Halal Life Magazine #2

Page 1

1 halallife


2 halallife


3 halallife


4 halallife


บริโภคปลอดภัย ใส่ ใจเรื่องหะล้าล กับกลุ่มมุสลิมเพื่อสันติ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2553 ที่ผ่านมา ฝ่ายฮิมายะฮฺ กลุ่มมุสลิม เพื่อสันติ ได้จัดโครงการอบรมอาสาสมัครฮิมายะฮฺ “บริโภคปลอดภัย ใส่ ใจเรื่อง หะล้าล” ครั้งที่ 1 ณ โรงแรมรีเจนท์ รามคำแหง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้ า ใจในการเลื อ กบริ โ ภคที่ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก การอิ ส ลามแก่ ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม อบรม สร้างเครือข่ายการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับครอบครัว ชุมชน องค์กร สถาบันการศึกษา และสังคมโดยรวม และเปิดรับอาสาสมัครเข้าร่วมงานกับฝ่าย ฮิมายะฮฺ บรรยากาศการอบรมอบอุ่นไปด้วยพี่น้องจากสถานที่ต่างๆ ทั้งกลุ่มแม่บ้าน นักศึกษา คนทำงานเอกชน รัฐวิสาหกิจและข้าราชการ ตัวแทนชุมชน ตัวแทนจาก กลุ่มทำงานอิสลามต่างๆ รวมไปถึงบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับองค์กรรับรองฮาลาล ก็ ได้เข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนในการอบรมด้วย โดยจำนวนผู้เข้าอบรมรวมทีมงานทั้ง หมดประมาณ 120 คน โดยกิจกรรมในช่วงเช้าเป็นการให้ความรู้ผ่านการบรรยายและบอกเล่า ประสบการณ์ โดยวิทยากรท่านแรกคือ เชคริฎอ อะหมัด สมะดี ประธานกลุ่ม มุสลิมเพื่อสันติ ที่ ได้เปิดมุมมองด้านการบริโภคอาหารฮาลาลตามหลักการอิสลาม โอกาสในการเรียกสิทธิของพี่น้องมุสลิมในประเทศไทย ปัญหาที่เกิดขึ้นในวงการ ผู้บริโภคมุสลิม ความขาดแคลนในการเผยแพร่และเรียกร้องเพื่อการคุ้มครองผู้ บริโภคมุสลิม บทบาทของฮิมายะฮฺในการเรียกร้องและคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค มุสลิม และความสำคัญของการมีสว่ นร่วมกับฮิมายะฮฺในฐานะองค์ประกอบทีส่ ำคัญ ที่สุด นั่นคือทรัพยากรบุคคล วิทยากรท่านที่สองคือ อาจารย์ดาวุด กุลคีรีวัฒนา ประธานชมรมคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านหะล้าล(HaCPA) ซึ่งเป็นองค์กรที่ทำงานประสานกับฝ่ายฮิมายะฮฺ โดยมีพื้นที่ทำงานหลักอยู่ ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อาจารย์ดาวุดได้บอกเล่า ประสบการณ์ ในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคมุสลิมในภาคใต้ ปัญหาที่พบบ่อย และความรู้ต่างๆ ที่น่าสนใจ ซึ่งมีหลายประเด็นที่สอดคล้องกับปัญหาที่ฝ่าย ฮิมายะฮฺกำลังดำเนินการแก้ ไขอยู่เช่นเดียวกัน ในช่วงบ่ายเป็นการเข้าฐาน 4 ฐาน เพื่อฝึกลงมือปฏิบัติในประเด็นปัญหา ที่พบบ่อยของผู้บริโภคมุสลิม โดยได้รับความร่วมมือจากวิทยากรรับเชิญที่มี ความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ทั้งมุสลิมีน และมุสลิมะฮฺมาให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วม อบมรม อาทิเช่น คุณอับดุลมาลิก ผู้มีประสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์หะล้าล และคุณฮานาฟี ผู้ตรวจรับรองหะล้าลของฝ่ายกิจการฮาลาลคณะกรรมการกลาง อิสลามแห่งประเทศไทย 5 halallife


6 halallife


7 halallife


สื่อประเภทสื่อเก่ามันมีต้นทุนสูง ความอยู่รอดของมันคือ สามฝ่ายจะต้องมีความสุข คนทำมีความสุขทำ คนอ่านมีความสุขอ่าน คนลงโฆษณามีความสุขกับผลประโยชน์ที่ ได้ ซึ่งทุกวันนี้มองไม่ออก อยากให้เอาเรื่องเลือกช่องทางมาทีหลังสารที่จะเล่านะ สารดี เล่าทางไหนมันก็เป็นสารดี แล้วค่อยมาเลือกช่องทางอีกที

8 halallife


9 halallife


หลายครั้งที่ผมผ่านไปพบชีวิตคู่ของคนวัยยี่ สิบต้นๆ หลายคู่ทำให้เกิดอาการอิจฉาครับ บางคู่ทั้ง สามี แ ละภรรยากำลั ง นั่ ง สอนอั ล กุ ร อานในหมู่ บ้ า น เล็กๆทางภาคใต้ตอนบน ช่วยกันอย่างมีความสุข บางคู่จบระดับปริญญาตรีทั้งคู่ มาจากจังหวัดชาย แดนใต้ แล้วก็ช่วยกันรับจ้างตัดยางชาวบ้าน ตอน เย็นๆก็มาช่วยกันสอนอัลกุรอาน...อิจฉาครับ แต่ ไม่ ใช่ อิจฉาตาร้อน อิจฉาเพราะว่ามันเป็นชีวิตเล็กๆที่เป็น ความฝันของผม แต่ผมทำไม่ ได้ ความฝันที่หมดโอกาสทำคือการได้แต่งงาน ตั้งแต่วัยยี่สิบต้นๆ ได้ทำอาชีพท้องถิ่นที่เรียบง่าย อาจจะช่วยกันขายโรตีตอนเช้า ตกเย็นสอนอัลกุรอาน เด็กๆ ค่ำลงก็อาจสอนศาสนาพื้นฐานให้กับผู้ ใหญ่... เห็นชีวิตคู่ของหนุ่มสาวมุสลิมที่ ได้ ใช้ ไปในแบบที่ผม ฝันที่ ไร ทำเอารู้สึกอิจฉาทุกครั้งไป วิถีชีวิตที่ผมฝันจะเป็นเรียกว่า “ความเรียบ ง่าย”ครับ อย่างที่ปรากฏในภาพจินตนาการคือการ ที่ ได้แต่งงานกับมุสลิมะฮฺรุ่นราวคราวเดียวกันในช่วง ยี่สิบต้นๆ ทำมาหากินง่ายๆ สอนอัลกุรอานและ ศาสนาในหมู่บ้านเล็กๆ และมีลูกน่ารักสักครึ่งโหล... แต่นั้นแหละปัญหาของผมคือ ตอนนั้นผมฝันคนเดียว ไม่มี ใครกล้ามาแชร์ความฝันกับผม คำว่าความเรียบง่ายของผมหมายถึง วิถีชีวิต ที่หนีห่างจากความฟุ้งเฟ้อ แข่งขันการสร้างบ้าน ซื้อรถ มือถือ และเครื่องประดับฐานะต่างๆ พร้อมๆกับ สามารถเลือกวิธีการใช้ชีวิต ภรรยา อาชีพการงานได้ เหมาะกับธรรมชาติที่ตัวเองเป็น...ผมคิดว่า หลายครั้ง เราไปสร้างปัจจัยให้ชวี ติ เกินความจำเป็น เกิดอุปสรรค และความยุ่งยากในการดำเนินชีวิตที่ ไม่ควรจะเกิดขึ้น คำว่าความเรียบง่ายของผมมิได้ปฏิเสธความ ก้าวหน้าในสนามการทำงานรับใช้อิสลาม ผมถึงไม่ ได้ เป็นพวกต่อต้านองค์กรการทำงานที่มีแบบแผน ยิ่ง เป็นแบบแผนที่สร้างประสิทธิภาพให้กับการทำงาน ยิ่งเป็นสิ่งที่ขาดมิได้ แต่เมื่อไรที่ผมพบว่ามันเป็นความ ยุ่งยากส่วนเกินที่ ไม่จำเป็น ก็เลยรู้สึกฝืนๆตั้งแต่นิดๆ หน่อยๆไปจนถึงมากๆ

กิจกรรมใดที่ผมมีอำนาจในการจัดจึงมักจะ ตัดพิธีการจำนวนมากออกไป อย่างการอ่านกุรอาน เปิดงาน(ซึ่งจริงๆก็ ไม่ปรากฏแบบแผนจากคนยุคแรก อยู่แล้ว) รวมทั้งการอ่านรายงานอะไรต่างๆ การมอบ ของที่รำลึกทั้งหลาย แต่นั้นแหละในเมื่อมันไม่ ได้ขัด กับหลักการ ผมก็ ไม่ ได้ว่าอะไรในงานที่มีแบบแผน เหล่านี้ครบสูตร ใหม่ๆ ก็มีพี่น้องจำนวนไม่น้อยเตือนให้ผมยอม รับความเป็นแบบแผนให้มากหน่อย ผมก็ ไม่ ได้ต่อต้าน อะไรแต่ผมก็ทำไม่ค่อยได้ ดังนั้นพี่ๆน้องๆต่างก็ต้อง หาทางช่วยผมเอง อย่างบางคนบริจาคสูทให้ผม บางคนบริจาครองเท้าอย่างดี ให้...เรียกว่าบางงานที่ ต้องพบผู้ ใหญ่มีพี่น้องรุมช่วยแต่งตัวให้ผม น่าประทับ ใจมาก

ความสามารถอย่างหนึ่งของท่านนบี คื อ การทำให้ เ ศาะฮาบะฮฺ ส ามารถ เลื อ กวิ ถี ชี วิ ต ที่ แ ตกต่ า งกั น ตาม ธรรมชาติที่พวกเขาควรจะเป็น.

ชี วิ ต ที่ เ รี ย บง่ า ยในความคิ ด ของผมจึ ง ไม่ ไ ด้ หมายความว่าต้องไปอยู่ท้องทุ่งท้องนา แต่เป็นชีวิตที่ ขจัดสิง่ ทีเ่ กินความจำเป็นในการดำรงอยู่ และสามารถ เลือกสิ่งที่ตนเองเป็นได้สอดคล้องกับธรรมชาติภาย ใน...ผมคิดว่ามันควรเป็นปรัชญาชีวิตของมุสลิมทุก อาชีพ เป็นพ่อค้านักธุรกิจเป็นครู เป็นคนขายข้าวหมก ไก่ ในตลาด ผมมองเห็นว่า ความสามารถอย่างหนึ่งของ ท่านนบีของเราคือการทำให้เศาะฮาบะฮฺสามารถเลือก วิ ถี ชี วิ ต ที่ แ ตกต่ า งกั น ตามธรรมชาติ ที่ พ วกเขาควร จะเป็น...ความยิ่งใหญ่ของท่านนบีเราจึงไม่ ได้เป็นแค่ “แบบอย่าง”ชีวิตที่สมบูรณ์เท่านั้น แต่เป็นแบบอย่าง ที่ ส ามารถทำให้ ค นมี ส ไตล์ ชี วิ ต ที่ แ ตกต่ า งกั น ได้ ภายใต้แก่นแท้แบบเดียวกัน บางทีภาพในฝันถึงวิถีชีวิตที่เราชอบ ได้ถูก ประเด็นภายนอกมันลากไป ทำให้เราเกิดความฝันลวง

10 halallife

ที่อาจขัดแย้งกับตัวตนของเราเข้ามา...หลายคนก็เดิน ตามประเด็นภายนอกที่ลากเขาไป และได้ทำงานและ มีวิถีชีวิตที่ดูเหมือนจะดี แต่เมื่อมิใช่สไตล์ของเขาเอง เขาก็พบว่าชีวิตเหมือนขาดหายอะไรไปบางอย่าง !!! หลายๆคนพ่ อ แม่ พ ยายามให้ เ ป็ น โต๊ ะ ครู แม้เรียนจบมาก็ ไม่ยอมเป็น เพราะเขาชอบสไตล์ขาย ของเก่า เป็นนักธุรกิจชอบค้าชอบขายนั่นเอง ขณะที่ บางคนพ่อแม่อยากให้เป็นนักธุรกิจ สุดท้ายก็ต้องมา ลงเอยที่การเป็นโต๊ะครู...พวกเขาเขาถูกพยายามให้ เป็นในสิ่งที่มิใช่ธรรมชาติของเขา ทำนองเดียวกัน บางคนอยากเป็นด็อกเตอร์ อยากเป็นอาจารย์ ในมหาวิทยาลัย บางคนอยากเป็น กวี แ บบท่ า นซาการี ย า...การเป็ น อะไรต่ า งๆพวกนี้ ไม่ ได้ผิด แต่ประเด็นของผมก็คือมันเป็นตัวตนที่เรา ควรจะเป็นจริงๆหรือเราแค่ “อยาก” จะเป็น เพราะ เห็นว่าสังคมชื่นชมมัน !!! ความวุ่นวายในชีวิตคนๆหนึ่ง คือการเป็นใน สิ่งที่สังคมเรียกร้องให้เป็น มิได้เป็นในสิ่งที่หัวใจ โหยหา ... ตอนนี้ ผ มรู้ สึ ก ผวากั บ อิ ท ธิ พ ลของตะวั น ตก อย่างที่ ไม่เคยเป็นมาก่อน เพราะรู้สึกมากขึ้นเรื่อยๆ ถึงการฝังรากลึกผ่านกระบวนคิดและวิถีชีวิตของคน ที่เรียกว่านิยมอิสลามทั้งหลาย...อาจเพราะสิ่งที่มา จากตะวันตกนั้นมีทั้งดีและร้านปนเปกันไป มันเลย ทำให้มองยาก สิ่งที่ผมรู้สึกสะดุดมากก็คือ เรากำลังกำหนด ตารางชี วิ ต ของเราบนโครงสร้างของชาวตะวันตก อยู่หรือป่าว? ในตารางชีวิตของเราจึงมี โปรแกรม วันหยุดสุดสัปดาห์ โปรแกรมพักร้อนประจำปี และ อะไรๆทำนองนี้มากมาย ... ความยากของหลายคนอยูต่ รงที่ การไม่สามารถ ปฏิเสธโครงสร้างพวกนี้ แต่ โจทย์ของเราคือเนื้อหาที่ เราจะใส่ลงไปนั้นต่างหาก !!!


11 halallife


OLDIE!! ARABIA

12 halallife


13 halallife


14 halallife


15 halallife


16 halallife


17 halallife


18 halallife


19 halallife


20 halallife


21 halallife


22 halallife


23 halallife


24 halallife


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.