เอกสารประกอบ การนาเสนอและจัดแสดงผลงานโครงงาน ใน โครงการส่งเสริมและพัฒนาอัจฉริยภาพด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตภาคกลางและภาคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจาปี ๒๕๕๖ โดย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคกลางและภาคตะวันออก ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
โครงการส่งเสริมและพัฒนาอัจฉริยภาพด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตภาคกลางและภาคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจาปี ๒๕๕๖ หลักการและเหตุผล ตามที่ โ รงเรี ย นมหิ ด ลวิ ท ยานุ ส รณ์ ร่ ว มกั บ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และคณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาอัจฉริยภาพด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาหรับ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีการดาเนินงานของโครงการมาเป็นรุ่นที่ ๓ ประจาปี ๒๕๕๖ ซึ่งนับว่าเป็น โครงการต่อยอดผลงานทางด้านวิจัยและได้พัฒนาองค์ความรู้ และจากการดาเนินการของโครงการฯ ที่ผ่านมา ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและก่อเกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้มีการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ คณะวิทยาศาสตร์แ มหาวิทยาลัยบูรพา จึงได้กาหนดการ จัดกิจกรรมนาเสนอและจัดนิทรรศการโครงการส่งเสริมและพัฒนาอัจฉริยภาพด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตภาคกลางและภาคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจาปี ๒๕๕๖ ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโครงการ รุ่นที่ ๓ ในภาคกลางและภาคตะวันออกได้มี โอกาสในการนาเสนอและจัดแสดงผลงานโครงงาน ๒. เพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาศักยภาพของนักเรียน ให้เห็นความงาม เห็นคุณค่า และเห็นความสาคัญของ การเรียนทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ๓. สร้ างจิ ตวิญญาณมุ่งมั่น ที่จ ะศึกษาต่ อและประกอบอาชีพเป็น นักวิจัย นัก ประดิษฐ์ แ ละนักคิดค้ น ทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต ผลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นการส่งเสริมและการกระตุ้นให้เยาวชนหันมาสนใจ ค้นคว้าหาความรู้จากการดาเนินการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ นอกเหนื อจากมีสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจาวันแล้ว ยังเป็นการนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันโดยปฏิบัติจริง ซึ่งจะส่งผลให้เยาวชนของชาติตระหนักถึงความสาคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อการพัฒนาประเทศได้ เป็นอย่างดี ๑
กำหนดกำร กำรจัดนิทรรศกำรนำเสนอโครงงำนนักเรียน รุ่น ๓ โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษำตอนต้น กลุ่มภำคกลำงและภำคตะวันออก ระหว่ำงวันที่ ๙ – ๑๐ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ ------------------------------------
วันเสำร์ที่ ๙ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน ณ ห้อง UAD201 ชั้น ๒ หอประชุมธำรง บัวศรี มหำวิทยำลัยบูรพำ ๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น. พิธีเปิด - กล่ำวรำยงำนควำมเป็นมำโครงกำรฯ โดย ผศ.ดร.ยุวดี นำคะผดุงรัตน์ ผู้อำนวยกำร โรงเรียนมหิดลวิทยำนุสรณ์ - กล่ำวต้อนรับผู้เข้ำร่วมโครงกำรฯ และกล่ำวเปิดโครงกำรฯ โดย ผศ.ดร.อุษำวดี ตันติวรำนุรักษ์ คณบดีคณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ ๐๙.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. พักรับประทำนอำหำรว่ำง ๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. บรรยำยพิเศษ เรื่อง “วิทยำศำสตร์กับภูมิปัญญำท้องถิ่น” โดย ผศ.ดร.เอกรัฐ ศรีสุข ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. บรรยำยพิเศษ เรื่อง “เทคนิคในกำรเขียนโครงงำน” โดย ผศ.ดร.สมถวิล จริตควร ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทำนอำหำรกลำงวัน ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. นำเสนอผลงำนและนิทรรศกำรโครงงำนฯ ณ อำคำรวิทยำศำสตร์ชีวภำพ คณะวิทยำศำสตร์ ๑๕.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. รับประทำนอำหำรว่ำง ๑๕.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. นำเสนอผลงำนและนิทรรศกำรโครงงำนฯ (ต่อ) ๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. รับประทำนอำหำรเย็น วันอำทิตย์ที่ ๑๐ กุมภำพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๐๘.๓๐ – ๑๑.๓๐ น. นำเสนอผลงำนและนิทรรศกำรโครงงำนฯ (ต่อ) ณ อำคำรวิทยำศำสตร์ชีวภำพ คณะวิทยำศำสตร์ ๑๑.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. สรุปภำพรวมและปิดโครงกำรฯ โดย คณบดีคณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ ----------------------------------
หมายเหตุ: กำหนดกำรดังกล่ำวนี้ อำจเปลี่ยนแปลงได้ตำมควำมเหมำะสม
๒
ที่ รหัสโครงงาน ๑ สพม. เขต ๓ นนทบุรี – ๐๑
ชื่อเรื่อง ผู้จัดทาโครงงาน สพม. เขต ๓ นนทบุรี การใช้ไฟฟ้าเพิ่มอัตราการงอก นิทรรศ เฟื่องจารุกลุ , ของเมล็ดข้าวสาลี พศิน เลิศสุขเี กษม ( เพื่อผลิตเป็นนา้ สกัดจาก และนิธิศ ฉินประสิทธิชัย ต้นอ่อนข้าวสาลี ) สพม. เขต ๓ การสกัดสารยูเจนอลจากพืชผักสวนครัว สาวิตรี ปิตมิ าตร์, นนทบุรี– ๐๒ โดยใช้เทคนิคการสกัดตัวท้าละลายอินทรีย์ อภิญญา เฉาะกระโทก และสารสกัดด้วยกรด-เบส และอนันตญา โพธิ์สัตย์ สพม. เขต ๓ อารีรัตน์ ไทยศรี , ซาลาเปาน้าเต้าหู้ นนทบุรี– ๐๓ พัชราวดี ขุนแก้ว และ ปณิดา ตังจิตมั่นสกุล สพม. เขต ๓ ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพ อันดามัน สกุลไกรพีระ นนทบุรี– ๐๔ ทัง 3 สูตร ในการยับยัง และเกษรา เกิดคล้าย การเจริญเติบโตของไข่แมลงวัน สพม. เขต ๓ เศษจากการหารผลบวกของ ณัฐมน มูลกิจ, นนทบุรี– ๐๕ สัมประสิทธิ์ทกุ พจน์ แสงตะวัน โพธิ์น้อย n จากการกระจาย (a+b) ด้วย และพจน์มาธวี ทิสาพงศ์ จ้านวนนับ k เมื่อ 2 < k < 9 สพม. เขต ๓ การยืดอายุดอกกล้วยไม้ กมลมาตุ ดิสผล นนทบุรี– ๐๖ ด้วยสารฆ่าเชือ และณัฐธิชา ทรงเดช สพม. เขต ๓ เครื่องฝึกสมาธิแสนสนุก นนทบุรี– ๐๗
๓
หน้า ๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘ ๒๙
ที่ รหัสโครงงาน ๒ สพม. เขต ๕ อ่างทอง – ๐๑ สพม. เขต ๕ อ่างทอง – ๐๒ สพม. เขต ๕ อ่างทอง – ๐๓ สพม. เขต ๕ อ่างทอง – ๐๔
สพม. เขต ๕ อ่างทอง – ๐๕
สพม. เขต ๕ อ่างทอง – ๐๖
สพม. เขต ๕ อ่างทอง – ๐๗
ชื่อเรื่อง สพม. เขต ๕ อ่างทอง ฟอนต์ดีไซน์ บาย คณิตศาสตร์
ผู้จัดทาโครงงาน
จิราภิวัชร์ สอนพร, ชลธิชา จันทร์แจ่ม และธันยพร มากระดี รูปทรงกับการละลายของน้าแข็ง ศิรพัชร รุ่งโรจน์ไพศาล, ศุภวุฒิ ทัศนุรักษ์ และชวลิต แก้วเลิศ เปรียบเทียบการท้านา ณัฐภัทร อ่อนระทวย, ด้วยวิชาคณิตศาสตร์ กมลวรรณ จันทร์ระยับ และทิพานันท์ คล้ายวงศ์ กชกร วงศ์สุวรรณ, ซับมันให้หมด ณัฐกาญจน์ อินทบุตร, ทิพานันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยา, นิภาภัทร ถึงสุข, วรรณพร พุ่มปาน และพัฐสิยา อิทธิศักดิ์พงศา กชกร วงศ์สุวรรณ, ฟองฟู่สู้โรค ณัฐกาญจน์ อินทบุตร, ทิพานันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยา, นิภาภัทร ถึงสุข, วรรณพร พุ่มปาน และพัฐสิยา อิทธิศักดิ์พงศา กุ่มไม่กลุ้ม กชกร วงศ์สุวรรณ, ณัฐกาญจน์ อินทบุตร, ทิพานันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยา, นิภาภัทร ถึงสุข, วรรณพร พุ่มปาน และพัฐสิยา อิทธิศักดิ์พงศา ธูปมหัศจรรย์ 7 วัน 7 สี กชกร วงศ์สุวรรณ, ณัฐกาญจน์ อินทบุตร, ทิพานันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยา, นิภาภัทร ถึงสุข, วรรณพร พุ่มปาน และพัฐสิยา อิทธิศักดิ์พงศา
๔
หน้า ๓๓
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
ที่ รหัสโครงงาน ๓ สพม. เขต ๘ ราชบุรี – ๐๑
สพม. เขต ๘ ราชบุรี – ๐๒ สพม. เขต ๘ ราชบุรี – ๐๓
สพม. เขต ๘ ราชบุรี – ๐๔
สพม. เขต ๘ ราชบุรี – ๐๕
สพม. เขต ๘ ราชบุรี – ๐๖
สพม. เขต ๘ ราชบุรี – ๐๗
ชื่อเรื่อง สพม. เขต ๘ ราชบุรี ขีผึงใบบัวบก
ผู้จัดทาโครงงาน
จันทิมา ค้ากองแก้ว, พิมพ์ลภัส ทองเหลือ, พีรดา เทียนรุ่งโรจน์ และสิริยากร เลื่องเลิศ เทียนหอมไล่ยุง อนันตพงษ์ ฉายาพงษ์, ชลิดาภรณ์ จันทร์เหมือน และสิริมา เล้าสินวัฒนา เครื่องกระตุ้นการท้างานของ ชิษณุชา ฉัตรตระกูลไพรศาล, นาฬิกาออโตเมติก ดลพร รอดกระจับ, สุวพิชชากรณ์ ทองพลู และปกป้อง เปล่งเติม GSP กับพืนที่สู่หนังสือเล่มเล็ก สุพิชชา บัวบาง, เจนจิรา บุญรักษา, รัชชานนท์ กลัดนวม และชัยธวัช อักษร การออกแบบโปรแกรม นราวิชญ์ จันทร์ทอง, การหารสังเคราะห์โดยใช้โปรแกรม ศลิษา เจริญวิกภัย, The Geometer’s Sketchpad ปาณิศา ปัญญาสัทโท และพัฒนพงศ์ พันธุเกตุ ลายสร้างงาน กัลยกร เอี่ยมอุ้ย, ไอมิ คิชิโมโตะ, ณัฐนันท์ บุญพร และณัฐวุฒิ เอี่ยมสุขประเสริฐ Water keeper ภราดร นิเทศพัตรพงศ์, ( ป้องกันน้าล้น ) นฤดล เข้มแข็ง, ศิปสุต พุทธอรุณ และสิรภพ วุฒินันติวงศ์
๕
หน้า ๔๓
๔๔
๔๕
๔๖
๔๗
๔๘
๔๙
ที่ รหัสโครงงาน ชื่อเรื่อง ผู้จัดทาโครงงาน ๔ สพม. เขต ๙ นครปฐม สพม. เขต ๙ ความสัมพันธ์ของชุดสมการ พลอยยอดฉัตร ภัทรพงศ์กร, นครปฐม – ๐๑ เชิงเส้นกับสมการพาราโบลา รุจิณัฐ ปิ่นทองดี และหิรัณยา เถลิงศักดาเดช สพม. เขต ๙ อุปกรณ์ตรวจวัดค่าpH ไข่มุก อินทรวิชัย, นครปฐม – ๐๒ จาก pH sensor พรพรรณ ประเสริฐท่าไม้ และพิชชาภา วงศ์ผาสุกสถาพร สพม. เขต ๙ สารสกัดจากสมุนไพรยับยัง ชายนวพรรษ ไพบูลย์ทรัพย์สิน นครปฐม – ๐๓ การเจริญของเชือ ,เมธี ศรีประทุมรักษ์ Staphylococcus aureus และนพรัตน์ นุชิตประสิทธิชัย สพม. เขต ๙ เครื่องวัดความเร็วลม ปาจรีย์ ไชยเสน, นครปฐม – ๐๔ สุชานันท์ คุ้มหรั่ง และอาทิตยา ทองสุข สพม. เขต ๙ เครื่องวัดอุณหภูมิและแสง ธีรทัศน์ ชมโชค, นครปฐม – ๐๕ พงศกร สมผล และพงศ์บุญย์ หิรัญเจริญนนท์ สพม. เขต ๙ สมุนไพรก้าจัดหอยเชอรี่ ธฤตมน คล่องรักสัตย์, นครปฐม – ๐๖ ลันดา คล้ายจันทร์พงศ์ และอารันดา กิตติถาวร สพม. เขต ๙ คุณภาพน้าในโรงเรียน จอมกฤดิทิพย เหล่าโมราพร, นครปฐม – ๐๗ มัธยมศึกษาในสังกัดของ นิชานันท์ สันทัด ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษา และอมรรัตน์ ห้อยมาลี มัธยมศึกษาเขต 9 อ้าเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม สพม. เขต ๙ การเพาะปลูกเห็ดฟาง สรรเสริญ หงส์วิพัฒน์, นครปฐม – ๐๘ โชติวรุตม์ ภัทรภาวิดา และศุภกร ต้นสีนนท์
๖
หน้า ๕๓
๕๔
๕๕
๕๖
๕๗
๕๘
๕๙
๖๐
ที่ ๕
รหัสโครงงาน สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม – ๐๑ สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม – ๐๒ สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม – ๐๓ สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม – ๐๔ สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม – ๐๕ สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม – ๐๖ สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม – ๐๗
ชื่อเรื่อง สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงคราม เช็ครหัสบัตรประชาชน
ผู้จัดทาโครงงาน
เศรษฐพงศ์ ชื่นจิตร, ปิยกมล กล่้าสวัสดิ์ และธัญวรัตน์ วิเศษศิริ คณิต KIDS BMI ชนัฏฐา เรือนเงิน, พิณรัตน์ จันทเลิง และรวิพร เพ็งพิณ อ่างล้างภาชนะรักษ์น้า นพนันท์ พรพุทธศรี และปารวี ปรองดอง กระถางต้นไม้จากกระดาษรีไซเคิล สุทิวัส เต่าทองค้า, ฐิติมา อ้นเอี่ยม และศรีวรรณ ศิริขันธ์ มหัศจรรย์น้ามันมะพร้าวสกัดร้อน ณัฐชาภัทร อินาลา, สูตรโบราณ นิโลบล สงวนข้า และสุทตั ตา ข้านพคุณ เก้าอีปริซึมคุณหนู ชนานันท์ งามจรุงจิต, ณิชญา โชติวิทยา และนิภาภรณ์ จันทนะโสตถิ์ ช็อตแมลงวันโดยใช้ไฟฟ้า ศรินธร เครือชะเอม, จากแบตเตอร์รี่ ณัชฐานันท์ ปั้นทองค้า และลีลนุช สายสุวรรณะ
๗
หน้า ๖๓
๖๔
๖๕ ๖๖
๖๗
๖๘
๖๙
ที่ ๖
รหัสโครงงาน สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์– ๐๑ สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์– ๐๒ สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์– ๐๓
สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์– ๐๔ สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์– ๐๕ สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์– ๐๖ สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์– ๐๗
ชื่อเรื่อง สพม. เขต ๑o ประจวบคีรีขันธ์ กระดาษทดสอบบอแรกซ์
ผู้จัดทาโครงงาน
หน้า
นทีธร สังข์สุวรรณ, ๗๓ กมลภัทร บุญช่วย และ หทัยภัทร สังข์ประเสริฐ การย้อมนิวเคลียสของเซลล์เยื่อหอม ฐาปนี แสงสว่างเสรีกุล , ๗๔ ด้วยสีจากพืชในท้องถิ่น ตะวันฉาย ลือก้าลัง และ กนกวรรณ จันทร์นฤเบศร การศึกษาชนิดของอาหารปลาที่มผี ล พิชามญชุ์ เพชรัตนกูล , ๗๕ ต่อการเจริญเติบโตของ ชุติกาญจน์ มณเฑียร ปลากะพงขาว และพุฒิพันธุ์ สีลินจี่ Lates calcarifer คีมแกะเปลือกหอยแมลงภู่ ณัฐวุฒิ ยงจิตติกรกุล, ๗๖ คฤหัสถ์ โกมล และ ศรัณย์ มะขามป้อม การเปรียบเทียบขนาดมุมของคราด กนกวรรณ สันตานนท์, ๗๗ ที่มีผลต่อการคราดหอยตลับ น้าทราย ทัพพะรังสี และปัถยา หิรัญ ถ่านเชือเพลงอัดแท่งจากใบ บัญชา ธรรมประภาพรม, ๗๘ และเหง้าสับปะรด สมฤทัย ศรีรอบรู้ และวรรณนิษา ศิลปี อุปกรณ์เก็บผลมะม่วง สหชาติ รอดภัย, ๗๙ ศราณิศร ศรีคา้ และพิชญา ศรีจุฬางกูล
๘
ที่ ๗
รหัสโครงงาน สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๑
ชื่อเรื่อง สพม. เขต ๑๗ จันทบุรี-ตราด เครื่องห่อผลไม้สไตล์พอเพียง
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๒
ผลของน้ามะพร้าวและน้าคันหัวไชเท้า ต่อการเจริญเติบโตของถั่วงอก
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๓
ก้าจัดสารพิษตกค้างจากยาฆ่าแมลงด้วย รางจืด ผักบุ้ง และ ย่านาง
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๔
การเปรียบเทียบความสามารถ ในการเพิ่มความคงทนของดอกกุหลาบ ระหว่างน้าสะอาด น้าเชื่อม และวุ้นจากเปลือกส้มโอ สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๕ การศึกษาการเปรียบเทียบผลของ น้าหมักชีวภาพจากสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย พันธุ์ตราดสีทอง และน้ากรดฟอร์มิก ที่มีผลต่อการแข็งตัวของ น้ายางพารา สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๖ ผลของสารเคมีทมี่ ีผลต่อการผลิตถ่าน จากไม้ยางพารา สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๗
การขจัดคราบสกปรกบนเหรียญ จากน้าผลไม้
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๘
ผงพอกหน้าจากเมล็ดถั่วเขียว
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๐๙
การเปรียบเทียบประสิทธภาพ ของสารเคลือบจากวุ้นว่านหางจระเข้ และกระเจียบเขียวในการเก็บรักษา กล้วยน้าว้า กล้องจุลทรรศน์ขนาดจิ๋ว
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๑๐
๙
ผู้จัดทาโครงงาน
หน้า
ศุภวิชญ์ บุญช่วย, เกษภาวรรณ อินทร์แก้ว และญาณิศา ศิลปสาร เทียนชัย กุลชานิธิ, สัณห์สิรี จิตต์ธรรม และสุภาวรรณ กองจินดา
๘๓
ชานน กมลโกศล, นิชดา ศักดิ์วรกุล และศุจินันท์ นาคแสง กิตติพงษ์ ปลืมส้าราญ, ธัญจิรา เจริญสุข และศุภาพิชญ์ สิงห์พร
๘๕
พลวิชญ์ สอนส้าโรง, ปริยากร เกตุภูเขียว และสิริกร นองเนือง
๘๗
นวพร ปริยชาติ, วิภาวดี วรรณโชติ และพิรณ ุ ทิพย์ สงวณหงษ์ พรกมล โง้วรุ่งเรือง, ณัฐ วงศ์วานวัฒนา และชัยวัฒน์ ชวลิตชัยชาญ กรกมล จุลเจริญ, กาญจน์ มณีทมุ และวรรณพร จิตต์นุพงค์ นันทวัทน์ หาญสมุทร, พัชรพล แพทย์พิทักษ์ และปุณณธิดา บุญรอดรักษ์
๘๘
ภูษิต ถนอมทรัพย์, ธนวรรณ หัชลีฬหา และจิณณา พงศาวรี
๙๒
๘๔
๘๖
๘๙
๙๐
๙๑
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๑๑
การทดสอบคุณภาพน้าบริเวณคุ้ง ที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยและไม่มีที่อยู่อาศัย
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๑๒
การศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยา บางประการของปูแสมภูเขา (Geosesarma krathing) การศึกษาค่าความหนาแน่นของทองค้า โดยใช้หลักการโมเมนต์ของแรง ตามวิธีการของ Shyam Singh
สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตราด – ๑๓
๑๐
ณัฐณิชา สนั่นพานิชกุล, ธัญวลัย ช้างแก้วมณี และแสงดาว สัจจาศิริ อัญวรรณ ทับดารา และภาสินี สมพงษ์
๙๓
พัทธ์พิชญาพิชญวณิชย์ และนทวรรณ ขุนศรี
๙๕
๙๔
ที่ รหัสโครงงาน ๘ สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๑
ชื่อเรื่อง สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี เกมทายใจจากรหัสแก้ไขข้อ ผิดพลาด (Error correcting code)
สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๒
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของ ต้นโกงกางใบใหญ่ในบริเวณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ปา่ ชายเลน เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ บริเวณต้าบลเสม็ด และบริเวณต้าบลบางทราย
สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๓
การเปรียบเทียบน้าหมักชีวภาพ จากเปลือกสัปปะรดและน้าหมักชีวภาพ จากส่วนต่างๆของกล้วย ต่อการเจริญเติบโตของแตงกวา ชนิดของสารที่ช่วยในการปอกเปลือกไข่
สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๔
สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๕ สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๖ สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๗
การศึกษาสเปรย์สมุนไพรขจัดกลิน่ อับ การศึกษาน้ามะขามเปียกขจัดคราบไขมัน
สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๘
การเปรียบเทียบสารสกัดจากใบน้อยหน่า ตะไคร้หอม และกะเพราในการป้องกัน หนอนใยผักในผักกวางตุ้ง เปรียบเทียบพฤติกรรมลักษณะ การกินอาหารของปลาทับทิม
สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี – ๐๙
โครงงานประดิษฐ์ Messenger Robot
๑๑
ผู้จัดทาโครงงาน
หน้า
พิชชากร สมงาม, สมิตา วีระโยธิน, มานิตา อินทร์วิเศษ, ปณิตา มณีนุตร์ และธนัชญา บุญยะวิบูลย์ ณิชารีย์ รุจโิ รจน์กลุ , ศุภิสรา เศรษฐีพร, ศริยา เรืองแสง, สมิตา บุญพิทักษ์ และรัสมิ์ฐติ า ศิริโภค
๙๙
๑๐๐
พิชชากร สมงาม, สมิตา วีระโยธิน, มานิตา อินทร์วิเศษ, ปณิตา มณีนุตร์ และธนัชญา บุญยะวิบูลย์ ชิติพัทธ์ อุตราภิรมย์สุข, ศุภวิชญ์ ศรีสุภาพ, นนทิรัตน์ พิทยานุรักษ์ และพชร กิตินิรันดร์กลู ฐิติพัฒน์ สายนภา, ปวริศ ฉิมมารักษ์, และชยบดิณก์ ไพบูลย์ กัญญารัตน์ บุญข้า, รัฐนันท์ ทองสดายุ, ชณิกา ดียิ่ง และชิษณุชา ทรงกลิ่น ชมพูนุช พาดี และธัญญรัตน์ ชูศรี
๑๐๑
ณัฐชา นีรพัฒนกุล, ปุณณภา ภัทรทวีภมู ,ิ อุรชา ใจกล้า, เขมฤทัย เขียมศิริ และเนตรชนก ศรีทอง กิตติภูมิ มั่งคั่ง, วิชัย มีจอ, ชัชชน ชวาลาวร และคุณาธิป แสงกระจ่าง
๑๐๖
๑๐๒
๑๐๓ ๑๐๔
๑๐๕
๑๐๗
ที่ รหัสโครงงาน ชื่อเรื่อง ๙ สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี สพม. เขต ๔๒ เปลือกผลไม้ชะลอการเสื่อมสภาพของอาหาร อุทัยธานี – ๐๑ สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๒
น้ามันหอมระเหยจากมะกรูดลบรอย หมึกปากกาเคมีแบบถาวร
สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๓
เทียนหอมสมุนไพร Aloma Herb Candle
สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๔
เกมคณิตศาสตร์ ฉลาดคิดกับ Math Tornado
สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๕
การสกัดนา้ มันจากไขมันปลาดุก
สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๖ สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๗
การศึกษาเทคนิคการท้าน้าหอม จากดอกลีลาวดี หมึกจากสนิมและใบไม้
สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๘
เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการก้าจัดสนิม จากน้ามะนาว น้ามะกรูด เกลือ และน้าซาวข้าว การท้าอิฐบล็อกจากเศษวัสดุธรรมชาติ
สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๐๙ สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๑๐ สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๑๑ สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๑๒ สพม. เขต ๔๒ อุทัยธานี – ๑๓
ถุงดับกลิ่นอเนกประสงค์ ลูกแป้งโปรไบโอติก ชุดทดสอบฟอร์มาลีนจากเปลือกมังคุด
วิธีการผลิตกระดาษจากเปลือกต้นกระถิน
๑๒
ผู้จัดทาโครงงาน
หน้า
ธนัชชา ศักดิ์แสง, วงศ์ศิยา เพียรธัญกรณ์ และเอมิกา พูนวัฒนานุกูล กวิน บุญนิล, คงนิธิ จันทวงษ์ และฤตนน วงศ์มิตรวาที ประภาศิริ สุจริต, ชนานันท์ วงศ์รอด และรวิศรา สิทธิชัย ธนาคม หัสแดง, กุลภรณ์ เปียมาลย์ และญาดาณี เสถียร ณัฏฐลักษณ์ พรมสอน, พิสมัย สุขะนนตรี และอุษารัตน์ ศรีโกมล วิไลวรรณ หมื่นแสง
๑๑๑
๑๑๒
๑๑๓
๑๑๔
๑๑๕
๑๑๖
ธนภัทร เรืองศิลป์ , ๑๑๗ พิสิษฐ์ บุญคลอด และทินกฤษ แรงเกษตร์วิท ศิรวิชญ์ เจริญวุฒิ ๑๑๘ และธัญญา วงษ์สาธุภาพ ฐิติมา สมบัติวงศ์ และปดิวรดา แป้นสุข
๑๑๙
ธนภรณ์ บูโกก และสุทธิวรรณ ท้าวทอง ณัฐวดี เอี่ยมสอาด และจันทิมา ไวเกษตรกรณ์ สิริศักดิ์ กิจวิทยี, เบญจรัตน์ สุวรรณพยัคฆ์ และเสาวลักษณ์ เอี่ยมมา นันทวุฒิ ชาวดอนคูณ
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๒
๑๒๓
สพม. เขต ๔๒ การเปรียบเทียบการจับตัว : อุทัยธานี – ๑๔ กรณีศึกษาชนิดโฟมต่างๆ สพม. เขต ๔๒ สัตว์ป่าที่ท้าความเสียหายแก่พืชไร่ : อุทัยธานี – ๑๕ กรณีศึกษาพืนที่ท้าการเกษตรของเกษตรกร ในหมู่บ้านซับป่าพลูใหม่ ต้าบลป่าอ้อ อ้าเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี สพม. เขต ๔๒ เครื่องฉีดน้าจากวัสดุเหลือใช้ อุทัยธานี – ๑๖
๑๓
นาตยา ศรีวิเชียร
๑๒๔
นฤมล สังข์แย้ม, พลอย อ่วมมาก และสุภลักษณ์ กุสุโมทย์
๑๒๕
เฉลิมพล พรหมวิสตู ร์
๑๒๖
ที่ รหัสโครงงาน ๑o สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๑ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๒ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๓ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๔ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๕ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๖ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๗ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๘ สพป. ปทุมธานี เขต ๑ – ๐๙
ชื่อเรื่อง สพป. ปทุมธานี เขต ๑ เครื่องชาร์ตแบตเตอรีม่ ือถือ พลังงานมือหมุน แบบพกพา
ผู้จัดทาโครงงาน
ณัฐพล โพธิ์ศรี, สุเมธ มูลทองน้อย และเสนาะ สีอ่อน ถ่านหอมจากเปลือกผลไม้ดูดกลิ่นอับ ฐิตาพร ค้าฝึกฝน, พิมพ์เพชร ลึ่มนอก และอรรถพล รักพินจิ ปากกามาร์กเกอร์จากน้าสกัดใบชาเขียว ชวนเฉลิม กวีวัฒน์, กับผงตะไบเหล็ก กวินทิพย์ กสิโสภา และอภิวัฒน์ บางแสงอ่อน สารละลายน้าตาลช่วยลดการเหี่ยวเฉา ปริญญา น้าใจดี, ของดอกกล้วยไม้ ปรัชธิดา เจริญ และสิริยากร สร้อยมั่น การวางคันกระสอบทราย ศานติ รัตนสาชล, กับการป้องกันน้าท่วม ณัฐพล ฉสกุลปัญโญ และพีรดา เกือกูลศาสนกิจ ประสิทธิภาพของการบูรสมุนไพรไล่มด กชพงศ์ โตศักดิ์สิทธิ์ และ สุปรีชา สุวรรณฤทธิ์ รูปแบบของขดลวดที่มผี ลต่อ ภาณุพงศ์ มีแสงเพ็ชร ปริมาณกระแสไฟฟ้า และเจษฎากร นรสิงห์ การผลิตเอทานอลจากหญ้า นัษฐา สุภณไล่, โดยวิธีการหมักแบบกะ ชนิตา ลีสุวรรณกุล และชนากานต์ ธรรมรุ่งโรจน์ การหาค้าตอบของสมการ พีรพล อรรฆย์ภูษติ ก้าลังสามอย่างง่าย และพีรวัส อรรฆย์ภูษิต
๑๔
หน้า ๑๒๙
๑๓๐
๑๓๑
๑๓๒
๑๓๓
๑๓๔ ๑๓๕ ๑๓๖
๑๓๘
ที่ รหัสโครงงาน ๑๑ สพป. ชัยนาท – ๐๑ สพป. ชัยนาท – ๐๒ สพป. ชัยนาท – ๐๓ สพป. ชัยนาท – ๐๔ สพป. ชัยนาท – ๐๕ สพป. ชัยนาท – ๐๖
สพป. ชัยนาท – ๐๗ สพป. ชัยนาท – ๐๘
สพป. ชัยนาท – ๐๙ สพป. ชัยนาท – ๑๐
ชื่อเรื่อง สพป. ชัยนาท ขนาดของจานปั่นที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ
ผู้จัดทาโครงงาน
พีรวัส ข้าอ่วม, ชยฌาน จันทรา และอภิวันท์ โพธิ์แก้ว การเจริญเติบโตของไลเคนบนต้นขนุน ภาณุ ศรีโคตรโพธิ,์ และต้นจิกนา้ ตนุพัฒน์ ปิยะรัตน์ และภัทรานิษฐ์ สังเกตใจ รูปแบบของลอนลูกฟูก ชนพล จิ๋วสวัสดิ,์ ที่รับแรงกดได้ดีที่สดุ คณิตกัญจน์ ฟักนุช และกิตติพศ ก้อนทอง พาราโบล่าจากกลีบดอกไม้ ณัฐณิชา เงินพลอย, พิธามญช์ รัตนชัยสิทธิ์ และพีรกานต์ พันตาวงษ์ กระทง EM นายพีรวิชญ์ ข้าอ่วม, อภินันท์ โพธิ์แก้ว และณัฐพันธ์ ทวีกสิกรรม น้าสมุนไพรฆ่าแมลงสาบ ธีรเจต ตุลานนท์, ภาสกร ชาญณรงค์, ธมลวรรณ อินทรเกษตร และบูรณา ภูร่ ะย้า รู้รอบคอ บอกรอบเอว เกวลิน กิจเที่ยงธรรม, พงศกร หอมจ้าปา และธนวัฒน์ แช่มช้อย เครื่องห่อและเก็บเกี่ยวผลไม้ นิชาภา บัวทอง, กนกวรรณ ดาวช่วย ศิริวรรณ มหาวิจิตร และปลืมกมล ป้อมทอง น้าหมักชีวภาพกับผลผลิตของถั่วฝักยาว สาธินี นาคศรี, รัตติยากร กันจนะ และฑาริกาญ ภิญโญยิ่ง น้าหมักชีวภาพ 3 in 1 ณัฐปภัสร์ สิทธิรตั น์, (ใบฉ้าฉา เปลือกสับปะรด และหน่อกล้วย) กัญญาณัฐ กล่้าแก้ว และกันติชา พลเจียก
๑๕
หน้า ๑๔๑
๑๔๒
๑๔๓
๑๔๔
๑๔๕
๑๔๖
๑๔๗
๑๔๘
๑๔๙
๑๕๐
ที่ ๑๒
รหัสโครงงาน สพป. นครนายก – ๐๑
สพป. นครนายก – ๐๒
สพป. นครนายก – ๐๓ สพป. นครนายก – ๐๔ สพป. นครนายก – ๐๕ สพป. นครนายก – ๐๖ สพป. นครนายก – ๐๗ สพป. นครนายก – ๐๘ สพป. นครนายก – ๐๙
สพป. นครนายก – ๑๐ สพป. นครนายก – ๑๑
ชื่อเรื่อง สพป. นครนายก ผลการใช้เชือราไตรโครเดอร์มา ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ของหม้อข้าวหม้อแกงลิง ในวัสดุปลูกที่มีอตั ราส่วนต่างกัน เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและเพิ่ม ผลผลิตของพริกโดยวิธีการปลูก แบบต้านแรงโน้มถ่วง และแบบตามแรงโน้มถ่วง การตรวจสอบสารสกัดจากพืชสมุนไพร ที่ช่วยลดระดับปริมาณนา้ ตาลกลูโคส
ผู้จัดทาโครงงาน
หน้า
สุมิตรา วงษ์พระจันทร์
๑๕๓
ธีรวัฒน์ หมื่นเท
๑๕๔
ทักษพร พันธุ์เกตุ, ปุณยาพร ผ่องจิตร์ และอัญชลี ทองสุภาพ การส้ารวจค่าความเป็นกรด – เบส ( pH ) กัญญาณัฐ อิสระเสนารักษ์, ของน้าที่มีผลต่อชีวิตขนาดเล็ก จิราภรณ์ วัฒนเขจร ในแหล่งน้าจืดต่างๆ และสุพรรษา พิมพา เครื่องผ่าเมล็ดบัวหลวง ธนภูมิ สุวรรณวารี, ศุภศิษฐ์ สีลา และพิณัฐ รุ่งวิทยกุล ปริมาณวิตามินซีในสมุนไพรบางชนิด ธนดล ค้ามาก และพงศกร มีนา สารสกัดไคโตซานที่มีผลต่อการงอก สุธีมา เจริญยิ่ง และการเจริญเติบโตของข้าวสาลี และแพรวประกาย ทาแกง การค้านวณค่าพลังงานไฟฟ้า นพพล บุษปฤกษ์ ในครัวเรือนเพื่อการวางแผน และมนัสนันท์ พวงพัฒนชัย การใช้จ่ายค่าไฟฟ้าอย่างประหยัด ความสามารถในการดักจับน้ามัน เจนณรงค์ สิทธิศุภพงศ์ ที่ปนมากับน้าทิงจากครัวเรือน และพชร พลอยเพ็ชร ของกากมะพร้าว ก้านผักตบชวา และก้านกล้วย การออกลวดลายถุงผ้า คณิน สมัครรัฐกิจ, โดยใช้โปรแกรม GSP ดวงฤทัย กิ่งศร และ ปัญฑารีย์ ขันชลีด้ารงกุล ปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลา ศราวุธ สุทาวันและ ในการบินของเครื่องบินพลังยาง ธนาวี กานต์ฉลองชัย
๑๖
๑๕๕
๑๕๖
๑๕๗
๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐
๑๖๑
๑๖๒
๑๖๓
ที่ รหัสโครงงาน ๑๓ สพป. สิงห์บุรี – ๐๑ สพป. สิงห์บุรี – ๐๒ สพป. สิงห์บุรี – ๐๓ สพป. สิงห์บุรี – ๐๔ สพป. สิงห์บุรี – ๐๕ สพป. สิงห์บุรี – ๐๖ สพป. สิงห์บุรี – ๐๗ สพป. สิงห์บุรี – ๐๘ สพป. สิงห์บุรี – ๐๙ สพป. สิงห์บุรี – ๑๐
ชื่อเรื่อง สพป. สิงห์บุรี เรือบังคับวิทยุตรวจกระแสไฟฟ้ารัว่ ในน้า
ผู้จัดทาโครงงาน
ภูมิทวี ร่มโพธิ์, พงศธร เรืองสุข และจิรายุ เทียนเจริญไชย เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยล้อรถ ชุติมณฑน์ เขตการณ์, ศาตนันท์ แสงมณี และฃสุวรัตน์ สุขโข กระแสไฟฟ้าเร่งการเจริญเติบโตของถั่วงอก ทิฆัมพร ค้ามูล, สรัลชนา คงคามี และ หฤทัย ข้าศรี ปุ๋ยอินทรีย์สตู รประหยัด กุลภัสสรณ์ แก้วประเสริฐ, ณฐิตา ศรีเผือก และสิรีรัศมิ์ สีมาภาพงษ์ ถั่วงอกไม่ง้อฟอมอร์ลีน ศิริวรรณ สินธุรส, จุฑารัตน์ อิ่มแตง และหลักเขต โกษา อาหารปลาเร่งการเจริญเติบโตปลาตะเพียน กฤตพงศ์ โฉมศรี, ธนวัฒน์ กล่อมจันทร์ และนุติ เรืองมั่นคง ปริซึมมหัศจรรย์ขับไล่นกพิราบ นันทพัทธ์ ปะวะศรี, เฉลิมนาถ จิตอารีย์ และธัชพล เข็มเพ็ชร กระถางหยวกกล้วย คณาธิป เจริญสุข, สุกฤต เหมือนศรี และสิทธินนท์ เอี่ยมชนะ จักรยานระหัดเกลียววิดน้า วริศรา นาคประเสริฐ, ชนิกานต์ เสียนขุนทด และวราภรณ์ คีรีวรรณ์ หลังคาประหยัดพลังงาน จิรภาส พงษ์สถิตพร, ญาณกาล วัฒนพงษ์ และอรุษ ศรีสุธอ
๑๗
หน้า ๑๖๗
๑๖๘
๑๖๙
๑๗๐
๑๗๑
๑๗๒
๑๗๓
๑๗๔
๑๗๕
๑๗๖
ที่ ๑๔
รหัสโครงงาน สพป. สุพรรณบุรี – ๐๑ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๒ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๓ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๔ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๕ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๖ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๗ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๘ สพป. สุพรรณบุรี – ๐๙ สพป. สุพรรณบุรี – ๑๐ สพป. สุพรรณบุรี – ๑๑ สพป. สุพรรณบุรี – ๑๒
ชื่อเรื่อง สพป. สุพรรณบุรี เครื่องคันน้าผลไม้แบบประหยัด
ผู้จัดทาโครงงาน
กิตติบุญ สัตบุษ, กิตติศักดิ์ ศรีโมรา และพรพรรณ มั่นทอง เครื่องดักจับไขมัน ศิวนนท์ รัตนกรัณฑ์ และสุวรรณ ประทีป เครื่องตะบันน้า กิตติพงษ์ จิรศักดิ์สกุล, ธันยา รอดวิเศษ และวีรภัทร์ อินสมตัว เครื่องตัดหญ้าไฟฟ้าอย่างง่าย ณัฏฐา เพ็ชรากุล, ปาณพิมพ์ สมิทธาพิพัฒน์ และบัณฑิตา เกิดแก้ว เครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติ ปวิชญา สังขรัตน์, นางสาวยุวดี นุชศรี และสุณฏั ฐา เรืองศิริกานต์ จักรยานท้าความสะอาดเมล็ดพันธุ์ข้าว จิตตาภรณ์ แก้ววิชิต, มธุรส แตงโม และโสภาวรรณ มาลาฉ่้า ถังบ้าบัดน้าเสียจากครัวเรือน เดชพิณทอง ลาภพณิชพูลผล, ธิติวัฒน์ ประเสริฐกุลไชย และวฤณ เนียมหุ่น ถ่านจากชีวมวล ฑิฆัมพร ปาละกะวงศ์ ณ อยุธยา, ธนพร วิสภักดิ์ และวศินี รัตภาสกร สมุนไพรพิชิต E.coli ณิชกมล ดวงจินดา, อริศธาร อ่วมจันทร์ และณัฐมน เมืองเชียงหวาน สมุนไพรลดน้าตาล ชฎาภรณ์ ธรรมสกุลสัจจา, กรรณิการ์ ค้าสูง และอินทุอร ภูฆัง เสือชูชีพจากเศษวัสดุ ญาณิศา เสร็จกิจ, ปริชามน น้อยหร้า และธนพร สินธพเลิศชัยกุล โอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติ มนธกานต์ ฤทธิรักษ์, สุจิตรา ศรีเพียงจันทร์ และสุภัสสรา แก้วเจริญสีทอง ๑๘
หน้า ๑๗๙
๑๘๐ ๑๘๑
๑๘๒
๑๘๓
๑๘๔
๑๘๕
๑๘๖
๑๘๗
๑๘๘
๑๘๙
๑๙๐
ที่ ๑๕
รหัสโครงงาน สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๑
ชื่อเรื่อง สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ ลิปมันจากธรรมชาติ
สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๒
เทคนิคการหุงข้าวให้บูดช้า ด้วยน้าส้มสายชู
สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๓
ยีสต์ดักยุง
สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๔
ถ่าน ECO
สพป. การวิเคราะห์สมการเชิงเส้นโดยกราฟ กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๕ ด้วยโปรแกรม GSP สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๖
สร้างสรรค์ลายกระเบือง ด้วยโปรแกรม GSP
สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๗
การหาค่าปริมาตรของพีระมิด ตัดยอดฐานหลายเหลีย่ ม ด้านเท่ามุมเท่า น้าสมุนไพรขจัดเห็บ
สพป. กาญจนบุรี เขต ๑ – ๐๘
๑๙
ผู้จัดทาโครงงาน
หน้า
ต้นกนก ทัศนวงศ์วรา , บุญสิตา กิตติวิรยานนท์ และณัฏฐณิชา บัวประเสริฐ ณัฐชา นัยนันท์ , ชาญดา เอ่งฉ้วน และกัญชพร ศรสินชัย พรรณวดี ทวีระวงษ์, ศศิกานต์ จงฤทธิพร และกันติยา ลีตระกูล ณัฐวัชร์ ภัคพาณิชย์ , นรภัทร บุญทวีบรรจง และวงศกรวงศ์ วัชรมงคล กันต์กมล พิศาล , ไกรฤทธิ์ หงษาครประเสริฐ และอสิ บากา พิชญา ระงับพิศม์ , ภัคจิรา เปียสวน และวริศรา ภูรีวลิ าส ณัชชานน ทองรวย, ภัทรพร ภูมีคง และสุภาสินี โอบทรัพย์กุล ชาคริต ธีระวิจติ ร , ณัฏฐพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และกิตติธัช ตันเรืองศรี
๑๙๓
๑๙๔
๑๙๕
๑๙๖
๑๙๗
๑๙๘
๑๙๙
๒๐๐
๒๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๓ นนทบุรี (สพม. เขต ๓ นนทบุรี)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๒๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรใช้ไฟฟ้ำเพิ่มอัตรำกำรงอกของเมล็ดข้ำวสำลี (เพื่อผลิตเป็นน้ำสกัดจำกต้นอ่อนข้ำวสำลี) นิทรรศ เฟื่องจำรุกุล, พศิน เลิศสุขีเกษม และนิธิศ ฉินประสิทธิชัย ครูที่ปรึกษำโครงงำน วำสนำ พันธุมะเกียรติ และศิริรัตน์ ด้วงนคร โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มอัตราการงอกของเมล็ดข้าวสาลี เพื่อผลิตเป็นน้าสกัดจากต้นอ่อนข้าว สาลี (Wheatgrass) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบกระแสไฟฟ้าที่มีผลต่ออัตราการงอกของเมล็ดข้าวสาลี โดยการกระตุ้นเมล็ด ข้าวสาลีด้วยไฟฟ้า กระแสตรงที่ความต่างศักย์ขนาด 3, 4.5, 6 และ 12 โวลต์ ด้วยการผ่านกระแสไฟฟ้าลงไปในน้าประปาที่แช่ เมล็ดข้าวสาลี เป็นเวลา 10, 20 และ 30 นาที แล้วนาเมล็ดที่งอกไปปลูกและเปรียบเทียบกับการเพาะเมล็ดแบบทั่วไป (กลุ่ม ควบคุม) หลังจากต้นอ่อนข้าวสาลีเจริญเติบโตได้ประมาณ 7 วัน จึงนาต้นอ่อนข้าวสาลีมาผลิตเป็นน้าสกัดจากต้นอ่อนข้าวสาลี (Wheatgrass) โดยจะแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 กระตุ้นเมล็ดข้าวสาลีพันธุ์ฝาง 60 ด้วยไฟฟ้ากระแสตรง และขั้นตอนที่ 2 การทดสอบโปรตีนในน้าสกัดจากต้นอ่อนข้าวสาลี จากผลการศึกษาและทดลองพบว่า กระแสไฟฟ้าสามารถเพิ่ม อัตราการงอกของเมล็ดข้าวสาลี โดยเมื่อผ่านไฟฟ้ากระแสตรง ที่ความต่างศักย์ 3, 4.5, 6 และ 12 โวลต์ สามารถเพิ่มอัตราการงอก ของเมล็ดข้าวสาลีได้ และจะมีอัตราการงอกของเมล็ดข้าวสาลีมากที่สุด เมื่อกระตุ้นด้วยไฟฟ้ากระแสตรงขนาด 6 โวลต์ เป็นเวลา 20 นาที และพลังงานไฟฟ้าที่กระตุ้นนั้นจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน วัดได้จากอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป เมื่อนาเมล็ดข้าวสาลีที่ กระตุ้นด้วยไฟฟ้าไปปลูกเป็นต้นอ่อนข้าวสาลี สามารถเจริญเติบโตได้ดีเช่นเดียวกับกลุม่ ควบคุม แสดงว่ากระแสไฟฟ้าและอุณหภูมิมี ผลต่ออัตราการงอกของเมล็ดข้าวสาลีและสามารถเพิ่มผลผลิตเป็นต้นอ่อนข้าวสาลีได้ ซึ่งต้นอ่อนข้าวสาลีที่ได้นั้น เมื่อนามาทาเป็น น้าสกัดจากต้นอ่อนข้าวสาลี (Wheatgrass) แล้วการทดสอบโปรตีนในน้าสกัดจาก ต้นอ่อนข้าวสาลีด้วยสารละลายไบยูเร็ต พบว่า มี โปรตีนอยู่จริง ซึ่งทาให้เราทราบว่าน้าสกัดจากต้นอ่อนข้าวสาลี (Wheatgrass) มีประโยชน์ต่อร่างกายและสามารถผลิตเองได้ด้วย ต้นทุนต่า คำสำคัญ : เมล็ดอ่อนข้าวสาลี, น้าสกัดจากต้นอ่อนข้าวสาลี (Wheatgrass)
๒๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำกำรสกัดสำรยูเจนอลจำกพืชผักสวนครัว โดยใช้เทคนิคกำรสกัดตัวทำละลำยอินทรีย์และสำรสกัดด้วยกรด-เบส สำวิตรี ปิติมำตร์, อภิญญำ เฉำะกระโทก และอนันตญำ โพธิ์สัตย์ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
บทคัดย่อ ในโครงงานวิทยาศาสตร์ครั้งนี้ได้ทาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสารสกัดยูเจนอลที่สามารถสกัดได้จากผักสวนครัวหลายชนิด และมีฤทธิ์ทางชีวภาพหลายอย่างที่น่าสนใจ เช่น ฤทธิ์ในการยับยั้งแบคทีเรียโดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรียอันเป็นสาเหตุของการเน่าเสีย ของอาหาร กลิ่นปาก กลิ่นอับ และมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ใช้เป็นยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ในทาง การแพทย์ เป็นต้น ดังนั้นทางผู้จัดทาจึงเริ่มศึกษาจากการสกัดสารยูเจนอลจากพืชผักสวนครัวที่สามารถหาได้ง่าย ราคาไม่แพง หรือ ที่ปลูกที่อยู่ที่บ้าน และที่สาคัญต้องมีรายงานไว้ว่ามีสารยูเจนอลอยู่ โดยได้เลือกมา 4 ชนิด คือ ใบสะระแหน่ ใบกระเพรา ขิง ต้นตะไคร้ โดยใช้วิธีการสกัดด้วยทาละลายอินทรีย์ ซึ่งตัวทาละลายอินทรีย์ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ 95% เอทานอล และใช้ วิธีการสกัดด้วยกรด-เบส ในการทาให้สารยูเจนอลที่สกัดได้บริสุทธิ์ขึ้น พบว่า พืชที่มีสารยูเจนอลมากที่สุด คือ ใบกระเพรา (ร้อยละ ผลผลิต เท่ากับ 36) ต่อจากนั้น นั้นทาการศึกษาผลของอุณหภูมิต่อปริมาณสารยูเจนอลที่สกัดได้ โดยทาการศึกษาการสกัดที่ อุณหภูมิห้อง 40, 60 และ 80 องศาเซลเซียส พบว่า การสกัดที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส (ร้อยละผลผลิต เท่ากับ 32) จะได้ ปริมาณสารยูเจนอลมากกว่าที่อุณหภูมิอื่นๆ และยังช่วยให้ใช้เวลาในการสกัดน้อยลงเมื่อเทียบกับการสกัดในตอนที่ 1 หลังจาก นามาตรวจสอบฤทธิ์ในการยับยั้งแบคทีเรียในอาหารเน่าเสีย พบว่า สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดังกล่าวได้จริง คำสำคัญ : สารยูเจนอล, การสกัดสารด้วยตัวทาละลายอินทรี, การสกัดสารด้วยกรด-เบส, กระเพรา, แบคทีเรีย, อาหารเน่าเสีย
๒๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ซำลำเปำน้ำเต้ำหู้ อำรีรัตน์ ไทยศรี , พัชรำวดี ขุนแก้ว และ ปณิดำ ตั้งจิตมั่นสกุล คุณครูที่ปรึกษำ ศุภำงค์ สำรวัลย์ และศศิชำ แสงดอกไม้ โรงเรียนสตรีนนทบุรี อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 3 อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
บทคัดย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มโปรตีนในซาลาเปาเพื่อให้เหมาะสมสาหรับผู้บริโภคมังสวิรัติและผู้บริโภคอาหารเจให้ ได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่ โดยไม่ใช้เนื้อสัตว์แต่ใช้น้านมถั่วเหลืองหรือน้าเต้าหู้ทดแทน โดยทาการทดลอง 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ศึกษาอัตราส่วนความเข้มข้นน้าเต้าหู้ต่อน้าเปล่าที่มีผลต่อคุณภาพของแป้งซาลาเปา ทาการทดลองโดยนาแป้งสาลี 500 กรัมแบ่งใส่ภาชนะ ภาชนะละ 100 กรัม ภาชนะที่ 1 ใช้อัตราส่วนน้าเต้าหู้ ต่อน้า 50:0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ภาชนะที่ 2 ใช้อัตราส่วนน้าเต้าหู้ต่อน้า 25:25 ลูกบาศก์เซนติเมตร ภาชนะที่3 ใช้อัตราส่วนน้า เต้าหู้ต่อน้า 30:20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ภาชนะที่4 ใช้อัตราส่วนน้าเต้าหู้ต่อน้า 20:30 ลูกบาศก์เซนติเมตร และภาชนะที่ 5 ใช้ อัตราส่วนน้าเต้าหู้ต่อน้า 0:50 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากการทดลองพบว่าซาลาเปาที่มีคุณภาพดีที่สดุ คือซาลาเปาที่มีอัตราส่วนความ เข้มข้นของน้าเต้าหู้ต่อน้าเปล่า 50:0 โดยซาลาเปาที่ได้ มีสีขาว รสชาติหวาน มีกลิ่นน้าเต้าหู้ และมีความนุ่ม สรุปน้าเต้าหู้มีผลต่อ คุณภาพของซาลาเปา ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาสารอาหารประเภทโปรตีน แป้ง และน้าตาล โดยนาซาลาเปาที่ได้ทั้ง 5 สูตรและซาลาเปาชุดควบคุม มาทดสอบด้วยวิธีการไบยูเร็ตพบว่าจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง ในซาลาเปาที่มีน้าเต้าหู้เป็นส่วนประกอบ ส่วนในซาลาเปาที่ไม่มีน้าเต้าหู้เป็นส่วนประกอบจะไม่เปลีย่ นสี นาซาลาเปาทั้ง 5 สูตรและ ชุดควบคุมมาทดสอบด้วยไอโอดีนพบว่าเปลี่ยนเป็นสีน้าเงิน และเมื่อนามาทดสอบด้วยเบเนดิกต์เพื่อหาน้าตาลกลูโคสพบว่าทั้ง 5 สูตรและซาลาเปาชุดควบคุมจะได้เป็นสีส้ม จากการทดสอบสารอาหารในซาลาเปาพบว่าซาลาเปาที่มีส่วนผสมของน้าเต้าหู้จะมี สารอาหารทั้ง โปรตีน แป้ง และน้าตาล ส่วนซาลาเปาชุดควบคุมและซาลาเปาที่มีน้าเป็นส่วนประกอบทั้งหมดจะไม่พบโปรตีน สรุป ซาลาเปาที่มีน้าเต้าหู้เป็นส่วนประกอบจะมีคุณค่าทางอาหารมากกว่าซาลาเปาชุดควบคุม ตอนที่ 3 ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อซาลาเปา จากการประเมินความพึงพอใจโดยใช้ประชากร 40 คนพบว่ามีความพึงพอใจสูตรที่ 1 และ 5 แต่สูตรที่ 1 นั้น เป็นสูตรที่มีคุณภาพมากที่สุด เพราะทามาจากน้าเต้าหู้ ทั้งลักษณะของสี กลิ่น รสชาติและความนุ่ม จึงได้รับความพึงพอใจมากกว่า สูตรที่ 5 ซึ่งทามาจากน้า เพียงอย่างเดียว
๒๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำประสิทธิภำพของน้ำหมักชีวภำพทั้ง 3 สูตร ในกำรยับยั้งกำรเจริญเติบโตของไข่แมลงวัน อันดำมัน สกุลไกรพีระ และเกษรำ เกิดคล้ำย ครูที่ปรึกษำโครงงำน กันย์ณัชชำ บำรุงผล โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3
บทคัดย่อ จากปัญหาที่พบแมลงวันในชุมชนจานวนมาก และวางไข่ในอาหารซึ่งเป็นพาหะนาโรคต่างๆ เช่น ท้องร่วงอหิวาตกโรค ซึ่ง โรคนี้เป็นโรคติดต่อและอันตรายมากและในปัจจุบันมีวิธีกาจัดโดยใช้สารเคมี เช่นยาฉีดกาจัดแมลงวัน ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย ของมนุษย์อย่างมาก ดังนั้นทางกลุ่มของพวกเราจึงศึกษาสารธรรมชาติที่ปลอดภัยและประหยัด มาทาการกาจัดแมลงวันโดยกลุ่ม ของข้าพเจ้าจะใช้น้าหมักชีวภาพกาจัดไข่แมลงวัน โดยแบ่งการทดลองเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การเตรียมน้าหมักชีวภาพ 3 สูตร และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของไข่แมลงวัน 2. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพที่กาจัดไข่แมลงวันได้ดีทสี่ ุดเมื่อมีความเข้มข้นของน้าต่างกัน จากการวิจัยพบว่า น้าหมักชีวภาพที่หมักจากไส้ปลาสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของไข่แมลงวันได้ดีกว่าน้าหมักชีวภาพ ที่หมักจากเศษผักกาด สัปปะรดและไส้ปลาผสมสัปปะรด โดยมีค่าเฉลี่ยจานวนไข่ที่ไม่เจริญเติบโตเป็นหนอนสูงสุด และน้าหมัก ชีวภาพที่ความเข้มข้นต่างกันสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของไข่แมลงวันได้แตกต่างกัน โดยปริมาณความเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตรมีจานวนเฉลี่ยของไข่ที่ไม่เจริญเติบโตเป็นหนอนสูงสุด
๒๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำเศษจำกกำรหำรผลบวกของสัมประสิทธิ์ทุกพจน์ จำกกำรกระจำย (a+b)n ด้วยจำนวนนับ k เมื่อ 2 < k < 9 ณัฐมน มูลกิจ, แสงตะวัน โพธิ์น้อย และพจน์มำธวี ทิสำพงศ์ ครูที่ปรึกษำโครงงงำน สุเนตรำ โพธิ์น้อย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์เรื่อง “การศึกษาเศษจากการหารผลบวกของสัมประสิทธิ์ทุกพจน์จากการกระจาย (a+b)n ด้วย จานวนนับ k เมื่อ 2 < k < 9” เกิด จากการที่คณะผู้จัดทาได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องทฤษฎีบททวินามและสมภาค และได้พบโจทย์ เกี่ยวกับการหาสัมประสิทธิ์จากการกระจายทวินามที่มีความเกี่ยวข้องกับจานวนในสามเหลี่ยมปาสคาล จึงเกิดความสงสัยว่าถ้าเรา นาจานวนในแต่ละแถวของสามเหลี่ยมปาสคาลมาหารด้วยจานวนเต็มบวกที่มีค่าตั้งแต่ 2-9 เศษที่ได้จะมีแบบรูปความสัมพันธ์ อย่างไร และเมื่อนาผลรวมของเศษจากการหารในแต่ละแถวมาหารด้วยจานวนเต็มบวกที่มีค่าตั้งแต่ 2-9 อีกครั้ง เศษที่ได้จากการ หารครั้งนี้ มีแบบรูปอย่างไรบ้าง จึงเกิดเป็นโครงงานคณิตศาสตร์นี้ขึ้นมา โดยเริ่มจากการศึกษาหาความรู้แล้วเขียนตารางการหา เศษจากการหารด้วยจานวนเต็มบวกตั้งแต่ 2 ถึง 9 พร้อมหาความสัมพันธ์ของเศษที่ได้จากนั้นนาเศษที่ได้จากการหารข้างต้นมา บวกกันแล้วหารด้วยจานวนเต็มบวกตั้งแต่ 2 ถึง 9 อีกครั้งหนึ่งและรวบรวมข้อมูลพร้อมทั้งสรุปผล โดยเมื่อหารผลรวมของเศษที่เกิด จากการหารสัมประสิทธิ์ทุกพจน์จากการกระจาย (a+b)n ด้วยจานวน นับตั้งแต่ 2 ถึง 9 แล้ว จะได้แบบรูปของเศษที่มี ความสัมพันธ์กับ ซึ่งจานวนแต่ละจานวนที่นามาหารจะให้ความสัมพันธ์แตกต่างกันไป คำสำคัญ : ทฤษฎีบททวินาม, สามเหลีย่ มปาสคาล, สมภาค
๒๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรยืดอำยุดอกกล้วยไม้ด้วยสำรฆ่ำเชื้อ กมลมำตุ ดิสผล และณัฐธิชำ ทรงเดช โรงเรียนราษฎร์นิยม อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี 11150 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จังหวัดนนทบุรี 11150
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการยืดอายุของดอกกล้วยไม้ด้วยสารฆ่าเชื้อ 4 ชนิด ประกอบด้วย เบตาดีน, แอลกอฮอล์ , ยาแดง และโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ที่สามารถยืดอายุการใช้งานของดอกกล้วยไม้และเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพสารฆ่าเชื้อ เบตาดีน, แอลกอฮอล์, ยาแดง และโซเดียมไฮโปคลอไรด์ ที่จะสามารถยืดอายุการใช้งานของดอกกล้วยไม้ ได้นานที่สุด โดยแบ่งขั้นตอนการทดลอง 2 ตอน การทดลอง 1 ใช้น้ากลั่นใส่ในหลอดทดลองหลอดที่ 1 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และเบตาดีนปริมาณ 10 หยด หลอดที่ 2 ปริ มาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และแอลกอฮอล์ปริมาณ 10 หยด หลอดที่ 3 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และยาแดงปริมาณ 10 หยด หลอดที่ 4 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และโซเดียมไฮโปคลอไรด์ปริมาณ 10 หยด นาดอกกล้วยไม้แช่ลงในหลอดทดลองแต่ละหลอดและเปรียบเทียบกับน้ากลั่น จากการทดลอง 1 พบว่าแอลกอฮอล์ สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้นานที่สุด 16 วัน การทดลอง 2 จึงนาแอลกอฮอล์มาหาปริมาณที่เหมาะสม โดยใช้น้ากลั่นใส่ใน หลอดทดลองหลอดที่ 1 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และแอลกอฮอล์ 15 หยด หลอดที่ 2 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และ แอลกอฮอล์ 20 หยด หลอดที่ 3 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และแอลกอฮอล์ 25 หยด หลอดที่ 4 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และแอลกอฮอล์ 30 หยด หลอดที่ 5 ปริมาณน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร และแอลกอฮอล์ 35 หยด สังเกตการเปลี่ยนแปลง ดอกกล้วยไม้ในแต่ละวันโดยสังเกตจากดอกที่หลุดร่วง จากการทดลองพบว่าดอกกล้วยไม้ที่แช่ในสารฆ่าเชื้อปริมาณแอลกอฮอล์ 15 หยด สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้ 26 วัน แอลกอฮอล์ปริมาณ 20 หยด สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้ 27 วัน แอลกอฮอล์ ปริมาณ 25 หยด สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้ 30 วันแอลกอฮอล์ปริมาณ 30 หยด สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้ 28 วัน แอลกอฮอล์ปริมาณ 35 หยด สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้ 25 วัน ปริมาณแอลกอฮอล์ที่เหมาะสมในการยืดอายุดอกกล้วยไม้ คือ 25 หยด สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้นานที่สุด 30 วัน ถ้าใช้ปริมาณแอลกอฮอล์มากเกินไปทาให้เป็นการทาลายระบบท่อ ลาเลียงน้าของดอกกล้วยไม้ จึงพบว่าแอลกอฮอล์ปริมาณ 25 หยด สามารถยืดอายุดอกกล้วยไม้ได้นานที่สุด 30 วัน เนื่องจาก แอลกอฮอล์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ต่อกับอะตอมคาร์บอนของหมู่แอลคิล มีฤทธิ์ยับยังเชื้อโรค ทาให้ กล้วยไม้สามารถคงความสดอยู่ได้ คำสำคัญ : การยืดอายุดอกกล้วยไม้, สารฆ่าเชื้อ
๒๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องฝึกสมำธิแสนสนุก โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี
บทคัดย่อ จากการศึกษาของพวกเราเพื่อนในห้องเรียนร้อยละ ๕๐ มีสมาธิสั้นเราจึงคิดเครื่องฝึกสมาธินี้ขึ้นมา เพื่อให้เพื่อนในห้อง หยุดอยู่นิ่งจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เพื่อนในห้องมีสมาธิมากขึ้น อุปกรณ์ที่ใช้ทาก็ได้แก่ เหล็ก แผ่นไม้ แบตเตอรี่มอเตอร์ ไซด์ แตรมอเตอร์ไซด์ เทปพันสายไฟ สายไฟ สายไฟ ลวดทองแดง แผนวงจรปิด - เปิด แล้วนาอุปกรณ์เหล่านี้มาประกอบจนเสร็จ สมบูรณ์ แล้วเราก็จัดทาการทดลองโดยการนาเด็กผู้ชาย และเด็กผู้หญิง เพื่อจะหาว่าเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงใครจะมีสมาธิมากกว่า กัน จึงนามาทดลองใส่ตารางแผนภูมิโดยการให้เวลากับรอบเป็นจานวนเท่าๆกันแล้วนามาเปรียบเทียบกัน ผลที่ได้นั้นปรากฏว่า เด็กผู้ชายมีสมาธิมากกว่าเด็กผู้หญิง สรุปว่าเครื่องฝึกสมาธินี้สามารถใช้แล้วได้ผลกับทุกคน
๒๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๓๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๕ อ่ำงทอง (สพม. เขต ๕ อ่ำงทอง)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๓๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ฟอนต์ดีไซน์ บำย คณิตศำสตร์ จิรำภิวัชร์ สอนพร ชลธิชำ จันทร์แจ่ม ธันยพร มำกระดี ครูที่ปรึกษำ เอกพงษ์ โตชัยศรี และนฤมล ชักนำ โรงเรียนสตรีอ่างทอง
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟอนต์ดีไซน์ บาย คณิตศาสตร์ คณะผู้จัดทาได้เล็งเห็นถึงปัญหาเกี่ยวกับฟอนต์ที่ใช้ในปัจจุบัน ซึ่งไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านลิขสิทธิ์และปัญหาด้านความหลากหลายของรูปแบบฟอนต์ จึงคิดหาแนวทางในการประดิษฐ์ฟอนต์ไทย โดยการนาความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง รูปเรขาคณิตและอัตราส่วน เข้ามาช่วยในการออกแบบฟอนต์ไทย เพื่อให้มีรูปแบบ ฟอนต์ไทยเพิ่มมากขึ้น และเป็นการเพิ่มทางเลือกในการตัดสินใจใช้ฟอนต์ภาษาไทยของผู้จัดทาเอกสารและยังเป็นการเพิ่มความ น่า สนใจในชิ้ น งานเอกสาร งานสื่ อ สิ่ งพิ ม พ์ รวมทั้งป้ า ยโฆษณา ป้า ยนิ เทศ และขจัด ปั ญ หาด้ านลิ ข สิท ธิ์ ข องฟอนต์ ด้ ว ย โดย วัตถุประสงค์หลักในการทาโครงงานนี้ คือ เพื่อนารูปทรงเรขาคณิตมาใช้ในการประดิษฐ์ฟอนต์ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของ ผู้ใช้งานที่มีต่อฟอนต์ที่ประดิษฐ์ได้จากโครงงานนี้ จากการดาเนินงานออกแบบฟอนต์โดยใช้รูปเรขาคณิต เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม จุด ส่วนของเส้นตรง และส่วนโค้ง ซึ่งได้ฟอนต์ที่แตกต่างกันทั้งหมด 17 แบบ คณะผู้จัดทาโครงงานจึงตั้งชื่อฟอนต์ว่า ฟอนต์ “Satri Angthong 01” “Satri Angthong 17” หลังจากนั้นคณะผู้จัดทาโครงงานจึงนาฟอนต์ที่ประดิษฐ์ขึ้นได้ไปให้กลุ่มตัวอย่างจานวน 100 คน ใช้งาน และสารวจความพึงพอใจที่มีต่อฟอนต์ “Satri Angthong” ซึ่งได้ผลการสารวจข้อมูลดังนี้ ฟอนต์ Satri Angthong 01 - Satri Angthong 17 มีค่าระดับความพึงพอใจไม่ต่ากว่าระดับดี ในทุกๆฟอนต์ซึ่งมีค่าระดับความพึงพอใจอยู่ระหว่าง 3.81 - 4.53 จะ พบว่าฟอนต์ที่มีระดับความพึงพอใจจากผู้ใช้งานมากที่สุดคือ ฟอนต์ Satri Angthong 09 มีค่าระดับความพึงพอใจสูงถึง 4.53 และฟอนต์ที่มีระดับความพึงพอใจจากผู้ใช้งาน น้อยที่สุดคือ ฟอนต์ Satri Angthong 17 มีค่าระดับความพึงพอใจ 3.81 และ พบว่าค่าระดับความพึงพอใจในการใช้งานฟอนต์ Satri Angthong 01 - Satri Angthong 17 เฉลี่ย 4.14 ซึ่งแปลผลอยู่ในระดับ มาก เป็นไปตามสมมุติฐานในการดาเนินงาน
๓๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
รูปทรงกับกำรละลำยของน้ำแข็ง ศิรพัชร รุ่งโรจน์ไพศำล ศุภวุฒิ ทัศนุรักษ์ และชวลิต แก้วเลิศ ครูที่ปรึกษำ เอกพงษ์ โตชัยศรี และสำวนฤมล ชักนำ โรงเรียนสตรีอ่างทอง
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง รูปทรงกับการละลายของน้าแข็ง จัดทาขึ้นเพื่อที่จะศึกษาระยะเวลาในการละลายของน้าแข็ง ที่อยู่ในภาชนะรูปทรงทางคณิตศาสตร์ที่ ต่ างกัน ว่า รู ปทรงใดสามารถท าให้น้าแข็งละลายได้ช้าที่ สุด เพื่อเป็ นการประหยั ด ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจากัด และเพื่อช่วยในการรักษาสมดุลทางธรรมชาติอีกด้วย การดาเนินงานเริ่มจากการหารูปทรงทางคณิตศาสตร์ที่ดีที่สุดในการทดลองโดยการปั้นดินน้ามันเป็นรูปทรงภาชนะตาม ทรงเลขาคณิต ( ทรงพีระมิด ทรงกระบอก ทรงปริซึม ) แล้วนาไปแช่เย็นเพื่อรักษารูปทรงไว้ พอดินน้ามันแข็งก็นามาทดลองโดย การใส่น้าแข็งไว้ในภาชนะที่เตรียมไว้ แล้วนาไปไว้กลางแดดในที่โล่งแจ้ง เป็นเวลา 20 นาที และบันทึกผลการทดลอง ทาการ ทดลองนี้ 3 ครั้ง เพื่อหาค่าเฉลี่ยที่แน่นอน โดยผลปรากฏว่า น้าแข็งที่บรรจุอยู่ในภาชนะรูปทรงกระบอกละลายช้ากว่ารูปทรงอื่น เพราะรูปทรงกระบอกมีพื้นที่ผิวข้างน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับรูปทรงอื่นในปริมาตรที่เท่ากัน เนื่องจากมีพื้นที่ผิวข้างน้อยจึงทาให้เ กิด การถ่ายเทความร้อนได้น้อยที่สุด แล้วนารูปทรงที่ได้มาทดลองต่อ ว่ารูปทรงกระบอกที่ปริมาตรเท่ากัน แต่รัศมีไม่เท่ากัน อันไหน จะช่วยทาให้น้าแข็งละลายได้ช้าที่สุด โดยนามาทดลองที่รัศมีและความสูงที่ต่างกัน แล้วนาน้าแข็งมาใส่ในภาชนะนั้น ปรากฏว่า น้าแข็งที่อยู่ในขนาดที่มีรัศมีน้อยที่สุดละลายได้ช้ากว่าขนาดอื่น เพราะพื้นที่ผิวที่ปากกระบอกแคบที่สุด ทาให้อากาศเข้าหรือออก ได้น้อยกว่ารูปทรงอื่น ซึ่งผลการทดลองนี้อาจจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่จะนาไปประยุกต์ใช้ได้
๓๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
คณิตศำสตร์เรื่องเปรียบเทียบกำรทำนำด้วยวิชำคณิตศำสตร์ ณัฐภัทร อ่อนระทวย กมลวรรณ จันทร์ระยับ และ ทิพำนันท์ คล้ำยวงศ์ ครูที่ปรึกษำ นำงสำวนฤมล ชักนำ และ นำยเอกพงษ์ โตชัยศรี โรงเรียนสตรีอ่างทอง
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจ เรื่อง เปรียบเทียบการทานาด้วยวิชาคณิตศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนการผลิตและกาไรของการทานา ทั้งประเภทนาดาและนาหว่านในพื้นที่นา หมู่ 3,4 และ5 ตาบล อบทม อาเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด อ่างทอง จานวน 60 ครัวเรือน เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต กาไรและผลผลิตของการทานา โดยนาหลักการ ความรู้วิขาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง การนาเสนอข้อมูล ร้อยละ เปอร์เซ็น และการหาค่าสถิติ มาจัดทาเป็นข้อมูลของโครงงานและมีการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของแผนภูมิแท่ง ปรากฏผลดั งนี้ เกษตรกรผู้ทานา จานวน 60 ครัวเรือน ทานาดาจานวน 14 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ทานาหว่าน 46 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 76.67 ซึ่งพบว่าการทา นาดา มีต้นทุนสูงกว่านาหว่าน ดังนี้ คือ ต้นทุนการทานาดา มีค่าเฉลี่ยต่อไร่อยู่ที่ 3263.23 บาท ต้นทุนการทานาหว่านมี ค่าเฉลี่ย ต่อไร่อยู่ที่ 2287.46 บาท ผลผลิตในการทานาประเภท นาดา มีผลผลิตที่สูงกว่าผลผลิตในการทานาประเภทนาหว่าน คือ ผลผลิต ในการทานาดา มีจานวนข้าวที่ได้เป็นถังต่อไร่มีค่าเฉลี่ยคือ 126.92 ถัง มีกาไรในการจาหน่ายข้าว คิดเป็นร้อยละ 374.56 ผลผลิต ในการทานาหว่าน มีจานวนข้าวที่ได้เป็นถังต่อไร่ มีค่าเฉลี่ยคือ 22.31 มีกาไรในการจาหน่ายข้าว คิดเป็นร้อยละ 302.21
๓๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ซับมันให้หมด กชกร วงศ์สุวรรณ, ณัฐกำญจน์ อินทบุตร, ทิพำนันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยำ, นิภำภัทร ถึงสุข, วรรณพร พุ่มปำน และพัฐสิยำ อิทธิศักดิ์พงศำ ครูที่ปรึกษำ มำลัย ทองชื่นจิตร และประทีป ศรีเพชรเจริญ บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่องกระดาษซับมันจากพืชในท้องถิ่น ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่มีการดูแล สุขภาพกันมากขึ้น และการทาอาหารเป็นส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพโดยตรง หนึ่งในสารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกายคือ ไขมัน แต่ที่ไขมันที่ร่างกายได้รับควรได้รับอย่างเหมาะสม ถ้ามากเกินไปอาจทาให้เกิดไขมันอุดตันในเส้นเลือดและปัญหาอื่นๆตามาอีก มากมายส่วนใหญ่ในชีวิตประจาวันได้รับไขมันจากอาหารประเภททอด เพราะมีส่วนประกอบของน้ามัน จึงต้องทากระดาษซับมัน เพื่อให้อาหารมีน้ามันน้อยลงและเพื่อให้สุขภาพของผู้บริโภคนั้นดีด้วย จากการประดิษฐ์กระดาษจากกาบกล้วยและฟางข้าวซึ่งนามาอย่างละ 300 กรัม มาปั่นแล้วนาไปแช่ในกะละมัง 2 ใบ โดยกะละมัง ต้องใส่โซดาไฟใบละ 600 กรัม ผสมกับน้า 3 ลิตร ก็จะได้กะละมังเคลือบโดยแช่กาบกล้วยและฟางข้าวคนละกะละมัง กัน แช่ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 ชั่วโมง เสร็จแล้วนาเยื่อมาใส่กระป๋องนมคนละใบแล้วนาไปต้ม 2 ชั่วโมง นาเยื่อที่ต้มใส่กะละมังอีกรอบ แล้วเทน้าใส่อีก 1 ลิตร ล้างเยื่อแต่ละชนิดให้สะอาด นาตะแกรงไปช้อนเยื่อแล้วเกลื่อเยื่อให้เสมอกัน นาไปตากแดด และตัดให้มี ขนาดเท่ากัน เมื่อกระดาษแห้งนามาทดสอบในการดูดซับน้ามัน โดยนาน้ามันพืชมาหยดผลปรากฎว่ากาบกล้วยดูดซับน้ามันได้ ดีกว่าฟางข้าว
๓๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ฟองฟู่สู้โรค กชกร วงศ์สุวรรณ, ณัฐกำญจน์ อินทบุตร, ทิพำนันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยำ, นิภำภัทร ถึงสุข, พัฐสิยำ อิทธิศักดิ์พงศำ และวรรณพร พุ่มปำน ครูที่ปรึกษำ มำลัย ทองชื่นจิตร และประทีป ศรีเพชรเจริญ โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม
บทคัดย่อ ปัจจุบันคนไทยส่วนใหญ่เป็นโรคภัยไข้เจ็บกันมากขึ้นเกิดโรคใหม่ๆขึ้นมามากมายบางโรคยังผลิตยารักษาไม่ไ ด้ซึ่งในบาง พื้นที่ก็เกิดปัญหาขาดแคลนแพทย์ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งของประเทศไทยฉะนั้นเราจึงควรหันมาดูแลรักษาสุขภาพของเราเอง ปัญหา สุขภาพบางปัญหาไม่สามารถรักษา และบาบัดเองได้ บางปัญหารักษาเองได้เนื่องด้วยเหตุนี้เมื่อเราเกิดปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาที่ เรารักษาเองได้เราควรพึ่งตนเองด้วยวิธีการที่ทาง่ายและอยู่ใกล้ตัว ทางคณะผู้จัดทาจึงได้คิดหาวิธีการลดความเสี่ยงจาการเป็นโรค ต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง ความดันโลหิตสูง และแก่ก่อนวัยอันควรเป็นต้นซึ่งมีสารชนิดหนึ่งลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคพวกนี้ได้สาร ชนิดนี้มีชื่อว่า สารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งสารต้านอนุมูลอิสระมีอยู่อาหารจาพวกผัก ดังนั้น เราจึงได้ทาการทดสอบ สารต้านอนุมูล อิสระในผัก แต่ก็คานึงถึงคนไทยส่วนใหญ่ ชอบสิ่งที่สะดวก ใกล้ตัว ดังนั้นเราจึงเรียกผักที่นามาทดสอบเป็นผักพื้นบ้านที่ทานกันอยู่ ประจาเมื่อเราทราบว่าผักพื้นบ้านชนิดใดมีสารต้านอนุมูลอิสระมากหรือน้อยจะได้เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง เป็นการดูแลสุขภาพ ด้วยการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โภชนาการบาบัด ดังนั้น เพื่อช่วยหาวิธีการดูแลสุขภาพและลดความ เสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆคณะผู้จัดทา จึงได้ทาโครงงานเล่มนี้ขึ้นมา จาการทดลองโดยใช้สาไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ผักที่มีปริมาณฟองแก๊สมาก จะมีปริมาณออกซิเจน มาก ซึ่งถ้าผักมี ออกซิเจนมาก แสดงว่าเป็นผักที่มีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่มาก เราได้ทาการทดลอง 2 ครั้ง โดยทั้ง 2 ครั้ง เราใช้ผักพื้นบ้านได้แก่ ถั่วงอก ผักบุ้ง ถั่วพลู ชะอม มะระขี้นก โหระพา กะเพรา ถั่วฝักยาว ดอกอัญชัน รวมทั้งหมด 10 ชนิด ในการทดลองใช้ผักแต่ละ ชนิด 15 กรัม และเติมน้าประมาณ 1 มิลลิลิตร ใส่หลอดทดลองไว้ แล้ววัดความสูงได้ 2.3 เซนติเมตร แล้วหยดสารไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ ใส่ลงไปในหลอดทดลอง หลอดละ 12 หยด โดยทั้งสองอย่างมีความสู งเป็น 3.3 เซนติเมตร เมื่อหยดสารไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ลงไป จับเวลา 1 นาที แล้ววัดปริมาณฟองอีกครั้ง ผลการทดลองผักที่มีสารต้านอนุมูลอิสระมากที่สุด และน้อยไป ตามลาดับ คือ ชะอม > ถั่วฝักยาว > ดอกอัญชัน > กะเพรา > ถั่วงอก > ตาลึง > ผักบุ้ง > มะระขี้นก > โหระพา > ถัว่ พลู
๓๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กุ่มไม่กลุ้ม กชกร วงศ์สุวรรณ, ณัฐกำญจน์ อินทบุตร, ทิพำนันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยำ, นิภำภัทร ถึงสุข, วรรณพร พุ่มปำน และพัฐสิยำ อิทธิศักดิ์พงศำ ครูที่ปรึกษำ *อัจฉรำ ผ่องกำย, มำลัย ทองชื่นจิต และประทีป ศรีเพชรเจริญ โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลองเรือ่ ง กุ่มไม่กลุ้ม มีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองหาความสด-แห้ง ความอ่อน-แก่ ของใบกุ่มน้า ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด ในการเร่ งการสุ ก ของผลไม้ และเพื่ อ เปรี ย บเที ย บประสิ ท ธิ ภ าพในการเร่ งการสุ ก ของผลไม้ ระหว่ า งใบกุ่ ม กั บ แคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเร่งการสุกของผลไม้ระหว่างใบกุ่มกับใบสะแก โดยวัตถุประสงค์หลักในการ ทาโครงงานนี้คือ ต้องการบ่มผลไม้โดยวิธีการธรรมชาติ ในการดาเนินการทดลองจะใช้กล้วยน้าว้ากาบขาว สาหรับเป็นผลไม้ที่ใช้ในการทดลอง และแบ่งการทดลองแบ่งเป็น 4 ชุดการ ทดลอง คือ การทดลองชุ ดที่ 1 การหาปริมาณของใบกุ่ม น้า ที่เ หมาะสมที่ สุดในการเร่งการสุขของกล้ว ยน้ าว้า กาบขาว คือ การ เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว ด้วยปริมาณใบกุ่มที่แตกต่างกัน โดยทาการทดลองหาปริมาณของใบ กุ่ม จานวน 100 กรัม 200 กรัม และ 300 กรัม มาใช้เร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาวจานวน 1 หวี และเมื่อได้รับปริมาณของใบกุม่ น้าที่เหมาะสมแล้ว ก็จึงนามาทา การทดลองชุดที่ 2 คือ การหาประเภทของใบกุ่มน้าที่เหมาะสมที่สุด ในการเร่งการสุก คือ การ เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเร่งด้วยประเภทของใบกุ่มน้าที่แตกต่างกัน โดยทาการทดลองประเภทของใบกุ่มตามปริมาณที่ได้จาก การทดลองที่ 1 มาใช้เร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาวจานวน 1 หวี การทดลองชุดที่ 3 การหาอายุของใบกุ่มน้าที่เหมาะสมที่สุดใน การเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว คือ การทาการเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้วยลักษณะของใบกุ่มที่แตกต่างกัน โดยทาการทดลอง นาใบกุ่มที่มีลักษณะอ่อนแก่แตกต่างกันไป ในปริมาณและประเภทที่เหมาะสมที่สุด ที่ได้จากการทดลองที่ 1 และการทดลองที่ 2 มาใช้ ในการเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว จานวน 1 หวี การทดลองชุดที่ 4 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเร่งการสุกของกล้วย น้าว้ากาบขาว ด้วยแคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) โดยทาการทดลองใช้ใบกุ่มในปริมาณ ประเภท และอายุของใบที่เหมาะสมที่สุด มาเร่งการ สุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว และทาการทดลองเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาวด้วยแคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) การทดลองที่ 5 การ เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว ด้วยใบกุ่มกับใบสะแก ด้วยปริมาณที่เท่ากัน ประเภทเดียวกัน และ อายุของใบที่เหมาะสม มาเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว จากนั้นเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว ด้วยใบกุ่มกับใบสะแก โดยสรุปได้ว่า ใบกุ่มน้าที่เหมาะสมที่สุดในการเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาวจานวน 1 หวี ใบกุ่มที่อ่อน สด ปริมาณ 200 กรัม และเมื่อนาไปเปรียบเทียบกับการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาว ระหว่างใบกุ่มกับแคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) พบว่าใบกุ่ม สามารถเร่งการสุกของกล้วยน้าว้ากาบขาวได้ดีกว่า จากนั้นจึงนาใบกุ่มมาเทียบกับ ใบสะแก ก็พบว่าใบกุ่มยังคงให้การเร่งการสุกของ ผลไม้ได้ดีกว่าใบสะแก เป็นไปตามสมติฐานในการดาเนินงาน
๓๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ธูปมหัศจรรย์ 7 วัน 7 สี กชกร วงศ์สุวรรณ, ณัฐกำญจน์ อินทบุตร, ทิพำนันท์ แป้นพงษ์, ธนวรรณ รอดฉัยยำ, นิภำภัทร ถึงสุข, วรรณพร พุ่มปำน และพัฐสิยำ อิทธิศักดิ์พงศำ ครูที่ปรึกษำ มำลัย ทองชื่นจิตร และอัจฉรำ ผ่องกำย บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องธูปมหัศจรรย์ 7 วัน 7 สี มีวัตถุประสงค์เพื่อ หาประสิทธิภาพของพืชสมุนไพรที่สามารถไล่ยุงได้ ดีที่สุด เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่ดีที่สุดของส่วนผสมในการทาธูปและเพิ่มสีสันให้สวยงมโดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 การทดลอง คือ การทดลองที่ 1 การหาประสิทธิภาพของสมุนไพรที่ดีที่สุดในการไล่ยุงมีวิธีการคือ นาสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด คือ ตะไคร้หอม ดอก ดาวเรือง ผิวมะกรูด ไปใส่ในกล่องทดลองที่มียุงอยู่จากนั้นสังเกตและบันทึกผล พบว่าพืชที่มีระสิทธิภาพที่ดีที่สุดในการไล่ยุง คือ ตะไคร้หอม ในการทดลองที่ 2 แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 การหาอัตราส่วนที่ดีที่สุดในการทาธูปตะไคร้หอมโดยมีอัตราส่วน ที่ดีที่สุดคือ ผงเหนียวต่อขี้เลื่อยในอัตราส่วน 1 : 1 อัตราส่วนของตะไคร้หอม อัตราส่วนของแอลฟา อัตราส่วนจันทร์ขาว เป็น 1:1:1 ตอนที่ 2 ทาธูป 7 สี โดยการนาธูปที่ให้สีมาสกัดสีแล้วนามาย้อมธูปให้มีสีสันตามวันทั้ง 7 วัน 7 สี ได้แก่ กระเจี๊ยบ ขมิ้น ใบเตย เฟื่องฟ้า ดาวกระจาย อัญชันและถ่าน
๓๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๔๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๘ รำชบุรี (สพม. เขต ๘ รำชบุรี)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๔๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ขีผ้ ึ้งใบบัวบก จันทิมำ คำกองแก้ว, พิมพ์ลภัส ทองเหลือ, พีรดำ เทียนรุ่งโรจน์ และสิริยำกร เลื่องเลิศ ครูที่ปรึกษำโครงงำน พวงทอง แก่นนำคำ และศิรินทร บุญสู โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขี้ผึ้งใบบัวบก จัดทาขึ้นเนื่องจาก ผู้จัดทาเห็นว่าได้มีการนาใบบัวบกมาใช้เป็นยาบารุงหรือ บรรเทาอาการบวมหรือฟกช้าดาเขียว แมลงสัตว์กัดต่อย ผื่น ฟกช้า หรือแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก เป็นต้นโดยกระบวนการรักษาใช้ วิธีการตาและนาใบบัวบกไปปิดที่บาดแผล หรือบริเวณที่ได้รับอุบัติเหตุ ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่สะดวกและบางครั้งไม่ทันเวลา อีกทั้งใบ บัวบกยังมีสารไกลโคไซด์ (Glycosides) ช่วยสร้างคอลลาเจน (Collagen) ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้แผลสมานตัวกันเร็วขึ้น คณะผู้จัดทา จึงคิดว่าจะหาวิธีการที่นาใบบัวบก ซึ่งมีสรรพคุณมากมาย มาทาเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ได้สะดวกขึ้น คณะผู้จัดทา จึงมีแนวคิดที่จะคิดค้นและทาขี้ผึ้งใบบัวบกขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้มากยิ่งขึ้น สาหรับวิธีการทา ขี้ผึ้งใบบัวบก คือ ใช้วาสลิน ปริมาณ 120 กรัม เป็นตัวสกัดสารจากใบบัวบกโดยการนาไปทอดจนกรอบ จากนั้นกรองกากใบบัวบก ออก นาขี้ผึ้ง พิมเสน การบูร เมนทอลใส่ลงไปผสมรวมกันโดยใช้อัตราส่วนใบบัวบกที่ต่างกัน 30, 40 และ 50 กรัม ดังนี้ คือ สูตรที่1 วาสลิน 120 กรัม ต่อขี้ผึ้ง 50 กรัม เมนทอล 15 กรัม พิมเสน 25 กรัม และการบูร 45 กรัม สูตรที2่ ใบบัวบก 30 กรัม ต่อขี้ผึ้ง 50 กรัม เมนทอล 15 กรัม พิมเสน 25 กรัม และการบูร 45 กรัม สูตรที3่ ใบบัวบก 40 กรัม ต่อขี้ผึ้ง 50 กรัม เมนทอล 15 กรัม พิมเสน 25 กรัม และการบูร 45 กรัม สูตรที4่ ใบบัวบก 50 กรัม ต่อขี้ผึ้ง 50 กรัม เมนทอล 15 กรัม พิมเสน 25 กรัม และการบูร 45 กรัม จาการนาขี้ผึ้งทั้ง 4 สูตรไปทดสอบกับผู้ป่วยจานวน 40 คน โดยทาบริเวณที่อักเสบฟกช้า เช้า-เย็นได้ผลดังนี้ สูตรที่ 1 ใช้เวลาหายเป็นปกติ 8 วัน สูตรที่ 2 ใช้เวลาหายเป็นปกติ 6 วัน สูตรที่ 3 ใช้เวลาหายเป็นปกติ 4 วัน สูตรที่ 4 ใช้เวลาหายเป็นปกติ 2 วัน สูตรที่ได้ผลที่สุด คือสูตรที่ 4 ในอัตราส่วนใบบัวบก 50 กรัม ต่อขี้ผึ้ง 50 กรัม เมนทอล 15 กรัม พิมเสน 25 กรัมและ การบูร 45 กรัม
๔๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เทียนหอมไล่ยุง อนันตพงษ์ ฉำยำพงษ์, ชลิดำภรณ์ จันทร์เหมือน และสิริมำ เล้ำสินวัฒนำ อำจำรย์ที่ปรึกษำ โกเมศ กำบแก้ว โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี
บทคัดย่อ การทาเทียนหอมไล่ยุง จากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีกรรมวิธีในการประดิษฐ์เทียนหอมไล่ยุง และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเทียนหอมไล่ยุง โดยกลุ่มของข้าพเจ้าได้ทดลองประสิทธิภาพของน้ามันหอมระเหยจากพืชที่ นามาสกัดทั้งสามชนิดก่อนนามาทาเทียนหอม ว่าสามารถไล่ยุงงได้จริงหรือไม่ โดยการทดลองในระบบเปิด วิธีการคือนาน้ามันหอม ระเหยที่ได้จากพืชทั้งสามชนิด ทาที่แขนนข้างหนึ่ง (ทดลองทีละชนิด) ส่วนอีกข้างหนึ่งไม่ทา และเดินเข้าไปในแหล่งที่มียุงชุกชุม ซึ่งผลปรากฏว่าน้ามันหอมระเหยจากสมุนไพรทั้งสามชนิด สามารถไล่ยุงได้จริง แต่เมื่อกลุ่มของข้าพเจ้า ได้นาน้ามันหอม ระเหยมาทาเป็นเทียนหอมแล้ว ทดลองอีกครั้งหนึ่ง โดยการนาเทียนที่ไ ด้ไปจุดในนแหล่งที่มียุงชุกชุม ผลปรากฏว่า ประสิทธิภาพ ในการไล่ยุงของน้ามันหอมระเหยนั้นลดลง
๔๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องกระตุ้นกำรทำงำนของนำฬิกำออโตเมติก พัฒนพงศ์ พันธุเกต, ณัฐกฤตำ เอี่ยมประสิทธิ,์ สุวพิชชำกรณ์ ทองพลู และปกป้อง เปล่งเติม ครูที่ปรึกษำโครงงำน พวงทอง แก่นนำคำ และนพพร ศรีแดงบุตร โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
บทคัดย่อ ณ ปัจจุบันนาฬิกาออโตเมติกนั้นมีการใช้อย่างแพร่หลายในหมู่คนทางาน เนื่องจากตัวนาฬิกาออโตเมติกต้องอาศัยความ ประณีตของช่างทานาฬิกา และเมื่อสวมใส่จะเพิ่มความภูมิฐานมากยิ่งขึ้น อีกทั้งตัวนาฬิกาสามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องอาศัย ถ่าน ซึ่งเหตุผลนี้เป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้นาฬิกาออโตเมติกกลายเป็นตัวเลือกสาคัญของบุคคลในอาชีพต่างๆ เพราะว่าคนส่วนมาก ไม่มีเวลาว่างมากนัก เมื่อนาฬิกาตายจึงไม่มีเวลานานาฬิกาไปเปลี่ยนถ่าน แต่นาฬิกาออโตเมติกสามารถทางานได้เองทาให้ปัญหา ดังกล่าวจึงหมดไป สาหรับคนที่มีนาฬิกาออโตเมติกหลายเรือน จะพบปัญหาที่ว่าเมื่อไม่ได้ใช้นาฬิกาเป็นเวลานานจะทาให้นาฬิกา หยุดเดิน ซึ่งการจะทาให้นาฬิกาออโตเมติกเริ่มทางานอีกครั้งต้องนานาฬิกาออโตเมติกมาเขย่าเป็นเวลานาน จึงเป็นปัญหาสาคัญ ของผู้ที่ใช้นาฬิกาออโตเมติก ผู้จัดทาจึงได้สร้างเครื่องกระตุ้นการทางานของนาฬิกาออโตเมติกขึ้นมา เครื่องกระตุ้นการทางานของนาฬิกาออโตเมติกจัดทาขึ้นเพื่อกระตุ้นการทางานของโรเตอร์ของนาฬิกาออโตเมติกโดยการ สร้างฐานสาหรับตั้งมอเตอร์ จากนั้นสร้างกล่องไร้ฝาขนาดเล็กสาหรับใส่นาฬิกามาติดไว้บนแกนหมุนของมอเตอร์ ต่อวงจรไฟฟ้าโดย ใช้ถ่านไฟฉายขนาด 1.5 โวลท์เป็นแหล่งพลังงาน และสิ่งที่เป็นคล้ายกับสวิทช์ของเครื่องกระตุน้ การทางานของนาฬิกออโตเมติก คือ เข็มกลัดและกิ๊บลวดเสียบที่ตดิ อยู่กับขั้วลบของถ่าน เมื่อต้องการใช้เครื่องกระตุ้นการทางานของนาฬิกาออโตเมติก ให้นาเข็มกลัดไป คล้องกับกิ๊บลวดเสียบดังกล่าว หลังจากนั้นผู้จัดทาได้ทาการทดลอง 3 ครั้ง เพื่อหาเวลาที่น้อยที่สุดที่จะทาให้นาฬิกาออโตเมติ กที่ ตายแล้วกลับมาเดินอีกครั้งหลังจากการใช้เครื่องกระตุ้นการทางานของนาฬิกาออโตเมติก ผลการทดลองที่ได้คือ ครั้งที่ 1 ในเวลา 1-2 นาที นาฬิกายังคงตาย แต่เมื่อถึงนาทีที่ 3 นาฬิกากลับมาเดินอีกครั้ง ครั้งที่ 2 ในเวลา1-3นาทีนาฬิกายังคงตาย แต่เมื่อถึงนาทีที่ 4 นาฬิกากลับมาเดินอีกครั้ง ครั้งที่ 3 ในเวลา 1-2 นาที นาฬิกายังคงตาย แต่เมื่อถึงนาทีที่ 3 นาฬิกากลับมาเดินอีกครั้ง ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า หลังจากการใช้เครื่องกระตุ้นการทางานของนาฬิกาออโตเมติก นาฬิกากลับมาเดินอีกครั้ง โดยเวลาที่ น้อยที่สุดอยู่ที่ประมาณ 3 นาที คำสำคัญ : นาฬิกาออโตเมติก, โรเตอร์, มอเตอร์
๔๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
GSP กับพื้นที่สู่หนังสือเล่มเล็ก สุพิชชำ บัวบำง, เจนจิรำ บุญรักษำ, รัชชำนนท์ กลัดนวม และชัยธวัช อักษร ครูที่ปรึกษำ ขนิษฐำ กลิ่นหอม และวิมลรัตน์ อิ่มสุดสำรำญ โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง GSP กับพื้นที่สู่หนังสือเล่มเล็ก เกิดจากแนวคิดที่ทางคณะผู้จัดทาได้เรียน เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการหาพื้นที่ของส่วนที่แรเงาของรูปเรขาคณิต ได้พบว่าการหาพื้นที่ดังกล่าว ต้องอาศัย ความรู้สึกในการนึกภาพการเคลื่อนที่ของส่วนประกอบของรูป ซึ่งเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก จึงเกิดแนวคิดในการนาโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad และความรู้เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต มาใช้ในการสร้างรูปโจทย์ปัญหา ช่วยในการเคลื่อนที่ของ ส่วนประกอบของรูป ส่งผลให้เกิดทักษะการนึกภาพ สามารถหาพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว ตรวจสอบผลลัพธ์และแสดงการหาพื้นที่ โดย นาเสนอในรูปแบบการจัดทาหนังสือเล่มเล็ก ในการจัดทาหนังสือเล่มเล็กคณะผู้จัดทาได้ฝกกทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาเป็น ขัน้ ตอน ได้ฝกกการวางแผนการแก้ปัญหา จากการดาเนินงานคณะผู้จัดทาพบว่ารูปภาพที่ปรากฏในหนังสือเล่มเล็กมีความสวยงาม ดึงดูดความสนใจ น่าอ่าน น่าศึกษา จึงได้นาภาพในโจทย์ปัญหาไปออกแบบเป็นปกหนังสือเล่มเล็ก โดยใส่สีสันเพิ่มเข้าไปส่งผลให้ เกิดความสวยงามยิ่งขึ้น และได้ออกแบบลวดลายให้มีความแปลกใหม่ โดยพิมพ์ลวดลายที่ออกแบบลงในกระดาษสติ๊กเกอร์ขาวและ นาไปใช้ในการซ่อมแซมและตกแต่งกล่องใส่เอกสาร นอกจากนี้ยังได้นาไปใช้ตกแต่งแฟ้มเอกสาร ปกสมุด กล่ องใส่กระดาษโน้ต กล่องใส่ปากกาและอุปกรณ์ตกแต่งบอร์ด ทั้งนี้ อุปกรณ์ที่ได้มีความสวยงาม แปลกตา มีคุณค่า ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
๔๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรออกแบบโปรแกรมกำรหำรสังเครำะห์โดยใช้โปรแกรม The Geometer ’s Sketchpad ธนำเทพ ศุภนิมิตจิตเจริญ, ศลิษำ เจริญวิกภัย, มนัสสรณ์ เทพสวัสดิ์ และนิษฐำ ขุนพิทักษ์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ขนิษฐำ กลิ่นหอม และนริศรำ สุขผ่อง โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การออกแบบโปรแกรมการหารสังเคราะห์โดยใช้โปรแกรม The Geometer ’s Sketchpad เกิดจากแนวคิดที่ทางคณะผู้จัดทาได้เรียนโปรแกรม The Geometer ’s Sketchpad ซึ่งเป็นโปรแกรมในการเขียน กราฟและฟังก์ชัน เพื่อดูลักษณะของกราฟ และใช้ในการออกแบบลวดลาย ซึ่งเป็นที่คุ้นเคยกันดี ทางคณะผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะ นาโปรแกรม The Geometer ’s Sketchpad มาใช้ในการแก้ปัญหาโจทย์ทางคณิตศาสตร์ในเรือ่ งต่างๆ เพื่อให้เห็นประโยชน์ของ โปรแกรมนี้มากขึ้น จึงได้ดาเนินการออกแบบโปรแกรมการหารสังเคราะห์โดยใช้โปรแกรม The Geometer ’s Sketchpad เพื่อ หาผลหารพหุนาม ( ของตัวแปร x ) ที่มีดีกรี n เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก ด้วยพหุนามที่อยู่ในรูป x – a และ ax – c เมื่อ a และ c เป็นค่าคงที่ใดๆ ที่ไม่เท่ากับ 0 การแยกตัวประกอบของพหุนาม การหารเศษเหลือที่ได้จากการหารพหุนามด้วย x – a และ ax – c เมื่อ a และ c เป็นค่าคงที่ใดๆ ที่ไม่เท่ากับ 0 การตรวจสอบว่าพหุนามดีกรี 1 ที่อยู่ในรูป x – c เมื่อ c เป็นค่าคงที่ใดๆ จะเป็นตัวประกอบของพหุนามที่กาหนดให้หรือไม่ และการแก้สมการของพหุนาม ซึ่งผลที่ได้ทาให้สามารถออกแบบโปรแกรมการ หารสังเคราะห์โดยใช้โปรแกรม The Geometer ’s Sketchpad เพื่อหาผลหารพหุนาม (ของตัวแปร x) ที่มีดีกรี n เมื่อ n เป็น จานวนเต็มบวกด้วยพหุนามที่อยู่ในรูป x – a และ ax – c เมื่อ a และ c เป็นค่าคงที่ใดๆ ที่ไม่เท่ากับ 0 และสามารถแก้สมการ พหุนามได้รวดเร็วและแม่นยามากขึ้น
๔๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ลำยสร้ำงงำน กัลยกร เอี่ยมอุ้ย, ลักษิกำ อำศิรวำทวณิชย์, ณัฐนันท์ บุญพร และณัฐวุฒิ เอี่ยมสุขประเสริฐ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ขนิษฐำ กลิ่นหอม และเกศณี ศรีแดงบุตร โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
บทคัดย่อ ทุกคนต่างรู้จักกระดานหมากรุก ซึ่งเป็นอุปกรณ์หนึ่งในการละเล่นต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น หมากรุก หมากฮอส หรือ บางคน นั้นรู้จักกันในลักษณะของลายชนิดหนึ่ง ลายกระดานหมากรุกถือเป็นลายที่ดูแล้วมีมิติ สวยงามและดูคลาสสิก ลักษณะของลาย กระดานหมากรุกนั้น มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเท่าๆกันเรียงต่อกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมรูปใหญ่อาจมีการสลับลายสลับสี แล้วแต่ผู้ริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งนั้นๆขึ้นโดยผู้ผลิตหลายๆบริษัทได้ นาลายกระดานหมากรุกไปผลิตในรูปแบบต่าง ไม่ว่าจะเป็นเสื้อผ้า ชุดเครื่องนอน หรืออาจจะเป็นกระเบื้อง โดยนาต้นแบบจากกระดานหมากรุก คือสีทั้งสองบนกระดานหมากรุกนั้นจะมีจานวน เท่ากัน แต่จะคิดลายขึ้นใหม่โดยใช้รูป Polyomino มาเรียงต่อกันในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยนาหลักการคณิตศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การคานวณหาพื้นที่รูป Polyomino การแก้สมการ สมบัติการหารลงตัว ใช้ในการแก้สมการ และระบบสมการ ให้เกิดลวดลาย แปลกใหม่ สวยงาม และดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้น แล้วยังสามารถนาลายเหล่านี้ไปใช้ในการทากระเบื้อง เสื้อผ้า กระเป๋า และของใช้ อื่นๆ ได้อีกด้วย
๔๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
Water keeper (ป้องกันน้ำล้น) ภรำดร นิเทศพัตรพงศ์, นฤดล เข้มแข็ง, ศิปสุต พุทธอรุณ และสิรภพ วุฒินันติวงศ์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน พวงทอง แก่นนำคำ และธวัชชัย แก้วมุกดำ โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
บทคัดย่อ ภาวะโลกร้อน มีความสาคัญต่อโลก สาเหตุบางประการเกิดจากการใช้น้าอย่างไม่จาเป็นหรืออฟุ่มเฟือย เช่น การที่น้า ล้นจากภาชนะที่เก็บน้าเนื่องจากการเปิดน้าทิ้งไว้ แล้วไปทากิจกรรมอื่นๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตประจาวัน ทาให้เกิดปัญหาขาด แคลนน้า เนื่องจากเห็นความสาคัญของปริมาณน้าที่เสียไปโดยเปล่าประโยชน์ จึงมีแนวคิดทดลองและประดิษฐ์เครื่อง Water keeper เพื่อแจ้งเตือนน้าที่ล้นจากภาชนะ เมื่อน้าสูงขึ้นมาในเครื่อง Water keeper ทาให้ลูกปิงปองซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ ลอยขึ้น เมื่อน้ายิ่งสูงขึ้น ลูกปิงปองก็จะถูกน้าดันขึ้น จนไปถูกสวิตซ์ ทาให้เกิดเสียงออดดังขึ้น ผู้ใช้งานก็จะปิดน้าได้ทัน จากการผลทดสอบอุปกรณ์พบว่า Water keeper สามารถใช้งานได้ดี เพราะเมื่อเปิดน้าใส่ถัง เมื่อน้าอยู่ในระดับใกล้เต็ม ถึง น้าจะไหลเข้าไปในอุปกรณ์ แล้วดันให้ลูกปิงปอง ลอยขึ้นไปกดสวิตซ์ทาให้เกิดสัญญาณเสียง เสียงจากวงจรเตือนน้าล้นสามารถ ส่งสัญญาณได้ดีในระยะประมาณ 100 เมตร การจัดทาโครงงานเรื่อง Water keeper เป็นสิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยแก้ปัญหาน้าลดทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์ ในการเปิดน้า รองใส่ภาชนะ จากการทดลองในครั้งนี้ ซึ่งผู้จัดทาได้ใช้วงจรป้องกันน้าล้น ต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า และแหล่งกาเนิดไฟฟ้า จะ ส่งกระแสไฟฟ้า ไปยังเครื่องส่งสัญญาณ จึงทาให้เสียงสัญญาณ ดังขึ้น
๔๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๕๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๙ สุพรรณบุรี-นครปฐม (สพม. เขต ๙ สุพรรณบุรี-นครปฐม)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๕๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ควำมสัมพันธ์ของชุดสมกำรเชิงเส้นกับสมกำรพำรำโบลำ พลอยยอดฉัตร ภัทรพงศ์กร, รุจิณัฐ ปิ่นทองดี และ หิรัณยำ เถลิงศักดำเดช ครูที่ปรึกษำโครงงำน พิบูลพรรณ ตังคะพิภพ โรงเรียนราชินีบูรณะ อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ การทาโครงงานเรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชุดสมการเชิงเส้นกับสมการพาราโบลา เพื่อศึกษา เปรียบเทียบภาพที่สร้างโดยการใช้เส้นด้ายกับภาพที่สร้างจาก โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad และเพื่อแสดงการนา ศิลปะมาประยุกต์ใช้ในทางคณิตศาสตร์ คณะผู้จัดทาร่วมกันวางแผนในการทาโครงงาน ศึกษาเนื้อหาทษษีีทางคณิตศาสตร์ ทดลองทาชิ้นงาน โดยการสร้างภาพด้วยโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad พบว่า ภาพที่ได้จากการกาหนด n = 5 ได้ สมการพาราโบลาคือ y = 0.12 ( ) + 2.07 , ภาพที่ได้จากการกาหนด n = 10 ได้สมการพาราโบลาคือ y = 0.06 ( ) + 3.86 , ภาพที่ได้จากการกาหนด n = 15 ได้สมการพาราโบลาคือ y = 0.04 ( ) + 5.64 , ภาพที่ได้จากการกาหนด n = 20 ได้สมการ พาราโบลาคือ y = 0.03 ( ) + 7.41 , ภาพที่ได้จากการกาหนด n = 25 ได้สมการพาราโบลาคือ y = 0.03 ( ) + 9.18 , ภาพทีได้จากการกาหนด n = 30 ได้สมการพาราโบลาคือ y = 0.02 ( ) + 10.95 และเมื่อนาภาพมาเปรียบเทียบกับการสร้าง ภาพโดยการใช้เส้นด้ายด้วยวิธีการนารูปมาซ้อนทับกัน พบว่าไม่มีความแตกต่าง ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า ภาพที่สร้างด้วยโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad กับภาพที่สร้างโดยการใช้เส้นด้ายด้วยการใช้ชุดสมการเดียวกันจะได้สมการพาราโบลาเหมือนกัน
๕๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
อุปกรณ์ตรวจวัดค่ำ pH จำก pH sensor ไข่มุก อินทรวิชัย, พรพรรณ ประเสริฐท่ำไม้ และพิชชำภำ วงศ์ผำสุกสถำพร ครูที่ปรึกษำ *วินัย บุญชูส่ง, อุษณีย์ น้อยศรี และหฤทัย ดิ้นสกุล โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม) อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดค่า pH จาก pH sensor มีจุดประสงค์เพื่อทดลองหาประสิทธิภาพและคุณภาพการใช้งาน และให้ผู้ที่ต้องการตรวจวัดค่า pH จากแหล่งน้าและดินได้ใช้อุปกรณ์วัดค่า pH ที่มีราคาถูกกว่า ใช้งานได้ง่ายและมีประสิทธิภาพเท่า เทียมกับเครื่องมือตรวจวัดค่า pH ที่เป็นมาตรฐาน โดยอุปกรณ์นี้มีวิธีการพัฒนาหรือสร้ างขึ้นจาก sensor ตรวจจับค่า pH ซึ่งจะ ส่งผลออกมาเป็นค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า จากนั้นจึงส่งสัญญาณเข้าสู่ ipst microbox เพื่อแปลงสัญญาณเป็นค่า pH ด้วยชุด โปรแกรมคาสั่งภาษาC โดยให้แสดงค่า pH ของสารที่อ่านได้นั้นไปยังหน้าจอ display แสดงผลตัวเลขสี่หลัก จากนั้นทาการ ทดลองหาประสิทธิภาพและคุณภาพการใช้งาน โดยเปรียบเทียบค่า pH ของสาร 3 ชนิด ได้แก่ สารที่เป็นกรด เป็นกลาง และเป็น เบสที่วัดได้จากอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์และเครื่อง pH meter มาตรฐาน และเปรียบเทียบค่า pH ของดินตัวอย่าง 5 ชนิด และน้า ตัวอย่างอีก 5 ชนิด การเปรียบเทียบค่า pH ของสารที่เป็นกรด เป็นกลาง และเป็นเบส ค่า ph เฉลี่ยจากอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นและ เครื่อง pH meter มาตรฐาน คือ 4,7 และ 10 ตามลาดับ มีค่าใกล้เคียงกัน ส่วนผลการเปรียบเทียบค่า pH ของดินตัวอย่าง 5 ชนิด และค่า pH เฉลี่ยที่วัดได้จากอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นใกล้เคียงกับเครื่อง pH meter มาตรฐาน และผลการเปรียบเทียบค่า pH ของ น้าตัวอย่าง 5 ชนิด ค่า pH เฉลี่ยที่วัดได้จากอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นใกล้เคียงกับเครื่อง pH meter มาตรฐาน
๕๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
สำรสกัดจำกสมุนไพรยับยั้งกำรเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus ชำยนวพรรษ ไพบูลย์ทรัพย์สิน, เมธี ศรีประทุมรักษ์ และนพรัตน์ นุชิตประสิทธิชัย ครูที่ปรึกษำโรงงำน *วินยั บุญชูส่ง และกัญญำ สอนสนิท โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม) อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ การศึกษาเรื่องสารสกัดจากสมุนไพรยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus นี้มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษา สรรพคุณของสมุนไพร ที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus ที่ทาให้เกิดโรคฝีหนอง แผล อักเสบในมนุษย์ โดยกาหนดชนิดของสมุนไพรไทยที่จะศึกษา 3 ชนิด ได้แก่ ลูกยอ ใบฝรั่ง เปลือกมังคุด อาจมีสรรพคุณที่สามารถ ยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus วิธีการศึกษานั้นต้องเริ่มจากการนาสมุนไพรไทยมาผ่านกระบวนการสกัดสาร โดยใช้น้าเป็นตัวทาละลาย ตามอัตราส่วนของน้าหนักสมุนไพร (กรัม) ต่อ ปริมาตรของตัวทาละลาย หรือ น้า (ลูกบาศก์เซนติเมตร) คือ 50 กรัม : 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร, 100 กรัม : 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และ 150 กรัม : 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร หลังจาก ที่สกัดสารสมุนไพรในอัตราส่วนต่างๆได้แล้ว จากนั้นจะทาการเพาะเชื้อ Staphylococcus aureus ในห้อง LAB เพื่อที่จะเตรียม เชื้อในการทดลอง จากนั้นจะนาสารสกัดสมุนไพรในอัตราส่วนต่างๆที่ได้มาทดสอบ กับเชื้อ Staphylococcus aureus โดยวิธีการ ทดสอบด้วย disc diffusion เพื่อที่จะตรวจสอบประสิทธิภาพการยับยัง้ การเจริญของเชื้อ Staphylococcus โดยสังเกตจาก Clear Zone ที่เกิดขึ้น และหลังจากที่ศึกษาทดลอง พบว่าสารสกัดสมุนไพรในชนิดที่ต่างกัน และอัตราส่วนที่ต่างกัน มีผลต่อการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ที่แตกต่างกันออกไป โดยจะพบว่า สารสกัดสมุนไพรที่ได้จากสมุนไทย อย่างลูกยอ ในอัตราส่วน 150 กรัม : 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphylococcus aureus ได้ดีที่สุด
๕๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องวัดควำมเร็วลม ปำจรีย์ ไชยเสน, สุชำนันท์ คุ้มหรั่ง และอำทิตยำ ทองสุข ครูที่ปรึกษำโครงงำน วินัย บุญชูส่ง โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม) อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ การพัฒนาเครื่องวัดความเร็วลม มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความยาวแขนของเครื่องวัดความเร็วลมที่มีความเหมาะสมที่สุด และเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องวัดความเร็วลมที่ประดิษฐ์ขึ้นกับเครื่องวัดความเร็วลม ที่เป็นมาตรฐาน เครื่องวัด ความเร็วลมที่พัฒนาขึ้นนี้ มีวิธีการพัฒนาขึ้นโดยการใช้เซ็นเซอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ และได้ออกแบบคาสั่งคานวณค่าความเร็ว ลมบนไมโครคอนโทรลเลอร์และแสดงผลเป็นตัวเลขที่หน้าจอแสดงผล การออกแบบรูปทรงของเครื่องวัดความเร็วลม โดยออกแบบ ความยาวของแขนให้มีความยาวที่ต่างกัน และทดสอบหาประสิทธิภาพในการวัดความเร็วลมของเครื่องที่มีความยาวแขนแต่ละ ขนาด โดยการทดลองหาความเร็วลมจากพัดลมเบอร์ต่างๆและเปรียบเทียบกับความเร็วลมที่ได้จากเครื่องวัดความเร็วลมที่เป็น มาตรฐานเพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น ซึ่งในการทดลองพบว่าค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากเครื่องวัดความเร็วลมที่มีแขน ยาว มีค่ามากกว่าค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากเครื่องวัดความเร็วลมที่มีแขนสั้น ซึ่งค่าความคลาดเคลื่อนนี้อาจเกิดจากแรงเสียด ทานที่เกิดจากการสั่นของแขนเมื่อมีการหมุน ซึ่งแขนที่ยาวกว่าจะสั่นมากกว่า ซึ่งผลการทดลองที่ได้ทาให้เราทราบว่า เครื่องวัด ความเร็วลมที่มีแขนสั้นกว่ามีประสิทธิภาพในการวัดความเร็วลมที่ดีกว่า และเครื่องวัดความเร็วลมที่ประดิษฐ์ขึ้นสามารถวัดค่า ความเร็วลมได้มีค่าใกล้เคียงกับเครื่องมาตรฐาน
๕๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องวัดอุณหภูมิและแสง ธีรทัศน์ ชมโชค, พงศกร สมผล และพงศ์บุญย์ หิรัญเจริญนนท์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน วินัย บุญชูส่ง โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม) อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานเรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างเครื่องวัดอุณหภูมิและแสง เพื่อศึกษาการทางานของเครื่องวัด อุ ณ หภู มิ ซึ่ ง ใช้ ภ าษาซี เ ขี ย นลงไปในอุ ป กรณ์ microcontroller โดยคณะผู้ จั ด ท าได้ ศึ ก ษาค้ น คว้ า เกี่ ย วกั บ อุ ป กรณ์ microcontroller ความรู้เกี่ยวกับภาษาซี คุณสมบัติของแสง อุณหภูมิและดิน แล้วจึงสร้างเครื่องวัดอุณหภูมิและแสง โดยนา เครื่องไปทดสอบกับสนามหญ้าที่หน้าโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม ( พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม ) ซึ่งคณะ ผู้ จั ด ท าพบว่ า เครื่ อ งวั ด อุ ณ หภู มิ แ ละแสงมี คุ ณ ภาพที่ สู ง และคณะผู้ จั ด ท ายั ง ได้ รั บความรู้ เ กี่ ย วกั บ ภาษาซี อุ ป กรณ์ microcontroller คุณสมบัติของแสง อุณหภูมิและดิน พร้อมทั้งผู้จัดทายังได้ใช้ทักษะต่างๆในการทางาน ซึ่งจะสามารถช่วยให้ เกิดการพัฒนาทักษะที่ใช้นั้นๆ และช่วยให้โครงงานนี้ประสบความสาเร็จซึ่งจะขาดไปมิได้เลย
๕๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
สมุนไพรกำจัดหอยเชอรี่ ธฤตมน คล่องรักสัตย์, ลันดำ คล้ำยจันทร์พงศ์ และอำรันดำ กิตติถำวร ครูที่ปรึกษำโครงงำน สุทัศน์ ผู้ฉุน โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ การทาโครงงานเรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพรที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการกาจัดหอยเชอรี่ และเพื่อ ศึกษาความเข้มข้นของสมุนไพรที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการกาจัดหอยเชอรี่โดยการนาน้าที่สกัดจากสมุนไพร 5 ชนิด ได้แก่ หาง ไหล ฝักคูณแก่ ขอบชะนางแดง และยาเส้น ด้วยวิธีการนาสมุนไพรทั้ง 5 ชนิดมาตากแห้งแล้วนามาแช่ในอัตราส่วนสมุนไพร 200 กรัมต่อน้า 1.5 ลิตร เมื่อได้น้าสกัดสมุนไพรแล้วนาไปผสมน้าให้มีความเข้มข้น 75 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร นามาฉีดแทนสารเคมีลง บนต้นข้าวที่ปลูกไว้ในแปลงทดลอง 15 แปลง โดยสมุนไพรแต่ละชนิดจะมีแปลงทดลองละ 3 แปลง และแปลงควบคุมอีก 3 แปลง และแต่ละแปลงจะใช้หอยเชอรี่ในการทดลองแปลงละ 10 ตัว และใช้เวลา 3 วัน, 5 วัน, 7 วัน, 9 วัน และ 12 วัน ในการศึกษา จาก การศึกษาพบว่าน้าที่สกัดจากสมุนไพรต่างชนิดกัน มีประสิทธิภาพในการกาจัดหอยเชอรี่ได้ต่างกัน คือ หางไหล ฝักคูณแก่ ขอบชะ นางแดง ยาเส้น และน้าเปล่า สามารถกาจัดหอยเชอรี่เฉลี่ยได้ 9, 5, 7, 10 และ 0 ตัวตามลาดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายาเส้นมี ประสิทธิภาพในการกาจัดหอยเชอรี่มากที่สุด หลังจากนั้นจึงศึกษาหาความเข้มข้นของยาเส้นที่ มีผลต่อประสิทธิภาพในการกาจัด หอยเชอรี่ พบว่ายาเส้นในความเข้มข้น 0 เปอร์เซ็นต์, 25 เปอร์เซ็นต์, 50 เปอร์เซ็นต์, 75 เปอร์เซ็นต์ และ 100 เปอร์เซ็นต์ โดย ปริมาตร สามารถกาจัดหอยเชอรี่เฉลี่ยได้ 0, 5, 6, 8 และ 10 ตัวตามลาดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายาเส้นในความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร มีประสิทธิภาพในการกาจัดหอยเชอรี่มากที่สุด จากการทดลองทั้ง 2 สามารถสรุปได้ว่า น้าสมุนไพรที่สกัดจาก สมุนไพรต่างชนิดกันจะมีประสิทธิภาพในการกาจัดหอยเชอรี่ได้ต่างกัน ซึ่งยาเส้นในความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร มี ประสิทธิภาพในการกาจัดหอยเชอรี่สูงที่สุด
๕๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำคุณภำพน้ำในโรงเรียนมัธยมศึกษำในสังกัดของ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 9 อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จอมกฤดิทิพย เหล่ำโมรำพร, นิชำนันท์ สันทัด และอมรรัตน์ ห้อยมำลี ครูที่ปรึกษำโครงงำน ออนจิลำ บัวประเสริฐ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ โครงงานศึกษาคุณภาพน้าในโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 อาเภอ เมือง จังหวัดนครปฐม จานวน 7 โรงเรียน ตรวจสอบคุณภาพทั้งทางกายภาพคือ ความขุ่น , กลิ่น ทางเคมี คือ ค่าโลหะหนัก (Fe, Mn, Pb) ความกระด้าง และค่า pH ทางจุลชีววิทยาคือ ตรวจเชื้อ Coliforms และ Escherichia Coli. โดยเก็บตัวอย่าง 3 ครั้ง และทาการทดลองซ้า 3 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่าน้าดื่มมีคุณภาพทางกายภาพ คือ ใส ไม่มีกลิ่น ทั้งหมด โดยมีค่าความขุ่นเรียงตามลาดับจากน้อยไป หามากดังนี้ โรงเรียนที่ 6 , 5 , 4 , 2 , 1 , 3 และ 7 โดยมีค่าเฉลี่ยเป็น 0.34 - 1.03 เอ็นทียู ตามลาดับ ซึ่งไม่เกินมาตรฐานที่ กาหนด 5 เอ็นทียู สาหรับคุณภาพน้าทางเคมีเรียงลาดับจากน้อยไปหามากได้ผลการตรวจสอบดังนี้ ค่า pH ทุกโรงเรียนมีค่า เฉลี่ยอยู่ในช่วง 7.0 -7.6 ค่าความกระด้างพบว่า โรงเรียนที่ 4 , 5 , 6 , 3 , 2 , 1 และ 7 มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.67 - 72.87 มิลลิกรัม ต่อลิตร ปริมาณโลหะเหล็กในน้าดื่มพบปริมาณเหล็กดังนี้ โรงเรียนที่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.2680 - 1.4193 มิลลิกรัมต่อลิตร ปริมาณโลหะแมงกานีสในน้าดื่มพบปริมาณแมงกานีสดังนี้ โรงเรียนที่ 3 , 2 , 1 , 4 , 5 , 6 , 7 มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.1631 - 0.3933 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยค่ามาตรฐานของเหล็กและแมงกานีสที่กาหนด คือ ไม่เกิน 0.3 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 0.3 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และน้าดื่มทุกโรงเรียนไม่พบโลหะตะกั่ว จากการหา Coliforms และ Escherichia Coli เพื่อหาคุณภาพทาง จุลชีววิทยาของน้า โดยตรวจสอบคานวณค่า MPN /100 มิลลิลิตร ไม่พบเชื้อแบคทีเรีย ทั้ง 2 ชนิด ในตัวอย่างน้าทุกโรงเรียน
๕๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเพำะปลูกเห็ดฟำง สรรเสริญ หงส์วิพัฒน์, โชติวรุตม์ ภัทรภำวิดำ และศุภกร ต้นสีนนท์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ออนจิลำ บัวประเสริฐ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย และ โรงเรียนเทศบาล 4 อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม)
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของอาหารที่ใช้ในการเพาะเห็ดฟางชนิดต่ างๆ เพื่อสังเกตและ บันทึกผลน้าหนัก และความยาวของดอกเห็ด โดยการเพาะเห็นจานวนหนึ่งขึ้นมาโดยใช้หัวเชื้อ รวมถึงปริมาณอาหารให้มีปริมาณ เท่ากัน เริ่มทาการทดลองในระหว่างเดือนพษศจิกายนถึงเดือนธันวาคม 2555 การทดลองอาหารแต่ชนิดประกอบไปด้วยผักตบชวา ฟาง และกาบมะพร้าว ทาการคลุกเคล้าหัวเชื้อที่พร้อมเจริญเติบโตแล้วนามาเพาะในตะกร้า (ชุดการทดลอง 3 ซ้า) ในแต่ละชุดการ ทดลอง เก็บตัวอย่างของเห็ดและถ่ายภาพการเจริญเติบโตของเห็ดทุกวันหลังจาก 3 วันที่เริ่มเพาะจนเวลาครบ 7 วัน พร้อมทั้ง ศึกษาความแตกต่างในการเติบโตของอาหารทั้งสามชนิด ผลการศึกษาพบว่า ตะกร้าที่มีอาหารเป็นฟางเห็ดจะสามารถเจริญเติบโต ได้ดีที่สุด มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง รองลงมาคือกาบทางมะพร้าวที่ให้ผลผลิตที่ดีรองลงมา ส่วนตะกร้าผักตบชวาให้ผลผลิตไม่ ดีเท่าที่ควร เพราะไม่สามารถขึ้นเป็นดอกเห็ดได้ ขึ้นเป็นเพียงปุยสีขาวในระยะเริ่มต้นของการเจริญเติบโตเท่านั้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจากฟางและกาบมะพร้าวให้ผลที่น่าพอใจทั้งคู่ ถึงฟางจะให้ผลผลิตที่เจริญได้ดีกว่าเล็กน้อย แต่ก็ไม่แตกต่างกันมากเท่าไหร่นัก ทั้งนี้ควรคานึงถึงความสะดวกในการค้นหาอาหารของเห็ดฟางดังกล่าว มาใช้ในการประกอบในการตัดสินใจด้วย
๖๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๑๐ สมุทรสงครำม (สพม. เขต ๑๐ สมุทรสงครำม)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๖๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เช็ครหัสบัตรประชำชน เศรษฐพงศ์ ชื่นจิตร, ปิยกมล กล่ำสวัสดิ์ และธัญวรัตน์ วิเศษศิริ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ศรินยำ อินทรประเสริฐ โรงเรียนถาวรานุกูล อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10
บทคัดย่อ ในปัจจุบันมนุษย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลและข่าวสารเป็นรหัสต่างๆ ซึ่งในชีวิตประจาวันเราสามารถพบเจอได้ทั่วไป เช่น รหัสบัตรประจาตัวประชาชน ( ID card ) รหัสบัตรเครดิต ( Credit card ) เป็นต้น จากการสังเกต พบว่าบัตรประชาชนมีเลข อยู่ 13 หลัก ซึ่งเลขแต่ละหลักจะไม่เรียงกันและเลขตัวสุดท้ายจะไม่เรียงต่อกัน บัตรบางใบเลขบัตรประชาชนตัวสุดท้ายอาจหาย หรือเลือนลางจนไม่สามารถตีความได้ ทาให้ไม่สามารถตรวจสอบได้ ซึ่งการตรวจสอบว่าบัตรประชาชนนั้นเป็นบัตรจริงหรือบัตร ปลอม ต้องใช้หลักการ check digit หรือ การตรวจตรวจสอบความถูกต้องโดยใช้ตัวเลขหลักสุดท้ายในการตรวจสอบ Algorithm ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรหัสบัตรประชาชน โดยกลุ่มของข้าพเจ้าได้ตรวจสอบกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 จานวน 60 คน สุ่มตัวอย่างอย่างง่ายโดยการเลือกตัวอย่างนักเรียนห้องมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ห้อง 1 จานวน ห้องละ 10 คน รวมทั้งหมด 60 คนจากการศึกษาพบว่า จากนักเรียน 60 คน ตรวจสอบรหัสได้ถูกต้อง 57 คน ตรวจสอบได้ไม่ ถูกต้อง 3 คน ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าจะได้ศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องการถอดรหัสบัตรประชาชนและรหัสบัตรอื่นๆ คำสำคัญ : รหัสบัตรประชาชน , การถอดรหัสบัตรประชาชน
๖๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
คณิต KIDS BMI ชนัฏฐำ เรือนเงิน, พิณรัตน์ จันทเลิง และรวิพร เพ็งพิณ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ศรินยำ อินทรประเสริฐ โรงเรียนถาวรานุกูล อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10
บทคัดย่อ ภาวะโภชนาการยังเป็นปัญหาสาคัญในเด็กวัยเรียนทั้งน้าหนักตัวเกินมาตรฐาน (Risk of overweight and overweight) และน้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐาน (Underweight) ในปัจจุบันเราจะพบโรคภาวะโภชนาการเกินหรือโรคอ้วนที่กาลังเริ่มเป็นปัญหา ต่อสังคมไทยในปัจจุบัน โรคอ้วนมีผลกระทบหลายๆอย่างในการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น การนอนหลับ นอนกรน หยุดหายใจ เป็นระยะในขณะนอนหลับ ( ทาให้สมองขาดออกซิเจน จึงทาให้มีผลกะทบต่อการเรียนรู้และจดจาทาให้การเรียนรู้ช้ากว่าปกติ ) เป็นต้น การประเมินภาวะโภชนาการเราสามารถทาได้หลายวิธีแต่ส่วนใหญ่ไม่เหมาะกับการใช้วัดในกลุ่มเด็กเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูง จึงทาให้พวกเราสนใจที่จะใช้การวัดค่าดัชนีมวลกาย ( body mass index – BMI ) เป็นวิธีง่ายและสะดวกวิธีหนึ่งในการประเมิน ภาวะทางโภชการของเด็ก โดยในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนถาวรานุกูลโดยเก็บข้อมูลน้าหนักส่วนสูงนามาคิดหาค่าดัชนีมวลกายของนักเรียนเพศหญิง 60 คน และเพศชาย 60 คน ในช่วงอายุ 14 - 15 ปี เพื่อนามาเปรียบเทียบระหว่างเพศชายและเพศหญิงเมื่อแยกตามกลุ่มโภชนาการแล้วจะสามารถแยกได้เป็น 5 กลุ่มดังนี้ ผอม ปกติ น้าหนักเกิน อ้วนจากการศึกษาพบว่า ผู้ชายอยู่ในเกณฑ์ผอม 31 คน อยู่ในเกณฑ์ปกติ 22 คน อยู่ในเกณฑ์ น้าหนักเกินเกณฑ์ 5 คน อยู่ในเกณฑ์อ้วน 2 คนผู้หญิงอยู่ในเกณฑ์ผอม 30 คนอยู่ในเกณฑ์ปกติ 6 คน น้าหนักเกินเกณฑ์ 23 คน อยู่ในเกณฑ์อ้วน 1 คนจากทั้งหมด 60 คนและนามาอภิปรายผลเพื่อหาสาเหตุของน้าหนักเกินและน้าหนักต่ากว่ามาตรฐาน คำสำคัญ : ดัชนี BMI , น้าหนักตัวเกินมาตรฐาน , น้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐาน
๖๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
อ่ำงล้ำงภำชนะรักษ์น้ำ นพนันท์ พรพุทธศรี และปำรวี ปรองดอง ครูที่ปรึกษำโครงงำน ลินดำ บุญรอด โรงเรียนศรัทธาสมุทร อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องอ่างล้างภาชนะรักษ์น้า คณะผู้จัดทาเล็งเห็น เนื่องจากในปัจจุบัน น้าเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งใน การดารงชีวิตประจาวัน เราควรอนุรักษ์แหล่งน้าให้สะอาดอยู่เสมอ สาเหตุที่ทาให้น้าเกิดปัญหาการเน่าเสียเป็นอย่างมาก สาเหตุ หนึ่งมาจาก การปล่อยน้าเสียจากครัวเรือน และจังหวัดที่ข้าพเจ้าอาศัยอยู่นั้นเป็นจังหวัดที่เป็นเมือง 3 น้า และเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางน้า กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดวิธีการบาบัดน้าเสียเพื่อให้น้าอยู่คู่กับเราให้ยาวนานที่สุด โดยการประดิษฐ์อ่างภาชนะรักษ์น้าขึ้นมา เพื่อแก้ปัญหาดังที่กล่าวมาหลักการสร้างอ่างล้างภาชนะรักษ์น้า คือ สร้างอ่างล้างภาชนะแล้วต่อท่อกับถาดรับน้าจานวน 7 ใบ โดย ภายในถาดจะบรรจุวัสดุกรองน้าอย่างง่ายๆ จากนั้นทดลองโดยนาภาชนะที่เปื้อนมาล้าง แล้วตรวจสอบคุณภาพน้า โดยสังเกต ลักษณะของน้าทางกายภาพ (สี, กลิ่น, ลักษณะทั่วไป) วิเคราะห์หาปริมาณไขมันของน้า โดยการตรวจสอบก่อนผ่านเครื่องกรองน้า และหลังจากกรองน้าแล้วมาเปรียบเทียบผลที่ได้พบว่าน้าก่อนกรองมีลักษณะ ขุ่นขาวน้าหลังกรอง ลักษณะขุ่นเล็กน้อย ค่อนข้างใส ทดสอบโปรตีนน้าก่อนกรอง มีตะกอนสีคล้า ประมาณ 1/3 ของหลอดทดลองน้าหลังกรองมีตะกอนสีขาว ค่อนข้างขุ่นทดสอบ น้าตาลน้าก่อนกรอง มีตะกอนสีเหลืองน้าตาลเข้มน้าหลังกรองมีตะกอนสีเหลืองน้าตาลทดสอบไอโอดีนก่อนกรองและหลังกรองไม่ พบแป้งทดสอบไขมันก่อนกรอง 44.88 mg KOH/g sample หลังกรอง22.44 mg KOH/g sample สรุปได้ว่า น้าที่ผ่านการ กรอง มีลักษณะของน้าดีกว่า น้าที่ไม่ผ่านการกรอง ตัวอย่างน้าที่ผ่านการกรองด้วยอ่างล้างภาชนะรักษ์น้า ช่วยกรองน้าล้างภาชนะ ให้สะอาดและลดปริมาณไขมัน ลดปริมาณแป้ง ลดปริมาณน้าตาลลง ลดปริมาณตะกอนและสารแขวนลอยในน้าสภาพน้าใสขึ้น ทาให้ลดมลพิษทางน้าในแม่น้าลาคลองได้น้าที่ผ่านอ่างล้างภาชนะรักษ์น้าจะสะอาดในระดับหนึ่ง คือ ลดปริมาณไขมัน ลดปริมาณ แป้ง ลดปริมาณน้าตาลลง ลดปริมาณตะกอน และสารแขวนลอยในน้า สภาพน้าใสขึ้น ทาให้ลดมลพิษของน้าในแม่น้าลาคลองได้
๖๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กระถำงต้นไม้จำกกระดำษรีไซเคิล สุทิวัส เต่ำทองคำ , ฐิติมำ อ้นเอี่ยม และศรีวรรณ ศิริขันธ์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ศิริกุล ธูปแพ โรงเรียนอัมพวันวิทยาลัย อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10
บทคัดย่อ เนื่องจากในอดีตเทคโนโลยีต่างๆ ยังไม่เจริญก้าวหน้า กระดาษยังมีการใช้น้อย แต่ในปัจจุบันประชากรมีจานวนมากขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีต่างๆ มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว จึงทาให้การใช้กระดาษมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีการใช้กระดาษ อย่างฟุ่มเฟือยโดยไม่รู้ถึงคุณค่าของกระดาษนั้น จึงมีการรณรงค์ให้ใช้กระดาษอย่างคุ้มค่าทั้งนี้เพื่อให้เกิดการสูญเสียของทรัพยากรที่ มีอยู่เท่าที่จาเป็น กลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความคิดที่จะนาเอากระดาษชนิดต่าง ๆ เช่น กระดาษลัง กระดาษหนังสือพิมพ์ ฯลฯ มา ทดลองทาเป็นกระถางรีไซเคิล เพื่อให้เกิดประโยชน์สู งสุดในการใช้กระดาษเหล่านั้น และนอกจากนี้การปลูกต้นไม้ยังเป็นการเพิ่ม ความร่มรื่น ช่วยสร้า งบรรยากาศที่ดีให้กั บสิ่งแวดล้ อมของเรา ช่วยเพิ่ม ก๊าซออกซิ เจนและลดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในชั้ น บรรยากาศของโลกของเราอีกด้วย ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงดาเนินการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องกระถางต้นไม้จากกระดาษ รีไซเคิลช่วยลดภาวะโลกร้อน โดยมีจุดประสงค์เพื่อที่จะศึกษาวิธีการทากระถางจากกระดาษชนิดต่างๆ โดยใช้วิธีการแบบเปเปอร์ มาเช่เพื่อที่จะช่ วยลดปริมาณของขยะจาพวกกระดาษ เป็นการช่วยลดภาวะโลกร้อน และสนับสนุนการปลูก ต้นไม้ เพื่อเพิ่ ม ออกซิเจนในสถานที่ต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างชีวิตชีวาและเพิ่มบรรยากาศที่ดีให้กับห้องหรือสถานที่ต่างๆเพื่อเป็นการสร้าง ผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเหมาะสม และคุณภาพดี ทนทาน เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของผู้ทางานออฟฟิศ จากการทดลองพบว่ากระถางจาก กระดาษ A4 500 กรัม จะมีความทนทานน้อยกว่ากระดาษลังเล็กน้อย รูปแบบของกระถางคือเนื้อกระดาษเกาะติดกันแน่น แต่น้อย กว่ากระดาษสาและมีลักษณะของเนื้อกระดาษคือมีเนื้อเรียบและหนากว่ากระดาษหนังสือพิมพ์ คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 85 เปอร์เซ็นต์ กระถางจากกระดาษลัง 500 กรัม จะมีความทนทานน้อยกว่ากระดาษสาเล็กน้อย รู ปแบบของกระถาง คือ เนื้อกระดาษติดกันได้ แน่นและมีลักษณะของเนื้อกระดาษ คือมีเนื้อหยาบและหนากว่ากระดาษทุกชนิด คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 75 เปอร์เซ็นต์ กระถางจาก กระดาษสา 500 กรัม จะมีความทนทานและใช้งานได้ดีที่สุด รูปแบบของกระถางคือเนื้อกระดาษติดกันได้แน่นกว่ากระดาษลัง และ มีลักษณะของเนื้อกระดาษ คือมีเนื้อหยาบและหนากว่ากระดาษ A4 คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 80 เปอร์เซ็นต์ กระถางจากกระดาษ หนังสือพิมพ์ 500 กรัม จะมีความทนทานน้อยที่สุด รูปแบบของกระถาง คือ เนื้อกระดาษเกาะติดกันได้ดีที่สุดและมีลักษณะของ เนื้อกระดาษ คือมีเนื้อเรียบและบางที่สุด คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 90 เปอร์เซ็นต์
๖๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
มหัศจรรย์น้ำมันมะพร้ำวสกัดร้อนสูตรโบรำณ ณัฐชำภัทร อินำลำ , นิโลบล สงวนขำ และสุทัตตำ ขำนพคุณ ครูที่ปรึกษำ ศิริกุล ธูปแพ โรงเรียนอัมพวันวิทยาลัย อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10
บทคัดย่อ เนื่องจากในท้องถิ่นของข้าพเจ้า ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการทามะพร้าวเป็นจานวนมาก ซึ่งมะพร้าวสามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน อาทิ เช่น ลาต้น ใบ ผล ราก เป็นต้น มะพร้าวเป็นส่วนที่ทารายได้ให้แก่ท้องถิ่นของข้าพเจ้าเป็นอย่าง มาก ระยะเวลาในการเจริญเติบโตของต้นมะพร้าวจะต้องใช้เวลานาน แต่มะพร้าวมีการเจริญเติบโตอย่างง่ายดาย ไม่จาเป็นต้อง ดูแล หรือรดน้าพรวนดินให้มันมากนัก สภาพดินและภูมิอากาศก็เหมาะสมในการปลูกและการดูแล กลุ่ มของข้าพเจ้าจึงได้นา มะพร้าวมาดัดแปลงซึ่งจะนาส่วนของผลมาคั้นเป็นกะทิ และนามาผ่านกระบวนการการสกัดร้อนแบบสูตรโบราณ เพื่อนามาใช้ ประโยชน์ต่างๆ อาทิ เช่น นามาบารุงผิวพรรณ บารุงเส้นผม บารุงฟัน ประกอบอาหาร ฯลฯ เป็นต้น น้ามันมะพร้าวยังสามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้อีกมากมายและ การศึกษาการทาน้ามันมะพร้าวสกัดร้อนในครั้งนี้ยังสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของ น้ามันมะพร้าวที่ได้จากการสกัดร้อนและการสกัดเย็น ทาให้เข้าใจถึงคุณสมบัติของน้ามันมะพร้าวและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากน้ามัน มะพร้าว ซึ่งน้ามันมะพร้าวสกัดร้อนสูตรโบราณสูตร 1 ดีที่สุด รองลงมาน้ามันมะพร้าวสกัดร้อนสูตรโบราณสูตร 3 น้ามันมะพร้าว สกัดร้อนสูตรโบราณสูตร 2 ตามลาดับ น้ามันมะพร้าวสกัดร้อนสูตรโบราณสูตรที่ 1 อุณหภูมิที่ใช้ในการเคี่ยวมะพร้าว 30 – 40 องศาเซลเซียส ปริมาตรความเข้มข้นของน้ามันมะพร้าว คือ 260 cc มีค่า pH ของน้ามันมะพร้าว คือ 8.4 กลิ่นของน้ามันมะพร้าว คือ กลิ่นหอมของน้ามันมะพร้าวมีความเข้มข้นมาก และมีผู้ใช้น้ามันมะพร้าว จานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 90 น้ามันมะพร้าวสกัด ร้อนสูตรโบราณสูตรที่ 2 อุณหภูมิที่ใช้ในการเคี่ยวมะพร้าว 30 – 40 องศาเซลเซียส ปริมาตรความเข้มข้นของน้ามันมะพร้ าว คือ 230 cc มีค่า pH ของน้ามันมะพร้าว คือ 8.3 กลิ่นของน้ามันมะพร้าว คือ กลิ่นหอมของมะพร้าวมีความเข้มข้นปานกลาง และมีผู้ใช้ น้ามันมะพร้าว จานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 75 น้ามันมะพร้าวสกัดร้อนสูตรโบราณสูตรที่ 3 อุณหภูมิที่ใช้ในการเคี่ยวมะพร้าว 30 – 40 องศาเซลเซียส ปริมาตรความเข้มข้นของน้ามันมะพร้าว คือ 159 cc มีค่า pH ของน้ามันมะพร้าว คือ 8.2 กลิ่นของน้ามัน มะพร้าว คือ กลิ่นหอมของมะพร้าวมีความเข้มข้นน้อย (กลิ่นอ่อนๆ) และมีผู้ใช้น้ามันมะพร้าว จานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 80 ผลสรุปน้ามันมะพร้าวสกัดร้อนสูตรโบราณสูตร 1 ดีที่สุด รองลงมา น้ามันมะพร้าวสกัดร้อนสูตรโบราณสูตร 3 น้ามันมะพร้าวสกัด ร้อนสูตรโบราณสูตร 2 ตามลาดับ
๖๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เก้ำอี้ปริซึมคุณหนู ชนำนันท์ งำมจรุงจิต, ณิชญำ โชติวิทยำ และนิภำภรณ์ จันทนะโสตถิ์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ยศอำรีย์ รวยธนพำนิช และจิรำวรรณ จันทรแพ โรงเรียนศรัทธาสมุทร อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10
บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานเก้าอี้ปริซึมคุณหนูนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ และนาโปรแกรม GSP (The Geometer’s Sketchpad) มาประยุกต์ใช้สาหรับการสร้าง และพัฒนาเก้าอี้คุณหนู จากกล่องกระดาษและวัสดุเหลือใช้ในรูปแบบ ใหม่ที่มีประโยชน์มากขึ้น โดยการจัดทาเก้าอี้ในครั้งนี้ได้มีการประยุกต์ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในเรื่องพื้นที่และปริมาตรของ รูปเรขาคณิต 2 มิติ 3 มิติ และทฤษฎีบทพีทาโกรัส ซึ่งผลของการดาเนินงานครั้งนี้ ทาให้ได้เก้าอี้คุณหนูเป็นรูปปริซึมฐานหกเหลี่ยม ที่มีฐานยาวด้านละ 18 เซนติเมตร สูง 33 เซนติเมตร พื้นที่หน้าตัดประมาณ 841 ตารางเซนติเมตร และปริมาตรภายในประมาณ 22,164 ลูกบาศก์เซนติเมตร สามารถรับน้าหนักได้ 40 กิโลกรัม ใช้สาหรับเก็บสิ่งของภายใต้เก้าอี้คุณหนู หรือนาเก้าอี้คุณหนูไปให้ นักเรียนเด็กน้อยได้ใช้นั่งเรียนในห้องเรียน หรือนั่งพักผ่อนได้ และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
๖๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ช็อตแมลงวันโดยใช้ไฟฟ้ำจำกแบตเตอร์รี่ ศรินธร เครือชะเอม, ณัชฐำนันท์ ปั้นทองคำ และลีลนุช สำยสุวรรณะ ครูที่ปรึกษำโครงงำน อภิญญำ บุตรฉุย บทคัดย่อ การศึกษาเครื่องช็อตแมลงวัน โดยใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบเครื่องช็อตไฟฟ้าและหา ประสิทธิภาพของเครื่องช็อตแมลงวันโดยใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอร์รี่ มีวิธีการทดลองดังนี้ นาเหยื่อล่อที่เตรียมไว้ ได้แก่ เนื้อปลาสด และเนื้อกุ้งสดแขวนตะขอบริเวณที่ล่อแมลงวันเพื่อให้แมลงวันนั้นบินเข้ามาในตัวเครื่อง โดยกาหนดทิศทางการดักจับแมลงวันจาก ด้านบนและด้านข้าง หลังจากนั้น นาเครื่องช็อตแมลงวันไปวางในบริเวณที่มีแมลงวันชุกชุม สังเกตและบันทึกผลทุกๆ 15 นาที เป็น เวลา 1 ชั่วโมง เมื่อครบเวลาที่กาหนดให้เปลี่ยนตัวเหยื่อล่อแล้วทาการสังเกตและบันทึกผลทุกๆ 15 นาที ผลการศึกษาพบว่า แบบใช้เหยื่อเป็นเนื้อกุ้งสดที่กาหนดทิศทางการดักจับจากด้านบนมีความเหมาะสมที่สามารถนาไปใช้สาหรับ ดักแมลงวันได้ดีที่สุด เนื่องจากเนื้อกุ้งสดสามารถกระจายกลิ่นได้ดีกว่าเนื้อปลาสด และทิศทางในการดักจับแมลงวันจากด้านบนจะ ช่วยล่อให้แมลงวันบินเข้าหาเหยื่อได้สะดวกกว่าการดักจับแมลงวันจากด้านข้างของเครื่องช็อตแมลงวัน
๖๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๗๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๑๐ ประจวบคีรีขันธ์ (สพม. เขต ๑๐ ประจวบคีรีขันธ์)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๗๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กระดำษทดสอบบอแรกซ์ นทีธร สังข์สุวรรณ, กมลภัทร บุญช่วย และ หทัยภัทร สังข์ประเสริฐ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย อาเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑๐ อาเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ๗๖๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระดาษทดสอบบอแรกซ์ เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จัดทาขึ้น เนื่องในปัจจุบันนี้ในอาหารหลายชนิด เช่น อาหารดอง หมูสด หมูบด เป็นต้น อาจมีบอแรกซ์เจือปนอยู่ เมื่อดูภายนอกผู้บริโภคไม่ สามารถตรวจสอบได้ว่าอาหารชนิดนั้นมีบอแรกซ์อยู่หรือไม่ ซึ่งหากผู้บริโภคได้ปริมาณมากจะทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย บางครั้งรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ และเมื่อจะทดสอบบอแรกซ์อาจทาได้โดยใช้ชุดทดสอบบอแรกซ์ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ แต่คนทั่วไปอาจจะหาได้ไม่สะดวก กลุ่มของข้าพเจ้าทราบว่าในชุดทดสอบบอแรกซ์จะใช้กระดาษขมิ้นทดสอบ โดยขมิ้นชันเป็นพืช วงศ์ Zingiberaceae ที่มีสารสีเหลืองหรือ Curcumin ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาว่าสารจากพืชวงศ์ Zingiberaceae ชนิดใด สามารถทดสอบบอแรกซ์ได้บ้าง โดยแบ่งการทดลองเป็น 2 ตอน คือ 1) ทดลองได้โดยนาพืชวงศ์ Zingiberaceae ที่สามารถหาได้ง่ายตามทองถิ่น ได้แก่ ข่า ขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย ว่านนางคา กระชายดา ไพล และว่านชักมดลูก มาสกัดโดยใช้แอลกอฮอล์แล้วใช้ตัวดูดซับเป็นกระดาษกรอง จากนั้นเมื่อนากระดาษมาทดสอบกับบอแรกซ์พบว่า เปลี่ยนสีของกระดาษจากสีเหลืองเป็นสีแดง คือ กระดาษจากขมิ้นอ้อย ขมิ้นชัน ว่านนางคา และไพล ส่วนกระดาษจากกระชายดา เปลี่ยนสีจากสีดาเป็นสีเขียวเข้ม ในขณะที่ว่านชักมดลูกและข่าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง 2) นากระดาษทดสอบบอแรกซ์ที่ได้จากขมิ้นอ้อย ว่านนางคา ขมิ้นชัน และไพลมาทดสอบอาหารที่ขายตามท้องตลาด ได้แก่ ไส้ ก รอก ลู ก ชิ้ น หมู เนื้ อ หมู บ ด แหนม และมะม่ ว งดอง โดยเปรี ย บเที ย บกั บ ชุ ด ทดสอบบอแรกซ์ ใ นอาหารของ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผลจากการทดสอบพบว่า กระดาษทดสอบทั้งหมดไม่เกิดการเปลี่ยนสี ซึ่งแสดงว่าในอาหารที่นามา ทดลองนั้นไม่มีบอแรกซ์เจือปนอยู่ คำสำคัญ : Zingiberaceae , Curcumin , บอแรกซ์
๗๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรย้อมนิวเคลียสของเซลล์เยื่อหอม ด้วยสีจำกพืชในท้องถิ่น ฐำปนี แสงสว่ำงเสรีกุล , ตะวันฉำย ลือกำลัง * และกนกวรรณ จันทร์นฤเบศร** ครูที่ปรึกษำโครงงำน ศิริพร วำมะลุน* และกิจจำ กิจหงวน *
โรงเรียนประจวบวิทยาลัย อาเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 77210 ** โรงเรียนบางสะพานวิทยา อาเภอบางสะพาน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 77140
บทคัดย่อ โครงงาน การย้อมนิวเคลียสของเซลล์เยื่อหอมด้วยสีจากพืชในท้องถิ่น เป็นโครงงานประเภทการทดลอง เพื่อศึกษาสีที่ได้ จากการสกัดพืชต่างชนิดกันและการติดสีย้อมของนิวเคลียสในเซลล์เยื่อหอม โดยย้อมด้วยสีที่ได้จากการสกัดพืชต่างชนิดกันจะ สอดคล้องกับเนื้อหาการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กับการทดลองที่ว่าใช้สารละลายไอโอดีนในการย้อมสี นิวเคลียสของเซลล์เยื่อหอม แบ่งการทดลองเป็น 2 ตอน โดยตอนที่ 1 เป็นการเตรียมสารละลาย(สี)จากพืชที่ให้สีธรรมชาติ ผลการทดลอง คือ กระเจี๊ยบให้สีแดง ดอกเฟื่องฟ้าให้สีชมพูเข้ม อัญชันให้สีน้าเงิน และใบเตยให้สีเขียว ส่วนการทดลองตอนที่ 2 เป็นการเตรียมสไลด์ เซลล์เยื่อหอม ผลการทดลอง คือ กระเจี๊ยบสามารถย้อมนิวเคลียสได้และมีความสามรถในการติดสีของนิวเคลียสในเซลล์เยื่อหอม ได้ดีที่สุด รองลงมาคือ ดอกเฟื่องฟ้าและอัญชั นสามารถย้อมนิวเคลียสได้และมีความสามรถในการติดสีของนิวเคลียสในเซลล์เยื่อ หอมเท่ากัน และใบเตยสามารถย้อมนิวเคลียสได้และมีความสามารถในการติดสีของนิวเคลียสในเซลล์เยื่อหอมน้อยที่สุด
๗๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำชนิดของอำหำรปลำที่มีผลต่อกำรเจริญเติบโตของปลำกะพงขำว Lates calcarifer พิชำมญชุ์ เพชรัตนกูล, ชุติกำญจน์ มณเฑียร และพุฒิพันธุ์ สีลนิ้ จี่ ครูที่ปรึกษำโครงำน ดวงใจ ชูตระกูล และอดิเรก มะสิน โรงเรียนประจวบวิทยาลัย อาเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑๐
บทคัดย่อ โครงงานวิ ท ยาศาสตร์ เรื่ อ ง การศึ ก ษาชนิ ด ของอาหารปลาที่ มี ผ ลต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตของปลากะพงขาว Lates calcarifer จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของปลากะพงขาว ซึ่งการเจริญเติบโตของปลานั้นจะสังเกตได้จาก ความยาวน้าหนัก ของปลา และอัตราการรอด โดยมีอาหารปลากิ นพืช อาหารปลากินสัตว์และอาหารปลาที่กินทั้งพืชและสัตว์ เป็นตัวเปรียบเทียบ ซึ่งแต่ละบ่อก็จะแบ่งปลาให้มีจานวนเท่ากัน ดูแลให้อาหารในปริมาณเท่าๆกัน เมื่อผ่านไป 2 สัปดาห์ ก็จะนาปลามาวัดการ เจริญเติบโต และจากการทดลองสรุปได้ว่า ปลากะพงขาวที่เลี้ยงด้วยอาหารปลากินพื ชจะมีการเจริญเติบโตดีที่สุดและปลาที่เลี้ยง ด้วยอาหารกินสัตว์และอาหารกินทั้งพืชและสัตว์ตามมา คำสำคัญ : ปลากะพงขาว , อาหารปลา , น้าหนักปลา , ความยาวปลา และ อัตราการรอดของปลา
๗๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
คีมแกะเปลือกหอยแมลงภู่ ณัฐวุฒิ ยงจิตติกรกุล , คฤหัสถ์ โกมล และ ศรัณย์ มะขำมป้อม ครูที่ปรึกษำโครงงำน วัฒนำ บำระเฮ็ม*, ศิริพร วำนละมุน, กรรณิกำร์ เจริญจำด และ ดวงรัตน์ หลำโอ๊ะ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 อาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานคีมเกะเปลือกหอยแมลงภู่จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาและดาเนินการสร้างโครงงานคีมแกะเปลือกหอยแมลงภู่และเพื่อ ลดระยะเวลาในการแกะเปลือกหอยแมลงภู่ โดยผลิตและออกแบบลักษณะรูปร่างของคีมแกะเปลือกหอยแมลงภู่โดยการดัดแปลง จากคีมปากถ่าง ในการทาปากคีมนั้น ให้เจียโดยใช้เครื่องเจียเหล็กปากให้แหลมเพื่อแกะเปลือกหอยแมลงภู่ โดยการทดลองคือแกะ เปลือกหอยแมลงภู่ 10 ตัวด้วยมือเปล่า จับเวลาในการแกะเปลือกหอยและบันทึกผล แกะเปลือกหอยแหลงภู่ 10 ตัวด้วยคีมแกะ เปลือกหอยแมลงภู่และบันทึกผล และ เปลี่ยนจากแกะเปลือกหอยแหลงภู่ 10 ตัวเป็นแกะเปลือกหอยแมลงภู่ 20 และ 30 ตัว ตามลาดับ ผลที่ได้ก็คือ การใช้คีมแกะเปลือกหอยแมลงภู่แกะได้ช้ากว่าการใช้มือ ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดว่า กลุ่มของข้าพเจ้ายัง ไม่มีความชานาญในการใช้คีมแกะเปลือกหอยแมลงภู่ และคีมแกะหอยแมลงภู่ยังไม่มีวิธีการทาที่ดีพอ คำสำคัญ : เจีย , เครื่องเจียเหล็ก , คีมแกะเปลือกหอยแมลงภู่
๗๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเปรียบเทียบขนำดมุมของครำดที่มีผลต่อกำรครำดหอยตลับ กนกวรรณ สันตำนนท์, น้ำทรำย ทัพพะรังสี และปัถยำ หิรัญ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10
บทคัดย่อ การเปรียบเทียบขนาดมุมของคราดที่มีผลต่อการคราดหอยตลับ โดยการประดิษฐ์คราดเก็บหอย ที่สามารถเก็บหอยได้ จริ ง ซึ่ งหัว คราดจะมี ลั กษณะโค้ ง การวั ด ขนาดของมุ ม นั้ นจะวัด จากความโค้งของซี่ คราดที่น ามาใช้ ส่ วนการตรวจสอบการ เปรียบเทียบขนาดของมุมคราดที่มีผลต่อการคราดหอยตลับ ตรวจสอบโดยการจาลองสถานการณ์ในสถานที่จริง ซึ่งจะแบ่งพื้นที่ใน การตรวจสอบเป็น 3 โซน คือ โซน 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา ตามลาดับ แต่ละโซนนั้นจะแบ่งเป็น 3 ส่วน เพื่อทดสอบ แล้วหาค่าเฉลี่ยจานวนหอยที่ได้จากการคราด หลังจากนั้นเปรียบเทียบผลที่ได้ ซึ่งผลที่ได้คือคราดที่มีขนาดมุม 45 องศา สามารถ คราดหอยได้จานวนเยอะที่สดุ นั่นคือเป็นขนาดมุมที่เหมาะสมในการนามาทาคราด การทาคราดนี้สามารถลดระยะเวลาการหาหอย ที่ใช้ในปัจจุบัน และสะดวกต่อการนาไปใช้อีกด้วย
๗๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ถ่ำนเชื้อเพลงอัดแท่งจำกใบและเหง้ำสับปะรด บัญชำ ธรรมประภำพร, สมฤทัย ศรีรอบรู้ และวรรณนิษำ ศิลปี ครูที่ปรึกษำ อดิเรก มะสิน และนพพร กำแก้ว โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10
บทคัดย่อ ในปัจจุบันเชื้อเพลิงที่ใช้ในบ้านเรือนส่วนมากจะใช้เชื้อเพลิงจากก๊าซหุงต้มในการประกอบอาหาร แต่ก๊าซธรรมชาติไม่ เพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์ในอนาคตอีกทั้งยังมีราคาที่สูงขึ้นทาให้ปัจจุบันหลายคนเริ่มมองหาเชื้อเพลิงจากธรรมชาติเพื่อ รองรับความต้องการของมนุษย์ แต่หากตัดไม้ต้องทาลายทรัพยากรธรรมชาติทาให้เกิดปัญหาจากสิ่งแวดล้อมได้จึงทาให้กลุ่มของ ข้าพเจ้าได้คิดค้นและพัฒนาถ่านจากไม้ทั่วไป เป็นถ่านจากใบและเหง้าสับปะรดซึ่งได้แนวคิดมาจากการทาไร่สับปะรด เพราะใน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีการทาไร่สับปะรดเป็นส่วนมาก พอถึงเวลาเก็บเกี่ยวชาวไร่ก็จะหักสับปะรดและทาการใช้รถไถมาปั่นต้น สับปะรดรุ่นเก่าทิ้งไปและก็จะทาการเผาไร่และเป็นการสิ้นเปลืองมากทาให้หน้าดินเสียและทาให้เกิดภาวะโลกร้อนและเป็นการเพิ่ม มลพิษในอากาศให้มากขึ้นเพราะเหตุนี้กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ทาโครงงานนี้จากการสังเกตข้างต้น กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดว่าจะทาถ่านจากเหง้าและใบสับปะรด และอุปกรณ์สาหรับการทานั้นก็หาได้ง่ ายในครัวเรือน ทา ง่ายประหยัดเวลาช่วยลดภาวะโลกร้อน หลายคนคงคิดว่าเชื้อเพลิงจากสับปะรดทายาก แต่ไม่เลยเพราะเพียงเผาใบและเหง้าของ สับปะรดแล้วนามาตาให้ละเอียด ผสมเข้ากับกาวที่ทามาจากการคนแป้งมันสาปะหลังกับน้าแล้วนามาผสมกับถ่านหลังจากนั้นก็ นาไปใส่เครื่องอัดถ่าน ซึ่งเครื่องอัดถ่านทามาจากการอ๊อคเหล็กจากเศษเหล็กเหลือใช้
๗๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
อุปกรณ์เก็บผลมะม่วง สหชำติ รอดภัย, ศรำณิศร ศรีคำ และพิชญำ ศรีจุฬำงกูล ครูที่ปรึกษำโครงงำน : วิโรจน์ ตั้งวังสกุล และมนสิชำ โคตรตำแสง โรงเรียนประจวบวิทยาลัย อาเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑๐
บทคัดย่อ ประเทศไทยมีผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรอยู่เป็นจานวนมาก หนึ่งในนั้นคือเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้เก็บผล มะม่วงจากต้นเป็นการใช้แรงคนเก็บโดยวิธีการเกี่ยวกับตะขอที่ขั้วมะม่วงแล้วดึง ซึ่งอาจส่งผลให้กิ่งมะม่วงหักหรือช้าได้และจากที่ ผู้จัดทาเคยใช้เครื่องมือนี้ พบว่าต้องมีการเล็งตะขอเกี่ยวกับขั้วของมะม่วงทาให้ปวดคอและเสียเวลา หากเก็บจากที่สูงมะม่วงจะตก ลงมาทาให้มะม่วงเกิดความหายขึ้น ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาจึงได้ประดิษฐ์อุปกรณ์เก็บผลมะม่วงที่สามารถลดระยะเวลา ในการเก็บ มะม่วงโดยทดลองเก็บมะม่วงจากอุปกรณ์เก็บมะม่วงที่ประดิษฐ์กับอุปกรณ์เก็บมะม่วงที่มีอยู่แล้ว พบว่าในการเก็บมะม่วงโดยใช้ อุปกรณ์เก็บมะม่วงที่ทางคณะจัดทาจัดทาขึ้นสามารถเก็บมะม่วงได้โดยใช้ระยะเวลาเร็วกว่าและทาให้ผลมะม่วงเกิดรอยช้าน้ อยกว่า อุปกรณ์เก็บมะม่วงที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน คำสำคัญ : อุปกรณ์เก็บมะม่วงที่ประดิษฐ์ขึ้น , อุปกรณ์เก็บมะม่วงที่มีอยู่แล้ว
๗๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๘๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๑๗ จันทบุรี-ตรำด (สพม. เขต ๑๗ จันทบุร-ี ตรำด)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๘๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องห่อผลไม้สไตล์พอเพียง ศุภวิชญ์ บุญช่วย , เกษภำวรรณ อินทร์แก้ว และญำณิศำ ศิลปสำร อำจำรย์ที่ปรึกษำ* วรรดี บุญทวีวรเดช, ดุษฎี อภิบำลศรี และรำศี หรี่จินดำ โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์เครื่องห่อผลไม้ที่สามารถใช้ห่อผลไม้ได้จริง ช่วยลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายแก่ ชาวสวนผลไม้หรือเกษตรกร เช่น การพลัดตกต้นไม้ หรือการได้รับอันตรายจากสัตว์ที่อาศัยอยู่บนต้นไม้ ช่วยลดเวลาในการทางาน และช่วยเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ชาวสวนผลไม้ โดยทาการประดิษฐ์เครื่องห่อผลไม้ขึ้นมาจากวัสดุที่สามารถหาได้ภายใน ท้องถิ่น และมีราคาไม่สูงมาก จากนั้นนาไปทดลองใช้งาน รวมทั้งทาการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทางานระหว่างการใช้ เครื่องห่อผลไม้และการใช้มือห่อในเวลาที่เท่ากัน ผลการดาเนินงานพบว่า การห่อผลไม้ด้วยเครื่องห่อผลไม้สามารถห่อผลไม้ได้ในปริมาณที่มากกว่าการห่อผลไม้ด้วยมือใน เวลาที่เท่ากัน
๘๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ผลของน้ำมะพร้ำวและน้ำคั้นหัวไชเท้ำต่อกำรเจริญเติบโตของถั่วงอก เทียนชัย กุลชำนิธ,ิ สัณห์สิรี จิตต์ธรรม และสุภำวรรณ กองจินดำ อำจำรย์ที่ปรึกษำ* เจนจิรำ สมประโคน, สมศักดิ์ ก๋งอ่อน และศรุตยำ ลุนสะแกวงษ์ โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของน้ามะพร้าว และน้าคั้นหัวไชเท้าซึ่งหาได้ง่ายตามตลาด มีราคาไม่ แพง โดยทาการทดลองศึกษาการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วงอก ที่รดด้วยน้ามะพร้าวและน้าคั้นหัวไชเท้าเปรียบเทียบกับกลุ่ม ควบคุมคือน้าสะอาดในปริมาณที่เท่ากัน ผลการวัดการเจริญเติบโต คือการชั่งน้าหนักและวัดความสูงของถั่วงอก พบว่าน้า มะพร้าว สามารถนามาใช้ในการเร่งการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วงอกได้ดีที่สุด รองลงมาคือน้าสะอาด แต่การทดลองในน้า คั้นหัวไชเท้าผลการทดลองที่ได้กลับพบว่ามีอัตราการงอกและการเจริญเติบโตน้อยกว่าน้าสะอาด แสดงว่า น้าคั้นหัวไชเท้า มีผลยั้บ ยั้งการงอกและการเจริญเติบโตของต้นถั่วงอก
๘๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำจัดสำรพิษตกค้ำงจำกยำฆ่ำแมลงด้วยรำงจืด ผักบุ้ง และ ย่ำนำง ชำนน กมลโกศล, นิชดำ ศักดิ์วรกุล และศุจนิ ันท์ นำคแสง อำจำรย์ที่ปรึกษำ * รมณี จิตนำวสำร, มยุรี บุญแจ้ง และเกษรำภรณ์ สุดเส้นผม โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ ในปัจจุบันนี้พืชผักตามตลาดที่เราซื้อมาบริโภคนั้น ล้วนมีสารพิษจากสารเคมีฆ่าแมลง เจือปนอยู่เนื่องจากการปลูกพืชผัก ของเกษตรกรต้องประสบกับปัญหาแมลงศัตรูพืชที่คอยกัดกินผลผลิตเป็นจานวนมากสารเคมีที่ใช้ในการฆ่าแมลงนอกจากมีฤทธิ์ใน การฆ่าแมลงแล้ว ถ้าสะสมอยู่ในร่างกายของคนเรามากๆเป็นเวลานานๆ จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพทาให้ร่างกายอ่อนแอ ขาดความ ต้านทานโรค โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของรางจืด ผักบุ้ง ย่านาง เพราะหาได้ง่ายตามตลาด มีราคาไม่แพง และ ศึกษาวิธีการนารางจืด ผักบุ้ง และย่านางสามารถนามาใช้ได้จริง โดยทาการทดลองการกาจัดสารพิษของพืชทั้ง 3 ชนิด คือ รางจืด ผักบุ้ง และย่านางในปริมาณที่เท่ากัน และนาผลการทดลองที่ได้มาวิเคราะห์ว่าสารชนิดใดที่กาจัดสารพิษตกค้างได้ดีที่สุด ผลการศึกษาพบว่ารางจืดนั้นสามารถนามาใช้ในการกาจัดสารพิษได้ดีที่มากสุด รองลงมาคือย่านางและผักบุ้ง
๘๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเปรียบเทียบควำมสำมำรถในกำรเพิ่มควำมคงทนของดอกกุหลำบ ระหว่ำงน้ำสะอำด น้ำเชื่อม และวุ้นจำกเปลือกส้มโอ กิตติพงษ์ ปลื้มสำรำญ, ธัญจิรำ เจริญสุข และศุภำพิชญ์ สิงห์พร อำจำรย์ที่ปรึกษำ จันทิมำ แตงทอง, ขวัญใจ งำเจือ และเสำวนีย์ ภู่มณี โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการชะลอความเหี่ยวของดอกกุหลาบ ระหว่างวุ้นจากเปลือก ส้มโอ น้าเชื่อม และน้าสะอาด โดยทาการทดลอง นาดอกกุหลาบที่คัดเลือกมีขนาดและลักษณะใกล้เคียงกัน พันธุ์เดียวกัน นามาแช่ในภาชนะที่ใส่วุ้นจากเปลือกส้มโอ น้าเชื่อม และน้าสะอาด ในปริมาณที่เท่าๆ กัน และใช้ระยะเวลาเท่ากัน ในที่ที่มีแสง อากาศ อุณหภูมิ และความชื้นเหมือนกัน ผลการศึกษาพบว่าในระยะเวลา 1-5 ชั่วโมง สารที่ชะลอการเหี่ยวของดอกกุหลาบได้ดีที่สุดคือ วุ้นจากเปลือกส้มโอ น้าเชื่ อม และน้ าสะอาด ตามล าดับ แต่ใ นระยะเวลา 24 ชั่ว โมง สารที่ชะลอการเหี่ ยวของดอกกุ หลาบได้ดี ที่ สุด คื อ น้าสะอาด น้าเชื่อม และวุ้นจากเปลือกส้มโอ ตามลาดับ
๘๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำกำรเปรียบเทียบผลของน้ำหมักชีวภำพจำกสับปะรดพันธุ์ปัตตำเวีย พันธุ์ตรำดสีทองและน้ำกรดฟอร์มิกที่มีผลต่อกำรแข็งตัวของน้ำยำงพำรำ พลวิชญ์ สอนสำโรง, ปริยำกร เกตุภูเขียว และสิริกร นองเนือง อำจำรย์ที่ปรึกษำ *ปิยะวดี คงกำเนิด, ชูศักดิ์ วังเรียง และจันทิมำ รัตนวำร โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง น้าหมักชีวภาพจากสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวียและพันธุ์ตราดสีทองที่มีผลต่อการแข็งตัวของน้า ยางพารา มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพจากสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวียและพันธุ์ตราดสีทองที่มีผลต่อการ แข็งตัวของน้ายางพารา ว่าสับปะรดพันธุ์ใดที่มีประสิทธิภาพในการทาให้น้ายางพาราดิบแข็งตัวได้เร็วและมีคุณภาพที่ดีแทนการใช้ น้ากรดฟอร์มิกที่มีขายตามท้องตลาดนอกจากจะมีราคาแพงแล้วยังเป็นอันตรายต่อ ผู้ใช้ด้วย โดยการทาโครงงาน คือ นาสับปะรด พันธุ์ปัตตาเวียและพันธุ์ตราดสีทอง มาหั่นเป็นชิ้นๆแล้วใส่ลงในถั งหมัก หมักพร้อมน้าตาลและน้าเปล่าตามอัตราส่วนที่กาหนดไว้ เมื่อถึงระยะเวลาที่กาหนดซึ่งคือ ประมาณ 1 - 2 เดือน ก็นาน้าหมักที่ได้มากรองเอากากออกและนาน้าหมักที่ได้ไปวัดค่า pH และ เปรียบเทียบกันระหว่าง 2 พันธุ์ หลังจากนั้นก็ทาการหาอัตราส่วนการใช้น้ากรดฟอร์มิกกับน้ายางพาราดิบที่ชาวบ้านใช้กันเพื่อ นามาปรับใช้กับการใช้น้ากรดชีวภาพ เมื่อทราบอัตราส่วนแล้วก็ทดลองโดย นาน้ายางพาราดิบใส่ถาด 2 ถาด หลังจากใส่น้ากรด ชีวภาพจากสับปะรดแต่ละพันธุ์ลงไปในแต่ละถาดแล้ว ทาการจับเวลาดูว่าน้ายางพาราดิบของถาดไหนมีการแข็งตัวเร็วกว่ากัน โดย การจับเวลาจะแบ่งออกเป็นช่วง ช่วงละประมาณ 5 นาที หลังจากทาการทดลองซ้า 3 ครั้ง พบว่าสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวียมีผลต่อ การแข็งตัวของน้ายางพาราดิบและมีความเป็นกรดมากกว่าสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง ดังนั้นกรดที่ได้จากน้าหมักชีวภาพจาก สับปะรดสามารถใช้แทนกรดที่ใช้ทาแผ่นยางพาราในท้องตลาดได้และปลอดภัยกว่า
๘๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ผลของสำรเคมีที่มีผลต่อกำรผลิตถ่ำนจำกไม้ยำงพำรำ นวพร ปริยชำติ, วิภำวดี วรรณโชติ และพิรุณทิพย์ สงวณหงษ์ อำจำรย์ที่ปรึกษำ *ปัจฉิมำ อินทะโชติ, สมนึก เจริญสมบัติ และศศิธร บัวพูล โรงเรียนสตรีประเสริฐศิลป์ที่อยู่ 14 ถ. วิวัฒนะ ต. วังกระแจะ อ.เมือง จ.ตราด
บทคัดย่อ ถ่านไม้เป็นพลังงานอีกรูปแบบหนึ่งที่ยังคงอยู่คู่สังคมไทย นอกจากนี้ยังใช้ถ่านช่วยในการดูดซับกลิ่นในตู้เย็น การเผาถ่านจะ ใช้เวลาแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของไม้ที่เป็นวัตถุดิบ กิ่งของยางพาราที่มีขนาดเล็กและมวลเนื้อไม้น้อย การเผาเพื่อทาเป็นถ่านไม้ มักจะไม่ประสบผลสาเร็จสิ่งที่ได้จะเป็นเพียงขี้เถ้า นอกจากนี้สารในชีวิตประจาวันบางชนิด เช่น น้าทะเล ส ารละลายปูนขาว สารละลายน้ากรด สารละลายปูนใส สารละลายน้าส้มสายชู อาจมีผลต่อการเพิ่มมวลของเนื้อไม้ยางพารา ซึ่งมีผลต่อการผลิตถ่าน จากไม้ยางพารา คณะผู้จัดทาจึงต้องการที่จะนากิ่งของยางพารามาเผาทาเป็นถ่าน เพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานอีกทางเลือกที่มีมากใน พื้นที่จังหวัดตราด ถ้าสามารถผลิตถ่านยางพาราได้สาเร็จจะทาให้จังหวัดตราดมีถ่านโดยไม่ต้องบุกรุกทาลายป่าไ ม้และมีแหล่ง พลังงานมากเหลือใช้และสามารถส่งออกสู่ตลาด เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด คณะผู้จัดทาโครงงานจึงมีความสนใจอยากจะศึกษาการผลิตถ่านจากไม้ยางพาราโดยหวังว่าจะเป็นแนวทางในการ แสวงหาแหล่งพลังงานทดแทนจากเศษวัสดุในท้องถิ่นในการศึกษาได้ แบ่งการทดลองออกเป็น2ขั้นตอน คือ 1 วิธีศึกษาจากการ เผาถ่านจากไม้ยางพารา 2 วิธีศึกษาจากผลการใช้สารเคมีในชีวิตประจาวันชนิดต่างๆประกอบด้วย น้าทะเล สารละลายปูนขาว สารละลายน้ากรด สารละลายปูนใส สารละลายน้าส้มสายชูที่มีผลต่อการผลิตถ่านจากไม้ยางพารา ผลการศึกษาพบว่าเมื่อเผาไม้ยางพาราต้องใช้เวลาในการเผา 60 นาที ต่อการเผาถ่าน จานวน 20 ท่อนแต่ถ่านที่ได้ จะกลายเป็นขี้เถ้าบางส่วน เมื่อใช้สารเคมีประกอบด้วยสารละลายปูนใสในอัตราส่วน200 g : น้า 1 ลิตร สารละลายน้าส้มสายชูใน อัตราส่วน 1 ลิตร : น้า 1 ลิตร สารละลายกรดในอัตราส่วน 1 ลิตร : น้า 1 ลิตรสารละลายน้าทะเลบริสุทธิ์ ใช้เวลาในการแช่ 2 วัน ผลปรากฏว่าหลังจากการเผา เหลือถ่าน 50 ,60 ,75 ,80 และที่ไม่ได้แช่ 40 % ตามลาดับ สรุปว่าไม้ยางพาราที่แช่ด้วยน้าทะเล บริสุทธิ์ เหลือถ่านมากที่สุด
๘๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรขจัดครำบสกปรกบนเหรียญจำกน้ำผลไม้ พรกมล โง้วรุ่งเรือง, ณัฐ วงศ์วำนวัฒนำ และชัยวัฒน์ ชวลิตชัยชำญ อำจำรย์ที่ปรึกษำ *สัญรัฐ แพทย์พิทักษ์, สุนิสำ รุ่งเรือง และสิริมำ เขียวขจี โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ โครงงานวิทายาศาสตร์ประเภทการทดลอง เรื่อง การขจัดคราบสกปรกบนเหรียญจากน้าผลไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความเป็นกรด-เบส ของน้าผลไม้ และความสามารถในการขจัดคราบสกปรกบนเหรียญจากน้าผลไม้ โดยในการทดลอง คณะผู้จัดทาได้ใช้ผลไม้ 3 ชนิดคือ มะนาว ส้ม และส้มโอ โดยนาผลไม้ทั้ง 3 ชนิด มาคั้น และกรอง เพื่อนาน้าผลไม้ที่ทั้ง 3 มาทดสอบค่า pH และทดสอบการขจัดคราสกปรกบนเหรียญ ผลการทดลองพบว่า เมื่อนาเหรียญออกมาจากการน้าผลไม้เป็นเวลาทั้งหมด 30 นาที พบว่า เหรียญมีความมันวาวขึ้น จึงสามารถสรุปได้ว่า น้าผลไม้ทั้ง 3 ชนิด ซึ่งคือ น้ามะนาว น้าส้ม และน้าส้ มโอ มีความสามารถในการช่วยขจัดคราบสกปรกบน เหรียญได้
๘๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ผงพอกหน้ำจำกเมล็ดถั่วเขียว กรกมล จุลเจริญ, กำญจน์ มณีทุม และวรรณพร จิตต์นุพงค์ อำจำรย์ที่ปรึกษำ *กัญญำณัฐ อิ่มอุไร, สุรเชษฐ์ แผ้วอำพันธุ์ และปิ่นแก้ว ทวีกสิกรรม โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ เนื่องจากในปัจจุบันมีสถาบันความงามมากมาย ที่คอยให้บริการด้านความงาม ซึ่งมีราคาค่อนข้าง แพง ทาให้เกิดการ สิ้นเปลืองเป็นอย่างมาก ถ้าทาบ่อยครั้งทาให้ผิวบางไวต่อแสงแดด เราจึงมีทางเลือกที่ราคาถูกและไม่เป็นอันตรายให้กับผู้ที่อยาก สวย หน้าใส ไร้สิว แต่มีงบประมาณที่จากัดโดยนาเมล็ดถั่วเขียวซึ่งเป็นธัญพืชที่หาง่ายตามท้องตลาด และถั่วเขียวยังมีคุณสมบัติที่ ช่วยลดรอยหมองคล้า โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกให้กับผู้ที่มีความต้องการอยากจะสวย หน้าเนียนใส ไร้สิว แต่มี งบประมาณทีจ่ ากัด และไม่อยากเสียเงินจานวนมากไปกับสถาบันทางด้านความงามต่างๆ ทางคณะผู้จัดทาจึงได้ผลิตผงพอกหน้า จากเมล็ดถั่วเขียวขึ้น ซึ่งเมล็ดถั่วเขียวเป็นธัญพืชที่หาได้ง่ายตามท้องตลาด มีราคาถูก และมีสรรพคุณต่างๆมากมายที่เป็น ประโยชน์ทางด้านความสวย ความงาม เราจึงนาถั่วเขียวมาปอกเปลือกและบดให้ละเอียดแล้วผสมรวมกับดินสอพอง ซึ่งมี ประสิทธิภาพไม่ต่างจากผงพอกหน้าตามท้องตลาด แต่มีราคาที่ถูกกว่า จากการทดลองจากกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นนักเรียนโรงเรียนตราษตระการคุณได้ผลการทดลองว่า ผงถั่วเขียวพอกหน้ามีส่วนช่วย ในการทาให้ผิวนุ่มและชุ่มชื้นมากขึ้นและยังช่วยผลัดเซลล์ผิวเก่าให้ผิวกระจ่างใสขึ้นอีกด้วย
๙๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเปรียบเทียบประสิทธิภำพของสำรเคลือบจำกวุ้นว่ำนหำงจระเข้และกระเจี้ยบเขียว ในกำรเก็บรักษำกล้วยน้ำว้ำ นันทวัทน์ หำญสมุทร, พัชรพล แพทย์พิทักษ์ และปุณณธิดำ บุญรอดรักษ์ ครูที่ปรึกษำ *ลัดดำวัลย์ ดิ้นประเสริฐ และนัฐพล นพเก้ำ โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ ทางคณะผู้จัดทาได้ทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อศึกษาการยืดอายุของกล้วย ผู้จัดทาจึงคิดว่าจะใช้สมุนไพรไทยในการเคลือบผิว ผลไม้ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาของผลไม้แทนสารเคมี ซึ่งในท้องถิ่นของเรามีสมุนไพรบางชนิดที่มีวุ้น เช่น ว่านหางจระเข้ และ กระเจี๊ยบเขียวที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสามารถที่จะนามาเคลือบผลไม้ได้จึงเกิดโครงงานการเปรียบเทียบประสิทธภาพของสาร เคลือบจากวุ้นว่านหางจระเข้และกระเจี๊ยบเขียวในการเก็บรักษากล้วยน้าว้า ทางคณะผู้จัดทาได้ทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อศึกษาการยืดอายุของกล้วยโดยวุ้นจากว่านหางจระเข้และวุ้นจากกระเจี๊ยบเขียว ว่าชนิดไหนจะสามารถยืดอายุได้มากกว่ากัน โดยเริ่มแรกนาวุ้นว่านหางจระเข้และกระเจี๊ยบออกมา และนาไปเคลือบกล้วย และตั้ง ทิ้งไว้ในสภาวะแวดล้อมเดียวกัน สังเกตและบันทึกผลเป็นตาราง ผลที่ออกมาคือวุ้นของว่านหางจระเข้สามารถยืดอายุได้นานถึง 7 วัน ส่วนกระเจี๊ยบเขียวได้นาน 5 วัน และแบบที่ไม่เคลือบอะไรเลยได้เพียง 3 วัน
๙๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กล้องจุลทรรศน์ขนำดจิ๋ว ภูษิต ถนอมทรัพย์, ธนวรรณ หัชลีฬหำ และจิณณำ พงศำว ครูที่ปรึกษำ *มณีรัตน์ กินนำรัตน์, สำรำญ สุรรัตนำกร และประกรณ์ ยินดีชำติ โรงเรียนตราษตระการคุณ
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ขนาดจิ๋ว เป็นโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อลดค่าใช้จ่ายของโรงเรียนในการจัดซื้ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และเพื่อให้คนทั่วไปสามารถประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ขนาดจิ๋วอย่าง ง่าย ๆ ด้วยตนเองและนาไปใช้ประโยชน์ได้ กล้องจุลทรรศน์นี้ประกอบด้วยเลนส์ สร้างจากการยึดและหลอมเศษแก้ว โดยหลอมแก้ว ให้เป็นเม็ดกลม ซึ่งเรียกว่า "ปมแก้ว" ปมแก้วนี้เปรียบเหมือนเลนส์นูนที่มีความหนามากกาลังขยาย ของเลนส์ปมแก้วจะมีค่าประมาณ 170 เท่า เลนส์ใกล้วัตถุ ของกล้องจุลทรรศน์อย่างง่า ยนี้ ทาจากแท่งแก้วคนสารเคมี นามาหลอมด้วยตะเกียงแก๊ส ให้เป็นปมแก้วที่ใช้ประกอบกล้อง จุลทรรศน์ ส่วนเลนส์ใกล้ตาเป็นเลนส์นูนที่หาซื้อได้หรือถอดออกมาจากอุปกรณ์ที่ชารุดแล้ว ผลการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ขนาดจิ๋ว ปรากฏว่าสามารถมองเห็นเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม เซลล์ลาต้นใบเลี้ยงคู่ ได้ค่อนข้าง ชัด มีความคมชัดเทียบเท่ากล้องจุลทรรศน์ไฟฟ้ากาลังขยาย 40 เท่าและสามารถพกติดตัวและใช้ประกอบการสอนได้อย่างดีใน ระดับ เบื้อ งต้น อี กทั้งราคาก็ถู กมาก และที่ สาคั ญก็คื อเราสามารถนาความรู้จากการเรี ยนวิ ทยาศาสตร์ม าใช้ ประดิษฐ์ กล้อ ง จุลทรรศน์ขนาดจิ๋วใช้เองได้
๙๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรทดสอบคุณภำพน้ำบริเวณคุ้งที่มีแหล่งที่อยู่อำศัยและไม่มีที่อยู่อำศัย ณัฐณิชำ สนัน่ พำนิชกุล, ธัญวลัย ช้ำงแก้วมณี และแสงดำว สัจจำศิริ บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง การทดสอบคุณภาพน้าบริเวณคุ้งที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยและไม่มีที่อยู่อาศัย มีที่มาจาก คณะผู้จัดทาได้ ตระหนักถึงประโยชน์ของ น้า ซึ่งคุณภาพของน้าในแหล่งน้าจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต น้าที่เราใช้กันส่วนใหญ่ เป็นน้าผิวดิน ซึ่งการใช้ประโยชน์โดยไม่ใส่ใจถึงผลกระทบล้วนแต่ทาให้คุณภาพน้าลดลง ทางคณะผู้จัดทาจึงเกิดแนวคิดที่จะทดสอบ คุณภาพน้าบริเวณคุ้งน้าที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยและบริเวณคุ้งน้าที่ไม่มีแหล่งที่อยู่อาศัยเพื่อแสดงถึงผลกระทบจากกิจวัตรประจาวันของ มนุษย์ที่มีต่อแหล่งน้าโดยทาการทดลอง วัดอุณหภูมิน้า ค่าออกซิเจนในน้า ไนโตรเจนในรูปของไนเตรทและไนไตรท์ ค่าความเค็ม ค่าความเป็นกรด-เบส และค่า Alkalinity ของน้า ซึ่งจากการทดลองพบว่า น้าบริเวณคุ้งน้าที่ไม่มีแหล่งที่อยู่อาศัยมีคุณภาพตาม เกณฑ์มาตรฐาน แต่น้าบริเวณคุ้งน้าที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยมีคุณภาพต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน จึงสรุปได้ว่า กิจวัตรประจาวันของมนุษย์มี ผลกระทบต่อคุณภาพของน้าในแหล่งน้า
๙๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำชีววิทยำและนิเวศวิทยำบำงประกำรของปูแสมภูเขำ (Geosesarma krathing) อัญวรรณ ทับดำรำ และภำสินี สมพงษ์ บทคัดย่อ จากการศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาบางประการของปูแสมภูเขา (Geosesarma krathing) พบว่า ปูชนิดนี้มีความ หนาแน่นประชากรเฉลี่ย 7 ตัว/ตารางเมตร และพบการกระจายของปูอยู่บริเวณใกล้ลาธาร โดยปูทมี่ ีขนาดเล็กจะพบใกล้กับแหล่ง น้ามากกว่าขนาดใหญ่ จากตัวอย่างปูที่เก็บได้ทั้งหมด 289 ตัว พบว่าขนาดความกว้างกระดองของปูตัวผู้ที่ใหญ่ที่สุดและเล็กทีส่ ุดคือ 13.19 มิลลิเมตร และ 4.08 มิลลิเมตร ตามลาดับ ส่วนปูตัวเมียขนาดความกว้างกระดองใหญ่ที่สุดและเล็กทีส่ ุดคือ 13.46 มิลลิเมตร และ 4.98 มิลลิเมตร ตามลาดับ จากการสารวจพบเริม่ ปูมีไข่นอกกระดองในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน และ พบว่าไข่ปูจะฟักเป็นตัวอยู่บนจับปิง้ ของปูตัวเมียคล้ายกับปูน้าจืดอื่น ๆ
๙๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำค่ำควำมหนำแน่นของทองคำโดยใช้หลักกำรโมเมนต์ของแรงตำมวิธีกำรของ Shyam Singh พัทธ์พิชญำ พิชญวณิชย์ และนทวรรณ ขุนศรี บทคัดย่อ โครงงานเรื่องการศึกษาค่าความหนาแน่นของทองคาโดยใช้หลักการของโมเมนต์ของแรง ตามวิธีการของ Shyam Singh ในการศึกษาได้แบ่งการทดลองออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ในการทดลองตอนที่ 1 ได้นาวัตถุจานวน 5 ชนิด คือ ทองแดง ทองเหลือง อะลูมิเนียม เหล็ก และทองคาแท้ มาทดลองหาความหนาแน่นตามวิธีการดังกล่าว แล้วนาไปเปรียบเทียบกับค่าความ หนาแน่นมาตรฐานเพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อน ผลการทดลองในตอนที่ 1 ปรากฏว่า ได้ค่าความหนาแน่นของทองแดงเท่ากับ 8.90 g/cm3 มีความคลาดเคลื่อนจากค่ามาตรฐาน 0.64% ความหนาแน่นของทองเหลืองเท่ากับ 8.65 g/cm3 มีความคลาด เคลื่อนจากค่ามาตรฐาน 0.55% ความหนาแน่นของอะลูมิเนียมเท่ากับ 2.85 g/cm3 มีความคลาดเคลื่อนจากค่ามาตรฐาน 5.72% ความหนาแน่นของเหล็กเท่ากับ 7.69 g/cm3 มีความคลาดเคลื่อนจากค่ามาตรฐาน 0.84% และความหนาแน่นของ ทองคาแท้เท่ากับ 17.32 g/cm3 มีค่าความคลาดเคลื่อนจากค่ามาตรฐาน 0.12% ในการทดลองตอนที่ 2 ได้นาทองคาแท้กับ ทองคาผสม มาทาการวัดความหนาแน่นโดยใช้หลักการโมเมนต์ของแรง แล้วเปรียบเทียบค่าความหนาแน่น ผลปรากฏว่าได้ค่า ความหนาแน่นของทองคาผสมเท่ากับ 9.58 g/cm3 เมื่อทาการเปรียบเทียบกับค่าความหนาแน่นในตอนที่ 1 จะพบว่าได้ค่าความ หนาแน่นแตกต่างกัน และในการทดลองตอนที่ 3 เป็นการนาทองคา 90% , 96.5% , 99% ที่มีมวลต่างกันมาทดลองหาความ หนาแน่นตามวิธีการของ Shyam Singh ผลปรากฏว่า ทองคา 90% ที่มีมวล 10.80 g. , 15.10 g. , 15.60 g.มีค่าความหนาแน่น เฉลยเท่ากับ 17.16 g/cm3 มีความคลาดเคลื่อนจากค่าความหนาแน่นมาตรฐานเท่ากับ 11.09% ทองคา 96.5% ที่มีมวล 6.72 g. , 7.60 g. , 15.21 g. มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 18.90 g/cm3 มีความคลาดเคลื่อนจากค่าความหนาแน่น มาตรฐานเท่ากับ 2.07% ทองคา 99% ที่มีมวล 7.80 g., 45.88 g. , 71.00 g. มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 19.25 g/cm3 มีความคลาดเคลื่อนจากค่าความหนาแน่นมาตรฐานเท่ากับ 0.26% จากผลการทดลองทั้งหมดสามารถสรุปได้ว่า วิธีการหาความ หนาแน่นโดยใช้หลักการโมเมนต์ของแรงตามวิธีการของ Shyam Singh เป็นวิธีการที่ใช้หาความหนาแน่นของวัตถุที่เป็นของแข็งได้ ถูกต้องและแม่นยาได้อีกวิธีหนึ่ง และสามารถนาวิธีการนี้ไปทดลองพิสูจน์ได้ว่า ทองคาที่เราใช้ในการซื้อขายเป็นทองคาแท้ หรือ ทองคาที่เกิดจากการปลอมปน และวิธีการนี้สามารถใช้ทาการทดลองจาแนกค่าเปอร์เซ็นต์ของทองคาแท้ที่มีการซื้อขายใน ท้องตลาดออกเป็น ทองคา 90% , 96.5% และ 99% ได้
๙๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๙๖
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๑๘ ชลบุรี (สพม. เขต ๑๘ ชลบุรี)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๙๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เกมทำยใจจำกรหัสแก้ไขข้อผิดพลำด (Error correcting code) พิชชำกร สมงำม, สมิตำ วีระโยธิน, มำนิตำ อินทร์วิเศษ, ปณิตำ มณีนุตร์ และธนัชญำ บุญยะวิบูลย์ โรงเรียนโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ๒๐๑๗๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง เกมทายใจจากรหัสแก้ไขข้อผิดพลาด (Error correcting code) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแก้ปัญหา บางประการเกี่ยวกับรหัสแก้ไขข้อผิดพลาด และสร้างเกมคณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดเกี่ยวกับ รหัสแก้ไขข้อผิดพลาด โดยได้ศึกษา ระบบเลขฐานสอง พาริตี้บิต (Parity bit) และรหัสแก้ไขข้อผิดพลาดชนิดแฮมมิ่งโค้ด (Hamming Code) จากนั้นนามาวิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาการสื่อสารที่ผิดพลาด แล้วสร้างเกมทายวันที่เกิด และเกมทายเดือนเกิด ซึ่งผลการศึกษาค้นคว้าสรุปได้ว่า รหัสแก้ไข ข้อพลาดนั้นสามารถแก้ไขปัญหาการสื่อสารที่ผิดพลาดเพียงหนึ่งตาแหน่งได้ โดยใช้หลักการของแฮมมิ่งโค้ดที่มีการเพิ่มพาริตี้บิต ซึ่ง สามารถคานวณหาตาแหน่งบิตที่ผิดพลาดได้ นอกจากนี้ยังสามารถนาหลักการของแฮมมิ่งโค้ดมาสร้างเป็นเกมทายวันที่เกิด และ เกมทายเดือนเกิด ซึ่งสามารถทายใจได้ถูกต้อง ร้อยละ 100 ทาให้ผู้เล่นนั้นเกิดความสนุกสนาน และสนใจเป็นอย่างมากพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเคยเล่นเกมทายใจแบบโกหกไม่ได้ จานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 46 และไม่เคยเล่นเกมทายใจแบบโกหกไม่ได้ จานวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 54 ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามนั้นเคยเล่นเกมทายใจแบบโกหกได้ จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 และ ไม่เคยเล่นเกมทายใจแบบโกหกได้ จานวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเล่นเกมทายใจจาก รหัสแก้ไขข้อผิดพลาด (Error Correcting Code) ในเรื่องความถูกต้องในการทายวันที่เกิด และเดือนเกิด มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด โดยมี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดคือ 5.00 คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาเป็นเรื่องความน่าสนใจของเกมทายใจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากที่สุด คือ 4.80 และรองลงมาเป็นเรื่องความสนุกสนานของเกมทายใจ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ 4.70 ส่วนที่มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุดคือ กติกาการเล่น เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ 4.40
๙๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ปัจจัยที่มีผลต่อกำรเจริญเติบโตของต้นโกงกำงใบใหญ่ในบริเวณศูนย์ศึกษำธรรมชำติและอนุรักษ์ ป่ำชำยเลนเพื่อกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตำบลเสม็ด และ บริเวณตำบลบำงทรำย ณิชำรีย์ รุจิโรจน์กุล , ศุภิสรำ เศรษฐีพร , ศริยำ เรืองแสง , สมิตำ บุญพิทักษ์ และ รัสมิฐ์ ิตำ ศิริโภค โรงเรียนชลกันยานุกูล อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นโกงกางใบใหญ่ในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณ ตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทราย จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ อนุรักษ์ป่าชายเลนและส่งเสริมการท่องเที่ยวป่าชายเลน โดยมีการจัดทา 4 ขั้นตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการศึกษาลักษณะของดินและตรวจวัดค่า pH ของดินในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิง นิเวศบริเวณ ตาบลเสม็ดจะมีลักษณะดินเป็นดินเลนอ่อน ส่วนลักษณะของดินบริเวณตาบลบางทรายมีลักษณะเป็นดินเลนปนทราย ค่า pH เฉลี่ยที่วัดได้ จากทั้งสองบริเวณ คือ 7.5 และ 7.8 ตามลาดับ ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้ลืบค้นมาสามารถสรุปได้ว่า ค่า pH ของดินในบริเวณ ตาบลบางทราย เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโกงกาง มากกว่าบริเวณตาบลเสม็ด เป็นผลให้ต้นโกงกาง บริเวณตาบลบางทรายจะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบริเวณศูนย์ ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด ตอนที่ 2 ผลการตรวจวัดค่าความเค็มของน้าในบริเวณศูนย์ศึกษา ธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทรายได้ค่าเฉลี่ย 25.5 ppt และ 29.6 ppt ตามลาดับ ซึ่งเมื่อนามาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้สืบค้นมาว่าต้นโกงกางในบริเวณที่มีลักษณะเป็นดินเลนอ่อนจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในน้าที่มีค่า ความเค็ม 15 – 30 ppt และต้นโกงกางในบริเวณที่มีลักษณะเป็นดินเลนปนทรายจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในน้าที่มีค่าความเค็ม 0.5 – 20 ppt เมื่อ เปรียบเทียบค่าความเค็มของน้าของทั้งสองที่ สามารถสรุปได้ว่าต้นโกงกางบริเวณตาบลบางทรายจะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบริเวณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ และอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด ตอนที่ 3 ผลการตรวจวัดค่า pH ของน้าทะเลในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทราย วัดค่า pH เฉลี่ยได้ 7.5 และ 7.8 ตามลาดับ ซึ่งเมื่อนามา วิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้สืบค้นมาว่าต้นโกงกางจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในน้าทะเลที่มีค่า pH ระหว่าง 6.7 – 7.2 เมื่อเปรียบเทียบค่า pH ของน้า ทะเลของทั้งสองพื้นที่สามารถสรุปได้ว่าต้นโกงกางบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ดจะ เจริญเติบโตได้ดีกว่าบริเวณตาบลบางทราย ตอนที่ 4 ผลการตรวจวัดค่าอุณหภูมิของน้าในบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ด และ บริเวณตาบลบางทราย ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 – 6 วัดค่าอุณหภูมิเฉลี่ยได้ 28 °c ส่วนค่าอุณหภูมิของดินในบริเวณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ดและบริเวณตาบลบางทรายตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 – 6 วัดค่าอุณหภูมิ เฉลี่ยได้ 27.1°c และ 28°c ตามลาดับ ซึ่งเมื่อนามาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลที่ได้สืบค้ นมาว่าต้นโกงกางจะเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่มีอุณหภูมิของน้า ทะเล 25°c – 30°c จากผลการศึกษาจะเห็นได้ว่าอุณหภูมิของน้าทะเลของทั้งสองบริเวณมีอุณหภูมิของน้าทะเลที่เท่ากัน และอยู่ในช่วงที่เหมาะสมต่อ การเจริญเติบโตของต้นโกงกาง และต้นโกงกางจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่มีอุณหภูมิดินประมาณ 30°c ซึ่งจากการศึกษาจะเห็นได้ว่าอุณหภูมิ ของดินบริเวณตาบลเสม็ดนั้นมีค่าใกล้เคียงกับอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโกงกางมากกว่าอุณหภูมิของดินในบริเวณตาบลบาง ทราย แต่ค่าอุณหภูมิเฉลี่ยที่วัดได้ของทั้งสองพื้นที่นั้นมีค่า ใกล้เคียงกันมาก จากข้อมูลดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า ต้นโกงกางบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณตาบลเสม็ดมีการเจริญเติบโตได้เท่ากับบริเวณตาบลบางทราย
๑๐๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเปรียบเทียบน้ำหมักชีวภำพจำกเปลือกสัปปะรด และน้ำหมักชีวภำพ จำกส่วนต่ำงๆของกล้วย ต่อกำรเจริญเติบโตของแตงกวำ พิชชำกร สมงำม, สมิตำ วีระโยธิน, มำนิตำ อินทร์วิเศษ, ปณิตำ มณีนุตร์ และธนัชญำ บุญยะวิบูลย์ โรงเรียนธัมมสิริศึกษาสัตหีบ และโรงเรียนสัตหีบวิทยาคม อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ๒๐๑๘๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ การเปรียบเทียบน้าหมักชีวภาพจากเปลือกสัปปะรด และน้าหมักชีวภาพจากส่วนต่างๆของกล้วยต่อการเจริญเติบโตของ แตงกวา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทาน้าหมักชีวภาพจากเปลือกสับปะรด และส่วนต่างๆของกล้วยและศึกษาการเจริญเติบโต ของแตงกวาโดยใช้น้าหมักชีวภาพ โดยนาเปลือกสับปะรด และส่วนต่างๆของกล้วยชนิดละ 500 กรัมที่ได้มาหั่นปั่นให้ละเอียด และ ผสมกับน้าในถังขนาด 4 ลิตร ใส่เชื้อจุลินทรีย์อีเอ็ม 235 มิลลิลิตร , กากน้าตาล 170 มิลลิลิตร และปิดฝาหมักทิ้งไว้ 6 สัปดาห์ วัดค่า pH พบว่าน้าหมักที่ได้จากเปลือกสับปะรดและส่วนต่างๆของกล้วยมีค่า pH เฉลี่ย คือ 5.70 และ 5.80 ตามลาดับ การปลูก แตงกวาโดยปลูกในถาดสาหรับเพาะเมล็ดแตงกวาโดยใส่ดินถาดละ 500 กรัม เพาะเมล็ดแตงกวาหลุมละ 3 - 5 เมล็ด โดยวางเมล็ด 5 แถวๆละ 5 เมล็ด จานวน 25 เมล็ด ลึกลงในดินประมาณ 0.5 เซนติเมตร เขี่ยผิวหน้าดินให้เรียบรดน้าในแต่ถาดปริมาตร ถาดละ 200 มิลลิลิตร ต่อวัน ทุกวันตอนบ่าย เป็นเวลา 1 เดือนก่อน จากนั้นรดน้าที่มีระดับความเข้มข้นของน้าหมักชีวภาพที่แตกต่างกัน พบว่า น้าหนักเฉลี่ยของแตงกวาต่างกัน เมื่อเวลาผ่านไป 5 วันพบว่าชุดควบคุม มีแตงกวาขึ้นน้าหนักเฉลี่ย 14.68 , 13.97 กรัม สาหรับน้าหมักชีวภาพจากเปลือกสับปะรดและส่วนต่างๆของกล้วย อัตราส่ว น 1:100 น้าหนักเฉลี่ย 15.36 , 16.24 กรัม , อัตราส่วน 1:200 น้าหนักเฉลี่ย 19.85 , 18.54 กรัม , อัตราส่วน 1:300 น้าหนักเฉลี่ย 18.19 , 17.84 กรัม , อัตราส่วน 1:400 น้าหนักเฉลี่ย 15.26 , 16.11 กรัม และอัตราส่วน 1:500 น้าหนักเฉลี่ย 17.58 , 18.21 กรัม หลังจากแตงกวามีอายุ 45 วัน วัด ความสูงและชั่งน้าหนักสดหลังการเก็บเกี่ยวผลการทดลองพบว่า น้าหมักชีวภาพที่มีผลต่อการเจริญของแตงกวา คือ ทุกอัตราส่วน ซึ่งความสูงและชั่งน้าหนักสดเฉลี่ยมากกว่าชุดควบคุม แต่ระดับที่เหมาะสมที่สุดคือ การใช้น้าหมักชีวภาพจากเปลือกสับปะร ด 1 มิลลิลิตรต่อน้า 200 มิลลิลิตร เนื่องจากมีน้าหนักเฉลี่ย 19.85 กรัม ส่วนน้าหมักชีวภาพจากส่วนต่างๆของกล้วย 1 มิลลิลิตรต่อน้า 200 มิลลิลิตร เนื่องจากมีน้าหนักเฉลี่ย 18.54 กรัม อัตราส่วนความเข้มข้นทุกอัตราส่วนมีน้าหนักเฉลี่ยสูงกว่าชุดควบคุม
๑๐๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำชนิดของสำรที่ช่วยในกำรปอกเปลือกไข่ ชิติพัทธ์ อุตรำภิรมย์สุข, นนทิรัตน์ พิทยำนุรักษ์, ศุภวิชญ์ ศรีสุภำพ และพชร กิตินิรันดร์กูล โรงเรียนชลราษฏรอารุง อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ การศึกษาชนิดของสารที่ช่วยในการปอกเปลือกไข่ เพื่อศึกษาชนิดของสารที่ช่วยในการปอกเปลือกไข่ วิธีดาเนินการศึกษา โดยนาบีกเกอร์ 4 ใบ ใบที่ 1 ใส่น้าเปล่าปริมาณ 200 มิลลิลิตร ผสมเกลือ 5 กรัม คนให้ละลาย ใบที่ 2 ใส่น้าเปล่าปริมาณ 200 มิลลิลิตร ใส่สารส้ม 5 กรัม คนให้ละลายใบที่ 3 ใส่น้าเปล่าปริมาณ 200 มิลลิลิตร ใส่น้าส้มสายชู 2 ช้อนชาใบที่ 4 ใส่น้าเปล่าอย่าง เดียว ปริมาณ 200 มิลลิลิตร จากนั้นนาไข่ไก่ ใส่ลงในบีกเกอร์ทั้ง 4 ใบ บีกเกอร์ละ 1 ฟอง นาไปต้ม 30 นาที นาไข่ที่ต้มเรียบร้อย แล้ว ลงแช่ในน้าเย็น 5 นาที นาไข่ทั้ง 4 ฟอง มากะเทาะเปลือกเพื่อปอกเปลือกของไข่ไก่ และจดบันทึกการปอกเปลือกไข่แต่ละใบ และนามาเปรียบเทียบโดยการทดลองซ้า 2 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่า เมื่อไข่ที่ต้มด้วยน้าผสมเกลือจะปอกง่าย และผิวของไข่ขาว สะอาด ไข่ขาวมีความเรียบเงาไข่ไม่ติดเปลือก การต้มไข่ที่ใช้น้าผสมสารส้ม ผลที่ได้ผิวเนื้อของไข่ขาวดูเหมือนมีตะกอนติดสีเทาและ ดาติดตามผิวของไข่ขาวเหนียว ไข่ที่ต้มด้วยน้าผสมน้าส้มสายชู ผลการทดลองเปลือกไข่นิ่มมากปอกไข่ได้ง่ายและไข่ขาวจะนิ่ม และ ไข่ที่ต้มด้วยน้าเปล่า ปอกเปลือกไข่ที่ต้มด้วยน้าเปล่านั้นจะปอกเปลือกยากเนื้อของไข่ติดเปลือกไข่มากผิวขรุขระไม่น่ารับประทาน จากการทดลองสรุปได้ว่า สารที่ใช้ในการต้มไข่ให้ปอกเปลือกง่าย คือ น้าส้มสายชู เกลือ สารส้ม และน้าเปล่า ตามลาดับ
๑๐๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำสเปรย์สมุนไพรขจัดกลิ่นอับ ฐิติพัฒน์ สำยนภำ, ปวริศ ฉิมมำรักษ์ , และชยบดิณก์ ไพบูลย์ โรงเรียนดาราสมุทร และ โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ๒๐๑๑๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ เนื่องจากประเทศไทยเป็นที่อยู่ในเขตร้อนชื้น จึงทาให้เกิดกลิ่นอับได้ง่าย โดยเฉพาะบริเวณเท้าซึ่งเกิดจากการหมักตัว ของเหงื่อและแบคทีเรีย คณะผู้จัดทาโครงงานนี้มีความคิดจะซื้อสเปรย์ดับกลิ่นเท้ามาใช้ แต่สเปรย์ที่วางขายตามท้องตลาดทาจา สารเคมี มีราคาแพง และยังทาให้ เกิดแก๊ส CFC2 ในอากาศซึ่งเป็นมลพิษทางอากาศและก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนมากยิ่งขึ้นด้วย คณะผู้จัดทาโครงงานจึงได้ทาการศึกษา และ สร้างสเปรย์สมุนไพรที่สามารถใช้ดับกลิ่นอับขึ้นมา เราต้องการศึกษาวิธีการที่จะขจัด กลิ่นอับด้วยสเปรย์ที่มีส่วนผสมต่างๆ ดังนี้ ใบเตย ตะไคร้หอม ผิวมะกรูด วิธีการทานาสมุนไพรแต่ละชนิดมาต้ม นาน้าที่ได้จากการ ต้มสมุนไพรแต่ละชนิดรอจนเย็นและนาผสมกับ Ethyl Alcohol 70 เปอร์เซ็นต์ ในอัตราส่วน 7:3 และนาบรรจุขวดสเปรย์ จากนั้น ทาการทดลองในชีวิตประจาวันโดยคณะผู้จัดทาโครงงานได้ทาการทดลองกับเพื่อน 3 คนในชั้นเรียนที่ชอบกลิ่นแต่ละกลิ่น ผลก็คือ สเปรย์สามารถดับกลิ่นอับและสร้างกลิ่นหอมให้รองเท้า นอกจากนี้ยังไม่ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศอีกด้วย
๑๐๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำน้ำมะขำมเปียกขจัดครำบไขมัน กัญญำรัตน์ บุญขำ, รัฐนันท์ ทองสดำยุ, ชณิกำ ดียิ่ง และชิษณุชำ ทรงกลิ่น โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ๒๐๑๔๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องมะขามเปียกขจัดคราบไขมัน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขจัดคราบไขมันของน้ามะขามเปียก และเปรียบเทียบอัตราส่วนของน้าต่อมะขามเปียกที่ขจัดคราบไขมันได้ดีที่สุด โดย ตอนที่ 1 นามะขามเปียก 100 กรัม ผสมน้า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร , น้ายาล้างจาน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผสมน้า 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และน้ากลั่น 200 ลูกบาศก์ เซนติเมตร มาทดสอบล้างคราบไขมันบนแผ่นกระเบื้องที่เตรียมไว้อย่างละแผ่น ผลการทดลองพบว่า น้ายาล้างจานมีประสิทธิภาพ ในการล้างคราบไขมันได้ดีที่สดุ รองลงมาคือ น้ามะขามเปียก และน้ากลั่นตามลาดับ จึงสรุปได้ว่า น้ามะขามเปียกสามารถล้างคราบ ไขมันจริงแต่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าน้ายาล้างจาน ตอนที่ 2 เตรียมน้ามะขามเปียก 3 สูตรปริมาณอย่างละ 150 กรัม ในอัตราส่วน ของน้าต่อมะขามเปียกเป็น 1:2 , 1:1 และ 2:1 ตามลาดับ แล้วนาไปทดสอบล้างคราบไขมันบนแผ่นกระเบื้องที่เตรียมไว้อย่างละ แผ่น ผลการทดลองพบว่า กระเบื้องที่ใช้น้ามะขามเปียกที่ มีอัตราส่วน 1:2 ล้าง ยังมีคราบไขมันเหลืออยู่ , อัตราส่วน 1:1 มีคราบ ไขมันเหลืออยู่เล็กน้อย และอัตราส่วน 2:1 ไม่มีคราบไขมันเหลืออยู่เลย จึงสรุปได้ว่า น้ามะขามเปียกที่มีอัตราส่วนของน้าต่อมะขาม เป็น 2:1 มีประสิทธิภาพในการขจัดคราบไขมันได้ดีที่สุด
๑๐๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเปรียบเทียบสำรสกัดจำกใบน้อยหน่ำ ตะไคร้หอม และกะเพรำ ในกำรป้องกันหนอนใยผักในผักกวำงตุ้ง ชมพูนชุ พำดี และ ธัญญรัตน์ ชูศรี โรงเรียนหัวถนนวิทยา อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ๒๐๑๔๐ องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานเรื่ อ ง การเปรี ย บเที ยบสารสกัด จากใบน้ อ ยหน่า ตะไคร้ ห อม และกะเพราในการป้ อ งกั น หนอนใยผั ก ใน ผักกวางตุ้งนี้ทดลองโดยมีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสารสกัดจากใบน้อยหน่า ตะไคร้หอม และ ใบกะเพราในการป้องกันหนอนใย ผักในผักกวางตุ้ง โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 ชุดคือ ชุดที่ 1 ใช้สารสกัดจากใบน้อยหน่า ชุดที่ 2 ใช้ใบตะไคร้หอม ชุดที่ 3 ใช้ใบ กะเพรา และ ชุดที่ 4 ใช้น้าเปล่าเป็นแปลงควบคุม จากการทดลอง ปรากฏว่าสารสกัดจากใบตะไคร้หอมสามารถป้องกันหนอนใย ผักในผักกวางตุ้งได้ดีที่สุด โดยพบหนอนกัดกินเฉลี่ย 4.33 ตัว รองลงมา สารสกัดจากใบน้อยหน่า และใบกะเพรา โดยพบหนอนกัด กินเฉลี่ย 5.33 และ 7.33 ตัว ตามลาดับ และน้าเปล่าสามารถป้องกันหนอนใยผักในผักกวางตุ้งได้น้อยที่สุด โดยพบหนอนกัดกิน เฉลี่ย 12.67 ตัว
๑๐๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำเปรียบเทียบพฤติกรรมลักษณะกำรกินอำหำรของปลำทับทิม ณัฐชำ นีรพัฒนกุล, ปุณณภำ ภัทรทวีภูมิ, อุรชำ ใจกล้ำ, เขมฤทัย เขียมศิริ และเนตรชนก ศรีทอง โรงเรียนชลกันยานุกูล อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมลักษณะการกินอาหารของปลาทับทิม เป็นโครงงานวิจัยที่ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการกินอาหารของปลาทับทิมซึ่งมีลักษณะการกินอาหารแบบพิเศษ (เหมือนปลา แพลงกิ้ง) โดยจะศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะการกินอาหารของปลาทับทิมกับปลาหางนกยูงและปลาสอด โดยใช้ ชนิดอาหารที่แตกต่างกันและศึกษาคุณภาพ (สมบัติ) ของน้าที่มีผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้า โดยตรวจวัดอุณหภูมิ (Temperature) ของน้า ความเป็นกรดเบส (pH) ของน้า และความโปร่งใสของน้า (เซเคดิสก์) เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการนาไป ศึกษาหรือพัฒนาการเลี้ยงดูและการเจริญเติบโตของปลาทับทิม คณะผู้ทดลองจึงได้ศึกษาและทาการวิจัยโครงงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมลักษณะการกินอาหารของ ปลาทับทิม” ทั้งหมด 3 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาและเปรียบเทียบลักษณะการกินอาหารของปลาทับทิมในชนิดอาหารที่แตกต่าง กัน ตอนที่ 2 ศึกษาลักษณะการกินอาหารของปลาสอดและปลาหางนกยูงเพื่อนามาเปรียบเทียบกับลักษณะการกินอาหารของปลา ทับทิม และตอนที่ 3 ศึกษาและเปรียบเทียบอุณหภูมิของน้า ความโปร่งใสของน้า ความเป็นกรด-เบสของน้า ที่ส่งผลต่อลักษณะ การกินอาหารของปลาทับทิม จากผลการทดลองตอนที่ 1 พบว่า เมื่อปลาทับทิมกินตะไคร่น้าจะกินโดยการพลิกตัว (แพลงกิ้ง) แล้ว ค่อยๆกินตะไคร่ซึ่งต่างจากการกินอาหารปลาสาเร็จรูปแบบเม็ดเล็กและขนมปัง ตอนที่ 2 พบว่าเมื่อปลาทับทิมกินตะไคร่น้าจะกิน โดยการพลิกตัว (แพลงกิ้ง) แล้วค่อยๆกินตะไคร่น้า และเมื่ออาหารปลาสาเร็จรูปแบบเม็ดเล็กจะกินในแนวตรงแล้วสามารถกินได้ หมดทั้งเม็ด แตกต่างจากปลาหางนกยูงและปลาสอด ตอนที่ 3 พบว่า ในแต่ละวันปลาทับทิมจะมีลักษณะการกินอาหารที่มีความ แตกต่างกันเพียงเล็กน้อยซึ่งขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้าในแต่ละวัน ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาการทดลองครั้งนี้ คือ มีความรู้ ความเข้าใจในการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการกินอาหารของปลาทับทิมของการกินอาหารแต่ละชนิด และลักษณะการกิน อาหารของปลาทับทิม ปลาหางนกยูง และปลาสอด ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของน้าที่มีผลต่อการดารงชีวิตของปลาทับทิม รวมถึง เป็นประโยชน์ต่อการนาไปศึกษาหรือพัฒนาการเลี้ยงดูและการเจริญเติบโตของปลาทับทิม
๑๐๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
โครงงำนประดิษฐ์ Messenger Robot กิตติภูมิ มั่งคั่ง, วิชัย มีจอ, ชัชชน ชวำลำวร และคุณำธิป แสงกระจ่ำง โรงเรียนชลราษฏรอารุง อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘ อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ๒๐๐๐๐
บทคัดย่อ การศึกษาการประดิษฐ์หุ่นยนต์เดินตามเส้นทางไปสู่เป้าหมาย เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในการประดิษฐ์หุ่นยนต์และ เพื่อเป็นพื้นฐานในการสามารถที่จะประดิษฐ์หุ่นยนต์ Messenger Robot ใช้ในด้านต่างๆต่อไปในอนาคต โดยทาการศึกษาดังนี้ 1) ติดตั้งเซ็นเซอร์ไว้บนตัวหุ่นยนต์แล้วใส่ท่อหดสีดาครอบตัวแอลดีอาร์และแอลอีดี โดยให้ส่วนปลายของท่อหดยาวออกมาเหนือตัว แอลดีอาร์ประมาณ 1-2 มิลลิเมตร และพอดีกับตัวแอลอีดี จากนั้นติดตั้งให้ระยะปลายท่อหดห่างจากพื้นประมาณ 5 - 6 มิลลิเมตร 2) ต่อวงจรบนโปรโตบอร์ด 3) เมื่อจ่ายพลังงานจากแบตเตอรี่เข้าวงจรจะสังเกตเห็นว่าเมื่อเซ็นเซอร์ทั้ง 2 ตัวของหุ่นยนต์วางคร่อม เส้นสีดาบนพื้นขาวจะทาให้หุ่นยนต์เดินตรง แต่เมื่อเส้นบนพื้นโค้งไปทางซ้าย เซนเซอร์จะตรวจจับสีดา และควบคุมให้หุ่นยนต์เลี้ยว ซ้ายตามเส้นนั้น และเมื่อเส้นบนพื้นโค้งไปทางขวา เซนเซอร์ก็จะตรวจจับเส้น และควบคุมให้หุ่นยนต์เลี้ยวขวาตามเส้นด้วย และที่ จุดสิ้นสุดหรือเป้าหมายปลายทางของเส้น เราจะใช้เส้นสีดาวางขวางตั้งฉากกับเส้นเดิมทาให้เซ็นเซอร์ตรวจจับเจอเส้นสีดาทั้ง สอง ด้าน ทาให้หุ่นยนต์หยุดเดินเมื่อถึงที่หมาย 4) สังเกตการทางานของมอเตอร์ ในช่วงเซนเซอร์ตรวจจับพื้นสีดา และ ช่วงที่เซนเซอร์ ตรวจจับพื้นสีดาและช่วงที่เซนเซอร์ตรวจจับพื้นสีขาวแล้วบันทึกผลการทดลอง ผลการศึกษาพบว่าหุ่นยนต์มีความสามารถในการ เดินตามเส้นสีดาแต่อาจจะมีประสิทธิภาพไม่เทียบเท่ามนุษย์ จากการทดลองสรุปว่า หุ่นยนต์ที่ประดิษฐ์มีความสามารถในการส่ง เอกสาร แต่อาจจะต้องพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและต่อยอดต่อไปในอนาคต
๑๐๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๐๘
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๔๒ อุทัยธำนี (สพม. เขต ๔๒ อุทัยธำนี)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๑๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เปลือกผลไม้ชะลอกำรเสื่อมสภำพของอำหำร ธนัชชำ ศักดิ์แสง, วงศ์ศิยำ เพียรธัญกรณ์ และเอมิกำ พูนวัฒนำนุกูล โรงเรียนอุทัยวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ การเสื่อมสภาพของอาหารส่วนใหญ่มักเกิดจากจุลินทรีย์ วิธีการแก้ปัญหาในปัจจุบัน คือ ใช้สารกันบูดหรือสารกันราใส่ ลงในเนื้อสัตว์และอาหารเพื่อให้สามารถเก็บไว้ได้นานมากยิ่งขึ้น สารเคมีเหล่านี้ก่อให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค จาก การศึกษาค้นคว้าผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรพบว่า เปลือกมังคุดและเปลือกมะม่วงมีฤทธิ์ในการต้านจุลินทรีย์ได้ สูงกว่า เปลือกผลไม้ชนิดอื่น และเปลือกมะม่วงสามารถยืดอายุการเสือ่ มสภาพของอาหาร และเนื้อสัตว์ได้ซึ่งสามารถนาเปลือกมะม่วงมาใช้ แทนสารกันบูดได้ กลุ่มผู้จัดทาโครงงานจึงได้ทาการทดลองโดยนาเปลือกมังคุดและเปลือกมะม่วงผสมลงในอาหารและ ชุบ เนื้อสัตว์ ผลจากการทดลองพบว่า เปลือกมะม่วงช่วยชะลอการเสื่อมสภาพของอาหารและเนื้อสัตว์ได้ดีกว่าเปลือกมังคุด คำสำคัญ : เปลือกผลไม้ การเสือ่ มสภาพอาหาร สารกันบูด สารกันรา
๑๑๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
น้ำมันหอมระเหยจำกมะกรูดลบรอยหมึกปำกกำเคมีแบบถำวร กวิน บุญนิล, คงนิธิ จันทวงษ์ และฤตนน วงศ์มิตรวำที โรงเรียนอุทัยวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาผลของการใช้น้ามันหอมระเหยจากมะกรูดลบรอยหมึกปากกา เคมีแบบถาวร โดยเปรียบเทียบกับแอลกอฮอล์ น้า น้ามะกรูดคั้น น้าผสมกับผงซักฟอก และน้าผสมกับ น้ายาล้างจาน ตัวแปรที่ ทาการศึกษา คือ ผลของการลบรอยหมึกปากกาเคมีแบบถาวรของตัวทาละลายชนิดต่างๆ การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลบหมึกของปากกาเคมีแบบถาวรของน้ามันหอมระเหยจากมะกรูด แอลกอฮอล์ น้า น้ามะกรูดคั้น น้าผสมกับผงซักฟอก และน้าผสมกับน้ายาล้างจาน จากผลการทดลองพบว่าผลการลบรอยหมึกปากกาแบบถาวร เรียงจากมากไปน้อยคือ แอลกอฮอล์ น้ามะกรูด น้าผสมผงซักฟอก และน้าผสมน้ายาล้างจาน ส่วนน้าไม่สามารถลบรอยหมึกได้ ตอนที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพในการลบหมึกของปากกาเคมีแบบถาวรของน้ามันหอมระเหยจากมะกรูดโดยการผสมกับน้า ผงซักฟอกและน้ายาล้างจาน ในอัตราส่วนการผสมของน้ามันหอมระเหยจากมะกรูดต่อน้าผงซักฟอก, น้ายาล้างจาน คือ 1 : 1, 1 : 2, 1 : 3, 1 : 4, 1 : 5 ตามลาดับ และอัตราส่วนการผสมของน้าผงซักฟอก, น้ายาล้างจานต่อน้ามันหอมระเหยจาก มะกรูด คือ 1 : 1, 1 : 2, 1 : 3, 1 : 4, 1 : 5 ตามลาดับ จากการทดลองพบว่าอัตราส่วนของน้ามันหอมระเหยจาก มะกรูดผสมกับน้ายาล้างจานในอัตราส่วน 1 : 2 มีประสิทธิภาพในการลบรอยหมึกจากปากกาได้มากที่สุด จากผลการทดลอง สามารถสรุปได้ว่าในน้ามันหอมระเหยของมะกรูดมีคุณสมบัติเป็นตัวทาละลาย และน้ายาล้างจานมีคุณสมบัติในการฟอกล้าง จึงทา ให้มีประสิทธิภาพในการลบรอยหมึกของปากกาเคมีแบบถาวรได้ดีที่สุด คำสำคัญ : น้ามันหอมระเหย รอยหมึกถาวร มะกรูด ปากกาเคมี
๑๑๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เทียนหอมสมุนไพร (Aloma Herb Candle) ประภำศิริ สุจริต, ชนำนันท์ วงศ์รอด และรวิศรำ สิทธิชัย โรงเรียนอุทัยวิทยาคม อาเภอเมืองอุทยั ธานี ๖๑๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงาน “เทียนหอมสมุนไพร” เป็นโครงงานที่ศึกษาในเรื่อง อุณหภูมิและปริมาณที่ดีที่สุดที่มีผลต่อเทียน ระยะเวลาใน การหลอมละลายเมื่อเราผสมสมุนไพรในแต่ละชนิด และการสารวจความพึงพอใจในเทียนหอมแต่ละชนิด โดยจะมีสมุนไพร ๔ ชนิด ที่นามาใช้ในการทดลองนี้ คือ ใบเตย กุหลาบ ผิวมะกรูด และกากกาแฟ โดยการศึกษาจะแบ่งออกเป็น 1 ขั้นตอนตามจุดมุ่งหมาย ของการทดลอง ขั้นตอนที่ 1 ในการศึกษาอุณหภูมิที่ดีที่สุด โดยจะผลิตตัวเทียนที่ใช้อุณหภูมิที่กาหนดไว้ คือ 100 90 และ 80 องศาเซลเซียส แล้วนาไปทดสอบจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างไว้จานวน 20 คน เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้วเราจึงนาเทียนหอมในแต่ละชนิด ให้กลุ่มตัวอย่างทดสอบแล้วโดยการทดสอบ 1 ชนิดแล้วพักเป็นเวลา 30 นาทีแล้วจึงทดสอบต่อในเทียนอุณหภูมิต่อไป เมื่อทดสอบ ครบหมดแล้วจึงกรอกแบบประเมินความพึงพอใจแล้ว เมื่อได้ผลการประเมินความพึงพอใจครบแล้วจึงนามาวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 ในการศึกษาปริมาณที่ดีที่สุด โดยจะผลิตตัวเทียนที่ใช้ปริมาณสมุนไพรที่กาหนดไว้ คือ 10 กรัม, 20 กรัม และ 30 กรัม แล้วนาไปทดสอบจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จานวน 20 คน เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้วเราจึงนาเทียนหอมในแต่ ละปริมาณให้กลุ่มตัวอย่างทดสอบแล้วโดยการทดสอบ 1 ชนิดแล้วพักเป็นเวลา 30 นาทีแล้วจึงทดสอบต่อในเทียนอุณหภูมิต่อไป เมื่อทดสอบครบหมดแล้วจึงกรอกแบบประเมินความพึงพอใจแล้ว เมื่อได้ผลการประเมินความพึงพอใจครบแล้วจึงนามาวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเช่นเดียวกับขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 ทดสอบระยะเวลาในการหลอมละลายเทียนในแต่ละชนิด โดยวิธีการทดลอง คือ นาเทียนในแต่ละชนิดจุดในเวลาที่พร้อมกันและจับเวลาตั้งแต่เริ่มจุดจนถึงเวลาที่เทียนหลอมละลายจนเทียน ดับไปแล้วจึงจดบันทึกผลการทดลอง และขั้นตอนที่ 4 ประเมินความพึงพอใจของเทียนแต่ละชนิด โดยวิธีการนาเทียนไปให้กลุ่ม ตัวอย่าง จานวน 20 คน (กลุ่มเดิมกับขั้นตอนที่ 1 และ 2 ) ทดสอบ โดยวิธีการนาเทียนไปให้กลุ่มตัวอย่างทดสอบแล้วพักไว้ 30 นาที จึงนาเทียนชนิดต่อไปให้ทดสอบ เพื่อลดการผิดพลาด เมื่อสอบถามครบแล้วจึงนามาวิเคราะห์เป็นค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า อุณหภูมิที่ดีที่สุด คือ อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส ใบเตย และกาแฟมีกลิ่นที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ 4.85 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 0.36 ผลการทดลองต่อไป พบว่า ปริมาณที่ดีที่สุด คือ ปริมาณ 30 กรัม ให้กลิ่นที่มากที่สุด ซึ่งมีค่าเฉลี่ย คือ 4.75 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 0.44 ในผลการทดลองต่อไป พบว่า เทียนหอมจากผิวมะกรูดจะละลายช้ า ที่สุดเนื่องด้วยจากในองค์ประกอบที่ผิวมะกรูดมีธาตุคาร์บอนอยู่จึงทาให้ละลายได้ช้า และเทียนที่ละลายเร็วที่สุด คือ เทียนหอมจาก ใบเตย เนื่องด้วย ใบเตยเป็นพืชที่มีการเผาไหม้ได้เร็วมาก จึงทาให้ละลายได้เร็วที่สุด ผลการทดลองสุดท้าย พบว่า เทียนหอมจาก กากกาแฟ เป็นเทียนหอมที่มีค่านิยมความพึงพอใจสูงที่สุด ซึ่งเห็นได้จาก ค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ 4.55 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 0.74 ดังนั้นจากการทดลองทั้งหมด สามารถสรุปได้ว่า เทียนหอมที่ใช้อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส และมีปริมาณสมุนไพร 30 กรัม จะเป็นเทียนหอมที่มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด คำสำคัญ: เทียนหอมสมุนไพร, ใบเตย, ผิวมะกรูด, กุหลาบ, กากกาแฟ
๑๑๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เกมคณิตศำสตร์ ฉลำดคิดกับ Math Tornado ธนำคม หัสแดง, กุลภรณ์ เปียมำลย์ และญำดำณี เสถียร โรงเรียนหนองฉางวิทยา อาเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี ๖๑๑๑๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ เกมคณิตศาสตร์ ฉลาดคิดกับ Math Tornado จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพการใช้ทักษะกระบวนในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ และเพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีในวิชาคณิตศาสตร์มากขึ้น เนื่องจากวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ต้องฝึกฝนบ่อย และ จาเป็นต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น การคานวณราคาสินค้า เป็นต้น จากการศึกษาค้นคว้าเกมคณิตศาสตร์เป็นสื่อการเรียนการ สอนที่มีผลสัมฤทธิ์ดียิ่ง เกมคณิตศาสตร์ ฉลาดคิด Math Tornado จึงเป็นเกมที่สามารถเล่นได้หลายคน มีลักษณะเป็นการ์ดรูป สามเหลี่ยมหน้าจั่วจานวน 123 ใบ มี 4 สี ได้แก่ เขียว, แดง, เหลือง และขาว ตัวแปรต้น เกมคณิตศาสตร์ ฉลาดคิดกับ Math Tornado ตัวแปรตาม ศักยภาพการใช้ทักษะกระบวนในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของผู้เล่น การศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบการ์ดเป็นรูปสามเหลี่ยมในคอมพิวเตอร์ จากนั้นพิมพ์ด้วยกระดาษแข็ง ตัดแปะและเคลือบสติ๊กเกอร์ใส ขั้นตอนที่ 2 ทาแบบประเมินความพึงพอใจ ให้ผู้เล่นได้ประเมินหลังการเล่นเกม ซึ่งผู้ที่ได้เล่นเกมคณิตศาสตร์ ฉลาดคิดกับ Math Tornado โดยรวมภาพรวม นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเล่นเกมคณิตศาสตร์ ฉลาดคิดกับ Math Tornado อยู่ในระดับพึงพอใจ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ปรากฏว่าได้ทบทวนความรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด มีความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น อยู่ใน ระดับมากที่สุด มีความสนุกสนานระหว่างการเล่นเกม อยู่ในระดับมากที่สุด มีความเข้าใจในวิธีการเล่นเกม อยู่ในระดับมาก ได้รู้วิธี คิดหาคาตอบในวิธีอื่นๆ อยู่ในระดับมาก และมีการใช้ทักษะกระบวนการคิด อยู่ในระดับมาก ขั้นตอนที่ 3 ทาแบบทดสอบวัด ศักยภาพการใช้กระบวนการในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ก่อนและหลังการเล่นเกม ให้ผู้เล่นทดสอบก่อนและหลังการเล่นเกม ซึ่งผู้ที่ได้เล่นเกมคณิตศาสตร์ฉลาดคิด กับ Math Tornado โดยรวมภาพรวม นักเรียนมีการพัฒนาศักยภาพการใช้ทักษะกระบวน ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นระบบมากขึ้นกว่าเดิม ในเรื่องของการเชื่อมโยง ความรู้ความสามารถเชิงแนวคิด ความรู้ความ สามรถเชิงกระบวนการ และความรู้ความสามารถในการแก้ปัญหา คำสำคัญ: เกมคณิตศาสตร์, ศักยภาพทางด้านคณิตศาสตร์, ทักษะกระบวนการทางด้านคณิตศาสตร์
๑๑๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรสกัดน้ำมันจำกไขมันปลำดุก ณัฏฐลักษณ์ พรมสอน, พิสมัย สุขะนนตรี และอุษำรัตน์ ศรีโกมล โรงเรียนหนองฉางวิทยา อาเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี ๖๑๑๑๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ การศึกษาการสกัด น้ามันจากไขมันปลาดุกเพื่อใช้บริโภคแทนน้ามันพืช โดยการศึกษาแบ่งออกเป็น ๔ ขั้นตอน คื อ ขั้นตอนที่ ๑ ศึกษาการสกัดน้ามันจากไขมันปลาดุกโดยเปรียบเทียบอุณหภูมิที่ 50 70 และ 100 องศาเซลเซียส ในการสกัด ขั้นตอนที่ ๒ เปรียบเทียบสมุนไพรที่ใช้ดับกลิ่นของน้ามันจากการสกัดไขมันปลาดุก ระหว่างใบพลูและใบเตย ขั้นตอนที่ ๓ เพื่อ วิเคราะห์องค์ประกอบของน้ามันที่ได้จากการสกัดไขมันปลาดุก โดยวิเคราะห์ ค่าความหนาแน่น ค่าความอิ่มตัวซึ่งทดสอบด้วยค่า ไอโอดีน ค่าความเป็นกรดไขมัน ขั้นตอนที่ ๔ เพื่อนาน้ามันที่ได้จากการสกัดไขมันปลาดุกไปบริโภค ผลการทดลองพบว่า ที่ อุณหภูมิ ๑๐๐ องศาเซลเซียส สามารถสกัดน้ามันได้ปริมาณมากที่สุด สมุนไพรที่ใช้ในการดับกลิ่นของน้ามันที่ได้ผลดีที่สุดคือ ใบพลู และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบของน้ามันได้ผลการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยความหนาแน่นของน้ามันคือ ๐.๘๙๔ กรัม / ลูกบาศก์ เซนติเมตร การตรวจสอบไขมันอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว พบว่าเป็นไขมันไม่อิ่มตัว การตรวจสอบค่าความเป็นกรดไขมันคือ ๑.๖๖ โมล สรุปได้ว่า น้ามันจากไขมันปลาดุกสามารถนาไปบริโภคได้ คำสำคัญ : ไขมันปลาดุก น้ามันพืช กรดไขมัน ใบพลู
๑๑๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำเทคนิคกำรทำน้ำหอมจำกดอกลีลำวดี วิไลวรรณ หมื่นแสง โรงเรียนหนองฉางวิทยา อาเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี ๖๑๑๑๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ การศึกษาเทคนิ คการท าน้าหอมจากดอกลีลาวดี เพื่อ ศึกษาน้ามันที่สามารถดู ดซับกลิ่ นของดอกไม้ได้ ดีที่สุด และ เอทิลแอลกอฮอล์ที่มีปริมาณเอทานอลที่เหมาะสม โดยนาดอกลีลาวดีใส่ในขวดให้ได้ 4 ขวดขวดละ 25 ดอก นาสาลีแผ่น จุ่มน้ามัน น้ามันพืช และน้ามันมะกอกไร้สีไร้กลิ่น บีบหมาดๆ อย่าให้น้ามันหยดอย่างละ 5 มิลลิลิตรโดยใส่น้ามันแต่ละประเภทลงอย่างละ ขวด ผูกฟองน้าหรือสาลีโยงไว้เหนือดอกไม้ห่างจากฝาขวด 3 เซนติเมตร อย่าให้ชิ ดดอกไม้เกินไปปิดฝาให้แน่น อย่าให้อากาศเข้า เก็บขวดไว้ น้ามันจะดูดซับกลิ่นของดอกลีลาวดีเป็นเวลา 3 วัน แล้วเปลี่ยนเป็นดอกไม้อีกชุดหนึ่งแล้วเก็บไว้เป็นเวลา 3 วันเช่นกัน น้าฟองน้า หรือสาลีที่ดูดซับกลิ่นดอกลีลาวดีมาบีบใส่ขวดเติมเอทิลแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ และ 95 เปอร์เซ็นต์ลงไป และเขย่า ขวดให้เป็นเนื้อเดียวกันปิดฝาให้สนิทเก็บไว้ 1 เดือน หลังจากนั้นก็นาไปใส่ขวดน้าหอมโดยแบ่งเป็น 2 ประเภทคือน้าหอมที่ได้จาก การดูดซับกลิ่นจากน้ามันมะกอกไร้สีไร้กลิ่น และน้ามันพืชชุดที่ 1 ซึ่งใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 70% และชุดที่ 2 ก็นามาจากการดูดซับ 2 ประเภทเช่นเดียวกับชุดที่1 แตกต่างพียงใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ ทดสอบประสิทธิภาพโดยผู้ทดลอง 10 คนโดยให้ผู้ ทดลองทดลองใช้และลงความเห็นซึ่งในการทดลองน้าหอมแต่ละครั้งให้เว้นระยะเวลาชนิดละ 3 นาที และบันทึกผล ปรากฏว่าน้ามันมะกอกไร้สีไร้กลิ่นที่ใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ ได้ผลดีที่สุดจากความเห็นของผู้ทดลอง 6 คน และรองลงมาคือน้ามันพืชที่ใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ จากความเห็นของผู้ทดลอง 4 คน ส่วนน้ามันมะกอกไร้สีไร้กลิ่นที่ใช้ เอทิลแอลกอฮอล์ 95% และน้ามันพืชที่ใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ไม่มีผู้ที่ลงความเห็นว่ามีกลิ่นของดอกลีลาวดี สรุปว่า น้าหอมที่ได้จากตัวดูดซับน้ามันมะกอกไร้สีไร้กลิ่นที่ใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ได้ประสิทธิภาพดีที่สุด คำสำคัญ: ดอกลีลาวดี, การทาน้าหอม
๑๑๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
หมึกจำกสนิมและใบไม้ ธนภัทร เรืองศิลป์ , พิสิษฐ์ บุญคลอด และทินกฤษ แรงเกษตร์วิท โรงเรียนหนองฉางวิทยา อาเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี ๖๑๑๑๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ หมึกจากสนิมและใบไม้ ได้จักทาคิดเพื่อนาสิ่งที่ไม่มีประโยชน์มาทาให้เกิดประโยชน์ นั่นคือการนาสนิมเหล็กมาผสมรวม กับสารละลายแทนนินที่มีอยู่ในใบไม้ นั่นคือ ใบมันสาปะหลัง ที่มีมากในท้องถิ่น ทาหมึกที่สาหรับเขียนลงบนกระดาษ โดยใช้พู่กัน ในการเขียน และได้เปรียบเทียบหมึกจากสนิมและใบไม้กับหมึกที่มีขายอยู่ในท้องตลาด โดยหมึกจากสนิมเหล็กและใบไม้นั่นจะมีสี น้าตาล ตัวแปรต้น ปริมาตรน้าสนิมเหล็ก ตัวแปรตาม คุณภาพของหมึกจากสนิมและใบไม้ ซึ่งในการทดลองเปรียบเทียบคุณภาพ ของหมึกนั่น แบ่งออกเป็น ๓ ขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑ การทาหมึกจากสนิมและใบไม้ ขั้นตอนที่ ๒ การศึกษาปริมาตรของสารละลายที่ ใช้ในการทาหมึก ขั้นตอนที่ ๓ การเปรียบคุณภาพของหมึกที่ทาขึ้นเองกับหมึกในท้องตลาด ทดลองโดยนาสนิมที่ขูดมาจากปีบ , ตะปู หรือสิ่งที่มีสนิมเกาะอยู่ โดยการใช้ตะไบเหล็ก จานวน 5 กรัม จากนั้นนาสนิมที่ได้มาผสมกับน้าปริมาตร 5 ลูกบาศก์ซนติเมตร หรืออัตราส่วนผสม 1:1 นาใบมันสาปะหลังบดแห้งปริมาตร 50 กรัม มาต้มรวมกับน้าปริมาตร 50 ลูกบาศก์ซนติเมตร เป็น ระยะเวลา 10 นาที กรองให้เหลือแต่ สารละลายแทนนิน 50 ลูกบาศก์ซนติเมตร จากนั้นนา สารละลายแทนนิน 50 ลูกบาศก์ซนติ เมตร มาต้มรวมกับน้าสนิมที่ผสมไว้ เป็นระยะเวลา 15 นาที จากนั้นยกลงใส่พาชนะที่เตรียมไว้แล้วปล่อยทิ้งไว้ เป็นระยะเวลา 2 วัน จะได้สารละลายที่สามารถมาใช้ในการเขียนลงบนกระดาษด้วยพู่กันได้ ในการทดลองที่ 2 นั่นจะมีวิธีการทาเหมือนการทดลองที่ 1 แต่จะเปลี่ยนอัตราส่วนของน้าสนิมจาก 10 ลูกบาศก์ซนติเมตร เป็น 15 ลูกบาศก์ซนติเมตร และ 20 ลูกบาศก์ซนติเมตร ตามลาดับปรากกฎว่า หมึกที่ได้จะความเข้มของสีที่แตกต่างกัน คือ จะมีสีจาง สีเข้ม และสีเข้มมาก ตามลาดับแต่เมื่อเปรียบเทียบ กับหมึกที่ทาขึ้นเองกับหมึกในท้องตลาดนั้น ปรากกฎยังมีคุณภาพหมึกที่ด้อยกว่ามาก คำสำคัญ: น้าสนิม, สารละลายแทนนิน (สิ่งที่ได้จากการนาใบมันสาปะหลังแห้งต้มรวมกับน้าเปล่า), คุณภาพของหมึก (ระยะในการ แห้งของหมึก, ความคงทนของหมึก)
๑๑๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำเปรียบเทียบประสิทธิภำพในกำรกำจัดสนิมจำกน้ำมะนำว น้ำมะกรูด เกลือ และน้ำซำวข้ำว ศิรวิชญ์ เจริญวุฒิ และธัญญำ วงษ์สำธุภำพ โรงเรียนหนองฉางวิทยา อาเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี ๖๑๑๑๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ เนื่องจากปัญหาการเกิดสนิมในโลหะบางชนิด สนิมจะลดประสิทธิภาพการทางานของเหล็ก ทาให้โลหะนั้น ๆ เกิดความ เสียหายและไม่สามารถนามาใช้งานได้ จึงทาให้เกิดแนวคิดในการทาโครงงานเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกาจัด สนิมจากน้ามะนาว น้ามะกรูด เกลือ และน้าซาวข้าวขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหาระดับค่า pH ของน้ามะนาว น้ามะกรูด เกลื อ และน้ าซาวข้ า ว 2) เพื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพการก าจั ด สนิ ม ด้ ว ยน้ ามะนาว น้ ามะกรู ด เกลื อ และน้ าซาวข้ า ว 3) เพื่ อ เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกาจัดสนิม โดยการนาน้ามะนาว น้ามะกรูด เกลือ และน้าซาวข้าวมาจับคู่ผสมกัน ตัวแปรต้น คือ การจับคู่ผสมน้ามะนาว น้ามะกรูด เกลือ และน้าซาวข้าวที่เหมาะสม ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการกาจัดสนิม โดยแบ่งการ ทดลองเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 ศึกษาค่า pH ของน้ามะนาว น้ามะกรูด เกลือ และน้าซาวข้าว ตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพการกาจัด สนิมของน้ามะนาว น้ามะกรูด เกลือ และน้าซาวข้าว และตอนที่ 3 ศึกษาประสิทธิภาพการกาจัดสนิมโดยการนาน้ามะนาว น้า มะกรูด เกลือ และน้าซาวข้าวมาจับคู่ผสมกัน ผลการทดลองพบว่า การผสมมะนาวและเกลือเข้าด้วยกันในอัตราส่วน 1:1 สามารถ กาจัดสนิมได้ดีที่สุด รองลงมาเป็นการผสมมะกรูดและเกลือในอัตราส่วน 1:1 และน้าซาวข้าวถึงแม้จะนามาผสมกับน้ามะนาว น้า มะกรูด หรือเกลือก็มีผลในการกาจัดสนิมน้อยมาก คำสำคัญ : น้ามะนาว, น้ามะกรูด, เกลือ, น้าซาวข้าว, สนิม
๑๑๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรทำอิฐบล็อกจำกเศษวัสดุธรรมชำติ ฐิติมำ สมบัติวงศ์ และปดิวรดำ แป้นสุข โรงเรียนหนองฉางวิทยา อาเภอหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี ๖๑๑๑๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง กาทาอิฐบล็อกจากเศษวัสดุธรรมชาติ จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการทาอิฐบล็อกจากเศษ วัสดุเหลือใช้แทนทราย เนื่องจากอิฐตามท้องตลาดเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของทราย ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณมาก และการนาทรายมาใช้ค่อนข้างยาก จากการศึกษาส่วนผสมของแกลบ แกลบเผา และกากกาแฟ สาหรับการทาอิฐบล็อก พบว่า อิฐบล็อกที่ทาจากแกลบเผามีลักษณะเรียบ เนื้อละเอียดไม่ยุ่ย สีสันสวยงาม ส่วนอิฐ บล็อกที่ทาจากส่วนผสมของแกลบ และกาก กาแฟ มีความยืดหยุ่นมาก ถูกนาแล้วแตกยุ่ย ไม่จับตัว ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน เมื่อได้ส่วนผสมที่ดีที่สุดแล้ว คือแกลบเผา นามา ศึกษาอัตราส่วนความเหมาะสมในการผสมอิฐบล็อกจากเศษวัสดุเหลือใช้ โดยผสมในอัตราส่วนต่างๆกัน คือ ปูน : แกลบเผา 2 : 2 2 : 3 และ 3 : 2 หลังจากที่ได้อิฐบล็อกมาแล้ว ได้นาอิฐบล็อกสูตรต่างๆมาทดสอบในเรื่อง ความทดทานต่อแรงกด เปอร์เซ็นต์การ ดูดซึมน้า และความแข็งแรงในการรับน้าหนัก จากการทดสอบพบว่า อิฐบล็อกทีมีส่วนผสมของปูน : แกลบเผา ในอัตราส่วน 2 : 3 มีความแข็งแรงทนทาน น้าหนัก และรองรั บน้าหนักได้ดีกว่ าอัต ราส่ว นอื่นๆ จากนั้นอิ ฐบล็อ กที่ไ ด้จากอัตราส่วนที่ดีที่สุ ด ไป เปรียบเทียบความแข็งแรงทนทาน กับอิฐบล็อกที่มีส่วนผสมของปูนกับทรายอัตรามาตรฐาน จากการทดสอบคุณภาพการใช้งาน สรุปได้ว่า อิฐบล็อกที่มีส่วนผสม ปูน : แกลบเผา ในอัตราส่วน 2 : 3 มีน้าหนักเบากว่า แข็งแรงกว่า และทนทานใกล้เคียงกับอิฐ บล็อกใกล้เคียงกับอิฐบล็อกที่ทาจากปูนขาวและทรายทั่วไป คำสำคัญ : อิฐบล็อก มาตรฐานอิฐบล็อก ความหนาแน่น เศษวัสดุธรรมชาติ
๑๑๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ถุงดับกลิ่นอเนกประสงค์ ธนภรณ์ บูโกก และ สุทธิวรรณ ท้ำวทอง โรงเรียนห้วยคตพิทยาคม อาเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี 61170 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง “ถุงดับกลิ่นอเนกประสงค์” จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาหาวิธีการในการดับกลิ่นรองเท้า คณะ ผู้จัดทา จึงเลือกศึกษาหาประสิทธิภาพในการดับกลิ่นระหว่างผงถ่านกับสารส้ม และผงถ่านกับผงฟู หาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการ ผลิตถุงดับกลิ่นอเนกประสงค์และศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้ถุงดับกลิ่นอเนกประสงค์ จากการศึกษาโดย แบ่งการทดลองออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของสารดับกลิ่น 2) ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตถุงดับ กลิ่นอเนกประสงค์ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้ถุงดับกลิ่นอเนกประสงค์ จากการศึกษาทดลอง พบว่า การทดลองศึกษาประสิทธิภาพของสารดับกลิ่นจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 10 คน ผง ถ่าน + สารส้ม มีประสิทธิภาพในการดับกลิ่นได้ดีที่สุด จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 70 รองลงมา สารส้ม จานวน 3 คน คิด เป็นร้อยละ 30 อัตราส่วนระหว่าง ผงถ่าน : สารส้ม จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 10 คน เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มากที่สุด คือ 1 : 2 จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมา คือ 1 : 1 และ 2 : 1 จานวน 2 คน คิดเป็นร้อย 20 ความพึงพอใจของ กลุ่มตัวอย่างที่ทดลองใช้ ถุงดับกลิ่นอเนกประสงค์จานวน 30 คน พึงพอใจมาก จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมา ปานกลาง จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ตามลาดับ คำสำคัญ : ถุงดับกลิ่น ผงถ่าย ผงฟู สารส้ม
๑๒๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ลูกแป้งโปรไบโอติก ณัฐวดี เอี่ยมสอำด และจันทิมำ ไวเกษตรกรณ์ โรงเรียนพุทธมงคลวิทยา อาเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๐๐๐ สานักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ลูกแป้งโปรไบโอติก จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและพัฒนาการผลิตลูกแป้ง ที่ บรรจุเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งการศึกษาแบ่งออกเป็น 5 ตอน ตอนที่ 1 ศึกษาสูตรการผลิตลูกแป้งจากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ผลปรากฏว่า สูตรที่ 2 ที่ประกอบด้วย ข้าวเจ้า กระเทียม ข่า ขิง ชะเอม พริกไทย ชนิดละ 3 กรัม และดีปลี 1.3 กรัม ได้ลูก แป้งค่อนข้างดีกว่าสูตรที่ 1 และสูตรที่ 3 ตอนที่ 2 ศึกษาชนิดของแป้งที่ใช้ในการผลิตลูกแป้ง ได้แก่ แป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว และแป้งข้าวกล้องโดยศึกษาจากแป้งสาเร็จรูปและโม่สด ปรากฏว่าลูกแป้งที่ทาจากข้าวเหนียว โม่สด มีลักษณะลูกแป้งดีที่สุด และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.0 รองลงมา คือ แป้งข้าวเจ้าโม่สด มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.66 ส่วนแป้งข้าวเหนียวสาเร็จรูปมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.33 แป้งข้าวเจ้าสาเร็จรูปมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2 และแป้งข้าวกล้องโม่สดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1 ตามลาดับ ตอนที่ 3 ศึกษาอัตราส่วนที่ เหมาะสมในการผลิตลูกแป้ง โดยใช้อัตราส่วนระหว่าง กระเทียม ข่า ขิง ชะเอม พริกไทย และดีปลี ในอัตราส่วนต่างๆ พบว่า ลูก แป้งในสูตรที่ 6 ที่ประกอบด้วย แป้งข้าวเหนียว 250 กรัม กระเทียม ข่า ขิง ชะเอม พริกไทย ชนิดละ 3.5 กรัม และ ดีปลี 1.8 กรัม เป็นอัตราส่วนที่ดีที่สุด ซึ่งมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 5 รองลงมา คือ สูตรที่ 5 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4 สูตรที่ 4 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.66 สูตรที่ 3 และ 9 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3 สูตรที่ 2 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.66 และสูตรที่ 1 , 7 และ 8 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.33 ตามลาดับ ตอนที่ 4 ศึกษาชนิดของจุลินทรีย์ในลูกแป้งข้าวหมากของท้องตลาดและลูกแป้งโปรไบโอติกที่ผลิตขึ้น โดยการนาจุลินทรีย์ของลูกแป้งใน ท้องตลาด และลูกแป้งโปรไบโอติกที่ผลิตขึ้นในสูตรที่ 4 , 5 และ 6 โดยนาไปเลี้ยงในอาหาร Plate count agar ทั้ง 3 สูตร แล้ว นาไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะพบจุลินทรีย์ ประเภท รา แบคทีเรีย และ ยีสต์ ตามลาดับ ตอนที่ ๕ เปรียบเทียบความหวานของ ลูกแป้งในท้องตลาด และลูกแป้งโปรไบโอติกที่ผลิตขึ้นกับลูกแป้งในท้องตลาด ผลปรากฏว่า เมื่อใช้ มวลลูกแป้ง 1 กรัม ต่อ ข้าว เหนียว 250 กรัม ปรากฏว่าข้าวหมากจากลูกแป้งสูตร 6 มีระดับความหวานมากที่สุดมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 48.33 brix รองลงมา คือ ข้าวหมากจากลูกแป้งในท้องตลาด และลูกแป้งสูตร ๕ มีระดับความหวาน เท่ากับ 32.33 brix และสูตรที่ ๔ มีระดับความหวาน เท่ากับ 21.66 brix ตามลาดับ คำสำคัญ : ลูกแป้ง แป้งข้าวหมาก จุลินทรีย์ สมุนไพร
๑๒๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ชุดทดสอบฟอร์มำลีนจำกเปลือกมังคุด สิริศักดิ์ กิจวิทยี, เบญจรัตน์ สุวรรณพยัคฆ์ และเสำวลักษณ์ เอี่ยมมำ โรงเรียนทัพทันอนุสรณ์ อาเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๑๒๐ สางานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
บทคัดย่อ ชุดทดสอบฟอร์มาลีนจากเปลือกมังคุด เพื่อเปรียบเทียบตัวทาละลายที่นามาสกัดสารจากเปลือกมังคุด เพื่อทดสอบ ฟอร์มาลีนที่มีความเข้มข้นต่างกันโดยใช้เปลือกมังคุดที่สกัดด้วยตัวทาละลายที่ต่างกัน เพื่อ ทดสอบฟอร์มาลีนที่มีความเข้มข้น ต่างกันโดยใช้เปลือกมังคุดที่บดเป็นผงละเอียด เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทดสอบฟอร์มาลีนในอาหารจากชุดทดสอบ ฟอร์มาลีนจากเปลือกมังคุด และชุดทดสอบฟอร์มาลีนในอาหาร ตัวแปรต้น สารแทนนินจากเปลือกมังคุด ตัวแปรตามการ เกิดปฏิกิริยากับสารฟอร์มาลีน ตัวแปรควบคุม ปริมาณของอาหารที่นามาทดสอบ ความเข้มข้ นของสารละลายฟอร์มาลีน อุณหภูมิ โดยมีขั้นตอนในการทาดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกตัวทาละลายที่จะสกัดสารแทนนินจากเปลือกมังคุด โดยใช้ตัวทา ละลาย 3 ชนิด คือ น้า เมทานอล และเอทานอล ใช้อัตราส่วน 1 : 2 คือ ผิวของเปลือกมังคุด 1 ส่วน กับ เมทานอล 2 ส่วน และเปลี่ยนตัวทาละลายในการสกัดสารให้ครบทั้ง 3 ชนิด สกัดโดยวิธีการสกัดเย็น นาสารแทนนินจากเปลือกมังคุดที่สกัด จากตัวทาละลายทั้ง 3 ชนิดมาทดสอบการเปลี่ยนสีกับสารละลายฟอร์มาลีน ขั้นตอนที่ 2 ทดสอบสารละลายฟอร์มาลีนในความ เข้มข้นที่ต่างกันโดยใช้ผิวของเปลือกมังคุดที่สกัดจากน้า ผิวของเปลือกมังคุดที่สกัดจากเมทานอล และผิวของเปลือกมังคุดที่ สกัดจากเอทานอล ขั้นตอนที่ 3 ทดสอบสารละลายฟอร์มาลีนในความเข้มข้นที่ต่างกันด้วยผิวจากเปลือกมังคุดที่บดละเอียด ขั้นตอนที่ 4 เปรียบเทียบประสิทธิภาพการทดสอบสารฟอร์มาลีนโดยใช้ชุดสอบฟอร์มาลีนในอาหารกับชุดทดสอบฟอร์มาลีนจาก เปลือกมังคุด โดยทดสอบอาหาร 3 ชนิด คือ ถั่วงอก ขิง และกระชาย จากการทดลองสรุปได้ว่า สารแทนนินที่สกัดจากผิวของ เปลือกมังคุดโดยใช้เมทานอลเกิดปฏิกิริยากับสารละลายฟอร์มาลีนในความเข้มข้นต่าง ๆ ได้ดีที่สุด และชุดทดสอบฟอร์มาลีนจาก เปลือกมังคุดสามารถใช้ทดแทนชุดสอบฟอร์มาลีนในอาหารได้ คำสำคัญ : เปลือกมังคุด, วิธีการสกัดเย็น, ชุดทดสอบฟอร์มาลีนจากเปลือกมังคุด
๑๒๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำวิธีกำรผลิตกระดำษจำกเปลือกต้นกระถิน นันทวุฒิ ชำวดอนคูณ โรงเรียนบ้านไร่วิทยา อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๑๔๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ การศึกษาวิธีการผลิตกระดาษจากเปลือกต้นกระถิน เป็นโครงงานระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้ศึกษาวิธีการทา กระดาษจากเปลือกต้นกระถิน เนื่องจากกระถินนั้น มักขึ้นอยู่ตามข้างถนน ตามรั้วบ้าน ซึ่งบางครั้งก็ทาให้รกบ้านและเมื่อต้นโต แล้วเกิดลมพัดก็อาจทาให้หัก โค่นกิ่งก้านของต้นกระถินถูกตัดทิ้งโดยเปล่าประโยชน์ จึงเกิดแนวคิดที่จะนาต้นกระถินมาใช้ให้เกิด ประโยชน์โดยการนามาทาเป็นกระดาษ จึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นโดยแบ่งการศึกษาเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาวิธีการ เตรียมเยื่อจากเปลือกต้นกระถิน ตอนที่ 2 ศึกษาความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เหมาะสมใช้ในการต้มเยื่อจาก เปลือกต้นกระถิน ตอนที่ 3 ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการต้มเยื่อจากเปลือกต้นกระถิน ซึ่งจากการทดลองพบว่า การเตรียม เยื่อจากเปลือกต้นกระถิน และกระถินแห้ง สามารถทาได้โดยการใช้เปลือกในของต้นกระถินที่ขูดผิวนอกสีน้าตาลออก ซึ่งพบว่า เปลือกต้นกระถินแห้งที่ผ่านการผึ่งลมจนแห้งแล้วสามารถนาไปทาเป็นกระดาษที่มีความเหนียวและความขาวได้ดีกว่าเปลือกต้น กระถินสด และการศึกษาความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เหมาะสมใช้ในการต้มเยื่อจากเปลือกต้นกระถินในการ ต้มเยื่อจากเปลือกต้นกระถินจะต้มให้เดือดในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นร้อยละ 10 เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ล้างน้าให้ โซเดียมไฮดรอกไซด์ออกให้หมด นาไปปั่นให้เส้นใยแตกละเอียด จากนั้นนาเส้นใยลงในพิมพ์ซึ่งแช่ในกะละมัง ใช้มือแตะให้เส้นใย กระจายทั่วทั้งแผ่น ค่อยๆยกขึ้นจากน้านาไปผึ่งลมให้แห้ง แล้วจึงดึงกระดาษออกจากพิมพ์ ก็จะได้กระดาษจากต้นกระถินเป็นที่ เรียบร้อย คำสำคัญ : การผลิตกระดาษ กระถิน
๑๒๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเปรียบเทียบกำรจับตัว : กรณีศึกษำชนิดโฟมต่ำงๆ นำตยำ ศรีวิเชียร โรงเรียนการุ้งวิทยาคม อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๑๘๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอบ้านไร่ จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ การศึกษาการเปรียบเทียบการจับตัว : กรณีศึกษาโฟมชนิดต่างๆเพื่อเปรียบเทียบการจับตัวของโฟมโดยเปรียบเทียบ ระหว่างถ้วยโฟม โฟมเม็ด และตาข่ายโฟมหุ้มผลไม้ เพื่อหาชนิดโฟมที่มีการจับตัวกันได้ดีเหมาะสมที่จะนามาทาพวงกุญแจ ตัวแปร ต้น ชนิดของโฟม ตัวแปรตาม ลักษณะการจับตัวของโฟม ทดลองโดยเทน้ามันลงบีกเกอร์ 50 มิลลิลิตร จานวน 3 ใบ ยกตั้งไฟ พอ น้ามันเดือด ใส่โฟมลงไปในบีกเกอร์ละหนึ่งชนิด คนบีกเกอร์ทั้ง 3 ใบ 2 นาที ยกบีกเกอร์ทั้ง 3 ใบลง ตักใส่แม่พิมพ์พอแข็งตัวจึงแกะ ออก สังเกตลักษณะการจับตัว และทดสอบความแข็งแรงโดยการหย่อนลงพื้นในระดับความสูง 1.5 เมตร 1 เมตร และ 0.5 เมตร และบันทึกผล ผลการศึกษาพบว่า ถ้วยโฟมมีการจับตัวได้ดี แข็งแรง โฟมเม็ดมีการจับตัวกันไม่ดี แตกง่าย และตาข่ายโฟมหุ้ม ผลไม้มีการจับตัวกันไม่ค่อยดี แข็งแรง จากการทดลองสรุปได้ว่า ถ้วยโฟมมีการจับตัวกันได้ดี และแข็งแรงที่สุดเนื่องจากถ้วยโฟมมี ความหนาแน่นมากกว่าโฟมเม็ด และตาข่ายโฟมหุ้มผลไม้จึงทาให้ถ้วยโฟมจับตัวกันได้ดีและแข็งแรง คำสำคัญ : ถ้วยโฟม, โฟมเม็ด, ตาข่ายโฟมหุม้ ผลไม้
๑๒๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
สัตว์ป่ำที่ทำควำมเสียหำยแก่พืชไร่ : กรณีศึกษำพื้นที่ทำกำรเกษตรของเกษตรกรในหมู่บ้ำนซับป่ำพลูใหม่ ตำบลป่ำอ้อ อำเภอลำนสัก จังหวัดอุทัยธำนี นฤมล สังข์แย้ม, พลอย อ่วมมำก และสุภลักษณ์ กุสุโมทย์ โรงเรียนลานสักวิทยา อาเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๑๖๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐
บทคัดย่อ การสารวจสัตว์ป่าที่ลงมาหากินอาหารและทาความเสียหายให้กับพื้นที่ทางการเกษตร ในหมู่บ้านซับป่าพลูใหม่ ต.ป่าอ้อ อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาจานวนสัตว์ป่าที่ลงมาหากินอาหารและทาความเสี ยหายให้กับพื้นที่ทางการเกษตร เพื่อศึกษาชนิดของพืช ในบริเวณพื้นที่การเกษตรที่ได้รับความเสียหายจากสัตว์ป่าที่ลงมากินอาหารในพื้นที่การเกษตรนั้น เพื่อนาผลการศึกษาไปพัฒนาและหา วิธีการป้องกันและแก้ไขความเสียหายของผลผลิตทางการเกษตรที่เกษตรกรได้รับ โดยมีการวางแผนศึกษาและหาข้อมูลในเรื่องที่สนใจ รวมไปถึงทาการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง อาเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งมีสานักงานตั้งอยู่ใกล้กั บบริเวณ ที่ทาการสารวจ สัมภาษณ์เกษตรกรที่อยู่บริเวณชุมชนนั้น พร้อมทั้งเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ดังกล่าว สารวจสัตว์ป่าที่ ลงมากิน อาหารในพื้นที่การเกษตร โดยก าหนดพื้นที่การเกษตรที่ทาการสารวจ จาแนกตามชนิดของพืชได้ 3 ชนิด คือ ไร่มันสาปะหลัง ไร่ ข้าวโพด และนาข้าว จานวนชนิดละ 8,000 ตารางเมตร (5 ไร่) บันทึกข้อมูล สอบถามข้อมูลจากเกษตรกรที่อาศัยและทาการเกษตร บริเวณดังกล่าว จานวน 50 คน โดยใช้แบบสารวจ นาข้อมูลที่ได้มาทาการวิเคราะห์และสรุปผล ผลการสารวจพบว่า มีจานวนสัตว์ป่า 5 ชนิดที่ลงมาหากินอาหารและทาความเสียหายให้กับพื้นที่ทางการเกษตร คือ กวาง กระต่าย เม่น หมูป่า และไก่ป่า จากการสารวจ พื้นที่ทางการเกษตรของไร่ข้าวโพด ไร่มันสาปะหลัง และนาข้าว จานวนชนิดละ 8,000 ตารางเมตร (5 ไร่) พบว่า กวาง ทาความ เสียหายให้กับพื้นที่ทางการเกษตรทั้ง 3 ชนิด คือ ไร่ข้าวโพด ไร่มันสาปะหลัง และนาข้าว มีค่าเฉลี่ย 2,023.33 ตารางเมตร กระต่าย ทา ความเสียหายให้กับพื้นที่ทางการเกษตร 2 ชนิด คือ ไร่ข้าวโพด และไร่มันสาปะหลัง มีค่าเฉลี่ย 1,274 ตารางเมตร เม่น ทาความ เสียหายให้กับพื้นที่ทางการเกษตร 1 ชนิด คือ ไร่ข้าวโพด มีค่าเฉลี่ย 594.66 ตารางเมตร หมูป่า ทาความเสียหายให้กับพื้นที่ ทาง การเกษตร 1 ชนิด คือ ไร่ข้าวโพด มีค่าเฉลี่ย 537.33 ตารางเมตร และไก่ป่า ทาความเสียหายให้กับพื้นที่ทางการเกษตร 1 ชนิด คือ นาข้าว มีค่าเฉลี่ย 484.33 ตารางเมตร ตามลาดับ และจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามของเกษตรกรในพื้นที่ดังกล่าว จานวน 50 คน พบว่าเกษตรกรส่วนร้อยละ 74 เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 30 - 55 ปี เป็นเกษตรกรหญิง ร้อยละ 24 อายุระหว่าง 23 -50 ปี พื้นที่ทาการเกษตร ร้อยละ 36 ทาไร่ข้าวโพด ร้อยละ 34 ทานา(ข้าว) ร้อยละ 30 ทาไร่มันสาปะหลัง พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ ถูก ทาลายโดยกวาง คิดเป็นร้อยละ 56 ถูกทาลายโดยกระต่าย คิดเป็นร้อยละ 30 ถูกทาลายโดยเม่น คิดเป็นร้อยละ 6 ถูกทาลายโดยหมู ป่า คิดเป็นร้อยละ 4 และถูกทาลายโดยไก่ป่า คิดเป็นร้อยละ 4 ตามลาดับ เกษตรกรได้รับความเสียหายโดยคิดเป็นพื้นที่ต่อ 1,600 ตารางเมตร (ต่อไร่) พื้นที่ทางการเกษตรที่ ถูกทาลายร้อยละ 80 คือพื้นที่ที่มีขนาด ต่ากว่า 500 ตารางเมตร พื้นที่ทางการเกษตรที่ถูก ทาลายร้อยละ16 คือพื้นที่ที่มีขนาด 501-1,000 ตารางเมตร พื้นที่ทางการเกษตรที่ถูกทาลาย ร้อยละ 2 คือพื้นที่ที่มีขนาด 1,0011,500 ตารางเมตร และพื้นที่ที่มีขนาด 1,500 ตารางเมตร ขึ้นไป และที่สาคัญคือเกษตรกรต้องขาดแคลนรายได้จากการถูกสัตว์ป่าทาลาย พื้นที่ทางการเกษตร ประเมินมูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจคิดเป็นต่อ 1,600 ตารางเมตร (ต่อไร่) ต่อ 1 ปี มูลค่า 1,000 – 10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 34 มูลค่า 10,001 – 20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 52 มูลค่า 20,000 – 30,000 บาท คิดเป็น ร้อยละ 12 และ มูลค่า 30,000 – 40,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 2 คำสำคัญ : มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจ สัตว์ป่า พืชไร่
๑๒๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องฉีดน้ำจำกวัสดุเหลือใช้ เฉลิมพล พรหมวิสูตร์ โรงเรียนชุมชนเทศบาลวัดมณีสถิตกปิฏฐาราม อาเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๐๐๐ สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองอุทัยธานีอาเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ๖๑๐๐๐
บทคัดย่อ เนื่องจากบ้านน้าท่วม จะต้องทาความสะอาดผนังบ้าน พื้นบ้าน และบริเวณบ้าน ต้องใช้น้าที่มีแรงดันมากพอสมควร ข้าพเจ้าได้แนวความคิดจากการยิงจรวดน้าที่ทางโรงเรียนจัดให้เล่นในงานวันวิทยาศาสตร์ จึงได้ทาสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้ขึ้นมา คือ เครื่องฉีดน้าจากวัสดุเหลือใช้ วัตถุประสงค์ เพื่อประดิษฐ์เครื่องฉีดน้าที่มีประสิทธิภาพใช้ในการทาความสะอาดได้ เพื่อนาวัสดุเหลือ ใช้มาทาให้เกิดประโยชน์ สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า เครื่องฉีดน้าจากเศษวัสดุเหลือใช้มีประสิทธิภาพดีในระดับหนึ่ง สามารถนาไปใช้งานได้จริง วิธีการดาเนินการศึกษาแบ่งได้เป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 การทาตัวเครื่องฉีดน้าจากวัสดุเหลือใช้ ตอนที่ 2 การศึกษาประสิทธิภาพเครื่องฉีดน้าจากวัสดุเหลือ ผลการศึกษาเครื่องฉีดน้าจากวัสดุเหลือใช้ มีความสัมพันธ์ระหว่าง แรงลมกับการพุ่งออกและการกระเด็นของกรวดหินเครื่องฉีดน้าจากวัสดุเหลือใช้ เป็นที่ยอมรับในด้านแรงดันน้าดีมากที่สุดและ รองลงมาด้านสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ต้องปรับปรุงด้านการสะดวกใช้เนื่องจากน้าหมดเร็วและต้องสูบลมทุกครั้งเมื่อบรรจุน้า ผลสรุป จึง เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ เครื่องฉีดน้าจากเศษวัสดุเหลือใช้มีประสิทธิภาพดีในระดับหนึ่ง สามารถนาไปใช้งานได้ ช่วยใช้ทา ความสะอาด คำสำคัญ : เครื่องฉีดน้าจากวัสดุเหลือใช้ แรงดันน้า แรงดันอากาศ
๑๒๖
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำปทุมธำนี เขต ๑ (สพป. ปทุมธำนี เขต ๑)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๒๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องชำร์ตแบตเตอรี่มือถือพลังงำนมือหมุน แบบพกพำ ณัฐพล โพธิ์ศรี, สุเมธ มูลทองน้อย และเสนำะ สีอ่อน คุณครูที่ปรึกษำ สำลี่ รัตนมงคล และกมลวรรณ สมบัติดี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ปทุมธานี และโรงเรียนวัดไพร่ฟ้า สานักงานเขพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
บทคัดย่อ จากการประดิษฐ์เครื่องชาร์จแบตเตอรี่มือถือพลังงานมือหมุนแบบพกพา เพื่อแก้ปัญหาในการเดินทางไกล และภาวะ วิกฤตน้าท่วมหรือเวลาเกิดไฟดับ เรื่องการติดต่อสื่อสารถือเป็นเรื่องที่จาเป็นอย่างมาก ถ้าขาดการติดต่อสื่อสารก็จะขาดการรับรู้ ขาดการช่วยเหลือต่างๆ เทคโนโลยีสิ่งประดิษฐ์ตัวนี้ก็จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งที่จะช่วยให้เราสามารถชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ ในยามที่ไม่มีไฟฟ้าใช้เมื่อประสบกับสถานการณ์น้าท่วมหรือเวลาเกิดไฟดับได้ เพียงแค่ออกแรงใช้มือปั่น โทรศัพท์มือถือเราก็จะถูก ชาร์จไฟเข้าไป เพื่อรองรับการใช้งานระบบสื่อสารไม่ขาดช่วง ดังนั้นผู้จัดทาโครงงานได้ทดลองชาร์ตแบตเตอรี่พบว่าเมื่อเราทาการการหมุนจานวน 200 ครั้ง จะเปิดโทรศัพท์ใช้ได้เพียง แค่ 3 นาที ถ้าหมุนจานวน 300 ครั้ง จะเปิดโทรศัพท์ใช้ได้เพียงแค่ 5 นาที ถ้าหมุนจานวน 400 ครั้ง จะเปิดโทรศัพท์ใช้ได้เพียงแค่ 7 นาที ถ้าหมุนจานวน 500 ครั้ง จะเปิดโทรศัพท์ใช้ได้เพียงแค่ 10 นาที ถ้าหมุนจานวน 600 ครั้ง จะเปิดโทรศัพท์ใช้ได้เพียงแค่ 12 นาที แสดงว่าถ้าหมุนจานวนมากครั้ง จะเปิดโทรศัพท์ใช้เวลานานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สรุปได้ว่า เครื่องชาร์จแบตเตอรี่มือถือ พลังงานมือหมุนแบบพกพา สามารถใช้งานแทนเครื่องชาร์จแบตเตอรี่แบบใช้ ไฟบ้านได้ คำสำคัญ: เครื่องชาร์ตแบตเตอรีโ่ ทรศัพท์มือถือ
๑๒๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ถ่ำนหอมจำกเปลือกผลไม้ดูดกลิ่นอับ ฐิตำพร คำฝึกฝน, พิมพ์เพชร ลึ่มนอก และอรรถพล รักพินิจ ครูที่ปรึกษำโครงงำน จิรำพร นำมทอง และอัมพร ฟั่นอุด โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง ถ่านหอมจากเปลือกผลไม้ดูดกลิ่นอับ จัดทาขึ้นเนื่องจากคณะผู้จัดทาเห็นว่าประเทศของเรา เป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีผลผลิตทางด้านการเกษตรมากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นพืชสวน พืชไร่ และผลไม้ต่างๆ ก่อให้เกิด กากและขยะมูลฝอย จึงคิดว่าควรจะหาวิธีการที่จะนาขยะมูลฝอยเหล่านั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ จากการที่ได้เห็นว่ามีผู้นาเอากากจากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรดังกล่าวนากลับมาใช้เป็นเชื้อเพลิงแทนถ่านไม้ซึ่ง สามารถลดการตัดไม้ทาลายป่าเพื่อนามาทาถ่านเชื้อเพลิง และได้มีผู้เกิดความคิดที่จะใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติของถ่านไม้ที่ สามารถดูดซับ กลิ่นอับ ชื้นในภาชนะ หรือตู้ ที่ปิดสนิ ทได้โดยเฉพาะกลิ่นเหม็นอับ ในตู้เ ย็น เป็น ต้น โดยการทดลองนาเปลือ ก ทุเรียน และแกนข้าวโพดที่จะต้องถูกทิ้งไปเป็นขยะนามาเผาและบดให้เป็นผงถ่าน แล้วนามาผสมกับแป้งเปียกเมื่อแห้งแล้วนามา ขึ้นรูปจากนั้นก็นาไปทดลองใช้เพื่อดับกลิ่นในตู้เย็นปรากฎว่ามีความสามารถในการดูดกลิ่นได้ดีเช่นเดียวกับถ่านไม้ คณะผู้จัดทาจึงเกิดความคิดที่จะนาถ่านที่ได้จากเปลือกผลไม้ที่สามารถดูดกลิ่นอับได้มาพัฒนาโดยการทาให้ถ่านนั้นมีกลิ่น หอมโดยการผสมเปลือกผลไม้ตระกูลส้ม ซึ่งให้กลิ่นหอมลงไปผสมซึ่งจะทาให้ถ่านนั้นสามารถขจัดกลิ่นอับในตู้เย็นและยังให้กลิ่นที่ หอมสดชื่นอีกด้วย
๑๓๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ปำกกำมำร์กเกอร์จำกน้ำสกัดใบชำเขียวกับผงตะไบเหล็ก ชวนเฉลิม กวีวัฒน์, กวินทิพย์ กสิโสภำ และอภิวัฒน์ บำงแสงอ่อน ครูที่ปรึกษำโครงงำน อมรรัตน์ บัวอิ่น โรงเรียนธัญบุรี จ.ปทุมธานี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1
บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง ปากกามาร์กเกอร์จากน้าสกัดใบชาเขียวกับผงตะไบเหล็กจัดทาขึ้นตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน – 8 กันยายน พ.ศ. 2555 เนื่องจากปัจจุบันประชาชน เช่น นักเรียน นักศึกษา มีการใช้ปากกามาร์กเกอร์กันอย่างมากเพราะปากกาชนิดนี้ช่วย เน้นข้อความที่สาคัญและสีสันของปากกาทาให้ช่วยในการจดจา แต่หมึกของปากกามาร์กเกอร์มีกลิ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ ผู้ใช้ และปากกามาร์ก เกอร์มีราคาค่อนข้างสูง คณะผู้จัดทาจึงต้องการผลิตหมึกปากกามาร์กเกอร์ และจากความรู้เรื่องแทนนิน แทนนินสามารถรวมตัวกับเกลือของธาตุเหล็ก ได้สารประกอบสีเขียว สีน้าเงิน จึงใช้ในอุตสาหกรรมการย้อมสีและทาหมึก และพืช ที่มีสารนี้คือ ใบชา ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงนาใบชาและผงตะไบเหล็กมาทาปฏิกิริยาทางเคมีและเติมกลิ่นสังเคราะห์เพื่อให้ได้หมึกของ ปากกามาร์กเกอร์ที่ไม่มีสารเคมีปะปนอยู่และไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ มีต้นทุนต่าและยังมีกลิ่นหอมอีกด้วยโดยการ ตวงใบชาเขียว แห้งกับเครื่องชั่ง 20 กรัม ตวงน้า 100 มิลลิลิตร ใส่ลงไปในบีกเกอร์ใบชาเขียวที่ได้ตวงไว้ ต้มใบชาเขียว 5 นาที บนเตาให้ความ ร้อนใช้ผ้าขาวบาง กรองน้าใบชาเขียวที่ต้มไว้ตวงผงตะไบเหล็ก 10 กรัม ใส่ลงไปในบีกเกอร์ น้าใบชาเขียวที่กรองไว้ คนสาร 15 นาที ทาซ้ากับข้อ 1 – 6 อีก 2 ครั้ง แต่เปลี่ยนผงตะไบเหล็ก 10 กรัม เป็น ผงตะไปเหล็ก 5 กรัม และ 15 กรัม ตามลาดับ ตั้งทิ้งไว้ 2 วัน นาสีผสมอาหาร มาละลายในน้าเปล่า 20 มิลลิลิตร แล้วเติมกลิ่นด้วยน้าหอมสังเคราะห์ 3 หยด คนให้เข้ากัน นาน้าหมึกที่ตั้งทิ้งไว้ 2 วัน ทั้ง 3 บีกเกอร์ มาแยกใส่บีกเกอร์ละ 10 มิลลิลิตร นาน้าที่ละลายสีผสมอาหารไว้มาใส่ในบีกเกอร์น้าหมึกที่แยกไว้ทั้ง 3 บีเกอร์ แล้วคนให้เข้ากันล้างหัวปากกาไวท์บอร์ด และ นาไส้ปากกาไวท์บอร์ดเก่าออก แล้วใส่สาลีเข้าไปแทน นาสารที่ได้ มาหยดใส่ หัวปากกาไวท์บอร์ด และ ไส้ที่ทาจากสาลีทดสอบโดยการขีดเป็นเส้นยาว 10 เซนติเมตร และ ทดสอบโดยการขีดทับบนกระดาษที่ มีตัวหนังสือพบว่าใส่ใบชา 20 กรัม ผงตะไบเหล็ก 5 กรัมเส้นที่ขีดมีสีจางเกินไปและเมื่อใส่ใบชา 20 กรัม ผงตะไบเหล็ก 10 กรัม เส้นที่ขีดมีสีใกล้เคียงกับปากกามาร์กเกอร์ไม่ทึบเกินไปและเมื่อใส่ใบชา 20 กรัม ผงตะไบเหล็ก 15 กรัมเส้นที่ขีดมีสีเข้มทึบมองไม่ เห็นตัวหนังสือที่เน้นจากการทดลองทาให้พบว่าอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตปากกามาร์กเกอร์ให้มีคุณภาพคล้ายกับปากกา มาร์กเกอร์ที่ผลิตจากสารเคมี คือ ใส่ใบชา 20 กรัม กับ ผงตะไบเหล็ก 10 กรัม
๑๓๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
สำรละลำยน้ำตำลช่วยลดกำรเหี่ยวเฉำของดอกกล้วยไม้ ปริญญำ น้ำใจดี, ปรัชธิดำ เจริญ และสิริยำกร สร้อยมั่น อำจำรย์ที่ปรึกษำ คมสันต์ คงหมั่นกลำง โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม จ.ปทุมธานี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องสารละลายน้าตาลช่วยลดการเหี่ยวเฉาของดอกกล้วยไม้ จัดทาขึ้นเพื่อจะศึกษาว่าสารละลาย น้าตาลที่มีผลในการช่วยทาให้ดอกไม้สดขึ้น จึงนามาทดลองกับดอกกล้วยไม้ โดยการนาดอกกล้วยไม้มาแช่ในน้าที่มีความเข้มข้น ของสารละลายน้าตาลที่แตกต่างกันออกไปในห้องที่มีอุณหภูมิเท่ากันคือ 30 องศาเซลเซียส ให้แต่ละภาชนะใส่มีความเข้มข้นของ สารละลายน้าตาลต่างกันต่อน้า 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร ได้แก่สารละลายน้าตาลที่มีความเข้มข้น 0 เปอร์เซ็นต์ 5 เปอร์เซ็นต์ 10 เปอร์เซ็นต์ และ 20 เปอร์เซ็นต์ ใช้เวลาในการทาการทดลอง 4 วันเพื่อศึกษาและดูผลการเปลี่ยนว่าสารละลายน้าตาลนั้นสามารถ ช่วยให้ดอกกล้วยไม้สดได้เหมือนกับดอกไม้ชนิดอื่นที่เคยมีคนได้ทดลองมาแล้ว เช่น ดอกมะลิ ดอกกุหลาบ ดอกเบญจมาศ จากผล การทดลองพบว่าดอกกล้วยไม้ที่แช่ในน้าที่มีสารละลายน้าตาลเข้มข้นมากที่สุดคือมีความเข้มข้นของสารละลาย 20 เปอร์เซ็นต์ สามารถช่วยรักษาความสดของดอกกล้วยไม้ได้มากที่สุด และรองลงมาคือมีความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ 5 เปอร์เซ็นต์ และ 0 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ
๑๓๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำกำรวำงคันกระสอบทรำยกับกำรป้องกันน้ำท่วม ศำนติ รัตนสำชล, ณัฐพล ฉสกุลปัญโญ และพีรดำ เกื้อกูลศำสนกิจ อำจำรย์ที่ปรึกษำโครงงำน โฉมนภำ วัชรัมพร โรงเรียนสายปัญญารังสิต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1
บทคัดย่อ โครงงานเรื่องการศึกษาการวางคันกระสอบทรายกับการป้องกันน้าท่วม มีที่มาจากมหาอุทกภัยในปลายปี 2554 ซึ่งได้ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ครอบครัวและโรงเรียนมาก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการวางคันกระสอบทรายที่ดีที่สุด จากความรู้ เรื่องเรขาคณิตและแรงดันน้า โดยทดสอบการซึมของน้าจากแนวการตั้งกระสอบทราย 2 แนว คือ 1. แนวตั้ง 2. แนวนอน ด้วยการ จับเวลาจนกว่าน้าทั้งสองฝั่งจะเท่ากัน และทดสอบการวางคันกระสอบทรายรูปแบบต่างๆ 3 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 2. รูปแบบพีระมิด 3. รูปแบบผสมกัน ด้วยการใช้ถังวัดปริมาตรของน้าที่ทาให้คันกันน้าเอาไม่อยู่ ผลปรากฏว่า รูปแบบแนวนอน สามารถป้องกันการซึมน้าได้ดี และการวางคันกระสอบทรายรูปแบบพีระมิดสามารถป้องกันการทะลักของน้าได้ดีที่สุด และได้สูตร การคานวณกระสอบทรายจากรูปแบบนี้ (อ้างอิงและนามาปรับปรุงจากงานวิจัย) คือ จานวนกระสอบทราย = {(3 x ความสูงคัน กั้นน้า) + (9 x ความสูงคันกั้นน้า x ความสูงคันกั้นน้า)} / 2
๑๓๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำประสิทธิภำพของกำรบูรสมุนไพรไล่มด กชพงศ์ โตศักดิ์สิทธิ์ และสุปรีชำ สุวรรณฤทธิ์ อำจำรย์ที่ปรึกษำ พรจิต ปักกำระนำ โรงเรียนปทุมวิไล
บทคัดย่อ สืบเนื่องจากการเกิดเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 ทาให้เกิดปัญหาตามมาในหลายๆ ด้าน ซึ่งหนึ่ง ในปัญหาที่สาคัญและรบกวนการดารงชีวิตของมนุษย์ ได้แก่ การรับมือกับสัตว์มีพิษ และสัตว์ที่ก่อให้เกิดความเสียหาย หรือราคาญ ที่มาจากน้าท่วม เช่น ยุง มด หนู ตะขาบ แมลงสาบ งู เป็นต้น โดยในการศึกษาครั้งนี้ได้ทาการศึกษามด ซึ่งถือแม้ว่าจะมีพิษไม่ อันตรายมาก แต่ก็ทาให้เกิดความราคาญ และก่อให้เกิดความเสียหายได้ไม่น้อยโดยเฉพาะต่ออาหาร ซึ่งเป็นสิ่ งสาคัญในการดารง ชีพ ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ศึกษาประสิทธิภาพของการบูรสมุนไพรไล่มด โดยเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่มดระหว่างการใช้ การบูรเพียงอย่างเดียว กับการใช้การบูรผสมกับสมุนไพรต่างๆ ได้แก่ กระชาย มะกรูด พริกไทย และขมิ้น ทาการทดลองโดยนา อาหารและมดมาใส่ในกรงทดลอง แล้วนาการบูร และการบูรที่ผสมสมุนไพรแต่ละชนิดนาไปวางไว้รอบๆ อาหาร จากนั้นสังเกต จานวนมดที่เหลือ ผลการทดลองพบว่าการบูรที่ผสมกับขมิ้นมีประสิทธิภาพในการไล่มดมากที่สุด รองลงมาได้แก่ การบูรผสม พริกไทย การบูรผสมมะกรูด การบูรผสมกระชาย และการบูรอย่างเดียว ตามลาดับ
๑๓๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
รูปแบบของขดลวดที่มีผลต่อปริมำณกระแสไฟฟ้ำ ภำณุพงศ์ มีแสงเพ็ชร และเจษฎำกร นรสิงห์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ทองใบ สุขประเสริฐชัย โรงเรียนคณะราษฎร์บารุงปทุมธานี อาเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ๑๒๐๐๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต ๔ ปทุมธานี
บทคัดย่อ ในปัจจุบันนี้มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ เกิดขึ้นอย่างมากมายเพื่อตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์ และกลายเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญส่วนหนึ่งในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์ ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้ล้วน แล้วแต่จาเป็นต้องใช้พลังงานทั้งสิ้น ดังนั้นกลุ่มของข้าพจึงแหล่งกาเนิดพลังงานเพื่อเป็นทางออกทางหนึ่งในการลดการใช้พลังงาน เชื้อเพลิง โดยได้ศึกษาและพบว่าพลังงานจากการเหนี่ยวนาของขดลวดเมื่อตัดผ่านสนามแม่เหล็กสามารถเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นได้ ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดจัดทาโครงงานการศึกษารูปแบบของขดลวดที่มีผลต่อปริมาณกระแสไฟฟ้าซึ่งแบ่งการศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน คือการศึกษาขนาดของลวดทองแดงมีผลต่อปริมาณกระแสไฟฟ้าโดยการนาลวดทองแดงที่มีความยาวเท่ากัน แต่มีขนาด ต่างกัน พันด้วยจานวนรอบที่เท่ากันให้แล้วใช้คัตเตอร์กีดปลายทั้งสองข้าง และวัดพลังงานกระแสไฟฟ้า ด้วยโวลต์มิเตอร์ พบว่า ลดทองแดงที่มีขนาดใหญ่กว่าสามารถพลังกระแสไฟฟ้าได้มากกว่าลวดทองแดงที่มีขนาดเล็กการศึกษาเส้นผ่านศูนย์กลางของ วงขดลวดทองแดงมีผลต่อปริมาณกระแสไฟฟ้าโดยการนาลวดทองแดงที่มีความยาวเท่ากัน แต่ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางต่างกัน มาขด แล้วใช้คัตเตอร์กีดปลายทั้งสองข้าง และวัดพลังงานกระแสไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์ พบว่าขดลวดทองแดงที่มีความยาวของ เส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า สามารถพันได้จานวนรอบมากกว่า ทาให้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากกว่าและ การศึกษาจานวนรอบใน การพันขดลวดทองแดงมีผลต่อปริมาณกระแสไฟฟ้าโดยการนาลวดทองแดงที่มีขนาดเท่ากัน มีความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลาง เท่ากัน มาพันด้วยจานวนรอบที่ไม่เท่ากัน แล้วใช้คัตเตอร์กีดปลายทั้งสองข้าง และวัดพลังงานกระแสไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์ พบว่าขดลวดทองแดงที่ขดด้วยจานวนรอบมากกว่าสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากกว่า คำสำคัญ : ขดลวด, กระแสไฟฟ้า
๑๓๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำกำรผลิตเอทำนอลจำกหญ้ำโดยวิธีกำรหมักแบบกะ นัษฐำ สุภณไล่, ชนิตำ ลี้สุวรรณกุล และชนำกำนต์ ธรรมรุ่งโรจน์ ครูที่ปรึกษำ ทองใบ สุขประเสริฐชัย โรงเรียนคณะราษฎร์บารุงปทุมธานี ( สพม.4)
บทคัดย่อ ในปัจจุบันภาวะราคาน้ามันในตลาดโลกมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน เศรษฐกิจโดย ทั่วหน้า การใช้พลังงานทดแทนจึงเป็นแนวทางสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อลดการนาเข้าน้ามันดิบ แหล่งพลังงานทดแทนที่ น่าสนใจอย่างหนึ่งคือ แอลกอฮอล์ ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงได้นาหญ้าที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปนาหญ้ามาทดลองสกัดแอลกอฮอล์ เพราะในปัจจุบันหญ้าเป็นวัชพืชที่สามารถพบได้ทั่วไปตามสถานที่ต่างๆมากมาย เพื่อให้ได้แอลกอฮอล์ที่จะนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวัน โดยมีการศึกษาเป็น 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาของกรดที่มีผลต่อปริมาณน้าตาลในการเกิดปฏิกิริยาไฮโดไลซิส ระหว่างกรดกับหญ้า พบว่า กรด ไฮโดรคลอริก (HCl)1 โมล ที่ทาปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับหญ้าขนจะมีปริมาณความหวาน 0.8%Brix และหญ้าแพรก 1%Brix ส่วนกรดซัลฟูริค (H2SO4)1 โมล ที่ทาปฏิกิริยาไฮโดไลซิสกับหญ้าขน จะมีปริมาณความหวาน 0.8%Brix และหญ้า แพรก 1.2%Brix ซึ่งแสดงให้เ ห็นว่ า กรดซัล ฟูริ ค (H2SO4) ทาปฏิ กิริย าไฮโดรไลซิ สกั บหญ้ าได้ดี กว่ า กรดไฮโดรคลอริก (HCl) 2. เพื่อศึกษาความเข้มข้นของกรดที่มีผลต่อปริมาณน้าตาลในการเกิดปฏิกิริยาไฮโดไลซิส ระหว่างกรด กับหญ้า พบว่าการทาปฏิกิริยาไฮโดไลซิสระหว่างหญ้ากับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความเข้มข้น 12 โมล จะมีปริมาณน้าตาล มากกว่าการทาปฏิกิริยาไฮโดไลซิสระหว่างหญ้ากับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความเข้มข้น 6 โมล และ 1 โมล และการทา ปฏิกิริยาไฮโดไลซิสระหว่างหญ้ากับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความเข้มข้น 1 โมล 3. เพื่อศึกษาปริมาณของกรดที่มีผลต่อปริมาณ น้าตาลในการเกิดปฏิกิริยาไฮโดไลซิส ระหว่างกรดกับหญ้า พบว่าปริมาณน้าตาลที่เกิดจากการทาปฏิกิริยาไฮโดไลซิสระหว่างหญ้า กับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ปริมาณ 4 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมากกว่ากรดไฮโดรคลอริกปริมาณ 3 และ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร และปริมาณน้าตาลที่เกิดจากการทาปฏิกิริยาไฮโดไลซิสระหว่างหญ้ากับกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ปริมาณ 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะ มากกว่ากรดไฮโดรคลอริกปริมาณ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. เพื่อศึกษาระยะเวลาที่มีผลต่อปริมาณน้าตาลในการเกิดปฏิกิริยาไฮ โดไลซิส ระหว่างกรดกับหญ้า พบว่า การหมักหญ้าขนด้วยกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เป็นเวลา 30 นาที และ 60 นาที ได้ปริมาณ น้าตาลที่เท่ากันคือ 5.2%Brix แต่ถ้าใช้เวลา 120 นาที จะได้ปริมาณน้าตาล 6.8%Brix สาหรับหญ้าแพรกหมักเป็นเวลา 30 นาที จะได้ปริมาณน้าตาล 5.4%Brix แต่ถ้าใช้เวลา 60 นาที และ 120 นาที จะได้ปริมาณน้าตาลเท่ากันคือ 7%Brix 5. เพื่อศึกษาชนิด ของหญ้าที่มีผลต่อปริมาณน้าตาลในการเกิดปฏิกิริยาไฮโดไลซิสระหว่างกรดกับหญ้า พบว่า การใช้กรดไฮโดรคลอริก (HCl) ความ เข้มข้น 12 โมล ปริมาณ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาทาปฏิกิริยาไฮโดไลซิสกับหญ้าแพรก และหญ้าขน พบว่าในหญ้าแพรกจะให้ ปริมาณน้าตาล 7%Brix ซึ่งมากกว่าในหญ้าขน ซึ่งได้ปริมาณน้าตาลเพียง 5.2%Brix 6.เพื่อศึกษาปริมาณยีสต์ Saccharoyces cerevisiae ที่มีผลต่อการผลิตเอทานอลโดยวิธีการหมักแบบกะ พบว่าแอลกอฮอล์ของหญ้าขนที่มีปริมาณยีสต์ 1.5 กรัม (1%w/v) จะมีความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ 30 เปอร์เซ็นต์ และที่มีปริมาณยีสต์ 3 กรัม (2%w/v) จะมีปริมาณความเข้มข้น 32 เปอร์เซ็นต์ แอลกอฮอล์ของหญ้าแพรกที่มีปริมาณยีสต์ 1.5 กรัม (1%w/v) จะมีปริมาณความเข้มข้น 33 เปอร์เซ็นต์ และที่มีปริมาณยีสต์ 3
๑๓๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กรัม (2%w/v) จะมีปริมาณความเข้มข้น 35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ปริมาณความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ของหญ้าแพรกจะ มีปริมาณมากกว่าปริมาณความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ของหญ้าขน 7.เพื่อศึกษาระยะเวลาในการหมักด้วยยีสต์ Saccharoyces cerevisiae ที่มีผลต่อปริมาณการผลิตเอทานอลโดยวิธีการหมักแบบกะ พบว่า ปริมาณความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ของหญ้าขนทีม่ ี ระยะเวลาในการหมัก 24 ชั่วโมงจะมีปริมาณความเข้มข้น 30 เปอร์เซ็นต์ และหญ้าแพรก 32 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณความเข้มข้น ของแอลกอฮอล์ของหญ้าขนที่มีระยะเวลาในการหมัก 48 ชั่วโมง จะมีปริมาณความเข้มข้น 30 เปอร์เซ็นต์ ส่วนหญ้าแพรก มี ปริมาณความเข้มข้น 33 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ปริมาณความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ที่ใช้ระยะเวลาในการหมัก 24 ชั่วโมง และ 48 ชั่วโมงปริมาณความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ของหญ้าแพรก จะมากกว่าหญ้าขนเมื่อระยะเวลาในการหมักเพิ่มขึ้น
๑๓๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรหำคำตอบของสมกำรกำลังสำมอย่ำงง่ำย พีรพล อรรฆย์ภูษิต และพีรวัส อรรฆย์ภูษิต ครูที่ปรึกษำโครงงำน โฉมนภำ วัชรัมพร*, ประสพ อ่อนดี และวิโรจน์ เลขำนุภำนนท์ โรงเรียนสายปัญญารังสิต
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์นี้เป็นโครงงานที่เกี่ยวข้องกับการหาคาตอบของสมการพหุนามกาลังสามซึ่งได้จัดทาขึ้นเพื่อให้เราได้ วิธีการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการแก้สมการกาลังสามได้โดยเรานาทฤษฏีเศษเหลือมาประยุกต์ใช้กับวิธีการแก้สมการกาลังสาม ซึ่ง สามารถหาคาตอบของสมการกาลังสามได้คาตอบ 3 คาตอบโดยกระบวนการคิดเพียงครั้งเดียว มีกระบวนการพิสูจน์วิธีการที่ได้คิด ขึ้นจึงทาให้เราใช้เวลาได้รวดเร็วยิ่ งขึ้นโดยที่ไม่ต้อ งใช้วิธี การคิด แบบทฤษฏีเศษเหลือ แต่จะแทนค่าลงในสมการที่เราได้จาก กระบวนการสังเกต 3 สมการซึ่ งเป็นผลจากการประยุกต์จากทฤษฏีเศษเหลือ และทาให้สามารถหาคาตอบได้ 3 คาตอบใน กระบวนการคิดครั้งเดียว ซึ่งจะใช้วิธีการแทนค่าเช่นเดิม แต่จะเป็นการแทนค่าอย่างมีหลักการ ทาให้สามารถหาคาตอบได้รวดเร็ว ยิ่งขึ้น โครงงานนี้จึงทาให้เราได้วิธีการแก้สมการกาลังสามได้ ซึ่งตามปกติแล้ว เราจะแก้สมการนี้ได้ยากและเสียเวลามากนั่นเอง
๑๓๘
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำชัยนำท (สพป. ชัยนำท)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๔๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ขนำดของจำนปั่นที่เหมำะสมกับวัยต่ำงๆ พีรวัส ขำอ่วม, ชยฌำน จันทรำ และอภิวันท์ โพธิ์แก้ว ครูที่ปรึกษำ ชำญชัย ดำคำ* และวุฒิคุณ รัตนะเพทำย โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ ในปัจจุบัน จักรยานเป็นสิ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะทั้งสะดวกและประหยัดพลังงาน แต่จักรยานส่วนใหญ่มักที่ จะสร้างขึ้นมาให้ความเร็วและมีสมรรถนะที่คล่องตัวโดยไม่ใส่ใจกับผู้ที่ขี่นัก ส่วนใหญ่จะสร้างเพื่อให้วัยรุ่นใช้เพื่อออกกาลังกาย จึ ง เน้นความเร็วเป็นส่วนใหญ่ คณะผู้จัดทามีแนวคิดที่จะทดลองว่า จักรยานที่มีขนาดของจานปั่นเท่าไหร่ จึงจะเหมาะกับวัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และวัยคนชรา โดยการทดลองว่า วัยเด็กเหมาะสมกับจานปั่นขนาดเท่าไหร่ที่จะใช้แรงปั่นน้อยและไม่ค่อยเร็วนัก เพราะเด็กยังมีกาลังไม่มากและไม่ควรปั่นรวดเร็วนักเพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ และสาหรับเด็กวัยรุ่นจะใช้จานปั่นขนาดที่ทาให้ปั่นเร็ว ที่สุด เพราะวัยรุ่นจะต้องการออกกาลังกายเป็นส่วนใหญ่และมีแรงมากพอที่จะปั่นได้ทุกขนาด วัยผู้ใหญ่และวัยคนชราก็ควรใช้จาน ปั่นขนาดที่ใช้แรงน้อย และมีความเร็วที่ดี เพราะวัยผู้ใหญ่และวัยคนชรา ส่วนใหญ่จะใช้เพื่อความสะดวกสบายและผ่อนแรงมากกว่า จึงทาให้แต่ละวัยสามารถเลือกซื้อจักรยานที่เหมาะสมกับตนเองมาใช้ได้ตามความต้องการ
๑๔๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรเจริญเติบโตของไลเคนบนต้นขนุนและต้นจิกน้ำ ภำณุ ศรีโคตรโพธิ์, ตนุพัฒน์ ปิยะรัตน์ และภัทรำนิษฐ์ สังเกตใจ ครูที่ปรึกษำ จันทนำ คงฤทธิ์, ณัฐวดี ชัยโรจน์ และอัมพรรัตน์ วัฒนะโชติ * โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ การศึกษาทดลองเกี่ยวกับไลเคนบนต้นไม้ 2 ชนิด คือ ต้นขนุน และต้นจิกน้ามีจุดมุ่งหมายเพื่อที่จะเปรียบเทียบการ เจริญเติบโตของไลเคนบนต้นไม้ที่ต่างชนิดกันเพื่อวัดว่าต้นไม้ชนิดใดที่ไลเคนเจริญเติบโตได้ดีกว่ากันโดยการสารวจจากผิวของต้นไม้ 2 ชนิด แล้ววัดขนาดของไลเคนเพื่อที่จะนามาเปรียบเทียบแล้วนามาบันทึกลงในกระดาษและกาหนดจุดของไลเคนให้ตรงกับจุดที่ ปรากฏอยู่บนต้นไม้โดยใช้อัตราส่วนเดียวกัน ผลการทดลอง ต้นจิกน้าจะมีการเจริญเติบโตของไลเคนที่ดีกว่าต้นขนุน
๑๔๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
รูปแบบของลอนลูกฟูกที่รับแรงกดได้ดีที่สุด ชนพล จิ๋วสวัสดิ,์ คณิตกัญจน์ ฟักนุช และกิตติพศ ก้อนทอง ครูที่ปรึกษำ ธวัทชัย ฉิมกรด* และธงชัย รตโนภำส โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ ในปัจจุบันมีกระดาษลูกฟูกอยู่มากมายหลากหลายแบบ จึงคิดที่จะทดลองเปลี่ยนลอนของลูกฟูกที่อยู่ภายในว่า แบบใด จะรับแรงกดได้ดี โดยทั่วไป ลอนลูกฟูกจะมีลักษณะเป็นลูกคลื่น ซึ่งคณะผู้จัดทาได้ทาการทดลอง โดยการทาแบบจาลองของลอน ลูกฟูกแบบต่างๆ คือ แบบลูกคลื่น แบบวงกลม แบบสามเหลี่ยม และแบบเส้นทแยง ในอัตราส่วนที่เหมือนกันหลายๆอัตราส่วน โดยคานึงถึงความแข็งแรงของกระดาษ ว่ารับแรงกดได้มากเพียงใด ผลการทดลองพบว่า ลอนลูกแบบลูกคลื่นที่มีอยู่ ทั่วไป สามารถ รับแรงกดได้ดีกว่าแบบวงกลม แบบสามเหลี่ยม และแบบเส้นทแยง โดยเราจะเทียบแต่ละแบบในมาตราส่วนเดียวกัน
๑๔๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
พำรำโบล่ำจำกกลีบดอกไม้ วรำกร ภู่สุวรรณ, ณัฐณิชำ เงินพลอย, พิธำมญช์ รัตนชัยสิทธิ์ และพีรกำนต์ พันตำวงษ์ ครูที่ปรึกษำ สรวุฒิ ตั้งดี* และสุธีรำ บัวสุนทร โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์เรื่อง พาราโบล่าจากกลีบดอกไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์เรื่อง พาราโบล่ากับกลีบดอกไม้ โดยการสร้างพาราโบล่าจากกลีบดอกไม้ และศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของกราฟคว่าและหงาย เพื่อศึกษาความแตกต่างของพารา โบล่าจากกลีบดอกไม้แต่ละชนิดที่นามาเป็นแบบในการสร้างกราฟพาราโบล่า และเพื่อศึกษาอัตราส่วนความกว้างยาวด้วยกราฟ พาราโบล่า การศึกษากราฟพาราโบล่าด้วยการนากลีบดอกไม้มาประยุกต์ร่วมด้วยนี้ ยังเป็นการบูรณาการวิชาคณิตศาสตร์กับวิชา วิทยาศาสตร์ กล่าวคือ มีการสังเกตรวบรวมข้อมูล และหลักฐาน มีการศึกษาเพื่อหาข้อเท็จจริง และนาไปประยุกต์ใช้ได้กับวิชาอื่นๆ ได้จริง ซึ่งคณะผู้จัดทาได้ทาการปฏิบัติจริง มีการสรุปผลที่ได้จากการศึกษา เพื่อเป็นการประมวลผลความรู้ที่ได้รับ เป็นรูปเล่ม โครงงานที่มีผลการดาเนินงานที่ชัดเจนสามารถอธิบายได้ ผลการดาเนินงาน พบว่า รูปทรงของดอกไม้บางชนิดที่มีบริเวณส่วนใด ส่วนหนึ่งคล้ายคลึงกันจะมีสมการกราฟพาราโบลาที่คล้ายกันด้วย เช่น กลีบดอกทิวลิป และดอกลีลาวดีที่มีกราฟหงายเท่ากันคือ เป็นต้น และอัตราส่วนของดอกไม้แต่ละชนิดจะมีความกว้างและยาวไม่เท่ากันด้วย ในทานองเดียวกับที่กล่าวข้างต้น ถ้ากลีบดอกไม้ที่มีรูปร่างคล้ายคลึงกัน อัตราส่วนความกว้างและความยาวที่เกิดจากจุดตัดของกราฟพาราโบลา และจุดต่าสุดกับ จุดสูงสุดที่ได้จากตารางจะมีอัตราส่วนที่ใกล้เคียงกันด้วยเช่นกัน
๑๔๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กระทง EM พีรวิชญ์ ขำอ่วม, อภินันท์ โพธิ์แก้ว และณัฐพันธ์ ทวีกสิกรรม ครูที่ปรึกษำ ชำญชัย ดำคำ* และธวัทชัย ฉิมกรด โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ การศึกษาทดลองครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1. ผลิตกระทงจาก EM Ball 2. เพื่อเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. เพื่อเป็น การใช้ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นอย่างมีคุณค่า โดยนาน้าผสมกับ EM ผสมกากน้าตาล แล้วหมักทิ้งไว้ จึงนากระดาษที่ยุ่ยมาปั้นให้เป็น กระทง ตกแต่งให้สวยงาม ผลการศึกษาพบว่า กระทง EM สามารถช่วยในการบาบัดน้าเสีย ได้อย่าดี และมีการประยุต์ให้สามารถ นามาเป็นกระทงได้ และเป็นนการนากระดาษที่ใช้แล้วนากลัมมาใช้ใหม่
๑๔๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
น้ำสมุนไพรฆ่ำแมลงสำบ ธีรเจต ตุลำนนท์, ภำสกร ชำญณรงค์, ธมลวรรณ อินทรเกษตร และบูรณำ ภู่ระย้ำ ครูที่ปรึกษำ จีระศักดิ์ ใจแสน* และสำยัณ ฉิมกรด โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ การศึกษาทดลองครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1. ผลิตกระทงจาก EM Ball 2. เพื่อเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. เพื่อเป็น การใช้ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นอย่างมีคุณค่า โดยนาน้าผสมกับ EM ผสมกากน้าตาล แล้วหมักทิ้งไว้ จึงนากระดาษที่ยุ่ยมาปั้นให้เป็น กระทง ตกแต่งให้สวยงาม ผลการศึกษาพบว่า กระทง EM สามารถช่วยในการบาบัดน้าเสีย ได้
๑๔๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
รู้รอบคอ บอกรอบเอว เกวลิน กิจเที่ยงธรรม, พงศกร หอมจำปำ และธนวัฒน์ แช่มช้อย ครูที่ปรึกษำ จินตนำ มูลพฤกษ์*, จันทรำ พำพันธ์ และศิริรัก อินทร์ไทยแสง โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ การศึกษาทดลองครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบระหว่างความยาวรอบคอกับรอบเอวว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร เพื่อที่จะนาข้อมูลเหล่านี้ไปชี้วัดว่าเวลาเลือกซื้อกางเกง ถ้านากางเกงไปวัดรอบคอจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด กลุ่มตัวอย่างใน การศึกษาทดลอง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม โดยการสุ่มเลือกจานวน 40 คน หลักเกณฑ์ในการ ตัดสินคุณภาพประกอบด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวรอบคอและรอบเอว ผลการทดลอง 1. ความยาวของรอบเอวยาวเป็น 2 เท่า ของความยาวรอบคอ 2. ความยาวของรอบเอวแปรผันตรงกับความยาวของรอบคอ
๑๔๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องห่อและเก็บเกี่ยวผลไม้ นิชำภำ บัวทอง, กนกวรรณ ดำวช่วย, ศิริวรรณ มหำวิจิตร และปลืม้ กมล ป้อมทอง ครูที่ปรึกษำ สงกรำนต์ ทัพบำรุง*, จำริต กำจำย และชลดำ กัวหำ โรงเรียนวัดโพธิ์งาม และโรงเรียนชุมชนวัดดักคะนน
บทคัดย่อ อาชีพเกษตรกรรมในปัจจุบันนี้เป็นอาชีพที่สามารถทารายได้เข้าประเทศเป็นจานวนมาก ดังนั้นในการที่จะทาให้ผลิตผล ทางเกษตรเพื่อสร้างรายได้นั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ดี ใช้ง่าย สะดวก ประหยัดต้นทุนในการจ้างแรงงาน และความปลอดภัย เช่นเดียวกับการรักษาป้องกันและเก็บเกี่ยวผลผลิต คือการห่อและเก็บเกี่ยวผลไม้ เพราะการห่อและเก็บเกี่ยว ผลไม้จะทาให้ได้ผลผลิตที่ดี ดังนั้นถ้าต้องการที่จะทาให้ได้ผลผลิตที่ดนี ั้นต้องมีอุปกรณ์ในการห่อและเก็บเกี่ยวผลไม้ที่ดีและปลอดภัย ผลจากการศึกษาทดลองประดิษฐ์เครื่องห่อและเก็บเกี่ยวผลไม้ เครื่องนี้สามารถช่วยอานวยความสะดวกในการห่อและ เก็บเกี่ยวผลไม้ ใช้ห่อและเก็บเกี่ยวผลไม้ในระดับความสูงต่างๆได้โดยไม่ต้องปีนต้นไม้ ลดอันตรายจากการปีนขึ้นไปห่อผลไม้บนต้น หรือใช้บันไดพลาด และยังลดการใช้สารเคมีในการปราบแมลงศัตรูพืช ทาให้เกิดความปลอดภัยต่อตัวเกษตรกรและผู้บริโภค ซึ่งเป็น ผลทาให้เกิดความเชื่อมั่นจากผู้บริโภค เกษตรกรจะขายผลไม้ได้ราคาสูงขึ้น การส่งจาหน่ายต่างประเทศจะทาได้ง่ายขึ้น เพราะผลไม้ ปลอดสารพิษ และลดอัตราการจ้างแรงงานในการห่อและเก็บเกี่ยวผลไม้ โดยเฉพาะแรงงานด้านเกษตรกรรมที่ มีฝีมือในปัจจุบันที่ หาได้ยากและมีค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น
๑๔๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
น้ำหมักชีวภำพกับผลผลิตของถั่วฝักยำว สำธินี นำคศรี, รัตติยำกร กันจนะ และฑำริกำญ ภิญโญยิ่ง ครูที่ปรึกษำ สุรวุฒิ ตั้งดี*, วุฒิคุณ รัตนเพทำย และธวัทชัย ฉิมกรด โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม
บทคัดย่อ ปัจจุบันน้าหมักชีวภาพ เป็นที่ต้องการตามท้องตลาดเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างหนึ่งของการทาการเกษตรเป็นปุ๋ยธรรมชาติที่ไม่ ต้องพึ่งสารเคมีซึ่งสารเคมีนั้นจะทาให้ดินเสือ่ มสภาพ ไม่เหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช ใช้ต้นทุนในการผลิตสูงขั้นตอนในการผลิต สลับซับซ้อนทั้งมีสารพิษตกค้างในผลผลิต ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ผลผลิตเน่าเสียง่าย เก็บรักษาได้ไม่นาน รสชาติไม่อร่อย คุณภาพ ต่า ยาฆ่าแมลงมีสารพิษตกค้าง เป็นสารชักนาหรือสาเหตุทาให้เกิดโรคมะเร็งอื่น ๆ ได้และอาจเป็นอันตรายต่อแมลงที่มีประโยชน์ ต่อพืช เช่นแมลงที่ช่วยผสมเกสร คณะผู้จัดทาจึง คิดที่จะทาน้าหมักชีวภาพที่มีส่วนผสมของผลไม้ คือ กล้วย และสับปะรด มา เปรียบเทียบการใช้ในการปลูกถั่วฝักยาวว่า กล้วยหรือสับประรดมีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั่วฝักยาวมากกว่ากันเพื่อ มาใช้ในการเพาะปลูกถั่วฝักยาว ซึ่งการทาน้าหมักชีวภาพนั้นเป็นการทาที่ใช้ต้นทุนต่า คุณภาพสูงและใช้วัสดุที่หาได้ง่ายตามท้องถิ่น ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม
๑๔๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
น้ำหมักชีวภำพ 3 in 1 (ใบฉำฉำ เปลือกสับปะรด และหน่อกล้วย) ณัฐปภัสร์ สิทธิรัตน์, กัญญำณัฐ กล่ำแก้ว และกันติชำ พลเจียก อำจำรย์ที่ปรึกษำ ยงยุทธ รุณมณีรัตน์ บทคัดย่อ ในปัจจุบันนี้น้าหมักชีวภาพ (EM) เป็นที่ต้องการอย่างมากในท้องตลาด เนื่องจากสถานการณ์น้าท่วมที่ผ่านมาทาให้มีสิ่ง ปฏิกูลต่างๆ มากมาย แม้แต่ภายในโรงเรียนของคณะผู้จัดทาเองยังจาเป็นที่จะต้องใช้น้าหมักชีวภาพ เนื่องจากเกิดปัญหาน้าใน สระภายในโรงเรียนเกิดการเน่าเสีย ทาให้มีสัตว์ที่อาศัยในน้าตายเป็นจานวนมาก คณะผู้จัดทาเคยพบเห็นน้าหมักชีวภาพที่ขายตามท้องตลาด แต่ส่วนใหญ่มักจะทามากจากวัสดุเพียงชนิดเดียว เช่นน้า หมักชีวภาพจากเศษผัก เศษอาหาร หรือจากผลไม้ ทาให้คณะผู้จัดทาเกิดความคิดว่าหากเราศึกษาประโยชน์ของวัสดุ หลายๆ สิ่ง แล้วนามาหมักรวมกันทาเป็นน้าหมักชีวภาพ คาดว่าน่าจะให้ประโยชน์ที่หลากหลาย และมีคุณภาพดีกว่าน้าหมักชีวภาพตาม ท้องตลาด
๑๕๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำนครนำยก (สพป. นครนำยก)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๕๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ศึกษำผลกำรใช้เชื้อรำไตรโครเดอร์มำที่มีผลต่อกำรเจริญเติบโตของหม้อข้ำวหม้อแกงลิง ในวัสดุปลูกที่มีอัตรำส่วนต่ำงกัน สุมิตรำ วงษ์พระจันทร์ ครูที่ปรึกษำ โศจิกำนต์ สตำภรณ์ โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ การศึกษาผลการใช้เชื้อราไตรโครเดอร์มาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงในวัสดุปลูกที่มีอัตราส่วน ต่างกัน เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อหม้อแกงลิงที่ฉีดพ่นด้วยเชื้อราไตรโครเดอร์มากับไม่ได้ฉีดพ่นด้วยเชื้อรา ไตรโครเดอร์มา ที่ปลูกในวัสดุปลูกที่มีอัตราส่วนต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองได้มาโดยการสุ่มหม้อข้าวหม้อแกงลิง อายุ 6 เดือนหลังจากงอกในขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และนามาปรับสภาพแล้ว จานวน 80 ต้น ตัวแปรต้น อัตราส่วนของวัสดุปลูก และการ ฉีดพ่นเชื้อราไตรโครเดอร์มา ตัวแปรตาม การเจริญเติบ โตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงสายพันธุ์ N. mirabilis การศึกษาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 เตรียมเชื้อราไตรโครเดอร์มา ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาหาอัตราส่วนของวัสดุปลูกที่เหมาะสม ขั้นตอนที่ 3 ศึกษา อัตราการเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ได้รับการฉีดพ่นด้วยไตรโครเดอร์มา โดยใช้วัสดุปลูก 4 ชนิดคือ แกลบ ขุยมะพร้าว กาบมะพร้าวสับ และเม็ดดินเผา(poper) ทดลองโดยแบ่งวัสดุปลูกเป็น 5 อัตราส่วน ได้แก่อัตราส่วนที่ 1 คือ 1 : 1 : 1 : 1 ได้แก่ แกลบ ขุยมะพร้าว กาบมะพร้าวสับ และ เม็ดดินเผา(Poper) อัตราส่วนที่ 2 คือ 0 : 1 : 1 : 1 ได้แก่ขุยมะพร้าว กาบมะพร้าวสับ และ เม็ดดินเผา (Poper) อัตราส่วนที่ 3 คือ 1 : 0 : 1 : 1 ได้แก่ แกลบ ขุยมะพร้าว และ เม็ดดินเผา (Poper) อัตราส่วนที่ 4 คือ 1 : 1 : 0 : 1 ได้แก่ แกลบ กาบมะพร้าวสับ และ เม็ดดินเผา (Poper) อัตราส่วนที่ 5 คือ 1 : 1 : 1 : 0 ได้แก่ แกลบ ขุยมะพร้าว และกาบมะพร้าวสับ แบ่งหม้อข้าวหม้อแกงลิงออกเป็น 2 ชุด ชุดละ 40 ต้น คือฉีดพ่นด้วยเชื้อราไตรโครเดอร์มา และไม่ฉีดพ่นเชื้อ ราไตรโครเดอร์มา นาหม้อข้าวหม้อแกงลิงลงปลูกอัตราส่วนละ 8 ต้น รดน้า เช้าเย็น และฉีดพ่นเชื้อราไตรโครเดอร์มา สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เริ่มทาการทดลองตั้งแต่วันที่ 4 มิถุนายน – 3 สิงหาคม 2555 เป็น เวลา 2 เดือนต่อเนื่อง สังเกตและบันทึกผลการทดลองใน แต่ละวัน โดยวัดการเจริญเติบโตจากความกว้าง ความยาวของใบและหม้อ ความยาวของสายดิ่ง และวัดความต้านทานไฟฟ้าในวัสดุ ปลู ก เพื่ อ ตรวจสอบค่ า ความชื้ น ของวั ส ดุ ป ลู ก ในเวลาเช้ า และเย็ น ก่ อ นรดน้ า และหลั ง รดน้ า จากผลการศึ ก ษาพบว่ า หม้อข้าวหม้อแกงลิง ที่ฉีดพ่นด้วยเชื้อราไตรโครเดอร์มา ในวัสดุปลูกอัตราส่วนที่ 3 มีการเจริญเติบโตได้ที่สุด รองลงมาคือ วัสดุปลูก อั ต ราส่ ว นที่ 1 และวั ส ดุ ป ลู ก อั ต ราส่ ว นที่ ท าให้ ห ม้ อ ข้ า วหม้ อ แกงลิ ง ตายมากที่ สุ ด คื อ อั ต ราส่ ว นที่ 5 หม้ อ ข้ า วหม้ อ แกงลิ ง หม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ฉีดพ่นเชื้อราไตรโครเดอร์มามีอัตราการเจริญเติบโตของ ความกว้าง ความยาวของใบ ความยาวหม้อ และ สายดิ่ง ดีกว่าหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ไม่ได้ฉีดพ่นด้วยไตรโคเดอร์มา จากการทดลองสรุปได้ว่าหม้อข้าวหม้อแกงลิงในวัสดุปลูก อัตราส่วนที่ 3 มีอัตราการเจริญเติบโตดีที่สุด และหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ฉีดพ่นเชื้อราไตรโครเดอร์มามีการเจริญเติบโตได้ดีกว่าที่ ไม่ได้รับการฉีดพ่น คำสำคัญ : เชื้อราไตรโครเดอร์มา , หม้อข้าวหม้อแกงลิง
๑๕๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำเปรียบเทียบกำรเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตของพริก โดยวิธีกำรปลูกแบบต้ำนแรงโน้มถ่วงและแบบตำมแรงโน้มถ่วง ธีรวัฒน์ หมื่นเท ครูที่ปรึกษำ เพ็ชรี ประสำรบุญ และศภิสรำ กรุษวงศ์ โรงเรียนนครนายกวิทยาคม อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตของพริกโดยวิธีการปลูกแบบต้านแรง โน้มถ่วงและแบบตามแรงโน้มถ่วง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของพริกชี้ฟ้าแดง (Capsicum frutescens L.) โดย ทาการศึกษาการปลูกพริกแบบต้านแรงโน้มถ่วงและแบบตามแรงโน้มถ่วง วัดการเจริญเติบโต และน้าหนักของผลผลิตโดยทาการ ทดลองซ้าจานวน 5 ครั้ง วัดผลการทดลองทุกๆสัปดาห์ เป็นเวลา 16 สัปดาห์ จากผลการทดลอง พบว่า พริกที่ปลูกแบบตามแรงโน้มถ่วงมีความสูงเฉลี่ย 18.8 เซนติเมตรมีน้าหนักผลพริกเฉลี่ย 70.36 กรัมพริกที่ปลูกแบบต้านแรงโน้มถ่วงมีความสูงเฉลี่ย 16.8 เซนติเมตรมีน้าหนักผลพริกเฉลี่ย 62.66 กรัมและพริกที่ปลูกแบบทั่วไป (กลุ่มควบคุม) มีความสูงเฉลี่ย 13 กรัม มีน้าหนักผลพริกเฉลี่ย 51.38 กรัม ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าพริกที่ปลูกแบบตามแรงโน้มถ่วงมีการ เจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีที่สุด คำสำคัญ: การปลูกพริกแบบต้านแรงโน้มถ่วง, การปลูกพริกแบบตามแรงโน้มถ่วง
๑๕๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรตรวจสอบสำรสกัดจำกพืชสมุนไพรที่ช่วยลดระดับปริมำณน้ำตำลกลูโคส ทักษพร พันธุ์เกตุ, ปุณยำพร ผ่องจิตร์ และอัญชลี ทองสุภำพ ครูที่ปรึกษำ เพ็ชรี ประสำรบุญ และศภิสรำ กรุษวงศ์ โรงเรียนนครนายกวิทยาคม อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ จากการศึกษาการตรวจสอบสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่ช่วยลดระดับปริมาณน้าตาลกลูโคส มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบ ว่าสุมนไพรชนิดใด ที่ช่วยลดระดับปริมาณน้าตาลในเส้นเลือดได้ดีกว่ากัน ซึ่งเหมาะสมกับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีระดับปริมาณ น้าตาลกลูโคสในเส้นเลือดที่สูงโดยการนาสมุนไพร ไปสกัด และใช้น้าเป็นตัวทาละลายแล้วนาไปวัด ด้วยเครื่องวัดน้าตาลกลูโคส แล้วนาหลอดหยดสารดูดสารสกัดจากผักในบีกเกอร์จานวน 8 ลูกบาศก์เซนติเมตรใส่ในหลอดทดลองที่มีน้าตาลกลูโคสอยู่ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งมีความเข้มข้น 20 เปอร์เซนต์ จากนั้น จึงวัดปริมาณเปอร์เซ็นต์น้าตาลอีกครัง้ เมื่อเวลาผ่านไป 12 ชั่วโมงซึ่ง ผลการทดลงปรากฏดังนี้ดังนี้ 1. ผักและสมุนไพรชนิดต่างๆสามารถลดปริมาณระดับน้าตาลกลูโคส ได้ดังนี้ ขิงลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 9.02 เปอร์เซ็นต์ , กระถินลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 6.19 เปอร์เซ็นต์, ผักแพวลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 5.92 เปอร์เซ็นต์, ขี้เหล็กลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 5.2 เปอร์เซ็นต์, สะเดาลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 4 เปอร์เซ็นต์, ขึ้นฉ่ายลดปริ มาณน้ าตาลกลูโคสได้ 3.9 เปอร์ เซ็นต์ , อัญชั นลดปริ มาณน้ าตาลกลูโคสได้ 3.8 เปอร์เซ็น ต์ รากกระชายลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 3.8 เปอร์เซ็นต์, ผักโขมลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 3.52 เปอร์เซ็นต์ และ ชะพลูลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้ 3.1 เปอร์เซ็นต์ 2. ผักและสมุนไพรที่ช่วยลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้มากที่สุด คือ ขิงลดปริมาณน้าตาลได้ 9.02 เปอร์เซ็นต์น้าตาล 3. ผักและสมุนไพรที่ช่วยลดปริมาณน้าตาลกลูโคสได้น้อยที่สุด คือ ชะพลูลดปริมาณน้าตาลได้ 3.1 เปอร์เซ็นต์น้าตาล
๑๕๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรสำรวจค่ำควำมเป็นกรด – เบส( pH ) ของน้ำที่มีผลต่อชีวิตขนำดเล็กในแหล่งน้ำจืดต่ำงๆ กัญญำณัฐ อิสระเสนำรักษ์, จิรำภรณ์ วัฒนเขจร และสุพรรษำ พิมพำ ครูที่ปรึกษำ พ็ชรี ประสำรบุญ โรงเรียนนครนายกวิทยาคม อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ การศึกษาการสารวจค่าความเป็นกรด-เบส (pH) ของน้าที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในแหล่งน้าจืดต่างๆ โดยมีการสารวจ ด้วยการกาหนดแหล่งน้า 2 แหล่ง คือแหล่งน้าสามสาวและแหล่งน้าท่าทราย แต่ละแหล่งแบ่งออกเป็น 3 สถานี ทาการสารวจและ เก็บตัวอย่างน้าแหล่งละ 5 สัปดาห์ โดยทาการวัดค่าความเป็นกรด-เบส (pH) ตรวจสอบค่าออกซิเจนที่ละลายในน้า (DO) และ อุณหภูมิ พร้อมทั้งเก็บตัวอย่างน้าสถานีละ 1 ขวด และนาไปเพาะเลี้ยงในน้าต้มฟางข้าว ทิ้งไว้เป็นเวลา 7 วัน จากนั้นนาน้ามา ตรวจดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมบันทึกภาพสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่พบและจัดจาแนกออกเป็น Phylum, Class, Oder และ Family ซึ่งปรากฏผลดังนี้ แหล่งน้าสามสาวมีผลการวัดคุณสมบัติของน้าเฉลี่ยดังนี้ ค่าความเป็นกรด-เบส (pH) 7.97 ค่าออกซิเจนที่ละลายในน้า (DO) 7.53 พีพีเอ็ม และอุณหภูมิ 29.53 เซลเซียส พบสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กใน Phylum Protozoa และ Phylum Rotifera Phylum Protozoa ได้แก่ Stentor mulleri , Holophrya simplex , Paramecium caudatum , Tetrahymena pyriformis , Vorticella sp. และ Phylum Rotifera ได้แก่ Platyias quadricornis แหล่งน้าท่าทรายมีผลการวัดคุณสมบัติของน้าเฉลี่ยดังนี้ ค่าความเป็นกรด-เบส(pH) 7.85 ค่าออกซิเจนที่ละลายในน้า (DO) 7.1 พีพีเอ็ม และอุณหภูมิ 29.33 เซลเซียส พบสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กใน Phylum Protozoa และ Phylum Rotifera Phylum Protozoa ได้แก่ Amoba sp. , Holophrya simplex , Dileptus anser , Tetrahymena pyriformis , Vorticella sp. และ Phylum Rotifera ได้แก่ Rotaria citrinus และ Platyias quadricornis แหล่งน้าทั้ง 2 แหล่งนี้ มีคุณสมบัติของน้าโดยเฉลี่ยและพบสิ่งมีชีวิตในน้าขนาดเล็กคล้ายๆกัน คือ Phylum Protozoa 5 ชนิด และ Phylum Rotifera 2 ชนิด
๑๕๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องผ่ำเมล็ดบัวหลวง ศุภศิษฐ์ สีลำ, ธนภูมิ สุวรรณวำรี และพิณัฐ รุ่งวิทยกุล ครูที่ปรึกษำ เพ็ชรี ประสำรบุญ โรงเรียนนครนายกวิทยาคม อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ โครงงานสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ เป็นโครงงานที่มีจุดประสงค์ประดิษฐ์เครื่องผ่าเมล็ดบัว ให้สามารถผ่าเมล็ดบัวได้ ปริมาณมากกว่า การผ่าด้วยมือแบบธรรมดา ได้ใช้ใบมีดตรึงสปริงแผ่นไม้และใช้ตะปูยึด และนาไปทดลองผ่าเมล็ดบัวหลวง จากการทดลองพบว่า เครื่องผ่าเมล็ดบัวหลวงมีประสิทธิภาพในการผ่า ในเวลา 1 นาที เฉลี่ยจานวน 21.9 เมล็ด ส่วนการ ผ่าด้วยมือ 1 นาที เฉลี่ย 13.5 เมล็ด สรุปได้ว่าเครื่องผ่าเมล็ดบัวหลวงสามารถผ่าเมล็ดบัวได้จริง
๑๕๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำปริมำณวิตำมินซีในสมุนไพรบำงชนิด ธนดล คำมำก และพงศกร มีนำ ครูที่ปรึกษำโครงงำน เพ็ชรี ประสำรบุญ และกันยำรัตน์ เจริญยิ่ง โรงเรียนนครนายกวิทยาคม อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ การศึกษาปริมาณวิตามินซีในสมุนไพรบางชนิดมีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาชนิดของสมุนไพรที่มีวิตามินซีเป็นองค์ประกอบ 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณวิตามินซีในยาสมุนไพรกับวิตามินซีสังเคราะห์ ตัวแปรต้นคือ สมุนไพรชนิดต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา เป็นสมุนไพรที่หาได้ง่ายตามพื้นบ้านและร้านขายยาโบราณในท้องถิ่น มีจานวน 7 ชนิด ได้แก่ ยาดา ต้นเพชรสังฆาต ใบเพชรสังฆาต ใบ ชุมเห็ด ใบขี้เหล็ก ดีเกลือฝรั่ง และใบมะขามแขก ตัวแปรตามคือ ปริมาณวิตามินซีในสมุนไพรแต่ละชนิด ในการศึกษา นาสมุนไพรแต่ละ ชนิดมาบดให้ละเอียดละลายในน้าที่ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์, 0.1 เปอร์เซ็นต์, 0.01เปอร์เซ็นต์ และ 0.001 เปอร์เซ็นต์ ด้วยวิธี นามาสลายสีของไอโอดีนเปรียบเทียบกับวิตามินซีสังเคราะห์ที่ความเข้มข้น 10- 1 - 10- 6 เปอร์เซ็นต์ พบว่าน้ายาดา และน้าต้น เพชรสังฆาตความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณวิตามินซีมากที่สุดอยู่ระหว่าง 10- 2 - 10- 3 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใบชุมเห็ด ดีเกลือฝรั่ง 10- 1 เปอร์เซ็นต์, ต้นและใบเพชรสังฆาต ใบชุมเห็ด ใบขี้เหล็ก ใบมะขามแขก 10- 2 เปอร์เซ็นต์, ยาดา ต้นและใบเพชรสังฆาต ใบชุมเห็ด ใบขี้เหล็ก ใบมะขามแขก 10- 3 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณวิตามินซีน้อยที่สุดคือน้อยกว่า 10- 6 เปอร์เซ็นต์ คำสำคัญ : วิตามินซี, สมุนไพร, ยาระบาย
๑๕๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำสำรสกัดไคโตซำนที่มีผลต่อกำรงอกและกำรเจริญเติบโตของข้ำวสำลี สุธีมำ เจริญยิ่ง และแพรวประกำย ทำแกง ครูที่ปรึกษำ เพ็ชรี ประสำรบุญ และกันยำรัตน์ เจริญยิ่ง โรงเรียนนครนายกวิทยาคม อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ จากการศึกษาคุณสมบัติของไคโตซานที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพันธุ์ข้าวสาลี โดยการสกัดไคโตซานจากเปลือกกุ้ง กุลาขาวและนาไคโตซานละลายด้วยกรด CH3COOH ที่ความเข้มข้น 1 โมล และ 2 โมล เจือจางด้วยน้ากลั่นได้สารละลายที่มีความ เข้มข้นที่ 1 พีพีเอ็ม, 10 พีพีเอ็ม ตามลาดับ นามาทดสอบหาค่าดัชนีการงอกของเมล็ดข้าวสาลีพบว่า ในความเข้มข้นที่ 2 โมล ที่ระดับ ความเจือจาง 10 พีพีเอ็ม มีดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ที่มากที่สุดคือ 56.60 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกันกับชุดควบคุมมีค่าดัชนี การงอกเท่ากับ 36.51 เปอร์เซ็นต์ เมื่อนาเมล็ดข้าวสาลีที่งอกมาทดสอบหาอัตราการเจริญเติมโต โดยเปรียบเทียบระหว่างความเข้มข้นของสารละลายไคโตซาน ด้วยกรด CH3COOH ที่ความเข้มข้น 1 โมล 2 โมล เจือจางด้วยน้ากลั่นได้สารละลายที่มีความเข้มข้นที่ 1 พีพีเอ็ม, 10 พีพีเอ็ม เป็น เวลา 7 วัน พบว่าในความเข้มข้นที่ 2 โมล ที่ระดับความเจือจาง 10 พีพีเอ็ม มีค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโตของข้าวสาลีมากสุดคือ 29.4 เซนติเมตร และชุดควบคุม มีค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโตของข้าวสาลีต่าสุด เท่ากับ 6.8 เซนติเมตร
๑๕๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรคำนวณค่ำพลังงำนไฟฟ้ำในครัวเรือนเพื่อกำรวำงแผนกำรใช้จ่ำยค่ำไฟฟ้ำอย่ำงประหยัด นพพล บุษปฤกษ์ และมนัสนันท์ พวงพัฒนชัย ครูที่ปรึกษำ นำรีรัตน์ อินอิว โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” อาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก 26110 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์เรื่อง“การคานวณค่าพลังงานไฟฟ้าในครัวเรือนเพื่อการวางแผนการใช้จ่าย ค่าไฟฟ้าอย่างประหยัด ” ได้ ดาเนินการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าและคานวณค่าใช้ไฟฟ้าเพื่อให้เพียงพอและเหมาะสมต่อรายได้ของครัวเรือนและเพื่อเป็นการ วางแผนการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและคุ้มค่าโดยใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ เบื้องต้น อาทิ การบวก ลบ คูณ หาร อัตราส่วน ร้อยละ และ การประมาณค่า คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการโดยการนาชนิดของเคริ่องใช้ไฟฟ้า จานวน 8 ชนิด ที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวันของประชาชนส่วน ใหญ่ ได้แก่ หลอดฟลูออเรสเซนต์ พัดลม โทรทัศน์ หม้อหุงข้าว เตารีด เครื่องซักผ้า ตู้เย็น มาศึกษาค้นคว้า ว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิด ใช้ กาลังไฟฟ้าไปมากน้อยเพียงใดและใช้พลังงานไฟฟ้าเท่าใดในแต่ละชั่วโมง ใน 1 เดือน (30 วัน) แล้วนามาคานวณเพื่อหาว่า เพียงพอกับ จานวนเงิ นหรื อ รายได้ใ นครั ว เรื อนหรื อ ไม่ โดยใช้ จ านวนเงิ น เป็ น เกณฑ์ ในการก าหนดค่ า พลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ค วรใช้ ห รื อ เวลาในการใช้ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆในครัวเรือน ซึ่งผลการดาเนินการปรากฏ ผลดังนี้ หากไม่ต้องการเสียเงินค่าใช้ไฟฟ้า (ใช้พลังงานไฟฟ้า 90 หน่วย)ต้องใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ 6 ชั่วโมง พัดลม 4 ชั่วโมง โทรทัศน์ 4 ชั่วโมง หม้อหุงข้าว 2 ชั่วโมง เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 ชั่วโมง เตารีด 1 ชั่วโมง เครื่องซักผ้า 2 ชั่วโมง ตู้เย็น 720 ชั่วโมงเป็นต้น หากต้องการ เสียเงิน 300 บาท (ใช้พลังงานไฟฟ้า 100 หน่วย) ต้องใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ 2 ชั่วโมง พัดลม 5 ชั่วโมง โทรทัศน์ 3 ชั่วโมง หม้อหุงข้าว 3 ชั่วโมง เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ชั่วโมง เตารีด 3 ชั่วโมง เครื่องซักผ้า 1 ชั่วโมง ตู้เย็น 720 ชั่วโมง เป็นต้น หากต้องการเสียเงิน 500 บาท (ใช้พลังงานไฟฟ้า 150 หน่วย) ต้องใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ 3 ชั่วโมงพั ดลม 5 ชั่วโมง โทรทัศน์ 3 ชั่วโมง หม้อหุงข้าว 4 ชั่วโมง เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ชั่วโมง เตารีด 3 ชั่วโมง เครื่องซักผ้า 1 ชั่วโมง ตู้เย็น 720 ชั่วโมง เป็นต้น หากต้องการเสียเงิน 700 บาท (ใช้พลังงานไฟฟ้า 200 หน่วย) ต้องใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ 100 ชั่วโมง พัดลม 60 ชั่วโมง โทรทัศน์ 60 ชั่วโมง หม้อหุงข้าว 30 ชั่วโมง เครื่องคอมพิวเตอร์ 60 ชั่วโมง เตารีด 8 ชั่วโมง เครื่องซักผ้า 24 ชั่วโมง ตู้เย็น 720 ชั่วโมง เป็นต้น หากต้องการเสียเงิน 800 บาท (ใช้พลังงานไฟฟ้า 250 หน่วย) ต้องใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ 200 ชั่วโมง พัดลม 180 ชั่วโมง โทรทัศน์ 120 ชั่วโมง หม้อหุงข้าว 60 ชั่วโมง เครื่องคอมพิวเตอร์ 60 ชั่วโมง เตารีด 16 ชั่วโมง เครื่องซักผ้า 4 ชั่วโมง ตู้เย็น 720 ชั่วโมง เป็นต้น หากต้องการเสียเงิน 1,100 บาท (ใช้พลังงานไฟฟ้า 300 หน่วย) ต้องใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ 300 ชั่วโมง พัดลม 60 ชั่วโมง โทรทัศน์ 60 ชั่วโมง หม้อหุงข้าว 90 ชั่วโมง เครื่องคอมพิวเตอร์ 60 ชั่วโมง เตารีด 6 ชั่วโมง เครื่องซักผ้า 6 ชั่วโมง ตู้เย็น 720 ชั่วโมง เป็นต้น
๑๖๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรศึกษำควำมสำมำรถในกำรดักจับน้ำมันที่ปนมำกับน้ำทิ้งจำกครัวเรือนของกำกมะพร้ำว ก้ำนผักตบชวำ และก้ำนกล้วย เจนณรงค์ สิทธิศุภพงศ์ และพชร พลอยเพ็ชร ครูที่ปรึกษำ พัชรี อินทปัญญำ โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” อาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก 26110 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ ปัจจุบันปัญหาน้าเน่าเสียกาลังทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกวัน สาเหตุหลักเกิดจากการขาดความเอาใจใส่ต่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมของประชาชน มีการปล่อยน้าเสียโดยไม่ผ่านกระบวนการบาบัด เมื่อน้าเสียจากหลายๆ ครัวเรือนมารวมกัน แหล่งน้าจึง เน่าเสียจนยากจะหาวิธีแก้ไข โครงงานวิทยาศาสตร์นี้จึงมุ่งพัฒนาอุปกรณ์ช่วยดักจับน้ามันที่ปนมากับ น้าทิ้งจากครัวเรือน ซึ่งเป็น สาเหตุหนึ่งที่ทาให้แหล่งน้าเน่าเสีย โดยทาการศึกษาความสามารถในการดูดซับน้ามันของวัสดุจากธรรมชาติ 3 ชนิด ได้แก่ กาก มะพร้าว ก้านผักตบชวา และก้านกล้วย โดยนากากมะพร้าวที่คั้นกะทิออกแล้วล้างน้านาไปตากแห้ง ก้านกล้วยและก้านผักตบชวาที่ ปอกเปลือกตัดเป็นแท่งสี่เหลี่ยม ยาว 5.00 เซนติเมตร นาตัวอย่างแต่ละชนิดบรรจุลงในขวดน้าซึ่งตัดฐานขวดออก หงายขวดขึ้น แล้วบรรจุตัวอย่างแต่ละชนิดที่เตรียมไว้ให้มีน้าหนักของตัวอย่างชนิดละ 80.00 กรัม นาน้าและน้ามันซึ่งหนักอย่างละ 250.00 กรัม เขย่าผสมเข้าด้วยกันแล้วเทใส่ลงในวัสดุที่เตรียมไว้ รอจนน้าและน้ามันไหลผ่านออกจากตัวอย่างแต่ละชนิดแล้วนาไปชั่งเพื่อหา ปริมาณของน้าและน้ามันที่ถูกดูดซับจากตัวอย่างแต่ละชนิด พบว่ากากมะพร้าวมีความสามารถในการดูดซับน้ามันได้สูงที่สุดคือ 250.00 กรัม/80.00 กรัมวัสดุดูดซับ หรือคิดเป็น 3.12 เท่าของน้าหนักตัว รองลงมาคือก้านผักตบชวามีความสามารถในการดูดซับ น้ามันได้ คือ 125.10 กรัม/80.00 กรัมวัสดุดูดซับ หรือคิดเป็น 1.56 เท่าของน้าหนักตัว ส่วนก้านกล้วย ซึ่งมีความสามารถในการ ดูดซับน้ามันต่าสุด คือ 115.40 กรัม/80.00 กรัมวัสดุดูดซับ หรือคิดเป็น 1.44 เท่าของน้าหนักตัว เมื่อนากากมะพร้าวมาประยุกต์ใช้ ในอุปกรณ์ดักจับน้ามันโดยนามาเรียงสลับชั้นกับใยบวบเมื่อช่วยให้น้าไหลได้เร็วขึ้น พบว่าอุปกรณ์นี้สามารถดักจับน้ามันที่ปนมากับ น้าทิ้งในครัวเรือนได้เป็นอย่างดี
๑๖๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรออกลวดลำยถุงผ้ำโดยใช้โปรแกรม GSP คณิน สมัครรัฐกิจ, ดวงฤทัย กิ่งศร และปัญฑำรีย์ ขันชลีดำรงกุล ครูที่ปรึกษำ น้ำอ้อย ใจแสน และสมจิตร หอมลำดวน โรงเรียนองครักษ์ อาเภอเมืององครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การออกแบบลวดลายถุงผ้าโดยใช้โปรแกรม GSP มีจุดประสงค์ 1) เพื่อออกแบบลวดลาย ถุงผ้า 2) เพื่อทาถุงผ้าที่ออกแบบลวดลายโดยใช้โปรแกรม GSP 1) เพื่อนาความรู้ทางคณิตศาสตร์และโปรแกรม GSP ไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน 2) เพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก วิธีการดาเนินการ ศึกษาเนื้อหาคณิตศาสตร์จากลวดลายถุงผ้าโดยรวบรวมลวดลายถุง ผ้าที่มีในท้องตลาด จาก Internet ศึกษาเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลวดลายถุงผ้า วิเคราะห์ลวดลายถุงผ้า โดยใช้ โปรแกรม GSP สรุปผลการศึกษาเนื้อหาคณิตศาสตร์จากลวดลายถุงผ้า ศึกษาขั้นออกแบบลวดลายถุงผ้าโดยร่างแบบลวดลายถุง ผ้าลงในกระดาษ สร้างลวดลายถุงผ้าที่ออกแบบไว้โดยใช้โปรแกรม GSP และนาเสนอข้อมูลรวบรวมข้อมูลและเขียนรายงาน โครงงานและจัดทาแผงโครงงาน ผลการดาเนินการงานพบว่า การออกแบบลายถุงผ้าโดยการใช้โปรแกรม GSP การออกแบบลายถุงผ้าโดยการใช้ โปรแกรม GSP ได้ลวดลายถุงผ้าจานวน 5 ลาย คือ ลายมะยงชิด ลายสวนสาธารณะ ลายอุปกรณ์การทดลอง ลายต้นไม้ ลายต้นไม้กับรถยนต์ ซึ่งใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ใน เรื่อง รูปเรขาคณิต ได้แก่ วงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และ การแปลงทางเรขาคณิต ได้แก่ การเลื่อนขนาน การหมุน และการสะท้อน และการทาถุงผ้าที่ออกแบบลวดลายโดยใช้โปรแกรม GSP ที่นาความรู้ทางคณิตศาสตร์และโปรแกรม GSP ไปใช้ในชีวิตประจาวันและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง คำสำคัญ: โปรแกรม GSP
๑๖๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลำในกำรบินของเครื่องบินพลังยำง ศรำวุธ สุทำวัน และธนำวี กำนต์ฉลองชัย ครูที่ปรึกษำ น้ำอ้อย ใจแสน และสมจิตร หอมลำดวน โรงเรียนองครักษ์ อาเภอเมืององครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก อาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาในการบินของเครื่องบินพลังยาง มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาถึง ขนาดของปี ก มุมยกปี ก และจานวนหนังยางว่ าจะส่งผลต่ อระยะเวลาในการบิ นของเครื่ องบินได้อ ย่างไร และขนาดของปี ก มุมยกปีก จานวนหนังยางที่กลุ่มของข้าพเจ้าคิดว่าเหมาะสมสาหรับนามาประกอบเครื่องบินพลังยางเพื่อให้เป็นประโยชน์กับบุคคล ที่สนใจจะนาไปพัฒนาต่อและจะได้ไม่เสียเวลาในการหาขนาดของปีก มุมยกปีก จานวนหนังยาง ผลการทดลองพบว่าปีกขนาด 10 x 20 เซนติเมตร แบบเพิ่มปีกข้าง มีมุมยกปีกขนาด 21 องศา และใช้จานวนหนั งยาง 12 วง เป็นปีกที่บินได้ดีที่สุด
๑๖๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๖๔
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสิงห์บุรี (สพป. สิงห์บุรี)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๖๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เรือบังคับวิทยุตรวจกระแสไฟฟ้ำรั่วในน้ำ ภูมิทวี ร่มโพธิ์ , พงศธร เรืองสุข และจิรำยุ เทียนเจริญไชย ครูที่ปรึกษำโครงงำน ปรีชำ มีชัย โรงเรียน สิงห์บุรี อำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี ๑๖๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต ๕ สิงห์บุรี
บทคัดย่อ โครงงำนวิทยำศำสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง เรือบังคับวิทยุตรวจกระแสไฟฟ้ำรั่วในน้ำ เป็นเครื่องมือที่สำมำรถใช้ใน กำรตรวจสอบว่ำ ในน้ำแหล่งนั้น มีกระแสไฟฟ้ำรั่วหรือไม่ หลักกำรในกำรทำงำน ของเรือบังคับวิทยุตรวจกระแสไฟฟ้ำรั่วในน้ำ คือ เมื่อเรำสงสัยว่ำบริเวณที่น้ำท่วม ในบ้ำนเรำในจุดต่ำงๆที่มีปลั๊กไฟ ยังมีกระแสไฟฟ้ำอยู่หรือไม่ ซึ่งเรำก็สำมำรถตรวจสอบได้โดยกำร ควบคุมเรือบังคับวิทยุตรวจกระแสไฟฟ้ำรั่วในน้ำ ให้ไปตรวจสอบบริเวณดังกล่ำว ถ้ำบริเวณดังกล่ำวมีกระแสไฟฟ้ำ จะมีสัญญำณ เตือนทำงเสียง และแสงไฟจำกหลอด LED เป็นสีแดง ทำไห้เรำทรำบตำแหน่งและบริเวณดังกล่ำวที่มีไฟฟ้ำรั่วได้ ซึ่งจะช่วยป้องกัน กำรเกิดอันตรำยจำกกระแสไฟฟ้ำรั่วในน้ำได้ เรำได้ทำกำรทดลอง ว่ำอุปกรณ์ของเรำสำมำรถที่จะวัดระดับกระแสไฟฟ้ำที่รั่วในน้ำ ในระยะห่ำงจำกจุดที่กระแสไฟฟ้ำรั่วในระยะต่ำงๆกัน ขั้นตอนกำรทดลองของเรำมี 4 ขั้นตอน คือ 1. เตรียมแหล่งน้ำที่ต้องกำร ทดสอบให้พร้อม 2. ปล่อยกระแสไฟฟ้ำลงไปในน้ำเพียงจุดเดียว 3. นำอุปกรณ์ของเรำลงไปวำงบนผิวน้ำ ในระยะที่ห่ำงจำกจุด ปล่อยกระแสไฟฟ้ำต่ำงกันออกไป 4. บันทึกผลกำรทดลอง กำรทดลองของเรำมีจุดประสงค์เพื่อตรวจสอบว่ำ เรือบังคับวิทยุตรวจกระแสไฟฟ้ำรั่วในน้ำ สำมำรถที่จะตรวจไฟฟ้ำรั่วใน รัศมีเท่ำใด ซึ่งเพื่อศึกษำในกำรนำไปใช้จริง
๑๖๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ำด้วยล้อรถ ชุติมณฑน์ เขตกำรณ์ , ศำตนันท์ แสงมณี และสุวรัตน์ สุขโข ครูที่ปรึกษำโครงงำน สวยสม ปั้นเกตุ และนันทรัตน์ ประพุสโร โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000 สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 5 สิงห์บุรี
บทคัดย่อ โครงงำนวิทยำศำสตร์เรื่องเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ำด้วยล้อรถนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยในกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำขึ้นมำ ทดแทน ประหยัดพลังงำน แก้ปัญหำกำรขำดแคลนพลังงำนที่จะเกิดขึ้นในอนำคต ถ้ำผลิตพลังงำนขึ้นมำได้ก็จะนำไฟฟ้ำที่ได้มำไป ใช้ประโยชน์ได้จริง ขั้นตอนกำรดำเนินกำรทดลองแบ่งออกเป็น 7 ขั้นตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ศึกษำองค์ประกอบและกำรทำงำนของ ล้อรถ ตอนที่ 2 ศึกษำหลักกำรทำงำนของไดนำโม ตอนที่ 3 ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงล้อรถและไดนำโม ตอนที่ 4 ออกแบบ เครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ำด้วยล้อ ตอนที่ 5 ทดลองประสิทธิภำพของเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ำด้วยล้อรถโดยกำรทดลองกับขนำดของ แบตเตอรี่ ตอนที่ 6 นำไปใช้จริง ผลกำรศึ ก ษำพบว่ ำ เครื่ อ งผลิ ต กระแสไฟฟ้ ำ ด้ ว ยล้ อ รถมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพสำมำรถน ำมำใช้ ง ำนได้ จ ริ ง สำมำรถผลิ ต กระแสไฟฟ้ำเพื่อเก็บสะสมในแบตเตอรี่และนำแบตเตอรี่ไปใช้ประโยชน์ต่อไป
๑๖๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กระแสไฟฟ้ำเร่งกำรเจริญเติบโตของถั่วงอก ทิฆัมพร คำมูล , สรัลชนำ คงคำมี และหฤทัย ขำศรี ครูที่ปรึกษำโครงงำน นุสรำ หัวไผ่ และปรีชำ มีชัย โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000 สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 5 สิงห์บุรี
บทคัดย่อ กำรศึกษำกระแสไฟฟ้ำเร่งกำรเจริญเติบโตของถั่วงอก มีจุดประสงค์เพื่อศึกษำระยะเวลำกำรผ่ำนกระแสไฟฟ้ำเพื่อเร่งกำร เจริญเติบโตของถั่วงอกโดยแบ่ง ขั้นตอนกำรทำกำรทดลองแบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ศึกษำปริมำณกระแสไฟฟ้ำเมื่อใช้ควำม เข้มข้นของสำรละลำยโซเดียมคลอไรด์ที่ต่ำงกันเพื่อให้ได้ควำมเข้มข้นของสำรที่จะสำมำรถทำให้กระแสไฟฟ้ำผ่ำนได้มำกที่สุดจำก ผลกำรทดลองพบว่ำ ควำมเข้มข้นของสำรละลำยโซเดียมคลอไรด์ ที่เหมำะสมที่สุด คือควำมเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ โดยมวลต่อ ปริมำตร ตอนที่ 2 ศึกษำเวลำในกำรให้ปริมำณกระแสไฟฟ้ำเพื่อเร่งกำรเจริญเติบโตของถั่วงอกโดยใช้กระแสไฟฟ้ำ 12 โวลต์ ควำม เข้มข้นของสำรละลำยโซเดียมคลอไรด์ 1 เปอร์เซ็นต์โดยมวลต่อปริมำตร กลุ่มทดลองเป็นถั่วงอกควำมสูงเฉลี่ย 1 เซนติเมตรจำนวน 100 ต้น ผลกำรทดลองพบว่ำเมื่อผ่ำนกระแสไฟฟ้ำควำมต่ำงศักย์ 12 โวลต์ ไปยังสำรละลำยโซเดียมคลอไรด์ควำมเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ โดยมวลต่อปริมำตรที่แช่เมล็ดถั่วที่เริม่ งอกรำกยำวประมำณ 1 เซนติเมตรโดยใช้เวลำกระตุ้นวันละ 30 นำที สำมำรถเร่ง กำรเจริญเติบโตของถั่วงอกได้ 22 เปอร์เซ็นต์
๑๖๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ปุ๋ยอินทรีย์สูตรประหยัด กุลภัสสรณ์ แก้วประเสริฐ, ณฐิตำ ศรีเผือก และสิรีรศั มิ์ สีมำภำพงษ์ คุณครูที่ปรึกษำโครงงำน สวยสม ปั้นเกตุ และนันทรัตน์ ประพุสโร โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000 สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 5 สิงห์บุรี
บทคัดย่อ เนื่องจำกปุ๋ยเป็นส่วนช่วยในกำรเจริญเติบโตของพืชผัก และในปัจจุบันนี้จะพบว่ำคนส่วนใหญ่มักใช้สำรเคมีซึ่งมีรำคำ ค่อ นข้ ำ งสู ง จำกกำรที่ เ รำได้ ศึ ก ษำพบว่ ำ มี ก ำรวิ จั ย ว่ ำ เปลื อ กถั่ ว ลิ ส ง มี แ ร่ ธ ำตุ ต่ ำ ง ๆ ที่ ท ำให้ พื ชเจริ ญ เติ บ โตได้ เ ร็ ว ขึ้ น คณะผู้จัดทำจึงคิดที่จะนำเปลือกถั่วลิสง มำทำเป็นปุ๋ยโดยผสมลงในส่วนผสมที่จะนำมำทำปุ๋ย และยังเป็นกำรประหยัดค่ำใช้จ่ำยได้ ส่วนหนึ่ง กำรทำปุ๋ยโดยกำรนำมูลวัวมำผสมกับเปลือกถั่วลิสงในอัตรำส่วนต่ำง ๆ คือ สูตรที่ 1 มูลวัว 250 กรัม ผสมกับเปลือก ถั่วลิสง 250 กรัม , สูตรที่ 2 มูลวัว 350 กรัม ผสมกับเปลือกถั่วลิสง 150 กรัม และสูตรที่ 3 มูลวัว 150 กรัม ผสมกับเปลือกถั่ว ลิสง 350 กรัม แล้วนำมำทดลองใส่ในต้นผักบุ้งจีน และดูว่ำสูตรไหนทำให้ผักบุ้งเจริญเติบโตดีที่สุด และได้ผลว่ำ สูตรที่ 1 ทำให้ ผักบุ้งจีนเจริญเติบโตได้ดีที่สุด นำปุ๋ยสูตรที่ 1 ทั้งหมด 1,000 กรัม และแบ่งเป็น 100 กรัม , 200 กรัม , 300 กรัม และ 400 กรัม และนำมำทำเป็นก้อนใส่ในแต่ละกระถำงที่ปลูกต้นผักบุ้งจีน เพื่อที่จะดูว่ำปริมำณใดเหมำะสมมำกที่สุด ผลกำรศึกษำโครงงำนพบว่ำ ในตอนที่ 1 ทำกำรศึกษำปุ๋ยหลำยสูตรแต่พบว่ำสูตรที่ดีที่สุด คือ ปุ๋ยสูตรที่ 1 (มูลวัว 250 กรัม : เปลือกถั่วลิสง 250 กรัม) เมื่อนำไปใส่ในกระถำงต้นผักบุ้งแล้วสำมำรถทำให้ต้นผักบุ้งเจริญเติบโตได้ดีที่สุด จำกผลกำร ทดลองไปต่อยอดในตอนที่ 2 โดยกำรนำเอำปุ๋ยสูตรที่ 1 มำใส่ในสัดส่วนต่ำง ๆ คือ ปริมำณ 100 กรัม , 200 กรัม , 300 กรัม และ 400 กรัม และพบว่ำปริมำณที่ดีที่สดุ ของกำรเจริญเติบโตของต้นผักบุ้ง กระถำงที่ใส่ปุ๋ยปริมำณ 300 กรัม และมีกำรประหยัดค่ำใช่ จ่ำยได้มำกขึ้น และปลอดภัยจำกสำรเคมี
๑๗๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ถั่วงอกไม่ง้อฟอมอร์ลีน ศิริวรรณ สินธุรส , จุฑำรัตน์ อิ่มแตง และ หลักเขต โกษำ ครูที่ปรึกษำโครงงำน เสกสรร คล้ำยสุข และไพจิตต์ ใจมั่น โรงเรียนอินทร์บุรี และโรงเรียนศรีศักดิ์สุวรรณวิทยำ จังหวัดสิงห์บุรี สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 5 สิงห์บุรี
บทคัดย่อ เนื่องจำกปัจจุบัน มีกำรนำถั่วงอกไปแช่สำรฟอมอร์ลีน เพื่อยืดอำยุก ำรเก็บรักษำถั่วงอกก่อ นนำมำขำย ซึ่งจะเป็ น อันตรำยต่อร่ำงกำยของผู้บริโภค เรำจึงมี แนวคิดที่จะหำสำรอื่น ๆ มำแทนสำรฟอมอร์ลีนในกำรช่วยยืดอำยุกำรเก็บรักษำถั่วงอก ทำงคณะผู้จัดทำทรำบมำว่ำ น้ำตำล นั้นสำมำรถช่วยยืดอำยุของดอกไม้ได้ เรำจึงคิดว่ำก็น่ำจะนำมำช่วยยืดอำยุของถั่วงอกได้ เช่นกัน อำจจะไม่ดีเท่ำสำรฟอมอร์ลีนแต่ก็ปลอดภัยกว่ำสำรฟอมอร์ลีน โดยกำรศึกษำนำน้ำตำล 3 ชนิด คือ น้ำตำลทรำยขำว น้ำตำลทรำยแดง และน้ำตำลปี๊ป มำใช้อย่ำงละ 1, 3, 5, 7 เปอเซ็นต์ มำละลำยในน้ำปริมำตร 1 ลิตร นำไปทดลองกับถั่วงอก จำกนั้นก็เปรียบเทียบผลหำชนิดของน้ำตำลที่ดีที่สุดที่ช่วยยืดอำยุกำรเก็บรักษำของถั่วงอก เมื่อได้ชนิดของน้ำตำลและปริมำณที่ดี และเหมำะสมที่สุดแล้ว ก็นำมำทำให้มีค่ำเป็น กรด – เบส โดยนำน้ำตำลชนิดที่ดีที่สุดมำละลำยในน้ำ 1.25 ลิตร โดยปริมำณที่ เหมำะสม จำกนั้น ก็น ำไปผสมน้ ำมะขำมเปี ยก เพื่ อท ำให้ส ำรละลำยมีค วำมเป็ นกรด และนำไปผสมกั บแป้งมั น เพื่ อท ำให้ สำรละลำยมีควำมเป็นเบส นำไปทดลองกับถั่วงอก และเปรียบเทียบผล จำกนั้นก็นำน้ำตำลที่มีชนิดและปริมำณที่เหมำะสมที่สุด และมีควำมเป็นกรดหรือเบสที่เหมำะสม ว่ำสำรละลำยน้ำตำลจะสำมำรถนำมำใช้แทนสำรฟอมอร์ลีนได้หรือไม่ ผลกำรทดลองพบว่ำ สำรละลำยที่ช่วยยืดอำยุกำรเก็บรักษำถั่วงอกได้ดีที่สุ ด คือ สำรละลำยน้ำตำลปี๊บ ที่ปริมำณ 5 เปอร์เซ็นต์ต่อปริมำณของน้ำ 1 ลิตร มีคุณสมบัติมีควำมเป็นกรด และประโยชน์ที่ได้คือ มีควำมปลอดภัยกว่ำกำรใช้สำรเคมี และ ช่วยยืดอำยุกำรเก็บรักษำถั่วงอกได้อีกด้วย
๑๗๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
อำหำรปลำเร่งกำรเจริญเติบโตปลำตะเพียน กฤตพงศ์ โฉมศรี , ธนวัฒน์ กล่อมจันทร์ และนุติ เรืองมั่นคง ครูที่ปรึกษำโครงงำน นันทรัตน์ ประพุสโร และสวยสม ปั้นเกตุ โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ๑๖๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต ๕ สิงห์บุรี
บทคัดย่อ กำรเลี้ยงปลำตะเพียนเป็นที่นิยมแพร่หลำยจำนวนมำกและปลำตะเพียนเป็นปลำที่เจริญเติบโตได้ช้ำ กำรเลี้ยงปลำต้องใช้ อำหำรที่มีคุณภำพ จึงจะเจริญเติบโตได้รวดเร็ว แต่ว่ำรำคำอำหำรนั้นมีรำคำแพง คณะผู้จัดทำจึงต้องกำรศึกษำแหล่งอำหำรที่มี รำคำกำรผลิตเหมำะสม และสำมำรถทำให้ปลำตะเพียนเจริญเติบโตได้มำกที่สุดโดยทำกำรเปรียบเทียบอำหำรชนิดต่ำง ๆ ที่ สำมำรถเลี้ยงปลำตะเพียนได้ ประกอบด้วยอำหำรจำกพืช (แหน) , อำหำรจำกสัตว์ (ไรแดง) , อำหำรสำเร็จรูป และอำหำรที่ได้ จำกพืช (แหน) : สัตว์ (ไรแดง) ในอัตรำส่วน 50 : 50 มำเลี้ยงปลำตะเพียนเป็นเวลำ 2 เดือน ในปริมำณอำหำร 20 กรัมเท่ำกัน เช้ำ – เย็นทุกวัน เมื่อทำกำรทดลองแล้วพบว่ำอำหำรที่ได้จำกพืช (แหน) : สัตว์ (ไรแดง) ในอัตรำส่วน 50 : 50สำมำรถทำให้ปลำ ตะเพียนเจริญเติบโตได้ดีกว่ำอำหำรปลำสำเร็จรูป , อำหำรจำกพืช (แหน) และอำหำรจำกสัตว์ (ไรแดง) เพียงอย่ำงเดียว ดังนั้นอำหำรปลำจำกธรรมชำติที่มีทั้งพืช (แหน) และสัตว์ (ไรแดง) จะช่วยลดต้นทุนในกำรเลี้ยงปลำตะเพียนจำกกำรใช้ อำหำรปลำสำเร็จรูปได้
๑๗๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ปริซึมมหัศจรรย์ขับไล่นกพิรำบ นันทพัทธ์ ปะวะศรี , เฉลิมนำถ จิตอำรีย์ และธัชพล เข็มเพ็ชร ครูที่ปรึกษำโครงงำน ปรีชำ มีชัย และสุรีพร แย้มบู่ โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000 สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 5 สิงห์บุรี
บทคัดย่อ โครงงำนวิทยำศำสตร์เรื่องปริซึมมหัศจรรย์ขับไล่นกพิรำบนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยแก้ปัญหำในเรื่องนกพิรำบที่มำถ่ำยมูล เรี่ยรำดตำมสถำนที่ต่ำงๆและสร้ำงควำมรำคำญให้กับผู้ที่อยู่อำศัยรวมทั้งเป็นพำหะนำเชื้อโรคต่ำงๆที่เกิดจำกนกพิรำบมำสู่ตัวเรำซึ่ง ก่อให้เกิดอันตรำย ขั้นตอนกำรดำเนินกำรทดลองแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพฤติกรรมกำรถอย หนีของนกพิรำบกับรูปทรงปริซึมรูปแบบต่ำง ๆ ตอนที่ 2 ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพฤติกรรมกำรถอยหนีของนกพิรำบกับรูปทรง พีระมิดรูปแบบต่ำง ๆ ตอนที่ 3 ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรูปทรงพีระมิดแบบสมมำตรกับจำนวนมูลของนกพิรำบ ตอนที่ 4 ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรูปทรงพีระมิดแบบสมมำตรรูปทรงสี่เหลี่ยมและห้ำเหลี่ยมประกอบกังหันช่วยหมุนกับจำนวนมูลของ นกพิรำบ ตอนที่ 5 ศึกษำประสิทธิภำพของปริซึมมหัศจรรย์ขับไล่นกพิรำบ ผลกำรศึกษำพบว่ำ ปริซึมมหัศจรรย์ขับไล่นกพิรำบมีประสิทธิภำพสำมำรถขับไล่นกพิรำบได้จริง ทำงำนได้เองโดยใช้ หลักกำรสะท้อนของแสงจำกกระจกเงำระนำบ รูปทรงพีระมิดแบบสมมำตรทรงห้ำเหลี่ยมและสำมำรถหมุนโดยใช้กังหันช่วยหมุน ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่ำวมีควำมแข็งแรงและปลอดภัยรวมทั้งเป็นกำรนำวัสดุเหลือใช้มำประดิษฐ์ ซึ่งทำให้นกพิรำบที่อยู่ตำมอำคำรเรียน หนีไปทำให้ไม่มีมูลของนกพิรำบ ซึ่งทำให้บริเวณห้องเรียนสะอำดและปลอดภัย
๑๗๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กระถำงหยวกกล้วย คณำธิป เจริญสุข , สุกฤต เหมือนศรี และสิทธินนท์ เอี่ยมชนะ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ปรีชำ มีชัย และสุรีพร แย้มบู่ โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ๑๖๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต ๕ สิงห์บุรี
บทคัดย่อ โครงงำนวิทยำศำสตร์เรื่องกระถำงหยวกกล้วยนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยแก้ปัญหำกำรรดน้ำพืชผัก เมื่อผู้ปลูกไม่มีเวลำรดน้ำ เนื่องจำกพืชผักโดยทั่วไปต้องกำรน้ำในกำรเจริญเติบโต เรำจึงคิดโครงงำนนี้เพื่อทำให้พืชผักมีกำรดูดน้ำได้ตลอดเวลำจำกหยวก กล้วย ขั้นตอนกำรดำเนินงำนแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ 1. ศึกษำประสิทธิภำพของกระถำงหยวกกล้วยแต่ละสำยพันธุ์ 2. ศึกษำ ปริมำณน้ำในบริเวณส่วนต่ำงของหยวกกล้วย ผลกำรศึ ก ษำพบว่ ำ กระถำงหยวกกล้ ว ยสำยพั น ธุ์ ก ล้ ว ยน้ ำหว้ ำ มี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพดี ที่ สุ ด ที่ ช่ว ยให้ พื ชผั ก ได้ รั บ น้ ำและ เจริญเติบโตต่อไป สำมำรถปลูกพืชผั กได้ในยำมที่ฝนเว้นช่วงและยังสำมำรถช่วยประหยัดเวลำสำหรับผู้ที่ไม่มีเวลำรดน้ำพืชผักอีก ด้วย และบริเวณส่วนล่ำงสุดของหยวกกล้วยมีปริมำณน้ำที่มำก ช่วยให้พืชผักได้รับน้ำได้มำกที่สุด นอกจำกนี้กระถำงหยวกกล้วยยัง ใช้งำนง่ำยไม่มีมลพิษ สำมำรถหำอุปกรณ์ได้จำกธรรมชำติ
๑๗๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
จักรยำนระหัดเกลียววิดน้ำ วริศรำ นำคประเสริฐ , ชนิกำนต์ เสียนขุนทด และวรำภรณ์ คีรีวรรณ์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน นันทรัตน์ ประพุสโร และสวยสม ปั้นเกตุ โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000 สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 5 สิงห์บุรี
บทคัดย่อ โครงงำนวิทยำศำสตร์ เรื่อง จักรยำนระหัดเกลียววิดน้ำ ได้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยแก้ปัญหำในเรื่องกำรผันน้ำจำกที่ต่ำไปที่สูง กำรผันน้ำนั้นปัจจุบัน เรำจำเป็นต้องใช้เครื่องสูบน้ำ ซึ่งเครื่องสูบน้ำนั้น มีรำคำแพงและต้องใช้ไฟฟ้ำในกำรทำงำน โดยอำศัยกำรใช้ ทฤษฎีของอำร์คีมีดิส ที่มีชื่อว่ำ ระหัดเกลียวของอำร์คีมีดิส โดยกล่ำวไว้ว่ำกำรวิดน้ำขึ้นมำจำกบ่อหรือแม่น้ำ สำหรับใช้ใน กำร อุปโภคหรือบริโภค ซึ่งทำให้เสียแรงและเวลำน้อยลงไปอย่ำงมำก กำรที่อำร์คิมีดีสคิดสร้ำงระหัดวิด น้ำขึ้นมำนั้น ก็เพรำะเขำเห็น ควำมลำบำกของชำวเมืองในกำรนำน้ำขึ้นจำกบ่อหรือแม่น้ำมำใช้ ซึ่งต้องใช้แรงและเสียเวลำอย่ำงมำก ระหัดวิดน้ำ ของอำร์คิมีดีส ประกอบ ไปด้วยท่อทรงกระบอกขนำดใหญ่ภำยในเป็นแกนระหัด มีลักษณะคล้ำยกับดอกสว่ำน เมื่อต้องกำรใช้น้ำ ก็หมุนที่ด้ำมจับ ระหัดน้ำก็จะไหลขึ้นมำตำมเกลียวระหัดนั้น โดยทำงผู้จัดทำได้ใช้เกลียววิดน้ำ วิดน้ำขึ้นมำจำกด้ำนล่ำง ใช้แรงปั่นจำกจักรยำนที่อยู่ ด้ำนบน ขั้นตอนกำรดำเนินงำนแบ่งออกเป็นตอนที่ 1 กำรออกแบบรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ทั้งเกลียววิดน้ำ และ ฐำนจักรยำน ตอนที่ 2 กำรทำเกลียววิดน้ำ ตอนที่ 3 กำรทำฐำนจักรยำน ตอนที่ 4 กำรประกอบเกลียววิดน้ำกับจักรยำน ตอนที่ 5 ศึกษำประสิทธิภำพ ของระหัดเกลียววิดน้ำโดยเปรียบเทียบควำมเร็วในกำรปั่นจักรยำนกับปริมำตรน้ำที่ลดลง และ ตอนที่ 6 ศึกษำกำรนำไปใช้จริง ผลกำรศึกษำพบว่ำ จักรยำนระหัดเกลียววิดน้ำ มีประสิทธิภำพสำมำรถวิดน้ำ จำกที่ต่ำไปที่สูงได้จริง โดยน้ำที่ย้ำยขึ้นมำ ได้นั้นมีควำมเร็วกว่ำกำรใช้มือหมุนระหัดและยังสรุปได้ว่ำ ยิ่งปั่นจักรยำนด้วยควำมเร็วมำก ปริมำตรน้ำที่สำมำรถวิดได้ก็มีปริมำณ มำกขึ้นเช่นกัน อีกทั้งยังสะดวกมำกกว่ำกำรหมุนเนื่องจำกใช้กำรถีบจักรยำน มำทำงำนแทนเพื่อช่วยผ่อนแรง ซึ่งอุปกรณ์ ดังกล่ำว มีควำมแข็งแรงและปลอดภัย สำมำรถรองรับน้ำหนักของผู้ปั่นจักรยำนได้มำก ทั้งเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยวิดน้ำและประหยัดค่ำเครื่อง สูบน้ำ ค่ำไฟฟ้ำ และยังไม่ต้องใช้พลังงำนแบตเตอรี่ แต่ใช้พลังงำนจำกกำรปั่นจักรยำนแทน
๑๗๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
หลังคำประหยัดพลังงำน นำยจิรภำส พงษ์สถิตพร , ญำณกำล วัฒนพงษ์ และอรุษ ศรีสุธอ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ปรีชำ มีชัย และนุสรำ หัวไผ่ โรงเรียนสิงห์บุรี อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ๑๖๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต ๕ สิงห์บุรี
บทคัดย่อ โครงงำนวิทยำศำสตร์เรื่อง หลังคำประหยัดพลังงำน ได้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยแก้ปัญหำตัวอำคำรร้อน และลดกำรใช้พลังงำน ขั้นตอนกำรดำเนินกำรทดลองแบ่งออกเป็น 7 ขั้นตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ออกแบบตัวบ้ำนอย่ำงง่ำย ตอนที่ 2 นำลวดทองแดงสอดเข้ำ ไปในช่องระหว่ำงหลังคำกับฝ้ำหลำยๆครัง้ ตอนที่ 3 ต่อสำยน้ำเข้ำและน้ำออกจำกท่อทองแดงด้วยท่อยำงขนำดเท่ำๆกับท่อทองแดง ตอนที่ 4 ติดตั้งตัวฉีดน้ำให้สำมำรถฉีดน้ำเข้ำไปในท่อทองแดงได้ ตอนที่ 5 ให้น้ำค้ำงในท่อเป็นวำลำ 15 นำทีแล้วจึงปล่อยน้ำออก ตอนที่ 6 วัดอุณหภูมิภำยในบ้ำน ตอนที่ 7 ศึกษำกำรนำไปใช้ได้จริง ผลกำรศึกษำพบว่ำ หลังคำประหยัดพลังงำนสำมำรถใช้งำนได้จริง ผู้ใช้สำมำรถใช้งำนหลังคำประหยัดพลังงำนได้ ตลอดเวลำ สำมำรถช่วยลดอุณหภูมิภำยในตัวบ้ำนให้เย็นลง ทั้งยังสำมำรถช่วยลดพลังงำนที่จะต้องใช้ง ำนเครื่องปรับอำกำศเป็น วำลำนำนเพื่อให้อุณหภูมิภำยในตัวบ้ำนเย็นลงซึ่งเปลืองพลังงำนและเงินมำก และยังสำมำรถนำน้ำร้อนที่ได้มำใช้ประโยชน์อื่น ๆ ได้อีก
๑๗๖
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุพรรณบุรี เขต ๑ (สพป. สุพรรณบุรี เขต ๑)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๗๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องคั้นน้ำผลไม้แบบประหยัด กิตติบุญ สัตบุษ, กิตติศักดิ์ ศรีโมรำ และพรพรรณ มั่นทอง ครูที่ปรึกษำโครงงำน ฉลอง รุ่งเรือง โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย อาเภอ เดิมบางนางบวช จังหวัด สุพรรณบุรี
บทคัดย่อ เครื่องคั้นน้าผลไม้ ในปัจจุบันที่ขายตามท้องตลาดมีราคาที่ถูกก็จริงแต่ว่ามีประสิทธิภาพที่ยังไม่เต็มที่เพราะฉะนั้นกลุ่ม ของพวกเราจึงคิดค้นและประดิษฐ์เครื่องคั้นน้าผลไม้ขึ้นมาเพื่อให้ได้เครื่องคั้นน้าผลไม้ที่มีประสิทธิภาพได้ดีกว่า พกพาสะดวกกว่า สามารถถอดทาความสะอาดได้ มีรูปทรงที่กะทัดรัดไม่ใหญ่เกินไปอีกทั้ง ยังนาท่อพีวีซีที่เหลือใช้ มารีไซเคิลเพื่อเป็นการลดปริมาณ ขยะซึ่งเป็นส่วนช่วยในการลดโลกร้อนอีกด้วย จากการศึกษาพบว่าเครื่องคั้นน้าผลไม้ประดิษฐ์เองมีประสิทธิภาพที่ดีกว่าและ ประหยัดกว่าเครื่องคั้นน้าผลไม้ทั่วไปตามท้องตลาด
๑๗๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องดักจับไขมัน ศิวนนท์รัตนกรัณฑ์และ สุวรรณประทีป โรงเรียนบรรหาร 1 จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ ไขมันในครัวเรือน ก่อให้เกิดปัญหาในการทาความสะอาดภาชนะที่ใส่และเป็นปัญหาสาคัญอีกประการหนึ่งในการทาลาย สิ่งแวดล้อมของน้า ซึ่งไขมันจะทาให้การถ่ายเทอากาศน้อยลง ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งมีชีวิตในน้านอกจากนี้ไขมันยังทาให้ท่อ ระบายน้าเกิดการอุดตัน ไขมันย่อยสลายยาก ทาให้เกิดการบูดเน่าและส่งกลิ่นเหม็น และคราบไขมันยังทาลายทัศนียภาพอัน สวยงามของสิ่งแวดล้อมให้เสียไป โครงงานนี้ได้คิดวิธีกาจัดไขมันอย่างง่ายๆ ราคาถูกซึ่งใช้พืชที่หาง่ายในท้องถิ่นเป็นตัวซับไขมันใน น้าทิ้งจานวน 4 ชนิด คือ นุ่น ธูปฤาษี ผักตบชวา กาบมะพร้าว โดยการแบ่งการทดลอง 3 ตอนการทดลองตอนที่ 1 เปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการดูดซับไขมันของพืชทั้ง 4 ชนิดพบว่าในน้าหนัก 60 กรัมเท่ากัน ธูปฤาษีสามารถดูดซับไขมันได้ 97.5 เปอร์เซ็นต์ ส่วนนุ่น ผักตบชวา และกาบมะพร้าว สามารถดูดซับไขมันได้ใกล้เคียงกัน คือ 94.75 เปอร์เซ็นต์ คณะผู้จัดทาจึงคิดหาวิธีการกรองที่ จะทาให้ปริมาณไขมันเหลือน้อยที่สุดจึงดาเนินการทดลองตอนที่ 2 โดยนาพืชทุกชนิดมาเป็นชั้นกรองโดยเรียงเป็นชั้นๆแต่เปลี่ยน น้าหนักของพืชแต่ละชนิดให้ต่างกันไป และในการทดลองตอนที่ 2 กับตอนที่ 3 ผู้จัดทาได้นาถ่านใส่ลงไปในชั้นกรองด้วย เพื่อช่ วย ดูดกลิ่นของไขมันจากครัวเรือน จากการทดลอง ถ้านานุ่น 30 กรัมธูปฤาษี 80 กรัม ผักตบชวา 40 กรัม และกาบมะพร้าว 40 กรัม มาเป็นชั้นกรองสามารถกรองไขมันได้ 99.75 เปอร์เซ็นต์ ทาให้ได้น้าที่ใสมีไขมันปนอยู่น้อยมาก ผู้จัดทาเห็นว่าตามสภาพความเป็น จริงภายในครัวเรือนอัตราส่วนของไขมันในน้าทิ้งจะแตกต่างกันไปจึงคิดทาการทดลองตอนที่ 3 เพื่อ หาปริมาตรของไขมันที่กรองได้ จริง โดยใช้อัตราส่วนชั้นกรองที่ดีที่สุดจากตอนที่ 2 มาทากรกรองน้าทิ้ง ได้ผลตามลาดับดังนี้ อัตราส่วน น้ามัน : น้า 2 : 10 สามารถดูดซับไขมันได้ 99.75 เปอร์เซ็นต์ อัตราส่วน น้ามัน : น้า 3 : 10 สามารถดูดซับไขมันได้ 99.5 เปอร์เซ็นต์ อัตราส่วน น้ามัน : น้า 4 : 10 สามารถดูดซับไขมันได้ 99.5 เปอร์เซ็นต์ อัตราส่วน น้ามัน : น้า 5 : 10 สามารถดูดซับไขมันได้ 99.25 เปอร์เซ็นต์ น้าที่ได้จากการกรองสามารถนากลับมาใช้ด้านการเกษตร อุปโภคภายในครัวเรือนซึ่งจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และเป็น การช่วยอนุรักษ์แหล่งน้าไปพร้อมกัน
๑๘๐
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องตะบันน้ำ กิตติพงษ์ จิรศักดิ์สกุล, ธันยำ รอดวิเศษ และวีรภัทร์ อินสมตัว ครูที่ปรึกษำโครงงำน ญำณภัทร กำจันทร์* และอดิศักดิ์ สำรประสิทธิ์ โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 อาเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ โครงงานเรื่องนี้ทางคณะผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นมาเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเครือ่ งตะบันน้าในการสูบน้ากลับขึ้นมาในที่เก็บ และความสามารถสูบน้าขึ้นที่สูงได้หรือไม่ โดยมีวิธีดาเนินการคือสร้างเครื่องตะบันน้าขึ้นมาซึ่งอาศัยหลักการ การกระแทกของน้า ในท่อซึ่งถูกทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหลอย่างกะทันหัน ทาให้ความดันในตัวปั้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในเวลาสั้นๆ ดังนั้น เราจึงเริ่มทาการทดลอง โดยการกาหนดความสูงของจุดรับน้าให้มีความสูงแตกต่างกันออกไป ดังนี้ 179 เซนติเมตร 257 เซนติเมตร และ 394 เซนติเมตร เพื่อที่จะดูประสิทธิภาพของเครื่องตะบันน้าที่ได้ประดิษฐ์ขึ้น โดยพิจารณาจากปริมาณของน้าที่ ได้รับจากการตะบันน้าซึ่งได้ผลดังนี้ที่ระดับความสูง 179 เซนติเมตร ได้น้าปริมาณเฉลี่ย 23,668 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ระดับความ สูงของถังรับ 257 เซนติเมตร เครื่องตะบันน้าสามารถสูบน้ากลับได้ปริมาณเฉลี่ย 11,849 ลูกบาศก์เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 15.21 ที่ระดับความสูงของถังรับ 394 เซนติเมตร เครื่องตะบันน้าสามารถสูบน้ากลับได้ปริมาณเฉลี่ย 16,944.3 ลูกบาศก์ เซนติเมตร คิดเป็นร้อยละ 21.74 ที่ระดับความสูงของถังรับ และ พบว่าระดับความสูงของถังส่งน้า 90 เซนติเมตร สามารถส่งน้าขึ้น ได้ถึงระดับความสูง 179 เซนติเมตร ที่ระดับความสูงของถังส่ง 179 เซนติเมตร สามารถส่งน้าข้นไปได้ระดับความสูง 345 เซนติเมตร และที่ระดับความสูงของถังส่ง 295 เซนติเมตร สามารถส่งน้าขึ้นไปได้ที่ระดับความสูง 550 เซนติเมตร จะเห็นได้ว่า ที่ ระดับความสูงของจุดรับน้ายิ่งมีความสูงมาก ก็ยิ่งทาให้ปริมาณน้าที่ได้จากการตะบันน้าก็ยิ่งน้อยลง และ ระดับความสูงของแหล่งส่ง น้ายิ่งมีความสูงมาก ก็ยิ่งส่งน้าได้สูงขึ้นเช่นกัน
๑๘๑
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องตัดหญ้ำไฟฟ้ำอย่ำงง่ำย ณัฏฐำ เพ็ชรำกุล, ปำณพิมพ์ สมิทธำพิพัฒน์ และบัณฑิตำ เกิดแก้ว ครูที่ปรึกษำโครงงำน รังสันติ์ บุญเทียน* และนันท์นริญ พิสฐิ รัตน์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องเครื่องตัดหญ้าไฟฟ้าอย่างง่าย ผู้จัดทาได้เล็งเห็นการตัดหญ้าว่ามีวิธีที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น การใช้มีดหรือการใช้เครื่องตัดหญ้าต่างก็มีข้อเสียที่แตกต่างกันไป เช่น การเกิดมลพิษทางอากาศซึ่งเกิดจากน้ามันหรือปัญหาอาการ ปวดกล้ามเนื้อซึ่งเกิดจากการสะพายเครื่องตัดหญ้าเป็นเวลานานๆ ผู้จัดทาจึงสนใจประดิษฐ์เครื่องตัดหญ้าไฟฟ้าที่สามารถทาขึ้นเอง ได้อย่างง่าย เพื่อประดิษฐ์เครื่องตัดหญ้าไฟฟ้าที่ดีและศึกษาประสิทธิภาพการทางานของเครื่องตัดหญ้าไฟฟ้าและเพื่อเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการทางานของเครื่องตัดหญ้าไฟฟ้าอย่างง่ายกับเครื่องตัดหญ้าแบบใช้น้ามันและมีดดายหญ้า ผู้จัดทาจึงดาเนินการประดิษฐ์ โดยเริ่มต้นจากการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องตัดหญ้าและพลังงานไฟฟ้า จากนั้ นจึงนา ข้อมูลมารวบรวมเพื่อออกแบบและลงมือประดิษฐ์ตัวชิ้นงาน เมื่อทาเสร็จแล้ว นาเครื่องตัดหญ้ามาทดสอบประสิทธิภาพและ ปรับปรุงแก้ไข จากนั้นนามาเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับมีดดายหญ้าและเครื่องตัดหญ้าแบบใช้น้ามัน แล้วจึงนามาสรุปและ นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาพบว่าเครื่องตัดหญ้าแบบใช้น้ามันมีประสิทธิภาพด้านการตัดและการใช้เวลาดีกว่าเครือ่ งตัดหญ้าไฟฟ้า และ มีดดายหญ้า แต่ในด้านของการใช้พลังงานและการลดภาวะโลกร้อนเครื่องตัดหญ้าไฟฟ้ามีประสิทธิภาพดีกว่าเครื่องตัดหญ้าแบบใช้ น้ามัน ส่วนมีดดายหญ้าไม่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อนและประหยัดเงินได้มากที่สุด แต่ใช้แรงมากที่สุด
๑๘๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เครื่องให้อำหำรสุนัขอัตโนมัติ ปวิชญำ สังขรัตน์, ยุวดี นุชศรี และสุณัฏฐำ เรืองศิริกำนต์ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ประดับ นำคแก้ว โรงเรียนสงวนหญิง อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างเครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติ เพื่อความสะดวกแก่เจ้าของสุนัข ในเวลาที่ไม่มีใครอยู่บ้านเป็นเวลานานเป็นเหตุทาให้ไม่มีใครให้อาหารสุนัขและไม่ต้องคอยกังวล โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาชนิดของวัสดุที่นามาทาเครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติ จากแหล่งสืบค้น คือ ถังขยะพลาสติกแบบเหยียบ ถังน้า และคานเหยียบคือ ไม้กระดาน พลาสติกชนิดแข็ง แล้วทดลองสร้างเป็นเครื่องให้อาหารสุนัข อัตโนมัติ ซึ่งผลที่ได้คือ ถังขยะพลาสติกแบบเหยียบ และคานเหยียบที่ทาจากไม้กระดานสามารถนามาสร้างเป็นเครื่องให้อาหาร สุนัขอัตโนมัติได้ดีที่สุด ตอนที่ 2 ศึกษานาเครื่องให้สุนัขอัตโนมัติมาทดลองใช้กับสุนัขน้าหนักโดยประมาณ …….. กรัม และ สุนัข น้าหนักโดยประมาณ …… กรัม สุนัขน้าหนักโดยประมาณ …….. กรัม และสังเกตปริมาณอาหารสุนัขที่ไหลลงมา พบว่า สุนัขน้าหนัก โดยประมาณ …… กรัม มีอาหารไหลลงมาประมาณ ….. กรัม สุนัขที่มีน้าหนักโดยประมาณ …..กรัม มีอาหารไหลลงมาประมาณ ….. กรัม และ สุนัขน้าหนักโดยประมาณ …… กรัม มีอาหารไหลลงมาประมาณ ….. กรัม
๑๘๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
จักรยำนทำควำมสะอำดเมล็ดพันธุ์ข้ำว จิตตำภรณ์ แก้ววิชิต, มธุรส แตงโม และโสภำวรรณ มำลำฉ่ำ ครูที่ปรึกษำโครงงำน ประดับ นำคแก้ว โรงเรียนสงวนหญิง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง จักรยานทาความสะอาดเมล็ดพันธุ์ข้าว จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาชนิดและความหนาของวัสดุที่ นามาทาเป็นใบพัดในการคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก , ศึกษาความถี่ในการหมุนของใบพัดที่ใช้ในการคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกและ เปรียบเทียบคุณภาพของข้าวที่ได้จากการใช้เครื่องคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวกับเครื่องคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวทั่วไป โดยแบ่งการศึกษา ออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาชนิดของวัสดุ ที่นามาทาเป็นใบพัดในการคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก คือ ไม้ อะลูมิเนียม และพลาสติก แล้วทดลองคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก จานวน 10 กิโลกรัม พบว่า วัสดุที่นามาทาเป็นใบพัดในการคัดแยกเมล็ด พันธุ์ข้าวปลูกได้ดีที่สุด คือ ใบพัดที่ทาจากไม้ เมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกที่คั ดได้มีสิ่งปะปนอยู่น้อยที่สุด ตอนที่ 2 ศึกษาความหนาของ วัสดุที่นามาทาเป็นใบพัดในการคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก คือ ความหนาที่ระดับ ระดับ ได้แก่ 0.1, 0.3, 0.5 และ 0.7 เซนติเมตร ตามลาดับ แล้วทดลองคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก จานวน 10 กิโลกรัม พบว่า ความหนาของวัสดุที่นามาทาเป็นใบพัดในการ คัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกที่ดีที่สุด คือ ความหนา 0.3 เซนติเมตร เมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกที่คัดได้มีสิ่งปะปนอยู่น้อยที่สุด ตอนที่ 3 ศึกษาความถี่ในการหมุนของใบพัดที่ใช้ในการคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก คือ ความถี่ที่ระดับ 70, 90, 110 และ 130 รอบต่อ นาที ตามลาดับ แล้วทดลองคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก จานวน 10 กิโลกรัม พบว่า ความถี่ของการหมุนใบพัดในการคัดแยก เมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกที่ดีที่สุด คือ 110 รอบต่อนาที เมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกที่คัดได้มีสิ่งปะปนอยู่น้อยที่สุด ตอนที่ 4 เปรียบเทียบ คุณภาพของข้าวที่ได้จากการใช้เครื่องคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวกับเครื่องคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวทั่วไป จานวน 2 ชนิด แล้วทดลองคัด แยกเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูก จานวน 10 กิโลกรัม พบว่า จักรยานทาความสะอาดเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ประดิษฐ์ขึ้นมีประสิทธิภาพ ใกล้เคียงกับเครื่องคัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าวทั่วไป
๑๘๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ถังบำบัดน้ำเสียจำกครัวเรือน เดชพิณทอง ลำภพณิชพูลผล, ธิติวัฒน์ ประเสริฐกุลไชย และวฤณ เนียมหุ่น ครูที่ปรึกษำโครงงำน รังสันติ์ บุญเทียน* และนันท์นริญ พิสิฐรัตน์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ เนื่องจากในครัวเรือน อ่างล้างจานส่วนมากไม่มีการกรองของเสียก่อนปล่อยทิ้งลงสู่แม่น้าซึ่งทาให้เกิดน้าเน่าเสียและเป็น แหล่งรวมตัวของเชื้อโรคที่เป็นอันตรายต่อครอบครัว ทางคณะผู้จัดทาจึงได้คิดประดิษฐ์ถังบาบัดน้าเสียจากครัวเรือนขึ้นมาเพื่อ บาบัดน้าไม่ให้เน่าเสียและลดการรวมตัวของเชื้อโรค ในการทาโครงงาน เรื่อง ถังบาบัดน้าเสียจากครัวเรือน ทางคณะผู้จัดทามี แนวคิดที่จะประดิษฐ์สิ่งที่สามารถใช้กรองน้าให้สะอาด เพื่อไม่ให้น้าเกิดการเน่าเสียและเป็นแหล่งรวมตัวของเชื้อโรคที่เป็นอันตราย ต่อครอบครัว
๑๘๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ถ่ำนจำกชีวมวล ฑิฆัมพร ปำละกะวงศ์ ณ อยุธยำ, ธนพร วิสภักดิ์ และวศินี รัตภำสกร ครูที่ปรึกษำโครงงำน ประดับ นำคแก้ว* และฉันทนำ บุญมำก โรงเรียนสงวนหญิง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี
บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง ถ่านจากชีวมวล มีจุดมุ่งหมายที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติที่เหลือจากการผลิตสิ่งต่าง ๆ ให้เป็น ประโยชน์โดยการใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติแทนแกลบซึ่งในปัจจุบันเริ่มหายากขึ้น ได้แก่ กากมะพร้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพดโดยการ นามาผสมกับแป้งมันและผงถ่าน โดยอัตราส่วนที่ใช้ คือ วัสดุ ธรรมชาติต่อแป้งมันต่อผงถ่าน 3 : 2 : 1 นามาใส่แท่งอัด แล้วนาไป ตากแห้ง หลักจากนั้นนาถ่านที่ได้มาหาค่าพลังงาน (แคลอรี่) ผลการทดลองของโครงงานเรื่องนี้คือ กากมะพร้าวให้พลังงานแคลอรี ได้มากที่สุด รองลงมาคือ ซังข้าวโพด และชานอ้อยให้พลังงานแคลอรีได้น้อยที่สุด
๑๘๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
สมุนไพรพิชิต E.coli ณิชกมล ดวงจินดำ, อริศธำร อ่วมจันทร์ และณัฐมน เมืองเชียงหวำน ครูที่ปรึกษำโครงงำน วิทูรย์ ผลไพบูลย์* และอำรีรัตน์ ปั้นปล้อง โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 อ. ด่านช้าง จ. สุพรรณบุรี
บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง “สมุนไพรพิชิต E.coli” จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาสมุนไพรที่สามารถยับยั้งเชื้อ E.coli โดยใช้สมุนไพร 5 ชนิด ได้แก่ ใบฝรั่ง ใบพลู ใบคูณ ใบว่านน้า และใบครอบจักรวาล จาการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบฝรั่ง ใบคูณ ใบว่าน น้า ใบพลูและใบครอบจักรวาล ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ E.coli พบว่าสารสกัดจากใบฝรั่งสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ดี ที่สุด รองลงมาคือใบพลู ใบคูณ ใบว่านน้า ใบครอบจักรวาล ตามลาดับ โดยใบฝรั่งจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญ ของเชื้อ โดยประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อจะเพิ่มขึ้นตามระดับความเข้มข้นของสารสกัดที่ เพิ่มขึ้น ซึ่งพบว่าที่ระดับ ความเข้มข้น 100 เปอร์เซ็นต์ จะสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ดีที่สุดรองลงมาคือ 80, 40, 20 และ 10 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ
๑๘๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
สมุนไพรลดน้ำตำล ชฎำภรณ์ ธรรมสกุลสัจจำ, กรรณิกำร์ คำสูง และอินทุอร ภูฆัง ครูที่ปรึกษำโครงงำน กิตติพร สว่ำงศรี* และอดุลย์ เข็มเพ็ชร โรงเรียนหนองหญ้าไซวิทยา อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องสมุนไพรลดน้าตาลมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการลดปริมาณน้าตาลของสมุนไพรชนิดต่างๆ เปรียบเทียบการลดปริมาณน้าตาลของสมุนไพรสดและแห้ง ศึกษาปริ มาณที่เหมาะสมในการลดปริมาณน้าตาลของสมุนไพรแต่ละ ชนิด และเปรียบเทียบระยะเวลาในการลดปริมาณน้าตาลของสมุนไพร โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอนคือ ตอนที่ 1 ศึกษาการลดปริมาณ น้าตาลของสมุนไพรชนิดต่างๆได้แก่ บอระเพ็ดสด ใบมะยมสด ใบเตยสด และฝรั่งสด พบว่าใบเตยสดสามารถลดปริมาณน้าตาลได้ดี ที่สุด รองลงมาคือ บอระเพ็ดสดและใบมะยมสดตามลาดับ ส่วนฝรั่งสดไม่สามารถลดปริมาณน้าตาลได้ ตอนที่ 2 เปรียบเทียบการ ลดปริมาณน้าตาลของสมุนไพรสดและแห้งได้แก่บอระเพ็ดสด ใบมะยมสด ใบเตยสด บอระเพ็ดแห้ง ใบมะยมแห้ง และใบเตยแห้ง พบว่าสมุนไพรแห้งสามารถลดปริมาณน้าตาลได้ดีกว่าสมุนไพรสด เนื่องจากสมุนไพรแห้งมีปริมาณของสารที่อยู่ในสมุนไพร มากกว่า สมุนไพรสด โดยน้าหนัก ตอนที่ 3 ศึกษาปริมาณทีเ่ หมาะสมในการลดปริมาณน้าตาลของสมุนไพรแต่ละชนิดได้แก่บอระเพ็ดสด ใบ มะยมสด ใบเตยสด บอระเพ็ดแห้ง ใบมะยมแห้ง และใบเตยแห้ง ในปริมาณ 0.5 กรัม, 1.0 กรัม, 1.5 กรัม และ 2.0 กรัม ต่อน้า 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร พบว่าปริมาณที่เหมาะสมของใบเตยและบอระเพ็ดทั้งสดและแห้งคือ ปริมาณ 1.5 กรัมต่อน้า 20 ลูกบาศก์ เซนติเมตร สามารถลดน้าตาลได้มากที่สุด ส่วนใบมะยมปริมาณไม่มีผลต่อการลดปริมาณน้าตาล ตอนที่ 4 เปรียบเทียบระยะเวลา ในการลดปริมาณน้าตาลของสมุนไพรได้แก่บอระเพ็ดสด ใบมะยมสด ใบเตยสด บอระเพ็ดแห้ง ใบมะยมแห้ง และใบเตยแห้ง ใน เวลา 5 นาที, 10 นาที, 15 นาที และ20 นาที พบว่าระยะเวลาไม่มีผลต่อการลดปริมาณน้าตาล ระยะเวลาที่ให้สมุนไพรทาปฏิกิริยา กับน้าตาลลดลงที่ 5 นาที นั่นคือ สมุนไพรที่นามาทดลองสามารถลดปริมาณน้าตาลได้ โดยสมุนไพรแห้งลดปริมาณน้าตาลได้ดีกว่าสมุนไพรสดโดย น้าหนัก ปริมาณสมุนไพรที่ลดน้าตาลได้ดีที่สุดคือ 1.5 กรัมต่อน้า 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร และระยะเวลาที่ให้สมุนไพรทาปฏิกิริยา กับน้าตาลคือ 5 นาที สามารถลดปริมาณน้าตาลได้ ซึ่งระยะเวลาไม่มีผลต่อการลดปริมาณน้าตาล
๑๘๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เสื้อชูชีพจำกเศษวัสดุ ญำณิศำ เสร็จกิจ, ปริชำมน น้อยหรำ และธนพร สินธพเลิศชัยกุล ครูที่ปรึกษำโครงงำน ประดับ นำคแก้ว โรงเรียนสงวนหญิง อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง เสื้อชูชีพจากเศษวัสดุมีจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า ดังนี้ 1) เพื่อ ศึกษาชนิดของถุงพลาสติกที่เหมาะสมใช้ทาเสื้อชูชีพ 2) เพื่อศึกษาชนิดของถุงพลาสติกที่เหมาะสมในการทาให้เสื้อชูชีพลอยน้าได้ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่นของเสื้อชูชีพกับความสามารถในการพยุงน้าหนัก และ 4) เพื่อเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพของเสื้อชูชีพที่ประดิษฐ์ขึ้นกับเสื้อชูชีพที่จาหน่ายตามท้องตลาดโดยแบ่งการทดลองออกเป็น 3 การทดลอง คือ การ ทดลองที่ 1 ศึกษาชนิดของพลาสติกที่เหมาะสมสาหรับใช้ทาเสื้อชูชีพ การทดลองที่ 2 ศึกษาชนิดของพลาสติกที่เหมาะสมที่ช่วยทา ให้เสื้อชูชีพลอยน้าได้และการทดลองที่ 3 ศึกษาความหนาแน่นของถุงพลาสติกที่เหมาะสมในการทาเสื้อชูชีพ ผลการศึกษาค้นคว้า 1) ชนิดของถุงพลาสติกที่เหมาะสมใช้ทาเสื้อชูชีพ คือ ถุงนมสเตอร์ไลด์ เพราะมีความนิ่ม ยืดหยุ่นได้ ดีกว่าและไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง 2) ชนิดถุงพลาสติกที่เหมาะสมในการทาเสื้อชูชีพลอยน้าได้ คือ ถุง พลาสติกที่มีหูหิ้วโดยบรรจุ ในถุงนมสเตอร์ไลด์ 3) การบรรจุถุงพลาสติกที่มีหูหิ้วมวล 30 กรัมต่อถุงนมสเตอร์ไลด์ 1 ใบข้อเท็จจริง เมื่อทดลองนาถุงนมที่บรรจุ ถุงหูหิ้วไปตัดเย็บเป็นเสื้อชูชีพ พบว่าไม่สามารถเย็บเป็นเสื้อได้ เนื่องจากถุงนมสเตอร์ไลด์ที่ใส่ถุงหูหิ้วมี ความตึงตัวมากเกินไปจึงไม่ สามารถเย็บได้ จึงลดขนาดถุงให้เล็กลงด้วยน้าหนักถุงละประมาณ 22 กรัม โดยเสื้อ 1 ตัว ใช้จานวนถุงนมสเตอร์ไลด์ ทั้งสิ้น ประมาณ 34 ใบ คิดเป็นน้าหนักรวมของเสื้อ ประมาณ 750 กรัมสามารถพยุงน้าหนักได้ 50 กิโลกรัม (คิดน้าหนักเผื่อไว้ 10 เปอร์เซนต์) และ 4) เสื้อชูชีพที่ประดิษฐ์ขึ้นจากถุงนมสเตอร์ไลด์บรรจุถุงพลาสติกที่มีหูหิ้ว มีประสิทธิภาพในการลอยน้า และให้ ความปลอดภัยใกล้เคียงกับเสื้อชูชีพที่มีจาหน่ายทั่วไป
๑๘๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
โอเอซิสจำกวัสดุธรรมชำติ มนธกำนต์ ฤทธิรักษ์, สุจิตรำ ศรีเพียงจันทร์ และสุภัสสรำ แก้วเจริญสีทอง ครูที่ปรึกษำโครงงำน รังสันติ์ บุญเทียน* และกัญญำภัทร คำวิภำค โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ เนื่องด้วยปัจจุบันนี้ ในท้องตลาดได้มีการนาโอเอซิสที่มีราคาที่สูงเกินไปมาขาย ซึ่งกลุ่มของพวกเราได้เล็งเห็นปัญหานี้และ คิดว่าถ้าเราทาได้เองจากวัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็คงจะประหยัดค่าใช้จ่ายในโรงเรียนได้ไปมากเพราะทุกครั้งที่โรงเรียนมีงาน เลี้ยงก็มักที่จะซื้อโอเอซิสจากท้องตลาดมาปักดอกไม้ กลุ่มของพวกเราจึงปรึกษากันว่าจะประดิษฐ์โอเอซิสที่มีคุณภาพใกล้เคียงกับที่ มีขายในท้องตลาดและมีราคาที่ต่ากว่าท้องตลาดได้อย่างไร กลุ่มของพวกเราจึงสนใจไปที่วัสดุธรรมชาติที่มีคุณสมบัติที่ดูดซับน้าได้ ดี ซึ่งวัสดุธรรมชาติที่พวกเราคิดว่าดูดซับน้าได้ดี คือ เปลือกส้มโอ ธูปฤๅษี ต้นกล้วย สายบัว ฝักบัว และผักตบชวา กลุ่มของพวกเรา จึงทาการหาวัตถุประสานก่อนที่จะทาโอเอซิส จากนั้นกลุ่มของพวกเราก็จะทาการผสมวัสดุธรรมชาติที่คิดว่าดูดซับน้าได้ดีกับวัตถุ ประสานที่ได้จากการค้นหาข้อมูลมา โดยกลุ่มของพวกเราได้ทาการผสมระหว่า งวัสดุธรรมชาติที่เตรียมไว้กับวัตถุประสานใน อัตราส่วนที่ต่างกันเพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดในการทาโอเอซิสจากวัสดุธรรมชาติ
๑๙๐
บทคัดย่อ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑ (สพป. กำญจนบุรี เขต ๑)
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
๑๙๒
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ลิปมันจำกธรรมชำติ ต้นกนก ทัศนวงศ์วรำ, บุญสิตำ กิตติวิรยำนนท์ และณัฏฐณิชำ บัวประเสริฐ ครูที่ปรึกษำโครงงำน วิไลพร ขำจิตต์, พนอ วรรณศิริ และธีระ ธนะฤกษ์ โรงเรียนวิสุทธรังษี อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑ อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐
บทคัดย่อ สำเหตุหลักที่ทำให้ริมฝีปำกแห้งแตก เกิดจำกร่ำงกำยขำดควำมชุ่มชื่นเนื่องจำกริมฝีปำกไม่มีต่อมไขมันที่ช่วยสร้ำงน้ำมัน เพื่อปกป้องผิวเหมือนกับผิวหนังส่วนอื่นๆ ทั้งยังต้องสัมผัสกับอำหำร ตลอดจนสำรเคมีต่ำงๆ หรืออำจรับประทำนยำที่มีฤทธิ์ทำให้ ริมฝีปำกแห้ง และเมื่อใช้ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบไปด้วยสำรเคมีแล้ว จะยิ่งทำให้ริมฝีปำกแห้งแตกและดำคล้ำมำกขึ้น กลุ่มของข้ำพเจ้ำ จึงคิดค้นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยทำให้ริมฝีปำกชุ่มชื้นและไม่ทำให้ริมฝีปำกคล้ำ เพรำะมีส่วนประกอบจำกธรรมชำติ ได้แก่ สีผึ้ง น้ำมัน มะพร้ำวสกัดเย็น และน้ำผึ้ง ซึ่งมีสรรพคุณในกำรสมำนแผล มีกรดอ่อนๆ เพื่อผลัดเซลล์ผิว และมีวิตำมินอีในน้ำมันมะพร้ำว ที่มี ส่วนช่วยในกำรซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและช่วยชะลอกำรเสื่อมสภำพของเซลล์ผิว อีกทั้งสีผึ้งยังมีสีที่ไม่ฉูดฉำด เหมำะสำหรับใช้ทำ เป็นลิปมันบำรุงริมฝีปำก
๑๙๓
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
เทคนิคกำรหุงข้ำวให้บูดช้ำ ด้วยน้ำส้มสำยชู ณัฐชำ นัยนันท์, ชำญดำ เอ่งฉ้วน และกัญชพร ศรสินชัย ครูที่ปรึกษำโครงงำน วิไลพร ขำจิตต์ และพนอ วรรณศิริ โรงเรียนวิสุทธรังษี อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑ อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงำนวิทยำศำสตร์เรื่อง เทคนิคกำรหุงข้ำวให้บูดช้ำ ด้วยน้ำส้มสำยชูนี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถนอมข้ำวที่หุง แล้วให้อยู่ได้นำนขึ้น เนื่องจำกในปัจจุบันประเทศไทยของเรำมีอำกำศที่ร้อนอบอ้ำว อีกทั้ง ข้ำวยังมีรำคำสูงขึ้น ถ้ำเรำสำมำรถเก็บ ข้ำวไว้ได้เพียงช่วงเวลำสั้นๆ ก็จะเป็นกำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงสิ้นเปลือง ด้วยเหตุนี้กลุ่มของข้ำพเจ้ำจึงคิดหำวิธีกำรยืดอำยุของข้ำวให้ นำนขึ้น โดยทำงกลุ่มได้เลือกใช้ “น้ำส้มสำยชู” เป็นตัวเลือกในกำรแก้ไขปัญหำข้ำวบูด ซึ่งน้ำส้มสำยชูนี้ เมื่อเรำนำไปใส่ลงในน้ำ ซำวข้ำวแล้วนำไปหุง จะสำมำรถยืดระยะเวลำกำรบูดของข้ำวให้ช้ำลงในวันที่อำกำศร้อนได้ โดยน้ำส้มสำยชูนี้เป็นกำรนำภูมิปัญญำ ชำวบ้ำนมำใช้ให้เกิดประโยชน์ และยังเป็นกำรประหยัดงบประมำณในกำรแก้ปัญหำอีกด้วย โดยทำงผู้จัดทำได้หุงข้ำวโดยใส่ น้ ำส้ ม สำยชู ใ นอั ต รำส่ ว นต่ ำ งๆกั น แล้ ว สั งเกตผลว่ ำ ปริ ม ำณข้ ำ วต่ อ น้ ำส้ ม สำยชู ที่ อั ต รำส่ ว นเท่ ำ ใดที่ จ ะยื ด อำยุ ข องข้ ำ วได้ มี ประสิทธิภำพดีที่สุด โดยเปรียบเทียบกับกำรหุงข้ำวแบบทั่วๆ ไปอีกด้วย
๑๙๔
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ยีสต์ดักยุง พรรณวดี ทวีระวงษ์, ศศิกำนต์ จงฤทธิพร และกันติยำ ลี้ตระกูล ครูที่ปรึกษำโครงงำน วิไลพร ขำจิตต์ และพนอ วรรณศิริ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี อำเภอท่ำม่วง จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ โรงเรียนกำญจนำนุเครำะห์ อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ โรงเรียนท่ำมะกำวิทยำคม อำเภอท่ำมะกำ จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๑๒๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑ อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐
บทคัดย่อ ในปัจจุบันยุงเป็นอีกหนึ่งพำหะที่นำพำโรคมำยังคนเรำไม่ว่ำจะเป็น โรคไข้เลือดออก โรคเท้ำช้ำง โรคมำลำเรีย และอื่นๆ โดยยุงที่จะมำกัดคนเรำจะจับกลิ่นคำร์บอนไดออกไซด์ที่เรำปล่อยออกมำจำกร่ำงกำย ไม่ว่ำจะเป็นทำงผิวหนังหรือกำรถอนหำยใจ จำกกำรศึกษำโครงงำนเรื่องยีสต์ดักยุงมีวัตถุประสงค์ขึ้นเพื่อหำชนิดของน้ำตำลที่มีผลต่อกำรดักยุงและหำอัตรำส่วนของ น้ำตำลที่มีผลต่อกำรดักยุงโดยจะใช้น้ำตำลทรำยแดง น้ำตำลทรำยขำว และน้ำตำลปี๊บ นำมำละลำยในน้ำร้อนและใส่ยีสต์ลงไป และนำไปตั้งในที่ที่มียุง เพื่อดูประสิทธิภำพในกำรล่อยุงของ น้ำตำลทั้ง 3 ชนิด ผลกำรศึกษำพบว่ำน้ำตำลทรำยแดงมีประสิทธิภำพ ในกำรดักยุงได้มำกกว่ำน้ำตำลทรำยขำว และน้ำตำลปี๊ บ และนำน้ำตำลทรำยแดงมำหำอัตรำส่ วนในกำรดักยุ งได้ดีขึ้นต่อไป เพื่อที่จะนำแนวทำงนี้ไปใช้ในกำรกำจัดยุงลำยที่มำรบกวนและตัดวงจรกำรใช้ชีวิตของยุงเพื่อลดจำนวนเด็กและผู้ใหญ่ที่อำจเป็นโรค ไข้เลือดออก ที่เกิดจำกกำรโดนยุงกัดและใช้วัสดุที่เหลือใช้มำใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อลดต้นทุนในกำรผลิต และหำวิธีใหม่ๆในกำร กำจัดยุงนอกเหนือจำกกำรใช้สำรเคมี
๑๙๕
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
ถ่ำน ECO ณัฐวัชร์ ภัคพำณิชย์ , นรภัทร บุญทวีบรรจง และวงศกร วงศ์วัชรมงคล ครูที่ปรึกษำโครงงำน พนอ วรรณศิริ และวิไลพร ขำจิตต์ โรงเรียนวิสุทธรังษี อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑ อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐
บทคัดย่อ กำรทำโครงงำนเรื่อง ถ่ำนรักษ์โลก มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้ำงถ่ำนที่ทำจำกกำกถ่ำนป่น แกลบและขี้วัว ในอัตรำส่วนต่ำงๆ พร้อมทั้งนำสูตรของถ่ำนในอัตรำส่วนต่ำงๆมำทดสอบคุณภำพของถ่ำน โดยทำงคณะผู้จัดทำได้แบ่งวิธีกำรทดลองเป็น 2 ขั้นตอน ทดสอบระยะเวลำในกำรเผำไหม้และทดสอบปริ มำณควำมร้อนที่ได้จำกถ่ำน กำรทดลองที่ 1 ทดลองโดยกำรนำถ่ำนในสูตรต่ำงๆ นำมำเผำไฟแล้วเริ่มต้นจับเวลำในกำรเผำไหม้ของถ่ำนจนถ่ำนดับมอดลง แล้วนำเวลำมำเปรียบเทียบกันและ กำรทดลองที่ 2 ทดลองโดยกำรนำ ถ่ำนในสูตรต่ำงๆในปริมำณที่เท่ำกันไปจุดไฟ แล้วเอำน้ำต้ม วัดอุณหภูมิ ก่อนและหลังต้มน้ำแล้วนำมำคำนวณ โดยใช้สูตร Q = mcΔt เพื่อหำปริมำณควำมร้อนที่ได้จำกถ่ำนในแต่ละสูตรแล้วหำรด้วยเวลำที่ใช้ แล้วจึงนำมำเปรียบเทียบกัน แล้ว นำผลที่ได้จำกกำรทดลองทั้ง 2 มำเปรียบเทียบกันเพื่อหำอัตรำส่วนของ ถ่ำน แกลบ ที่ดีและมีประสิทธิภำพมำกที่สุดซึ่งสำมำรถ นำมำใช้ได้จริง
๑๙๖
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรวิเครำะห์สมกำรเชิงเส้นโดยกรำฟด้วยโปรแกรม GSP กันต์กมล พิศำล ,ไกรฤทธิ์ หงษำครประเสริฐ และอสิ บำกำ ครูที่ปรึกษำโครงงำน มธุรส ไก่แก้ว โรงเรียนวิสุทธรังษี อำเภอ เมืองกำญจนบุรี จังหวัด กำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑
บทคัดย่อ ในกำรเรียนรู้วิชำคณิตศำสตร์เรื่องสมกำรเชิงเส้นซึ่งประกอบด้วยค่ำต่ำงๆที่เป็นองค์ประกอบหลำยค่ำที่ทำให้ไม่สำมำรถ บอกควำมสัมพันธ์ของค่ำต่ำงๆนั้นได้ จึงจำเป็นต้องมีกำรเรียนรู้ด้วยกำรวำดกรำฟของสมกำรนั้นๆ ประกอบด้วย จำกกำรศึกษำ เรื่องสมกำรเชิงเส้นสองตัวแปรที่มีรูปแบบของสมกำรเป็น y = mx + c เป็นกำรยำกที่ผู้เรียนจะบอกได้ในทันทีว่ำเมื่อค่ำ m และ ค่ำ c เปลี่ยนไป ทำให้สมกำร y = mx +c เกิดควำมแตกต่ำงกันนั้นเกิดควำมแตกต่ำงกันอย่ำงไรหรือจำกสมกำร y = a(x-h)2+k สมกำร y = asin(bx) + c ซึ่งถ้ำต้องกำรเขียนกรำฟเพื่อให้เห็นถึงควำมแตกต่ำงก็ต้องใช้เวลำ จึงทำให้ผู้เรียนไม่สนใจที่จะศึกษำทำ ให้ขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจในเนื้อหำที่ชัดเจนและลึกซึ้ง ผู้จัดทำจึงได้นำสมกำรต่ำงๆ มำเขียนเป็นกรำฟโดยใช้โปรแกรม GSP เพื่อให้ สำมำรถเห็นควำมแตกต่ำงของกรำฟที่เกิดจำกสมกำรที่แตกต่ำงกันได้อย่ำงรวดเร็ว ช่วยให้เกิดกำรเรียนรู้ มีควำมเข้ำใจและสำมำรถ คิดวิเครำะห์ถึงควำมแตกต่ำงและควำมสัมพันธ์ของสมกำรกับกรำฟได้ คำสำคัญ : กรำฟ , สมกำรเชิงเส้นสองตัวแปร , GSP
๑๙๗
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
สร้ำงสรรค์ลำยกระเบื้องด้วยโปรแกรม GSP พิชญำ ระงับพิศม์, ภัคจิรำ เปียสวน และวริศรำ ภูรีวิลำส ครูที่ปรึกษำโครงงำน มธุรส ไก่แก้ว โรงเรียนวิสุทธรังษี อำเภอ เมืองกำญจนบุรี จังหวัด กำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑
บทคัดย่อ ในกำรศึกษำครั้งนี้มีวัตถุป ระสงค์ของกำรค้นคว้ำเพื่ อต้องกำรคิ ดสร้ำงสรรค์ ลำยกระเบื้อ งแบบใหม่เพื่ อให้มีแบบให้ เลือกสรรได้หลำกหลำย โดยทำงผู้จัดทำได้เรียนรูเ้ รือ่ งกำรแปลงทำงเรขำคณิตและได้นำมำประยุกต์ใช้ในกำรออกแบบลำยกระเบื้อง โดยใช้ในกำรออกแบบลำยกระเบื้อง โดยใช้โปรแกรม The Geomentor’s Sketchpad กำรออกแบบขั้นตอน คือ ผู้จัดทำได้ศึกษำ กำรใช้โปรแกรม The Geomentor’s Sketchpad เบื้องต้นและสำรวจลำยกระเบื้องแบบพื้นฐำนที่มีขำยอยู่ตำมท้องตลำด จำกนั้น นำมำประยุกต์ออกแบบโดยใช้โปรแกรม The Geomentor’s Sketchpad เพื่อให้ได้ลำยกระเบื้องที่ดูแปลกใหม่และดึงดูดควำม ต้องกำรของคนในปัจจุบัน
๑๙๘
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
กำรหำค่ำปริมำตรของพีระมิดตัดยอดฐำนหลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำ ณัชชำนน ทองรวย , ภัทรพร ภูมีคง และสุภำสินี โอบทรัพย์กุล ครูที่ปรึกษำโครงงำน มธุรส ไก่แก้ว โรงเรียนวิสุทธรังษี อำเภอ เมืองกำญจนบุรี จังหวัด กำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑
บทคัดย่อ โครงงำนคณิตศำสตร์ เรื่องกำรหำปริมำตรของพีระมิดตัดยอดฐำนหลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำ จัดทำขึ้นเพื่อหำรูปทั่วไป ของกำรหำปริมำตรของพีระมิดตัดยอดฐำนหลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำ โดยศึกษำกำรหำพื้นที่ของรูปหลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำ และได้รูปทั่วไป คือ โดยที่ n คือ จำนวนด้ำนของรูปหลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำ และ a คือ ควำมยำวของด้ำนของรูป หลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำ และเมื่อนำรูปทั่วไปของของกำรหำพื้นที่ของรูปหลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำไปแทนในสูตรของกำรหำ ปริมำตรของพีระมิด คือ พื้นที่ฐำน สูง ก็จะได้รูปทั่วไปของกำรหำปริมำตรของพีระมิด คือ เมื่อ n คือจำนวน ด้ำนของฐำน a คือ ควำมยำวของด้ำนของฐำน และ h คือ ควำมสูงของพีระมิด และนำรูปทั่วไปที่ได้ไปทดลองหำปริมำตรของ พีระมิดตัดยอดฐำนสำมเหลี่ยม ฐำนสี่เหลี่ยม ฐำนห้ำเหลี่ยม ฐำนหกเหลี่ยม และฐำนแปดเหลี่ยม โดยกำรนำปริมำตรของพีระมิด ( ทั้งหมดลบด้วยปริมำตรของพีระมิดที่ถูกตัดออก จะได้ว่ำปริมำตรของพีระมิดตัดยอดฐำนสำมเหลี่ ยม = ( ) ) ปริมำตรของพีระมิดตัดยอดฐำนสี่เหลี่ยม= ( ) ( ) ปริมำตรของพีระมิดตัดยอดฐำนห้ำเหลี่ยม = ( ) ปริ มำตรของพี ระมิด ตัดยอดฐำนหกเหลี่ยม = ( ) ( ) ( ) และปริมำตร ( ) และเมื่อนำรูปทั่วไปที่ได้มำเปรียบเทียบก็จะได้รูปทั่วไป ของพีระมิดตัดยอดฐำนแปดเหลี่ยม = ( ) ( ) เมื่อ A คือควำมยำวด้ำนของฐำน a คือควำมยำวด้ำน ของกำรหำปริมำตรของพีระมิดตัดยอด คือ ( ) ของฐำนที่ถูกตัดออก n คือ จำนวนด้ำนของฐำนที่ถูกตัดออก n คือ จำนวนด้ำนของฐำนและ h คือ ควำมสูงของพีระมิด ซึ่งตรงกับ รูปทั่วไปของกำรหำปริมำตรของพีระมิดตัดยอด เมื่อหำจำกกำรนำรูปทั่วไปของกำรหำพื้นที่ของรูปหลำยเหลี่ยมด้ำนเท่ำมุมเท่ำ มำ หำรูปทั่วไปของกำรหำปริมำตรของพีระมิดตัดยอด โดยกำรนำปริมำตรของพีระมิดทั้งหมดลบด้วยปริมำตรพีระมิดที่ถูกตัดออก และ เมื่อเรำนำรูปทั่วไปที่ได้ไปใช้ในกำรหำคำตอบได้ง่ำยและไวยิ่งขึ้น
๑๙๙
โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอัจฉริยภำพด้ำนคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษำตอนต้น ในเขตภำคกลำงและภำคตะวันออก รุ่นที่ ๓ ประจำปี ๒๕๕๖
น้ำสมุนไพรขจัดเห็บ ชำคริต ธีระวิจิตร ,ณัฏฐพร สนิทวงศ์ ณ อยุธยำ และกิตติธัช ตันเรืองศรี ครูที่ปรึกษำโครงงำน ธีระ ธนะฤกษ์ โรงเรียนวิสุทธรังษี อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี อำเภอท่ำม่วง จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑ อำเภอเมืองกำญจนบุรี จังหวัดกำญจนบุรี ๗๑๐๐๐
บทคัดย่อ โครงงำนน้ำสมุนไพรขจัดเห็บมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษำกำรคิดที่จะประดิษฐ์น้ำยำสมุนไพรกำจัดเห็บสุนัขที่ไม่เป็นภัยต่อธรรมชำติ กำรที่ปัจจุบันนั้นมีกำรเลี้ยงสุนัขอย่ำงแพร่หลำยแต่มีปญ ั หำด้ำนเห็บสุนัขที่เป็นพำหะนำโรค มีคณ ุ ภำพ และมีทุนในกำรผลิตต่ำ เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของผูเ้ ลี้ยงสุนัข ประชำกรที่ใช้ในกำรศึกษำคือเห็บจำนวน 9 ตัวขนำดและชนิดเหมือนกัน เครื่องมือที่ ใช้ในกำรศึกษำ เป็นสูตรน้ำยำขจัดเห็บจำกสมุนไพรชนิดต่ำงๆ มำใช้ฉีดใส่เห็บ วิเครำะห์ข้อมูลโดยหำค่ำร้อยละ จำนวนเห็บที่ตำย ผลกำรศึกษำค้นพบว่ำ น้ำสมุนไพรที่ทำมำจำกใบของต้นสะเดำมีประสิทธิภำพดีทสี่ ุด
๒๐๐
ข้อเขียนขอฝาก จาก โครงการบริการวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ นักเรียนและครูที่ปรึกษา ในนิทรรศการนาเสนอโครงงานของนักเรียน รุ่นที่ ๓ วัตถุประสงค์หลักของโครงการส่งเสริมและพัฒนาอัจฉริยภาพด้านคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น นั้ น นอกจากหวั ง ว่ า ครู ที่ ป รึ ก ษารวมทั้ ง นั ก วิ ช าการศึ ก ษา/ ศึกษานิเทศก์ ผู้ประสานงานจากเขตพื้นที่การศึกษา จะได้นาประสบการณ์ไปปรับใช้จัดการเรียนรู้สาหรับกลุ่ม นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ผลที่เกิดกับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการก็เป็นเรื่อง ที่มีความสาคัญยิ่ง ในส่วนของนักเรียนนั้น กระบวนการต่างๆที่มาขมวดรวมเป็นการนาเสนอโครงงานนั้น หากนักเรียน ตั้งใจสะสมประสบการณ์จากการเข้าค่ายมาตั้งแต่ ครั้งแรก จนถึง ครั้งที่ ๖ ซึ่งเป็นค่ายสุดท้ายของโครงการนี้ ให้เต็มที่ โดยเฉพาะเรื่องทาโครงงานซึ่งเป็นการรวมทักษะ ความรู้ความสามารถของนักเรียน มาแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ นักเรียนจะได้ทั้ง ทักษะวิธีการทาโครงงานตั้งแต่การคิดว่าจะทาเรื่องอะไรจากสิ่งที่ได้สัมผัส ในชีวิตประจาวัน ซึ่งต้องพิจารณาถึง ที่มา และ ความสาคัญว่า หากทาแล้วจะเกิดผลดีอย่างไร มีความคุ้มค่า เพียงใด เหมาะสมกับ สิ่งที่ต้องใช้ ทั้ง เวลาของนักเรียนเอง วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ มีหรือจะหามาได้หรือไม่ อาจารย์ที่ปรึกษาจะมีความรอบรู้เรื่องนี้เพียงใด หรือ จะสามารถขอความอนุเคราะห์จากแหล่งเรียนรู้วิชาการ และ คณาจารย์ นักวิชาการ ในหน่วยงานอื่นๆ ได้หรือไม่ รวมทั้ง เรื่องการ การวางแผนการทางาน การแปล และวิเคราะห์ผลที่ได้ และแนวคิดสาหรับขยายผลต่อไป ในส่วนของเนื้อหาสาระวิชาการ นักเรียนที่สนใจเรื่องนั้นจริงๆจะกลายเป็นมืออาชีพที่ สามารถสืบค้น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้จานวนมาก และจะพัฒนาความสามารถในการคัดกรอง คัดเลือกข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ต้อง น ามาใช้ และ ท าความเข้ า ใจ จนถึ ง สั ง เคราะห์ ข้ อ มู ล เหล่ า นั้ น เป็ น บทสรุ ป ที่ มี ส าระเข้ ม ข้ น ด้ ว ยตนเอง ยิ่งกว่าที่จะทาเพียง คัดลอกและนามาวางต่อๆกัน นักเรียนจะมองเห็นว่า การแก้ปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งนั้น จะใช้เพียงสาระความรู้สาขาเดียวไม่เพียงพอ นาไปสู่แนวคิดเรื่อง “บูรณาการ” ซึ่งเป็นหัวใจของการใช้ชีวิต อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สาคัญที่สุดอีกเรื่ องหนึ่งก็คือ การทาโครงงานนี้จะเป็นโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนา พหุปัญญาเรื่อง ความฉลาดเรียนรู้ตนเอง (Intra-person) และเรียนรู้ผู้อื่น (Inter-person) สองเรื่องนี้เป็นทักษะที่สาคัญ สาหรับการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข นักเรียนต้องทางานร่วมกับเพื่อนๆในกลุ่ม จั ดแบ่งงานช่วยกัน ทางาน หากทาได้ดีเหมาะสมกับสมาชิกทุกคน ทุกคนจะมีตัวตน มีความสาคัญ มีความสุข นาไปสู่ความมั่นใจ ในตนเองที่จะต้องก้าวต่อไป
๒๐๑
สุดท้ายในการมาพบกันในค่ายที่ ๖ ค่ายสุดท้ายซึ่งเป็น กิจกรรมสาคัญที่สุดของทุกคน คือ ก่อนจะมา ค่าย ๖ ครั้งนี้ นักเรียนต้องมีการฝึกฝนเขียนรายงาน การจัดทาสไลด์สาหรับการนาเสนอแบบปากเปล่า และ การทาโปสเตอร์ตามมาตรฐานทางวิชาการ รวมทั้งฝึกการพูดเพื่อนาเสนอทางวิชาการ และ การถามและตอบ คาถามอีกด้วย เพราะ การนาเสนอโครงงาน เป็นเรื่องการทาให้คนอื่นๆที่มาฟัง มาอ่าน มาชม เข้าใจเรื่ องที่เรา ทา เห็นความสาคัญในเรื่องที่เราทา และ ที่ดียิ่งกว่านั้น คือ คาแนะนาซึ่งจะได้มาจากการถาม – ตอบ ของ ผู้ชม ทั้งเพื่อนๆ คณาจารย์ทั้งจากโรงเรียนและมหาวิทยาลัยเจ้าภาพ สิ่งที่ได้รับในครั้งนี้ จะเป็นพื้นฐานสาหรับทุกคน ที่กาลังจะก้าวขึ้นไปเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ระดับอุดมศึกษาต่อไป การเรียนในระดับสูงขึ้นก็เช่นกัน จะมีการทาโครงงาน สาระนิพนธ์ และ/หรือ วิทยานิพนธ์ ตามลาดับ ทุกแบบ ก็คือ การหาวิธีแก้ปัญหาที่ยังไม่มีคนทานั่นเอง ประสบการณ์ในชั้นมัธยมต้น จะเป็นเหมือนเงินสะสมของนักเรียน เป็นต้นทุนที่มากกว่า เพื่อนๆในวัยเดียวกันอีกหลายคนที่ไม่มีโอกาสเช่นนี้ พูดให้ง่ายขึ้นก็คือ อะไรที่เราเคยซ้อมมาแล้วย่อมต้องทาได้ดีขึ้นและดีกว่า รวมไปถึง การดารงชีวิตประจาวัน เราจะสามารถใช้ประสบการณ์ที่ได้มานี้ ปรับให้มีประสิทธิภาพขึ้นได้อย่างมากด้วย โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ หวังว่า นักเรียน ครู และ เขตพื้นที่การศึกษาจะได้รับประโยชน์ เต็ม สมบู ร ณ์ จ าก โครงการนี้ และ ขอขอบคุณมหาวิท ยาลั ยเจ้า ภาพเป็นอย่า งสู ง ที่ให้ ความอนุ เคราะห์ ร่ว ม ดาเนินการอย่างเต็มกาลังมาอย่างต่อเนื่อง
๒๐๒