures


Ecstasy of St. Teresa. Bernini. 1645


Ecstasy of St. Theresa at the Cornaro Chapel BERNINI 1647 - 52 marble height 11’ 6” Santa Maria della Vittoria, Rome


detail from the Ecstasy of St. Theresa at the Cornaro Chapel BERNINI 1647 - 52 marble height 11’ 6” Santa Maria della Vittoria, Rome


David by Bernini Bernini's David was completed when Bernini was 25. David is posed to release the rock. Captures the heroic moment not the heroic nature the other davids of the renaissance capture the heroic nature David BERNINI 1623 - 24 Carerra marble life-size Galleria Borghese, Rome


Three views of Bernini’s David


David of Michelangelo - David of Bernini Beautiful Bodies and Beautiful Movement


The Rape of Proserpine BERNINI 1621 - 22 marble Borghese Galleria, Rome


Rococo Art ศิลปะโรโคโค (ค.ศ.1700-1789)


ศิลปะโรโคโค (Rococo Art)

เรียกกันวา ศิลปะแบบฝรั่งเศส หรือ "รสนิยมฝรั่งเศส" (French taste) หรือบางครัง้ ก็เรียกกันวา "ศิลปแบบหลุยสที่ 14" (Louis XIV Style) ศิลปโรโคโคพัฒนามาจากศิลปะฝรัง่ เศส โดยเฉพาะสถาปตยกรรมและการตกแตงภายในเมื่อคริสตศตวรรษที่ 18 หองที่ออกแบบแบบโรโคโคจะเปน เอกภาพ คือทุกสิง่ ทุกอยางในหอง ไมวาจะ เปนผนัง เฟอรนเิ จอร หรือเครื่องประดับ จะออกแบบเพื่อใหกลมกลืนกัน อันหนึ่งอันเดียวกัน ภายในหองจะมีเฟอรนิเจอรที่หรูหราและอลังการ รูปปน เล็กๆแบบประดิดประดอย ภาพเขียนหรือกระจกก็จะเปนกรอบลวดลาย



ลักษณะรูปแบบของศิลปะโรโคโค คือ

- เปนผลงานศิลปะที่สะทอนความโออา หรูหรา ฟุมเฟอย ความเลิศเลอ โลกของความรูสึกเคลิบเคลิ้ม ชวนใหหลงใหล มีการประดับประดาตกแตงที่วิจิตรละเอียดลออ แสดงรายละเอียดตางๆ ดวยความประณีตอยางถึงที่สุด - นิยมสงเสริมความรืน่ เริงยินดี ความรัก กามารมณ - เปนการสรางสรรคงานศิลปะเพื่อเรียกรองความสนใจ มุงหวังความสะดุดตา ใหผูคนมาสนใจ การประดับตกแตงมีลักษณะฟุงเฟอเกินความพอดี - ศิลปนโรโคโคจะ นิยมเลนเสนโคงตัวซีและตัวเอส (S และ C curves) แบบเปลือกหอย หรือการมวนตัวของใบไม



Interior Design


Decorative Arts - Furniture


Rococo Artist • Antoine Watteau - อ็องตวน วาโต • François Boucher - ฟร็องซัว บูเช • Jean-Honoré Fragonard - ฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์ ด


Antoine Watteau

อ็องตวน วาโต

(1684 – 1721) - Rubenistes manner - Theatrical scenes - Fete galante “ชนชันสูง”


Les Charmes de la Vie (The Music Party) c. 1718


Departure from the Island of Cythera, 1717


François Boucher

ฟร็องซัว บูเช (1703-1770)

มีชื่อเสียงในงานเขียนที่เปนอุดมคติและแสดง ความอวบอิ่ม (voluptuous) ของสตรีในแนว ภาพประเภทคลาสสิก และแนวเปรียบเทียบ (Allegory) ซึ่งหมายถึง ศิลปะที่ใชสัญลักษณแทนความหมายโดยตรง ในภาษาเขียน นอกจากนั้นบูเชก็ยังเขียนภาพเหมือนที่แฝง ความดึงดูดทางเพศ (eroticism)


Venus Consoling Love, 1751

Toilette of Venus


Diana Leaving the Bath 1742

Portrait of Marie-Louise O'Murphy


“The Rising of the Sun” & “The Setting of the Sun” François Boucher, 1752-1753


Jean-Honoré Fragonard

ฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนารด 1732-1806

ลักษณะงานมีชีวิตชีวา และออกไปในเชิง สุขนิยม (hedonism) ภาพชีวิตประจําวันเปนประเภทการเขียนที่มี ชื่อเสียงที่สุด ที่ฟรากอนารดสื่อบรรยากาศถึง ความใกลชิดในเชิงความดึงดูดทางเพศ (eroticism)


“The Stolen Kiss” Jean Honoré Fragonard, 1787-1788


The Swing, 1768


Rococo Architecture


The Palace at Versailles

King Louis XIV home and the capital of France.


The Chateau at Versailles พระราชวังแวรซาย (ค.ศ.1661-1691)

สรางขึ้นดวยหินออนในสมัยพระเจาหลุยสที่ 14 ของฝรั่งเศส สรางขึ้นเพื่อประกาศใหนานาประเทศเห็นถึงอํานาจและบารมีของพระองค ใชเงินประมาณ 500 ลานฟรังส คนงาน 30,000 คน ใชเวลาอยูถึง 30 ป จุคนไดประมาณ 10,000 คน ทุกสวนทําดวยหินออนสีขาว เปนแบบอยางศิลปกรรมที่งดงามมาก ภายในแบงออกเปนหองๆ เชน หองบรรทม หองเสวย หองสําราญ ฯลฯ ทุกหองลวนมีเครื่องประดับงดงามตระการตาและภาพเขียนที่มีชื่อเสียง การกอสรางไดนําเงินมาจากคาภาษีอากรของราษฎรชาวฝรัง่ เศส ตอมาจึงไดมีประชาชนบุกเขายึดพระราชวังและจับพระเจาหลุยสที่ 16 กับพระนางมารี อองตัวเนต ประหารดวย "กิโยติน"


Louis XIV, 1701.








Hall of Mirrors, Palais de Versailles.

ห้ องกระจก (Galerie des Glaces หรือ The Hall of Mirrors)


Neo-classicism (ลัทธิ นีโอ-คลาสสิก)

mid-18th to the end of the 19th century.


ศิลปะฟนฟูคลาสสิค (Neo-classicism)

เปนชื่อที่ใชสําหรับขบวนการทางวัฒนธรรมของศิลปะ ไดแก ทัศนศิลป, วรรณคดี, การละคร, ดนตรี และสถาปตยกรรม ที่มาจากศิลปะคลาสสิคและวัฒนธรรมซึ่งสวนใหญมาจากกรีก หรือ โรมัน คําวา นีโอ-คลาสสิก เปนคําที่มีความหมายตรงตัว นีโอ (Neo) หมายถึง ใหม คลาสสิก (Classic) หมายถึง กรีกและโรมัน ซึ่งรวมความแลวหมายถึง ความเคลื่อนไหวของศิลปะ ซึ่งมีสุนทรียภาพตาม แบบศิลปะกรีกและโรมัน ที่เกิดขึ้นในกลางคริสตศตวรรษที่ 18 จนถึงตน คริสตศตวรรษที่ 19


The Contrast Between Revolutionaries and Conservatives

The Oath of the Horatii,1784


ศิลปะฟนฟูคลาสสิค (Neo-classicism)

ศิลปนหวนกลับไปหาคานิยมการสรางผลงานแบบกรีกและโรมันอีกครั้ง ซึ่งศิลปนเหลานี้ชอบความสงางามและเครงครัดในศิลปะแบบโบราณ ลักษณะผลงานของลัทธินีโอคลาสสิค คือ มักเปนภาพที่มีระยะใกล – ไกล เหมือนตามตาเห็น (Perspective) ฉากหลังรูปวาดสวนใหญมักมีอาคารของกรีกหรือโรมัน มักใชสีมืดสรางเปนระยะ เนนหนักไปทางสีน้ําตาล ดํา ศิลปะแบบนีโอคลาสสิครุง เรืองอยูไดเพราะ ไดรับการสงเสริมจากระบอบปฏิวัติของพระเจานโปเลียน พวกที่ปฏิวัติเองก็ชอบใหมกี ารดํารงชีพทีเ่ ครงครัดแบบกรีกและโรมัน


Napoleon Crossing the Saint-Bernard, 1800-01.


การถือกําเนิดของศิลปะนีโอ-คลาสสิก

เกิดขึ้นจากปจจัย 2 ประการ คือ 1. คริสตจักรแหงวาติกัน ใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ 2. ความเบื่อหนายตอศิลปะบาโรกและโรโกโก (Baroque and Rococo) ซึ่งมีรสนิยมอันหรูหราฟุมเฟอย หรือมุงเอาใจชนชั้นสูงมากเกินไป สิ่งเหลานี้ ศิลปนและปญญาชนสมัยนั้นตางถือวา ไมใชความงามสมบูรณแบบ ตามคติ นิยมของกรีกและโรมัน พวกเขายึดมั่นในอุดมคติของกรีกและโรมัน


Leonidas at Thermopylae


ศิลปะนีโอ-คลาสสิก เกิดขึน้ ครัง้ แรกที่โรม ประเทศอิตาลี จากนั้นกระจายไปที่ตางๆ ทัง้ ในยุโรปและอเมริกา โดยเฉพาะในฝรัง่ เศส ทั้งนี้เปนผลพวงจากการสํารวจขุดคนโบราณวัตถุ และโบราณสถาน สมัยโรมันเพิ่มเติม เชน เมืองเฮอคูลาเนียม (Herculaneum) และปอมเปอี (Pompeii) ความจริงในสมัยกอนๆ มีการสํารวจขุดคนมาบางแลว แตเมื่อขุดคนขึน้ ใหม ซึ่งครั้งนีท้ ําอยางถูกหลักวิชาการจึงเทากับเพิ่ม ความทาทายใหกับมนุษย ยิ่งขึ้น จากสิ่งที่เคยคิดเคยฝนมาโดยตลอดประกอบกับในครั้งนี้มีการ เผยแพรประชาสัมพันธการขุดคนดานโบราณคดีอยางกวางขวาง ทําใหเกิด ความนิยมชมชอบโดยทั่วไป และหันมารื้อฟนรูปแบบของศิลปะสมัยกรีก และโรมันขึ้นมาอีกครั้ง


ลักษณะงานดานจิตรกรรม

แสดงถึงความสงางามและความยิ่งใหญในความเรียบงาย สวนใหญแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับประวัตศิ าสตรสมัยกรีกและโรมัน หรือเรื่องราวในชีวิตประจําวันทั่วไป ภาพคนจะเขียนอยางถูกตองตามหลัก กายวิภาค มีทาทางสงาผาเผย มีการใชสีถูกตองตามแสงเงา ไลเฉดสีออน แกเพื่อใหเกิดความกลมกลืน แสดงสัดสวนที่ชัดเจน แนนอน จิตรกรที่สําคัญ ไดแก ชาก ลุย ดาวิด (Jacques Louis David) ชอง โอกุสต โดมีนิก แองกร (Jean Auguste Dominique lngres)


Jacques-Louis David ชาก หลุยส ดาวิด (1748-1825)

ไดรับการยกยองวาเปนผูวางรากฐาน ของศิลปะนีโอคลาสสิก และเปนศิลปนแหงการปฏิวัติ ผลงานแสดงถึงความสงางาม ยิ่งใหญ และเรียบงาย ซึ่งจะเนนเรื่องเสนมากกวาการใชสี ผลงานยังสะทอนสังคมโดยเฉพาะสมัยปฏิวัติ ของฝรั่งเศส เชน ภาพการตายของมารา ( The Death of Marat ) และแสดงถึงความกลาหาญของวีรบุรุษ

Self portrait of Jacques-Louis David, 1794


The Intervention of the Sabine Women “การขัดขวางความขัดแย้ งโดยสตรี ชาวซาบีน”


The Death of Socrates


Napoleon Bonaparte


Portrait of Madame Récamier (1800), Musée du Louvre, Paris


Consecration of the Emperor Napoleon I and Coronation of the Empress Josephine




The Death of Marat, 1793.


Death of Marat (detail)

"I am just too unhappy to deserve your kindness"


Jean Auguste Dominique Ingres ฌ็อง โอกุสต ดอมีนิก แอ็งกร (1780 -1867)

เปนจิตรกรผูมีความเชี่ยวชาญทางการเขียน ภาพประวัติศาสตรและภาพเหมือน แอ็งกรสรรเสริญจิตรกรสําคัญ ๆ เชน ราฟาเอล และประกาศตนวาเปนผูรักษา กฏเกณฑการวาดภาพที่สูงสงเชนนั้น และไมใชเปนผู “คิดคน” วิธีใหม เขามักวาดภาพชนชั้นสูง ภาพวาดหญิงสาวเปลือย และวาดภาพเกี่ยวกับเทพนิยายโบราณ

Self-portrait at age twenty-four, 1804


The Vow of Louis XIII

Napoleon I on his Imperial Throne, 1806


The Grand Odalisque


The Turkish Bath, 1862

The Source


Joan of Arc at the Coronation of Charles VII


Mademoiselle Caroline Rivière



ลักษณะงานดานประติมากรรม

ประติมากรรมมีสัดสวนถูกตอง ยึดระเบียบแบบแผนจากสมัยกรีกและโรมัน อยางเครงครัด จนเหมือนกับการลอกเลียนแบบ ประติมากรรมคนมักใชใบหนาจากแบบจริงผสมผสานกับรูปรางแบบสมัย คลาสสิก แตก็ดูเหมือนใหความรูสึกมีชีวิตชีวานอยกวา สมัยเรอเนสซองซและบาโรก ประติมากรคนสําคัญ ไดแก

Antonio Canova อันโตนีโอ คาโนวา (1757—1822)

ประติมากรแหงกรุงวาติกัน อิตาลี


Cupid and Psyche


Dancer

The Three Graces

Cupid


The Genius of Death

Perseus with the Head of Medusa


ลักษณะงานดานสถาปตยกรรม

มีลักษณะคลายสถาปตยกรรมกรีกและโรมันทั้งแบบของเสาและการตกแตง แตสวนใหญ มีรายละเอียดนอยกวาศิลปะบาโรกและโรโกโก มีการดัดแปลงและผสมความคิดใหมๆ เขาไปดวย การตกแตงดานหนานิยมลวดลายนูนตืน้ ๆ ไมหรูหรามากนัก สวนประกอบสวนใหญเปน ลายเรขาคณิต เนนความสงางาม สมดุลกลมกลืนไดสัดสวน

สถาปนิกทีส่ ําคัญ ไดแก โธมัส เจฟเฟอรสัน (Thomas Jefferson)


Thomas Jefferson, architecture

Virginia State Capitol Thomas Jefferson 1785-92

“…a conscious rejection of the rococo and all it stood for in favor of the austere world…of ancient Rome”


Thomas Jefferson, Monticello,Charlottesville, Virginia, 1770-1806.


Jacques-Germain Soufflot, The (Paris) Pantheon-(Ste.-Genevieve), Paris, 1755-1792


สรุป ศิลปะนีโอคลาสสิก ( Neoclassic )

- เปนลัทธิที่ไดฟนฟูศิลปะคลาสสิกอันงดงามของกรีกและโรมัน กลับมาสรางใหม ในปรัชญาที่วา ศิลปะ คือ เหตุผล ความประณีต ละเอียดออน นุมนวล และเหมือนจริงดวยสัดสวนและแสงเงาแบบศิลปะคลาสสิก - เปนชวงหัวเลี้ยวหัวตอของศิลปะสมัยกลางและศิลปะสมัยใหม มีผลตอการคิดคนสรางสรรคศิลปะอยางกวางขวาง


Romanticism

ลัทธิโรแมนติก หรื อ ศิลปะจินตนิยม (half of the 18th century in Europe)


จุดเริ่มตนของศิลปะสมัยใหม นับตั้งแตลัทธิโรแมนติกเปนตนไป นักประวัติศาสตรศิลปะไดจัดให เปนชวงของการเริ่มตนศิลปะสมัยใหม (Modern Art) โดยเริ่มประมาณปลายคริสตศตวรรษที่ 18 อันเปนชวงการปฏิวัติในฝรัง่ เศส เพราะการเปลี่ยนแปลงนี้ไดมีอิทธิพล อยางกวางขวางในยุโรป ยุคแหงอํานาจ และการรวมศูนยของกษัตริยเริ่มเสื่อมคลาย ประชาชนเรียกรองสิทธิ เสรีภาพอยางเขมแข็ง โดย เฉพาะเสรีภาพในความคิดเห็น เพื่อไมให ผูกขาดอยูทผี่ ูมีอํานาจผูเดียว จนเกิดระบบเสรีนิยม


ในชวงนีศ้ ิลปนมีอิสระในการสรางสรรคงานอยางเต็มที่ ไมยึดติดกับประเพณีเกาๆ ศิลปนใดที่มีอดุ มการณเดียวกันก็เกิดการรวมกลุม ตั้งเปนลัทธิศิลปะ (ดวยเหตุนี้ศลิ ปะสวนใหญหลังจากชวงนี้เปนตนไป มักลงทายดวย “ism” ซึ่งหมายถึง กลุมลัทธิ) จึงทําใหมีแบบอยางของศิลปะตางๆเกิดขึน้ มากมาย

ประกอบกับชวงนี้มีการปฏิวัติทางดานวิทยาศาสตร จึงสงผลใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญ ทั้งดานวัสดุ วิธีการ และรูปแบบ ดังนั้นหากเรายอมรับวาชวงนี้เปน ยุคแหงการปฏิวัติ (The Age of Revolution) ทั้งหมดแลว คงไมมีคําใด เหมาะสมกวาที่จะเรียกวา “สมัยใหม”


ลัทธิโรแมนติก (Romanticism) คําวา “โรแมนติก” คนทั่วไปเขาใจวาหมายถึงความรักหรือกามารมณ แต ลัทธิโรแมนติก หมายถึงความรูส ึกที่แสดงออกเกินความเปนจริง สรางความตื่นเตนประทับใจ สะเทือนใจแกผูพบเห็นหรือสะเทือนอารมณ รุนแรงดวยศิลปกรรมแขนงตางๆ โรแมนติกอาจกลาวแทนความหมายของการกระทําตางๆ ทีเ่ กินความจริงได เชนการคุกเขาขอความรัก การทําทาทางเยายวน เปนตน ลัทธิโรแมนติกยึดมั่นในเรื่องของจิตใจ ถือวาจิตเปนตัวกําเนิดของอารมณ ความรูสึก ซึ่งเปนความจริงของมนุษย มากกวาการยึดมั่นในเหตุผลตามแนวคิดของคลาสสิก ศิลปนเชื่อวา ศิลปะสรางสรรคตัวของมันเองได และตองมีคณ ุ คาทางอารมณมากกวาเหตุผล


ลัทธิโรแมนติก (เกิดเมื่อ ค.ศ.1820)

เปนศิลปะรอยตอจากแบบลัทธินโี อคลาสสิก เกิดขึ้นจากศิลปนมีความเบื่อหนายการยึดถือความจริงแบบสมัยกรีก โรมัน หรือ ศิลปะแบบคลาสสิค ศิลปนในกลุมนี้จึงชอบสรางผลงานที่ยึดถือเปนแนวปฏิบัติตามกัน อยูในคติที่วา ผลงานที่ดีจะตองมีองคประกอบดังตอไปนี้ คือ 1.เลิกใชภาพแบบประวัติหรือเทพนิยายกรีกหรือโรมัน แบบโบราณ 2.รูปที่วาดจะมีคุณคาไดจะตองเหมือนเหตุการณที่กําลังเกิดขึ้น หรือเปนเรื่องตื่นเตน เราใจ สะเทือนอารมณแกผพู บเห็น 3.รูปวาดนั้นจะตองเปนเรื่องเหตุการณทเี่ กิดขึ้นจริง ถึงจะมีคุณคา


หลักการเขียนตามแนวลัทธิโรแมนติค คือ มุงสรางศิลปะใหกลมกลืนชีวิต (Art & Life) มุงอารมณ มากกวา เหตุผล (Emotion against Reason) มุงจิตใตสํานึก มากกวา สติ (Subconscious against Conscious) มุงการเดาและการคาดฝน มากกวา การพิจารณาและเหตุผล (Divination against Ducation) มุงความเปนตัวตน มากกวา แบบแผนทั่วไป (Individual against Typical)


ศิลปนคนสําคัญของลัทธิโรแมนติก คือ Joseph Mallord William Turner (1775–1851) Théodore Géricault (1791 –1824) Ferdinand Victor Eugène Delacroix (1798 –1863)


Joseph Mallord William Turner โจเซฟ มัลลอรด วิลเลียม เทอรเนอร (1775 - 1851)

จิตกรชาวอังกฤษ ผลงานของเทอรเนอรแสดงความประทับใจโดยถายทอด บรรยากาศของแสงและอากาศในทิวทัศนพรอมกับสราง องคประกอบดวยแสงและสีสัน ซึง่ ประกอบรวมเปน พลังธรรมชาติที่ยิ่งใหญคือหัวขอผลงานของเขา ภายหลังผลงานใหอิทธิพลกับศิลปะลัทธิอิมเพรสชั่นนิสม


Dutch Boats in a Gale ('The Bridgewater Sea Piece')


The Fighting Temeraire tugged to her last Berth to be broken up, 1839


“The Burning of the Houses of Lords and Commons”


Snow Storm - Hannibal and his army crossing the Alps


“Great Western Railway”


Théodore Géricault ธีโอดอร เจอริโคท (1791 –1824)

ศิลปนชาวฝรั่งเศส เปนศิลปนที่ชอบสรางสรรคผลงานที่เราความรูสึก ของผูดูใหเกิดความตื่นเตน, นากลัว ผลงานที่มีชื่อเสียง เชน ภาพแพเมดูซา ภาพหญิงชาย ชาวอัสจิเรีย ภาพทหารมากําลังออกรบ


The Charging Chasseur, 1812.

Insane Woman (Envy), 1822-1823.


The Raft of the Medusa, 1819.


Ferdinand Victor Eugène Delacroix แฟรดีน็อง-วิกตอร-เออแฌน เดอลาครัว (1798 - 1863)

ศิลปนชาวฝรั่งเศส ไดรับอิทธิพลการใชสขี องราฟาเอล และพลังวาดภาพของแรมบรังดและรูเบนส ผลงานที่มีชื่อเสียงของเขา เชน ภาพเสรีภาพนําประชาชน ภาพการสังหารหมูที่แสดงถึงความเหี้ยมโหด


The Entry of the Crusaders into Constantinople


The Barque of Dante 1822 (Dante and Virgil in Hell)


Lion Hunt in Morocco


Lion Hunt


The Massacre at Chios


The Massacre at Chios (detail)


The Death of Sardanapalus


Greece on the Ruins of Missolonghi


เสรีภาพนําประชาชน (La liberté guidant le peuple)


สรุปแนวความคิดของลัทธิโรแมนติค คือ ยึดมั่นในอารมณ (Passion) มากกวาเหตุผล (Ration) พยายามอธิบายความไมแนนอนของชีวิต สรางความกลมกลืนระหวางชีวิตและศิลปะใหเดนชัดขึ้น ดวยการนําเรื่องราวที่เปนจริง สะเทือนอารมณผูชม เชน The Raft of Medusa ยิ่งกวานั้น เรื่องตื่นเตน ผจญภัย สะเทือนอารมณ เรื่องราวจากตางแดน (Exotic theme) เชน ทางตะวันออกกลางก็เปนเรื่องที่นิยมเขียนกับมากเหมือนกัน ดังใหงานของ เดอลาครัว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.