มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย [บทที่ ๕)

Page 1

บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556

บทที่ 5 ลือชัย ทองนิ ล AFEO Honorary Member Award ่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ CAFEO 31 Jakarta, Indonesiaบทที 2013

กรรมการสภาวิศวกร & อดีตประธานสาขาไฟฟ้ า วสท. 1

ประวัติวทิ ยากร…โดยย่อ นายลือชัย ทองนิ ล  รางวัล AFEO Honorary Member Award CAFEO 31 Jakarta, Indonesia 2013  กรรมการสภาวิศวกร  ประธานคณะอนุ กรรมการทดสอบความรู ค้ วามชานาญการประกอบวิชาชีพ ระดับวุฒิวศิ วกร และสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า สภาวิศวกร  อดีตผูอ้ านวยการไฟฟ้ าเขตมีนบุ รี การไฟฟ้ านครหลวง  อดีตประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า วสท. (พ.ศ. 2554-2556)  ประธานคณะอนุ กรรมการปรับปรุ งมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าฯ พ.ศ. 2556  ดูงานด้านระบบไฟฟ้ าในหลายประเทศเช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ฯลฯ  ที่ปรึกษาสมาคมช่างเหมาไฟฟ้ าและเครื่องกลไทย บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

2

1

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ผลงานวิชาการ  แต่งหนังสือ การออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ า ตามมาตรฐานการไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 34 ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)  แต่งหนังสือ คู่มอื ช่างชาวบ้าน ฉบับช่างไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 13 (อัมรินทร์พริ้นติ้ง))  แต่งหนังสือ คู่มอื วิศวกรไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 16 ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม จากสมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)  แต่งหนังสือ การตรวจความปลอดภัยระบบไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 11 ได้รบั รางวัลหนังสือยอด นิ ยม จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)  แต่งหนังสือ การออกแบบและติดตัง้ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ พิมพ์ครัง้ ที่ 4 (วสท.)  แต่งหนังสือ คู่มอื ความปลอดภัยทางไฟฟ้ าในสถานประกอบการ พิมพ์ครัง้ ที่ 3  เขียนบทความ ในวารสารต่างๆ หลายเรื่อง บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดิ 3 นสำยและวัสดุ

ข้อ 5.1- 5.15 ข้อกำหนดกำรเดินสำย ข้อ 5.16 กล่องสำหรับงำนไฟฟ้ ำ ข้อ 5.17 ข้อกำหนดสำหรับแผงสวิตช์

บทที่ 5..หัวข้อ

ข้อ 5.25 สำยไฟฟ้ ำ

ขอบเขต ข้อกาหนดนี้ ครอบคลุมการเดินสายทัง้ หมด ยกเว้น การเดินสายทีเ่ ป็ นส่วนประกอบภายในของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ าเช่ น มอเตอร์ แผงควบคุม ทีป่ ระกอบสาเร็จจากโรงงาน บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

2

4

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ชนิ ดของสายไฟฟ้ าแรงตา่ …แบ่งได้หลายวิธี ชนิ ดของตัวนำ • ทองแดง • อะลูมิเนี ยม

ฉนวน • PVC (อุณหภูมิใช้งำน 70OC และ 90OC) • XLPE (อุณหภูมิใช้งำน 90OC)

มำตรฐำนกำรผลิต • มอก 11-2553 • สำกลอืน่ เช่น IEC 60502, BS หรือ AS บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

5

ฉนวน PVC กับ XLPE อุณหภูมใิ ช้งาน PVC 70OC XLPE 90OC

Ampacity Loss Voltage drop ผลของความร้อนที่มตี ่ออุปกรณ์ไฟฟ้ า

Flame retardant ควัน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

3

6

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

เรียกสายเป็ นรหัสชนิ ด มอก ทีใ่ ช้งานทัวไป ่ 11-2553

สำยไฟฟ้ ำ ระบบแรงตำ่

60227 IEC 01 60227 IEC 10 VAF NYY VCT

XLPE สายทนไฟ สายควันน้อย ฯลฯ ใช้ใน พื้นทีจ่ ากัดบางแห่งทีต่ อ้ งการ คุณสมบัตพิ ิเศษเท่านัน้

อืน่ ๆ

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

7

มอก 11-2553 เป็ นสำยทองแดงหุม้ ฉนวน PVC อ้ำงอิงตำมมำตรฐำน IEC 60227 แต่ยงั คงสำยตำม มำตรฐำนเดิมอยูบ่ ำ้ ง เพื่อให้เหมำะสมกับกำรใช้งำน แรงดันไฟฟ้ ำใช้งำนเป็ นค่ำ U0/U ไม่เกิน 450/750 โวลต์ อุณหภูมิใช้งำนของสำยไว้ 2 ค่ำคือ 70OC และ 90OC บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

4

8

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

มอก 11-2553 สี เฟส A

สายแกนเดียว ไม่กาหนดสี

น้ ำตำล

ดำ

ฟ้ ำ สีของ สำยไฟฟ้ ำ

ศูนย์ หรือ นิวทรัล สายดิน

เขียวแถบ เหลือง

เฟส B

เทำ

เฟส C

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

9

เปรียบเทียบสีของสายไฟฟ้ า มอก.11-2531 เทำอ่อน ขำว ดำ แดง น้ ำเงิน เขียวแถบเหลือง เขียว

มอก.11-2553 ฟ้ ำ น้ ำตำล ดำ เทำ เขียวแถบเหลือง

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

5

10

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตามตารางที่ 5-48 มอก 11-2553

กำรใช้งำน สำยไฟฟ้ ำ

ติดตัง้ ในอาคารต้องเดินในช่ อง เดินสายทีป่ ิ ดมิดชิด ยกเว้น เปลือก นอกมีคุณสมบัตติ า้ นเปลวเพลิง และ คานึ งถึงพิกดั กระแสและ อุณหภูมขิ องอุปกรณ์ทตี่ ่อด้วย

XLPE

อืน่ ๆ สายทนไฟ สายควันน้อย ฯลฯ ใช้ใน พื้นทีจ่ ากัดบางแห่งทีต่ อ้ งการ คุณนสมบั ตพิ สิเดุศษเท่านัน้ บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดิ สายและวั

11

ตารางที่ 5-48 ข้อกาหนดการใช้งานของสายไฟฟ้ าตัวนาทองแดง หุม้ ฉนวนพีวซี ี ตาม มอก.11-2553 รหัสชนิ ด เคเบิล/ชื่อ เรียก

60227 IEC 01

ขนำดสำย อุณหภูมิ ลักษณะตัวนำ จำนวนแกน (ตร.มม.) ตัวนำ

1.5-400

เดี่ยวแข็ง (Solid) หรือตีเกลียว (Stranded)

1-500

NYY-G

25-300

70C

ไม่มี

แรงดัน ไฟฟ้ ำ Uo/U (โวลต์)

กำรใช้งำน

 ใช้งำนทัว่ ไป  เดินในช่องเดินสำยและ ต้องป้ องกันน้ ำเข้ำช่อง 450/750 เดินสำย  ห้ำมร้อยท่อฝังดินหรือฝัง ดินโดยตรง

แกนเดี่ยว

NYY 50-300

แกนเดียว

เปลือก นอก

ตีเกลียว (Stranded)

 ใช้งำนทัว่ ไป  วำงบนรำงเคเบิล หลำยแกน 70C มี 450/750  ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดิน หลำยแกน โดยตรง มีสำยดิน 12 บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

6

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สายแรงตา่ ที่มกี ารใช้งานทัว่ ไป 60227 IEC 01 60227 IEC 10 VAF NYY VCT XLPE (IEC 60502-1) MI Cable และสายทนไฟอื่น

IEC 01 VCT

IEC 10 มอก.11

NYY

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

VAF

13

สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 01  โครงสร้ำงเหมือนสำย THW  เป็ นสำยชนิ ดแกนเดียว กลม  แรงดันใช้งำน 450/750 โวลต์  ขนำด 1.5 ถึง 400 ตร.มม.

กำรใช้งำน  ใช้งำนทัว่ ไป  เดินในช่องเดินสำยและต้องป้ องกันน้ ำเข้ำช่องเดินสำย  ห้ำมร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

7

14

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 10 โครงสร้ำงเหมือนสำย NYY เป็ นสำยชนิ ดหลำยแกน มี/ไม่มี สำยดิน แรงดันใช้งำน 300/500 โวลต์ ขนำด 1.5 ถึง 35 ตร.มม.

การใช้งาน  ใช้งานทัว่ ไป  เดินในช่องเดินสายและต้อง ป้ องกันนา้ เข้าช่องเดินสาย  วางบนรางเคเบิล  ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝังดิน โดยตรง

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

15

สาย มอก.11-2553, NYY เป็ นสำยชนิ ดแกนเดียวและหลำยแกน แรงดันใช้งำน 450/750 โวลต์ แกนเดียว ขนำด 1.0 ถึง 500 ตร.มม. หลำยแกน ขนำด 50 ถึง 300 ตร.มม. หลำยแกนมีสำยดิน ขนำด 25 ถึง 300 ตร.มม.

การใช้งาน  ใช้งานทัว่ ไป  วางบนรางเคเบิล  ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดิน โดยตรง

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

8

16

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สาย มอก.11-2553, VAF เป็ นสำยแบน 2 แกน และ 2 แกน มีสำยดิน แรงดันใช้งำน 300/500 โวลต์ ขนำด 1.0 ถึง 16 ตร.มม.

การใช้งาน เดินเกำะผนัง เดินในช่องเดินสำย ห้ำมร้อยท่อ ห้ำมฝังดิน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

17

สาย มอก.11-2553, VCT ลักษณะเป็ นสำยฝอย เป็ นสำยชนิ ดแกนเดียว หลำยแกน และหลำยแกนมีสำยดิน แรงดันใช้งำน 450/750 โวลต์ ขนำด 4 ถึง 35 ตร.มม.

การใช้งาน  ใช้งานทัว่ ไป  ใช้ต่อเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้ า  วางบนรางเคเบิล  ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดิน โดยตรง

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

9

18

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สายไฟฟ้ าตามมาตรฐานอื่น, XLPE ผลิตตำมมำตรฐำน IEC 60502 หุม้ ฉนวน XLPE แรงดัน 0.6/1 kV. อุณหภูมิใช้งำน 90 OC มีทง้ั ชนิ ดแกนเดียวและหลำยแกน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

19

การใช้งาน ใช้งำนทัว่ ไป วำงบนรำงเคเบิล เดินร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง กำรติดตัง้ ภำยในอำคำรต้องเดินในช่องเดินสำยที่ปิดมิดชิด ยกเว้น เปลือกและฉนวนของสำยมีคุณสมบัติตำ้ นเปลวเพลิง ตำมมำตรฐำน IEC 60332-3 category C ระวัง อุณหภูมิของอุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่ต่อกับสำยด้วย บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

10

20

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า เลือกตาราง ตำรำงที่ 5-47 (7 กลุม่ ) ชนิ ดและขนำด ของสำยไฟฟ้ ำ

รูปแบบกำร ติดตัง้

ตัวปรับค่ำ

อุณหภูมิโดยรอบ 60227 IEC 01, 60227 IEC 10 จำนวนกลุ่มวงจร NYY, VAF VCT XLPE บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

21

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า และ รูปแบบการติดตัง้ ตำรำงที่ 5-8 ตัวคูณปรับค่ำฯ กรณี สำยมำกกว่ำ 1 วงจร ตำรำงที่ 5-20 ถึง 5-26 ขนำดกระแสของสำย มอก.11 ตำรำงที่ 5-21, 5-27 ถึง 5-29 ขนำดกระแสของสำย XLPE ตำรำงที่ 5-30 ถึง 5-33 ขนำดกระแสของสำยบนรำงเคเบิล ตำรำงที่ 5-34 ถึง 5-35 MI Cable ตำรำงที่ 5-36 ถึง 5-38 สำยแรงสูง ตำรำงที่ 5-39 สำยเครื่องเชื่อม ตำรำงที่ 5-40 ถึง 5-41 ตัวคูณปรับค่ำ รำงเคเบิล ตำรำงที่ 5-42 สำยอะลูมิเนี ยม ตำรำงที่ 5-43 ถึง 5-44 ตัวคูณปรับค่ำอุณหภูมิ ตำรำงที่ 5-45 ถึง 5-46 ตัวคูณปรับค่ำมำกกว่ำ 1 วงจร (ฝังดิน) ตำรำงที่ 5-47 รูปแบบกำรติดตัง้ อ้ำงอิง บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ 22 ตำรำงที่ 5-48 ข้อกำหนดกำรใช้งำนสำยไฟฟ้ ำ

11

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การติดตัง้ สายไฟฟ้ า แบ่งเป็ น 7 กลุ่ม (ตารางที่ 5-47) รูปแบบกำรติดตัง้

วิธีกำรเดินสำย สำยแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวน มี/ไม่มีเปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรือ อโลหะ ภำยในฝ้ ำเพดำนที่เป็ นฉนวน หรือ ควำมร้อน หรือผนังกันไฟ สำยแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวน มี/ไม่มีเปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรือ อโลหะเดินเกำะผนังหรือเพดำน หรือฝัง ในผนังคอนกรีตหรือที่คล้ำยกัน

ลักษณะกำร ติดตัง้

กลุม่ ที่ 1

หรือ

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กลุม่ ที่ 2 23

สำยแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวนมี เปลือกนอก เดินเกำะผนัง หรือเพดำน ที่ ไม่มีสง่ิ ปิ ดหุม้ ที่คล้ำยกัน

กลุม่ ที่ 3

สำยเคเบิลแกนเดี่ยวหุม้ ฉนวน มี/ไม่มี เปลือกนอก วำงเรียงกันแบบมีระยะห่ำง เดินบนฉนวนลูกถ้วยในอำกำศ

D

กลุม่ ที่ 4 D

สำยแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวนมี เปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรืออโลหะ ฝังดิน

กลุม่ ที่ 5

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

12

24

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สำยแกนเดี่ยว หรือหลำยแกน หุม้ ฉนวน มีเปลือกนอก ฝังดินโดยตรง

กลุม่ ที่ 6

สำยเคเบิลแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวน มีเปลือกนอก วำงบนรำงเคเบิล แบบด้ำนล่ำงทึบ, รำงเคเบิลแบบระบำย อำกำศ หรือรำงเคเบิลแบบบันได

กลุม่ ที่ 7

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

25

ความแตกต่างของกลุ่มที่ 1 กับ กลุ่มที่ 2 ฉนวนความร้อน ท่อร้อยสายไฟฟ้ า เพดาน การระบายความร้อน การระบายความร้อน

ท่อร้อยสายไฟฟ้ า เพดานหรือผนัง บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

13

26

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

จากชนิ ดของสายและรูปแบบการติดตัง้ …เลือกตารางได้ รูปแบบกำรติดตัง้ สำย มอก.11-2553 สำย XLPE กลุม่ ที่ 1 & 2 ตำรำงที่ 5-20 ตำรำงที่ 5-27 กลุม่ ที่ 3 ตำรำงที่ 5-21 ตำรำงที่ 5-21 กลุม่ ที่ 4 ตำรำงที่ 5-22 ตำรำงที่ 5-28 กลุม่ ที่ 5 & 6 ตำรำงที่ 5-23 ตำรำงที่ 5-29 กลุม่ ที่ 7 ตำรำงที่ 5-30&31 ตำรำงที่ 5-32&33

หมำยเหตุ ร้อยท่อ เกำะผนัง ในอำกำศ ฝังดิน บนรำงเคเบิล

MI Cable ตารางที่ 5-34 & 35 สายแรงสูง ตารางที่ 5-36 ….

27

ตำรำงที่ 5-20 (บำงส่วน) ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สำหรับขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นำ 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสำยในอำกำศ ลักษณะ กำรติดตัง้ จำนวน/ ลักษณะ ตัวนำกระแส

กลุม่ ที่ 1 2 แกนเดียว

กลุม่ ที่ 2 3

หลำยแกน

แกนเดียว

2 หลำยแกน

แกนเดียว

3 หลำยแกน

แกนเดียว

หลำยแกน

รูปแบบ กำรติดตัง้ รหัสชนิ ด เคเบิลที่ใช้ งำน ขนำดสำย (ตร.มม.)

1 1.5 2.5

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, VCT, IEC 60502-1 และสำยที่มีคณ ุ สมบัตติ ำ่ งๆ ที่มีฉนวนพีวซี ี เช่น สำยทน ไฟ, สำยไร้ฮำโลเจน, สำยควันน้อย เป็ นต้น ขนำดกระแส (แอมแปร์)

10 13 17

10 12 16

9 12 16

9 11 15

14

12 15 21

11 14 20

10 13 18

10 13 1728

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

หมายเหตุ (ตารางที่ 5-20) 1. อุณหภูมโิ ดยรอบที่แตกต่างจาก 40 องศาเซลเซียส ให้ใช้ตวั คูณปรับ ค่าตามที่ระบุ ไว้ในตารางที่ 5-43 2. ในกรณี มจี านวนตัวนากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ในช่องเดินสาย ให้ ใช้ตวั คูณปรับค่าตามที่ระบุ ไว้ในตารางที่ 5-8 3. ดูคาอธิบายรูปแบบการติดตัง้ ในตารางที่ 5-47 4. ดูคาอธิบายรหัสชนิ ดเคเบิลที่ใช้งานในตารางที่ 5-48

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตัวอย่าง

29

รูปแบบกำรติดตัง้

สำย มอก.11-2553

สำย XLPE

หมำยเหตุ

กลุ่มที่ 1&2

ตำรำงที่ 5-20

ตำรำงที่ 5-27

ร้อยท่อ

กลุ่มที่ 5 & 6

ตำรำงที่ 5-23

ตำรำงที่ 5-29

ฝังดิน

วงจร 1 เฟส ใช้สำย IEC 01 ขนำด 2.5 ตร.มม. (1 กลุม่ วงจร) เดินร้อย ท่อเกำะผนัง อุณหภูมิโดยรอบ 40OC ต้องกำรหำขนำดกระแสของสำย วิธที ำ 1. รูปแบบกำรติดตัง้ (เดินร้อยท่อ) กลุม่ ที่ 2 ตารางที่ 5-20 2. ชนิ ดและขนำด (มอก.11-2531, ขนำด 2.5 ตร.มม.) ใช้ ตำรำงที่ 5-20 (ตัวนำกระแส 2 เส้น ) 3. ตัวคูณปรับค่ำ อุณหภูมิโดยรอบ = 1 (ตำมที่กำหนดในตำรำง) จำนวนกลุม่ วงจร = 1 (ไม่ตอ้ งปรับค่ำ) ได้ขนำดกระแส = 21 A30

15

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ ตำรำงที่ 5-20 (บำงส่วน) ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สำหรับขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นำ 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสำยในอำกำศ ลักษณะ กำรติดตัง้ จำนวน/ ลักษณะ ตัวนำกระแส

กลุม่ ที่ 1

กลุม่ ที่ 2

2 แกนเดียว

3 หลำยแกน

แกนเดียว

2 หลำยแกน

แกนเดียว

3 หลำยแกน

แกนเดียว

หลำยแกน

รูปแบบ กำรติดตัง้ รหัสชนิ ด เคเบิลที่ใช้ งำน ขนำดสำย (ตร.มม.)

1 1.5 2.5

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, VCT, IEC 60502-1 และสำยที่มีคณ ุ สมบัตติ ำ่ งๆ ที่มีฉนวนพีวซี ี เช่น สำยทน ไฟ, สำยไร้ฮำโลเจน, สำยควันน้อย เป็ นต้น ขนำดกระแส (แอมแปร์)

10 13 17

10 12 16

9 12 16

9 11 15

12 15 21

11 14 20

10 13 18

10 13 1731

ขนาดกระแส กลุ่มที่ 7 ตารางที่ 5-30 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตัวนาทองแดงหุม้ ฉนวน พีวซี ี มีเปลือกนอก ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV. อุณหภูมิ ตัวนา 70OC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40OC วางบนรางเคเบิลแบบระบาย อากาศไม่มฝี าปิ ด หรือรางเคเบิลแบบบันได ตารางที่ 5-31 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตัวนาทองแดงหุม้ ฉนวน พีวซี ี มีเปลือกนอก สาหรับขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโล โวลต์ อุณหภูมติ วั นา 70 ºC อุณหภูมโิ ดยรอบ 40 ºC วางบนราง เคเบิลชนิ ดด้านล่างทึบ มี/ไม่มี ฝาปิ ด บทที่ 5…ลือชัย ทองนิล

16

32

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ขนาดกระแสเมือ่ เดินในรางเคเบิล

รูปแบบกำรติดตัง้ สำย มอก.11-2553 สำย XLPE หมำยเหตุ กลุม่ ที่ 1 & 2 ตำรำงที่ 5-20 ตำรำงที่ 5-27 ร้อยท่อ กลุม่ ที่ 5 & 6 ตำรำงที่ 5-23 ตำรำงที่ 5-29 ฝังดิน กลุม่ ที่ 7 ตำรำงที่ 5-30&31 ตำรำงที่ 5-32&33 บนรำงเคเบิล ลือชัย ทองนิล

33

ตัวอย่าง วงจร 3 เฟส 230/400V ใช้สาย NYY แกนเดียว ขนาด 4x120 ตร.มม. วางบนรางเคเบิลแบบันได โดยวางแบบเป็ นกลุ่ม ต้องการหาขนาดกระแสของสาย แต่ละเส้น รูปแบบกำรติดตัง้ สำย มอก.11-2553 สำย XLPE หมำยเหตุ วิธที า ตารางที่ 5-30 กลุ่มที่ 1&2 ตำรำงที่ 5-20 ตำรำงที่ 5-27 ร้อยท่อ ได้ขนาดกระแส = 268A กลุ่มที่ 7 ตำรำงที่ 5-30&31 ตำรำงที่ 5-32&33 บนรำงเคเบิล ลักษณะกำรติดตัง้ ลักษณะตัวนำ

สำยเคเบิลแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวน มีเปลือกนอก วำงบนรำงเคเบิล (กลุม่ ที่ 7) แกนเดี่ยว หลำยแกน

รูปแบบกำรติดตัง้ รหัสชนิ ดเคเบิล ขนำดสำย (ตร.มม.)

95 120

60227 IEC 10, NYY และสำยที่มีคุณสมบัตพิ เิ ศษต่ำง ๆ ที่มีฉนวน พีวีซี เช่น สำยทนไฟ สำยไร้ฮำโลเจน และ สำยควันน้อย เป็ นต้น ขนำดกระแส (แอมแปร์)

239 279

230 268

17

297 345

271 315

207 240

34

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ ตำรำงที่ 5-31 ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำตัวนำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวีซี มีเปลือกนอก สำหรับขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นำ 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC วำงบนรำงเคเบิลชนิ ดด้ำนล่ำงทึบ มี/ไม่มี ฝำปิ ด ลักษณะกำรติดตัง้ ลักษณะตัวนำ

กลุม่ ที่ 7 แกนเดียว

หลำยแกน

รูปแบบกำรติดตัง้

รหัสชนิ ดเคเบิลที่ใช้ งำน ขนำดสำย (ตร.มม.)

60227 IEC 10, NYY, NYY-G, ตำมมำตรฐำน IEC 60502-1 และสำยที่มีคุณสมบัติพิเศษต่ำงๆ เช่น สำยทนไฟ, สำยไร้ฮำโลเจน, สำยควันตำ่ เป็ นต้น ขนำดกระแส (แอมแปร์)

1

-

-

12

10

16 25 35

90 112

77 96

66 84 104

54 70 86

35

หมายเหตุ (ตารางที่ 5-31) ในกรณี มจี านวนตัวนากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร สาหรับรางเคเบิล แบบมีฝาปิ ดให้ใช้ตวั คูณปรับค่า ตามที่ระบุ ไว้ในตารางที่ 5-31(ก) และ สาหรับรางเคเบิลแบบไม่มฝี าปิ ดให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามที่ระบุ ไว้ ใน ตารางที่ 5-41 (เหมือนตารางที่ 5-8) ยกเว้น การจัดวางระยะห่างระหว่างกลุ่มวงจรมากกว่าสองเท่าของผลรวม เส้นผ่านศูนย์กลาง ภายนอกของตัวนากระแส ไม่ตอ้ งนาตัวคูณปรับค่า ตามตารางมาพิจารณา บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

18

36

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การปรับค่าขนาดกระแสของสาย และเงื่อนไขการใช้ตาราง เนื่ องจำกจำนวน กลุม่ วงจร (Cg)

กำรปรับค่ำ เนื่ องอุณหภูมิ โดยรอบ (Ca)

 ตารางที่ 5-8 เดินในช่องเดินสาย  ตารางที่ 5-40 & 5-41 วางในรางเคเบิล  ตารางที่ 5-45 & 5-46 เดินฝังดิน

 ตารางที่ 5-43 เดินในอากาศ  ตารางที่ 5-44 เดินฝังดิน

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

37

ตำรำงที่ 5-8 ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสเนื่ องจากจานวนสาย ที่นากระแสในช่องเดินสายไฟฟ้ าเดียวกันมากกว่า 1 กลุ่มวงจร

จำนวนกลุ่มวงจร

ตัวคูณ

2 3 4 5 6 7 8 9 10-12 13-16 17-20 บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

19

0.80 0.70 0.65 0.60 0.57 0.54 0.52 0.50 0.45 0.41 0.38

38

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ข้อยกเว้น…การใช้ตวั คูณปรับค่า ข้อยกเว้นที่ 1 สายไฟฟ้ าที่มรี ะบบแรงดันไฟฟ้ าต่างกัน ซึ่งวางสายไว้ ในช่องเดินสายเดียวกันให้ใช้ตวั คูณเพื่อลดขนาดกระแสเฉพาะสาย สาหรับวงจรกาลัง วงจรแสงสว่างและวงจรควบคุมที่มโี หลดต่อเนื่ อง ข้อยกเว้นที่ 2 สาหรับสายที่ติดตัง้ ในรางเคเบิลให้ปฏิบตั ติ ามข้อ 5.15 ข้อยกเว้นที่ 3 สาหรับสายส่วนที่อยู่ในนิ ปเพิล (nipple) และนิ ปเพิล มีความยาวไม่เกิน 0.60 เมตร ไม่ตอ้ งใช้ตวั คูณลดขนาดกระแส บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

39

ข้อยกเว้น…การใช้ตวั คูณปรับค่า (ต่อ) ข้อยกเว้นที่ 4 สาหรับสายใต้ดินส่วนที่เข้าหรือออกจากช่องราง เดินสาย (cable trench) ซึ่งอยู่ภายนอกอาคาร และมีจานวนสาย หรือแกนไม่เกิน 1 กลุ่มวงจร และมีการป้ องกันทางกายภาพด้วย ท่อร้อยสายชนิ ดโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลางหรือท่ออโลหะ ซึ่งท่อส่วนที่อยู่เหนื อผิวดินมีความยาวไม่เกิน 3 เมตรไม่ตอ้ งใช้ตวั คูณลดขนาดกระแส บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

20

40

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

หมายเหตุ ถ้ากลุ่มเคเบิลประกอบด้วยตัวนาที่มอี ุณหภูมกิ ารใช้งานแตกต่างกันอยู่ ในกลุ่มเดียวกัน พิกดั กระแสของกลุ่มให้คานวณตามเคเบิลที่มพี ิกดั ของอุณหภูมกิ ารใช้งานตา่ ที่สุด ไม่ตอ้ งนับจานวนกลุ่มวงจรในช่องเดินสายไฟฟ้ าเดียวกันที่รูแ้ น่ นอน แล้วว่ามีกระแสโหลดไม่เกินร้อยละ 30 (สามสิบ) ของพิกดั กระแส เมือ่ คิดตัวคูณปรับค่าที่ได้นบั รวมจานวนกลุ่มวงจรนัน้ ด้วยแล้ว

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

41

การเดินสายผสมกัน ข้อ 5.25.1.9 ในที่ซ่ึงมีการเดินสายผสมระหว่างการเดินสายในอากาศ หรือเกาะผนังใน อากาศ และการเดินสายในท่อหากความยาวที่เดินในท่อไม่เกินครึ่งหนึ่ ง ของความยาวสายทัง้ หมด หรือสายที่เดินในท่อยาวไม่เกิน 6 เมตร แล้วแต่ค่าใดจะน้อยกว่า อนุ ญาตให้ใช้ค่าขนาดกระแสตามวิธกี ารเดิน สายในอากาศ หรือเกาะผนังในอากาศได้

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

21

42

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การนับกลุ่มวงจร ของสายไฟฟ้ าในท่อเดียวกัน สายแกนเดียว กรณี ในท่อมีแต่วงจร

1 เฟส นับเป็ นวงจรไป ขนาดกระแสดูจากช่องตัวนา

กระแส 2 เส้น กรณี ในท่อมีแต่วงจร 3 เฟส นับเป็ นวงจรไป ขนาดกระแสดูจากช่องตัวนา กระแส 3 เส้น กรณี วงจร 1 เฟส เดินรวมกับวงจร 3 เฟส ในท่อเดียวกัน ให้เลือกคิดเป็ น แบบใดแบบหนึ่ ง (ในทางปฏิบตั ใิ ห้พยายามหลีกเลีย่ ง)

สายหลายแกน จานวนเส้นคือจานวนกลุ่มวงจร คู่มอื กำรกำหนดขนำดสำยไฟฟ้ ำ

43

การนับกลุ่มวงจร กรณี สายแกนเดียว ตัวอย่าง วงจร 1 เฟส 2 วงจร ใช้สายไฟฟ้ าแกนเดียวเดินร้อยท่อเกาะผนัง จำนวน ตัวคูณ วงจรที่ 1 สายขนาด 2.5 ตร.มม. กลุม่ วงจร วงจรที่ 2 สายขนาด 4 ตร.มม. 2 0.80 3 0.70 ต้องการหาขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า 4 5

วิธที ำ ตัวคูณปรับค่ำ (ตำรำงที่ 5-8) = 0.8 ตำรำงที่ 5-20 วงจรที่ 1 สายขนาด 2.5 ตร.มม. = 21 x 0.8 = 16.8 A วงจรที่ 2 สายขนาด 4 ตร.มม. = 28 x 0.8 = 22.4 A ลือชัย ทองนิล

22

0.65 0.60

44

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ ตำรำงที่ 5-20 (บำงส่วน) ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สำหรับขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นำ 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสำยในอำกำศ ลักษณะ กำรติดตัง้ จำนวน/ ลักษณะ ตัวนำกระแส

กลุม่ ที่ 1 2 แกนเดียว

กลุม่ ที่ 2 3

หลำยแกน

แกนเดียว

2 หลำยแกน

แกนเดียว

3 หลำยแกน

แกนเดียว

หลำยแกน

รูปแบบ กำรติดตัง้ รหัสชนิ ด เคเบิลที่ใช้ งำน ขนำดสำย (ตร.มม.)

1.5 2.5 4

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, VCT, IEC 60502-1 และสำยที่มีคณ ุ สมบัตติ ำ่ งๆ ที่มีฉนวนพีวซี ี เช่น สำยทน ไฟ, สำยไร้ฮำโลเจน, สำยควันน้อย เป็ นต้น ขนำดกระแส (แอมแปร์)

13 17 23

12 16 22

12 16 21

11 15 20

15 21 28

14 20 26

13 18 24

13 17 23

การนับกลุ่มวงจร กรณี สายหลายแกน จานวนเส้นคือจานวนกลุ่มวงจร ตัวอย่ำง ถ้ำวงจรไฟฟ้ ำใช้สำย NYY ประกอบด้วยเคเบิล 2 แกน ขนำด 2x4 ตร.มม.จำนวน 1 เส้น และเคเบิล 4 แกน ขนำด 4x4 ตร.มม. จำนวน 2 เส้น จำนวน ตัวคูณ กลุม่ วงจร วิธที ำ นับกลุม่ วงจรได้เป็ น 3 กลุม่ วงจร 2 0.80 3 0.70 จำกตำรำงที่ 5-8 ได้ตวั คูณปรับค่ำเท่ำกับ 0.7 4 0.65 ขนำดกระแส จำกตำรำงที่ 5-20 ได้ขนำดกระแสดังนี้ 5 0.60 สำย NYY 2x4 ตร.มม. = 26 x 0.7 = 18.2 A สำย NYY 4x4 ตร.มม. = 23 x 0.7 = 16 A ลือชัย ทองนิล

23

46

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ ตำรำงที่ 5-20 (บำงส่วน) ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สำหรับขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นำ 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสำยในอำกำศ ลักษณะ กำรติดตัง้ จำนวน/ ลักษณะ ตัวนำกระแส

กลุม่ ที่ 1 2 แกนเดียว

กลุม่ ที่ 2 3

หลำยแกน

แกนเดียว

2 หลำยแกน

แกนเดียว

3 หลำยแกน

แกนเดียว

หลำยแกน

รูปแบบ กำรติดตัง้ รหัสชนิ ด เคเบิลที่ใช้ งำน ขนำดสำย (ตร.มม.)

1.5 2.5 4

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, VCT, IEC 60502-1 และสำยที่มีคณ ุ สมบัตติ ำ่ งๆ ที่มีฉนวนพีวซี ี เช่น สำยทน ไฟ, สำยไร้ฮำโลเจน, สำยควันน้อย เป็ นต้น ขนำดกระแส (แอมแปร์)

13 17 23

12 16 22

12 16 21

11 15 20

15 21 28

14 20 26

13 18 24

13 17 23

สายแกนเดียวมีทงั้ 1 เฟส และ 3 เฟส ในท่อเดียวกัน การนับกลุ่มวงจร เลือกว่าคิดเป็ นแบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส ก็ได้ ตัวอย่าง วงจร 3 เฟส จานวน 2 วงจร และ วงจร 1 เฟส จานวน 2 วงจร ติดตัง้ รวมในช่องเดินสายเดียวกัน ใช้สายไฟฟ้ าแกนเดียวขนาด 2.5 ตร.มม.ทัง้ หมด ต้องการหาขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าของสายแต่ละเส้น วิธที ำ ตัวนำกระแสของวงจร 1 เฟส จำนวน 2x2 = 4 เส้น วงจร 3 เฟส จำนวน 3x2 = 6 เส้น รวมเป็ น 10 เส้น (n=10) ตัวคูณปรับค่ำ (ตำรำงที่ 5-8) บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

24

48

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

วิธที ำ คิดเป็ นวงจร 1 เฟส กลุม่ วงจร = n/2 = 10/2 = 5 ได้ตวั คูณปรับค่ำ 0.60 คิดเป็ นวงจร 3 เฟส กลุม่ วงจร = n/3 = 10/3 = 3.3 ได้ตวั คูณปรับค่ำ 0.68 (เป็ นค่ำเฉลีย่ ระหว่ำง 3 กับ 4 กลุม่ วงจร = 0.68) จำนวน ตัวคูณ ขนำดกระแสของสำย 2.5 ตร.มม. (ตำรำงที่ 5-20) กลุม่ วงจร 2 0.80 วงจร 1 เฟส = 21 A 3 0.70 วงจร 3 เฟส = 18 A 4 0.65 ้ เมื่อคิดตัวคูณปรับค่ำแล้วจะได้ขนำดกระแสดังนี 5 0.60 6 0.57 วงจร 1 เฟส ขนำดกระแส = 21x0.60 = 12.6 A วงจร 3 เฟส ขนำดกระแส = 18x0.68 = 12.24 A บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

49

ตำรำงที่ 5-20 (บำงส่วน) ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สำหรับขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นำ 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสำยในอำกำศ ลักษณะ กำรติดตัง้ จำนวน/ ลักษณะ ตัวนำกระแส

กลุม่ ที่ 1 2 แกนเดียว

กลุม่ ที่ 2 3

หลำยแกน

แกนเดียว

2 หลำยแกน

แกนเดียว

3 หลำยแกน

แกนเดียว

หลำยแกน

รูปแบบ กำรติดตัง้ รหัสชนิ ด เคเบิลที่ใช้ งำน ขนำดสำย (ตร.มม.)

1 1.5 2.5

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, VCT, IEC 60502-1 และสำยที่มีคณ ุ สมบัตติ ำ่ งๆ ที่มีฉนวนพีวซี ี เช่น สำยทน ไฟ, สำยไร้ฮำโลเจน, สำยควันน้อย เป็ นต้น ขนำดกระแส (แอมแปร์)

10 13 17

10 12 16

9 12 16

9 11 15

25

12 15 21

11 14 20

10 13 18

10 13 1750

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กลุ่มวงจรเมือ่ วางบนรางเคเบิล เนื่ องจำกจำนวน กลุม่ วงจร (Cg)

กำรปรับค่ำ

 ตารางที่ 5-8 เดินในช่องเดินสาย  ตารางที่ 5-40 & 5-41 วางบนรางเคเบิล  ตารางที่ 5-45 & 5-46 เดินฝังดิน ตารางที่ 5-40 สานแกนเดียว ตารางที่ 6-41 สายหลายแกน

เนื่ องอุณหภูมิ โดยรอบ (Ca) บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

51

ตารางที่ 5-40 ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสสาหรับสายเคเบิลแกนเดียว วางบนรางเคเบิล เป็ นกลุ่มมากกว่า 1 วงจร จำนวน รำงเคเบิล 1

 300 mm.

วิธีกำรติดตัง้ รำงเคเบิลแบบ ระบำยอำกำศ (perforated 20 mm. trays) รำงเคเบิลแบบ ระบำยอำกำศ วำงแนวตัง้

จำนวนวงจร 2 3 4 5-6 7-9

1

1 0.91 0.87 0.82 0.78 0.77

2

0.96 0.87 0.81 0.78 0.74 0.69

3

0.95 0.85 0.78 0.75 0.70 0.65

1

1 0.86 0.80 0.75 0.71 0.70

2

0.95 0.84 0.77 0.72 0.67 0.66

225 mm บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

26

52

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

หมายเหตุ สาหรับตารางที่ 5-40 ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การวางสายไฟฟ้ าชัน้ เดียวเท่านัน้ ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติดตัง้ รางเคเบิลในแนวนอนที่ มีระยะห่างระหว่างรางเคเบิลในแนวดิ่งไม่นอ้ ยกว่า 300 มม. และ ติดตัง้ รางเคเบิลห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 20 มม.เท่านัน้ ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติดตัง้ รางเคเบิลในแนวดิ่งที่มี ระยะห่างระหว่างรางเคเบิลในแนวราบไม่นอ้ ยกว่า 225 มม.เท่านัน้ ในกรณี ท่จี านวนรางเคเบิลมากกว่าหนึ่ งราง ตัวคูณปรับค่าให้คดิ จาก รางเคเบิลที่มกี ลุ่มวงจรมากที่สุด บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

53

ตารางที่ 5-41 ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสสาหรับสายเคเบิลหลายแกน วางบนรางเคเบิลแบบ ระบายอากาศ แบบด้านล่างทึบ หรือแบบบันได เมื่อวางเป็ นกลุ่มมากกว่า 1 วงจร จำนวนรำง เคเบิล

วิธีกำรติดตัง้

> 300mm

รำงเคเบิลแบบ ระบำยอำกำศ (หมำยเหตุ 2)) a > 20mm

D D

> 300mm

a

จำนวนเคเบิลต่อรำงเคเบิล 1

2

3

4

5-6 7-9

1 2 3 4-6

1.0 1.0 1.0 1.0

0.88 0.87 0.86 0.84

0.82 0.80 0.79 0.77

0.77 0.77 0.76 0.73

1 2 3

1.0 1.0 0.98 0.95 0.91 1.0 0.99 0.96 0.92 0.87 1.0 0.98 0.95 0.91 0.85

0.73 0.73 0.71 0.68

0.72 0.68 0.66 0.64 -

a a > 20mm

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

27

54

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตัวอย่าง วงจร 3 เฟส 230/400V ใช้สาย NYY แกนเดียว ขนาด 4x120 ตร.มม. จานวน 4 วงจร วางบนรางเคเบิลแบบันได โดยวางชิดติดกัน ต้องการหา ขนาดกระแสของสายแต่ละเส้น

วิธที า ตารางที่ 5-30 ได้ขนาดกระแส = 279 A ตารางที่ 5-40 ตัวคูณ = 0.94 ขนาดกระแส = 279 x 0.94 = 262 A บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

55

ตารางที่ 5-30 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตัวนาทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มีเปลือกนอก ขนาด แรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 kV. อุณหภูมิตัวนา 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC วางบนราง เคเบิลแบบระบายอากาศไม่ มีฝาปิ ด หรือรางเคเบิลแบบบันได

ลักษณะกำรติดตัง้

ลักษณะตัวนำ

สำยเคเบิลแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวน มีเปลือกนอก วำงบนรำงเคเบิล (กลุม่ ที่ 7) แกนเดี่ยว หลำยแกน

รูปแบบกำรติดตัง้ รหัสชนิ ดเคเบิล

60227 IEC 10, NYY และสำยที่มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษต่ำง ๆ ที่มีฉนวน พีวซี ี เช่น สำยทนไฟ สำยไร้ฮำโลเจน และ สำยควันน้อย เป็ นต้น

ขนำดสำย (ตร.มม.)

ขนำดกระแส (แอมแปร์)

95 120

239 279

230 268

28

297 345

271 315

207 24056

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตารางที่ 5-40 (ต่อ) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสสาหรับสายเคเบิลแกนเดียว วางบนรางเคเบิล เป็ นกลุ่มมากกว่า 1 วงจร จำนวน รำงเคเบิล 1

วิธีกำรติดตัง้ รำงเคเบิลแบบ ระบำยอำกำศ วำงแนวตัง้

225 mm

รำงเคเบิลแบบ บันได

จำนวนวงจร 2 3 4 5-6 7-9

1

1.0 0.86 0.80 0.75 0.71 0.70

2

0.95 0.84 0.77 0.72 0.67 0.66

1

1.00 0.97 0.96 0.94 0.93 0.92

2

0.98 0.93 0.89 0.88 0.86 0.83 0.97 0.90 0.86 0.83 0.80 0.77

3 นสายและวัสดุ 20 mm บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดิ

กรณี เดินสายฝังดิน  ขนาดกระแส

57

รูปแบบกำรติดตัง้

สำย มอก.11-2553

สำย XLPE

หมำยเหตุ

กลุ่มที่ 4

ตำรำงที่ 5-22

ตำรำงที่ 5-28

ในอำกำศ

กลุ่มที่ 5 & 6

ตำรำงที่ 5-23

ตำรำงที่ 5-29

ฝังดิน

กลุ่มที่ 7

ตำรำงที่ 5-30&31

ตำรำงที่ 5-32&33

บนรำงเคเบิล

 สาย PVC ตารางที่ 5-23  สาย XLPE ตารางที่ 5-29

 การปรับค่า (Cg)  จานวนกลุ่มวงจรในท่อร้อยสาย ตารางที่ 5-8  จานวนท่อที่ฝังดิน ตารางที่ 5-46  สายฝังดินโดยตรง ตารางที่ 5-45

 การปรับค่า (Ca)  ใช้ตารางที่ 5-44 บทที่ 5…ลือชัย ทองนิล

29

58

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตำรำงที่ 5-45 ตัวคูณปรับค่ำสำหรับสำยเคเบิลแกนเดียว หรือหลำยแกน ขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 kV ฝังดินโดยตรง เมื่อวำงเป็ นกลุ่มมำกกว่ำ 1 วงจร วำงเรียงกันแนวระดับ

จำนวนวงจร 2 3 4 5 6

ระยะห่ำงระหว่ำงผิวด้ำนนอกเคเบิล แต่ละวงจร (มม.) เส้นผ่ำน ศูนย์กลำง วำงชิดกัน 125 250 เคเบิล 1 เส้น 0.75 0.80 0.85 0.90 0.65 0.70 0.75 0.80 0.60 0.60 0.70 0.75 0.55 0.55 0.65 0.70 0.50 0.55 0.60 0.70

500 0.90 0.85 0.80 0.80 0.80 59

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

ตำรำงที่ 5-46 ตัวคูณปรับค่ำสำหรับสำยเคเบิลแกนเดียว หรือหลำยแกน ขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่ เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ ร้อยท่อฝังดินโดยตรง เมื่อวำงเป็ นกลุม่ มำกกว่ำ 1 วงจร วำงเรียงกันแนวระดับ

ระยะห่ำงระหว่ำงผิวด้ำนนอกท่อ แต่ละวงจร (มม.) จำนวนวงจร 2 3 4 5 6

วำงชิดกัน 0.85 0.75 0.70 0.65 0.60

250 0.90 0.85 0.80 0.80 0.80

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

30

500 0.95 0.90 0.85 0.85 0.80

1,000 0.95 0.95 0.90 0.90 0.90 60

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ จำนวน ระยะห่ำงระหว่ำงผิวด้ำนนอกท่อ แต่ละวงจร (มม.) วงจร วำงชิดกัน 250 500 1,000 2 0.85 0.90 0.95 0.95 3 0.75 0.85 0.90 0.95 4 0.70 0.80 0.85 0.90

ตัวอย่าง

วงจร 3 เฟส ใช้สำย NYY ขนำด 50 ตร.มม. เดินในท่อร้อยสำยฝังดิน ท่อละ 2 วงจร จำนวน 3 ท่อ ท่อวำงติดกัน ต้องกำรหำขนำดกระแสของสำยแต่ละเส้น วิธีทำ 1. ชนิ ดและขนำด (NYY ขนำด 50 ตร.มม.) 2. รูปแบบกำรติดตัง้ (เดินร้อยท่อฝังดิน) กลุ่มที่ 5 ใช้ ตำรำงที่ 5-23 (ตัวนำกระแส 3 ) ได้ขนำดกระแส = 136 A 3. ตัวคูณปรับค่ำ จำนวนกลุ่มวงจร = 0.8 (ท่อละ 2 วงจร) จำนวนท่อ = 0.75 (ตำรำงที่ 5-46) ได้ขนำดกระแส = 136 0.8  0.75 = 81.6 A

61

ตำรำงที่ 5-23 ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำตัวนำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวีซี มีเปลือกนอก สำหรับขนำดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อุณหภูมิตวั นำ 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 30 ºC ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง ลักษณะกำรติดตัง้ จำนวนตัวนำกระแส ลักษณะตัวนำ

กลุ่มที่ 5 2 3 แกนเดียว /หลำยแกน แกนเดียว /หลำยแกน

กลุ่มที่ 6 ไม่เกิน 3 แกนเดียว / หลำยแกน

รูปแบบกำรติดตัง้

รหัสชนิ ดเคเบิลที่ใช้งำน ขนำดสำย (ตร.มม.)

1 35 50

NYY, NYY-G, ตำมมำตรฐำน IEC 60502-1 ขนำดกระแส (แอมแปร์)

17 129 153

15 114 136

31

21 154 181

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การปรับค่าขนาดกระแสของสาย เนื่องจากอุณหภูมโิ ดยรอบ เนื่ องจำกจำนวน กลุ่มวงจร (Cg)

 ตารางที่ 5-8 เดินในช่องเดินสาย  ตารางที่ 5-40 & 5-41 วางบนราง เคเบิล  ตารางที่ 5-45 & 5-46 เดินฝังดิน

เนื่ องอุณหภูมิ โดยรอบ (Ca)

 ตารางที่ 5-43 เดินในอากาศ  ตารางที่ 5-44 เดินฝังดิน

กำรปรับค่ำ

อุณหภูมิโดยรอบ 30OC หรือ 40OC

63

ตำรำงที่ 5-43 ตัวคูณค่ำอุณหภูมิโดยรอบแตกต่ำงจำก 40OC ใช้กบั ค่ำขนำดกระแสของเคเบิล เมื่อเดินในอำกำศ

อุณหภูมิโดยรอบ (องศำเซลเซียส) 21-25 26-30 31-35 36-40 41-45 46-50 51-55

PVC 1.22 1.15 1.08 1.0 0.91 0.82 0.70

ฉนวน XLPE หรือ EPR 1.14 1.10 1.02 1.0 0.96 0.90 0.84

32

เอ็มไอ 1.26 1.18 1.09 1.0 0.91 0.79 0.67

64

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตัวอย่าง วงจร 1 เฟส ใช้สำย IEC 01 ขนำด 2.5 ตร.มม. (1 กลุ่มวงจร) เดินร้อยท่อเกำะ ผนัง อุณหภูมิโดยรอบ 45OC ต้องกำรหำขนำดกระแสของสำย วิธีทำ อุณหภูมิโดยรอบ ฉนวน (องศำเซลเซียส) PVC XLPE หรือ EPR 1. ชนิ ดและขนำด (IEC 01 ขนำด 2.5 ตร.มม.) 21-25 1.22 1.14 26-30 1.15 1.10 2. รูปแบบกำรติดตัง้ (เดินร้อยท่อ) กลุ่มที่ 2 31-35 1.08 1.02 36-40 1.0 1.0 ใช้ ตำรำงที่ 5-20 (ตัวนำกระแส 2 ) 0.96 41-45 0.91 46-50 0.82 0.90 3. ตัวคูณปรับค่ำ 51-55 0.70 0.84 อุณหภูมิโดยรอบ = 0.91 (ตำรำงที่ 5-43) จำนวนกลุ่มวงจร = 1 (ไม่ตอ้ งปรับค่ำ) ได้ขนำดกระแส = 21  0.91 = 19.11 A 65

ในการออกแบบ จะต้องคานวณหาโหลดก่อน ขัน้ ตอนการหาขนาดสายไฟฟ้ า (โหลดทัว่ ไป) คานวณโหลด (Ib) และ กาหนดขนาดเครื่องป้ องกันฯ (In) เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า

เลือกตารางกระแส เลือกวิธกี ารเดินสาย (ได้กลุ่ม) กาหนดตัวปรับค่า

อุณหภูมโิ ดยรอบ (Ca) จานวนวงจร (Cg)

หาขนาดกระแสของสาย (It)

It ≥ In/(Ca x Cg)

หาขนาดสายไฟฟ้ าจากตารางที ก นสำยและวัสดุ บทที่ 5เ่ ขลือ้ อ กำหนดกำรเดิ

33

66

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ า 1 เฟส วงจรหนึ่ งคานวณโหลดได้ 80A เลือกใช้ เซอร์กติ เบรกเกอร์ขนาด 100A ใช้สายไฟฟ้ าชนิ ด IEC 01 เดินร้อยท่อ IMC เกาะผนัง จงกาหนดขนาดสายไฟฟ้ า (คิดที่อุณภูมโิ ดยรอบ 45OC) คานวณโหลด (Ib) และ กาหนดขนาดเครื่องป้ องกันฯ (In)

In = 100A IEC 01 ตำรำงที่ 5-20 กลุม่ 2 Ca = 0.91 Cg = 1 It ≥ (100) /(0.91 x 1) ≥ 110 A

เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า เลือกวิธกี ารเดินสาย (ได้กลุ่ม) ตัวคูณปรับค่า (ตารางที่ 5-40,5-43) หาขนาดกระแสของสาย (It) หาขนาดสายไฟฟ้ าจากตาราง

ตำรำงที่ 5-20

สำย 50 mm2 (131 A)

บทที่ 5…ลือชัย ทองนิล

67

ตัวอย่าง หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 1,000 kVA, 22kV/230-400V กาหนดให้ใช้สาย NYY แกนเดียวเดินควบ 4 เส้น/เฟส เดินบนราง เคเบิลแบบบันได วางสายเรียงชิดติดกัน ต้องการกาหนดขนาดสายไฟฟ้ า (คิดอุณหภูมโิ ดยรอบที่ 45OC) ตารางที่ 5-43

วิธที ำ หำกระแสหม้อแปลง ขนำด CB (Ib)

อุณหภูมิโดยรอบ (องศำเซลเซียส) 36-40

PVC 1.0

41-45

0.91

46-50

0.82

ฉนวน XLPE หรือ EPR 1.0 0.96 0.90

= 1,000 x 1000 = 1,443 A 3 x 400 = 1.25 x 1,443 = 1,804 A ใช้ 1,800A บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

34

68

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

คานวณโหลด (Ib) และ กาหนดขนาดเครื่องป้ องกันฯ (In) เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า

In = 1,800A NYY (แกนเดียว) กลุม่ 7

เลือกวิธกี ารเดินสาย (ได้กลุ่ม)

ตำรำงที่ 5-30

หาขนาดกระแสของสาย (It)

Ca = 0.91 Cg = 0.94 It ≥ (1,800/4) /(0.91 x 0.94) ≥ 526A

หาขนาดสายไฟฟ้ าจากตาราง

ตำรำงที่ 5-30 สำย 400 mm2 (599A)

ตัวคูณปรับค่า (ตารางที่ 5-40,5-43)

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

69

ตารางที่ 5-40 (ต่อ) ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสสาหรับสายเคเบิลแกนเดียว วางบนรางเคเบิล เป็ นกลุ่มมากกว่า 1 วงจร วิธีกำรติดตัง้ รำงเคเบิลแบบ ระบำยอำกำศ วำงแนวตัง้

225 mm

รำงเคเบิลแบบ บันได 20 mm

จำนวน รำงเคเบิล 1

จำนวนวงจร 2 3 4 5-6 7-9

1

1.0 0.86 0.80 0.75 0.71 0.70

2

0.95 0.84 0.77 0.72 0.67 0.66

1

1.00 0.97 0.96 0.94 0.93 0.92

2

0.98 0.93 0.89 0.88 0.86 0.83

3

0.97 0.90 0.86 0.83 0.80 0.77

35

70

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตำรำงที่ 5-30 ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำตัวนำทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มีเปลือกนอก ขนำด แรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV. อุณหภูมิตวั นำ 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC วำงบนรำง เคเบิลแบบระบำยอำกำศไม่มีฝำปิ ด หรือรำงเคเบิลแบบบันได สำยเคเบิลแกนเดี่ยวหรือหลำยแกนหุม้ ฉนวน มีเปลือกนอก ลักษณะกำรติดตัง้ วำงบนรำงเคเบิล (กลุม่ ที่ 7) ลักษณะตัวนำ แกนเดี่ยว หลำยแกน

รูปแบบกำรติดตัง้

รหัสชนิ ดเคเบิล

60227 IEC 10, NYY และสำยที่มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษต่ำง ๆ ที่มีฉนวน พีวซี ี เช่น สำยทนไฟ สำยไร้ฮำโลเจน และ สำยควันน้อย เป็ นต้น

ขนำดสำย (ตร.มม.)

ขนำดกระแส (แอมแปร์)

300 400

511 599

488 571

617 741

573 692

432 - 71

สายเคเบิลชนิ ด เอ็มไอ เป็ นสายเคเบิลเปลือกโลหะ ตัวนาเป็ นฉนวนแร่อดั แน่ นที่ ผลิตสาเร็จจากโรงงาน หุม้ ด้วยปลอกทองแดง อาจหุม้ อีกชัน้ ด้วยพีวีซีกไ็ ด้ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

36

72

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การติดตัง้ …MI Cable ต้องยึดอย่ำงมัน่ คง ทุกระยะไม่เกิน 1.8 ม. รัศมีควำมโค้งไม่นอ้ ยกว่ำ 5 เท่ำ ของ OD. ใช้อปุ กรณ์กำรต่อสำยที่เหมำะสม ปลำยสำยที่ปลอก ต้องมีกำรปิ ดผนึ ก

การทาหัวสาย

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

73

ข้อ 5.1- 5.15 ข้อกำหนดกำรเดินสำย ข้อ 5.16 กล่องสำหรับงำนไฟฟ้ ำ ข้อ 5.17 ข้อกำหนดสำหรับแผงสวิตช์

หัวข้อบรรยาย

ข้อ 5.18 สำยไฟฟ้ ำ

ขอบเขต ข้อกาหนดนี้ ครอบคลุมการเดินสายทัง้ หมด ยกเว้น การเดินสายทีเ่ ป็ นส่วนประกอบภายในของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ าเช่ น มอเตอร์ แผงควบคุม ทีป่ ระกอบสาเร็จจากโรงงาน บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

37

74

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ข้อกาหนดการเดินสาย ข้อกำหนดทัว่ ไป

ข้อ กำหนดกำร เดินสำย

สายไฟฟ้ าแรงตา่ ระบบกระแสสลับและ/หรือกระแส ตรงที่มแี รงดันต่างกันเดินรวมกันได้ โดยฉนวนต้อง เหมาะสมกับแรงดันสูงสุดที่ใช้  ห้ามติดตัง้ สายไฟที่ใช้กบั ระบบแรงตา่ รวมกับสายไฟ ระบบแรงสูง ยกเว้นในแผงสวิตช์ หรือเครื่องห่อหุม้ อื่นที่ ไม่ได้ใช้เพื่อการเดินสาย

ข้อกำหนดสำหรับ แต่บทที ละวิ่ 5ธขอเี้ กดิำหนดกำรเดิ นสำยนสำยและวัสดุ

กำรเดินสำย ใต้ดิน

75

ข้อกาหนดทัว่ ไป… ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรงก็ได้ ต้องเลือกชนิ ดของสายให้เหมาะสม ระวังความเสียหายภายหลังการติดตัง้ • จากการกลบสายด้วยวัตถุแหลมคม หรือ • จากการกดทับ • ความลึกเป็ นไปตามมาตรฐาน เพื่อป้ องกันสายหรือท่อ ร้อยสายชารุ ด บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

38

76

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตารางที่ 5-1 ความลึกในการติดตัง้ สายใต้ดิน วิธีท่ี

วิธีกำรเดินสำย

1

เคเบิลฝังดินโดยตรง

2

เคเบิลฝังดินโดยตรงและมีแผ่นคอนกรีตหนำไม่นอ้ ยกว่ำ 50 มม. วำงอยูเ่ หนื อสำย ท่อโลหะหนำและหนำปำนกลำง

3 4

ท่ออโลหะซึ่งได้รบั กำรรับรองให้ฝงั ดินโดยตรงได้โดยไม่ตอ้ งมี คอนกรีตหุม้ ( เช่น HDPE และ PVC )

ควำมลึกตำ่ สุด ( เมตร ) 0.60 0.45

0.15 0.45

หมายเหตุ บริเวณทีม่ รี ถยนต์ผ่านลึกต้องไม่นอ้ ยกว่า 0.60 ม. ระบบแรงสูงต้องลึกไม่นอ้ ยกว่า 0.90 ม. ทุกกรณี บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

77

ความลึกในการติดตัง้ ใต้ดิน

0.15 ม.

0.45 ม. 0.60 ม.

ร้อยท่อฝังดิน

ฝังดินโดยตรง มีแผ่นคอนกรีตกัน้ บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

39

78

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การติดตัง้ ใต้ดิน

2 2.4 ม.

ท่อเลยพ้นอาคาร

ป้ องกันทางกายภาพ

1 เดินในท่อร้อยสาย

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

79

การติดตัง้ ใต้ดิน ❶

ต้องไม่เป็ นวัสดุท่มี คี ม หรือเป็ นสิ่งที่ทาให้ผุกร่อน หรือมีขนาดใหญ่

MDB

ต้องอุดปลายท่อ ❸ ป้ องกันสายชารุ ดจากดินทรุ ด ❷ บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

40

80

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ข้อกาหนดทัว่ ไป (ต่อ)  อุปกรณ์การเดินสายทุกชนิ ด ต้องเลือกให้เหมาะสมกับสภาพ การติดตัง้ และมีการป้ องกันการผุ กร่อนที่เหมาะสม ช่องเดินสายและอุปกรณ์ ต้องมี การจับยึดอย่างมัน่ คง และมีความ ต่อเนื่ องทัง้ ทางกลและทางไฟฟ้ า บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

81

ต้องมีการป้ องกันนา้ เข้าแผงสวิตช์ หัวงู เห่า ป้ องกันได้ นา้ อาจไหลเข้าตามสายไฟฟ้ า

เมือ่ ่ ฝนสาด นา้ อาจเข้ าได้ สดุ บทที 5 ข้อกำหนดกำรเดิ นสำยและวั

41

82

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

หัวงูเห่า ?

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

83

การจับยึดสายแนวดิ่ง จับยึดที่จุดบนสุด จับยึดเป็ นระยะ ตามตารางที่ 5-2

MDB บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

42

84

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตารางที่ 5-2 ระยะจับยึดสายในแนวดิ่ง

ตัวอย่าง สาย 240 ตร.มม.

ขนาดสาย (ตร.มม.)

ระยะจับยึดสูงสุด (ม.)

ไม่เกิน 50 70 – 120 150 – 185 240 300 เกิน 300

30 24 18 15 12 10

240 ตร.มม. 15 50

15 15 5

สายไฟฟ้ าต้องจับยึดที่จุดบนสุด และห่างไม่เกินที่กาหนดในตารางที่ 5-2 ถ้าระยะน้อยกว่า 25% ของค่าในตาราง ไม่ตอ้ งจับยึด บทที ่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและ วัสดุ

85

จุดเปลี่ยนวิธกี ารเดินสาย..ข้อกาหนดทัว่ ไป • เมื่อเปลีย่ นจำกเดินสำยจำกร้อยท่อเป็ นวิธอี น่ื ที่จุดเปลีย่ นกำรเดินสำยต้องใช้เครือ่ ง ประกอบกำรเดินท่อเช่น กล่อง บุชชิ่ง หัว งูเห่ำ • เมื่อปลำยท่อเดินล้ำเข้ำในแผงสวิตช์แบบ เปิ ดได้ ให้ใช้บชุ ชิ่งแทนกล่องต่อสำยได้ บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

43

86

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การป้ องกันความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนา เมื่อติดตัง้ สำยไฟฟ้ ำกระแสสลับในเครือ่ งห่อหุม้ โลหะ ต้องจัดทำไม่ให้เกิด ควำมร้อนเนื่ องจำกกำรเหนี่ ยวนำ...ดังนี้ รวมสำยทุกเส้นของวงจรเดียวกันและสำยดิน

ในเครือ่ งห่อหุม้ เดียวกัน กำรเดินสำยควบ ในแต่ละท่อต้องมีสำยของวงจรเดียวกันครบทุกเส้น รวมทัง้ สำยดิน เมนสวิตช์

A B C N

ท่อร้อยสำย

แผงย่อย

G มีสำยครบทุกเฟสรวมนิ วทรัลและสำยดิน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

87

ความร้อนจากกระแสเหนี่ยวนาในท่อโลหะ แนวทางการป้ องกัน G N C B A

A

B

C

AB C NG

NG

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

44

A B C NG

ท่อโลหะ

88

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนา ป้ องกันได้ดว้ ยการ ผ่าให้แต่ละรู ทะลุถึงกัน

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

89

ข้อกาหนดทัว่ ไป...ต่อ สายแกนเดียวของวงจรเดียวกันทุก เส้นรวมทัง้ สายดิน หากร้อยท่อต้องอยู่ ในท่อเดียวกัน ในรางเดียวกัน หรือ วางบนรางเคเบิลต้องวางเป็ นกลุ่ม เดียวกัน ช่องเดินสาย กล่อง ตู ้ เครื่องประกอบ และเครื่องห่อหุม้ ที่เป็ นโลหะ ต้องต่อ ลงดิน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

45

90

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สีของสายไฟฟ้ า ระบบแรงตา่ นิ วทรัล ฟ้ า เส้นไฟ

เป็ นไปตำม มอก.11-2553

ระบบ 1 เฟส เส้นไฟใช้สตี ่างจากสายศูนย์ และ สายดิน ระบบ 3 เฟส เส้นเฟสใช้สี (หรือทาเครื่องหมายเป็ นสี) นา้ ตาล ดา เทา

สายดิน เขียว หรือ เขียวแถบเหลือง หรือเป็ นสายเปลือย ข้อยกเว้น 1 สายไฟฟ้ าทีม่ ขี นาดตัง้ แต่

16 ตร.มม. ขึ้นไป ให้ทาเครื่องหมายที่

ปลายสายแทนการกาหนดสีได้ ข้อยกเว้น 2 สายทีอ่ อกจากเครื่องวัดไปถึงเมนสวิตช์ ไม่กาหนดสี บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

91

ห้ามมีอุปกรณ์อ่นื มารวมด้วย ในท่อร้อยสาย รางเคเบิล ช่อง Shaft ห้ามมีท่อสาหรับ งานอื่นเดินร่วมอยู่ดว้ ย

ท่อนา้ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัท่สอดุ ร้อยสาย

46

92

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การป้ องกันไฟลุกลาม การเดินสายผ่านผนัง ฉากกัน้ หรือพื้น ต้องมีการป้ องกันไฟ ลุกลาม

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

93

ไม่มกี ารป้ องกันไฟลุกลามที่เหมาะสม

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

47

94

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การป้ องกันการไหลเวียนของอากาศ ซีล ท่อร้อยสาย

ห้องเย็น

เมื่อเดินผ่านที่ท่ีมอี ุณหภูมติ ่างกัน ต้องมีการป้ องกันการ ไหลเวียนของอากาศในท่อ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กำรเดิน สำยควบ แผงย่อย

• ต้องใช้สำยขนำดไม่เล็กกว่ำ 50 ตร.มม. และ • ใช้สำยชนิ ดเดียวกัน และ ขนำดเดียวกัน และ • มีควำมยำวเท่ำกัน และ วิธีกำรต่อสำยเหมือนกัน

ท่อร้อยสาย

A B N

95

แผงย่อย

G บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

48

96

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตัวอย่างการแบ่งไหลของกระแสไฟฟ้ า 0.1 ohm 400A

Ia 0.15 ohm

400A

Ib Ia = 240 A Ib = 160 A บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

97

การเดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวน ต้องใช้สำยแกนเดียว ไม่ปิดบังด้วย โครงสร้ำงอำคำร ต้องเดินภำยนอกอำคำร กำรเดินภำยในอำคำรทำได้เฉพำะใน  โรงงำนอุตสำหกรรม  งำนเกษตรกรรม และ  แสดงสินค้ำเท่ำนั้น บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

49

98

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ชนิ ดของสายไฟฟ้ าและระยะห่าง ระบบแรงตา่ ต้องเป็ นสายหุม้ ฉนวน สายภายในอาคาร (หลังเครื่องวัด) ต้องเป็ นสายหุม้ ฉนวน ยกเว้น สาย สาหรับปั้นจัน่ ชนิ ดเคลือ่ นที่ได้บนราง ระยะห่าง เป็ นดังนี้ เมือ่ เดินภายในอาคาร เป็ นไปตาม ตารางที่ 5-4 เมือ่ เดินภายนอกอาคาร เป็ นดังนี้

เดินบนตุม้ เป็ นไปตามตารางที่ 5-4 เดินบนลูกถ้วย เป็ นไปตามตารางที่ 5-5 บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

99

ตารางที่ 5-4 การเดินสายเปิ ดบนวัสดุฉนวนภายในอาคาร กำรติดตัง้

ระยะสูงสุดระหว่ำงจุด จับยึดสำย (ม.)

บนตุม้

ระยะห่ำงตำ่ สุดระหว่ำง (ม.) สำยไฟฟ้ ำ สำยไฟฟ้ ำกับสิง่ ปลูกสร้ำง

2.5 5.0

บนลูกถ้วย

0.10 0.15

ขนำดสำยใหญ่สุด (ตร.มม)

0.025 0.05

50 ไม่กำหนด

ตารางที่ 5-5 การเดินสายเปิ ดบนลูกถ้วยภายนอกอาคาร ระยะสูงสุดระหว่ำง จุดจับยึดสำย (ม.)

ไม่เกิน 10 11-25 26-40

ระยะห่ำงตำ่ สุดระหว่ำง (ม.) สำยไฟฟ้ ำ สำยไฟฟ้ ำกับสิง่ ปลูกสร้ำง

0.15 0.20 0.20

0.05 0.05 0.05

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

50

ขนำดสำยเล็กสุด (ตร.มม.)

2.5 4 6 100

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สาหรับระบบแรงสูง  ต้องเข้าถึงได้เฉพาะผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เท่านัน้  เมือ่ มี GUY ต้องติดตัง้ Strain Insulator (ตาม มอก 280) ตรง ตาแหน่ งทีส่ ูงจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า 2.4 ม. ยกเว้น ระบบ 33 kV เป็ นไปตามมาตรฐานของ กฟภ.  ระยะห่างเป็ นไปตาม ตารางที่ 1-4 และ 1-5

GUY

Strain Insulator

เสา ไฟฟ้ า 2.4 ม.

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

101

การเดินสายในช่องเดินสาย ช่องเดินสำย อำจเป็ น

จุดสำคัญ

 ท่อร้อยสำย  จำนวนสำยไฟฟ้ ำที่เดินได้  ช่องเดินสำยโลหะ และอโลหะ  ขนำดกระแสของสำยไฟฟ้ ำ บนพื้นผิว  ข้อกำหนดและข้อจำกัดบำง  รำงเดินสำย ประกำร  ยกเว้น รำงเคเบิลไม่ถอื เป็ นช่อง เดินสำย บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

51

102

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ท่อร้อยสาย ท่อ RSC IMC และ EMT ท่อโลหะอ่อน ท่อโลหะอ่อนกันของเหลว ท่ออโลหะอ่อน ท่ออโลหะอ่อน ท่ออโลหะแข็ง ท่ออโลหะอ่อนกันของเหลว ช่องเดินสายอื่น บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

103

ท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง และท่อโลหะบาง ท่อโลหะหนำปำนกลำง (Intermediate Metal Conduit) ท่อโลหะหนำ (Rigid Metal Conduit)

ท่อโลหะบำง (Electrical Metallic Tubing)

ท่อเหล็กชุบ สังกะสี บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

52

104

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง และท่อโลหะบาง การใช้งาน ใช้กบั งานเดินสายทัว่ ไป

การติดตัง้ ปลายท่อที่ตดั ออก ต้องลบคม เดินเข้ากล่องต่อสายต้องมีบุชชิง การทาเกลียว ต้องใช้เครื่องทา

เกลียวชนิ ดปลายเรียว บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

105

การติดตัง้  ข้อต่อต้องเป็ นชนิ ดที่เหมาะสมเช่ น เมือ่ ฝังในคอนกรีต ใช้ชนิ ดฝังใน

คอนกรีต  การต่อสายให้ต่อในกล่องต่อสาย หรือกล่องจุดต่อไฟฟ้ าที่เปิ ดออกได้ สะดวก

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

53

106

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ห้าม…ต่อสายในท่อ เป็ นอันตรายจากไฟดูด

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

107

การติดตัง้ ….  ท่อโลหะบาง ห้ามทาเกลียว  มุมดัดโค้งไม่เกิน 360 องศา  ห้ามใช้ท่อขนาดเล็กกว่า 15 มม.  จานวนสาย ตามตารางที่ 5-3 หรือ ตามภาคผนวก ฎ  ต้องติดตัง้ ระบบท่อเสร็จก่อน จึงเดินสาย  ห้าม ใช้ท่อโลหะเป็ นตัวนาต่อลงดิน  ขนาดกระแส ใช้ตารางที่ 5-20, 5-23, 5-27, 5-29 และ 5-37 บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

54

108

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

จานวนสายไฟฟ้ าในท่อร้อยสาย  จานวนสายในท่อร้อยสาย  การคานวณพื้นที่หน้าตัดของสายไฟฟ้ าจะคิดสายทุ กเส้นที่เดินใน

ช่องเดินสาย

ตารางที่ 5-3 จำนวนสำยในท่อร้อยสำย

1

2

3

4

มำกกว่ำ 4

สำยไฟทุกชนิ ด ยกเว้น สายชนิ ดมีปลอกตะกัว่ หุม้

53

31

40

40

40

สำยไฟชนิ ดมีปลอกตะกัว่ หุม้

55

30

40

38

35

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

109

ภาคผนวก ฎ จำนวนสูงสุดของสำยไฟฟ้ ำขนำดเดียวกัน มอก.11-2553 รหัสชนิ ด 60227 IEC 01 ที่ให้ใช้ในท่อโลหะตำม มอก.770-2533 ขนำดสำยไฟ ( mm2 ) 1.5 2.5 4 6 10 16 25

จำนวนสำยสูงสุดของสำยไฟฟ้ ำ ในท่อร้อยสำย 8 5 4 3 1 1 1

14 10 7 5 3 2 1

240 300 400 เส้นผ่ำนศูนย์กลำงของ 15 ท่อร้อยสำย

20

22 15 11 9 5 4 2

37 25 19 15 9 6 4

39 30 23 14 10 6

42 27

34

-

1 1 1 3 1 1 2 1 1 1 25 32 40 50 65 80 บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

4 3 2 90

5 4 3 100

55

37 22 16 10

37 27 17

8 7 5 125110

12 10 8 150

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ระยะระหว่างจุดจับยึดไม่เกิน 3.0 ม. และห่างจากกล่องไม่ เกิน 0.9 ม

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

111

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

112

ทุกข้อ

56

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ห้ามใช้  ในปล่องลิฟต์หรือปล่องขนของ  ในห้องแบตเตอรี่  ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบุ ไว้เป็ นอย่างอื่น  ฝังดินหรือฝังในคอนกรีต  ในสถานที่เปี ยก นอกจากจะใช้สายไฟชนิ ดที่เหมาะสมและป้ องกันนา้ เข้าช่องเดินสายที่ท่อโลหะอ่อนต่ออยู่  ท่อโลหะอ่อนที่มขี นาดเล็กกว่า 15 มม. ยกเว้น ท่อโลหะอ่อนที่ ประกอบมากับขัว้ หลอดไฟและยาวไม่เกิน 1.80 ม. บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

113

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

114

57

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การใช้งาน 2 ม.

2 ม. บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

115

การติดตัง้ ใช้งาน จานวนสายไฟฟ้ า ไม่เกินตารางที่ 5-3

มุมดัดโค้งระหว่างจุดดึงสาย ไม่เกิน 360 องศา ห้ามใช้เป็ นสายดิน ขนาดกระแส ตารางที่ 5-20, 5-23, 5-27 และ 5-29

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

58

116

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กำรเดินสำยในท่อโลหะอ่อนกันของเหลว กำรใช้งำน • ในสถำนที่ตอ้ งกำรควำมอ่อนตัว หรือเพื่อป้ องกัน สำยจำกของแข็ง ของเหลว หรือในบริเวณอันตรำย

ห้ำมใช้ • ในสถำนที่อำจเกิดควำมเสียหำย • อุณหภูมิสำยและอุณหภูมิโดยรอบเกินอุณหภูมิท่อ • ท่อเล็กกว่ำ ½ นิ้ ว และเป็ นสำยดิน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

117

การเดินสายในท่อโลหะอ่อนกันของเหลว  จานวนสายไฟฟ้ า ตามตารางที่ 5-3  มุมดัดโค้งไม่เกิน 360 องศา  ติดตัง้ ระบบท่อเสร็จก่อนการเดินสาย  ข้อต่อยึด ต้องเป็ นชนิ ดที่ได้รบั การรับรอง

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

59

118

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กำรใช้งำน…ท่ออโลหะแข็ง ท่อต้องเป็ นชนิ ดที่ทนควำมชื้น สภำวะอำกำศ และสำรเคมี

ท่อที่ใช้เหนื อดิน ต้องต้ำนเปลวเพลิง ไม่เสียสภำพจำกกำรใช้งำน และทนแสงแดด ถ้ำฝังดิน ต้องรับน้ ำหนักกดภำยหลังกำรติดตัง้ ได้

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

119

กำรเดินสำยร้อยท่ออโลหะแข็ง

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

60

120

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กำรใช้งำน ที่อนุ ญำต

• • • • •

เดินในที่ซ่อน พื้น และเพดำน ในบริเวณที่ทำให้เกิดกำรผุกร่อน ในที่เปี ยก โดยต้องป้ องกันน้ ำเข้ำท่อ ในที่เปิ ดโล่ง ใต้ดิน

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

121

ห้ามใช้ ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบุ ไว้ ใช้เป็ นเครื่องจับยึดดวงโคม อุณหภูมสิ ายและอุณหภูมโิ ดยรอบเกินอุณหภูมใิ ช้งานของท่อ ในโรงมหรสพ เฉพาะส่วนที่อยู่ภายในอาคาร อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ สถานบริการเฉพาะส่วนที่อยู่ภายในอาคาร นอกจากจะฝังในผนังปูน ห้ามใช้ท่อขนาดเล็กกว่า 15 มม. บทที่ 5…ลือชัย ทองนิล

61

122

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กำรติดตัง้ ปลำยท่อต้องมีบชุ ชิ่ง หรือใช้วธิ ีกำรอืน่ ข้อต่อยึด ต้องเป็ นชนิ ดที่ได้รบั กำรรับรอง มุมดัดโค้งไม่เกิน 360 องศำ ติดตัง้ ระบบท่อให้เสร็จก่อนเดินสำยไฟ จำนวนสำยในท่อร้อยสำย

1

2

53

31 40 40

40

สำยไฟชนิ ดมีปลอกตะกั 55 30สดุ 40 38 บทที่ 5 ว่ข้หุอมก้ าหนดการเดินสายและวั

35

สำยไฟทุกชนิ ด ยกเว้น สายชนิดมีปลอกตะกัว่ หุม้

3

4

เกิน 4

123

ช่องเดินสายอื่น ช่องเดินสายอโลหะบนพื้นผิว

รางเดินสาย บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

62

124

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ช่องเดินสำยอโลหะบนพื้นผิว ( Surface Nonmetallic Raceway ) • ทำด้วยวัสดุทนควำมชื้น บรรยำกำศ และสำรเคมี ไม่ตดิ ไฟ และบิดเบี้ยว จำกควำมร้อนและสภำวะกำรใช้งำน • ให้ใช้สำหรับเดินสำยในสถำนที่แห้ง เท่ำนั้น บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

125

การใช้งาน...ห้ามใช้

 ในที่ซ่อน  ที่ซ่งึ อำจเกิดควำมเสียหำยทำงกำยภำพได้ นอกจำกเป็ นชนิ ดที่ได้รบั กำรรับรองเพือ่ ใช้สำหรับ งำนนั้นแล้ว  ในระบบแรงสูง ในปล่องขนของ  ในบริเวณอันตรำย นอกจำกจะระบุไว้เป็ นอย่ำงอืน่  ในที่อณ ุ หภูมิโดยรอบหรืออุณหภูมิสำยเกิน อุณหภูมิช่องเดินสำยฯ  ขนำดกระแสใช้ตำมตำรำงที่ 5-20 และต้องใช้ตวั คูณปรับค่ำตำมตำรำงที่ 5-8 บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

63

126

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

รางเดินสาย (Wireways) อนุ ญำตให้ใช้รำงเดินสำยได้เฉพำะกำร ติดตัง้ ในที่เปิ ดโล่งซึ่งสำมำรถเข้ำถึงเพือ่ ตรวจสอบและบำรุงรักษำได้ตลอดควำม ยำวของรำงเดินสำย ห้ำมเดินในฝ้ ำเพดำน ถ้ำติดตัง้ ภำยนอกอำคำรต้องเป็ นชนิ ดกัน ฝน (raintight) มีควำมแข็งแรงเพียงพอที่จะไม่เสียรูป ภำยหลังกำรติดตัง้ บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและ วัสดุ

ห้ำมใช้

127

ในบริเวณที่อำจเกิดควำม เสียหำยทำงกำยภำพ ในบริเวณที่มีไอที่ทำให้ผุกร่อน หรือในบริเวณอันตรำย นอกจำกจะระบุไว้เป็ นอย่ำงอืน่ รำงเดินสำยขนำดเกิน 150x300 mm. บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

64

128

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

จำนวนสำยไฟฟ้ ำและขนำดกระแส • จำนวนสำย พื้นที่หน้ำตัดรวมฉนวนและเปลือกของ สำยทุกเส้นรวมกัน ไม่เกิน 20% ของพื้นที่หน้ำตัด รำงเดินสำย • ขนำดกระแส ให้ใช้ค่ำกระแสตำมตำรำงที่ 5-20 หรือ 5-27 กรณี ตวั นำกระแส 3 เส้น โดยไม่ตอ้ งใช้ ตัวคูณลดกระแสเรื่องจำนวนสำยตำมตำรำงที่ 5-8 หำกตัวนำที่มีกระแสไหลรวมกันไม่เกิน 30 เส้น

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

129

ตัวอย่าง รางเดินสายประกอบด้วยสาย IEC 01 ขนาด 16 ตร.มม. จานวน 12 เส้น ขนาด 10 ตร.มม. จานวน 8 เส้น ต้องการหานาดรางเดินสาย และขนาดกระแสของ สายไฟฟ้ าแต่ละขนาด กาหนดขนาดพื้นทีห่ น้าตัดสายรวมฉนวนดังนี้ สายขนาด 16 ตร.มม. = 47.8 ตร.มม. สายขนาด 10 ตร.มม. = 35.3 ตร.มม. วิธที า พื้นทีห่ น้าตัดของสายรวม = (47.8  12)+(35.3  8) = 856 ตร.มม. ขนาดรางเดินสาย = 856/0.2 = 4280 ตร.มม. = 50  100 มม. ขนาดกระแส ตารางที่ 5-20 สาย 16 ตร.มม. = 59 A, สาย 10 ตร.มม. = 44 A 130

65

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กำรติดตัง้ ใช้งำน จุดปลำยรำงต้องปิ ด จับยึดทุกระยะ 1.5 ม. หรือมำกกว่ำได้ถำ้ จำเป็ นแต่ไม่เกิน 3 ม.

ห้ำมต่อตรงจุดที่ผ่ำนผนังหรือพื้น ต่อสำยได้เฉพำะส่วนที่เปิ ดและเข้ำถึงได้สะดวกตลอดเวลำ ห้ำมใช้เป็ นสำยดิน สำยไฟแกนเดี่ยวของวงจรเดียวกันรวมทัง้ สำยดิน ต้องวำงเป็ น กลุ่มเดียวกันแล้วมัดรวมเข้ำด้วยกัน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

131

การต่อลงดิน ของรางเดินสาย รางเดินสายต้องมีความ ต่อเนื่ องทางไฟฟ้ า และต่อ ลงดิน ต้องมีการต่อฝากระหว่าง รางเดินสายกับแผงสวิตช์ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

66

132

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

บัสเวย์หรือบัสดัก ชนิ ด • มีช่องระบำยอำกำศ • ชนิ ดปิ ดมิดชิด

ตัวนำ เป็ นทองแดง หรือ อะลูมิเนี ยม • ต้องติดตัง้ ในที่เปิ ดเผย มองเห็นได้ และ สำมำรถเข้ำถึงได้เพือ่ กำรตรวจสอบและ บบทที ำรุง่ 5รัขกอ้ กษำตลอดควำมยำวทั ง้ หมด ำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

133

การใช้งาน….ห้ามใช้ ในบริเวณที่อำจเกิดควำมเสียหำยทำงกำยภำพ หรือมีไอ ทำให้ผุกร่อน ในปล่องขนของ หรือปล่องลิฟต์ ในบริเวณอันตรำย นอกจำกจะระบุไว้ กลำงแจ้ง สถำนที่เปี ยกชื้น นอกจำกจะเป็ นชนิ ดที่ ออกแบบให้ใช้ได้ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

67

134

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การติดตัง้ ใช้งาน ต้องติดตัง้ ในที่เปิ ดเผย มองเห็นได้ และ เข้ำถึงเพือ่ บำรุงรักษำได้ ตลอดควำมยำว ยกเว้น ยอมให้อยู่ในที่กำบังได้ ถ้ำ..ทุกข้อ ไม่มีเครื่องป้ องกันกระแสเกินที่บสั เวย์ ช่องที่เข้ำถึงได้ตอ้ งไม่ใช้เป็ นช่ องลมปรับ

อำกำศ เป็ นชนิ ดปิ ดมิดชิด จุดต่อและเครื่องประกอบ ต้องเข้ำถึงได้เพือ่ บำรุงรักษำ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

135

การติดตัง้ ใช้งาน ต้องยึดอย่ำงมัน่ คง ระยะห่ำงระหว่ำงจุดจับ ยึดไม่เกิน 1.5 ม. หรือตำมกำรออกแบบของ ผูผ้ ลิต กำรต่อแยก ต้องใช้เครื่องประกอบที่ ออกแบบมำโดยเฉพำะ กำรลดขนำด ต้องติดตัง้ เครื่องป้ องกัน กระแสเกิน ยกเว้น..ในงำนอุตสำหกรรมที่ บัสเวย์ท่ลี ดมีขนำดกระแสไม่ตำ่ กว่ำ 1/3 ของพิกดั เครือ่ งป้ องกันกระแสเกินต้นทำง และยำวไม่เกิน 15 ม. บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

68

136

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การติดตัง้ ใช้งาน ต้องไม่ตดิ ตัง้ ให้สมั ผัสกับวัสดุ ที่ตดิ ไฟง่ำย กำรต่อแยกต้องติดตัง้ เครือ่ ง ป้ องกันกระแสเกินทุกจุด เปลือกโลหะต้องต่อลงดิน และใช้เป็ นสำยดินได้ ถ้ำได้ ออกแบบไว้แล้ว ขนำดกระแส ใช้ตำมผูผ้ ลิต บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

137

รำงเคเบิล (Cable Trays)

แบบด้ำนล่ำง ทึบ

มี หรือ ไม่มฝี าปิ ด

แบบระบำย อำกำศ

ไม่มฝี าปิ ด บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

69

แบบบันได

ไม่มฝี าปิ ด 138

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

สำยหลำยแกน ทุกขนำด สำยแกนเดียวชนิ ดมี เปลือกนอกขนำดไม่ เล็กกว่ำ 25 ตร.มม. สำยชนิ ด MI, MC และ Armored Cable

สำย control ทุกขนำด

สำยไฟฟ้ ำ ที่วำงได้

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

สำยดิน ทุกขนำด

139

กำรติดตัง้ ใช้งำน…ห้ำมใช้ ในบริเวณอันตรำย นอกจำกจะระบุไว้ ในปล่องลิฟต์ หรือที่อำจเกิดควำมเสียหำยทำงกำยภำพ ในที่ซ่งึ สำยถูกแสงแดดโดยตรง สำยต้องทนแดดได้ เป็ นสำยดิน ห้ำม ท่อสำหรับงำนอืน่ วำงบนรำงเคเบิล บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

70

140

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

โครงสร้าง

มีผนังด้านข้าง

ป้ องกันการผุกร่อน

มีความแข็งแรง ไม่มสี ว่ นแหลมคม

ชนิ ดอโลหะ ต้องทาจาก วัสดุตา้ นเปลวเพลิง บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

141

ไม่มผี นังด้านข้าง…ไม่ถูกต้อง

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

71

142

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การติดตัง้ รางเคเบิล ต้องมีความต่อเนื่ องทัง้ ทางกลและทางไฟฟ้ า เมือ่ เดินสายแยกเข้าช่องเดินสายอื่น ต้องจับยึดให้มน่ ั คงด้วยอุปกรณ์ท่ี เหมาะสม ห้าม ติดตัง้ สายเคเบิลแรงตา่ รวมกับแรงสูง นอกจากจะกัน้ ด้วยแผนกัน้ ที่แข็งแรงและไม่ตดิ ไฟ ต้องติดตัง้ ในที่เปิ ดเผยและเข้าถึงได้ และมีท่วี ่างพอเพียงที่จะ ปฏิบตั งิ านบารุ งรักษาสายเคเบิลได้สะดวก บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

143

การวางสายไฟฟ้ า และขนาดกระแส

 ขนาดกระแสของสายเคเบิลแรงตา่ ในรางเคเบิล เป็ นไปตามตารางที่ 5-30 ถึง 5-33  ถ้าเดินสายมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ให้ปรับค่ากระแสตามตารางที่ 5-40 และ 5-41 สาหรับรางชนิ ดด้านล่างทึบมีฝาปิ ดให้ปรับค่ากระแสตามตารางที่ 5-8 บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

72

144

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

จานวนสายเคเบิลระบบแรงตา่ และขนาดกระแส สาย XLPE บน รางด้านล่างทึบ ตำรำงที่

5-33

ตำรำงที่ สาย PVC บนรางแบบ 5-30 ระบายอากาศและราง แบบบันได

จำนวนสำย และ ขนำดกระแส

สาย XLPE บนรางแบบระบายอากาศ ตำรำงที่ 5-32 และรางแบบบันได บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตำรำงที่

5-31 สาย PVC บนราง ด้านล่างทึบ 145

การติดตัง้ สายในรางเคเบิล  การต่อสายต้องทาให้ถูกต้องตามวิธกี ารต่อ สาย จุดต่อสายต้องอยู่ภายในรางเคเบิลและ ไม่สูงเลยขอบด้านข้างของรางเคเบิล  เมือ่ เดินสายแกนเดียว สายเส้นไฟและเส้น ศูนย์ของแต่ละวงจรต้องเดินรวมกันเป็ น กลุ่มและมัดเข้าด้วยกัน เพื่อป้ องกันกระแส ไม่สมดุลเนื่ องจากการเหนี่ ยวนา และ ป้ องกันการเคลือ่ นตัวอย่างรุ นแรงเมื่อเกิด กระแสลัดวงจร บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

73

146

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

อื่นๆ  จานวนสายเคเบิลและขนาด กระแสระบบแรงสูงในราง เคเบิลเป็ นไปตามที่กาหนด ในตารางที่ 5-36  การเดินสายในรางเคเบิลให้ ทาได้เท่าที่กาหนดไว้ในข้อ 5.15 นี้ เท่านัน้ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

147

ข้อ 5.1- 5.15 ข้อกำหนดกำรเดินสำย ข้อ 5.16 กล่องสำหรับงำนไฟฟ้ ำ ข้อ 5.17 ข้อกำหนดสำหรับแผงสวิตช์

หัวข้อบรรยาย

ข้อ 5.18 สำยไฟฟ้ ำ

ขอบเขต ข้อกาหนดนี้ ครอบคลุมการเดินสายทัง้ หมด ยกเว้น การเดินสายทีเ่ ป็ นส่วนประกอบภายในของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ าเช่ น มอเตอร์ แผงควบคุม ทีป่ ระกอบสาเร็จจากโรงงาน บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

74

148

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กล่องสาหรับ งานไฟฟ้ า ครอบคลุม กล่องจุดต่อไฟฟ้ า กล่องต่อสาย กล่องดึงสาย กล่อง ต่อแยก และกล่องอื่นที่ใช้เพื่อการ เดินสาย บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

149

กล่องต่อสาย ทาจากวัสดุป้องกันการผุ กร่อนที่เหมาะสม เมือ่ ติดตัง้ แล้ว ต้องเข้าถึงได้โดยไม่ตอ้ งรื้อส่วน ของอาคาร และมีท่วี ่างให้ทางานได้สะดวก ต้องมีฝาปิ ด และปิ ดอย่างแน่ นหนา เมือ่ ปิ ดแล้ว ต้องไม่มรี ูหรือช่องที่วสั ดุขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 7.5 มม. ใส่เข้าไปได้ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

75

150

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

กล่องต่อสาย ต้องปิ ดฝา

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

151

แผงสวิตช์และแผงย่อย เป็ นแผงไฟสาหรับควบคุมไฟฟ้ าแสงสว่างและ ไฟฟ้ ากาลัง รวมทัง้ แผงชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่ บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

76

152

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

แผงสวิตช์ (Switchboard) คือ • แผงขนำดใหญ่แผงเดียวหรือหลำย แผงประกอบกัน ใช้ตดิ ตัง้ สวิตช์ เครื่องป้ องกันกระแสเกิน เครื่องวัดฯ อืน่ ๆ โดยทัว่ ไปเข้ำได้ทง้ั ด้ำนหน้ำและ ด้ำนหลัง บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

153

แผงย่อย (Panelboard) คือ • แผงเดี่ยวหรือกลุม่ ของแผงเดี่ยวที่ออกแบบ ให้ประกอบรวมเป็ นแผงเดียวกัน ประกอบด้วยเครือ่ งป้ องกันกระแสเกิน อำจ มีหรือไม่มีสวิตช์กไ็ ด้ แผงย่อยออกแบบให้ ติดตัง้ ในตูห้ รือกล่องที่ตดิ ผนัง เข้ำถึงได้ เฉพำะด้ำนหน้ำเท่ำนั้น

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

77

154

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ข้อกำหนดทัว่ ไป (ทัง้ แผงสวิตช์และแผงย่อย)

• ต้องอยู่ในห้องหรือสถำนที่ซ่งึ จัดไว้โดยเฉพำะ • ห้ำมมีท่อหรือบริภณั ฑ์อน่ื อยู่ เหนื อ ในห้อง ทำงเดิน เข้ำห้อง ยกเว้น... • ระบบดับเพลิงสำหรับแผงสวิตช์ฯหรือแผงย่อย • ระบบปรับอำกำศและดูดอำกำศ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

155

ยกเว้น ไม่ตอ้ งติดตัง้ ใน ห้อง

แผงสวิตช์ฯ ที่ตดิ ตัง้ ทัว่ ไป แยกจำกบริภณั ฑ์ อืน่ เช่น อยู่ในที่สูง ในที่ลอ้ ม มีสง่ิ ปกปิ ด มีกำร ป้ องกันทำงกล กำรสัมผัส ควำมเสียหำยจำก กำรรัวไหลของระบบท่ ่ อต่ำงๆ ชนิ ดติดตัง้ ภำยนอกอำคำรมีเครือ่ งห่อหุม้ ที่ทน สภำพอำกำศ และมีกำรป้ องกันกำรสัมผัส พ้น จำกยำนพำหนะ กำรรัวไหลของระบบท่ ่ อ บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

78

156

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

การจับยึดบัสบาร์และตัวนา ตัวนำและบัสบำร์ ต้องจับยึดอย่ำงมัน่ คง ตัวนำของอุปกรณ์ในช่องใด ต้องเดินในช่องนั้น ยกเว้น กำรเชื่อมต่อ ของสำยควบคุม บัสบำร์และขัว้ ต่อสำยต้องมีกำรกัน้ แยกจำกส่วนอืน่ ๆ กำรจัดวำงบัสบำร์และตัวนำ ต้องหลีกเลีย่ งควำมร้อนจำกกำรเหนี่ ยวนำ กำรจัดเฟส เฟส A B C เรียงดัน้ ี จำกด้ำนหน้ำไปหลัง จำกด้ำนบนลงล่ำง จำกซ้ำยมือไปขวำมือ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

157

การทาเครื่องหมายแสดงเฟส…อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็ นตัวอักษร

เป็ นสี

- L1 - L2 - L3 -N - E หรือ

สาหรับ เฟส 1 หรือเฟส A สาหรับ เฟส 2 หรือเฟส B สาหรับ เฟส 3 หรือเฟส C สาหรับ นิ วทรัล สาหรับ บัสดิน/ขัว้ สายดิน

- สีนา้ ตาล สาหรับ เฟส 1 หรือเฟส A - สีดา สาหรับเฟส 2 หรือเฟส B - สีเทา สาหรับเฟส 3 หรือเฟส C - สีฟ้า สาหรับนิ วทรัล - สีเขียว สาหรับ บัสดิน/ขัว้ สายดิน หรือเขียว แถบเหลือง บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

79

158

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

แผงสวิตช์…ข้อกาหนดการติดตัง้ ที่สาคัญ แผงสวิตช์ท่มี ีสว่ นที่มีไฟฟ้ ำเปิ ดโล่ง ต้องติดตัง้ ในที่แห้ง เข้ำถึง ได้เฉพำะผูม้ ีหน้ำที่เท่ำนั้น กำรติดตัง้ นอกอำคำร ต้องมีเครื่อง ห่อหุม้ ที่ทนสภำพอำกำศ หรือเป็ นชนิ ดที่เหมำะสม ถ้ำติดตัง้ ในพื้นที่มีวตั ถุตดิ ไฟได้งำ่ ย ต้องป้ องกันไม่ให้เกิดเพลิง ไหม้กบั วัตถุขำ้ งเคียง ส่วนบนอยู่ห่ำงจำกเพดำนที่ตดิ ไฟได้ไม่นอ้ ยกว่ำ 0.90 ม. หำก เพดำนไม่ตดิ ไฟหรือมีแผ่นกัน้ ทนไฟ ระยะห่ำงลดเหลือ 0.60 ม. บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

159

แผงย่อย มีพกิ ดั ไม่ตำ่ กว่ำขนำดสำยป้ อนที่คำนวณได้ กำรติดตัง้ ในที่เปี ยกชื้น ต้องมีกำรป้ องกันน้ ำเข้ำแผง และติดตัง้ ห่ำง ผนังไม่นอ้ ยกว่ำ 5 มม. ตัวแผงต้องติดตัง้ ในตู ้ และเป็ นแบบด้ำนหน้ำไม่มีไฟ (ยกเว้นขนำดไม่ เกิน 16 A. 1P) ฟิ วส์อยู่ดำ้ นโหลดของสวิตช์ และแผงต้องมีกำรต่อลงดิน

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

80

160

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

แผงย่อย…การป้ องกันกระแสเกิน แผงย่อยของวงจรย่อยแสงสว่ำงและ เครือ่ งใช้ไฟฟ้ ำทุกแผง ต้องมีกำรป้ องกัน กระแสเกินด้ำนไฟเข้ำ ยกเว้น สำยป้ อนนั้น มีเครือ่ งป้ องกันกระแสเกินแล้ว แผงย่อยที่ประกอบด้วยสวิตช์ธรรมดำ ขนำดไม่เกิน 30A หลำยตัว ต้องมีเครือ่ ง ป้ องกันกระแสเกิน พิกดั ไม่เกิน 200A จำนวนเครือ่ งป้ องกันกระแสเกิน ไม่เกิน 42 ขัว้ ไม่รวมตัวเมน บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

161

โครงสร้ำง (แผงสวิตช์และแผงย่อย)

ทำด้วยวัสดุไม่ดูดซับควำมชื้นและไม่ตดิ ไฟ วงจรเครือ่ งวัด หลอดไฟสัญญำณ ต้องใช้เครื่องป้ องกันกระแส เกิน พิกดั ไม่เกิน 16A. ยกเว้นกำรทำงำนของเครื่องป้ องกันทำ ให้เกิดควำมเสียหำยต่อกำรทำงำนของอุปกรณ์น้นั

ใบมีดที่เปิ ดโล่ง เมื่อปลดต้องไม่มีไฟ ยกเว้น มีกำรกัน้ ที่ เหมำะสม บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

81

162

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

แผงสวิตช์แรงสูง..แรงดันไม่เกิน 33 kV. ข้อกาหนดโครงสร้างเหมือนแรงตา่ และเพิ่มเติมดังนี้ ถ้าเป็ นบริภณ ั ฑ์ประธาน ต้องเป็ นไปตามบริภณั ฑ์ประธาน ในบทที่

3 ด้วย ตัวนาและบัสบาร์ ต้องติดตัง้ อย่างมัน่ คง มีการทาเครื่องหมายดังนี้ แดง สาหรับเฟส R เหลือง สาหรับเฟส Y นา้ เงิน สาหรับเฟส B บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

163

แผงสวิตช์แรงสูง.. ต้องมี GROUND BUS ด้วย

Copper Bus

• ไม่เล็กกว่ำ 95 ตร.มม. สำหรับ 12 KV. • ไม่เล็กกว่ำ 50 ตร.มม. สำหรับ 24 KV. • ไม่เล็กกว่ำ 35 ตร.มม. สำหรับ 33 เควี

Aluminum Bus

• มีขนำดกระแสไม่นอ้ ยกว่ำ Copper Bus บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

82

164

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

Surge Arrester….ถ้ำมี • สำยดินของอะเรสเตอร์ต่อลงดินร่วมกับชิลดิ์ ของสำยใต้ดิน และแยกจำก GROUND BUS ของแผงสวิตช์ • สำยดิน ใช้สำยทองแดงหุม้ ฉนวนทนแรงดันไม่ ตำ่ กว่ำ 1,000 V. ขนำดไม่เล็กกว่ำ 16 ตร.มม. วำงบนลูกถ้วยพิกดั แรงดัน 1,000 V. บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

165

การต่อลงดิน • ใช้สำยต่อ GROUND BUS ลงดิน • บำนประตูตอ้ งต่อฝำกเข้ำกับตู ้ มีขนำดที่จะรับกระแส ลัดวงจรได้ หรือ ใช้สำยทองแดงขนำดไม่เล็กกว่ำ 10 ตร.มม. หรือ ผ่ำนกำรทดสอบจำกผูผ้ ลิต • สำยดินแรงสูงกับแรงตำ่ ต้องแยกจำกกันและแยก หลักดินด้วย ยกเว้น ควำมต้ำนทำนกำรต่อลงดินไม่ เกิน 1 โอห์ม และห่ำงจำกสถำนี ย่อยไม่นอ้ ยกว่ำ 1 กม. ให้ต่อหลักดินแรงสูงกับแรงตำ่ เข้ำด้วยกันได้ บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

83

166

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตัวตู.้ .(ไม่บงั คับใช้กบั Liquid or Gas Insulated) มีช่องระบำยแรงดัน (Pressure Relief Flap) ระหว่ำงแผงสวิตช์ดว้ ยกัน หรือกับหม้อแปลง ต้องมีแผ่นกัน้ โดยตลอด จุดที่สำยผ่ำนต้องใช้ อุปกรณ์ท่เี หมำะสมเช่น Draw-Through Bushing แผ่นกัน้ ถ้ำเป็ นโลหะต้องหนำไม่นอ้ ยกว่ำ 1 มม. ถ้ำเป็ นวัสดุไม่ตดิ ไฟและดูดซับควำมชื้นอืน่ ต้องหนำไม่นอ้ ยกว่ำ 3 มม. บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

167

กำรต่อสำย ต้องทำใน Low Voltage Compartment เท่ำนั้น (ยกเว้นสำยที่ตอ้ งต่อกับอุปกรณ์แรงสูง) ที่ Compartment แรงตำ่ ต้องมีกำรป้ องกันกำรสัมผัสไฟฟ้ ำแรงสูงขณะบำรุงรักษำ ตัวตู ้ ต้องมีแผ่นปิ ดด้ำนล่ำง เพือ่ ป้ องกันสัตว์เข้ำในตู ้

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

84

168

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

ตัวตู ้ ตัวอย่าง ไม่มฝี าปิ ดด้านล่างของ MDB ทาให้มฝี ่ ุนเข้า หรือสัตว์เข้าไป ทาความเสียหายแก่อุปกรณ์เช่ น สายไฟฟ้ า ทาให้ความเป็ นฉนวน ลดลง

บทที่ 5 ข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ

169

สวิตช์ต่อลงดิน (Earthing Switch) หากสวิตช์ต่อลงดินติดตัง้ ด้านไฟเข้าของ Load break switch ต้องมี ที่ลอ็ กกุญแจที่สามารถล็อกสวิตช์ต่อลงดินได้ทงั้ ตาแหน่ งเปิ ดและปิ ด และมีป้ายเตือน “ก่อนสับสวิตช์ตอ้ งแจ้งการไฟฟ้ าฯ” หากอยู่ในพื้นที่จ่ายไฟด้วยระบบสายใต้ดิน ซึ่งแผงสวิตช์แรงสูงรับไฟ จาก Ring main unit ของการไฟฟ้ า ต้องเก็บกุญแจไว้ท่ี Ring main unit ของการไฟฟ้ า เท่านัน้

บทที่ 5 ขอ้ กำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

85

170

ลือชัย ทองนิล


บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

THE END ด้วยความปรารถนาดี ลือชัย ทองนิ ล บทที่ 5 ข้อกำหนดกำรเดินสำยและวัสดุ

86

171

ลือชัย ทองนิล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.