เฉลยครึ่งหลัง เคมี

Page 1

หน่วยที่ 6 การอ่านชื่อสารโคเวเลนต์ จุดประสงค์ นักเรียนสามารถอ่านชื่อสารโคเวเลนต์ได้ ความรู้ 1. การอ่านชื่อสารโคเวเลนต์มีหลักการอ่านตามลาดับดังแผนภาพต่อไปนี้ X → A → Y → B เมื่อ X และ Y คือตัวเลขแสดงจานวนอะตอมของธาตุสมมุติ A และ B ตามลาดับ (เลขห้อย ถ้า ไม่มีแปลว่า 1 ) 2. กาหนดให้ X และ Y บอกด้วยเลขนับภาษากรีกดังนี้ 1 = มอนอ 2 = ได 3 = ไตร 4 = เตตระ 5 = เพนตะ 6 = เฮกซะ 7 = เฮปตะ 8 = ออกตะ 9 = โนนะ 10 = เดคะ 3. ธาตุ A (ตัวหน้า) อ่านด้วยชื่อ ปกติ ธาตุ B (ตัวหลัง) อ่านโดยเปลี่ยนท้ายเสียงเป็นเสียง ไ-ด์ เช่น คลอรีน เป็น คลอไรด์ โบรมีน เป็น โบรไมด์ ไอโอดีน เป็น ไอโอไดด์ ฟลูออรีน เป็น ฟลูออไรด์ ออกซิเจน เป็น ออกไซด์ ซัลเฟอร์ เป็น ซัลไฟด์ ไนโตรเจน เป็น ไนไตรด์ ฟอสฟอรัส เป็น ฟอสไฟด์ ไฮโดรเจน เป็น ไฮไดรด์ 4. อนุโลมให้ธาตุตัวหน้า ถ้ามี 1 อะตอม ไม่ต้องอ่าน มอนอนาหน้า ให้อ่านชื่อได้เลย และมี สารประกอบไฮไดรด์บางชนิดไม่ได้อ่านตามข้อกาหนดนี้ ซึ่งจะได้ศึกษาในโอกาสต่อไป แบบฝึก ข้อ 1 จงอ่านชื่อสารโคเวเลนต์ในตารางต่อไปนี้ สารโคเวเลนต์ สารโคเวเลนต์ สูตรโมเลกุล ชื่อสาร สูตรโมเลกุล ชื่อสาร 1. Cl2O ไดตลอรีนมอนอออกไซด์ 20. H2S ไดไฮโดรเจนมอนอซัลไฟด์ 2. ClF3 คลอรีนไตรฟลูออไรด์ 21. H2Se ไดไฮโดรเจนมอนอซิลิไนด์ 3. CO คาร์บอนมอนอออกไซด์ 22. H2O น้า (ชื่อสามัญ) 4. CS2 คาร์บอนได้ซัลไฟด์ 23. P4O10 เตตระฟอสฟอรัสเดคะออกไซด์ 5. CO2 คาร์บอนไดออกไซด์ 24. TeF6 เทลลูเลียมเฮกซะฟลูออกไรด์ 6. CCl4 คาร์บอนเตตระคลอไรด์ 25. SbH3 แอนทิโมนีไตรไฮไดรด์ 7. GeO2 เจอแมเนียมไดออกไซด์ 26. SbCl5 แอนทิโมนีเพนตะคลอไรด์ 8. SO2 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 27. NCl3 ไนโตรเจนไตรคลอไรด์ 9. SF4 ซัลเฟอร์เตตระฟลูออไรด์ 28. NO2 ไนโตรเจนไดออกไซด์ 10. SiO2 ซิลิคอนไดออกไซด์ 29. C4H10 เตตระคาร์บอนเดคะไฮไดรด์ 11. SiH4 ซิลิคอนเตตระไฮไดรด์ 30. CH4 คาร์บอนเตตระไฮไดรด์ 12. XeF2 ซีนอนไดฟลูออไรด์ 31. BrF5 โบรมีนเพนตะฟลูออไรด์ 13. XeO6 ซีนอนเฮกซะออกไซด์ 32. AsF6 อาร์เซนิกเฮกซะฟลูออไรด์ 14. Cl2O2 ไดคลอรีนไดออกไซด์ 33. AsCl3 อาร์เซนิกไตรคลอไรด์ 15. Cl2O7 ไดคลอรีนเฮปตะออกไซด์ 34. BI3 โบรอนไตรไอโอไดด์ 16. N2O4 ไดไนโตรเจนเตตระออกไซด์ 35. PCl3 ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์ 17. N2O ไดไนโตรเจนมอนอออกไซด์ 36. HCl ไฮโดรเจนมอนอคลอไรด์ 18. B2O3 ไดโบรมีนไตรออกไซด์ 37. HF ไฮโดรเจนมอนอฟลูออไรด์ 19. OF2 ออกซิเจนไดฟลูออไรด์ 38. HBr ไฮโดรเจนมอนอโบรไมด์


หน่วยที่ 7 ไอออนบวก และไอออนลบในสารประกอบไอออนิก จุดประสงค์ ความรู้

บอกชื่อและเขียนสูตรของไอออนได้ 1. ไอออนหมายถึง อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า 2. ไอออนบวกเกิดจากอะตอมของธาตุจ่ายอิเล็กตรอนเมื่อเกิดสารประกอบไอออนิก 3. ไอออนลบเกิดจากอะตอมของธาตุรับอิเล็กตรอนเมื่อเกิดสารประกอบไอออนิก 4. ไอออนมีทั้งชนิดที่เป็นไอออนของธาตุ เช่น Na+ และไอออนของกลุ่มอะตอม เช่น NH4+ แบบฝึก ข้อ 1 จงนาชื่อไอออนที่กาหนดให้เขียนให้ตรงกับสัญลักษณ์ของไอออนนั้น ชุด 1 ประจุของธาตุ ชื่อไอออนที่กาหนดให้มีดังนี้ ลิเทียมไอออน , โซเดียมไอออน , โพแทสเซียมไอออน , รูบิเดียมไอออน , ซีเซียมไอออน , แฟรนเซียมไอออน , ไฮโดรเจนไอออน , ซิลเวอร์ไอออน , คอปเปอร์ (I) ไอออน , เมอร์คิวรี่ (I) ไอออน , ฟลูออไรด์ไอออน , คลอไรด์ไอออน , โบร์ไมด์ไอออน , ไอโอไดด์ไอออน , ไฮไดรด์ไอออน H+ HLi+ FNa+ ไฮโดรเจนไอออน ไฮไดรด์ไอออน ลิเทียมไอออน ฟลูออไรด์ไอออน โซเดียมไอออน + + Cl K Br Rb Iคลอไรด์ไอออน โพแทสเซียมไอออน โบรไมด์ไอออน รูบิเดียมไอออน ไอโอไดด์ไอออน Cs+ Ag+ Fr+ Cu+ Hg+ (Hg2+2) ซีเซียมไอออน ซิลเวอร์ไอออน แฟรนเซียมไอออน คอปเปอร์(I)ไอออน เมอร์คิวรี่(I)ไอออน ชุด 1 ประจุของกลุ่มอะตอม ชื่อไอออนที่กาหนดให้มีดังนี้ แอมโมเนียมไอออน , ไฮดรอกไซด์ไอออน , ไนไตรต์ไอออน , ไนเตรตไอออน , ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน , ไฮโดรเจนซัลเฟตไอออน , ไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน , เปอร์แมงกาเนตไอออน NO2NH4+ HCO3MnO4ไนไตรต์ไอออน แอมโมเนียมไอออน ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน เปอร์แมงกาเนตไอออน NO3OHH2PO4HSO4ไนเตรตไอออน ไฮดรอกไซด์ไอออน ไดไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน ไฮโดรเจนซัลเฟตไอออน ชุด 2 ประจุของธาตุ ชื่อไอออนที่กาหนดให้มีดังนี้ แมกนีเซียมไอออน , แคลเซียมไอออน , สทรอนเซียมไอออน , แบเรียมไอออน , เรเดียมไอออน , ทิน (II) ไอออน , ซิงค์ไอออน , เลด (II) ไอออน , ไอร์ออน (II) ไอออน , คอปเปอร์ (II) ไอออน , เมอร์คิวรี่ (II) ไอออน , ออกไซด์ไอออน , ซัลไฟด์ไอออน , ซีลีไนด์ไอออน , เทลลูไรด์ไอออน O2Mg2+ S2Ca2+ Se2ออกไซด์ไอออน แมกนีเซียมไอออน ซัลไฟด์ไอออน แคลเซียมไอออน ซีลีไนด์ไอออน Sr2+ Te2Ba2+ Sn2+ Ra2+ สทรอนเซียมไอออน เทลลูไรด์ไอออน แบเรียมไอออน ทิน (II) ไอออน เรเดียมไอออน 2+ 2+ 2+ 2+ Cu Hg Zn Pb Fe2+ คอปเปอร์ (II) ไอออน เมอร์คิวรี่ (II) ไอออน ซิงค์ไอออน เลด (II) ไอออน ไอร์ออน (II) ไอออน


ชุด 2 ประจุของกลุ่มอะตอม ชื่อไอออนที่กาหนดให้มีดังนี้ ซัลเฟตไอออน , ซัลไฟต์ไอออน , คาร์บอเนตไอออน , ไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน CO32SO32SO42HPO42คาร์บอเนตไอออน ซัลไฟต์ไอออน ซัลเฟตไอออน ไฮโดรเจนฟอสเฟตไอออน ชุด 3 ประจุของธาตุและกลุ่มอะตอม ให้นักเรียนลากเส้นโยงระหว่างชื่อและไอออนชนิดเดียวกัน แกลเลียมไอออน P3อินเดียมไอออน

Ga3+

อะลูมิเนียมไอออน

As3-

แทลเลียมไอออน

In3+

บิสมัท(II)ไอออน

N3-

ไอร์ออน(III)ไอออน

Sb3+

ฟอสไฟด์ไอออน

Al3+

อาร์เซไนด์ไอออน

Tl3+

ไนไตรด์ไอออน

Bi3+

แอนติโมนี(III)ไอออน

Fe3+

ฟอสเฟตไอออน

PO43-

ฟอสไฟต์ไอออน

PO33-

ข้อ 2 นาสูตรไอออนของธาตุจากข้อ 1 ซึ่งเป็นไอออนของธาตุหมู่ A เติมลงในช่องว่างของตารางธาตุให้ตรงกับตาแหน่ง จริง ให้นักเรียนเติมเลขหมู่กากับด้วย 1A 2A 3A 4A 5A 6A 7A

+1 +2

+3 -

โลหะทรานซิชัน

-3 -2 -1


หน่วยที่ 8 การเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก จุดประสงค์ สามารถเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกได้ ความรู้ สารประกอบไอออนิกเกิดจากการรวมตัวของไอออน + กับไอออน – ในสัดส่วนที่ทาให้ประจุรวมเท่ากับศูนย์ การอ่านชื่อ ให้อ่านชื่อไอออน + ตามด้วยชื่อไอออน – (ไม่มีคาว่าไอออนต่อท้าย เพราะไม่มีประจุ) ไอออนที่มารวมกัน ไอออนบวก ไอออนลบ + ตัวอย่าง Na Clตัวอย่าง K+ S2ตัวอย่าง Cu2+ CO32ตัวอย่าง Fe2+ OHตัวอย่าง Mg2+ PO43Na+ HCO3Na+ NO2Ca2+ SO42Ca2+ OHMg2+ O2Al3+ ClAl3+ OHSr2+ FIn3+ Se2Pb4+ BrK+ MnO4Bi3+ O2Sn2+ ClRb+ Te2Cs+ IAg+ NO3Fe2+ SO42Fe3+ PO43Cu+ NO3Co2+ ClPb2+ NO3Mn2+ OHCr3+ ClNH4+ OHNa+ HPO4-

สูตรสารประกอบ

ชื่อสารประกอบ

NaCl K2S CuCO3 Fe(OH)2 Mg3(PO4)2 NaHCO3

โซเดียมคลอไรด์ โพแทสเซียมซัลไฟด์ คอปเปอร์ (II) คาร์บอเนต ไอร์ออน (II) ไฮดรอกไซด์ แมกนีเซียมฟอสเฟต โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต โซเดียมไนไตรต์ แคลเซียมซัลเฟต แคลเซียมไฮดรอกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ อะลูมิเนียมคลอไรด์ อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ สทรอนเซียมฟลูออไรด์ อินเดียมซีลีไนด์ เลท (IV) โบรไมด์ โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต บิสมัตออกไซด์ ทิน (II) คลอไรด์ รูบิเดียมเทลลูไลด์ ซีเซียมไอโอไดด์ ซิลเวอร์ไนเตรต ไอร์ออน (II) ซัลเฟต ไอร์ออน (III) ฟอสเฟต คอปเปอร์ (I) ไนเตรต โคบอล์ต (II) คลอไรด์ เลท (II) ไนเตรต แมงกานีส (II) ไฮดรอกไซด์ โครเมียม (III) คลอไรด์ แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต

NaNO2 CaSO4 Ca2OH MgO AlCl3 Al(OH)3 SrF2 In2Se3 PbBr4 KMnO4 Bi2O3 SnCl2 Rb2Te CsI AgNO3 FeSO4 FePO4 CuNO3 CoCl2 Pb(NO3)2 Mn(OH)2 CrCl3 NH4OH NaHPO4


หน่วยที่ 8 สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าและไม่ละลายน้า จุดประสงค์ ความรู้

นักเรียนสามารถบอกได้ว่าสารประกอบไอออนิกชนิดใดละลายน้าได้ และชนิดใดไม่ละลายน้า สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าได้แก่ สารประกอบที่มีไอออนตามแผนภาพต่อไปนี้ สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าได้ NO3ClO3ClO4CH3COO-

ไอออนของ หมู่ 1A NH4+

Cl- , Br- , Iยกเว้นเมื่อรวมกับ Hg+ (Hg22+) Ag+ Pb2+ ( PbCl2 ละลายเล็กน้อย)

SO42- ยกเว้นเมื่อรวม กับ Pb2+ , Sr2+ , Ba2+ Ca2+ (ละลายเล็กน้อย) Ag+(ละลายเล็กน้อย)

สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายน้าได้ O2- , OHยกเว้นเมื่อรวมกับไอออนของหมู่ 1A , NH4+

S2- , SO32- , CO32- , PO33- , PO43- , HCO3ยกเว้นเมื่อรวมกับไอออนของหมู่ 1A , NH4+

แบบฝึก จงระบุว่าสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ละลายน้าหรือไม่ละลายน้า(กาเครื่องหมาย ตรงช่องที่เลือก) สารประกอบไอออนิก KCl NaOH Ag2SO4 KNO3 NaI KBr (NH4)2SO4 K3PO4 NH4I CuCl2 MgBr2 PbI2 Al2(SO4)3 HgCl2 Pb(NO3)2 MgI2 CaCl2

ละลายน้า / / / / / / / / / / / / / /

ไม่ละลายน้า สารประกอบไอออนิก AgNO3 NaNO3 / CuSO4 BaBr2 Na3PO4 CdSO4 CaCO3 Na2SO4 PbSO4 BaSO4 CaSO4 / Ca(NO3)2 NaCl / BaBr2 Ca(OH)2 CaBr2 AgCl

ละลายน้า / / / / / /

ไม่ละลายน้า

/ / / / / / / / / / /


หน่วยที่ 10 สมการเคมีและสมการการละลายน้าของสารประกอบไอออนิก จุดประสงค์ สามารถเขียนสมการเคมีและสมการการละลายน้าของสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง ความรู้ สมการเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนด้วยตัวอักษรและสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุใน สารประกอบ เพื่อแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งบอกถึงปริมาณของสารตั้งต้นที่ใช้ทาปฏิกิริยากัน และปริมาณของ ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดปฏิกิริยา สมการเคมีประกอบด้วย - สารตังต้น(reactants) คือสารที่ทาปฏิกิริยากันตอนต้น ถ้ามีมากกว่า 1 สาร ให้เขียนเครื่องหมาย (+) คั้น ระหว่างสาร แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี - ผลิตภัณฑ์ (product) คือสารที่เกิดหลังจากปฏิกิริยากัน ถ้าหากเกิดมากกว่า 1 สาร ก็ให้เขียนเครื่องหมาย (+) แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี - เงื่อนไข เป็นภาวะต่างๆที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น อุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยา เป็นต้น โดยเขียนบอก ไว้บนหรือล่างลูกศรที่คั่นอยู่ระหว่างสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ แต่หากอยู่ในภาวะปกติก็ไม่จาเป็นต้องเขียนก็ได้ ตัวอย่าง สารตั้งต้น → ผลิตภัณฑ์ Zn (s) +2HCl(aq) → ZnCl2(aq) + H2(g) หลักการเขียนสมการเคมี 1. เขียนสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารตั้งต้นแต่ละชนิด 2. หาว่าในปฏิกิริยาเคมีนั้นเกิดสารผลิตภัณฑ์ใดขึ้นบ้างและเขียนสูตรเคมีของสารผลิตภัณฑ์ 3. ให้ระบุสถานะของสารไว้หลังสูตร โดยเขียนไว้ในวงเล็บ - (s) = ของแข็ง (solid) - (g) = แก๊ส (gas) - (l) = ของเหลว (liquid) - (aq) = สารละลาย (aqueous solution) สมการเคมีที่สมบูรณ์จะต้องมีตัวเลขที่เหมาะสมมาเติมลงข้างหน้าสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารในสมการ เพื่อให้จานวนอะตอมของแต่ละธาตุในสารตั้งต้นเท่ากับจานวนอะตอมของแต่ละธาตุในผลิตภัณฑ์ ซึ่งเราเรียกว่า “การ ดุลสมการ” หลักการดุลสมการ 1. ทาจานวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ในโมเลกุลใหญ่ที่สุดให้เท่ากันก่อน หลังจากนั้นจึงดุลอะตอมของธาตุที่เล็กลง ตามลาดับ 2. หากปฏิกิริยามีกลุ่มอะตอมหรือโมเลกุลให้ดุลเป็นกลุ่มก่อน จากนั้นค่อยดุลธาตุอิสระ 3. วางสัมประสิทธิ์หน้าสมการเคมีหรือตัวเลขไว้หน้าอะตอมหรือโมเลกุล แล้วนับจานวนแต่ละข้างให้เท่ากัน สมการแสดงการละลายน้า สารประกอบไอออนิกทุกชนิดมีสถานะเป็นของแข็ง บางชนิดละลายน้าได้ดี บางชนิดละลายน้าได้เล็กน้อยและ บางชนิดไม่ละลายน้า สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าได้จะแตกตัวป็นไอออนบวกและไอออนลบ แต่ละไอออนจะมี โมเลกุลของน้าเข้าล้อมรอบ เราไม่สามารถมองเห็นไอออน นักเคมีเขียนสมการแสดงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังตัวอย่าง จงเขียนสมการการแสดงการละลายน้าของสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ NaCl,CuSO4 และ KNO3 H2O NaCl (s) Na+ (aq) + Cl- (aq) H2O CuSO4(s) Cu2+ (aq) + SO42- (aq) H2O KNO3 (s) K+ (aq) + NO3- (aq)


แบบฝึก 1. จงบอกชื่อสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาต่อไปนี้ ปฏิกิริยา 2H2O 3CO2 + 4H2O

2H2 + O2 C3H8 + 5O2 2HF + CaCO3 H2CO3

CaF2 + H2O + CO2

CO2 + H2O

N2 + 3H2

2NH3

สารตั้งต้น ไฮโดรเจน, แก๊สออกซิเจน ไตรคาร์บอนเตตระไฮ ไดรด์, แก๊สออกซิเจน ไฮโดรเจนมอนอฟลูออไรด์, แคลเซียมคาร์บอเนต ไดไฮโดรเจนคาร์บอเนต ไนโตรเจนแก๊ส, ออกซิเจน แก๊ส

2. จงดุลสมการต่อไปนี้ 2.1 __1__H2 + __1__Br2 2.2__1__N2 + __3__H2

__2__HBr __2__NH3

2.3__2__C4H10 + _13_O2

__8__CO2 + __5__H2O

3. จงเขียนสมการแสดงการละลายน้าของสารประกอบไอออนิกในตารางต่อไปนี้ สารประกอบไอออนิก KCl NaNO3 K2SO4 Na3PO4 (NH4)2CO3 (NH4)3PO4 (NH4)2SO4 FeCl3 Pb(NO3)2 AgNO3

สมการแสดงการละลายน้า 𝐻2 𝑂

KCl → K+ + Cl𝐻 𝑂 NaNO3 →2 Na+ + NO3𝐻 𝑂 K2SO4 →2 2K+ + SO42𝐻 𝑂 Na3PO4 →2 3Na+ + PO43𝐻 𝑂 (NH4)2CO3 →2 2NH4+ + CO32𝐻 𝑂 (NH4)3PO4 →2 3NH4+ + PO43𝐻 𝑂 (NH4)2SO4 →2 2NH4+ + SO42𝐻 𝑂 FeCl3 →2 Fe+ + 3Cl𝐻 𝑂 Pb(NO3)2 →2 Pb2+ + 2NO3𝐻 𝑂 AgNO3 →2 Ag+ + NO3-

สารผลิตภัณฑ์ น้​้า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์, น้​้า แคลเซียมฟลูออไรด์, น้​้า, แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์, น้​้า แก๊สแอมโมเนีย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.