แบบ 56-1
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สารบัญ หน้ า ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. ปั จจัยความเสีย่ ง 4. ทรัพย์สนิ ที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลทัว่ ไป ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 8. โครงสร้ างการจัดการ 9. การกากับดูแลกิจการ 10. ความรับผิดชอบต่อสังคม 11. การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสีย่ ง 12. รายการระหว่างกัน ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 14. การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริ ษัทย่อย เอกสารแนบ 3 : รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน เอกสารแนบ 4 : รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินราคาทรัพย์สนิ เอกสารแนบ 5 : รายละเอียดอื่นๆ
1 4 9 14 15 16 20 27 36 59 93 95 98 102
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบาย และภาพรวมการประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน์ เป็ นผู้นาในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พันธกิจ 1. เราจะมอบความคุ้มค่าในด้ านสินค้ า บริ การ และราคาให้ แก่ลกู ค้ าเพื่อให้ โฮมโปรเป็ นอันดับหนึง่ ในใจลูกค้ า 2. เราจะร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ ในการเพิ่มประสิทธิภาพด้ านต่างๆ เพื่อสร้ างสรรค์ความสาเร็ จร่วมกัน 3. เราจะให้ ความสาคัญและจะพัฒนาบุคลากรให้ มีศกั ยภาพในการทางาน มีความรั บผิดชอบต่องาน และลูกค้ า รวมทังมี ้ ความพอใจ ความสุข และความผูกพันต่อโฮมโปร 4. เราจะบริ หารงานอย่างมืออาชีพตามหลักธรรมาภิบาล การสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ สังคมและชุมชน 5. เราจะแสวงหาโอกาสใหม่ทางธุรกิจเพื่ออนาคต และการสร้ างมูลค่าเพิ่มที่เหมาะสมแก่ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสีย เป้าหมายการดาเนินธุรกิจ ตามที่บริ ษัทฯ มีวิสยั ทัศน์ที่จะเป็ นผู้นาในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ม่งุ เน้ นเรื่ องการให้ บริ การที่ครบวงจร (One Stop Shopping) บริ ษัทฯ มีแผนที่จะขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อ รองรับกับการเติบโตของสังคมเมือง ครอบคลุมจังหวัดที่เป็ นยุทธศาสตร์ ของการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : Asean Economics Community) และในจังหวัดที่มีศกั ยภาพในการเติบโต โดยมีเป้าหมายที่จะขยายให้ ครบ 100 สาขา ภายในปี 2563 ครอบคลุมทังในเขตกรุ ้ งเทพฯ และต่างจังหวัด รวมถึงพัฒนาการให้ บริ การ และคัดเลือกสินค้ าใหม่ๆ เพิ่ม ความหลากหลายในแต่ละกลุม่ สินค้ า โดยปั จจุบนั ณ สิ ้นปี 2557 บริ ษัทฯ มีสาขาทังสิ ้ ้น 71 สาขา กระจายครอบคลุม 43 จังหวัดทัว่ ประเทศ นอกเหนือจากธุรกิจเดิมของบริ ษัทฯ ภายใต้ ชื่อ โฮมโปร แล้ ว บริ ษัทฯ ยังได้ ขยายธุรกิจใหม่เพื่อรองรับตลาดสินค้ า วัสดุก่ อสร้ าง และตลาดสินค้ าที่เกี่ ยวข้ อ งกับบ้ าน โดยเปิ ดศูน ย์ รวมสินค้ า เกี่ ยวกับบ้ า นและวัสดุก่ อสร้ างครบวงจร จาหน่ายสินค้ าในรูปแบบค้ าส่งและค้ าปลีกภายใต้ ชื่อ “เมกา โฮม” ลูกค้ าเป้าหมายเป็ นกลุม่ ช่าง ผู้รับเหมา และเจ้ าของ โครงการ โดย ณ สิ ้นปี 2557 มีสาขาของเมกา โฮม เปิ ดดาเนินการแล้ วทังสิ ้ ้น 4 สาขา บริ ษัทฯ มีเป้าหมายที่จะขยายให้ ครบ 15 - 20 สาขา ภายในปี 2563 และเพื่อก้ าวสูค่ วามเป็ นผู้นาทางธุรกิจ และรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บริ ษัทฯ ได้ เริ่ มต้ นขยาย ธุรกิจไปยังต่างประเทศเป็ นครัง้ แรกที่ศนู ย์การค้ า ไอโอไอ ซิตี ้มอลล์ (IOI City Mall) กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ซึง่ ภายหลังการเปิ ดดาเนินการ บริ ษัทฯ ได้ รับผลตอบรับเป็ นที่น่าพอใจ และได้ วางแผนในการปรับเปลี่ยนรู ปแบบสินค้ า และบริ การอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ สามารถตอบโจทย์ความต้ องการของลูกค้ าชาวมาเลเซียให้ ได้ มากที่สดุ พร้ อมกันนี ้ยัง เป็ นการสร้ างสาขาต้ นแบบสาหรับการขยายธุรกิจในอนาคตต่อไป สาหรับการขยายสาขาในประเทศมาเลเซีย บริ ษัทฯ มีเป้าหมายที่จะขยายให้ ครบอย่างน้ อย 5 - 10 สาขา ภายในปี 2563 1
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ในปี 2557 คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีการพิจารณาทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ ของบริ ษัทฯ โดยยัง เห็นสมควรให้ ไม่มีการเปลีย่ นแปลงใดๆ การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการที่สาคัญในช่ วง 3 ปี ที่ผ่านมา ปี 2555 : -
เมษายน 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2555 มีมติอนุมตั ิการลดทุนจดทะเบียนจานวน 823,450 หุ้น จากเดิม 5,881,394,685 หุ้น เหลือ 5,880,571,235 หุ้น โดยตัดหุ้นสามัญคงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตาม มติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2554
-
กั น ยายน 2555 ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ครั ง้ ที่ 1/2555 มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารเพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นจ านวน 1,174,400,000 หุ้น จากเดิม 5,880,571,235 หุ้น เป็ น 7,054,971,235 หุ้น เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล
-
ธันวาคม 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครัง้ ที่ 12/2555 มีมติให้ จัดตัง้ บริ ษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด เป็ นบริ ษัทย่อย เพื่อดาเนินธุรกิจค้ าปลีก โดยบริ ษัทฯ มีสดั ส่วนการถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 99.99
ปี 2556 : -
เมษายน 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2556 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ่มทุนจดทะเบียนดังนี ้ (1) ลดทุนจดทะเบียนจานวน 1,387,406 หุ้น จากเดิม 7,054,971,235 หุ้น เหลือ 7,053,583,829 หุ้น โดยตัด หุ้นสามัญคงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2555 (2) เพิ่ ม ทุน จดทะเบี ย นจ านวน 1,174,610,000 หุ้น มูล ค่า หุ้น ละ 1 บาท เป็ นทุน จดทะเบี ย นใหม่ จ านวน 8,228,193,829 หุ้น เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล
-
พฤศจิกายน 2556 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 1/2556 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ่มทุนจดทะเบียนดังนี ้ (1) ลดทุนจดทะเบียนจานวน 8,555,936 หุ้น จากเดิม 8,228,193,829 หุ้น เหลือ 8,219,637,893 หุ้น โดยวิธี ตัดหุ้นสามัญจดทะเบียนที่คงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2556 และส่วนที่คงเหลือจากการใช้ สทิ ธิแปลงสภาพใบสาคัญแสดงสิทธิที่ออกให้ กบั พนักงาน (ESOP-W4) (2) เพิ่ ม ทุน จดทะเบี ย นจ านวน 1,370,210,000 หุ้น มูล ค่ า หุ้น ละ 1 บาท เป็ นทุน จดทะเบี ย นใหม่จ านวน 9,589,847,893 หุ้น เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล
ปี 2557 : -
เมษายน 2557 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2557 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ่มทุนจดทะเบียนดังนี ้
-
(1) ลดทุนจดทะเบียนจานวน 296,905 หุ้น จากเดิม 9,589,847,893 หุ้น เหลือ 9,589,550,988 หุ้น โดยตัดหุ้น สามัญคงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2556 (2) เพิ่ ม ทุน จดทะเบี ย นจ านวน 1,370,350,000 หุ้น มูล ค่ า หุ้น ละ 1 บาท เป็ นทุน จดทะเบี ย นใหม่จ านวน 10,959,900,988 หุ้น เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล ตุลาคม 2557 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 1/2557 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ่มทุนจดทะเบียนดังนี ้
2
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(1) ลดทุนจดทะเบียนจานวน 443,997 หุ้น จากเดิม 10,959,900,988 หุ้น เหลือ 10,959,456,991 หุ้น โดยวิธี ตัดหุ้นสามัญจดทะเบียนที่คงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2557 (2) เพิ่ ม ทุน จดทะเบี ย นจ านวน 1,369,940,000 หุ้น มูล ค่ า หุ้น ละ 1 บาท เป็ นทุน จดทะเบี ย นใหม่จ านวน 12,329,396,991 หุ้น เพื่อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัทฯ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 27 มิถนุ ายน 2538 โดยเป็ นการร่ วมลงทุนของ บริ ษัท แลนด์แอนด์เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน) และบริ ษัท ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน) ต่อมาได้ แปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชนใน วันที่ 29 พฤษภาคม 2544 ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ่ มต้ น 150 ล้ านบาท และได้ เข้ าจดทะเบียนเป็ นบริ ษัทรับอนุญาตใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในวันที่ 30 ตุลาคม 2544 บริ ษัทฯ ก่อตังขึ ้ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจค้ าปลีก โดยจาหน่ายสินค้ าและให้ บริ การที่เกี่ยวข้ องกับ การก่ อ สร้ าง ต่อ เติ ม ซ่อ มแซม อาคาร บ้ า นและที่ อ ยู่อ าศัย แบบครบวงจร โดยใช้ ชื่ อ ทางการค้ า ว่า “โฮมโปร” (HomePro) ซึง่ เป็ นเครื่ องหมายการค้ าของบริ ษัทฯ สาขาแรกที่บริ ษัทได้ เปิ ดดาเนินการคือ สาขารังสิต โดยเปิ ดในเดือน กันยายน 2539 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ มีสาขารวมทังสิ ้ ้น 71 สาขา ในรู ปแบบ “โฮมโปร” และอีก 4 สาขา ใน รู ปแบบ “เมกา โฮม” สาหรับสาขาในรู ปแบบโฮมโปรที่เปิ ดใหม่ในปี นี ้มีจานวน 7 แห่ง ได้ แก่ ได้ แก่ สาขาลาปาง สาขา ประจวบคีรีขนั ธ์ สาขาสุรินทร์ สาขาเชียงใหม่-สันทราย สาขาศรี ราชา สาขาภูเก็ต และสาขาพัทยาเหนือ รวมถึงยังได้ มี การย้ ายที่ตงสาขา ั้ 1 แห่ง ที่จงั หวัดนครราชสีมา นอกจากนี ้ยังได้ เปิ ดสาขาในรู ปแบบ “เมกา โฮม” เพิ่ม 2 สาขา ได้ แก่ สาขาหนองคาย และบ่อวิน บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ : ค้ าปลีกสินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน และให้ บริการที่เกี่ยวข้ องแบบครบวงจร
บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ประเภทธุรกิจ : บริ หารพื น้ ที่ให้ เช่า และให้ บริ การ ด้ านสาธารณูปโภค สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 99.99
Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD. ประเภทธุรกิจ : ค้ า ปลีก สิน ค้ า เกี่ ย วกับ บ้ า น และ ให้ บริ การที่เกี่ยวข้ องแบบครบวงจร ณ ประเทศมาเลเซีย สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 100
บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด
บริษัท ดีซี เซอร์ วสิ เซ็นเตอร์ จากัด
ประเภทธุรกิจ : ค้ าปลีก ค้ า ส่ง วัสดุก่ อสร้ าง และ สินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน
ประเภทธุรกิจ : บริ หารจัดการคลังสินค้ า และขนส่ง สินค้ า
สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 99.99
สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 99.99
3
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1
ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1.1
การประกอบธุรกิจของบริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ ก่อตัง้ ขึ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจค้ าปลีก โดยจาหน่ายสินค้ า และให้ บริ การที่ เกี่ยวข้ องกับการก่อสร้ าง ตกแต่ง ต่อเติม และซ่อมแซม ปรับปรุ ง อาคาร บ้ าน และที่อยู่อาศัยแบบครบวงจร (One Stop Shopping Home Center) โดยใช้ ชื่อทางการค้ าว่า “โฮมโปร” (HomePro) ซึ่งเป็ นเครื่ องหมาย การค้ าของบริ ษัทฯ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีสาขาที่เปิ ดดาเนินการแล้ วทังสิ ้ ้น 71 สาขา โดยตังอยู ้ ่ในเขตกรุ งเทพฯ และ ปริ มณฑล 21 สาขา และในพื ้นที่ตา่ งจังหวัด 50 สาขา ซึง่ สามารถแยกแสดงได้ ดงั นี ้ พืน้ ที่ตงั ้
จานวน
สาขา
กรุงเทพฯ และปริมณฑล
21
รังสิต รัตนาธิเบศธ์ แฟชัน่ ไอส์แลนด์ ฟิ วเจอร์ มาร์ ท พาราไดซ์ พาร์ ค เดอะมอลล์ บางแค รัชดาภิเษก เพลินจิต รามคาแหง พระราม 2 ประชาชื่น ลาดพร้ าว แจ้ งวัฒนะ ราชพฤกษ์ สุวรรณภูมิ เพชรเกษม รามอินทรา ลาลูกกา สุขาภิบาล 3 เมกาบางนา และ พุทธมณฑลสาย 5
ต่างจังหวัด
50
ภูเก็ต เชียงใหม่ พัทยา หาดใหญ่ หัวหิน สมุย พิษณุโลก ขอนแก่น อุดรธานี สุราษฎร์ ธานี ชลบุรี ระยอง อยุธยา เชียงใหม่-หางดง กระบี่ ภูเก็ต-ฉลอง เขาใหญ่ นครปฐม นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ฉะเชิงเทรา ร้ อยเอ็ด สุพรรณบุรี ลพบุรี สกลนคร ตรัง บุรีรัมย์ หาดใหญ่-กาญจนวนิช นครสวรรค์ มหาชัย อุบลราชธานี ราชบุรี จันทบุรี ชุมพร ปราจีนบุรี กาญจนบุรี แพร่ สระบุรี เพชรบูร ณ์ ชัย ภูมิ เชี ย งราย เลย ลาปาง ประจวบคีรี ขัน ธ์ สุริ น ทร์ เชียงใหม่-สันทราย โคราช-หัวทะเล ศรี ราชา ภูเก็ต-ถลาง และพัทยา เหนือ
4
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ปั จจุบนั มีรายได้ จากการประกอบธุรกิจ ดังนี ้ (1) ธุรกิจค้ าปลีก โดยแบ่งสินค้ าออกเป็ น 2 กลุม่ หลัก ได้ แก่ Hard Line
Soft Line
สินค้ าที่เกี่ยวกับวัสดุก่อสร้ าง สี อุปกรณ์ปรับปรุ งบ้ าน ห้ องน ้าและสุขภัณฑ์ เครื่ องครัว เครื่ องใช้ ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และโคมไฟ
สินค้ าประเภทเครื่ องนอน ผ้ าม่าน และสินค้ าตกแต่ง
การให้ บริการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจค้ าปลีก เนื่องจากสินค้ าส่วนใหญ่ของบริ ษัทฯ เป็ นสินค้ าที่มีรายละเอียดของวิธีการ และขันตอนการใช้ ้ งานที่ต้องมี การถ่ายทอดให้ กบั ลูกค้ า บริ ษัทฯ จึงจัดให้ บริ การด้ านต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยเริ่ มตังแต่ ้ การให้ คาปรึ กษา และ ข้ อมูลที่จะเป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจเพื่อให้ ลกู ค้ าสามารถเลือกซื ้อสินค้ าได้ ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้ งาน มากที่สดุ อีกทังยั ้ งมีบริ การ “โฮม เซอร์ วิส” (Home Service) ที่ให้ บริ การครอบคลุมงานออกแบบห้ องด้ วยระบบ คอมพิวเตอร์ 3 มิติ (3D Design) และงานบริ การดังต่อไปนี ้ 1. งานติดตัง้ / ย้ ายจุด / แก้ ปัญหา (Installation Service) 2. งานตรวจเช็ค / ทาความสะอาด / บารุงรักษาเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าต่างๆ (Maintenance Service) 3. งานปรับปรุง / ตกแต่งบ้ าน (Home Improvement Service) นอกจากนี ้ยังมีบริ การจัดหาช่างและผู้รับเหมา บริ การเปลี่ยนคืนสินค้ า การจัดสาธิต DIY (Do It Yourself) และ กิจกรรม Workshop ที่เป็ นประโยชน์แก่การดูแลบ้ านแก่ลกู ค้ าอีกด้ วย (2) การให้ บริการพืน้ ที่เพื่อร้ านค้ าเช่ า บริ ษัทฯ มีการจัดสรรพื ้นที่ในบางสาขาเพื่อให้ บริ การแก่ร้านค้ าเช่า และมีการพัฒนารูปแบบสาขาที่เรี ยกว่า “มาร์ เก็ต วิลเลจ” (Market Village) ซึ่งดาเนินธุรกิจในลักษณะของศูนย์การค้ าเต็มรู ปแบบ ภายในโครงการ นอกจากจะมีสาขาของโฮมโปรแล้ ว ยังมีพื ้นที่ในส่วนของศูนย์การค้ า โดยผู้เช่าส่วนใหญ่ได้ แก่ ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต ร้ านอาหาร ธนาคาร ร้ านหนังสือ ร้ านสินค้ าไอที เป็ นต้ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ มีสาขาในรู ปแบบมาร์ เก็ต วิลเลจ ทังสิ ้ ้น 4 สาขา ได้ แก่ สาขาสุวรรณ ภูมิ สาขาหัวหิน สาขาภูเก็ต-ฉลอง และสาขาราชพฤกษ์ 2.1.2
การประกอบธุรกิจของบริษัทย่ อย
(1) บริ ษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด (“มาร์ เก็ต วิลเลจ”) ได้ จดั ตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2548 โดย ตังอยู ้ ่ที่ 234/1 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77110 โดยบริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด เข้ าถือหุ้นร้ อยละ 99.99 ปั จจุบนั มีทนุ จดทะเบียน 5,000,000 บาท มาร์ เก็ต วิลเลจ จัดตัง้ ขึ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อบริ หารพื ้นที่ให้ เช่า พร้ อมกับให้ บริ การทางด้ านสาธารณูปโภคแก่ผ้ เู ช่า เริ่ มต้ นดาเนินการที่โครงการ “หัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ” (Hua-Hin Market Village) ซึ่งตังอยู ้ ่บริ เวณ ถนน เพชรเกษม อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ได้ เปิ ดดาเนินการในไตรมาสแรกปี 2549
5
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ปั จจุบนั มาร์ เก็ต วิลเลจ ได้ สิทธิการบริ หารพื ้นที่ในโครงการ “หัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ” ทังสิ ้ ้นประมาณ 40,000 ตารางเมตร โดยในจานวนนี ้ได้ ถกู จัดสรรเป็ นพื ้นที่เพื่อร้ านค้ าเช่า ประมาณ 20,000 ตารางเมตร ปั จจุบนั มีร้านค้ าเข้ าร่วมโครงการแล้ วมากกว่าร้ อยละ 90 ของพื ้นที่ทงหมด ั้ (2) Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD. จัดตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2554 ตังอยู ้ ่ที่กรุ ง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดย บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ เข้ าถือหุ้นร้ อยละ 100 ปั จจุบนั มีทนุ จด ทะเบียน 25,000,000 ริ งกิต จัดตังขึ ้ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อดาเนินธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเกี่ยวกับบ้ านที่ ประเทศมาเลเซีย เปิ ดดาเนินการสาขาแรกที่ศูนย์ การค้ า ไอโอไอ ซิตีม้ อลล์ (IOI City Mall) กรุ ง กัวลาลัมเปอร์ (3) บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด จัดตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 ตังอยู ้ ่ที่ 49 หมู่ที่ 5 ต.คลอง หนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โดย บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ เข้ าถือหุ้นร้ อยละ 99.99 ปั จจุบนั มีทนุ จดทะเบียน 1,000,000,000 บาท จัดตังขึ ้ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อดาเนินธุรกิจ ค้ าปลีก และ ค้ าส่ง วัสดุก่อสร้ าง สินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน และของใช้ ในครัวเรื อน ณ สิ ้นปี 2557 เปิ ดดาเนินการทังสิ ้ ้น 4 สาขา ได้ แก่ สาขารังสิต แม่สอด หนองคาย และบ่อวิน
(4) บริษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จากัด จัดตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2556 ตังอยู ้ ่ที่ 100 หมู่ที่ 2 ต.ลาไทร อ.วังน้ อย จ.พระนครศรี อยุธยา 13170 โดย บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ เข้ าถือหุ้นร้ อยละ 99.99 ปั จจุบนั มีทนุ จดทะเบียน 5,000,000 บาท จัดตังขึ ้ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ บริ หารจัดการคลังสินค้ า และ ให้ บริ การขนส่งสินค้ า
6
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2.2 โครงสร้ างรายได้ รายได้ ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยประกอบด้ วย รายได้ จากการขาย และรายได้ อื่น โดยโครงสร้ างรายได้ ทงสิ ั ้ ้น สามารถแสดงแยกตามสายผลิตภัณฑ์หลักได้ ดงั นี ้ (หน่วย : ล้ านบาท)
ผลิตภัณฑ์ 1. รายได้ จากการขายปลีก - กลุ่ม Hard Line - กลุ่ม Soft Line 2. รายได้ จากการขายให้ โครงการ 1 3. รายได้ จากบริ ษัทย่อย รวมรายได้ จากการขาย 4. รายได้ อื่น 2 รวม
2557
2556
จานวน
%
จานวน
%
จานวน
%
36,965.9
72.2
32,162.4
7,956.3
15.5
6,992.0
407.6
0.8
674.5
75.3 16.4 1.6 0.4 93.7 6.3 100.0
28,049.1 5,936.9 555.6 34,541.6 2,427.7 36,969.3
75.9 16.1 1.4 93.4 6.6 100.0
2,635.0 5.2 177.7 47,964.8 93.7 40,006.6 3,243.8 6.3 2,718.6 51,208.6 100.00 42,725.2 หมายเหตุ 1. รายได้จากการขายให้โครงการไม่สามารถจาแนกตามสายผลิ ตภัณฑ์ได้ 2. รายได้อืน่ ประกอบด้วย ค่าเช่าพืน้ ที ่ ค่าสนับสนุนการขาย เป็ นต้น
2.3
2555
ตลาด และภาวะการแข่ งขัน บริ ษัทฯ จาแนกผู้ประกอบการรายอื่นที่จาหน่ายสินค้ าในลักษณะเดียวกัน ดังนี ้ (1) ผู้ประกอบธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ - โฮมเวิร์ค (HomeWorks) เป็ นหน่วยธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเกี่ยวกับบ้ านในกลุม่ บริ ษัท เซ็นทรัล รี เทล คอร์ ปอเรชัน่ (Central Retail Corporation) สิ ้นปี 2557 มีสาขาเปิ ดดาเนินการทังสิ ้ ้น 7 สาขา -
ไทวัสดุ (Thai Watsadu) เป็ นหน่วยธุรกิจค้ าปลีกสินค้ า วัสดุก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่งที่อยู่อาศัย ใน รูปแบบแวร์ เฮ้ าส์สโตร์ ในกลุม่ บริ ษัท เซ็นทรัล รี เทล คอร์ ปอเรชัน่ สิ ้นปี 2557 มีสาขาเปิ ดดาเนินการ ทังสิ ้ ้น 39 สาขา
-
โกลบอลเฮ้ าส์ (Global House) ประกอบธุรกิ จจาหน่ายสินค้ าวัสดุก่อสร้ าง ตกแต่ง เครื่ องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ ในงานก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง บ้ านและสวน ในรู ปแบบแวร์ เฮ้ าส์สโตร์ ดาเนินธุรกิจ โดย บมจ. สยามโกลบอลเฮ้ าส์ สิ ้นปี 2557 มีสาขาเปิ ดดาเนินการทังสิ ้ ้น 33 สาขา
-
ดูโฮม (Do Home) ประกอบธุรกิจจาหน่ายสินค้ าวัสดุก่อสร้ าง เครื่ องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ ในงาน ก่อสร้ าง ต่อเติมบ้ าน ในรู ปแบบแวร์ เฮ้ าส์สโตร์ ดาเนินธุรกิจโดย บจก. อุบลวัสดุ สิ ้นปี 2557 มี สาขาเปิ ดดาเนินการทังสิ ้ ้น 5 สาขา
อย่า งไรก็ ต าม ในปี ที่ ผ่า นมามี ก ารขยายตัว ของตลาดอสัง หาริ ม ทรั พย์ อ ย่า งต่อ เนื่ อง รวมทัง้ การ เปลี่ยนแปลงความเป็ นสังคมเมือง ส่งผลให้ ความต้ องการสินค้ าและวัสดุตกแต่งบ้ านขยายตัวทังในพื ้ ้นที่เขต กรุงเทพฯ และต่างจังหวัด อีกทังการขยายตั ้ วของการลงทุนในภาคธุรกิจเพื่อรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ยังถือเป็ นโอกาสในการขยายตัวของตลาดอสังหาริ มทรัพย์ในภูมิภาคต่างๆ ด้ วย 7
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ เห็นว่าธุรกิจนี ้ยังมีศกั ยภาพ และโอกาสทางการตลาดอีกมาก การที่มีผ้ ปู ระกอบการในธุรกิจนี ้ เพิ่มขึน้ จะช่วยกระตุ้นให้ ผ้ ูบริ โภครู้ จัก และเปลี่ยนพฤติกรรมให้ หนั มาซือ้ สินค้ าจากร้ านสมัยใหม่ (Modern Trade) แบบโฮมเซ็นเตอร์ ได้ มากและเร็ วขึ ้น (2)
ผู้ประกอบธุรกิจร้ านค้ าเฉพาะอย่ าง (Specialty Store) ได้ แก่ ร้ านค้ ารายย่อยที่เน้ นการขายสินค้ าเฉพาะอย่าง ซึ่งอาจมีการแข่งขันกับบริ ษัทฯ ในบางสาย ผลิตภัณฑ์ เช่น - ร้ านสินค้ าประเภทเซรามิค สุขภัณฑ์ และชุดครัว ได้ แก่ บุญถาวร แกรนด์ โฮมมาร์ ท - ร้ านเฟอร์ นิเจอร์ และสินค้ าตกแต่งบ้ าน ได้ แก่ อินเด็กซ์ ลิฟวิ่ง มอลล์ อิเกีย - ร้ านค้ ารายย่อยที่จาหน่ายเฉพาะวัสดุก่อสร้ าง ได้ แก่ ซิเมนต์ไทยโฮมมาร์ ท - ร้ านจาหน่ายสินค้ าเฉพาะอย่าง (3)
ผู้ประกอบธุรกิจค้ าปลีกขนาดใหญ่ ในกลุ่ม Hypermarket โดยธุรกิจเหล่านี ้มุ่งเน้ นด้ านการจาหน่ายสินค้ าเพื่อการอุปโภคและบริ โภคเป็ นหลักไม่เน้ นสินค้ าเกี่ยวกับ บ้ าน อาจมีสนิ ค้ าบางกลุม่ ที่จาหน่ายทับซ้ อนกันแต่กลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายหลักต่างกัน 2.4
การจัดหาผลิตภัณฑ์ บริ ษัทฯ จัดหาสินค้ าโดย (1) สั่งซือ้ บริ ษัทฯ สัง่ ซื ้อสินค้ าโดยแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์แยกตามกลุม่ สินค้ าจากผู้ผลิต หรื อตัวแทนจาหน่ายทัง้ ในและต่างประเทศ โดยมุง่ เน้ นที่คณ ุ ภาพ และความหลากหลายของสินค้ าเป็ นหลัก (2)
สั่งผลิต บริ ษัทฯ สัง่ ผลิตสินค้ าประเภท Private Brand จากทังผู ้ ้ ผลิตภายในประเทศ และต่างประเทศ โดยใน เบื ้องต้ นจะคัดเลือกบริ ษัทผู้ผลิตที่ได้ รับการรับรองมาตรฐานการผลิต ชื่อเสียง การให้ บริ การ รวมถึงรู ปแบบการ ดาเนินงานที่สอดคล้ องกัน นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ยังมีการเข้ าเยี่ยมชมโรงงานและการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ เพื่อ พิจารณาคุณภาพโดยรวมอีกด้ วย ปั จจุบนั บริ ษัทฯ จัดหาสินค้ าจากผู้ผลิต และตัวแทนจาหน่ายกว่า 1,130 ราย โดยเปิ ดโอกาสให้ ค่คู ้ ามีช่องทางใน การนาเสนอสินค้ า และ มีการคัดเลือกประเมินผลคู่ค้า (Vendor’s Service Level) ใน 4 ด้ าน คือ ด้ านความสามารถ ทางการผลิต ด้ านคุณภาพสินค้ า ด้ านคุณภาพการให้ บริ การ และความสามารถในการจัดส่ง ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่าน มาได้ ให้ การสนับสนุน และดาเนินงานร่ วมกันด้ วยดีมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็ นด้ านการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การจัด กิจกรรมส่งเสริ มการขายร่วมกัน การร่วมวางแผนทางการขาย การสนับสนุนและเข้ าร่วมในสาขาที่กาลังจะเปิ ดใหม่
8
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3. ปั จจัยเสี่ยง 3.1
ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจ ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2557 เศรษฐกิจหดตัวตามการใช้ จ่ายภาครัฐที่ทาได้ อย่างจากัด และจากความไม่สงบทาง การเมือง การลงทุนของภาคเอกชนชะลอตัวเพื่อประเมินความชัดเจนของสถานการณ์ ทางเศรษฐกิจ และการเมือง ด้ านการบริ โภคภาคเอกชนลดลงอย่างต่อเนื่องตามตัวเลขความเชื่อมัน่ ของผู้บริ โภคที่อยู่ในระดับต่า รวมถึงจานวน นักท่องเที่ยวต่างชาติที่ลดลงตามบรรยากาศการท่องเที่ยวที่ถูกบัน่ ทอนจากสถานการ์ ทางการเมือง อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ ทางการเมืองที่เริ่ มมีความชัดเจนขึ ้นในช่วงไตรมาสที่ 2 ทาให้ ความเชื่อมั่นของครัวเรื อนและธุรกิจเริ่ ม กลับคืนมา ส่งผลให้ การใช้ จ่ายในประเทศเริ่ มฟื น้ ตัว การใช้ จ่ายของภาคเอกชนโดยเฉพาะการบริ โภคสินค้ าปรับตัว เพิ่มขึ ้นตามความเชื่อมัน่ ของภาคเอกชนที่สงู ขึ ้น นอกจากนี ้ การประกาศยกเลิกเคอร์ ฟิวทัว่ ประเทศในวันที่ 13 มิถนุ ายน 2557 ช่วยให้ ภาวะการท่องเที่ยวเริ่ มมีสญ ั ญาณที่ดีขึ ้นในช่วงปลายเดือน ในช่วงครึ่งปี หลัง ของปี 2557 เศรษฐกิจมีแนวโน้ มขยายตัวอย่างค่อยเป็ นค่อยไป แรงขับเคลือ่ นหลักมาจากการ ส่งออกสินค้ าและภาคการท่องเที่ยวที่เติบโตในอัตราต่า รวมทังการเร่ ้ งเบิกจ่ายของภาครัฐ ยังคงทาได้ ไม่เต็มที่ ส่งผลให้ การผลิตภาคอุตสาหกรรม และภาคบริ การฟื น้ ตัว ช้ า ขณะที่การใช้ จ่ายภาคเอกชนชะลอลง เนื่องจากธุรกิจยังรอความ ชัดเจนของการฟื น้ ตัวทางเศรษฐกิจและการลงทุนโครงสร้ างพื ้นฐานของภาครัฐ ประกอบกับการใช้ จ่ายของครัวเรื อนที่ ขยายตัวในอัตราต่า เพราะมีข้อจากัดด้ านรายได้ ในภาคการเกษตรที่ตกต่าและหนี ้ครัวเรื อนที่อยูใ่ นระดับสูง ด้ านตลาดอสังหาริ มทรั พย์ รวมถึงธุรกิ จค้ าส่งค้ า และปลีกวัสดุก่อสร้ างเริ่ มมีการฟื ้นตัวหลังจากวิกฤตทาง การเมืองในช่วงต้ นปี กาลังซื ้อที่กลับมาของผู้บริ โภค ส่งผลให้ ตลาดโดยรวมปรับตัวดีขึ ้นเล็กน้ อย อย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ ได้ มีการติดตามสถานการณ์ ทงั ้ ในและต่างประเทศอย่างใกล้ ชิด และเชื่ อมั่ นว่ายังคงสามารถที่จะขยายธุรกิ จและ ดาเนินงานเพื่อให้ ได้ ผลสาเร็ จตามแผนการที่วางไว้ (1)
สินค้ าคงคลัง
ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี 2557 2556 และ 2555 บริ ษัทฯ มีสินค้ าคงคลังเหลือสุทธิ จานวน 8,030.82 ล้ านบาท 6,505.64 ล้ านบาท และ 5,352.54 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยมูลค่าสินค้ าคงเหลือที่เพิ่มขึ ้นเป็ นผล มาจากการปรับตัวตามยอดขาย และจานวนสาขาที่เพิ่มขึ ้น สาหรับระยะเวลาการขายสินค้ าเฉลี่ยอยู่ที่ 75 วัน 74 วัน และ 70 วัน ตามลาดับ อย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่เพิ่มรอบการหมุนของสินค้ าคงคลัง ไม่ว่าจะเป็ น การพัฒนาคุณภาพการให้ บริ การของพนักงานขาย การจัดรายการส่งเสริ มการขาย การปรับปรุ งรู ปแบบการ จัด เรี ย งสิ น ค้ า และรู ป ลัก ษณ์ ภ ายในสาขา การเพิ่ ม สิ น ค้ า ใหม่ เ ข้ า ร้ านอย่ า งสม่ า เสมอ รวมทัง้ การเพิ่ ม ประสิทธิภาพการจัดการสินค้ าคงคลัง ทัง้ นี บ้ ริ ษั ท ฯ มี ศูน ย์ ก ระจายสิน ค้ า ซึ่ง สร้ างอยู่บ นที่ ดิ น ที่ เ ป็ นกรรมสิท ธิ์ ข องบริ ษั ท โดย ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 มีพื ้นที่จัดเก็บรวมทังสิ ้ ้นกว่า 136,000 ตารางเมตร อีกทังยั ้ งมีแผนจะขยายพื ้นที่เพิ่มขึ ้นอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้ สามารถบริ หารจัดการสินค้ าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถรองรับปริ มาณการขยายสาขา ในอนาคต
9
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(2)
การลงทุนในประเทศ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ มีสาขาที่เปิ ดดาเนินการแล้ วทังสิ ้ ้นรวม 71 สาขา มีสาขาเปิ ดใหม่ ในระหว่างปี 2557 จานวน 7 สาขา ได้ แก่ สาขาลาปาง ประจวบคีรีขนั ธ์ สุรินทร์ เชียงใหม่ -สันทราย ศรี ราชา ภูเก็ต และพัทยาเหนือ รวมถึงย้ ายสถานที่ตงสาขา ั้ จานวน 1 แห่ง ที่จงั หวัดนครราชสีมา จากสาขาเดอะมอลล์ โคราช มาที่สาขาหัวทะเล จากที่บริ ษัทฯ ได้ มีนโยบายที่จะขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง อาจมีความเสี่ยงเกี่ยวกับผลการดาเนินงาน ของสาขาใหม่ที่ไม่เป็ นไปตามที่ได้ ประมาณการไว้ โดยจะส่งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานโดยรวม บริ ษัทฯ หลีก เลี่ ย งความเสี่ย งโดยได้ ท าการวิ เ คราะห์ ผลตอบแทนจากการลงทุน ก่ อ นที่ จ ะตัด สิ น ใจลงทุน ทุก ครั ง้ นอกจากนีย้ ัง มีการจัดทาแผนดาเนินการ งบประมาณประจาปี และเมื่อสาขาใหม่เปิ ดดาเนินการจะมีการ ติดตามผลประกอบการ และความคืบหน้ าของแผนทุกเดือน โดยจะช่วยให้ บริ ษัทฯ สามารถวางแผนรับความ เสีย่ งและแก้ ไขปั ญหาที่อาจจะเกิดได้ ทนั ท่วงที (3)
การปฏิบัติงาน
บริ ษัทฯ มีความเสี่ยงที่จะสูญเสีย หรื อได้ รับความเสียหายในทรัพย์ สินเนื่องจากการปฏิบัติงานของ พนักงานขาย ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ได้ จดั ตังหน่ ้ วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับความเสีย่ งดังกล่าว คือ คณะกรรมการบริ หาร ความเสีย่ ง และฝ่ ายป้องกันการสูญเสีย (Loss Prevention) ซึง่ รับผิดชอบด้ านการวางระบบป้องกันความเสี่ยง และความปลอดภัยในด้ านต่างๆ ของบริ ษัทฯ รวมถึงความเสีย่ งที่พนักงานอาจได้ รับจากการปฏิบตั ิงานด้ วย (4)
ลูกหนี ้
บริ ษัทฯ แบ่งลูกค้ าออกเป็ น 2 กลุม่ คือกลุม่ ลูกค้ ารายย่อย และกลุม่ ผู้รับเหมาและเจ้ าของโครงการ กลุม่ ลูกค้ ารายย่อย คือลูกค้ าหน้ าร้ านที่สว่ นใหญ่ขายสินค้ าเป็ นเงินสด ส่วนกลุม่ ผู้รับเหมาและเจ้ าของโครงการ คือ กลุม่ ลูกค้ าที่ขายในปริ มาณมากโดยการให้ เครดิต รายได้ จากการขายส่วนใหญ่มาจากกลุม่ ลูกค้ ารายย่อย โดย ในช่วงสิ ้นปี 2557 สัดส่วนอยูท่ ี่ร้อยละ 99.1 ของยอดขายทังหมด ้ สาหรับปี 2556 และ 2555 สัดส่วนการขายเป็ น เงินสดอยูท่ ี่ร้อยละ 98.3 และ 98.4 ตามลาดับ สาหรับการขายทีใ่ ห้ เครดิต บริ ษัทฯ จะพิจารณาเฉพาะโครงการที่ มีฐานะการเงินที่เชื่อถือได้ โดยได้ ตรวจสอบผลการดาเนินงานและฐานะทางการเงินแล้ ว หรื อเป็ นผู้รับเหมาที่มี หนังสือค ้าประกันเป็ นหลักประกันในการชาระหนี ้ เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี 2557 2556 และ 2555 มีลกู หนี ้ค้ างชาระจานวน 262.55 ล้ านบาท 329.66 ล้ านบาท และ 312.72 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยส่วนใหญ่เป็ นลูกหนี ้การค้ าจากการขายโครงการและ ลูกหนี ้การค้ าจากการขายผ่านบัตรเครดิต มีการตังส ้ ารองค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญจานวน 1.34 ล้ านบาท เท่ากันทัง้ 3 ปี ซึ่งผู้บริ หารได้ ประเมินระยะเวลาที่กาหนดในการชาระหนี ้ และสถานะทางการเงินของลูกหนี ้แต่ละรายแล้ ว บริ ษัทฯ เห็นว่าค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญที่ตงไว้ ั ้ เพียงพอ และเหมาะสมแล้ ว สาหรับลูกหนี ้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ส่วนใหญ่เป็ นลูกหนี ้จากการสนับสนุนการขายและจาก การให้ เช่าพื ้นที่และบริ การอื่นที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งมียอดคงค้ างจานวน 1,332.00 ล้ านบาท และมีค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะ สูญ จานวน 1.98 ล้ านบาท
10
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(5)
การจัดหาสินค้ า
ความเสีย่ งด้ านปริ มาณและราคาสินค้ าเป็ นปั จจัยความเสีย่ งหลักที่สาคัญของผู้ประกอบการด้ านค้ าปลีก บริ ษัทฯ มีการจัดหาและสัง่ ซื ้อสินค้ าจากทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ ซึ่งสินค้ าส่วนใหญ่มาจากผู้ผลิตและ ตัวแทนภายในประเทศ โดยได้ มีการวางแผนล่วงหน้ าในการจัดหาผลิตภัณฑ์ และมีหน่วยงานเฉพาะที่จะทาการ สารวจสินค้ าและคัดเลือกบริ ษัทผู้ผลิตที่ได้ รับการรับรองมาตรฐานการผลิต เพื่อสามารถพัฒนาเกี่ยวกับคุณภาพ สินค้ า และมีสนิ ค้ าทดแทนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี บ้ ริ ษั ทฯ มี น โยบายกระจายการจัดหาและสั่ง ซือ้ สิน ค้ า ไปยัง ผู้ผลิต และตัว แทนที่ผ่า นการ คัดเลือกแล้ วหลายๆ ราย เพื่อลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้ขายรายเดียว สร้ างความสมดุลด้ านปริ มาณ และ การสร้ างอานาจในการต่อรองด้ านราคาในระยะยาว (6)
การบริหารจัดการ
บริ ษัทฯ มีการกระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ และไม่มีผ้ ถู ือหุ้นรายใดรายหนึ่งที่ถือหุ้นเกินกว่าร้ อยละ 50 รวมทังไม่ ้ มีผ้ ถู ือหุ้นรายใหญ่หรื อผู้บริ หารรายใดรายหนึ่งที่มีความขัดแย้ งในผลประโยชน์กบั บริ ษัท ฯ อีกทัง้ บริ ษัทฯ ได้ ปฎิบตั ิตามข้ อพึงปฎิบตั ิที่ดีสาหรับกรรมการบริ ษัทจดทะเบียน ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ โดยมีความมุง่ มัน่ ในการดาเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี อย่างจริ งจังและเป็ นรูปธรรม โดยใช้ หลักความมี จริ ยธรรมในการปฎิบตั ิงาน มีการดาเนินงานและเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างโปร่ งใสในทุกระดับขององค์กร จึงทาให้ มี การบริ หารงานในแต่ละกลุ่มธุรกิจอย่างเป็ นระบบ เป็ นมืออาชีพ และลดความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ ้นจากการ บริ หารงานได้ (7)
การบริหารการเงิน
การเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบี ้ยเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานของธุรกิจต่างๆ ที่ต้องอาศัยเงินทุนจากภายนอก โดยปี ที่ผ่านมาแนวโน้ มอัตราดอกเบี ้ยและภาพรวมเงินเฟ้ อในตลาดยังทรงตัว อยู่ในระดับต่า จึงส่งผลให้ ความเสี่ยงด้ านการบริ หารการเงินในระยะสันยั ้ งไม่สงู มาก นอกจากนี ้ผู้บริ หารของ บริ ษัท ฯ มีก ลไกก ากับ ดูแ ลการบริ ห ารการเงิ น โดยมี การวิ เคราะห์ แ ละพิจ ารณาต้ น ทุน จากการลงทุนผ่า น เครื่ องมือต่างๆ ทังการใช้ ้ เงินจากกระแสเงินสด การกู้เงินจากธนาคาร การออกหุ้นกู้ เพื่อบริ หารต้ นทุนให้ สมดุล กับโครงสร้ างการลงทุนในสินทรัพย์แต่ละประเภท และสอดคล้ องกับนโยบายของบริ ษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ มีเงินกู้ยืมระยะยาวคงค้ างจานวน 2,500 ล้ านบาท จากสถาบัน การเงินในประเทศ และมีห้ นุ กู้คงค้ าง 11,350 ล้ านบาท ซึ่งมีกาหนดไถ่ถอนระหว่างปี 2558 ถึง 2562 โดย บริ ษัทฯ มีข้อตกลงกับเจ้ าหนี ้หุ้นกู้วา่ จะต้ องดารงสัดส่วนหนี ้สินต่อทุน (D/E) ไว้ ไม่ให้ เกิน 1.75 เท่า สาหรับหุ้นกู้ ที่ออกก่อนปี 2556 และ 2.5 เท่า สาหรับหุ้นกู้ที่ออกตังแต่ ้ ปี 2556 เป็ นต้ นไป โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทมี D/E เท่ากับ 0.88 เท่า บริ ษัทฯ อาจมีความเสีย่ งหากไม่สามารถดารงอัตราส่วน D/E ไว้ ได้ เพราะจะทาให้ ผิดสัญญากู้ยืมเงิน ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องและฐานะการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ได้
11
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(8)
อัตราแลกเปลี่ยน บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีความเสีย่ งที่สาคัญจากอัตราแลกเปลีย่ น อันสืบเนื่องมาจากการสัง่ ซื ้อสินค้ า จากต่างประเทศ และการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ สาหรับการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศนัน้ จะก่อให้ เกิดผลกระทบเกี่ยวกับการแปลงค่างบการเงิน และเงินลงทุนในสกุลเงินต่างประเทศ อย่างไรก็ตามสาหรับการสัง่ ซื ้อสินค้ า บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยได้ มีการดาเนินการป้องกันความเสี่ยง (Hedging) โดยการทาสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการบริ หารความเสีย่ งไว้ แล้ ว (9)
การลงทุนในต่ างประเทศ บริ ษัทฯ มีแผนการลงทุนไปยังต่างประเทศ ซึ่งเป็ นการต่อยอดธุรกิจปั จจุบนั และเพิ่มโอกาสในการ เติบโตในระยะยาว โดยความเสี่ยงอันอาจเกิดจากการขยายการลงทุนไปยั งต่างประเทศนัน้ ขึ ้นอยู่กบั ปั จจัย หลายประการ เช่น ภาวะเศรษฐกิจของประเทศนัน้ นโยบายสนับสนุนการลงทุน กฎหมาย และกฎเกณฑ์ด้าน ภาษี และด้ านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการลงทุน ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น เป็ นต้ น ในการลดความเสีย่ งจากการลงทุนในต่างประเทศ บริ ษัทฯ ได้ มีการศึกษาและวิเคราะห์ในรายละเอียด ด้ านการตลาด กฎหมาย นโยบายของรัฐ และประเด็นต่างๆ ทังด้ ้ านภาษี และปั จจัยอื่นๆ ที่กล่าวมาข้ างต้ น เพื่อประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ ้นต่อธุรกิจและนาผลประเมินดังกล่าวมาประกอบการพิจารณา รวมทังได้ ้ มี การจัดระบบและหน่วยงานภายในเพื่อติดตามประมวลผลการประกอบการ รวมทังเร่ ้ งพัฒนาขีดความสามารถ ขององค์กรและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เพื่อรองรับการขยายการดาเนินงานและการลงทุนในต่างประเทศ อย่างต่อเนื่อง 3.2
ความเสี่ยงด้ านความไม่ สงบทางการเมือง ความขัดแย้ งทางการเมืองของไทยเป็ นอีกปั จจัยเสีย่ งสาคัญที่มีผลกระทบต่อการบริ โภคในประเทศ อย่างไรก็ ตามสินค้ าประเภทที่ของใช้ ในบ้ านถือเป็ นหนึง่ ในปั จจัยสีท่ ี่ยงั คงมีความจาเป็ นในการดารงชีวิต ถึงแม้ ว่าจะเกิดประเด็น ปั ญหาทางด้ านการเมือง ความขัดแย้ งของคนในสังคมก็เป็ นเพียงการกระทบด้ านอุปสงค์ในระยะสัน้ ดังนัน้ การ วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ ของโครงการและพยายามลดหรื อหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ยงให้ ได้ มากที่สดุ จะเป็ นแนวพิจารณา หลักในการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ 3.3
ความเสี่ยงจากการแข่ งขัน บริ ษัทฯ ประกอบธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน และที่อยู่อาศัยโดยมีค่แู ข่งขันทังทางตรงและทางอ้ ้ อม เช่น ร้ านจาหน่ายสินค้ าเกี่ยวกับบ้ านในลักษณะ Modern trade ร้ านค้ าปลีกวัสดุเกี่ยวกับบ้ าน ห้ างสรรพสินค้ า และร้ าน จาหน่ายสินค้ าเฉพาะอย่าง เป็ นต้ น บริ ษัทฯ สร้ างความแตกต่างโดยมุง่ เน้ นในเรื่ องความหลากหลายของสินค้ า และการ ให้ บริ การที่ครบวงจร อีกทังยั ้ งมีบริ การจัดหาทีมช่างผู้เชี่ยวชาญงานระบบด้ านต่างๆ เช่น งานระบบไฟฟ้ า ประปา ระบบ สุขาภิบาล งานติดตังอุ ้ ปกรณ์ที่เกี่ยวข้ อง เป็ นต้ น นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ได้ เน้ นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริ หารภายใน เพื่อเสริ มสร้ างศักยภาพ สร้ างความแตกต่าง และความได้ เปรี ยบต่อคูแ่ ข่งทังภายใน ้ และต่างประเทศที่อาจเข้ ามาในอนาคต
12
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3.4
ความเสี่ยงจากกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง กฎหมายที่เกี่ยวข้ อง และอาจมีผลให้ เกิดความเสีย่ งต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ มีดงั นี ้ (1) กฎหมายผังเมือง รวมกรุ งเทพมหานคร กฎหมายผังเมืองรวม มีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาประเทศ และรองรับการขยายตัวใน อนาคต หากในอนาคตมีการปรับปรุงผังเมืองรวมดังกล่าว บริ ษัทฯ จะไม่ได้ รับผลกระทบจากข้ อจากัดนี ้แต่อย่าง ใด เนื่องจากที่ผ่านมาบริ ษัทฯได้ ลงทุนครอบคลุมพื ้นที่ ในเขตหัวเมืองหลักเกือบทุกจังหวัดแล้ ว แต่กลับมองว่า เป็ นการจากัดการขยายธุรกิจของคูแ่ ข่ง ซึง่ จะเป็ นประโยชน์แก่บริ ษัทฯ อีกด้ วย (2) พระราชบัญญัติการแข่ งขันทางการค้ า ในปี พ.ศ. 2549 คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ า มีมติให้ ประกาศใช้ เกณฑ์แนวทางพิจารณาการ ปฏิบตั ิทางการค้ าระหว่างผู้ประกอบธุรกิจค้ าส่งค้ าปลีกกับผู้ผลิต/ผู้จาหน่าย ภายใต้ พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. 2542 จานวน 8 แนวทาง ได้ แก่ 1. การกาหนดราคาที่ไม่เป็ นธรรม 2. การเรี ยกรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ไม่เป็ นธรรม 3. การคืนสินค้ าโดยไม่เป็ นธรรม 4. การใช้ สญ ั ญาการฝากขายที่ไม่เป็ นธรรม 5. การบังคับให้ ซื ้อ หรื อให้ จ่ายค่าบริ การ (Coercion to Purchase) 6. การใช้ พนักงานของผู้ผลิต/ผู้จาหน่าย อย่างไม่เป็ นธรรม 7. การปฏิเสธการรับสินค้ าที่สงั่ ซื ้อ/ผลิตพิเศษ เป็ นตราเฉพาะของผู้สงั่ ผลิต (Private Brand) หรื อเป็ น ตราเฉพาะของผู้ประกอบธุรกิจค้ าส่งค้ าปลีก (House Brand) 8. การปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นธรรมอื่นๆ แนวทางพิจารณาการปฏิบตั ิทางการค้ า 8 ข้ อ ดังกล่าว มีผลกระทบต่อผู้ค้าปลีกแบบสมัยใหม่ทุกราย (Modern Trade) อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ สามารถดาเนินธุรกิจได้ สอดคล้ องตามประกาศข้ างต้ น บริ ษัทฯ ได้ ตกลง ร่วมกันในการปรับแก้ ข้อสัญญากับบริ ษัทคูค่ ้ าให้ มีความละเอียด และชัดเจนยิ่งขึ ้น (3) พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 การเปิ ดตลาดเสรี การค้ าจากการจัดตังประชาคมอาเซี ้ ยนที่กาลังจะมาถึง จะส่งผลให้ การนาเข้ าสินค้ า จากต่างประเทศเพิ่มสูงขึ ้น รัฐบาลไทยจึงต้ องกาหนดมาตรการเพื่อควบคุม และป้องกันอันตรายจากสินค้ า นาเข้ าที่อาจเกิดขึน้ กับผู้บริ โภค หนึ่งในมาตรการนันคื ้ อ การออกพระราชกฤษฎีกากาหนดมาตรฐานสินค้ า นาเข้ า สาหรับสินค้ าบางรายการที่จากเดิมสามารถนาเข้ าได้ โดยไม่ต้องขออนุญาตมาตรฐานอุตสาหกรรม แต่ ในอนาคต การนาเข้ าสินค้ านันๆ ้ จะต้ องผ่านการขออนุญาตก่อน ซึ่งอาจทาให้ บริ ษัทฯ ได้ รับผลกระทบเรื่ อง ความสะดวกในการนาเข้ าสินค้ าที่อาจถูกควบคุมมากขึ ้น
3.5
ความเสี่ยงจากการที่บริษัทฯมีผ้ ถู อื หุ้นรายใหญ่ มากกว่ าร้ อยละ 25 วันที่ 27 ตุลาคม 2557 บริ ษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน) ถือหุ้นในบริ ษัทฯ จานวน 3,313,232,027 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 30.23 ของหุ้นที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมด ้ จึงทาให้ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ มีโอกาสที่จะควบคุม คะแนนเสียงที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้ ยกเว้ นเรื่ องกฎหมาย หรื อข้ อบังคับบริ ษัทกาหนดต้ องให้ ได้ รับเสียง 3 ใน 4 ของที่ ประชุมผู้ถือหุ้น
13
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
4. ทรัพย์ สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ บริษัทฯ มีสินทรัพย์ที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ดังต่อไปนี ้ จานวน
รายการ 1. 2. 3. 4.
(ล้ านบาท)
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สิทธิการเช่ารอตัดบัญชี โปรแกรมคอมพิวเตอร์
3,982.16 38,162.88 2,355.43 391.40
รวม หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าตัดจาหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้ อยค่า ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน
44,891.86 (9,647.95) (533.21) (25.97) (14.41)
สินทรั พย์ ถาวรสุทธิ
34,670.32
หมายเหตุ : ยอดสิ นทรัพย์สทุ ธิ รวมรายการของบริ ษัทย่อยไว้จานวน 2,535.21 ล้านบาท
รายละเอียดที่ดิน สิทธิการเช่ารอการตัดบัญชี อาคารและส่วนปรับปรุงอาคารสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดงั นี ้ ลักษณะกรรมสิทธิ์ / สาขา
1. สิทธิการเช่ าที่ดิน รังสิต รัตนาธิเบศร์ รามคาแหง พระราม 2 แจ้ งวัฒนะ ราชพฤกษ์ สุวรรณภูมิ ภูเก็ต-ฉลอง เขาใหญ่ ลาลูกกา ฉะเชิงเทรา ร้ อยเอ็ด นครศรี ธรรมราช สุพรรณบุรี ลพบุรี สกลนคร บุรีรัมย์ ราชบุรี หาดใหญ่-กาญจนวนิช แพร่ สระบุรี เพชรบูรณ์ ลาปาง สุรินทร์ โคราช-หัวทะเล ศรี ราชา ภูเก็ต-ถลาง พัทยาเหนือ และสาขาของธุรกิจ เมกา โฮม
2. สิทธิการเช่ าพืน้ ที่ แฟชัน่ ไอส์แลนด์ ฟิ วเจอร์ มาร์ ท เสรี เซ็นเตอร์ เดอะมอลล์ บางแค รัชดาภิเษก เพลินจิต ภูเก็ต เชียงใหม่ ลาดพร้ าว พัทยา หาดใหญ่ สมุย อยุธยา เชียงใหม่-หางดง กระบี่ สุขาภิบาล และเมกาบางนา
3. ถือกรรมสิทธิ์ (บริษัทฯเป็ นเจ้ าของ) ประชาชื่น หัวหิน พิษณุโลก ขอนแก่น อุดรธานี ชลบุรี รามอินทรา เพชรเกษม ระยอง นครปฐม นครราชสีมา ตรัง นครสวรรค์ มหาชัย อุบลราชธานี จันทบุรี ชุมพร ปราจีนบุรี สุราษฎ์รธานี กาญจนบุรี พุทธ มณฑล-สาย 5 ชัยภูมิ เชียงราย เลย ประจวบคีรีขนั ธ์ เชียงใหม่-สัน ทราย สุโขทัย ศูนย์กระจายสินค้ า สาขาที่อยู่ระหว่างรอเปิ ด ดาเนินการ และสาขาของธุรกิจเมกา โฮม
รวม
เนือ้ ที่ โดยประมาณ
มูลค่ าทางบัญชี (ล้ านบาท) ที่ดิน/ อาคาร
สิทธิการเช่ า
สิน้ สุดอายุ สัญญาเช่ า
สิทธิการ ต่ อสัญญา
622 ไร่ 1 งาน 50 ตรว.
1,376.14
5,272.15
2565 – 2587
ไม่มี *
124,149 ตรม.
325.46
373.01
2559 – 2585
ไม่มี
959 ไร่ 1 งาน 36 ตรว.
8,190.54
6,812.71
-
-
9,892.14
12,457.87
หมายเหตุ : บริ ษัทฯ มี สิทธิ ในการต่อสัญญาเช่าทีด่ ิ นจานวน 1 สาขา ทัง้ นี ้ รายละเอี ยดและเงื ่อนไขในการต่อสัญญาจะมี การตกลงกับผูใ้ ห้เช่าในอนาคต
14
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย บริ ษัทฯ มีคดีที่เกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจหลัก ซึง่ อยูร่ ะหว่างการฟ้ องร้ อง 2 ประเภท 1. คดีกบั บริ ษัทคูค่ ้ า เป็ นกรณีที่เรี ยกค่าเสียหายจากการผิดสัญญาซื ้อขาย 2. คดีกบั ร้ านค้ าเช่า เป็ นกรณีเรี ยกค่าเช่า และค่าบริ การ จากการให้ เช่าพื ้นที่ ซึง่ เมื่อรวมมูลหนี ้ทังสิ ้ ้นแล้ วยังมีจานวนที่น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และไม่มีกรรมการ หรื อผู้บริ หารท่านใดที่เป็ นคูค่ วามกับบริ ษัทฯ
15
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
6. ข้ อมูลทั่วไป 6.1 ข้ อมูลบริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ที่ตัง้ โทรศัพท์ โทรสาร Web site ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนชาระแล้ ว
96/27 หมูท่ ี่ 9 ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 0 2832 1000 0 2832 1400 www.homepro.co.th จาหน่ายสินค้ า และให้ บริการที่เกี่ยวข้ องกับการก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซมบ้ าน และที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร 0107544000043 12,329,396,991 หุ้น 12,329,315,446 หุ้น
6.2 ข้ อมูลบริษัทที่ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ถือครองตัง้ แต่ ร้อยละ 10 ขึน้ ไป (1) ชื่อ ที่ตัง้ โทรศัพท์ โทรสาร ประเภทธุรกิจ จานวนหุ้นที่ออกจาหน่ าย จานวนหุ้นที่ถือครอง (2) ชื่อ ที่ตัง้ ประเภทธุรกิจ จานวนหุ้นที่ออกจาหน่ าย จานวนหุ้นที่ถือครอง
บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด 234/1 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77110 0 3261 8888 0 3261 8800 บริหารพื ้นที่ให้ เช่า และให้ บริการด้ านสาธารณูปโภค หุ้นสามัญ 50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท 49,993 หุ้น Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD. กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ค้ าปลีกสินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน และให้ บริการที่เกี่ยวข้ องแบบครบวงจร หุ้นสามัญ 25,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 ริงกิต 25,000,000 หุ้น
(3) ชื่อ ที่ตัง้ โทรศัพท์ โทรสาร ประเภทธุรกิจ จานวนหุ้นที่ออกจาหน่ าย จานวนหุ้นที่ถือครอง
บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด 49 หมูท่ ี่ 5 ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 0 2516 0099 0 2516 0098 ค้ าปลีก และค้ าส่ง วัสดุก่อสร้ าง และสินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน
(4) ชื่อ ที่ตัง้ ประเภทธุรกิจ จานวนหุ้นที่ออกจาหน่ าย จานวนหุ้นที่ถือครอง
บริษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จากัด 100 หมูท่ ี่ 2 ต.ลาไทร อ.วังน้ อย จ.อยุธยา 13170 บริหารจัดการคลังสินค้ า และขนส่งสินค้ า หุ้นสามัญ 500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท
หุ้นสามัญ 10,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท 9,999,998 หุ้น
499,997 หุ้น
16
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
6.3 ข้ อมูลสาขาโฮมโปร 1. รังสิต
21. สมุย
100 ถ.พหลโยธิน ต.ประชาธิปัตย์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110
1/7 หมูท่ ี่ 6 ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ ธานี 84320
2. รัตนาธิเบศร์
22. พิษณุโลก
6/1 หมูท่ ี่ 6 ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140
959 หมูท่ ี่ 10 ต.อรัญญิก อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000
3. แฟชั่น ไอส์ แลนด์
23. ขอนแก่ น
587, 589 ถ.รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230
177/98 หมูท่ ี่ 17 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
4. ฟิ วเจอร์ มาร์ ท
24. อุดรธานี
295 ถ.พระราม 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120
89/20 หมูท่ ี่ 9 ซ.บ้ านหนองเหล็ก ต.หมากแข้ ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
5. พาราไดซ์ พาร์ ค
25. สุราษฏร์ ธานี
61 ถ.ศรี นคริ นทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250
86 หมูท่ ี่ 3 ตาบลวัดประดู่ อ.เมืองสุราษฎร์ ธานี จ.สุราษฎร์ ธานี 84000
6. เดอะมอลล์ บางแค
26. เพชรเกษม
275 หมูท่ ี่ 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160
224 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค้ างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160
7. รัชดาภิเษก
27. ชลบุรี
125 ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
15/16 หมูท่ ี่ 3 ต.ห้ วยกะปิ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000
8. เพลินจิต
28. เอกมัย-รามอินทรา
55 อาคารเวฟเพลส ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
41 ถ.ประดิษฐ์ มนูธรรม แขวงลาดพร้ าว เขตลาดพร้ าว กรุงเทพฯ 10230
9. ภูเก็ต
29. ระยอง
104 หมูท่ ี่ 5 ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000
560 ถ.สุขมุ วิท ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 21000
10. เชียงใหม่
30. อยุธยา
94 หมูท่ ี่ 4 ถ.เชียงใหม่-ลาปาง ต.หนองป่ าคลัง่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000
80 หมูท่ ี่ 2 ต.บ้ านกรด อ.บางปะอิน จ.อยุธยา 13160
11. รามคาแหง
31. เชียงใหม่ -หางดง
647/19 ถ.รามคาแหง (สุขาภิบาล 3) แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
433/4-5 หมูท่ ี่ 7 ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100
12. พระราม 2
32. กระบี่
45/581 หมูท่ ี่ 6 แขวงแสมดา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150
349 หมูท่ ี่ 11 ต.กระบี่น้อย อ.เมือง จ.กระบี่ 81000
13. ประชาชื่น
33. ภูเก็ต-ฉลอง
96/27 หมูท่ ี่ 9 ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
61/10 หมูท่ ี่ 10 ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83130
14. ลาดพร้ าว
34. เขาใหญ่
669 ถ.ลาดพร้ าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900
288 หมูท่ ี่ 11 ต.หนองน ้าแดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130
15. พัทยา
35. นครปฐม
333 หมูท่ ี่ 9 ต.หนองปรื อ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150
752/3 ถ.เพชรเกษม ต.ห้ วยจรเข้ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000
16. แจ้ งวัฒนะ
36. นครราชสีมา
113 หมูท่ ี่ 5 ต.ปากเกร็ ด อ.ปากเกร็ ด จ.นนทบุรี 11120
384 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
17. หาดใหญ่
37. ลาลูกกา
677 ถ.เพชรเกษม ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
99 หมูท่ ี่ 6 ต.บึงคาพร้ อย อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี 12150
18. ราชพฤกษ์
38. สุขาภิบาล 3
82 หมูท่ ี่ 2 ต.บางขุนกอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130
101 ถ.รามคาแหง แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510
19. สุวรรณภูมิ
39. นครศรีธรรมราช
99/28 หมูท่ ี่ 1 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540
89 ถ.นคร-ปากพนัง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรี ธรรมราช 80000
20. หัวหิน
40. ฉะเชิงเทรา
234/1 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77110
187/9 ถ.ฉะเชิงเทรา-บางปะกง ต.หน้ าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000
17
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) 41. ร้ อยเอ็ด
57. แพร่
116 หมูท่ ี่ 3 ต.ดงลาน อ.เมือง จ.ร้ อยเอ็ด 45000
171 หมูท่ ี่ 7 ต.ป่ าแมด อ.เมือง จ.แพร่ 54000
42. สุพรรณบุรี
58. พุทธมณฑลสาย 5
133 ถ.มาลัยแมน ต.รัว้ ใหญ่ อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000
198 หมูท่ ี่ 1 ต.บางเตย อ.สามพราน จ.นครปฐม 73210
43. ลพบุรี
59. สระบุรี
85 หมูท่ ี่ 6 ต.ท่าศาลา อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000
24/3 หมูท่ ี่ 2 ต.ตะกุล อ.เมือง จ.สระบุรี 18000
44. สกลนคร
60. เพชรบูรณ์
689/1 ถ.นิตโย ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000
151 หมูท่ ี่ 1 ต.ชอนไพร อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000
45. ตรัง
61. ชัยภูมิ
196 หมูท่ ี่ 4 ต.บ้ านควน อ.เมือง จ.ตรัง 92000
164 หมูท่ ี่ 7 ต.หนองนาแซง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ 36000
46. เมกาบางนา
62. เชียงราย
39 หมูท่ ี่ 6 ต.บางแก้ ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540
157 หมูท่ ี่ 2 ต.ท่าสาย อ.เมือง จ.เชียงราย 57000
47. บุรีรัมย์
63. เลย
499 หมูท่ ี่ 9 ต.อิสาณ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ 31000
117 หมูท่ ี่ 9 ต.นาอาน อ.เมือง จ.เลย 42000
48. หาดใหญ่ - กาญจนวนิช
64. ลาปาง
33/40 หมูท่ ี่ 5 ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
224 ถ. ไฮเวย์-ลาปาง-งาว ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลาปาง 52000
49. นครสวรรค์
65. ประจวบคีรีขันธ์
119/2 หมูท่ ี่ 7 ต.บางม่วง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000
57 ถ. เพชรเกษม ต.ประจวบคีรีขนั ธ์ อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77000
50. มหาชัย
66. สุรินทร์
68/98 หมูท่ ี่ 8 ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000
188 หมูท่ ี่ 6 ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000
51. อุบลราชธานี
67. เชียงใหม่ - สันทราย
284 หมูท่ ี่ 7 ต.แจระแม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000
49 หมูท่ ี่ 4 ต.สันทรายน้ อย อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210
52. ราชบุรี
68. หัวทะเล
208 หมูท่ ี่ 13 ต.เจดีย์หกั อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000
233 หมูท่ ี่ 1 ต.หนองบัวศาลา อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
53. จันทบุรี
69. ศรีราชา
21/18 หมูท่ ี่ 11 ต. พลับพลา อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000
99/123 หมูท่ ี่ 10 ต.หนองขาม อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 20110
54. ชุมพร
70. ภูเก็ต - ฉลอง
63 หมูท่ ี่ 1 ต.วังไผ่ อ.เมือง จ.ชุมพร 86000
18 หมูท่ ี่ 1 ต.ศรี สนุ ทร อ.ถลาง จ.ภูเก็ต 83110
55. ปราจีนบุรี
71. พัทยาเหนือ
44/1 หมูท่ ี่ 4 ต.บางบริ บรู ณ์ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25000
384/40 หมูท่ ี่ 6 ต.นาเกลือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150
56. กาญจนบุรี 15 หมูท่ ี่ 1 ต.ท่าล้ อ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี 71000
ข้ อมูลสาขาเมกา โฮม 1. รังสิต
3. หนองคาย
49 หมูท่ ี่ 5 ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
999 หมูท่ ี่ 5 ต.มีชยั อ.เมือง จ.หนองคาย 43000
2. แม่ สอด
4. บ่ อวิน
1108 หมูท่ ี่ 1 ต.ท่าสายลวด อ.แม่สอด จ.ตาก 63110
333/143 หมูท่ ี่ 3 ต.บ่อวิน อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 20230
18
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
6.4 ข้ อมูลบุคคลอ้ างอิง (1) ผู้สอบบัญชี
บริษัท สานักงาน อีวาย จากัด อาคารเลครัชดา ชัน้ 33 193/136-137 ถ.รัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90
(2) ที่ปรึกษากฎหมาย Wissen & Co Ltd. ชัน้ 8 ห้ อง 3801 อาคาร บีบี 54 ซ.สุขมุ วิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2259 2627 โทรสาร 0 2259 2630 (3) นายทะเบียนหุ้น
บริษัท ศูนย์ รับฝากหลักทรั พย์ (ประเทศไทย) จากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชัน้ 4, 6-7 ถ.รัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2229 2800 โทรสาร 0 2359 1262-3
(4) นายทะเบียนหุ้นกู้ หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 1/2554 ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน) 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2256 2323-7 โทรสาร 0 2256 2406 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 1/2555 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 1/2556 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 1/2557 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 2/2557 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 3/2557 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 4/2557 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จากัด (มหาชน) 44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0 2626 7503-4 โทรสาร 0 2626 7542 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครัง้ ที่ 5/2557 ธนาคารกรุ งศรีอยุธยา จากัด (มหาชน) 1222 ถ.พระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2296 3582 โทรสาร 0 2683 1298
19
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ส่ วนที่ 2 การจัดการ และการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถอื หุ้น 7.1
หลักทรัพย์ ของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ทุนจดทะเบียน ทุนชาระแล้ ว ชื่อตลาดหลักทรัพย์ที่จดทะเบียน ชื่อที่ใช้ ในการซื ้อขาย
: : : :
12,329,396,991 บาท (หุ้นสามัญ 12,329,396,991 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) 12,329,315,446 บาท (หุ้นสามัญ 12,329,315,446 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย hmpro
จากข้ อมูลผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษัทฯ ที่ถือหุ้นผ่านบริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด (Thai NVDR) ณ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557 มีจานวน 198,648,835 หุ้น หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 1.61 ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายแล้ ว ทังหมด ้ ทังนี ้ ้ หุ้นสามัญที่ถือโดย Thai NVDR นี ้จะไม่สามารถใช้ สทิ ธิออกเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้นได้ ยกเว้ น กรณีการใช้ สิทธิออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับการเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็ นหลักทรั พย์จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ (Delist) ดังนันจ ้ านวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงของบริ ษัทฯ จะลดลง ซึ่งจะทาให้ สิทธิในการออกเสียง ของผู้ถือหุ้นรายอื่นเพิ่มขึ ้น ทังนี ้ ้ ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนสามารถตรวจสอบจานวนหุ้นที่ถือโดย Thai NVDR ได้ จากเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาใช้ สทิ ธิออกเสียงต่อไป 7.2
ผู้ถอื หุ้น 7.2.1 ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนวันที่ 27 ตุลาคม 2557 ประกอบด้ วย
ลาดับ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ชื่อบุคคล / นิติบุคคล
จานวนหุ้น
สัดส่ วนการถือหุ้น
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน)
3,313,232,027
30.23
บริษัท ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน)
2,166,814,005
19.77
นาย นิติ โอสถานุเคราะห์
517,846,469
4.73
นาย มานิต อุดมคุณธรรม
337,493,332
3.08
AIA Company Limited-DI-LIFE
262,652,817
2.40
นาย จุน วนวิทย์
208,562,604
1.90
บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด
187,086,994
1.71
นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล
157,928,250
1.44
บริษัท สารสิน จากัด
139,631,643
1.27
CHASE NOMINEES LIMITED 1
124,969,959
1.14
หมายเหตุ - ณ วันที ่ 27 ตุลาคม 2557 บริ ษัทมีสดั ส่วนจานวนผู้ถือหุ้นรายย่อย (Free Float) อยู่ทีป่ ระมาณร้อยละ 43.39 และมี สัดส่วนการถื อหุ้นของนักลงทุนสถาบัน อยู่ทีป่ ระมาณร้อยละ 19.08 - ตารางข้างต้นแสดงจานวนหุ้นวันปิ ดสมุดทะเบียน ณ วันที ่ 27 ตุลาคม 2557 ก่อนการจ่ายหุ้นปั นผลระหว่างกาล อัตรา 8 หุ้นเดิ มต่อ 1 หุ้นปั นผล ในวันที ่ 13 พฤศจิ กายน 2557 20
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
7.2.2 กรรมการที่เป็ นตัวแทนจากกลุ่มผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ โดยกรรมการเหล่านี ้เป็ นตัวแทนกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึง่ ถือหุ้นอยูใ่ นบริ ษัทฯ มากกว่าร้ อยละ 20 ชื่อ – นามสกุล 1. 2. 3. 4. 5.
นาย อนันต์ นาย นพร นาย อาชวิณ นาย รัตน์ นาง สุวรรณา
อัศวโภคิน สุนทรจิตต์เจริ ญ อัศวโภคิน พานิชพันธ์ พุทธประสาท
ตัวแทนกลุ่มผู้ถือหุ้น
ตาแหน่ ง
บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
7.2.3
ข้ อจากัดหุ้นต่ างด้ าว ผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติสามารถถือหุ้น และมีชื่อปรากฏบนทะเบียนหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ รวมกันได้ ไม่ เกินร้ อยละ 30 ของจานวนหุ้นที่ออกและชาระแล้ ว โดย ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2557 หุ้นของบริ ษัทฯ ที่ถือครอง โดยชาวต่างชาติอยูท่ ี่ประมาณร้ อยละ 8.66 7.3
การออกหุ้นกู้ (1) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 1/2554 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2558 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2554 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2558 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 1,000,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 1,000,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 15 กันยายน 2554 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 4 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 15 กันยายน 2558 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 4.60 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 3 เดือน ในเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคมของทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้
21
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(2) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 1/2555 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2558 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2555 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2558 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 1,300,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 1,300,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 14 กันยายน 2555 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 14 กันยายน 2558 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 3.85 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 6 เดือน ในเดือนมีนาคม และกันยายน ของทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ (3) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 1/2556 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2559 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2556 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2559 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 4,000,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 4,000,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 18 กันยายน 2556 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 18 กันยายน 2559 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 4.05 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 6 เดือน ในเดือนมีนาคม และกันยายน ของทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้
22
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(4) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 1/2557 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2560 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2557 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2560 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 1,000,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 1,000,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 7 มีนาคม 2557 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 7 มีนาคม 2560 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 3.63 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 6 เดือน ในเดือนมีนาคม และกันยายน ของทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ (5) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 2/2557 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2560 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 2/2557 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2560 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี หลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 530,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 530,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 25 กรกฎาคม 2557 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 25 กรกฎาคม 2560 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 3.53 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 6 เดือน ในเดือนมกราคม และกรกฎาคม ของ ทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้
23
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(6) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิและไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 3/2557 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2560 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 3/2557 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2560 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 520,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 520,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 8 สิงหาคม 2557 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 8 สิงหาคม 2560 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 3.53 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 6 เดือน ในเดือนกุมภาพันธ์ และสิงหาคม ของ ทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ (7) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิและไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 4/2557 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2560 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 4/2557 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2560 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 2,000,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 2,000,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 1 กันยายน 2557 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 1 กันยายน 2560 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 3.54 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 6 เดือน ในเดือนมีนาคม และกันยายน ของทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้
24
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(8) หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิและไม่ มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั ง้ ที่ 5/2557 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2562 ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 5/2557 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2562 ประเภทของหุ้นกู้ : หุ้นกู้ระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และไม่มี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จานวนที่เสนอขาย : 1,000,000 หน่วย มูลค่ารวมของหุ้นกู้ที่เสนอขาย : 1,000,000,000 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย : 1,000 บาท ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 1,000 บาท วันที่ออกหุ้นกู้ : 26 ธันวาคม 2557 อายุห้ นุ กู้ : อายุ 3 ปี นับจากวันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ : 26 ธันวาคม 2562 อัตราดอกเบี ้ย : อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 3.47 ต่อปี การชาระดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ : กาหนดชาระทุก 6 เดือน ในเดือนมิถนุ ายน และธัน วาคม ของ ทุกปี การชาระคืนเงินต้ นของหุ้นกู้ : ชาระคืนเงินต้ นทังจ ้ านวนในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุ้นกู้ 7.3
นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล 7.3.1
นโยบายการจ่ ายเงินปั นผลของบริษัทฯ
บริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นไม่น้อยกว่าร้ อยละ 40 ของกาไรสุทธิในแต่ละปี ทังนี ้ ้การพิจารณาจ่ายเงินปั นผลจะมีการนาปั จจัยต่างๆ มาพิจารณาประกอบด้ วย เช่น ผลการดาเนินงาน และ ฐานะการเงินของบริ ษัท สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องในการบริ หารงานของบริ ษัทฯ โดยในการจ่ายเงินปั นผลจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้น และคณะกรรมการบริ ษัททุกครัง้ ประวัติการจ่ายเงินปั นผลสาหรับผลประกอบการประจาปี 2555 – 2557 มีดงั นี ้ ระยะเวลา อัตราการจ่ายหุ้นปั นผล
25551 (5 : 1) , (6 : 1)
25562 (6 : 1) , (7 : 1)
25573 (8 : 1) , (15 : 1)
(จานวนหุ้นเดิม : หุ้นปั นผล)
(ระหว่างกาล) , (สิ ้นปี )
(ระหว่างกาล) , (สิ ้นปี )
(ระหว่างกาล) , (สิ ้นปี )
0.366700 0.407523 0.407523 0.28 97.65%
0.3096 0.0345 0.3441 0.25 99.24%
0.191670 0.087219 0.278889 0.27 98.03%
มูลค่าหุ้นปั นผลต่อหุ้น (ก่อนปรับลด) มูลค่าเงินสดปั นผลต่อหุ้น (หน่วย : บาท/ หุ้น) รวมมูลค่ าการจ่ ายปั นผล (หน่วย : บาท/ หุ้น) อัตรากาไรสุทธิตอ่ หุ้น (หลังปรับลด) อัตราการจ่ายเงินปั นผลต่อกาไรสุทธิ
25
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) หมายเหตุ : 1. การจ่ายปั นผลประจาปี 2555 จานวน 0.407523 บาท/หุ้น จ่ายจากผลประกอบการงวด 6 เดื อนแรก จานวน 0.22223 บาท/หุ้น (ประกอบด้วยเงิ นสดปั นผล 0.02223 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 5 หุ้นเดิ มต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.20 บาท/หุ้น) ตามมติ ที่ประชุมวิ สามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที ่ 1/2555 และจ่ายปั นผลจากผลประกอบการงวด 6 เดื อนหลังอี ก จานวน 0.1853 บาท/หุ้น (ประกอบด้วยเงิ นสดปั นผล 0.0186 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 6 หุ้นเดิ มต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.1667 บาท/หุ้น) ตามมติ ทีป่ ระชุมสามัญประจาปี 2556 2.
การจ่ายปั นผลประจาปี 2556 จานวน 0.3441 บาท/หุ้น จ่ายจากผลประกอบการงวด 6 เดื อนแรก จานวน 0.1853 บาท/ หุ้น (ประกอบด้วยเงิ นสดปั นผล 0.0186 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 6 หุ้นเดิ มต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.1667 บาท/หุ้น) ตามมติ ทีป่ ระชุมวิ สามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที ่ 1/2556 และจ่ายปั นผลจากผลประกอบการงวด 6 เดื อนหลังอีกจานวน 0.1588 บาท/หุ้น (ประกอบด้วยเงิ นสดปั นผล 0.0159 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 7 หุ้นเดิ มต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อ เท่ากับ 0.1429 บาท/หุ้น) ตามมติ ทีป่ ระชุมสามัญประจาปี 2557
3.
การจ่ายปั นผลประจาปี 2557 จานวน 0.278889 บาท/หุ้น จ่ายจากผลประกอบการงวด 6 เดื อนแรก จานวน 0.138889 บาท/หุ้น (ประกอบด้วยเงิ นสดปั นผล 0.013889 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 8 หุ้นเดิ มต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.125 บาท/หุ้น) ตามมติ ทีป่ ระชุมวิ สามัญผู้ถือหุ้น ครัง้ ที ่ 1/2557 และการจ่ายปั นผลจากผลประกอบการงวด 6 เดื อนหลัง อีกจานวน 0.14 บาท/หุ้น (ประกอบด้วยเงิ นสดปั นผล 0.07333 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 15 หุ้นเดิ มต่อ 1 หุ้นปั น ผล หรื อเท่ากับ 0.06667 บาท/หุ้น) ตามมติ ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทที ่อนุมตั ิ เพือ่ เสนอต่อที ่ประชุม สามัญประจาปี 2558
7.3.2
นโยบายการจ่ ายเงินปั นผลของบริษัทย่ อย บริ ษัทย่อยไม่ได้ มกี ารกาหนดนโยบายการจ่ายเงินปั นผลไว้ หากแต่จะพิจารณาจ่ายเป็ นกรณีไป โดย บริ ษัทย่อยจะต้ องมีกาไรสุทธิจากการดาเนินงาน และมีกระแสเงินสดคงเหลือ (หลังจากที่ได้ ตงส ั ้ ารองตาม กฎหมาย) เพียงพอ
26
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1
แผนผังองค์ กร คณะกรรมการบริ ษัท
คณะกรรมการสรรหา และ กาหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริ หาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการผู้จดั การ คณะกรรมการ บริ หารความเสี่ยง
คณะกรรมการด้ าน ความรับผิดชอบต่อสังคม
สานักตรวจสอบภายใน
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านปฏิบตั ิการ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านพัฒนาธุรกิจ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื ้อ Hard-Line
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านบริหารสินค้ าคงคลัง
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื ้อ Soft-Line
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านบริหารคลังสินค้ า
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื ้อ Home Electric Product
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านการตลาด
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื ้อต่างประเทศ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื ้อ Non-Trade และ สนับสนุนงานจัดซื ้อ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านธุรกิจต่างประเทศ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านบัญชี และการเงิน
ด้ านทรัพยากรบุคคล และป้องกันการสูญเสีย
27
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8.2
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริ ษัทมีจานวนทังสิ ้ ้น 12 ท่าน ประกอบด้ วย (1) กรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร 1 ท่าน (2) กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร 11 ท่าน ประกอบด้ วย - กรรมการอิสระ 4 ท่าน (หรื อหนึง่ ในสามของจานวนกรรมการทังหมด) ้ - กรรมการที่ไม่มีสว่ นร่วมในการบริ หารงาน 7 ท่าน โครงสร้ างคณะกรรมการของบริษัทฯ มีการถ่วงดุลกันอย่างเพียงพอ โดย (1) มีกรรมการอิสระหนึง่ ในสามของจานวนกรรมการทังหมด ้ มีความเป็ นอิสระจากผู้บริ หาร และผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ (2) มีคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วยกรรมการตรวจสอบจานวน 3 ท่าน ที่มีความเป็ นอิสระ มีความรู้และ ประสบการณ์ที่จะสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน รวมถึงทาหน้ าที่อื่นในฐานะกรรมการตรวจสอบได้ (นาย ชนินทร์ รุนสาราญ เป็ นกรรมการอิสระที่มคี วามรู้ ความเชี่ยวชาญด้ านบัญชี และการเงิน) (3) มีการมอบอานาจระหว่างกรรมการ และฝ่ ายจัดการทีช่ ดั เจน (4) มากกว่า 2 ปี ที่ผา่ นมา กรรมการทุกท่านไม่เคยเป็ นพนักงาน ผู้ถือหุ้น หรื อหุ้นส่วนของบริ ษัท สานักงาน อีวาย จากัด ซึง่ เป็ นบริ ษัทผู้สอบบัญชีภายนอกที่ตรวจสอบงบการเงินให้ กบั บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้ วย ชื่อ – นามสกุล 1. นาย อนันต์ 2. นาย รัตน์ 3. นาย จุมพล 4. นาย อาชวิณ 5. นาง สุวรรณา 6. นาย มานิต 7. นาย นพร 8. นาย คุณวุฒิ 9. นาย พงส์ 10. นาย บุญสม 11. นาย ทวีวฒ ั น์ 12. นาย ชนินทร์
อัศวโภคิน พานิชพันธ์ มีสขุ 1 อัศวโภคิน 2 พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต์เจริญ ธรรมพรหมกุล สารสิน เลิศหิรัญวงศ์ 3 ตติยมณีกลุ รุนสาราญ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผู้จดั การ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน
หมายเหตุ: 1. นาย จุมพล มีสขุ เข้าดารงตาแหน่งกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ตามมติทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที ่ 5 สิงหาคม 2557 2. นาย อาชวิ ณ อัศวโภคิ น เข้าดารงตาแหน่งกรรมการแทน นาย อภิ ชาติ นารถศิ ลป์ ตามมติ ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2557 โดยมีผลวันที ่ 10 เมษายน 2557 3. นาย บุญสม เลิ ศหิรัญวงศ์ เข้าดารงตาแหน่งกรรมการอิ สระ และประธานกรรมการตรวจสอบแทนนาย อภิลาศ โอสถานนท์ ตามมติ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที ่ 1 ตุลาคม 2557
28
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
กรรมการผู้มีอานาจลงนาม (1) นาย อนันต์ อัศวโภคิน (4) นาย มานิต อุดมคุณธรรม (2) นาย จุมพล มีสขุ (5) นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ (3) นาง สุวรรณา พุทธประสาท (6) นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล โดยกรรมการสองในหกคนลงลายมือชื่อร่วมกันพร้ อมประทับตราบริ ษัทฯ อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัท กาหนดให้ มีการแบ่งแยกอานาจหน้ าที่ โดยได้ กาหนดอานาจอนุมตั ิและดาเนินการ ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยไว้ อย่างชัดเจนตามประเภทของธุรกรรม เพื่อกระจายอานาจ หน้ าที่ในการตัดสินใจ และสัง่ การ ตามหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย และเป็ นแนวทางให้ ผ้ บู ริ หารและผู้ปฏิบตั ิงานใช้ เป็ นคู่มือในการ ปฏิบตั ิงาน โดยเรื่ องที่เป็ นอานาจอนุมตั ิของกรรมการรวมถึง แผนงานประจาปี งบประมาณประจาปี ของแต่ละ หน่วยงาน นโยบายจ่ายเงินปั นผล เป็ นต้ น อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริ ษัทมีดงั นี ้ 1. คณะกรรมการมีอานาจ และหน้ าที่บริ หารงานของบริ ษัทฯ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ ข้ อบังคับของบริ ษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และมีอานาจกระทาการใดๆ ตามที่ระบุไว้ ในหนังสือ บริ คณห์สนธิ 2. คณะกรรมการมีอานาจแต่งตังกรรมการจ ้ านวนหนึ่งให้ เป็ นคณะกรรมการบริ หาร โดยมีจานวนตามที่ คณะกรรมการกาหนด ซึ่งจะประกอบด้ วยประธานกรรมการบริ หาร และรองประธานกรรมการบริ หารเพื่อ ปฏิบตั ิงานตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท 3. คณะกรรมการอาจแต่งตังบุ ้ คคลอื่นใดให้ ดาเนินกิจการของบริ ษัทฯ ภายใต้ การควบคุมของคณะกรรมการ หรื ออาจมอบอานาจเพื่อให้ บุคคลดังกล่าวมีอานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในเวลาที่ กรรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลีย่ นแปลงหรื อแก้ ไขอานาจนันๆ ้ ก็ได้ 4. คณะกรรมการต้ องประชุมอย่างน้ อยสามเดือนต่อครัง้ 5. กรรมการจะต้ องไม่ประกอบกิจการซึง่ มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษัทฯ หรื อ เข้ าเป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนสามัญ หรื อเป็ นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดในห้ างหุ้นส่วนจากัด หรื อเป็ น กรรมการของบริ ษัทเอกชนหรื อบริ ษัทอื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับ กิจการของบริ ษัทฯ ไม่ว่าจะทาเพื่อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์อื่น เว้ นแต่จะได้ แจ้ งที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ก่อนที่จะมีมติแต่งตัง้ 6. กรรมการจะต้ องแจ้ งให้ บริ ษัทฯ ทราบทันทีที่มีสว่ นได้ เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้ อมในสัญญาใดๆ หรื อ ถือหุ้นหรื อหุ้นกู้ในบริ ษัทฯ และบริ ษัทในเครื อ 7. กรรมการที่มีสว่ นได้ เสียในเรื่ องใดจะไม่มีสทิ ธิ์ออกเสียงในเรื่ องนัน้ 8. การตัดสินใจในการลงทุนขยายสาขา หรื อการลงทุนที่มีมลู ค่าสูงที่ไม่ใช่การดาเนินงานตามปกติของบริ ษัทฯ เว้ นแต่เรื่ องต่อไปนี ้ ซึง่ คณะกรรมการต้ องได้ รับอนุมตั ิจากผู้ถือหุ้นก่อนดาเนินการ - เรื่ องที่กฎหมาย และข้ อบังคับของสานักงานกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) กาหนดให้ ต้องได้ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น
29
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
- การทารายการที่เกี่ยวข้ องกันที่มีมูลค่าเกินกว่าร้ อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิ ของงบการเงิน ล่าสุด - การซื ้อหรื อขายสินทรัพย์สาคัญที่มลู ค่าเกินกว่าร้ อยละ 50 ของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุด 9. ในกรณีที่ที่ประชุมมีการลงคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานคณะกรรมการเป็ นผู้ชี ้ขาด อานาจหน้ าที่ของประธานกรรมการ 1. สนับสนุนและควบคุมให้ การปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อยต่ างๆ เป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็ นไปตามมาตรฐานสูงสุดของหลักธรรมภิบาล 2. สนับสนุนให้ มีช่องทางและการสือ่ สาร ระหว่างผู้ถือหุ้น หน่วยงานของราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง กับ คณะกรรมการบริ ษัท ให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. กาหนดวาระการประชุม ควบคุมและดาเนินการประชุ มของคณะกรรมการ รวมทังการเปิ ้ ดโอกาสให้ มีการ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น หลักการและเหตุผล เพื่อประกอบการตัดสินใจอย่างประสิทธิภาพ 4. กาหนด ขันตอนหรื ้ อวิธีการสรรหาและแต่งตังคณะกรรมการ ้ และกรรมการชุดย่อยให้ เป็ นไปอย่างเหมาะสม และสามารถสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของบริ ษัทฯ 5. กาหนดให้ มีการปฐมนิเทศ หรื อให้ ความรู้ เกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษัทต่อกรรมการ และกรรมการที่ ได้ รับตาแหน่งกรรมการใหม่ของบริ ษัทฯ 6. สนับสนุน กรรมการผู้จดั การ ในการพัฒนาและกาหนดกลยุทธ์ ในการดาเนินงานของบริ ษัท รวมถึงการให้ คาแนะนาในการดาเนินงานด้ านต่างๆ 7. สนับสนุนให้ มีการสื่อสาร และสร้ างสัมพันธ์ที่ดี ระหว่าง กรรมการบริ หาร และกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หาร วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจาปี ทุกครัง้ กรรมการจะพ้ นจากวาระจานวน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่ ดารงตาแหน่งนานที่สดุ เป็ นผู้ที่จะพ้ นจากวาระ สาหรับกรรมการที่พ้นจากวาระอาจถูกเลือกกลับเข้ ามาดารง ตาแหน่งใหม่ได้ และนอกจากการพ้ นตาแหน่งตามวาระแล้ ว กรรมการพ้ นจากตาแหน่งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติ บริ ษัทมหาชน จากัด พ.ศ.2535 4. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ ออกตามมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 5. ศาลมีคาสัง่ ให้ ออก
30
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8.3
ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้ วย
ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงานที่รับผิดชอบ 1. นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการผู้จดั การ 2. นาย วีรพันธ์ อังสุมาลี ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านปฏิบตั ิการ 3. นาย เกษม ปิ่ นมณเฑียรทอง ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านปฏิบตั ิการ 4. น.ส. จารุโสภา ธรรมกถิกานนท์ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านจัดซื ้อ Soft Line 1 5. น.ส. สันนิภา สว่างพื ้น ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านจัดซื ้อ Hard Line 6. น.ส. ศิริวรรณ เปี่ ยมเศรษฐสิน ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านจัดซื ้อ Home Electric Product 7. น.ส. ธาราทิพย์ ตรีมนั่ คง ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านจัดซื ้อต่างประเทศ 2 8. นาง อภิรดี ทวีลาภ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านจัดซื ้อ Non-Trade และสนับสนุนงานจัดซื ้อ 9. นาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ าน บริหารศูนย์กระจายสินค้ า 10. นาง พรสุข ดารงศิริ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ าน Supply Chain 11. นาย วทัญญู วิสทุ ธิโกศล ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านพัฒนาธุรกิจ 12. นาย อนุชา จิตจาตุรันต์ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านธุรกิจต่างประเทศ 13. นาย ณัฏฐ์ จริตชนะ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านการตลาด 14. น.ส. สุดาภา ชะมด ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ 15. นาย นิทศั น์ อรุณทิพย์ไพฑูรย์ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านทรัพยากรบุคคล และป้องกันการสูญเสีย 16. น.ส. วรรณี จันทามงคล ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ งานด้ านบัญชี และการเงิน หมายเหตุ: 1. น.ส. สันนิภา สว่างพืน้ เข้ารับตาแหน่ง เมือ่ วันที ่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 2. นาง อภิ รดี ทวีลาภ เข้ารับตาแหน่ง เมือ่ วันที ่ 1 เมษายน 2557
อานาจหน้ าที่ของกรรมการผู้จัดการ ตามที่ได้ กาหนดไว้ ในมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครัง้ ที่ 7/2544 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 21 มิถนุ ายน 2544 และที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครัง้ ที่ 9/2544 ซึง่ ประชุมเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2544 กรรมการผู้จดั การ มีอานาจหน้ าที่เกี่ยวกับการบริ หารบริ ษัทตามที่คณะกรรมการมอบหมาย และจะต้ องบริ หารบริ ษัทตามแผนงาน หรื องบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการอย่างเคร่ งครัด และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริ ษัท ฯ และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สดุ อานาจหน้ าที่ของกรรมการผู้จดั การได้ ครอบคลุมถึงเรื่ องอื่นๆ ดังต่อไปนี ้ 1. ดาเนินกิจการ และบริ หารงานประจาวันของบริ ษัทฯ 2. การอนุมตั ิคา่ ใช้ จา่ ยในการดาเนินงาน ค่าใช้ จ่ายในการขาย และบริ หาร และรายจ่ายลงทุนให้ เป็ นไป ตามงบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ทังนี ้ ้ ไม่รวมการกู้ยืมและการค ้าประกัน 3. บรรจุ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้ าย เลื่อนตาแหน่ง ลด ตัดเงินเดือน หรื อค่าจ้ าง ลงโท ษทางวินัย พนั ก งาน และลูก จ้ าง ตลอดจนให้ พนั ก งาน และลู ก จ้ างออกจากต าแหน่ ง ตามระเบี ย บที่ คณะกรรมการกาหนด 4. การดาเนินงานอื่นๆ ที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ โดยให้ มีอานาจดังนี ้ - มีอานาจในการบริ หารตามวัตถุประสงค์ ข้ อบังคับ นโยบาย ระเบียบ ข้ อกาหนด คาสัง่ และมติที่ ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมผู้ถือหุ้น
31
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
- มีอานาจดาเนินการ ตลอดจนเข้ าลงนามในนิติกรรม สัญญา เอกสารคาสัง่ หรื อหนังสือใดๆ ที่ใช้ ติดต่อกับหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และบุคคลอื่น ตลอดจนให้ มีอานาจกระทาการใดๆ ที่ จาเป็ นและสมควร เพื่อให้ การดาเนินการข้ างต้ นสาเร็ จลุลว่ ง - มีอานาจในการมอบอานาจช่วงให้ บุคคลอื่นปฏิบตั ิงานเฉพาะอย่างแทนได้ โดยให้ อยู่ภายใต้ ระเบียบ ข้ อกาหนด หรื อคาสัง่ ที่คณะกรรมการ หรื อบริ ษัทฯ กาหนดไว้ ทัง้ นี ก้ รรมการผู้ จั ด การไม่ ส ามารถที่ จ ะอนุ มัติ ร ายการที่ ต นหรื อ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขัด แย้ งทาง ผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริ ษั ทฯ หรื อบริ ษัทย่อย และไม่สามารถประกอบกิจการซึ่งมีสภาพอย่าง เดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษัทฯ หรื อเข้ าเป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนสามัญ หรื อเป็ นหุ้นส่วนไม่ จากัดความรับผิดในห้ างหุ้นส่วนจากัด หรื อดารงตาแหน่งกรรมการ หรื อผู้บริ หารของบริ ษัทอื่นที่ประกอบกิจการ อันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษัทฯ ไม่ว่าจะทาเพื่อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์ อื่น 8.4
เลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2551 คณะกรรมการมีมติอนุมตั ิให้ แต่งตัง้ นางสาว วรรณี จันทามงคล เป็ นเลขานุการ บริ ษัท เพื่อให้ เป็ นไปตาม “พระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551” ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ได้ แจ้ ง ชื่อพร้ อมกับสถานที่จดั เก็บเอกสารของบริ ษัทฯ ต่อคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แล้ ว เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2551 (คุณสมบัติของผู้ดารงตาแหน่งได้ ระบุไว้ ที่เอกสารแนบ 1) รายละเอียดของเลขานุการบริษัท ชื่อ : นางสาว วรรณี จันทามงคล (50 ปี ) สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัทฯ : ร้ อยละ 0.07 ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร : วุฒทิ างการศึกษา : การอบรม : ปี 2548 ปี 2551
ไม่มี
- ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์ - ปริ ญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Company Secretary Program โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษัทไทย (IOD) - หลัก สูต รกฎหมายและระเบี ย บปฏิ บัติ ส าหรั บ เลขานุก ารบริ ษั ท ตามกฎหมาย หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์ การทางาน : ปี 2551 - ปั จจุบนั - เลขานุการบริ ษัท ปี 2548 - ปั จจุบนั - ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การด้ านบัญชีและการเงิน บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ (ธุรกิจค้ าปลีก)
32
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8.5
ค่ าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ทาหน้ าทีใ่ นการเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ บริ ษัท ในการกาหนดเกณฑ์ทใี่ ช้ ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการ และผู้บริ หารระดับสูง 8.5.1
ค่ าตอบแทนกรรมการ (1) ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน องค์ประกอบของค่าตอบแทนกรรมการ คือ ค่าตอบแทนในการให้ คาแนะนาด้ านต่างๆ แก่ คณะทางานของบริ ษัทฯ และเบี ้ยประชุม ซึ่งโดยปกติบริ ษัทฯได้ มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้ อย เดือนละ 1 ครัง้ และมีการจัดประชุมคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ได้ แก่ การประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ การประชุมคณะกรรมการบริ หาร การประชุมคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณากาหนด ค่าตอบแทนกรรมการจากผลงานของบริ ษัทฯในภาพรวม การจ่ายเงินปั นผลให้ กบั ผู้ถือหุ้น ภาระหน้ าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละคณะแล้ ว สาหรับเกณฑ์ในการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการใช้ เกณฑ์เดียวกับการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษัทที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน และได้ รับการ อนุมตั ิจากผู้ถือหุ้น โดยในวันที่ 10 เมษายน 2557 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิค่าตอบแทนคณะกรรมการ ประจาปี 2557 ไม่เกิน 12,000,000 บาท และค่าบาเหน็จกรรมการประจาปี 2556 จานวน 25,000,000 บาท โดยรายละเอียดของการจ่ายค่าตอบแทนในปี 2557 มีดงั นี ้ ค่ าตอบแทนรายเดือน
- ประธานกรรมการ - กรรมการ
80,000 บาท / คน / เดือน 40,000 บาท / คน / เดือน
ค่ าเบีย้ ประชุม สาหรับการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการบริ หารคณะกรรมการ
ตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน โดยกาหนดจ่ายตามจานวน ครัง้ ที่เข้ าประชุม - ประธานกรรมการ 30,000 บาท / คน / ครัง้ - กรรมการ 20,000 บาท / คน / ครัง้
33
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการที่เป็ นตัวเงินในปี 2557 มีดงั นี ้ ค่ าเบีย้ ประชุม ชื่อ – นามสกุล 1. นาย อนันต์ 2. นาย พงส์ 3. นาย รัตน์ 4. นาย จุมพล 5. นาย อภิชาติ 6. นายอาชวิณ 7. นาง สุวรรณา 8. นาย มานิต 9. นาย นพร 10. นาย คุณวุฒิ 11. นาย อภิลาศ 12. นาย บุญสม 13. นาย ทวีวฒ ั น์ 14. นาย ชนินทร์
อัศวโภคิน สารสิน พานิชพันธ์ มีสขุ 1 นารถศิลป์ 2 อัศวโภคิน 3 พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต์เจริญ ธรรมพรหมกุล 4 โอสถานนท์ 5 เลิศหิรัญวงศ์ 6 ตติยมณีกลุ รุนสาราญ รวม
กรรมการ บริษัท
1,320,000 500,000 700,000 720,000 193,334 486,666 720,000 700,000 700,000 720,000 500,000 180,000 680,000 720,000 8,840,000
กรรมการ บริหาร
กรรมการ ตรวจสอบ
กรรมการสรร หาและกาหนด ค่ าตอบแทน
240,000
90,000 20,000 20,000
360,000 240,000 240,000
1,080,000
270,000 90,000 220,000 240,000 820,000
60,000 190,000
ค่ าบาเหน็จ กรรมการ 3,846,154 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 1,923,077 25,000,000
รวม (บาท) 5,166,154 2,423,077 2,953,077 2,663,077 2,136,411 486,666 2,643,077 2,983,077 2,863,077 2,883,077 2,693,077 270,000 2,823,077 2,943,077 35,930,000
หมายเหตุ : 1. นาย จุมพล มี สขุ เข้าดารงตาแหน่งกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน โดยมี ผลวันที ่ 5 สิ งหาคม 2557 2. นาย อภิ ชาติ นารถศิ ลป์ พ้นจากตาแหน่งกรรมการ และกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เนื ่องจากครบกาหนดต้องออกตามวาระ และไม่ประสงค์จะกลับเข้ารับตาแหน่ง โดยมี ผลวันที ่ 10 เมษายน 2557 3. นาย อาชวิ ณ อัศวโภคิ น เข้าดารงตาแหน่งกรรมการ โดยมี ผลวันที ่ 10 เมษายน 2557 4. นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล ดารงตาแหน่งกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ ได้รับค่าตอบแทนเป็ นค่าเบี ้ยประชุมกรรมการ ค่าบาเหน็จ กรรมการ เงิ นเดื อน และโบนัส โดยส่วนของเงิ นเดื อน และโบนัสได้รวมอยู่ในค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หาร 5. นาย อภิ ลาส โอสถานนท์ ลาออกจากตาแหน่งกรรมการอิ สระ และประธานกรรมการตรวจสอบ โดยมี ผลวันที ่ 1 ตุลาคม 2557 5. นาย บุญสม เลิ ศหิ รัญวงศ์ เข้าดารงตาแหน่งกรรมการอิ สระ และประธานกรรมการตรวจสอบ โดยมี ผลวันที ่ 1 ตุลาคม 2557
(2) ค่ าตอบแทนอื่น กรรมการจะได้ รับสวัสดิการในการซื ้อสินค้ าในราคาที่ได้ รับส่วนลดเท่านัน้ ซึ่งส่วนลดที่ให้ นนั ้ เป็ นไปตามที่ระบุไว้ ในข้ อบังคับของบริ ษัทซึ่งได้ ผ่านการพิจารณาอนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ ว และ สวัสดิการดังกล่าวบริ ษัทได้ ให้ ในอัตราไม่มากกว่าที่บริ ษัทฯ ให้ กบั ลูกค้ าระดับ VIP ทัว่ ไป โดยกาหนดใน อัตราสูงสุดไม่เกิน 10%
34
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8.5.2
ค่ าตอบแทนผู้บริหาร (1) ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน บริ ษั ท ฯ มี เ กณฑ์ ใ นการจ่ า ยค่า ตอบแทนผู้บ ริ ห าร โดยพิ จ ารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานที่ ผ่ า นมา รวมถึง ได้ พิจ ารณาเที ย บเคี ย งกับ บริ ษั ทอื่ น ในธุ ร กิ จ ประเภท เดียวกันด้ วย สาหรับค่าตอบแทนของคณะผู้บริ หาร ประจาปี 2556 และ 2557 ได้ แก่ เงินเดือน โบนัส และ ค่าตอบแทนอื่นๆ คิดเป็ นจานวนรวมทังสิ ้ ้น 81.00 ล้ านบาท และ 87.06 ล้ านบาท ตามลาดับ (2) ค่ าตอบแทนอื่น ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2556 บริ ษัทฯ ได้ เริ่ มโครงการสะสมหุ้นสาหรับพนักงาน (EJIP) ผู้บริ หาร และพนักงานที่เข้ าร่ วมโครงการจะได้ รับเงินสมทบในการซื ้อหุ้นสะสมดังกล่าว รายละเอียดโครงการ เป็ นดังนี ้ โครงการ EJIP
ระยะดาเนินโครงการ 1 ก.ค. 2556 - 30 มิ.ย. 2561
รายละเอียด - โครงการมีอายุ 5 ปี - บริษัทฯ จ่ายเงินสมทบเพิ่มให้ อีกสูงสุด 5% ของเงินเดือนทุกเดือน
สาหรั บรายละเอียดเพิ่มเติมได้ เปิ ดเผยไว้ ท่ี “รายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน” หัวข้ อ “ความ รั บผิดชอบต่ อพนักงาน” 8.6
บุคลากร (ไม่ รวมผู้บริหาร) รายละเอียดจานวนพนักงาน และค่าใช้ จา่ ยเกี่ยวกับพนักงานระหว่างปี 2555 – 2557 มีดงั นี ้ รายละเอียดพนักงาน
พนักงานของบริ ษัทฯ - สานักงานใหญ่ - สาขา พนักงานของบริ ษัทย่อย รวม (คน) ค่าใช้ จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน (ล้ านบาท)
31 ธ.ค. 2555
1,051 6,238 859 8,148 2,627
31 ธ.ค. 2556
1,108 7,052 1,353 9,513 3,105
31 ธ.ค. 2557
1,265 7,494 1,753 10,512 3,705
หมายเหตุ : ข้อมูลเฉพาะพนักงานประจา
35
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9. การกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษัทได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการกากับดูแลกิจการและเชื่อมัน่ ว่าระบบและการกากับ ดูแลกิจการที่ดีเป็ นปั จจัยต่อการดาเนินธุรกิจ เพื่อให้ การบริ หารจัดการธุรกิจเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความมั่นคงและเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื่องและเกิ ดความเป็ นธรรมกับทุกฝ่ ายที่เกี่ ยวข้ อง จากเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการบริ ษัทจึงได้ กาหนดนโยบายและการกากับดูแลกิจการ โดยมีเนื ้อหาครอบคลุมหลักการสาคัญในเรื่ อง สิทธิ ของผู้ถือหุ้น การปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน การคานึงถึงบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย การเปิ ดเผยข้ อมูล และความโปร่ ง ใส และความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ เพื่ อ เป็ นแนวทางการบริ ห ารจัด การธุ ร กิ จ ให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ บนแนวทางของการดาเนินธุรกิจที่ยึดมัน่ ในความถูกต้ องและโปร่ งใส โดยนโยบาย การกากับดูแลกิจการของบริ ษัทฯ ได้ เปิ ดเผยไว้ ที่ http://hmpro-th.listedcompany.com/ ตลอดปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ ปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี ยกเว้ นเรื่ องต่อไปนี ้ (1) ประธานกรรมการไม่ได้ เป็ นกรรมการอิสระ เนื่องจากธุรกิจของบริษัทฯ จาเป็ นต้ องอาศัยบุคลากรทีม่ ีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในธุรกิจทีย่ าวนาน อย่างไรก็ตามการบริ หารงานของคณะกรรมการตังอยู ้ ่ บนหลักการกากับดูแลกิจการที่ดตี ามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) บริ ษัทฯ มีกรรมการอิสระที่มวี าระการดารงตาแหน่งเกิน 9 ปี 2 ท่าน คือ นาย ทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ และ นาย ชนินทร์ รุนสาราญ เนื่องจากกรรมการอิสระ 2 ท่านนี ้เป็ นผู้มีความรู้ และความสามารถโดยตรงด้ าน ธุรกิจค้ าปลีก โดยที่ผา่ นมาได้ ให้ คาปรึกษาทีเ่ ป็ นประโยชน์ ทัง้ ในฐานะของกรรมการอิสระ และแนวทางใน การตรวจสอบของกรรมการตรวจสอบ โดยเฉพาะนาย ชนินทร์ รุนสาราญ ซึง่ เป็ นผู้ที่มีความรู้ และความ เชี่ยวชาญในด้ านบัญชี และการเงิน สาหรับรายละเอียดการดารงตาแหน่งกรรมการอิสระของบริ ษัทฯ เป็ นดังนี ้ ชื่อ – นามสกุล
9.1
1. นาย พงส์ 2. นาย บุญสม 3. นาย ทวีวฒ ั น์
สารสิน เลิศหิรัญวงศ์ ตติยมณีกลุ
4. นาย ชนินทร์
รุนสาราญ
วันที่เข้ าดารงตาแหน่ ง กรรมการอิสระ 17 กันยายน 2552 1 ตุลาคม 2557 29 พฤษภาคม 2544 3 ตุลาคม 2548
จานวนปี (วันที่เข้ ารับตาแหน่ ง – 31 ธ.ค. 2557) 5 ปี 3 เดือน 3 เดือน 13 ปี 7 เดือน 9 ปี 3 เดือน
การดาเนินการ และการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ การกากับดูแลกิจการที่ดีในปี 2557 9.1.1 สิทธิของผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการบริ ษัทตระหนักและให้ ความสาคัญถึงสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานของผู้ถือหุ้นที่ควรจะได้ รับโดยเท่า เทียมกัน โดยพยายามส่งเสริ มและอานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในการใช้ สิทธิขนพื ั ้ ้นฐาน เช่น สิทธิในการ ได้ รับข่าวสารข้ อมูลของบริ ษัทอย่างเพียงพอ สิทธิในการเข้ าประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนเพื่อ แต่งตัง้ หรื อถอดถอนกรรมการเป็ นรายบุคคล สิทธิ ในการออกเสียงลงคะแนนแต่งตังผู ้ ้ ตรวจสอบบัญชี และ กาหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนในกิจการต่างๆ ที่สาคัญ สิทธิในการแสดงความ
36
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
คิดเห็นอย่างอิสระในที่ประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการรับซื ้อหุ้นคืน รวมถึงสิทธิที่จะได้ รับการอนุมตั ิจ่ายเงินปั นผล อย่างเป็ นธรรม โดยจะไม่กระทาการใดๆ อันเป็ นการละเมิดหรื อริ ดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น นอกจากสิทธิขนพื ั ้ ้นฐานที่กาหนดไว้ ในกฎหมายและข้ อบังคับบริ ษัท บริ ษัทยังได้ ให้ สิทธิผ้ ถู ือหุ้นในการ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งคาถามล่วงหน้ าก่อนวันประชุม เสนอแนะข้ อคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจของบริ ษัท ในฐานะเจ้ าของบริ ษัทผ่านกรรมการอิสระ โดยทุกๆ ข้ อคิดเห็นจะได้ รับการรวบรวมเพื่อเสนอให้ คณะกรรมการ บริ ษัทพิจารณา สิทธิเกี่ยวกับการประชุมผู้ถอื หุ้น - บริ ษัทฯ ให้ สิทธิแก่ผ้ ถู ือหุ้นในการเสนอวาระการประชุม และเสนอรายชื่อบุคคลขึ ้นเป็ นกรรมการ ก่อนการ ประชุมผู้ถือหุ้นได้ สาหรับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ แจ้ งหลักเกณฑ์ และเอกสาร ประกอบการแจ้ งเรื่ องไว้ ที่เว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ตังแต่ ้ วนั ที่ 30 กันยายน 2556 ทังนี ้ ้ได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้น ยื่นเรื่ องได้ จนถึงวันที่ 15 มกราคม 2557 และส่งคาถามเกี่ยวกับบริ ษัทล่วงหน้ าได้ จนถึงวันที่ 28 มีนาคม 2557 - บริ ษัทฯ ดาเนินการจัดส่งหนังสือนัดประชุมพร้ อมทังข้ ้ อมูล เอกสารประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ พร้ อมกับหนังสือมอบฉันทะให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นล่วงหน้ าก่อนวันประชุม 7 วัน หรื อ 14 วัน แล้ วแต่กรณี หรื อตามที่ กฎหมายกาหนด ทังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษ รวมถึงมีข้อบังคับบริ ษัทเกี่ยวกับ การประชุมผู้ถือหุ้นและ การออกเสียงลงคะแนน - กรณีที่ผ้ ถู ือหุ้นทังรายย่ ้ อยและสถาบันไม่สามารถเข้ าประชุม ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้ กับกรรมการ อิสระในการออกเสียงลงคะแนนแทนผ่านหนังสือมอบฉันทะแบบ ก. หรื อสามารถกาหนดการลงคะแนน เสียงเองได้ ผ่านหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. และ ค. โดยในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ นายชนินทร์ รุ นสาราญ กรรมการอิสระ เป็ นกรรมการผู้รับมอบฉันทะ - บริ ษัทฯ อานวยความสะดวกให้ ผ้ ถู ือหุ้นในวันประชุม รวมถึงนักลงทุนสถาบัน โดยเลือกสถานที่จดั ที่มีขนาด เพียงพอต่อผู้มาประชุม และสามารถเดินทางสะดวก รวมถึงบริ ษัทฯ ได้ มีการจัดเจ้ าหน้ าที่ต้อนรับ ให้ ข้อมูล ในการตรวจเอกสารและลงทะเบียน โดยผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 2 ชัว่ โมง ผ่านระบบ บาร์ โค้ ด (Bar Code) เพื่อความสะดวกและรวดเร็ วในการลงทะเบียน - ก่อนเริ่ มการประชุม คณะกรรมการจะชี แ้ จงแก่ผ้ ูถือหุ้นให้ ทราบถึงสิทธิ ตามข้ อบั งคับของบริ ษัทฯ การ ดาเนินการประชุม วิธีการใช้ สทิ ธิลงคะแนน รวมทังให้ ้ สทิ ธิแก่ผ้ ถู ือหุ้นในการตังค ้ าถาม และแสดงความเห็น ในที่ประชุมอย่างเท่าเทียมกัน - บริ ษัทฯ ให้ สิทธิ ผ้ ถู ื อหุ้นร่ วมเป็ นสักขีพยานในการตรวจสอบการนับคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น ร่วมกับตัวแทนจากบริ ษัทที่ปรึกษาด้ านกฎหมาย เพื่อความโปร่งใสในการตรวจนับคะแนน - บริ ษัทฯ ดาเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลาดับระเบียบวาระที่ได้ แจ้ งไว้ ในหนังสือเชิญประชุม โดยที่ผา่ นมาไม่ เคยมีการเพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่ได้ แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบล่วงหน้ า ซึง่ อาจไม่เป็ นธรรมต่อผู้ถือหุ้น ที่ไม่ได้ เข้ าร่วมประชุม 37
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
- ภายหลังการประชุม บริ ษัทฯ ได้ ทาการเปิ ดเผยมติที่ประชุมพร้ อมรายละเอียดจานวนคะแนนเสียงในแต่ละ วาระอย่างชัดเจนแก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ และบนเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ในวันประชุมหรื อรอบก่อนวันทาการ ถัดไปจากวันที่ประชุมผู้ถือหุ้น และได้ จดั ส่งรายงานการประชุมให้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ กระทรวงพาณิชย์ และ เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ภายใน 14 วัน ด้ วย 9.1.2 การปฏิบัติต่อผู้ถอื หุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญและดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นทุกราย ทังผู ้ ้ ถือหุ้นที่เป็ นผู้บริ หารและผู้ถือหุ้น ทีไ่ ม่เป็ นผู้บริ หาร รวมทังผู ้ ้ ถือหุ้นต่างชาติ ควรได้ รับการปฏิบตั ิอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม บริ ษัทฯ มีนโยบายการป้องกันและเปิ ดเผยการใช้ ข้อมูลภายในในการซื ้อขายหุ้นของบริ ษัทฯ ซึ่งกาหนด ไว้ ในคู่มือจริ ยธรรม และได้ มีการเปิ ดเผยให้ พนักงาน ผู้บริ หาร และกรรมการของบริ ษัทฯ ทราบ โดยในส่วน ของนโยบาย และวิธีการดูแลกรรมการและผู้บริ หารในการนาข้ อมูลภายในของบริ ษัทฯ ไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ น ตนมีดงั นี ้ - ให้ ค วามรู้ แก่ ก รรมการและผู้บริ หารในฝ่ ายต่า งๆ เกี่ ย วกับหน้ า ที่ที่ผ้ ูบริ หารต้ องรายงานการถื อ
หลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ และบทกาหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - บริ ษัทฯ กาหนดให้ กรรมการและผู้บริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (รายงานการมี
ส่วนได้ เสีย) ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และจัดส่งสาเนารายงานนี ้ให้ แก่บริ ษัทฯ ในวันเดียวกับวันที่สง่ รายงานต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - บริ ษัทฯ ได้ กาหนดให้ กรรมการและผู้บริ หารระดับสูง แจ้ งต่อคณะกรรมการหรื อผู้ที่คณะกรรมการ
มอบหมายเกี่ยวกับการซื ้อขายหุ้นของบริ ษัทตนเองอย่างน้ อย 1 วันล่วงหน้ าก่อนทาการซื ้อขาย - บริ ษั ทฯ ก าหนดนโยบายให้ กรรมการต้ องเปิ ดเผยรายงานการซื ้อขายหุ้น /ถื อครองหลัก ทรั พย์ ของ
บริ ษัทฯ ให้ ทีประชุมคณะกรรมการทราบทุกครัง้ โดยจัดให้ เป็ นหนึง่ ในวาระการประชุมทุกเดือน - บริ ษัทฯ แจ้ งกรรมการและผู้บริ หารให้ ระงับการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ก่อนเปิ ดเผยงบการเงิน
ต่อสาธารณชน 1 เดือน และข้ อมูลภายในที่อาจส่งผลต่อราคาหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ และห้ ามไม่ให้ เปิ ดเผยข้ อมูลที่เป็ นสาระสาคัญนันต่ ้ อบุคคลอื่น โดยได้ มีการแจ้ งเตือนผ่านทาง E-mail ทุกไตรมาส ในปี 2557 กรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทฯ ไม่มีการซื ้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ ข้อมูลภายใน และไม่มี การฝ่ าฝื นหลักเกณฑ์ของการซื ้อขายหลักทรัพย์ หรื อการทารายการระหว่างกันตามหลักเกณฑ์ของสานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทังนี ้ ้ แนวทางดังกล่าวได้ ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษัทแล้ ว หากมีการกระทาการฝ่ าฝื น ระเบียบปฏิบตั ิงานดังกล่าวข้ างต้ น บริ ษัทฯ จะดาเนินการทางวินยั เพื่อพิจารณาลงโทษตามสมควรแก่กรณี
38
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.1.3 การคานึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้ เสีย บริ ษัทฯ ได้ กาหนดแนวปฏิบตั ิตอ่ ผู้มีสว่ นได้ เสียไว้ ใน “คูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ” ซึง่ เปิ ดเผยไว้ บนเว็บไซต์ของ บริ ษัทฯ และเป็ นส่วนหนึง่ ของคูม่ ือปฏิบตั งิ านของพนักงานโดยมีเจตนารมณ์ในการดาเนินธุรกิจด้ วยความ ซื่อสัตย์สจุ ริ ต โปร่งใส และตรวจสอบได้ บริ ษัทฯ จึงได้ กาหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้ งของผลประโยชน์ เพื่อให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานหลีกเลีย่ งการเข้ าไปมีสว่ นได้ เสียหรื อเกี่ยวข้ องกับการดาเนินการใน ลักษณะที่ขดั แย้ งกับผลประโยชน์ของบริ ษัท หรื อการแสวงหาผลประโยชน์สว่ นตนเพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจว่า บริ ษัทฯ จะปฏิบตั ติ ามเพื่อให้ สทิ ธิแก่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ไม่วา่ จะเป็ นผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้ า คูค่ ้ า ชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้ อม นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ยังได้ เสริ มสร้ างความร่วมมือกับผู้มีสว่ นได้ เสีย ในกลุม่ ต่างๆ เพื่อให้ สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้ ด้วยความมัน่ คง โดยตอบแทนผลประโยชน์ที่เป็ นธรรมแก่ทกุ ฝ่ าย เพื่อสร้ างความสาเร็ จในระยะยาว ส าหรั บ รายละเอี ย ดด้ า นบทบาทของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ได้ ร ายงานไว้ ที่ หั ว ข้ อ “รายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน่ ” 9.1.4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส คณะกรรมการให้ ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ถกู ต้ อง ครบถ้ วน โปร่งใส ทันเวลาและเท่าเทียมกัน แก่นกั ลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้ องทราบ ทังในส่ ้ วนของรายงานทางการเงิน และข้ อมูลสาคัญอื่นที่มีผลกระทบต่อ มูลค่าหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ผ่านทางการเผยแพร่ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของ บริ ษัทฯ บริ ษัทฯ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ รับผิดชอบในการให้ ข้อมูล และรับฟั งความเห็นของผู้ถือหุ้น และ นักลงทุนอย่างสม่าเสมอ โดยติดต่อ คุณรั กพงศ์ อรุ ณวัฒนา โทร. 0 2832 1416 หรื อทาง E-mail: ir@homepro.co.th นอกจากนันได้ ้ กาหนดให้ มีช่องทางในการสื่อสารและกิจกรรมต่างๆ ระหว่างผู้ถือหุ้น นัก ลงทุนและผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัทฯ นอกเหนือจากการประชุมผู้ถือหุ้นประจาปี ดังนี ้ เว็บไซต์
บริษัทฯ ได้ นาเสนอข้ อมูลบนเว็บไซต์ดงั นี ้ - งบการเงิน (งวดปั จจุบนั – 2545) นาส่งงบการเงินรายไตรมาสภายใน 45 วัน นับจากวันสุดท้ ายของแต่ ละไตรมาส และนาส่งงบการเงินประจาปี ภายใน 3 เดือน นับจากวันสิ ้นสุดรอบบัญชี - รายงานประจาปี (ปี 2557 – 2547) เผยแพร่ภายใน 120 วัน นับตังแต่ ้ วนั สิ ้นสุดรอบบัญชี - แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 56-1 (ปี 2557 – 2550) เผยแพร่ บนเว็บไซต์ พร้ อมกับส่งให้ ตลท. และ ก.ล.ต. ภายใน 3 เดือน นับตังแต่ ้ วนั สิ ้นสุดรอบบัญชี - รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น (ปี 2557 - 2554) เผยแพร่ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุม ทังกรณี ้ การ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น นอกจากนี ย้ ังได้ เปิ ดเผยข่า วสารเกี่ยวกับ บริ ษั ท ฯ ข่า วแจ้ งตลาดหลักทรั พย์ ฯ Webcast เอกสาร ประกอบการจัดประชุมนักวิเคราะห์ รวมถึงการเปิ ดเผยในเรื่ องการกากับดูแลกิจการ ข้ อบังคับบริ ษัท โครงสร้ างคณะกรรมการและผู้บริ หาร โครงสร้ างการถือหุ้น เพื่อความสะดวกและเท่าเทียมกันในการ สืบค้ นข้ อมูล โดยได้ จดั ทาทังภาษาไทย ้ และภาษาอังกฤษ
39
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
การประชุมนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์
บริษัทฯ ได้ จดั การบรรยายสาหรับนักวิเคราะห์ และนักลงทุนรวมทังผู ้ ้ ถือหุ้นที่สนใจ สาหรับการเปิ ดเผยผล ประกอบการทุกรายไตรมาส รวม 4 ครัง้ ในปี 2557 รวมทัง้ จัดทาเอกสารข่าว (Investor Information Release) เป็ นรายไตรมาสแก่นกั ลงทุน
กิจกรรมพบนักลงทุน และ ตลอดปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ เปิ ดโอกาสให้ นกั วิเคราะห์หลักทรัพย์ ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนสถาบันทังใน ้ การเยี่ยมชมกิจการ และต่างประเทศเข้ าพบผู้บริ หาร รวมถึงการประชุมทางโทรศัพท์ (Conference Call) เพื่อตอบข้ อ ซักถามเรื่ องการดาเนินธุรกิจ จานวน 88 ครัง้ และยังได้ มีโอกาสต้ อนรับคณะบุคคลกลุ่มต่างๆ ใน การเข้ าเยี่ยมชมกิจการ (Company Visit) 7 ครัง้ รวมทังการร่ ้ วมกิจกรรม Opportunity day ซึง่ จัด โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จานวน 2 ครัง้ กิ จ กรรมพบนัก ลงทุน นอก ปี 2557 บริ ษัทฯ เข้ าร่ วมงาน Conference และ Road show ทังที ้ ่จดั ในประเทศ และต่างประเทศ สถานที่ รวม 13 ครัง้ ได้ แก่ 1. งานพบปะนักลงทุนต่างประเทศที่จดั โดยสถาบันการเงินในประเทศ 5 ครัง้ 2. งาน Conference และ Roadshow ในต่างประเทศ ได้ แก่ ประเทศสหรัฐอเมริ กา อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปนุ่ สิงคโปร์ และ ฮ่องกง รวมทังสิ ้ ้น 9 ครัง้ งานแถลงข่าวและ ความสัมพันธ์กบั สื่อมวลชน
บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีการแถลงข่าว 1 ครัง้ เกี่ยวกับรายงานผลประกอบการประจาปี 2556 และทิศ ทางการดาเนินธุรกิจในปี 2557 โดยได้ มีการจัดทาเอกสารข่าว (Press Release) สาหรับ สื่อมวลชน รวมทังมี ้ การแจ้ งข่าวเกี่ยวกับความคืบหน้ าของการดาเนินธุรกิจ และกิจกรรมทางการ ตลาดต่างๆ ตลอดทังปี ้
9.1.5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการได้ มีส่วนร่ วมในการกาหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย พันธกิ จ เป้าหมาย แผนธุรกิ จ และ งบประมาณของบริ ษัทฯ โดยมีการนามาพิจารณาทบทวนทุกๆ ปี ตลอดจนกากับดูแลฝ่ ายบริ หารให้ มีการนากล ยุทธ์ไปปฏิบตั ิ ดาเนินการให้ เป็ นไปตามแผน และงบประมาณที่กาหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยประธานกรรมการบริ ษัท ประธานกรรมการบริ หาร และกรรมการผู้จัดการของบริ ษัท ไม่ได้ เป็ นบุคคล เดียวกัน อี กทัง้ คณะกรรมการมี การพิจารณาการแบ่งแยกบทบาทหน้ าที่ และความรั บผิ ดชอบ ระหว่า ง คณะกรรมการ อนุกรรมการ และฝ่ ายบริ หารออกจากกันอย่างชัดเจน ทังนี ้ ้เพื่อเป็ นการถ่วงดุลอานาจ และสร้ าง ความโปร่งใสในการปฏิบตั ิงาน บริ ษัทฯ ได้ มีการแต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบ ้ ซึ่งดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการอิสระทุกท่าน เพื่อสอบ ทานความถูกต้ อง การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอและความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน การกากับดูแล กิจการและการควบคุมภายในของบริ ษัทฯ ซึง่ มีรายละเอียดภาระหน้ าที่ตามที่ระบุไว้ ในหัวข้ อ “การจัดการ” ส่วน ของหน้ าที่คณะกรรมการตรวจสอบ ในกรณีที่มีการทารายการที่ไม่ใช่การดาเนินงานตามปกติของบริ ษัทฯ คณะกรรมการบริ ษัท มีหน้ าที่ พิจารณารายการดังกล่าว ซึง่ มีกรรมการที่เป็ นอิสระร่วมอยูใ่ นที่ประชุมด้ วย
40
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพื่อกาหนดวิธีการ และหลักเกณฑ์ในการสรร หากรรมการบริ ษัท และกาหนดการจ่ายค่าตอบแทนหรื อประโยชน์อื่นใด ที่เป็ นธรรมและสมเหตุผล และนาเสนอ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ และเพื่อเป็ นการส่งเสริ มให้ ทกุ ฝ่ ายปฏิบตั ิหน้ าที่ตามความรับผิดชอบได้ อย่างโปร่ งใส บริ ษัทฯ มีการ จัดทานโยบายการกากับดูแลกิจการ คู่มือจริ ยธรรม และข้ อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ่ ายจัดการ และพนักงาน เพื่อให้ ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องยึดถื อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามภารกิจของบริ ษัทฯ ด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ต และติดตามการปฏิบตั ิตามแนวทางดังกล่าวเป็ นประจา รวมถึงกาหนดบทลงโทษทาง วินยั ไว้ ด้วย การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุดย่อยจะมีการประชุมเป็ นประจาทุกเดือน และอาจมีการ จัดการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจาเป็ น โดยการประชุมและการลงมติในที่ประชุมแต่ละครัง้ บริ ษัทฯ ได้ กาหนดจานวนองค์ประชุมขันต ้ ่าไว้ โดยจะต้ องมีคณะกรรมการเข้ าร่ วมประชุมไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 จึงจะครบ องค์ประชุม สาหรับตารางการประชุม ทังประชุ ้ มคณะกรรมการบริ ษัท และประชุ มกรรมการชุดย่อยจะถูก กาหนดไว้ ลว่ งหน้ าตลอดทังปี ้ และจะมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้ อมระเบียบวาระก่อนประชุมล่วงหน้ า ประมาณ 5 วัน ทาการ เพื่อให้ กรรมการได้ มีเวลาการศึกษามาก่อนล่วงหน้ า นอกจากนี ้คณะกรรมการบริ ษัทที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ สามารถประชุม ระหว่างกันเองตามความเหมาะสม เพื่ออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการที่อยู่ในความสนใจโดยไม่มี ฝ่ ายจัดการเข้ าร่วมประชุมด้ วย ในปี 2557 บริ ษัทได้ มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัททังสิ ้ ้น 12 ครัง้ และการประชุมคณะกรรมการชุด ย่อย ได้ แก่ การประชุมคณะกรรมการบริ หาร 12 ครัง้ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 12 ครัง้ และการ ประชุ ม คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ า ตอบแทน 3 ครั ง้ โดยรายละเอี ย ดการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของ คณะกรรมการเป็ นดังนี ้
41
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วม / จานวนครัง้ ที่จัดประชุม ชื่อ – นามสกุล 1. นาย อนันต์ 2. นาย พงส์ 3. นาย รัตน์ 4. นาย จุมพล 5. นาย อภิชาติ 6. นาย อาชวิณ 7. นาง สุวรรณา 8. นาย มานิต 9. นาย นพร 10. นาย คุณวุฒิ 11. นาย อภิลาศ 12. นาย บุญสม 13. นาย ทวีวฒ ั น์ 14. นาย ชนินทร์
อัศวโภคิน สารสิน พานิชพันธ์ มีสขุ 1 นารถศิลป์ อัศวโภคิน 2 พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต์เจริญ ธรรมพรหมกุล โอสถานนท์ เลิศหิรัญวงศ์ 3 ตติยมณีกลุ รุนสาราญ
การประชุม คณะกรรมการ บริษัท
12 / 12 1 / 12 11 / 12 12 / 12 3/3 7/9 12 / 12 11 / 12 11 / 12 12 / 12 7/9 3/3 10 / 12 12 / 12
การประชุม คณะกรรมการ บริหาร
การประชุม คณะกรรมการ ตรวจสอบ
12 / 12
การประชุม คณะกรรมการสรรหา และกาหนดค่ าตอบแทน
3/3 1/1 1/1
12 / 12 12 / 12 12 / 12 9/9 3/3 11 / 12 12 / 12
3/3
หมายเหตุ: 1. นาย จุมพล มีสขุ เข้าดารงตาแหน่งกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ตามมติ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผล วันที ่ 5 สิ งหาคม 2557 2. นาย อาชวิ ณ อัศวโภคิ น เข้าดารงตาแหน่งกรรมการ แทน นาย อภิ ชาติ นารถศิ ลป์ ตามมติ ทีป่ ระชุมสามัญผู้ถือหุน้ ประจาปี 2557 โดยมีผลวันที ่ 10 เมษายน 2557 3. นาย บุญสม เลิ ศหิ รญ ั วงศ์ เข้าดารงตาแหน่งกรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบแทนนาย อภิ ลาศ โอสถานนท์ ตามมติ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที ่ 1 ตุลาคม 2557
9.2
คณะกรรมการชุดย่ อย ประกอบด้ วยคณะกรรมการ 3 ชุด ได้ แก่ คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรร หาและกาหนดค่าตอบแทน โดยรายละเอียดมีดงั นี ้ (1) คณะกรรมการบริหาร ชื่อ – นามสกุล 1. 2. 3. 4.
นาย มานิต นาย นพร นาย คุณวุฒิ นาย รัตน์
อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต์เจริ ญ ธรรมพรหมกุล พานิชพันธ์
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร
42
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. พิจารณา และกลัน่ กรองเรื่ องที่ต้องตัดสินใจเบื ้องต้ น ก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อพิจารณา อนุมตั ิ 2. พิจารณาผลการดาเนินงานประจาเดือน การลงทุน การขยายสาขา การจัดสรรงบประมาณประจาปี และ การเสนอแผนกลยุทธ์ของบริ ษัทฯ ต่อคณะกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ ง 1. กรรมการบริ หาร พ้ นจากตาแหน่งเมื่อ 1.1 ครบกาหนดตามวาระ 1.2 พ้ นจากการเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯ 1.3 ลาออก 1.4 ตาย 1.5 คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ง 2. กรณีการลาออก ให้ ยื่นใบลาต่อประธานกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยคณะกรรมการ บริ ษัทเป็ นผู้อนุมตั ิ 3. กรณีที่มีตาแหน่งว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการบริ ษัท แต่งตัง้ บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้ วนเป็ นกรรมการบริ หาร เพื่อให้ มีจานวนครบตามที่คณะกรรมการบริ ษัทได้ กาหนดไว้ ในระเบียบข้ อบังคับ (2) คณะกรรมการตรวจสอบ ชื่อ – นามสกุล 1. นาย บุญสม เลิศหิรัญวงศ์ 1 2. นาย ทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ 3. นาย ชนินทร์ รุ นสาราญ 2
ตาแหน่ ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
หมายเหตุ : 1. นาย บุญสม เลิ ศหิ รญ ั วงศ์ เข้าดารงตาแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ แทนนาย อภิ ลาศ โอสถานนท์ ตามมติทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที ่ 1 ตุลาคม 2557 2. นายชนิ นทร์ รุนสาราญ เป็ นกรรมการตรวจสอบที ม่ ี ความรู้ทางด้านบัญชี การเงิ น และความเชี ย่ วชาญในการสอบทานงบ การเงินของบริ ษัทฯ 3. เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ และหัวหน้างานตรวจสอบภายใน คื อ นายอายุรทัศน์ ไชยอนันต์ ผู้จดั การทัว่ ไป-สานัก ตรวจสอบภายใน
อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานรายการทางการเงินของบริ ษัทฯ ให้ มีความถูกต้ อง ครบถ้ วน ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทัว่ ไป และมีการเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ ให้ มีความเพียงพอ เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 43
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3. สอบทานให้ มีการปฏิบัติ ตามนโยบายการกากับดูแ ลกิ จการที่ดี และจริ ยธรรมธุรกิ จ อย่า งเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 4. สอบทานให้ บริ ษัทฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้ อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง 6. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ร ะบบการบริ ห าร และจั ด การความเสี่ ย งที่ เ หมาะสม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ ประสิทธิผล 7. สอบทานและพิจารณาร่วมกับผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับรายงานทางการเงิน ข้ อสังเกต และข้ อเสนอแนะ 8. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็ นอิสระเพื่อทาหน้ าที่ผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัทฯ ตลอดจน การพิจารณาถอดถอนผู้สอบบัญชี และนาเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ต่อคณะกรรมการบริ ษัท 9. พิจารณาความเป็ นอิสระของสานักตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้ าย และเลิกจ้ าง รวมทังการพิ ้ จารณาผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ของหัวหน้ าสานักตรวจสอบภายใน 10. กากับดูแลการปฏิบตั ิงานของสานักตรวจสอบภายใน ในระดับนโยบาย และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ภายใน โดยพิจารณาให้ อนุมตั ิกฎบัตรของสานักงานตรวจสอบภายใน 11. พิจารณาอนุมตั ิแผนงานตรวจสอบภายในประจาปี รวมทังพิ ้ จารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการ ตรวจสอบของสานักตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ให้ มีความสัมพันธ์ เกื ้อกูลกัน 12. ประสานให้ คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ ายบริ หาร สานักตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีมีความเข้ าใจให้ อยู่แนวทางเดียวกัน รวมทังติ ้ ดตามเพื่อให้ มนั่ ใจว่า ฝ่ ายบริ หารมีการดาเนินการตามข้ อเสนอแนะอย่าง เพียงพอ มีประสิทธิภาพ และภายในเวลาที่เหมาะสม 13. สอบทานและพิ จารณาร่ วมกับ สานัก ตรวจสอบภายใน เกี่ ยวกับ ผลการตรวจสอบ ข้ อสังเกตและ ข้ อเสนอแนะ 14. สอบทานและแก้ ไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นปกติปีละครัง้ หรื อตามความจาเป็ นเพื่อให้ ทนั สมัย และเหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมขององค์กรและนาเสนอคณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 15. ดาเนินการตรวจสอบเรื่ องที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ในกรณีที่ผ้ สู อบบัญชีพบพฤติกรรมอัน ควรสงสัยว่า กรรมการ ผู้จดั การ หรื อบุคคลซึง่ รับผิดชอบในการดาเนินงานของบริ ษัทฯได้ กระทาความผิด ตามที่กาหนดไว้ ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 และรายงาน ผลการตรวจสอบในเบื ้องต้ นให้ แก่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลั กทรัพย์และ ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯทราบภายในเวลา 30 วันนับตังแต่ ้ วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี 16. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนด หรื อคณะกรรมการบริ ษัท มอบหมายตามความเห็นชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ 17. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี ของบริ ษัทฯ ซึ่งรายงาน ดังกล่าวต้ องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี ้ 17.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที่เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริ ษัทฯ ตาม หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป และ การเปิ ดเผยข้ อมูลที่สาคัญอย่างเพียงพอและทันเวลา
44
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
17.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษัทฯ 17.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกาหนด ของ ตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ 17.4 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ 17.5 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 17.6 จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้ าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบ แต่ละ ท่าน 17.7 ความเห็นหรื อข้ อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับจากการปฏิบตั ิหน้ าที่ตาม กฎบัตร 17.8 รายการอื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ถื อ หุ้น และผู้ล งทุน ทั่ว ไปควรทราบ ภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท วาระการดารงตาแหน่ ง 1. คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการดารงตาแหน่ง คราวละไม่เกิน 3 ปี 2. กรรมการตรวจสอบซึง่ พ้ นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้ รับการแต่งตังเข้ ้ ามาดารงตาแหน่งได้ อีก 3. กรรมการตรวจสอบจะพ้ นตาแหน่งเมื่อ 3.1 ครบกาหนดตามวาระ 3.2 พ้ นจากการเป็ นกรรมการบริ ษัท 3.3 ลาออก 3.4 ตาย 3.5 ขาดคุณสมบัติการเป็ นกรรมการตรวจสอบตามข้ อบังคับนี ้ หรื อตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 3.6 คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ง 4. กรณีการลาออก ให้ ยื่นใบลาต่อประธานกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยคณะกรรมการ บริ ษัทเป็ นผู้อนุมตั ิพร้ อมส่งสาเนาหนังสือลาออกให้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทราบ 5. ในกรณีที่ตาแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการ บริ ษัท แต่งตังบุ ้ คคลที่มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามกฎบัตรนี ้ เป็ นกรรมการตรวจสอบให้ ครบถ้ วนทันที หรื อ อย่างช้ าภายใน 3 เดือน นับแต่วนั ที่จานวนกรรมการไม่ครบถ้ วน เพื่อให้ มีจานวนครบตามที่ได้ กาหนดไว้ ใน ระเบียบข้ อบังคับนี ้ โดยบุคคลที่เข้ าเป็ นกรรมการตรวจสอบแทนอยูใ่ นตาแหน่งได้ เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยู่ ของกรรมการตรวจสอบซึง่ พ้ นจากตาแหน่งท่านนัน้
45
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(3) คณะกรรมการสรรหา และกาหนดค่ าตอบแทน ชื่อ – นามสกุล 1. นาย รัตน์ 2. นาย ชนินทร์ 3. นาย จุมพล
พานิชพันธ์ รุ นสาราญ มีสขุ 1
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน
หมายเหตุ : 1. วันที ่ 5 สิ งหาคม 2557 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริ ษัทมีมติ แต่งตัง้ นายจุมพล มีสขุ เข้าดารงตาแหน่งกรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน แทนนายอภิ ชาติ นารถศิ ลป์ ทีไ่ ด้ลาออกจากตาแหน่งกรรมการบริ ษัท ในวันที ่ 10 เมษายน 2557 2. เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน คื อ นายนิ ทศั น์ อรุณทิ พย์ ไพฑูรย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การกลุ่ม ทรัพยากรบุคคล และป้ องกันการสูญเสี ย
อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการสรรหา และกาหนดค่ าตอบแทน 1. ทาหน้ าที่คดั เลือกบุคคลที่สมควรได้ รับการเสนอรายชื่อเป็ นกรรมการใหม่ หรื อสรรหากรรมการผู้จดั การ 2. กาหนดวิธีการ และหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการบริ ษัท หรื อกรรมการผู้จดั การเพื่อให้ เกิดความโปร่งใส 3. กาหนดวิธีการ และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นใดให้ แก่คณะกรรมการบริ ษัท และ คณะกรรมการชุดย่อยที่คณะกรรมการบริ ษัทแต่งตัง้ ที่เป็ นธรรมและสมเหตุสมผล และนาเสนอที่ป ระชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 4. พิ จ ารณาเสนอแนะการก าหนดค่ า ตอบแทนและผลประโยชน์ อื่ น ใด โดยค านึ ง ถึ ง หน้ า ที่ แ ละความ รั บผิด ชอบของกรรมการผู้จัด การ ตลอดจนพิจ ารณาหลัก เกณฑ์ และประเมิน ผลการปฏิบัติ งาน เพื่ อ กาหนดผลตอบแทนการปฏิบตั ิงานประจาปี 5. พิจารณาทบทวนโครงสร้ าง หลักเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับค่าตอบแทนตามข้ อ 3 และข้ อ 4 ให้ เหมาะสมกับ หน้ าที่ความรับผิดชอบ ผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ และให้ สอดคล้ องกับภาวะตลาดด้ วย 6. พิจารณางบประมาณเกี่ยวกับการขึ ้นเงินเดือน และเงินรางวัลประจาปี สวัสดิการ ตลอดจนผลประโยชน์ อื่นใดของพนักงานบริ ษัทฯ และบริ ษัทในเครื อ 7. จัด ท ารายงานการปฏิบัติ ง านเสนอคณะกรรมการบริ ษั ท อย่า งน้ อ ยปี ละ 1 ครั ง้ ก าหนดนโยบายใน ภาพรวมเกี่ยวกับการจัดสรรหุ้นให้ แก่พนักงาน (Employee Stock Option Plan) ตามที่กรรมการผู้จดั การ เสนอมา 8. ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นใดที่คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย วาระการดารงตาแหน่ ง 1. กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนพ้ นจากตาแหน่งเมื่อ 1.1 ครบกาหนดตามวาระ 1.2 พ้ นจากการเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯ 1.3 ลาออก 1.4 ตาย 1.5 คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตาแหน่ง 46
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2. กรณีการลาออก ให้ ยื่นใบลาต่อประธานกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยคณะกรรมการ บริ ษัทเป็ นผู้อนุมตั ิ 3. กรณีที่มีตาแหน่งว่างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการบริ ษัทแต่งตัง้ บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้ วนเป็ นกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพื่อให้ มีจานวนครบตามที่ คณะกรรมการบริ ษัทได้ กาหนดไว้ ในระเบียบข้ อบังคับ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสาคัญของการดาเนินการตามนโยบายบริ หารความเสี่ยงและนโยบายการควบคุม ภายในสาหรั บการดาเนินงานทุกด้ าน โดยปลายปี 2555 คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีนโยบายให้ ฝ่ายบริ หาร รวบรวมและวิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษัท ฯ โดยในปี 2556 ได้ มีการ ประเมินและกาหนดเป็ นนโยบายด้ านการบริ หารความเสี่ยงต่อการดาเนินธุรกิ จของบริ ษัทฯ และได้ กาหนด แต่งตังคณะกรรมการบริ ้ หารความเสี่ยงขึ ้นในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 ทังนี ้ ้เพื่อให้ มีการประเมินและกาหนด นโยบายด้ านการบริ หารความเสีย่ งให้ ครอบคลุมทังองค์ ้ กร รวมทังก ้ ากับดูแลให้ มี ระบบหรื อกระบวนการบริ หาร จัดการความเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบต่อธุรกิจของบริ ษัทฯ อย่างเหมาะสม โดยฝ่ ายบริ หารและทุกหน่วยงานมี การร่ วมกันพิจารณาและติดตามการประเมินปั จจัยความเสี่ยงทังภายในและภายนอก ้ ผลกระทบ โอกาสที่จะ เกิดความเสีย่ ง และกาหนดแผนการบริ หารความเสี่ยงให้ สอดคล้ องกับความเสี่ยงที่มีผลต่อการดาเนินงานของ บริ ษัทฯ เพื่อให้ ความเสีย่ งอยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนี ้คณะกรรมการบริ ษัทยังได้ ให้ ความสาคัญต่อระบบการควบคุมภายใน จึงได้ จดั ให้ มีหน่วยงาน ตรวจสอบภายในทาหน้ าที่ในการตรวจสอบ การดาเนินงานให้ มีประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผ ล และ ความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน การบริ หารจัดการความเสี่ยง และการกากับดูแลกิจการ เป็ นไปตาม กฎหมาย ข้ อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้ อง ในการปฏิบตั ิงานของทุกหน่วยงานทังของบริ ้ ษัท ฯ และบริ ษัทในเครื อ โดยนากรอบแนวทางของระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานสากลของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) และกรอบการบริ หารความเสี่ยงทัว่ ทังองค์ ้ กร (Enterprise Risk Management) มาประยุกต์ใช้ ให้ การควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ยงมีความ สมบูรณ์มากยิ่งขึ ้น องค์ ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงขึ ้นตรงกับกรรมการผู้จัดการ โดยประกอบด้ วยตัวแทนของหน่วยงาน หลักของบริ ษัทฯ หรื อ หน่วยงานที่เป็ นเจ้ าของความเสี่ยง (Risk Owner) คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง ประกอบด้ วยผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ จาก 6 กลุม่ งานของบริ ษัทฯ เพื่อให้ ครอบคลุมความเสี่ยงหลักขององค์กร โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ - กลุม่ บัญชีและการเงิน - กลุม่ ปฏิบตั ิการ - กลุม่ Inventory Management - กลุม่ จัดซื ้อ 47
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) - กลุม่ ทรัพยากรบุคคลและป้องกันการสูญเสีย - กลุม่ เทคโนโลยีสารสนเทศ - สานักตรวจสอบภายใน เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ หารความเสีย่ ง
บทบาทหน้ าที่และความรับผิดชอบ 1. มีหน้ าที่ในการร่างนโยบาย และกรอบการบริ หารความเสี่ยงขององค์กร จัดทาคู่มือการบริ หารความเสี่ยง เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท พิจารณาให้ ความเห็นและอนุมตั ิ 2. พิจารณาให้ ความเห็นในการกาหนดระดับความเสีย่ งที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) ขององค์กร 3. ประเมินความเสี่ยงของบริ ษัท ฯ กาหนดมาตรการจัดการความเสี่ยง และกาหนดแผนหรื อกระบวนการ บริ หารความเสีย่ งทัว่ ทังองค์ ้ กร 4. รายงานความเสี่ยงที่สาคัญขององค์กร รวมถึงสถานะของความเสี่ยง ความคืบหน้ าให้ แก่คณะกรรมการ บริ ษัท เพื่อรับทราบ อย่างน้ อยไตรมาสละ 1 ครัง้ 5. ดูแลและสนับสนุนให้ การบริ หารความเสี่ยง ประสบความสาเร็ จ เสนอแนะวิธีป้องกัน และ วิธีลดระดับ ความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ส่งเสริ มให้ มีการปรับปรุ งและพัฒนาระบบงาน การบริ หารความ เสีย่ ง อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ 6. ติดตามผลการดาเนินงานเพื่อให้ มนั่ ใจว่าการดาเนิ นงานของบริ ษัทฯ เป็ นไปตามแผนงาน มีการจัดการ และควบคุมความเสีย่ งที่อาจเกิดขึ ้นนันอย่ ้ างเหมาะสม 7. สอบทานและ ทบทวน นโยบายการบริ หารความเสี่ยง ขององค์กรเป็ นประจาอย่างน้ อยทุก 1 ปี เพื่อให้ แน่ใจว่า กรอบการบริ หารความเสีย่ งดังกล่าว ยังคงสอดคล้ องและเหมาะสมกับสภาพการดาเนินธุรกิจใน ภาพรวม การดาเนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งองค์กร ได้ มกี ารดาเนินงานสาคัญในปี 2557 ดังนี ้ 1. ก าหนดนโยบายบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก ร ให้ สอดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ตาม มาตรฐานสากล มุง่ เน้ นการบริ หารความเสีย่ งที่สาคัญทัง้ 4 ด้ าน คือ -
ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ (Strategic Risk) พิจารณาความพร้ อมทางธุรกิจเพื่อรองรับกับนโยบาย การดาเนินงานของบริ ษัท การลงทุน สภาวะเศรษฐกิจ สภาวะการแข่งขันของธุรกิจค้ าปลีก และ ความพร้ อมของบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ
-
ความเสี่ยงด้ านการปฏิบัติการ (Operation Risk) พิจารณากิจกรรมการดาเนินงานที่สาคัญ ความพร้ อมของระบบสารสนเทศเพื่อสนันสนุนการดาเนินงาน
-
ความเสี่ยงด้ านกฎระเบียบ (Compliance Risk) พิจารณาความเสีย่ งจากข้ อจากัดทางกฎหมาย ทังในและต่ ้ างประเทศที่มีผลต่อการดาเนินธุรกิจ
-
ความเสี่ยงด้ านการเงิน (Financial Risk) พิจารณาจากการหาแหล่งเงินทุนที่เหมาะสมเพียงพอ ต่อการดาเนินธุรกิจ อัตราแลกเปลีย่ นจากการซื ้อสินค้ า และการลงทุนของบริ ษัท 48
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2. พิจารณาความเสี่ยงที่สาคัญระดับองค์กรของบริ ษัท รวมถึงมีการวิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยง เพื่อจัดทาความเสี่ยงระดับองค์กร (Corporate Risk Profile) และกาหนดดัชนีชี ้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator) เพื่อใช้ เป็ นสัญญานเตือนล่วงหน้ า และให้ มีการบริ หารจัดการความเสี่ยงเหล่านันได้ ้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ติดตามและทบทวนความเสีย่ งเหล่านันทุ ้ กไตรมาสเพื่อให้ สอดคล้ องและทันกับสภาพแวดล้ อมในการ ดาเนินธุรกิจที่เปลีย่ นแปลงไป กากับดูแลให้ มีการบริ หารจัดการความเสีย่ งให้ อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 4. รายงานผลการพิจารณาความเสีย่ งให้ กบั คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบทุกไตรมาส 9.3
การสรรหาและแต่ งตัง้ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ 9.3.1 กรรมการอิสระ “กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการที่มีความเป็ นอิสระในการแสดงความเห็นต่อการดาเนินงานของ บริ ษัทฯ โดยจะต้ องเป็ นผู้ที่ไม่มีสว่ นเกี่ยวข้ อง หรื อส่วนได้ เสียต่อผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ทังทางตรงและ ้ ทางอ้ อม คุณสมบัติของกรรมการอิสระมีดงั นี ้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1 ของทุนชาระแล้ วของบริ ษัทฯ บริ ษัทในเครื อ บริ ษัทร่ วม บริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ้ ้ให้ นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้ องด้ วย 2. มีความเป็ นอิสระไม่ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้ อม ทังในด้ ้ านการเงินและการบริ หารงานของบริ ษัทฯ หรื อ บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อย ผู้บริ หาร หรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ และรวมถึงไม่มีผลประโยชน์หรื อส่วนได้ ส่วนเสียในลักษณะดังกล่าวในเวลา 2 ปี ก่อนได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นกรรมการอิสระ เว้ นแต่คณะกรรมการ บริ ษั ท ได้ พิ จ ารณาอย่า งรอบคอบแล้ ว เห็ น ว่ า การเคยมี ผ ลประโยชน์ ห รื อ ส่ว นได้ ส่ว นเสี ย นัน้ จะไม่ มี ผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่และการ ให้ ความเห็นที่เป็ นอิสระ 3. ต้ องไม่เป็ นกรรมการที่ได้ รับการแต่งตังขึ ้ ้นเป็ นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริ ษัท ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึง่ เป็ นผู้ที่เกี่ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ 4. ต้ องไม่เป็ นผู้ที่มีสว่ นร่ วมในการบริ หารงาน รวมทังไม่ ้ เป็ นลูกจ้ าง พนักงานหรื อที่ปรึ กษาที่ได้ รับเงินเดือน ประจาในบริ ษัทฯ บริ ษัทในเครื อ บริ ษัทร่วม บริ ษัทที่เกี่ยวข้ องหรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ 5. ต้ องไม่เป็ นผู้ที่เกี่ยวข้ อง หรื อญาติสนิทของผู้บริ หาร หรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ 6. สามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ และแสดงความเห็นหรื อรายงานผลการปฏิบตั ิงานตามหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษัท ได้ โดยอิสระโดยไม่อยู่ภายใต้ การควบคุมของผู้บริ หารหรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริ ษัทฯ รวมทังผู ้ ้ ที่ เกี่ยวข้ องหรื อญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว 7. ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นต่อการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ อย่า งเป็ นอิสระ
49
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.3.2
การสรรหาและแต่ งตัง้ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ (1) การสรรหาและแต่ งตัง้ กรรมการ ในการแต่งตังกรรมการ ้ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ซึง่ ประกอบด้ วยกรรมการ อิสระ 1 ท่าน จากจานวนคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน 3 ท่าน มีหน้ าที่กาหนด หลัก เกณฑ์ และนโยบายในการพิ จ ารณาสรรหาคัด เลือ กบุค คลที่ สมควรได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น กรรมการของบริ ษัทฯ และกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะกาหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ต้องการสรร หาให้ สอดคล้ องกับกลยุทธ์ในการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ เป็ นสาคัญ และคานึงถึงความหลากหลาย ในโครงสร้ างของคณะกรรมการ (Board Diversity) โดยจะต้ อ งไม่ มี คุณ สมบัติ ต้ อ งห้ า มตาม หลักเกณฑ์ ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์ และตลาดหลัก ทรั พ ย์ รวมถึ งกฎหมาย ระเบียบ หรื อข้ อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง การคัดเลือกกรรมการใหม่ โดยพิจารณาจากรายชื่อกรรมการชุดเดิ ม รายชื่อที่เสนอมาจากผู้ถือ หุ้น และรายชื่ อที่ขึน้ ทะเบียนในสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) เสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัท เพื่อขออนุมตั ิแต่งตังจากที ้ ่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็ นผู้เลือกตังกรรมการตามหลั ้ กเกณฑ์ หลักเกณฑ์ การให้ คะแนนแต่ งตัง้ กรรมการบริษัทในที่ประชุมผู้ถอื หุ้นมีดังนี ้ 1. ผู้ถือหุ้นหนึง่ คนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุ้นต่อหนึง่ เสียง 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้ องใช้ คะแนนเสียงที่มีอยู่ทงหมดตาม ั้ ข้ อ 1. เลือกตังบุ ้ คคลคนเดียว หรื อ หลายคนเป็ นกรรมการได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึง่ ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการเท่าจานวน กรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่บคุ คลซึง่ ได้ รับการเลือกตังในล ้ าดับถัดลง มามีค ะแนนเสีย งเท่ากัน เกิ นจ านวนกรรมการที่จ ะพึงมี หรื อจะพึงเลือกตัง้ ในครั ง้ นัน้ ให้ ผ้ ูเป็ น ประธานในที่ประชุมเป็ นผู้ออกเสียงชี ้ขาดเพิ่มอีกหนึง่ เสียง ในปี 2557 มีกรรมการที่ครบกาหนดต้ องออกตามวาระทังสิ ้ ้น 4 ท่าน ได้ แก่ 1. นายอนันต์ อัศว โภคิน 2. นายพงส์ สารสิน 3. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล และ 4. นายอภิชาติ นารถศิลป์ โดยนาย อภิ ช าติ นารถศิ ลป์ แสดงความประสงค์ ที่ จ ะไม่ก ลับ เข้ า ด ารงต าแหน่งกรรมการบริ ษั ท อี ก ต่อ ไป คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจึงได้ เสนอให้ แต่งตัง้ นายอาชวิณ อัศวโภคิน เข้ าดารง ตาแหน่งแทน คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนได้ พิจารณาตามหลักเกณฑ์ การสรรหา เห็นว่า กรรมการที่ต้องออกตามวาระทัง้ 3 ท่าน มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญในธุรกิจที่เกี่ยวข้ องกับการ ดาเนินงานของบริ ษัทฯ จึงได้ มีการเสนอเรื่ องผ่านมติคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อเป็ นวาระในที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2557 ซึ่งที่ประชุมมีมติอนุมัติแต่งตัง้ กรรมการทัง้ 3 ท่านกลับเข้ าดารง
50
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ตาแหน่งอีกวาระหนึง่ และแต่งตังนายอาชวิ ้ ณ อัศวโภคิน เข้ าดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัท แทนนาย อภิชาติ นารถศิลป์ (2) การสรรหาและแต่ งตัง้ กรรมการผู้จัดการ ในการสรรหาผู้ มาด ารงต าแหน่ ง กรรมการผู้ จั ด การ คณะกรรมการสรรหาและก าหนด ค่าตอบแทนจะเป็ นผู้พิจารณาเบือ้ งต้ น ในการกลัน่ กรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ การด าเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และสามารถ บริ ห ารงานให้ บ รรลุวัต ถุ ป ระสงค์ เป้ าหมายที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ก าหนดได้ และเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษัทเพื่อพิจารณาอนุมตั ิแต่งตังต่ ้ อไป
51
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.4
รายละเอียดการเปลี่ยนแปลงการถือครองหุ้นบริษัทฯ ของกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการกรรมการของบริ ษัทฯ ไม่มีการถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้ อยละ 25 ของหุ้นที่ออกแล้ ว สาหรับจานวนการถือ ครองหุ้นที่เพิ่มระหว่างปี 2557 ส่วนใหญ่มาจากการรับหุ้นปั นผล
ลาดับ
ชื่อ – นามสกุล
ตาแหน่ ง
จานวนหุ้นที่ถือ
จานวนหุ้น
จานวนหุ้นที่ถือ
สัดส่ วนการ
ณ วันที่
ที่เปลี่ยนแปลง
ณ วันที่
ถือหุ้น
31 ธ.ค. 2557
(%) 0.15
31 ธ.ค. 2556 (1)
นาย อนันต์ อัศวโภคิน
ประธานกรรมการ
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (2)
นาย รัตน์ พานิชพันธ์
กรรมการ กรรมการบริ หาร และประธานกรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (3)
นาย จุมพล มีสขุ
กรรมการ และกรรมการสรรหา
14,526,272
4,150,361
18,676,633
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
2,905,245
830,070
3,735,315
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
295,306,666
24,373,332
319,679,998
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
138,203,269
(5,290,835)
132,912,434
-
-
-
21,959,832
(20,575,764)
1,384,068
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
0.03
และกาหนดค่าตอบแทน คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (4)
นาย อาชวิณ อัศวโภคิน
กรรมการ
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (5)
นาง สุวรรณา พุทธประสาท
กรรมการ
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (6)
นาย มานิต อุดมคุณธรรม
กรรมการ และประธาน
2.59
กรรมการบริ หาร คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (7)
นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ
กรรมการ และกรรมการบริ หาร
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (8)
นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล
กรรมการ กรรมการบริ หาร
1.08
และกรรมการผู้จดั การ คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (9)
นาย พงส์ สารสิน
กรรมการอิสระ
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (10)
นาย บุญสม เลิศหิรัญวงศ์
กรรมการอิสระ และประธาน
0.01
คณะกรรมการตรวจสอบ คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นาย ทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ (11)
กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (12)
นาย ชนินทร์ รุ นสาราญ
คูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ
กรรมการอิสระ กรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทน
52
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
รายละเอียดการเปลี่ยนแปลงการถือครองหุ้นบริษัทฯ ของผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ ไม่มีการถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้ อยละ 25 ของหุ้นที่ออกแล้ ว สาหรับจานวนการถือครองหุ้นที่เพิ่ม ระหว่างปี 2557 ส่วนใหญ่มาจากการรับหุ้นปั นผล ลาดับ
ชื่อ – นามสกุล
ตาแหน่ ง
จานวนหุ้นที่ถอื
จานวนหุ้น
จานวนหุ้นที่ถอื
สัดส่ วนการ
ณ วันที่
ที่เปลี่ยนแปลง
ณ วันที่
ถือหุ้น
31 ธ.ค. 2557
(%)
6,027,009
0.05
31 ธ.ค. 2556
(1)
นาย วีรพันธ์ อังสุมาลี
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (2)
นาย เกษม ปิ่ นมณเฑียรทอง
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (3)
นางสาว จารุโสภา ธรรมกถิกานนท์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (4)
นางสาว สันนิภา สว่างพื ้น
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (5)
นางสาว ศิริวรรณ เปี่ ยมเศรษฐสิน
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (6)
นางสาว ธาราทิพย์ ตรีมนั่ คง
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (7)
นาง อภิรดี ทวีลาภ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (8)
นาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (9)
นาง พรสุข ดารงศิริ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (10)
นาย วทัญญู วิสทุ ธิโกศล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (11)
นาย อนุชา จิตจาตุรันต์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (12)
นาย ณัฏฐ์ จริตชนะ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (13)
นางสาว สุดาภา ชะมด
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (14)
นาย นิทศั น์ อรุณทิพย์ไพฑูรย์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ (15)
นางสาว วรรณี จันทามงคล คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
4,647,787
1,379,222
-
-
93,003
69,961
-
-
7,628,915
2,233,258
-
-
-
13,002
-
-
2,588,321
819,386
-
-
25,416,216
7,296,976
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
2,322,621
715,139
3,037,760
0.02
98,000
28,000
126,000
0.001
8,967
32,921
41,888
0.0003
-
-
7,106,489
2,083,524
-
-
10,821,539
2,925,774
-
-
7,188,385
2,059,761
-
-
25,398
43,895
-
-
4,199,179
900,984
-
-
7,009,578
2,064,693
-
-
-
-
162,964
0.001 -
-
9,862,173
0.08 -
-
13,002
0.0001 -
-
3,407,707
0.03 -
-
32,713,192
0.27
-
-
9,190,013
0.07 -
-
13,747,313
0.11 -
-
9,248,146
0.08 -
-
69,293
0.001 -
-
5,100,163
0.04 -
-
9,074,271
0.07 -
-
53
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.5
การกากับดูแลบริษัทย่ อย
คณะกรรมการบริ ษัท ได้ มีการแต่งตังผู ้ ้ บริ หารของบริ ษัทฯ เป็ นกรรมการในบริ ษัทย่อย โดยมีหน้ าที่ดาเนินการ เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สดุ ของบริ ษัทย่อย และดูแลให้ บริ ษัทย่อยมีข้อบังคับในเรื่ องการทารายการเกี่ยวโยง การได้ มาหรื อ จาหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์หรื อการทารายการสาคัญอื่นใดอย่างครบถ้ วนถูกต้ อง และกาหนดให้ บริ ษัทย่อยใช้ หลัก เกณฑ์ การเปิ ดเผยข้ อมูลและการทารายการข้ างต้ นในลักษณะเดียวกับหลักเกณฑ์ของบริ ษัทฯ รวมถึงกากับดูแลให้ มีการ จัดเก็บข้ อมูล และการบันทึกบัญชีของบริ ษัทย่อย เพื่อให้ บริ ษัทฯ สามารถตรวจสอบและรวบรวมมาจัดทางบการเงิน รวมได้ ทนั กาหนด 9.6
การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน
บริ ษัทฯ มีนโยบายการป้องกันและเปิ ดเผยการใช้ ข้อมูลภายในในการซื ้อขายหุ้นของบริ ษัทฯ ซึ่งกาหนดไว้ ใน คู่มือจริ ยธรรม และได้ มีการเปิ ดเผยให้ พนักงาน ผู้บริ หาร และกรรมการบริ ษัททราบ โดยในส่วนของนโยบาย และ วิธีการดูแลกรรมการและผู้บริ หารในการนาข้ อมูลภายในของบริ ษัทฯ ไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตนมีดงั นี ้ - ให้ ความรู้แก่กรรมการและผู้บริ หารในฝ่ ายต่างๆ เกี่ยวกับหน้ าที่ที่ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ
-
-
และบทกาหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามข้ อกาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริ ษัทฯ กาหนดให้ กรรมการและผู้บริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (รายงานการมีสว่ นได้ เสีย) ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และจัดส่งสาเนารายงานนี ้ให้ แก่บริ ษัทฯ ในวันเดียวกับวันที่ สง่ รายงานต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริ ษัทฯ ได้ กาหนดให้ กรรมการและผู้บริ หารระดับสูงแจ้ งต่อคณะกรรมการหรื อผู้ที่คณะกรรมการมอบหมาย เกี่ยวกับการซื ้อขายหุ้นของบริ ษัทตนเองอย่างน้ อย 1 วันล่วงหน้ าก่อนทาการซื ้อขาย บริ ษัทฯ กาหนดนโยบายให้ กรรมการต้ องเปิ ดเผยรายงานการซื ้อขายหุ้น/ถือครองหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ให้ ที่ ประชุมคณะกรรมการทราบทุกครัง้ โดยจัดให้ เป็ นหนึง่ ในวาระการประชุมทุกเดือน บริ ษัทฯ แจ้ งกรรมการและผู้บริ หารให้ ระงับการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ก่อนเปิ ดเผยงบการเงินต่อ สาธารณชน 1 เดือน และข้ อมูลภายในที่อาจส่งผลต่อราคาหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ และห้ ามไม่ให้ เปิ ดเผย ข้ อมูลที่เป็ นสาระสาคัญนันต่ ้ อบุคคลอื่น โดยได้ มีการแจ้ งเตือนผ่านทาง E-mail ทุกไตรมาส
ในปี 2557 กรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทฯ ไม่มีการซื ้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ ข้อมูลภายใน และไม่มีการฝ่ าฝื น หลักเกณฑ์ของการซื ้อขายหลักทรัพย์ หรื อการทารายการระหว่างกันตามหลักเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทังนี ้ ้ แนวทางดังกล่าวได้ ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษัทแล้ ว หากมีการกระทาการฝ่ าฝื นระเบียบ ปฏิบตั ิงานดังกล่าวข้ างต้ น บริ ษัทจะดาเนินการทางวินยั เพื่อพิจารณาลงโทษตามสมควรแก่กรณี
54
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.7
ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี
ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2557 ได้ อนุมตั ิแต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีจากบริ ษัท สานักงาน อีวาย จากัด เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย โดยกาหนดค่าตอบแทนการสอบบัญชีสาหรับปี 2557 เป็ นจานวนเงิ น 3,200,000 บาท ค่าตอบแทนอื่นๆ ได้ แก่ ค่าสังเกตการณ์ทาลายสินค้ าประมาณ 100,000 บาท และค่าสอบบัญชีที่ อาจเพิ่มขึ ้นจากการขยายสาขาเพิ่มเติม หรื อการจดทะเบียนจัดตังบริ ้ ษัทใหม่อีกไม่เกิน 500,000 บาท สาหรับค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผ้ สู อบบัญชีในรอบปี 2556 และ 2557 ประกอบด้ วย ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อย และค่าบริ การอื่น โดยมีรายละเอียดดังนี ้ หน่วย : บาท
รายการ ค่าสอบบัญชี ค่าบริ การอื่น (ค่าสังเกตการณ์การทาลายสินค้ า) รวม
9.8
2557 3,475,388 100,000 3,575,388
2556 2,750,000 80,000 2,830,000
การปฏิบัติตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ (1)
หลักเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงานและนโยบายค่ าตอบแทนของกรรมการผู้จัดการ
บริ ษั ท ฯ มี ค ณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ า ตอบแทน ท าหน้ าที่ ใ นการเสนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษัท ในการพิจารณากาหนดเกณฑ์ที่ใช้ ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ของกรรมการ ผู้จัดการ โดยเกณฑ์ดงั กล่าวจะต้ องสอดคล้ องกับเป้าหมายของบริ ษัทฯ ทังในระยะสั ้ นและระยะยาว ้ โดยมี จุดมุง่ หมายเพื่อสร้ างแรงจูงใจในการปฏิบตั ิงาน และสร้ างความรู้สกึ มีสว่ นร่วมในความเป็ นเจ้ าของบริ ษัทฯ โดย มีการจ่ายค่าตอบแทนดังนี ้ ระยะสัน้ : จ่ายค่าตอบแทนในรูปของเงินเดือน และโบนัส โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงาน ระยะยาว : โครงการสะสมหุ้นสาหรับพนักงาน (EJIP) รายละเอียดดังต่อไปนี ้ โครงการ EJIP
ระยะดาเนินโครงการ 1 ก.ค. 2556 - 30 มิ.ย. 2561
หมายเหตุ - โครงการมีอายุ 5 ปี - บริษัทฯ จ่ายเงินสมทบเพิ่มให้ อีกสูงสุด 5% ของเงินเดือนทุกเดือน
(2)
การปฐมนิเทศและให้ ความรู้ในธุรกิจของบริษัทฯ แก่ กรรมการใหม่ บริ ษัทฯ มีนโยบายให้ ความสาคัญในการจัดปฐมนิเทศให้ กบั กรรมการใหม่ทกุ ครัง้ เพื่อให้ ทราบถึง บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบ รวมถึงการให้ ความรู้ ความเข้ าใจในธุรกิจและการดาเนินงานด้ านต่างๆ ของบริ ษัทฯ เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของกรรมการ โดยนาเสนอเอกสารและข้ อมูลที่เป็ น ประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั ิหน้ าที่ของกรรมการใหม่ เช่นคูม่ ือกรรมการบริ ษัทจดทะเบียน คูม่ ือการกากับดูแลกิจการ ที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจของบริ ษัทฯ ข้ อบังคับบริษัทฯ โครงสร้ างทุน โครงสร้ างผู้ถือหุ้น รายงานประจาปี แบบ 56-1 ผลการดาเนินงาน กฎหมาย ข้ อพึงปฏิบตั ิทดี่ ี กฎเกณฑ์ตา่ งๆ และหลักสูตรการอบรมกรรมการ รวมทัง้
55
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ข้ อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทังนี ้ ้เพือ่ เสริ มสร้ างความรู้ความเข้ าใจในธุรกิจและการ ดาเนินงานด้ านต่างๆ ของบริ ษัทฯ ให้ แก่กรรมการที่เข้ ารับตาแหน่งในบริ ษัทฯ เป็ นครัง้ แรก ในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ จดั ปฐมนิเทศให้ กบั กรรมการ 2 ท่าน ได้ แก่ นายอาชวิณ อัศวโภคิน ตาแหน่ง กรรมการ วันที่ 24 เมษายน 2557 และนายบุญสม เลิศหิรัญวงศ์ ตาแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ วันที่ 7 ตุลาคม 2557 (3)
การเข้ าอบรมหลักสูตรของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัทฯ ส่งเสริ มและอานวยความสะดวกให้ กรรมการเข้ าอบรมหลักสูตรหรื อเข้ าร่วม กิจกรรมสัมมนาทีเ่ ป็ นการเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง โดยมอบหมายให้ เลขานุการบริ ษัทฯ ประสานงานกับกรรมการเพื่อแจ้ งหลักสูตรการฝึ กอบรมต่างๆ ตามตารางการฝึ กอบรมเป็ นระยะๆ โดยในปี 2557 มีกรรมการเข้ าอบรมในหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ดังนี ้ 1. นาย จุมพล มีสขุ เข้ าร่วมการอบรมหลักสูตร Role of the Compensation Committee Program (RCC) รุ่นที่ 19/2014 2. นาย อาชวิณ อัศวโภคิน เข้ าร่วมการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่นที่ 193/2014 (4)
กระบวนการและหลักเกณฑ์ ในการประเมินผลงานคณะกรรมการ บริ ษัทฯ ได้ มอบหมายคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เป็ นตัวแทนในการกาหนด หลักเกณฑ์และประเมินผลงานคณะกรรมการทังคณะในแต่ ้ ละปี เพื่อพิจารณากาหนดค่าตอบแทน และค่า บาเหน็จกรรมการ โดยคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ได้ พิจารณาโดยมีหลักเกณฑ์การประเมิน จากการเติบโตของผลกาไรสุทธิของบริ ษัทฯ การจ่ายเงินปั นผล มูลค่าของหลักทรัพย์ตามราคาตลาด และ จานวนครัง้ การเข้ าประชุม การประเมินผลงานคณะกรรมการในแต่ละปี จุดมุง่ หมายเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของคณะกรรมการ บริ ษัท และหาแนวทางในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมินสาหรับปี ถัดไป (5)
แผนการสืบทอดตาแหน่ งของผู้บริหารระดับสูง บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการดาเนิ นธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพต่อเนื่อง จึงได้ จดั ทาแผน สืบทอดตาแหน่งในการสรรหาบุคลากรที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสมเพื่อพัฒนาให้ มีศกั ยภาพที่จะสืบทอดตาแหน่งที่ สาคัญ ในการด าเนิน ธุ รกิ จ โดยสามารถสืบทอดต าแหน่ง ได้ ทันที หรื อภายใน 1-2 ปี โดยมีขัน้ ตอนการ ดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี ้ 1. กาหนดตาแหน่งงานสาคัญที่เป็ นตาแหน่งงานหลัก (Key Position) ในการดาเนินกิจการของบริ ษัทฯ 2. กาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกผู้สบื ทอดตาแหน่ง โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ศักยภาพ และวิสยั ทัศน์ในการบริ หารจัดการ
56
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3. พิจารณาคัดเลือกผู้สืบทอดตาแหน่งที่มีคณ ุ สมบัติตามหลักเกณฑ์ ประเมินความพร้ อมของผู้ได้ รับ การคัดเลือก ทังจุ ้ ดเด่น และเรื่ องที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม 4. การวางแผนพัฒ นารายบุค คล (Individual Development Plan) โดยจัด ท าแผนพัฒ นา ความสามารถรายบุคคที่ได้ รับการคัดเลือกเพื่อให้ มีความพร้ อมในตาแหน่งที่จะสืบทอด 5. ประเมิ น ผลและทบทวนการจั ด ท าแผนการสื บ ทอดต าแหน่ ง ประจ าปี เพื่ อ ขออนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริ ษัท (6)
การจัดตัง้ หน่ วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อส่งเสริ มให้ เกิดกระบวนการกากับที่ดี บริ ษัทฯ มีการจัดตังหน่ ้ วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อทาหน้ าที่ สอบทาน และติดตามผลการปฏิบตั ิงานให้ กบั ฝ่ ายบริ หาร โดยปฏิบตั ิงานด้ วยความเป็ นอิสระ และรายงานผล การดาเนินงานให้ กบั คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรงอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี ้ยังได้ มีการเสนอแต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีที่ผา่ นการพิจารณาคัดเลือกจากคณะกรรมการตรวจสอบ และเพื่อประเมินประสิทธิ ภาพการควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัทฯ ซึ่งจากมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้นประจาปี 2557 อนุมตั ิให้ แต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีจากบริ ษัท สานักงาน อีวาย จากัด โดยนางกิ่งกาญจน์ อัศวรังสฤษฎ์ ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4496 เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยประจาปี 2557 ทังนี ้ ้ผู้สอบบัญชี มิได้ มีผลประโยชน์หรื อส่วนได้ สว่ นเสียอย่างเป็ นสาระสาคัญทังทางตรงและทางอ้ ้ อม รวมถึงมิได้ เป็ นลูกหนี ้หรื อ เจ้ าหนี ้ของบริ ษัท/บริ ษัทย่อย/ผู้บริ หาร/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ที่เกี่ยวข้ องกับบุคคลดังกล่าว โดยผู้สอบบัญชีของ บริ ษัท และผู้สอบบัญชีของบริ ษัทย่อย สังกัดสานักงานสอบบัญชีเดียวกัน (7)
หน่ วยงานกากับการปฏิบัติงาน (Compliance Unit) ตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน เรื่ อง การจัดให้ มีหน่วยงานกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของผู้ ประกอบธุ ร กิ จ ที่ บัง คับ ใช้ กับ ผู้ได้ รั บใบอนุญ าตซึ่ง เป็ นผู้ป ระกอบธุร กิ จ ดัง นี ้ (1) การเป็ นนายหน้ า ซือ้ ขาย หลักทรัพย์ (2) การค้ าหลักทรัพย์ (3) การจัดจาหน่ายหลักทรัพย์ (4) การจัดการกองทุนรวม (5) การจัดการ กองทุนส่วนบุคคล (6) การเป็ นตัวแทนซื ้อขายสัญญาซื ้อขายล่วงหน้ า (7) การเป็ นผู้ค้าสัญญาซื ้อขายล่วงหน้ า และ (8) การเป็ นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื ้อขายล่วงหน้ า ให้ จัดตัง้ หน่วยงานกากับดูแลการปฏิบัติงานเพื่ อ ประโยชน์ในการควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานของผู้ประกอบธุรกิจให้ เป็ นไปตามการกากับดูแลที่ดี แต่เนื่องจากประเภทธุรกิจของบริ ษัทฯ ไม่ได้ เข้ าข่ายการบังคับใช้ จึงไม่มีการจัดตังหน่ ้ วยงานดังกล่าว แต่มี หน่วยงานตรวจสอบภายในที่มีหน้ าที่ และความรับผิดชอบเช่นเดียวกับหน่วยงานกากับการปฏิบตั ิงาน (8)
นโยบายการแจ้ งเบาะแสการกระทาผิด บริ ษัทฯ ได้ กาหนดให้ สายทรัพยากรบุคคลและหน่วยงานตรวจสอบภายในเป็ นหน่วยงานในการรับ ร้ องเรี ยนเบาะแสการกระทาผิดรวมถึงการติดตามการปฏิบตั ิตามจริ ยธรรมธุรกิจ โดยได้ กาหนดให้ มชี ่องทาง สาหรับพนักงาน คูค่ ้ า ลูกค้ า ผู้ถือหุ้น และบุคคลผู้มีผลประโยชน์เกี่ยวข้ องกับบริ ษัทสามารถ แจ้ งเรื่ อง หรื อ ร้ องเรี ยนถึงการกระทาใดๆ ที่ต้องสงสัยว่าเป็ นการกระทาผิด เพือ่ ให้ บริ ษัทฯ สามารถสืบสวน และดาเนินการ อย่างเหมาะสมได้
57
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) - การติดต่อกับกรรมการบริษัท กรณีที่ต้องการแจ้ งหรื อสือ่ สารเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษัทฯ
โดยข้ อมูลจะถูกส่งถึงกรรมการผู้จดั การ ที่ http://hmproth.listedcompany.com/contact_board.html - การติดต่อกรรมการตรวจสอบ กรณีที่ต้องการร้ องเรียนเรื่ องทีเ่ กี่ยวกับการทาผิดกฎหมายหรื อ จรรยาบรรณ ข้ อสงสัยทางบัญชี การควบคุมภายใน เป็ นต้ น โดยข้ อมูลดังกล่าวจะส่งถึงสานัก ตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ เพือ่ รวบรวมเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบในการพิจารณาต่อไปที่ http://hmpro-th.listedcompany.com/contact_audit.html - หน่วยรับเรื่ องร้ องเรี ยน ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล กรณีที่ต้องการแจ้ งการกระทาผิดของพนักงาน หรื อ กรณีที่พนักงานต้ องการร้ องเรี ยนต่อบริ ษัทฯ ที่ md@homepro.co.th ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ จะเก็บข้ อมูลและตัวตนของผู้แจ้ งเบาะแสไว้ เป็ นความลับโดยกรรมการผู้จดั การ และผู้ช่วย กรรมการผู้จดั การของสายงานที่เกี่ยวข้ องเท่านัน้ ซึง่ ฝ่ ายจัดการจะเป็ นผู้รวบรวมข้ อร้ องเรี ยนและนาเสนอต่อ คณะกรรมการตรวสอบและคณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งเพื่อพิจารณาต่อไป โดยที่ผา่ นมายังไม่มีการ ร้ องเรี ยนเรื่ องการกระทาผิด สาหรั บช่ องทางการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ เสียด้ านอื่นๆ ได้ เปิ ดเผยไว้ ที่ “หมวด 10 รายงานการ พัฒนาเพื่อความยั่งยืน”
58
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
10. รายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน รายงานฉบับนี ้จัดทาขึ ้นเป็ นครัง้ ที่ 2 เพื่อรายงานการดาเนินงานด้ านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของบริ ษัท โฮม โปร ดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ในประเด็นทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ อม ครอบคลุมระยะเวลาตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2557 ตามดัชนีชี ้วัดของ Global Reporting Initiatives (GRI) ฉบับ G4 โดยเลือกตัวชี ้วัดที่ สอดคล้ องกับการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ ขอบเขตเนื ้อหาของรายงานฉบับนี ้ครอบคลุมนโยบายภาพรวม กระบวนการ และกิจกรรมเพื่อความยัง่ ยืนด้ าน เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้ อมของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อยดังนี ้ ด้ านเศรษฐกิจ
ด้ านสิ่งแวดล้ อม
ด้ านสังคม
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
*
บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด
**
Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD.
**
บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด
**
บริษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จากัด
**
หมายเหตุ : * การรายงานเรื่องสิ่งแวดล้ อมไม่ได้ นาข้ อมูลของสาขาที่เปิ ดใหม่ในปี 2557 มารวมวิเคราะห์เปรียบเทียบ ** บริ ษัทย่อยมีการดาเนินกิจกรรมด้ านสังคม แต่ไม่ได้ ถกู นามารายงาน
เพื่อให้ มีความเชื่อมโยงการดาเนินงานกับกระบวนการพัฒนาอย่างยั่งยืนเข้ าด้ วยกัน บริ ษัทได้ กาหนดกลุ่ม บุคคลหรื อบุคคลที่ได้ รับผลกระทบ หรื อสร้ างผลกระทบจากการดาเนินธุรกิจ หรื อกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับองค์กร โดย แยกเป็ นผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียภายในองค์กร คือ พนักงาน และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียภายนอกองค์กร ได้ แก่ ลูกค้ า คูค่ ้ า ผู้ถือ หุ้น เจ้ าหนี ้ทางการเงิน ชุมชน และหน่วยงานภาครัฐ บริ ษัทฯ ได้ กาหนดแนวทางการปฏิบตั ิต่อผู้มีส่วนได้ เสีย และ ช่องทางการติดต่อไว้ ดงั นี ้ ผู้มีส่วนได้ เสีย ภายในองค์ กร - พนักงาน
ภายนอกองค์ กร ผู้มีส่วนได้ เสีย - ลูกค้ า
แนวปฏิบัติ - ความมัน่ คงและโอกาสเจริญเติบโตในหน้ าที่การงาน - ได้ รับผลตอบแทนที่เป็ นธรรม รวมถึงสวัสดิการต่างๆ ใน ระดับที่ดี สามารถแข่งขันกับตลาดแรงงานได้ - มีสภาพแวดล้ อมในที่ทางานที่ดี และปลอดภัย - ได้ รับการฝึ กอบรมในทักษะที่เกี่ยวข้ องกับงานที่รับผิดชอบ
-
-
แนวปฏิบัติ จาหน่ายสินค้ าที่มีมาตรฐาน และเป็ นไปตามที่ ประชาสัมพันธ์ ให้ บริการที่เท่าเทียมกัน ให้ การดูแลทังก่ ้ อน และหลังการขาย รับฟั งและสนองตอบต่อข้ อร้ องเรียน
ช่ องทางการติดต่ อ -
แบบสารวจความพึงพอใจ การประชุมประจาสายงาน หน่วยรับเรื่องร้ องเรียน ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล ร้ องเรียนโดยตรงกับผู้บริหาร Email : md@homepro.co.th
-
ช่ องทางการติดต่ อ กล่องรับความคิดเห็นทุกสาขา Call Center โทร. 0 2831 6000 ศูนย์บริการลูกค้ า Website : www.homepro.co.th
59
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) - คู่ค้า
- ปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดและเงื่อนไขทางการค้ า - มีการแข่งขันการค้ าขายอย่างเสรี และเป็ นธรรม ให้ ความสาคัญกับมาตรฐานการผลิต - มีการดาเนินงานอย่างมีจริยธรรม - ดาเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล - มุง่ สร้ างผลตอบแทนต่อเนื่องระยะยาว - สร้ างประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้นโดยรวม
- ผู้ถือหุ้น
- เจ้ าหนีท้ างการเงิน
- ชุมชน
- หน่ วยงานภาครัฐ
- จ่ายชาระหนี ้ตามระยะเวลา และเงื่อนไขที่กาหนด - รับผิดชอบในการรักษาอัตราส่วนหนี ้สินทางการเงินที่มี ดอกเบี ้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นให้ ไม่เกินข้ อกาหนดในการ ออกหุ้นกู้ และเงินกู้ธนาคาร - รักษาระบบนิเวศสาคัญในบริเวณที่จะดาเนินการสร้ าง สาขา - รับฟั งความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของชุมชน - ส่งเสริมการประกอบอาชีพของคนในชุมชน - จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณีร่วมกัน - สนับสนุนและปฏิบตั ิตามกฎระเบียบอย่างครบถ้ วน - ให้ ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ
- Vendor day - ติดต่อผ่านทางผู้บริหาร - Website : www.homepro.co.th - ประชุมผู้ถือหุ้น - ติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ โทร 0 2831 1000 - Email : ir@homepro.co.th - Website : http://hmpro-th.listedcompany.com/ - ติดต่อผ่านทางผู้บริหาร - Website : www.homepro.co.th
- ก่อนการก่อสร้ าง ทีมสารวจจะเข้ าพบปะชุมชน โดยรอบ - หลังการก่อสร้ าง ติดต่อผ่านผู้จดั การสาขา - Website : www.homepro.co.th - Email : csr@homepro.co.th - ติดต่อผ่านทางผู้บริหาร และส่วนติดต่อราชการ - Website : www.homepro.co.th
คณะกรรมการด้ านความรับผิดชอบต่ อสังคม ปั จจุบนั “การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” ได้ ถกู หยิบยกเป็ นวาระการดาเนินงานที่มคี วามสาคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการ ดาเนินธุรกิจ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ กาหนดให้ บริ ษัทที่ออก หลักทรัพย์ เปิ ดเผยข้ อมูลการดาเนินการที่แสดงว่าได้ คานึงถึงผลกระทบต่อสังคม สิง่ แวดล้ อม และผู้ที่เกี่ยวข้ องไว้ ใน แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี (แบบ 56-1) และรายงานประจาปี และเพื่อให้ สามารถรายงานถึงกระบวนการดาเนิน ธุรกิจตามหลักการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความโปร่งใส บริ ษัทฯ ได้ ตงคณะกรรมการโดยมี ั้ รายชื่อต่อไปนี ้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
นาย ณัฏฐ์ นาย วีรพันธ์ นาย วทัญญู น.ส. ศิริวรรณ นาย นิทศั น์ น.ส. วรรณี นาง อรพิน นาย นพดล
จริตชนะ อังสุมาลี วิสทุ ธิโกศล เปี่ ยมเศรษฐสิน อรุณทิพย์ไพฑูรย์ จันทามงคล ศิริจิตเกษม ผิวเกลี ้ยง
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ - กลุม่ การตลาด ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ - กลุม่ ปฏิบตั ิการ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ - กลุม่ พัฒนาธุรกิจ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ - กลุม่ จัดซื ้อ Home Electric Product ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ - กลุม่ ทรัพยากรบุคคล และป้องกันการสูญเสีย ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ - กลุม่ บัญชีและการเงิน ผู้จดั การทัว่ ไป - สายพัฒนาการตลาดลูกค้ าสัมพันธ์ ผู้จดั การทัว่ ไป – สายพัฒนาองค์กร
60
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
มิติแห่ งความยั่งยืน
สังคม - สิ่งแวดล้ อม
สิ่งแวดล้ อม - สร้ างจิตสานึกด้ านการอนุรักษ์ พลังงานกับพนักงานทุกระดับ - ลดใช้ พลังงาน - เพิ่มจานวนสาขาที่ใช้ ระบบการใช้ น ้า Recycle ให้ มากขึ ้น
- กิจกรรม Fun walk ให้ พนักงานใช้ บันไดแทนการใช้ ลฟิ ท์ - จัดโครงการ “ห้ องน ้าของหนู” - จัดโครงการ “ซักผ้ าได้ บญ ุ ”
ความ - ประกอบธุรกิจด้ วยความเป็ นธรรม ยั่งยืน
สิ่งแวดล้ อม - เศรษฐกิจ - ให้ เช่าพื ้นที่ตดิ ตังอุ ้ ปกรณ์โซลาร์ รูฟ - จาหน่ายสินค้ า Green Product
สังคม
เศรษฐกิจ
- ต่อต้ านการทุจริต คอรัปชัน่ - ฝึ กอบรม และพัฒนาศักยภาพ บุคลากร เพื่อความก้ าวหน้ าในอาชีพ พร้ อมกับสร้ างผู้นา เพื่อความสาเร็จ ขององค์กร
ขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง ทังในประเทศและ ้ ต่างประเทศครอบคลุม ทุกกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย ในธุรกิจ Home Improvement
สังคม - เศรษฐกิจ - จัดโครงการทุนการศึกษา ปวส. - จัดการแข่งขันสุดยอดช่างมืออาชีพโฮมโปร - จัดกิจกรรม “HomePro Champion” - จัดโครงการ “สุขใจใกล้ บ้าน”
แผนงาน และความคืบหน้ าของการดาเนินงานในปี 2557 ด้ านเศรษฐกิจ การขยายธุรกิจ
ด้ านสิ่งแวดล้ อม พลังงาน
น ้า ขยะและของเสีย
แผนงาน
ผลการดาเนินงานปี 2557
แผนงานหน้ า
ขยายครบ 100 สาขา ภายใน ปี 2563
ขยายครบ 71 สาขา ยอดขาย และกาไรเติบโตขึ ้น 20% และ 7% ตามลาดับ
ขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง ทังในประเทศและ ้ ต่างประเทศครอบคลุมทุกกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย ในธุรกิจ Home Improvement
ลดการใช้ พลังงาน 20% ภายใน 5 ปริมาณการใช้ พลังงานต่อ ปี (2557 - 2562) พื ้นทีล่ ดลง 6.2% จาก 63 สาขา เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ จัดเก็บข้ อมูลเพื่อการบริหาร ใช้ งาน คัดแยกเพื่อการบริหารจัดการ จัดเก็บข้ อมูลเพื่อการบริหาร
สร้ างจิตสานึกด้ านการอนุรักษ์ พลังงานกับ พนักงานทุกระดับ เพิ่มจานวนสาขาที่ใช้ ระบบการใช้ น ้า Recycle ให้ มากขึ ้น เรียกประกวดราคาขยะทุกๆ 1 ปี หรือ 6 เดือน ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั การเปลี่ยนแปลงของราคาขยะ
61
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ด้ านสังคม การอบรมพนักงาน
ฝึ กอบรม และพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเติบโตของบริษัทฯ
ด้ านสุขภาพและความ ปลอดภัย
ป้องกันอัตราการเกิดอุบตั ิเหตุ
ความพึงพอใจของ ลูกค้ า
เพิ่มคะแนนความพึงพอใจ
ความรู้ของพนักงาน 96%
ฝึ กอบรม และพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อ ความก้ าวหน้ าในอาชีพ พร้ อมกับสร้ างผู้นา เพื่อ ความสาเร็จขององค์กร การเกิดอุบตั ิเหตุลดลงจากปี - รณรงค์ในการสร้ างพฤติกรรมเพื่อความ 2556 ที่ 0.21 ครัง้ /สาขา มา ปลอดภัย อยูท่ ี่ 0.20 - จัดกิจกรรมสัปดาห์เพื่อความปลอดภัย คะแนนความพึงพอใจของ - รักษามาตราฐานของสินค้ า และคุณภาพการ ลูกค้ าสูงขึ ้นจากปี ก่อนมาอยูท่ ี่ ให้ บริการ 94.3% - เพิ่มความหลากหลายให้ กบั กลุม่ สินค้ า และ บริการ
ด้ านเศรษฐกิจ ปี 2557 ที่ผ่านมา บริ ษัทฯ ได้ ขยายสาขาของธุรกิจ “โฮมโปร” เพิ่มจานวน 7 สาขา ได้ แก่ ได้ แก่ สาขาลาปาง ประจวบคีรีขนั ธ์ สุรินทร์ เชียงใหม่-สันทราย ศรี ราชา ภูเก็ต-ถลาง และพัทยาเหนือ รวมถึงการเปิ ดสาขาโคราช-หัวทะเล ที่จงั หวัดนครราชสีมาแทนสาขาเดอะมอลล์ โคราช เพื่อรองรับความต้ องการตลาดที่ขยายตัว การขยายสาขาข้ างต้ น ช่วยให้ เกิดการจ้ างงานกว่า 1,401 คน โดยเป็ นพนักงานของบริ ษัทฯ 521 คน และพนักงานผู้ช่วยขายจากคูค่ ้ ากว่า 880 คน และยังเป็ นการเพิ่มช่องทางการจาหน่ายสินค้ าให้ กบั คูค่ ้ ากว่า 1,130 ราย อีกด้ วย การขยายธุรกิจของบริ ษัทย่อย บริ ษัทฯ ได้ ขยายสาขาธุรกิจ “เมกา โฮม” เพิ่ม 2 สาขา ได้ แก่ สาขาหนองคาย และบ่อวิน และได้ ขยายสาขาไปยังต่างประเทศเป็ นครัง้ แรก โดยเริ่ มต้ นที่ กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย จานวน 1 สาขา ด้ านการบริ จาคเงินเพื่อช่วยเหลือสังคมในปี 2557 บริ ษัทฯ ให้ การสนับสนุนทังในด้ ้ านการส่งเสริ มการศึกษา บารุงศาสนา ดาเนินโครงการห้ องน ้าของหนู และกิจกรรมอื่นๆ คิดเป็ นมูลค่ารวมกว่า 27.36 ล้ านบาท สาหรั บรายละเอียดเกี่ยวกับผลการดาเนินธุรกิจ ได้ รายงานไว้ ที่หัวข้ อ “สรุ ปข้ อมูลทางการเงิน” และ “คาอธิบาย และวิเคราะห์ ฐานะทางการเงิน”
62
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ด้ านสิ่งแวดล้ อม บริ ษัทฯ เล็งเห็นความสาคัญด้ านสิง่ แวดล้ อมควบคูก่ บั ด้ านเศรษฐกิจและสังคมมาโดยตลอด สอดคล้ องกับการ บริ หารการจัดการภายในองค์กรในการลดต้ นทุนการดาเนินงานโดยเฉพาะลดต้ นทุนด้ านพลังงาน ดังนันบริ ้ ษัทฯ จึง ก าหนดแนวทางปฏิ บัติ ด้ า นพลัง งานในแผนปฏิ บัติ ง านของหน่ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง พร้ อมติ ด ตามผลกระทบด้ า น สิ่งแวดล้ อมในการบริ หารงานอย่างสม่าเสมอ โดยจัดตังคณะกรรมการในการก ้ าหนดแผนงาน เฝ้ าติดตามและวัด ประสิทธิผลในการดาเนินงานที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อมครอบคลุมใน 4 ด้ านคือ (1) การบริ หารจัดการพลังงาน (2) การ บริ หารจัดการน ้า (3) การบริ หารจัดการขยะของเสีย (4) การบริ หารจัดการระบบนิเวศ (1)
การบริหารจัดการพลังงาน คาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็ นหนึ่งในก๊ าซเรื อนกระจกที่ทาให้ เกิดวิกฤตภาวะโลกร้ อน (Global Warming Potential) บริ ษัทฯ ตระหนักถึงปั ญหาดังกล่าว จึงให้ ความสาคัญในเรื่ องการบริ หารจัดการพลังงานเป็ นอย่างมาก โดย กิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ พลังงานของบริ ษัทฯ ที่มีผลต่อการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ได้ แก่ การใช้ ไฟฟ้ า และ การขนส่งสินค้ า การใช้ ไฟฟ้า ในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ นาเทคนิคในการประหยัดไฟมาปรับใช้ ในหลายสาขา ส่งผลให้ ปริ มาณการใช้ ไฟใน ภาพรวมลดลง พร้ อมกันนี ้ได้ พิจารณาเปรี ยบเทียบดัชนีการใช้ พลังงานไฟฟ้ าต่อหนึ่งหน่วยพื ้นที่ (Specific Energy Consumption หรื อ SEC) พบว่าในปี 2557 อัตรดังกล่าวมีคา่ ลดลงจากปี ก่อน 24.40 kWh/Sq.m. ปี 2555 2556 2557
จานวนสาขา ที่นามาคานวณ 43 51 63
ปริมาณการใช้ พลังงานไฟฟ้า
ปริมาณการใช้ ไฟฟ้า ต่ อหนึ่งหน่ วยพืน้ ที่
(GWh)
(kWh/Sq.m.)
112 127 155
462 394 370
มาตรการลดใช้ พลังงานไฟฟ้าในปี 2557 เปลี่ยน Metal Halide Lamp 400 w เป็ น Induction Lamp 200 Watt เปลี่ยนหลอด Halogen Lamp 50 w เป็ น LED Lamp 5 Watt เปลี่ยนหลอด Par 75 Lamp 100 w เป็ น Par 30 LED Lamp 13 Watt การติดตัง้ ชนวนกันความร้ อนใต้ หลังคา และการเลือกใช้ ผนัง อาคาร การติดตัง้ หลังคาโปร่ งแสงอาคารคลังสินค้ าลดเวลาการเปิ ดไฟ แสงสว่ าง การติดตัง้ ระบบ VSD เพื่อควบคุมมอร์ เตอร์ ในระบบทาความเย็น
จานวน สาขา 15 37
ปริมาณพลังงานที่ ลดลง (kWh) 5,720,000 1,350,000
ปริมาณ Ton CO2 ที่ลดได้ 3,325 784
37
1,120,000
651
47
29,950,000
17,409
32 57
880,000 5,270,000
511 3,063
หมายเหตุ : ค่า kg CO2 / kWh = 0.5813 อ้ างอิงข้ อมูลจากองค์การบริ หารจัดการก๊ าซเรื อนกระจก (องค์การมหาชน)
63
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
การขนส่ งสินค้ า บริ ษัทฯ มีความพยายามที่จะลดปริ มาณการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาไหม้ เชื ้อเพลิง ของรถขนส่งสินค้ า โดยใช้ แนวคิด Green Transport and Supply Chain ที่นาเทคโนโลยีที่ช่วยลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้ อมผนวกกับประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ โดยช่วยให้ บริ ษัทฯ สามารถลดการใช้ เชื ้อเพลิง และลด การปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซค์ไปพร้ อมกัน องค์ประกอบของแนวคิด Green Transport and Supply Chain ที่เลือกใช้ 1) การขนส่งสินค้ าแบบ Full Truck Load เป็ นการติดตังแท่ ้ นชัง่ น ้าหนัก และการควบคุมการบรรจุ สินค้ าต่อเที่ยวขนส่งให้ ได้ ปริ มาณที่เหมาะสม 2) การรวมสินค้ าส่งพร้ อมกัน (Consolidation) โดยการวางแผนเส้ นทางการเดินรถ พร้ อมกับจัด ตารางเวลาขนส่งให้ เหมาะสม เพื่อให้ สามารถส่งสินค้ าให้ ลกู ค้ าหลายรายได้ ในเส้ นทางเดียวกัน หรื อ ใกล้ เคียงกัน 3) การลดเที่ยวเปล่า (Back Haul) โดยนารถที่ต้องวิ่งรถเที่ยวเปล่าไปรับสินค้ าจากผู้ผลิตกลับมายัง คลังสินค้ า หรื อสาขาของโฮมโปร โดยในช่วง 3 ปี ที่ผ่านมา (2555 - 2557) สามารถประหยัด เชื ้อเพลิงได้ รวม 5.9 ล้ านบาท (2)
การบริหารจัดการนา้
บริ ษัทฯ ใช้ น ้าจากการประปา น ้าบาดาล และน ้าที่ผ่านกระบวนการบาบัด (Recycle) ในการดาเนินธุรกิจ ทังหมด ้ โดย การใช้ น ้าส่วนใหญ่ใช้ ในสาขา สานักงาน การชาระล้ างบริ เวณลานจอดรถ รดน ้าต้ นไม้ และการใช้ น ้าใน ส่วนของร้ านค้ าเช่า ในปี 2557 บริ ษัทฯ ใช้ น ้าประปาทังสิ ้ ้น 1.01 ล้ านลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 31.59% โดยใช้ ไปกับพื ้นที่ เหล่านี ้ จานวนการใช้ น ้าเฉลี่ยต่อสาขา การใช้ น ้า
การเปลี่ยนแปลง
(ลูกบาศก์เมตร)
เหตุผล
(1) สาขา และสานักงาน (2) บริเวณลานจอดรถ และรดน ้าต้ นไม้
2556 6,950 7,351
2557 7,840 8,641
+ 12.81% + 17.55%
จานวนลูกค้ าที่เพิ่มขึ ้น
(3) ร้ านค้ าเช่า
5,363
6,303
+ 17.53%
พื ้นที่ร้านค้ าเช่าที่เพิ่มขึ ้น
หมายเหตุ : จานวนสาขาที่นามาคานวณคือ 51 สาขา ทังนี ้ ้ไม่รวมสาขาที่เปิ ดใหม่
บริ ษัทฯ มีความพยายามที่จะลดปริ มาณการใช้ น ้าลง โดยกาหนดให้ ฝ่ายซ่อมบารุ งมีการตรวจสอบท่อประปา มาตรวัดน ้า และอุปกรณ์ ต่างๆ อย่างสม่าเสมอทุกเดือน เลือกใช้ โถสุขภัณฑ์ ก๊ อกน ้า และสายชาระแบบประหยัดน ้า เปลี่ยนก๊ อกนา้ ในห้ องน ้าให้ เป็ นเป็ นแบบอัตโนมัติ (Sensor) ตัง้ เวลาการไหลของน ้าที่กดชาระในแต่ละครั ง้ อย่าง เหมาะสม นอกจากนี ้ยังมีการใช้ น ้าจากแหล่งน ้าธรรมชาติ โดยมีการขุดบ่อบาดาลเพื่อนามาใช้ รดน ้าต้ นไม้ (ผ่านการขอ อนุญาตจากทางราชการ)
64
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(3)
การบริหารจัดการขยะของเสีย การจัดการนา้ เสีย นา้ จากการใช้ ใ นระบบทัง้ หมดจะถูกผ่านการบาบัด และตรวจวัดคุณภาพตามมาตรฐานกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมก่อนจะถูกระบายทิ ้งสู่ท่อสาธารณะ โดยนา้ ที่ถูกบาบัดบางส่วนจะถูก นามาใช้ รดน ้าต้ นไม้ สาหรับสาขาใหม่ บริ ษัทฯ ได้ นาระบบบาบัดน ้าเสีย Membrane Bioreactor (MBR) มาใช้ แทนระบบ เดิมคือ Conventional Activated Sludge (CAS) ซึ่งเมื่อเปรี ยบเทียบขนาดปั๊ มน ้าแล้ ว มีขนาดเล็กลง 35% และช่วยประหยัดเวลาการบาบัดลง 1 ใน 3 ของระบบเดิม นอกจากนี ้ระบบ MBR ยังสามารถกักเชื ้อโรคขนาด ใหญ่ เช่นแบคทีเรี ยได้ รวมถึงสามารถขยายระบบได้ ง่าย โดยไม่ต้องรื อ้ ถอนระบบเดิม และยังช่วยประหยัด งบประมาณลงทุนถึง 0.8 ล้ านบาทต่อโครงการอีกด้ วย การจัดการขยะ บริ ษัทฯ กระบวนการคัดแยกประเภทขยะ โดยแบ่งประเภทขยะออกเป็ น 3 แบบ (1) ขยะรี ไซเคิล (2) ขยะเปี ยก (3) ขยะสารเคมี การจัดการขยะรี ไซเคิลประเภท กระดาษ พลาสติก แก้ ว บริ ษัทฯ จะเรี ยกประกวดราคาไปยั งบริ ษัทคู่ ค้ า และทาการเรี ยกประกวดราคาซา้ ทุกๆ 1 ปี หรื อ 6 เดือน ทัง้ นีข้ ึน้ อยู่กับการเปลี่ยนแปลงของราคาขยะ สาหรับขยะเปี ยก บริ ษัทฯ จะทาการคัดแยก และนาไปเก็บในห้ องพักขยะเปี ยกที่ติดเครื่ องปรับอากาศควบคุม อุณหภูมิ เพื่อชะลอการเติบโตของแบคทีเรี ย ควบคุมกลิน่ โดยจะมีหน่วยงานเทศบาลมาเก็บทุกวัน สาหรับหรับ ขยะสารเคมี เช่นหลอดไฟ หรื อ น ้ามันเครื่ อง บริ ษัทฯ จะทาการคัดแยก และส่งกลับให้ บริ ษัทคู่สญ ั ญานาไป กาจัดอย่างถูกวิธี
(4)
การบริหารจัดการระบบนิเวศ
ตามที่บริ ษัทฯ มีแผนที่จะขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง จึงมีการกาหนดให้ ฝ่ายออกแบบของหน่ วยงานพัฒนาธุรกิจ ศึกษาระบบนิเวศบริ เวณโดยรอบของพื ้นที่สาหรับก่อสร้ างสาขา และพยายามรักษาระบบนิเวศไว้ ให้ ได้ ในสัดส่วนที่ เหมาะสม และกลมกลืนไปกับรูปแบบของอาคารที่ออกแบบไว้ ซึง่ ระบบนิเวศที่บริ ษัทฯ พยายามรักษาไว้ คือต้ นไม้ ขนาด ใหญ่ที่มีอยูเ่ ดิม โดยฝ่ ายออกแบบจะศึกษาร่ วมกับผู้เชี่ยวชาญเพื่อล้ อม และนาไปต้ นไม้ ไปพักไว้ ในบริ เวณที่เหมาะสม ก่อนจะนากลับมาปลูกในบริ เวณพื ้นที่โดยรอบของอาคารที่ปลูกสร้ างอีกครัง้ การใช้ ทรัพยากรอย่ างคุ้มค่ า -
ให้ ความรู้และฝึ กอบรมพนักงานในเรื่ องสิง่ แวดล้ อม รวมถึงมีการประชาสัมพันธ์วิธีการลดใช้ พลังงาน สนับสนุนให้ พนักงานนาวัสดุกลับมาใช้ ใหม่ เช่น การใช้ กระดาษสองหน้ า การปิ ดเครื่ องปรับอากาศและปิ ดไฟ ในช่วงที่พนักงานหรื อผู้บริ หารไม่ได้ อยูใ่ นห้ องทางานเป็ นเวลานาน การเปลีย่ นสวิทช์เปิ ด-ปิ ดไฟ เป็ นสวิทช์กระตุกโดยให้ พนักงานรับผิดชอบบริ เวณโต๊ ะทางานของตัวเอง
- จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ พนักงานร่วมกันลดใช้ พลังงาน เช่น กิจกรรม “HomePro Fun Walk” ให้ พนักงานใช้ บนั ไดแทนลิฟต์
- การปรับอุณหภูมิภายในสานักงานไม่ให้ ต่ากว่า 24 องศาเซลเซียส - การร่วมโดยสารรถไปในเส้ นทางเดียวกัน 65
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
นวัตกรรมด้ านสิ่งแวดล้ อม บริ ษัทฯ มีการร่วมมือกับบริ ษัทคูค่ ้ าในการคัดสรรผลิตภัณฑ์ที่มีการประหยัดพลังงาน ตลอดจนนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้ องการของผู้บริ โภค ในเรื่ องของการรักษาสิง่ แวดล้ อม บริ ษัทฯ สนันสนุนการจาหน่ายสินค้ าที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม ช่วยประหยัดพลังงาน และมีมาตรฐานสากล รับรอง อาทิเช่น กลุ่มสินค้ าเครื่ องนอนที่ไม่ใช้ สารเคมีในการฟอกย้ อม เครื่ องปรับอากาศระบบ Inverter หลอด ประหยัดไฟ LED สีทาภายในที่ลดการปล่อยสารพิษ ก๊ อกน ้าปลอดสารตะกัว่ สุขภัณฑ์ที่มีระบบประหยัดน ้า เป็ นต้ น กลุ่มสินค้ าเครื่องนอนและผ้ าขนหนู บริ ษัทฯ คัดเลือกสินค้ ากลุ่มเครื่ องนอนเพื่อสุขภาพที่มีกระบวนการผลิตที่ เป็ นมิต รต่อ สิ่ง แวดล้ อ ม โดยให้ ค วามสาคัญ ในการเลือกผู้ผลิต ที่ไม่ใ ช้ สารเคมี ไม่ ใ ช้ คลอรี นในการฟอกย้ อม และหลี ก เลี่ ย งการใช้ สาร ฟอร์ มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) ในกระบวนการตกแต่งสาเร็ จ โดยใช้ มาตรฐาน Okeo-Tex standard 100 ซึ่งผ่านการรับรองโดยสถาบันวิจัย ด้ านสิง่ ทออิสระในประเทศออสเตรี ยและเยอรมันนี (The Austrian Textile Research Institute and The German Hohenstein Research Institute) ที่ เ ป็ นข้ อก าหนดในการทดสอบสารตกค้ างในผลิ ต ภัณ ฑ์ สิ่ ง ทอและ เครื่ องนุง่ ห่ม เพื่อให้ ลกู ค้ ามีความมัน่ ใจในปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศระบบอินเวอร์ เตอร์ (Inverter) การใช้ เครื่ องปรับอากาศระบบอินเวอร์ เตอร์ ช่วยให้ ประหยัดไฟได้ กว่า 20 – 30 % เนื่องจากระบบคอมเพรสเซอร์ ทางานต่อเนื่อง โดยการเพิ่มหรื อลดรอบการทางาน ไม่หยุดเป็ นช่วงๆ สามารถรักษาอุณภูมิของห้ องให้ คงที่ รวมถึง การใช้ น ้ายา R410A ที่ไม่ทาลายชันบรรยากาศ ้ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม โดยในช่วง 3 ปี ที่ผ่านมา (ปี 2555 – 2557) บริ ษัทฯ มีจานวนการจาหน่ายเครื่ องปรับอากาศระบบอินเวอร์ เตอร์ เพิ่มขึ ้นต่อเนื่องเฉลีย่ มากกว่า 65% หลอดประหยัดพลังงาน LED หลอดประหยัดไฟ LED เป็ นหลอดไฟประสิทธิภาพสูง มีลกั ษณะเด่นหลายประการ เช่น อายุการใช้ งานยาวนาน ทน ต่อแรงสัน่ สะเทือน ไม่มีสารปรอท ไม่เป็ นพิษต่อสิ่งแวดล้ อม เป็ นต้ น โดยในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ จาหน่ายหลอด LED ทัง้ 71 สาขาทัว่ ประเทศ มียอดการจาหน่ายมากกว่า 1.5 ล้ านหลอด ซึง่ ช่วยลดการปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ ได้ ถึง 12.15 Ton CO2 นอกจากนี ้ ยังได้ เซ็นสัญญาลงนามความร่ วมมือกับการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) วางจาหน่ายหลอดประหยัดไฟ LED ชนิด Bulb เบอร์ 5 ใหม่ ในราคาพิเศษ เพื่อช่วยกระตุ้นให้ ประชาชนลด การใช้ ไฟอีกด้ วย
66
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
โคมไฟจัดสวนโซล่ าเซลล์ โคมไฟโซล่าเซลล์ เป็ นโคมไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งเป็ นพลังงานสะอาด สามารถใช้ ทดแทนพลังงานไฟฟ้ าได้ เป็ นอย่างดี โดยในปี 2557 บริ ษัทฯ มีการวางจาหน่ายโคมไฟโซล่าเซลล์ ใน 66 สาขา จานวนการขายเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 26% จานวนสาขาที่จาหน่ าย จานวนหน่ วยที่ขาย
2555 38 1,234
2556 59 19,651
2557 66 24,800
โซลาร์ เซลล์ โซลาร์ เซลล์ (Solar Cell) สามารถเปลีย่ นพลังงานแสงของดวงอาทิตย์ให้ เป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยกระแสไฟฟ้ าที่ผลิต ได้ จากโซลาร์ เซลล์จะเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct Current) ซึง่ สามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ ทนั ที รวมทังน ้ าไปเก็บ ไว้ ในแบตเตอร์ รี่ เพื่อนามาใช้ ในภายหลัง บริ ษัทฯ ได้ ร่วมมือกับ บริ ษัท เอสพีซีจี จากัด (มหาชน) หรื อ SPCG ร่วมพัฒนาธุรกิจ “ระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงาน แสงอาทิตย์” หรื อ “SPR Solar Roof” ซึ่งเป็ นแผงผลิตไฟฟ้ าที่ใช้ ติดตังบนหลั ้ งคาบ้ าน จาหน่ายให้ แก่ประชาชน ทัว่ ไปที่สาขาของโฮมโปร เป็ นการส่งเสริ มเรื่ องการผลิตไฟฟ้ าไว้ ใช้ เอง ด้ วยการติดตังแผงอุ ้ ปกรณ์ไว้ บนหลังคา ผลิต ไฟฟ้ าในเวลากลางวัน ซึ่งจะช่วยให้ ประชาชนประหยัดค่าไฟฟ้ า และประหยัดพลังงานด้ วยพลังงานสะอาดจาก แสงอาทิตย์ เพิ่มโอกาสทางธุรกิจรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้ อม บริ ษัทฯ ได้ ลงนามทาสัญญาให้ เช่ าพืน้ ที่เพื่อติดตังแผงโซลาร์ ้ เซลล์ โดยร่ วมมือกับ บริ ษัท ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) หรื อ TSE และธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ร่ ว มพัฒ นาโครงการผลิ ต ไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตังบนหลั ้ งคาของโฮมโปร ซึง่ เทียบได้ ว่าเป็ น อาคารพาณิชย์ (Commercial Solar Rooftop) ใหญ่ที่สดุ ของไทย จานวน 11 โครงการ โครงการละ 1 เมกะวัตต์ รวม 11 เมกะวัตต์ โดยในปี 2557 เริ่ มโครงการแห่งแรกที่ โฮมโปร สาขาลพบุรี สาขา ชุมพร เพื่อจาหน่ายไฟฟ้ าเข้ าระบบเชิงพาณิชย์ให้ แก่การไฟฟ้ าส่วน ภูมิ ภาค โดยโครงการนี เ้ กิ ด จากการที่ บ ริ ษั ท ฯ มี แ นวคิ ด ที่ จ ะเพิ่ ม โอกาสการดาเนินธุรกิจ ภายใต้ การตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงถึง สภาวะแวดล้ อมที่มีการเปลีย่ นแปลงไป ซึง่ สอดคล้ องกับนโยบายของ รัฐบาลที่ต้องการสนับสนุนและส่งเสริ มการแสวงหาพลังงานทดแทน และยังช่วยประเทศชาติลดการนาเข้ าเชื ้อเพลิงจากต่างประเทศอีก ด้ วย 67
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
การจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อมของบริษัทย่ อย บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ดาเนินธุรกิจบริ หารพื ้นที่ให้ เช่าพร้ อมกับให้ บริ การด้ านสาธารณูปโภคแก่ผ้ เู ช่า มีการจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อมอยู่ อย่างต่อเนื่อง เริ่ มตังแต่ ้ การออกแบบอาคาร ที่เน้ นให้ มีความสอดคล้ องกับสิ่งแวดล้ อมโดยรอบ มีการปลูกต้ นไม้ และ รักษาบรรยากาศภายนอกอาคารให้ ร่มรื่ นโดยการให้ ความเย็นด้ วยระบบไอน ้า รวมถึงมีการดูแลเรื่ องการประหยัด พลังงานและรักษาสิง่ แวดล้ อมดังนี ้ - กาหนดเวลาการเปิ ด-ปิ ดระบบปรับอากาศ และหลีกเลีย่ งการเริ่ มต้ นเปิ ดระบบในช่วงเวลาที่มีความต้ องการใช้ ไฟฟ้ ามาก (On Peak) คือ 9.00 น. – 22.00 น. เนื่องจากเป็ นช่วงที่อตั ราค่าไฟสูง - ใช้ ระบบจัดการเครื่ องทาความเย็น (Chiller Plant Management System) ที่ช่วยควบคุมการทางานของ ระบบปรับอากาศให้ เป็ นอัตโนมัติ ทาให้ พลังงานถูกใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ ประหยัดค่าใช้ จ่าย - ติดฟิ ล์มกันความร้ อนภายในอาคารในจุดที่มีแสงแดดส่อง เพื่อลดการทางานของเครื่ องปรับอากาศ - ติดตังระบบบ ้ าบัดน ้าเสีย โดยน ้าจากการใช้ ทงหมดจะถู ั้ กผ่านการบาบัด และตรวจวัดคุณภาพตามมาตรฐาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมก่อนจะถูกระบายทิ ้งสูท่ อ่ สาธารณะ - การติดตังระบบที ้ ่จอดรถอัจฉริ ยะ (Intelligent Car Park) ที่ให้ ความสะดวกในการหาที่จอด ซึ่งช่วยลูกค้ า ประหยัดการใช้ พลังงาน บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จากัด ดาเนินธุรกิจค้ าปลีก และค้ าส่งสินค้ าเกี่ยวกับบ้ านครบวงจร ให้ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้ อมโดยเริ่ มจากการ เลือกใช้ ระบบปรับอากาศ EWRAP (Evaporative cooling system) ซึง่ เป็ นระบบที่อาศัยหลักการระเหยของน ้ามาช่วย ในการทาความเย็น เมื่ออากาศร้ อนผ่านสือ่ การระเหยน ้า (Cooling pad) น ้าจะดึงความร้ อนจากอากาศเพื่อใช้ เปลี่ยน สถานะจากของเหลวเป็ นไอ โดยอากาศที่ผ่าน Cooling pad จะมีอณ ุ หภูมิต่าลง และเมื่อนาไปออกแบบการระบาย อากาศที่ดี จะทาให้ ได้ อากาศบริ สทุ ธิ์ที่มีความเย็นสบาย ทาให้ บริ ษัทฯ สามารถประหยัดเงินลงทุน และประหยัดการใช้ พลังงานไฟฟ้ ากว่าการใช้ เครื่ องปรับอากาศหลายเท่า
ด้ านสังคม การประกอบธุรกิจด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษัทฯ เชื่อมัน่ ว่าการประกอบธุรกิจด้ วยความเป็ นธรรม จะช่วยสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ กบั ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย อัน จะเป็ นผลดีตอ่ การดาเนินธุรกิจในระยะยาว ดังนันบริ ้ ษัทฯ จึงดาเนินธุรกิจโดยยึดหลักความถูกต้ อง เป็ นธรรม ไม่เอารัด เอาเปรี ยบ และมีความซื่อสัตย์ รักษาผลประโยชน์ร่วมกับคู่ค้า และเจ้ าหนี ้ โดยการปฏิบตั ิตามกฎหมายและกติ กาที่ กาหนดร่วมกันอย่างเคร่งครัด และมีจรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจ ไม่เรี ยก ไม่รับและจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สจุ ริ ต ในการค้ ากับคู่ค้าบริ ษัทรับเหมาช่วงตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี รวมไปถึงความซื่อสัตย์สจุ ริ ตในการติดต่อทา ธุรกรรมกับเจ้ าหน้ าที่ หรื อหน่วยงานภาครั ฐ รวมทังต่ ้ อต้ านการให้ สินบนต่างๆ ต่อเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ เพื่ออานวยความ สะดวก หรื อผลประโยชน์ทางธุรกิจ 68
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ มีนโยบายเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเพื่อให้ ผ้ มู ีส่วนได้ เสียสามารถเข้ าถึงข้ อมูลสาคัญ ทังหมดได้ ้ การเปิ ดเผยข้ อมูลธุรกรรมสาคัญ รายการเกี่ยวโยง รายการที่อยู่นอกงบดุล และรายการสาคัญอื่นอื่นได้ ถกู เปิ ดเผยในรายงานประจาปี ซึง่ ได้ สง่ ให้ ผ้ ถู ือหุ้นพร้ อมกับหนังสือเชิญประชุมสามัญประจาปี ในทุกปี แบบแสดงรายการ ประจาปี (56-1) ไว้ ที่ เว็บไซต์ของบริ ษัท หรื อสืบค้ นได้ จากเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การต่ อต้ านคอรัปชั่น ในส่วนของคู่ค้า หรื อการจ้ างเหมาช่วง บริ ษัทฯ มีการส่งเสริ มการแข่งขันทางการค้ าอย่างเสรี มีการประมูล (Bidding) อย่างเป็ นธรรม หลีกเลีย่ งพฤติกรรมการฉ้ อฉล ไม่สนับสนุนการดาเนินงานที่มีลกั ษณะเป็ นการละเมิดลิขสิทธิ์ หรื อทรัพย์สนิ ทางปั ญญา ในปี 2557 พบว่า ไม่มีการร้ องเรี ยนที่เกี่ยวข้ องกับการกากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณทางธุรกิจ และไม่ พบประเด็นปั ญหาหรื อข้ อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินคดีที่เกี่ยวข้ องกับเหตุการณ์เลือกปฏิบตั ิ เหตุ ทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ตลอดจนไม่มีค่าปรับหรื อการถูกลงโทษที่ไม่ใช่การปรับ อันเนื่องจากการดาเนินงานไม่สอดคล้ องกับ กฎหมายหรื อข้ อกาหนดที่เกี่ยวข้ อง และการละเมิดจรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจแต่อย่างใด แนวร่ วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนในการต่ อต้ านทุจริต ตามที่รัฐบาล และสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) รวมถึง 7 องค์กรชัน้ นา อันได้ แก่ สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย หอการค้ าไทย หอการค้ านานาชาติ สมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย โดยได้ รับการสนับสนุนการดาเนินโครงการจาก Center for International Private Enterprise (CIPE) ร่วมกันจัดโครงการแนวมร่วมปฎิบตั ิของภาคเอกชนในการต่อต้ านทุจริ ต ซึ่งบริ ษัทฯ เห็นว่าเป็ นโครงการที่ดี จึง ได้ เข้ าร่วมแสดงเจตนารมณ์ ในวันที่ 2 กันยายน 2557 นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังได้ มีการกาหนดแนวปฎิบตั ิเกี่ยวกับการกากับดูแลและควบคุมดูแลเพื่อป้องกัน และติดตามความเสีย่ งจากการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ดังนี ้ 1) กาหนดให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานทุกคนรับทราบเกี่ยวกับการปฎิบตั ิตามคู่มือการกากับดูแลกิจการที่ ดีและจริ ยธรรมธุรกิจที่บริ ษัทฯ กาหนดขึ น้ และส่งเสริ มให้ พนักงานมีความรู้ ความเข้ าใจในเรื่ อง ดัง กล่ า ว โดยเผยแพร่ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข้ องผ่ า นทาง อิ น ทราเน็ ต เว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ และ ประชาสัมพันธ์ ตามสถานที่ต่างๆ ภายในบริ ษัทฯ ทังนี ้ ้เพื่อให้ ผ้ บู ริ หาร และพนักงานทุกคนรับทราบ และถือปฎิบตั ิโดยทัว่ กัน 2) จัดให้ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ทาหน้ าที่ตรวจสอบการควบคุมภายใน การบริ หารความเสีย่ ง การกากับ ดูแลกิจการ และให้ ข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง โดยดาเนินการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบ ประจาปี ที่ ได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบที่ มี นัยสาคัญและข้ อเสนอแนะต่อคณะกรรมการตรวจสอบทุกเดือน
69
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3) กาหนดให้ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงและควบคุมภายใน รั บผิดชอบในการตรวจสอบและ ประเมิ น ความเสี่ย งจากการทุจ ริ ต คอร์ รั ป ชั่น อย่า งต่อ เนื่ อ ง รวมถึ ง น าเสนอผลการประเมิ น ต่อ คณะกรรมการบริ ษัท 4) หากมีการกระทาซึง่ อาจส่งผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อฐานะทางการเงิน และผลการดาเนินงาน ของบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง การฝ่ าฝื น การกระท าผิ ด กฎหมาย หรื อ จริ ยธรรมธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อหาแนวทางในการป้องกัน และ บทลงโทษต่อบุคคลที่ฝ่าฝื น ตามที่คณะกรรมการบริ ษัทเห็นสมควร บริ ษัทฯ มีความมุง่ มัน่ ในเรื่ องการต่อต้ านทุจริ ตในแต่ละด้ านดังนี ้ จรรยาบรรณของบริษัทฯ บริ ษัทฯ มุ่งพัฒนาธุรกิจให้ เจริ ญก้ าวหน้ าโดยตังอยู ้ ่บนพื ้นฐานของความมีจริ ยธรรมและคุณธรรมเป็ น แนวทางเสมอมา โดยได้ จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานเป็ นกรอบแนวทางในการดาเนินธุรกิ จอย่างมีมาตรฐาน ประกอบด้ วยคุณธรรมจริ ยธรรม และกาหนดให้ เป็ นหน้ าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ทุกคนจะต้ องรับทราบ ทาความเข้ าใจ และปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดในคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจนี ้อย่างเคร่ งครัด เพื่อ บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ ควบคูไ่ ปกับการธารงไว้ ซงึ่ มาตรฐานทางจริ ยธรรมเพื่อประโยชน์ของผู้มีสว่ นได้ เสีย ผู้ ถือหุ้น บริ ษัทฯ และสังคม การดาเนินการก่ อสร้ างสาขา ในปี 2557 บริ ษัทฯ มีจานวนสาขาทังหมด ้ 71 สาขาทัว่ ประเทศ และยังคงมีแผนที่จะขยายสาขาอย่าง ต่อเนื่อง สาหรับการก่อสร้ างอาคาร บริ ษัทฯ ดาเนินการอย่างโปร่งใส โดยมีรายละเอียดดาเนินการดังนี ้ 1) มีการว่าจ้ างผู้ออกแบบสถาปั ตยกรรม ตกแต่งภายใน และงานระบบ โดยผู้ออกแบบจะกาหนด Spec วัสดุ และทาง Suppliers จะนาเสนอข้ อมูลให้ ทางบริ ษัทฯ และ Designer เพื่อตัดสินใจ ร่วมกันก่อนที่จะบรรจุใน Spec วัสดุใหม่ 2) บริ ษัทฯ คัดเลือกผู้รับเหมา โดยพิจารณาจากประวัติการทางานที่มีคณ ุ ภาพ โดยจัดการประมูลงาน หรื อ ต่อรองอย่างน้ อย 2 ครัง้ มีคณะกรรมการในการคัดเลือกผู้รับเหมาหรื อคัดเลือกวัสดุอปุ กรณ์ อย่างโปร่งใส และเป็ นธรรม และเนื่องจากบริ ษัทฯ มีการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง เมื่อได้ ผ้ รู ับเหมา แล้ ว อาจใช้ ราคานันกั ้ บสาหรับสร้ างสาขาต่อไปได้ 3) ขัน้ ตอนการตรวจสอบงาน วิ ศวะกรผู้ค วบคุมงานจะเป็ นผู้ตรวจสอบวัสดุ อุป กรณ์ และวิ ธีก าร ก่อสร้ างให้ เป็ นไปตามการออกแบบ 4) เมื่อสิ ้นสุดโครงการ บริ ษัทฯ จะทาการประเมินให้ คะแนนผู้รับเหมา เพื่อพิจารณาเชิญเข้ าประมูลงาน ครัง้ ต่อไป
70
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
แนวทางการให้ และรับของขวัญ 1) ห้ ามมิให้ ผ้ ูบริ หารและพนัก งานเรี ยก หรื อรั บผลประโยชน์ ใดๆ จากคู่ค้า ผู้รับเหมา ผู้จัดส่งสินค้ า ที่ ปรึกษา และผู้ที่บริ ษัทฯ ทาธุรกิจด้ วย 2) ให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานควรหลีกเลีย่ งการให้ หรื อรับของขวัญหรื อของกานัลใดๆ จากคูค่ ้ า หรื อผู้ที่บริ ษัท ฯ ทาธุรกิจด้ วย เว้ นแต่ในเทศกาลในมูลค่าที่เหมาะสม และไม่เกี่ยวข้ องกับการผูกมัดทางธุรกิจ 3) ให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานควรหลีกเลี่ยงการให้ หรื อรับการเลี ้ยงรั บรองในลักษณะที่เกิ นกว่าปกติจาก บุคคลที่บริ ษัทฯ ทาธุรกิจด้ วย 4) ให้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน หลีกเลี่ยงการให้ หรื อการรั บรางวัลการท่องเที่ยวจากคู่ค้า เว้ นแต่ กิจกรรม ดังกล่าวเป็ นการดูง าน ศึกษางาน ที่เกิ ดประโยชน์ ต่อธุรกิ จทัง้ สองฝ่ าย และผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการพิจารณารางวัลดังกล่าว การอบรมพนักงานด้ านจริยธรรม บริ ษัทฯ เสริ มสร้ างและปลูกจิตสานึกในเรื่ องคุณธรรม จริ ยธรรม และการบริ หารงานอย่างโปร่ งใส ให้ กบั พนักงานและบุคลากรชัว่ คราว ดังนี ้ 1) ในวันปฐมนิเทศพนักงานใหม่ ซึ่งจัดเป็ นประจาทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือน บริ ษัทฯ ได้ จัดให้ มีการ ฝึ กอบรมแก่พนักงาน และให้ ความรู้ เกี่ยวกับการต่อต้ านทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ของบริ ษัทฯ รวมถึงมอบคู่มือ จริ ยธรรมธุรกิจ (Business Ethics) ให้ กบั พนักงานทุกคน เพื่อใช้ เป็ นแนวปฎิบตั ิ 2) กิจกรรมคนดีโฮมโปร เพื่อทาประกาศเกียรติคณ ุ ชมเชยผู้ที่ทาความดี 3) การตรวจสอบพฤติกรรมและการปฏิบตั ิงานอย่างสม่าเสมอ โดยหน่วยงาน Compliance หน่วยงาน ตรวจสอบภายใน และหน่วยงานป้องกันการสูญเสีย เพื่อป้องกันการกระทาที่ก่อให้ เกิดความเสีย่ งในการ ทาทุจริ ตในทุกๆ ส่วนงาน 4) การประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเป็ นคนดีมคี ณ ุ ธรรม โดยใช้ รูปแบบของการประเมินผลประจาปี (Performance Management) สิทธิมนุษยชน บริ ษัทฯ ตระหนักและเคารพในสิทธิมนุษยชน โดยปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ า พนักงานประจา พนักงานชัว่ คราว คู่ค้า และ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกคนอย่างเท่า เทียมกัน โดยไม่เลือกปฏิบตั ิและให้ โอกาสที่เท่าเทียมกันในการจ้ างงาน ไม่มีการ แบ่งแยกเพศ ศาสนา สีผิว เชื ้อชาติ ภูมิลาเนา ความพิการ รวมถึงถึงการยอมรับในความแตกต่างทางความคิด สังคม สิง่ แวดล้ อม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมที่แตกต่างกันในแต่ละท้ องถิ่นที่บริ ษัทเข้ าไปเปิ ดสาขา บริ ษัทฯ เคารพสิทธิมนุษยชนในเรื่ องของสวัสดิภาพการใช้ แรงงาน ไม่ใช้ แรงงานเด็ก มีการกาหนดชั่วโมงการ ทางานตามกฏหมายแรงงาน การทางานล่วงเวลา (OT) รวมถึงวันหยุดที่เหมาะสม บริ ษัทฯ มีการจ้ างแรงงานต่างด้ าว อย่างถูกต้ องตามที่กฎหมายกาหนด และมีมาตรฐาน/ตัวชี ว้ ดั สากลด้ านสิทธิมนุษยชนมาเป็ นแนวปฏิบตั ิของบริ ษัทฯ ส่ง เสริ ม ความเท่ า เที ย มกัน ทางเพศ ไม่ มี น โยบายที่ ก าหนดเพศของผู้บ ริ ห าร หากแต่ จ ะพิ จ ารณาตามผลงาน ประสบการณ์ และผ่านการสอบจากคณะกรรมการเท่านัน้ ซึง่ หลักการนี ้บริ ษัทได้ ใช้ ครอบคลุมถึงบริ ษัทในเครื อด้ วย
71
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ความรับผิดชอบต่ อพนักงาน
การสรรหาพนักงาน บริ ษัทฯ มีการจัดทาแผนอัตรากาลัง เพื่อสรรหาและคัดเลือกผู้สมัครที่มีศกั ยภาพให้ ทนั ต่อความต้ องการ ธุรกิจ เปิ ดโอกาสและให้ ความเท่าเทียมกัน โดยไม่จากัดเพศ เชือ้ ชาติ ศาสนา เพื่อให้ ได้ บคุ ลากรที่เหมาะสมกับ ลัก ษณะงาน สามารถตอบสนองต่อ ความแตกต่ า งของลูก ค้ า ในพื น้ ที่ จัง หวัด ต่า งๆ รวมถึ ง มี ก ารสนับ สนุน “โครงการสุขใจใกล้ บ้าน” เปิ ดโอกาสให้ พนักงานได้ กลับไปสร้ างความเจริ ญให้ กบั ท้ องถิ่นในภูมิลาเนาเกิดของ ตนเอง นอกจากนี ้ยัง มีกระบวนการสรรหาและคัดเลือกอย่างเป็ นระบบ โดยมีกระบวนการสรรหาที่หลากหลาย เพื่อ คัดเลือกพนักงานที่เป็ นคนเก่งและคนดีเข้ าร่วมงาน อาทิ 1) การทดสอบ Personality Test เพื่อประเมินบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับตาแหน่งที่สมัครงาน หากเป็ น ตาแหน่งระดับผู้จดั การฝ่ ายขึ ้นไป ใช้ แบบทดสอบ Supervisory Test เพื่อประเมินความสามารถใน การบังคับบัญชา 2) เริ่ มใช้ กระบวนการสัมภาษณ์ แบบ Competency-based Interview โดยคณะกรรมการสัมภาษณ์ เพื่อให้ มนั่ ใจว่า ได้ คดั เลือกบุคลากรที่ตรงตามความต้ องการขององค์กร 3) โครงการคัดเลือก Management Trainee เพื่อคัดเลือกผู้บริ หารรุ่นใหม่เข้ าร่วมงาน
โครงการสุขใจใกล้ บ้าน บริ ษัทฯ มีสว่ นร่ วมในการจ้ างงานคนในพื ้นที่ สาหรับการเปิ ดสาขาใหม่ในจังหวัดต่างๆ ทัว่ ประเทศ และมี โครงการ “สุขใจใกล้ บ้าน” เพื่อให้ พนักงานได้ กลับไปทางานที่บ้ านเกิ ด เป็ นการสร้ างความภาคภูมิใจให้ กับ ครอบครัว ส่งเสริ มและสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั สถาบันครอบครัวและชุมชน อีกทังยั ้ งมีการสร้ างรายได้ ให้ ท้องถิ่น อีกด้ วย ปั จจุบนั มีพนักงานที่เข้ าโครงการได้ กลับภูมิลาเนาแล้ ว เป็ นจานวนกว่า 746 คน จานวนพนักงาน (คน)
2555 254
2556 228
2557 264
รวม 746
การบริหารค่ าตอบแทน และผลประโยชน์ แก่ พนักงาน 1)
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานและการจ่ ายเงินรางวัลประจาปี บริ ษัทฯ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานอย่างเป็ นระบบ แบ่งการประเมินผลการปฏิบตั ิงานเป็ น 2 ครัง้ ต่อปี โดยการส่งแบบประเมินผลให้ กบั ผู้บงั คับบัญชา ผลการประเมินแบ่งเป็ นผลการประเมินของสาย งาน และผลประเมินของตัวพนักงาน ซึง่ จะส่งผลต่ออัตราการจ่ายเงินโบนัสประจาปี ให้ กบั พนักงาน ผล การประเมินในแต่ละครัง้ จะมีการส่งต่อไปยังหน่วยงานพัฒนาองค์กร เพื่อนาไปประมวลผลสาหรับการปรับ เลือ่ นตาแหน่ง การบริ หารกลุม่ คนเก่ง (Talent Group) และการพิจารณาสร้ างผู้สบื ทอดตาแหน่ง (Successor) ในโอกาสต่อไป
72
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2)
ผลประโยชน์ แก่ พนักงาน บริ ษัทฯ มอบสวัสดิการต่างๆ ในระดับที่สงู กว่าที่กฎหมายกาหนด และสามารถแข่งขันกับบริษัทอื่นที่ อยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกันได้ เช่น การตรวจร่างกายประจาปี ค่ารักษาพยาบาล การประกันอุบตั เิ หตุ เครื่ องแบบพนักงาน เงินช่วยเหลือฉุกเฉิน ทุนศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสู ้ ง (ปวส.) ปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท และมี “โครงการทุนการศึกษา ปวส. สาขาวิชาการจัดธุรกิจค้ าปลีก” ที่ นอกจากจะมอบทุนการศึกษาแก่นกั เรี ยนระดับอาชีวะศึกษาแล้ ว ยังเปิ ดโอกาสให้ เข้ ามาทางานกับบริ ษัทฯ ด้ วย นอกจากนี ้ยังจัดกิจกรรมเสริ มสร้ างความสุขในชีวิตการทางาน เช่น การจัดแข่งกีฬาภายในองค์กร กิจกรรมการทางานครบ 10 ปี ของพนักงาน กิจกรรมโฮมโปรใจอาสาที่สนับสนุนให้ พนักงานได้ ทากิจกรรมที่ เป็ นประโยชน์ตอ่ ชุมชน กิจกรรมบริ จาคโลหิต ฯลฯ 3)
โครงการ EJIP เพื่อพนักงาน บริ ษัทฯ มีการส่งเสริ มให้ พนักงานมีการออมทรัพย์ผา่ นกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ (Provident Fund) และ จัดตังโครงการสะสมหุ ้ ้ นสาหรับพนักงาน (EJIP : Employee Joint Investment Program) โดย รายละเอียดมีดงั นี ้ โครงการ
ระยะดาเนินโครงการ
EJIP
1 ก.ค. 2556 - 30 มิ.ย. 2561
รายละเอียด - โครงการมีอายุ 5 ปี - พนักงานจ่ายเงินซื ้อหุ้นสะสม 5% ของเงินเดือนทุกเดือน และ บริษัทฯ จ่ายเงินสมทบเพิ่มให้ อีกในจานวนที่เท่ากัน
ข้ อกาหนดโครงการ EJIP สาหรับพนักงาน 1. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.1 เพื่อ ธารงรั ก ษาพนัก งานให้ ทางานอยู่กับ บริ ษัท ฯ ในระยะยาวด้ วยการปรั บ ปรุ ง สิท ธิ ประโยชน์ของพนักงานผ่านการดาเนินโครงการสะสมหุ้นของพนักงานร่ วมกับบริ ษัท ฯ (EJIP) 1.2 เพื่อส่งเสริ มความคิดและความรู้ สึกของพนักงานในการเป็ นเจ้ าของกิจการร่ วมกันกับผู้ ถือหุ้นท่านอื่นๆของบริ ษัทฯ 1.3 เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขัน ทางธุ ร กิ จ ผ่ า นการสร้ างแรงจู ง ใจ และ ประสิทธิ ภาพในการปฏิบัติงานให้ เกิ ดการเติบโตอย่างยั่งยืนและบรรลุเป้าหมายทาง ธุรกิจได้ ในอนาคต 1.4 เพื่อเสริ มสร้ างวินยั ในการออมเงินให้ กบั พนักงาน 2. พนักงานผู้มีสิทธิ สมัครเข้ าร่ วมโครงการ ในวันสมัครเข้ าร่ วมโครงการพนักงานต้ องมีคณ ุ สมบัติ ดังต่อไปนี ้ 2.1 เป็ นผู้บริ หารหรื อพนักงานของบริ ษัทฯ
73
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2.2 2.3
พนักงานประจาที่อยู่ในระดับผู้จดั การฝ่ ายขึ ้นไป และผ่านการทดลองงานหรื อ ทดลอง ตาแหน่งงาน พนักงานที่สมัครเข้ าร่ วมโครงการจะต้ องยอมรั บและตกลงที่จะปฏิบตั ิตามข้ อกาหนด โครงการ EJIP รวมทังสั ้ ญญาหรื อเอกสารหรื อกฎระเบียบต่างๆ ของโครงการ EJIP ที่ เกี่ยวข้ อง
3. เงื่อนไขการห้ ามจาหน่ายจ่ายโอนหุ้น (Silent Period) พนักงานที่เข้ าร่วมโครงการจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่ อนไขการห้ ามจาหน่ายจ่ายโอนหุ้น (Silent Period) อย่างเคร่งครัดนับตังแต่ ้ วนั แรกที่เริ่ มโครงการ EJIP จนสิ ้นสุดโครงการ
การพัฒนาและส่ งเสริมความก้ าวหน้ าแก่ พนักงาน
การบริ หารเส้ นทางสายอาชีพ เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและมีแบบแผน มีการ จัดการประเมินสมรรถนะหลัก ในตาแหน่งงานหลักที่เป็ นหัวใจในการขับเคลื่อนธุรกิจ เช่น กลุม่ งานปฏิบตั ิการ กลุม่ งานจัดซื ้อ กลุม่ งานบริ หารสินค้ าคงคลัง เป็ นต้ น การบริ หารกลุม่ คนเก่ง โดยพิจารณาความรู้ ความสามารถ และองค์ประกอบในมิติตา่ งๆ เช่น ความรู้และผล การปฏิบัติง าน สมรรถนะความสามารถ ประสบการณ์ และอายุงาน คุณ ลักษณะส่วนบุคคล เป็ นระบบ บริ หารงานแบบหนึ่งที่ทาให้ พนักงานมีทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน รองรับกับการเติบโตขององค์กร ก่อให้ เกิ ด แรงจูงใจที่จะพัฒนาตัวเองต่อไปเพื่อเป้าหมายที่สงู ยิ่งขึ ้น และเกิดการผูกพันกับองค์กร นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังมีโครงการมอบทุนการศึกษาต่อในระดับปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท รวมถึงการจัดอบรม หลักสูตรผู้นาให้ กบั กลุม่ คนเก่ง ที่สอดคล้ องกับเป้าหมายในการพัฒนาบุคลากรอย่างชัดเจน ให้ เดินไปในทิศทาง เดียวกับการดาเนินธุรกิจ
การอบรมพนักงาน
บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญในการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน ให้ มีคณ ุ ภาพอย่างต่อเนื่องในทุกๆ ระดับ เพื่อ รองรับการเจริ ญเติบโตทางธุรกิจ และสนับสนุนให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานได้ ใช้ ความรู้ ความสามารถของตนเอง อย่างเต็มที่ บริ ษัทฯ ได้ มีการจัดสร้ างศูนย์ฝึกอบรมขึ ้นเป็ นการเฉพาะ เพื่อให้ ความรู้ ความเข้ าใจและเสริ มสร้ างศักยภาพ ในการทางานของพนักงาน รวมถึงการติดตามผลจากการฝึ กอบรมและการนาไปใช้ ในทางปฏิบตั ิ ซึ่งมีทีมงานใน การดูแลการฝึ กอบรมและพัฒนาหลักสูตรเฉพาะ สาหรับการฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากรแบ่งเป็ น 3 รู ปแบบ ดังนี ้ 1) ฝึ กอบรมความรู้ พื ้นฐาน และหน้ าที่งานให้ กบั พนักงานใหม่ โดยมีหลักสูตรอบรมพื ้นฐานและหน้ าที่ งานจานวน 83 หลักสูตร 2) ฝึ กอบรม และพัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะ (Competency-based Development) รวมถึงฝึ กอบรม และพัฒนาเพื่อเพิ่มพูนทักษะการปฏิบตั ิงานให้ กบั พนักงาน สามารถทางานเชิงลึก และเตรี ยมความ
74
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
พร้ อมเพื่อรองรับการขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศ เช่น จัดอบรมภาษาอังกฤษ และมีหลักสูตรพัฒนา ศักยภาพตามหลัก Competency จานวน 12 หลักสูตร 3) พัฒนา และสร้ างผู้นา/ผู้สืบทอดตาแหน่ง โดยมีหลักสูตรพัฒนาและสร้ างผู้นา ความคิดสร้ างสรรค์ การวางแผนกลยุทธ์ จานวน 3 หลักสูตร นอกเหนือจากการฝึ กอบรมในห้ องเรี ยนแล้ ว ศูนย์ฝึกอบรมยังได้ สง่ เสริ มการเรี ยนรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น - สร้ างวัฒนธรรมการสอนงานและการเป็ นพี่เลี ้ยง (Coaching and Mentoring) ให้ เกิดขึ ้นในองค์กร ผ่านการเรี ยนรู้ แบบ OJT (On-the-job Training) สอนในสถานที่ปฏิบตั ิจริ ง ผู้บริ หารสาขาสามารถ แบ่งปั นความรู้ ประสบการณ์ Best Practice รวมถึงข้ อมูลต่างๆ ให้ กบั พนักงานใหม่ - มีการส่งเสริ มการเรี ยนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ที่สามารถเรี ยนรู้ ได้ โดยไม่มีข้อจากัดด้ าน สถานที่ และเริ่ มนาระบบ Knowledge Management หรื อ KM เข้ ามาใช้ โดยในปั จจุบนั บริ ษัทฯ มี หลักสูตร e-learning จานวน 32 หลักสูตร - ส่งเสริ มให้ ผ้ บู ริ หารตังแต่ ้ ระดับต้ นขึ ้นไป ทาหน้ าที่เป็ นวิทยากร ซึง่ ช่วยให้ เกิดการพัฒนาทังตนเองและ ้ ผู้อื่น อีกทัง้ ยังสามารถได้ นาความรู้ ที่อยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) แปลงให้ เป็ นความรู้ ที่ สามารถจัดเก็บได้ (Explicit Knowledge) ในรู ปแบบการจัดทาสื่อ/ เอกสารประกอบการสอนสาหรับ เผยแพร่ภายในบริ ษัทฯ ได้ อีกด้ วย ในการติดตามและประเมินผลการพัฒนาบุคลากร บริ ษัทฯ ได้ จัดทาระบบการติดตามและประเมินผล 3 ระดับ คือ 1) ประสิทธิ ภาพ เช่น การจัดอบรมได้ ตามแผนงาน ความพึงพอใจในการฝึ กอบรม ความสามารถของ วิทยากร ฯลฯ 2) ประสิทธิผล เช่น ความรู้และทักษะที่เพิ่มขึ ้น การปรับเปลีย่ นพฤติกรรม โดยศูนย์ฝึกอบรมฯดาเนินการ ทดสอบความรู้ (Knowledge Survey Check) ของแต่ละสาขา อย่างน้ อย 1 ครัง้ /ปี 3) ผลกระทบต่อธุรกิจ เช่น การเพิ่มขึ ้นของยอดขาย ความพึงพอใจของลูกค้ า บริ ษัทฯ เริ่ มวางแผนงาน การติดตามผลโดยดูจากยอดขาย หรื อ ความพึงพอใจในการให้ บริ การที่เพิ่มขึ ้นหลังจากอบรม
75
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ข้ อมูลการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน การลงทุนด้ านการฝึ กอบรมและพัฒนา (ล้ านบาท)
2555 7.79
2556 5.57
สถิติการฝึ กอบรม Classroom (คน) e-Learning (คน) เฉพาะสาขา OJT(1) (คน) เฉพาะสาขาเปิ ดใหม่ Classroom (ชั่วโมง) e-Learning (ชั่วโมง) เฉพาะสาขา
24,987 3,502 1,137 221,364 18,664
26,736 4,909 1,178 217,120 16,411
2557 8.89 21,953 (2) 6,033 823 183,823 21,906
OJT (ชั่วโมง) เฉพาะสาขาเปิ ดใหม่ 206,934 354,578 207,396 จานวนชั่วโมงการฝึ กอบรมโดยเฉลี่ยต่ อคน กลุ่มพนักงานบริหารระดับสูง 60.24 55.57 31.59 (3) กลุ่มพนักงานบริหารระดับกลาง 66.21 51.56 50.34 กลุ่มพนักงานบริหารระดับต้ น 134.96 91.01 38.75 กลุ่มพนักงานระดับปฏิบัติการ 77.41 103.92 49.93 จานวนชั่วโมงการฝึ กอบรมโดยเฉลี่ยต่ อคนต่ อปี 84.71 75.52 45.04 (4) ความรู้ ของพนักงานสาขา (หลังอบรม) 95.70% 96.20% 96.00% หมายเหตุ : (1) OJT (On-the-job Training) คือ การอบรมในพื ้นที่ปฏิบตั ิงานจริง สอนงานโดยหัวหน้ างาน (2) จานวนพนักงานที่ผ่านการอบรมแบบ Classroom ลดลง เนื่องจากมีการพัฒนาหลักสูตรอบรมผ่าน e-Learning เพิ่มมากขึ ้น เน้ นการสร้ างวัฒนธรรมการสอนงานที่สาขา ซึ่งทาให้ พนักงานไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทาง และช่วยลดค่าใช้ จ่ายในการ เดินทางลง (3) จานวนชัว่ โมงการอบรมของผู้บริหารระดับสูงลดลงจากปี ก่อน เนื่องจากปี 2557 จัดหลักสูตรการพัฒนาผู้นา ให้ กับ ผู้บริ หาร สาขาและกลุม่ ปฏิบตั ิการเท่านัน้ (4) จานวนชัว่ โมงการฝึ กอบรมเฉลี่ยต่อคน ลดลง เนื่องจากมีการปรับปรุงหลักสูตร โดยกาหนดจานวนวันที่อบรม Classroom ให้ เหมาะสม จัดอบรมในส่วนของ process การทางานเบื ้องต้ น หากเป็ นการทางานขัน้ advance ให้ ผ้ บู ังคับบัญชาสอน เพิ่มเติมที่สถานที่ปฏิบตั ิงาน
โครงการทุนการศึกษา ปวส. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้ าปลีก
วิทยาการค้ าปลีกเป็ นพื ้นฐานของการค้ าขาย และสามารถนาไปใช้ ในการบริ หารธุรกิจได้ ตงแต่ ั ้ ขนาดเล็กไป จนถึงขนาดใหญ่ ในอดีตที่ผ่านมาไม่มีสถาบันการศึกษาใดในประเทศไทยที่เปิ ดสอนสาขาวิชาทางด้ านนี อ้ ย่าง ชัดเจน บุคลากรส่วนใหญ่ในธุรกิจค้ าปลีกเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิงานจริ ง ในขณะที่ธุรกิจค้ าปลีกในประเทศไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง บริ ษัทฯ ได้ เล็งเห็นถึงความสาคัญของ การพัฒนาความก้ าวหน้ าในองค์ความรู้ ด้านการค้ าปลีก และมีความมุ่งมัน่ ที่จะส่งเสริ มการพัฒนาบุ คลากรเพื่อ รองรับการขยายตัวดังกล่าว โดยได้ มีการลงนามบันทึกข้ อตกลงความร่ วมมือกับสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (สอศ.) เพื่อสร้ างความร่วมมือด้ านการจัดการอาชีวศึกษาและฝึ กอบรมวิชาชีพประเภทวิชาพณิชยก รรม สาขาธุรกิจค้ าปลีก
76
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
โครงการนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อร่ วมมือในการจัดการเรี ยนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ตลอดจนเปิ ด โอกาสให้ นกั เรี ยน นักศึกษาเข้ ารับการฝึ กประสบการณ์ด้านวิชาชีพ ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาธุรกิจค้ าปลีก ให้ มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ตรงจากการปฏิบตั ิงานจริ งในสถานประกอบการ ความร่ วมมือครัง้ นี ้จะเป็ น การพัฒนาการจัด การเรี ย นการสอนที่ส่ง เสริ ม ให้ นัก ศึก ษามี สมรรถนะอาชี พ สอดคล้ อ งกับ วิ ช าชี พ ครู และ นักศึกษาที่ผ่านการอบรม และฝึ กปฏิบตั ิงานภายใต้ ความร่ วมมือนี ้จะมีโอกาสเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ ด้ านวิชาชีพในสถานประกอบการได้ กว้ างขวางยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้ างโอกาสให้ นักศึกษาได้ เรี ยนรู้ ทักษะการทางานเกี่ยวกับธุรกิจและบริ การในสถานการณ์ จริ งซึ่งจะช่วยส่งเสริ มให้ มีความรักในอาชีพและเห็น ความก้ า วหน้ า ของเส้ น ทางอาชี พ ในอนาคต โดยสานัก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึก ษา จะมี ก ารจัด 2 โปรแกรม คือ โปรแกรมการจัดการเรี ยนการสอนระบบทวิภาคีระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) และ โปรแกรมการฝึ กงาน 1 ปี การศึกษา รายละเอียดการมอบทุนการศึกษาในปี ที่ผา่ นมามีดงั นี ้ ปี
รุ่ นที่
จานวนสถานศึกษาที่เข้ าร่ วม
จานวนทุน
(แห่ ง)
1 2 3
2555 2556 2557 รวม
6 10 11 27
มูลค่ าทุนรวม (บาท)
64 123 183 370
1,843,200 3,542,400 5,472,000 10,857,600
ในปี 2557 ที่ผ่านมา บริ ษัทฯ ได้ มอบทุนการศึกษาให้ กบั สถานศึกษาเพิ่มขึ ้นจากปี ที่แล้ ว 11 แห่ง โดยรวม แล้ วมีสถานศึกษาที่บริ ษัทฯ ให้ ทนุ ทังสิ ้ ้น 21 แห่ง รายชื่อสถานศึกษาที่เข้ าร่ วมโครงการ 1) 2) 3) 4) 5) 6)
ปี 2555 วิทยาลัยอาชีวศึกษาธนบุรี วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี วิทยาลัยพณิชยการบางนา วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
ปี 2556 7) วิทยาลัยพณิชยการอินทราชัย 8) วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ 9) วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี 10) วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน
11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21)
ปี 2557 วิทยาลัยเทคนิคระยอง วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม วิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี วิทยาลัยบึงพระพิษณุโลก วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์
77
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สถานศึกษาที่เข้ าร่ วมโครงการในครัง้ นี ้ ถือเป็ นผู้ที่มีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อความสาเร็ จของโครงการ กล่าวคือสถานศึกษาและบริ ษัทฯ ได้ มีสว่ นร่ วมในการออกแบบรายวิชาที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ บณ ั ฑิตมีความรู้ ด้ านวิชาการที่ทนั สมัย จึงทาให้ บริ ษัทฯ มัน่ ใจในว่าบัณฑิต (บุคลากรใหม่) มีความรู้ ที่เหมาะสมตรงกับความ ต้ องการของบริ ษัทฯ การได้ รับความร่ วมมือจากหลายภาคส่วนในครัง้ นี ้ จึงอาจกล่าวได้ ว่าเป็ นการบูรณาการ การศึ ก ษาครั ง้ ส าคัญ ของประเทศไทย ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ศัก ยภาพให้ ผ้ ู เรี ย นได้ เ รี ย นรู้ ทัง้ ภาคทฤษฎี และมี ประสบการณ์ จริ งจากการฝึ กภาคปฏิบัติที่ครบถ้ วน ภายใต้ การดูแลอย่างใกล้ ชิดจากศูนย์ บริ การการศึกษา (Education Service Centre) ของบริ ษัทฯ ในปี 2557 มีนกั ศึกษาในโครงการผ่านการฝึ กอาชีพในระบบทวิภาคี และได้ เข้ าร่วมพิธีมอบประกาศนียบัตร “โครงการทุนการศึกษาทวิภาคี” รุ่นที่ 1 ที่เข้ าร่วมโครงการตังแต่ ้ ปี 2555 จานวน 48 คน พร้ อมทังได้ ้ เข้ าบรรจุเป็ น พนักงานโฮมโปรแล้ ว 35 คน ใน 15 สาขา ได้ แก่ สาขารังสิต รัตนาธิเบศร์ แฟชัน่ ไอส์แลนด์ ฟิ วเจอร์ มาร์ ท พารา ไดซ์พาร์ ค เพลินจิต พระราม 2 ประชาชื่น แจ้ งวัฒนะ เพชรเกษม สุวรรณภูมิ สุขาภิบาล 3 เมกา บางนา เชียงราย และราชบุรี
ระบบเทคโนโลยีเพื่อใช้ ในการบริหารทรัพยากรบุคคล
บริ ษัทฯ ได้ นาระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารจัดการทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management System หรื อ HRMS) มาใช้ อย่างเต็มรู ปแบบต่อเนื่องจากปี 2550 โดยพนักงานสามารถดาเนินการผ่านระบบ ออนไลน์ ได้ ด้วยตนเอง ทังเรื ้ ่ องการตรวจสอบประวัติเวลาการทางาน การลา การเบิกค่ารั กษาพยาบาล การ ประเมินผล การปฏิบตั ิงานและศักยภาพเฉพาะตัวบุคคล เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ สามารถลดขันตอนการอนุ ้ มตั ิต่างๆ ทาให้ พนักงานบริ หารเวลาได้ อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้น รวมถึงกรประมวลผลค่าจ้ างและเงินเดือนที่มีความรวดเร็ ว และแม่นยา เพื่อรองรับการขยายตัวของบริ ษัทฯ ต่อไปในอนาคต
การปฏิบัติต่อแรงงานอย่ างเป็ นธรรม
บริ ษัทฯ มีการปฏิบตั ิต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม บนพื น้ ฐานของกฎหมาย และความเหมาะสมของสภาวะ ทางธุรกิจ พนักงานได้ รับค่าตอบแทนที่เป็ นธรรม เหมาะสมกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ โดยจ่ายค่าแรงงานสูงกว่า ค่าแรงขัน้ ต่า จัดให้ มีกองทุนสารองเลี ้ยงชี พ ไม่มีการกดขี่แรงงาน และใช้ แรงงานเด็ก ไม่มีสญ ั ญาจ้ างที่ไม่ ยุติธรรม และไม่มีสหภาพแรงงาน การจ้ างคนพิการ 78
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ มีนโยบายไม่เลือกปฏิบตั ิและให้ โอกาสที่เท่าเทียมกันในการจ้ างงาน โดยมีการจ้ างงานคน พิการตามกฎหมายการจ้ างงานคนพิการ ประจาปี 2555 และสนับสนุน ส่งเสริ มให้ คนพิการได้ ทางานเท่า เทียมกับคนปกติในตาแหน่งที่สามารถทาได้ เช่น งานฝ่ ายขาย งานซ่อมบารุ ง บริ การให้ ข้อมูลลูกค้ า (Call Center) บริ การส่งสินค้ า ฝ่ ายธุรการ เป็ นต้ น ข้ อมูลจานวนพนักงานผู้พิการของบริ ษัทฯ ในปี 2555 – 2557 เป็ นดังนี ้ 2555 2556 2557 83 91 101 7,974 9,051 9,586 หมายเหตุ : รอบการรายงานจานวนพนักงานผู้พิการ ที่กาหนดโดย สานักส่งเสริ มและพัฒนาชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย์ จานวนพนักงานผู้พิการ พนักงานทัง้ หมด ณ วันที่ 1 ตุลาคม *
การคุ้มครองพนักงานตัง้ ครรภ์ บริ ษัทฯ ให้ การคุ้มครองพนักงานที่ตงครรภ์ ั้ โดยให้ สิทธิการลาคลอดตามที่กฎหมายกาหนด หากเป็ น พนักงานขาย จะจัดเวลาทางานให้ อยู่ในรอบกะเช้ า ไม่อนุญาตให้ ทางานล่วงเวลา หรื อทางานในวันหยุด ไม่ให้ ทางานที่ต้องยืนเป็ นเวลานาน หรื อยกของหนัก นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ได้ มอบชุดคลุมท้ อง และของเยี่ยม อีกด้ วย สภาพแวดล้ อม การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยแก่ พนักงาน - การตรวจสุขภาพ
บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารตรวจสุข ภาพประจ าปี ส าหรั บ พนัก งานทุ ก ระดั บ โดยได้ มอบหมายให้ โรงพยาบาล เวิลด์ เมดิคอล เซ็นเตอร์ โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รัตนาธิเบศร์ และโรงพยาบาลคู่สญ ั ญา อื่น โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ พนักงานได้ ตรวจเช็คสภาพร่ างกาย รับคาแนะนาในการดูแลสุขภาพจาก แพทย์ โดยมีรายการตรวจพื ้นฐานทังหมด ้ 11 รายการ โดยในปี 2557 พนักงานที่มีอายุงานมากกว่า 1 ปี เข้ ารับการตรวจสุขภาพจานวน 6,428 คน จาก พนักงานที่มีสิทธิ ทงหมด ั้ 6,586 คน สาหรับพนักงานที่มีอายุงานน้ อยกว่า 1 ปี จะไม่ได้ รับการตรวจ สุขภาพตามรอบ เนื่องจากได้ ผา่ นการตรวจสุขภาพตามที่บริ ษัทฯ กาหนดก่อนเข้ าทางานเรี ยบร้ อยแล้ ว - การสร้ าง และปรับปรุ งอาคารสานักงาน
ด้ วยการเล็งเห็นว่าสถานที่ทางานที่ดีมีผลต่อศักยภาพและความสุขของพนักงาน ในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ เปิ ดอาคารสานักงานใหญ่อาคารใหม่ บริ เวณใกล้ เคียงกับสาขาประชาชื่น ตามแนวคิด “ทางานแล้ ว ต้ องมีความสุข” โดยอาคารใหม่มีทงหมด ั้ 7 ชัน้ มีการจัดสวน indoor เพื่อให้ พนักงานรู้ สึกผ่อนคลาย จากการทางาน นอกจากนี ้ยังได้ สร้ างห้ องออกกาลังกาย ที่เปิ ดให้ บริ การทุกวันตังแต่ ้ เวลา 06.15 – 22.00 น. สร้ างห้ องเอนกประสงค์สาหรับประชุม หรื อทากิจกรรมต่างๆ
79
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สาหรับอาคารเดิม บริ ษัทฯ ได้ ปรับปรุ งทังส่ ้ วนสานักงาน และห้ องอาหาร โดยได้ มีการปรับปรุ งให้ มี รูปแบบที่ทนั สมัยและสวยงามมากขึ ้น ด้ านห้ องอาหาร บริ ษัทฯ คานึงถึงเรื่ องสุขอนามัยเป็ นสาคัญ โดย ได้ ควบคุมความสะอาดทังในเรื ้ ่ องของอาหาร น ้าดื่ม ภาชนะและอุปกรณ์อื่นๆ รวมถึง มีการกาหนดให้ จาหน่ายอาหารในราคาประหยัด เนื่องจากบริ ษัทฯ ได้ ยกเว้ นค่าเช่าพื ้นที่ให้ กบั ผู้ประกอบการ - ความปลอดภัยในการทางาน
ความปลอดภัย และสุขอนามัยของพนักงานเป็ นปั จจัยสาคัญอย่างยิ่ง บริ ษัทฯ จึงให้ ความสาคัญ และจัดสภาพแวดล้ อมในที่ทางานให้ มีความเหมาะสม คัดสรรวัสดุอปุ กรณ์ที่ปลอดสารพิษ ไม่มีสารเคมี ตกค้ า ง เพื่ อป้องกันการเกิ ดมลพิ ษ สารเคมี ในระหว่างการปฏิบัติงาน มีก ารจัด อุปกรณ์ เพื่อ ความ ปลอดภัย ไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพในระยะสันและระยะยาว ้ เช่น การมีเข็มขัด Back Support สาหรับ พนักงานยกกระเบื ้อง ยกของหนัก การมีพดั ลมระบายอากาศให้ กบั พื ้นที่ Back Stock เป็ นต้ น ด้ าน สภาพแวดล้ อมในการทางาน มีการจัดให้ การตรวจวัดสภาพแวดล้ อมในการทางาน ได้ แก่ การตรวจวัด แสงสว่างในการทางาน เป็ นต้ น นอกจากนี ้ยังมีการกาหนดนโยบายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน โดยกาหนดหน่วยงาน รับผิดชอบในด้ านความปลอดโดยเฉพาะ ทาหน้ าที่ ฝึ กอบรม ให้ ความรู้ แก่พนักงาน ตรวจสอบและให้ คาแนะนาสภาพแวดล้ อมในการทางาน ประเมินความเสี่ยงอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงมีการรณรงค์และจัด กิจกรรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน พร้ อมตรวจติดตามผล โดยในปี ที่ผ่านมามีสถิติการเกิด อุบตั ิเหตุ ดังนี ้ จานวนอุบัติเหตุท่เี กี่ยวข้ องกับการทางาน จานวนการเกิดอุบัติเหตุ (ครัง้ ) จานวนสาขา
2555 15 52
2556 14 64
2557 14 71
อัตราการเกิดอุบัติเหตุต่อจานวนสาขา
0.28
0.21
0.20
ในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ มีการเข้ าร่ วมโครงการลดอุบตั ิเหตุให้ เป็ นศูนย์กบั ทางจากกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน โดยได้ รางวัลทังสิ ้ น 17 สาขา แบ่งเป็ นระดับต้ น (มีชวั่ โมงการทางานสะสมของลูกจ้ าง น้ อยกว่า 1,000,000 ชัว่ โมง) 16 สาขา ได้ แก่ สาขาตรัง ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา ภูเก็ต ภูเก็ต (ฉลอง) ร้ อยเอ็ด ระยอง บุรีรัมย์ ราชบุรี ลพบุรี หาดใหญ่ เมกะบางนา อุดรธานี อุบลราชธานี ประชาชื่น 80
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
และนครศรี ธรรมราช และระดับทองแดง (มีชั่วโมงการทางานสะสมของลูกจ้ างตังแต่ ้ 1,000,000 – 2,999,999 ชัว่ โมง) ได้ แก่ สาขาพิษณุโลก นอกจากนี ้ยังได้ รับรางวัล “องค์กรต้ นแบบคุณภาพแห่งความสุข ” จากสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ปทุมธานีและสานักงานกองทุนสนับ สนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) เนื่องจากบริ ษัทฯมีการดาเนิน ธุรกิจที่ควบคู่ไปกับการสร้ างความสุขในที่ทางาน โดยการนา Happy Workplace มาเป็ นเครื่ องมือใน การพัฒนาองค์กรให้ บคุ ลากรมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีและมีความสุขอย่างยัง่ ยืน
ความพึงพอใจของพนักงาน บริ ษัทฯ สารวจความพึงพอใจของพนักงานทุกปี เพื่อเปิ ดโอกาสให้ พนักงานได้ แสดงความคิดเห็นในเรื่ อง ต่า งๆ และน าข้ อ เสนอแนะมาพิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง สภาพแวดล้ อ มการท างาน ทัง้ ในเรื่ อ ง สวัสดิ ก าร ห้ อ งน า้ ห้ องอาหาร อุปกรณ์ และเครื่ องมือเครื่ องใช้ ในการทางาน บรรยากาศการทางาน เพื่อนร่ วมงาน การบังคับ บัญชา การถ่ายทอดงานเพื่อให้ พนักงานทางานอย่างมีความสุข สาหรับในปี 2557 คะแนนความความพึงพอใจ ที่วดั ได้ อยูท่ ี่ 86.4 คงที่จากปี ก่อน ความพึงพอใจโดยรวม
ความหลากหลายขององค์ กร สัดส่วนพนักงานแยกตามเพศ หญิง 47%
ชาย 53%
4,119 คน
4,638 คน
2555
2556
2557
86.0
86.4
86.4
สัดส่วนพนักงานแยกตามอายุ 30 – 39 ปี 52.0% 4,550 คน
20 – 29 ปี 40.8% 3,572 คน
สัดส่วนพนักงานแยกตามลักษณะการจ้ าง
สัดส่วนพนักงานแยกตามอายุงาน 2 – 5 ปี 30%
ประจา 96%
ชัว่ คราว 4%
8,757 คน
406 คน
2,630 คน
1 – 2 ปี 18% 1,572 คน
40 – 49 ปี 6.7% 585 คน
> 50 ปี 0.4% 36 คน
< 20 ปี 0.2% 14 คน
5 – 10 ปี 17% 1,532 คน > 10 ปี 8% 689 คน ทดลองงาน 8% 679 คน 4 เดือน - 1 ปี 19% 1,655 คน
81
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สัดส่วนของผู้บริ หารระดับสูงแยกตามเพศ หญิง 47% 7 คน
สัดส่วนพนักงานแยกตามภูมิลาเนา เหนือ 9% 790 คน ชาย 53% 8 คน
ตะวันตก 6% 482 คน
ใต้ 16% 1,395 คน
กลาง 38%
3,291 คน
ตะวันออก 597 คน 7% 25%
ตะวันออกเฉียงเหนือ 2,202 คน
ความรับผิดชอบต่ อลูกค้ า เนื่องจากสินค้ าส่วนใหญ่ของบริ ษัทฯ เป็ นสินค้ าที่มีรายละเอียดของวิธีการ และขันตอนการใช้ ้ งานที่ต้องมีการ ถ่ายทอดให้ กบั ลูกค้ า บริ ษัทฯ จึงจัดให้ บริ การด้ านต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยเริ่ มตังแต่ ้ การให้ คาปรึกษา และข้ อมูลที่จะเป็ น ประโยชน์ต่อการตัดสินใจ เพื่อให้ ลกู ค้ าสามารถเลือกซื ้อสินค้ าได้ ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้ งานมากที่สดุ อีกทังยั ้ งมี บริ การ “โฮม เซอร์ วิส” (Home Service) ที่ให้ บริ การครอบคลุมงานออกแบบห้ องด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ 3 มิติ (3D Design) และงานบริ การ 3 กลุม่ หลักได้ แก่ งานบริ การติดตัง้ (Installation Service) งานตรวจเช็ค และบารุ ง รักษา เครื่ องใช้ ไฟฟ้ า (Maintenance Service) และงานบริ การปรับปรุ ง และตกแต่งบ้ าน (Home Improvement Service) ทังนี ้ ้ยังมีบริ การจัดหาช่างและผู้รับเหมา บริ การเปลี่ยนคืนสินค้ า การจัดสาธิต DIY (Do It Yourself) และ กิจกรรม Workshop ที่เป็ นประโยชน์แก่การดูแลบ้ านของลูกค้ า บริ ษัทฯ จาหน่ายสินค้ าที่ได้ ผา่ นการตรวจสอบคุณภาพตามกฎหมาย ไม่เป็ นสินค้ าละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญา ละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ หรื อสิ ท ธิ บั ต ร รวมทั ง้ ต้ องผ่ า นการรั บ รองมาตรฐานความปลอดภั ย อาทิ เช่ น มาตรฐาน ผลิต ภัณ ฑ์ อุต สาหกรรม (มอก.) มาตรฐานของส านัก งานคณะกรรมการคุ้ม ครองผู้บ ริ โภค (สคบ.) สานัก งาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และ วัตถุอนั ตรายที่ใช้ ในทางสาธารณสุข (อย.วอส.) สินค้ ากลุม่ ฉลากเบอร์ 5 และ มาตรฐานสากลอย่าง IEC (International Electro Technical Commission - มาตรฐานที่เกี่ยวข้ องกับไฟฟ้ า) ทังนี ้ ้ใน กรณีที่เกิดปั ญหาเกี่ยวกับสินค้ า บริ ษัทฯ รับเปลีย่ นคืนภายใน 14 วัน บริ ษัทฯ มุง่ ที่จะสรรหาสินค้ าและบริ การเพื่อตอบสนอง แก้ ปัญหา และช่วยให้ ชีวิตความเป็ นอยูข่ องลูกค้ าดีขึ ้น โดยเน้ นการจาหน่ายสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพ หลีกเลีย่ งการทาการตลาดด้ วยการตัดราคา เพราะเป็ นแนวทางที่นาไปสูก่ ารลด ต้ นทุนสินค้ า ซึ่งคุณภาพสินค้ าอาจต่าลง เมื่อสินค้ าไม่ได้ คณ ุ ภาพอายุการใช้ งานจะสันลง ้ ขณะที่ลกู ค้ าต้ องซื ้อสินค้ า บ่อยขึ ้น ก็เท่ากับเป็ นการสร้ างขยะให้ เพิ่มขึ ้นเช่นกัน
การให้ บริการอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษัทฯ มีเป้าหมายและนโยบายการให้ บริ การลูกค้ าโดยเท่าเทียมกันอย่างชั ดเจน พร้ อมถ่ายทอดไปสู่ พนักงานทุกหน่วยงานทุกระดับเพื่อการปฏิบตั ิ โดยบริ การลูกค้ าด้ วยแนวคิด Service Excellence โดยมีการ กาหนดแนวปฏิบตั ิในการให้ บริ การลูกค้ าเป็ นมาตรฐานเดียวกันทุกสาขา โดยให้ การดูแลลูกค้ าทุกคน ทุกระดับ ทุกเพศ ทุกวัย ในแบบเดียวกัน ไม่เลือกปฏิบตั ิ มีการจัดลาดับการให้ บริ การก่อนหลัง มีระบบการจองคิวในการใช้
82
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ การ จัดน ้าดื่มสาหรับบริ การแก่ลกู ค้ าทุกคน จัดบริ การรถเข็นนัง่ สาหรับลูกค้ าที่เป็ นผู้พิการหรื อผู้สงู อายุ เป็ น ต้ น
การรักษาข้ อมูลของลูกค้ า บริ ษัทฯ ตระหนักถึงการเคารพสิทธิสว่ นบุคคลและการคุ้มครองข้ อมูลส่วนตัวของผู้บริ โภค จึงให้ ความสาคัญ ในเรื่ อง การดูแลรักษาข้ อมูลของลูกค้ า โดยข้ อมูลของลูกค้ าทังหมดจะถู ้ กจัดเก็บไว้ ในระบบฐานข้ อมูล การเข้ าดู ข้ อ มูล การบัน ทึก ข้ อ มูล และการแก้ ไ ขข้ อ มูล ต่า งๆ จะมี ก ารก าหนดสิท ธิ์ ก ารใช้ ง านตามระดับ (Level of Authorization) ส่วนการขอข้ อมูล การขอแก้ ไขข้ อมูล หรื อการขอใช้ สิทธิพิเศษจากบัตรสมาชิกจากลูกค้ า ก็จะมี ขัน้ ตอนที่ลูก ค้ า ต้ องแสดงความเป็ นเจ้ า ของข้ อ มูล โดยแสดงบัต รประจ าตัว ประชาชนของลูก ค้ า เพื่อ ทาการ ตรวจสอบก่อนการดาเนินการ
การอานวยความสะดวกด้ านสินค้ า และบริการ สินค้ าแต่ละชนิดของบริ ษัทฯ ได้ รับการออกแบบมาให้ เหมาะสมกับการใช้ งานในครัวเรื อน และผ่านการผลิต ที่มีมาตรฐาน คานึงถึงสิง่ แวดล้ อม ทาให้ มคี ณ ุ ภาพและคงทนต่อการใช้ งาน อีกทังมี ้ มาตรฐานในการดูแลลูกค้ าทัง้ บริ การก่อนการขาย และบริ การหลังการขาย โดยยังคงเน้ นแนวคิด Service Excellence มอบให้ กบั ลูกค้ า ดังนี ้ 1) บริการก่ อนการขาย - บริ การให้ คาแนะนาสินค้ า และบริ การต่างๆ อย่างมืออาชีพและเชื่อถือได้ เพื่อให้ มน ั่ ใจว่าลูกค้ าจะ ได้ รับสินค้ า บริ การ ที่ถกู ต้ องตรงความต้ องการ และได้ รับสิทธิประโยชน์เต็มที่ - บริ การออกแบบ 3 มิติ บริ ษัทฯ มีบริ การออกแบบให้ กบ ั ลูกค้ าที่ มีความประสงค์ปรับปรุ งห้ องน ้า ห้ องครัว หรื อต้ องการปรับเปลี่ยนกระเบื ้อง โดยผู้เชี่ยวชาญที่จะเสนอแบบให้ ตรงความต้ องการ และประโยชน์ในการใช้ งานของลูกค้ า เพื่อช่วยให้ ลกู ค้ าได้ เห็นภาพก่อนการตัดสินใจ พร้ อมทัง้ หากลูกค้ าไม่มีช่าง บริ ษัทฯ มีช่างที่เชี่ยวชาญในการลงไปปฏิบตั ิงาน และทาการควบคุมการ ปฏิบตั ิงานตามแบบ ตามกาหนดเวลาที่มีการตกลงกันด้ วย 2) บริการหลังการขาย - บริ ษัทฯ บริ การจัดส่งสินค้ าและติดตังสิ ้ นค้ ากลุม่ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ า อุปกรณ์ชุดครัว ให้ กบั ลูกค้ าตาม เงื่อนไขของบริ ษัทฯ โดยลูกค้ าสามารถแจ้ งกาหนดวันนัดหมายกับพนักงานในวั นที่ซื ้อสินค้ า โดย บริ การจัดส่งและติดตังนี ้ ้สามารถดาเนินการได้ ทกุ สาขาทัว่ ประเทศ ลูกค้ าสามารถซื ้อสินค้ าจาก สาขาใดก็ได้ การจัดส่งและติดตังสิ ้ นค้ าจะดาเนินการโดยสาขาที่ใกล้ กบั สถานที่จดั ส่งที่สดุ - บริ การซ่อมสินค้ า โดยบริ ษัทฯ จะประสานงานนาส่งให้ กับเจ้ าของผลิตภัณฑ์ พร้ อมกับติดตาม การซ่อมจนแล้ วเสร็ จ เพื่ออานวยความสะดวกให้ กบั ลูกค้ า - บริ การเปลีย่ น - คืนสินค้ า โดยลูกค้ าสามารถดาเนินการได้ ทกุ สาขาภายใน 14 วัน โดยอยู่ภายใต้ ข้ อกาหนดที่ระบุ - บริ การ “โฮม เซอร์ วิส” (Home Service) เป็ นบริ การหลังการขายที่ให้ บริ การงาน 3 กลุม่ หลักได้ แก่ (1) งานบริ การติดตัง้ (Installation Service) (2) งานตรวจเช็ค และบารุ งรักษาเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า (Maintenance Service) และ (3) งานบริ การปรับปรุ ง และตกแต่งบ้ าน (Home Improvement 83
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
Service) โดยลูกค้ าจะได้ รับบริ การจากทีมช่างผู้ชานาญงานที่มีความรู้ในงานแต่ละประเภท และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้ องเป็ นอย่างดี นอกจากนี ้ยังสามารถคุมงบประมาณ และเวลาได้ อย่างแน่นอน ภายหลังจากที่ลกู ค้ าใช้ บริ การ Home Service บริ ษัทฯ จะให้ ลกู ค้ าประเมินคุณภาพการให้ บริ การ และ ความพึงพอใจ โดยระดับความพึงพอใจในช่วงปี 2554 – 2557 เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องดังนี ้
2554
2555
2556
2557
ในปี 2557 ระดับความพึงพอใจอยูท่ ี่ 94.29% เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนที่ 93.84% โดยปั จจัยหลักมาจาก คุณภาพการให้ บริ การ และความสามารถในการปฏิบตั ิงานของทีมช่าง
การจัดการความรู้เกี่ยวกับสินค้ า (Knowledge Management) ในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ มีการจัดการความรู้ เกี่ยวกับสินค้ า (Knowledge Management) ผ่านช่องทางต่างๆ
ดังนี ้ 1) ให้ ความรู้ และเทคนิคการตกแต่งบ้ านผ่านทางสื่อออนไลน์ ได้ แก่ เว็บไซด์ของบริ ษัทฯ Facebook และ Instragram 2) กิจกรรม Workshop เพื่อให้ ความรู้เรื่ องการดูแลบ้ านแก่ลกู ค้ าดังนี ้ - การให้ ความรู้ เรื่ องฮวงจุ้ย ประจาปี 2557 และการจัดชัยภูมิทาเลเพื่อเสริ มทรัพย์รับโชค โดยมี ลูกค้ าเข้ าร่วม 70 คน และมีระดับความพึงพอใจของลูกค้ า 92% - กิจกรรมสาธิตวิธีการทาอาหาร และเครื่ องดื่มเมนูเพื่อสุขภาพ โดยจัดให้ มีการสาธิตทุกสาขา เป็ น ประจ าทุก วัน เสาร์ แ ละวัน อาทิ ต ย์ โดยในแต่ล ะเดื อ นมี ลูก ค้ า เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมรวมทุก สาขา ประมาณ 1,700 คน โดยภาพรวมลูกค้ ามีความพึงพอใจ 86% 3) การแข่งขัน Homepro Champion HomePro Champion เป็ นกิจกรรมที่บริ ษัทฯ จัดขึ ้นเป็ นประจาทุกปี ในงาน HomePro Expo โดยเปิ ด โอกาสให้ ลกู ค้ า และประชาชนทัว่ ไปสมัครเข้ าร่วมแข่งขันตกแต่ง ห้ องภายใต้ โจทย์ที่กาหนด ซึง่ ก่อนทาการ แข่งขัน บริ ษัทฯ ได้ จดั อบรมเกี่ยวกับเทคนิคการตกแต่งบ้ าน การใช้ เครื่ องมือช่าง ทักษะการทาสี ทาให้ ทกุ ทีมที่สมัครเข้ าร่ วมโครงการ ได้ รับความรู้ เกี่ยวกับเทคนิคการตกแต่งบ้ าน พร้ อมทังได้ ้ ฝึกทักษะการใช้ เครื่ องมือช่างอย่างถูกวิธี รวมทังการเลื ้ อกสินค้ าที่สามารถใช้ งานได้ ค้ มุ ค่าภายใต้ งบประมาณที่จากัด ซึ่ง นอกจากจะได้ ประโยชน์ต่อผู้แข่งขันแล้ ว ผลงานของผู้แข่งขันยังช่วยสร้ างแรงบันดาลใจให้ แก่ประชาชน ลูกค้ าท่านอื่นๆ ที่เข้ าร่วมชมผลงานอีกด้ วย สาหรับในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ จดั งานต่อเนื่องมาเป็ นปี ที่ 8 ซึ่ง ยังได้ รับผลตอบรับเป็ นอย่างดี
84
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ความรับผิดชอบต่ อคู่ค้า บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญต่อคูค่ ้ า ดูแลเป็ นเสมือนหนึ่งพันธมิตรทางการค้ าที่เติบโตไปด้ วยกัน พร้ อมทังสนั ้ บสนุน และเปิ ดโอกาสให้ ธุรกิจของคู่ค้า หรื อผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมอย่างเท่าเทียม โดยยึดประโยชน์ ร่ วมกัน ซึ่งทางบริ ษัทฯ มีมาตราการในการช่วยแบ่งเบาภาระทางด้ านต้ นทุนให้ กบั คู่ค้า หรื อผู้ประกอบการธุรกิจ และ มาตรการดังกล่าวสามารถช่วยผู้ประกอบการลดภาระทางด้ านต้ นทุน ได้ ในหลายส่วน อาทิ เช่น ภาคการจัดซือ้ : บริ ษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ คคู่ ้ ามีช่องทางในการนาเสนอสินค้ า โดยไม่กดราคา มีการคัดเลือก และการ ประเมินผลคูค่ ้ าใน 4 ด้ าน คือ ด้ านความสามารถทางการผลิต ด้ านคุณภาพสินค้ า ด้ านคุณภาพ การให้ บริ การ ด้ านคุณภาพและความสามารถในการจัดส่ง อีกทังวางแผนแบบมื ้ ออาชีพในการ สัง่ ซื ้อ/สัง่ ผลิตสินค้ าล่วงหน้ าอย่างน้ อย 3 เดือน เพื่อให้ คคู่ ้ าสามารถวางแผนการผลิต อันจะนามา ซึง่ ประโยชน์ทางธุรกิจร่วมกัน ภาคการค้ า :
ในปี 2557 บริ ษัทฯ มีจานวนสาขาทังหมด ้ 71 สาขาทัว่ ประเทศ จึงเป็ นการเพิ่มช่องทางการจัด จาหน่ายสินค้ าให้ กับคู่ค้า หรื อผู้ประกอบการ ได้ มากขึน้ จากเดิมที่มีอยู่ และเป็ นการประหยัด ค่าใช้ จ่ายให้ กับคู่ค้าในการจัดส่งสินค้ าและบริ การที่มีคุณภาพแก่ลูกค้ า อีกทัง้ ยังมีการพัฒนา ความรู้ตวั แทนแต่ละฝ่ ายของคูค่ ้ า เช่น พนักงานช่วยขาย PC (Product Consultant) เป็ นต้ น
ภาคการบริการ : บริ ษัทฯ มีศนู ย์กระจายสินค้ า เพื่อสนับสนุนการกระจายสินค้ าไปยังแหล่งต่างๆ ทัว่ ประเทศให้ กบั คู่ ค้ าเพื่อช่วยลดต้ นทุน ด้ านการขนส่ง และการกระจายสินค้ า ทัง้ ยังสะดวกรวดเร็ ว และทันสมัย รวมทังยั ้ งมีระบบ VRM (Vendor Relationship Management) เพื่อสนับสนุนข้ อมูลในทุกๆ ด้ าน ดูแลคู่ค้าเสมอเหมือนพันธมิตรทางการค้ าที่สามารถรับรู้ และเห็นข้ อมูลของตัวเองเช่นเดียวกับที่ บริ ษัทฯ
เกณฑ์ ในการคัดเลือกคู่ค้า ในการดาเนินธุรกิจ บริ ษัทฯ ยึดปฏิบตั ิตาม พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้ า ตามมติคณะกรรมการการแข่งขัน ทางการค้ าในปี พ.ศ. 2549 ที่ประกาศใช้ เกณฑ์แนวทางพิจารณาการปฏิบตั ิทางการค้ าระหว่างผู้ประกอบธุรกิ จค้ า ส่งค้ าปลีกกับผู้ผลิต/ผู้จาหน่าย ภายใต้ พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. 2542 และเพื่อให้ สามารถดาเนินธุรกิจได้ สอดคล้ องตามประกาศข้ างต้ น บริ ษัทฯ ได้ ตกลงร่วมกันในการปรับแก้ ข้อ สัญญากับบริ ษัทคูค่ ้ าให้ มีความละเอียด และชัดเจนยิ่งขึ ้น 85
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ ดูแลคูค่ ้ าเสมือนเป็ นหุ้นส่วนในการทาธุรกิจระหว่างกัน สาหรับเกณฑ์ในการคัดเลือกมีดงั นี ้ 1) มีประวัติทางการเงินที่เชื่อถือได้ และมีศกั ยภาพที่จะเติบโตไปพร้ อมกับบริ ษัทฯ ได้ ในระยะยาว 2) ผลิต หรื อจาหน่ายสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพตรงกับความต้ องการ และสามารถตรวจสอบคุณภาพได้ 3) ให้ การสนับสนุนด้ านการส่งเสริ มการขาย และการให้ บริ การหลังการขายแก่ลกู ค้ า โดยบริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎหมายทรัพย์ สินทางปั ญญา โดยจะไม่จาหน่ายสินค้ าที่ละเมิด ลิขสิทธิ์ และเครื่ องหมายทางการค้ า สาหรับการคัดเลือกสินค้ ามาจาหน่าย บริ ษัทฯ จะทาการตรวจสอบก่อน และ หากไม่มีการละเมิดผู้ใด บริ ษัทฯ จะทาการจดทะเบียนให้ ถกู ต้ อง
Vendor Day บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญกับการรับผิดชอบต่อคูค่ ้ า ด้ วยการปฏิบตั ิตอ่ คูค่ ้ าอย่างเป็ นธรรม มีการเปิ ดเผยข้ อมูล ทางด้ านวิสยั ทัศน์ เป้าหมายธุรกิจ และทิศทางการดาเนินธุรกิจทังในระยะกลางและระยะยาว ้ ผ่านการจัดงาน Vendor day เพือ่ เปิ ดโอกาสให้ คคู่ ้ าได้ พบปะกับผู้บริ หาร ได้ ซกั ถาม และแลกเปลีย่ นข้ อมูลทางธุรกิจที่จะนามาซึง่ ประโยชน์ร่วมกัน
การยกระดับความตระหนักเรื่องความรับผิดชอบต่ อสังคมให้ แก่ ค่ คู ้ า บริ ษัทฯ ร่วมกับบริ ษัท อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย จากัด จัด “โครงการซักผ้ าได้ บุญ ” ซึ่งเป็ นโครงการที่เปิ ดโอกาสให้ ลูกค้ านา เสื อ้ ผ้ า มาร่ ว มบริ จ าคที่ โ ฮมโปร แล้ ว น าเสื อ้ ผ้ า ที่ ไ ด้ จ ากการรั บ บริ จาคมาซัก อบ รี ด ก่อนนาไปบริ จาคให้ กบั โรงเรี ยนที่ขาดแคลน ในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ จดั กิจกรรมนี ้เป็ นครัง้ ที่ 5 ที่โรงเรี ยน สาธิ ตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต โดยได้ ขอรับบริ จาคเสื ้อผ้ าจากเด็ก นัก เรี ย น และได้ ผ้ ูเ ชี่ ย วชาญจากอี เ ล็ก โทรลัก ซ์ ม าให้ ก ารสาธิ ต วิธีการซัก อบ รี ด และให้ ความรู้ เรื่ องการดูแลรักษาเสื ้อผ้ า และได้ ปลูกฝั งการเป็ นผู้ให้ สาหรับเสื ้อผ้ าที่ได้ จากการรับบริ จาคในครัง้ นี ้มี จานวน 2,000 ชิ ้น ทางบริ ษัทฯ ได้ สง่ มอบให้ กบั นักเรี ยนโรงเรี ยน บ้ า นบ่อ ส าราญ อ าเภอดอนเจดี ย์ จัง หวัด สุพ รรณบุรี ซึ่ง มี เ ด็ ก นักเรี ยนที่ได้ รับประโยชน์ มากกว่า 140 คน
86
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
โครงการเถ้ าแก่ น้อย บริ ษัทฯ ให้ การสนับสนุนและช่วยเหลือคู่ค้า บริ ษัท Outsource บริ ษัทรับเหมาช่วงรายย่อยที่ยงั ขาดทุน ทรัพย์ หรื อสิ่งอานวยความสะดวกพื ้นฐานในการทาธุรกิจ ร่ วมกันสร้ าง “โครงการเถ้ าแก่น้อย” โดยบริ ษัทฯ ได้ กระจายงานด้ านการจัดส่ง งานบริ การ Home Service ให้ กบั ผู้รับเหมาช่วงภายนอก ทีมช่างที่เข้ าร่ วมโครงการ จะได้ รับการฝึ กอบรมเพื่อให้ ทราบถึงนโยบาย วิธีการและขันตอนการปฏิ ้ บตั ิงาน เพื่อสามารถให้ บริ การลูกค้ าได้ ภายใต้ มาตรฐานการปฏิบตั ิงานเดียวกัน รายละเอียดของช่างที่เข้ าร่วมโครงการ และสัดส่วนที่ได้ รับงานมีดงั นี ้ จานวนช่ างที่เข้ าร่ วมโครงการ (คน) - งานไฟฟ้า (กรุ งเทพฯ) - งานไฟฟ้า (ต่ างจังหวัด) - งานขนส่ ง - งานปรับปรุ งบ้ าน (กรุ งเทพฯ) - งานปรับปรุ งบ้ าน (ต่ างจังหวัด) สัดส่ วนที่ได้ รับงานจากโฮมโปร - งานไฟฟ้า (กรุ งเทพฯ) - งานไฟฟ้า (ต่ างจังหวัด) - งานขนส่ ง - งานปรับปรุ งบ้ าน (กรุ งเทพฯ) - งานปรับปรุ งบ้ าน (ต่ างจังหวัด)
2555 168 44 104 20
2556 230 76 144 10
2557 728 108 294 10 128 188
42%
44% 13% 100%
44% 36% 100% 98% 100%
100%
โครงการสุดยอดช่ างมืออาชีพโฮมโปร บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาส่วนงานบริ การที่ครบวงจร ซึ่งนอกจากการยกระดับ มาตรฐานการบริ การของพนักงานแล้ ว ยังมุง่ เน้ นการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานที่เ กี่ยวข้ อง โดยเฉพาะในด้ าน Home Service จึงได้ ทาการจัดการแข่งขัน “สุดยอดช่างมืออาชีพโฮมโปร” โดยวัตถุประสงค์หลักเพื่อยกระดับ ฝี มือทีมช่าง Home Service ให้ มีมาตรฐานเทียบเคียงสากล นอกจากนี ้ยังเป็ นการปลูกฝั งหัวใจรักในงานบริ การ ให้ เกิดขึ ้นกับทีมช่างแขนงต่างๆ ซึง่ ถือเป็ นหน้ าด่านของการสร้ างความประทับใจให้ แก่ลกู ค้ า ในปี 2557 นี ้ บริ ษัทฯ ได้ จดั การแข่งขันต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 4 โดยได้ ร่วมกับกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน กระทรวง แรงงาน บริ ษัท เซอรา ซี-เคียว จากัด ห้ างหุ้นส่วนจากัด นวภัส โปรดักส์ บริ ษัท รู บี ไทยแลนด์ จากัด และบริ ษั ท อิเล็คโทรลักซ์ ประเทศไทย จากัด จัดการแข่งขันที่ สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงาน ภาค 1 จังหวัดสมุทรปราการ การ แข่งขันแบ่งออกเป็ น 3 สาขา คือ ช่างปูกระเบื ้อง ช่างติดตังเครื ้ ่ องปรับอากาศ และช่างติดตังเครื ้ ่ องซักผ้ า โดย จานวนช่างที่เข้ าร่วมการแข่งขันมีดงั นี ้ จานวนช่ าง (คน) จานวนทีม (ทีม)
2555 120 60
2556 120 60
2557 104 52
87
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ช่างที่ชนะการแข่งขันได้ รับเงินรางวัลมากกว่า 220,000 บาท พร้ อมกับประกาศนียบัตรรับรอง นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังรับประกันการจ่ายงานให้ ทงปี ั ้ ผลงานของช่างที่ชนะการแข่งขันจะถูกนาไปเป็ นมาตรฐานในการ ให้ บริ การ Home Service โดยภายหลังการแข่งขัน ทีมช่างเกิดการแข่งขันกันในเรื่ องของผลงาน จานวนงานที่ ได้ รับจากบริ ษัทฯ ผลตอบแทนที่ได้ เป็ นต้ น ซึง่ เหล่านี ้ช่วยทาให้ คณ ุ ภาพการให้ บริ การแก่ลกู ค้ าสูงขึ ้น
ความรับผิดชอบต่ อผู้ถอื หุ้น บริ ษัทฯ รับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นโดยดาเนินธุรกิจด้ วยความซือ่ สัตย์ โปร่งใส ดาเนินการใดๆ ด้ วยความเป็ นธรรมต่อ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน รวมทังมุ ้ ง่ สร้ างผลตอบแทนที่ดีให้ กบั ผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่องในระยะยาว และป้องกัน การแสวงหาผลประโยชน์จากการใช้ ข้อมูลภายในที่ยงั ไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณะชน เพื่อประโยชน์สงู สุดของผู้ถือหุ้น โดยรวม สาหรั บ “สิทธิของผู้ถือหุ้น” และ “การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน” ได้ อธิบายไว้ ที่หัวข้ อ “การ กากับดูแลกิจการที่ด”ี ความรับผิดชอบต่ อเจ้ าหนี ้ บริ ษัทฯ ได้ มีการปฏิบตั ิตามสัญญา ข้ อตกลง และเงื่อนไขการค ้าประกันที่มี ต่อเจ้ าหนี ้อย่างเคร่ งครัด รายงาน ฐานะทางการเงินของบริ ษัทฯ อย่างถูกต้ อง และตรงต่อเวลา ตลอดจนมีการบริ หารเงินทุนอย่างมีประสิทธิภาพ และแจ้ ง ให้ เจ้ าหนี ้ทราบล่วงหน้ า หากไม่สามารถปฏิบตั ิตามข้ อผูกพันในสัญญาเพื่อร่ วมกันหาแนวทางการแก้ ไขและป้องกัน ไม่ให้ เกิดความเสียหาย ในการดาเนินธุรกิจ บริ ษัทฯ พึงยึดตามเงื่อนไขต่อเจ้ าหนี ้ทางการเงิน ทังเจ้ ้ าหนี ้หุ้นกู้ และเจ้ าหนี ้สถาบันการเงิน ทุกรายดังนี ้ 1) บริ ษัทฯ ต้ องดารงอัตราส่วนหนี ้สินทางการเงินที่มีดอกเบี ้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio) ไม่ เกิน 1.75 เท่า สาหรับหุ้นกู้ที่ออกก่อนปี 2556 และสาหรับหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตงแต่ ั ้ ปี 2556 กาหนดให้ ต้องดารง อัตราส่วนหนี ้สินทางการเงินที่มีดอกเบี ้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2.50 เท่า ซึง่ บริ ษัทฯ ยังคงมีฐานะการเงิน ที่แข็งแกร่ง ยังสามารถดารงอัตราส่วนดังกล่าวได้ ต่ากว่าเงื่อนไขการกู้ยืม 2) บริ ษัทฯ จะไม่ขาย จาหน่าย จ่าย หรื อ โอนทรัพย์สนิ หรื อสินทรัพย์ทงหมด ั้ หรื อแต่บางส่วนที่สาคัญที่ใช้ ในการ ประกอบธุรกิจ เว้ นแต่การกระทาดังกล่าวจะไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบต่อความสามารถในการชาระหนี ้ที่มีต่อ เจ้ าหนี ้ทางการเงิน หรื อเป็ นการกระทาอันเนื่องมาจากการประกอบธุรกิจตามปกติทวั่ ไปของบริ ษัทฯ หรื อเป็ น การกระท าเพื่ อ วัต ถุป ระสงค์ ใ นการจัด ตัง้ กองทุน รวมอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ หรื อ กองทรั สต์ เ พื่ อ การลงทุน ใน อสังหาริ มทรัพย์ (Real Estate Investment Trust) 88
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3) หากเกิ ดกรณีที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ ได้ บริ ษัทฯ จะแจ้ งให้ เจ้ าหนี ้ทราบล่ วงหน้ าเพื่อ ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาต่อไป ความรับผิดชอบต่ อคู่แข่ ง บริ ษัทฯ ปฏิบัติต่อคู่แ ข่งทางการค้ าให้ สอดคล้ อ งกับหลักสากล ภายใต้ กรอบแห่งกฎหมายเกี่ ยวกับหลัก ปฏิบตั ิการแข่งขันทางการค้ า โดยสนับสนุนการแข่งขันเสรี และต่อต้ านการสมรู้ ร่วมคิดและการแข่งขัน ที่ไม่เป็ นธรรม ไม่ ละเมิดความลับ หรื อล่วงรู้ ความลับทางการค้ าของคู่ค้าด้ วยวิธีฉ้อฉล ไม่แสวงหาข้ อมูลที่เป็ นความลับของคู่แข่งทาง การค้ าด้ วยวิธีการที่ไม่สจุ ริ ต และไม่ทาลายชื่อเสียงของคูแ่ ข่งทางการค้ าด้ วยการกล่าวหาในทางร้ าย ความรับผิดชอบต่ อชุมชน โครงการ “ห้ องนา้ ของหนู” ในปั จ จุบัน โรงเรี ย นประถมศึกษาในประเทศไทยจานวนมากยังขาดแคลนห้ องน า้ ที่ได้ มาตรฐานและถูก สุขลักษณะ รวมถึงยังขาดความรู้ และวิธีการใช้ ห้องน ้าอย่างถูกต้ อง ด้ วยปณิธานที่ต้องการยกระดับคุณภาพชีวิต และส่งเสริ มเรื่ องสุขอนามัยในการใช้ ห้องน ้าให้ กบั เด็กนักเรี ยน บริ ษัทฯ จึงได้ จดั กิจกรรมเพื่อสังคมภายใต้ ชื่อ “โครงการ ห้ องนา้ ของหนู” โดยร่ วมกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ และพันธมิตรทางธุรกิจ อาทิ บริ ษัท สยามซานิทารี่ แวร์ อินดัสทรี จากัด ผู้ผลิตและจาหน่าย สุขภัณฑ์ Cotto บริ ษัท ลิกซิล (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจาหน่ายสุขภัณฑ์ American Standard บริ ษัท โคห์เลอร์ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจาหน่ายสุขภัณฑ์ KOHLER บริ ษัท เซรามิคอุตสาหกรรม ไทย จากัด ผู้ผลิตและจาหน่ายกระเบื ้องเซรามิก Cotto บริ ษัท สหโมเสคอุตสาหกรรม จากัด (มหาชน) ผู้ผลิตและ จาหน่ายสุขภัณฑ์ กระเบื ้อง Duragres บริ ษัท พาราซโซ่ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จากัด ผู้ผลิตและจาหน่ายประตู Parazzo และบริ ษัท เบเยอร์ จากัด ผู้ผลิตและจาหน่ายสี Beger โดยได้ ท าการเข้ าตรวจสอบ และปรั บปรุ ง เพื่อยกระดับ มาตรฐานห้ องน ้าให้ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานส้ วมสาธารณะระดับประเทศ หรื อ HAS (Healthy Accessibility and Safety) คือ สะอาด พอเพียง และปลอดภัย วัตถุประสงค์ โครงการ 1) เพื่อเป็ นการยกระดับคุณภาพชีวิตให้ แก่เด็กนักเรี ยนในโรงเรี ยนชัน้ ประถมศึกษาที่ได้ รับการคัดเลือกเข้ าเป็ น โรงเรี ยนในโครงการ 2) เพื่อส่งเสริ ม และปลูกฝั งการใช้ ห้องน ้าได้ ถกู สุขอนามัยแก่เด็กนักเรี ยนชันประถมในโครงการ ้ 3) เพื่อปลูกฝั งการดูแลรักษาทรัพย์สนิ ส่วนรวมแก่เด็กนักเรี ยนชันประถมในโครงการ ้
89
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ผลการดาเนินโครงการตัง้ แต่ เริ่มต้ นถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ปี
จานวนจังหวัด
จานวนโรงเรียน
จานวนห้ องนา้
2549
1
3
20
2550
6
20
215
2551
3
11
131
2552
4
18
210
2553
5
11
219
2554
5
17
200
2555
7
20
314
2556
10
35
494
2557
7
24
333
รวม
41
159
2,136
ภาคเหนือ (4 จังหวัด 16 โรงเรียน ) เชียงใหม่ / แพร่ /เชียงราย / ลาปาง
ภาคตะวันตก (3 จังหวัด 9 โรงเรียน) จังหวัดราชบุรี / กาญจนบุรี / ประจวบคีรีขนั ธ์
ภาคใต้ ( 7 จังหวัด 34 โรงเรียน ) สุราษฎร์ ธานี / กระบี่ / ภูเก็ต / สงขลา / ตรัง / นครศรีธรรมราช / ชุมพร
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (10 จังหวัด 41 โรงเรียน) ขอนแก่น / อุดรธานี / นครราชสีมา / บุรีรัมย์ / ร้ อยเอ็ด / สกลนคร / อุบลราชธานี / ชัยภูมิ / เลย / สุรินทร์ ภาคกลาง (13 จังหวัด 41 โรงเรียน ) พระนครศรีอยุธยา / นครปฐม / ปทุมธานี / สุพรรณบุรี / ลพบุรี / สระบุรี / นครสวรรค์/ กรุงเทพฯ /สมุทรสาคร / ปราจีนบุรี / สมุทรปราการ / พิษณุโลก / เพชรบูรณ์ ภาคตะวันออก ( 4 จังหวัด 18 โรงเรียน ) ชลบุรี / ระยอง / ฉะเชิงเทรา / จันทบุรี
กิจกรรมสนับสนุนการประกอบอาชีพของชุมชน ในการขยายสาขาทุกครั ง้ บริ ษัทฯ คานึงถึงคนในชุมชนในพื ้นที่ที่เข้ าไปก่อสร้ างสาขาเป็ นสาคัญ โดยจะไม่ ดาเนินการใดๆ ที่จะกระทบต่อการประกอบอาชีพของคนในชุมชนเหล่านัน้ และได้ ให้ การสนับสนุน เช่น การใช้ บริ การ จากบริ ษัทผู้รับเหมาในท้ องถิ่น การจัดกิจกรรมตลาดนัดชุมชน การจัดงานแสดงมหกรรมสิ นค้ าธงฟ้ า ตลาดนัดต้ นไม้ อาหารพื ้นบ้ าน และหัตถกรรมพื ้นบ้ าน โดยในปี 2557 บริ ษัทฯ ได้ จดั กิจกรรมดังกล่าวรวม 21 สาขา
90
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
กิจกรรมบารุ งศาสนา บริ ษัทฯ ได้ จัดกิจกรรมทางด้ านศาสนาอยู่เสมอ โดยการส่งเสริ มให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานเข้ าร่ วมโครงการ ทอดผ้ าป่ า กฐิ นสามัคคี และการทาบุญเนื่องในวันสาคัญต่างๆ ในปี 2557 บริ ษัทฯ เป็ นเจ้ าภาพทาบุญทอดกฐิ น ณ วัด ลาผัก ชี เขตหนองจอก จ.กรุ ง เทพฯ โดยมี ผ้ ูบ ริ ห ารและพนัก งานร่ ว มกัน ตัง้ กองกฐิ น 242 กอง รวมเป็ นเงิ น กว่ า 6,466,296 บาท และได้ ร่วมทาบุญกฐิ นสามัคคี ณ วัดดาวเรื องศรี มงคล อาเภอไทรโยค จัง หวัดกาญจนบุรี รวมเป็ นเงิน 518,582 บาท นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังจัดโครงการ ทาบุญผ้ าป่ า 4 ภูมิภาค ได้ แก่ ภาคใต้ ณ วัดโคกมะม่วง จังหวัดตรัง ภาคเหนือ ณ วัดไคร้ เดชบุญเรื อง จังหวัดเชียงราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ วัดราษฎร์ สามัคคี จังหวัดอุบลราชธานี ภาคตะวันออก ณ วัดหนองฆ้ อ จังหวัดชลบุรี โครงการแบ่ งปั นทีวีเพื่อน้ อง บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญของการศึกษาในพื ้นที่หา่ งไกล จึงได้ จดั โครงการ “แบ่งปั นทีวีเพื่อน้ อง” โดยเชิญชวน ให้ ลกู ค้ าและประชนทัว่ ไปนาโทรทัศน์เครื่ องเก่าสภาพดีมาบริ จาค เพื่อแลกเป็ นส่วนลดในการซื ้อโทรทัศน์เครื่ องใหม่ที่ โฮมโปร โดยโทรทัศน์ที่ได้ มา บริ ษัทฯ ได้ นาไปบริ จาคให้ กบั โรงเรี ยนในพื ้นที่ขาดแคลนทัว่ ประเทศ ซึง่ นอกจากผู้รับจะได้ ใช้ ประโยชน์แล้ ว ยังเป็ นการช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์อีกด้ วย ในปี 2557 เครื่ องโทรทัศน์ที่ลกู ค้ านามาบริ จาคมีจานวน 1,217 เครื่ อง ซึ่งทางบริ ษัทฯ ได้ ส่งมอบให้ กบั มูลนิธิ กระจกเงาเพื่อเป็ นตัวแทนมอบต่อให้ กบั 1) 3) 5) 7) 9)
กรมราชทัณฑ์ จ.นนทบุรี บ้ านอิ่มใจ กรุงเทพมหานคร เครื อข่ายโรงเรี ยน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โรงเรี ยนตัรกี ้ยะตุลอุมมะห์ อ.ท่าแพ จ.สตูล โรงเรี ยนอันซอเรี ยะห์อดั ดีนียะห์ อ.เมือง จ.สตูล
2) 4) 6) 8)
เรื อนจาพิเศษกรุงเทพมหานคร ศูนย์การเรียนรู้ไอที โรงพยาบาลเด็ก ศูนย์ฝึกอาชีพแม่บ้าน จ.ศรี สะเกษ โรงเรี ยนธรรมศาสน์วิทยามูลนิธิ อ.กงหรา จ.พัทลุง
โครงการบริจาคโลหิต ปั จจุบนั ประมาณโลหิตสารองที่สภากาชาดไทยได้ รับบริ จาคมีไม่เพียงพอต่อความต้ องการของผู้ป่วย บริ ษัทฯ ได้ ตระหนัก และมีความต้ องการจะเป็ นส่วนหนึ่งที่ช่วยส่งเสริ มกิจกรรมเพื่อสังคม จึงได้ จดั ทาโครงการบริ จาคโลหิตขึ ้น เพื่อรับบริ จาคโลหิตจากพนักงานที่มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงให้ กับสภากาชาดไทยทุกปี ปี ละ 4 ครัง้ เพื่อสารองไว้ ช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีความต้ องการโลหิตต่อไป
91
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
จานวนโลหิตที่ได้ บริ จาคระหว่างปี 2555 – 2557 มีดงั นี ้ ปี 2555 2556 2557
จานวนที่ได้ รับบริ จาค (ยูนิต) สานักงานใหญ่ สาขา 354 438 2,454 397 2,637
รวม 354 2,892 3,034
จานวนที่ได้ รับบริจาค (มิลลิลิตร) 123,900 1,156,800 1,365,300
หากท่ านต้ องการสอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงานสามารถติดต่ อได้ ท่ ี ฝ่ าย CSR โทรศัพท์: (0) 2 832 1000 ต่อ 1702 csr@homepro.co.th บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) 96/27 หมู่ 9 ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: (0) 2 832 1000 โทรสาร: (0) 2 832 1016 www.homepro.co.th
92
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
11. การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง ในการประชุมคณะกรรมการครัง้ ที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 คณะกรรมการตรวจสอบร่ วมกับ กรรมการบริ ษัท ฝ่ ายบริ หารและจัดการของบริ ษัทฯ ได้ ทาการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดย สรุปสาระสาคัญได้ ดงั นี ้ 11.1 องค์ กร และสภาพแวดล้ อม คณะกรรมการมี ความเห็น ว่า บริ ษั ทฯ มี โครงสร้ างองค์ ก รที่ ชัด เจน และได้ ก าหนดขอบเขตอ านาจ ความ รับผิดชอบแต่ละฝ่ ายไว้ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร มีการกาหนดเป้าหมายการดาเนินธุรกิจที่ชัดเจน วัดผลได้ ซึ่งในการ กาหนดเป้าหมาย และแผนงาน ฝ่ ายจัดการและผู้บริ หารแต่ละสายงาน ได้ ร่วมกันพิจารณา และกาหนดเป้าหมายธุรกิจ พร้ อมกลยุทธ์ ในการดาเนินการ โดยใช้ ผลการดาเนินงานในปี ที่ผ่านมาเป็ นข้ อมูลเบื ้องต้ น จึงมัน่ ใจว่ามีความเหมะสม และจะดาเนินงานได้ ตามเป้าหมายที่กาหนด สาหรับนโยบาย ระเบียบปฏิบตั ิงาน และข้ อกาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรม (Code of Conduct) บริ ษัทฯ ได้ มีการ กาหนดไว้ ในคูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ บริ ษัทฯ พิจารณาปรับเปลี่ยนเป็ นครัง้ คราว เพื่อให้ เหมาะสมกับสภาวะที่เปลี่ยนแปลง ไป เพื่อเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกฝ่ าย โดยคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจนี ้ บริ ษัทฯ ได้ จัดทาโดยคานึงถึงกฎหมายและข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ อง ประกอบกับผลกระทบที่อาจเกิดกับผู้มีสว่ นได้ เสีย 11.2 การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการได้ มีการกาหนดนโยบายบริ หารความเสี่ยงโดยมุ่งเน้ นให้ มีการดาเนินการตามกระบวนการ บริ หารความเสี่ยงทัง้ องค์ กรเพื่อสนับสนุน ให้ บริ ษั ทบรรลุวัตถุประสงค์ ต ามแผนกลยุท ธ์ โดยมีการก าหนดแผนการ ดาเนินงานในทุกๆ ปี และกาหนดให้ มีการประชุมคณะผู้ บริ หารในทุกเดือน เพื่อติดตามผลการดาเนินงาน ประเมิน สถานการณ์ และแนวโน้ มของปั จจัยเสี่ยงอย่างใกล้ ชิด เพื่อกาหนดมาตรการบริ หาร และควบคุมให้ ความเสี่ยงอยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ เพื่อใช้ เป็ นเกณฑ์ในการจัดลาดับความเสีย่ งหลัก และกาหนดมาตรการในการบริ หารความเสี่ยงในแต่ ละระดับได้ อย่างชัดเจน ที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้ อมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงาน โดยส่งเสริ มให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงาน ทุกระดับที่เกี่ยวข้ องทราบและมีสว่ นร่วมปฏิบตั ิตามมาตราการบริ หารความเสีย่ งที่กาหนดไว้ 11.3
การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริหาร คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทฯ ได้ มีการกาหนดขอบเขต อานาจหน้ าที่ และวงเงินอานาจอนุมตั ิของฝ่ ายบริ หาร ในแต่ละระดับไว้ อย่างชัดเจนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และแยกหน้ าที่ความรับผิดชอบงานด้ านการอนุมตั ิ การบันทึกบัญชี และข้ อมูลสารสนเทศ และการดูแลจัดเก็บทรัพย์สนิ ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเป็ นการตรวจสอบซึง่ กันและกัน ในกรณี ที่บริ ษัทมีการทาธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อผู้ที่เกี่ยวข้ องกับบุคคลดังกล่าว บริ ษัทฯจะเสนอ รายการดังกล่าวผ่านที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และทากระทารายการนัน้ เสมือนที่กระทากับบุคคลภายนอก 11.4
ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข้ อมูล คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทฯ ได้ มีการจัดทาหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการโดยมีข้อมูลและรายละเอียดของ วาระที่จะเข้ าร่ วมประชุม พร้ อมทังสรุ ้ ปข้ อมูลต่างๆ ให้ คณะกรรมการได้ พิจารณาก่อนการประชุมล่วงหน้ าอย่างน้ อย 7 93
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
วัน และได้ จดั ให้ มีการบันทึกรายงานการประชุมกรรมการอย่างละเอียด ซึ่งทาให้ สามารถอ้ างอิง และตรวจสอบความ เหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของกรรมการได้ ในการจัดทาบัญชี บริ ษัทได้ เลือกใช้ นโนบายตามหลักการบัญชี ที่รับรองโดยทั่วไป และได้ จัดเก็ บเอกสาร ประกอบการบันทึกต่างๆ อย่างเหมาะสม โดยได้ วา่ จ้ างบริ ษัท รี คอล เอ็นเตอร์ ไพร์ ส (ประเทศไทย) จากัด ซึง่ เป็ นบริ ษัทรับ จัดเก็บเอกสารเป็ นผู้รักษาเอกสารโดยมีระบบการดูแลที่เหมาะสม 11.5
ระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นว่า บริ ษัทฯ มีการบรรจุวาระการประชุมเกี่ยวกับการติดตามผลการดาเนินงานในทุกๆ เดือน เพื่อรายงานแก่คณะกรรมการรับทราบ และให้ ข้อเสนอแนะในการปฏิบตั ิงาน สาหรับแผนงานในการดาเนินงาน และ งบประมาณ บริ ษัทฯจะมีการจัดทาและทบทวนทุกๆ ครึ่งปี บริ ษัทจัดให้ มีการตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้ อย่างสม่าเสมอ โดยใช้ นโยบาย การควบคุม 2 ระดับ คือ (1) ควบคุมกันเองระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกัน ตามหลักการควบคุมภายในที่ดี และ (2) จัดให้ มีการตรวจสอบและประเมินผลการควบคุมภายในโดยสานักตรวจสอบภายใน ซึ่งบริ ษัทฯ ได้ กาหนดให้ ผ้ ตู รวจ สอบต้ องรายงานผลตรงต่อคณะกรรมการ หรื อคณะกรรมการตรวจสอบ ทังนี ้ ้เพื่อให้ ผ้ ตู รวจสอบสามารถปฏิบตั ิงานได้ อย่างอิสระและเสนอรายงานผลการตรวจสอบได้ อย่างตรงไปตรงมา นอกจากนี ้นางกิ่งกาญจน์ อัศวรังสฤษฎ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4496 จาก บริ ษัท สานักงาน อี วาย จากัด ผู้ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษัทฯ สาหรับปี สิ ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 ได้ ให้ ความเห็นเกี่ยวกับการประเมิน ประสิทธิภาพการควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัทฯ ว่าทางสานักงานไม่พบจุดอ่อนที่เป็ นสาระสาคัญในระบบการ ควบคุมภายในด้ านบัญชี หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครัง้ ที่ 1/2557 วันที่ 9 มกราคม 2557 ได้ แต่งตัง้ นายอายุรทัศน์ ไชย อนัน ต์ ผู้จัด การทั่ว ไป – สานัก ตรวจสอบภายใน ให้ ด ารงต าแหน่ง หัว หน้ า งานตรวจสอบภายใน เนื่ อ งจากมี ประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ เป็ นเวลา 11 ปี และงานตรวจสอบในธุรกิจที่มีลกั ษณะ เดียวกับบริ ษัทฯ รวมทังสิ ้ ้นเป็ นระยะเวลา 14 ปี สอบผ่านหลักสูตรประกาศนีบตั รผู้ตรวจสอบภายในของประเทศไทย (CPIAT) และเคยเข้ ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้ องกับการปฏิบตั ิงานด้ านตรวจสอบภายใน ได้ แก่ มาตรฐานการ ตรวจสอบภายใน การตรวจสอบภายในด้ านคอมพิวเตอร์ การบริ หารความเสี่ยง เป็ นต้ น อีกทังมี ้ ความเข้ าใจในการ ดาเนินงานของบริ ษัทฯ จึงเห็นว่ามีความเหมาะสมที่จะปฏิบตั ิหน้ าที่ดงั กล่าวได้ อย่างเหมาะสมเพียงพอ ทังนี ้ ้ การพิจารณา และอนุมตั ิ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้ ายผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ของบริ ษัทฯ จะต้ องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการตรวจสอบ
94
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
12. รายการระหว่ างกัน ปี 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่สาคัญกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน (เกี่ยวข้ องโดยการถือหุ้นหรื อ มีผ้ ถู ือหุ้นและ/หรื อมีกรรมการร่ วมกัน ) โดยรายการดังกล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้ า และเกณฑ์ตามที่ตกลง ระหว่างกัน นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ไม่มีรายการในลักษณะที่เป็ นการให้ ความช่วยเหลือทางการเงิน ไม่วา่ จะเป็ นการให้ ก้ ู ยืม เงิน การค ้าประกันสินเชื่อแก่บริ ษัทที่ไม่ใช่บริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริ ษัทฯ มียอดคงค้ างกับกิจการที่เกี่ยวข้ องกันซึง่ สรุปได้ ดงั นี ้ ชื่อบริษัท / ลักษณะความสัมพันธ์ 1. บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ - เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยถือหุ้นร้ อยละ 30.23 ของทุนชาระแล้ ว ณ 27 ต.ค. 2557 - มีกรรมการร่ วม 2 ท่าน คือ 1. นาย อนันต์ อัศวโภคิน 2. นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 2. บมจ.ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ - เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยถือหุ้นร้ อยละ 19.77 ของทุนชาระแล้ ว ณ 27 ต.ค. 2557 - มีกรรมการร่ วม 3 ท่าน คือ 1. นาย รัตน์ พานิชพันธ์ 2. นาย อนันต์ อัศวโภคิน 3. นาง สุวรรณา พุทธประสาท 3. บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ - มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกัน ได้ แก่ 1. บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2. บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ - มีกรรมการร่ วมกัน 5 ท่าน ได้ แก่ 1. นาย อนันต์ อัศวโภคิน 2. นาย รัตน์ พานิชพันธ์ 3. นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 4. นาง สุวรรณา พุทธประสาท 5. นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล
รายการ
จานวน (พันบาท) 31 ธ.ค. 57
31 ธ.ค. 56
ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู้บริหาร
ขายสินค้ า ลูกหนี ้การค้ า
51,581 7,195
47,327 มู ล ค่ า ดัง กล่ า วเกิ ด จากราคา 8,207 ขายที่เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดี ย วกับ ราคาตลาดที่ บ ริ ษั ท ฯ ขายให้ กบั ลูกค้ ารายอื่น
ขายสินค้ า ลูกหนี ้การค้ า
373 30
359 มู ล ค่ า ดัง กล่ า วเกิ ด จากราคา 16 ขายที่เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดี ย วกับ ราคาตลาดที่ บ ริ ษั ท ฯ ขายให้ กบั ลูกค้ ารายอื่น
4,702 1,955,128 11,956
12,637 บริ ษัทฯ ได้ รับดอกเบี ้ยในอัตรา 64,619 เดี ย วกัน กับ ลู ก ค้ า รายอื่ น ของ 5,566 ธนาคารฯ โดยเป็ นอั ต รา ดอกเบี ้ยตามปกติของธนาคาร หรื อสถาบันการเงินอื่น
ดอกเบี ้ยรับ เงินฝากสถาบันการเงิน ค่าเช่าและค่าบริ การรับ
95
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ชื่อบริษัท / ลักษณะความสัมพันธ์ 4. กองทุนรวมสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ - มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกัน ได้ แก่ 1. บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ 2. บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์
รายการ
ลูกหนี ้อื่น ค่าเช่าและค่าบริ การจ่าย เจ้ าหนี ้อื่น เงินประกันการเช่า
จานวน (พันบาท) 31 ธ.ค. 57
31 ธ.ค. 56
3,215 22,488 1,580 3,000
378 20,282 1,581 3,000
ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู้บริหาร
มูลค่าดังกล่าวเกิดจากรายการ ค่าเช่าและค่าบริ การพื ้นที่ใน อาคารเวฟเพลส โดย คณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็นว่า ค่าใช้ จ่ายดังกล่าว คานวณจากอัตราที่ สมเหตุสมผล
ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผลของรายการ การทารายการระหว่างกันเป็ นความจาเป็ น และมีความสมเหตุสมผลของการทารายการเพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์ สูงสุดของบริ ษัทฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็นว่าเป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว่ ไป ซึ่งบริ ษัทฯ ได้ รับและ จ่ายค่าตอบแทนในราคายุติธรรม มาตรการ/ขัน้ ตอนการอนุมัติการทารายการระหว่ างกัน สาหรับรายการระหว่างกันที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั และคาดว่าจะเกิดขึ ้นในอนาคต ได้ แก่ การขายสินค้ าให้ กบั บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ และ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ การซื ้อและขายสินค้ ากับบมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ การเช่า พื ้นที่ในอาคารเวฟเพลสของกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ การให้ เช่าพื ้นที่และการทาธุรกรรม ด้ านเงินฝากกับ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ สาหรับรายการขายสินค้ า บริ ษัทฯ ได้ กาหนดราคาตามราคาตลาด ซึ่งเป็ นราคาที่ผ้ ูซื ้อสามารถซื ้อได้ จากผู้ผลิต หรื อผู้จาหน่ายรายอื่น โดยทัว่ ไปจะทาการกาหนดคุณสมบัติ และราคาสินค้ าก่อนล่วงหน้ า เช่นเดียวกับรายการซื ้อสินค้ า บริ ษัทฯ สัง่ ซื ้อสินค้ าตามราคาตลาด ซึ่งสามารถสัง่ ซื ้อได้ จากผู้ผลิต หรื อผู้จาหน่ายรายอื่น โดยรายการระหว่างกันนี ้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณา และให้ ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นไปตามลักษณะของการประกอบธุรกิจ โดยทัว่ ไป ซึง่ บริ ษัทฯ ได้ รับ และจ่ายค่าตอบแทนในราคายุติธรรม นโยบายหรือแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะกาหนดเงื่อนไขทางการค้ าสาหรับการเข้ าทารายการระหว่างกั นให้ เป็ นไปตามลักษณะ การดาเนินธุรกิจตามปกติ ราคาสินค้ าที่ขายจะกาหนดให้ อยูใ่ นระดับที่สามารถแข่งขันกับผู้ขายรายอื่นได้ รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ ้นในอนาคตนัน้ คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม ตลอดถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดเกี่ ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทารายการเกี่ ยวโยงและการได้ มาหรื อจาหน่าย ทรัพย์สนิ ที่สาคัญของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย 96
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ทังนี ้ ้ หากมีรายการระหว่างกันของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยเกิด ขึ ้นกับบุคคล หรื อผู้มีสว่ นได้ เสียที่อาจมีความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์ หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริ ษัทฯ จะได้ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี่ยวกับความจาเป็ นและความเหมาะสมของรายการนัน้ ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มี ความชานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ ้น บริ ษัทฯ จะได้ ให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญอิสระ หรื อผู้สอบบัญชีของ บริ ษัทฯ เป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ หรื อผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ จะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันไว้ ใ นหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้ รับการ ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ
97
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 13.1 สรุ ปข้ อมูลตามงบการเงินรวม 13.1.1 งบแสดงฐานะการเงินรวม (หน่ วย : พันบาท)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หนี ้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ หนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน ทุนออกจาหน่ายและชาระเต็มมูลค่าแล้ ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กาไรสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น
31 ธ.ค. 57 2,434,763 1,620,157 8,030,816 704,975 12,790,711 2,764,572 26,351,909 246,256 1,967,320 192,051 31,522,108
% 5.5 3.7 18.1 1.6 28.9 6.2 59.5 0.6 4.4 0.4 71.1
44,312,819 12,075,365 700,000 2,300,000 1,701,197 16,776,562 1,800,000 9,050,000 984,623 11,834,623
100.0 27.3 1.6 5.2 3.8 37.9 4.1 20.4 2.2 26.7
28,611,185 12,329,315 646,323 2,749,871 (23,876) 15,701,633
64.6 27.8 1.5 6.2 (0.1) 35.4
ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56 807,459 1,410,783 6,505,639 496,942 9,220,823 1,552,260 23,234,994 241,572 1,532,400 159,634 26,720,860
% 2.2 3.9 18.1 1.4 25.7 4.3 64.6 0.7 4.3 0.4 74.3
31 ธ.ค. 55 1,290,619 1,251,621 5,352,538 237,315 8,132,092 1,376,270 14,846,558 189,829 1,180,659 142,965 17,736,282
% 5.0 4.9 20.7 0.9 31.4 5.3 57.4 0.7 4.6 0.6 68.6
35,941,683 1,360,000 11,056,715 500,000 1,414,581 14,331,296 1,600,000 6,300,000 994,003 8,894,003
100.0 3.8 30.8 1.4 3.9 39.9 4.5 17.5 2.8 24.7
25,868,374 8,091,332 300,000 1,700,000 1,496,522 11,587,854 1,200,000 2,300,000 853,244 4,353,244
100.0 31.3 1.2 6.6 5.8 44.8 4.6 8.9 3.3 16.8
23,225,299 9,589,551 646,323 2,481,015 (505) 12,716,384
64.6 26.7 1.8 6.9 0.0 35.4
15,941,098 7,041,430 646,066 2,239,935 (155) 9,927,276
61.6 27.2 2.5 8.7 0.0 38.4
98
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
13.1.2 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่ วย : พันบาท)
รายได้ จากการขาย รายได้ อื่น รวมรายได้ ต้ นทุนขาย ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริหาร ค่าใช้ จา่ ยทางการเงิน ค่าใช้ จา่ ยอื่น รวมค่ าใช้ จ่าย กาไรก่อนค่าใช้ จา่ ยภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี การแบ่ งปั นกาไร : ส่วนที่เป็ นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็ นของผู้มีสว่ นได้ เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม ของบริษัทย่อย กาไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐาน (บาท/หุ้น) กาไรต่อหุ้นปรับลด (บาท/หุ้น)
สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 56 % 40,006,636 93.6 2,718,592 6.4 42,725,228 100.0 29,346,060 68.7 9,196,036 21.5 276,621 0.6 49,281 0.1 38,867,998 91.0 3,857,230 9.0 788,748 1.8 3,068,482 7.2 (348) (0.0) 3,068,134 7.2
31 ธ.ค. 57 47,964,749 3,243,841 51,208,590 35,472,882 11,058,323 466,016 60,388 47,057,609 4,150,981 837,647 3,313,334 (23,377) 3,289,957
% 93.7 6.3 100.0 69.3 21.6 0.9 0.1 91.9 8.1 1.6 6.5 (0.0) 6.4
3,313,328
6.5
3,068,478
6 0.27 0.27
0.0
4 0.25 0.25
31 ธ.ค. 55 34,541,550 2,427,746 36,969,296 25,559,391 7,756,422 146,169 24,715 33,486,698 3,482,598 811,803 2,670,795 18,962 2,689,757
% 93.4 6.6 100.0 69.1 21.0 0.4 0.1 90.6 9.4 2.2 7.2 0.1 7.3
7.2
2,670,792
7.3
0.0
3 0.28 0.28
0.0
13.1.3 งบกระแสเงินสด (หน่ วย : พันบาท)
เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดาเนินงาน เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ ้น (ลดลง) สุทธิ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดปลายปี
31 ธ.ค. 57 4,912,802 (7,060,909) 3,784,374 (8,963) 1,627,304 807,459
สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 56 5,193,441 (9,661,515) 3,985,262 (348) (483,159) 1,290,618
31 ธ.ค. 55 3,309,525 (5,542,236) 1,546,069 (63) (686,705) 1,977,324
2,434,763
807,459
1,290,619
99
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
13.2 อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง3 (เท่า) 4 อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 5 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า6 (เท่า) 7 ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ8 (เท่า) 9 ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี่ย (วัน) 10 อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ (เท่า) 11 ระยะเวลาชาระหนี ้ (วัน) 12 Cash cycle (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability ratio) อัตรากาไรขันต้ ้ น13 (%) 14 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (%) 15 อัตรารายได้ อื่นต่อรายได้ รวม (%) 16 อัตรากาไรสุทธิตอ่ รายได้ รวม (%) 17 อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์18 (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร19 (%) 20 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น21 (เท่า) 22 อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน - Cash basis23 (เท่า) 24 อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%)
ปี 2557
ปี 2556
ปี 2555
0.76 0.16 0.32 161.26 2 4.88 75 3.88 94 (17)
0.64 0.08 0.40 124.04 3 4.95 74 3.83 95 (18)
0.70 0.14 0.32 129.80 3 5.25 70 4.04 90 (17)
26.04 9.63 6.33 6.47 23.32
26.65 10.33 6.36 7.18 27.10
26.00 10.51 6.57 7.28 29.67
8.26 19.27 1.28
9.93 21.37 1.38
11.54 25.62 1.59
1.82 13.59 0.53 98.03
1.83 23.31 0.43 99.24
1.61 29.65 0.47 97.65
หมายเหตุ 3
อัตราส่วนสภาพคล่อง = สิ นทรัพย์หมุนเวี ยนรวม / หนีส้ ิ นหมุนเวี ยนรวม อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว = (เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด + ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ ื ่น) / หนีส้ ิ นหมุนเวี ยนรวม 5 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงิ นสด = เงิ นสดสุทธิ จากกิ จกรรมดาเนิ นงาน / หนีส้ ิ นหมุนเวี ยนถัวเฉลี ่ย 6 อัตราส่วนหมุนเวี ยนลูกหนีก้ ารค้า = รายได้จากการขาย / ลูกหนีก้ ารค้าถัวเฉลี ่ย 7 ระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลี ่ย = 365 / อัตราส่วนหมุนเวี ยนลูกหนีก้ ารค้า 8 อัตราส่วนหมุนเวี ยนสิ นค้าคงเหลื อ = ต้นทุนขาย / สิ นค้าคงเหลื อถัวเฉลี ่ย 9 ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี ่ย = 365 / อัตราส่วนหมุนเวี ยนสิ นค้าคงเหลื อ 10 อัตราส่วนหมุนเวี ยนเจ้าหนี ้ = ต้นทุนขาย / เจ้าหนีก้ ารค้าถัวเฉลี ่ย 11 ระยะเวลาชาระหนี ้ = 365 / อัตราส่วนหมุนเวี ยนเจ้าหนี ้ 12 Cash Cycle = ระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลี ่ย + ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี ่ย – ระยะเวลาชาระหนี ้ 13 อัตรากาไรขัน้ ต้น = กาไรขัน้ ต้น / รายได้จากการขาย 14 อัตรากาไรจากการดาเนิ นงาน = กาไรก่อนต้นทุนทางการเงิ นและภาษี เงิ นได้ / รายได้จากการขาย 4
100
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) 15
อัตรารายได้อื่นต่อรายได้รวม = รายได้อื่น / รายได้รวม อัตรากาไรสุทธิ = กาไรสุทธิ / รายได้รวม 17 อัตราผลตอบแทนผูถ้ ื อหุ้น = กาไรสุทธิ / ส่วนของผูถ้ ื อหุน้ ถัวเฉลี ่ย 18 อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ = กาไรสุทธิ / สิ นทรัพย์ถาวรรวมถัวเฉลี ่ย 19 อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ถาวร = (กาไรสุทธิ + ค่าเสือ่ มราคา) / สิ นทรัพย์ถาวรสุทธิ ถวั เฉลีย่ 20 อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ = รายได้รวม / สิ นทรัพย์รวมถัวเฉลี ่ย 21 อัตราส่วนหนีส้ ิ นต่อส่วนของผูถ้ ื อหุน้ = หนีส้ ิ นรวม / ส่วนของผูถ้ ื อหุน้ รวม 22 อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย = เงิ นสดสุทธิ จากกิ จกรรมดาเนิ นงาน / ดอกเบี ้ยจ่าย 23 อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน = เงิ นสดสุทธิ จากกิ จกรรมดาเนิ นงาน/(การจ่ายชาระหนีส้ ิ น+รายจ่ายลงทุน+ซื ้อสิ นทรัพย์+เงิ นปั นผลจ่าย) 24 อัตราการจ่ายเงิ นปั นผล = เงิ นปั นผลจ่าย / กาไรสุทธิ ตามงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 16
101
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ 14.1 ภาพรวมของผลการดาเนินงานที่ผ่านมา ในปี 2557 นี ้ถือได้ วา่ เป็ นปี ที่เศรษฐกิจไทยมีความผันผวนค่อนข้ างมาก โดยในช่วงครึ่งปี แรกเศรษฐกิจมีการหดตัว จากสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง ซึง่ ส่งผลให้ ความเชื่อมัน่ ของผู้บริ โภคภายในประเทศลดลง โดยเฉพาะในเขต กรุงเทพฯ และปริ มณฑล ที่มกี ารประท้ วง แต่ในช่วงครึ่งปี หลังกลับมีแนวโน้ มการฟื น้ ตัวทีด่ ีขึ ้น จากการเร่งจ่ายงบประมาณ ของภาครัฐ รวมไปถึงแนวโน้ มของนักท่องเที่ยวทีเ่ พิ่มขึ ้น การลงทุน และการจ้ างงานภาคเอกชนส่งสัญญาณที่ดีขึ ้น แต่ทัง้ นี ้ การฟื น้ ตัวยังอยูใ่ นระดับที่คอ่ ยเป็ นค่อยไปอย่างช้ า เนื่องจากกาลังซื ้อภายในประเทศยังมีความอ่อนตัว โดยมีสาเหตุมาจาก ราคาสินค้ าเกษตรที่ตกตา่ และภาระหนี ้ภาคครัวเรื อนที่ยงั อยูใ่ นเกณฑ์สงู ทาให้ ประชาชนยังไม่สามารถจับจ่ายใช้ สอยได้ อย่างเต็มกาลัง อย่างไรก็ตาม ในด้ านการขยายตัวของบริษัทฯ ยังเป็ นไปตามแผนการที่ได้ ตงไว้ ั ้ โดยได้ เปิ ดสาขาของโฮมโปรเพิ่ม 8 แห่ง (เป็ นการเปิ ดทดแทนสาขาเดิม 1 แห่ง) กระจายไปยังจังหวัดต่างๆ ทังในจั ้ งหวัดที่มีสาขาเดิมอยูแ่ ล้ ว ได้ แก่ ประจวบคีรีขนั ธ์ เชียงใหม่ นครราชสีมา ภูเก็ต และชลบุรี รวมถึงจังหวัดใหม่ ได้ แก่ สุรินทร์ และลาปาง รวมไปถึงการเปิ ด สาขาของธุรกิจเมกา โฮม เพิม่ 2 แห่ง เพื่อขยายฐานกลุม่ ลูกค้ าให้ กว้ างขึ ้น นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ได้ เริ่มต้ นเดินหน้ าสูป่ ระชาคม อาเซียน ด้ วยการขยายธุรกิจโฮมโปรไปยังต่างประเทศเป็ นครัง้ แรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยสาขาแรกตังอยู ้ ่ ที่ศนู ย์การค้ า ไอโอไอ ซิตี ้มอลล์ (IOI City Mall) ทังนี ้ ้การขยายสาขาทังในประเทศ ้ และต่างประเทศถือเป็ นกลยุทธ์หนึง่ ของ บริ ษัทฯ เพื่อให้ สามารถบรรลุวิสยั ทัศน์ที่จะเป็ นผู้นาในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทางด้ านสินค้ าและบริ การ บริ ษัทฯ ยังคงคัดสรรและพัฒนาเพื่อเพิม่ ทางเลือกคุณภาพให้ ลกู ค้ าอย่างต่อเนื่อง โดยในปี ที่ผา่ นมาได้ จดั ทา “โฮมโปร แอพพลิเคชัน่ ” สาหรับดาวน์โหลดบนสมาร์ ทโฟน เพื่อเป็ นช่องทางการสือ่ สาร ให้ สว่ นลด และ สิทธิประโยชน์ตา่ งๆ กับลูกค้ าที่เป็ นสมาชิกบัตรโฮมการ์ ด นอกจากนี ้ยังได้ เพิ่มรูปแบบบริ การเพื่อตอบรับความต้ องการของ ลูกค้ าให้ ได้ มากขึ ้น อาทิ บริ การส่งทัว่ ไทย บริ การตรวจเช็คสภาพบ้ าน บริ การเลดี ้ เซอร์ วิส ที่ให้ บริการโดยทีมช่างสุภาพสตรี ที่ผา่ นการรับรองคุณภาพฝี มือ เพือ่ สร้ างความอุน่ ใจสาหรับลูกค้ าทีเ่ ป็ นสุภาพสตรี และผู้สงู อายุ 14.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ (1) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับในปี 2557 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่ มมีผลบังคับในปี ปั จจุบนั ตามที่แสดงไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้ อ 3 “มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่” ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงิน ปี 2557 ยกเว้ น มาตรฐานการรายงานทางการเงิน “การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 เรื่ องโปรแกรมสิทธิพิเศษ แก่ลกู ค้ า” ซึง่ มีรายละเอียดดังนี ้
102
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับในอนาคต สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงและฉบับใหม่เป็ นจานวนมาก ซึง่ มีผล บังคับใช้ สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าวได้ รับการปรับปรุงหรื อจัดให้ มีขึ ้นเพื่อให้ มีเนื ้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่าง ประเทศโดยการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานการรายงานทางการเงินในครัง้ นี ้ส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุงถ้ อยคาและคาศัพท์ การตีความและการให้ แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีกบั ผู้ใช้ มาตรฐาน ฝ่ ายบริ หารของบริษัทฯ และบริ ษัทย่อยเชื่อว่าจะไม่ มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงินนี ้ในปี ที่นามาตรฐานดังกล่าวมาถือปฏิบตั ิ 14.3 ผลการดาเนินงาน และความสามารถในการทากาไร จากปั จจัยต่างๆ ข้ างต้ น ผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ยังคงเติบโตขึ ้นจากปี ก่อน โดยมีรายได้ จากการขายขยายตัว เพิ่มขึ ้น 19.89% และมีผลกาไรเพิ่มขึ ้น 7.98% ซึ่งปั จจัยหลักที่เป็ นตัวผลักดัน ได้ แก่ การเติบโตของยอดขายสาขาเดิม การ เปิ ด “โฮมโปร” สาขาใหม่ จานวน 8 สาขา (โดยเป็ นการเปิ ดเพื่อทดแทนสาขาเดิม 1 แห่ง ที่เดอะมอลล์ โคราช) เปิ ด “เมกา โฮม” สาขาใหม่ จานวน 2 สาขา ที่หนองคาย และบ่อวิน นอกจากนี ้ได้ เริ่ มต้ นเดินหน้ าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้ วยการ ขยายธุรกิจโฮมโปรไปยังต่างประเทศเป็ นครัง้ แรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยสาขาแรกตังอยู ้ ่ที่ศนู ย์การค้ า ไอ โอไอ ซิตี ้มอลล์ เปิ ดดาเนินการปลายปี 2557 ทังนี ้ ้ผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เปรี ยบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2556 เป็ นดังนี ้ (1) รายได้ จากการขาย ปี 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีรายได้ จากการขายรวม 47,964.75 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน จานวน 7,958.11 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 19.89% โดยปั จจัยของการเพิ่มขึ ้นมาจากการเติบโตของสาขาเดิม และยอดขายของ สาขาใหม่ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังมีตวั ชี ้วัดที่สะท้ อนประสิทธิภาพของการเติบโตของยอดขายนอกเหนือจากการมอง การเติบโตในภาพรวม นันคื ้ อการเติบโตของยอดขายในสาขาเดิม (Comparable Store Sales Growth) โดยในปี ที่ ผ่านมาจากสภาพเศรษฐกิจ และปั จจัยด้ านลบต่างๆ บริ ษัทฯ ยังมีอตั ราการเติบโตของยอดขายในสาขาเดิมที่เป็ น บวก โดยเมื่อเทียบกับ GDP ปี 2557 ที่ 0.7% แล้ วยังสูงกว่า (2) รายได้ อ่ ืน ปี 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ อื่นทังสิ ้ ้น 3,243.84 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 525.25 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 19.32 และมีสดั ส่วนต่อยอดขายอยูท่ ี่ร้อยละ 6.76 โดยรายละเอียดของการเปลีย่ นแปลงมีดงั นี ้ - รายได้ คา่ เช่าและค่าบริ การเพิ่มขึ ้น 192.18 ล้ านบาท เป็ นผลเนื่องจากการเพิม่ ขึ ้นของพื ้นทีใ่ ห้ เช่าและรายได้ ค่าเช่าพื ้นที่ของโฮมโปร และศูนย์การค้ ามาร์ เก็ต วิลเลจ - รายได้ อื่นเพิ่มขึ ้น 333.06 ล้ านบาท จากรายได้ คา่ โฆษณา ค่าสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริ มการขายจากบริษัท คูค่ ้ า และค่าบริ การต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการขายสินค้ า
103
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(3)
ต้ นทุนขาย และกาไรขัน้ ต้ น ในปี 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีต้นทุนขายทังสิ ้ ้น 35,472.88 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 6,126.82 ล้ าน บาท หรื อร้ อยละ 20.88 โดยเป็ นผลมาจากการปรับตัวตามยอดขาย บริ ษัทฯ มีกาไรขันต้ ้ นจานวน 12,491.87 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี กอ่ น 1,831.29 ล้ านบาท อัตรากาไรขันต้ ้ นอยู่ ที่ร้อยละ 26.04 ลดลงจากปี 2556 ที่มีอตั ราอยูท่ ี่ร้อยละ 26.65 โดยเป็ นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงส่วนผสมของ กลุม่ สินค้ าที่ขายของธุรกิจโฮมโปร และโครงสร้ างอัตรากาไรขันต้ ้ นของธุรกิจเมกาโฮมทีต่ ่ากว่า (4)
ค่ าใช้ จ่ายในการขาย และบริหาร ปี 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีคา่ ใช้ จ่ายในการขายและบริ หารทังสิ ้ ้น 11,118.71 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 1,873.39 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 20.26 สัดส่วนต่อยอดขายอยูท่ ี่ร้อยละ 23.18 เพิ่มขึ ้นจากปี 2556 ที่มีอตั รา เท่ากับ 23.11 โดยรายละเอียดค่าใช้ จ่ายในแต่ละกลุม่ มีดงั นี ้ - ค่าใช้ จา่ ยในการขาย จานวน 9,625.36 ล้ านบาท เป็ นค่าใช้ จ่ายในส่วนของสาขา ผ่ายปฏิบตั ิการ และฝ่ าย กระจายสินค้ า เพิ่มขึ ้น 1,634.87 ล้ านบาท จากเงินเดือน ค่าสาธารณูปโภค ค่าขนส่ง ค่าใช้ จ่ายทาง การตลาด ค่าเสือ่ มราคา ค่าใช้ จ่ายในการขยายธุรกิจเมกา โฮม และการขยายสาขาที่ประเทศมาเลเซีย - ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร จานวน 1,432.95 ล้ านบาท เพิม่ ขึ ้น 227.41 ล้ านบาท จากค่าใช้ จ่ายในส่วนของ สานักงานใหญ่เป็ นหลัก - ค่าใช้ จา่ ยอื่น จานวน 60.39 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 11.11 ล้ านบาท (5)
ค่ าใช้ จ่ายทางการเงิน ค่าใช้ จา่ ยทางการเงิน สาหรับปี 2557 จานวน 466.02 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 189.39 ล้ านบาท หรื อ 68.47% เมื่อ เทียบกับปี ก่อน เป็ นผลจากการออกหุ้นกู้ และเงินกู้ธนาคารในไตรมาส 1 2 และ 4 เพื่อรองรับการขยายธุรกิจใน อนาคต อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีการวิเคราะห์และพิจารณาต้ นทุนการบริ หารการเงิน ผ่านเครื่ องมือต่างๆ ทังการใช้ ้ เงินจากกระแสเงินสด การกู้เงินจากธนาคาร หรื อออกหุ้นกู้ เพื่อบริ หารต้ นทุนให้ สมดุล และสอดคล้ องกับนโยบายของ บริษัทฯ (6)
กาไรสุทธิ ผลการดาเนินงานในปี 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีกาไรสุทธิอยูท่ ี่ 3,313.33 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 244.85 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 7.98 เมื่อพิจารณาเฉพาะอัตราส่วนกาไรสุทธิตอ่ ยอดขายของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีอตั ราผลกาไรเท่ากับร้ อยละ 6.91 ลดลงจากปี ก่อนที่มีอตั ราส่วนกาไรสุทธิตอ่ ยอดขายเท่ากับร้ อยละ 7.67 สาเหตุหลักมาจากอัตรากาไรขันต้ ้ นที่ ลดลงจากโครงสร้ างอัตรากาไรขันต้ ้ นของธุรกิจเมกาโฮมที่ตา่ กว่าโฮมโปร ค่าใช้ จา่ ยในการดาเนินงานเพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะค่าใช้ จา่ ยสาหรับเตรี ยมการเปิ ดธุรกิจในต่างประเทศ และค่าใช้ จา่ ยทางการเงินจากการจัดหาเงินทุน สาหรับการขยายธุรกิจในอนาคต
104
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(7)
อัตราผลตอบแทนต่ อส่ วนของผู้ถอื หุ้น (Return on Equity) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 อยูท่ ี่ร้อยละ 23.15 ลดลงจากปี ก่อนที่มี อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยูท่ ี่ร้อยละ 27.10 โดยปั จจัยหลักมาจากการเพิ่มทุนเพื่อจ่ายหุ้นปั นผลในเดือน พฤษภาคม 2557 ที่อตั รา 7 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปั นผล และเดือนพฤศจิกายน 2557 ที่อตั รา 8 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปั นผล รวมเป็ นจานวนหุ้นที่เพิ่มขึ ้น 2,739.76 ล้ านหุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 28.57 ทังนี ้ ้ในการจ่ายหุ้นปั นผลดังกล่าว ก็เพื่อเป็ น ผลตอบแทนให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น และเพิ่มสภาพคล่องของการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ในขณะที่บริ ษัทฯ ก็สามารถ ดารงเงินสดไว้ ใช้ ในการขยายธุรกิจเพื่อเสริ มสร้ างการเติบโตในระยะยาวได้ 14.4 ความสามารถในการบริหารทรัพย์ สิน เปรี ยบเทียบฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กับวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีสนิ ทรัพย์รวมจานวน 44,312.82 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 8,371.14 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 23.29 โดยมูลค่าที่เพิ่มขึ ้นเป็ นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงของรายการที่สาคัญ ดังต่อไปนี ้ (1) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ ้น 1,627.30 ล้ านบาท ซึง่ เพิม่ ขึ ้นจากเงินฝากธนาคารคงเหลือจากการ ออกหุ้นกู้ในไตรมาสที่ 4 และเงินสดคงค้ างที่สาขา ณ วันสิ ้นปี (2) ลูกหนี ้การค้ าลดลง 67.01 ล้ านบาท และลูกหนี ้อื่นเพิ่มขึ ้น 272.72 ล้ านบาท โดยลูกหนี ้ที่เพิ่มขึ ้นส่วนใหญ่มา จากลูกหนี ้ทีค่ ้ างชาระค่าสนับสนุนการขาย ค่าเช่าพื ้นที่และค่าบริการอื่นที่เกี่ยวข้ อง ซึง่ เป็ นผลมาจากการ ปรับตัวตามการขยายพื ้นที่ให้ เช่าของพื ้นที่โฮมโปร และศูนย์การค้ ามาร์ เก็ต วิลเลจ อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ ได้ มีการวิเคราะห์ลกู หนี ้ โดยแยกตามอายุหนี ้ที่คงค้ าง โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ลูกหนี ้การค้ า และลูกหนี ้อื่นคงค้ างที่มีอายุมากกว่า 12 เดือน มีจานวน 5.08 ล้ านบาท โดยบริ ษัทฯ ได้ มีการตังส ้ ารองค่าเผื่อ หนี ้สงสัยจะสูญไว้ ที่ 3.32 ล้ านบาท (3) สินค้ าคงเหลือ-สุทธิ เพิ่มขึ ้น 1,525.18 ล้ านบาท โดยเป็ นผลมาจากการปรับตัวตามจานวนสาขาทีเ่ พิ่มขึ ้น ทัง้ จากธุรกิจ “โฮมโปร” “เมกา โฮม” และ “โฮมโปร” ที่ประเทศมาเลเซีย ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ได้ มกี ารบริ หารจัดการสินค้ า คงคลังโดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการตรวจติดตามตัววัดด้ านต่างๆ เช่น สินค้ าที่มอี ตั ราการขายช้ า กว่าปกติ (Aging Inventory) เปรี ยบเทียบกับค่าที่ยอมรับได้ ซึง่ บริษัทฯ จะมีมาตรการจัดการ เพื่อจัดการสินค้ า และป้องกันการเสือ่ มสภาพหรื อล้ าสมัยของสินค้ า รวมถึงมีแผนงานการตรวจนับสินค้ า โดยมีทมี งานในการ รับผิดชอบดูแล (4) อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิม่ ขึ ้น 1,212.31 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 78.10 จากการปรับปรุงพื ้นที่จอดรถชัน้ ใต้ ดิน และขยายพื ้นทีใ่ ห้ เช่าที่ศนู ย์การค้ า หัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ และงานก่อสร้ างอาคารพื ้นที่ศนู ย์การค้ า สุวรรณภูมิ มาร์ เก็ต วิลเลจ
105
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(5) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ สิทธิการเช่า - สุทธิ และซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ - สุทธิ รวมเพิ่มขึ ้น 3,556.52 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 14.22 โดยเป็ นรายจ่ายลงทุนสาหรับการขยายสาขาใหม่ในปี 2557 และ 2558 ทังนี ้ ้ ในการลงทุนขยายสาขา บริ ษัทฯ จะทาการวิเคราะห์การลงทุน (Financial Feasibility) เพื่อประเมินผลตอบแทน และความคุ้มค่าจากการลงทุน รวมถึงมีการประเมิน และติดตามผลการดาเนินงานว่าเป็ นไปตามที่วางแผนไว้ หรื อไม่ ในปี 2557 บริ ษัทฯ มีสนิ ทรัพย์ที่เพิ่มขึ ้นจากการขยายธุรกิจโฮมโปร เมกา โฮม และโฮมโปรที่มาเลเซีย สาหรับการ ดาเนินงานของธุรกิจเมกา โฮม และโฮมโปรที่มาเลเซียยังมีผลขาดทุน จึงส่งผลให้ อตั ราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ของบริ ษัทฯ (Return on Asset) อยูท่ ี่ 8.26 ลดลงจากปี ก่อนซึง่ มีอตั ราอยูท่ ี่ 9.93 อย่างไรก็ตามจากการติดตามผลการดาเนินงานของ ธุรกิจเมกา โฮม และโฮมโปรที่มาเลเซียมีแนวโน้ มดีขึ ้นอย่างต่อเนือ่ ง 14.5 สภาพคล่ องทางการเงิน และความเพียงพอของเงินทุน เปรี ยบเทียบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 กับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2556 หน่วย : ล้ านบาท
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน
งบการเงินรวม 2557 2556 4,912.80 5,193.44
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
(7,060.91)
(9,661.51)
(7,675.88)
(9,625.58)
3,784.37 (8.96) 1,627.30
3,985.26 (0.35) (483.16)
3,779.80 1,494.18
3,975.06 (540.71)
รายการ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน เงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ
งบเฉพาะบริษัท 2557 2556 5,390.26 5,109.81
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจานวน 2,434.76 ล้ านบาท สุทธิเพิ่มขึ ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 2556 จานวน 1,627.30 ล้ านบาท เนื่องจากกิจกรรมดังนี ้ - เงินสดสุทธิจากกิจกรรมการดาเนินงาน 4,912.80 ล้ านบาท ได้ มาจากกาไรจากการดาเนินงานก่อนการ เปลีย่ นแปลงในรายการสินทรัพย์และหนี ้สินดาเนินงาน 6,918.57 ล้ านบาท และเงินทุนหมุนเวียนที่เพิ่มขึ ้นจาก การเปลีย่ นแปลงของรายการสินทรัพย์และหนี ้สินดาเนินงานที่สาคัญ ได้ แก่ รายการลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น เพิ่มขึ ้น 209.37 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิม่ ขึ ้น 1,550.74 ล้ านบาท ภาษี มลู ค่าเพิม่ ค้ างรับเพิม่ ขึ ้น 214.32 ล้ าน บาท รายการเจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่นเพิม่ ขึ ้น 966.36 ล้ านบาท เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ าเพิ่มขึ ้น 52.48 ล้ าน บาท หนี ้สินหมุนเวียนอื่นเพิม่ ขึ ้น 188.92 ล้ านบาท และจ่ายดอกเบี ้ย และภาษี เงินได้ 1,238.61 ล้ านบาท - เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน จานวน 7,060.91 ล้ านบาท ซึง่ เป็ นการจ่ายลงทุนในที่ดิน งานก่อสร้ าง และ สินทรัพย์สาหรับการขยายสาขาในปี 2557 และ 2558 จานวน 7,022.05 ล้ านบาท และซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ 38.86 ล้ านบาท
106
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
- เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน จานวน 3,784.37 ล้ านบาท โดยในจานวนนี ้ได้ มาจากการก่อหนี ้ระยะ ยาวจากสถาบันการเงิน 1,000.00 ล้ านบาท และออกหุ้นกู้ 5,050.00 ล้ านบาท ใช้ ไปในการจ่ายชาระคืนเงินกู้ยมื ระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน 1,360.00 ล้ านบาท และระยะยาว 600.00 ล้ านบาท (1)
อัตราส่ วนสภาพคล่ อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนจานวน 12,790.71 ล้ านบาท มี หนี ้สินหมุนเวียนจานวน 16,776.56 ล้ านบาท ซึง่ เมื่อคิดเป็ นอัตราส่วนสภาพคล่องจะอยูท่ ี่ 0.76 เท่า เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนที่มอี ตั ราส่วนสภาพคล่องอยูท่ ี่ 0.64 เท่า โดยเป็ นการเพิ่มขึ ้นของรายการเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจาก เงินฝากธนาคารคงเหลือในการออกหุ้นกู้ในไตรมาสที่ 4 และเงินสดคงค้ างที่สาขา ณ วันสิ ้นปี บริ ษัทฯ มีแหล่งเงินทุนระยะสันเพื ้ ่อรักษาสภาพคล่องทังในรู ้ ปวงเงินเบิกเกินบัญชี และตัว๋ เงินระยะสัน้ วงเงิน สินเชื่อการค้ าระหว่างประเทศไว้ อย่างพอเพียง (2)
โครงสร้ างเงินทุน ในปี 2557 บริ ษัทฯ จัดหาเงินทุนสาหรับขยายกิจการจากการก่อหนี ้ระยะยาว โดยมีการกู้ยืมเงินแบบไม่มี หลักทรัพย์ค ้าประกันจากสถาบันการเงินภายใต้ วงเงินสินเชื่อ และการออกหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน ทา ให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ มีหนี ้สินรวมจานวน 28,611.19 ล้ านบาท โดยเป็ นหนี ้สินทางการเงินจานวน 13,876.18 ล้ านบาท อัตราส่วนหนี ้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.82 เท่า ซึง่ ใกล้ เคียงกับปี ก่อนซึง่ มีอตั ราอยูท่ ี่ 1.83 ตามข้ อกาหนดว่าด้ วยสิทธิ และหน้ าที่ในการออกหุ้นกู้ กาหนดให้ บริ ษัทฯ ต้ องดารงอัตราส่วนหนี ้สินทาง การเงินที่มีดอกเบี ้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 1.75 เท่า สาหรับหุ้นกู้ที่ออกก่อนปี 2556 และสาหรับหุ้นกู้ที่ออกใหม่ ตังแต่ ้ ปี 2556 กาหนดให้ ต้องดารงอัตราส่วนหนี ้สินทางการเงินที่มดี อกเบี ้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2.50 เท่า ซึง่ บริ ษัทฯ ยังคงมีฐานะการเงินที่แข็งแกร่ง ยังสามารถดารงอัตราส่วนดังกล่าวได้ ตา่ กว่า เงื่อนไขการกู้ยืม โดยมีอตั รา หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ยสุทธิตอ่ ส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.88 เท่า ซึง่ อัตราส่วนระหว่างปี 2555 - 2557 มีรายละเอียด ดังนี ้ อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
2555 0.56
2556 0.77
2557 0.88
(3)
ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ส่วนของผู้ถือหุ้นมีจานวนเท่ากับ 15,701.63 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 2,985.25 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 23.48 โดยการเพิม่ ขึ ้นเป็ นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงของรายการที่สาคัญ ดังต่อไปนี ้ - หุ้นสามัญที่ออกและชาระแล้ วเพิม่ ขึ ้น 2,739.76 ล้ านบาท จากการเพิ่มทุนเพื่อจ่ายหุ้นปั นผลในเดือน พฤษภาคม 2557 จานวน 1,369.91 ล้ านบาท และเดือนพฤศจิกายน 2557 จานวน 1,369.86 ล้ านบาท - กาไรสะสมเพิ่มขึ ้น 268.86 ล้ านบาท แยกเป็ นกาไรสะสมที่สารองตามกฎหมาย 169.40 ล้ านบาท และที่ ยังไม่ได้ จดั สรรอีก 99.46 ล้ านบาท 107
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(4)
รายจ่ ายการลงทุน ในปี 2557 บริ ษัทฯ มีรายจ่ายเพื่อการลงทุนสุทธิ 7,060.91 ล้ านบาท วัตถุประสงค์เพื่อใช้ ในการก่อสร้ าง อาคาร ซื ้อที่ดิน ชาระค่าสิทธิการเช่าทีด่ ิน เพื่อขยายสาขาใหม่ทงในปี ั้ 2557 และปี ถัดไป ทังธุ ้ รกิจ “โฮมโปร” “เมกา โฮม” และ “โฮมโปร มาเลเซีย” รวมทังการปรั ้ บปรุงสาขาเดิมให้ มีความทันสมัย การเพิม่ พื ้นที่การขาย และการขยาย พื ้นที่ให้ เช่าภายในศูนย์การค้ ามาร์ เก็ต วิลเลจ รวม 7,022.05 ล้ านบาท และเป็ นการลงทุนในคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ จานวน 38.86 ล้ านบาท โดยแหล่งเงินทุนมาจากเงินสดจากการดาเนินงาน และเงิ นทุนจากสถาบันการเงิน รวมทัง้ การออกตราสารหนี ้หุ้นกู้ (5)
ความสามารถในการจัดหาแหล่ งเงินทุน ความสามารถในการชาระหนี ้ ในปั จจุบนั บริษัทฯ จัดหาแหล่งเงินทุนทังระยะสั ้ นและระยะยาว ้ จากทังเงิ ้ นกู้จากสถาบันการเงิน และการออก หุ้นกู้ โดยได้ รับการจัดอันดับจาก TRIS rating เป็ นรายปี และรายครัง้ ที่ออกตราสารหนี ้ โดยมีเงื่อนไขการกู้ยืม (Covenant) ในเรื่ องการดารงสัดส่วนหนี ้สินทางการเงินต่อทุนไม่เกิน 1.75 เท่า สาหรับหุ้นกู้ที่ออกก่อนปี 2556 และ 2.5 เท่า สาหรับหุ้นกู้ที่ออกตังแต่ ้ ปี 2556 เป็ นต้ นไป ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2557 TRIS rating คงอันดับเครดิตองค์กรไว้ ที่ระดับ A+ Stable 14.6 ภาระผูกพันด้ านหนีส้ นิ หนี ้สินรวมของบริ ษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวน 28,611.19 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน 5,385.89 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 23.19 ซึง่ มูลค่าทีเ่ พิ่มขึ ้นเป็ นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงของรายการที่สาคัญ ดังต่อไปนี ้ - เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงินสุทธิลดลง 1,360 ล้ านบาท เป็ นการชาระคืนตามกาหนดในเดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม 2557 งวดละ 500 ล้ านบาท และ จานวน 360 ล้ านบาทครบกาหนดเมื่อทวงถาม - เจ้ าหนี ้การค้ าเพิม่ ขึ ้น 1,012.61 ล้ านบาท ซึง่ เป็ นผลของการสัง่ ซื ้อสินค้ าที่ปรับตัวตามยอดขายและสาขาที่เพิม่ ขึ ้น - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิม่ ขึ ้นสุทธิ 400 ล้ านบาท โดยในจานวนนี ้มีสว่ นทีจ่ ะถึงกาหนดชาระในปี 2558 เพิ่มขึ ้นสุทธิจานวน 200 ล้ านบาท - หุ้นกู้เพิ่มขึ ้น 5,050 ล้ านบาท จากการออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีหลักประกัน ครัง้ ที่ 1/2557 – 5/2557 จานวน 1,000 ล้ านบาท 530 ล้ านบาท 520 ล้ านบาท 2,000 ล้ านบาท และ 1,000 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยมี ปั จจัยหลักเพื่อนาเงินไปขยายสาขา สาหรับรายละเอียดเกี่ยวกับเงินกู้ยืมระยะยาว และหุ้นกู้ ได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุงบการเงิน ข้ อ 18 และ 20 ตามลาดับ 14.7 ปั จจัยหรือเหตุการณ์ ท่ จี ะมีผลต่ อฐานะการเงินหรือการดาเนินงานในอนาคต เศรษฐกิจในปี 2558 มีแนวโน้ มฟื น้ ตัวอย่างต่อเนื่องค่อยเป็ นค่อยไป ซึง่ เป็ นผลมาจากการทยอยฟื น้ ตัวของการบริ โภค ที่ได้ รับประโยชน์จากราคาเชื ้อเพลิงที่ปรับลด และการลงทุนของภาคเอกชนที่จะเพิ่มขึ ้นหลังจากที่รัฐบาลได้ เร่งอนุมตั ิ โครงการลงทุนต่างๆ ในช่วงปี 2557 จานวนนักท่องเที่ยวมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นภายหลังจากที่สถานการณ์ทางการเมืองคลีค่ ลาย ลง
108
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนยังมีอปุ สรรคจากอัตราการใช้ กาลังการผลิตที่อยูใ่ นระดับต่า อุปสงค์ตา่ งประเทศยังคงชะลอตัว รวมถึงความกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนทางการเมืองในอนาคต ขณะที่การบริ โภค ภาคเอกชนยังมีข้อจากัดจากการตกตา่ ของราคาผลิตผลการเกษตร และหนี ้ครัวเรื อนที่ยงั อยูใ่ นระดับสูง ซึง่ มีผลต่อความ เชื่อมัน่ ของผู้บริ โภค และอาจส่งผลกระทบต่อยอดขาย และกระแสเงินสดรับของบริษัทฯ ได้ อย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ ได้ มกี าร จัดทาแผนงานประจาปี พร้ อมตรวจติดตามผลจากฝ่ ายบริ หารเป็ นประจา จึงทาให้ สามารถปรับเปลีย่ นหรื อกาหนดแผนงาน เพื่อรองรับเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ ้นได้ อย่างทันท่วงที รวมถึงบริษัทฯ ได้ มีการจัดทาแผนงานบริ หารความเสีย่ ง ซึง่ ได้ กาหนด ความระดับของความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ในแต่ละปั จจัย ซึง่ สามารถเป็ นแนวทางในการจัดการกับปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นอีกทาง หนึง่ บทวิเคราะห์ ของฝ่ ายจัดการและภาพรวมในอนาคต จากปั ญหาหลายด้ านที่เกิดขึ ้นในปี 2557 ไม่วา่ จะเป็ นปั ญหาความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ ปั ญหาเรื่ องราคา สินค้ าเกษตรที่ลดลง รวมถึงมูลค่าการส่งออกที่ยงั คงมีแนวโน้ มลดลงจากปี ที่ผ่านมา ส่งผลให้ การลงทุนและการบริ โภคใน ภาคเอกชนชะลอตัวลง และคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อเนื่องไปในครึ่งแรกของปี 2558 อย่างไรก็ตามจากนโยบายการลงทุนของภาครัฐ ไม่วา่ จะเป็ นการเร่งแผนการสร้ างรถไฟฟ้ าหลายสายในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล รวมถึงแผนการสร้ างรถไฟรางคู่เชื่อมจากหัวเมืองใหญ่ตามแนวชายแดนที่จะเป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษรองรับ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรื อ AEC ถึงแม้ วา่ จะเป็ นโครงการระยะยาวก็ตาม แต่นา่ จะส่งผลให้ มีการขยายตัวของ เมืองเพื่อรองรับการลงทุนดังกล่าวได้ จากปั จจัยดังกล่าวข้ างต้ นจะเห็นได้ วา่ ถึงแม้ วา่ ในระยะสันอาจจะมี ้ ผลกระทบที่ทาให้ เศรษฐกิจเติบโตได้ ช้า หรื ออาจ ชะลอตัวลง แต่ยงั มีปัจจัยในระยะยาวที่เกิดจากภาครัฐ และปั จจัยทางธุรกิจที่เป็ นโอกาสของบริ ษัทฯ ในอีกหลายด้ าน ตัวอย่างเช่น - การเปลีย่ นแปลงวิถีชีวิต และการขยายตัวของสังคมเมืองที่จะเพิ่มขึ ้นในอนาคต - การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมผู้บริ โภคในการจับจ่ายใช้ สอยที่ร้านค้ าในรูปแบบสมัยใหม่ (Modern Trade) - ภาพรวม Supply ในตลาดที่บริ ษัทฯ อยู่ เมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้ วยังต่า ทาให้ มีโอกาสในการขยายตัวได้ - การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรื อ AEC ซึง่ ทาให้ มีโอกาสทางการตลาดเพิ่มขึ ้น จากจุดนี ้เอง บริ ษัทฯ ยังคงมองการขยายสาขาในประเทศอย่างต่อเนื่อง ทังในธุ ้ รกิจ “โฮมโปร” เพื่อรองรับกลุม่ ลูกค้ าที่ เป็ นเจ้ าของบ้ านซึง่ อยูใ่ นเขตเมือง และการขยายสาขาในธุรกิจ “เมกา โฮม” เพื่อรองรับการขยายตัวของภาคการก่อสร้ างที่จะ เกิดขึ ้นจากการขยายตัวในอนาคต ทังนี ้ ้ก็เพื่อรองรับการเติบโตในระยะยาวของบริ ษัทฯ ในปี 2557 บริ ษัทฯ ยังได้ ขยายธุรกิจโฮมโปร ไปยังต่างประเทศเป็ นครัง้ แรก ที่กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยสาขาแรกตังอยู ้ ท่ ี่ศนู ย์การค้ า ไอโอไอ ซิตี ้มอลล์ โดยได้ รับการตอบรับที่ดี ถึงแม้ ว่าบริ ษัทฯ จะต้ องมีการปรับปรุ งขันตอน ้ และกระบวนการ เพื่อให้ เหมาะสมกับพฤกติกรรมของลูกค้ าที่แตกต่างกัน แต่ถือเป็ นก้ าวสาคัญที่จะได้ เรี ยนรู้ เพื่อเป็ น แนวทางสาหรับการเปิ ดธุรกิจในต่างประเทศในอนาคต ทังธุ ้ รกิจโฮมโปร และธุรกิจเมกา โฮม ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ยังคงวิสยั ทัศน์ที่จะเป็ นผู้นาในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมัน่ ใจว่าจากการแผนงาน และการดาเนินการ จะสามารถทาให้ บริ ษัทฯ บรรลุถึงวิสยั ทัศน์ที่วางไว้ ได้ ”
109
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล บริ ษัทฯ ได้ สอบทานข้ อมูลในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี ฉบับนี ้แล้ วด้ วยความระมัดระวัง บริ ษัทฯ ขอ รับรองว่าข้ อมูลดังกล่าวถูกต้ องครบถ้ วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาให้ ผ้ อู ื่นสาคัญผิด หรื อไม่ขาดข้ อมูลที่ควรต้ องแจ้ งใน สาระสาคัญ นอกจากนี ้ บริ ษัทขอรับรองว่า 1. งบการเงินและข้ อมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี ได้ แสดงข้ อมูลอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วนในสาระสาคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยแล้ ว 2. บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีระบบการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ดี เพื่อให้ แน่ใจว่าได้ เปิ ดเผยข้ อมูลในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญทัง้ ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยอย่างถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว รวมทังควบคุ ้ มดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว 3. บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้ มีการปฏิบตั ติ ามระบบดังกล่าว และได้ แจ้ งข้ อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 ต่อผู้สอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของ บริ ษัทฯ แล้ ว ซึง่ ครอบคลุมถึงข้ อบกพร่องและการเปลีย่ นแปลงที่สาคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทังการกระท ้ าที่ มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ในการนี ้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทังหมดเป็ ้ นเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริ ษัทฯ ได้ รับรองความถูกต้ องแล้ ว บริ ษัทฯ ได้ มอบหมายให้ นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล ตาแหน่ง กรรมการผู้จดั การ หรื อ นางสาว วรรณี จันทามงคล ตาแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ เป็ นผู้ลงลายมือชื่อกากับเอกสารนี ้ไว้ ทกุ หน้ าด้ วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อ นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล หรื อ นางสาว วรรณี จันทามงคล กากับไว้ บริ ษัทฯ จะถือว่าไม่ใช่ข้อมูลที่บริ ษัทฯ ได้ รับรอง ความถูกต้ องของข้ อมูลแล้ วดังกล่าวข้ างต้ น ชื่อ
ตาแหน่ ง
1. นาง สุวรรณา พุทธประสาท
กรรมการ
2. นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล
กรรมการ
ชื่อ
ตาแหน่ ง
ผู้รับมอบอานาจ นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล
กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
หรื อ นางสาว วรรณี จันทามงคล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
ลายมือชื่อ
ลายมือชื่อ
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ทังนี ้ ้ มาตรา 89/20 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึง่ แก้ ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 กาหนดให้ กรรมการและผู้บริ หารต้ องร่วมกันรับผิด ต่อบุคคลที่ซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทในความเสียหายใดๆ อันเกิดขึ ้นเนื่องจากการเปิ ดเผยข้ อมูลต่อผู้ถือหุ้นหรื อประชาชน ทัว่ ไป โดยแสดงข้ อความที่เป็ นเท็จในสาระสาคัญหรื อปกปิ ดข้ อความจริงที่ควรบอกให้ แจ้ งในสาระสาคัญในกรณีของงบ การเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัทหรื อรายงานอื่นใดทีต่ ้ องเปิ ดเผยตามมาตรา 56 หรื อมาตรา 199 โดยมิได้ จากัดความรับผิดไว้ เฉพาะกรรมการและผู้บริ หารที่ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้ องของข้ อมูลใน เอกสารดังกล่าวเท่านัน้ อย่างไรก็ดี กรรมการหรื อผู้บริ หารซึง่ สามารถพิสจู น์ได้ วา่ โดยตาแหน่งหน้ าที่ตนไม่อาจล่วงรู้ถงึ ความแท้ จริงของข้ อมูลหรื อการขาดข้ อมูลที่ควรต้ องแจ้ งนัน้ ย่อมไม่มีความรับผิดตามมาตรา 89/20
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง (1) นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 29/5/44)
อายุ
คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด
64 - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - M.S. Industrial Engineering, Illinois Institute of Technology, USA
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร
0.15
ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษทั ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง บิดาของ ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 4 แห่ ง นาย อาชวิณ 2544 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ อัศวโภคิน 2552 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
- วิศวกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)
2528 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2526 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2548 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์
หลักสูตร DCP Program ปี 2547 - การอบรมในปี 2557 (ไม่มี) (2) นายรั ตน์ พานิชพันธ์ - กรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 20/12/44) - กรรมการบริ หาร (แต่งตังเมื ้ ่อ 21/6/50) - ประธานกรรมการสรรหา และ กาหนดค่ าตอบแทน (แต่งตังเมื ้ ่อ 29/3/50)
67 - M.S. in Business Ad., Fort Hays Kansas State Uinversity, Hays, Kansas, USA.
กรรมการ กรรมการ -
-
บจก. แอล แอนด์ เอช พร็ อพเพอร์ ตี ้ บจก. แอล แอนด์ เอช สาทร
ประเภทธุรกิจ
ค้ าปลีก Home center บริ ษัท Holding พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ สถาบันการเงิน พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ 2550 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร และ ประธานกรรมการ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
- วิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สรรหาและกาหนดค่าตอบแทน 2552 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
บริ ษัท Holding
- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน
2548 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ
บมจ. บ้ านปู
ธุรกิจพลังงาน
กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2546 หลักสูตร DCP Program ปี 2548 หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) ปี 2553 - การอบรมในปี 2557 (ไม่มี)
ประธานกรรมการกาหนดค่าตอบแทน 2557 - ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ 2544 - 2557
กรรมการ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ และกรรมการผู้จดั การ ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2556 - ปั จจุบนั กรรมการ
บมจ. หลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี อินเตอร์ เนชัน่ แนล
พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
ธุรกิจลงทุน
(ประเทศไทย)
2553 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ
บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จากัด
บริ หารจัดการกองทุน
2548 - ปั จจุบนั กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร
บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์
สถาบันการเงิน
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง (3) นายจุมพล มีสุข - กรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 29/5/44) - กรรมการสรรหาและกาหนดค่ าตอบแทน (แต่งตั ้งเมือ่ 5/8/57)
อายุ
คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด
66 - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - BS.ARCH, F.E.U., Philippines - BS.CE, F.E.U., Philippines
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร
0.03
-
- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547 หลักสูตร DCP Program ปี 2551
ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษทั ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2557 - ปั จจุบนั กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ 2536 - 2553
กรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษาประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร และ กรรมการผู้จดั การ
บมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์
ประเภทธุรกิจ
ค้ าปลีก Home center ผลิต และจาหน่ายวัสดุก่อสร้ าง พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
- การอบรมในปี 2557 หลักสูตร RCC Program จากสมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) (4) นายอาชวิณ อัศวโภคิน - กรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 10/4/57)
39 - BS in Economics, University of Pennsylvania
-
- BS in Engineering, University of Pennsylvania
บุตรของ นาย อนันต์
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2557 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
อัศวโภคิน
ดารงตาแหน่ งอื่นในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2554 - ปั จจุบนั ผู้อานวยการอาวุโส บลจ. ไทยพาณิชย์
บริ หารจัดการกองทุน
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2546 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ 2554 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
ค้ าปลีก Home center บริ ษัท Holding
- การอบรมในปี 2557 หลักสูตร DCP Program จากสมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) (5) นางสุวรรณา พุทธประสาท - กรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 2/7/46)
60 - MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ปี 2550 หลักสูตร DAP Program ปี 2547 หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) ปี 2554 การอบรมในปี 2557 (ไม่มี)
-
-
2543 - ปั จจุบนั กรรมการ และ รองกรรมการผู้จดั การ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 5 แห่ ง
พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
2553 - ปั จจุบนั กรรมการ 2546 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการ
บจก. ไอเดีย ฟิ ตติ ้ง บจก. คาซ่า วิลล์ บจก. คิว.เอช.แมนเนจเม้ นท์
ออกแบบภายใน และติดตั ้งเฟอร์ นิเจอร์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ บริ หารสาธารณะประโยชน์สว่ นกลางของ โครงการคิวเฮ้ าส์
2543 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการ 2548 - 2555 กรรมการ
บจก. คิว.เอช.อินเตอร์ เนชัน่ แนล บจก. เดอะ คอนฟิ เด้ นซ์ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์
บริหารสานักงาน และโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยให้ เช่า
พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ สถาบันการเงิน
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง (6) นายมานิต อุดมคุณธรรม - กรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 29/5/44) - ประธานกรรมการบริ หาร (แต่งตังเมื ้ ่อ 21/6/50)
อายุ
คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด
69 - มัธยมศึกษาตอนปลาย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร
2.59
-
หลักสูตร DAP Program ปี 2547 การอบรมในปี 2557 (ไม่มี)
(7) นายนพร สุนทรจิตต์ เจริญ - กรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 29/5/44) - กรรมการบริหาร (แต่งตั ้งเมือ่ 21/6/50)
56 - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วิศวกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษทั ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ 2550 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 8 แห่ ง 2550 - ปั จจุบนั กรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร บจก. อิลิเชีย่ น ดีเวลบอปเม้ น 2549 - ปั จจุบนั กรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร บจก. เซีย่ งไฮ้ อินน์ กรรมการ บจก. พานาลี
-
-
ประเภทธุรกิจ
ค้ าปลีก Home center
โรงแรม โรงแรม โรงแรม
2547 - ปั จจุบนั กรรมการ 2546 - ปั จจุบนั กรรมการ
บจก. เกาะมะพร้ าว ไอส์แลนด์ บจก. อาร์ แอล พี
โรงแรม บริ ษัท Holding
2544 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการ
บจก. ยู เอส ไอ โฮลดิ ้ง บจก. แฟชัน่ พีเพิล บจก. แอ๊ คทีฟ เนชัน่
บริ ษัท Holding จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย จาหน่ายเครื่ องกีฬา
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 4 แห่ ง 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
2550 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร
- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)
2557 - ปั จจุบนั กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ 2545 - 2557 กรรมการ และรองกรรมการผู้จดั การ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์
พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
หลักสูตร DCP Program ปี 2548 หลักสูตร DAP Program ปี 2547 - การอบรมในปี 2557 (ไม่มี)
2552 - ปั จจุบนั กรรมการ 2537 - ปั จจุบนั กรรมการ 2537 - 2554 กรรมการ
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิ ตอล
บริ ษัท Holding ผลิต และจาหน่ายวัสดุก่อสร้ าง โรงพยาบาล
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2548 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2538 - ปั จจุบนั กรรมการ บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ นอร์ ธอีส กรรมการ
บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ นอร์ ธ
สถาบันการเงิน พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง (8) นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ (แต่งตังเมื ้ อ่ 29/5/44) - กรรมการบริหาร (แต่งตั ้งเมือ่ 21/6/50)
อายุ
คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด
58 - MBA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร
1.08
-
หลักสูตร DCP Program ปี 2544 - การอบรมในปี 2557 (ไม่มี)
ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษทั ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ 2550 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร 2556 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2555 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2554 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD. 2548 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ
(9) นายพงส์ สารสิน - กรรมการอิสระ (แต่งตั ้งเมือ่ 17/9/52) - กรรมการ (แต่งตั ้งเมือ่ 29/5/44)
87 - ปริ ญญาตรี ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริ หารธุรกิจ
0.01
-
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมในปี 2557 (ไม่มี)
บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2552 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ประเภทธุรกิจ
ค้ าปลีก Home center บริ ษัท Holding สถาบันการเงิน ค้ าปลีก บริ หารพื ้นที่ให้ เช่า
ค้ าปลีก Home center
2544 - ปั จจุบนั กรรมการ 2539 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ
บมจ. แชงกรี –ลา โฮเต็ล
ธุรกิจโรงแรม
2537 - ปั จจุบนั กรรมการ 2537 - 2558 กรรมการ
บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บมจ. สัมมากร
พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2543 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2543 - 2556 ประธานกรรมการ (10) นายบุญสม เลิศหิรัญวงศ์ - กรรมการอิสระ (แต่งตั ้งเมือ่ 1/10/57) - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (แต่งตั ้งเมือ่ 1/10/57)
61 - Dr. Ing., Civil Engineering, INSA. Toulouse, France - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ปี 2555 หลักสูตร FSD Program ปี 2555 หลักสูตร ACP Program ปี 2555 หลักสูตร AACP Program ปี 2555 หลักสูตร SFE Program ปี 2556 - การอบรมในปี 2557 หลักสูตร RCP Program จากสมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD)
-
-
บจก. ฮอนด้ า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) บจก. ไทยน ้าทิพย์
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2557 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2555 - 2557 กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปตท. ดารงตาแหน่ งกรรมการในองค์ กรที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2553 - ปั จจุบนั กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร อาคาร สถานที่ และระบบสาธารณูปโภค 2551 –2556 คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์
ผลิต และจาหน่ายรถยนต์ ผลิต และจาหน่ายเครื่ องดืม่
ค้ าปลีก Home center ธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค
สภากาชาดไทย
องค์กรการกุศล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถาบันการศึกษา
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง (11) นายทวีวัฒน์ ตติยมณีกุล - กรรมการอิสระ (แต่งตั ้งเมือ่ 29/5/44) - กรรมการตรวจสอบ (แต่งตั ้งเมือ่ 19/3/44)
อายุ
คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด
69 - ประถมศึกษา - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร
-
-
หลักสูตร DAP Program ปี 2547 การอบรมในปี 2557 (ไม่มี) (12) นายชนินทร์ รุ นสาราญ - กรรมการอิสระ (แต่งตั ้งเมือ่ 3/10/48) - กรรมการตรวจสอบ (แต่งตั ้งเมือ่ 22/9/48) - กรรมการสรรหาและกาหนดค่ าตอบแทน (แต่งตั ้งเมือ่ 29/3/50)
67 - MBA, Fort Hays State University Kansas, USA. - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ปี 2545 หลักสูตร RCM Program ปี 2545 การอบรมในปี 2557 (ไม่มี)
ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษทั ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2544 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง 2556 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร 2532 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร
-
-
บจก. มณีพิณ บจก. สตาร์ แฟชัน่ (2551)
ประเภทธุรกิจ
ค้ าปลีก Home center ธุรกิจ Holding ผลิตและจาหน่ายเครื่ องแต่งกาย
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง 2550 - ปั จจุบนั กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน 2548 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
2529 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ
บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ
ธุรกิจประกันภัย
บมจ. ไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย
ธุรกิจประกันภัย
กรรมการกาหนดค่าตอบแทน และกรรมการสรรหา
2546 - 2556
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ประธานกรรมการบริ หารความเสีย่ ง และ กรรมการทรัพยากรบุคคลและพิจารณาค่าตอบแทน
ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ที่ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2553 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร
บจก. เอส บี แอล ลิสซิง่
ธุรกิจ Leasing
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริ หาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สัดส่ วนการ
ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง (1) นาย วีรพันธ์ อังสุมาลี (2) นาย เกษม ปิ่ นมณเฑียรทอง (3) นางสาว จารุโสภา ธรรมกถิกานนท์
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
52 - ปริญญาโท วิศวอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย 56 - บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคาแหง 55 - ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ า
ความสัมพันธ์
ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร
ประสบการณ์ การทางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง
0.05
-
2548 - ปั จจุบนั
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
0.001
-
ค้ าปลีก Home center
-
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การเขต ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
0.08
2556 - ปั จจุบนั 2554 - 2556 2546 - ปั จจุบนั
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
0.0001
-
2557 - ปั จจุบนั 2540 - 2556
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การอาวุโส
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก. เอก-ชัย ดีสทิบวิ ชัน่ ซิสเทม
ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Tesco Lotus
0.03
-
ค้ าปลีก Home center
-
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป สายเครื่ องใช้ ไฟฟ้า ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
0.27
2554 - ปั จจุบนั 2550 - 2554 2543 - ปั จจุบนั
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
-
-
2557 - ปั จจุบนั 2555 - 2556 2551 - 2555
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ Head of Commercial Support Senior Business Process Lead
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก. เอก-ชัย ดีสทิบวิ ชัน่ ซิสเทม
ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Tesco Lotus
0.02
-
2550 - ปั จจุบนั
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
0.0003
-
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การอาวุโส ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก. เอก-ชัย ดีสทิบวิ ชัน่ ซิสเทม บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Tesco Lotus ค้ าปลีก Home center
(4) นางสาว สันนิภา สว่างพื ้น
46 - ปริญญาโท บัญชี Griffith University
(5) นางสาว ศิริวรรณ เปี่ ยมเศรษฐสิน (6) นางสาว ธาราทิพย์ ตรีมนั่ คง
56 - อนุปริญญา คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 54 - มัธยมศึกษาตอนต้ น
(7) นาง อภิรดี ทวีลาภ
43 - MBA Colorado State University
(8) นาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ (9) นาง พรสุข ดารงศิริ
56 - ปริญญาตรี การเงิน มหาวิทยาลัยรามคาแหง 49 - MS-CIS Colorado State University
(10) นาย วทัญญู วิสทุ ธิโกศล
50 - MBA Georgia State University
0.07
-
2556 - ปั จจุบนั 2550 - 2556 2545 - ปั จจุบนั
(11) นาย อนุชา จิตจาตุรันต์
51 - MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์
0.11
-
2545 - ปั จจุบนั
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
(12) นาย ณัฏฐ์ จริตชนะ
54 - MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
0.08
-
2549 - ปั จจุบนั
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
(13) นางสาว สุดาภา ชะมด
41 - MBA สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
0.001
-
(14) นาย นิทศั น์ อรุณทิพย์ไพฑูรย์
49 - MBA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
0.04
-
ค้ าปลีก Home center ที่ปรึกษาด้ านการวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ค้ าปลีก Home center
50 - MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ - ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี
0.07
-
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การอาวุโส ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป สานักตรวจสอบภายใน ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ และ เลขานุการบริษัท
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก. เอคเซนเชอร์ โซลูชนั่ ส์ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
(15) นางสาว วรรณี จันทามงคล
2555 - ปั จจุบนั 2542 - 2555 2553 - ปั จจุบนั 2548 - 2553 2548 - ปั จจุบนั
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรรมการ และผู้บริ หารที่มอี านาจควบคุมบริ ษัทย่ อย บริ ษัทย่ อย ชื่อ – นามสกุล
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
(1) นาย อนันต์
อัศวโภคิน
ประธานกรรมการ
(2) นาย รัตน์
พานิชพันธ์
กรรมการ
(3) นาย จุมพล
มีสขุ
กรรมการ
(4) นาย อาชวิณ
อัศวโภคิน
กรรมการ
(5) นาง สุวรรณา
พุทธประสาท
กรรมการ
(6) นาย มานิต
อุดมคุณธรรม
กรรมการ
(7) นาย นพร
สุนทรจิตต์เจริ ญ
กรรมการ
(8) นาย คุณวุฒิ
ธรรมพรหมกุล
กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
(9) นาย พงส์
สารสิน
กรรมการ
(10) นาย บุญสม
เลิศหิรัญวงศ์
กรรมการ
(11) นาย ทวีวฒ ั น์
ตติยมณีกลุ
กรรมการ
(12) นาย ชนินทร์
รุนสาราญ
กรรมการ
(13) นาย วีรพันธ์
อังสุมาลี
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(14) นาย เกษม
ปิ่ นมณเฑียรทอง
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(15) น.ส. จารุโสภา
ธรรมกถิกานนท์
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(16) น.ส. สันนิภา
สว่างพื ้น
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(17) น.ส. ศิริวรรณ
เปี่ ยมเศรษฐสิน
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(18) น.ส. ธาราทิพย์
ตรี มนั่ คง
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(19) นาง อภิรดี
ทวีลาภ
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(20) นาย ชัยยุทธ
กรัณยโสภณ
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(21) นาง พรสุข
ดารงศิริ
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(22) นาย วทัญญู
วิสทุ ธิโกศล
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(23) นาย อนุชา
จิตจาตุรันต์
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(24) นาย ณัฏฐ์
จริ ตชนะ
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(25) น.ส. สุดาภา
ชะมด
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(26) นาย นิทศั น์
อรุณทิพย์ไพฑูรย์
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
(27) น.ส. วรรณี
จันทามงคล
ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ
บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ
Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD.
บจก. เมกา โฮม เซ็นเตอร์
บจก. ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์
ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ
กรรมการ
กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
กรรมการ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
รายละเอียดเกี่ยวกับเลขานุการบริ ษัท ชื่อ : นางสาว วรรณี จันทามงคล (50 ปี ) สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท : ร้ อยละ 0.07 ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร : วุฒิทางการศึกษา :
การอบรม : ปี 2548 ปี 2551
ไม่มี
- ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ - ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Company Secretary Program โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ิสาหรับเลขานุการบริษัทตามกฎหมายหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์ การทางาน : ปี 2551 - ปั จจุบนั - เลขานุการบริษัท ปี 2548 - ปั จจุบนั - ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การด้ านบัญชีและการเงิน บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ (ธุรกิจค้ าปลีก) อานาจหน้ าที่ของเลขานุการบริษัท 1 อานวยความสะดวกสาหรับกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการบริษัท 2 ติดตาม และประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้ อง เพือ่ ให้ เกิดการปฏิบตั ิตามมติของคณะกรรมการบริษัท และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น พร้ อมกับรายงานผลการดาเนินงานดังกล่าวอย่างใกล้ ชิด 3 กาหนดตารางเวลาการประชุมคณะกรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อย รวมถึงทาหน้ าที่ในการดาเนินการจัดประชุม คณะกรรมการบริษัท และประชุมผู้ถือหุ้น 4 จัดทาและรักษาเอกสารดังนี ้ - ทะเบียนกรรมการ - หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจาปี ของบริษัทฯ - หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 5 เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้ เสียที่รายงานโดยกรรมการ หรือผู้บริหาร 6 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่กากับดูแล เช่น สานักงานตลาดหลักทรัพย์ฯ และดูแลการเปิ ดเผยข้ อมูล และรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงานที่กากับดูแลและสาธารณชนให้ ถกู ต้ องครบถ้ วนตามกฎหมาย 7 ให้ คาแนะนาด้ านกฎหมายและกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้ อง และข้ อพึงปฏิบตั ิด้านการกากับดูแลในการดาเนินกิจกรรม ของคณะกรรมการให้ เป็ นไปตามกฎหมาย 8 ดาเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด 9 จัดให้ มีการปฐมนิเทศ ให้ คาแนะนากรณีมีกรรมการเข้ าดารงตาแหน่งใหม่ 10 หน้ าที่อื่นๆ ตามที่ได้ รับมอบหมายจากบริษัทฯ
เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริ ษัทย่อย
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่ อย ชื่อ – นามสกุล
1. นาย คุณวุฒิ 2. นาย วีรพันธ์ 3. นาย ชัยยุทธ 4. นาย วทัญญู 5. นาย อนุชา 6. นาย ณัฏฐ์ 7. นาย นิทศั น์ 8. น.ส. วรรณี 9. Teh Ah Hock 10. Shikha Dutt
ธรรมพรหมกุล อังสุมาลี กรัณยโสภณ วิสทุ ธิโกศล จิตจาตุรันต์ จริตชนะ อรุณทิพย์ไพฑูรย์ จันทามงคล a/p Delip Kumar Dutt
บริษัทย่ อย บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ
Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD.
บจก. เมกา โฮม เซ็นเตอร์
บจก. ดีซี เซอร์ วสิ เซ็นเตอร์
ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
กรรมการ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ
กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ
หมายเหตุ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ไม่มีบริษัทย่อยใดที่มีรายได้ เกินกว่าร้ อยละ 10 ของรายได้ รวมตามงบกาไรขาดทุนรวมของปี บัญชีลา่ สุดของบริษัทฯ
กรรมการ กรรมการ
กรรมการ กรรมการ
เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน
รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน ชื่อ : ตาแหน่ ง:
นาย อายุรทัศน์ ไชยอนันต์ (47 ปี ) ผู้จดั การทัว่ ไป – สานักตรวจสอบภายใน
วุฒทิ างการศึกษา :
- ปริ ญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
การอบรม : ปี 2557 ปี 2556 ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553 ปี 2549 ปี 2548 ปี 2546 ปี 2541
- Going From ‘Good’ to ‘Great’ - หลักสูตรประกาศนีบตั รผู้ตรวจสอบภายในของประเทศไทย (CPIAT) - โครงการพัฒนาผู้บริ หาร Mini MBA – NIDA - การตรวจสอบภายในเพื่อเตรี ยมตัวเป็ นผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาตสากล - การบริ หารความเสี่ยง – เชิงปฏิบตั ิ - Skill for new Auditor-In-charge - Operation Audit - มาตรฐานการตรวจสอบภายใน หลักสูตร 2 - มาตรฐานการตรวจสอบภายใน หลักสูตร 1 และการตรวจสอบภายในด้ านคอมพิวเตอร์ หลักสูตร 1
ประสบการณ์ ทางาน : ปี 2553 – ปั จจุบนั ปี 2546 – ปั จจุบนั ปี 2543 – 2546 ปี 2540 – 2543
- เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ - ผู้ช่วยผู้จดั การทัว่ ไป – สานักตรวจสอบภายใน บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ - ที่ปรึกษาด้ านการบริ หารสินค้ า – บมจ.กะรัต สุขภัณฑ์ - หัวแผนกตรวจสอบภายใน บมจ.ปูนซีเมนต์นครหลวง
หน้ าที่ความรับผิดชอบของหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน 1. จัดโครงสร้ างแบ่งงานความรับผิดชอบและบริ หารงานทัว่ ไปภายในสานักตรวจสอบ 2. จัดทาคูม่ ือและมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของผู้ตรวจสอบภายใน และสอบทานผู้ตรวจสอบภายในว่าได้ ปฏิบัตติ าม มาตรฐานการตรวจสอบภายใน 3. จัดทาแผนการตรวจสอบภายในประจาปี ของบริ ษัท โดยกาหนดเป้าหมายและขอบเขตที่จะตรวจสอบ เพื่อ นาเสนอพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 4. จัดทางบประมาณประจาปี ของสานักตรวจสอบภายใน และ บริ หาร/ควบคุมรายจ่ายให้ อยู่ในงบประมาณ ตามที่ กาหนด 5. สอบทานงาน บริ หารและควบคุมงานตรวจสอบภายในให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และขอบเขตของ การตรวจสอบภายใน เพื่อให้ ระบบการควบคุมภายในเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 6. สอบทานและอนุมตั แิ นวการตรวจสอบ (Audit Program) แบบประเมินความเสี่ยงและความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายใน ของแต่ละงานตรวจสอบทังด้ ้ านปฏิบตั งิ าน ด้ านการตรวจสอบสารสนเทศ 7. สอบทานและให้ คาแนะนา ต่องานของผู้ใต้ บงั คับบัญชา เพื่อดาเนินการตามแนวทางการตรวจสอบ รวมถึง ควบคุม และตรวจสอบการปฏิบตั งิ านให้ เป็ นไปตามแผนงาน โดยพิจารณาการปฏิบตั งิ านต่างๆ ให้ เป็ นไปตาม เป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน และระเบียบปฏิบตั งิ านต่าง ๆ ของบริ ษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
8. 9. 10. 11. 12. 13.
สอบทานรายงานการตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบตั งิ านตามข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการตรวจสอบตามแผนงาน พร้ อมทังข้ ้ อเสนอแนะ ความคิดเห็นของผู้รับการตรวจสอบฯ รายงานอต่อ คณะกรรมการตรวจสอบทุกเดือน คัดเลือกและพัฒนาผู้ตรวจสอบภายในทุกระดับให้ มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และทักษะในการ ปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายใน รวมทังประเมิ ้ นผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายใน ให้ คาปรึกษา แนะนา เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในและความเสี่ยงกับหน่วยงานต่างๆ ปฏิบตั งิ านพิเศษตามที่ได้ รับมอบหมายจากฝ่ ายบริ หาร และคณะกรรมการตรวจสอบ ประสานงานกับผู้บริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบ ผู้สอบบัญชี และที่ปรึกษา
เอกสารแนบ 4 รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินราคาทรัพย์สนิ
(ไม่มี)
เอกสารแนบ 5 รายละเอียดอื่นๆ
(ไม่มี)