Portfolio

Page 1

FINE ART

The art news magazine of thailand

Artist of the Year : ÊØÇԷ 㨻‡ÍÁ www.fineart-magazine.com

150-

¹ÔµÂÊÒà FINE ART ºÃÔÉÑ· à´ÍÐà¡Ã·ä¿¹ ÍÒà · ¨Ó¡Ñ´ ÎÔÅÅ »Òà ¤¤Í¹â´ÁÔà¹ÕÂÁ 1 ˌͧ 1304 àÅ¢·Õ่ 9 Á.1 µ.ªŒÒ§à¼×Í¡ Í.àÁ×ͧ ¨.àªÕ§ãËÁ‹ 50300 â·Ã. 053-220522 ÍÒ¤ÒÃÊÕÅÁá¡ÅÅÍàÃÕ ˌͧ 302 àÅ¢·Õ่ 319/1 ÊÕÊÁ 19 ºÒ§ÃÑ¡ ¡ÃØ§à·¾Ï 10500 â·Ã 02-630-3426

June 2011

FINEmagazine ART

Artist of the Year

ÊØÇԷ 㨻‡ÍÁ

150 Bath. Fine Art Magazine



I CANNOT TEACH ANYBODY ANYTHING, I CAN ONLY MAKE THEM THINK ข้าสอนอะไรใครไม่ได้ สิ่งเดียวคือทำให้พวกเขาคิดเท่านั้น โสกราตีส


TIGGER TAIL.. OPEN : 7 JULY 2011 , AT 6 PM. 7 JULY - 6 AUGUST 2011 AT THE GALLERY CONTEMPORARY ART



EDITORIAL Volumn 6 No.54 : June 2011

ขอแสดงความยินดีกับคุณคามิน เลิศชัยประเสริฐ ที่ได้รับรางวัล ARTIST OF THE YEAR ในปีนี้ สำหรับ ศิลปินอีกหลายท่านที่จัดแสดงเดี่ยวในปี 2550 ก็ทำได้ดีและ มีผลงานโดดเด่นไม่แพ้กัน แต่รางวัลมีเพียงรางวัลเดียวการ พิจารณาครั้งสุดท้ายมาสรุปที่คุณคามินซึ่งเป็นคนแรกที่ได้ รับรางวัล FINE ART AWARD : ARTIST OF THE YEAR รางวัลนี้มีเจตนารมณ์ที่จะกระตุ้นให้ศิลปินหันมาจัดแสดงงาน นิทรรศการเดี่ยวกันมากขึ้น เพื่อให้กลุ่มภัณฑารักษ์ นักสะ สมและผู้ที่ชื่นชมศิลปะมีโอกาศเข้าใจแนวคิดของศิลปินในแต่ ละคนได้อย่างชัดเจน ที่สำคัญยังเปิดโอกาศให้ศิลปินแสดง ศักยภาพ ทัศนะ อย่างมีประสิทธิภา เรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อวงการศิลปะในประเทศไทย โครงการ THAILAND ART DIRECTORY มีศิลปินโทรเข้ามา สอบถามผมมากในเรื่องนี้ขอขยายความดังนี้ศิลปินจะได้พื้น ที่ 1 หน้าสร สำหรับ 1 คนและอีก 1/6 หน้าขาวดำในส่วนของ ประวั ติ ก ารแสดงงานรายชื่ อ ของศิ ล ปิ น เรี ย งตามA-Zภาพ ผลงานศิลปะของตัวเอง 3 ภาพ รูปผลงานต้องมีขนาดใหญ่ (กรณีเป็นรูปถ่าย ใช้ขนาด 5”*7” ขึ้นไป) ถ้าเป็น ภาพFILE ดิ จิ ต อ ล ค ว ร มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด สู ง ข น า ด ไ ม่ ค ว ร ต่ ำ ก ว่ า 2000*2600 pixels. ยิ่งมีขนาดใหญ่ยิ่งดี ภาพผลงานต้อง มีรายละเอียดของชื่อศิลปิน ชื่อภาพ ขนาด เทคนิคที่ใช้ และ ปี พ.ศ. ที่สร้าง ศิลปินต้องมีเบอร์โทรติดต่อกลับ โดยกรอก แ บ บ ฟ อ ร์ ม ที่ บิ ษั ท จั ด ส่ ง ไ ป ใ ห้ ห รื อ เ ข้ า ไ ป โ ห ล ด ที่ www.fineart-magazine.com สามารถสอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ คุณศนันชล น่วมนวล 02-6303426 การมอบรางวัล FINE ART AWARD : ARTIST OF THE YEAR จะจัดขึ้นที่หอศิลป์เจ้าฟ้าปลายเดือนมีนาคม 2551 รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบในฉบับหน้า ขอเชิญศิลปิน และสมาชิกทุกท่านมาร่วมงานด้วยนะครับ (ทาง FINE ART และหอศิลป์จะจัดเป็นประจำทุกปี)

FINE ART MAGAZINE Publisher

The Great Fine Art Co.,Ltd.

Chief Exective Officer Amnad Charoenprasopsuk

Editor in Chief

Tawatchai Somekong

Associate Editor

Alongkorn Lauwatthana

Editorial Staff

jirapat pitpreecha Suchart Taothong Akekachat Jaipeach Kittipong Suriyathongchuen.

Autchara

Nualsawad Duanchai Phuprasert Benjamas Phuprasert Thakerngpole Kampalanont Andrew J. west Brain Curtin Anticha Sangchai Norachai Thavisin Prapat Jiwarangsan Surachart Kesprasit Potjanee Tiravanija paretas Hutanggura Rossalin Grast L Nandawan Phasin Sotornpraphakorn

Manager

Sananchol Nuamnual Rewriter & Proofreader Thidarat Inkananthawaree

Art Director

Trairat Pattapong Graphic Designer Suthasinee Chaikkamia Subscriptions Kamonrat Techa Accountants Prattana Paonil

Consultant

เคารพผู้อ่านเสมอ ธวัชชัย สมคง

Panya Vijinthanasam Wattana Wattanapun Sriwanna Saokong Prasong Luemuang Pratak Prakitvinijpun Color separation Pattrara Pre Press 242/2 Maneenopparat Rd. T. Sripoom A Muang Chiang Mai 50200 Tel 0-5321-0816

Printing & Distribution

Amarin Book Center Co.Ltd 65/60-62 Moo4 Chaiyaphuek Rd. Talingshan Bangkok 10170 Tel.0-2423-9999 Fax 0-2434-1382 0-2434-1384 0-2882-2255 www.naiin.com


รงค์ วงษ์สวรรค์ Rong Wong-savan 4 June - 31 July 2011 Opening Party on Sat 4 Jun From 6.30 - 9 pm.


01

10

14

16

สนามชัย พวงระย้า : กิตติพงษ์ สุริยทองชื่น

NEW WAVE

: อมร พิณพิมาย

IN THE DREAM

Art Art ในเมืองน่ารัก รสช็อคโกแลต (Brussels - Belsium)

เที่ยวแบบ ART ART

ในบริบทของครู - อาจารย์ศิลปะ : สุรชาติ เกษประสิทธิ์

CREATIVE RESEARCH

Suwit Jaipom : รสลิน กาสต์

ARTIST OF THE YEAR

CONTENTS

18


22

24

26

30

ศิลปะ และการเยียวยาภาวะโลกร้อน : เดือนดาหลา

EXHIBITION REVIEWS

นิทรรศการ The Sorrowful Moon : ริงฤทธิ์ ตรียานุรักษ์

EXHIBITION REVIEWS

บันทึกเส้นทางในจิตรกรรมสีน้ำ : หัสภพ ตั้งมหาเมฆ

EXHIBITION REVIEWS

นิทรรศการ My Girl : เทพศักดิ์ ทองนพคุณ

EXHIBITION REVIEWS

นิทรรศการ “พระผู้ทรงงานอันยิ่งใหญ่” : เอกชาติ ใจเพรช

EXHIBITION REVIEWS

EXHIBITION REVIEWS

32


ARTIST OF THE YEAR : รสลิน กาสต์

SUWIT JAIPOM กล่าวว่าผลงานของเขาเป็น Audubon แบบปลอมๆที่แทรกเอาความคิด และจินตนาการของตัวเขาเองเข้าไป ผลงานของAudobon หากจะมองในอีกแง่หนึ่งก็อาจเปรียบได้ว่าศิลปินโน้มนำให้เราเข้าไปสู่เนื้อหาที่ เขาต้องการให้เรารับ ทราบ ผ่านแว่นของประวัติศาสตร์ศิลปะ กล่าวคือ ใช้รูป แบบของศิลปะของบรรพบุรุษที่เราคุ้นเคย


ก่อนหน้ าที่Waltonfordจะสามารถ เลี ้ยงชีพด้ วยการเป็ นศิลปิ นเต็มตัวอย่างในปั จจุบนั เ ขาต้ องเลี ้ยงชีพ ด้ วยการทำงานหลายอย่าง เช่นทำ งานเป็ นช่างไม้ เป็ นช่างเหล็ก และเป็ นนักวาดภาพป ระกอบ(lllustator) มาก่อน ช่วงเวลาเหล่านัน้ เป็ นช่วงเวลาแห่ง การพัฒนาแนวความคิด และคุณภาพของผลงาน สัง่ สมบารมีจากการแสดงงาน ควบคูไ่ ปกับการดิ ้น รนหาเลี ้ยงชีพในโลกแห่งความเป็ นจริ งของศิลปิ นที่ ผลงานยังไม่เป็ นที่ยอมรับ ในโลกศิลปะ เขาเกิดใน ปี 1969 ที่ Larchmont Newyork เมื่อเติบใหญ่ขึ ้น เขาตังใจว่ ้ า จะใช้ ศลิ ปะ และ ความสามารถ ในการเล่าเรื่ องของตัวเอง ในการทำหนัง (Fimmaking)จึงสมัครเข้ าเรี ยน ในสาขาดังกล่าวที่ Rhode Island School of Design หลังจากนัน้ ก็ใช้ เวลาประมาณ หนึง่ ปี ศึกษาจิตกรรม Renaissance ของอิตาลี ในโปรแกรม European Program RISD ที่กรุงโรม ประเทศ อิตาลี ซึง่ ส่งผลให้ แผนการใน ชีวิตเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะการกลับกลายเป็ นว่า

เขาได้ ใช้ ความสามารถในการเล่ า เรื่ อ งราวนั น้ มาสร้ างเป็ นผลงานจิ ต รกรรมสี น้ ำ สไตล์ โ บราณ ขนาดใหญ่แทน หากเพียงแค่ มองผ่าน ผลงานจิตร กรรมสีน้ำของเขาอย่างผิวเผิน เราก็อาจจะคิดว่า เขาคงหมายใจจะส ร้ างงานศิลปะเลียนแบบ ภาพวาดสีน้ำเพื่อบันทึก ภาพประกอบข้ อมูลในงานวิจยั ของพวกนักสำรวจ หรื อของพวกนักธรรมชาติวิทยา ในช่วงศตวรรษที่ 19 ตามที่ปรากฎ ในหนังสือประวัตศิ าสตร์ ธรรม ชาติ(Natural History)หรื อที่ปรากฏในรายงานวิจั (ในสมัยที่ยงั ไม่มีกล้ องถ่ายรูป เมื่อ พวกนักสำรวจต้ องการ บันทึกข้ อ มูลที่เป็ นภาพ ก็มกั จะอาศัยการวาดสีน้ำเนื่องจาก เป็ นอุปกรณ์ในการวาดภาพที่พกพาสะดวกและใช้ ได้ ผลดี) ต่างๆ แล้ วก็เล่นมุขหน่อย ด้ วยการทำให้ จิตกรรม ของเขามีขนาดใหญ่มากๆ เมื่อเทียบกับ งานภาพประกอบของพวกนักสำรวจจริ ง ๆ ซึง่ โดย มากจะวาดประกอบไในสมุด จดเล่ น ไม่ ใ หญ่ นัก เพื่ อ ความสะดวกในการทำงานและง่ า ยต่ อ การ เก็บแต่เมื่อ มองทิศเราจะพบว่าเขาเลือกใช้ เรื่ องราว

เนื ้อหา สัญลักษณ ์และ เทคนิคใน การวาดภาพ สีน้ำอย่างพิถีพิถนั แนวความคิด ก็มิได้ จำกัด อยู่ เพียงความเหมือน จากการลอกเลียนแบบ และความตื่ น เต้ น จากการได้ เ ห็ น ภาพสี น้ ำ ใหญ่ เกิ น คาดเท่ า นั น้ เนื่ อ งจากโดยธรรมดาทั่ว ไปแล้ ผลงานประเภทนี ม้ ั ก จะมี ข นาดไม่ ใ หญ่ นั ก ดั ง ที่ ไ ด้ กล่ า วแล้ ว แต่ เ มื่ อ พิ จ ารณาผลงานของเขา ให้ ดี จ ะพบว่ า “สิ่ ง ที่ เ ห็ น อาจไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ เ ป็ น” หากมองผ่านๆเราอาจเห็นเพียงสวย ๆ ของสัตว์ป่า ซึง่ กำลังทำกริ ยาอาการต่างๆ ตามธรรมชาติที่เป็ น ไปแต่เมื่อพิจรณาให้ ดีแล้ วเราจะพบว่าสัตว์เหล่านัน้ ไม่ได้ กำลังแสดงท่า “ น่ารัก”ตามธรรมชาติของมัน อยูเ่ ลย บางตัวกำลังฆ่าอีกตัวหนึง่ อย่างดุร้าย อีกคู่ หนึง่ กำลังแย่งอาหารกันอย่างเอาเป็ นเอาตาย Walton Ford ใช้ สตั ว์เหล่านี ้เป็ นตัวละครตลกร้ าย เล่า เรื่ องราวสะท้ อนความเป็ นมนุษย์ และปั ญหาสังคม ทังที ้ ่สงั่ สมมาแต่ปางบรรพ์ และที่ประจันอยูต่ รง หน้ าดังปรากฏในผลงานที่ชื่อว่า “คาคบ” (Falling Bough 2002) ซึง่ มีขนาดประมาณ 150*300 ชม หากมองเพียงผิวเผิน ก็จะเห็นเป็ นเหมือน ภาพสีน้ำ

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

9


ARTIST OF THE YEAR

เก่าแก่ที่วาดเกี่ยวกับนกโดยมีการเก็บรายละเอียด พิถีพิถนั งดงาม แต่เมื่อพิจาราณาดูให้ ดี ก็จะพบ ว่า สิง่ ที่ปรากฏให้ เห็น คือภาพของกิ่งไม้ ทอ่ นมหึมา ที่กำลังร่ วงหล่นลงสู่พืน้ เบื ้องล่างพร้ อมกับประชา กรนกพิราบ (ศิลปิ นเลือกใช้ ภาพของ Passenger Pigeon นกพิราบชนิดนี ครั ้ ง้ หนึง่ เคยเป็ นวิหคสายพันธุ ที่ มีจำนวนประชากรมากที่สดุ บนโลกแต่ปัจจุ บันนี ้ได้ สญ ู พันธุ์ไปแล้ ว หรื อว่าต่อไปจะเป็ นเรา!) จำนวนมหาศาลแออัดยัดเยียดกันอยูบ่ น นันบ้ ้ างก็ กำลังโบยบินเข้ ามาสมทบบ้ างก็กำลังโบยบินหลีก นี แต่อีกหลายๆ ชีวิตบนนัน้ ยังคงประกอบกิจกรรม “ตัวใครตัวมัน” ต่อไป โดยไม่สนใจว่าหายนะกำลัง รอคอยอยูเบื ้องล่าง หากเราสังเกตดูกิจกรรมต่าง ๆ ของเหล่านกบนกิ่งไม้ (ซึง่ ในขณะนี ้ปราจากความ ปลอกภัยใดๆทังสิ ้ ้น)ก็จะเห็นการต่อสู้แย่งชิงเอารัด เอาเปรี ยบกันต่างๆนานา เช่นภาพการจิกกินไข่ ของ พวกเดียวกันเองภาพนกผู้ใหญ่กำลังขมขื่น นกตัวน้ อยที่ยงั ไม่ร้ ูเดียวสาเลยด้ วยซ้ ำ เป็ นต้ น ช่างเหทือนกับสภาพสังคมมนุษย์ เสียนี่กระไร Wolton Ford กล่าวว่า สภาพแหลวแหลก บนกิ่งไม้ นนั ้ หากมองกลั บ ไปในอดี ต ก็ เ ปรี ยบเสมื อ นกั บ สิง่ ที่เกิดในกรุงโรม ก่อนที่อาณาโรมันอันรุ่งเรื่ องจะ ล่มสลายนัน่ เอง แต่หากจะเปรี ยบเทียบกับปั จจุบนั เหตุการ์ แบบนี ้ก็ค้ นุ ๆ นะครับ

10

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

ตั้งแต่วัยเยาว์ Walton Ford เองก็นับว่าเป็นนักธรรมชาติวิทยาสมัครเล่น คนหนึ่ง และมักจะไปศึกษาข้อมูลและวาดภาพ สัตว์อย่างต่างๆ ที่ the American Museum of Natural History ในนิวยอร์ก อยู่เสมอๆ ดังนั้น รูปแบบ และเนื้อหาส่วนหนึ่ง ใน การสร้างงานศิลปะของเขาจึงได้รับแรงบันดาลใจจากผลงานของ Audubon (John James Audubon)1785-1851 เป็นหนึ่งในศิลปินนักสำรวจ ผู้บุกเบิกเกี่ยวกับการ บันทึกภาพสัตว์ป่า โดยเฉพาะนกชนิดต่างๆ ในอเมริกาด้วยสีน้ำ (ในปัจจุบันนี้เมีอง ค์กรเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและคุ้มครองสัตว์ป่า และสถานที่อื่นๆ หลายแห่ง ที่ใช้ ชื่อ Audubon เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา)


มาเป็ น สิง่ ดึงดูดความสนใจเบื ้องต้ น จากนัน้ เรื่ องราวที่เขาต้ องการบอกเล่า (ซึง่ ถือว่าเป็ นประ วัตศิ าสตร์ ศลิ ปะร่วมสมัย) จึงค่อยปรากฏชัดต่อเรา เมื่อเราได้ ทำความคุ้นเคย และเริ่ มสังเกตเห็นราย ละเอียดต่างๆ ในภาพมากขึ ้น กับผลงานทุกชิ ้น Walton Ford จะทำการศึกษาและหาข้ อมูลที่เกี่ยว ข้ องอย่างละเอียดเสียก่อนแล้ วจึงค่อย ๆ เรี ยงร้ อย เรื่ องราว และรายละเอียดเหล่านัน้ ผนวกเข้ ากับ ตรรกะและจินตนาการในการสร้ างสรรค์งานศิลป์ ของเขาลงบนแผ่นกระดาษสีน้ำขนาดใหญ่อย่างพิถี พิถนั ดังนันหากเราทราบเรื ้ ่ องราวซึง่ อยูเ่ บื ้องหลัง ภาพแต่ละภาพเราก็ จะสามารถดื่มด่ำกับงานจิ ต รกรรมสีน้ำแต่ละชิ ้นได้ ไม่เพียงแต่ แง่งามของรูป ลักษณ์ เท่านัน้ แต่ยังได้ ซึม ซับ เอาความรู้ เกี่ ย วกับ ธรรมชาติวิทยา และปรัชญาเกี่ยวกับชีวิตบางอย่าง รวมตลอดไป จนถึงประเด็นปั ญหาทางสังคมวิทยา และ ประวัติทางการเมือง ทังที ้ ่เป็ นเหตุการณ์ร่วม สมัยและที่ผา่ นไปแล้ วในอดีตได้ อีกด้ วย อีกหนึง่ ผล งานที่นำมาให้ ดกู นั ทีน่าจะช่วยให้ เราเข้ าใจในแนว คิดและการทำงานของศิลปิ นท่านมากขึ ้น ก็คือภาพ “ที่ถกู ทอดทิ ้ง” (The Forsaken,1999) ศิลปิ น เล่าว่า เขาได้ รั บ แรงบัน ดาลใจในการสร้ างผลงานชิ น้ นี ้ จากการศึกษาประวัติชีวิตของ Sir Richard Burton (1821-1890) ซึง่ เป็ นทัง้ นักเดินทาง นักสำรวจ นักเขียน และเป็ นผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์ สาขาต่างๆ อีกหลายด้ าน

(Right) Artist Suwit Jaipom Title Impression Hanoi 2 Technique Crayon on peper Size 200*100 cm.

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

11


CREATIVE

ถึงวันนี้ยุคสมัยมันเปลี่ยนไปแล้ว ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ก็เปลี่ยนไปด้วย เมื่อศักยภาพของ แต่ละคนไม่เหมือนกัน คุณจะผลิต แรงงานด้วยวิธีคิดแบบเดิมไม่ได้


RESEARCH : สุรชาติ เกษประสิทธิ์

ในบริบทของครู - อาจารย์ศิลปะ กระบวนผลิตออกมาอย่างมีระบบ

Creative research

การสร้ างสรรค์งานศิลปะของศิลปิ น เป็ นกระบวน การวิจยั ศึกษาเพราะเป็ นการเรี ยนรู้ คว้ าหาประสบ การณ์ ความรู้ ที่มีขนตอนกระบวนการเพื ั้ ่อให้ เกิด การสร้ างสรรค์สงิ่ ใหม่ หรื อ ให้ ได้ มาซึง่ องค์ความรู้ ใหม่ขึ ้นมาอย่างเป็ นระบบอย่างแท้ จริ งเป็ นสาระสำ คัญ จึงเรี ยกว่า “การวิจยั แบบสร้ างสรรค์” (Creative research) ดังที่ ศราตราจารย์ เจตนา นาควัชระ ได้ กล่าวอธิบายอย่างชัดเจนในการวิจยั ลักษณะนี ้ไว้ วา่ “การวิจยั แบบสร้ างสรรค์” (Creative research) อันได้ แก่การวิจยั ทางศิลปะแขนง ต่างๆนัน่ เอง การวิจยั แบบสร้ างสรรค์ซงึ่ อาจจะไม่ จำเป็ นที่จะต้ องเป็ นเรื่ องของศิลปะเสมอไป การวิ จัยแบบสร้ างสรรค์อาจจะคลอบคลุมไปถึง การวิจยั ที่เป็ นเรื่ องของการประดิษฐ์ คดิ ค้ นทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้ อีกด้ วย มีนกั วิชาการบางคนอาจ จะไม่ยอมรับว่า การสร้ างสรรค์ทางศิลปะถือได้ วา่ เป็ นกันงานวิจยั ซึง่ ในประเด็นนี ้เราอาจจะต้ องหา ตัวอย่างเทียบเคียงจากการประดิษฐ์ คดิ ค้ นในสาขา อื่น ในกรณีนี ้นักวิทยาศาสตร์ สามารถผลิตเครื่ อง บินที่บนิ เร็ววก่าเสียงได้ และสามารถบรรยาย

มีขนตอน ั้ ให้ ผ้ อู ื่นรับรู้ และ เข้ าใจได้ เรามักจะยอมรับว่ากิจ กรรมดังกล่าว เป็ นการวิจยั ถ้ าเช่นนัน้ การที่ศลิ ปิ นผู้หนึง่ สามารถที่จะบรรยาย กระบวนการสร้ างสรรค ์งานของตนเอง ออกมาได้ อย่างมีแบบแผนที่ให้ ผ้ อู ื่นเข้ าใจในกิจกรรมดังกล่าว ก็ควรจัดได้ วา่ เป็ นการวิจยั เช่นกัน

ข้อแตกต่าง

ระหว่างงานวิจยั ของนักวิทยาศาสตร์ กบั งานวิจยั ของศิลปิ น อยูต่ รงที่วา่ การเฝ้าสังเกตตนเองเป็ น สิง่ ที่กระทำได้ ยากกว่า การเฝ้าสังเกตบุคคลอื่น หรื อปรากฏการณ์นอกตัวเราและ ในเรื่ องการสร้ างสรรค์ศลิ ปะนัน้ มีเรื่ อง อารมณ์ความรู้สกึ เข้ า มาเกี่ยวพัน ด้ วยซึง่ เป็ นเรื่ องที่วิเคราะห์ และพรรณาได้ ยาก

ข้อสรุป

ก็คือว่าเราไม่ควรจะสับสนในระหว่างตัว “ผลงานที่เสร็ จแล้ ว” (finished product) ซึง่ เป็ นผลงานการ สร้ างสรรค์ทางศิลปะ กับกระบวนการของการวิจยั ก็ได้ ถ้าผู้ สร้ างสามารถที่พรรณา ได้ อย่างมีระบบ ศิลปิ นน่าจะหันมา “วิจยั แบบสร้ างสรรค์” ด้ วยการตีแผ่ประสบการณ์ของตนให้ กบั ผู้อื่นได้ ร่วมรู้ ซึง่ นับ ได้ วา่ เป็ นการสร้ างบุญกุศลอันใหญ่หลวงแก่มนุษยชาติ (เจตนา นาควัชระ, 2538: 247-248)Evidenatque publii pultore natemus acerum aci puliis, coente enatimus

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

13


Art art

ในเมืองน่ารัก รสชอคโกแลต ตอนชอคโกแลต วาฟเฟิล และการ์ตูน ทริปนี้เป็นทริปพิเศษของผมที่เดินทาง ต่อเนื่อวมาจากอัมสเตอร์ดัมในตอนที่ มาครั้งแรกว่าไปแล้วการเดินทางในยุ โรปนี่ช่างเอื้อต่อการท่องเที่ยวเสียจริง เพราะว่าด้วยการคมนาคมโดยเฉพาะ ทางรถไฟที่ แ สนจะสะดวกสบายนั้ น

ตอน ช็อคโกแลต วาฟเฟิล และการ์ตูน เที่ยวเมืองที่ใครๆ มักจะใช้ เป็ นแค่ทางผ่าน โดยนักท่อง เที่ยวส่วนใหญ่มกั เดินทางจากเมืองตังต้ ้ น เช่น ลอนดอน หรื อ ปารี ส แล้ วนัง่ รถไฟ ความเร็ วสูง Eurostarแล้ วผ่าน เลยไปที่อมั สเตอร์ ดมั หรื อเมืองอื่นเลยประเทศเบลเยี่ยม ที่มีขนาดไม่ใหญ่นกั แต่คนยุโรปส่วนใหญ่มกั ให้ สมญา นามว่าเป็ นเมืองหลวงของยุโรปอาจเนื่องมาจากเป็ นที่ตงั ้ ของสำนักงานองค์การ EU และองค์กร NATO ทังความ ้ สัมพันธ์ ของทังราชวงศ์ ้ ไทยและราชวงศ์ของเบลเยี่ยม

14

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


เที่ยวแบบ..

Art Art

(Brussels - Belsium)

สามารถนัง่ ข้ ามเมืองที่มีพรมแดนติดกักนั นันได้ ้ ง่าย โดยไม่ต้องกังวลกับวีซา่ เพราะว่าหลายประเทศใน ยุโรปนันเป็ ้ นแบบเชงเก้ น(Shengen) วีซา่ โดยเริ่ ม จากกลุม่ ประเทศ Benelux (Belgium- The Netherlands- Luxembourg)คือว่าทำวีซา่ ประเทศเดียว ก็เที่ยวได้ ทวั่ ยุโรป การมาเมืองบรัสเซลซ์ที่ประเทศ เบลเยี่ยมนัน้ สามารถนัง่ รถไฟทังจากอั ้ มสเตอร์ ดมั และจากที่ เ มื อ งรอตเตอดัม ส์ ใ นเนเธอแลนด์ ผ ม เลือกที่จะมาจากเมืองรอตเตอดัมส์

เพราะว่าแวะเยี่ยมเพื่อนที่เมืองนี ้ใช้ เวลาประมาณ 40 นาทีก็ถงึ เมืองบรัสเซลซ์ ผมมีป้าซึง่ แต่งงานกับ ลุงชาวเบลเยี่ยมนัน้ สามารถนัง่ รถไฟทังจากที ้ ่อมั สเตอต์ดมั และจากที่เมืองรอตเตอดัมส์ ในเนเธอร์ แลนด์ผมเลือกที่จะมาจากเมืองรอตเตอดัมส์ เพร าะว่าแวะเยี่ยมเพื่อนที่เมืองนี ้ ใช้ เวลาประมาณ 40 นาทีก็ถงึ เมืองบรัสเซลซ์ ผมมีป้าซึง่ แต่งงานกับลุงช าวเบลเยี่ยมตังรกรากอยู ้ ท่ ี่นี่มานานพอสมควร เลย เป็ นการดีที่ได้ ไปแวะเยี่ยมท่านและก็ถือโอกาศ

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

15


IN THE DREAM

In The Dream : อมร พิณพิมาย

การเดินทางในเมืองหลวงแห่งนี้ก็แสนจะง่าย โดยใช้ TRAM หรือรางรถไฟและ Metroหรือ รถไฟใต้ดิน โดยใครจะรู้ว่าระบบรถรางของ สยามเมืองเราเมื่อหลายปีก่อนเบลเยี่ยมนี่เอง ที่เป็นผู้มาวางระบบรถรางให้เมื่อหลายปีก่อน น่าทึ่งจริง ๆ ครับภายในรถไฟใต้ดินนั้นแต่ละ สถานีก็จะไม่เหมือนกันนั่นแปลว่าเค้าให้ความ สนใจกับงานศิลปะมากเลยครับขนาดสถาน ที่Public ก็ยังเจองานศิลปะทั่ว ๆไปได้เช่นกัน

16

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


ใครมีรูปปั้นเด็กยืนฉี่ก็ไม่ต้องสงสัยเลยครับว่าเอามาจากไหน เพราะoriginalอญุ่ที่นี่นั่นเองตามตำนานเล่าว่านานมาแล้วและมี หลายที่มาเช่นหนูน้อยได้พลัดหลงหายตาหพ่อแม่ไปพ่อแม่เขา เลยตั้งจิตอธิษฐานว่าหากได่หนูน้อยกลับคืนมาเขาจะสร้างรูป จำลองหนูน้อยขึ้นที่บริเวณที่พบ เมื่อได้พบตัวหนูน้อยเขาเลย ได้สรางรูปนี้ขึ้นในที่ที่ได้พบหนูน้อยคนนี้ บ้างก็ว่าหนูน้อยช่วย ยืนฉี่ดับชะนวนระเบิดในช่วงสงครามในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ทหารฝรั่งเศสคนหนึ่งได้ขโมย Manneken pis ไป ทำให้ชาว เมืองโกรธแค้นพวกฝรั่งเศสอย่างมากเมื่อได้คืนมาพระเจ้าหลุย ที่ 15 จึงได้ส่งเสื้อผ้ามาให้หนูน้อยใส่เพื่อเป็นการขอโทษหลังจาก นั้นเป็นต้นมาคนทั่วโลกก็จะส่งเสื้อผ้าแปลกๆ มาให่หนูน้อยคน นี้ใส่ แต่ตอนผมไปไม่เห็นมีชุดอะไรใส่เลย เลยได้เห็นจากในโปส การ์ดมีทั้งชุดซานตาครอส เอลวิส ทหาร และอีกมากมาย ไม่รู้ ว่ามีใครส่งชุดไทยไปให้หรือยังครับเดินมาเรื่อยๆ จะเจอขุม ทรัพย ์เป็นการ์ตูนตามกำแพงบ้านครับ เรียกว่า comic strip โดยการ์ตูนนี้มีแหล่งกำเนิดมาตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2โดยเริ่มมาจากที่เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส และอังกฤษ โดยตัวการ์ตูน ที่ยอดนิยมตลอดกาลคือเด็กหนุ่มที่ชื่อTintinโดยมีหมาคู่ใจชื่อ Snowyซึ่งเนื้อเรื่องก็เป็นการเดินทางไปในที่ต่างๆพบเจอเรื่อง ราวมากมาย ตามที่ผมทราบมาว่าตัวการ์ตูนที่อยู่ตามผนังตึก นั่นมีอยู่เกือย 20 จุด โดยเค้าจะมีแผนที่ให้เดินตามไปดูได้เลย

ี่ ที่ที่เป็น ใครได้มาที่น ับ ที่ า ้ ถ ั บ ค ๆ ง ิ ร จ ท่ ี่นี่ ั ๆ คร ที่สมั ผสั ได้แค ้ เลยก็จะมีสกั 3 ที่สำคญ ด ไ่ งด์ปลาส” ไฮไลท์ไมไ่ ปไม างเมืองที่เรี ยกวา่ “กรอ จตรุ ัส ัสกล เป็น แรกคือ จตรุ rote Markt G อ รื ห e c ชื่อกรอง Pla หรื อ Grand วกนั วา่ งามที่สดุ ของยโุ รป งสว่ น ือ ี่กลา่ รุ ัสใหญ่ของเม ตกึ กลางเมืองท ั ต จ ึ ง ถ ย า ม ห ่ ี ชื่อท ยโุ รป ด์ปลาสนี ้เป็น ืองใหญ่ในเบลเยี่ยมและ เม ุ ก ็ นร้ านค้า มากจะมีในท ไตล์บาราคมีทงั ้ ส่วนที่เป งตรง ็ นส กว้า รอบด้านซงึ่ เป คมตา่ งๆ ครั บ ด้านลาน ไม้มี า อก ม ั ฑ์ ส งๆเช่นขายด ละ า ่ พิพิธภณ ต ม ร ร ก จ ิ ก ้ ใช้ทำ น่ ตา่ งๆ แ กลางก็จะไว ตรี การละเล ะจดั ขึ ้น น ด ่ น เล พ า ภ จ ศลิ ปินมาวาด ีเทศกาลแสดงดอกไม้ซึ่ง อกไม้ ม ั ง างด ย ว ้ นอกจากนนั งดอกไม้การ า ว ร า ก ี ม ะ จ ปตรง โดย ทีเดียวเดินไ กั ย เล ทกุ ๆ 2 ปี ม ร พ น ็ ้ ายกับเป จะเหน็ น ตรงกลางคล ll ใกล้ๆ กบั ตรงลาน ัก ร บ icHa ีทองซึ่งเป็นน ส ะ ข้างตกึ Goth ห ล โ ้ น ั ป ยมีความ งมุงดูรูป ท่องเที่ยวต่า วา่ Eveardt serclaesโด ไหน ีชื่อ ีด้าน สมยั โบราณม ้ ลบู รูปปัน้ นี ้แล้วจะโชคด าด้วย ด ไ ร บั เค้ ค เชื่อที่ว่าถ้าใ ิ งๆครับ แตผ่ มก็ลองลบู ก เพาะ บจร นขดั เงา อนั นี ้ก็ไมท่ รา ปัน้ นนั ้ เหมือ เที่ยวมา ป ู ร ่ า ว ต เก ั ง ส ง เหมือนกนั จน ถ้าเดินตามบรรดานกั ท่อ ูปปัน้ ั น ว คือร ุ ก มีคนมารูปท นนู ้ อย Manneken Pis ห อ เรื่อยๆ ก็จะเจ ื่อเสียงดงั ไปทวั่ โลก ี่มีช ท ่ ี เดก็ น้อยยืนฉ

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

17


New wave : กิตติพงษ์ สุริยทองชื่น

18

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


... จินตนการ เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความคิดและการมีชีวิตโดย เฉพาะอย่างยิ่งกับคนทำงานสร้างสรรค์ที่เลือกเอาจินตนาการมา ถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวที่ ช วนคิ ด ฝั น ด้ ว ยมิ ติ ท างใจที่ ก่ อ รู ป ขึ้ น เเละ เคลื่อนไหวเปล่งสีสัน สอดแทรกไปตามรูปทรงต่าง ๆ เกิดเป็นท้องฟ้า ภูเขา ทะล ท้องทะเล สายรุ้ง สรรพชีวิตที่อิงแอบอาศัยกันภายใต้ กฎแห่ ง ธรรมชาติ ที่ เ ปิ ด ช่ อ งว่ า งให้ ค วามจริ ง กั บ ความฝั น ถ่ า ย ไหลไปมาระหว่างกันได้ช่องว่างระหว่างความจริงกับความฝันนั้น เรา มิอาจกำหนดหรือคาดเดาได้ว่าอยู่ ณ ที่แห่งใด ...

สนามชัย พวงระย้า FINE ART | มิถนุ ายน 2554

19


NEW WAVE พู่ กั น ทำหน้ า ที่ ซั บ สี นั บ ร้ อ ยสี ไ ปเรี ย งซ้ อ นทั บ กั น อยู่ บนผ้ า ใบกลายเป็ น ผลงานจิ ต รกรรมที่ ส ะท้ อ นภาพ ฝั น ของศิ ล ปิ น ออกมาคล้ า ยกั บ กระจกเงาที่ ส ะท้ อ น ภาพของทุ ก สรรพสิ่ ง ที่ เ คลื่ อ นผ่ า นแต่ ภ าพในใจของ ศิ ล ปิ น ย่ อ มแสดงมิ ติ ข องความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ได้ ลึ ก ซึ้ ง และกว้ า งไกลกว่ า กระจกเงาที่ ส ะท้ อ นได้ แ ค่ เ พี ย งรู ป

สนามชัย พวงระย้า

20

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


แต่สำหรับสนามชัยพวงระย้า จิตกรที่กำลังขยาย

อาณาเขตดินแดนแห่งอิสรภาพย่อมรู้ ดีว่าช่องว่าง นันที ้ ่แท้ จริ งแล้ วเป็ นเส้ นลับที่เชื่อมต่อระหว่างความ คิดและจิตใจของเขาเองและเขาจะได้ พบหรื อสัมผัส ก็ตอ่ เมื่อลงมือทำงานเท่านัน้ นอกเหนือจากนันแล้ ้ ว เป็ นความเพ้ อ ฝั น ทัง้ สิ น้ สนามชัย ได้ ผ่ า นวัน เวลา แห่งการบ่มเพาะทางศิลปะไทยมายาวนานจนสา มารถแปรสภาพของประสบการณ์ ออกมาเป็ นงาน ส้ รางสรรค์ส่วนตัวที่ขบั พรั่งพรู ออกมาจากจินตนา การชิ ้นแล้ วชิ ้นเล่าดินแดนแห่งอิสรภาพถูกถ่ายทอด มาอย่างต่อเนื่ องทุกตารางนิว้ ในผลงานแต่ละชิน้ ล้ วนกำหนดขึน้ มาใหม่ทงั ้ หมดเป้าหมายคือความ ปี ติสขุ เบิกบาน สีสนั รูปทรง บรรยากาศในงาน หลุดพ้ นออกมาจากกาลเวลาในโลกมนุษย์รายละ เอี ยดเล็กๆที่ ประกอบกันขึน้ เป็ นรู ปทรงใหญ่ ซ่อน นัย ของสรรพชี วิ ต ไว้ อ ย่ า งเงี ย บๆแสดงถึ ง กระแส การมีอยูข่ องแต่ละสิง่ ที่สมั พันธ์เกี่ยวโยงกันทังในวง ้ จรที่ คล้ อยตามกันหรื อขัดแย้ งกันซึ่งเขาได้ สมมติ ตนเองเป็ นหน่วยหนึง่

เป็ นสิ่ ง มี ชี วิ ต เล็ ก ๆชี วิ ต หนึ่ ง ที่ ก ำลัง เฝ้ าดู ค วาม เป็ นไปของแต่ ล ะสิ่ ง ด้ วยความเป็ นกลางล่ อ งล อยไปในดิ น แดนนั น้ ด้ วยความรู้ สึ ก เบาสบาย เป็ นอิ ส ระจากพัธ นาการทัง้ ปวงและนัน้ คื อ ความ สุขที่ เขาสร้ างขึน้ เป็ นงานเป็ นที่ พักทางใจของเขา ในยามที่ถกู โลกความจริ งบีบคันให้ ้ เขาต้ องต่อสู้กบั แรงเสียดทานมากมาย ต้ องเดินทางไปเขียนภาพ ตามที่ตา่ ง ๆ ไม่มีแม้ กระทัง่ เวลาที่จะหาความสุข แก่ตน เขาเสียสละทุกอย่างให้ แก่ครอบครัวโดยไม่ เคยคิ ด ท้ อ แท้ ห รื อ โทษโชคชะตาแม้ แ ต่น้อ ยธรรม ชาติของนิสยั มนุษย์ที่มีความอดทนเป็ นเลิศ ย่อม อดทนได้ ทุกแรงกดดันและเลือกที่จะมองโลกด้ วย แง่มมุ ที่งดงามแจ่มใสเสมอส่วนคนที่ออ่ นแอเปราะ บางมันสร้ างเงื่อนไขต่าง ๆมากมายมาอำพรางเนื ้อ แท้ แห่งตนและโยนความผิดบาปทังมวลไปให้ ้ โชค ชะตาและปั จจัยภายนอกผู้คนแวดล้ อมด้ วยแง่มมุ ที่ เจื อปนด้ วยความชิงชังและริ ษยานั่นเป็ นธรรมดา ของมนุษย์ ที่ทำให้ แตกต่างกันซึ่งจะนำไปสู่ความ สำเร็ จหรื อล้ มเหลว

เป็นการแสดงเดี่ยวที่เป็นบันไดอีกขั้นหนึ่งของศิลปินอาชีพ ที่ต้องเริ่มจากจุดนี้เพราะศิลปินจะต้องคิดและทำทุกอย่างด้ว ยตนเองและต้องพร้อมที่จะรับผลของการกระทำนั้นไม่ว่าจะ ออกมาเป็ น เช่ น ไรก็ ต้ อ งยื ด อกรั บ ทั้ ง คำตำหนิ แ ละคำสรร เสริญ การแสดงเดี่ยว เมื่อมองจากมุมเปิดของชีวิตการส้ราง สรรค์จะเห็นได้ว่ายังไม่ถึงเวลานั้น หรือยังไม่พร้อม หรือคิดไว้ แล้วแต่ยังไม่มีจังหวะ สำหรับผู้ก้าวขาเข้ามาสู่พรมแดนคาม สำเร็จ ย่อมรู้ดีว่าไม่มีประโยชน์ใดที่จะปล่อยให้มุมมองด้าน มุมปิดมาทำลายเป้าหมายอันงดงามของชีวิต มีเพียงหนทาง เดี ย วเท่ า นั้ น คื อ การลงมื อ ปลู ก ฝั ง ความคิ ด ฝั น นั้ น ลงในใจ

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

21


นิทรรศการ

“พระผู้ทรงงานอันยิ่งใหญ่”

: เอกชาติ ใจเพรช หอศิลป์สมเด็จพระนางเข้าสิริกิติ์ พระบรมราชินาถ ถนนผ่านฟ้า ในวันที่ 9 ธันวาคม - 31 มกราคม นิทรรศการ “พระผู้ทรงงานอันยิ่งใหญ่” เป็นนิทรรศการภาพเขียนขนาดใหญ่ ที่รวบรวมผลงานของศิลปินไทยไว้ได้มากถึง 90 คนงานนี้จัดขึ้นโดยสำนักงาน ศิลปะวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในโอกาศมหามงคลเฉลิมพระชม พรรษา 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

22

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


นิทรรศการ พระผู้ทรงงานอันยิ่งใหญ่”เป็นนิทรรศการภาพ เขียนขนาดใหญ่ที่รวบรวมผลงานของศิลปินไทยไว้ได้มากถึง 90 คน

สาขาทั ศ นศิ ล ป์ ที่ มี ถิ่ น กำเนิ ด แต่ ล ะจั ง หวัดทัว่ ประเทศไทยทังหมด ้ 76 คน และศิล ปิ นรับเชิญอีก 14 ท่าน มาทำงานจิตรกรรม เพื่อน้ อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ที่ทา่ นได้ ประ กอบพระราชกรณียกิจและพระราชกิจยวัตร เพื่ออำนวยประโยชน์แก่ปวงชนชาวไทยและ จังหวัดต่างๆ ทัง้ 76 จังหวัด โดยทางผู้จดั จะนำภาพเขียนทังหมดมา ้ จัดแสดงที่หอ ศิลป์สมเด็จพระนางเข้ าสิริกิติ์ พระบรมราชิ นาถ ถนนผ่านฟ้า ในวันที่ 9 ธันวาคม ถึง 31 ที่ผา่ นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ของ

เรา จะทรงเป็ นนักพัฒนาแล้ วในด้ านพระปรี ชาสามารถด้ านศิลปะ ก็ไม่ได้ ด้อยไปกว่ากัน ไม่ ว่ า จะเป็ นในเรื่ อ งของดนตรี แ จ๊ ส ดัง นัน้ โครงการนี จ้ ึง เป็ นการอัน ดี ที่ บ รรดาศิลปิ น จะได้ แ สดงจิ ต กตัญ ญูต่อ พระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยูห่ วั

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

23


EXHIBITION REVIEWS

นิทรรศการ MY

GIRL

..ศิลปะมันอยู่ในสังคมไม่ได้ตัดขาดจากสังคมมีหลายคน พยายามแยกมันออกจากกันจริงๆแล้วมันต้องมีการสื่อ สารกันมันต้องคุยกันรู้เรื่องรู้ถ้าไม่รู้เรื่องก็ลำบากแต่ก็อาจ จะมีศิลปินบางคนที่เดินนำสังคมไปเยอะ ซึ่งนั่นก็เป็นกรณี พิเศษอย่างไรก็ตามงานศิลปะก็ต้องสื่อสาร..กับสังคม..

24

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


EXHIBITION REVIEW

โดย เทพศักดิ์ ทองนพคุณ งาน ศิลปินที่ศิลปินสร้างขึ้นมีแรงบันดาลใจที่ หลายหลากบ้างก็มาจากเรื่องราวที่เป็นเรื่อง ราว ที่เป็นปรากฎการณ์ของสังคมบ้างก็มา จากความรู้สึกในเบื้องลึกของจิตใจและมีสิล ปิ น อี ก ไม่ น้ อ ยที่ ถ่ า ยทอดความรู้ สึ ก ของ ความประทับใจในรูปทรงออกมาเป็นผลงาน

นิทรรศการ My Girl

ของ เทพศักดิ์ ทองนพคุณ เป็นนิทรรศการศิลปะซึ่งแสดงผลงานที่เกิด ขึ้ น มาจากความประทั บ ใจในรู ป ทรงของผู้ หญิ ง สาวโดยถ่ า ยทอดผ่ า นการรั บ รู้ ข อง ศิลปิน มาเป็นงานภาพเขียนที่ปราณีตบรร จงและละเมียดละมัย ครั้งนี้เป็นการแสดงงา นครั้งล่าสุดผมต้องใช้เวลากาทำงานพอสม ควรนั่น เพราะงานของผมนั้นต้องใช้ ความ ปราณีต

Conceot ของงานครั้งนี้คือ การทำงาน

โดยใช้รูปทรงของผู้ หญิงซึ่งจะชัดเจนขึ้น กล่าวคือเป็นงานที่มาจากรูปทรงล้วนๆมิได้ มีเนื้อหาเรื่องของความรักความเกลียดความ โกรธ หรืออะไรก็ ตามปนเข้ามาเหมือนกับ งานครั้งที่แล้ว (The way) มุ่งใช้สาระของ รูปทรงแต่เพียงอย่างเดียว เพื่อแสดงความรู้ สึกโดยตรงในงานคราวที่แล้วมีการใช้รูปทรง อื่น ๆอยู่บ้าน เช่น รูปของช้าง ของม้า แต่ คราวนี้ จ ะใช้ แ ต่ รู ป ทรงของผู้ ห ญิ ง แต่ เ พี ย ง อย่างเดียว My Girl 3 ,Acrylice on canvas 2007


EXHIBITION REVIEWS

บันทึก เส้นทางในจิตรกรรมสีน้ำ

สุรพล แสนคำ

ในการเดินทางเพื่อเขียนภาพชุดนี้ไม่ใช่เพียงแค่ทิวทัศน์ที่ศิลปินสน ใจหากแต่ในแง่ของวัฒนธรรมและวิถีชีวติรวมถึงประวัติศาสตร์ของ แต่ ล ะท้ อ งที่ ก็ ไ ด้ รั บ การศึ ก ษาและถ่ า ยทอดออกมาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของผลงานจากมุมมองของศิลปินเอง เห็นได้จากการเลือกหยิบยก เอารูปร่างรูปทรงที่ให้ความหมายอันลึกซึ้งตามบริบทของพื้นที่แต่ละ แห่ง พื่อบันทึกสิ่งที่เป็นมากกว่าความงามของสถานที่ให้คงอยู่ในรูป อยู่ในผลงานวิถีชีวิตที่มีความแตกต่างตามแต่ท้องถิ่นมีความหมาย ต่อการสร้างสรรค์ ผลงานทุกภาพร่องรอยของฝีแปรงที่พาดผ่าน แต่งแต้มรายละเอียดของภาพ ให้เกิดความเป็นอัตลักษณ์ในตัวเองได้ อย่างน่าชื่นชม

26

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


เคยมีผู้กล่าวไว้ว่า “การเดินทางคือสายตาของนักเขียน” ด้วยความหมาย ของการเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่แปลก ใหม่ และให้มุมมองระหว่างสองทางข้างทางมาเป็นวัตถุดิบ ในการสร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมและถ่ายทอดความ คิดความรู้สึกออกมา ในรูปของผลงานที่ใช้ตัวอักษรเป็น

..สื่อ..

: หัสภพ ตั้งมหาเมฆ

ผลงานจิ ต รกรรมสี น้ ำ ที่ ถูก ถ่ า ยทอดจากทิ ว ทัศ น์ ของสถานที่ ที่ ศิ ล ปิ นเดิ น ทางไปเยี่ ย มเยื อ นผ่ า น ความเชี่ ย วชาญในเทคนิ ค การเขี ย นภาพด้ ว ยสี น้ ำ ที่ สั่ ง ส ม ม า จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น ศิ ล ปะตั ง้ แต่ โ รงเรี ย นเพาะช่ า งและมหาวิ ท ยา ลัยศิลปากร กอปรกับความรักและความตังใจของ ้ ศิลปิ นที่มงุ่ หมายในทักษะของจิตกรรม ทำให้ ภาพ ทุกภาพที่ส้รางสรรค์ขึ ้น เป็ นมากกว่าภาพทิวทัศน์ ธรรมดา ด้ วยเส้ นมีแสงเงาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมุมมองการวางองค์ ประกอบที่งดงามรวมทัง้ นัยของการบันทึกเส้ นทางในชีวิตที่ลกึ ซึ ้งละละเอียด อ่อน สถานที่ได้ รับการบันทึกไว้ เป็ นผลงานจิตรรม นี ้ มีที่มาอันหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ นทิวทัศน์จาก ประเทศจีนลาว เวียดนาม ฟิ ลปิ ปิ นส์ และอิตาลี

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

27


EXHIBITION REVIEWS

บันทึกเส้นทางในจิตรกรรมสีน้ำ

สุรพล แสนคำ

28

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


นิทรรศการ “Water Colour : จิตรกรรมสีน้ำ” จะจัดแสดงที่โรสการ์เด้นแกลเลอรี่ สวนสามพราน ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ ถึงวันจันทร์ที่ 31 มีนาคม 2551

Biography of Direk and some of his works to be exhibited on June 15th., 2011

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

29


EXHIBITION REVIEWS

The Sorrowful Moon

...เงียบ เงียบ พระจันทร์แสนเศร้า ถูกเหล่าเมฆดำขับไล่ แต่จันทร์แสนดื้อไม่ยอมไปไหน.... (บทกวีโดยศิลปิน)

...ฉันเดินทาง ตามเส้นทางของดวงจันทร์ ตามเส้นทางของดวงจันทร์ ประสบหรือพลาดหวัง ตามแต่เงาของท่าน ตามแต่เงาของท่าน...

(เงาจันทร์ โดยอารัษ์ อาภากาศ ดาลใจจาก Moon shadow ของ Cat Steven)

: เริงฤทธิ์ ตรียานุรักษ์

30

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


พระจันทร์แสนเศร้า

Untitle,2006 70*100 cm Oli on paper

โดย เริงฤทธิ์ ตรียานุรักษ์ ณ สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย สาธร1 เป็ นศิลปิ นคนหนึง่ ซึง่ หลงไหลในเสน่ห์ ของดวงจันทร์ เขากล่าวว่าผมไม่ได้ นำเสนอภาพ วาดความงามของธรรมชาติแต่นำเสนอความคิด ที่ มีตอ่ ชีวิต สังคม และธรรมชาติ โดยอาศัยดวงจันทร์ ภูเขา ป่ าไม้ เป็ นตัวละคร จริ งอยูท่ ี่พระจันทร์ เป็ น เพียงเทหะวัตถุบนฟากฟ้าในยามค่ำคืน(ในบางครัง้ ก็ปรากฏตอนกลางวัน) แต่คำถามที่ตามมาก็ คือ ทำไมผู้คนมองไปยีงดวงจันทร์ กลับเกิดความรู้สกึ ไม่วา่ จะเป็ น สุข หรื อ เศร้ า ขึ ้นในหัวใจงานของ เริ งฤทธิ์ เป็ นภาพเขียนสีน้ำมันบนกระดาษ บนแคน วาส และปากกาเคมีบนกระดาษ จำนวน 40 ภาพ ตัวงานของเขานัน่ ไม่ได้ มีพระจันทร์ ปรากฏอยูใ่ น

ภาพทังหมด ้ บางภาพก็เป็ นเพียงบรรยากาศของ บางภาพ ก็เป็ นบรรยากาศ ของความสงบเย็น พระจันทร์ ของเขาแสดงตัวมาใน แบบของแสงเงา สีที่ศลิ ปิ น เลือกใช้ ในงานนอกจากสีดำ ที่เกิดจาก ปากกาเคมีแล้ ว งานนิทรรศการครัง้ นี ้ยังแบ่งการใช้ สีโทนเย็น ซึง่ ตัวศิลปิ นต้ องการให้ เห็นบรรยากาศ ของความสงบยามค่ำคืน และอีกกลุม่ เป็ นสีโทนที่ อุน่ ขึ ้นมา เพื่อแสดงถึงบรรยากาศของพระจันทร์ อบ อุน่ อ่อนโยน สกุลงานนับเป็ นงานในแบบ เอ็กซ์ เพรสชัน่ นิสต์ มุง่ แสดงออกอารมณ์ความรู้สกึ และ บรรยากาศ ที่ศลิ ปิ นสนใจ นอกจากภาพเขียนแล้ ว เริ งฤทธิ์ ยังสื่อสารกับผู้ชมด้ วย บทกวีสนในรู ั ้ ปแบบ

ของ Blank Verse ซึง่ บทกวีเหล่านี ้เอง ที่เป็ นตัวเติม เต็มเรื่ องราว ในภาพเขียนให้ ครบถ้ วน สมบูรณ์ ในหลายบริ บทวัฒนธรรมพระจันทร ์ มักเกี่ยวข้ อง กับความลึกลับ และความเศร้ า อย่างลึกล้ ำโดยตะ วันตกในหลายประเทศ เชื่อว่าคนเรา มักจะกล้ าทำ ในสิง่ ที่ไม่เคยทำในวันพระจันทร์ เต็มดวง หลายเเห่ง เชื่อว่าพระจันทร์ เต็มดวง มีผลต่อความรู้สกึ ทางเพศ ของหญิงสาว ส่วนในโลกตะวันออกเองวันเพ็ญเป็ น วันที่เกี่ยวข้ องกับ ศาสนา และ พิธีกรรมต่าง ๆ สำ หรับโลกของความ เชื่อความศรัทธา พระจันทร์ ไม่ได้ มีผลเพียง แค่การขึ ้นลง ของน้ ำทะเลเท่านัน.. ้

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

31


EXHIBITION REVIEWS

ศิลปะ และการเยียวยาภาวะโลกร้อน : เดือนดาหลา

“โลกอยู่ในภาวะที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน และถึงเวลาแล้วที่มนุษย์ ทุกคนจะต้องรับฟังเสียงของโลกอย่างเอาจริงเอาจัง...”

ความจริ งของโลก ซึง่ เคยเป็ นเรื่ องน่ากลัว ในตอน แรกอาจไม่ใช่เรื่ องน่าวิตกกังวลเท่าใดนัก หากเทียบ กับความใส่ใจของมนุษย์ ที่มีตอ่ โลก แต่สงิ่ ที่นา่ หวาดกลัวมากไปกว่านัน้ คือ การที่มนุษย์ละเลยสิง่ ซึง่ เป็ นเสมือนลมหายใจของตนเอง และเมินเฉยให้ กับสัญญาณความผิดปกติเล็ก ๆ บนโลกกระทัง่ ลืม เลือนความสูญเสียครัง้ ยิ่งใหญ่ ที่เคยเป็ นสัญญาณ เตือนภัยจากโลกว่า มีสาเหตุมาจากสิง่ ใด ... ผลลัพธ์จากความสูญเสีย เหล่านัน้ มนุษย์เรี ยนรู้ เพียงแค่การสร้ างสัญญาณเตือนภัยขึ ้นมา เพื่อลด ความสูญเสียของตนเองลง ในขณะที่โลกได้ สร้ าง สัญญาณเตือนภัย ของตนเองขึ ้นมาเพื่อที่จะบอก กับมนุษย์วา่ โลกก็ได้ สญ ู เสียความสมดุลไปแล้ วเช่น กัน แต่เพราะโลกไม่มีปากเสียง ที่จะสื่อสารบาง อย่างแก่มนุษย์อย่างเราเสียงของโลกจึงแปรเปลี่ยน เป็ นแผ่นดินไหว ที่มีความรุนแรงเกือบ 10 ริ กเตอร์ คลื่นยักษ์ ขนาดความสูง 10 เมตร น้ ำป่ าไหลหลาก ภูมิอากาศแปรปรวน หรื อแม้ กระทัง่ “ภาวะโลกร้ อน” (Global Warming) ในปั จจุบนั ซึง่ กลายเป็ นเสียง เงียบๆ ที่ไม่มีใครอยากได้ ยิน

นิทรรศการศิลปะไทย-อเมริ กนั 2007 Artist&World Enviroment โดยความร่วมมือระหว่าง หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ Califonia Polytechnic Stat University, San Luis Obispo และ SanJose State University คือ เสียงเล็กๆ เสียงหนึง่ ของคน ในวงการศิลปะที่ออกมาสื่อสาร บางอย่างแทนโลก โดยการใช้ งานศิลปะ เป็ นสื่อนิทรรศการศิลปะใน ครัง้ นี ้มีการเวิร์คช็อป ร่วมกันระหว่างศิลปิ นอเมริ กนั และไทย ในประเด็นเกี่ยวกับ “ภาวะโลกร้ อนโดยผล งานศิปละที่ถกู สร้ างขึ ้น จะถูกนำมาจัดแสดงที่หอ ศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรหลังจากนันศิ ้ ลปิ นไทย ก็จะต้ องเดินทางไปเวิร์คช็อป กับศิลปิ นในอเมริ กา อีกครัง้ พร้ อมกับจัดแสดงงานขึ ้นที่ Jim Thomson Art Gallery San Jose Stage University ในรัฐแค ลิฟอร์ เนีย ประเทศสหรัฐอเมริ กา เพื่อเผยแพร่ผล งานศิลปะ ด้ วยความหวัง ที่วา่ งานศิลปะนี ้จะเป็ น อีกสิง่ หนึง่ ที่ชว่ ยกระตุ้นจิตสำนึก ของคนในการรัก ษาสิง่ แวดล้ อมโลก

ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร และ Jim Thomson Art Gallery San Jose Stage University , California , USA

32

FINE ART | มิถนุ ายน 2554


..เมื่ อ คนเราจำเป็ น ต้ อ งทำบางอย่ า ง เพื่อประโยชน์เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือประโยชน์แห่งส่วนร่วมแน่นอนว่า เราอจจำเป็นจะต้องลดอัตตาเล็กๆบาง อย่างของเราลงเพื่อสิ่งที่ซึ่งยิ่งใหญ่และ มีความหมายมากยิ่งกว่า..

“ ในช่วงหลายปี ที่ผา่ นมา โลกได้ ประสบกับปั ญหา สภาวะอากาศที่ผิดเพี ้ยน และเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รุนแรงและรวดเร็ ว ฤดูกาลที่เคยหมุนเวียนเงียบหาย คลื่นความร้ อนแผ่ซา่ นไปทัว่ ทุกมุมโลกปริ มาณหิมะ และน้ ำแข็งละลาย เกิดมหาพิบตั ิภยั ธรรมชาติคร่า ชีวิตผู้คนหมื่นนับแสนทัว่ โลก ...นี่อาจเป็ นเรื่ องจริ ง ที่ฟังดูนา่ กลัว หากแต่เราก็ยงั รู้สกึ ว่า เป็ นเรื่ องที่อยู่ ไกลตัวออกไปมากเกินกว่าที่เราจะเก็บมาวิตกกังวล ให้ หนักสมอง ที่เต็มไปด้ วยคำถามใต้ วิถีแบบทุนนิ ยมจะมีชื่อเสียงในสังคมได้ อย่างไร ? จะรวยด้ วยวิธี ไหน ? และจะกอบโกยสิง่ ใดไปจากโลกมากที่สดุ ใน ช่วงขณะที่ยงั มีชีวิตอยู่ !

FINE ART | มิถนุ ายน 2554

33



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.