History “คลองผดุงกรุงเกษม“
เป็นคลองรอบพระนครชั้นนอก ขุดขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 4) โปรดเกล้าฯให้ขุดเมื่อปี พ.ศ.2394 เนื่องจากมีพระราชดำ�ริว่าบ้านเมืองเจริญขึ้น ผู้คนก็มากกว่าเริ่มสร้าง กรุง ควรขยับขยายพระนครออกไป พัฒนาประเทศให้ก้าวหน้า ตลอดจน อำ�นวยความสะดวกในการเดินทางให้กับราษฎรด้วย
Architecture
“บ้านนนทิ“ อาคารหลักของ “บ้านนนทิ” เป็นอาคารก่ออิฐ ถือปูน 2 ชั้น ปีกอาคารมีทั้งส่วนโค้ง เป็นเหลี่ยมหักมุม และเฉลียงต่างกัน แต่ได้สัดส่วนลงตัว นอกจากประดับ ปูนปั้นเป็นซุ้มหน้าต่าง ยังตกแต่งผนังหัวเสาและระเบียง ตามลักษณะสถาปัตยกรรมยุคเรอเนสซองส์ เหนือกรอบ ประตูเฉลียงติดประติมากรรมรูปหัววัวนนทิการ บาน ประตูไม้สักเป็นบานพับแกะลาย เพดานห้องโถงรับแขกของ “บ้านนนทิ” ประดับ ไม้สักแกะลายเถากุหลาบผสมผลไม้ มีนกวายุภักษ์หันหน้า ชนกัน สีครึมและทอง พื้นสีเขียว ที่มุมขวาเป็นบันไดไม้ สักเล่นระดับ 2 ช่วง แบบลอยตัวไม่มีเสารองรับ แกะ สลักลวดลายสวยงามที่ชั้น 2 ตอนกลางขึ้นไปอีกห้อง ด้านข้างทางเข้าโถงใหญ่เป็นประตูบานพับไม้สักแกะลาย เถาผลไม้หน้าต่างบานเกร็ดทางสี่เหลี่ยมยาว ประดับรูป หัววัวนนทิการที่ด้านบนมุมโถงทรงกลมประตูทางเข้าและ ระเบียงด้านนอกอโศก สำ�หรับภายในเป็นห้องโถงใหญ่ มีไว้ใช้จัดประชุม และงานเลี้ยงมาตั้งแต่อดีต มีทางเชี่อมจากประตูหน้า โถงนอกเป็นช่องสี่เหลี่ยมเชื่อมเข้าโถงในรูปปีกโค้งมน กึ่งกลางเพดานประดับภาพจิตรกรรมแบบตะวันตกเรื่อง
รามเกียรติ์ ภาพทศกัณฐ์ลักนางสีดากำ�ลังต่อสู้กับนกหัส ดายุ ถัดมาประดับไม้สักสลักลายเถาไม้ดอกถึงผนัง ติด ทวยหูช้างไม้สักคู่โดยรอบ ถัดมาเป็นภาพสีเถากุหลาบ ผนังประดับไม้สักแกะลายเถาผลไม้ มีเสาไม้สักตั้งฐานไม้ สี่เหลี่ยมเป็นซุ้มโค้ง ส่วนเพดานห้องโถงด้านนอกเขียน ภาพเมขลาล่อแก้วรามสูร ห้องด้านหน้าปีกซ้ายของอาคาร หลังนี้ผนังมีรูปจิตรกรรมพระรามตามกวาง เพดานห้อง เขียนรูปหมู่กามเทพแบบฝรั่ง นอกจากนี้ยังมีศาลาพักร้อนอีกหลังหนึ่งตั้งอยู่ ข้างอาคารหลักริมคลองผดุงกรุงเกษม ทำ�ด้วยไม้ เป็น ศาลาทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าประดับไม้สลักตามพนักระเบียง เสา และหูช้างรับกับตัวอาคารทั้งสองหลัง พื้นปูนหินอ่อน หลังคามุงกระเบื้องว่าว ชื่อ “บ้านนทิ” สืบเนื่องมาจาก “นนทิ” ซึ่งเป็น นามของวัว “พระนนทิการ” เทวพาหนะของพระอินทร์ ดังปรากฎอยู่ใน “ตราพระมหาเทพทรงพระนนทิการ” ตราประจำ�ตำ�แหน่งเสนายดีกระทรวงวัง ตามหน้าที่ของ เจ้าพระยาธรรมธิกรณาธิบดี ท่านจึงนำ�ตราวัวมาติดเป็น เครื่องหมายอยู่ในสถานที่บางแห่งของบ้านหลังนี้
วั ดสมณานั มบริหาร (วัดญวนสะพานขาว)
เ
มื่ อ เ ข้ า ไ ป ภ า ย ใ น วั ด ญ ว น สะพานขาวแห่ ง นี้ แ ล้ ว หลายคนอาจ จะสงสั ย ว่ า ทำ � ไมวั ด ญวนจึ ง มี รู ป แบบสถาปัตยกรรมแบบวัดจีน ก็ เ นื่ อ ง จ า ก ม ห า ย า น ถื อ กำ � เ นิ ด ม า จากชาวจีนที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบนผืนแผ่นดินไทย ได้นำ�เอา วัฒนธรรม ศาสนา และความเชื่อดั้งเดิมของตนเข้ามาประพฤติปฏิบัติ ชาวญวนก็ได้รับอิทธิพลทางศาสนามาจากชาวจีน ต่อมาเมื่อมีชาวญวนอพยพ เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารด้วยแล้ว ทั้งชาวจีนและชาวญวนจึงได้ร่วมกันสร้าง วัดให้พระสงฆ์อนัมนิกายจำ�พรรษา
วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร พระอุ โบสถของวัดเทพศิรินทราวาส มีขนาดใหญ่และตกแต่งอย่างงดงาม ด้วย ลายรดน้ำ �และซุ้มประตูหน้าต่าง เพดาน สลักรู ปเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระอุ โบสถ เป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธรู ปสำ �คัญหลาย องค์ เช่น พระนิ รันตรายซึ่งเป็ นพระพุทธ รู ปประจำ�รัชกาลที่ 4 ซึ่งอันเชิญมาเมื่อ พ.ศ. 2421 ตามพระราชประสงค์รัชกาล ที่ 4 หน้าบันพระอุ โบสถประดับรู ปตรา พระเกี้ยว ยอดมีพาน 2 ชั้น ตั้งเครื่องสู ง คู่เคียงมีเทพบุตรประคองพานทั้งสองขาง ้ พื้ นลายช่อดอกรำ�เพย ประดับกระเบื้องสี หลังคามุงกระเบื้องเคลือบสี รัชกาลที่ 5 เสด็จทรงก่อพระฤกษ์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรู ปปาง สมาธิ พระพุทธรู ปยืนทรงเครื่อง ปางห้าม สมุทร ปางห้ามญาติ พระพุทธรู ปสำ �ริด ปางมารวิชัย พระประธาน ในพระอุ โบสถ เป็ นพระพุทธ รู ปปางมารวิชัย หล่อสมัยกรุ งสุ โขทัย และ
รู้หรือไม่ ??
อัญเชิญมาประดิษฐานในปี พ.ศ. 2438 จากเมืองพิ ษณุโลก มีประณามว่า “พระ ทศพลญาณ” และมีพระอัครสาวง 2 องค์ นั่ งพั บเพี ยบประนมหัตถ์
ภายในบริเวณกำ�แพงแก้วด้านทิศเหนือของพระอุโบสถมี “ต้นพระศรีมหาโพธิ์” อายุกว่า 140 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญมาปลูกไว้ตั้งแต่คราวสร้างวัดเทพ ศิรินทราวาสราชวรวิหาร ตั้งแต่เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2420
หากมองย้อนกลับไปในหน้าประวัตศ ิ าสตร์ของคลองผดุงกรุงเกษม
จะพบว่า คลองสายนีเ้ ป็นคลองเมืองชัน ้ นอกทีม ่ ค ี วามสำ�คัญมากมาตัง้ แต่ ส มั ย เมื่ อ แรกขุ ด ในช่ ว งรั ช กาลที่ ๔ เพราะทำ � ให้ เ กิ ด ชุ ม ชนซึ่ ง มี วั ด
เป็ น ศู น ย์ ก ลางเรี ย งรายไปตลอดตามแนวคลองเพิ่ ม มากขึ้ น กว่ า ก่ อ นนอกจากนั้ น คลองผดุ ง กรุ ง เกษมหรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า “คลอง
ขุ ด ใหม่ ” สายนี้ ยั ง มี ค วามสำ � คั ญ ต่ อ การสั ญ จรและการค้ า ขาย
ชุมชนอิสลาม การอยู่อาศัยของชาวอิสลามในมัสยิดมหานาคแห่งนี้ มีความ
เป็นอยู่แบบทำ�กิจกรรมประจำ�วันเกือบทุกอย่างในชุมชน โดยชุมชนแห่ง
นี้เป็นทั้งที่อยู่อาศัยและการประกอบออาชีพ มีการค้าขายอยู่หน้าบ้าน ของตนเอง มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนบำ�รุงอิสลามวิทยาให้กับ
คนในชุมชนได้เรียนหนังสือ อีกทั้งยังมีกุโบร์อยู่ในชุมชนอีกด้วย ผู้คน
ที่อาศัยอยู่ในชุมชนแห่งนี้ส่วนใหญ่จะเกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่ในนี้ทั้งสิ้น
ตลาดโบ๊เบ๊ การอยู่อาศัยของคนในชุมชนแห่งนี้ส่วนใหญ่จะเป็น ชาวพุทธ มีการประกอบอาชีพค้าขายเป็นหลัก โดยส่วนใหญ่จะขาย เสื้อผ้า การค้าขายของคนในละแวกนี้จะตั้งขายอยู่บริเวณริมถนน เลียบคลองมหานาค(ถนนกรุงเกษม)
โดยจะเปิดขายตั้งแต่เวลา
03.00 - 16.00 น. การพักอาศัยของคนละแวกนี้จะกระจัดกระจาย กั น อยู่ ร อบๆคลองผดุ ง กรุ ง เกษมและอาคารบ้ า นเรื อ นถู ก ปลู ก สร้างมานานกว่ากว่า 100 ปี โดยสิ่งปลูกสร้างจะมีทั้งอาคาร พาณิชย์และบ้านเรือนไม้
เดินไป ... ชิมไป ที่นี่...
ตลาดมหานาค
ตลาดมหานาค (ตลาดผลไม้) ตั้งอยู่ บริเวณทางเดินเข้าคลองมหานาค เป็น ตลาดขายส่งผลไม้หลากหลายชนิด จะเริ่มขายผลไม้ในช่วงเวลา 01.00 น. เป็นต้นไป ส่วนใหญ่จะเป็นผลไม้ที่ มีตามฤดูกาล ราคาไม่แพง มีทั้งขาย ปลีกและขายส่ง คลองมหานาค นี้เป็นเส้นทาง สัญจรทางน้ำ�อันสำ�คัญของคน กรุงเทพมหานครในสมัยก่อน เพราะ เราสามารถเชื่อมต่อคลองรอบกรุงไป ออกแม่น้ำ�เจ้าพระยา หรือเชื่อม คลอง แสนแสบ ที่ขุดในสมัยรัชกาลที่ 3 ไป ได้ไกลถึงแม่น้ำ�บางประกง จังหวัด ฉะเชิงเทราเลย บริเวณคลองมหานาคจึงกลายเป็น จุดขายสินค้าโดยเฉพาะสินค้าเกษตร แหล่งใหญ่ เรียกว่า “ตลาดมหานาค”
Liquas exeriberatem incto beaqui re la intissint
ลิ้มรส...
1
ทริป เส้นทาง การเดินทาง มิตรภาพ การเดินทางสู่ปลายทาง บางคน สนใจเพียงจุดหมายปลายทาง บาง คนสนใจเรื่องราวระหว่างทาง แต่ละคนย่อมมีจุดหมายที่ต่างกัน สำ�หรับกลุ่มเราคงอยู่ที่เรื่องราว ระหว่างทางซึ่งมีเยอะมาก จาก หน้าก่อนๆคงพอรู้กันบางแล้วว่า พวกเราไปที่ไหนกันบ้าง คอลัมภ์นี้ ขอนอกเรื่องบ้างละกันครับ มายั่ว
น้ำ�ลายเพื่อนๆนักอ่านดีกว่า กับเมนู อาหารที่หลายหลาย จากคลองผดุง กรุงเกษมเรียบทางเดินมาตลอดฝั่ง คลองสู่คลองมหานาค จะมีตลาด เรียบคลองขายเสื้อผ้า แต่จุดสนใจ ของเราไม่ได้อยู่ตรงนั้น กลุ่มพวก เรานี้มุ่งตรงไปที่อาหารสิครับ เคย ได้ยินนะครับ “กองทัพต้องเดินด้วย ทอง” กลุ่มเราเหมาะกับข้อความนี้ จริงๆ กับที่นี้เลย ตลาดมหานาค ตลาดส่งออกผลไม้แห่งใหญ่ที่สุด ในย่านนี้ แต่ที่นี้ไม่ได้มีดีแค่ผลไม้ อาหารคาว หวาน ของที่นี้ก็ใช่ย่อย นะครับ อาหารการกินระร่านตา มากๆครับ ขอบอกก่อนเลย ไม่เชื่อ ดูที่รูปได้เลยครับ ตลาดที่นี้มีสินค้า
ของกิน... ...ของเบ็ดเตล็ด
odi occus natur? Quiate sam,
หลากหลาย...ไปอีก!!
andel erspero molupicit aut et
quo exped mo voluptatus.
ra sa vent. Pa quo dolesectium
Offic te pe parions equisit
et venihil ibuscil isquam sumet
eiunt, cumqui bea sentior
aut qui que non cus doloribust
ehenihit hicatia sin preiciati
dolo cum sed estrum facea
odignim faccum, cus. Ones
vendest, officipsunt et
solo beature.odi occus natur?
dolorum ilibusam, non nem
Quiate sam, andel erspero
et que nihitis exeribus peratur
molupicit aut et ra sa vent. Pa
rem assit ulparupta verempor
quo dolesectium et venihil
amusdaest apernam nestibus,
ibuscil isquam sumet aut
ommolende remporum venem
qui que non cus doloribust dolo cum sed estrum facea
ก้าวเท้าเดินเข้าสู่ตลาด กลิ่นหอมชวนหิว ก็ลอยมาแต่ไกลเลยทีเดียว ปลาหมึกย่าง ลูกชิ้นย่าง ไก่ย่าง กระเป๋าตังค์ผมนี้แถบ จะแฟ้บ แบนราบตั้งแต่ทางเข้าตลาด กันเลยทีเดียว แค่ร้านแรกก็แถบจะอิ่ม กันเลยทีเดียว เดินต่ออีกสักหน่อย โอ้ โห้!! เป็ดตัวใหญ่ๆถูกแขวนเรียงราย ชวน น้ำ�ลายไหลเลยเกิน แต่ต้องอดใจไว้ก่อน สงสารกระเป๋าสตางค์ ฮ่าๆ เดินเรียบ ถนนไปก่อนยังมีอีกหลายร้าน พอเลี้ยว เข้าซอยเท่านั้นแหละป้าร้านขายน้ำ�เรียก ไปถามกันเลยทีเดียว “มากจากรากการ ไหนจ่ะ” ฮ่าๆ ผมนักศึกษาครับป้า เลย
พ่อค้าแม่ค้าที่ดีก็เป็นกันเองมากนะ คุณ ยายร้านหนึ่งถูกผมแอบถ่ายรูป พอแกรู้ตัว แกพูดออกมาเลย “บอกยายก่อนสิหลาน ยายอยากสวย” ฮ่าๆ ชอบคุณยายมากๆ เลย แต่ชอบรูปแอบถ่ายมากกว่า คุรยาย ดูจริงจังดี ผลไม้ของตลาดมหานาคน่าซื้อ มากๆ สด น่ากิน สำ�คัญ มันเยอะมากๆ แตงโม ลูกใหญ่ ใหญ่จริงๆ แก้วมังกร ส้ม ของโปรผมทั้งนั้น แต่วันนั้นถ้าจะซื้อก็ คงไม่สะดวก งั้นไว้วันหลังละกัน เดินต่อ ไปอีกสักพัก ไปเจอกล้วทอด หอมมากๆ อดใจไม่ไหวละ ชิมซะหน่อย เพื่อนใน กลุ่มซื้อกัน 4-5 คนเลย คงเริ่มหัวกันอีก
จากคลองผดุงฯ มุ่งสู่ตลาดมหานาค ย่านนี้ก็เป็นย่านเศรษฐกิจและเต็มไปด้วย ประวัติศาสตร์อีกแห่งหนึ่ง คลองที่ขุดด้วยมือ ชุมชนที่มากไปด้วยวัฒธรรม ต่างเชื้อชาติต่าง ศาสนา อยู่ร่วมกันภายใต้คำ�ว่า คนไทย ในละแวกคลองผดุงกรุงเกษม สู่คลองมหานาค มีความหลากหลายวัฒนธรรม ผู้คน สังคม พุทธ คริตซ์ อิสลาม คนไทย ต่างชาติ พบได้ ทั้งหมดในบริเวณนี้ ด้วยเป็นชุมชนที่มีความ เก่าแก่ มีประวัติและความเป็นมาที่ยาวนาน ปัจจุบันย่านนี้จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง แห่งหนึ่ง “ตลากโบ้เบ๊” ตลาดที่ทุกคนเคยได้ยิน และคุ้นชินเป็นอย่างดี ตลาดมหานาค ตลาก ค้าผลไม้ขนาดใหญ่ ศูนย์รวมของกิน ของใช้ที่ หลายหลาย มัสยิดมหานาคแห่งชุมชนอิสลาม บ้านนนทีบ้านที่เต็มไปด้วยเรื่องราว วัดเทพศิริน ทราวาสราชวรวิหาร วัดแห่งความวิจิตรงดงาม อยากรู้ที่นี้เป็นอย่างที่พวกเราเล่าหรือเปล่า เชิญ มาสัมผัสกับวัฒนธรรม และผู้ของที่ี้ได้ รับรอง เลยว่า คุณจะชอบวิถีชีวิตคนกรุงที่เรียบง่าย แบบดั้งเดิม “ต้องลอง ถึงจะรู้ แล้วคุณจะชอบ”
Meet the Master Q : หลักการ ธรรมเนียมปฏิบัติของศาสนา อิสลาม มีวิธีปฏิบัติอย่างบ้าง? A : หลักการของศาสนาอิสลามละหมาด วันละ 5 เวลา คนนับถืออิสลาม คนพิการ คนป่วย คนแข็งแรงไม่มีข้อยกเว้นต้องทำ� ทั้งหมด ถือหลักปฎิบัติเป็นเสาหลักของ ศาสนา วิธีการจัดแถวละหมาดจัดแถว แยกชายหญิงชัดเจน คนอยุ่แถวหน้าผล บุญมากสุดแถวหลังผลบุญน้อยลงลดหลั่ง ตามไป ผู้หญิงที่ยืนแถวหน้าผลบุญน้อย กว่าที่อยุ่แถวหลัง ทำ�เพื่อแยกให้เกิดความ ชัดเจน ผู้หญิงจะมายืนแถวเท่าผู้ชายไม่ ได้ ต้องยืนถัดจากแถวผู้ชาย ถ้ามัสยิดที่มี พื้นที่จะแยกพื้นที่เลย ในการใช้ชีวิตจะไม่อนุ ญาติให้อยู่ร่วมกันไม่ว่าจะแต่งงานหรืออยู่ ด้วยกันกัน ลองสังเกตผู้หญิงต้องแต่งตัว ให้มิดชิดคลุมทุกอย่างเปิดได้เฉพาะใบหน้า กับฝ่ามือเท้าต้องใส่ถุงเท้า นี่คือการแต่ง กายที่ถูกต้องเช่นนี้ การละหมาดต้องแยก กัน มีผ้าปิดไม่ให้ผู้ชายเห็น เพราะการใช้ ชีวิตประจำ�วันต้องแยก แต่อาจจะเห็นการ ใช้ชีวิตร่วมกันไม่เป็นไรแต่ต้องแต่งกายให้ มิดชิดเปิดได้เฉพาะใบหน้า คนที่ไม่คลุมก็ได้ เป็นสิทธิ์ของเค้า ก็จะได้รับผลบุญตามนั้น ถ้าต้องการไกล้ชิดพระเจ้ามากขึ้นก็จะคลุม ใบหน้า ก่อนละหมาดต้องชำ�ระร่างกายให้
Q : จากคำ�ที่ว่า คนอยุ่แถวหน้าผลบุญ มากสุด แล้วจะมีการแย่งที่นั่งข้างหน้า กันมั้ยคะ? A : ไม่มีแย่งที่ ถ้าเกิดผุ้นำ�หรืออีหม่าม เป็นลมคนที่อยู่ข้างหลังจะทำ�หน้าที่แทน คือจะต้องเป็นคนที่มีความรุ้ ถ้าอีหม่า มอ่านผิดก็จะมีคนเตือน เตือนเป็นภาษา ไทยไม่ได้ ต้องเตือนเป็นภาษาอาหรับ โดยการพูด แล้วก็จะรุ้ว่าผิด ถ้าเป็นผุ้ หญิงเค้ามะให้พูดต้องตบเท้า เค้าก้อจะ รุ้ตัวเองแล้วว่าผิด
Q : การละหมาดวันละ 5 เวลาลำ�บากรึ ปล่าวคะ? A : วันละ 5 เวลาลำ�บากรึปล่าว แต่จริงๆ การละหมาดไม่ได้เบียดเบียนการใช้ชีวิตเลย 15 นาทีเท่านั้นในแต่ละครั้ง ถ้าทำ�จนเคยชิน แล้วไม่ได้ทำ�จะไม่สบายใจ เหมือนเราไหว้ พระ พอทำ�แล้วจะสบายใจ แล้วถ้าสังเกต อิสลามจะไม่มีรุปปั้น แล้วเค้าจะไหว้ไคร? เค้า มีพระอัลเลาะห์เป็นเจ้า แต่เค้าจะไม่มีให้เรา เห็น แล้วทิศทางของมัสยิดก็ต้องหันไปทาง ทิศตะวันตกเพราะกะอบะฮอยู่ซาอุดิอาระเบีย เลยหันไปทางทิศตะวันตกเพราะไทยอยู่ทิศ ตะวันออกของซาอุดิอาระเบียที่เป็นที่ตั้งของ วิหาร
Q : ป้ามาอยู่ที่นี่ได้นานรึยังคะ? A : ป้าอยู่มา 40 ปีแล้ว Q : เมื่อนานมาแล้วที่ตรงนี้เมื่อ อดีดกับปัจจุบันต่างกัน มากมั้ยคะ? A : ก่อนหน้านั้นกับตอนนี้ ก็เหมือนเดิมไม่มีอะไรเปลี่ยน ไปมาก ตึกรางบ้านช่องก็ยัง คงเหมือนเดิม มัสยิสตอนที่มา อยู่เป็นยังไงก็เป็นอย่างนั้น แถวๆนี้คนอายุเยอะๆก็เต็มไป หมด ลองไปที่สุสานดู ร่มรื่น มากอยู่ห่างจากนี่ไม่ไกลมาก เดินไปแปบเดียวก็ถึงแล้ว ร่มรื่นมาก
Q : ป้ามาอยู่ที่นี่มานานแล้วหรือยังคะ? A : ป้าก็อยุ่ข้างคลองผดุงกรุงเกษมมา 20 ปีแล้ว Q : เมื่อก่อนคลองผดุงกรุงเกษมเป็นอย่างที่เราเห็นกัน ในปัจจุบันหรือไม่? A : เมื่อตอนนั้นตรงที่กั้นตลิ่งยังไม่ได้หล่อปูนเลย พึ่ง ทำ�ที่กั้นตลิ่งได้ 9 หรือ 10 ปีเอง Q : บ้านที่ป้าอยู่นี้ซื้อมาตั้งแต่ตอนที่ป่ามาอยู่เลยหรอ คะ? A : บ้านที่ป้าอยู่นี้เป็นบ้านเช่าของข้าราชกาล เป็นบ้าน ทรงเก่ามีนานก่อนป่ามาอยู่แล้วหล่ะ Q : ยังมีเรือผ่านที่คลองผดุงกรุงเกษมนี้อยู่ใหม? A : ณ ปัจจุบันไม่ได้มีเรือผ่านแล้ว ยกเว้นเรือที่เค้ามา ทำ�ความสะอาด เมื่อก่อนยังมีพวกเรือขนส่งสินค้าผ่าน Q : น้ำ�ที่คลองผดุงกรุงเกษมนี้เมื่อก่อนเน่าเหมือนป ปัจจุบันรึปล่าว? A : น้ำ�เมื่อก่อนเน่ายังไงวันนี้ก็เน่าอย่างนั้น Q : แล้วตอนใช้ชีวิตประจำ�วันเหม็นใหม? A : ป้าก็ชินแล้ว แต่ถ้ามีเรือวิ่งผ่านเอาตะกอนขึ้นมาก ลิ่นก็จะโชยมาทำ�ให้รู้สึกได้
รายชื่อสมาชิก
1. นายกุลวีร์ แม้นวงศ์ 56080502269 2. นายคณิศร แสนผูก 56080502270 3. นายกชกานต์ ดีรักษา 56080502271 4. นายวิรุศ กล้าแข็ง 56080502286 5. นางสาวหทัยชนก กลิ่นน้อย 56080502293 6. นางสาววนิดา อุปมัย 56080502324 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี GEN 441