1 halallife
2 halallife
3 halallife
Halal Life Magazine: บรรณาธิการบริหาร วิทยากร อิสมาแอล กองบรรณาธิการ ธนพัฒน์ อิสมาแอล, กอมารียะห์ สุเรรัตน์ คอลัมนิสต์ สุภาพ เรืองปราชญ์, สมคิด ลีวัน, อีซา นิยม, สมชาติ มิตรอารีย์, สุทิศา เหมเสริม ศิลปกรรม dream.fact ออกแบบปก Chalit Design ผู้จัดการ วิลาสินี กันซัน ผู้จัดการฝ่ายการตลาด สิทธิศักดิ์ วงค์เกษร ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา สาโรช เรืองปราชญ์ ติดต่อโฆษณา 085-984-9054, 083-0703512 สมาชิกติดต่อ อัสมา กันซัน 086-890-6055 นิตยสารฮาลาลไลฟ์ ได้รับการสนับสนุนข้อมูลจาก Email: hala.life.mag@gmail.com Facebook: facebook.com/halal.life.magazine Twitter: twitter.com/halallife ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล สำนักงานชั่วคราว 31/1 ซ.รามคำแหง 53 แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 แฟกส์ 0-2989-1029 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4 halallife
5 halallife
{Halal Life}
สิ่งที่ต้องทบทวนหลังน้ำลด อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์
กว่าจะถึงวันที่ Halal Life ฉบับนี้ออกวาง แผง ผมคิดว่าเราคงผ่านจุดที่วิกฤติที่สุดของ มหาอุทกภัยในครั้งนี้ไปบ้างพอสมควร ตอนนี้ หลายคนเริ่มฝันถึงว่าเมื่อไหร่น้ำจะแห้ง มีราย งานว่าเราอาจจะต้องอยูก่ บั น้ำ 3-4 สัปดาห์ แต่ สิง่ ทีท่ กุ คนไม่อยากฝันถึงคือ หลังน้ำลดยังมีปญ ั หาที่รอการแก้ไขอีกมากมาย ทั้งเรื่องการปรับ โครงสร้างทางผังเมืองและกลไกราชการ การเข้า สู่เฟสฟื้นฟูที่อาจกินเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ปี ปัญหาต่างๆทีม่ าพร้อมกับน้ำ อาจทำให้เราฉุก คิดอะไรขึ้นมาได้บ้าง หากเราตั้งสติเผชิญกับเหตุ การณ์นำ้ ท่วมครัง้ นีอ้ ย่างผูท้ ใี่ ฝ่หาบทเรียน เราก็จะ ได้บทเรียน เพือ่ นำไปปรับทัง้ กับตัวเองและสังคม รวมไปถึงประเทศชาติต่อไป สิ่งที่ผมคิดนี้ก็เป็น เพียงบทเรียนทีผ่ มพอจะได้รบั ซึง่ คนอืน่ อาจคิดได้ มากกว่านี้ มาดูกันว่าเราได้รับบทเรียนที่ต้องทบ ทวนกันตอนนี้ เพื่อเริ่มปรับปรุงทันทีหลังน้ำลด
1. การเกิดภัยภิบัติ ไม่ใช่ความผิด
ความช่วยเหลือเป็นจำนวนมาก ทีไ่ ม่สามารถจัดการ ได้พร้อมกัน ก็จะมีเสียงของความไม่พอใจ ทุกเช้า ดู ข่ า วทางที วี ก็ จ ะมี แ ต่ ข้ อ ความวิ่ ง ว่ า ที่ นั่ น ที่ นี่ เดือดร้อนมากยังไม่มใี ครหรือหน่วยงานใดมาช่วย เหลือ ซึ่งในสถานการณ์เช่นนี้ เราควรจะรู้ว่าเรา ต้องช่วยตัวเอง เอาตัวรอดให้ได้ เพราะมันไม่ใช่ เงือ่ นไขว่าใครจะต้องมาช่วย เราไม่ควรจะมานัง่ ต่อ ว่ากันเอง หากจะต่อว่ารัฐบาลก็คงต่อว่าในเรื่อง ของการจัดการน้ำ และการให้ขอ้ มูล แต่ไม่ใช่เรือ่ ง ที่เราจะโทษรัฐบาลหรือแสดงความไม่พอใจต่อ นายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียว ผมไม่ได้เชียร์นายก นะครับ แต่ผมว่าคนไทยเรานิสัยไม่ดีอย่างนึงคือ มีปัญหาแล้วชอบต่อว่าคนอื่น แต่ไม่เคยมองดูตัว เองว่าควรจะมีสว่ นรับผิดชอบอย่างไร ทำไม่ไม่คดิ ว่าเราควรจะร่วมแรงร่วมใจเพื่อให้ผ่านพ้นวิกฤติ ไปด้วยกันให้ได้
2. น้ำทำให้เราประจักษ์วา่ ใต้ถนุ บ้าน
เมืองของเรามีแต่สิ่งปฏิกูล เรายังจัดการ ของรัฐบาล แต่เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งพร้อมใจกัน เรื่องความสะอาดกันไม่ดีพอ รับมือ ตอนทีน่ ำ้ เริม่ ท่วมจังหวัดนครสวรรค์เราจะสัง การเกิดน้ำท่วม น้ำหลาก เป็นเรื่องธรรมชาติ ทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าให้มา แต่ปริมาณน้ำทีม่ ากกว่าเดิม 30-40% จากที่เคยท่วมในปีก่อนๆนั้น มันก็เป็น เรื่องเกินกว่าจะรับมือ ซึ่งถึงขั้นที่ต้องเรียกว่าเป็น ภัยภิบัติ นั่นย่อมแปลว่ากลไกของรัฐบาลหรือ หน่วยงานราชการก็ไม่สามารถทำหน้าที่ได้อย่าง ในเหตุการณ์ปกติ แน่นอนย่อมเกิดความไม่สะดวก และมีปญั หาเดือดร้อนกันเป็นจำนวนมาก พอเดือด ร้อนกันก็เริม่ ไม่พอใจรัฐบาล มีการก่นด่า ประณาม หยามเหยียดกันไปทัว่ หรือมีการร้องเรียนร้องขอ
เกตุเห็นว่าน้ำยังใส เด็กๆออกมาเล่นน้ำที่ท่วมกัน อย่างสนุกสนาน แต่พอน้ำเริม่ ผ่านอยุธยา ผ่านมา ถึงปทุมธานี นนทบุรี จนเข้ากรุงเทพ น้ำเริม่ สกปรก ดำและมีกลิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ จะเห็นว่าน้ำยิ่งผ่าน เมืองมากเท่าใดน้ำก็จะกวาดเอาสิ่งสกปรกมา พร้อมกับน้ำ เป็นการบ่งบอกให้รวู้ า่ เบือ้ งล่างความ เจริญ ความสวยงามของเมือง คือปฏิกูลที่เราทิ้ง มั น ลงท่ อ โดยไม่ ไ ด้ รั บ การบำบั ด บวกกั บ ขยะ จำนวนมหาศาลที่ออกมาลอยเท้งเต้งประจาน การจัดการเรื่องขยะและการสาธารณสุขของเรา 6 halallife
ที่ผ่านมาเรายกเรื่องการกำจัดขยะว่าเป็นเรื่อง ของเทศบาล หรือกทม. โดยไม่มองกลับมาที่มุม ของเราในฐานะประชาชนที่ ค วรจะสร้ า งวิ นั ย เกี่ ย วกั บ การบำบั ด น้ ำ ทิ้ ง การแยกกำจั ด ขยะ การเลือกใช้วัสดุย่อยสลาย ฯลฯ ถึงเวลาหรือยังที่ เราต้องเริ่มสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวด ล้อมทีเ่ ราอยูอ่ าศัย ความสะอาดไม่ใช่อยูท่ ตี่ อนจะ ละหมาดอย่างเดียว แต่มนั ต้องเป็นระบอบในการ ดำเนินชีวิต จึงจะเรียกว่าความสะอาดคือส่วน หนึ่งของการศรัทธา
3. รู้แจ้งเห็นจริงแล้วใช่ไหมว่าทำไม
อิสลามห้ามการกักตุน
ปรากฏการณ์หนึ่งที่เกิดพร้อมกับน้ำท่วมคือ สินค้าบริโภคขาดแคลน เราจะเห็นว่ามันสร้าง ความเดือดร้อน และเพิ่มความวิตกกังวลให้เกิด ขึ้นมากเพียงใด ผมเชื่อว่าส่วนหนึ่งที่ขาดเพราะ เกิดการกักตุนจากพ่อค้า ซึ่งมักจะเกิดขึ้นทุกครั้ง เมื่อมีความต้องการสูงจากผู้บริโภค กักไว้ให้ขาด สักระยะหนึ่ง ให้คนกังวล แล้วค่อยปล่อยออกมา ในราคาใหม่ ถึงเวลานีก้ ไ็ ม่มใี ครโวยเรือ่ งราคา มัน เป็นเทคนิคที่ใช้กันมานาน แต่ครั้งนี้เห็นชัดเจน อีกปรากฏการณ์ที่ไม่ใช่การกักตุนแต่คล้ายๆ คือ การตุนอาหารทีค่ นแห่ซอ้ื อาหารและน้ำเพราะ กังวลว่าจะขาดแคลน หรือเกรงว่าถ้าน้ำท่วมแล้ว จะหาซื้อไม่สะดวก ซึ่งกรณีนี้ก็อาจสร้างความ เดือดร้อนได้เหมือนกัน คนที่มีฐานะดีจะสามารถ ซื้ออาหารตุนได้เต็มที่ แต่คนจนที่ไม่มีเงินก้อน มี รายได้รายวันก็จะลำบากเพราะอาหารขาดแคลน เนื่องจากคนรวยซื้อเอาไปเก็บไว้หมดแล้ว ในทัศนะอิสลามแล้ว การ “กักตุนสินค้า” ถือว่า “ฮาราม” หรือ “บาป” ท่านศาสนทูต มูฮมั
ตอบกันยาว เอาเป็นว่า เรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับปฐมเหตุของ การเกิดน้ำท่วมนี่ก่อน การตัดไม้ทำลายป่า หรือ การถางป่าเพือ่ ทำไร่ ไล่มาจนถึงการรักษาแหล่งน้ำ การจัดการขยะ การระบายน้ำเสีย ฯลฯ และอีกอย่าง ที่สำคัญมากๆคือ การรู้รับผิดชอบ ไม่ใช่มีปัญหา อะไรก็โทษหน่วยงานนั้นหน่วยงานนี้ ไม่เคยมอง ดูตัวเองว่าควรจะทำอะไรให้กับการแก้ปัญหานี้ เอาเข้าจริงๆ พวกเราก็เห็นแก่ตัว บ้าง อันนี้เป็นนิสัยเสียอย่างแรง จำได้ไหม ตอนเกิดแผ่นดินไหวที่เฮติ ประชา การวางแผนรั บ มื อ ของเราคื อ ชนชาวเฮติอดอยาก ขาดแคลนอาหาร ถึงขัน้ ปล้น สะดมสิ่งของที่ทางยูเอ็นเอาไปบริจาค เราเคย “น้ำมาค่อยอพยพ” วิพากษ์ชาวเฮติว่าไร้อารยธรรม ไร้ระเบียบวินัย เรื่องนี้สำคัญมากและที่ผ่านมาถือว่าพวกเรา แต่พอถึงตาเราบ้าง ขนาดยังไม่ถงึ กับอดอยาก แต่ ประมาท คือถ้าว่าเราอยูใ่ นพืน้ ทีท่ เี่ สีย่ งน้ำท่วม สิง่ ทำไมมีเหตุการณ์แย่งชิงสิง่ ของบริจาค นีย่ งั ไม่นบั ที่ควรทำก็คืออพยพออกมาแต่เนิ่นๆจะสามารถ ความสับสนอลหม่านกรณีประท้วงเรื่องเปิดปิด ทำได้ง่ายกว่า แต่นี่เรารอถึงการประกาศอพยพ ประตูระบายน้ำ และอีกหลายกรณี เปรียบเทียบ ซีง่ แน่นอนมันก็ตอ้ งเกิดเหตุการณ์โกลาหลวุน่ วาย กับชาวญีป่ นุ่ ตอนเกิดสึนามิ พวกเขามีระเบียบวินยั ชาวบ้านที่บ้านอยู่หลังคันกั้นน้ำหลายๆคนที่ไม่ เสียสละให้ผู้เดือดร้อนคนอื่นก่อน เคยคิดไหมว่า ยอมอพยพ ก็เพราะคิดว่าสามารถรับมือได้ไม่มี ระหว่างชาวเฮติกับชาวญี่ปุ่น เราใกล้เคียงใคร ปัญหาและไม่ยา้ ยออก ปรากฏว่าวันรุง่ ขึน้ คันกัน้ มากกว่ากัน น้ำแตก ทีนี้เรื่องร้องเรียนถูกส่งมายังหน่วยช่วย ชีวิตจำนวนมาก ในสถานการณ์ที่เอาคนออกมา กองทัพพม่าตีกรุงศรีฯแตก เอา ยากเพราะน้ำสูง ทางที่ดีล็อกบ้าน สับสะพานไฟ ทองไป แต่ ก องทั พ น้ ำ ตี ก รุ ง เทพฯแตก และออกจากบ้านก็ดีไป สาเหตุยอดนิยมของคน ที่ไม่อพยพก็คือ ไม่มีญาติที่ไหน หรือมีภาระ เช่น แล้วเอาความสามัคคีไป อันนี้คงไม่ต้องอธิบายอะไรมากมายนะครับ ห่วงสัตว์เลี้ยงและทรัพย์สิน และฝืนอยู่ แต่พอถึง ตอนเกิดน้ำท่วมใหม่ๆ อดีตนายกอภิสิทธิ์ ไป ขีดทีไ่ ม่ไหวก็ตอ้ งร้องเรียกให้คนมาช่วยพาออกไป เยี่ยมนายกยิ่งลักษณ์ถึง ศปภ.ที่ดอนเมือง ผู้คน ผมว่าปัญหาทีม่ นั สร้างความโกลาหลมากในช่วงที่ พากันดีอกดีใจว่า นีค่ อื นิมติ รหมายทีด่ ี น้ำท่วมจะ น้ำเริ่มท่วมก็คือ การไม่วางแผนรับมือแต่เนิ่นๆ เป็นจุดเริ่มต้นของการปรองดอง แต่พอน้ำเริ่ม นั่นเอง ทะลักเข้ากรุง ได้เห็นบรรยากาศการประสานงาน การชลประทาน มันคืออะไรน่ะ? ระหว่างฝ่ายรัฐบาลกับฝ่าย กทม. แล้วเดาได้เลยว่า เขาว่าบ้านเรามีนกั วิชาการแยะ แต่ทำไมผมรูส้ กึ หลังน้ำลด คงมีการเช็คบิลกันอุตลุต แม้ แ ต่ ช าวบ้ า นที่ เ คยอยู่ ร่ ว มซอยเดี ย วกั น ว่าเราไม่คอ่ ยมีคนรูเ้ รือ่ งการชลประทานเลย ทัง้ ๆ สมัครสมานสามัคคีมาช้านาน แต่พอน้ำมา ฝั่ง ที่บ้านเราเป็นลุ่มน้ำ ในประเทศที่ไม่ค่อยจะมีน้ำ เหนือโดนน้ำท่วม มีคันดินมากั้นขังน้ำไว้ ฝั่งใต้ ทำไมเขาถึงมีระบบการชลประทานที่มีประสิทธิ ไม่ทว่ ม เพราะอยูห่ ลังคันดิน ฝัง่ ทีน่ ำ้ ท่วมไม่พอใจ ภาพมากกว่าบ้านเรา มีนกั วิชาการเพียงไม่กคี่ นเอง อยากให้เปิดคันดินระบายน้ำออกไปบ้าง แน่นอน ที่ออกมาวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และบางคนก็ อีกฝั่งย่อมไม่ยอม หวิดจะวางมวยกัน เหตุการณ์ ไม่ได้รบั การยอมรับว่าน่าเชือ่ ถือ นักศึกษาไทยเรา แบบนี้ เกิดขึ้นนับไม่ถ้วน จนน้ำลดแล้วก็ยังมอง มีกี่คนที่สนใจอยากเรียนรู้การชลประทาน หน้ากันไม่ติด อย่างนี้ถ้าไม่เรียกว่าน้ำเอาความ งานอาสาเพื่อ เฟสบุคส์ สามัคคีไปด้วย แล้วจะให้เรียกว่าอะไร พอรูว้ า่ ชาวบ้านลำบาก ใครๆก็อยากมาทำงาน ถึ ง เวลาที่ ค นไทยต้ อ งเริ่ ม สร้ า ง อาสา แน่นอน! การลงมือทำย่อมเป็นสิ่งที่ดีและ จะก่อให้เกิดสิ่งดีๆตามมา แต่การทำแบบต่างคน วินัยกันใหม่หมด ทุกคนรูว้ า่ การสร้างวินยั ไม่ใช่เรือ่ งง่ายๆ แต่มนั ต่างทำนั้นก็เป็นปัญหาหนึ่ง จากวงประชุมของ สร้างได้ และต้องเริม่ วางหลักสูตรตัง้ แต่ชน้ั อนุบาล สถานีโทรทัศน์ช่องหนึ่งได้ข้อเสนอที่น่าสนใจว่า ถ้าถามว่าคนไทยต้องสร้างวินัยในเรื่องใดบ้างคง ทุกคนอยากทำความดี แต่ทกุ คนก็เต้นไปตามกระ หมัด(ซล.) ได้ระบุเกีย่ วกับเรือ่ งนีอ้ ย่างชัดเจน โดย ห้ามโก่งราคา ห้ามกักตุนสินค้า หรือค้าขายตัด ราคา อิสลามถือว่าพฤติกรรมการกักตุนสินค้า เป็นการบ่อนทำลายเศรษฐกิจ เป็นการละเมิดสิทธิ ของคนอื่นในยามที่สังคมกำลังวิกฤต ซึ่งเราก็ได้ เห็นชัดเจนในมหาอุทกภัยครั้งนี้
4.
7.
5.
8.
9.
6.
7 halallife
แสทีม่ นั เปลีย่ นไป ยกตัวอย่างเช่น หากสือ่ นำเสนอ ความเดือดร้อนในอยุธยา ความช่วยเหลือก็หลั่ง ไหลไปอยุธยาทัง้ กำลังเงิน กำลังคน และกำลังทรัพย์ พอสื่อบอกว่าปทุมธานีเดือดร้อนทุกคนก็แห่ไป ปทุมธานี และทิง้ ชาวอยุธยาไว้ สิง่ สำคัญก็คอื เราจะ รักษาสมดุลได้อย่างไรให้ความช่วยเหลือไม่ไหล ไปตามสายน้ำ ดังนัน้ ควรจะมีการวางแผนประสาน งานกันและกัน ไม่ใช่ความช่วยเหลือไปกระจุกตัว เป็นทีเ่ ดียว ส่วนงานอาสาสมัครนัน้ แท้จริงมีความ หลากหลายลองค้นหาสิ่งที่จะเอาศักยภาพมาใช้ ให้ได้มากทีส่ ดุ เช่น เด็กอาชีวะ ตอนเฟสฟืน้ ฟูตอ้ ง อาศัยทักษะในงานช่างเป็นอย่างมาก มันน่าจะดีกว่าการขับรถฝืนไปกับน้ำร่วม 400 กิโลเมตรเพื่อบริจาคน้ำสองแพ็กและถ่ายรูปลง Facebook เพือ่ ให้รสู้ กึ ดีกบั ตัวเอง แต่รถไปจมน้ำ แล้วเสียหรือลำบากหน่วยงานที่ต้องเข้าไปช่วย เหลือ เรือ่ งแบบนีอ้ าจจะส่งมอบของให้หน่วยงาน ทีม่ ศี กั ยภาพในการเข้าไปส่งมอบ เพราะเวลาการ ที่เราจะช่วยเหลือกัน บางครั้งอาจจะไม่ต้องการ การที่คนอื่นจะต้องมายอมรับและสำนึกในสิ่งที่ เราทำ แต่เป็นการกระทำโดยมนุษยธรรมและไม่ เลือกกรณี
10. เปลีย่ นทัศนคติ จากผูป้ ระสบภัย
(มือล่าง) มาเป็น ผู้ช่วยเหลือ(มือบน)
น้ำท่วมครัง้ นีม้ คี นเดือดร้อนเป็นล้านคน จะว่า ไปแล้วมากกว่าสึนามิเสียอีก ทำให้เราหลายคนต้อง ตกเป็นผู้ประสบภัย ที่ต้องรอรับความช่วยเหลือ แต่สง่ิ หนึง่ ทีอ่ ยากจะย้ำเตือนคือ ภาวะของการเป็น ผู้ที่ต้องได้รับการช่วยเหลือนั้น ขอให้เป็นภาวะที่ สัน้ ทีส่ ดุ พอพ้นขีดของความลำบากมากๆแล้ว เรา ต้องรีบผันตัวเองมาเป็นผู้ช่วยเหลือในทันที ข้าว ของที่ได้รับบริจาคมาถ้าเหลือเราควรรีบส่งต่อไป ยังจุดที่เดือดร้อนกว่า ถ้าทุกคนเป็นได้เช่นนี้ เรา จะสามารถลดจำนวนผูท้ ตี่ อ้ งการความช่วยเหลือ ให้นอ้ ยลงอย่างรวดเร็ว ประเทศชาติของเราจะได้ ฟื้นตัวกลับมาได้เร็ว และนี่คืออีกแนวทางหนึ่งที่ จะทำให้เรากลับมาเป็นเหมือนเดิม
ยั ง มี สิ่ ง ที่ เราต้ อ งทบทวนกั นอีกเยอะจาก มหาอุทกภัยครัง้ นี้ พระองค์อลั ลอฮฺตรัสไว้ในอัล กุรอ่านว่า “แท้จริง หลังความยากลำบาก มักจะ มีความง่ายดาย”(อัล อินชิรอห์ 5) หวังว่าใน ความยากลำบากนี้ คงจะมีบทเรียนทีด่ ใี ห้กบั เรา และหวังว่าหลังเหตุการณ์ครั้งนี้ เราจะได้รับสิ่ง ที่ดีกลับคืนมา.
8 halallife
9 halallife
27 November รวมพลคนพอเพียง
23 - 25 November
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ จ.ปทุมธานี
การประชุมวิชาการ
เว็บไซต์เกษตรพอเพียงจัดงาน รวมพลคนพอเพียง ซึง่ ภายในงานจะได้พบกับการออกร้านของสมาชิกเกษตร พอเพียง การจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น อาทิเช่น การ ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ การเพาะเห็ดอย่างมืออาชีพ การ ผสมเทียมปลา การจัดแสดงนิทรรศการจากหน่วยงานรัฐ และเอกชน การออกร้านขายต้นไม้และอาหาร ข้อมูลเพิม่ เติมโทร 087-861-8016
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ขอเชิ ญ ผู้ ส นใจเข้ า ร่ ว มการประชุ ม วิ ช าการทาง มานุษยวิทยา ครั้งที่ 10 “อาเซียน: ประชาคมในมิติ วัฒนธรรม ความขัดแย้ง และความหวัง” เปิดลงทะเบียน และชำระเงินล่วงหน้าทางอินเตอร์เน็ต ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน - 15 พฤศจิกายน 2554 ที่ www.sac.or.th/ conference_asean_2011
11 December
วันรวมน้ำใจสู่จิตต์ภักดี 54
โรงเรียนจิตต์ภักดี (อัตตักวา) จ.เชียงใหม่
งานประจำปีโรงเรียนจิตต์ภกั ดี ภายในงานมีการออก ร้านจำหน่ายสินค้าเพื่อหารายได้ให้กับโรงเรียนจิตต์ภักดี และมัสยิดอัต-ตักวา มีการแสดงความสามารถของนักเรียน และการบรรยายศาสนธรรมจากอาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิ โดย ทางโรงเรียนจะเลี้ยงอาหาร(โต๊ะจีน)แก่แขกผู้ร่วมงานฟรี สองมือ้ ทัง้ มือ้ เช้าและมือ้ กลางวัน ผูใ้ ดสนใจจะร่วมบริจาค เงินให้กับทางโรงเรียนฯสามารถบริจาคได้ที่ โทร.053247667
10 halallife
บันทึกแห่งนักสูม้ หาอุทกภัย
11 halallife
สู้ไม่ท้อถอย
ฮาลาลไลฟ์ กับภารกิจส่วนหน้า
12 halallife
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย
สู้ด้วยระบบและการวางแผน
13 halallife
ดร.ปกรณ์ ปรียากรณ์
ร.ต.อ.พรชัย ไวยศิลป์
สู้ด้วยธารน้ำใจ
ภารกิจจากหัวใจของมูลนิธศิ รัทธาชนเพือ่ การศึกษาและเด็กกำพร้า
14 halallife
สู้ด้วยสื่อ
ภารกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยโดยเว็บไซต์มุสลิมไทยดอทคอม
15 halallife
สู้ด้วยพลังคนหนุ่มสาว
ศูนย์อาสาสมัครนิสิตนักศึกษามุสลิมช่วยภัยน้ำท่วม
16 halallife
ประเสริฐ มัสซารี
สู้ไม่เว้นวรรค
กับหน่วยบรรเทาสาธารณภัยมูลนิธิสันติชน
สู้ด้วยประสบการณ์ ของศุภชัย เอื้อฤ าชา
17 halallife
วามีย์ไทยและองค์กรเครือข่ายร่วมช่วยเหลือผู้ประสบภัย
18 halallife
19 halallife
20 halallife
21 halallife
22 halallife
23 halallife
24 halallife
25 halallife
26 halallife
27 halallife
28 halallife