ตามรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
จั ด พิ ม พ์ เ พื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ เนื่ อ งในวโรกาสพระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๗ รอบ
ตามรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
บทอาศิ ร วาท สั ท ธราฉั น ท์ ๒๑
สรวมชีพกราบองค์นรินทร ขวัญประชากร คือองค์บดีจรูญเรือง บรรลุลือเลื่อง ทวยราษฎร์ลำบากเผชิญภัย ทุกข์ปลาตไกล “บ้านม้งแม่สา” เสด็จยล ภูสลับวน พงไพรพฤกษ์พรรณ ธ ผันผ่าน นำเกษตรสาร ทรงธรรมทรงคุณพิทักษ์แคว้น พฤกษหนุนแน่น จักตามรอยบาทพระภูธร ทำนุนาคร
พระภทรอดิศร จรัสเมือง กรณิยกิจเนื่อง ประเทืองไทย ธ วินิจฉยไข เจริญชน สิขรและพนสณฑ์ ทุกันดาร วิริยอุทิศการ ณ “ม้ง” แดน พิจรณสุขแผน สถาพร วิปุรณะกสิกร นิรันดร์กาล
ด้ ว ยเกล้ า ด้ ว ยกระหม่ อ ม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า องค์การบริหารส่วนตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรทิพย์ คำดี : ประพันธ์)
ตามรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
คำนำ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นดินแดนในฝัน (Land of the dream) ซึ่งมี อารยะธรรมอั น รุ่ ง โรจน์ มี อ ายุ เ ก่ า แก่ น านนั บ กว่ า ๔๐๐ ปี ห่ า งจากที่ ว่ า การอำเภอแม่ ริ ม ประมาณ ๑๖ กิโลเมตร เดิมเป็นหมู่บ้านหนึ่ง ที่ขึ้นอยู่กับอำเภอสะเมิง ต่อมายกฐานะเป็นตำบลเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ มีพื้นที่ทั้งสิ้น ๕๒.๒๐ ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๑๐ หมู่บ้าน ทิศเหนือติดกับ ตำบลแม่แรมอำเภอแม่ริมและตำบลสะเมิงเหนืออำเภอสะเมิง ทิศใต้ติดกับตำบลบ้านปงอำเภอหางดง ทิ ศ ตะวั น ออกติ ด กั บ ตำบลแม่ แ รมอำเภอแม่ ริ ม และตำบลสุ เ ทพอำเภอเมื อ ง ทิ ศ ตะวั น ตกติ ด กั บ ตำบลสะเมิงเหนือและตำบลสะเมิงใต้อำเภอสะเมิง ภูมิประเทศเป็นภูเขาสลับกับพื้นที่ราบเชิงเขา มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ สวยงามซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำแม่สา มีภูมิอากาศที่หนาวเย็นเกือบตลอดทั้งปี พื้นที่ส่วนใหญ่ เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ลิ้นจี่ พริกหวาน ซาโยเต้ ดอกกุหลาบ ดอกเบญจมาศสตรอเบอร์รี มะเขือเทศ นอกจากนี้รายได้ของชุมชนมาจากการท่องเที่ยว และการค้าขาย
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลโป่งแยง ประกอบด้วยชาวไทยพื้นราบและชาวเขา เผ่ า ม้ ง มี ค วามหลากหลาย ทางวั ฒ นธรรมและประเพณี ต่ า งก็ มี ค วามโดดเด่ น
เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชาว “ม้ง” และชาวไทยพื้นราบที่อยู่ร่วมกัน ด้ ว ยความรั ก และความเข้ า ใจ ตั้ ง แต่ วั น วานจนถึ ง วั น นี้ นั้ น ทุ ก คนต่ า งตระหนั ก ดี ว่ า สายใยแห่งสัมพันธภาพเกิดขึ้นได้ด้วยพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระองค์มีพระมหากรุณาธิคุณเป็นอเนกประการ เพื่อทรง บำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ชาวเขาในพื้นที่บ้านม้งแม่สา หนังสือ “ตามรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา” จึงจัดพิมพ์ขึ้น ด้วยความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ ขอขอบคุณบุคคลผู้อนุเคราะห์ข้อมูลความรู้ ผู้แต่งหนังสือและเอกสารรวมทั้ง
ผู้มอบภาพถ่ายทุกภาพให้ฝ่ายจัดทำหนังสือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขอขอบคุณชาวม้งทุกคน เป็นอย่างสูง คุณูปการของหนังสือเล่มนี้มีคุณค่าอันยิ่งใหญ่ ในการสร้างความรักชาติรักแผ่นดินไทย อันเป็นที่รักของคนไทยทั้งมวล องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบลโป่ ง แยง อำเภอแม่ ริ ม จั ง หวั ด เชี ย งใหม่
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
สารบัญ
๙
ปฐมบท : ม้งแม่สา เทิดไท้ ๘๔ พรรษา
๒๓
๒ : บรรพชนม้งและหมู่บ้านม้งแม่สา
๓๕
๓ : ตามรอยพระบาทยาตรา
๙๓
๔ : ด้วยเปี่ยมล้นพระเมตตา
๑๑๓
๕ : กลั่นจิตฝากถ้อยร้อยคำถวาย
๑๒๗ ๑๔๐
“ม้งแม่สา จึงมีวันนี้”
ปัจฉิมบท : จักตามรอยพระบาทยาตรา บรรณานุกรม
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ปฐมบท :
ม้งแม่สา เทิดไท้ พรรษา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑ : หลังจากได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งกรุงสยาม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือครั้งแรก เมื่อ ปีพุทธศักราช ๒๕๐๑
สั ง คมไทยเป็ น สั ง คมแห่ ง ความสุ ข ความร่ ม เย็ น นั บ เป็ น เวลายาวนาน ด้ ว ยพระบารมี แ ห่ ง
องค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามิ น ทราธิ ร าช บรมนาถบพิ ต ร พระองค์ ท รงเป็ น มหาราชผู้ เ ป็ น ที่ รั ก ยิ่ ง ของพสกนิ ก ร
ดังพระสมัญญานาม “สมเด็จพระภัทรมหาราช”
นับแต่วนั ที่ ๕ เดือนพฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ วั น ที่ มี ก ารตั้ ง พระราชพิ ธี บ รมราชภิ เ ษกตามแบบอย่าง โบราณราชประเพณี ณ พระที่ นั่ ง ไพศาลทั ก ษิ ณ ใ น พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ป ฎิ บั ติ พระราชกรณี ย กิ จ เพื่ อ ทรงบำบั ด ทุ ก ข์ บ ำรุ ง สุ ข แก่
พสกนิกรอย่างอเนกอนันต์ จนเกิ น สรรคำพรรณนาได้ 10
ครบถ้วนสมบูรณ์ น้ำพระทัยของพระองค์เป็นที่ประจักษ์ แก่ ผ องชนทุ ก หมู่ เ หล่ า ในทุ ก ด้ า วแดน ทรงปฎิ บั ติ พ ร ะ อ ง ค์ ต า ม พ ร ะ ป ฐ ม บ ร ม ร า ช โ อ ง ก า ร ที่ ว่ า “เราจะครองแผ่ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข
แห่งมหาชนชาวสยามโดยแท้จริง”
ภาพที่ ๒ : การเสด็จประพาสต้นบนดอย ทรงฉลองพระองค์ในชุดเครื่องแบบทหาร เตรียมพร้อมสำหรับพื้นที่ป่าเขาลำเนาไพร บ่ อ ยครั้ ง พระองค์ ป ระทั บ นั่ ง ร่ ว มกั บ ราษฎร พร้ อ มกั บ มี พ ระราชปฏิ สั น ถารกั บ ทุ ก คนด้ ว ยความสนพระราชหฤทั ย
และทรงตระหนักในคุณค่าความเป็นมนุษย์ของราษฎร
การเสด็ จ ประพาสต้ น บนดอย”เป็ น ราชกิ จ ประการหนึ่ ง ที่ แ สดงถึ ง พระราชปณิ ธ านใน การครองแผ่นดินโดยธรรมของพระองค์ ซึ่งเป็นที่ประทับใจในกลุ่มอาณาประชาราษฎร์ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ พระบรมฉายาลักษณ์ขณะเสด็จประพาสต้นบนดอยก่อให้เกิดความปิติยินดีและซาบซึ้งใน น้ำพระทัย พระองค์ ท รงพระดำเนิ น ไปตามพื้ น ที่ บ นดอย ซึ่ ง พื้ น ที่ บ างแห่ ง ขรุ ข ระยากแก่ ก ารสั ญ จร พระองค์ ท รงพระดำเนิ น ด้ ว ยพระทั ย มุ่ ง มั่ น เพื่ อ ทอดพระเนตรความเป็ น อยู่ ข องราษฎร ทรงฉลอง พระองค์ในชุดเครื่องแบบทหารที่พร้อมสำหรับพื้นที่ป่าเขาลำเนาไพร บางพื้นที่เมื่อเสด็จถึง พระองค์ จะประทับนั่งร่วมกับราษฎรในพื้นที่พร้อมกับมีพระราชปฏิสันถารกับทุกคนด้วยความสนพระราชหฤทัย ทรงตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ความเป็ น มนุ ษ ย์ ข องราษฎร ทรงห่ ว งใย และสังเกตสภาพพื้นที่การดำเนินชีวิต สภาพการต่ อ สู้ กั บ ภั ย ธรรมชาติ การต่ อ สู้ ฝ่ า ฟั น อุ ป สรรคในการทำมาหาเลี้ ย งชี พ ของราษฎร ด้ ว ยน้ ำ พระทั ย ที่ ท รงคำนึ ง ถึ ง ความผาสุ ก ของราษฎร ดั ง เช่ น เวลาและเหตุ ก ารณ์ อั น หลากหลาย ที่ผันผ่านทำให้ทุกคนประจักษ์ในน้ำพระทัยที่ว่า “ทุกข์ของราษฎร คือ ทุกข์ของพระองค์ 11
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๓ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จนมัสการพระธาตุดอยสุเทพ ระหว่างที่ประทับอยู่เชียงใหม่ คราเสด็จเยี่ยมประชาชน
หัวเมืองฝ่ายเหนือเป็นครั้งแรก เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๑
ภาพที่ ๔ : บรรดาสาวงามช่ า งฟ้ อ น แสดงถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างที่ประทับ ณ จังหวัดเชียงใหม่
ภาพที่ ๕ : พระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จพระราชดำเนินจากพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ มาประทับแรม
ณ ดอยแม่สา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๗
12
ภาพที่ ๖ : จากการเสด็ จ ประพาสต้ น บนดอย พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว
ทรงก่อตั้งมูลนิธิโครงการหลวงขึ้น เพื่อช่วยชาวเขา ช่วยชาวเรา และช่วยชาวโลก
จากการเสด็ จ ประพาสต้ น บนดอยที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น จึงก่อให้เกิดโครงการหลวงในภาคเหนือ ดังบทสรุปในหนังสือ ชื่ อ ประพาสต้ น บนดอย ของคณะกรรมการอำนวยการจั ด งานฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ ๕๐ ปี (๒๕๕๐ : ๑๖–๑๙) ซึ่ ง กล่ า วว่ า เดิ ม โครงการหลวงเป็ น โครงการส่ ว นพระองค์
อย่างแท้จ ริ ง ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น พระองค์ ท รงบริ จ าคพระราชทรั พ ย์ ส่ ว นพระองค์ เพื่ อ พิ สู จ น์ ท ฤษฎี ดูแลอธิปไตยของประเทศที่ สำคัญเป็นอย่างยิ่ง คือ ความผาสุกของราษฎร โดยพระองค์ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี รับสนอง แนวพระราชดำริ และทรงดำรงฐานะ “ประธานโครงการหลวง” จนประสบความสำเร็จและก้าวหน้า และในที่สุดได้เปลี่ยนจาก โครงการหลวงเป็น “มูลนิธิโครงการหลวง” เมื่อ พุทธศักราช ๒๕๓๕ โครงการนี้ จึ ง แสดงถึ ง พระราชวิ สั ย ทั ศ น์ ข องพระองค์ อย่างชัดเจน ในการตระหนักถึงการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
13
ภาพที่ ๗ : หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๘ : พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงยึ ด หลั ก แห่ ง
ภู มิ สั ง คม เข้ า ใจคน เข้ า ใจพื้ น ที่ เคารพภูมิปัญญาของคนในพื้นที ่
ภาพที่ ๑๐ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงช่วยเหลือชาวเขา เพื่อให้ ชาวเขาช่วยเหลือตัวเอง
พ ร ะ อ ง ค์ จึ ง ท ร ง เ ป็ น ยิ่ ง ก ว่ า พระมหากษั ต ริ ย์ ด้ ว ยทรงยึ ด หลั ก แห่งภูมิสังคม ทรงเข้าใจคนในพื้นที่ ท ร ง ศึ ก ษ า ภู มิ สั ง ค ม ข อ ง พื้ น ที่
อย่างละเอียด นั่นคือ ลักษณะพื้นที่ ทางกายภาพและสังคม วัฒนธรรม ของผู้คน การเคารพภูมิปัญญาของ คนในพื้ น ที่ ย่ อ มส่ ง ผลให้ การพัฒนา เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และเป็นไป อย่างมั่นคงยั่งยืน
ภาพที่ ๙ : หลั ก การพั ฒ นาของพระองค์ ทรงศึกษาลักษณะพื้นที่ทางกายภาพ สังคม วั ฒ นธรรม เพื่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาบรรลุ ต าม วัตถุประสงค์ และเป็นไปอย่างยั่งยืน
ภาพที่ ๑๑ : โครงการหลวง ส่งเสริมให้ชาวเขามี อาชีพ มีรายได้ จากการปลูกพืชทดแทนการปลูก พืชเสพติด
14
ภาพที่ ๑๒ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริให้ แยกพื้นที่ป่าออกจากพื้นที่ทำกิน
15
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๔ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีความมุ่งมั่นและสนพระราชหฤทัย ต่อการทดสอบ–สาธิต การปลูกพืชที่จะนำมา ทดแทนการปลูกพืชเสพติด เพื่อสร้างอาชีพแก่ชาวเขา
ภาพที่ ๑๓ : หลั ก การทำงานโครงการหลวง ให้ ยึ ด หลั ก
การลดขั้นตอน เน้นให้พึ่งตนเอง ปิดทองหลังพระ
พระราชวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละแนวพระราชดำริ ท ำให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านในโครงการหลวงมี ห ลั ก การทำงาน อาทิ การลดขั้ น ตอน การทำอย่ า งรวดเร็ ว การเน้ น ให้
พึ่ ง ตนเอง การปิ ด ทองหลั ง พระ หลั ก การนี้ น ำไปสู่
วิธีการทำงานที่สำคัญ คือ การประสานงานและร่วมมือ การบุ ก เบิ ก และทดสอบสิ่ ง ใหม่ ๆ การกำหนดทางเลื อ ก และการสร้างจิตสำนึกของชาวเขาบนพื้นที่สูง 16
ดังจะเห็นได้จากกระแสพระราชดำรัสพระราชทานในโอกาสที่ผู้อำนวยการโครงการหลวงนำคณะบุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าทูลเกล้าละอองธุลีพระบาทถวายเงินเพือ่ พระราชทานแก่โครงการหลวง ณ พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ วันเสาร์ที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ (ประพาสต้นบนดอย, ๒๕๕๐: ๒๐) โครงการหลวงนี้เริ่มต้นด้วยกิจการเล็กๆ น้อยๆ และได้ขยายขึ้นมาด้วยการสนับสนุนของทางราชการและ ทางเอกชนร่วมกัน ซึ่งส่วนมากงานแบบนี้จะทำได้ลำบาก เพราะว่า ถ้าเป็นส่วนราชการก็จะต้องทำตามระเบียบ ราชการ ซึ่งล่าช้าไม่ทันการ ถ้าเป็นภาคเอกชนก็อาจไม่มีกำลังพอ การร่วมกันจึงเป็นวิธีที่ทำให้เกิดผล ผลนั้นก็ดัง ที่ ท่ า นทุ ก คนได้ เ ห็ น ประจั ก ษ์ แ ล้ ว ทำให้ ค นในภาคเหนื อ นี้ ทั้ ง ที่ อ ยู่ บ นภู เ ขา ทั้ ง ที่ อ ยู่ ใ นที่ ร าบได้ รั บ การสนั บ สนุ น และสงเคราะห์ ช่วยให้พัฒนาตนเองขึ้นมา โดยทำให้ สิ่งที่เป็นปัญหาลดลงไป สิ่งที่เป็นปัญหานั้นก็ทราบกันทั่วไปว่า ในภาคเหนือนั้นมี ปั ญ หาเกี่ยวข้องกับยาเสพย์ติด การผลิตวัตถุดิบของยาเสพย์ติด ซึ่งโครงการหลวงก็สามารถลด จำนวนของยาเสพย์ติดนี้ลงไปอย่างเห็นได้ชัด และนอกจากนี้ ก็ลดภัยของความเข้าใจผิดในระหว่างประชาชนบนภูเขา และประชาชนในที่ ร าบ ทำให้ มี ค วามร่ ว มมื อ อย่ า งดี ทั้ ง ทำให้ ค วามเป็ น อยู่ ข องประชาชนทั้ ง หมดนี้ มี ฐ านะดี ขึ้ น เป็นผลให้ประเทศมีความเจริญเป็นส่วนรวมและมีความปลอดภัยมั่นคงในที่สุด” 17
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
“ม้ ง แม่ ส า” เป็ น พื้ น ที่ ส ำคั ญ อี ก แห่ ง หนึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ
พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ตั้งแต่ครั้งเสด็จประพาสต้นบนดอย จนถึงการเกิดขึ้นของ มูลนิธิโครงการหลวง พระองค์ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เพื่ อ “ม้ ง แม่ ส า” จนมี ค วามเจริ ญ ในด้ า นต่ า งๆ ทั้ ง การศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การเสด็จเยือน พื้ น ที่ “ม้ ง แม่ ส า” ก่ อ ให้ เ กิ ด พื้ น ที่ สี เ ขี ย วแห่ ง ความอุ ด ม สมบู ร ณ์ พื้ น ที่ ที่ มี ก ารป้ อ งกั น การทำลายป่ า ต้ น น้ ำ มีการปลูกป่าทดแทน เลิกการโยกย้ายที่ทำกิน ไม่ทำลายป่า ร่วมกันดูแลรักษาสายน้ำและสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญที่สุด คือ มิตรไมตรีอนั อบอุน่ จริงใจระหว่างคนในพืน้ ทีก่ บั คนพืน้ ราบ
ภาพที่ ๑๕ : น า ย สุ ร พ ล สุ ข พ ง ษ์ ไ ท ย หั ว ห น้ า
โ ค ร ง ก า ร ห ล ว ง พั ฒ น า ช า ว เ ข า บ้ า น แ ม่ ส า ใ ห ม่
กับนายวิชัย ภูสิริพัฒนานนท์ (ผู้ใหญ่บ้านแม่สาน้อย ในปัจจุบัน–ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕)
หากพิจารณาการเสด็จเยือนพื้นที่ “ม้งแม่สา” อาทิ ในวั น พุ ธ ที่ ๓๐ เดื อ นมกราคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๗ จะประจักษ์ในน้ำพระทัยของพระองค์ดังกล่าว ครั้ ง นั้ น พระองค์ ท รงรั บ รู้ เ รื่ อ งราวของราษฎร และได้ ทอดพระเนตรโครงการลุ่มแม่น้ำสา ทรงเยี่ยมราษฎร ที่บ้านโป่งแยงนอก บ้านหนองหอย และบ้านแม่สาใหม่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ช่วงที่เสด็จได้พระราชทาน อุ ป กรณ์ ก ารเรี ย นแก่ นั ก เรี ย น พระราชทานสิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ ที่ จ ำเป็ น แก่ ร องหั ว หน้ า โครงการจั ด การ ลุ่มน้ำแม่สา เพื่อนำไปแจกจ่ายแก่คนงาน จากนั้นจึง ทอดพระเนตรแปลงต้ น สั ก และในเวลา ๑๖.๑๐ น. ของวันนั้น พระองค์ได้เสด็จฯ ทอดพระเนตรยุ้งข้าวซึ่ง จัดเป็นธนาคารข้าวให้ชาวบ้านได้ยืมไปบริโภคยามขัดสน และที่ นี่ ผู้ ช่ ว ยผู้ ใ หญ่ บ้ า นได้ ก ราบบั ง คมทู ล พระกรุ ณ า
ภาพที่ ๑๗ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระดำเนินไป ยังบริเวณที่จะสร้างฝายและบ่อกักน้ำ เพื่อเก็บน้ำไว้ใช้ในหมู่บ้าน และเพื่อการเกษตรกรรมตลอดจนส่งไปใช้ในโรงสีข้าว
ขอพระราชทานที่ ดิ น สำหรั บ ทำนา ขอพระราชทานรถ สำหรับนำพืชไร่ไปตลาด ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแนวพระราชดำริให้โครงการลุ่มน้ำแม่สา จั ด ที่ น าให้ ช าวบ้ า นทำชั่ ว คราว ให้ โ ครงการหลวงพั ฒ นา ชาวเขาจัดรถขึ้นไปรับพืชไร่สง่ ตลาด แต่ไม่สนับสนุนให้ซอื้ รถ เนื่องจากใช้เงินทุนมาก จากนั้นจึงเสด็จฯ ทอดพระเนตร สถานทีจ่ ดั สร้างโรงสีขา้ ว การทำแผนทีแ่ สดงขอบเขตป่าสงวน หมู่บ้านและไร่นา ทอดพระเนตรไร่กาแฟ จากนั้นเสด็จฯ ยังสำนักสงฆ์เพื่อถวายผ้าห่มและปัจจัย ทรงปลูกต้นพลับ และต้นบ๊วยในบริเวณสำนักสงฆ์ จากนัน้ จึงเสด็จไปยังโรงเรียน ตัวอย่างเหตุการณ์ข้างต้นแสดงถึงน้ำพระทัยของ พระองค์ ที่ ท รงตระหนั ก ในปั ญ หาของราษฎรตั้ ง แต่ ต้ น จวบจนปัจจุบัน ราษฎรม้งแม่สาจึงพัฒนาชีวิตและพื้นที่ ภาพที่ ๑๘ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรม อย่างยั่งยืน ตามรอยพระบาทยาตรา ทั้งนี้เพราะมีพระองค์ โอรสาธิ ร าช สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทรงติ ด ตามการดำเนิ น งาน ทรงเป็ น แบบอย่ า งและมองเห็ น คุ ณ ค่ า ของ “ม้ ง แม่ ส า” พัฒนาบ้านแม่สา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๙ ในทุกมิติ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้
ภาพที่ ๑๖ : ค รู พี่ เ ลี้ ย ง กั บ
เด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านแม่สาใหม่
18
19
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๙ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีกระแสพระราชดำรัสกับนายสุรพล สุขพงษ์ไทย หัวหน้าสถานีฯว่า เมื่อต้นกาแฟเริ่มมีดอกแล้ว หากยังมีอายุน้อยอยู่ ต้องเด็ดทิ้งเสียครึ่งหนึ่ง เพื่อให้ต้นกาแฟมีโอกาสเจริญเติบโตได้เต็มที ่
ภาพที่ ๒๑ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปลูกต้นพลับ และต้นบ้วย พระราชทานแก่บ้านแม่สาใหม่
เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม พุทธศักราช๒๕๑๗
ภาพที่ ๒๒ : ด้ ว ย น้ ำ พ ร ะ ทั ย ข อ ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมี พระเมตตา ราษฎรม้งแม่สา จึงมีชีวิต ความเป็นอยู่ดีขึ้น ภาพที่ ๒๐ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชปฏิสันถารกับพระครูสิริชัยคุณ เจ้าสำนักอาศรมธรรมจาริกบ้านแม่สาใหม่ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๗
20
21
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ดังนั้น เพื่อเป็นการแสดงความจงรักภักดีแด่พระองค์ ผู้ทรงเป็นพ่อหลวงของปวงราษฎร์ พระองค์ผู้ทรงเปี่ยมล้นด้วย พระบารมี ทำให้ “ม้งแม่สา” ดำเนินชีวิตในผืนแผ่นดินด้วย ความเชื่ อ มั่ น และเนื่ อ งในอภิ ม หามงคล ครบ ๘๔ พรรษา คณะกรรมการโดยราษฎร “ม้ ง แม่ ส า” ผู้ ริ เ ริ่ ม พร้ อ มกั บ
ความร่วมมือของข้าราชการ นักวิชาการ บุคลากรทั้งภาครัฐ แ ล ะ เ อ ก ช น จึ ง ร่ ว ม เ รี ย ง ร้ อ ย ถ้ อ ย ค ำ จั ด ท ำ ห นั ง สื อ “ตามรอยพระบาทยาตรา” เล่ ม นี้ เพื่ อ ให้ ช นรุ่ น หลั ง ได้ ตระหนั ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แห่ ง องค์ พ ระบาทสมเด็ จ
พระเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงเป็นภูมิพลังของแผ่นดิน
22
๒
บรรพชนม้งและ หมู่บ้านม้งแม่สา
23
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
บรรพชนม้ง : ความยิ่งใหญ่ในชาติพันธุ์ “น้ ำ เป็ น ของปลา ขุ น เขาและสั น ดอย
ฟ้ า เป็ น ของนก เป็ น ของม้ ง ”
คำกล่าวข้างต้นได้สะท้อนวิธีคิดของกลุ่มชาติพันธุ์ที่เรียก ตนเองว่า “ม้ง” ที่นิยามตนเองด้วยนิทานปรัมปรา ที่กล่าวถึง บรรพชนของตนว่ า เคยอาศั ย อยู่ ณ ดิ น แดนอั น สงบเงี ย บ และหนาวเย็น จนน้ำจับตัวเป็นน้ำแข็ง หิมะตก และต้นไม้ต่างๆ แคระแกร็น ผู้คนนุ่งห่มด้วยหนังสัตว์ มีกลางวันและกลางคืน อย่ า งละหกเดื อ น ชาวม้ ง ได้ อ าศั ย อยู่ ที่ นี่ ม าช้ า นานจนกระทั่ ง
การรุ ก รานจากภั ย สงครามจึ ง จำต้ อ งละทิ้ ง ถิ่ น ฐานอั น สงบโดย มุ่ ง ลงใต้ ผ่ า นดิ น แดนมองโกเลี ย บริ เ วณลุ่ ม แม่ น้ ำ เหลื อ ง ในประเทศจีนปัจจุบัน จากนั้นจึงถอยมาเรื่อยๆ จนถึงเวียดนาม ลาว และประเทศไทยในปัจจุบัน
ภาพที่ ๒๓ : การแต่งกายของหญิงชาวม้ง ในช่วงเทศกาลปีใหม่
การกล่าวถึงประวัติศาสตร์ม้งแม่สา คงไม่สามารถละเลย การโยกย้ า ยถิ่ น ฐานจากแผ่ น ดิ น ใหญ่ เ ข้ า สู่ ดิ น แดนอุ ษ าเคเนย์ ม้ง (Hmong) เป็นชือ่ เรียกกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของ ประเทศจีน ภาคเหนือของหลายประเทศในแถบเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ คำว่า “เมี้ยว” ปรากฏในเอกสารเก่าที่สุดของประเทศจีน อยู่ ใ นยุ ค จั ก รพรรดิ ชุ น (๒๒๕๕-๒๒๐๖ ก่ อ นพุ ท ธศั ก ราช) ซึ่งเรียกกันว่า “เมี้ยว-หมิน” (Miao-min) แปลว่า ประชาชนม้ง “ยู - เมี้ ย ว” (Yu-Miao) แปลว่ า ชาวม้ ง และ “ซาน-เมี้ ย ว” ภาพที่ ๒๔ : การแต่งกายของผู้ชายชาวม้ง บ้านแม่สา
24
25
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๒๖ : ชาวม้งต่างเฝ้ารอคอย และมีความสุขในงานเฉลิมฉลอง เทศกาลปีใหม่ม้ง
(San-Miao) แปลว่า ม้งหลายกลุ่ม ซึ่งอยู่ในตอนกลางที่ราบลุ่ม “แยงซี ” (Yangze) (อะภั ย วาณิ ช ประดิ ษ ฐ์ , ๒๕๔๖) ด้ ว ยเหตุ ผ ลหลายประการจึ ง ทำให้ ช าวม้ ง ต้ อ งละทิ้ ง ถิ่ น ฐาน และถอยร่นลงมาเรื่อยๆ ดังเรื่องเล่าถึงการอพยพของบรรพชน ม้งแม่สานั้น มีเรื่องเล่าว่า มาจากประเทศจีน โดยมีผู้นำคือ บรรพบุรุษแซ่ย่าง กับแซ่ฒ่อ ได้นั่งเรือทั้งหมดหกลำ แต่มีเพียง สามลำเท่านั้นที่ข้ามฟากได้ ซึ่งบรรพบุรุษของชาวม้งในยุคแรก นั้นได้อาศัยในแผ่นดินพม่ามาระยะหนึ่งก่อนเข้าสู่ประเทศไทย โดยใช้ระยะเวลาในการเดินทางผ่านดินแดนต่างๆ ยาวนานถึงสี่ ชั่วอายุคน (ดริญญา โตตระกูล, ๒๕๔๖: ๓๐-๓๑)
ภาพที่ ๒๕ : กลุ่มผู้นำแซ่ตระกูลบรรพชนม้ง บ้านแม่สา
ภาพที่ ๒๗ : เด็กหญิงชาวเขาเผ่าม้งบ้านแม่สา แต่งกายสวยงาม ช่วงเทศกาลปีใหม่ม้ง
26
27
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ชาวม้ง เป็นชาติพันธุ์ที่มีความยิ่งใหญ่ มีวัฒนธรรม เป็นของตนเองที่สั่งสมและพัฒนาเพื่อปรับให้เข้ากับสภาพ แวดล้ อ มในที่ สู ง อย่ า งลงตั ว ผู ก พั น กั บ วิ ถี แ ห่ ง ธรรมชาติ ผสานเข้ากับปรัชญาดำรงชีวิตอันเป็นคำสอนจากบรรพชน ม้งที่ได้ใช้แรงกายและแรงใจสร้างความยิ่งใหญ่ในชาติพันธุ์ ให้เป็นที่ประจักษ์ จึงควรซึ่งลูกหลานม้งที่สืบสายใยจาก บรรพบุรุษ ที่จะต้องหวงแหนในวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ เพื่อเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ต่อไป
ภาพที่ ๒๘ : ชาวม้งเป็นชาติพันธ์ุ ที่มีความยิ่งใหญ่ มี วั ฒ นธรรมเป็ น ของตนเอง ปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สภาพ แวดล้ อ มบนที่ สู ง โดยผู ก พั น กั บ วิ ถี ธ รรมชาติ
ผสานกับปรัชญาคำสอนจากบรรพชน
ภาพที่ ๒๙ : ที่ตั้งถิ่นฐานบ้านแม่สา ที่บรรพชนม้งแม่สาร่วมกันก่อตั้ง ตราบเท่าทุกวันนี ้
จำเนียรกาลผ่านผัน : จากวันนั้นสู่วันนี้ จำเนียรกาลผ่านผันจากชนที่เคยเนาในดินแดนอันไกลโพ้นจนกลายเป็นส่วนหนึ่ง ของประชากรไทย บรรพบุรุษชาวม้งได้อพยพเข้าสู่เมืองไทยเมื่อกว่า ๒๐๐ ปีที่ผ่านมา โดยบางกลุ่มใช้เส้นทางจากชายแดนพม่าเข้าสู่อำเภอฝางจังหวัดเชียงใหม่ บริเวณที่ติดต่อ กับอำเภอปาย บ้านปางอุ๋ง บ้านแม่ตะละ บ้านดงสามหมื่น นอกจากนี้บางส่วนยังอพยพ มาจากบ้านลาว อำเภอพร้าว และบ้านแม่แจ๊ะ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ หลังจาก นั้ น จึ ง ได้ แยกย้ายกันไปบุกเบิกเพื่อตั้งถิ่นฐานที่บ้าน ป่าคา บ้านปางขมุ บ้ า นแม่ ส าเก่ า บ้านแม่สาน้อย ในเวลาต่อมา 28
29
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๓๐ : บรรพชนม้งบ้านแม่สา
ในเวลาต่อมาทางราชการต้องการให้ชุมชนบนพื้นที่ สู ง อยู่ เ ป็ น หลั ก แหล่ ง อย่ า งถาวรเป็ น หมู่ บ้ า น นอกจากนี้ หมู่บ้านปางขมุเป็นเขตรอยต่อของอำเภอแม่ริม และอำเภอ หางดง ทำให้อำนาจในการปกครองไม่ชัดเจน เนื่องจาก การขยายตั ว ของประชากรซึ่ ง ส่ ง ผลโดยตรงกั บ ที่ ท ำกิ น แหล่งน้ำไม่เพียงพอต่อการบริโภค และสนองภาคการเกษตร จึงทำให้ชาวบ้านปางขมุส่วนหนึ่งจึงไปสมทบกับชาวบ้านม้ง
ดอยปุย ส่วนหนึ่งไปอยู่ที่ผานกกก และบางส่วนมาอยู่ที่ หมู่บ้านแม่สาใหม่ในที่สุด ภาพที่ ๓๒ : ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก บ้านแม่สาใหม่ เตรียม เ ด็ ก ก่ อ น วั ย เ รี ย น
สู่ระบบการศึกษา
ในระยะแรกของการตั้ ง ถิ่ น ฐานในอำเภอแม่ ริ ม จังหวัดเชียงใหม่นั้นชาวม้งได้ยังชีพตามวิถีแห่งบรรพชน การทำการเกษตรแบบไร่ ย้ า ยที่ ตามหลั ก จริ ย ศาสตร์ แห่งการยังชีพ และบางส่วนได้ปลูกฝิ่นซึ่งได้นำเมล็ดพันธุ ์
มาจากประจี น ทางตอนใต้ ใ นยุ ค ที่ ฝิ่ น มิ ไ ด้ เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ ถูกควบคุมมากนัก ชาวม้งที่เคยอยู่ร่วมกันอย่างสันติระหว่าง ชาวม้ ง และชาวจี น คณะชาติ (กองพล ๙๓ และ ๙๕) ที่ บ้ า นป่ า คาต้ อ งกระจั ด พลั ด พรายเนื่ อ งจากรั ฐ บาลได้ ประกาศให้ ฝิ่ น เป็ น สิ่ ง ผิ ด กฎหมายและเป็ น พื ช เสพติ ด ทางการได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้าปราบปรามซึ่งเรียกเหตุการณ์ ในครั้งนั้นว่า “ยุทธการป่าคาแตก” ทำให้ชาวม้งต้องอพยพ ไปยังถิ่นฐานที่ใหม่ เช่น หมู่บ้านดอยปุย หมู่บ้านปางขมุ และหมู่บ้าน แม่สาเก่า
30
ภาพที่ ๓๑ : เกษตรกรชาวม้ ง บ้ า นแม่ ส า ศึ ก ษาดู ง าน
การคั ด บรรจุ แ ละการตลาด ผลผลิ ต พื ช ผั ก เพื่ อ นำความรู้
มาปรับปรุงการผลิต และสร้างรายได้
ภาพที่ ๓๓ : สภาพหมู่ บ้ า นปางขมุ ที่ เ คยเป็ น ที่ ตั้ ง ของชุ ม ชนม้ ง แม่ ส า ก่ อ นที่ จ ะย้ า ยมาอยู่
ณ หมู่บ้านแม่สาใหม่ และ แม่สาน้อย
31
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๓๔ : บรรพชนม้ ง แม่ ส าที่ เ ข้ า มา
บุกเบิก มี ๔ แซ่ คือ แซ่หาง แซ่ย่าง แซ่เฒ่า และแซ่ โ ซ้ ง หากเปรี ย บบรรพชนทั้ ง ๔ แซ่ เป็นเสมือนเมล็ดพันธุ์ ก็เจริญงอกงามภายใต้ ร่มพระบารมี เป็นส่วนหนึ่งของประชากรไทย อย่างเต็มภาคภูมิ
จากวันนั้นถึงวันนี้ชาวม้ง ได้อาศัยทำกินบนผืนถิ่นแผ่นดินไทยอย่างสงบสุข ใบไม้ใบเก่าร่วงหล่นถมผืนดินฉันใด ใบไม้ใบใหม่ย่อมผลิบานรับแสงทองของตะวัน ที่ทาบทา และโลมไล้พืชพันธุ์ให้เติบโตแสง แสงตะวันนั้นเปรียบดังพระมหากรุณาธิคุณ อั น วิ สุ ท ธิ์ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ผู้ เ ป็ น อรุ ณ อั น เรื อ งไรของชาวม้ ง
บ้านแม่สา จากบรรพชนชาวม้งที่เข้ามาบุกเบิกทำกินทั้ง ๔ แซ่ คือ แซ่หาง แซ่ย่าง แซ่เฒ่า และแซ่โซ้ง จวบจนปัจจุบัน (พุทธศักราช ๒๕๕๕) ประชากรบ้านแม่สา หมู่ ๖ บ้านแม่สาใหม่ จำนวน ๑,๑๕๐ คน และประชากรบ้านแม่สา หมู่ ๑๐ บ้าน แม่สาน้อย จำนวน ๗๐๗ คนรวมประชากรทั้งสิ้น ๑,๘๕๗ คน หากเปรียบบรรพชน ทั้ง ๔ แซ่นั้น เป็นเมล็ดพันธุ์ นับเนื่องถึงปัจจุบันเมล็ดพันธุ์นั้นได้เจริญงอกงามภายใต้ ร่ ม พระบารมี และชาวม้ ง ก็ ไ ด้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของประชากรไทยอย่ า งเต็ ม ภาคภู มิ ด้วยการเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐหลายต่อหลายครั้งชาวม้ง แม่สาจึงต้องปรับตัว บางส่วนยังคงใช้แซ่ดังเดิม และบางส่วนได้ใช้นามสกุลที่ตั้งขึ้นใหม่ หากยังไม่เคยลืม รากเหง้าและบุญคุณแห่งบรรพชนชาวม้งที่มีต่อลูกหลาน ดังตารางต่อไปนี้ รายชื่อแซ่
แซ่โซ้ง แซ่ย่าง แซ่เฒ่า แซ่หาง
นามสกุลปัจจุบัน ทรงกิตติกุล, ภูสิริพัฒนานนท์, ถนอมวรกุล เลิศชัยสหกุล, เฟื่องฟูกิจการ, ย่างอนันต์กุล ถนอมรุ่งเรือง, ถนอมจิตดี รัตนดิลกกุล, หาญศิริลักษณ์ 32
ภาพที่ ๓๖ : ในยุ ค ก่ อ นชาวม้ ง ได้ อ าศั ย ผื น แผ่ น ดิ น ทำมา หากินและสั่งสมภูมิปัญญาบนที่สูงอย่างอิสระ ต่อมาได้เข้ามา พึ่งพาใต้ร่มโพธิสมภาร เจ้าพ่อหลวง รัชกาลปัจจุบัน
ภาพที่ ๓๕ : จากวั น นั้ น ถึ ง วั น นี้ ชาวม้งแม่สา ได้อาศัยทำกินบนผืนถิน่ แผ่ น ดิ น ไทยอย่ า งสุ ข สงบร่ ม เย็ น
ก็เนื่องด้วยพระบารมีปกเกล้า
ในยุคที่พื้นที่ยังไม่ขาดแคลน พรมแดนยังไม่เกิด ชาวม้งได้อาศัยและสั่งสมภูมิปัญญาบนพื้นที่สูง เมื่อเกิด รั ฐ ไทยขึ้ น ดิ น แดนที่ เ คลื่ อ นย้ า ยได้ อ ย่ า งอิ ส ระหากถู ก กำหนดด้วยเส้นเขตแดน หมุดหมายของหน่วยงานราชการ แต่พรมแดนเหล่านั้นมิได้กั้นขวางความเป็นพี่น้องของชาวม้ง ทีโ่ ยงใยทัว่ โลก เมือ่ รัฐไทยถือกำเนิดจากชนอิสระจึงกลายเป็น “ชาวไทยภูเขา” ที่อาศัยอยู่ใต้ร่มโพธิสมภารของ จักรีวงศ์ โดยเฉพาะ “เจ้ า พ่ อ หลวง” รั ช กาลปั จ จุ บั น ที่ ท รงมี
พระเมตตาต่อชาวม้งอย่างหาที่สุดมิได้ ภาพที่ ๓๗ : เด็ ก นั ก เรี ย นโรงเรี ย นเจ้ า พ่ อ หลวงอุ ป ถั ม ภ์ ๗
บ้านแม่สาใหม่ ขณะตัง้ แถวรอรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
ณ สนามหน้าโรงเรียน
33
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
๓
ตามรอย พระบาทยาตรา
34
35
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๓๘ : สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี เสด็ จ พระราชดำเนิ น จากดอยปุ ย มาประทั บ แรมยั ง
หมู่บ้านปางขมุ ร่วมกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อ ปีพุทธศักราช ๒๕๐๗
วั น เก่ า ๆ แห่ ง ความทรงจำ เมื่ อ ได้ ห วนรำลึ ก ถึ ง ประวัติศาสตร์ที่ควรค่าแก่การจารึกด้วยความปิติยินดี และ ซาบซึ้ ง ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ที่ พ ระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯมา ณ ดินแดนขุนเขา “ม้งบ้านแม่ สา“ แห่งนี้ พร้อมพระบรมวงศานุวงศ์ รวมจำนวนแล้วมากกว่า ๑๐ ครั้ง เพื่อทรงขจัดปัดเป่าความยากจนข้นแค้น พัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต พั ฒ นาอาชี พ ฟื้ น ฟู สิ่ ง แวดล้ อ มบนพื้ น ที่ สู ง พระองค์ ท รงมี พ ระเมตตา ห่ ว งใยชาวม้ ง บ้ า นแม่ ส า ทรง ติ ด ตามกำชั บ เจ้ า หน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ ด ำเนิ น งานอย่ า งมี ประสิทธิภาพสูงสุดและต่อเนื่อง ทรงมีพระราชดำริเกี่ยวกับ แนวทางต่างๆ มาประยุกต์ใช้ แม้จะประสบกับอุปสรรคนานา ประการ พระองค์ก็ไม่เคยทรงท้อพระราชหฤทัย หากแต่กลับ ทุ่มเทพระวรกาย น้ำพระทัยและพระราชทรัพย์เพื่อให้การ พัฒนาบรรลุตามพระราชปณิธานอย่างแท้จริง 36
ภาพที่ ๔๐ : สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ ทรงพระดำเนินร่วมประทับแรม
ภาพที่ ๓๙ : พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว แ ล ะ
พระบรมวงศานุ ว งศ์ เ สด็ จ ถึ ง บริ เ วณลานจุ ด กางเต็ น ท์
ที่ประทับแรม หมู่บ้านปางขมุ
ดังนัน้ ในวันที่ ๖ เดือนเมษายนพุทธศักราช ๒๕๐๗ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เสด็ จ พระราชดำเนิ น จาก บ้านม้งดอยปุย พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ โดยมีสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตน์ฯ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอเจ้าฟ้าสิรนิ ธรเทพรัตนสุดา สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ เสด็จฯตามเส้นทางโดยเริ่มจากดอยปุย
ภาพที่ ๔๑ : สภาพพื้ น ที่ ลานบริ เ วณจุ ด กางเต็ น ท์
ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ ประทับแรม ณ บ้านปางขมุ ในปีพทุ ธศักราช ๒๕๐๗
37
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๔๒ : เสวยพระกระยาหารค่ ำ ร่ ว มกั บ พระบรมวงศานุ ว งศ์ บนแคร่ไม้ไผ่
กิว่ ม้งปลิว ดอยผาฆ้องผากลอง บวกกระทิง ไร่มง้ ห้วยงู ป่าคา มายังหมูบ่ า้ นปางขมุ (บ้านแม่สา) เป็นครัง้ แรก รวมระยะทาง มากกว่า ๑๐ กิโลเมตร เพือ่ ประทับแรมทีน่ เี่ ป็นเวลา ๑ คืน ๒ วั น และเยี่ ย มชาวเขาเผ่ า ม้ ง พระองค์ ท อดพระเนตร การทำไร่ฝิ่น ชีวิตความเป็นอยู่อันแร้นแค้นและเรื่องราวอื่นๆ ทีแ่ ตกต่างจากคนพืน้ ราบ ทีบ่ นดอยแห่งนี ้
ภาพที่ ๔๔ : พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี เสด็จประทับเสวยน้ำชา ที่บ้านสวน กั ล ป์ ม าพิ จิ ต ร์ (สวนส้ ม โป่ ง แยง) อำเภอแม่ ริ ม จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เมื่ อ วั น ที่ ๓ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์
พุทธศักราช ๒๕๐๙
ภาพที่ ๔๓ : ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร เ ด็ ก ช า ว ม้ ง ที่ ต า ม เ ส ด็ จ
ขณะทรงพักผ่อนพระอิริยาบถระหว่างเส้นทางพระดำเนินจาก ดอยปุยมาบ้านปางขมุ
38
39
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๔๕ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประทับ เสวยน้ำชา ที่บ้านสวนกัลป์มาพิจิตร์ (สวนส้มโป่งแยง) อ ำ เ ภ อ แ ม่ ริ ม จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ เ มื่ อ วั น ที่ ๓
เดือนกุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๙
40
41
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๔๖ : พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ
พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ เสด็จเยี่ยมชาวเขาเผ่าม้ง บ้านแม่สา เ มื่ อ วั น ที่ ๒ ๘ เ ดื อ น ม ก ร า ค ม
พุทธศักราช ๒๕๑๒ ภาพที่ ๔๙ : ผู้นำหมู่บ้านแม่สา เข้ารับพระราชทานลูกสุกร
ภาพที่ ๔๘ : พระราชทานผ้าห่มกันหนาว เสื้อกันหนาว ขนม
หลังจากนัน้ พระองค์เสด็จกลับมา ณ หมูบ่ า้ นปางขมุ (แม่สา) ในวันที่ ๒๘ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๒ เมือ่ เวลา ๑๐.๓๐ น. จากนัน้ ทรงพระดำเนินตามเส้นทางสันเขา ประมาณชั่วโมงเศษไปยังบ้านแม่สาใหม่ เพื่อทรงเยี่ยมชาว เขาเผ่ า ม้ ง พระราชทานผ้ า ห่ ม กั น หนาว เสื้ อ กั น หนาว ขนม พระราชทานลูกสุกรพันธุ์ลูกผสม พันธุ์มันสำปะหลัง พริกไทย ข้าวฟ่าง แก่ชาวบ้านที่มาเฝ้ารับเสด็จ พระองค์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้แพทย์หลวงและพยาบาลซึ่ง ตามเสด็จฯ ทำการตรวจรักษาและมอบยารักษาโรคแก่ ชาวบ้าน แล้วเสด็จต่อไปยังตำบลโป่งแยง เพื่อทรงเยี่ยม ราษฎรที่มาเฝ้ารับเสด็จโดยทั่วถึงกัน ภาพที่ ๔๗ : พระราชทานลูกสุกร พันธุ์ลูกผสม
ภาพที่ ๕๐ : ผู้นำหมู่บ้านแม่สา เข้ารับพระราชทาน พันธุ์มันสำปะหลัง พริกไทย ข้าวฟ่าง
42
ต่อมาในวันที่ ๑๑ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๔ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ โดยเฮลิคอปเตอร์ พระที่นั่ง ถึงบ้านแม่สาใหม่ เวลา ๑๒.๑๐ น. มีครอบครัวจำนวน ๕๓ หลังคาเรือน ประชาชนจำนวน ๔๔๗ คน พลตำรวจตรี
เจริ ญ ฤทธิ์ จำรั ส โรมรั น ผู้ ช่ ว ยผู้ บั ญ ชาการตำรวจภู ธ ร ฝ่ายชายแดน นายแต่ง แซ่เซ้ง หัวหน้าหมู่บ้าน นายเล่าเซ้ง
แซ่ย่าง หัวหน้าชุดพัฒนาหมู่บ้านพร้อมด้วยชาวบ้านเฝ้า รั บ เสด็ จ ที่ บ ริ เ วณโรงเรี ย นเจ้ า พ่ อ หลวงอุ ป ถั ม ภ์ ๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเครื่องบริโภคแก่ ครู พระราชทานแกะจำนวน ๕ ตัว แก่หมู่บ้านแม่สาใหม่ ตามโครงการพระบรมราชานุเคราะห์ชาวเขา แล้วเสด็จฯ ทอดพระเนตรสวนแอปเปิล สาลี่ ไร่มันฝรั่ง และถั่วแดง
43
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๕๑ : สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทรา
บรมราชชนนี พระราชทานสิ่ ง ของแก่ ตำรวจตระเวนชายแดนที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่
ณ หมู่บ้านแม่สา
ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ไ ด้ น ำพั น ธุ์ ไปแจกไว้ สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯพระบรมราชิ นี น าถ พระราชทาน สมุด ดินสอ และขนมหวานแก่เด็ก ต่อจากนั้น เสด็จฯ ประทับเสวยพระกระยาหารกลางวัน (ข้าวห่อ) ที่บริเวณ จัดเตรียมไว้ห่างจากหมู่บ้าน ประมาณ ๖๐๐ เมตร จากการเสด็ จ ฯ พระองค์ ท รงเล็ ง เห็ น ถึ ง คุ ณ ค่ า
ของการศึกษาสำหรับเยาวชนบ้านแม่สา ซึ่งจะเป็นพื้นฐาน
และกำลั ง สำคั ญ เพื่ อ รองรั บ การพั ฒ นาด้ า นอื่ น ๆ จึ ง พระราชทานโรงเรียนให้แก่หมู่บ้านในเวลาต่อมา ปีเดียวกันในวันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๔ สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี ไ ด้ เ สด็ จ พระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียนเจ้าพ่อหลวง อุปถัมภ์ ๗ บ้านแม่สาใหม่ (เดิมเรียกว่า โรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดน หรือโรงเรียน ตชด.)
44
ภาพที่ ๕๒ : สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี เสด็ จ พระราชดำเนิ น ทรงประกอบพิ ธี เ ปิ ด โรงเรี ย น
เจ้ า พ่ อ หลวงอุ ป ถั ม ภ์ ๗ บ้ า นแม่ ส าใหม่ เมื่ อ วั น ที่ ๕
เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๔
ปีตอ่ มาในวันที่ ๗ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ วั น จั น ทร์ ที่ ๑๕ มกราคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง พระบรมราชิ นี น าถเสด็ จ พระราชดำเนิ น โดยรถยนต์ จากพระตำหนั ก ภู พิ ง คราชนิ เ วศน์ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ไ ปยั ง พระที่นั่งจากพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ ไปทรงเยี่ยม ลานเฮลิคอปเตอร์แล้วประทับเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งเสด็จ ราษฎรไทยและราษฎรชาวเขาที่บ้านโป่งแยงนอก บ้านม้ง พระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรชาวเขาที่ขุนห้วยต้นผึ้ง หนองหอย อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เวลา ๑๒.๓๐ น. เสด็ จ พระราชดำเนิ น ถึ ง
บ้ า นหนองหอย บ้ า นปางป่ า คา และบ้ า นแม่ ส าใหม่ ตามลำดับ บ้ า นโป่ ง แยงนอก หมู่ ๒ ตำบลโป่ ง แยง อำเภอแม่ ริ ม ทั้งสองพระองค์เสด็จถึงบ้านแม่สาใหม่ เมื่อเวลา จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ๑๕.๕๐ น. แล้วพระราชดำเนินไปที่โรงเรียนเจ้าพ่อหลวง พระราชทานสมุดดินสอและขนมแก่ครูใหญ่โรงเรียนต่างๆ อุปถัมภ์ ๗ พระราชทานสิ่งของแก่ จ่าสิบตำรวจ สวัสดิ์ ๕ แห่ ง เพื่ อ นำไปแจกนั ก เรี ย นโป่ ง แยงนอก ๙๙ คน กลิ่นอุทัย ตำรวจตระเวนชายแดนซึ่งเป็นครูใหญ่คนแรก โรงเรี ย นโป่ ง แยงใน ๒๔๘ คน โรงเรี ย นเจ้ า พ่ อ หลวง และแก่ น ายพรชั ย ชั ย คำพา ครู ผู้ ช่ ว ย ตลอดจน อุปถัมภ์ ๔ จำนวน ๕๐ คน โรงเรียนปงไคร้ ๕๒ คน และ พระราชทานสมุด ดินสอ และเสื้อกันหนาวแก่นักเรียน โรงเรียนกองแหะ ๖๗ คน ต่อจากนั้นนายปรีชา รอดผจญ จำนวน ๔๕ คน จากนั้นทอดพระเนตรโคพระราชทาน อนามั ย อำเภอแม่ ริ ม เฝ้ า ฯทู ล เกล้ า ถวายไข่ ไ ก่ ๑๐ โหล
แล้วเสด็จออกจากหมู่บ้านไปทอดพระเนตรแหล่งน้ำ โดยมี ซึ่ ง เป็ น ไข่ ข องไก่ พ ระราชทาน ๓๐๐ ตั ว จากนั้ น
นายเล่าแต่ง แซ่ย่าง หัวหน้าหมู่บ้านโดยเสด็จพระราชดำเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ และกราบบั ง คมทู ล ชี้ แ จง พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี ก ระแส พระบรมราชิ นี น าถ เสด็ จ เยี่ ย มราษฎรไทยและม้ ง จาก พระราชดำรั ส แนะนำเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการรั ก ษาแหล่ ง น้ ำ หมู่ บ้ า นใกล้ ที่ ม าเฝ้ า รั บ เสด็ จ ฯ อยู่ เ ป็ น จำนวนมาก
ด้วยการปลูกไม้ผลแทนไม้ล้มลุก นายเล่าแต่ง แซ่ย่าง ขอ ณ บริ เ วณโรงเรี ย นโป่ ง แยงนอก ในโอกาสนี้ มี ร าษฎร
พระราชทานพันธุ์มันฝรั่ง เพื่อนำไปแจกจ่ายให้ราษฎรปลูก ทูลเกล้าถวาย ดอกไม้ กล้วยไม้ พืชผล และของพื้นเมือง พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯให้สำรวจที่ดินที่จะปลูกเสียก่อน เวลา ๑๒.๕๕ น. เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ เพื่อทราบปริมาณมันที่แน่นอน ระหว่างเสด็จพระราชดำเนิน พระที่นั่งไปยังสวนส้ม นายชูชาติ กัลป์มาพิจิตร ตามถนน กลับนั้น ทรงแวะทอดพระเนตรไก่พันธุ์ โรดไอแลนด์เรด สายใหม่ที่ชาวม้งร่วมกันบริจาคเงินค่าก่อสร้างเป็นจำนวน ที่พระราชทานไว้เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๒ เงิน ๕,๖๐๐ บาท และแรงงานคิดเป็นมูลค่า ๑๕,๐๐๐ บาท จากนั้นเสด็จฯย้อนกลับมาที่โรงเรียน ที่นั่นสมเด็จ โดยอาศัยเครื่องจักรทุนแรงของฝ่ายจังหวัด พระบาทสมเด็จ พระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ พระราชทานขนมแก่เด็ก พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงตั ด ริ บ บิ้ น เปิ ด ถนนดั ง กล่ า วเมื่ อ เวลา ในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงประมาณ ๓๐๐ คน และ ๑๓.๐๐ น. ภายหลังจากการกราบบังคมทูลรายงานของ ประทับทอดพระเนตรการแสดงรำแคนและรำดาบตามที่ นายอำเภอแม่ริมแล้ว ราษฎรจั ด ถวาย และพระราชทานผ้ า ห่ ม เป็ น รางวั ล แก่ เวลา ๑๓.๐๕ น. เสด็จพระราชดำเนินถึงสวนส้ม ผู้แสดง จนกระทั่งเวลา ๑๖.๕๕ น. สมควรแก่เวลาจึง นายชูชาติ กัลมาพิจิตร แล้วเสด็จไปประทับที่ศาลาที่จัด เสด็จพระราชดำเนินโดยเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่งออกจาก ถวายเป็นที่ประทับเสวยพระกระยาหารกลางวันในโอกาสนี้ หมู่ บ้ า นแม่ ส าใหม่ ก ลั บ ถึ ง พระตำหนั ก ภู พิ ง คราชนิ เ วศน์ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า เมื่อเวลา ๑๗.๐๕ น. พระราชทาน ต้นพลับ ต้นบ๊วย และต้นโลควอทแก่เจ้าของ สวนเพื่ อ นำไปทดลองปลู ก และพระราชทานกระแสว่ า
45
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
หากการปลูกได้ผลดีแล้ว จะนำไปใช้ใน “โครงการพระบรม พระราชปฏิสันถารกับราษฎรเหล่านั้นอย่างใกล้ชิดและโดย ราชานุเคราะห์ชาวเขา” ทั่ ว ถึ ง จากนั้ น เสด็ จ ฯ ขึ้ น โรงเรี ย นโป่ ง แยงนอกเพื่ อ เวลาผ่านไป ๑ ปี ตรงกับวันที่ ๓๐ เดือนมกราคม ทอดพระเนตรการปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยแพทย์ ห ลวงซึ่ ง พุทธศักราช ๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ ตามเสด็จฯ ไปตรวจรักษาและจ่ายยาแก่ผู้ป่วย สมเด็จพระนางเจ้าฯ บรมราชินีนาถเสด็จฯ ไปทอดพระเนตร เวลา ๑๓.๐๐ น. เสด็ จ ฯ ถึ ง บ้ า นหนองหอย โครงการลุ่มน้ำแม่สา และทรงเยี่ยมราษฎรบ้านโป่งแยงนอก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทานสิ่ ง ของแก่ ผู้ ใ หญ่ บ้ า นหนองหอย เพื่ อ นำไปแจกจ่ า ยแก่ ลู ก บ้ า น บ้านหนองหอย และบ้านแม่สาใหม่ เวลา ๑๑.๑๐ น. เสด็จถึงแปลงเพาะชำโครงการ พระราชทานสมุดดินสอแก่สิบตำรวจตรีผ่อง เรืองจันทร์ จั ด การลุ่ ม น้ ำ แม่ ส า นายถนอม เปรมรั ศ มี รองอธิ บ ดี ครู ใ หญ่ โ รงเรี ย นเจ้ า แม่ อุ ป ถั ม ภ์ ๒ เพื่ อ นำไปแจกจ่ า ย กรมป่าไม้ กราบบังคมทูลว่า โครงการจัดการลุ่มน้ำแม่สา แก่นักเรียน นายสุนันท์ ละอองศรี กราบบังคมทูลรายงาน เป็ น โครงการที่ จ ะจั ด สู บ น้ ำ และปลู ก ป่ า ไม้ จะนำมาซึ่ ง เกี่ ย วกั บ การร่ ว มมื อ ของหน่ ว ยงานราชการต่ า งๆ ใน การอยู่ดีกินดีของประชากร ระยะแรกได้ดำเนินการสำรวจ การพัฒนาหมู่บ้าน จากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พื้ น ที่ แ ละแหล่ ง น้ ำ ประกอบกั บ การปลู ก ต้ น ไม้ พั น ธุ์ ต่ า งๆ พระราชทานพันธุ์พืชบำรุงดิน และเป็นอาหารสัตว์ เป็นต้น โดยได้รับการช่วยเหลือจากองค์การอาหารและเกษตรแห่ง เวลา ๑๓.๕๐ น. เสด็จฯ ถึงฝายแม่รวก ซึ่งเป็น สหประชาชาติ และความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ ฝายน้ำของโครงการจัดการลุ่มน้ำแม่สา ทรงพระดำเนินไป เป็ น อย่ า งดี นาย ที . เอเรน ผู้ เ ชี่ ย วชาญองค์ ก าร ทอดพระเนตรต้นสนพันธุ์สามใบ ซึ่งกรมป่าไม้ได้ดำเนิน สหประชาชาติ เฝ้ารับเสด็จ กราบบังคมทูลรายละเอียด การปลูกเพื่อรักษาต้นน้ำของฝาย จากนั้นเสด็จฯ ลงจากเขา เกีย่ วกับลำดับงานของโครงการ และนาย ชิง เชน ผูเ้ ชีย่ วชาญ มายังที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ด้ า นไม้ ผ ลขององค์ ก ารสหประชาชาติ นายที . เอเรน หลังจากเสวยพระกระยาหารกลางวันแล้ว เสด็จฯ ไปยังจุดที่ ทูลเกล้าฯ ถวายต้นยมหอม และต้นสน ส่วนนาย ชิง เชน ขุดอุโมงค์สำหรับท่อน้ำจากฝายน้ำลอดไปยังบ่อกักตะกอนทราย ทูลเกล้าฯ ถวายเมล็ดพันธุ์สน ชนิดรับประทานเมล็ดได้ ทรงพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรบ่อกักตะกอนทราย ต่ อ จากนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทาน ซึ่งเป็นบ่อกักน้ำให้ตะกอนทรายตกก่อนจะจ่ายน้ำไปตามท่อ ผ้าห่ม สบู่ แปรงสีฟัน และยาสีฟันแก่รองหัวหน้าโครงการ และทอดพระเนตรเส้ น ทางของท่ อ น้ ำ ซึ่ ง จะนำน้ ำ ไปยั ง
เพื่อนำไปแจกจ่ายแก่คนงาน ๒๕๐ คน ต่อจากนั้นเสด็จไป ไร่ขั้นบันได ทอดพระเนตรแปลงต้นสัก ตลอดจนทรงเยี่ยมเจ้าหน้าที่ เมื่อ เวลา ๑๖.๑๐ น. เสด็จฯ ถึงบ้านแม่สาใหม่ และราษฎรที่มาเฝ้ารับเสด็จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทานผ้ า ห่ ม แก่
เวลา ๑๒.๐๐ น. เสด็จฯ ถึงโรงเรียนโป่งแยงนอก เจ้าหน้าที่โครงการหลวงพัฒนาชาวเขา พระราชทานสมุด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานสมุดและดินสอ และดินสอแก่ครูใหญ่เพื่อนำไปแจกจ่ายนักเรียนโรงเรียน แก่ครูใหญ่ ๔ โรงเรียน เพื่อนำไปแจกแก่นักเรียน ๔๗๗ คน เจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ จำนวน ๕๐ คน และแก่นักเรียน และพระราชทานแปรงสีฟันและยาสีฟัน พร้อมด้วยผ้าห่ม โครงการศึ ก ษาผู้ ใ หญ่ ๒๐ คน ตลอดจนพระราชทาน แก่ ผู้ ใ หญ่ บ้ า น จาก ๕ หมู่ บ้ า นในท้ อ งที่ นั้ น เพื่ อ นำไป ผ้ า ห่ ม แก่ น ายป่ า ยิ่ ง แซ่ เ ฒ่ า ผู้ ช่ ว ยผู้ ใ หญ่ บ้ า นเพื่ อ ไป แจกจ่ า ยแก่ ร าษฎร ในขณะนั้ น สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ แจกจ่ายแก่ผู้ยากจน พระบรมราชิ นี น าถ ประทั บ พระราชทานขนมแก่ เ ด็ ก ครั้งนั้นพระองค์เสด็จฯพระราชดำเนินทอดพระเนตร และชาวบ้าน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไป ยุ้ ง ข้ า ว ซึ่ ง จั ด เป็ น ธนาคารข้ า วให้ ช าวบ้ า นได้ ข อยื ม ข้ า ว เยี่ ย มราษฎร ที่ ม าเฝ้ า รั บ เสด็ จ อยู่ เ ป็ น จำนวนมาก ได้ มี ไปบริ โ ภคในยามอั ต คั ด ณ ที่ นั่ น ผู้ ช่ ว ยผู้ ใ หญ่ บ้ า นได้
46
กราบบั ง คมทู ล พระกรุ ณ าขอพระราชทานที่ ดิ น สำหรั บ
ทำนา และขอพระราชทานรถยนต์สำหรับนำผลผลิตพืชไร่ ไปส่งตลาด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัส ชี้ แ จงว่ า ในขณะนี้ ที่ โ ครงการจั ด การลุ่ ม น้ ำ แม่ ส า มี การสำรวจพื้นที่ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ห้ามไม่ให้ทำนา ในแหล่งที่เป็นป่าสงวนที่ต้นน้ำและเส้นทางน้ำไหล สำหรับ พื้ น ที่ ซึ่ ง สามารถทำกิ น ได้ นั้ น ในปั จ จุ บั น อาจมี ปั ญ หาน้ ำ
ไม่เพียงพอสำหรับการทำนา แต่เมื่อจัดโครงการเสร็จแล้ว ก็จะสามารถทำนาได้ เพื่อแก้ปัญหาในระยะนี้ โครงการฯ จะจัดที่ให้ทำนาชั่วคราว เพื่อช่วยราษฎรบ้านแม่สาใหม่ สำหรั บ การขอพระราชทานรถยนต์ นั้ น ทรงมี
พระราชดำริว่า ควรนัดวันให้รถของโครงการหลวงพัฒนา ชาวเขามารับพืชไร่ไปส่งตลาดแทนการลงทุนซื้อรถเพราะ การมีรถยนต์นั้นต้องมีเงินสำหรับค่าซ่อมแซมซึ่งจะเป็น ภาระต่ อ หมู่ บ้ า น แต่ เ มื่ อ ราษฎรบ้ า นแม่ ส าใหม่ ไ ด้ แ สดง ความจำนงค์ ที่ จ ะช่ ว ยกั น บริ จ าคเงิ น เพื่ อ สมทบทุ น เพื่ อ
การซื้อรถยนต์นั้น ทรงเห็นสมควรว่าเงินนั้นควรจะเก็บไว้ เป็นค่าใช้จา่ ยในการช่วยซือ้ น้ำมันซึง่ จะเป็นการเหมาะสมทีส่ ดุ ภาพที่ ๕๓ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตร ต้นน้ำซึ่งมีโครงการจะจัดสร้างโรงสีข้าว โดยอาศัยพลังน้ำ เดิ น เครื่ อ งยนต์ พร้ อ มกั บ นายสุ ร พล สุ ข พงษ์ ไ ทย และ
นายเล่าเซ้ง แซ่ย่าง
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว เ ส ด็ จ พระราชดำเนินทอดพระเนตรต้นน้ำซึ่งมีโครงการจะ จัดสร้างโรงสีข้าว โดยอาศัยพลังน้ำเดินเครื่องยนต์ จากเงิ น ที่ พ ระราชทานให้ ร าษฎร ที่ ส นใจรวมกั น เป็นสมาชิกกลุ่มจัดตั้งโรงสีข้าว ยืมไปดำเนินการ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ไ ด้ มี
พระราชดำรัสแนะนำให้เจ้าหน้าที่โครงการจัดการ ลุ่ ม น้ ำ แม่ ส า ได้ จั ด ทำแผนที่ ร ายละเอี ย ดขอบเขต ป่ า สงวน หมู่ บ้ า น และไร่ น าเพื่ อ ขจั ด ปั ญ หา ภาพที่ ๕๔ : ทรงมีพระราชดำรัสแนะนำให้เจ้าหน้าที่โครงการจัดการลุ่มน้ำ ที่ประชากรในท้องถิ่นนั้นจะขยายพื้นที่เกินขอบเขต แม่สาจัดทำแผนที่รายละเอียด ขอบเขต ป่าสงวน หมู่บ้าน และไร่นาเพื่อขจัด ของทางราชการหรื อ ของเพื่ อ นบ้ า น แล้ ว ทรง ปัญหาการขยายพื้นที่ ของประชากรในท้องถิ่น พระดำเนินไปทอดพระเนตรไร่กาแฟ 47
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๕๗ : พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว เ ส ด็ จ
พระราชดำเนิ น ทอดพระเนตรสภาพความเป็ น อยู่ โดย ทั่วไปของหมู่บ้านแม่สา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๗
ภาพที่ ๕๕ : ทรงปลูกต้นพลับ และต้นบ๊วย ในบริเวณสำนักสงฆ์ธรรมจาริก บ้านแม่สาใหม่ เมื่อวันที่ ๓๐ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๗
ต่อจากนั้นทรงพระดำเนินไปยังสำนักสงฆ์ ถวาย ผ้ า ห่ ม และปั จ จั ย และทรงปลู ก ต้ น พลั บ และต้ น บ๊ ว ยใน บริเวณสำนักสงฆ์แล้วพระองค์ทรงพระดำเนินไปยังปะรำใน บริเวณโรงเรียน ซึ่งเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในการพระราชทานขนมแก่เด็กชาวบ้าน และได้มีพระราชปฏิสันถารกับข้าราชการฝ่ายจังหวัด เป็น เวลาอันสมควรแล้วจึงเสด็จกลับ ถึงพระตำหนักภูพงิ คราชนิเวศน์ เมื่อเวลา ๑๘.๕๐ น
48
ภาพที่ ๕๖ : บริเวณพื้นที่ต้นน้ำเหนือหมู่บ้านที่มีโครงการจะสร้างอ่างเก็บน้ำ เพื่อใช้ในการเกษตรและอาศัยพลังน้ำเดินเครื่องยนต์ ในโรงสีข้าว
ภาพที่ ๕๘ : ทรงมี พ ระราชปฏิ สั น ถารกั บ ผู้ น ำหมู่ บ้ า นและ
เจ้ า หน้ า ที่ ใ นโครงการ หลั ง จากทรงปลู ก ต้ น พลั บ และต้ น บ็ ว ย
ณ บริเวณสำนักสงฆ์ธรรมจาริกบ้านแม่สาใหม่
49
ภาพที่ ๕๙ : สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จออก จากปะรำบริเวณโรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ บ้านแม่สาใหม่ หลังจากพระราชทานสิ่งของ ขนม แก่เด็กและชาวบ้าน
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ต่อมาในวันที่ ๒๐ เดือนมกราคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๙ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระบรมโอรสา ธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เสด็ จ พระราชดำเนิ น โดยรถยนต์ พ ระที่ นั่ ง จาก พ ร ะ ต ำ ห นั ก ภู พิ ง ค ร า ช นิ เ ว ศ น์ ไ ป ยั ง บ้านปงไคร้ห น่ ว ยสาธิ ต การจั ด การลุ่ ม น้ ำ โครงการจั ด การลุ่ ม น้ ำ แม่ ส า และสถานี โครงการหลวงพั ฒ นาชาวเขา หมู่ บ้ า น บริวารบ้านแม่สาใหม่ ภาพที่ ๖๐ : พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงปลู ก ต้ น มาคาดาเมี ย เมื่ อ วั น ที่
๒๐ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ ครั้นเสด็จยังหน่วยสาธิตการจัดการลุ่มน้ำ บ้ า นปงไคร้ โครงการจั ด การลุ่ ม น้ ำ แม่ ส าพร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุฏราชกุมาร
50
เวลา ๑๑.๕๐ น. เสด็ จ ฯถึ ง สนามหน้ า โรงเรี ย น ส่วนการปลูกป่าทดแทนนั้น ควรพยายามทำให้ป่าธรรมชาติ ปงไคร้ ตำบลโป่ ง แยง อำเภอแม่ ริ ม จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ มี ส ภาพเหมื อ นเดิ ม ให้ ม ากที่ สุ ด จากนั้ น ทรงพระดำเนิ น
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทานผ้ า ห่ ม และ ทอดพระเนตรแปลงไม้ผล พืชตระกูลถั่ว และพืชตระกูล เสื้ อ กั น หนาวแก่ ค รู สมุ ด ดิ น สอและขนมแก่ นั ก เรี ย น หญ้าตามไหล่เขาที่มีความลาดชันต่ำ ซึ่งปลูกคลุมไว้เพื่อ จากนั้นทรงพระราชปฎิสันถารอย่างใกล้ชิดกับราษฎรที่มา ป้องกันผิวดินถูกน้ำเซาะพังทลาย ตลอดจนเป็นการเพิ่ม เฝ้ า รั บ เสด็ จ เหล่ า นั้ น และมี ก ระแสพระราชดำรั ส กั บ ปุ๋ยแก่ดินและให้ร่มแก่พืชเศรษฐกิจอื่นๆ ที่ปลูกไว้ด้วยกัน ข้ า ราชการจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ให้ ท างจั ง หวั ด ดำเนิ น การ ต่อจากนั้น ทรงพระดำเนินไปยังบริเวณหน้าที่ทำการหน่วยฯ ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมในครอบครั ว ของราษฎร เพื่ อ เป็ น เพื่อทรงปลูกต้นแมคคาเดเมีย เสร็จแล้วจึงประทับเสวย การเพิ่มพูนรายได้ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยให้ พระกระยาหารกลางวัน แล้วทรงพักผ่อนพระราชอิริยาบถ จัดหาครูมาฝึกสอน การจักสานไม้ไผ่และสานหวาย ซึ่งเป็น ตามพระราชอัธยาศัย แล้วจึงเสด็จโดยรถยนต์พระที่นั่ง วัสดุทหี่ าได้ในบริเวณนัน้ ในการนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ต่อไป ณ หมู่บ้านแม่สาใหม่ ให้หน่วยแพทย์ทำการตรวจรักษาผู้เจ็บป่วย สำหรับราย เวลา ๑๔.๕๕ น. เสด็ จ ถึ ง สถานี โ ครงการหลวง ที่จำเป็นต้องส่งไปรักษาที่โรงพยาบาล ได้ทรงพระกรุณา พั ฒ นาชาวเขาหมู่ บ้ า นบริ ว ารแม่ ส าใหม่ ท รงพระดำเนิ น
โปรดเกล้าฯ ให้รับไว้เป็นคนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์ ทอดพระเนตรแปลงกาแฟและยาสูบ ซึง่ นายสุรพล สุขพงษ์ไทย เวลา ๑๒.๒๕ น. เสด็จถึงหน่วยสาธิตการจัดการกลุ่มน้ำ หัวหน้าสถานีฯ กราบบังคมทูลว่า ต้นกาแฟเริ่มมีดอกแล้ว โครงการจัดการน้ำแม่สา เสด็จเข้าห้องบรรยายของ ส่ ว น ต้ น ย า สู บ พ บ ว่ า บ า ง ต้ น เ ป็ น โ ร ค เ พ ลี้ ย อ่ อ น หน่ ว ยฯ นายถนอม เปรมรัศมี รองอธิบดีกรมป่าไม้ และ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มี ก ระแสพระราชดำรั ส ว่ า นายตาลัท อีเรน ผู้อำนวยการโครงการฯ ฝ่ายสหประชาชาติ สำหรับต้นกาแฟยังมีอายุน้อยอยู่นั้น เมื่อเริ่มมีดอกต้อง กราบบั ง คมทู ล ถวายรายงานว่ า โครงการฯ นี้ รั ฐ บาลไทย เด็ดทิ้งเสียครึ่งหนึ่ง เพื่อให้ต้นกาแฟมีโอกาสเจริญเติบโต ดำเนินงานร่วมกับโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ มี ได้ เ ต็ ม ที่ ส่ ว นต้ น ยาสู บ ที่ เ ป็ น โรคนั้ น ต้ อ งรี บ กำจั ด ทั น ที วัตถุประสงค์ที่จะยกฐานะการครองชีพของราษฎรในลุ่มน้ำ มิฉะนั้นจะลุกลามไปทั่วแปลงและทำให้ป้องกันยากขึ้น แม่ ส าให้ สู ง ขึ้ น โดยการจั ด การลุ่ ม น้ ำ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ จากนั้นเสด็จฯไปในหมู่บ้านเพื่อพระราชทานขนม การใช้ประโยชน์ที่ดินและป่าไม้ นอกจากนั้น ยังดำเนิน แก่เจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อนำไปแจกเด็กๆ การอนุรักษ์ดินและปลูกป่าทดแทนป่าไม้ที่ถูกทำลาย โดย แล้วทรงพระดำเนินไปยังโรงสีข้าวพระราชทาน ณ ที่นั่น เป็นโครงการจัดการลุม่ น้ำตัวอย่าง ผลงานทีไ่ ด้จากการทดลอง นายสมชาย ศรี ว านิ ช วิ พั ฒ น์ เฝ้ า ฯ น้ อ มเกล้ า ถวาย จะนำไปปฏิบัติในการจัดการลุ่มน้ำอื่นๆ ทั่วประเทศ ซึ่งจะ เครื่องสีข้าวประเภทแยกแกลบแยกรำจำนวน ๑ เครื่อง เป็ น การช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแก่ ร าษฎร โดยเสด็ จ พระราชกุ ศ ลตามพระราชอั ธ ยาศั ย ซึ่ ง เป็ น
จบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีกระแสพระราชดำรัส เครื่องสีข้าวที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง ได้ทดลองใช้และปรับปรุง ว่า ในการปลูกป่านั้นทางโครงการ ควรพิจารณาปลูกไม้ไผ่ แก้ ไ ขแล้ ว ในการนี้ ได้ พ ระราชทานโรงสี ข้ า วแก่ ส ถานี หรื อ หวายด้ ว ย เพื่ อ ราษฎรจะได้ ใ ช้ เ ป็ น วั ส ดุ ใ นการผลิ ต และเสด็ จ ยั ง โรงสี ข้ า วเพื่ อ ทอดพระเนตรการทำงานของ เครื่องมือเครื่องใช้สำหรับใช้สอย หรือจำหน่ายเป็นรายได้ เครื่องสีข้าว พิ เ ศษ ซึ่ ง จะทำให้ ร าษฎรแลเห็ น ประโยชน์ ข องโครงการ
51
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๖๑ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯสยามมกุฏราชกุมารเสด็จถึงหมู่บ้านแม่สาใหม่เมื่อวันที่ ๒๐ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๙
ภาพที่ ๖๒ : ดาบตำรวจศุภชัย ยี่เก็งเอี่ยม ครูใหญ่โรงเรียน เจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ บ้านแม่สาใหม่ ถวายรายงาน
ภาพที่ ๖๕ : นายสุ ร พล สุ ข พงษ์ ไ ทย หั ว หน้ า สถานี โ ครงการหลวงพั ฒ นา
ชาวเขาบ้านแม่สาใหม่ ถวายรายงาน
จากนั้ น ทรงพระดำเนิ น พร้ อ มด้ ว ย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร กลับมายังหมู่บ้าน เพื่อประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินเมื่อเวลา ๑๖.๑๕ น. กลับถึง พระตำหนักภูพงิ คราชนิเวศน์ เมือ่ เวลา ๑๗.๓๕ น.
ภาพที่ ๖๓ : สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯสยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทรงรับมอบสิ่งของที่ราษฎรชาวม้งบ้านแม่สา ทูลถวาย
ภาพที่ ๖๔ : หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (เสื้อสีขาว คล้องกล้องถ่ายรูป) ผู้ติดตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวขณะทรงงานช่วยเหลือ ราษฏรชาวเขาอย่างต่อเนื่อง
ต่อจากนั้นทรงพระดำเนินไปยังบริเวณที่จะสร้างฝายและบ่อกักน้ำ เพื่อเก็บน้ำไว้ใช้ในหมู่บ้านและ เพื่อการเกษตรกรรมตลอดจนส่งไปใช้ในโรงสีข้าว โดยจะดัดแปลงเครื่องสีข้าวเป็นแบบพลังน้ำเพื่อเป็น
การใช้พลังงานธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ และเป็นการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งการออกแบบและ ก่ อ สร้ า งดำเนิ น งานโดยสำนั ก งานชลประทานที่ ๑ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทอดพระเนตรบริ เ วณที่ จ ะก่ อ สร้ า งและทอดพระเนตรแผนที่ แ สดงที่ ตั้ ง ฝายและอ่ า งเก็ บ น้ ำ โดยมี
นายมนัส ปิติวงศ์ อธิบดีกรมชลประทานกราบบังคมทูลรายละเอียด 52
ภาพที่ ๖๖ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯสยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เสด็ จ เข้ า ปะรำ
ณ บริเวณโรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ ภาพที่ ๖๗ : เสด็จ ณ สถานีโครงการหลวงพัฒนาชาวเขาบ้านแม่สาใหม่ เมื่อวันที่ ๒๐ เดือน มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๙
53
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๗๑ : พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั มีกระแสพระราชดำรัส แก่นายสุรพล สุขพงษ์ไทย ว่า เมื่อ ต้นกาแฟยังมีอายุน้อยอยู่นั้น หาก มีดอกต้องเด็ดทิ้งเสียครึ่งหนึ่ง เพื่อ ให้ต้นกาแฟมีโอกาสเจริญเติบโตได้ เต็มที่
ภาพที่ ๗๒ : ผู้ ใ ห ญ่ บ้ า น แ ล ะ ผู้นำหมู่บ้านอาวุโส ถวายรายงาน ภาพที่ ๖๘ : พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ
พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ทอดพระเนตร
โรงเรือนเพาะชำ สถานีโครงการหลวงพัฒนาชาวเขาบ้านแม่สาใหม่
ปีต่อมา ในวันที่ ๒๖ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้า อ ยู่ หั ว ท ร ง ขั บ ร ถ ย น ต์ พ ร ะ ที่ นั่ ง เ ส ด็ จ พระราชดำเนินจากพระตำหนักภูพงิ คราชนิเวศน์ ไปยังสำนักสงฆ์ศรีม่วงคำ สถานีหลวงพัฒนา ชาวเขา หมูบ่ า้ นบริวารบ้านผานกกก สถานีหลวง พัฒนาชาวเขา หมู่บ้านบริวารบ้านแม่สาใหม่ และโครงการจัดการลุ่มน้ำแม่สา ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
ภาพที่ ๖๙ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พ ร ะ ร า ช ท า น เ งิ น จ ำ น ว น ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมืน่ บาทถ้วน) เพื่อก่อตั้งสถานีโครงการหลวง พั ฒ นาชาวเขาบ้ า นแม่ ส าใหม่ (ศูนย์สงเคราะห์และพัฒนาชาวเขา) แห่งนีเ้ มือ่ ปี พุทธศักราช ๒๕๑๗ ภาพที่ ๗๐ : เ จ้ า ห น้ า ที่ ข้ า ร า ช ก า ร
และผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง ติ ด ตามและ เฝ้ า รั บ เสด็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พร้ อ มด้ ว ย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จถึง บ้านแม่สา
54
เวลา ๑๕.๐๐ น. เสด็ จ พระราชดำเนิ น ถึ ง สำนั ก สงฆ์ ศรีม่วงคำ บ้านดง ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม แล้วเสด็จเข้า สำนักสงฆ์ฯ ถวายผ้าห่มแก่ภิกษุ และทรงมีพระราชดำรัสกับ
พระอินสอน เขมงฺกโร เจ้าสำนักฯ ก่อนเสด็จพระราชดำเนินไป ทอดพระเนตรการปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยแพทย์ ห ลวง ซึ่ ง ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มาตั้งหน่วยทำการตรวจ รักษาผู้เจ็บป่วยในละแวกนั้น จากนั้น ทรงเยี่ยมราษฎรที่เฝ้า ทูลละอองธุลีพระบาทอยู่เป็นจำนวนมากบริเวณหน้าสำนักสงฆ์ฯ และทรงพระดำเนินทอดพระเนตรไร่กระเทียม ซึ่งราษฎรกราบ บังคมทูลว่า ได้ผลไม่เต็มที่ ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีกระแสพระราชดำรัส ว่า การจัดส่งเจ้าหน้าที่เกษตรกรของ โครงการหลวงพัฒนาชาวเขาและฝ่ายเกษตรอำเภอมาแนะนำ ทางด้านวิชาการเกษตรกรรมแก่ราษฎร และสาธิตวิธีทำปุ๋ยหมัก ให้ราษฎร และนักเรียนดูเป็นตัวอย่าง เพื่อจะได้นำไปใช้อย่างถูกวิธี อันจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย และรู้จักใช้วัสดุ เหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เสร็จแล้ว เสด็จพระราชดำเนินโดย รถยนต์พระที่นั่งต่อไป 55
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๗๓ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระดำเนินเพื่อทอดพระเนตรผล การดำเนินงานของสถานีฯ
เวลา ๑๖.๑๕ น. เสด็จพระราชดำเนินถึงสถานีหลวง พัฒนาชาวเขา หมู่บ้านบริวารบ้านผานกกก ตำบลโป่งแยง อ ำ เ ภ อ แ ม่ ริ ม น า ย วิ เ ชี ย ร เ บ้ า ส กุ ล หั ว ห น้ า ส ถ า นี เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับเสด็จจากนั้น ทรงพระดำเนินไป ทอดพระเนตรการอบรมตีเหล็กของราษฎรชาวไทยภูเขาเผ่าแม้ว ซึ่งมีพระราชดำริให้ราษฎรรู้จักผลิตมีดชนิดต่างๆ และเครื่องมือ เครื่องใช้ทางการเกษตรกรรมเองเป็นลักษณะอุตสาหกรรม ในครัวเรือน เพื่อสำหรับใช้สอยเอง และส่งไปจำหน่ายเป็น รายได้พิเศษ จากนั้นทอดพระเนตรแปลงสาธิตและทดลอง ของสถานีฯ แล้วทรงพระดำเนินไปยังหน้าโรงเรียนผานกกก พระราชทานสิ่งของแก่ผู้แทนสถานี ครู นักเรียน และราษฎร ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีกระแสพระราชดำรัส กับหัวหน้าสถานี บริเวณลุ่มน้ำนี้มีปริมาณน้ำมาก จึงควรส่ง 56
ภาพที่ ๗๔ : ทรงพระดำเนินผ่านหมู่บ้านแม่สา เพื่ อ เสด็ จ ไปยั ง บริ เ วณที่ จ ะสร้ า งอ่ า งเก็ บ น้ ำ
เหนือหมู่บ้าน ภาพที่ ๗๖ : หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรแปลงกาแฟ และยาสูบแล้ว นายสุรพล สุขพงษ์ไทย กราบบังคมทูลถึงการแพร่ระบาดของ เพลี้ยอ่อนในยาสูบ พระองค์จึงมีกระแสพระราชดำรัสให้รีบกำจัดทันที มิฉะนั้น จะลุกลาม ป้องกันยาก
ภาพที่ ๗๕ : ทรงพระดำเนิ น ผ่ า นหมู่ บ้ า นแม่ ส า เพื่อเสด็จไปยังบริเวณที่จะสร้างอ่างเก็บน้ำ เหนือ หมู่บ้าน
เสริมให้ราษฎรที่ทำกินอยู่ตอนล่างปลูกข้าว เพราะเป็นอาหารหลักของ ราษฎร เนื่องจากในฤดูน้ำหลาก กระแสน้ำจะไหลแรง นำปุ๋ยธรรมชาติ ให้ไหลไปรวมอยู่บริเวณพื้นที่เพาะปลูกตอนล่าง ซึ่งปุ๋ยก็ตกตะกอนและ ช่วยทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอที่จะปลูกข้าวได้ ส่วนบริเวณ ตอนเหนื อ ขึ้ น มาก็ อ าจส่ ง เสริ ม ให้ ป ลู ก กระเที ย ม ถั่ ว และพื ช อื่ น ๆ ที่เหมาะสม นอกจากนั้น ควรกั้นฝายเพื่อทำอ่างเก็บน้ำสำหรับใช้ใน การชลประทาน ทั้ ง นี้ จ ะต้ อ งระวั ง ไม่ ใ ห้ มี ก ารแผ้ ว ถางทำลายป่ า ไม้
ตามไหล่ เ ขา เพราะกระแสน้ ำ จะชะทำลายผิ ว ดิ น เสี ย หาย จากนั้ น เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งต่อไปยังบ้านแม่สาใหม่
57
ภาพที่ ๗๗ : ทรงพระดำเนินผ่านหมู่บ้านแม่สา เพื่อเสด็จไปยังบริเวณที่จะสร้างอ่างเก็บน้ำ เหนือ หมู่บ้าน
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๘๐ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จยัง โรงสี ข้ า ว เพื่ อ ทอดพระเนตร ระบบ การทำงานของเครื่องสีข้าว
ภาพที่ ๗๘ : นายสมชาย ศรีวานิชวิพัฒน์ เฝ้ า น้ อ มถวายเครื่ อ งสี ข้ า วประเภทแยก แกลบแยกรำที่ ป ระดิ ษ ฐ์ ขึ้ น เองจำนวน
๑ เครื่ อ ง โดยเสด็ จ พระราชกุ ศ ลตาม
พระราชอัธยาศัย
เวลา ๑๗.๓๕ น. ทอดพระเนตรบ่อพักน้ำขนาด ความจุ ๔๕๐ ลูกบาศก์เมตร ซึง่ กรมชลประทานได้จดั สร้างขึน้ สำหรับส่งน้ำไปใช้ในพื้นที่เพาะปลูก เป็นเนื้อที่ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่และส่งไปใช้ที่โรงสีข้าวพลังน้ำ ณ บ้านแม่สาใหม่ จากนัน้ เสด็จพระราชดำเนินไปยังสำนักสงฆ์ ถวายยารักษาโรค แก่พระครูสิริชัยคุณ เจ้าสำนักและทรงมีพระราชดำรัส กั บ เจ้ า สำนั ก ถึ ง ศาสนกิ จ ของราษฎรชาวไทยภู เ ขาเผ่ า แม้ ว ทรงพระดำเนินไปยังโรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ และ โรงเรียนการศึกษาผู้ใหญ่เบ็ดเสร็จพระราชทานสิ่งของแก่ นายสุรพล สุรพงษ์ไทย หัวหน้าสถานีฯ ตลอดจนผู้แทนครู นักเรียนและราษฎรแล้วจากนั้นการเขียนลายผ้าของราษฎร ซึ่ ง กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมได้ ส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ม าช่ ว ยฝึ ก อบรมเพื่อให้ได้คุณภาพมาตรฐานสำหรับส่งจำหน่ายต่อไป ในการนี้ ได้ทอดพระเนตรการปฏิบตั งิ านของหน่วยแพทย์หลวง ณ อาคารเรียนด้วย
58
ภาพที่ ๗๙ : เด็กนักเรียนชาวเขาเผ่าม้ง โรงเรียนเจ้าพ่อหลวง อุปถัมภ์ ๗ ขณะเฝ้ารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เวลา ๑๘.๑๕ น. เสด็ จ พระราชดำเนิ น ถึ ง หน้ า โครงการจัดการลุ่มน้ำแม่สาใหม่ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม ทรงพระราชดำเนิ น ทอดพระเนตรบริ เ วณพื้ น ที่ รั บ น้ ำ ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ ซึ่ ง จะทำการจั ด สรรให้ ร าษฎร จำนวน ๑๒๔ ครอบครั ว ซึ่ ง มี โ ครงการจะย้ า ยที่ ท ำกิ น จากบริเวณไหล่เขามาทำกินในพื้นที่จัดสรรที่มีระบบการ ชลประทานที่สมบูรณ์ ส่วนบริเวณไหล่เขาก็จะทำการปลูก ป่ า ทดแทนเพื่ อ เป็ น การบำรุ ง รั ก ษาป่ า ลุ่ ม น้ ำ ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีกระแสพระราชดำรัส ว่า บริเวณจัดสรรควรพิจารณาจัดทำเป็นลักษณะหมู่บ้าน สหกรณ์ โดยให้ มี ก รรมการหมู่ บ้ า นเป็ น ผู้ ดู แ ลรั ก ษา ผลประโยชน์ของสมาชิกฯ สำหรับการปลูกป่าทดแทนตาม ไหล่ เ ขา จะต้ อ งปลู ก ต้ น ไม้ ห ลายๆ ชนิ ด เพื่ อ ให้ ไ ด้ ประโยชน์อเนกประสงค์ คือมีทั้งไม้ผล ไม้สำหรับก่อสร้าง และไม้สำหรับทำฟืน ซึ่งราษฎรจำเป็นต้องใช้เป็นประจำซึ่ง เมื่อตัดไปใช้แล้วก็ปลูกทดแทนเพื่อหมุนเวียนทันที ทั้งนี ้
จะต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม ของโครงการฯ เสร็ จ แล้ ว ประทับพระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ ถึงพระตำหนัก ภูพิงคราชนิเวศน์ เมื่อเวลา ๒๐.๐๕ น.
เมื่อวันที่ ๗ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๑ เวลา ๐๙.๓๕ น. สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุฎราชกุมารและมกุฏราชกุมาร เรซา ปาห์ลาวี แห่ ง อิ ห ร่ า นเสด็ จ ฯโดยรถยนต์ พ ระที่ นั่ ง พร้ อ มด้ ว ย พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอพระองค์ เ จ้ า โสมสวลี พระวรชายา จากพระตำหนั ก ภู พิ ง คราชนิ เ วศน์ ไ ปยั ง บ้ า นปงไคร้ บ้ า นแม่ ส าใหม่ แ ละปางช้ า ง (แม่ ส า) อำเภอแม่ ริ ม จังหวัดเชียงใหม่ตามลำดับ ครัน้ เสด็จพระราชดำเนินถึงบ้านปงไคร้ได้ทอดพระเนตร การปลูกป่าทดแทน ซึ่งใช้พันธุ์ไม้โตเร็วตลอดจนพันธุ์ไม้ ที่ มี คุ ณ ค่ า ทางเศรษฐกิ จ นำมาปลู ก ทดแทนบริ เ วณป่ า ไม้
ที่ถูกราษฎรทำลายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์เพื่อเป็นการรักษา ป่าไม้ต้นน้ำลำธาร มิให้ถูกทำลายไปโดยสิ้นเชิง จากนั้นได้ ทอดพระเนตรผลการดำเนินงานร่วมระหว่างรัฐบาลไทย และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ ที่ จ ะยกระดั บ ฐานะการครองชี พ ของราษฎรในบริ เ วณ ลุ่มน้ำแม่สาให้สูงขึ้นโดยการจัดการลุ่มน้ำ ให้สอดคล้องกับ การใช้ประโยชน์ที่ดินและป่าไม้ นอกจากนั้นยังดำเนินการ 59
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
อนุรักษ์ดินและปลูกป่าทดแทนเพื่อเป็นโครงการจัดการลุ่มน้ำ ตัวอย่างซึ่งข้อมูลที่ได้จากการทดลอง จะได้นำไปปฎิบัติใน การจัดการต้นน้ำอืน่ ๆ ทัว่ ประเทศ อันจะเป็นการช่วยแก้ปญ ั หา เศรษฐกิ จ และสั ง คมแก่ ร าษฎร จากนั้ น ประทั บ เสวย พระกระยาหารกลางวัน ณ บ้านปงไคร้ ครั้นทรงพักผ่อน พระราชอิ ริ ย าบทตามพระราชอั ธ ยาศั ย แล้ ว จึ ง เสด็ จ พระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งต่อไปยังสถานีหลวง พัฒนาชาวเขา บ้านแม่สาใหม่
จากนั้นเสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ต่อไปยังปางช้างแม่สา อำเภอแม่ริม เพื่อทอดพระเนตร การแสดงของช้าง ในการทำงานชักลากซุงในป่า สมควร แก่เวลาจึงประทับรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำเนินกลับ ถึงพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ เมื่อเวลา ๑๕.๔๐ น. ในปี เ ดี ย วกั น นี้ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงขั บ รถยนต์ พ ระที่ นั่ ง เสด็ จ พระราชดำเนิ น พร้ อ มด้ ว ย สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯสยามบรมราชกุ ม ารี แ ละ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัคราชกุมารี จากพระตำหนักภูพิงราชนิเวศน์ ในวันที่ ๒๒ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๑ เวลา ๑๑.๑๕ น. ทอดพระเนตร กิจการของโครงการหลวงพัฒนาชาวเขา ที่โรงรียนบ้านม้ง ขุนช่างเคี่ยน สถานีที่สูงขุนช่างเคี่ยน และหมู่บ้านแม่สาใหม่ ตามลำดั บ ระหว่ า งทางเสด็ จ พระราชดำเนิ น ในเขต อำเภอแม่ริมได้ทรงหยุดรถยนต์พระที่นั่ง เพื่อทอดพระเนตร แปลงผักของราษฎรเผ่าม้งซึ่งเริ่มหันมาปลูกผักชนิดต่างๆ เช่ น กะหล่ ำ ปลี ผั ก กาดหอม ผั ก กาดหางหงส์ แทน การปลูกฝิ่น เนื่องจากปลูกง่าย และทำรายได้ดีโดยเฉพาะ ภาพที่ ๘๑ : พระนามาภิไธยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร นอกฤดู ก าล สำหรั บ แปลงผั ก นั้ น ทำเป็ น แบบขั้ น บั น ได (บน) และพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดามาตุ (ล่าง) เมื่อครั้งเสด็จทอดพระเนตรโครงการปลูกพืชเศรษฐกิจทดแทน ซึ่งเจ้าหน้าที่โครงการหลวงพัฒนาชาวเขามาแนะนำการทำไร่ การปลูกฝิ่นบ้านแม่สาใหม่ พร้อมด้วยมกุฎราชกุมาร เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน เมื่อวันที่ ๗ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๑
เมื่อเสด็จถึงสถานีหลวงพัฒนาชาวเขาบ้านแม่สาใหม่ ได้ ท อดพระเนตรโครงการปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ ทดแทน การปลูกฝิน่ อาทิ กาแฟ และยาสูบ ซึง่ จะทำให้ราษฎรชาวเขา รู้ จั ก ตั้ ง หลั ก แหล่ ง ถาวร โดยไม่ ต้ อ งย้ า ยที่ ท ำกิ น เร่ ร่ อ น ไปตามที่ ต่ า งๆ เพื่ อ ไม่ ตั ด ไม้ ท ำลายป่ า ทำไร่ เ ลื่ อ นลอย และปลูกฝิ่น อันเป็นการทำลายทรัพยากรอันมีค่าของชาติ นอกจากนั้น ยังเป็นการผิดกฎหมายอีกด้วย สำหรับพืช เศรษฐกิจที่ได้ส่งเสริมนั้นที่ได้ทำการทดลองแล้วสามารถ ทำรายได้ดีไม่น้อยกว่าการปลูกฝิ่นแต่ลงทุนลงแรงน้อยกว่า ตลอดจนถูกต้องตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในการนี้ได้ ทอดพระเนตรการปลูกพืชตามขัน้ บันได เพือ่ ป้องกันน้ำชะล้าง ทำลายผิวดิน และทอดพระเนตรระบบชลประทานในพื้นที่ ที่เป็นภูเขา 60
ภาพที่ ๘๒ : การเขี ย นลายผ้ า จากขี้ ผึ้ ง ของชาวม้ ง แม่ ส า
ที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ส่งเจ้าหน้าที่มาฝึกอบรมเพื่อให้ได้ คุณภาพตามมาตราฐาน
ภาพที่ ๘๓ : ระหว่ า งทางเสด็ จ จากขุ น ช่ า งเคี่ ย น ไปแม่ ส าใหม่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ท ร ง ห ยุ ด ร ถ ย น ต์ พ ร ะ ที่ นั่ ง
ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร แ ป ล ง ผั ก
ของนายกั๋ ว แซ่ ห าง ราษฏร
เผ่าม้งบ้านแม่สาใหม่
แบบขั้นบันได เพื่อป้องกันน้ำทำลายชะล้างหน้าดินตาม บริเวณพื้นที่ไหล่เขาที่ลาดชัน ต่ อ จากนั้ น เสด็ จ พระราชดำเนิ น โดยรถยนต์ พระที่นั่งต่อไปยังสถานีหลวงพัฒนาชาวเขา หมู่บ้านบริวาร บ้ า นแม่ ส าใหม่ ครั้ น เสด็ จ พระราชดำเนิ น ถึ ง โรงเรี ย น เจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ ได้พระราชทานอุปกรณ์การศึกษา แก่ ผู้ แ ทนโรงเรี ย น ตลอดจนถวายปั จ จั ย และยาชุ ด แก่ พระภิกษุจากสำนักสงฆ์ ในโอกาสนี้ ราษฎรชาวม้งทำพิธี ผูกขวัญถวาย (ผูกข้อพระกร) จากนั้ น เสด็ จ พระราชดำเนิ น ไปทอดพระเนตร โรงสี ข้ า วพลั ง น้ ำ ตามพระราชดำริ ซึ่ ง กรมชลประทาน ได้ ด ำเนิ น การออกแบบและประดิ ษ ฐ์ โดยใช้ เ ครื่ อ งขั บ
ส่งกำลังด้วยเครื่องกังหันน้ำ ซึ่งใช้พลังจากลำน้ำธรรมชาติ ทำให้ไม่จำเป็นต้องใช้เชื้อเพลิงแต่อย่างใด เครื่องสีข้าวนี้ สามารถสีข้าวได้ชั่วโมงละ ๒๕ ถัง จากนั้นจึง ทอดพระเนตร แปลงปลู ก ผั ก ชนิ ด ต่ า งๆ ของสถานี ห ลวงพั ฒ นาชาวเขา ซึ่ ง มี เ นื้ อ ที่ ๘๖ ไร่ แล้ ว จึ ง ประทั บ รถยนต์ พ ระที่ นั่ ง
เสด็จพระราชดำเนินกลับ ถึงพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ เวลา ๑๙.๔๐ น. 61
ภาพที่ ๘๔ : ผู้นำ และผู้อาวุโสของหมู่บ้านแม่สา ทำพิธีผูกขวัญ ที่ ข้ อ พระกร ถวายพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พร้ อ มด้ ว ย สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี และ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี เมื่อวันที่ ๒๒ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๑
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๘๕ : นายปร่าจื่อ แซ่ย่าง ราษฏรบ้านแม่สาทำพิธีผูกขวัญ ที่ข้อพระกร ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภาพที่ ๙๐ : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรการสาธิ ต ปลู ก ผั ก หมุ น เวี ย น ณ สถานี ท ดลอง การเกษตรหมู่บ้านแม่สาใหม่
ภาพที่ ๘๖ : พ ร ะ ป ร ม า ภิ ไ ธ ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว
พระนามาภิ ไ ธยสมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี และ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอเจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณ วลั ย ลั ก ษณ์ อั ค ราชกุ ม ารี เมื่ อ ครั้ ง เสด็ จ หมู่ บ้ า นแม่ ส าใหม่ วั น ที่ ๒๒ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๑
ภาพที่ ๙๑ : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรการสาธิ ต ปลู ก ผั ก หมุ น เวี ย น ณ สถานี ท ดลอง การเกษตรหมู่บ้านแม่สาใหม่ ภาพที่ ๘๙ : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรการสาธิ ต ปลู ก ผั ก หมุ น เวี ย น ณ สถานี ท ดลอง การเกษตรหมู่บ้านแม่สาใหม่
ภาพที่ ๘๘ : สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุ ม ารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี ทรงลงพระนามาภิไธยเสด็จเยี่ยมเยือนราษฎรม้งแม่สา
ภาพที่ ๘๗ : ทอดพระเนตรโรงสี ข้ า วพลั ง น้ ำ ซึ่ ง กรมชลประทาน ดำเนินการออกแบบและประดิษฐ ใช้เครื่องขับส่งกำลังด้วยเครื่องกังหัน
พลังน้ำธรรมชาติ สีข้าวได้ชั่วโมงละ ๒๕ ถัง
62
ต่อมาในวันที่ ๓ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ เวลา ๐๘.๐๐ น. สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เ สด็ จ พระราชดำเนิ น โดยรถยนต์ พระที่นั่งจากพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ ไปทอดพระเนตร การแสดงของช้าง ณ บริเวณน้ำตกแม่สา (ปางช้างแม่สา) ต่อจากนั้นเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการสาธิตการปลูกพืชผัก หมุนเวียน ณ สถานีทดลองการเกษตรหมู่บ้านแม่สาใหม่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 63
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๙๔ : เมื่อวันที่ ๓ เดือนมกราคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๒ เวลา ๐๘.๐๐ น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทอดพระเนตรการสาธิตปลูกผัก หมุนเวียน โดยมีนาย สุรพล สุขพงษ์ไทย เป็นผู้นำเสด็จ
ภาพที่ ๙๒ : สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี
ทอดพระเนตรการสาธิตปลูกผักหมุนเวียน ณ สถานีทดลองการเกษตร หมู่บ้านแม่สาใหม่
ภาพที่ ๙๓ : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จถึง ณ ที่ทำการสถานีทดลองการเกษตรหมู่บ้านแม่สาใหม่
สองปีต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงขับรถยนต์ พระที่ นั่ ง เสด็ จ พระราชดำเนิ น พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ บรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุ ม ารี จ ากพระตำหนั ก ภู พิ ง คราชนิ เ วศน์ ซึ่ ง ตรงกั บ วั น ที่ ๒๔ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๕ เวลา ๑๒.๕๐ น. ทอดพระเนตรโครงการปลู ก พื ช ทดแทนและการตลาดที่ สู ง
ไทย-สหประชาชาติ ครั้ น เสด็ จ พระราชดำเนิ น ถึ ง สำนั ก สงฆ์ ธ รรมจาริ ก แม่สาใหม่ เสด็จขึ้นศาลา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ถวายปัจจัยและยารักษาโรคแก่พระภิกษุ 64
ต่ อ จากนั้ น เสด็ จ พระราชดำเนิ น โดยรถยนต์ พ ระที่ นั่ ง ไปทอดพระเนตร โครงการจัดหาแหล่งน้ำให้ราษฎรชาวเขา ซึ่งกรมชลประทานได้ดำเนินการก่อสร้าง ระบบชลประทานสนองพระราชดำริ สำหรับแปลงทดลองและวิจัยพืชเศรษฐกิจ ตลอดจนแปลงเพาะปลูกพืชทดแทนชนิดต่างๆ เช่น มันฝรั่ง ผักสลัด พริกยักษ์ มะเขือเทศ แครอท ถั่วแขก ถั่วแดง ข้าวโพด กาแฟและข้าวไร่เป็นเนื้อที่ ๑,๒๐๐ ไร่ จากนั้นเสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งต่อไปยังที่ทำการหน่วยพัฒนา และสงเคราะห์ชาวเขา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานถุงของขวัญ และยารักษาโรคแก่ผู้แทนเจ้าหน้าที่และพนักงานประจำโครงการฯ พระองค์เสด็จฯ เข้าที่ทำการ เพื่อทอดพระเนตรแผนที่แสดงพื้นที่การเกษตร บริเวณบ้านแม่สาใหม่และพื้นที่ใกล้เคียง ในการนี้มีพระดำริ ความว่า เจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย ควรร่วมกันสำรวจและเตรียมขยายพื้นที่เพาะปลูก เพื่อทดแทนตามความเหมาะสม โดยพิจารณาสร้างโครงการชลประทานขนาดเล็กเพิ่มเติม โดยเฉพาะระยะฝนทิ้งช่วง ทั้งนี้ ต้องวางแผนใช้ที่ดินให้ได้ประโยชน์สูงสุด โดยการปลูกข้าวไร่สลับกับการปลูกพืช ตระกูลถั่วและพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นๆ หมุนเวียน รวมทั้งการเลี้ยงปศุสัตว์ ซึ่งจะ เป็นการบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ตามธรรมชาติอีกด้วย 65
ภาพที่ ๙๕ : แปลงสาธิตปลูกผักหมุนเวียน
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๙๖ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ถวายปัจจัยและยารักษาโรค แก่พระครูสิริชัยคุณ เจ้าสำนักพระธรรมจาริกบ้านแม่สาใหม่
ในโอกาสนี้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งมายังที่ทำการหน่วย พั ฒ นาและสงเคราะห์ ช าวเขา หลั ง จากทรงเยี่ ย มราษฎร ในหมู่บ้านและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หน่วยแพทย์ พระราชทานทำการตรวจรักษาราษฎรที่เจ็บป่วย ตลอดจน ทรงรั บ ไว้ เ ป็ น คนไข้ ใ นพระบรมราชานุ เ คราะห์ สมควร แ ก่ เ ว ล าจึ ง ป ร ะ ทั บ ร ถ ย น ต์ พ ร ะ ที่ นั่ ง เ ส ด็ จ ก ลั บ ถึ ง พระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์เมื่อเวลา ๑๙.๑๕ น. ภาพที่ ๙๗ : ทอดพระเนตรแผนที่แสดง พื้นที่การเกษตรบ้านแม่สาใหม่และพื้นที่ ใกล้เคียง โดยมีพระราชดำริให้ผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกันสำรวจ เตรียมขยายพื้นที่เพาะปลูก ตามความเหมาะสม และวางแผนการใช้ ที่ดินให้ได้ประโยชน์สูงสุด
66
ภาพที่ ๙๘ : ทอดพระเนตรโครงการจั ด หาแหล่ ง น้ ำ โดยกรมชลประทานสนองพระราชดำริ
ใช้ในแปลงทดลองและวิจัยพืชเศรษฐกิจ และแปลงเพาะปลูกทดแทน เนื้อที่ประมาณ ๑,๒๐๐ ไร่
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งจากพระตำหนัก ภูพิงราชนิเวศน์ เมื่อเวลา ๐๙.๑๐ น. ของวันที่ ๑๔ เดือนกุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๗ ไปยังศูนย์ส่งเสริม การเกษตรที่สูงทุ่งเริง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อทอดพระเนตรการดำเนินงานของศูนย์ฯและเยี่ยมราษฎร ที่มาเฝ้าทูลละอองพระบาท เสร็จแล้วประทับเสวยพระกระยาหารกลางวัน จากนั้น เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่งต่อไปยังโครงการพัฒนาแม่สาใหม่ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อทอดพระเนตรบริเวณ พื้นที่แปลงรวม ซึ่งจะใช้เป็นแปลงสาธิตและศึกษาวิธีการปลูกพืช ตลอดจนขยายพันธุ์พันธุ์พืชต่างๆ สำหรับส่งเสริม และสนับสนุนการเกษตรของชาวเขาที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านแม่สาใหม่ จากนั้นประทับรถยนต์พระที่นั่งเสด็จพระราชดำเนินต่อไปยังโรงเรียนแม่สาใหม่ พระราชทานถุงของขวัญแก่ เจ้าหน้าที่ คนงาน และพระราชทานอุปกรณ์การศึกษา อุปกรณ์กีฬาแก่ครู นักเรียน แม่สาใหม่ ทรงพระดำเนินเยี่ยม ราษฏรที่มาเฝ้าทูลละอองพระบาท และทอดพระเนตรการแสดงของกลุ่มหนุ่มสาวบ้านแม่สาใหม่ สมคววรแก่เวลา จึงประทับรถยนต์พระที่นั่งเสด็จพระราชดำเนินกลับพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ เมื่อเวลา ๑๖.๓๐ น. 67
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
..ตั้งแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๐๗ ถึงปีพุทธศักราช ๒๕๒๗ รวมระยะเวลานาน ๒๐ ปี พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และพระบรมวงศานุ ว งศ์ เ สด็ จ ยั ง บ้ า นแม่ ส า นั บ จำนวนได้ ถึ ง ๑๓ ครั้ง ทุกรอยพระบาทที่พระองค์และเหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จมาในครัง้ นัน้ นำมาซึง่ ความผาสุกสูห่ มูบ่ า้ นแม่สาตราบจนบัดนี้ แม้ ร่ อ งรอยเหล่ า นั้ น ได้ ป ระทั บ ลงบนผื น แผ่ น ดิ น แห่ ง นี้ . . นานมาแล้ ว ก็ ต าม แต่ ใ นวั น นี้ ในวั น ข้ า งหน้ า หรื อ วั น ไหนๆ รอยพระบาทยาตราของพระองค์ จ ะยั ง ตรึ ง ตราในจิ ต ใจ ของเหล่าชาวม้งบ้านแม่สา ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ อันหาที่สุดมิได้ ภาพที่ ๙๙ : สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุ ม ารี
ทรงพระดำเนินเยี่ยมราษฎรชาวม้งแม่สา ที่มาเฝ้าทูลละอองพระบาท
ภาพที่ ๑๐๐ : พ ร ะ ร า ช ท า น อุ ป ก ร ณ์
การศึ ก ษา อุ ป กรณ์ กี ฬ า แก่ ค รู นั ก เรี ย น โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ บ้านแม่สาใหม่
68
69
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
สัมภาษณ์บุคคลเคยร่วมเข้าเฝ้ารับเสด็จ
รอยเสด็จของ สถิตตราตรึงใจ การเสด็จของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงค์ เมื่อครั้งอดีต ก่อให้เกิดคุณูประการอันใหญ่หลวง แก่ชาวม้งบ้านแม่สา ด้วยพระเมตตาและพระมหากรุณาธิคุณ อันล้นพ้นที่แผ่ไพศาล ทุกย่าง พระบาทของพระองค์ที่ก้าวลงผืนแผ่นดินแห่งนี้ จะเป็นที่จดจำ สถิตแนบ ลึ ก ลงในทุ ก ดวงใจ ตลอดไปชั่ ว ลู ก สื บ หลานบั น ทึ ก เป็ น ตำนานแห่ ง ประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ม้งตราบนานเท่านาน
70
พระครูสิริชัยคุณ พระครูสิริชัยคุณ เจ้าสำนักสงฆ์ธรรมจาริกบ้านแม่สาใหม่(สมณศักดิ์ปัจจุบัน พระศีลวัตรวิมล เจ้าคณะอำเภอ สะเมิง/เจ้าอาวาสวัดสะเมิง/รองผู้อำนวยการโครงการพระธรรมจาริกส่วนภูมิภาค) เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาและส่งเสริมการศึกษาในท้องถิ่นทุรกันดารแก่ชาวเขา (โครงการธรรมจาริก ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ) ที่บ้านแม่สาใหม่เมื่อปี พุทธศักราช ๒๕๑๔ โดยทางเจ้าหน้าที่กรมประชาสงเคราะห์เป็นผู้สร้าง อาศรมชั่วคราวให้ ต่อมาย้ายมาตั้งสำนักอาศรมธรรมจาริก บนที่ดินของนาย เล่าเซ้ง แซ่ย่าง ยกให้เมื่อพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาบ้านแม่สาใหม่ แต่ละครั้งพระองค์มักจะไถ่ถามพระครูสิริชัยคุณ ว่า พระคุณเจ้าเราจะช่วยชาวเขา ได้อย่างไร ชาวเขาที่นี้มีข้าวพอกินไหม พระครูสิริชัยตอบว่าข้าวมีไม่พอกิน ขาดไปอีก ๑๐% จึงทูลต่อในหลวงว่าต้อง ขยายพื้ น ที่ ท ำนาเพิ่ ม ขึ้ น อี ก และอยากได้ อ่ า งเก็ บ น้ ำ ไว้ ใ ช้ ท ำนาและเพาะปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ อื่ น ๆ ต่ อ มาในหลวงได้ พระราชทานอ่างเก็บน้ำให้ตามความต้องการ พระราชทานโรงเรียน พระราชทานโรงสีข้าว และอื่นๆ อีกมากมาย รู้สึกดีใจเป็นอย่างยิ่งที่ในหลวงเสด็จมาที่แม่สาใหม่ พระองค์ทรงเสียสละเวลาอันมีค่า ถือว่าเป็นมหามงคลอันยิ่งใหญ่ ต่อคณะสงฆ์และชาวเขาเผ่าม้งบ้านแม่สาใหม่ สิ่งต่างๆ ที่พระองค์พระราชทานมีประโยชน์ยิ่งต่อหมู่บ้าน ให้ทุกคนจง ตระหนัก ลด-ละ-เลิก การปลูกฝิ่น หันมาปลูกพืชเศรษฐกิจแทน 71
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ร้อยตำรวจตรี สวัสดิ์ กลิ่นอุทัย (ครูสวัสดิ์) ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ ๒๗๑ หมู่ ๑ ต.แม่สา อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ จ่าสิบตำรวจสวัสดิ์ กลิ่นอุทัย (ยศขณะนั้น) เคยปฏิบัติหน้าที่เป็นครู ตชด. อยู่ที่ดอยปุยมาก่อน ตอนนั้นมีนักเรียนจากบ้านแม่สาเดินทางไปเรียนที่ดอยปุย ๓ คน คือนายเปา (อดีตผู้ใหญ่บ้านแม่สา) ผู้ช่วยหยัว ผู้ช่วยชะ ต่อมาจ่าสิบตำรวจสวัสดิ์ กลิ่นอุทัยได้เป็นครูใหญ่คนแรก ที่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๗ บ้านแม่สาใหม่ ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕๑๒ ถึง ๒๕๑๕ มีครูผู้ช่วยพลเรือน ชื่อครูจรวย คำหนองยาง เคยรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ได้รับพระราชทานสิ่งของ จากพระองค์ และเคยเฝ้ารับเสด็จสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีฯ ที่ทรงเสด็จพระราชดำเนินมาประกอบพิธีเปิด โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ เมื่อ วันที่ ๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๔ เป็นโรงเรียนที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงพระราชทานแก่ชาวม้งแม่สา ประทับใจที่สมเด็จย่าฯ พระองค์ทรงชื่นชม ตำรวจตระเวนชายแดน ว่า มีความอดทน เสียสละเป็นพิเศษและ ทรงเรียกว่า “ลูกๆ” (ครูสวัสดิ์ กลิ่นอุทัย เสียชีวิตลงเมื่อ เดือนกรฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕)
72
ดาบตำรวจศุภชัย ยี่เก็งเอี่ยม (ครูแกละ) ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ ๒๒/๑ หมู่ ๓ ต.แม่แฝกใหม่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ เคยปฏิบัติหน้าที่เป็นครูใหญ่ คนที่สอง ต่อจากร้อยตำรวจตรี สวัสดิ์ กลิ่นอุทัย ณ โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕๑๖ ถึง ๒๕๒๐ เคยเฝ้ า รั บ เสด็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ บรมราชิ นี น าถ และสมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระองค์มีรับสั่งสรุปใจความว่า ในฐานะที่ใกล้ชิดกับชาวบ้าน ขอครูช่วยดูแล แนะนำ ชาวบ้าน ให้รักษาป่าไม้แหล่งต้นน้ำลำธารไม่ตัดต้นไม้หรือทำลายป่า สอนให้เด็กๆ เรียนรู้กับธรรมชาติที่เอื้อประโยชน์ ต่อกันและกัน พระองค์ทรงตรัสบ่อยๆ ว่าอย่าทำให้ชาวบ้านเดือดร้อน ประทับใจที่พระองค์ทรงชื่นชมว่าสอนหนังสือได้ดี ทำให้เด็กม้งสามารถพูดภาษาไทยได้อย่างชัดเจน รู้สึกปลาบปลื้มเป็นล้นพ้น นับเป็นเกียรติประวัติอันสูงส่งแก่วงศ์ตระกูล ที่ได้สนองพระราชกระแสรับสั่งของพระองค์ ตลอดจนรู้สึกยินดีที่วันนี้บรรดาลูกศิษย์ของครูแกละต่างก็ประสบความสำเร็จ เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และฝากความรำลึกถึงพี่น้องชาวบ้านแม่สา ขอทุกคนจงช่วยกันทำความดีถวายแด่พระองค์ 73
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
นายสุรพล สุขพงษ์ไทย ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ ๖๓/๑ หมู่ ๓ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ เคยปฏิบัติหน้าที่ที่หมู่บ้านแม่สา ระหว่าง ปีพุทธศักราช ๒๕๑๖ ถึง ๒๕๒๒ ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเงินจำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท เพื่อก่อสร้าง ศูนย์สงเคราะห์และพัฒนาชาวเขาบ้านแม่สา แล้วรับสั่งว่าควรจะมีใครมาประจำอยู่ที่นี่ ต่อมานายสุรพล สุขพงษ์ไทย จึงได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้าศูนย์ฯ คนแรก เคยเฝ้ารับเสด็จอย่างใกล้ชิดเพื่อสนองกระแสรับสั่งจากพระองค์ เพื่อ ช่วยเหลือชาวม้งแม่สา ด้านการประกอบอาชีพ และการพัฒนาอื่นๆ มี ค วามประทั บ ใจที่ ไ ด้ รั บ ใช้ เ บื้ อ งพระยุ ค คลบาท นั บ เป็ น ศั ก ดิ์ เ ป็ น ศรี และเกี ย รติ ป ระวั ติ แ ห่ ง วงศ์ ต ระกู ล ขอ พระบารมีปกเกล้า
ลุงกั่ว แซ่หาง (รัตนดิลกกุล)
อยู่บ้านเลขที่ ๑๑ หมู่ ๖ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
เป็นบุคคลในภาพที่เฝ้ารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกลางไร่ฝิ่น ภาพที่ถืออยู่ในมือ ลุงกั่วกำลังชี้มือไปยัง เนินเขาอีกลูกหนึ่งและทูลแก่พระองค์ว่า บนดอยที่สูงชันจะปล่อยให้เป็นป่าไม้ธรรมชาติ ส่วนพื้นที่ลาดต่ำลงมาจะปลูก พืชเกษตร ต่อมา ณ ที่แห่งนี้ลุงกั่วได้ปลูกต้นไทรไว้ ๑ ต้น เพื่อเป็นเครื่องหมายให้ระลึกว่าครั้งหนึ่งพระองค์เคย ทรงเสด็จมา ลุงกั่ว แซ่หาง กล่าวถึงในหลวงว่า ...”ผมเกิดมาได้ ๒ ปี ผมก็มาอยู่บนแผ่นดินของในหลวง ตอนนี้ผมอายุ ได้ ๙๓ ปี ผมเป็นห่วงในหลวงมาก ผมดูทีวีแล้วอยากร้องให้ สงสารพระองค์มาก ขอให้พระองค์ทรงหายประชวร
ทรงพระเกษมสำราญ อายุยืนนานตลอดไป มีชีวิตสดใสดั่งสายน้ำ เขียวชุ่มดังป่า…“ (ลุงกั๋ว แซ่หาง เสียชีวิตลงเมื่อ เดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕)
74
75
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
พ่อหมอ อันไช แซ่ย่าง
นายอาสา แช่ ย่ า ง (เลิ ศ ชั ย สหกุ ล )
ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ ๔๐/๑ หมู่ที่ ๖ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
เป็ น บุ ค คลในภาพที่ ร่ ว มผู ก ข้ อ พระกร พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัคราชกุมารี เมื่อพระองค์เสด็จมาบ้านแม่สาใหม่ เมื่อปี พุทธศักราช ๒๕๒๑ ในภาพทั้งหมดคือผู้อาวุโสของหมู่บ้านที่เป็นตัวแทนทำพิธีฯ ในครั้งนั้น ปัจจุบัน ตนเอง เป็นบุคคลเพียงคนเดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ ทุกวันนี้ทำหน้าที่เป็นหมอพื้นบ้านรักษาโรคภัยต่างๆ ด้วยสมุนไพรและความเชื่อ ทางจิตวิญญาณ พ่อหมออันไซเล่าว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาบ้านเราเพื่อให้ความช่วยเหลือพี่น้องม้งบ้านแม่สา พวกเราต่างนำพืชผลทางการเกษตรและสิ่งของต่างๆ ไปถวายแสดงความขอบคุณ พระองค์ทรงเห็นว่าสิ่งของที่ชาวม้ง
นำมาทูลถวาย เช่น มันฝรั่ง พืชผักอื่นๆ เป็นพันธุ์พื้นบ้าน ตลอดจนสัตว์เลี้ยงที่ใช้แรงงานหรือใช้ปริโภคต่างก็มีคุณภาพ ไม่ดีนัก ต่อมาไม่นานพระองค์จึงพระราชทานหัวเชื้อพันธุ์มันฝรั่งพันธุ์สปูนต้า พระราชทานพ่อพันธุ์โค พระราชทานหมู ตัวยาวๆ สีแดง ๑ คู่ แกะ ไก่ เป็นต้น พวกเราชาวม้งแม่สาไม่มีสิ่งใดจะตอบแทนพระองค์ท่าน จึงได้ร่วมใจทำพิธีผูกขวัญที่ข้อพระกรถวายแด่พระองค์ ให้มีอายุยืนยาว วันนั้นพ่อหมออันไซรู้สึกดีใจเป็นอย่างมากที่ได้ใกล้ชิดกับพระองค์ และวันนี้พ่อหมออันไซเป็นห่วง อยากทำบุญให้มากๆ ส่งไปให้ในหลวง เพราะท่านเหนื่อยมามากที่ช่วยเหลือพวกเราให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นในทุกวันนี้ 76
อยู่บ้านเลขที่ ๙ หมู่ที่ ๖ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ เป็นทายาท (บุตรชาย) ของนายปร่าจือ แซ่ย่าง
บุคคลในภาพวงกลมคือ นายปร่าจือ แซ่ย่าง ทำพิธีผูกขวัญที่ข้อพระกรถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อ วั น ที่ ๒๒ มกราคม ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๑ ณ บ้ า นแม่ ส าใหม่ ต.โป่ ง แยง อ.แม่ ริ ม จ.เชี ย งใหม่ เสี ย ชี วิ ต เมื่ อ ปี พุทธศักราช ๒๕๓๗ อายุ ๘๔ ปี มีความสามารถทางด้านดนตรี เป่าแคน ภรรยาชื่อไปล่ แซ่ย่าง อายุ ๙๕ ปี พูดไทยไม่ได้ (เสียชีวิตแล้วเมื่อเดือนกันยายน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔) มีบุตรทั้งหมดรวม ๗ คน นายปร่าจือ แซ่ย่าง เป็นบุคคลในภาพที่ ๔ ในโครงการตามหาศิลปินพื้นบ้านในแผ่นดินของเรา จากภาพทั้งหมด ๙ ภาพ ของกระทรวงวัฒนธรรมที่ได้จัดขึ้นในปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ เพื่อตามหาบุคคลที่มีอยู่ในภาพที่มีโอกาสเข้าเฝ้า
ทูลละอองธุลีพระบาทและแสดงต่อหน้าพระพักตร์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอย่างใกล้ชิดเมื่อในครั้งอดีต เพื่อเชิญบุคคล ในภาพหรือทายาทมาเข้าเฝ้าถวายพระพร และบอกเล่าความประทับใจในความเมตตาที่พระองค์ทรงมีต่อพสกนิกรให้ ประจักษ์ต่อสายตาสาธารณชนชาวไทย และเพื่อแสดงกตเวทิตาสนองพระมหากรุณาธิคุณ เผยแพร่พระเกียรติคุณให้ แผ่ไพศาล ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓ หรืองานแผ่นดินของเรา 77
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
Mr. Richard S.Mann นายริชาร์ด เอส แมน หรืออาจารย์แมน เป็นผูป้ ระสานงาน ฝ่ายอเมริกันโครงการแก้ปัญหาการปลูกพืชเสพติดและสนับสนุน โครงการ ชื่อหน่วยงานที่สังกัดในขณะนั้น Thai/UN Crop Replacement and Community Development Project (Thai/UN CRCDP) and Thai/UN Highland Agricultural Marketing and Development Project (Thai/UN HAMPP)-Both projects funded by the United Nations Fund for Drug Abuse Control (UNFDAC) under the United Nations Programe for Drug Abuse Control
นายอาสา แช่ย่าง (เลิศชัยสหกุล) เล่าว่าตอนนั้นตนเอง และเพื่อนๆ ยังเป็นเด็กพวกเราจำได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวเสด็จมาเยี่ยมบ้านเรา ลูกๆ ทุกคนดีใจที่คุณพ่อได้มีโอกาสทำพิธี ผู ก ขวั ญ ที่ ข้ อ พระกรถวายให้ ใ นหลวง มี อ ายุ ยื น นาน อยู่ ดี ส บาย หลังจากในหลวงเสด็จกลับ พ่อเล่าให้ลูกทุกคนฟ้งว่า พ่อมีความ ปลาบปลื้ ม ยิ น ดี ม าก ในหลวงบอกว่ า ให้ ลู ก ๆ ตั้ ง ใจทำมาหากิ น รักษาป่า รักษาน้ำ ไม่ปลูกฝิ่น รักษาแผ่นดินไว้ให้มั่นคง จะมีรายได้ มี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น กว่ า เดิ ม นอกจากนั้ น ในหลวงยั ง พระราชทานเมล็ ด พั น ธุ์ ก าแฟอาราบิ ก า มาให้ พ วกเราปลู ก เพื่ อ ทดแทนการปลูกฝิ่น
78
ความรู้สึกที่มีต่อ พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯในฐานะที่ เ ป็ น
ชาวต่ า งประเทศและได้ มี โ อกาส ถวายงานในครั้งนั้น
As a Christian who has worked and lived in Thailand, primarily a Buddhist country, I am most appreciative and thankful for the policy of the Thai government to allow Freedom of Religion. Therefore, I am honored
and most grateful that in the name of the God I worship, have the opportunity to ask for the special blessings of peace, contentment and happiness be bestowed upon His Majesty the King of Thailand now and as long as he lives. 79
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ แม้ว่าการเสด็จพระราชดำเนินได้ผ่านไปเป็นเวลานานแล้ว หากแต่แนวคิดในการพัฒนาเพื่อ นำไปสู่ ก ารพึ่ ง พาตนเองนั้ น เสมื อ นเมล็ ด พั น ธุ์ แ ละต้ น กล้ า แห่ ง พระราชดำริ ได้ ถู ก หว่ า นและ เพาะปลูกลงบนผืนแผ่นดินแห่งนี้ ยังคงได้รับการสืบสานต่อตลอดมา เมล็ดพันธุ์เหล่านั้นในวันนี้ เติบโต แข็งแรง ผลิดอก ออกผล ยืนยงบนผืนแผ่นดินบ้านม้งแม่สา นี่คือการพัฒนาที่สมบูรณ์อย่างแท้จริง เมื่อพืชพันธุ์ หยั่งรากลงลึก แผ่กิ่งก้านสาขา ดินแดน แห่งนี้จึงเต็มไปด้วยสีสันของความหลากหลายแห่งระบบนิเวศ ท่ามกลางขุนเขาเขียวขจีที่ได้รับ
การฟื้นฟูควบคู่ไปกับชนเผ่าชาติพันธุ์ม้งแห่งแม่สา
ผลผลิตการเกษตรของชาวม้งบ้านแม่สา เช่น สตรอเบอร์รี่ พริกหวาน ลูกฟักแม้ว
80
81
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
82
83
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
84
85
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
86
87
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
88
89
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
90
91
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
๔ ด้วยเปี่ยมล้น พระเมตตา
“ม้งแม่สา จึงมีวันนี้”
92
93
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
เมื่อแรกเริ่มโครงการหลวง “...เมื่ อ วั น ที่ ๒๘ มกราคม เราขึ้ น เฮลิ ค อปเตอร์ ไ ปลงบนไร่ ฝิ่ น ที่ ก ำลั ง ออกดอกบานสะพรั่ ง เราออกเดิ น
๒๕ นาที ก็ถึงหมู่บ้านม้งชื่อแม่สา ซึ่งอยู่ต่ำกว่าแม่สาเดิม นอกจากนี้เรายังเอาลูกหมูอย่างดีไปด้วย ๓ ตัว สำหรับ ขยายพั น ธุ์ พร้ อ มด้ ว ยพื ช สำหรั บ ปลู ก เป็ น อาหารหมู นั้ น ...” กระแสพระราชดำรั ส พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว
แก่ผู้มาเฝ้าฯ ที่พระตำหนักจิตรลดาในงานสันนิบาตโรตารี ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒
94
จากการเสด็ จ พระราชดำเนิ น บ้ า นแม่ ส าในครั้ ง นั้ น นั บ เป็ น ปฐมเหตุ แห่งการก่อตั้งโครงการหลวง เพื่อช่วยเหลือชาวไทยภูเขาให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตราบกาลปัจจุบัน นับจากวันนั้นวิถีชีวิตของชาวม้งบ้านแม่สาได้เปลี่ยนแปลงไป จากน้ำพระทัยอันเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่มี ต่ อ ชาวม้ ง พระองค์ ท รงมี ค วามห่ ว งใยและต้ อ งการช่ ว ยเหลื อ ราษฎรให้ มี ชี วิ ต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทรงเห็นว่าที่มาของปัญหาต่างๆ เกิดจากความยากจนและ การขาดโอกาสหลายๆ ด้ า นในชี วิ ต จึ ง ทำให้ เ กิ ด แนวพระราชดำริ ต่ า งๆ ขึ้ น และได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ตั้งโครงการหลวงในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เพื่ อ พั ฒ นาการเกษตรบนที่ สู ง ลดการปลู ก ฝิ่ น และอนุ รั ก ษ์ ต้ น น้ ำ ลำธาร จนเกิดเป็นโครงการหลวง และโครงการหลวงบ้านแม่สา ที่ช่วยและพัฒนาให้
ชาวม้ง มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จวบจนสามารถพึ่งตนเองได้ในปัจจุบัน 95
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
นับได้ว่าในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เป็นปีแห่งการเริ่มต้นการทรงงานทางด้านการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ มบนพื้ น ที่ สู ง ภาคเหนื อ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ดั ง กระแสพระราชดำรั ส ณ พระตำหนั ก จิ ต รลดารโหฐาน เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๗ ความตอนหนึ่งว่า “...โครงการหลวงได้ เ ริ่ ม ขึ้ น เป็ น กิ จ กรรมที่ เ ล็ ก ๆ ซึ่ ง ไม่ เ ป็ น โครงการแต่ เ ป็ น
การไปเที่ยวมากกว่า คือ ไปเที่ยวตามหมู่บ้านต่างๆ ก็ได้เห็นว่า ควรที่จะช่วยประชาชน
ในการประกอบอาชีพจึงได้นำสิ่งของไปให้เขาเพื่อที่จะพัฒนาการประกอบอาชีพของชาวบ้าน
ต่อมาก็ได้เพิ่มขึ้น มีผู้เชี่ยวชาญและหน่วยงานราชการได้เข้ามาช่วยและมีคนส่วนหนึ่งช่วย
เพื่อที่จะให้เกิดการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้น ต่อมามีการร่วมมือขององค์กร ต่างประเทศ ตลอดจนรัฐบาลไทยและรัฐบาลต่างประเทศด้วย จึงเกิดเป็นโครงการที่เรียกว่า
“โครงการหลวง”
ในระยะแรก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า “โครงการหลวงพระบรมราชานุเคราะห์ ชาวเขา” และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี
ดำรงตำแหน่ ง ผู้ อ ำนวยการโครงการหลวงพระบรมราชานุ เ คราะห์ ชาวเขา ต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “โครงการหลวงพั ฒ นาชาวเขา” “โครงการหลวงภาคเหนือ” และ “โครงการหลวง” ในที่สุด
96
97
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
เมื่อแรกเริ่มโครงการหลวง พระเมตตากรุณาแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่มีต่อชาวม้งบ้านแม่สานั้นมากมายเกินพรรณนา เริ่มต้นตั้งแต่ ครั้งเสด็จฯ มาในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเฮลิคอปเตอร์พระทีน่ งั่ เสด็จ ทอดพระเนตรไร่ฝนิ่ ทีก่ ำลังออก ดอกบาน เมื่อเสด็จพระราชดำเนินมาถึงหมู่บ้านชาวเขาเผ่าม้ง แม่สาใหม่ พระองค์ทอดพระเนตรเห็นสุกร ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงที่ สำคัญต่อการดำรงชีพตามวิถีชีวิตและพฤติกรรมของชาวม้ง มี ข นาดเล็ ก พุ ง ลากดิ น จึ ง ได้ พ ระราชทานลู ก สุ ก รพั น ธุ์ ดี จำนวน ๓ ตัวพร้อมพันธุ์พืชอาหารสัตว์เพื่อเพาะปลูกให้แก่ ชาวเขา คือ มันสำปะหลัง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔ พระราชทานแกะจำนวน ๕ ตัวแก่หมูบ่ า้ นแม่สาใหม่ ตามโครงการพระบรมราชานุเคราะห์ชาวเขา
ภาพที่ ๑๐๑ : พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทาน
ลูกสุกรพันธุ์ลูกผสมแก่ชาวม้งบ้านแม่สา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๒
ห้วงวันวานบ้านแม่สา การดำเนินชีวิตของชาวม้งในอดีต เป็นการดำรงชีพด้วยการเกษตรแบบไร่ย้ายที่หรือทำไร่เลื่อนลอย การเกษตรที่เพาะปลูก ได้แก่ ข้าวไร่ ข้าวโพด พืชผักต่างๆ โดยเฉพาะฝิ่น ซึ่งปลูกกระจัดกระจายตามไหล่เขา บางครั้งมีการตัดไม้น้อยใหญ่ ถางพื้นที่ป่า เผาป่าบนพื้นที่ภูเขา เพื่อการยังชีพของตนโดยไม่อาจตระหนักถึง ผลกระทบที่ตามมา หมู่บ้านม้งแม่สาเป็นชุมชนหนึ่งที่ถูกกล่าวขานว่า เป็นแผ่นดินแห่งการปลูกฝิ่น เนื่องจากในอดีต ฝิ่น เป็นพืชที่ปลูกง่าย สามารถนำมาเป็นยารักษาความเจ็บปวดของคนในชุมชน นอกจากนี้ การปลูกฝิ่น
เพื่อจำหน่ายยังเป็นหนทางที่สำคัญที่สร้างรายได้มาเลี้ยงชีพของชาวม้ง กอปรกับมีผู้เข้ามารับซื้อฝิ่นถึงที่ เป็นการอำนวยความสะดวกแก่การค้าขาย จึงทำให้มีการปลูกฝิ่นมากจนนำไปสู่กระบวนการขาย การผลิต และการค้ายาเสพย์ติดในที่สุด
98
99
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
นอกจากพันธุ์สัตว์ที่พระราชทานแล้ว พระองค์ยังพระราชทานพันธุ์พืชต่างๆ ให้ แ ก่ ช าวม้ ง ในคราวที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เสด็ จ มาที่ ห มู่ บ้ า นแม่ ส า พระองค์จะพระราชทานพันธุ์พืชสำหรับปลูกบริโภคในครัวเรือน และพืชเศรษฐกิจ เพื่ อ เพาะปลู ก ช่ ว ยสร้ า งรายได้ ใ ห้ แ ก่ ช าวม้ ง เช่ น ยอดมั น สำปะหลั ง ข้ า วฟ่ า ง พริกไทย กาแฟ แครอท ลิ้นจี่ ถั่วแดง ฯลฯ
ภาพที่ ๑๐๒ : สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระราชดำเนิน ทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ บ้านแม่สาใหม่ เมื่อปี พุทธศักราช ๒๕๑๔
ด้วยความห่วงใยในราษฎรของพระองค์และทรงเห็นว่า การบริจาคสิ่งของนั้นไม่ยั่งยืนเท่าการให้อาชีพ พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พ ระราชดำริ แ ละพระราชดำรั ส แก่ ช าวม้ ง หลายประการ เพื่ อ ให้ ช าวม้ ง นำไปเป็ น แนวทางในการสร้ า ง ชุมชนที่เข้มแข็งและยั่งยืน อาทิ ให้รักษาแหล่งน้ำด้วยการปลูก ไม้ผลแทนไม้ล้มลุก ทรงแนะนำว่า บริเวณจัดสรรพื้นที่ทำกิน ควรจัดทำเป็นลักษณะหมู่บ้านสหกรณ์ ที่มีคณะกรรมการหมู่บ้าน ดูแลรักษาผลประโยชน์ของสมาชิก
100
101
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๐๓ : แหล่งต้นน้ำลำธารอันอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ดอยแม่สา ที่พระองค์มีพระราชดำรัสให้มีการจัดการด้านการใช้น้ำ การใช้ประโยชน์ จากที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
มีพระราชดำรัสแนะนำให้เจ้าหน้าที่โครงการจัดการ ลุ่มน้ำแม่สา ได้จัดทำแผนที่รายละเอียดขอบเขตป่าสงวน หมู่บ้านและไร่นา เพื่อขจัดปัญหาที่ประชากรในท้องถิ่นนั้น จะล้ำเกินขอบเขตของทางราชการหรือของเพื่อนบ้าน
102
คราวเสด็ จ ทอดพระเนตรแปลงกาแฟและยาสู บ ซึ่งนายสุรพล สุขพงษ์ไทย หัวหน้าสถานีฯ กราบบังคมทูลว่า
ต้ น กาแฟเริ่ ม มี ด อกแล้ ว ส่ ว นต้ น ยาสู บ พบว่ า บางต้ น เป็ น โรคเพลี้ ย อ่ อ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มี
กระแสพระราชดำรัสว่า สำหรับต้นกาแฟมีอายุน้อยอยู่นั้น เมื่อเริ่มมีดอกต้องเด็ดทิ้งเสียครึ่งหนึ่ง เพื่อให้ต้นกาแฟมี โอกาสเจริญเติบโตได้เต็มที่ ส่วนต้นยาสูบที่เป็นโรคนั้น ต้องรีบกำจัดทันที มิฉะนั้นจะลุกลามไปทั่วแปลงและทำให้ ป้องกันยาก เมื่อนายเล่าแต่ง แซ่โซ้ง ขอพระราชทานมันฝรั่ง เพื่อนำไปแจกจ่ายให้ราษฎรปลูก โปรดเกล้าฯ ให้สำรวจ ที่ ดิ น ที่ จ ะปลู ก เสี ย ก่ อ น เพื่ อ ทราบปริ ม าณมั น ที่ แ น่ น อน ซึ่งจะใช้ปลูก 103
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
เมื่ อ ทอดพระเนตรแผนที่ แ สดงพื้ น ที่ ก ารเกษตร บริเวณบ้านแม่สาใหม่และพื้นที่ใกล้เคียง มีพระราชดำริว่า เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายควรร่วมกันสำรวจและเตรียมขยายพื้นที่ เพาะปลูกเพื่อทดแทนตามความเหมาะสม โดยพิจารณา สร้างโครงการชลประทานขนาดเพิ่มเติมโดยเฉพาะระยะ ฝนทิ้ ง ช่ ว ง และต้ อ งวางแผนการใช้ ที่ ดิ น ให้ ไ ด้ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด โดยการปลู ก ข้ า วไร่ ส ลั บ การปลู ก พื ช ตระกู ล ถั่ ว และพื ช เศรษฐกิ จ ชนิ ด อื่ น ๆ หมุ น เวี ย นการเลี้ ย งปศุ สั ต ว์ ซึ่ ง จะเป็ น การบำรุ ง รั ก ษาความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องพื้ น ที ่
ตามธรรมชาติอีกด้วย
104
ภาพที่ ๑๐๔ : เด็กนักเรียนโรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ บ้านแม่สาใหม่ กับรางวัลแห่งชัยชนะในการแข่งขันกีฬา
นอกจากด้านอาชีพแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญในด้านการศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัย สำคัญในการพัฒนาคน จึงได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์สนับสนุนโรงเรียน เจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ ช่วยให้ การศึกษาของชุมชนมีความเจริญและบุตรหลานชาวม้งได้รับ การศึกษาที่ดี
105
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๐๕ : พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทานสิ่งของ เมล็ดพันธุ์พืช ต่างๆ และมี พระราชกระแสรับสั่ง ถาม และทรงชี้แนะแนวทาง การพัฒนา ให้ผู้นำหมู่บ้านแม่สา
ภาพที่ ๑๐๖ : ต้นพลับที่พระองค์ทรงปลูกพระราชทานแก่ ชาวม้งบ้านแม่สา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๗ ขณะที่กำลัง
ให้ผลผลิต
106
ทุ ก ครั้ ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เสด็ จ ฯ เยี่ยมชาวไทยภูเขาพระองค์จะพระราชทานเครื่องอุปโภค บริโภค แก่ครู ประชาชน เจ้าหน้าที่ตำรวจตระเวนชายแดน พร้อมทั้งทอดพระเนตรงานติดตามผล ทรงไถ่ถาม และ ชี้แนะแนวทางในทุกด้านแก่ประชาชน อาทิ การเลี้ยงสัตว์ การเกษตร การใช้น้ำ และชีวติ ความเป็นอยูข่ องราษฎรเสมอ มิได้ขาด นอกจากนี้แล้วพระองค์ทรงตระหนักเรื่องสุขภาพ
ของประชาชนชาวม้ง เห็นได้จากคราวเสด็จบ้านแม่สา พ.ศ. ๒๕๑๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์หลวงและพยาบาล ซึ่งตามเสด็จฯ ตรวจรักษาและให้ยารักษาโรคแก่ชาวบ้าน ตลอดจนทรงรั บ ไว้ เ ป็ น คนไข้ ใ นพระบรมราชานุ เ คราะห์ นับว่าพระองค์ทรงมีพระเมตตาและกรุณาต่อพสกนิกรม้ง อย่างล้นพ้น
107
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
กว่า ๔ ทศวรรษ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงริเริ่มแนวทางการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ ทีส่ งู ให้ถกู ต้องเหมาะสม พืน้ ทีอ่ นั เป็นต้นกำเนิด ของแม่น้ำลำธารที่สำคัญของประเทศ อีกทั้งเป็นที่อยู่อาศัยของชาวเขา สภาพภูเขา ที่ โ ล้ น แล้ ง ซึ่งถูกทำลายจากการทำไร่เลื่อนลอยและการปลูกฝิ่นของชาวไทยภูเขา กลับกลายเป็นผืนป่าอุดมสมบูรณ์ให้คนได้พึ่งพาและหาเลี้ยงชีพทั้งเป็นแหล่งผลิต
อันสมบูรณ์ด้วยพืชเศรษฐกิจ อย่างพลิกฝ่ามือ สิ่งที่ประจักษ์แก่สายตา คือ ผลของ การทำงานอย่างบูรณาการของโครงการพัฒนาหมู่บ้านม้งแม่สา อันเนื่องมาจาก พระราชดำริของในหลวง จนทำให้ชีวิตของคนที่นี่เปลี่ยนไป มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง มี อ าชี พ ที่ สุ จ ริ ต มี ร ายได้ ที่ มั่ น คง และที่ ส ำคั ญ คนในชุ ม ชนมี ค วามรั ก ถิ่ น ฐาน มีความรู้สึกเป็นเจ้าของแผ่นดินที่อยู่อาศัยและมีความสุข กับผืนป่าอันเป็นชีวิตและ จิตวิญญาณชาวม้ง
บ้านม้งแม่สาในวันนี้ ด้ ว ยน้ ำ พระทั ย ที่ เ ปี่ ย มด้ ว ยพระเมตตาของ เกิ ด ผลดี ที่ สุ ด พร้ อ มกั น นี้ ยั ง มี ก ารผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ ผั ก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่มีต่อชาวม้งแม่สา ในวันนี ้ บางชนิ ด สนั บ สนุ น งานส่ ง เสริ ม การผลิ ต ผั ก ของมู ล นิ ธิ ชาวม้งแม่สาได้พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างมากมาย โครงการหลวง นอกจากนี้ ยังมีอาชีพนอกภาคการเกษตร มี อ าชี พ ที่ มั่ น คง มี ศู น ย์ พั ฒ นาโครงการหลวงแม่ ส าใหม่ ต่ า งๆ เกิ ด ตามมา เช่ น ค้ า ขาย หั ต ถกรรม รวมไปถึ ง ที่ช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรชาวเขาปลูกพืชผักเมืองหนาว สิ่งสาธารณะประโยชน์ เช่น ถนน โบสถ์ โรงเรียน อาศรม แทนการปลูกฝิ่น ให้เกษตรกรเลี้ยงหมู และไก่พันธุ์พื้น ปัจจุบันบ้านม้งแม่สายังเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้ผู้ที่ เมืองเพื่อบริโภคเป็นอาหารโปรตีนและเพื่อเป็นแหล่งสาธิต สนใจได้เข้ามาท่องเที่ยวและศึกษาธรรมชาติได้ สรรพสิ่ง
และส่งเสริมให้ชาวเขารู้จักวิธีการใช้พื้นที่สำหรับการเกษตร ที่ ป รากฏเหล่ า นี้ ช่ ว ยให้ ป ระชาชนได้ มี อ าชี พ ที่ สุ จ ริ ต บนที่สูงที่ถูกต้องตามหลักวิชาการให้มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ สร้างรายได้แก่ครอบครัว และมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 108
109
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
110
111
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
๕ กลั่นจิตฝากถ้อย ร้อยคำถวาย
112
113
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๐๗ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินโดยทรงม้า ตามเส้นทางทุรกันดารบนภูเขาสูง เพื่อเยี่ยมเยียนชาวเขาในภาคเหนือ ภาพที่ ๑๐๙ : ชาวเขาเผ่าม้งถวายดอกดาวเรืองแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งเสด็จบ้านแม่สา
ภาพเหตุการณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงม้า เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรความทุกข์ยากของ ราษฎรบนดอยสู ง คื อ ประจั ก ษ์ พ ยานที่ ยื น ยั น ถ้ อ ยคำที่ ว่ า พระทรงเป็นยิง่ กว่าพระมหากษัตริย์ พระ คือ มหาราชผูย้ งิ่ ใหญ่ ทุกภาพทุกเหตุการณ์ก่อให้เกิดความปลื้มปิติเกินพรรณนา ทั้งนี้เพราะครั้งนั้นสภาพป่าเขาลำเนาไพร และเส้นทางเสด็จ ล้วนทุรกันดาร หลายครัง้ ต้องทรงพระดำเนินด้วยพระวิรยิ อุตสาหะ เพื่อให้เสด็จฯ ถึงจุดหมายที่ตั้งพระทัยไว้ น้ำพระทัยของพระองค์ จึงเปีย่ มล้นล้ำเลอค่ากว่าสิง่ ใดๆ สายตาทุกคูข่ องราษฎรบนดอยสูง ดวงใจทุ ก ดวงต่ า งปิ ติ แ ละอิ่ ม เอิ บ ยากแก่ ก ารอธิ บ ายด้ ว ย ถ้ อ ยคำใดๆ ทุ ก คนพนมมื อ และก้ ม ลงกราบพระองค์ แ ละ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ ด้วยความจงรักภักดี 114
ภาพที่ ๑๐๘ : พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พร้ อ มด้ ว ย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้า ลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี เสด็จเยี่ยมชม สวนส้มโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๓ เดือนกุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๙
หลายคนจึ ง จดจำโอกาสสำคั ญ ที่ ไ ด้ เ ข้ า เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนิน ยังพื้นที่ “ม้งแม่สา” หลากหลายเรื่องราวที่บอกเล่า
ช่ า งย้ ำ เตื อ นให้ ต ระหนั ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ
อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ นั บ เป็ น สาระสำคั ญ ที่ ท รงคุ ณ ค่ า และความหมาย ทุ ก ถ้ อ ยคำที่ ต่ า งกลั่ น จิ ต ฝากไว้
ในบทนี้ จึงเป็นเครื่องเตือนใจให้ชนรุ่นหลังนำไป พินจิ พิเคราะห์และภาคภูมใิ จว่า คนไทยนัน้ โชคดีทมี่ ชี วี ติ ในผืนแผ่นดินไทยอันมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบันทรงเป็นพระประมุข
ภาพที่ ๑๑๐ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับช่อดอกไม้ ที่ทูลถวายโดยหญิงชาวม้งบ้านแม่สา
115
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
คำบอกเล่าของ
นายหน่าง แซ่ย่าง และนายย่าหลือ แซ่โซ้ง ..มีทหารมาบอกว่าให้พวกเรามาช่วยกันทำพื้นที่ โดย เอาต้นฝิ่นออกพอให้เครื่องบินลงจอดได้ซึ่งจะมีในหลวงของ พวกเรามาเยี่ยม ดูความเป็นอยู่ของพวกเรา...
ภาพที่ ๑๑๑ : พระสงฆ์ แ ละเด็ ก นั ก เรี ย นโรงเรี ย นเจ้ า พ่ อ หลวงอุ ป ถั ม ภ์ ๗
บ้านแม่สาใหม่ ตั้งแถวรอรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างเสด็จทรงงาน
ภาพที่ ๑๑๒ : หมู่บ้านปางขมุ สถานที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์เคยเสด็จมาประทับแรม (ในเต็นท์)
116
จากนั้นก็มีเครื่องบินมาจอดที่ได้เตรียมไว้ ในหลวง ส่วนชาวบ้านก็ได้ไปขนย้ายไม้ที่บ้านโป่งแยงบ้าง หรือที่ ก็ได้เดินไปดูไร่ฝิ่นที่นี่ (บ้านปางขมุ) แล้วก็ได้เดินลงมา ข้างทางบ้าง โดยเป็นการจัดสร้างของในหลวงทำให้ทุกคน ตามสั น เขา ซึ่ ง เป็ น เส้ น ทางที่ ม าหมู่ บ้ า นแม่ ส าใหม่ ได้มีโรงเรียน ไม่นานนักพวกเด็กๆ ของพวกเราก็ได้ไป (เป็นเส้นทางกองคาราวานจีนฮ่อใช้ในการติดต่อค้าขายไป เรียนหนังสือภาษาไทย ยังจังหวัดเชียงใหม่ ในขณะที่กองคาราวานผ่านมาถึงที่ ในปีถัดมาในหลวงก็ได้มาเยี่ยมหาพวกเรา พาหมอ บ้านปางขมุก็จะมีการแลกเปลี่ยนสินค้าโดยจะเอาฝิ่นแลกกับ มารักษาคนป่วยโดยได้ตั้งที่ทำการของหมอและพยาบาล ผ้าห่ม ผ้า เสื้อผ้ากันหนาว เกลือ ข้าวสาร อาหารแห้ง แจกผ้าห่ม เสื้อผ้า ต่อมาไม่นานราวๆ กลางหน้าฝนภายใน เช่น ปลาเค็ม นมข้นหวาน ปลากระป๋อง เส้นหมี่ ฯลฯ) ทีซ่ งึ่ ปีนั้น ก็มีเจ้าหน้าที่นำเหรียญของในหลวงมาแจกให้กับคนม้ง ตัง้ อยูใ่ นปัจจุบนั นี้ ในหลวงเดินมาพร้อมกับชาวบ้านม้งดอยปุย ที่บริเวณข้างบ้านนายเต่ง แซ่โซ้ง แต่ละครอบครัวซึ่งเจ้า เป็นผู้ติดตามมา แล้วมาถึงที่หมู่บ้านแม่สาใหม่ทุกคนมา หน้าที่จะเรียกชื่อผู้ที่มีอายุประมาณ 7-10 ปี ขึ้นไป นำเอา รอรับในหลวงที่บริเวณระหว่างบ้านของนายจงกั่ว แซ่โซ้ง เหรียญแขวนคอแล้วถ่ายรูปไว้พร้อมกับเขียนหนังสือให้ นายจางย่อ แซ่โซ้งและบ้านนายจ้าหยั่ว แซ่โซ้ง (ปัจจุบัน หมายเลขของชื่อตรงกับเหรียญ คือ บริเวณรอบๆ หน้าบ้านของนายเหย่อ แซ่โซ้ง) ในเวลานัน้ ถั ด มาอี ก ปี ห นึ่ ง ในหลวงเสด็ จ มาที่ ไ ร่ ฝิ่ น ของ
ในหลวงได้แจกผ้าห่ม นำหมอมารักษาคนเจ็บป่วย ขณะนั้น นายกั่ว แซ่หาง ที่บ้านป่าคา จากนั้นเสด็จพระราชดำเนิน ก็ได้มีผู้อาวุโสซึ่งเป็นผู้นำหมู่บ้านได้ทูลขอโรงเรียนให้กับ ถึงหมู่บ้านแม่สาใหม่ เสวยข้าวมื้อเที่ยงใกล้ศูนย์สงเคราะห์ หมูบ่ า้ น ในหลวงได้เดินดูรอบหมูบ่ า้ น แล้วเดินไปตามเส้นทาง บ้านแม่สาใหม่ของกรมประชาสงเคราะห์ จากนั้นในหลวง ลงไปที่ตำบลโป่งแยงในขณะที่เดินไปถึงบริเวณใกล้ๆ กับ ก็ เ ดิ น ทางกลั บ ในหลวงได้ ส ร้ า งถนนจากโป่ ง แยงมาที่ ถ้ำธาตุ ก็ได้กินข้าวเที่ยงที่นี่ด้วยกันหนึ่งมื้อ หลังจากนั้น หมูบ่ า้ นแม่สาใหม่ ซึง่ ในหลวงก็ได้มาเยีย่ มชาวบ้าน ทีโ่ รงเรียน ในหลวงก็ได้เดินทางไปที่บ้านโป่งแยงโดยมีรถของทหาร และมี ก ารผู ก ข้ อ มื อ ในหลวงตามประเพณี โ ดยมี ผู้ อ าวุ โ ส มารับไปที่เชียงใหม่ ของแต่ละตระกูลเข้าเฝ้า ในหลวงได้นำหมู แกะ วัว กาแฟ ต่อมาก็มีทหารและเครื่องบินมาบอกว่า ในหลวง ถั่วแดง ไม้ดอก ผัก ลิ้นจี่ มาให้ปลูกและในหลวงได้บอกกับ
พระราชทานโรงเรียนกับหมู่บ้านแล้ว โดยทหารใช้เครื่องบิน ผู้นำว่า ให้ช่วยกันรักษาป่าต้นน้ำไว้ด้วยพร้อมกับให้ทำกิน ขนของ ไม้และอุปกรณ์ต่างๆ มาที่หมู่บ้านเพื่อสร้างโรงเรียน อยู่ที่นี่แล้วจะหาแหล่งน้ำให้ 117
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๑๔ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระดำเนินเพื่อทรงงาน ในพื้นที่ตำบลโป่งแยง ภาพที่ ๑๑๓ : ที่ตั้งของหมู่บ้านแม่สาใหม่ และบ้านแม่สาน้อย
ปีต่อมาในหลวงเสด็จมาอีกครั้งโดยที่ในหลวงได้ไป ในขณะที่ ใ นหลวงมาเยี่ ย มพวกเรานั้ น ในหลวงได้ ใ ห้
ดู หั ว น้ ำ ว่ า มี น้ ำ ดี ไ หมแล้ ว ในหลวงก็ ไ ด้ ใ ห้ เ จ้ า หน้ า ที่ ส ร้ า ง ช่ า ง ท ำ เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ เ งิ น ซึ่ ง เ ป็ น ง า น ฝี มื อ ข อ ง ม้ ง
อ่างเก็บน้ำให้พวกเราใช้ทำการเพาะปลูกโดยในหลวงให้ โ ด ย ที่ ค รู ช่ า ง ม า ห นึ่ ง ค น มี นั ก เ รี ย น ที่ ม า เ รี ย น ท ำ
เจ้าหน้าที่และชาวบ้านไปขุดร่องดินใส่ท่อซีเมนต์ยาวไป เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ เ งิ น กั บ ค รู ช่ า ง นั้ น มี อ ยู่ ๔ ค น คื อ
ตามถนนดินแดงให้เป็นสองเส้นทางส่งน้ำ เส้นที่ที่ขุดนี้ ๑ . ) น า ย ช ะ แ ซ่ ย่ า ง ๒ . ) น า ย ห ว่ า ง ป๋ อ แ ซ่ ย่ า ง
ใช้ ส ำหรั บ เดิ น ท่ อ ส่ ง น้ ำ ไปยั ง ไร่ ส วน นา ของชาวบ้ า น ๓.) นายจ่าหลื่อ แซ่โซ้งและ ๔.) นายหน่อฝื่อ แซ่ท้าว ที่ ท ำการเกษตรกรรมใช้ ป ลู ก ข้ า ว พื ช ผั ก ที่ ใ นหลวง แต่ที่เรียนจนจบตามหลักสูตรมีนายชะ แซ่ย่างคนเดียว นำมาให้ ป ลู ก ในปี นี้ ใ นหลวงได้ ป ลู ก ต้ น ไม้ ส องต้ น ที่ วั ด หลังจากนั้นก็ถูกเรียกตัวไปรับใช้ในหลวงที่วังสวนจิตรลดา ที่กรุงเทพฯ จากนั้นนายชะ แซ่ย่าง ก็ได้สอนให้พี่น้องและ มีต้นบ๊วยและต้นพลับ ต่อมาในหลวงก็ได้มาสร้างโรงสีข้าวพลังน้ำให้กับ ลูกหลานให้มีความรู้และความชำนาญอีกหลายคนซึ่งใน หมู่บ้านในเวลานั้นชาวบ้านปลูกข้าวกันมากซึ่งพวกเราใช้ ปัจจุบันนี้ยังมีอีกสามคนที่ยังคงรับใช้อยู่ที่ศูนย์ศิลปาชีพ ครกกระเดื่ อ งตำ ถ้ า จะสี ข้ า วต้ อ งเอาข้ า วใส่ ห ลั ง ม้ า แล้ ว ได้แก่ ๑.) นายเย๊ะ แซ่โซ็ง ๒.) นายโต้ง แซ่ย่างและ
ต่างไปสีข้าวที่โป่งแยงในแต่ละครั้งจะใช้เวลาไปกลับหนึ่งวัน ๓.) นายจ๋าว แซ่ย่าง 118
ภาพที่ ๑๑๕ : พื้นที่ทำกินของชาวม้งแม่สา ในปัจจุบัน (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔)
119
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ภาพที่ ๑๑๖ : โรงเรี ย นเจ้ า พ่ อ หลวงอุ ป ถั ม ภ์ ๗
บ้านแม่สาใหม่ ครูใหญ่ชอื่ ดาบตำรวจ ศุภชัย ยีเ่ ก็งเอีย่ ม (ครูแกละ) ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕๑๖-๒๕๒๐
ขา าวเ ระช ทพี่ ภาพ ช ั บ ร รป ระบ ที่ ๑ าทส ๑๙ : ภาพ รียญที่ระลึกสำห ทนบัต เห มเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวพระราชทานใช้แ
ที่ ๑ ภาพ มายถ ห
ภาพที่ ๑๑๗ : นักเรียนโรงเรียน เจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๗ บ้านแม่สาใหม่ กับชุดประจำชาติพันธุ์
๒ รา ึง จ ๐ : ภ จะป ำตัว ั ง งั หว าพเห ล ดั เชยี รยี ญทรี่ ะลึกฯ ด้านห ขประจ ล งใหม่ แ ละตามด้วยตัวเ
ภาพที่ ๑๒๑ : ผู้อาวุโสและผู้เฒ่าบ้านแม่สา กับพิธีความเชื่อทางจิตวิญญาณ ภาพที่ ๑๑๘ : ภาพระหว่างเส้นทางจากบ้านแม่สาไปหมู่บ้านโป่งแยง (ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔)
120
121
ก ผู้เป ฏตวั อ น็ เจ กั ษรย า้ ขอ อ่ ชม งเหรยี ญ
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
( าช ด้านห นใน นา้ สมยั ) นนั้
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๒๒ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาที่ไร่ฝิ่น นายกั่ว แซ่หาง ที่บ้านป่าคา เส้นทางระหว่างดอย ปุยไปหมู่บ้านแม่สา
ภาพที่ ๑๒๕ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนิน ทอดพระเนตร แหล่งตาน้ำที่จะสร้างอ่างเก็บน้ำ ภาพที่ ๑๒๔ : ความสมบู ร ณ์ ข องผื น ป่ า คื อ แหล่ ง ต้ น น้ ำ ลำธาร
ที่มีคุณค่าอเนกอนันต์
ภาพที่ ๑๒๖ : อ่ า งเก็ บ น้ ำ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว
มีพระราชดำริ ให้กรมชลประทานเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง เพื่อใช้ น้ำในการเพาะปลูกพืช และใช้ปั่นเครื่องไฟฟ้าสีข้าว ด้วยพลังน้ำ ภาพที่ ๑๒๓ : ผู้อาวุโสแต่ละแซ่ตระกูลในหมู่บ้านแม่สา ทำพิธีผูกขวัญที่ข้อพระกร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี
122
123
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๒๗ : พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงปลู ก ต้ น บ้ ว ย และต้ น พลั บ ณ บริ เ วณ สำนักสงฆ์พระธรรมจาริกบ้านแม่สาใหม่ วันที่ ๓๐ เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๗
ภาพที่ ๑๓๐ : อาคารโรงสีข้าวไฟฟ้าพลังน้ำบ้านแม่สาใหม่
ภาพที่ ๑๒๘ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี เสด็จทอดพระเนตรระบบการทำงานของโรงสีข้าวพลังน้ำ
ภาพที่ ๑๓๑ : เจ้าหน้าที่ตรวจสอบการทำงาน ของโรงสีข้าวไฟฟ้าพลังน้ำ
ภาพที่ ๑๒๙ : สภาพโดยทั่วไปของ
ต้ น บ้ ว ยและต้ น พลั บ ในปั จ จุ บั น
(ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕)
124
125
ภาพที่ ๑๓๒ : เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ และช่างผู้ติดตั้งโรงสีข้าวไฟฟ้าพลังน้ำ
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ปัจฉิมบท
จักตามรอย พระบาทยาตรา
126
127
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
บั ด นี้ พื้ น ที่ ม้ ง แม่ ส า อบอุ่ น ด้ ว ยมิ ต รไมตรี จ าก ด้ ว ยมุ่ ง ตามรอยพระบาทยาตรา ที่ พ ระบาทสมเด็ จ เพื่อนพ้องผองไทยและมวลมิตรต่างแดน ด้วยความมุ่งมาด พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงชี้ น ำให้ ทุ ก คนบนพื้ น ที่ ได้ พั ฒ นา ปรารถนา เพื่ อ การเยื อ นดิ น แดนอั น อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ย คุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นให้เจริญด้วย แมกไม้นานาพันธุ์ ดินแดนแห่งความเขียวขจี ซึ่งสะท้อน ความซื่อสัตย์สุจริต มีความสามัคคีและรักในผืนแผ่นดิน ความสุขสงบร่มเย็น ทุกพื้นที่ทุกคนต่างประสานสัมพันธ์ ถิ่นเกิด ร่วมเป็นพลังที่มีเอกภาพ เพื่อสร้างความสุขสันติ กันด้วยภาษาแห่งสัมพันธภาพ เชื่อมร้อยผูกมัดกันไว้อย่าง ให้แก่แผ่นดิน แนบแน่น ด้วยสายใยแห่งวัฒนธรรมท้องถิ่นของพี่น้องม้ง แม่ ส า อั น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ที่ ท รงคุ ณ ค่ า และความหมาย “ชาวม้งแม่สา” จักขอตามรอยพระบาทยาตรา ซึ่งทุกคนต่างภาคภูมิใจ เพื่อความสุขสงบสันติอย่างยั่งยืน ใต้ร่มพระบารมี แม้ ทุ ก สิ่ ง จะเปลี่ ย นแปลงตามกาลเวลา แต่
ความสมานฉันท์และความร่ำรวยทางวัฒนธรรมประเพณี แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ความเขียวขจีแห่งมวลพฤกษาบุปผาชาติ ยังคงโดดเด่น ยั่ ง ยื น ทุ ก คนบนดอย “บ้ า นม้ ง แม่ ส า” ต่ า งแสดง ความจงรั ก ภั ก ดี และยึ ด มั่ น ถื อ ปฏิ บั ติ ใ นความดี ง าม
ภาพที่ ๑๓๓ : หนุ่มสาวบ้านแม่สาโยนลูกช่วง ในช่วงเทศกาลปีใหม่ม้ง
128
ภาพที่ ๑๓๕ : วิถีความเป็นอยู่ของชาวม้งแม่สา
ภาพที่ ๑๓๔ : ผู้ ห ญิ ง ชาวม้ ง เขี ย นลายขี้ ฝึ้ ง เพื่อทำเสื้อผ้าสวมใส่
129
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ภาพที่ ๑๓๖ : ความอุดมสมบูรณ์แห่งผืนป่าดอยแม่สา
130
ภาพที่ ๑๓๗ : สายธารห้วยแม่สาน้อยแหล่งหล่อเลี้ยงพืชผล แก่ชาวม้งบ้านแม่สา
131
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
132
133
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
134
135
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
136
137
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
138
139
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
บรรณานุกรม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. ๒๕๓๘. โครงการหลวง. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน. ๒๕๕๐. ด้วยจงรักและภักดี ๕๐ ปีโรงเรียน ตชด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กังสดาร เทพหัสดิน ณ อยุธยาและคณะ. ๒๕๔๖. “ชุมชนหมู่บ้านแม่สาใหม่”. รายงานการวิจัย เรื่องการนำเสนอ
ต้ น แบบการพั ฒ นาทั ก ษะและการวางแผนพื่ ง พาตนเองของชุ ม ชนชาวไทยภู เ ขาในโครงการหลวง. เชียงใหม่: มูลนิธิโครงการหลวง. ดริญญา โตตระกูล. ๒๕๔๖. การเมืองของการเสนอภาพตัวแทนในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมของชุมชนม้ง:
กรณีศึกษาบ้านแม่สาใหม่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สมาคมศูนย์รวมการศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย. ๒๕๔๒. องค์ความรู้ท้องถิ่น ชนเผ่าม้ง
เชียงใหม่: สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. ๒๕๓๙. ประพาสต้นบนดอย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. ศู น ย์ พั ฒ นาสั ง คมที่ ๑๓ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ; หน่ ว ยพั ฒ นาและสงเคราะห์ ช าวเขา บ้ า นแม่ ส าใหม่ สำนักราชเลขาธิการ อะภัย วาณิชประดิษฐ์. ๒๕๔๖. พลวัตของความรู้ท้องถิ่นในฐานะปฏิบัติการของการอ้างสิทธิเหนือทรัพยากรบนที่สูง :
กรณี ศึ ก ษาชุ ม ชนม้ ง บ้ า นแม่ ส าใหม่ อำเภอแม่ ริ ม จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ . เชี ย งใหม่ : บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
140
คณะกรรมการจัดทำหนังสือตามรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา ที่ปรึกษา หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี นายอำเภอแม่ริม พระศีลวัตรวิมล ผู้อำนวยการพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงวุฒิ เพ็ชรประดับ ประธานกรรมการ นายวัน ม่วงมา รองประธานกรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา คณะกรรมการ นายเทิดเกียรติ ตาปัญญา นายเจิดศักดิ์ มานะ นางสาวภาวิณี เต็มดี นางสาวโสภี ยะแสง นางสาวชนิษฐา ใจเป็ง Miss Yang Fang Fei นายรัตนกร รักษาดี นางสุวรรณา จ่ากุญชร นางสาวพิมพ์วลัญช์ คุ้มประคอง นางสาวเพียงอักษร ยาปาน นางสาวสุธีรา สิทธิ
141
ตามรอยพระบาทยาตรา
ตามรอยพระบาทยาตรา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
กองบรรณาธิการหนังสือตามรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา ประธานดำเนินงาน ว่าที่ร้อยตรี ธนกฤตอัครเดชกุญชร บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรทิพย์ คำดี ผู้ช่วยบรรณาธิการ นายนิคม วงศ์นันตา กองบรรณาธิการ ฝ่ายข้อมูล รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา อาจารย์วินิตรา ลีละพัฒนา อาจารย์วิวัฒน์ ประสานสุข นายรชตะ ไชยเมือง นางจุฬาลักษณ์ สะอิ้งทอง นายวิน เลิศชัยสหกุล นายประจักษ์ ภูสิริพัฒนานนท์ นายวิชัย ภูสิริพัฒนานนท์ นายสุรินทร์ เขื่อนขัน ฝ่ายเรียบเรียง/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรทิพย์ คำดี พิสูจน์อักษร นายนิคม วงศ์นันตา อาจารย์สุนทร คำยอด อาจารย์ลักขณา ชาปู่ ฝ่ายศิลปกรรม รองศาสตราจารย์นคเรศ รังควัต นายสุพจน์ ศรีบุญปวน ภาพประกอบ สำนักราชเลขาธิการ นายสุรพล สุขพงษ์ไทย ดาบตำรวจศุภชัย ยี่เก็งเอี่ยม นายนิคม วงศ์นันตา
ต้นน้ำแม่สา ส่งออกพริกหวาน ประเพณีไทยม้ง ตำนานขุนหลวง ดินแดนมะแขว่นหอม
142
143
ตระการตาไม้ดอก บ้านพักโฮมสเตย์ ถิ่นดงมะระหวาน บวงสรวงพญาแสน หลอมรวมวัฒนธรรม
ตามรอยพระบาทยาตรา ณ บ้านม้ง ดอยแม่สา
144