บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟา และบริภัณฑไฟฟา โดย
เตชทัต บูรณะอัศวกุล เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 1
ประวัติการศึกษาและกิจกรรมทางสังคม ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ตําแหนง : การตลาด : บริษัท อาซีฟา จํากัด อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี
Page 2
ตําแหน่งทางสังคม : - เลขานุการและกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า วสท. - เลขานุการและกรรมการสมาชิกสัมพันธ์ วสท. - เลขานุการและอนุกรรมการคุณภาพไฟฟ้ า วสท. - ประธานอนุกรรมการแข่งขันทักษะวิชาชีพ มาตรฐานติดตั งทางไฟฟ้ าฯ: กรมพัฒฯ + TEMCA - อนุกรรมการจัดทําแนวทางการสอบเลื อนขั น ภาคีวิศวกร เป็ น สามัญวิศวกร: สภาวิศวกร - อนุกรรมการสวัสดิการ : สภาวิศวกร - อนุกรรมการกําหนดแนวทางการส่งเสริ มและสนับสนุนมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ : สภาวิศวกร - ทีปรึกษามาตรฐาน DATA CENTER : วสท. - ทีปรึกษาทางวิชาการ : สมาคมช่างเหมาไฟฟ้ าและเครื องกลไทย ; TEMCA - อนุกรรมการร่ างมาตรฐานการติดตั งทางไฟฟ้ าสํารับประเทศวสท. - อนุกรรมการร่ างมาตรฐานโคมไฟฟ้ าป้ายทางออกฉุกเฉินและระบบแสงสว่างฉุกเฉิน - อนุกรรมการร่ างมาตรฐานติดตั งโคมไฟฟ้ าป้ายทางออกฉุกเฉินและระบบแสงสว่างฉุกเฉิน - อนุกรรมการร่ างมาตรฐานการติดตั งทางไฟฟ้ าในสถานทีเฉพาะ บริ เวณสถานพยาบาล - อนุกรรมการกองบรรณาธิการวารสาร “ ไฟฟ้ าสาร’’ วสท. - อนุกรรมการกองบรรณาธิการวารสาร “ TEMCA Magazine ’’ : TEMCA - กรรมการสมาคมทีปรึกษาทางธุรกิจ : APEC IBIZ Ass. เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 P 2
มาตรฐานตางๆ ที่สําคัญเกี่ยวของกับวัสดุอุปกรณและการเดินสาย รวมถึงการติดตั้งบริภัณฑไฟฟา - มาตรฐาน วสท. (EIT Standard 2001-56) บทนํา - International Electrotechnical Commission (IEC) - British Standard (BS) - National Electrical Code (NEC) - มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) - American National Standard Institute (ANSI)
การเลือกใชบริภัณฑไฟฟา - มาตรฐาน มอก. - มาตรฐานระหวางประเทศ - ถาไมมีทั้ง มอก.และ IEC ก็เลือก ตามมาตรฐาน ประจําชาติ
- National Electrical Manufacturers Association (NEMA)
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 3
ถ้ าไม่ อยากพบกับเหตุการณ์ นี เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 4
Utility’ Power Supply
ระบบการจ่ ายไฟแรงสูง
Utility’s property
kVAR
บริภ ั ณฑ ์ ประธานแรงสูงข้ อ 2.3
M.V Switchgear Customer’s property Distribution Transformer
Panel Board or L/C
หม้ อแปลงไฟฟ้ าข้ อ 2.6 บริภ ั ณฑ ์ ประธานแรงตํ่ าข้ อ 2.3 ,1.81,1.84
X
Main Distribution Board MDB
Distribution Board DB
เครื่องวั ดหน่ วยไฟฟ้ าแรงสูง
X
X
สายไฟ+ตั วนําไฟฟ้ าแรงดั นตํ่ าข้ อ 2.1, 2.2 X X
แผงจ่ ายไฟย่ อย ( DB )
X
M
Electric Equipment
โหลด (Load center) เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 5
บริภัณฑไฟฟา
Utility’ Power Supply Utility’s property
kVAR
Customer’s property
X X
X
X X
X
แบงตามระดับแรงดันไฟฟาไดเปน 1. บริภัณฑไฟฟาแรงดันสูง ( HV Equipment ) แรงดันสูงกวา 36 kV 2. บริภัณฑไฟฟาแรงดันปานกลาง ( MV Equipment ) แรงดัน 1 kV ถึง 36 kV 3. บริภัณฑไฟฟาแรงดันต่ํา ( LV Equipment ) แรงดันนอยกวา 1 kV
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 6
“ M.V Switchgear ”
ประเภท AIS และ GIS ตามมาตรฐาน IEC 62271-200 ( เกา IEC 60298 ) ไดแบงตูสวิตชเกียร ออกเปน 3 แบบ 1. Cubicle Switchgear 2. Compartmented Switchgear C.B type = VCB (withdrawable Type) 3. Metal - Clad Switchgear
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 7
“ M.V Switchgear ” Cubicle Switchgear 1. มีนอยกวา 3 Compartments 2. ถามี Partition อาจเปนโลหะ (Metallic) หรือฉนวน ( Insulated ) 3. Switching Device อาจเปนแบบติด ถาวร ( Fixed ) หรือถอดออกได ( Withdrawable ) Note : 1. ไมสามารถใส Lightning Arrester ได 2. มีขอจํากัดเรื่อง Terminator
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 8
“ M.V Switchgear ” Compartment Switchgear 1. มี 3 Compartment สําหรั บ Switching Device ,Busbar , Connectors และ CTS 2. Partitionและ Shutters ระหว่ าง Compartment โดยทั วไป Insulated ไม่ ใช่ โลหะ 3. ไม่ มี Insulated Bushing สําหรับผ่ านจาก Compartment หนึ งไปยังอีก Compartment หนึ ง
Ferrous metal 74% Non - Ferrous metal 8% Thermohardening 15% Thermoplastics 2% Fluid 1% เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 9
“ M.V Switchgear in Metal Enclosure ” Metal - Clad Switchgear 1. มี 4 Compartments สําหรับ Cable , Switching , Busbar และ L.V Compartment 2. Partition ระหวาง Compartment จะตองเปนโลหะ 3. ชองผานจาก Compartment หนึ่ง ไปยังอีก Compartment หนึ่ง จะตองมี Insulated Bushing เพื่อกั้นการลุกลาม 4. Modular System , Added Lightning Arrester and Terminator ได 1 Cable connection compartment 2 Circuit-breaker compartment 3 Busbar compartment 4 Low voltage compartment
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 10
MEDIUM VOLTAGE SWITCHEAR AND CONTROLGEAR COMPARISON as IEC 62271 Series CRITERIA
METAL-CLAD
Compartment
CUBICLE
NEX
SM6
RM6
Performance
XXX
XX
X
Variety of solutions
XXX
XX
X
Reliability
XXX
XX
X
Maintainability
XXX
XX
X
Extensibility
XXX
XXX
-
Safe Use
XXX
XX
XX
XX
XX
XX
XXX
XXX
XX
X
X
XXX
XXX
XX
XX
XX
XX
XXX
Insensitivity Easy installation Dimension Delivery time Costs
หมายเหตุ X XX XXX
แสดงวามีคุณสมบัติ พอใช แสดงวามีคุณสมบัติ ดี แสดงวามีคุณสมบัติ ดีมาก เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 11
การใชฟวสทํางานรวมกับสวิตชตัดโหลด (Load-break Switch with Fuses) การใช HRC รวมกับสวิตชตัดโหลด เมื่อฟวสเสนใดเสนหนึ่ง ขาด จะตองทําใหสวิตชปลดวงจรทั้ง 3 เฟส พรอมกัน พิกัดกระแสขณะตัดวงจร(Breaking Current) ของสวิตชตัด โหลดตองไมต่ํากวา 7 เทาของฟวส (ตาม IEC 60420) (Load-break Switch in SF6 with Fuses)
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 12
สวิตชแยกวงจร ( Isolators or Disconnecting Switches : DS ) ใชใหความปลอดภัยบุคคลและการบํารุงรักษา ทางดานโหลดของสวิตชแยกวงจร จะตองมี สวิตชตอลงดิน จะตองทํา Interlock กับเซอรกิตเบรกเกอร ใชปด-เปดวงจรไฟฟาแรงสูง ขณะที่ไมมีโหลด สามารถสับ-ปลด เมื่อเซอรกิตเบรกเกอรอยูใน ตําแหนงปลดเทานั้น Circuit breaker unit เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 13
2.6 มาตรฐานหมอแปลงไฟฟา หมอแปลงฉนวนน้ํามันตองมีคุณสมบัติตาม
มอก. 384-2543 , IEC 60076 หมอแปลงชนิดแหง(Dry Type Transformer) IEC 60076-11 ,IEC 60726 หมอแปลงชนิดฉนวนของเหลวติดไฟยาก (Less-Flammable LiquidInsulated Transformer) ใชตามขอกําหนดของ NEC 450-23 ตองผานการ รับรองของ UL และ FM หมอแปลงชนิดฉนวนของเหลวไมติดไฟ (Nonflammable Liquid-Insulated Transformer)
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.6 หนา 2-5) P 14
คุณสมบัติแรงดันของหมอแปลง
กฟน.
กฟภ.
Primary 12000/24000V. Secondary 240V/416 V. High voltage tapping 4 x (-) 2.5% Total Loss 1.5% (Low Loss Type)
Primary 22000/33000V. Secondary 230/400 V. High voltage tapping (+/-)2 x 2.5% Total Loss 1.5% (Low Loss Type)
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.6 หนา 2-5) P 15
การเลื อกใช้ อุปกรณ์ ไฟฟ้ าที่ได้ มาตรฐานภายในโรงงาน
2.10 มาตรฐานแผงสวิ ตช์ สํ าหรั บระบบแรงตํ ่ า
Main Distribution Board: MDB หรือ แผงสวิตชไฟฟาแรงต่ํา (Low – Voltage Switch Board) มาตรฐานที่เกี่ยวของ : IEC 60439 – 1 มอก มอก..1436 1436--2540 , วสท..2001 : IEC 61439 วสท 61439--2 แผงสวิตช หมายถึง แผงขนาดใหญหนึ่งแผง หรือ หลายแผงประกอบเขาดวยกัน เพื่อใชติดตั้ง สวิตช อุปกรณปองกันกระแสเกิน อุปกรณปองกันอื่นๆ บัสบาร และเครื่องวัดตางๆ เพื่อรับไฟฟา จากแหลงจายไฟฟาไปจายใหกับโหลด แผงสวิตชยอย โดยสามารถเขาถึงไดทั้งดานหนา และดาน หลังของแผงสวิตช Ics = Icu
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 16
Form ตู คือรูปแบบการแบงกั้นแยกสวนที่มีไฟฟา(Live Part) หรือสวนที่เปน อันตรายโดยการใช Partitions กั้นแยกระหวางอุปกรณหลักออกอยางชัดเจน
- บัสบาร
Form 1
Form 2a
Form 3a
Form 4a
Form 2b
Form 3b
Form 4b
- อุปกรณหลัก - ขั้วตอสาย - ตัวตู
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 17
= มีการกั้นแยก FORM
ตู
อุปกรณ & อุปกรณ
อุปกรณ & บัสบาร
อุปกรณ & ขั้วตอสาย
ขั้วตอสาย & ขั้วตอสาย
ขั้วตอสาย & บัสบาร
Form 1 Form 2A Form 2B Form 3A Form 3B Form 4A Form 4B เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 18
2.8 มาตรฐานระดับการปองกันสิ่งหอหุมบริภัณฑ IP(Ingress of Protection) คืออะไร คือความสามารถในการกันของเหลว กับวัตถุ (ของแข็ง) ของอุปกรณ ตามมาตรฐาน IEC 60529 หรือ มอก.513-2553 IP XX รหัสตัวที่ 2 รหัสตัวที่ 1
บอกถึงลักษณะการปองกันของเหลว อันอาจจะเกิดอันตรายแกอุปกรณที่บรรจุภายใน บอกถึงลักษณะการปองกันวัตถุ หรือ ของแข็ง อันอาจจะเกิดอันตรายแกอุปกรณที่บรรจุภายใน เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.8 หนา 2-6) P 19
IณIEC 60529 or มอก. 513-2553
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 20
องค์ ประกอบหลั กเกณฑ์ ในการออกแบบ เพื่ อกํ าหนด ขนาดตู ้
และประมาณราคา
1. มาตรฐานของผู ้ ผลิ ตแผงสวิ ตช์ ฯ(ความปลอดภั ย ความเชื่อถือได้ ของ ระบบไฟฟ้ า etc. ) : TTA / ผู ้ ที่ ม ี ประสบการณ์ ทําTTA อย่ างต่ อเนื่อง 2. ขนาด จํานวนฟังก ์ ชั ่น (อุปกรณ์ ฯ) และจํานวน Feeder เช่ น สวิ ตช์ เกียร ์ (เบรกเกอร ์) หรื อ Single line Diagram ,Specification etc. 3. ขนาดของโหลด (kW: Motor Feeder, Motor Starter) 4. IP & FORM 5. Rated Short Circuit (Isc / Icu ,Ics = Icu) 6. Rated Short Time Withstanding (Icw (Icw)) 7. Bus bar alignment and bus bar size. 8. Access Type (Front, Rear) or Service Condition 9. ทิ ศทางการวางอุปกรณ์ (Vertical, Horizontal) 10. ทิ ศทางการเข้ าสายของอุปกรณ์ (Top Entry, Button Entry) 11. Typical ของตู ้ เช่ น ความสูง กว้ าง ลึ ก 12. Control Room / room size (Ventilation ,Ambient Temp, Air Change) เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 21
กรณีใชแผงสวิตชที่ไมมีคุณภาพ
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 22
กรณีทดสอบแผงสวิตชกับการเกิดแผนดินไหว
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 23
2.2 มาตรฐานตัวนําไฟฟา 1) บัสบารทองแดง ( Copper Bus Bar ) ตองมีความ บริสุทธิ์ไมนอยกวา 98 % : 1084.6 C มาตรฐานที่เกี่ยวของ : IEC 60468 ,BS EN 2626 2626,, BS EN 13601 13601,,มอก มอก..308 308,, มอก มอก..408 กรณีบัสบาร ภายในตูสวิตชเกียร ใหใชตามมาตรฐาน IEC 61439 - 1,2,3
2) บัสบารอลูมิเนียม (Aluminum Bus Bar ) ตองมีความ บริสุทธิ์ไมนอยกวา 98 % : 660 C , 62% of Copper Conductivity 3) บัสเวย ( Busway ) หรือบัสดัก(Bus Duct ) ตองเปนชนิดที่ประกอบ สําเร็จรูปจากบริษัทผูผลิต และไดมีการทดสอบแลวตามมาตรฐาน UL 857 , IEC 61439-6 เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 24
Busway or Bus Duct • ใชแทนสายไฟฟา • เหมาะสําหรับอาคารสูง หรือ โรงงาน ที่ใชกําลังไฟฟามากๆ • มีทั้งแบบทองแดง และ อลูมิเนียม • ติดตั้งงาย ประหยัดคาแรง ใชพื้นที่นอย • IP 40, 54, 55, 65, 66
Busway or Busduct standard : IEC 61439 - 6 : UL857 UL857 เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 25
ประวัติของ มอก.11 ประกาศใชครั้งแรก เมื่อ ป 2514 สายไฟฟาชนิดตัวนําทองแดงกลม หุมดวยฉนวนและ เปลือกนอกโพลีไวนิลคลอไรด มาตรฐานเลขที่ มอก.11-2513 แกไขครั้งที่ 1 เมื่อป 2518 สายไฟฟาชนิดตัวนําทองแดงกลม หุมดวยฉนวนและเปลือก นอกโพลีไวนิลคลอไรด มาตรฐานเลขที่ มอก.11-2518 แกไขครั้งที่ 2 เมื่อป 2531 สายไฟฟาทองแดงหุมดวยโพลิไวนิลคลอไรด มาตรฐานเลขที่ มอก. 11-2531 แกไขครั้งที่ 3 เมื่อป 2549 สายไฟฟาหุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด แรงดันไฟฟาที่กําหนด ไมเกิน 450/750 โวลต มอก. 11-2549 เลม 1 ถึง เลม 5 และ เลม 101 แกไขเพิ่มเติม เมื่อป 2550 – 2551 และไดมีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พศ. 2553 สายไฟฟาหุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด แรงดันไฟฟาที่กําหนดไมเกิน 450/750 โวลต มอก. 11-2553 เลม 1 ถึง เลม 5 และ เลม 101
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 26
มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 31กรกฎาคม 2556 เปนตนไป เตชทั ต บูรณะอั ศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 27
สายไฟฟาหุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด แรงดันไฟฟาที่กําหนดไมเกิน 450 / 750 โวลต 1. มอก. 11 เลม 1-2553 ขอกําหนดทั่วไป 2. มอก. 11 เลม 2-2553 วิธีทดสอบ 3. มอก. 11 เลม 3-2553 สายไฟฟาไมมีเปลือกสําหรับงานติดตั้งยึดกับที่ 4. มอก. 11 เลม 4-2553 สายไฟฟามีเปลือกสําหรับงานติดตั้งยึดกับที่ 5. มอก. 11 เลม 5-2553 สายออน 6. มอก. 11 เลม 101-2553 สายไฟฟามีเปลือกสําหรับงานทั่วไป เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 28
เปรียบเทียบสีของสายไฟฟา มอก.11-2531 N นิวทรัล เฟส A เฟส B เฟส C
G สายดิน
เทาอ่อน ดํ า
มอก.11-2553
ขาว
ฟ้ า นําตาล
แดง นําเงิ น เขียวแถบ เขียว เหลือง
ดํา เทา เขียวแถบเหลือง
เขียว เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 29
มอก. 11-2553 เล่ ม 1 ข้ อกําหนดทั่วไป (IEC 60227-1) (ต่ อ) การระบุแกนของสายไฟฟ้ า
การแสดงด้ วยสี จํานวนแกนไม่ เกิ น 5 แกน (หลีกเลี่ ยงการใช้ สี แดงและสี ขาว) กํ าหนด รูปแบบของสี ฉนวนดั งนี้ N+L G+N+L สายแกนเดี่ ยว : ไม่ กํ าหนด
สาย 2 แกน :
สี ฟ้ าและนํ้าตาล
สาย 3 แกน :
สี เขียวแถบเหลื อง สี ฟ้ า สี นํ้าตาล หรือ
สาย 4 แกน : สาย 5 แกน :
สี นํ้ าตาล สี ด ํ า สี เทา
สี เขียวแถบเหลื อง สี นํ้าตาล สี ด ํ า สี เทา หรือ
L1+L2+L3
สี ฟ้ า สี นํ้าตาล สี ด ํ า สี เทา
สี เขียวแถบเหลื อง สี ฟ้ า สี นํ้าตาล สี ด ํ า สี เทา หรือ
G+L1+L2+L3 N+L1+L2+L3 G+N+L1+L2+L3
สี ฟ้ า สี นํ้าตาล สี ด ํ า สี เทา
L1 = สี นํ้าตาล ,L2 = สี ด ํ า, L3 = สี เทา
ไม่ มีใช้
N = สี ฟ้ า, G = สี เขียวแถบเหลื อง เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 30
สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 01 โครงสรางเหมือนสาย
THW เปนสายชนิดแกนเดียว กลม แรงดันใชงาน 450/750 โวลต ขนาด 1.5 ถึง 400 ตร.มม. การใชงาน ใชงานทั่วไป เดินในชองเดินสายและตองปองกันน้ําเขาชองเดินสาย หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 31
สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 10 โครงสรางเหมือนสาย NYY เปนสายชนิดหลายแกน (2-5 แกน) มี/ไมมีสายดิน แรงดันใชงาน 300/500 โวลต ฉนวนบาง กวา NYY ขนาด 1.5 ถึง 35 ตร.มม.
การใชงาน ใชงานทั่วไป เดินในชองเดินสายและตองปองกันน้ําเขา ชองเดินสาย วางบนรางเคเบิล หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 32
สาย มอก.11-2553, NYY
เปนสายชนิดแกนเดียวและหลายแกน แรงดันใชงาน 450/750 โวลต แกนเดียว ขนาด
1.0 ถึง 500 ตร.มม. หลายแกน ขนาด 50 ถึง 300 ตร.มม. หลายแกนมีสายดิน ขนาด 25 ถึง 300 ตร.มม.
การใชงาน ใชงานทั่วไป วางบนรางเคเบิล รอยทอฝงดินหรือฝงดิน โดยตรง
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 33
สายไฟฟาหุมฉนวน XLPE สายไฟฟาชนิดนี้ ทําตามมาตรฐาน IEC 60502-1 - ฉนวน XLPE 90°C และมีเปลือก - แรงดันไฟฟาที่กําหนด 600/1000V (0.6/1kV) - มีขนาด 1,2,3,4 แกน - นํากระแสไดสูง เนื่องจากฉนวนเปน XLPE 90°C - การใชงาน ใชงานทั่วไป เดินบน Cable trayรอยทอฝงดินหรือ ฝงดินโดยตรง - การติดตั้งในอาคารตองเดินในที่ปดมิดชิด ยกเวน เปลือกนอกของสายมีคุณสมบัติตานทานการลุกไหม (Flame retardant) IEC 60332-3 category C
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 34
งานจริงที เกิดขึ น
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 35
งานจริงที เกิดขึ น
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 36
2.5.2 รางเดินสาย ( Wireways ) รางเดินสายโลหะ ( Metal Wireways ) - รางเดินสายโลหะมีลักษณะเปนราง ทําจากแผนโลหะพับมี ฝาปด-เปด ไดเพื่อใชสําหรับ เดินสายไฟฟา วัสดุที่ใชในการทํา Wireways มี 4 ชนิดคือ 1) แผนเหล็กผานกรรมวิธีปองกันสนิม และพนสีทับ เชน แผนเหล็ก ผานกรรมวิธีลางทําความสะอาด ดวยน้ํายาลางไขมัน และเคลือบเฟต ดวยน้ํายา Zinc Phosphate หลังจากนั้นจึงพน ทับดวยสีฝุน ( Powder Paint ) หรือใชกรรมวิธีอื่นที่เทียบเทา 2) แผนเหล็กชุบสังกะสีโดยวิธีทางไฟฟา 1M 3) แผนเหล็กชุบสังกะสีแบบจุมรอน 4) แผนเหล็กชุบอะลูซิงค ( Aluzinc ) 1M เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.5.2 หนา 2-4) (ภาคผนวก ฉ) P 37
ตาราง ฉ. 1-1 ขนาดรางเดินสายโลหะที่แนะนําในการผลิต ขนาดความสู งxกว้ าง ( mm. ) 50 50 50 100 100 100 100 150 200 100 หรือ 300 100 หรือ 400 100 หรือ Hinged Cover (Shown Open)
◌ํElbow (cover Closed) Straigth Section Conduit Tee Fitting Run Conductors
ความหนาตํ าสุ ด ( mm. ) 1.00 1.00 1.20 1.20 1.60 1.60 1.60
5.12.7 หามติดตั้งหรือใชรางเดิน สายในกรณีตอไปนี ก) ตอรางเดินสายตรงจุดที่ผานผนัง หรือพื้น ข) เปนตัวนําสําหรับตอลงดิน ค) ขนาดเกิน 150 x300 มิลลิเมตร
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.5.2 หนา 2-4)(ภาคผนวก ฉ) P 38
2.5.3 รางเคเบิล ( Cable Trays ) 1.
รางเคเบิลแบบดานลางทึบ และ แบบมี ชองระบายอากาศ
- มีฝาปด - ไมมีฝาปด 2. รางเคเบิลมีลักษณะ เปนรางเปด แผนเหล็กพื้น พับเปนลูกฟูก เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.5.3 หนา 2-5) (ภาคผนวก ฉ ) P 39
3 วัสดุที่ใชทํารางเคเบิล มี 4 ชนิด คือ 1) แผนเหล็กผานกรรมวิธีปองกันสนิม และพนสีทับ เชน แผนเหล็กผาน กรรมวิธีลางทําความสะอาดดวยน้ํายาลางไขมัน และเคลือบฟอสเฟต ดวยน้ํายา Zinc Phosphate หลังจากนั้นจึงพนทับดวยสีฝุน ( Powder Paint ) หรือใชกรรมวิธีอื่นที่เทียบเทา 2) แผนเหล็กชุบสังกะสีโดยวิธีทางไฟฟา 3) แผนเหล็กชุบสังกะสีแบบจุมรอน 4) แผนเหล็กชุบอะลูซิงค ( Aluzinc ) หมายเหตุ กรณีที่ติดตั้งภายนอกอาคารหรือสถานที่ เปยกหรือชื้นใหใชวัสดุตามขอ 3) ความยาวแนะนําในการผลิตของรางเคเบิล มีขนาดยาว 2.4 m หรือ 3.0 m และความสูงขนาด 150 mm เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.5.3 หนา 2-5) (ภาคผนวก ฉ ) P 40
2.5.4 รางเคเบิลแบบบันได ( Cable Ladders ) 1 รางเคเบิลแบบบันไดมีลักษณะเปนรางเปด โดยมี บันได ( Rung ) ขอบมนไมคมทุกๆระยะ 300 mm. หรือนอยกวา 2 วัสดุที่ใชทํารางเคเบิล เปนแผนเหล็ก ชุบสังกะสี แบบจุมรอน ( Hot Dip Galvanized ) 3 ความยาวแนะนําในการผลิตของรางเคเบิล แบบบันไดมีขนาด 2.4 m หรือ 3.0 m. และความสูงรางมีขนาด 100 mm หรือ 150 mm. 4 ขนาดรางเคเบิลแบบบันไดที่แนะนําในการผลิตมีขนาดตามตาราง ขนาดความสู ง x กว้ าง ( mm. ) ขนาดความสู งแนะนํา 100 หรือ 150 mm. ขนาดความกว้างแนะนํา 150 , 300 , 450 , 600 , 750 , 900 mm.
ความแข็งแรงของรางเคเบิล การขึ นรู ปของแผ่นเหล็กทํารางเคเบิลแบบ บันได ต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอ
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.5.4 หนา 2-5) (ภาคผนวก ฉ ) P 41
2.5 มาตรฐานชองเดินสายและรางเคเบิล 2.5.1 ทอรอยสายไฟฟา - ทอเหล็กสําหรับรอยสายไฟฟา มอก. 770-2533 - ทอ PVC สําหรับรอยสายไฟฟา มอก. 216-2524 - ทอ HDPE แข็งใชรอยสายไฟฟาฝงดินโดยตรง มอก. 982-2533
ทอโลหะหนา Rigid Metal Conduit (RMC) ทอโลหะหนาปานกลาง Intermediate Metal Conduit (IMC) ทอโลหะบาง Electrical Metallic Tubing (EMT) เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.5 หนา 2-4) ) P 42
มาตรฐานเครื่องปองกันกระแสเกิน(แรงต่ํา) Overcurrent protective devices C.B for IEC standard is 100% rated อุปกรณที่ใชคือ ฟวส หรือ เซอรกิตเบรกเกอร ตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐานที่ การไฟฟาฯ ยอมรับ เชน IEC, UL, BS, DIN และ JIS เปนตน
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 43
2.3 มาตรฐานเครื่องปองกันกระแสเกิน
Compliance of overload protective device with standards
• IEC 60947-2: Low-voltage switchgear and controlgear – Part 2: Circuit-breakers • IEC 60947-3: Low-voltage switchgear and controlgear – Part 2: Switches, disconnectors, switch-disconnectors and fuse combination units • IEC 60947-6-2: Low-voltage switchgear and controlgear – Multiple function equipment – Control and protective switching devices (or equipment) (CPS) • IEC 60898: Electrical accessories - Circuit-breaker for overcurrent protection for household and similar applications • IEC 61008: Residual Current operated Circuit Breakers with integral overcurrent protection for household and similar uses (RCCB) • IEC 61009: Residual Current Breakers with Overcurrent protection for household and similar uses (RCBO) • IEC 60269 series: Low voltage fuse เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 44
การปองกันกระแสเกิน(แรงต่ํา) • โหลดเกิน (Overload) สาเหตุของ • ลัดวงจร (Short-circuit ) กระแสเกิน • รั่วหรือลัดวงจรลงดิน
หลักการเบื้องตน การปองกระแสเกิน ของสายไฟฟาคือ
• เครื่องตัดวงจร ตองตัดกอนที่ ตัวนํา / ฉนวนสาย จะชํารุด เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 45
2.3.6 Circuit Breaker
IEC
• Breaker สําหรับบานอยูอาศัย / อาคาร (IEC 60898) • Breaker สําหรับงานอุตสาหกรรม (IEC 60947-2)
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. ขอ 2.3.6 ภาคผนวก ง และ จ.. จ.. P 46
IEC 60898 & IEC 60947-2 IEC 60898
IEC 60947-2
กลุมผูใชงาน
บานอยูอาศัย อาคารทั่วไป
โรงงานอุตสาหกรรม (ผูมีความรูในการปรับคา setting)
พิกัดแรงดัน (Ue) (phase to phase)
< 440 Vac
< 800 Vac or 1000 Vac
พิกัดกระแสใชงาน (In)
6,8,10,13,16,20,25,32, 40,50,63,80,100,125A
100,160,250,400,630,800,1000,1250, 1600,2000,2500,3200,4000,5000,6300
Ics = Icu = Ic (kA)
3,5,6,10
5,10,16,25,35,36,50,70,100,120,150
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 47
IEC 60898 & IEC 60947-2 IEC 60898 ปรับตั้งคากระแสไมได ตัวอยางการเรียกประเภทและพิกัดกระแสใช งาน C16 หมายถึง เซอกิตเบรกเกอรประเภท C ขนาด พิกัดกระแสใชงาน 16A
IEC 60947-2 Icu = Ics
ประเภท A - ปรับตั้งคากระแสได - ปรับตั้งคาหนวงเวลาไมได (MCCB) - ไมมี Icw ประเภท B -ปรับตั้งคาหนวงเวลาใหทํางาน รวมกับอุปกรณปองกันอื่นได - มี Icw (ACB) เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 48
เทคโนโลยีเครื่องปองกันกระแสเกิน Overload protective devices Technologies
Thermal Technologies • Fuses (Ir ปรับคาไมได) • Bimetal • MCB (Ir ปรับคาไมได ):IEC 60898 • MCCB and ACB (Ir ปรับคาได) • โดยทั่วไป
0,7 In Ir In เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 49
IEC 60898 & IEC 60947-2 Thermal Trip
IEC 60898
IEC 60947-2
1.13 ถึง 1.45 In
1.05 ถึง 1.30 In
Curve B, C, D Magnetic Trip
B : ตัดทันทีที่ ≥ 3-5 In C : ตัดทันทีที่ ≥ 5-10 In D : ตัดทันทีที่ ≥ 10-50 In
กําหนดโดยผูผลิต
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 50
1.131.45
IEC 60898 B : ตัดทันทีที่ ≥ 3-5 In ใชกับ Load ที่ไมมีไฟกระโชก (Inrush current) หรือ Switching Surge เชน พวก เครื่องใชไฟฟาทั่วๆ ไป
In=พิกัดกระแสใชงานปกติ 3
5
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 51
1.13 1.45
IEC 60898 C : ตัดทันทีที่ ≥ 5-10 In ใชกับ Load ที่มีไฟกระโชก เชน Fluorescent Lighting, มอเตอรเล็กๆ, เครื่องปรับอากาศ
5
10
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 52
1.13 1.45
IEC 60898 D : ตัดทันทีที่ ≥ 10-50 In ใชกับ Load ในงานอุตสาหกรรมที่ มีไฟกระโชกสูง เชน เครื่องเชื่อม, เครื่อง X-ray
10
50
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 53
เทคโนโลยีเครื่องปองกันกระแสลัดวงจร Short-circuit protective devices Technologies Thermal
Fuse (ปรั บค่า ไม่ได้) type B or Z MCB (ปรั บค่า ไม่ได้) IEC-60898
Magnetic relay
3,2 In Im 5 In type C 5 In Im 10 In type D 10 In Im 50 In normal
MCCB and ACB (ปรั บค่าได้) IEC-60947
5 In Im 10 In Generator 2 In Im 5 In
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 54
นิยามที่ควรทราบ
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 55
พิกัดการตัดกระแสลัดวงจร Short-circuit characteristics : 1. Rated short-circuit making capacity : Icm 2. Rated ultimate short-circuit breaking capacity :Icu คาพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรของ CBs ที่ใชในการทดสอบ จะไมคํานึงวา สามารถรับกระแสใชงานปกติไดอยางตอเนื่องหรือไมหลังการทดสอบ (rms) O – t – CO 3. Rated service short-circuit breaking capacity : Ics O – t – CO - t – CO Ics = Icu = Icn = Ic เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 56
Rated Service Short Circuit Breaking Capacity (Ics) O – t – CO - t – CO คือ ระดับกระแสลัดวงจรสูงสุดที่ Breaker สามารถปองกันได 3 ครั้งโดยใช ขั้นตอนทดสอบ “O” – รอ 3 นาที - “CO” – รอ 3 นาที - “CO” แลว ยัง สามารถใชงานตอไดโดยปกติ (คา Ics จะแสดงคาเปนจํานวน % ของคา Icu) 25% ของ Icu 50% ของ Icu
Ics = Icu
75% ของ Icu 100% ของ Icu เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 57
Icw เปนคาพิกัดกระแส(rms) ลัดวงจรที่อุปกรณสามารถรองรับได (คง อยูในตําแหนงสับ) ในระยะเวลาสั้นๆ โดยไมเกิดความเสียหายใดๆ ชวงระยะเวลาของ Icw แรงต่ํา
(IEC 60947-2 )ใชคา 0.05, 0.1, 0.25, 0.5, 1, 3 วินาที แรงสูง ใชคา 1 วินาที
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 58
ชนิดของ เซอรกิตเบรกเกอร : IEC 60898 vs IEC 60947-2 1. Miniature Circuit-Breaker : MCB 2. MOLDED CASE CIRCUIT BREAKER : MCCB Double Insulation
3. AIR CIRCUIT BREAKER : ACB
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 59
การเลือกใชงาน C.B ( ตารางที่ 5-33 ; P 5-50 ) X
CB1
ใช MCCB /ACB ? 800AF
X
X
X
X
CB2
L1
L2
180A
225A
200x0.9 250 ตร.มม 297 A CB1 =…………………......AT/……....…AF ,สายไฟใชขนาด 95 …......... 250 250x0.9 ตร.มม 297 A CB2 =……………….….....AT/…………..AF ,สายไฟใชขนาด 95 …......... เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 60
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 61
Coordination (Discrimination, Selectivity, Selective Coordination) การจัดการใหอุปกรณ ปองกันกระแสเกิน ทํางานประสานกัน เพื่อ จํากัดวงจรที่เกิด fault โดยใหมีผลกระทบ (ไฟดับ) ใหนอยที่สุด
นั่นคือให CBs ตัวที่อยูใกลกับ fault มากที่สุดทํางานกอน เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 62
No Selectivity with Instantaneous Trip Selectivity with Short-Time Delay
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 63
การเลือกใชงาน ATS
Tr
X X X
MCCB : IEC60947-2
800AF X
G
X
ATS+By Pass: IEC60947-6-1
X X
X
M
M
ATS+By Pass: IEC60947-6-1 เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 64
2.3.8 เรียกชื่อ ไดหลากหลายดังนี้ Residual Current Device ( RCD ) หรือ Earth Leakage Circuit Breaker ( ELCB ) หรือ Ground Fault Circuit Interrupter ( GFCI )
มาตรฐาน
IEC 60755, IEC61540 และ IEC 61543 IEC 61008 หรือ มอก.2425 – 2552 (เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ แบบ ไมมีการ ปองกันกระแสเกิน : RCCB ดังนั้น ตองมี CB ที่มีพิกัดกระแสลัดวงจร 10kA ที่ IEC 60898 230/400V. IEC61009 หรือ มอก. 909-2548 (เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือแบบ มีการปองกัน กระแสเกิน) : RCBO
การปองกันกระแสรั่ว
10 mA Human Protected 30mA Human Protected 100 mA Equipment Prot. 300 mA Against Fire 500 mA Against Fire
Rated residual operating current 30 mA Breaking time or operating time 0.04 s 5 Rated residual operating current (5I∆n) เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.3.8 หนา 2-3) P 65
RCD : Residual Current Device : เครื่องตัดไฟรั่ว : หรือ 1. เครือ่ งตัดวงจรกระแสเหลือแบบไมมีอุปกรณปองกันกระแสเกิน RCCBs : IEC 61008 ,มอก.2425 2425--2552 (residual current operated circuit-breaker without integral overcurrent protection for Household and similar uses - RCCB)
หมายถึง เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือที่ไมไดออกแบบมาใหทําหนาที่ปองกันโหลดเกินและ/ หรือลัดวงจร สําหรับใชในที่อยูอาศัยและใชในลักษณะที่คลายกัน
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.3.8 หนา 2-3) P 66
2. เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือแบบมีอุปกรณปองกันกระแสเกิน : RCBOs : IEC 61009 , มอก..909 มอก 909--2548 (residual current operated circuit-breaker with integral over-current protection for Household and similar uses uses- RCBO) หมายถึง เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือที่ออกแบบมาใหทําหนาที่ปองกันโหลดเกินและ/หรือลัด สําหรับใชในที่อยูอาศัยและใชในลักษณะที่คลายกัน
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.3.8 หนา 2-3) P 67
หมายเหตุ : - เครื่องตัดไฟรั่วตองเปนชนิดที่ปลดสายไฟเสนที่มีไฟทุกเสนออก จากวงจรรวมทั้งสายนิวทรัล ยกเวน สายนิวทรัลมีการตอลงดิน โดยตรงตามบทที่ 4 แลว - หามตอวงจรลัดครอมผาน (by pass / Direct ) เพื่อปองกันเครื่องตัดไฟรั่วตัดวงจรเมื่อ ไฟรั่ว ห้ ามใช้ ในสถานพยาบาล กลุ ่ มที2่
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.3.8 หนา 2-3) P 68
ตัวอยาง การแยกวงจรที่ไมผาน RCD และวงจรที่ผาน RCD METER N
L
อุปกรณไฟฟา ผานเครื่องตัดไฟรั่ว
Ground เทอรมินอล
G
นิวตรัล วงจรยอย ผาน RCD
นิวตรัล วงจรยอย ที่ไมผาน RCD
วงจรยอยไปอุปกรณไฟฟา
เมนเบรกเกอร
Trip
เครื่องตัดไฟรัว RCD 30mA บัสบารทองแดง
บัสบารทองแดง
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.3.8 หนา 2-3) P 69
ตัวอยาง Residual Current Coordination by RCD มิเตอร์การไฟฟ้าฯ สายนิวตรอล
สายเส้ นไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้า
Ground Terminal
นิวตรอล วงจรย่อยผ่านRCBO
ผ่านเครื องป้องกันไฟรัว
วงจรย่อยไปอุปกรณ์ไฟฟ้า สายดิน
Trip
Trip
RCBO 100 mA
RCBO 10 mA
10kA : IEC60898
บัสบาร์ ทองแดง
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.3.8 หนา 2-3) P 70
แทงโลหะหุมดวยทองแดง(copper –clad Steel) หรือแทงทองแดง หรือแทงเหล็ก อาบสังกะสีขนาด 5/8 นิ้ว(16 มม.) ยาว 2.40 ม. แผนโลหะพื้นที่ 1800 ตร.มม. หนา 6 มม. (1.5 มม.) ฝงลึก 1.6 ม. โครงสรางอาคารโลหะที่มีคา ความตานทานไมเกิน 5 โอหม หลักดินชนิดอื่นๆ ที่ไดรับการรับรอง คาความตานทานของหลักดินกับดิน ตองไมเกิน
5 โอหม
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. (ขอ 2.4 หนา 2-3 ,2-4) P 71
2.9 มาตรฐานเตารับ- เตาเสียบ < 250V. มอก.166-2547 ,IEC60884-1,IEC60906-1,2
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 72
โคมไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน มอก.1102-2538
มอก.1955-2551
โคมไฟฟ้ าฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ
บริภัณฑสองสวาง
โคมไฟฟาปายทางออกฉุกเฉิน : มอก. 2430 - 2552
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 73
Credit For : Mr. Luachai Thongnil Mr. Sutee Pinpaisit Mr. Kititsak Wannakaew Mr. Sivaveth Akaraphan Mr. Siwanatthakul Chaiyason Mr. Wittaya Theerasart
Mr. Techatat B.> Email : techatat@gmail.com : techatat1@yahoo.com MP : 085-1000-209 : 088-585-1880
เตชทัต บูรณะอัศวกุล มาตรฐาน วสท 2001-56 บทที่ 2. P 74