HMPRO: Form 56-1 2015

Page 1

แบบ 56-1

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี สิน สุดวันที! 31 ธันวาคม 2558

บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)


สารบัญ หน้ า ส่ วนที! 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. ปั จจัยความเสีย$ ง 4. ทรัพย์สนิ ที$ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลทัว$ ไปและข้ อมูลสําคัญอื$น ส่ วนที! 2 การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ

2 5 9 16 18 19

7. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 8. โครงสร้ างการจัดการ 9. การกํากับดูแลกิจการ 10. ความรับผิดชอบต่อสังคม – รายงานการพัฒนาอย่างยัง$ ยืน 11. การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสีย$ ง 12. รายการระหว่างกัน ส่ วนที! 3 ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

25 28 47 65 100 104

13. ข้ อมูลทางการเงินที$สาํ คัญ 14. การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

107 111

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกี$ยวกับกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเกี$ยวกับกรรมการของบริ ษัทย่อย เอกสารแนบ 3 : รายละเอียดเกี$ยวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน เอกสารแนบ 4 : จดหมายขอความร่วมมืองดเว้ นการให้ ของขวัญแก่ผ้ บู ริ หาร หรื อพนักงาน


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ส่ วนที 1 การประกอบธุรกิจ

1


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

1. นโยบาย และภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 นโยบายในการดําเนินงานของบริษัทฯ วิสัยทัศน์ เป็ นผู้นําในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

พันธกิจ 1. เราจะมอบความคุ้มค่าในด้ านสินค้ า บริ การ และราคาให้ แก่ลกู ค้ าเพื5อให้ โฮมโปรเป็ นอันดับหนึง5 ในใจลูกค้ า 2. เราจะร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ ในการเพิ5มประสิทธิภาพด้ านต่างๆ เพื5อสร้ างสรรค์ความสําเร็ จร่วมกัน 3. เราจะให้ ความสําคัญและจะพัฒนาบุคลากรให้ มีศกั ยภาพในการทํางาน มีความรับผิดชอบต่องาน และลูกค้ า รวมทังมี ; ความพอใจ ความสุข และความผูกพันต่อโฮมโปร 4. เราจะบริ หารงานอย่างมืออาชีพตามหลักธรรมาภิบาล การสร้ างความสัมพันธ์ที5ดีตอ่ สังคมและชุมชน 5. เราจะแสวงหาโอกาสใหม่ทางธุรกิจเพื5ออนาคต และการสร้ างมูลค่าเพิ5มที5เหมาะสมแก่ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสีย

เป้าหมายการดําเนินธุรกิจ ตามที5บริ ษัทฯ มีวิสยั ทัศน์ที5จะเป็ นผู้นําในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที5 มุง่ เน้ นเรื5 องการให้ บริ การที5ครบวงจร (One Stop Shopping) บริ ษัทฯ มีแผนที5จะขยายการลงทุนอย่างต่อเนื5อง เพื5อรองรับ กับการเติบโตของสังคมเมือง ครอบคลุมจังหวัดที5เป็ นยุทธศาสตร์ ของการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : Asean Economic Community)และในจังหวัดที5มีศกั ยภาพในการเติบโต โดยมีเป้าหมายที5จะขยายให้ ครบ 100 สาขา ภายในปี 2563 ครอบคลุมทังในเขตกรุ ; งเทพฯและต่างจังหวัด รวมถึงพัฒนาการให้ บริ การ และคัดเลือกสินค้ าใหม่ๆ เพิ5มความ หลากหลายในแต่ละกลุม่ สินค้ า ณ สิ ;นปี 2558 บริ ษัทฯ มีสาขาทังสิ ; ;น 76 สาขา กระจายครอบคลุม 46 จังหวัดทัว5 ประเทศ นอกเหนือจากธุรกิจภายใต้ ชื5อ “โฮมโปร” แล้ ว บริ ษัทฯ ยังได้ ขยายธุรกิจใหม่เพื5อรองรับตลาดสินค้ าวัสดุก่อสร้ าง โดยเปิ ดศูนย์รวมสินค้ าเกี5ยวกับบ้ านและวัสดุก่อสร้ างครบวงจร จําหน่ายสินค้ าในรูปแบบค้ าส่งและค้ าปลีกภายใต้ ชื5อ “เมกา โฮม” โดยมีลกู ค้ าเป้าหมายเป็ นกลุม่ ช่าง ผู้รับเหมา และเจ้ าของโครงการ ณ สิ ;นปี 2558 เมกา โฮม เปิ ดดําเนินการแล้ วทังสิ ; ;น 7 สาขา บริ ษัทฯ มีเป้าหมายที5จะขยายให้ ครบ 15 - 20 สาขา ภายในปี 2563 และเพื5อก้ าวสูค่ วามเป็ นผู้นําทางธุรกิจ และรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บริ ษัทฯ ได้ ขยายธุรกิจใน รูปแบบ“โฮมโปร” ไปยังต่างประเทศ โดยเริ5 มต้ นสาขาแรกที5ศนู ย์การค้ าไอโอไอ ซิตี ;มอลล์ (IOI City Mall) กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ในช่วงไตรมาส 4 ของปี 2557 สําหรับการดําเนินงานในปี 2558 ผลตอบรับยังไม่เป็ นที5น่าพอใจ อย่างไรก็ ตามบริ ษัทฯ มีความพยายามในการปรับเปลี5ยนรู ปแบบสินค้ าและบริ การอย่างต่อเนื5อง เพื5อให้ สามารถตอบโจทย์ความ ต้ องการของลูกค้ าชาวมาเลเซียให้ ได้ มากที5สดุ ทังนี ; ;ยังเป็ นการสร้ างสาขาต้ นแบบสําหรับการขยายธุรกิจในอนาคตอีกด้ วย สําหรับการขยายสาขาในประเทศมาเลเซีย บริ ษัทฯ มีเป้าหมายที5จะขยายให้ ครบ 5 - 10 สาขาภายในปี 2563 ในปี 2558 คณะกรรมการบริ ษั ทได้ มีการพิจารณาทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิ จ และกลยุทธ์ ของบริ ษัทฯ โดยยัง เห็นสมควรให้ ไม่มีการเปลีย5 นแปลงใดๆ 2


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

1.2 การเปลี ยนแปลงและพัฒนาการที สาํ คัญในช่ วง 3 ปี ที ผ่านมา ปี 2556 : - เมษายน 2556 ที5ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2556 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ5มทุนจดทะเบียนดังนี ; (1) ลดทุนจดทะเบียนจํานวน 1,387,406 หุ้น จากเดิม 7,054,971,235 หุ้น เหลือ 7,053,583,829 หุ้น โดยตัดหุ้น สามัญคงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที5ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง; ที5 1/2555 (2) เพิ5 ม ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 1,174,610,000 หุ้ น มู ล ค่ า หุ้น ละ 1 บาท เป็ นทุ น จดทะเบี ย นใหม่ จํ า นวน 8,228,193,829 หุ้น เพื5อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล -

พฤศจิกายน 2556 ที5ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง; ที5 1/2556 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ5มทุนจดทะเบียนดังนี ; (1) ลดทุนจดทะเบียนจํานวน 8,555,936 หุ้น จากเดิม 8,228,193,829 หุ้น เหลือ 8,219,637,893 หุ้น โดยวิธีตดั หุ้นสามัญจดทะเบียนที5คงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที5ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 และ ส่วนที5คงเหลือจากการใช้ สทิ ธิแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิที5ออกให้ กบั พนักงาน (ESOP-W4) (2) เพิ5 ม ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 1,370,210,000 หุ้ น มู ล ค่ า หุ้ นละ 1 บาท เป็ นทุ น จดทะเบี ย นใหม่ จํ า นวน 9,589,847,893 หุ้น เพื5อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล

ปี 2557 : - เมษายน 2557 ที5ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ5มทุนจดทะเบียนดังนี ;

-

(1) ลดทุนจดทะเบียนจํา นวน 296,905 หุ้น จากเดิม 9,589,847,893 หุ้น เหลือ 9,589,550,988 หุ้น โดยตัดหุ้น สามัญคงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที5ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง; ที5 1/2556 (2) เพิ5 ม ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 1,370,350,000 หุ้ น มู ล ค่ า หุ้ นละ 1 บาท เป็ นทุ น จดทะเบี ย นใหม่ จํ า นวน 10,959,900,988 หุ้น เพื5อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล ตุลาคม 2557 ที5ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง; ที5 1/2557 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ5มทุนจดทะเบียนดังนี ; (1) ลดทุนจดทะเบียนจํานวน 443,997 หุ้น จากเดิม 10,959,900,988 หุ้น เหลือ 10,959,456,991 หุ้น โดยวิธีตดั หุ้นสามัญจดทะเบียนที5คงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที5ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 (2) เพิ5 ม ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 1,369,940,000 หุ้ น มู ล ค่ า หุ้ นละ 1 บาท เป็ นทุ น จดทะเบี ย นใหม่ จํ า นวน 12,329,396,991 หุ้น เพื5อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล

ปี 2558 : -

เมษายน 2558 ที5ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 มีมติอนุมตั ิการลด และเพิ5มทุนจดทะเบียนดังนี ; (1) ลดทุนจดทะเบียนจํานวน 81,545 หุ้น จากเดิม 12,329,396,991 หุ้น เหลือ 12,329,315,446 หุ้น โดยตัดหุ้น สามัญคงเหลือจากการจัดสรรหุ้นปั นผลตามมติที5ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครัง; ที5 1/2557 (2) เพิ5 ม ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 822,000,000 หุ้ น มู ล ค่ า หุ้ นละ 1 บาท เป็ นทุ น จดทะเบี ย นใหม่ จํ า นวน 13,151,315,446 หุ้น เพื5อรองรับการจ่ายหุ้นปั นผล

3


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

1.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัทฯ ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558

บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ : ค้ าปลีกสินค้ าเกี5ยวกับบ้ าน และให้ บริ การที5เกี5ยวข้ องแบบครบวงจร

บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จํากัด ประเภทธุรกิจ : บริ หารพื น; ที5ให้ เช่า และให้ บริ การ ด้ านสาธารณูปโภค สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 99.99

Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD. ประเภทธุรกิจ : ค้ า ปลี ก สิน ค้ า เกี5 ย วกับ บ้ า น และ ให้ บริ การที5เกี5ยวข้ องแบบครบวงจร ณ ประเทศมาเลเซีย สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 100

บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จํากัด

บริษัท ดีซี เซอร์ วสิ เซ็นเตอร์ จํากัด

ประเภทธุรกิจ : ค้ าปลี ก ค้ า ส่ง วัสดุก่ อสร้ าง และ สินค้ าเกี5ยวกับบ้ าน

ประเภทธุรกิจ : บริ หารจัดการคลังสินค้ า และขนส่ง สินค้ า

สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 99.99

สัดส่ วนการถือครองหุ้น : ร้ อยละ 99.99

4


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด ก่อตังขึ ; ;นเมื5อวันที5 27 มิถนุ ายน 2538 โดยเป็ นการร่ วมลงทุนของ บริ ษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จํากัด (มหาชน) และบริ ษัท ควอลิตี ;เฮ้ าส์ จํากัด (มหาชน) ต่อมาได้ แปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชนในวันที5 29 พฤษภาคม 2544 ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ5 มต้ น 150 ล้ านบาท และได้ เข้ าจดทะเบียนเป็ นบริ ษัทรับอนุญาตในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในวันที5 30 ตุลาคม 2544 ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ มีสาขาในรู ปแบบ “โฮมโปร” 76 แห่ง (เปิ ดใหม่ในปี 2558 จํานวน 5 แห่ง ได้ แก่ สุโขทัย สมุทรสงคราม เพชรบุรี พัทลุง และชลบุรี (อมตะ)) สาขาในรู ปแบบ“เมกา โฮม” 7 แห่ง (เปิ ดใหม่ในปี 2558 จํานวน 3 แห่ง ได้ แก่ กบินทร์ บรุ ี มีนบุรี และอรัญประเทศ) และ “โฮมโปร” ที5ประเทศมาเลเซีย 1 แห่ง

2.1 ลักษณะการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริ ษัทฯ ก่อตังขึ ; ;นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื5อประกอบธุรกิจค้ าปลีก โดยจําหน่ายสินค้ า และให้ บริ การที5เกี5ยวข้ อง กับการก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม ปรับปรุ ง อาคาร บ้ าน และที5อยู่อาศัยแบบครบวงจร (One Stop Shopping Home Center) โดยใช้ ชื5อทางการค้ าว่า“โฮมโปร” (HomePro) ซึ5งเป็ นเครื5 องหมายการค้ าของบริ ษัทฯ โดยมีลกั ษณะการประกอบธุรกิจ ดังนี ; (1) ธุรกิจค้ าปลีก (1.1) ประเภทของสินค้ า แบ่งเป็ น 2 กลุม่ หลัก ได้ แก่ Hard Line

Soft Line

สินค้ าที5เกี5ยวกับวัสดุก่อสร้ าง สี อุปกรณ์ปรับปรุ งบ้ าน ห้ องนํ ;าและสุขภัณฑ์ เครื5 องครัว อุปกรณ์และเครื5 องใช้ ไฟฟ้า

สินค้ าประเภทเครื5 องนอน พรม ผ้ าม่าน เฟอร์ นิเจอร์ โคมไฟ สินค้ าตกแต่ง และอุปกรณ์เครื5 องใช้ ภายในบ้ าน

(1.2) บริ การที5เกี5ยวเนื5องกับธุรกิจค้ าปลีก เนื5องจากสินค้ าส่วนใหญ่ของบริ ษัทฯ เป็ นสินค้ าที5มีรายละเอียดของวิธีการ และขันตอนการใช้ ; งานที5 ต้ องมีการถ่ายทอดให้ กบั ลูกค้ า บริ ษัทฯ จึงจัดให้ มีบริ การด้ านต่างๆที5เกี5ยวข้ อง โดยเริ5 มตังแต่ ; การให้ คําปรึกษา และข้ อมูลที5จะเป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจเพื5อให้ ลกู ค้ าสามารถเลือกซื ;อสินค้ าได้ ตรงกับวัตถุประสงค์การ ใช้ งานมากที5สดุ อีกทังยั ; งมีบริ การ “โฮม เซอร์ วิส” (Home Service)ที5ให้ บริ การครอบคลุมงานออกแบบห้ อง ด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ 3 มิติ (3D Design) และงานบริ การ ดังต่อไปนี ; 1. งานติดตัง/; ย้ ายจุด/ แก้ ปัญหา (Installation Service) 2. งานตรวจเช็ค / ทําความสะอาด / บํารุงรักษาเครื5 องใช้ ไฟฟ้ าต่างๆ (Maintenance Service) 3. งานปรับปรุง / ตกแต่งบ้ าน (Home Improvement Service) 5


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

นอกจากนี ;ยังมีบริ การจัดหาช่าง และผู้รับเหมา บริ การเปลี5ยนคืนสินค้ า การจัดสาธิต DIY (Do It Yourself) และกิจกรรม Workshop ที5เป็ นประโยชน์แก่การดูแลบ้ านแก่ลกู ค้ าอีกด้ วย (2) การให้ บริการพืนU ที เพื อร้ านค้ าเช่ า บริ ษัทฯ มีการจัดสรรพื ;นที5ในบางสาขาเพื5อให้ บริ การแก่ร้านค้ าเช่า และมีการพัฒนารู ปแบบสาขาที5เรี ยกว่า “มาร์ เก็ต วิลเลจ” (Market Village) ซึ5งดําเนินธุรกิจในลักษณะของศูนย์การค้ าเต็มรู ปแบบ ภายในโครงการ นอกจากจะมีสาขาของโฮมโปรแล้ ว ยังมีพื ;นที5ในส่วนของศูนย์การค้ า โดยผู้เช่า ส่วนใหญ่ ได้ แก่ ซุปเปอร์ มาร์ เก็ ต ร้ านอาหาร ธนาคาร ร้ านหนังสือ ร้ านสินค้ าไอที เป็ นต้ น ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ มีสาขาในรู ปแบบมาร์ เก็ต วิลเลจ ทังสิ ; ;น 4 สาขา ได้ แก่ สาขาสุวรรณภูมิ สาขาหัวหิน สาขาภูเก็ต (ฉลอง) และสาขาราชพฤกษ์

การประกอบธุรกิจของบริษัทย่ อย (1) บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จํากัด (“มาร์ เก็ต วิลเลจ”) จัดตังขึ ; ;นเมื5อวันที5 26 พฤษภาคม 2548 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื5อบริ หารพื ;นที5ให้ เช่า พร้ อมกับให้ บริ การทางด้ าน สาธารณูปโภคแก่ผ้ เู ช่า เริ5 มต้ นดําเนินการที5โครงการ “หัวหินมาร์ เก็ต วิลเลจ”(Hua-Hin Market Village) ซึ5ง ตังอยู ; บ่ ริ เวณ ถ.เพชรเกษม อ. หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ เปิ ดดําเนินการในไตรมาสแรก ปี 2549 (2) Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD. จัดตัง; ขึน; เมื5อวันที5 28 กรกฎาคม 2554 โดยมีว ัตถุประสงค์ เพื5อดํา เนินธุรกิ จค้ า ปลีกสินค้ า เกี5 ยวกับบ้ า นที5 ประเทศมาเลเซีย เปิ ดดําเนินการสาขาแรกที5ศนู ย์การค้ า ไอโอไอ ซิตี ;มอลล์ (IOI City Mall) กรุงกัวลาลัมเปอร์ (3) บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จํากัด จัดตังขึ ; ;นเมื5อวันที5 4 กรกฎาคม 2555 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื5อดําเนินธุรกิจค้ าปลีก และค้ าส่ง วัสดุก่อสร้ าง สินค้ าเกี5ยวกับบ้ าน และของใช้ ในครัวเรื อน ณ สิ ;นปี 2558 เปิ ดดําเนินการทังสิ ; ;น 7 สาขา (4) บริษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จํากัด จัดตังขึ ; ;นเมื5อวันที5 4 กันยายน 2556 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื5อบริ หารจัดการคลังสินค้ า และให้ บริ การขนส่ง สินค้ า

6


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

2.2 โครงสร้ างรายได้ รายได้ ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยประกอบด้ วย รายได้ จากการขาย และรายได้ อื5น โดยโครงสร้ างรายได้ ทงสิ ั ; ;น สามารถแสดงได้ ดงั นี ; (หน่วย : ล้ านบาท)

ผลิตภัณฑ์ 1. รายได้ จากการขายปลีก - กลุ่ม Hard Line - กลุ่ม Soft Line 2. รายได้ จากการขายให้ โครงการ 1 3. รายได้ จากบริ ษัทย่อย รวมรายได้ จากการขาย 4. รายได้ อื5น 2 รวม หมายเหตุ

2558

2557

2556

จํานวน

%

จํานวน

%

จํานวน

%

39,108.8

69.5

36,965.9

72.2

32,162.4

75.3

8,580.0 343.2

15.3 0.6

7,956.3 407.6

15.5 0.8

6,992.0 674.5

16.4 1.6

4,480.7 52,512.7 3,730.5 56,243.2

8.0 93.4 6.6 100.0

2,635.0 5.2 47,964.8 93.7 3,243.8 6.3 51,208.6 100.00

177.7 40,006.6 2,718.6 42,725.2

0.4 93.7 6.3 100.0

1. รายได้จากการขายให้โครงการไม่สามารถจํ าแนกตามสายผลิ ตภัณฑ์ ได้ 2. รายได้อืน% ประกอบด้วย ค่าเช่าพืน- ที % ค่าสนับสนุนการขาย เป็ นต้น

2.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์ บริ ษัทฯ จัดหาสินค้ าโดย (1) สั งซือU บริ ษัทฯ สัง5 ซื ;อสินค้ าโดยแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์แยกตามกลุม่ สินค้ าจากผู้ผลิต หรื อตัวแทนจําหน่ายทังในและ ; ต่างประเทศ โดยมุง่ เน้ นที5คณ ุ ภาพ และความหลากหลายของสินค้ าเป็ นหลัก (2) สั งผลิต บริ ษัทฯ สัง5 ผลิตสินค้ าประเภท Private Brand จากทังผู ; ้ ผลิตภายในประเทศ และต่างประเทศ โดยในเบื ;องต้ น จะคัดเลือกบริ ษัทผู้ผลิตที5ได้ รับการรับรองมาตรฐานการผลิต ชื5อเสียง การให้ บริ การ รวมถึงรู ปแบบการดําเนินงานที5 สอดคล้ องกัน นอกจากนี ;บริ ษัทฯ ยังมีการเข้ าเยี5ยมชมโรงงานและการตรวจสอบผลิตภัณฑ์เพื5อพิจารณาคุณภาพ โดยรวมอีกด้ วย ปั จจุบนั บริ ษัทฯ จัดหาสินค้ าจากผู้ผลิต และตัวแทนจําหน่ายกว่า 1,150 ราย โดยเปิ ดโอกาสให้ คคู่ ้ ามีช่องทางในการ นําเสนอสินค้ า และ มีการคัดเลือกประเมินผลคู่ค้า (Vendor’s Service Level) ใน 4 ด้ าน คือ ด้ านความสามารถทางการ ผลิต ด้ านคุณภาพสินค้ า ด้ านคุณภาพการให้ บริ การ และความสามารถในการจัดส่ง ซึง5 ตลอดระยะเวลาที5ผา่ นมาได้ ให้ การ สนับสนุน และดําเนินงานร่วมกันด้ วยดีมาโดยตลอด ไม่วา่ จะเป็ นด้ านการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมส่งเสริ ม การขายร่วมกัน การร่วมวางแผนทางการขาย การสนับสนุนและเข้ าร่วมในสาขาที5กําลังจะเปิ ดใหม่

7


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

2.4 ตลาด และภาวะการแข่ งขัน บริ ษัทฯ จําแนกผู้ประกอบการรายอื5นที5จําหน่ายสินค้ าในลักษณะเดียวกัน ดังนี ; (1) ผู้ประกอบธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ - โฮมเวิร์ค (HomeWorks) เป็ นหน่วยธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเกี5ยวกับบ้ านในกลุม่ บริ ษัท เซ็นทรัล รี เทล คอร์ ปอเรชัน5 สิ ;นปี 2558 มีสาขาเปิ ดดําเนินการทังสิ ; ;น 7 สาขา -

ไทวัสดุ (Thai Watsadu) เป็ นหน่วยธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าวัสดุก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่งที5อยู่อาศัย ใน รู ปแบบแวร์ เฮ้ าส์สโตร์ ในกลุ่มบริ ษัท เซ็นทรัล รี เทล คอร์ ปอเรชั5น สิ ;นปี 2558 มีสาขาเปิ ดดําเนินการ ทังสิ ; ;น 41 สาขา

-

โกลบอลเฮ้ าส์ (Global House) ประกอบธุรกิจจําหน่ายสินค้ าวัสดุก่อสร้ าง ตกแต่ง เครื5 องมือ อุปกรณ์ที5 ใช้ ในงานก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง บ้ านและสวน ในรู ปแบบแวร์ เฮ้ าส์สโตร์ ดําเนินธุรกิจโดย บมจ. สยาม โกลบอลเฮ้ าส์ สิ ;นปี 2558 มีสาขาเปิ ดดําเนินการทังสิ ; ;น 38 สาขา

-

ดูโฮม (Do Home) ประกอบธุรกิจจําหน่ายสินค้ าวัสดุก่อสร้ าง เครื5 องมือ อุปกรณ์ที5ใช้ ในงานก่อสร้ าง ต่อ เติ ม บ้ า น ในรู ป แบบแวร์ เ ฮ้ า ส์ ส โตร์ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดย บจก. อุบ ลวัส ดุ สิ น; ปี 2558 มี ส าขาเปิ ด ดําเนินการทังสิ ; ;น 8 สาขา

อย่างไรก็ตาม ในปี ที5ผ่านมามีการขยายตัวของตลาดอสังหาริ มทรัพย์อย่างต่อเนื5อง รวมทังการเปลี ; 5ยนแปลง ความเป็ นสังคมเมือง ส่ง ผลให้ ความต้ องการสินค้ า และวัสดุตกแต่งบ้ า นขยายตัว ทัง; ในพืน; ที5เขตกรุ งเทพฯ และ ต่างจังหวัด อีกทังการขยายตั ; วของการลงทุนในภาคธุรกิจเพื5อรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ยัง ถือเป็ นโอกาสในการขยายตัวของตลาดอสังหาริ มทรัพย์ในภูมิภาคต่างๆ ด้ วย บริ ษัทฯ เห็นว่าธุรกิจนี ;ยังมีศกั ยภาพ และโอกาสทางการตลาดอีกมาก การที5มีผ้ ปู ระกอบการในธุรกิจนี ;เพิ5มขึ ;น จะช่วยกระตุ้นให้ ผ้ บู ริ โภครู้จกั และเปลีย5 นพฤติกรรมให้ หนั มาซื ;อสินค้ าจากร้ านสมัยใหม่ (Modern Trade) แบบโฮม เซ็นเตอร์ ได้ มากและเร็ วขึ ;น (2) ผู้ประกอบธุรกิจร้ านค้ าเฉพาะอย่ าง (Specialty Stores) ได้ แก่ ร้ านค้ ารายย่อยที5เน้ นการขายสินค้ าเฉพาะอย่าง ซึง5 อาจมีการแข่งขันกันในบางสายผลิตภัณฑ์ เช่น - ร้ านสินค้ าประเภทเซรามิค สุขภัณฑ์ และชุดครัว ได้ แก่ บุญถาวร แกรนด์ โฮมมาร์ ท - ร้ านเฟอร์ นิเจอร์ และสินค้ าตกแต่งบ้ าน ได้ แก่ อินเด็กซ์ ลิฟวิ5ง มอลล์ อิเกีย - ร้ านค้ ารายย่อยที5จําหน่ายเฉพาะวัสดุก่อสร้ าง ได้ แก่ ซิเมนต์ไทยโฮมมาร์ ท - ร้ านจําหน่ายสินค้ าเฉพาะอย่าง (3) ผู้ประกอบธุรกิจค้ าปลีกขนาดใหญ่ ในกลุ่ม Hypermarket โดยธุรกิจเหล่านี ;มุง่ เน้ นด้ านการจําหน่ายสินค้ าเพื5อการอุปโภคและบริ โภคเป็ นหลักไม่เน้ นสินค้ าเกี5ยวกับบ้ าน อาจมีสนิ ค้ าบางกลุม่ ที5จําหน่ายทับซ้ อนกันแต่กลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายหลักต่างกัน

8


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

3. ปั จจัยความเสี ยง บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการบริ หารความเสี5ยง โดยได้ มีการดําเนินการอย่างต่อเนื5องจนทําให้ ความเสี5ยงด้ าน ต่างๆ ได้ รับการดูแลจนสามารถควบคุมให้ อยู่ในระดับที5ยอมรับได้ สําหรับในปี 2558 บริ ษัทฯ ยังคงดําเนินการตาม นโยบายบริ หารความเสี5ยงองค์กรที5กําหนดไว้ สอดคล้ องกับทิศทางในการดําเนินธุรกิจตามมาตรฐานสากล มุ่งเน้ นการ บริ หารความเสี5ยงที5สําคัญทัง; 4 ด้ าน ได้ แก่ ด้ านกลยุทธ์ ด้ านการปฏิบตั ิงาน ด้ านการเงินและด้ านกฎระเบียบ โดย รายละเอียดมีดงั นี ;

3.1 ความเสี ยงด้ านกลยุทธ์ ความเสีย5 งที5เกี5ยวข้ องกับการกําหนดนโยบายการดําเนินงานของบริ ษัทฯ เศรษฐกิจ การลงทุน การแข่งขัน 3.1.1 ความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2558 โดยรวมค่อนข้ างอ่อนแอ การฟื น; ตัวเป็ นไปค่อนข้ างช้ า แม้ จะมีปัจจัยบวกเพิ5มขึ ;น เช่น ราคานํ ;ามันที5ลดลง การดําเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื5องของรัฐบาล รวมถึงการปรับลดอัตราดอกเบี ;ยของ คณะกรรมการนโยบายการเงิน แต่จากปั ญหาราคาสินค้ าเกษตรที5ตกตํ5า รวมถึงหนี ;ภาคครัวเรื อนที5อยู่ในระดับสูงทําให้ กําลังการซื ;อถูกจํากัด ความเชื5อมัน5 ของผู้บริ โภคลดลงลง การทุนภาคเอกชนมีการขยายตัวค่อนข้ างช้ า มีเพียงภาคการ ท่องเที5ยวที5ฟืน; ตัวดีขึ ;น บริ ษัทฯ พิจารณาถึงความเสี5ยงข้ างต้ น จึงได้ กําหนดนโยบายการลงทุนขยายสาขาอย่างระมัดระวัง เพื5อลดความ เสีย5 งที5ผลการดําเนินงานจะไม่เป็ นไปตามเป้าหมาย พร้ อมกับเร่งจัดการกระบวนการทํางานภายใน และกิจกรรมต่างๆ เพื5อ ลดการสูญเสีย (Lean Management) ที5จะทําให้ คา่ ใช้ จ่ายโดยรวมลดลง 3.1.2 การลงทุนในประเทศ ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ เปิ ดดําเนินการธุรกิจภายใต้ ชื5อ “โฮมโปร” แล้ วทังสิ ; ;นรวม 76 สาขา ครอบคุลม 46 จังหวัดทัว5 ประเทศ เป็ นสาขาที5เปิ ดใหม่ระหว่างปี 2558 จํานวน 5 สาขา ได้ แก่ สาขาสุโขทัย สมุทรสงคราม เพชรบุรี พัทลุง และชลบุรี (อมตะ) สําหรับธุรกิจ “เมกา โฮม” เปิ ดดําเนินการแล้ ว 7 สาขา เป็ นสาขาที5เปิ ดใหม่ในปี 2558 จํานวน 3 สาขา ได้ แก่ สาขากบินทร์ บรุ ี มีนบุรี และอรัญประเทศ จากที5บริ ษัทฯ ได้ มีนโยบายที5จะขยายสาขาอย่างต่อเนื5องอาจมีความเสีย5 งเกี5ยวกับผลการดําเนินงานของสาขาใหม่ ไม่เป็ นไปตามที5ได้ ประมาณการไว้ ซึ5งจะส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานโดยรวม บริ ษัทฯ บริ หารความเสี5ยงโดยได้ ทํา การวิเคราะห์ ผลตอบแทนจากการลงทุนก่ อนที5จะตัดสินใจลงทุนทุก ครั ง; นอกจากนีย; ัง มี การจัดทํ า แผนดํา เนินการ งบประมาณประจํ า ปี เพื5อ ควบคุม การดํ า เนิน งานของสาขา และเมื5 อสาขาใหม่เปิ ดดํา เนิ นการจะมี การติ ดตามผล ประกอบการและความคืบหน้ าของแผนทุกเดือน โดยจะช่วยให้ บริ ษัทฯ สามารถวางแผนรับความเสี5ยงและแก้ ไขปั ญหาที5 อาจจะเกิดได้ ทนั ท่วงที

9


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

3.1.3 การลงทุนในต่ างประเทศ เพื5อก้ าวสูค่ วามเป็ นผู้นําทางธุรกิจ และรองรับการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บริ ษัทฯ เริ5 มต้ นขยายธุรกิจไปยัง ต่างประเทศโดยลงทุนเปิ ดสาขาที5ประเทศมาเลเซียเป็ นแห่งแรก ทังนี ; ; ได้ พิจารณาจากความพร้ อมในด้ านต่างๆ เช่น กําลัง ซื ;อของผู้บริ โภค รู ปแบบการดําเนินชีวิตระบบคมนาคมขนส่ง โครงสร้ างพื ;นฐาน เป็ นต้ น บริ ษัทฯ เริ5 มต้ นเปิ ดสาขาแรกที5 ศูนย์การค้ า ไอโอไอ ซิตี ;มอลล์ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ช่วงปลายปี 2557 และเปิ ดอย่างเป็ นทางการในเดือนมกราคม 2558 บริ ษัทฯ ยังคงมีแผนการลงทุนในต่างประเทศอย่างต่อเนื5องเพื5อต่อยอดธุรกิจปั จจุบนั และเพิ5มโอกาสในการเติบโต ในระยะยาว บริ ษัทฯ บริ หารความเสี5ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ โดยได้ มีการศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดด้ าน การตลาด กฎหมาย ภาษี กฎเกณฑ์สง่ เสริ มการลงทุนจากต่างประเทศ นโยบายของรัฐ และปั จจัยอื5นๆ เพื5อประเมินผล กระทบและโอกาสที5อาจเกิดขึ ;นมาประกอบการพิจารณากําหนดแผนการลงทุนดังกล่าว รวมทังได้ ; มีการจัดระบบและ หน่วยงานภายในเพื5อติดตามประมวลผลการประกอบการและเร่งพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรและพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร 3.1.4 การแข่ งขัน ในปี ที5ผ่านมาธุรกิจสินค้ าเกี5ยวกับบ้ านยังมีแนวโน้ มขยายตัวอย่างต่อเนื5อง ผลจากแรงหนุนด้ านพฤติกรรมของ ผู้บริ โภคที5นิยมซื ;อจากร้ านค้ าปลีกสมัยใหม่มากขึ ;น การปรับเปลีย5 นวิถีชีวิตเป็ นแบบสังคมเมือง และการขยายตัวของธุรกิจ อสังหาริ มทรัพย์ในภูมิภาคต่างๆ ส่งผลให้ การแข่งขันในธุรกิจเริ5 มเพิ5มสูงขึ ;น ผู้ประกอบการในธุรกิจแต่ละรายพยายามเร่ ง ขยายสาขาให้ ครอบคลุมตลาดมากขึ ;น อย่างไรก็ตามในธุรกิจสินค้ าเกี5ยวกับบ้ าน มีกลุม่ ลูกค้ าที5แตกต่างกัน โดยแบ่งเป็ น กลุม่ ลูกค้ าเจ้ าของบ้ านที5มีกําลังซื ;อ และกลุม่ ลูกค้ าช่างหรื อผู้รับเหมา โดยกลุม่ ลูกค้ าของบริ ษัทฯ ในปั จจุบนั ยังมุ่งเน้ นไปที5 ตลาดเจ้ าของบ้ านที5มีกําลังซื ;อสูง บริ ษัทฯ บริ หารความเสีย5 งโดยการสร้ างความแตกต่างมุง่ เน้ นในเรื5 องความหลากหลายของสินค้ า และการให้ บริ การ ที5ครบวงจร อาทิ บริ การ “โฮม เซอร์ วิส” ที5ให้ บริ การครอบคลุมงานติดตัง; ตรวจเช็ค ทําความสะอาดเครื5 องใช้ ไฟฟ้ า งาน ปรับปรุง ตกแต่งบ้ าน งานออกแบบด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ 3 มิติ ฯลฯ นอกจากนี ;บริ ษัทฯ ได้ เน้ นการเพิ5มประสิทธิภาพการ บริ หารภายใน เสริ มสร้ างศักยภาพของพนักงานและความได้ เ ปรี ย บต่อ คู่แข่งด้ า นการสัง5 ซือ; สินค้ า ในปริ มาณมาก (Economies of Scale) 3.1.5 ความเสี ยงที มีผลกระทบต่ อสิทธิ หรือการลงทุนของผู้ถอื หุ้น บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่อนั ดับที5 1 ของบริ ษัทฯ และเป็ นรายเดียวที5ถือหุ้นมากกว่าร้ อยละ 25 โดย ณ วันที5 10 กันยายน 2558 ได้ ถือหุ้นของบริ ษัทฯ จํานวน 3,975,878,432 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 30.23 ของหุ้นที5จําหน่าย ได้ แล้ วทังหมด ; จึงทําให้ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ มีโอกาสที5จะควบคุมคะแนนเสียงที5ประชุมผู้ถือหุ้นได้ ยกเว้ นเรื5 องที5 กฎหมาย หรื อข้ อบังคับของบริ ษัทฯ กําหนดให้ ต้องได้ รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของที5ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างไรก็ ตาม บริ ษัทฯ มีข้อกําหนดในการปฏิบตั ิงานตามจริ ยธรรมธุรกิจ และหลักการกํากับดูแลกิจการที5ดี รวมถึงข้ อกําหนดของ กฎหมาย ที5จะช่วยปกป้องสิทธิของผู้ถือหุ้นและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย และควบคุมให้ การดําเนินงานด้ านต่างๆ ของบริ ษัทฯ มี ความโปร่งใส ตรวจสอบได้

10


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

3.2 ความเสี ยงด้ านการปฏิบัตงิ าน ความเสีย5 งที5เกี5ยวข้ องกับระบบการปฏิบตั ิงาน ความพร้ อมของระบบสารสนเทศ และบุคลากร 3.2.1 การสูญเสียบุคลากร “บุคลากร” ถือเป็ นปั จจัยหลักในการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯตังแต่ ; การสรรหาพนักงาน ได้ มีการทําความเข้ าใจใน ลักษณะธุรกิจและรายละเอียดของงาน ขอบเขตหน้ าที5 และความรับผิดชอบของพนักงานในทุกระดับ พนักงานระดับ ปฏิบัติการทุกคนจะได้ รับการฝึ กอบรมพื ;นฐานด้ า นการค้ าปลีก ความรู้ เกี5 ยวกับตัว สินค้ า ความรู้ ในการใช้ งานระบบ สารสนเทศ รวมถึงขันตอนปฏิ ; บตั ิงานต่างๆ ก่อนที5จะเริ5 มต้ นปฏิบตั ิงาน สําหรับพนักงานระดับจัดการและบริ หาร จะมีการ อบรมหลักสูตรบริ หารงาน ตามการพัฒนาขีดความสามารถต่างๆ ตามโปรแกรมที5เหมาะสม ในสภาวะที5ธุรกิจมีการแข่งขันสูง บริ ษัทฯ มีความเสีย5 งในการสูญเสียบุคลากรที5มีความรู้ ความสามารถให้ กบั คู่แข่ง หรื อธุรกิจค้ าปลีกอื5น ดังนันบริ ; ษัทฯ จึงมีความพยายามที5จะลดโอกาสการสูญเสียลง โดยการพัฒนาความสามารถ และ ทักษะของพนักงานให้ สงู ขึ ;น พร้ อมกับการพิจารณาปรับเลือ5 นตําแหน่งงานในทุกๆ ระดับ ซึง5 เป็ นเครื5 องมือในการรักษาคนที5 เกิดประโยชน์ทงสองฝ่ ั; ายเป็ นอย่างดี นอกจากนี ;ยังได้ มีการดูแล มอบสวัสดิการ และจัดตังโครงการต่ ; างๆ เพื5อให้ พนักงาน ได้ มีความสุข ความมัน5 คง และเกิดความผูกพันกับบริ ษัทฯ เช่น -

สร้ างบรรยากาศและวัฒนธรรมในการทํางานที5มงุ่ เน้ น ด้ านการสร้ างผลงานอย่างสร้ างสรรค์ โครงการสุขใจใกล้ บ้าน เพื5อให้ โอกาสพนักงานย้ ายไปทํางานที5สาขาใน (หรื อใกล้ ) จังหวัดบ้ านเกิด โครงการสะสมหุ้นสําหรับพนักงาน (EJIP) โครงการให้ ทนุ การศึกษา ในระดับปริ ญญาตรี-โท การวางแผนสืบทอดตําแหน่ง (Succession Planning) ระบบผู้จดั การฝึ กหัด (Management Trainee) เป็ นต้ น

3.2.2 ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ บริ ษัทฯ ใช้ ระบบสารสนเทศในการบริ หารจัดการข้ อมูล โดยระบบจะเชื5อมโยงกับโปรแกรมขายหน้ าร้ าน ทังนี ; ; ข้ อมูล จากโปรแกรมดังกล่าวจะถูกใช้ เพื5อประกอบการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานของกิจการ ซึ5งบริ ษัทฯ อาจมีความเสี5ยงหาก ระบบดังกล่าวมีปัญหา หรื อเกิดการรั5วไหลของข้ อมูล บริ ษัทฯ บริ หารความเสี5ยงของระบบสารสนเทศที5อาจเกิดขึ ;น เช่น ความเสี5ยงในการเข้ าถึงข้ อมูลโดยบุคคลที5ไม่มี อํานาจหน้ าที5ที5เกี5ยวข้ อง ความเสี5ยงของความไม่ถกู ต้ องครบถ้ วนของข้ อมูล และการทํางานของระบบสารสนเทศ ความ เสีย5 งในการไม่สามารถใช้ ข้อมูล หรื อระบบได้ อย่างต่อเนื5อง ฯลฯ โดยได้ กําหนดสิทธิการเข้ าถึงข้ อมูลและระบบสารสนเทศ ตามอํานาจและความรับผิดชอบของพนักงานแต่ละระดับกําหนดรหัสผ่าน (Password) ในการเข้ าถึงระบบอย่างรัดกุมเพิ5ม ระบบตรวจสอบความครบถ้ วนของข้ อมูลก่อนส่งผ่านเข้ าระบบ จัดให้ มีการสํารองข้ อมูล กําหนดให้ มีแผนฉุกเฉินกรณีมี เหตุการณ์ที5ทําให้ สถานะการทํางานของระบบหยุดลง (Disaster Recovery Plan : DRP) โดยมีการซ้ อมใช้ แผนเป็ นประจํา ทุกปี กําหนดรอบการตรวจสอบการทํางานของระบบ พร้ อมกับมีเจ้ าหน้ าที5ด้านระบบคอยควบคุมการทํางานและแก้ ปัญหา ที5อาจเกิดขึ ;นตลอดเวลา

11


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

3.2.3 การสูญหายของสินค้ า การสูญหายของสินค้ าเป็ นความเสี5ยงที5มีความสําคัญเป็ นอันดับต้ นๆ ของธุรกิจค้ าปลีก สาเหตุหลักมาจากการ ทุจริ ตโดยลูกค้ า และพนักงาน การสูญหายระหว่างการขนส่ง รวมถึงความผิดพลาดจากระบบจัดการภายใน เพื5อจัดการกับความเสี5ยงข้ างต้ น บริ ษัทฯ มีหน่วยงาน “ป้องกันการสูญเสีย” (Loss Prevention) ที5ดแู ลเรื5 องการ วางแผนและป้องกันการสูญเสียในทรัพย์สนิ ของบริ ษัทฯ โดยทํางานร่วมกับหน่วยงานภายในที5เกี5ยวข้ อง เพื5อกําหนดวิธีการ ทํางาน (Operating Procedure) และหามาตรการป้องกันให้ ความสูญเสียอยูใ่ นระดับตํ5าที5สดุ 3.2.4 การจัดการสินค้ าคงคลัง ณ วันที5 31 ธันวาคม ปี 2558 2557 และ 2556 บริ ษัทฯ มีสินค้ าคงเหลือสุทธิ จํานวน 8,364.76 ล้ านบาท 8,030.82 ล้ านบาท และ 6,505.64 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยมูลค่าสินค้ าคงเหลือที5เพิ5มขึ ;นเป็ นผลมาจากการปรับตัวตาม ยอดขาย และจํานวนสาขาที5เพิ5มขึ ;น สําหรับระยะเวลาการขายสินค้ าเฉลีย5 อยูท่ ี5 77 วัน 75 วัน และ 74 วัน ตามลําดับ อย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ มีความพยายามอย่างต่อเนื5องที5จะเพิ5มรอบการหมุนของสินค้ าคงคลัง ไม่ว่าจะเป็ นการ พัฒนาคุณภาพการให้ บริ การของพนักงานขาย การจัดรายการส่งเสริ มการขาย การปรับปรุงรูปแบบการจัดเรี ยงสินค้ า และ รู ปลักษณ์ภายในสาขา การเพิ5มสินค้ าใหม่เข้ าร้ านอย่างสมํ5าเสมอ เพื5อเพิ5มจํานวนลูกค้ า และยอดขาย รวมทังการเพิ ; 5ม ประสิทธิภาพการจัดการสินค้ าคงคลัง ทังนี ; ;บริ ษัทฯ มีศนู ย์กระจายสินค้ าซึง5 สร้ างอยูบ่ นที5ดินที5เป็ นกรรมสิทธิ ของบริ ษัท โดย ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 มี พื ;นที5จดั เก็บรวมทังสิ ; ;นกว่า 136,000 ตารางเมตร อีกทังยั ; งมีแผนจะขยายพื ;นที5เพิ5มขึ ;นอย่างต่อเนื5อง เพื5อให้ สามารถบริ หาร จัดการสินค้ าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถรองรับปริ มาณการขยายสาขาในอนาคต 3.2.5 การจัดหาสินค้ า ความเสีย5 งด้ านปริ มาณและราคาสินค้ าเป็ นปั จจัยความเสี5ยงหลักที5สําคัญของผู้ประกอบการด้ านค้ าปลีก บริ ษัทฯ มีการจัดหาและสัง5 ซื ;อสินค้ าจากทังในประเทศและต่ ; างประเทศ ซึง5 สินค้ าส่วนใหญ่มาจากผู้ผลิตและตัวแทนภายในประเทศ โดยได้ มีการวางแผนล่วงหน้ าในการจัดหา เพื5อให้ มีสินค้ าเพียงพอต่อการขายตลอดเวลา และมีหน่วยงานเฉพาะที5จะทํา การสํารวจสินค้ าและคัดเลือกบริ ษัทผู้ผลิตที5ได้ รับการรับรองมาตรฐานการผลิต เพื5อสามารถพัฒนาเกี5ยวกับคุณภาพสินค้ า และมีสนิ ค้ าทดแทนอย่างต่อเนื5อง นอกจากนี ;บริ ษัทฯ มีนโยบายกระจายการจัดหาและสัง5 ซื ;อสินค้ าไปยังผู้ผลิตและตัวแทนที5ผ่านการคัดเลือกแล้ ว หลายรายเพื5อลดความเสี5ยงจากการพึ5งพิงผู้ขายรายเดียว สร้ างความสมดุลด้ านปริ มาณ และการสร้ างอํานาจในการ ต่อรองด้ านราคาในระยะยาว

12


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

3.3 ความเสี ยงด้ านการเงิน พิจารณาจากการหาแหล่งเงินทุนที5เหมาะสมเพียงพอต่อการดําเนินธุรกิจ อัตราแลกเปลี5ยนจากการซื ;อสินค้ า และ การลงทุนของบริ ษัทฯ 3.3.1 ลูกหนี U บริ ษัทฯ แบ่งลูกค้ าออกเป็ น 2 กลุม่ คือ กลุม่ ลูกค้ ารายย่อยและกลุม่ ผู้รับเหมาและเจ้ าของโครงการ กลุม่ ลูกค้ าราย ย่อยคือลูกค้ าหน้ าร้ านที5สว่ นใหญ่ขายสินค้ าเป็ นเงินสด ส่วนกลุม่ ผู้รับเหมาและเจ้ าของโครงการ คือกลุม่ ลูกค้ าที5ขายใน ปริ มาณมากโดยการให้ เครดิต รายได้ จากการขายส่วนใหญ่มาจากกลุม่ ลูกค้ ารายย่อย โดยในปี 2558 สัดส่วนการขายเป็ น เงินสดอยู่ที5ร้อยละ 99.3 ของยอดขายทังหมด ; สําหรับปี 2557 และ2556 สัดส่วนอยู่ที5ร้อยละ 99.1 และ 98.3 ตามลําดับ สําหรับการขายที5ให้ เครดิต บริ ษัทฯ จะพิจารณาเฉพาะโครงการที5มีฐานะการเงินที5เชื5อถือได้ โดยได้ ตรวจสอบผลการ ดําเนินงานและฐานะทางการเงินแล้ ว หรื อเป็ นผู้รับเหมาที5มีหนังสือคํ ;าประกันเป็ นหลักประกันการชําระหนี ; เป็ นต้ น ทังนี ; ; ณ วันที5 31 ธันวาคม ปี 2558 2557 และ 2556 มีลกู หนี ;ค้ างชําระจํานวน 302.72 ล้ านบาท 262.55 ล้ านบาท และ 329.66 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยส่วนใหญ่เป็ นลูกหนี ;การค้ าจากการขายโครงการและลูกหนี ;การค้ าจากการขายผ่าน บัตรเครดิต มีการตังสํ ; ารองค่าเผื5อหนี ;สงสัยจะสูญจํานวน 2.64 ล้ านบาท เพิ5มขึ ;นจากปี 2557 และ 2556 ที5ตงไว้ ั ; ที5จํานวน 1.34 ล้ านบาท ซึ5งผู้บริ หารได้ ประเมินระยะการชําระหนี ; และสถานะทางการเงินของลูกหนี ;แต่ละรายแล้ ว บริ ษัทฯ เห็นว่า ค่าเผื5อหนี ;สงสัยจะสูญที5ตงไว้ ั ; เพียงพอ และเหมาะสมแล้ ว สําหรับลูกหนี ;อื5น ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 ส่วนใหญ่เป็ นลูกหนี ;จากการสนับสนุนการขายและจากการใช้ เช่าพื ;นที5 และบริ การอื5นที5เกี5ยวข้ อง ซึง5 มียอดคงค้ างจํานวน 1,375.85 ล้ านบาทและมีคา่ เผื5อหนี ;สงสัยจะสูญ จํานวน 13.32 ล้ านบาท 3.3.2 เงื อนไขสัญญาเงินกู้ / การออกหุ้นกู้ การเปลีย5 นแปลงของอัตราดอกเบี ;ยเป็ นอีกปั จจัยหนึ5งที5มีผลกระทบต่อการดําเนินงานของธุรกิจต่างๆ ที5ต้องอาศัย เงินทุนจากภายนอก โดยปี ที5ผา่ นมาแนวโน้ มอัตราดอกเบี ;ยและภาพรวมเงินเฟ้ อในตลาดยังทรงตัวอยู่ในระดับตํ5า จึงส่งผล ให้ ความเสีย5 งด้ านการบริ หารการเงินในระยะสันยั ; งไม่สงู มากนอกจากนี ;ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ มีกลไกกํากับดูแลการบริ หาร การเงิน โดยมีการวิเคราะห์และพิจารณาต้ นทุนจากการลงทุนผ่านเครื5 องมือต่างๆ ทังการใช้ ; เงินจากกระแสเงินสด การกู้เงิน จากธนาคาร การออกหุ้นกู้ เพื5อบริ หารต้ นทุนให้ สมดุลกับโครงสร้ างการลงทุนในสินทรัพย์แต่ละประเภท และสอดคล้ องกับ นโยบายของบริ ษัทฯ ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ มีเงินกู้ยืมระยะยาวคงค้ างจํานวน 1,800 ล้ านบาท จากสถาบันการเงินใน ประเทศ และมีห้ นุ กู้คงค้ าง 12,550 ล้ านบาท ซึ5งมีกําหนดไถ่ถอนระหว่างปี 2559 ถึง 2562 โดยบริ ษัทฯ มีข้อตกลงกับ เจ้ าหนี ;หุ้นกู้วา่ จะต้ องดํารงอัตราส่วนหนี ;ทางการเงินสินต่อทุน (D/E) ไว้ ไม่ให้ เกิน 1.75 เท่า สําหรับหุ้นกู้ที5ออกก่อนปี 2556 และ 2.5 เท่า สําหรับหุ้นกู้ที5ออกตังแต่ ; ปี 2556 เป็ นต้ นไป โดย ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ มี D/E เท่ากับ 0.85 เท่า 3.3.3 อัตราแลกเปลี ยน บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยอาจมีความเสีย5 งที5เกิดจากการเปลีย5 นแปลงของอัตราแลกเปลี5ยน จากการสัง5 ซื ;อสินค้ าจาก ต่างประเทศ และการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ สําหรับการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศนันจะก่ ; อให้ เกิด ผลกระทบเกี5ยวกับการแปลงค่างบการเงิน และเงินลงทุนในสกุลเงินต่างประเทศอย่างไรก็ตามสําหรับการสัง5 ซื ;อสินค้ า 13


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยได้ มีการดําเนินการป้องกันความเสี5ยง (Hedging) โดยการทําสัญญาซื ;อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้ าเพื5อเป็ นเครื5 องมือในการบริ หารความเสีย5 งไว้ แล้ ว

3.4 ความเสี ยงด้ านกฎระเบียบ พิจารณาความเสีย5 งจากข้ อจํากัดทางกฎหมายทังใน ; และต่างประเทศที5มีผลต่อการดําเนินธุรกิจ 3.4.1 พระราชบัญญัติผังเมืองรวม พระราชบัญญัติผงั เมืองรวมมีวตั ถุประสงค์เพื5อเป็ นแนวทางในการพัฒนาประเทศ และรองรับการขยายตัวเมืองใน อนาคตหากในอนาคตมีการปรั บปรุ งผังเมืองรวมดัง กล่า ว บริ ษั ทฯ จะไม่ได้ รับผลกระทบจากข้ อจํ ากัดนี ;แต่อย่า งใด เนื5องจากที5ผา่ นมาบริ ษัทฯ ได้ ลงทุนครอบคลุมพื ;นที5ในเขตหัวเมืองหลักเกือบทุกจังหวัดแล้ ว แต่กลับมองว่าเป็ นการจํากัด การขยายธุรกิจของคูแ่ ข่ง ซึง5 จะเป็ นประโยชน์แก่บริ ษัทฯ อีกด้ วย 3.4.2 พระราชบัญญัติการแข่ งขันทางการค้ า ในปี พ.ศ. 2549 คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ า มีมติให้ ประกาศใช้ เกณฑ์แนวทางพิจารณาการปฏิบตั ิทาง การค้ าระหว่างผู้ประกอบธุรกิจค้ าส่งค้ าปลีกกับผู้ผลิต/ผู้จําหน่ายภายใต้ พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. 2542 จํานวน 8 แนวทาง ได้ แก่ (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

การกําหนดราคาที5ไม่เป็ นธรรม การเรี ยกรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที5ไม่เป็ นธรรม การคืนสินค้ าโดยไม่เป็ นธรรม การใช้ สญ ั ญาการฝากขายที5ไม่เป็ นธรรม การบังคับให้ ซื ;อ หรื อให้ จา่ ยค่าบริ การ (Coercion to Purchase) การใช้ พนักงานของผู้ผลิต/ผู้จําหน่าย อย่างไม่เป็ นธรรม การปฏิเสธการรับสินค้ าที5สงั5 ซื ;อ/ผลิตพิเศษ เป็ นตราเฉพาะของผู้สงั5 ผลิต (Private Brand) หรื อเป็ นตราเฉพาะ ของผู้ประกอบธุรกิจค้ าส่งค้ าปลีก (House Brand) อย่างไม่เป็ นธรรม (8) การปฏิบตั ิที5ไม่เป็ นธรรมอื5นๆ แนวทางพิจารณาการปฏิบตั ิทางการค้ า 8 ข้ อดังกล่าวมีผลกระทบต่อผู้ค้าปลีกแบบสมัยใหม่ทกุ ราย (Modern Trade) อย่างไรก็ตาม เพื5อให้ สามารถดําเนินธุรกิจได้ สอดคล้ องตามประกาศข้ างต้ น บริ ษัทฯ ได้ ปรับแก้ ข้อสัญญากับบริ ษัท คูค่ ้ าตามที5ได้ มีการตกลงร่วมกันให้ มีความละเอียด และชัดเจนยิ5งขึ ;น 3.4.3 พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 การเปิ ดตลาดเสรี การค้ าจากการจัดตังประชาคมอาเซี ; ยนจะส่งผลให้ การนําเข้ าสินค้ าจากต่างประเทศเพิ5มสูงขึ ;น รัฐบาลไทยจึงต้ องกําหนดมาตรการเพื5อควบคุม และป้องกันอันตรายจากสินค้ านําเข้ าที5อาจเกิดขึ ;นกับผู้บริ โภคหนึ5งใน มาตรการนันคื ; อการออกพระราชกฤษฎีกําหนดมาตรฐานสินค้ านําเข้ า สําหรับสินค้ าบางรายการที5จากเดิมสามารถนําเข้ า ได้ โดยไม่ต้องขออนุญาตมาตรฐานอุตสาหกรรม แต่ในอนาคต การนําเข้ าสินค้ านันๆ ; จะต้ องผ่านการขออนุญาตก่อน ซึ5ง อาจทําให้ บริ ษัทฯ ได้ รับผลกระทบเรื5 องความสะดวกในการนําเข้ าสินค้ าที5อาจถูกควบคุมมากขึ ;น

14


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความสําคัญของสินค้ าที5ได้ มาตรฐานโดยบริ ษัทฯ มีการอบรมให้ พนักงานที5รับผิดชอบให้ มี ความรู้ความเข้ าใจ ในสินค้ านันๆ ; นอกจากนี ; ยังมีพนักงานที5รับผิดชอบในการตรวจสอบสินค้ าที5ผลิตในประเทศ และสินค้ า นําเข้ าให้ มีมาตรฐานถูกต้ องตามที5กฎหมายกําหนด และมีการติดตามและตรวจสอบสินค้ าที5นํามาขายเป็ นระยะ

15


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

4. ทรั พย์ สินที ใช้ ในการประกอบธุรกิจ บริ ษัทฯ มีสนิ ทรัพย์ที5ใช้ ในการประกอบธุรกิจ ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 ดังต่อไปนี ; รายการ 1. 2. 3. 4.

อสังหาริ มทรัพย์เพื5อการลงทุน ที5ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สิทธิการเช่ารอตัดบัญชี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวม หัก ค่าเสือ5 มราคาสะสม ค่าตัดจําหน่ายสะสม ค่าเผื5อการด้ อยค่า สินทรัพย์ ถาวรสุทธิ

จํานวน (ล้ านบาท)

4,009.30 38,244.46 2,618.14 537.37 45,409.27 11,362.85 645.47 17.55 33,383.41

หมายเหตุ : ยอดสินทรัพย์สทุ ธิ รวมรายการของบริ ษัทย่อยไว้ จํานวน 3,563.80 ล้ านบาท

16


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดที5ดิน สิทธิการเช่ารอการตัดบัญชี อาคาร และส่วนปรับปรุงอาคารสุทธิ ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 มีดงั นี ; ลักษณะกรรมสิทธิl / สาขา

1. สิทธิการเช่ าที ดิน รังสิต รัตนาธิเบศร์ รามคําแหง พระราม 2 แจ้ งวัฒนะ ราชพฤกษ์ สุวรรณภูมิ ภูเก็ต-ฉลอง เขาใหญ่ ลําลูกกา ฉะเชิงเทรา ร้ อยเอ็ด นครศรี ธรรมราช สุพรรณบุรี ลพบุรี สกลนคร บุรีรัมย์ ราชบุรี หาดใหญ่-กาญจนวนิช แพร่ สระบุรี เพชรบูรณ์ ลําปาง สุรินทร์ โคราช-หัวทะเล ศรี ราชา ภูเก็ต-ถลาง พัทยาเหนือ พัทลุง ชัยพฤกษ์ ชลบุรี (อมตะ) ศูนย์กระจายสินค้ า และสาขาของธุรกิจเมกา โฮม

2. สิทธิการเช่ าพืนU ที แฟชัน5 ไอส์แลนด์ ฟิ วเจอร์ มาร์ ท เสรี เซ็นเตอร์ เดอะมอลล์ บางแค รัชดาภิเษก เพลินจิต ภูเก็ต เชียงใหม่ ลาดพร้ าว พัทยา หาดใหญ่ สมุย อยุธยา เชียงใหม่-หางดง กระบี5 สุขาภิบาล และเมกาบางนา

3. ถือกรรมสิทธิl (บริษัทฯเป็ นเจ้ าของ) ประชาชื5น หัวหิน พิษณุโลก ขอนแก่น อุดรธานี ชลบุรี รามอินทรา เพชรเกษม ระยอง นครปฐม นครราชสีมา ตรัง นครสวรรค์ มหาชัย อุบลราชธานี จันทบุรี ชุมพร ปราจีนบุรี สุราษฎร์ ธานี กาญจนบุรี พุทธมณฑล-สาย 5 ชัยภูมิ เชียงราย เลย ประจวบคีรีขนั ธ์ เชียงใหม่-สันทราย สุโขทัย สมุทรสงคราม เพชรบุรี พระราม 3 ศูนย์กระจายสินค้ า สาขาที5อยู่ระหว่างรอเปิ ดดําเนินการ และสาขาของ ธุรกิจเมกา โฮม

รวม

เนือU ที โดยประมาณ

มูลค่ าทางบัญชี (ล้ านบาท) ที ดิน/ สิทธิการเช่ า

อาคาร

สินU สุดอายุ สัญญาเช่ า

สิทธิการ ต่ อสัญญา

660 ไร่ 1 งาน 99 ตรว.

2,081.65

8,874.16

2565 – 2588

ไม่มี *

124,149 ตรม.

309.07

311.90

2559 – 2585

ไม่มี

990 ไร่ 2 งาน 42 ตรว.

8,033.02

7,822.52

-

-

10,423.74

17,008.58

หมายเหตุ : บริ ษัทฯ มีสิทธิในการต่อสัญญาเช่าที5ดินจํานวน 1 สาขา ทังนี ; ; รายละเอียดและเงื5อนไขในการต่อสัญญาจะมีการตกลงกับผู้ให้ เช่าในอนาคต

17


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย บริ ษัทฯ มีคดีที5เกี5ยวกับการดําเนินธุรกิจหลัก ซึง5 อยูร่ ะหว่างการฟ้ องร้ อง 2 ประเภท 1. คดีกบั บริ ษัทคูค่ ้ า เป็ นกรณีที5เรี ยกค่าเสียหายจากการผิดสัญญาซื ;อขาย 2. คดีกบั ร้ านค้ าเช่า เป็ นกรณีเรี ยกค่าเช่า และค่าบริ การ จากการให้ เช่าพื ;นที5 ซึง5 เมื5อรวมมูลหนี ;ทังสิ ; ;นแล้ วยังมีจํานวนที5น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที5 31 ธันวาคม 2558 และ ไม่มีกรรมการ หรื อผู้บริ หารท่านใดที5เป็ นคูค่ วามกับบริ ษัทฯ

18


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

6. ข้ อมูลทั วไปและข้ อมูลสําคัญอื น 6.1 ข้ อมูลบริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

Website ประเภทธุรกิจ

96/27 หมูท่ ี5 9 ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ : 0 2832 1000 โทรสาร : 0 2832 1400 www.homepro.co.th จําหน่ายสินค้ า และให้ บริ การที5เกี5ยวข้ องกับการก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซมบ้ าน

เลขทะเบียนบริ ษัท จํานวนหุ้นจดทะเบียน จํานวนหุ้นชําระแล้ ว ชื อตลาดหลักทรั พย์ ท จี ดทะเบียน ชื อที ใช้ ในการซือU ขาย

และที5อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร 0107544000043 13,151,315,446 หุ้น (มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) 13,151,198,025 หุ้น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย HMPRO

ที ตังU

6.2 ข้ อมูลบริษัทที บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ถือครองตังU แต่ ร้อยละ 10 ขึนU ไป (1) ชื อ ที ตังU

บริ ษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จํากัด 234/1 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77110 โทรศัพท์ : 0 3261 8888 โทรสาร : 0 3261 8800

ประเภทธุรกิจ จํานวนหุ้นที ออกจําหน่ าย

บริ หารพื ;นที5ให้ เช่า และให้ บริ การด้ านสาธารณูปโภค หุ้นสามัญ 50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท

จํานวนหุ้นที ถือครอง

49,993 หุ้น (ร้ อยละ 99.99)

(2) ชื อ ที ตังU

Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD. Unit 5F-1A, PFCC, Bandar Puteri, 47100 Puchong, Selangor Darul Ehsan

ประเภทธุรกิจ

ค้ าปลีกสินค้ าเกี5ยวกับบ้ าน และให้ บริ การที5เกี5ยวข้ องแบบครบวงจร

จํานวนหุ้นที ออกจําหน่ าย จํานวนหุ้นที ถือครอง

หุ้นสามัญ 25,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 ริ งกิต 25,000,000 หุ้น (ร้ อยละ 100)

(3) ชื อ ที ตังU

บริ ษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จํากัด 49 หมูท่ ี5 5 ต.คลองหนึ5ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ : 0 2516 0099 โทรสาร : 0 2516 0098

ประเภทธุรกิจ จํานวนหุ้นที ออกจําหน่ าย

ค้ าปลีก และค้ าส่ง วัสดุก่อสร้ าง และสินค้ าเกี5ยวกับบ้ าน หุ้นสามัญ 10,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท

จํานวนหุ้นที ถือครอง

9,999,998 หุ้น (ร้ อยละ 99.99)

(4) ชื อ ที ตังU

บริ ษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จํากัด 100 หมูท่ ี5 2 ต.ลําไทร อ.วังน้ อย จ.อยุธยา 13170

ประเภทธุรกิจ

บริ หารจัดการคลังสินค้ า และขนส่งสินค้ า

จํานวนหุ้นที ออกจําหน่ าย จํานวนหุ้นที ถือครอง

หุ้นสามัญ 500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท 499,997 หุ้น (ร้ อยละ 99.99)

19


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

6.3 ข้ อมูลสาขาโฮมโปร 1. รั งสิต

21. สมุย

100 ถ.พหลโยธิน ต.ประชาธิปัตย์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110

1/7 หมูท่ ี5 6 ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ ธานี 84320

2. รั ตนาธิเบศร์

22. พิษณุ โลก

6/1 หมูท่ ี5 6 ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140

959 หมูท่ ี5 10 ต.อรัญญิก อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

3. แฟชั น ไอส์ แลนด์

23. ขอนแก่ น

587, 589 ถ.รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230

177/98 หมูท่ ี5 17 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000

4. ฟิ วเจอร์ มาร์ ท

24. อุดรธานี

295 ถ.พระราม 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120

89/20 หมูท่ ี5 9 ซ.บ้ านหนองเหล็ก ต.หมากแข้ ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000

5. พาราไดซ์ พาร์ ค

25. สุราษฏร์ ธานี

61 ถ.ศรี นคริ นทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

86 หมูท่ ี5 3 ตําบลวัดประดู่ อ.เมืองสุราษฎร์ ธานี จ.สุราษฎร์ ธานี 84000

6. เดอะมอลล์ บางแค

26. เพชรเกษม

275 หมูท่ ี5 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160

224 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค้ างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160

7. รั ชดาภิเษก

27. ชลบุรี

125 ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

15/16 หมูท่ ี5 3 ต.ห้ วยกะปิ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000

8. เพลินจิต

28. เอกมัย-รามอินทรา

55 อาคารเวฟเพลส ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

41 ถ.ประดิษฐ์ มนูธรรม แขวงลาดพร้ าว เขตลาดพร้ าว กรุงเทพฯ 10230

9. ภูเก็ต

29. ระยอง

104 หมูท่ ี5 5 ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000

560 ถ.สุขมุ วิท ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 21000

10. เชียงใหม่

30. อยุธยา

94 หมูท่ ี5 4 ถ.เชียงใหม่-ลําปาง ต.หนองป่ าคลัง5 อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

80 หมูท่ ี5 2 ต.บ้ านกรด อ.บางปะอิน จ.อยุธยา 13160

11. รามคําแหง

31. เชียงใหม่ -หางดง

647/19 ถ.รามคําแหง (สุขาภิบาล 3) แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

433/4-5 หมูท่ ี5 7 ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100

12. พระราม 2

32. กระบี

45/581 หมูท่ ี5 6 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150

349 หมูท่ ี5 11 ต.กระบี5น้อย อ.เมือง จ.กระบี5 81000

13. ประชาชื น

33. ภูเก็ต-ฉลอง

96/27 หมูท่ ี5 9 ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

61/10 หมูท่ ี5 10 ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83130

14. ลาดพร้ าว

34. เขาใหญ่

669 ถ.ลาดพร้ าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900

288 หมูท่ ี5 11 ต.หนองนํ ;าแดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130

15. พัทยา

35. นครปฐม

333 หมูท่ ี5 9 ต.หนองปรื อ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150

752/3 ถ.เพชรเกษม ต.ห้ วยจรเข้ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000

16. แจ้ งวัฒนะ

36. นครราชสีมา

113 หมูท่ ี5 5 ต.ปากเกร็ ด อ.ปากเกร็ ด จ.นนทบุรี 11120

384 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000

17. หาดใหญ่

37. ลําลูกกา

677 ถ.เพชรเกษม ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110

99 หมูท่ ี5 6 ต.บึงคําพร้ อย อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12150

18. ราชพฤกษ์

38. สุขาภิบาล 3

82 หมูท่ ี5 2 ต.บางขุนกอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130

101 ถ.รามคําแหง แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510

19. สุวรรณภูมิ

39. นครศรี ธรรมราช

99/28 หมูท่ ี5 1 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540

89 ถ.นคร-ปากพนัง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรี ธรรมราช 80000

20. หัวหิน

40. ฉะเชิงเทรา

234/1 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77110

187/9 ถ.ฉะเชิงเทรา-บางปะกง ต.หน้ าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000

20


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) 41. ร้ อยเอ็ด

59. สระบุรี

116 หมูท่ ี5 3 ต.ดงลาน อ.เมือง จ.ร้ อยเอ็ด 45000

24/3 หมูท่ ี5 2 ต.ตะกุล อ.เมือง จ.สระบุรี 18000

42. สุพรรณบุรี

60. เพชรบูรณ์

133 ถ.มาลัยแมน ต.รัว; ใหญ่ อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000

151 หมูท่ ี5 1 ต.ชอนไพร อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000

43. ลพบุรี

61. ชัยภูมิ

85 หมูท่ ี5 6 ต.ท่าศาลา อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000

164 หมูท่ ี5 7 ต.หนองนาแซง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ 36000

44. สกลนคร

62. เชียงราย

689/1 ถ.นิตโย ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000

157 หมูท่ ี5 2 ต.ท่าสาย อ.เมือง จ.เชียงราย 57000

45. ตรั ง

63. เลย

196 หมูท่ ี5 4 ต.บ้ านควน อ.เมือง จ.ตรัง 92000

117 หมูท่ ี5 9 ต.นาอาน อ.เมือง จ.เลย 42000

46. เมกาบางนา

64. ลําปาง

39 หมูท่ ี5 6 ต.บางแก้ ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540

224 ถ. ไฮเวย์-ลําปาง-งาว ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลําปาง 52000

47. บุรีรัมย์

65. ประจวบคีรีขันธ์

499 หมูท่ ี5 9 ต.อิสาณ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ 31000

57 ถ. เพชรเกษม ต.ประจวบคีรีขนั ธ์ อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 77000

48. หาดใหญ่ - กาญจนวนิช

66. สุรินทร์

33/40 หมูท่ ี5 5 ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110

188 หมูท่ ี5 6 ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000

49. นครสวรรค์

67. เชียงใหม่ - สันทราย

119/2 หมูท่ ี5 7 ต.บางม่วง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000

49 หมูท่ ี5 4 ต.สันทรายน้ อย อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210

50. มหาชัย

68. หัวทะเล

68/98 หมูท่ ี5 8 ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000

233 หมูท่ ี5 1 ต.หนองบัวศาลา อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000

51. อุบลราชธานี

69. ศรี ราชา

284 หมูท่ ี5 7 ต.แจระแม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000

99/123 หมูท่ ี5 10 ต.หนองขาม อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 20110

52. ราชบุรี

70. ภูเก็ต - ฉลอง

208 หมูท่ ี5 13 ต.เจดีย์หกั อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000

18 หมูท่ ี5 1 ต.ศรี สนุ ทร อ.ถลาง จ.ภูเก็ต 83110

53. จันทบุรี

71. พัทยาเหนือ

21/18 หมูท่ ี5 11 ต. พลับพลา อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000

384/40 หมูท่ ี5 6 ต.นาเกลือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150

54. ชุมพร

72. สุโขทัย

63 หมูท่ ี5 1 ต.วังไผ่ อ.เมือง จ.ชุมพร 86000

33 หมูท่ ี5 12 ต.บ้ านกล้ วย อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000

55. ปราจีนบุรี

73. สมุทรสงคราม

44/1 หมูท่ ี5 4 ต.บางบริ บรู ณ์ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25000

2/25 หมูท่ ี5 1 ต.บางแก้ ว อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม 75000

56. กาญจนบุรี

74. เพชรบุรี

15 หมูท่ ี5 1 ต.ท่าล้ อ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี 71000

526 หมูท่ ี5 6 ต.บ้ านหม้ อ อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000

57. แพร่

75. พัทลุง

171 หมูท่ ี5 7 ต.ป่ าแมด อ.เมือง จ.แพร่ 54000

219 หมูท่ ี5 1 ต.เขาเจียก อ.เมือง จ.พัทลุง 93000

58. พุทธมณฑลสาย 5

76. ชลบุรี – อมตะ

198 หมูท่ ี5 1 ต.บางเตย อ.สามพราน จ.นครปฐม 73210

108 หมูท่ ี5 12 ต.นาป่ า อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000

21


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ข้ อมูลสาขาเมกา โฮม 1. รั งสิต

5. กบินทร์ บุรี

49 หมูท่ ี5 5 ต.คลองหนึ5ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120

61 หมูท่ ี5 8 ต.เมืองเก่า อ.กบินทร์ บรุ ี จ.ปราจีนบุรี 25240

2. แม่ สอด

6. มีนบุรี

1108 หมูท่ ี5 1 ต.ท่าสายลวด อ.แม่สอด จ.ตาก 63110

81 ถ.สุวินทวงศ์ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510

3. หนองคาย

7. อรั ญประเทศ

999 หมูท่ ี5 5 ต.มีชยั อ.เมือง จ.หนองคาย 43000

52 หมูท่ ี5 7 ต.บ้ านใหม่หนองไทร อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ ว 27120

4. บ่ อวิน 333/143 หมูท่ ี5 3 ต.บ่อวิน อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 20230

ข้ อมูลสาขาโฮมโปร ประเทศมาเลเซีย IOI City Mall AT-2, Level LG, IOI City Mall, IOI Resort, 62502 Wilayah, Persekutuan Putrajaya, Malaysia

6.4 ข้ อมูลบุคคลอ้ างอิง (1) ผู้สอบบัญชี

บริ ษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด ชั ;น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถ.รัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90

(2) ที ปรึ กษากฎหมาย Wissen & Co Ltd. ชั ;น 8 ห้ อง 3801 อาคาร บีบี 54 ซ.สุขมุ วิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2259 2627 โทรสาร 0 2259 2630 (3) บริ ษัทจัดอันดับ เครดิตองค์ กร และตราสารหนี U

บริ ษัท ทริ สเรทติงU จํากัด ชั ;น 24 อาคารสีลมคอมเพล็กซ์ 191 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2231 3011 โทรสาร 0 2231 3012

(4) นายทะเบียนหุ้น

บริ ษัท ศูนย์ รับฝากหลักทรั พย์ (ประเทศไทย) จํากัด ชั ;น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 93 ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2009 9999 โทรสาร 0 2009 9001

22


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

(5) นายทะเบียนหุ้นกู้ หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) 44 ถ.หลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0 2626 7503-4 โทรสาร 0 2626 7542

ครั งU ที 1/2556 ครั งU ที 1/2557 ครั งU ที 2/2557 ครั งU ที 3/2557 ครั งU ที 4/2557 ครั งU ที 1/2558

หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครั งU ที 5/2557 ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน) 1222 ถ.พระรามที5 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2296 3582 โทรสาร 0 2683 1298 หุ้นกู้ไม่ ด้อยสิทธิ และไม่ มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ครั งU ที 2/2558 ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2544 3934 โทรสาร 0 2937 7783

23


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ส่ วนที 2 การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ

24


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

7. ข้ อมูลหลักทรั พย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 หลักทรั พย์ ของบริษัทฯ ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 ทุนจดทะเบียน : 13,151,315,446 บาท (หุ้นสามัญ 13,151,315,446 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ทุนชําระแล้ ว : 13,151,198,025 บาท (หุ้นสามัญ 13,151,198,025 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ชื#อตลาดหลักทรัพย์ที#จดทะเบียน : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชื#อที#ใช้ ในการซื =อขาย : HMPRO จากข้ อมูลผู้ถือหุ้นสามัญของบริ ษัทฯ ที#ถือหุ้นผ่านบริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด (Thai NVDR) ณ วันที# 30 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีจํานวน 253,835,498 หุ้น หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 1.93 ของจํานวนหุ้นที#จําหน่ายแล้ วทังหมด = ทังนี = = หุ้นสามัญที# ถือโดย Thai NVDR นี =จะไม่สามารถใช้ สิทธิออกเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้นได้ ยกเว้ นกรณีการใช้ สิทธิออกเสียงเพื#อลงมติ เกี#ยวกับการเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (Delist) ดังนันจํ = านวนหุ้นที#มีสิทธิ ออกเสียงของบริ ษัทฯ จะลดลง ซึ#งจะทําให้ สิทธิ ในการออกเสียงของผู้ถือหุ้นรายอื#นเพิ#มขึ =น ทัง= นี = ผู้ถือหุ้นและนักลงทุน สามารถตรวจสอบจํานวนหุ้นที#ถือโดย Thai NVDR ได้ จากเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื#อประโยชน์ในการพิจารณาใช้ สิทธิออกเสียงต่อไป

7.2 โครงสร้ างผู้ถือหุ้น ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนวันที# 10 กันยายน 2558 บริ ษัทฯ มีทนุ จดทะเบียน 13,151,315,446 หุ้น เรี ยกชําระแล้ ว 13,151,198,025 หุ้น ผู้ถือหุ้นที#ถือหุ้นสูงสุด 10 อันดับแรก ประกอบด้ วย ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. หมายเหตุ

ชื อบุคคล / นิติบุคคล บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จํากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี = เฮ้ าส์ จํากัด (มหาชน) นาย นิติ โอสถานุเคราะห์ นาย มานิต อุดมคุณธรรม AIA Company Limited-DI-LIFE นาย จุน วนวิทย์ สํานักงานประกันสังคม บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด CHASE NOMINEES LIMITED บริษัท สารสิน จํากัด

จํานวนหุ้น 3,975,878,432 2,613,023,098 621,415,762 340,991,997 315,183,380 289,731,264 276,759,812 246,257,507 209,008,208 167,557,971

สัดส่ วนการถือหุ้น 30.23 19.87 4.73 2.59 2.40 2.20 2.10 1.87 1.59 1.27

ณ วันที# 10 กันยายน 2558 บริ ษัทมีสดั ส่วนจํานวนผู้ถือหุ้นรายย่อย (Free Float) อยู่ที#ประมาณร้ อยละ 43.78 และมี สัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนสถาบัน อยู่ที#ประมาณร้ อยละ 20.05

25


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ข้ อจํากัดหุ้นต่ างด้ าว ผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติสามารถถือหุ้น และมีชื#อปรากฏบนทะเบียนหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ รวมกันได้ ไม่เกินร้ อยละ 30 ของจํานวนหุ้นที#ออกและชําระแล้ ว โดย ณ วันที# 30 ธันวาคม 2558 หุ้นของบริ ษัทฯ ที#ถือครองโดยชาวต่างชาติอยู่ที# ประมาณร้ อยละ 8.10

กรรมการที เป็ นตัวแทนจากกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ชื อ – นามสกุล 1. 2. 3. 4. 5.

นาย อนันต์ นาย นพร นาย อาชวิณ นาง สุวรรณา นาย ชัชชาติ

อัศวโภคิน สุนทรจิตต์เจริ ญ อัศวโภคิน พุทธประสาท สิทธิพนั ธุ์

ตัวแทนกลุ่มผู้ถือหุ้น

ตําแหน่ งกรรมการที โฮมโปร

บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ. ควอลิตี = เฮ้ าส์ บมจ. ควอลิตี = เฮ้ าส์

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

7.3 การออกหุ้นกู้

ครัง= ที# อัตราดอกเบี =ยต่อปี หุ้นกู้ประเภทไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ ครัง= ที# 1/2554 คงที#ร้อยละ 4.60 ครัง= ที# 1/2555 คงที#ร้อยละ 3.85 ครัง= ที# 1/2556 คงที#ร้อยละ 4.05 ครัง= ที# 1/2557 คงที#ร้อยละ 3.63 ครัง= ที# 2/2557 คงที#ร้อยละ 3.53 ครัง= ที# 3/2557 คงที#ร้อยละ 3.53 ครัง= ที# 4/2557 คงที#ร้อยละ 3.54 ครัง= ที# 5/2557 คงที#ร้อยละ 3.47 ครัง= ที# 1/2558 คงที#ร้อยละ 3.05 ครัง= ที# 2/2558 คงที#ร้อยละ 2.25 รวม หัก: หุ้นกู้ที#ถึงกําหนดชําระภายในหนึ#งปี สุทธิ

อายุ

คืนเงินต้ น

4 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 5 ปี 3 ปี 3 ปี

เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด เมื#อครบกําหนด

ครบกําหนด 15 กันยายน 2558 14 กันยายน 2558 18 กันยายน 2559 7 มีนาคม 2560 25 กรกฎาคม 2560 8 สิงหาคม 2560 1 กันยายน 2560 26 ธันวาคม 2562 24 กุมภาพันธ์ 2561 15 กันยายน 2561

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุ้น (หุ้น) จํานวนเงิน (พันบาท) 2558 2557 2558 2557 4,000,000 1,000,000 530,000 520,000 2,000,000 1,000,000 1,000,000 2,500,000 12,550,000

1,000,000 1,300,000 4,000,000 1,000,000 530,000 520,000 2,000,000 1,000,000 11,350,000

4,000,000 1,000,000 530,000 520,000 2,000,000 1,000,000 1,000,000 2,500,000 12,550,000

1,000,000 1,300,000 4,000,000 1,000,000 530,000 520,000 2,000,000 1,000,000 11,350,000

(4,000,000) 8,550,000

(2,300,000) 9,050,000

26


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

7.4 นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล นโยบายการจ่ ายเงินปั นผลของ บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) บริ ษัทฯ มีนโยบายที#จะจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นไม่น้อยกว่าร้ อยละ 40 ของกําไรสุทธิในแต่ละปี ทังนี = =การ พิจารณาจ่ายเงินปั นผลจะมีการนําปั จจัยต่างๆ มาพิจารณาประกอบด้ วย เช่น ผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปั จจัยอื#นๆ ทีเ# กี#ยวข้ องในการบริ หารงานของบริ ษัทฯ โดยในการจ่ายเงินปั นผล จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้น และคณะกรรมการบริ ษัททุกครัง= ประวัติการจ่ายเงินปั นผลสําหรับผลประกอบการประจําปี 2555 – 2557 มีดงั นี = ระยะเวลา อัตราการจ่ายหุ้นปั นผล (จํานวนหุ้นเดิม : หุ้นปั นผล)

มูลค่าหุ้นปั นผลต่อหุ้น (ก่อนปรับลด) มูลค่าเงินสดปั นผลต่อหุ้น (หน่วย : บาท/ หุ้น) รวมมูลค่าการจ่ายปั นผล (หน่วย : บาท/ หุ้น) อัตรากําไรสุทธิตอ่ หุ้น (หลังปรับลด) อัตราการจ่ายเงินปั นผลต่อกําไรสุทธิ

25561

25572

25583

(6 : 1) , (7 : 1)

(8 : 1) , (15 : 1)

-

(ระหว่างกาล) , (สิ =นปี )

(ระหว่างกาล) , (สิ =นปี )

0.3096 0.0345 0.3441 0.23 97.62%

0.191670 0.087219 0.278889 0.25 95.91%

0.25 0.25 0.27 93.26%

หมายเหตุ : 1. เงินปั นผลประจําปี 2556 จํานวน 0.3441 บาท/หุ้น จ่ายจากผลประกอบการงวด 6 เดือนแรก จํานวน 0.1853 บาท/หุ้น (ประกอบด้ วยเงินสดปั นผล 0.0186 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 6 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.0159 บาท/หุ้น) ตามมติที#ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง= ที# 1/2556 และจ่ายปั นผลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลังอีกจํานวน 0.1588 บาท/ หุ้น (ประกอบด้ วยเงินสดปั นผล 0.0159 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 7 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.1429 บาท/ หุ้น) ตามมติที#ประชุมสามัญประจําปี 2557 2.

เงินปั นผลประจําปี 2557 จํานวน 0.278889 บาท/หุ้น จ่ายจากผลประกอบการงวด 6 เดือนแรก จํานวน 0.138889 บาท/หุ้น (ประกอบด้ วยเงินสดปั นผล 0.013889 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 8 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.125 บาท/หุ้น) ตามมติที#ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง= ที# 1/2557 และจ่ายปั นผลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลังอีกจํานวน 0.14 บาท/หุ้น (ประกอบด้ วยเงินสดปั นผล 0.07333 บาท/หุ้น และหุ้นปั นผลในอัตรา 15 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปั นผล หรื อเท่ากับ 0.06667 บาท/ หุ้น) ตามมติที#ประชุมสามัญประจําปี 2558

3.

เงินปั นผลประจําปี 2558 จํานวน 0.25 บาท/หุ้น จ่ายจากผลประกอบการงวด 6 เดือนแรก จํานวน 0.10 บาท/หุ้น ตามมติที# ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง= ที# 8/2558 และจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลังอีกจํานวน 0.15 บาท/หุ้น ตามที#ที#ประชุม คณะกรรมการบริ ษัท ครัง= ที# 2/2559 ได้ มีมติให้ เสนอต่อที#ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2559

นโยบายการจ่ ายเงินปั นผลของบริษัทย่ อย บริ ษัทย่อยไม่ได้ มีการกําหนดนโยบายการจ่ายเงินปั นผลไว้ หากแต่จะพิจารณาจ่ายเป็ นกรณีไป โดยบริ ษัท ย่อยจะต้ องมีกําไรสุทธิ จากการดําเนินงาน และมีกระแสเงินสดคงเหลือ (หลังจากที#ได้ ตงสํ ั = ารองตามกฎหมาย) เพียงพอ

27


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

8. โครงสร้ างการจัดการ แผนผังองค์ กร ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริ ษัท

คณะกรรมการสรรหา และ กําหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริ หาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

กรรมการผู้จดั การ คณะกรรมการ บริ หารความเสี#ยง

คณะกรรมการด้ าน การพัฒนาอย่างอย่างยัง# ยืน

สํานักตรวจสอบภายใน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านปฏิบตั กิ าร

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านพัฒนาธุรกิจ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื =อ Hard-Line

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านธุรกิจต่างประเทศ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื =อ Soft-Line ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื =อ Home Electric Product ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื =อ Home Textile and Furniture ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื =อต่างประเทศ และสรรหาสินค้ า Direct Sourcing

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านบริ หารสินค้ าคงคลัง ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านบริ หารศูนย์กระจายสินค้ า ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านการตลาด ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านทรัพยากรบุคคล และป้องกันการสูญเสีย

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านจัดซื =อ Non-Trade สนับสนุนงานจัดซื =อ และส่วนจัดซื =อเซรามิคและสุขภัณฑ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ด้ านบัญชี และการเงิน

28


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

โครงสร้ างการจัดการของบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และผู้บริ หาร สําหรับ คณะกรรมการชุดย่อยมีทงหมด ั= 3 ชุด ได้ แก่ คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน โดยรายละเอียดมีดงั นี =

8.1 คณะกรรมการบริษัท โครงสร้ างคณะกรรมการบริษัท ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัทมีจํานวนทังสิ = =น 12 ท่าน ประกอบด้ วย - กรรมการที#เป็ นผู้บริ หาร 1 ท่าน คือ กรรมการผู้จดั การ - กรรมการที#ไม่เป็ นผู้บริ หาร 11 ท่าน (ร้ อยละ 92 ของกรรมการทังคณะ) = โครงสร้ างคณะกรรมการของบริษัทฯ มีการถ่วงดุลกันอย่างเพียงพอ โดย - มีกรรมการอิสระจํานวน 4 ท่าน คิดเป็ นหนึง# ในสามของจํานวนกรรมการทังหมด = มีความเป็ นอิสระจากผู้บริ หาร และผู้ถือหุ้นรายใหญ่ - มีคณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 3 ท่าน โดยเป็ นกรรมการอิสระทังหมด = กรรมการตรวจสอบทุกคนมีความรู้ และประสบการณ์ ที#ใ นการสอบทานความน่า เชื# อถื อของงบการเงิ น รวมถึงทํา หน้ า ที#อื#นในฐานะกรรมการ ตรวจสอบได้ - มีการมอบอํานาจระหว่างกรรมการ และฝ่ ายจัดการที#ชดั เจน - มากกว่า 2 ปี ที#ผา่ นมา กรรมการทุกท่านไม่เคยเป็ นพนักงาน ผู้ถือหุ้น หรื อหุ้นส่วนของบริ ษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด ซึง# เป็ นบริ ษัทผู้สอบบัญชีภายนอกที#ตรวจสอบงบการเงินให้ กบั บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย รายชื อคณะกรรมการบริษัท ชื อ – นามสกุล 1. นาย อนันต์ 2. นาย มานิต 3. นาย รัตน์ 4. นาย นพร 1 5. นาย คุณวุฒิ 6. นาย ชัชชาติ 2 7. นาง สุวรรณา 8. นาย อาชวิณ 9. นาย พรวุฒิ 3 10. นาย บุญสม 11. นาย ทวีวฒ ั น์ 12. นาย ชนินทร์

อัศวโภคิน อุดมคุณธรรม พานิชพันธ์ สุนทรจิตต์เจริ ญ ธรรมพรหมกุล สิทธิพนั ธุ์ พุทธประสาท อัศวโภคิน สารสิน เลิศหิรัญวงศ์ ตติยมณีกลุ รุนสําราญ

ตําแหน่ ง ประธานกรรมการ กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการบริ หาร และประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

หมายเหตุ 1. นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ เข้ าดํารงตําแหน่งกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนแทน นาย จุมพล มีสขุ ตามมติที#ประชุม คณะกรรมการบริ ษัท ครัง= ที# 5/2558 โดยมีผลวันที# 1 มิถนุ ายน 2558 2. นาย ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ์ เข้ าดํารงตําแหน่งกรรมการแทน นาย จุมพล มีสขุ ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครัง= ที# 5/2558 โดยมีผลวันที# 1 มิถนุ ายน 2558 3. นาย พรวุฒิ สารสิน เข้ าดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระแทนนาย พงส์ สารสิน ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครัง= ที# 9/2558 โดยมีผลวันที# 1 ตุลาคม 2558

29


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนาม (1) นาย อนันต์ อัศวโภคิน (4) นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ (2) นาย มานิต อุดมคุณธรรม (5) นาง สุวรรณา พุทธประสาท (3) นาย ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ์ (6) นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล โดยกรรมการสองในหกคนลงลายมือชื#อร่วมกันพร้ อมประทับตราบริ ษัทฯ อํานาจหน้ าที ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัท กําหนดให้ มีการแบ่งอํานาจหน้ าที# โดยได้ กําหนดอํานาจอนุมตั ิและดําเนินการของ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยไว้ อย่างชัดเจนตามประเภทของธุรกรรม เพื#อกระจายอํานาจ หน้ าที#ในการตัดสินใจและสัง# การ ตามหน้ าที#ที#ได้ รับมอบหมาย และเป็ นแนวทางให้ ผ้ บู ริ หารและผู้ปฏิบตั ิงานใช้ เป็ นคู่มือในการปฏิบตั ิงาน โดย เรื# องที#เป็ นอํานาจอนุมตั ิของกรรมการรวมถึงแผนงานประจําปี งบประมาณประจําปี ของแต่ละหน่วยงาน นโยบาย จ่ายเงินปั นผล เป็ นต้ น โดยมีรายละเอียดดังนี = 1. คณะกรรมการมีอํานาจ และหน้ าที#บริ หารงานของบริ ษัทฯ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้ อบังคับ ของบริ ษัทฯ ตลอดจนมติของที#ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความซื#อสัตย์สจุ ริ ตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของ บริ ษัทฯ 2. กําหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริ ษัทฯ และกํากับดูแลให้ ฝ่ายบริ หารดําเนินการให้ เป็ นไปตามนโยบายที#กําหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื#อเพิ#มมูลค่าสูงสุดให้ แก่บริ ษัทฯ และ ผู้ถือหุ้น 3. คณะกรรมการมีอํ า นาจแต่ง ตัง= กรรมการจํ า นวนหนึ#ง ให้ เ ป็ นคณะกรรมการชุด ย่อ ย อัน ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่า ตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการชุดย่อยอื#นๆ ตามเหตุการณ์ และความเหมาะสม โดยมีจํานวนตามที#คณะกรรมการกําหนด เพื#อปฏิบตั ิงานตามที#ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท 4. คณะกรรมการอาจมอบหมายให้ กรรมการคนหนึง# หรื อหลายคนหรื อบุคคลอื#นใดปฏิบตั ิการอย่างใดอย่างหนึ#ง แทนคณะกรรมการได้ ภายใต้ การควบคุมของคณะกรรมการหรื ออาจมอบอํานาจเพื#อให้ บุคคลดังกล่าวมี อํานาจตามที#คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในเวลาที#กรรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจ ยกเลิก เพิกถอน เปลีย# นแปลงหรื อแก้ ไขอํานาจนันๆ = ได้ 5. พิจารณาและอนุมตั ิเป้าหมายการดําเนินงาน รวมถึงประเมินผลการปฏิบตั ิการของคณะกรรมการชุดย่อย ประธานกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการเฉพาะเรื# อง และกรรมการผู้จดั การ 6. คณะกรรมการต้ องประชุมอย่างน้ อยสามเดือนต่อครัง= 7. กรรมการจะต้ องไม่ประกอบกิจการซึ#งมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษัทฯ หรื อ เข้ าเป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนสามัญ หรื อเป็ นหุ้นส่วนไม่จํากัดความรับผิดในห้ างหุ้นส่วนจํากัด หรื อเป็ น กรรมการของบริ ษัทเอกชนหรื อบริ ษัทอื#นที#ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับ กิจการของบริ ษัทฯ ไม่ว่าจะทําเพื#อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์ผ้ อู ื#น เว้ นแต่จะได้ แจ้ งที#ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ก่อนที#จะมีมติแต่งตัง=

30


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

8. การตัดสินใจในการลงทุนที#มีมลู ค่าสูงที#ไม่ใช่การดําเนินงานตามปกติของบริ ษัทฯ คณะกรรมการต้ องปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย และข้ อบังคับของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) 9. กํากับดูแลกิจการให้ มีการปฏิบตั ิงานอย่างมีจริ ยธรรม ดูแลไม่ให้ เกิดปั ญหาความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ระหว่างผู้มีสว่ นได้ เสียของบริ ษัทฯ 10. กรรมการจะต้ องแจ้ งให้ บริ ษัทฯ ทราบทันทีที#มีสว่ นได้ เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้ อมในสัญญาใดๆ หรื อ ถือหุ้นหรื อหุ้นกู้ในบริ ษัทฯ และบริ ษัทในเครื อ 11. กรรมการที#มีสว่ นได้ เสียในเรื# องใดจะไม่มีสทิ ธิออกเสียงในเรื# องนัน= 12. ดูแลให้ มีกระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 13. กําหนดแนวทางการบริ หารจัดการความเสีย# งอย่างครอบคลุม และดูแลให้ ผ้ บู ริ หารมีระบบ หรื อกระบวนการที# มีประสิทธิภาพในการบริ หารจัดการบริ หารความเสีย# ง 14. ในกรณีที#ที#ประชุมมีการลงคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานกรรมการเป็ นผู้ชี =ขาด อํานาจหน้ าที ของประธานกรรมการ 1. สนับสนุน และควบคุมให้ การปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และเป็ นไปตามมาตรฐานสูงสุดของหลักธรรมาภิบาล 2. สนับสนุนให้ มีช่องทาง และการสือ# สารระหว่างผู้ถือหุ้น หน่วยงานของราชการ และหน่วยงานที#เกี#ยวข้ องกับ คณะกรรมการบริ ษัทให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. กําหนดวาระการประชุม ควบคุมและดําเนินการประชุมของคณะกรรมการ รวมทังการเปิ = ดโอกาสให้ มีการ แลกเปลีย# นความคิดเห็น หลักการและเหตุผล เพื#อประกอบการตัดสินใจอย่างประสิทธิภาพ 4. กําหนดขันตอน = หรื อวิธีการสรรหาและแต่งตังคณะกรรมการ = และกรรมการชุดย่อยให้ เป็ นไปอย่างเหมาะสม และสามารถสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของบริ ษัทฯ 5. กําหนดให้ มีการปฐมนิเทศ หรื อให้ ความรู้เกี#ยวกับการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ต่อกรรมการ และกรรมการที# ได้ รับตําแหน่งกรรมการใหม่ 6. สนับสนุนกรรมการผู้จดั การในการพัฒนา และกําหนดกลยุทธ์ในการดําเนินงานของบริษัทฯ รวมถึงการให้ คําแนะนําในการดําเนินงานด้ านต่างๆ 7. สนับสนุนให้ มีการสือ# สาร และสร้ างสัมพันธ์ที#ดีระหว่างกรรมการบริ หาร และกรรมการที#ไม่ใช่ผ้ บู ริ หาร กรรมการอิสระ “กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการที#มีความเป็ นอิสระในการแสดงความเห็นต่อการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยจะต้ องเป็ นผู้ที#ไม่มีสว่ นเกี#ยวข้ อง หรื อส่วนได้ เสียต่อผลการดําเนินงานทังทางตรงและทางอ้ = อม โดย ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 กรรมการอิสระของบริ ษัทฯ มีจานวน 4 ท่าน ประกอบด้ วย (1) นาย บุญสม เลิศหิรัญวงศ์ (3) นาย ชนินทร์ รุนสําราญ (2) นาย ทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ (4) นาย พรวุฒิ สารสิน

31


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

คุณสมบัติของกรรมการอิสระของบริ ษัทฯ มีดงั นี = 1. ถือหุ้นน้ อยกว่าร้ อยละ 1 ของทุนชําระแล้ วของบริ ษัทฯ บริ ษัทในเครื อ บริ ษัทร่ วม บริ ษัทที#เกี#ยวข้ อง ทังนี = =ให้ นบั รวมหุ้นที#ถือโดยผู้ที#เกี#ยวข้ องด้ วย 2. มีความเป็ นอิสระไม่ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้ อม ทังในด้ = านการเงินและการบริ หารงานของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัท ร่วม บริ ษัทย่อย ผู้บริ หาร หรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ และรวมถึงไม่มีผลประโยชน์หรื อส่วนได้ สว่ นเสียใน ลักษณะดังกล่าวในเวลา 2 ปี ก่อนได้ รับการแต่งตังเป็ = นกรรมการอิสระ เว้ นแต่คณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณา อย่างรอบคอบแล้ วเห็นว่าการเคยมีผลประโยชน์หรื อส่วนได้ สว่ นเสียนันจะไม่ = มีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้ าที# และการให้ ความเห็นที#เป็ นอิสระ 3. ต้ องไม่เป็ นกรรมการที#ได้ รับการแต่งตังขึ = =นเป็ นตัวแทนเพื#อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการของบริ ษัทฯ ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึง# เป็ นผู้ที#เกี#ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ 4. ต้ องไม่เป็ นผู้ที#มีสว่ นร่วมในการบริ หารงาน รวมทังไม่ = เป็ นลูกจ้ าง พนักงานหรื อที#ปรึ กษาที#ได้ รับเงินเดือนประจํา ในบริ ษัทฯ บริ ษัทในเครื อ บริ ษัทร่วม บริ ษัทที#เกี#ยวข้ องหรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ 5. ต้ องไม่เป็ นผู้ที#เกี#ยวข้ อง หรื อญาติสนิทของผู้บริ หาร หรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ 6. สามารถปฏิบัติหน้ า ที# และแสดงความเห็นหรื อรายงานผลการปฏิบัติงานตามหน้ าที#ที#ได้ รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษัท ได้ โดยอิสระโดยไม่อยู่ภายใต้ การควบคุมของผู้บริ หารหรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ รวมทังผู = ้ ที#เกี#ยวข้ องหรื อญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว 7. ไม่มีลกั ษณะอื#นใดที#ทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นต่อการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ อย่างเป็ นอิสระ วาระการดํารงตําแหน่ งของกรรมการบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี ทุกครัง= กรรมการจะพ้ นจากวาระจํานวน 1 ใน 3 โดยกรรมการที#ดํารง ตําแหน่งนานที#สดุ เป็ นผู้ที#จะพ้ นจากวาระ สําหรับกรรมการที#พ้นจากวาระอาจถูกเลือกกลับเข้ ามาดํารงตําแหน่ง ใหม่ได้ และนอกจากการพ้ นตําแหน่งตามวาระแล้ ว กรรมการพ้ นจากตําแหน่งเมื#อ 1. 2. 3. 4. 5.

ลาออก ตาย ขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้ องห้ ามตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ที#ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ ออกตามมาตรา 76 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ศาลมีคาํ สัง# ให้ ออก

8.2 คณะกรรมการชุดย่ อย ประกอบด้ วยคณะกรรมการ 3 ชุด ได้ แก่ คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรร หาและกําหนดค่าตอบแทน โดยรายละเอียดมีดงั นี =

32


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

8.2.1 คณะกรรมการบริหาร ชื อ – นามสกุล 1. 2. 3. 4.

นาย มานิต นาย นพร นาย คุณวุฒิ นาย รัตน์

อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต์เจริ ญ ธรรมพรหมกุล พานิชพันธ์

ตําแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร

หมายเหตุ : นายศุภชัย บุญญวิจิตร ผู้จดั การทัว# ไป – ฝ่ ายการเงิน ทําหน้ าที#เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ หาร

อํานาจหน้ าที 1. พิจารณาและกลัน# กรองเรื# องที#ต้องตัดสินใจเบื =องต้ น ก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื#อพิจารณาอนุมตั ิ 2. พิจารณาผลการดําเนินงานประจําเดือน การลงทุน การขยายสาขา การจัดสรรงบประมาณประจําปี และการ เสนอนโยบาย แผนกลยุทธ์ และทิศทางการดําเนินงานต่อคณะกรรมการบริ ษัท 3. บริ หารจัดการ และพัฒนาองค์กรให้ มีประสิทธิภาพ รวมทังมอบหมายงานและประสานงานกั = บผู้บริ หารระดับ ล่างลงมา ควบคุมการปฏิบัติงานให้ เป็ นไปตามแผนงานที#ว างไว้ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื#อให้ ผลงานมีประสิทธิภาพยิ#งขึ =น 4. รายงานเรื# องที#มีนยั สําคัญของบริ ษัทต่อคณะกรรมการบริ ษัท 5. ปฏิบตั ิการอื#นใดตามที#คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย ในกรณีที#กรรมการบริ หารท่านใดหรื อบุคคลที#อาจมีความขัดแย้ งมีสว่ นได้ เสียหรื อมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ กรรมการบริ หารท่านนันไม่ = มีอาํ นาจอนุมตั ิดําเนินการดังกล่าวกับบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยตามข้ อบังคับของบริษัทฯ และตามที#สาํ นักงาน ก.ล.ต. และ/หรื อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด วาระการดํารงตําแหน่ ง 1. กรรมการบริ หาร พ้ นจากตําแหน่งเมื#อ 1.1 ครบกําหนดตามวาระ 1.2 พ้ นจากการเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯ 1.3 ลาออก 1.4 ตาย 1.5 คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตําแหน่ง 2. กรณีการลาออก ให้ ยื#นใบลาต่อประธานกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยคณะกรรมการบริ ษัท เป็ นผู้อนุมตั ิ 3. กรณีที#มีตําแหน่งว่างลง เพราะเหตุอื#นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการบริ ษัท แต่งตังบุ = คคลที#มี คุณสมบัติค รบถ้ ว นเป็ นกรรมการบริ หาร เพื# อให้ มี จํา นวนครบตามที#ค ณะกรรมการบริ ษั ท ได้ กํา หนดไว้ ใ น ระเบียบข้ อบังคับ

33


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

8.2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ชื อ – นามสกุล 1. นาย บุญสม 2. นาย ทวีวฒ ั น์ 3. นาย ชนินทร์

เลิศหิรัญวงศ์ ตติยมณีกลุ รุ นสําราญ

ตําแหน่ ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

หมายเหตุ : นายอายุรทัศน์ ไชยอนันต์ ผู้จดั การทัว# ไป-สํานักตรวจสอบภายใน ทําหน้ าที#เป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

อํานาจหน้ าที 1. สอบทานรายการทางการเงินของบริ ษัทฯ ให้ มีความถูกต้ องครบถ้ วน ตามมาตรฐานการบัญชีที#รับรองทัว# ไป และมีการเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ ให้ มีความเพียงพอ เหมาะสม มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3. สอบทานให้ มี การปฏิบัติต ามนโยบายการกํ า กับดูแลกิ จการที#ดี และจริ ยธรรมธุ รกิ จ อย่า งเหมาะสม มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 4. สอบทานให้ บริ ษั ท ฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่า ด้ ว ยหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรั พย์ ฯข้ อ กํ า หนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที#เกี#ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ 5. พิจารณารายการที#เกี#ยวโยงกัน หรื อรายการที#อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และกฎระเบียบที#เกี#ยวข้ อง 6. สอบทานให้ บริ ษัทฯ มีระบบการบริ หาร และจัดการความเสีย# งที#เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 7. สอบทานและพิจารณาร่วมกับผู้สอบบัญชีเกี#ยวกับรายงานทางการเงิน ข้ อสังเกต และข้ อเสนอแนะ 8. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง= บุคคลซึ#งมีความเป็ นอิสระเพื#อทําหน้ าที#ผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัทฯ ตลอดจน การพิจารณาถอดถอนผู้สอบบัญชี และนําเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ต่อคณะกรรมการบริ ษัท 9. พิจารณาความเป็ นอิสระของสํา นักตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง= โยกย้ าย และเลิกจ้ าง รวมทังการพิ = จารณาผลการปฏิบตั ิงานประจําปี ของหัวหน้ าสํานักตรวจสอบภายใน 10. กํากับดูแลการปฏิบตั ิงานของสํานักตรวจสอบภายใน ในระดับนโยบาย และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายใน โดยพิจารณาให้ อนุมตั ิกฎบัตรของสํานักงานตรวจสอบภายใน 11. พิจารณาอนุมัติแผนงานตรวจสอบภายในประจํา ปี รวมทัง= พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการ ตรวจสอบของสํานักตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ให้ มีความสัมพันธ์เกื =อกูลกัน 12. ประสานให้ คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ ายบริ หาร สํานักตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีมีความเข้ าใจให้ อยู่ แนวทางเดียวกัน รวมทังติ = ดตามเพื#อให้ มนั# ใจว่าฝ่ ายบริ หารมีการดําเนินการตามข้ อเสนอแนะอย่างเพียงพอ มี ประสิทธิภาพ และภายในเวลาที#เหมาะสม 13. สอบทานและพิจารณาร่วมกับสํานักตรวจสอบภายใน เกี#ยวกับผลการตรวจสอบ ข้ อสังเกตและข้ อเสนอแนะ 14. สอบทานและแก้ ไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นปกติปีละครัง= หรื อตามความจําเป็ นเพื#อให้ ทนั สมัย และเหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมขององค์กรและนําเสนอคณะกรรมการบริ ษัทเพื#อพิจารณาอนุมตั ิ

34


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

15. ดําเนินการตรวจสอบเรื# องที#ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ในกรณีที#ผ้ สู อบบัญชีพบพฤติกรรมอันควร สงสัยว่า กรรมการ ผู้จดั การ หรื อบุคคลซึ#งรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริ ษัทฯได้ กระทําความผิดตามที# กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที# 4) พ.ศ.2551 และรายงาน ผลการ ตรวจสอบในเบื =องต้ นให้ แก่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และผู้สอบบัญชี ของบริ ษัทฯทราบภายในเวลา 30 วันนับตังแต่ = วนั ที#ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชี 16. ปฏิ บัติก ารอื#น ใดตามที#ก ฎหมายกํ า หนด หรื อคณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายตามความเห็ น ชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ 17. จัดทํา รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ ใ นรายงานประจํ า ปี ของบริ ษั ทฯ ซึ#งรายงาน ดังกล่าวต้ องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต้ องประกอบด้ วยข้ อมูลอย่างน้ อยดังต่อไปนี = 17.1 ความเห็นเกี#ยวกับความถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที#เชื#อถือได้ ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ตาม หลักการบัญชีที#รับรองทัว# ไป และ การเปิ ดเผยข้ อมูลที#สาํ คัญอย่างเพียงพอและทันเวลา 17.2 ความเห็นเกี#ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ 17.3 ความเห็นเกี#ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายทีเ# กี#ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ 17.4 ความเห็นเกี#ยวกับรายการที#อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ 17.5 ความเห็นเกี#ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 17.6 จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้ าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน

17.7 ความเห็นหรื อข้ อสังเกตโดยรวมที#คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับจากการปฏิบตั ิหน้ าทีต# ามกฎบัตร 17.8 รายการอื#นที#เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว# ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้ าที#และความรับผิดชอบที# ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท วาระการดํารงตําแหน่ ง 1. คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการดํารงตําแหน่ง คราวละไม่เกิน 3 ปี 2. กรรมการตรวจสอบซึง# พ้ นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้ รับการแต่งตังเข้ = ามาดํารงตําแหน่งได้ อีก 3. กรรมการตรวจสอบจะพ้ นตําแหน่งเมื#อ 3.1 ครบกําหนดตามวาระ 3.2 พ้ นจากการเป็ นกรรมการบริ ษัท 3.3 ลาออก 3.4 ตาย 3.5 ขาดคุณสมบัติการเป็ นกรรมการตรวจสอบตามข้ อบังคับนี = หรื อตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย 3.6 คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตําแหน่ง 4. กรณีการลาออก ให้ ยื#นใบลาต่อประธานกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยคณะกรรมการบริ ษัท เป็ นผู้อนุมตั ิพร้ อมส่งสําเนาหนังสือลาออกให้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทราบ

35


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

5. ในกรณีที#ตําแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื#นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการ บริ ษัท แต่งตังบุ = คคลที#มีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามกฎบัตรนี = เป็ นกรรมการตรวจสอบให้ ครบถ้ วนทันที หรื อ อย่าง ช้ าภายใน 3 เดือน นับแต่วนั ที#จํานวนกรรมการไม่ครบถ้ วน เพื#อให้ มีจํานวนครบตามที#ได้ กําหนดไว้ ในระเบียบ ข้ อบัง คับนี = โดยบุคคลที#เข้ า เป็ นกรรมการตรวจสอบแทนอยู่ใ นตํา แหน่งได้ เพียงเท่า วาระที#ยัง เหลืออยู่ของ กรรมการตรวจสอบซึง# พ้ นจากตําแหน่งท่านนัน= 8.2.3 คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน ชื อ – นามสกุล 1. นาย รัตน์ 2. นาย ชนินทร์ 3. นาย นพร 1

พานิชพันธ์ รุ นสําราญ สุนทรจิตต์เจริ ญ

ตําแหน่ ง ประธานกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

หมายเหตุ : 1. นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ เข้ าดํารงตาแหน่งกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน แทนนาย จุมพล มีสขุ ตามมติที#ประชุม คณะกรรมการบริ ษัท ครัง= ที# 5/2558 โดยมีผลวันที# 1 มิถนุ ายน 2558 2. นาย นิทศั น์ อรุณทิพย์ไพฑูรย์ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การกลุม่ ทรัพยากรบุคคล และป้องกันการสูญเสีย ทําหน้ าที#เป็ นเลขานุการ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

อํานาจหน้ าที 1. ทําหน้ าที#คดั เลือกบุคคลที#สมควรได้ รับการเสนอรายชื#อเป็ นกรรมการใหม่ หรื อสรรหากรรมการผู้จดั การ 2. กําหนดวิธีการ และหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการบริ ษัท หรื อกรรมการผู้จดั การเพื#อให้ เกิดความโปร่งใส 3. กําหนดวิธีการ และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื#นใดให้ แก่คณะกรรมการบริ ษัท และ คณะกรรมการชุดย่อยที#คณะกรรมการบริ ษัทแต่งตังที = #เป็ นธรรมและสมเหตุสมผล และนําเสนอที#ประชุมผู้ถือ หุ้นเพื#อพิจารณาอนุมตั ิ 4. พิจารณาเสนอแนะการกําหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื#นใด โดยคํานึงถึงหน้ าที#และความรับผิดชอบ ของกรรมการผู้จดั การ ตลอดจนพิจารณาหลักเกณฑ์และประเมินผลการปฏิบตั ิงาน เพื#อกําหนดผลตอบแทน การปฏิบตั ิงานประจําปี 5. พิจารณาทบทวนโครงสร้ าง หลักเกณฑ์ตา่ งๆ เกี#ยวกับค่าตอบแทนตามข้ อ 3 และข้ อ 4 ให้ เหมาะสมกับหน้ าที# ความรับผิดชอบ ผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ และให้ สอดคล้ องกับภาวะตลาดด้ วย 6. พิจารณางบประมาณเกี#ยวกับการขึ =นเงินเดือน และเงินรางวัลประจําปี สวัสดิการ ตลอดจนผลประโยชน์อื#น ใดของพนักงานบริ ษัทฯ และบริ ษัทในเครื อ 7. จัดทํารายงานการปฏิบตั ิงานเสนอคณะกรรมการบริ ษัทอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง= กําหนดนโยบายในภาพรวม เกี#ยวกับการจัดสรรหุ้นให้ แก่พนักงาน (Employee Stock Option Plan) ตามที#กรรมการผู้จดั การเสนอมา 8. ปฏิบตั ิหน้ าที#อื#นใดที#คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย

36


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

วาระการดํารงตําแหน่ ง 1. กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนพ้ นจากตําแหน่งเมื#อ 1.1 ครบกําหนดตามวาระ 1.2 พ้ นจากการเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯ 1.3 ลาออก 1.4 ตาย 1.5 คณะกรรมการบริ ษัทมีมติให้ พ้นจากตําแหน่ง 2. กรณีการลาออก ให้ ยื#นใบลาต่อประธานกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยคณะกรรมการบริ ษัท เป็ นผู้อนุมตั ิ 3. กรณีที#มีตําแหน่งว่างลง เพราะเหตุอื#นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการบริ ษัทแต่งตังบุ = คคลที#มี คุณสมบัติครบถ้ วนเป็ นกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน เพื#อให้ มีจํานวนครบตามที#คณะกรรมการ บริ ษัทได้ กําหนดไว้ ในระเบียบข้ อบังคับ

8.3 คณะกรรมการบริหารความเสี ยง ประกอบด้ วยกรรมการผู้จดั การและตัวแทนของหน่วยงานหลักของบริ ษัทฯ หรื อ หน่วยงานที#เป็ นเจ้ าของความเสีย# ง (Risk Owner) ได้ แก่ (1) ด้ านบัญชีและการเงิน (2) ด้ านปฏิบตั ิการ (3) ด้ านบริ หารสินค้ าคงคลัง (4) ด้ านจัดซื =อ (5) ด้ านทรัพยากรบุคคลและป้องกันการสูญเสีย (6) ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ (7) สํานักตรวจสอบภายใน เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ หารความเสีย# ง บทบาทหน้ าที และความรับผิดชอบ 1. มีหน้ าที#ในการร่างนโยบาย และกรอบการบริ หารความเสีย# งขององค์กร จัดทําคูม่ ือการบริ หารความเสี#ยงเพื#อ นําเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาให้ ความเห็นและอนุมตั ิ 2. พิจารณาให้ ความเห็นในการกําหนดระดับความเสีย# งที#ยอมรับได้ (Risk Appetite) ขององค์กร 3. ประเมินความเสีย# งของบริ ษัทฯ กําหนดมาตรการจัดการความเสีย# ง และกําหนดแผนหรื อกระบวนการบริ หาร ความเสีย# งทัว# ทังองค์ = กร 4. รายงานความเสี#ยงที#สําคัญขององค์กร รวมถึงสถานะของความเสี#ยง ความคืบหน้ าให้ แก่คณะกรรมการ บริ ษัทเพื#อรับทราบอย่างน้ อยไตรมาสละ 1 ครัง= 5. ดูแลและสนับสนุนให้ การบริ หารความเสี#ยง ประสบความสําเร็ จ เสนอแนะวิธีป้องกัน และวิธีลดระดับความ เสีย# งให้ อยูใ่ นระดับที#ยอมรับได้ ส่งเสริ มให้ มีการปรับปรุ งและพัฒนาระบบงาน การบริ หารความเสี#ยงอย่าง ต่อเนื#องสมํ#าเสมอ

37


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

6. ติดตามผลการดําเนินงานเพื#อให้ มนั# ใจว่าการดําเนินงานของบริ ษัทฯ เป็ นไปตามแผนงาน มีการจัดการและ ควบคุมความเสีย# งที#อาจเกิดขึ =นนันอย่ = างเหมาะสม 7. สอบทาน และทบทวนนโยบายการบริ หารความเสีย# งขององค์กรเป็ นประจําอย่างน้ อยทุก 1 ปี เพื#อให้ แน่ใจว่า กรอบการบริ หารความเสีย# งดังกล่าวยังคงสอดคล้ อง และเหมาะสมกับสภาพการดําเนินธุรกิจในภาพรวม

8.4 ผู้บริหาร ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้ วย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

ชื อ – นามสกุล นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล นาย วีรพันธ์ อังสุมาลี นาย เกษม ปิ# นมณเฑียรทอง น.ส. จารุโสภา ธรรมกถิกานนท์ น.ส. สันนิภา สว่างพื =น น.ส. ศิริวรรณ เปี# ยมเศรษฐสิน น.ส. ธาราทิพย์ ตรี มนั# คง 1 นาง อภิรดี ทวีลาภ นาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ นาง พรสุข ดํารงศิริ นาย วทัญ{ู วิสทุ ธิโกศล นาย อนุชา จิตจาตุรันต์ นาย ณัฏฐ์ จริ ตชนะ น.ส. สุดาภา ชะมด นาย นิทศั น์ อรุณทิพย์ไพฑูรย์ น.ส. วรรณี จันทามงคล น.ส. อิษฏพร ศรี สขุ วัฒนา 2 น.ส. ถนอมศรี รุจิเรขเสรี กลุ 3

หมายเหตุ:

ตําแหน่ ง กรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ

หน่ วยงานที รับผิดชอบ งานด้ านปฏิบตั ิการ งานด้ านปฏิบตั ิการ งานด้ านจัดซื =อ Soft Line งานด้ านจัดซื =อ Hard Line งานด้ านจัดซื =อ Home Electric Product งานด้ านจัดซื =อต่างประเทศ งานด้ านจัดซื =อ Non-Trade และสนับสนุนงานจัดซื =อ งานด้ าน บริ หารศูนย์กระจายสินค้ า งานด้ าน Supply Chain Management งานด้ านพัฒนาธุรกิจ งานด้ านธุรกิจต่างประเทศ งานด้ านการตลาด งานด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ งานด้ านทรัพยากรบุคคล และป้องกันการสูญเสีย งานด้ านบัญชี และการเงิน งานด้ านจัดซื =อ Home Textile and Furniture งานด้ านจัดซื =อต่างประเทศ และ Direct Sourcing

1. น.ส. ธาราทิพย์ ตรี มนั# คง เกษี ยณอายุการทํางานเมื#อ 31 ธ.ค. 2558 และดํารงตําแหน่งที#ปรึกษา ในวันที# 1 ม.ค. 2559 2. น.ส. อิษฏพร ศรี สขุ วัฒนา เข้ ารับตําแหน่ง เมื#อ 1 ม.ค. 2558 3. น.ส. ถนอมศรี รุจิเรขเสรี กลุ เข้ ารับตําแหน่ง เมื#อ 1 ก.ย. 2558

8.5 การสรรหาและแต่ งตังB กรรมการและกรรมการผู้จัดการ การสรรหาและแต่ งตังB กรรมการ ในการแต่งตังกรรมการ = คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ซึ#งประกอบด้ วยกรรมการอิสระ 1 ท่าน จากจํานวนคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 3 ท่าน มีหน้ าที#กําหนดหลักเกณฑ์ และนโยบายใน การพิจารณาสรรหาคัดเลือกบุคคลที#สมควรได้ รับการเสนอชื#อเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯ และกรรมการชุดย่อย โดย พิจารณาคุณสมบัติของกรรมการที#มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ที#บริ ษัทฯ ยังขาดอยู่ รวมถึงความ หลากหลายในโครงสร้ างของคณะกรรมการบริ ษัท (Board Diversity) เช่นความเหมาะสมของโครงสร้ าง องค์ ป ระกอบทัก ษะของคณะกรรมการ และจะต้ อ งไม่มีคุณสมบัติต้ อ งห้ า มตามหลักเกณฑ์ ข องสํา นักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงกฎหมาย ระเบียบ หรื อข้ อบังคับอื#นๆ ที#เกี#ยวข้ อง

38


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน มีความโปร่ งใสในการคัดเลือกกรรมการใหม่ โดยพิจารณา จากรายชื#อกรรมการชุดเดิม รายชื#อที#เสนอมาจากผู้ถือหุ้น และรายชื#อที#ขึ =นทะเบียนในสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (Thai Institute of Directors หรื อ IOD) เสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื#อขออนุมตั ิแต่งตัง= จากที#ประชุมผู้ถือหุ้นเป็ นผู้เลือกตังกรรมการตามหลั = กเกณฑ์ตอ่ ไป โดยการนําเสนอมีรายละเอียดที#เพียงพอต่อการ ตัดสินใจ หลักเกณฑ์ การให้ คะแนนแต่ งตังB กรรมการบริษัทในที ประชุมผู้ถอื หุ้นมีดังนี B 1. ผู้ถือหุ้นหนึง# คนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง# หุ้นต่อหนึง# เสียง 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้ องใช้ คะแนนเสียงที#มีอยู่ทงหมดตาม ั= ข้ อ 1. เลือกตังบุ = คคลคนเดียว หรื อหลายคนเป็ น กรรมการได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึง# ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ = นกรรมการเท่าจํานวน กรรมการที# จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั = ง= นัน= ในกรณีที#บคุ คลซึง# ได้ รับการเลือกตังในลํ = าดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจํานวนกรรมการที#จะพึงมี หรื อจะพึงเลือกตังในครั = ง= นันให้ = ผ้ เู ป็ นประธานในที#ประชุมเป็ นผู้ออกเสียงชี =ขาด เพิ#มอีกหนึง# เสียง ในปี 2558 มีกรรมการที#ครบกําหนดต้ องออกตามวาระทังสิ = =น 4 ท่าน ได้ แก่ (1) นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ (2) นายรัตน์ พานิชพันธ์ (3) นายมานิต อุดมคุณธรรม และ (4) นายบุญสม เลิศหิรัญวงศ์ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้ พิจารณาตามหลักเกณฑ์การสรรหา เห็นว่ากรรมการที#ต้องออก ตามวาระทัง= 4 ท่าน มีคุณสมบัติครบถ้ วนตามพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญในธุรกิจที#เกี#ยวข้ องกับการดําเนินงานของบริ ษัทฯ จึงได้ มีการเสนอ เรื# องผ่านมติคณะกรรมการบริ ษัท เพื#อเป็ นวาระในที#ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 ซึ#งที#ประชุมมีมติอนุมตั ิ แต่งตังกรรมการทั = ง= 4 ท่านกลับเข้ าดํารงตําแหน่งอีกวาระหนึง# การสรรหาและแต่ งตังB กรรมการผู้จัดการ ในการสรรหาผู้มาดํารงตําแหน่งกรรมการผู้จดั การ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนจะเป็ นผู้ พิจารณาเบื =องต้ น ในการกลัน# กรองบุคคลที#มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ที#เป็ น ประโยชน์ตอ่ การดําเนินงานของบริ ษัทฯ และสามารถบริ หารงานให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ เป้าหมายที#คณะกรรมการ บริ ษัทกําหนดได้ และเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื#อพิจารณาอนุมตั ิแต่งตังต่ = อไป อํานาจหน้ าที ของกรรมการผู้จัดการ ตามที#ได้ กําหนดไว้ ในมติที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครัง= ที# 7/2544 ซึ#งประชุมเมื#อวันที# 21 มิถนุ ายน 2544 และที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครัง= ที# 9/2544 ซึง# ประชุมเมื#อวันที# 16 สิงหาคม 2544 กรรมการผู้จดั การมี อํานาจหน้ าที#เกี#ยวกับการบริ หารบริ ษัทตามที#คณะกรรมการมอบหมาย และจะต้ องบริ หารบริ ษัทตามแผนงาน หรื อ งบประมาณที#ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการอย่างเคร่งครัด และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริ ษัทฯ และผู้ ถือหุ้นอย่างดีที#สดุ อํานาจหน้ าที#ของกรรมการผู้จดั การได้ ครอบคลุมถึงเรื# องอื#นๆ ดังต่อไปนี =

39


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

1. ดําเนินกิจการ และบริ หารงานประจําวันของบริ ษัทฯ 2. การอนุมตั ิค่าใช้ จ่ายในการดําเนินงาน ค่าใช้ จ่ายในการขาย และบริ หาร และรายจ่ายลงทุนให้ เป็ นไป ตามงบประมาณที#ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ทังนี = = ไม่รวมการกู้ยืมและการคํ =าประกัน 3. บรรจุ แต่งตัง= ถอดถอน โยกย้ าย เลือ# นตําแหน่ง ลด ตัดเงินเดือน หรื อค่าจ้ าง ลงโทษทางวินยั พนักงาน และลูกจ้ าง ตลอดจนให้ พนักงาน และลูกจ้ างออกจากตําแหน่งตามระเบียบที#คณะกรรมการกําหนด 4. การดําเนินงานอื#นๆ ที#ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ โดยให้ มีอํานาจดังนี = - มีอํานาจในการบริ หารตามวัตถุประสงค์ ข้ อบังคับ นโยบาย ระเบียบ ข้ อกําหนด คําสัง# และมติที# ประชุมคณะกรรมการ และที#ประชุมผู้ถือหุ้น - มีอํานาจดําเนินการ ตลอดจนเข้ าลงนามในนิติกรรม สัญญา เอกสารคําสัง# หรื อหนังสือใดๆ ที#ใช้ ติดต่อกับหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิ จ และบุคคลอื#น ตลอดจนให้ มีอํา นาจกระทํา การใดๆ ที# จําเป็ นและสมควร เพื#อให้ การดําเนินการข้ างต้ นสําเร็ จลุลว่ ง - มีอํ า นาจในการมอบอํา นาจช่ ว งให้ บุคคลอื# นปฏิบัติง านเฉพาะอย่า งแทนได้ โดยให้ อ ยู่ภ ายใต้ ระเบียบ ข้ อกําหนด หรื อคําสัง# ที#คณะกรรมการ หรื อบริ ษัทฯ กําหนดไว้ ทังนี = =กรรมการผู้จดั การไม่สามารถที#จะอนุมตั ิรายการที#ตนหรื อบุคคลที#อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ในลักษณะอื#นใดกับบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย

8.6 ค่ าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ทําหน้ าที#ในการเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษัท ในการกําหนดเกณฑ์ที#ใช้ ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หารระดับสูง และกรรมการผู้จดั การ

ค่ าตอบแทนกรรมการ (1)

ค่ าตอบแทนที เป็ นตัวเงิน องค์ประกอบของค่าตอบแทนกรรมการ คือ ค่าตอบแทนในการให้ คําแนะนําด้ านต่างๆ แก่คณะทํางานของ บริ ษัทฯ และเบี =ยประชุม ซึง# โดยปกติบริ ษัทฯได้ มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้ อยเดือนละ 1 ครัง= และมีการจัด ประชุมคณะกรรมการชุดย่อยอื#นๆ ได้ แก่ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุมคณะกรรมการบริ หาร การประชุมคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณากําหนดค่าตอบแทน กรรมการจากผลงานของบริ ษัทฯ ในภาพรวม การจ่ายเงินปั นผลให้ กับผู้ถือหุ้น ภาระหน้ าที#และความรับผิดชอบ ของกรรมการแต่ละคณะแล้ ว โดยใช้ เกณฑ์ในการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการใช้ เกณฑ์เดียวกับการจ่ายค่าตอบแทน กรรมการของบริ ษัทฯ ที#ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน โดยในวันที# 9 เมษายน 2558 ที#ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิคา่ ตอบแทนคณะกรรมการประจําปี 2558 ไม่เกิน 12,000,000 บาท และค่าบําเหน็จกรรมการประจําปี 2557 จํานวน 27,000,000 บาท โดยรายละเอียดของ การจ่ายค่าตอบแทนในปี 2558 มีดงั นี =

40


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ค่ าตอบแทนรายเดือน : - ประธานกรรมการ 80,000 บาท / คน / เดือน - กรรมการ 40,000 บาท / คน / เดือน ค่ าเบียB ประชุม : - ประธานกรรมการ - กรรมการ

30,000 บาท / คน / ครัง= 20,000 บาท / คน / ครัง=

รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการที#เป็ นตัวเงินในปี 2558 มีดงั นี = ค่ าเบียB ประชุม ชื อ – นามสกุล 1. นาย อนันต์ 2. นาย มานิต 3. นาย รัตน์ 4. นาย นพร 5. นาย คุณวุฒิ 6. นาย ชัชชาติ 7. นาง สุวรรณา 8. นาย อาชวิณ 9. นาย พรวุฒิ 10. นาย บุญสม 11. นาย ทวีวฒ ั น์ 12. นาย ชนินทร์ 1. นาย จุมพล 2. นาย พงส์

อัศวโภคิน อุดมคุณธรรม พานิชพันธ์ สุนทรจิตต์เจริ ญ 1 ธรรมพรหมกุล 2 สิทธิพนั ธุ์ 3 พุทธประสาท อัศวโภคิน สารสิน 4 เลิศหิรัญวงศ์ ตติยมณีกลุ รุนสําราญ มีสขุ 5 สารสิน 6 รวม

กรรมการ บริ ษัท

กรรมการ บริ หาร

กรรมการ ตรวจสอบ

1,320,000 720,000 300,000 720,000 220,000 700,000 200,000 720,000 220,000 420,000 720,000 700,000 180,000 720,000 360,000 720,000 240,000 720,000 240,000 กรรมการที ลาออกระหว่ างปี 2558 240,000 380,000 8,980,000 940,000 840,000

กรรมการสรรหา และกําหนด ค่ าตอบแทน

ค่ าบําเหน็จ กรรมการ

60,000

2,076,923 2,076,923 2,076,923

5,473,847 3,096,923 3,106,923 2,996,923 3,016,923 420,000 2,796,923 2,776,923 180,000 3,156,923 3,036,923 3,096,923

170,000

2,076,923 2,076,923 27,000,000

2,316,923 2,456,923 37,930,000

90,000 20,000

4,153,847 2,076,923 2,076,923 2,076,923 2,076,923

รวม (บาท)

2,076,923 2,076,923

หมายเหตุ : 1. ได้ รับการแต่งตั =งเป็ นกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที# 1 มิถนุ ายน 2558 2. ดํารงตําแหน่งกรรมการ และกรรมการผู้จดั การ ได้ รับค่าตอบแทนเป็ นค่าเบี =ยประชุมกรรมการ ค่าบําเหน็จกรรมการ เงินเดือน และโบนัส โดยในส่วนของเงินเดือนและโบนัสได้ รวมอยูใ่ นค่าตอบแทนผู้บริ หาร 3. ได้ รับการแต่งตั =งเป็ นกรรมการ ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที# 1 มิถนุ ายน 2558 4. ได้ รับการแต่งตั =งเป็ นกรรมการ และกรรมการอิสระ ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที# 1 ตุลาคม 2558 5. ลาออกจากการเป็ นกรรมการ โดยมีผลวันที# 1 พฤษภาคม 2558 และลาออกจากการเป็ นกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน โดยมีผล วันที# 30 เมษายน 2558 6. ลาออกจากการเป็ นกรรมการ และกรรมการอิสระ โดยมีผลวันที# 1 กันยายน 2558

41


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

(2)

ค่ าตอบแทนอื น กรรมการจะได้ รับสวัสดิการในการซื =อสินค้ าในราคาที#ได้ รับส่วนลดเท่านัน= ซึ#งส่วนลดที#ให้ นนเป็ ั = นไปตามที# ระบุไว้ ในข้ อบังคับของบริ ษัทซึง# ได้ ผา่ นการพิจารณาอนุมตั ิจากที#ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ ว และสวัสดิการดังกล่าวบริ ษัท ได้ ให้ ในอัตราไม่มากกว่าที#บริ ษัทฯ ให้ กบั ลูกค้ าระดับ VIP ทัว# ไป โดยกําหนดในอัตราสูงสุดไม่เกิน 10%

ค่ าตอบแทนผู้บริ หาร (1)

ค่ าตอบแทนที เป็ นตัวเงิน บริ ษัทฯ มีเกณฑ์ในการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริ หาร โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานที#ผา่ นมา รวมถึงได้ พิจารณาเทียบเคียงกับบริ ษัทอื#นในธุรกิจประเภทเดียวกันด้ วย สําหรับค่าตอบแทนของคณะผู้บริ หาร ประจําปี 2558 และ 2557 ได้ แก่ เงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทน อื#นๆ คิดเป็ นจํานวนรวมทังสิ = =น 89.29 ล้ านบาท และ 87.06 ล้ านบาท ตามลําดับ (2)

ค่ าตอบแทนอื น ตังแต่ = วนั ที# 1 กรกฎาคม 2556 บริ ษัทฯ ได้ เริ# มโครงการสะสมหุ้นสําหรับพนักงาน (EJIP) ผู้บริ หารและ พนักงานที#เข้ าร่วมโครงการจะได้ รับเงินสมทบในการซื =อหุ้นสะสมดังกล่าว โดยมีระยะดําเนินโครงการตังแต่ = วนั ที# 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 30 มิถนุ ายน 2561 รายละเอียดเพิ#มเติมสามารถอ่านได้ ที#หวั ข้ อ 8.9 หน้ า 43

8.7 เลขานุการบริษัท เมื#อวันที# 20 มีนาคม 2551 คณะกรรมการมีมติอนุมตั ิให้ แต่งตัง= นางสาว วรรณี จันทามงคล เป็ นเลขานุการบริ ษัท เพื#อให้ เป็ นไปตาม “พระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที# 4) พ.ศ. 2551” ทังนี = =บริ ษัทฯ ได้ แจ้ งชื#อพร้ อม กับสถานที#จดั เก็บเอกสารของบริ ษัทฯ ต่อคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แล้ ว เมื#อวันที# 26 สิงหาคม 2551 (รายละเอียดเกี#ยวกับเลขานุการบริ ษัทได้ ระบุไว้ ที#เอกสารแนบ 1) อํานาจหน้ าที ของเลขานุการบริษัท 1. อํานวยความสะดวกสําหรับกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการบริ ษัท 2. ติดตาม และประสานงานกับผู้ที#เกี#ยวข้ อง เพื#อให้ เกิดการปฏิบตั ิตามมติของคณะกรรมการบริ ษัท และมติที#ประชุมผู้ ถือหุ้น พร้ อมกับรายงานผลการดําเนินงานดังกล่าวอย่างใกล้ ชิด 3. กําหนดตารางเวลาการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท และกรรมการชุดย่อย รวมถึงทําหน้ าที#ในการดําเนินการจัด ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท และประชุมผู้ถือหุ้น 4. จัดทํา และรักษาเอกสารดังนี = - ทะเบียนกรรมการ - หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจําปี - หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 5. เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้ เสียที#รายงานโดยกรรมการ หรื อผู้บริ หาร 6. ให้ คํา แนะนํา ด้ า นกฎหมาย และกฎเกณฑ์ ต่า งๆ ที#เกี# ยวข้ อง และข้ อพึงปฏิบัติด้า นการกํ า กับดูแลในการดํา เนิน กิจกรรมของคณะกรรมการบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมาย

42


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

7. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที#กํากับดูแล เช่นสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และดูแลการเปิ ดเผยข้ อมูล และรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงานที#กํากับดูแล และสาธารณชนให้ ถกู ต้ องครบถ้ วน ตามกฎหมาย 8. ดําเนินการอื#นๆ ตามที#คณะกรรมการกํากับตลาดทุนกําหนด 9. จัดให้ มีการปฐมนิเทศ ให้ คําแนะนํากรณีมีกรรมการเข้ าดํารงตําแหน่งใหม่ (Board of Director’s Orientation) 10. หน้ าที#อื#นๆ ตามที#ได้ รับมอบหมายจากบริ ษัทฯ

8.8 บุคลากร รายละเอียดจํานวนพนักงาน และค่าใช้ จา่ ยเกี#ยวกับพนักงานระหว่างปี 2556 – 2558 มีดงั นี = รายละเอียดพนักงาน พนักงานของบริ ษัทฯ - สํานักงานใหญ่ - สาขา พนักงานของบริ ษัทย่อย รวม (คน) ค่าใช้ จ่ายเกี#ยวกับพนักงาน (ล้ านบาท)

31 ธ.ค. 2556

31 ธ.ค. 2557

31 ธ.ค. 2558

1,108 7,052 1,353 9,513 3,105

1,265 7,494 1,753 10,512 3,705

1,333 6,971 2,198 10,502 4,010

หมายเหตุ : ข้ อมูลเฉพาะพนักงานประจํา

8.9 โครงการสะสมหุ้นสําหรั บพนักงาน (EJIP) เมื#อวันที# 30 เมษายน 2556 ที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทฯ มีมติอนุมตั ิโครงการสะสมหุ้นสําหรับพนักงาน (Employee Joint Investment Program หรื อ EJIP) โดยมีรายละเอียดดังนี = บริษัทที เข้ าร่ วมโครงการ

บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ระยะเวลาโครงการ

ตังแต่ = วนั ที# 1 กรกฎาคม 2556 - 30 มิถนุ ายน 2561 รวมระยะเวลา 5 ปี

พนักงานที มีสิทธิเข้ าร่ วมโครงการ

ผู้บริ หารระดับผู้จดั การฝ่ ายหรื อเทียบเท่าขึ =นไป ซึง# ผ่านทดลองงาน โดยเป็ นไป ตามความสมัครใจ ทังนี = =ไม่รวมกรรมการ และที#ปรึกษาของบริ ษัทฯ

รูปแบบโครงการ

เงินส่วนที#พนักงานจ่ายเพื#อเข้ าร่ วมโครงการ: อัตราไม่เกินร้ อยละ 5 ของเงินเดือน เงินส่วนที#บริ ษัทฯจ่ายสมทบให้ พนักงานที#เข้ าร่ วมโครงการ: อัตราร้ อยละ 100 ของเงิน ที#พนักงานจ่ายเข้ าโครงการ

กําหนดการซือB หุ้นเข้ าโครงการ

ทุกเดือน

เงื อนไขการถือครองหลักทรัพย์

ปี ที# 1 - 3 ไม่สามารถขายได้ ทงจํ ั = านวน ครบ 3 ปี สามารถขายหุ้นได้ 25% ของจํานวนหุ้นสะสมที#มีอยู่ ครบ 4 ปี สามารถขายหุ้นได้ 50% ของจํานวนหุ้นสะสมที#มีอยู่ ครบ 5 ปี สามารถขายหุ้นได้ ทงจํ ั = านวน

ตัวแทนดําเนินงาน

บริ ษัทหลักทรัพย์ฟิลลิป (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

43


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

โครงการสะสมหุ้นสําหรับพนักงานนี =ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ เมื#อวันที# 11 มิถนุ ายน 2556

44


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดการเปลี ยนแปลงการถือครองหุ้นของบริษัทฯ ของกรรมการ ในปี 2558 ลําดับ (1)

ชื อ – นามสกุล นาย อนันต์ อัศวโภคิน

ตําแหน่ ง ประธานกรรมการ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (2)

นาย มานิต อุดมคุณธรรม

กรรมการ และประธาน

จํานวนหุ้นที ถือ ณ วันที 1 ม.ค. 2558

จํานวนหุ้นที เปลี ยนแปลง

สัดส่ วน การถือ หุ้น (%)

จํานวนหุ้นที ถือ ณ วันที 31 ธ.ค. 2558

18,676,633

1,245,108

19,921,741

0.15

-

-

-

-

319,679,998

21,311,999

340,991,997

2.59

-

41,066

41,066

0.0003

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

132,912,434

8,963,879

141,876,313

1.08

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

กรรมการบริ หาร คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (3)

นาย รัตน์ พานิชพันธ์

กรรมการ กรรมการบริ หาร และประธานกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (4)

นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ

กรรมการ กรรมการบริ หารและ กรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (5)

นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล

กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (6)

นาย ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ์

กรรมการ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (7)

นาง สุวรรณา พุทธประสาท

กรรมการ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (8)

นาย อาชวิณ อัศวโภคิน

กรรมการ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (9)

นาย พรวุฒิ สารสิน

กรรมการอิสระ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (10)

นาย บุญสม เลิศหิรัญวงศ์

กรรมการอิสระ และประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (11)

นาย ทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (12)

นาย ชนินทร์ รุ นสําราญ

กรรมการอิสระ กรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ หมายเหตุ จํานวนหุ้นที#เพิ#มขึ =นส่วนใหญ่มาจากการรับหุ้นปั นผล

45


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดการเปลี ยนแปลงการถือครองหุ้นของบริษัทฯ ของผู้บริหาร ในปี 2558 ชื อ – นามสกุล (1)

นาย วีรพันธ์ อังสุมาลี

ตําแหน่ ง

นาย เกษม ปิ# นมณเฑียรทอง นางสาว จารุ โสภา ธรรมกถิกานนท์ นางสาว สันนิภา สว่างพื =น

6,335,596 -

0.05 -

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

162,964

15,911

178,875

0.0014

-

-

-

-

9,862,173

664,559

10,526,732

0.08

-

-

-

-

13,002

6,128

19,130

0.0001

-

-

-

-

3,407,707

231,810

3,639,517

0.03

-

-

-

-

32,713,192

2,187,940

34,901,132

0.27

-

-

-

-

-

42,782

42,782

0.0003

-

-

-

-

3,037,760

(464,994)

2,572,766

0.02

126,000

8,400

134,400

0.001

41,888

7,441

49,329

0.0004

-

-

-

-

9,190,013

619,687

9,809,700

0.07

-

-

-

-

13,747,313

335,796

14,083,109

0.11

-

-

-

-

9,248,146

(475,231)

8,772,915

0.07

-

-

-

-

69,293

9,503

78,796

0.0006

-

-

-

-

5,100,163

345,068

5,445,231

0.04

-

-

-

-

9,074,271

653,147

9,727,418

0.07

-

-

-

-

393,000

29,766

422,766

0.0032

-

-

-

-

-

8,694

8,694

0.0001

-

-

-

-

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (5)

นางสาว ศิริวรรณ เปี# ยมเศรษฐสิน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (6)

นางสาว ธาราทิพย์ ตรี มนั# คง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (7)

นาง อภิรดี ทวีลาภ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (8)

นาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (9)

นาง พรสุข ดํารงศิริ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (10)

นาย วทัญ{ู วิสทุ ธิโกศล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (11)

นาย อนุชา จิตจาตุรันต์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (12)

นาย ณัฏฐ์ จริ ตชนะ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (13)

นางสาว สุดาภา ชะมด

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (14)

นาย นิทศั น์ อรุ ณทิพย์ไพฑูรย์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (15)

นางสาว วรรณี จันทามงคล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (16)

นางสาว อิษฏพร ศรี สขุ วัฒนา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (17)

นางสาว ถนอมศรี รุ จิเรขเสรี กลุ คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ

สัดส่ วนการ ถือหุ้น (%)

308,587 -

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (4)

จํานวนหุ้นที ถือ ณ วันที 31 ธ.ค. 2558

6,027,009 -

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (3)

จํานวนหุ้นที เปลี ยนแปลง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

คูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ (2)

จํานวนหุ้นที ถือ ณ วันที 1 ม.ค. 2558

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

หมายเหตุ จํานวนหุ้นที#เพิ#มขึ =นส่วนใหญ่มาจากการรับหุ้นปั นผล และหุ้นจากโครงการสะสมหุ้นสําหรับพนักงานหรื อ EJIP (Employee Joint Investment Program)

46


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

9. การกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษัทได้ ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการและเชื#อมัน# ว่าระบบและการกํากับดูแล กิจการที#ดีเป็ นปั จจัยต่อการดําเนินธุรกิจ เพื#อให้ การบริ หารจัดการธุรกิจเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มี ความมัน# คงและเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื#องและเกิดความเป็ นธรรมกับทุกฝ่ ายทีเ# กี#ยวข้ อง จากเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการบริ ษัทจึงได้ กําหนดนโยบายและการกํากับดูแลกิจการ โดยมีเนื =อหาครอบคลุมหลักการสําคัญในเรื# อง สิทธิ ของผู้ถือหุ้น การปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน การคํานึงถึงบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย การเปิ ดเผยข้ อมูลและความ โปร่งใส และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เพื#อเป็ นแนวทางการบริ หารจัดการธุรกิจให้ บรรลุวตั ถุประสงค์และ เป้าหมายทีว# างไว้ บนแนวทางของการดําเนินธุรกิจที#ยดึ มัน# ในความถูกต้ องและโปร่งใส โดยนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ของบริ ษัทฯ ได้ เปิ ดเผยไว้ ที# http://hmpro-th.listedcompany.com/ ทังนี = = นโยบายดังกล่าว ได้ ปรับปรุงให้ เป็ นปั จจุบนั เพือ# ให้ มคี วาม ครบถ้ วน ชัดเจน และสอดคล้ องกับหลักการกํากับ ดูแลกิจการที#ดีของบริ ษัทจดทะเบียน ปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์ของสมาคมส่งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ตลอดจนหลักเกณฑ์ระดับภูมภิ าค เช่น ASEAN CG Scorecard ตลอดปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ ปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด# ี ยกเว้ นเรื# องต่อไปนี = (1) ประธานกรรมการไม่ได้ เป็ นกรรมการอิสระ เนื#องจากธุรกิจของบริ ษัทฯ จําเป็ นต้ องอาศัยบุคลากรที#มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในธุรกิจที#ยาวนาน อย่างไรก็ตามการบริ หารงานของคณะกรรมการตังอยู = ่บน หลักการกํากับดูแลกิจการที#ดีตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) บริ ษัทฯ มีกรรมการอิสระที#มีวาระการดํารงตําแหน่งเกิน 9 ปี 2 ท่าน คือ นาย ทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกุล และนาย ชนินทร์ รุนสําราญ เนื#องจากกรรมการอิสระ 2 ท่านนี =เป็ นผู้มีความรู้ และความสามารถโดยตรงด้ านธุรกิจค้ า ปลีก โดยที# ผ่า นมาได้ ใ ห้ คํ า ปรึ กษาที#เ ป็ นประโยชน์ ทัง= ในฐานะของกรรมการอิส ระ และแนวทางในการ ตรวจสอบของกรรมการตรวจสอบ โดยเฉพาะนาย ชนินทร์ รุนสําราญ ซึง# เป็ นผู้ที#มีความรู้ และความเชี#ยวชาญ ในด้ านบัญชี และการเงินสําหรับรายละเอียดการดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระของบริ ษัทฯ เป็ นดังนี = ชื อ – นามสกุล 1. นาย พรวุฒิ 2. นาย บุญสม 3. นาย ชนินทร์ 4. นาย ทวีวฒ ั น์

สารสิน เลิศหิรัญวงศ์ รุนสําราญ ตติยมณีกลุ

วันที เข้ าดํารงตําแหน่ ง กรรมการอิสระ 1 ตุลาคม 2558 1 ตุลาคม 2557 3 ตุลาคม 2548 29 พฤษภาคม 2544

จํานวนปี (วันที เข้ ารั บตําแหน่ ง – 31 ธ.ค. 2558) 3 เดือน 1 ปี 3 เดือน 10 ปี 3 เดือน 14 ปี 7 เดือน

47


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

9.1 สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริ ษัทตระหนักและให้ ความสําคัญถึงสิทธิขนพื ั = =นฐานของผู้ถือหุ้นที#ควรจะได้ รับโดยเท่าเทียมกัน โดย พยายามส่งเสริ มและอํานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในการใช้ สิทธิขนพื ั = =นฐาน เช่น สิทธิในการได้ รับข่าวสารข้ อมูลของ บริ ษัทฯ อย่างเพียงพอ สิทธิในการเข้ าประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนเพื#อแต่งตังหรื = อถอดถอนกรรมการ เป็ นรายบุคคล สิทธิ ในการออกเสียงลงคะแนนแต่งตังผู = ้ ตรวจสอบบัญชีและกําหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี สิทธิในการ ออกเสียงลงคะแนนในกิจการต่างๆ ที#สําคัญ สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในที#ประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการรับ ซื =อหุ้นคืน รวมถึงสิทธิที#จะได้ รับการอนุมตั ิจ่ายเงินปั นผลอย่างเป็ นธรรม โดยจะไม่กระทําการใดๆ อันเป็ นการละเมิดหรื อ ริ ดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี = - เปิ ดเผยโครงสร้ างผู้ถือหุ้นอย่างชัดเจน เพื#อให้ ผ้ ถู ือหุ้นมัน# ใจว่าบริ ษัทฯ มีโครงสร้ างการดําเนินงานที#มีความ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยไม่มีการถือหุ้นที#ซบั ซ้ อน ไม่มีผ้ ถู ือหุ้นร่วม และไม่มีผ้ ถู ือหุ้นไขว้ รวมถึงไม่มีการถือ หุ้นแบบปิ รามิดในกลุม่ ของบริ ษัทฯ - เผยแพร่สารสนเทศ รายละเอียดการใช้ สิทธิในเรื# องต่างๆ ผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ โดยคํานึงถึงความเท่าเทียมกันในการรับรู้ขา่ วสาร ระยะเวลาในการใช้ สิทธิ และความ สะดวกในการใช้ สิทธิ ดังกล่าวโดยจะไม่กระทําการใดๆ อันเป็ นการจํากัดสิทธิในการเข้ าถึงสารสนเทศของ บริ ษัทฯ หรื อปิ ดกันการติ = ดต่อสือ# สาร ระหว่างผู้ถือหุ้นด้ วยกัน - ส่งเสริ มสิทธิของผู้ถือหุ้นในการจัดประชุมอย่างต่อเนื#องการจัดงาน ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2558 เมื#อ วันพฤหัสบดีที# 9 เมษายน 2558 ณ ห้ องแกรนด์บอลรู ม ชัน1โรงแรมแมนดาริ = น เลขที# 662 ถ.พระราม 4 แขวง บางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ โดยมีรายละเอียดดังนี = ก่ อนการประชุม - ให้ สิทธิผ้ ถู ือหุ้นในการเสนอวาระการประชุม และเสนอชื#อบุคคลเพื#อรับการพิจารณาเลือกตังเป็ = นกรรมการได้ ล่วงหน้ าตังแต่ = วนั ที# 19 กันยายน 2557 ถึง 16 มกราคม 2558 รวมถึงเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งคําถามเกี#ยวกับ วาระการประชุมถึงเลขานุการบริ ษัทได้ ลว่ งหน้ าก่อนวันประชุม โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาเกี#ยวกับการเสนอ วาระการประชุมผู้ถือหุ้นและเสนอชื#อบุคคลเพื#อรับการพิจารณาเลือกตังเป็ = นกรรมการได้ เผยแพร่ ไว้ บนเว็บไซต์ ของบริ ษัทฯ ทังนี = = การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2558 ไม่มีผ้ ถู ือหุ้นรายใดเสนอวาระการประชุม หรื อเสนอ ชื#อบุคคลเพื#อรับการพิจารณาเลือกตังเป็ = นกรรมการ - เปิ ดเผยกําหนดวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 ให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบล่วงหน้ า และสามารถวางแผนตาราง เวลาในการเข้ าร่ วมประชุมได้ โดยแจ้ งผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และบนเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ตังแต่ = วันที# 24 กุมภาพันธ์ 2558 ซึง# เป็ นวันเดียวกันกับที#คณะกรรมการมีมติกําหนดวันประชุม - เผยแพร่ หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นทังฉบั = บภาษาไทย และภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ตังแต่ = วันที# 9 มีนาคม 2558 ล่วงหน้ าก่อนวันประชุม 31 วัน และจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นล่วงหน้ าก่อน วันประชุม 14 วัน เพื#อให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ รับเอกสารล่วงหน้ า รวมถึงมีเวลาศึกษาข้ อมูลก่อนวันประชุมอย่างเพียงพอ

48


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- อํานวยความสะดวกให้ ผ้ ถู ือหุ้นทีไ# ม่สามารถเข้ าร่วมประชุมได้ ด้วยตนเอง เช่น ผู้ถือหุ้นรายย่อย และนักลงทุน สถาบัน โดยการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะแบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. ไปพร้ อมกับหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ ถือหุ้น รวมถึงสามารถดาวน์โหลดได้ จากเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังมีรายชื#อพร้ อมประวัติของ กรรมการอิสระที#ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเลือกเป็ นผู้รับมอบฉันทะได้ โดยในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ แต่งตังให้ = นาย ชนินทร์ รุนสําราญ กรรมการอิสระเป็ นผู้รับมอบอํานาจในการออกเสียงแทน วันประชุม - อํานวยความสะดวกให้ ผ้ ถู ือหุ้น รวมถึงนักลงทุนสถาบัน โดยเลือกสถานที#จดั ที#มีขนาดเพียงพอต่อผู้มาประชุม และสามารถเดินทางได้ สะดวก พร้ อมแนบแผนที#จดั การประชุม รวมถึงจัดเจ้ าหน้ าที#ต้อนรับเพื#อให้ ข้อมูล และ ตรวจเอกสารในการลงทะเบียน ทังนี = = ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนล่วงหน้ าก่อนเวลาประชุมประมาณ 2 ชัว# โมง ผ่านระบบบาร์ โค้ ด (Bar Code) เพื#อความสะดวก รวดเร็ ว ถูกต้ องและแม่นยํา นอกจากนี =บริ ษัทฯ ยังได้ จัดเตรี ยมอากรแสตมป์ให้ กบั ผู้ถือหุ้นที#ต้องการมอบฉันทะด้ วย - กําหนดให้ สทิ ธิออกเสียงในที#ประชุมเป็ นไปตามจํานวนหุ้นที#ผ้ ถู ือหุ้นถืออยู่ โดยหนึง# หุ้นมีสทิ ธิเท่ากับหนึง# เสียง - ก่อนเริ# ม การประชุม ประธานกรรมการจะชี แ= จงแก่ ผ้ ูถือหุ้นให้ ทราบถึ งสิทธิ ตามข้ อบัง คับของบริ ษั ทฯ การ ดําเนินการประชุม วิธีการใช้ สทิ ธิลงคะแนน รวมทังให้ = สทิ ธิแก่ผ้ ถู ือหุ้นในการตังคํ = าถาม และแสดงความเห็นในที# ประชุมอย่างเท่าเทียมกัน - ใช้ ระบบบาร์ โค้ ดในการนับคะแนนเสียง และแสดงผล สรุ ปของคะแนนเสียงในทุกวาระอย่างชัดเจน ตลอดจน นําบัตรลงคะแนนมาใช้ ในการลงมติ โดยจัดทําบัตรลงคะแนนแยกตามวาระเพื#อให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถลงคะแนน ได้ ตามที#เห็นสมควร - จัดให้ มีที#ปรึกษากฎหมายที#เป็ นอิสระจากภายนอก (Inspector) เพื#อทําหน้ าที#ในการดูแลให้ การประชุมเป็ นไป อย่างโปร่งใส ถูกต้ องตามกฎหมายและข้ อบังคับของบริ ษัทฯ - สนับสนุนให้ มีตวั แทนจากผู้ถือหุ้นในที#ประชุมร่วมเป็ นพยานในการนับคะแนนเสียงในทุกวาระ - ประธานกรรมการจัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอ และดําเนินการประชุมอย่างเหมาะสมและโปร่ งใส ตามลําดับระเบียบวาระที#ได้ แจ้ งไว้ ในหนังสือเชิญประชุม โดยที#ผ่านมาไม่เคยไม่แจกเอกสารที#มีข้อมูลสําคัญ ในที#ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างกะทันหัน รวมถึงไม่มีการเพิ#มระเบียบวาระในที#ประชุมโดยไม่ได้ แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบ ล่วงหน้ า ซึง# อาจไม่เป็ นธรรมต่อผู้ถือหุ้นที#ไม่ได้ มาเข้ าร่วมประชุม - ให้ สิทธิผ้ ูถือหุ้นสามารถเข้ าร่ วมประชุมภายหลังจากเริ# มการประชุมไปแล้ ว โดยมีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนนได้ เฉพาะวาระที#ที#ประชุมยังไม่ได้ พิจารณาลงมติ - เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามอย่างเต็มที# โดยมีประธานกรรมการ ประธานกรรมการ คณะตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน กรรมการผู้จดั การ ผู้บริ หารระดับสูง และผู้สอบบัญชี เข้ าร่วมประชุมเพื#อตอบข้ อซักถามของผู้ถือหุ้น

49


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

หลังการประชุม - นําส่งมติที#ประชุมพร้ อมรายละเอียดจํานวนคะแนนเสียงในแต่ละวาระอย่างชัดเจนแก่ตลาดหลักทรัพย์และบน เว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ภายในวันประชุมเพื#อให้ ผ้ ถู ือหุ้นที#ไม่ได้ เข้ าร่วมประชุมรับทราบในทันที - ผู้ถือหุ้นสามารถรับชมเทปบันทึกภาพการประชุมผู้ถือหุ้นผ่านเว็บคาสต์ (Webcast) บนเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ - จัดทํารายงานการประชุมผู้ถือหุ้นทังภาษาไทยและภาษาอั = งกฤษเผยแพรท่างตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ ของบริ ษัทฯ ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม และนํา ส่งสํา เนารายงานการประชุมผู้ถือหุ้นผ่า นทางตลาด หลักทรัพย์ฯ ภายในเวลาที#กําหนด ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ รับคะแนนประเมินคุณภาพการจัดงาน ประชุมผู้ถือหุ้น 100 คะแนนเต็มต่อเนื#องเป็ นปี ที# 7 ภายใต้ โครงการประเมินคุณภาพ AGM ซึ#งจัดโดยสมาคมส่งเสริ มผู้ลงทุนไทยร่ ว มกับสํา นักงานคณะกรรมการกํ า กับ หลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ (ก.ล.ต.) และสมาคมบริ ษัทจดทะเบียน โดยหลักเกณฑ์ ที#ใช้ ในการประเมินคุณภาพ ครอบคลุมขันตอนต่ = างๆ ในการจัดประชุมผู้ถือหุ้นตังแต่ = ก่อนวันประชุม วันประชุม และภายหลังวันประชุม

9.2 การปฏิบัตติ ่ อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญและดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ทังผู = ้ ถือหุ้นรายใหญ่ รายย่อย นักลงทุนสถาบัน หรื อผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยมีแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี = (1) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นอย่างสมํ#าเสมอผ่านทางช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของ บริ ษัทฯ จัดให้ มีช่องทางที#ผ้ ถู ือหุ้นสามารถติดต่อขอรับข้ อมูลหรื อสอบถาม ได้ โดยตรงผ่านทาง E-mail ของ คณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการอิสระ และหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ซึง# รายละเอียดช่องทางการติดต่อ ได้ เปิ ดเผยไว้ ที# “รายงานการพัฒนาอย่างยัง# ยืน” หน้ า 68 (2) มีระเบียบบังคับใช้ ภายในบริ ษัทฯ เรื# องการใช้ ข้อมูลภายในอย่างชัดเจนสอดคล้ องกับกฎหมายเกี#ยวกับ หลักทรัพย์ และมีการทบทวนอย่างสมํ#าเสมอเพื#อให้ เกิดความยุติธรรม และเสมอภาคต่อผู้มีสว่ นได้ เสียทุก ราย ดังนี = - แจ้ งกฎเกณฑ์ และนโยบายที#เกี#ยวข้ องกับการใช้ ข้อมูลภายในให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานได้ รับ ทราบอย่างสมํ#าเสมอ เพื#อให้ มนั# ใจว่ากฎเกณฑ์ และนโยบายดังกล่าวเป็ นที#รับทราบ และปฏิบตั ิตาม - ห้ ามซื =อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ในช่วงเวลาก่อนเปิ ดเผยงบการเงินต่อสาธารณชน 1 เดือน โดยสาย งานเลขานุการบริ ษัทจะแจ้ งให้ กรรมการและผู้บริ หารได้ ทราบช่วงเวลาการห้ ามซื =อขาย (Silent Period) - เปิ ดเผยการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริ หารในรายงานประจําปี อย่างครบถ้ วน ตามที#สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด นอกจากนี = คณะกรรมการได้ มีการติดตามผลการปฏิบตั ิตามหลักจริ ยธรรมธุรกิจเรื# องการ ใช้ ข้อมูลภายในโดยกําหนดให้ กรรมการและผู้บริ หารส่งสําเนารายงานการเปลีย# นแปลงการถือหลักทรัพย์ ให้ สายงานเลขานุการบริ ษั ทเพื#อรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัททุกครั ง= ที#มีการเปลี#ยนแปลงการถื อ หลักทรัพย์ โดยสายงานเลขานุการบริ ษัทจะเป็ นผู้รวบรวมเพื#อรายงานที#ประชุมคณะกรรมการรวมถึง จัดส่งเอกสารให้ กบั สํานักงาน ก.ล.ต.

50


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

9.3 การคํานึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้ เสีย นโยบายการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ เสียกลุ่มต่ างๆ บริ ษัทฯ ให้ ความสํา คัญต่อผู้มีส่ว นได้ เสียทุกฝ่ ายโดยยึดหลักผลประโยชน์ร่วมกันอย่า งยัง# ยืน โดยกํ า หนดเป็ น นโยบายและบทบาท ต่อผู้มีสว่ นได้ เสียไว้ อย่างชัดเจนใน “คู่มือจริ ยธรรมธุรกิจ” ซึ#งมีรายละเอียดการดําเนินงาน ดังนี = ผู้ถือหุ้น :

ปฏิบตั ิหน้ าที#ด้วยความซื#อสัตย์สุจริ ต ตลอดจนตัดสินใจดําเนินการใดๆ ด้ วยความรอบคอบและเป็ น ธรรม เพื#อผลประโยชน์สงู สุดของผู้ถือหุ้นโดยรวม นําเสนอรายงานผลประกอบการ ฐานะทางการเงิน และรายงานอื#นๆ โดยสมํ#าเสมอ และครบถ้ วนตามความเป็ นจริ ง แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกรายทราบอย่างเท่า เทียมกันถึงแนวโน้ มของบริ ษัทฯ ซึง# ตังอยู = ่บนพื =นฐานของความเป็ นไปได้ และมีเหตุผลอย่างเพียงพอ

พนักงาน :

ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานด้ วยความเป็ นธรรม ทังในด้ = านโอกาส ผลตอบแทน การแต่งตัง= โยกย้ าย ตลอดจน การพัฒนาศักยภาพ ให้ ความเคารพต่อความเป็ นปั จเจกชนและศักดิ ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ดูแ ล รักษาสภาพแวดล้ อมในการทํางานให้ มีความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สินของพนักงาน รวมถึงเปิ ด โอกาสให้ พนักงานร้ องเรี ยนในกรณีที#ไม่ได้ รับความเป็ นธรรมตามระบบ และกระบวนการที#กําหนด

ลูกค้ า :

ส่งมอบสินค้ า และให้ บริ การที#มีคณ ุ ภาพ ตรงตามความคาดหมายของลูกค้ าในราคาที#เป็ นธรรม ให้ ข้ อมูล ข่าวสารที#ถูกต้ อง เพี ยงพอ และทันต่อ เหตุการณ์ ของลูกค้ า ปฏิบัติตามเงื# อนไขต่างๆ ที#มีต่อ ลูกค้ าอย่างเคร่ งครั ด รวมถึง ติดต่อ กับลูกค้ าด้ วยความสุภ าพ มี ประสิทธิ ภ าพ จัดให้ มี ร ะบบ และ กระบวนการที#ให้ ลูกค้ าร้ องเรี ยนเกี#ยวกับคุณ ภาพ ปริ ม าณ ความปลอดภัยของสินค้ าและบริ การ ตลอดจนให้ คําแนะนําเกี#ยวกับวิธีการใช้ สินค้ าและบริ การของบริ ษัทฯ

คู่ค้า :

ปฏิ บัติ กับ คู่ค้ า ด้ ว ยความเสมอภาคและคํ า นึ ง ถึง ผลประโยชน์ ร่ ว มกัน พัฒ นาและรั ก ษาความ สัมพันธภาพที#ยั#งยืนกับคู่ค้า และสร้ างความเชื#อถือซึ#งกันและกัน โดยบริ ษัทฯ ยึดถือการปฏิบตั ิตาม ระเบียบจัดซื =อจัดจ้ างซึง# มีการกําหนดขันตอนและวิ = ธีปฏิบตั ไิ ว้ อย่างชัดเจน ตลอดจนไม่เรี ยก หรื อไม่รับ หรื อจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที#ไม่สจุ ริ ตในการค้ ากับคูค่ ้ า

เจ้ าหนี B :

ปฏิบตั ติ ามเงื#อนไขที#มีตอ่ เจ้ าหนี =อย่างเคร่ งครัด บริ หารเงินกู้ยืมให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้ เงิน ไม่นําเงินไปใช้ ในทางที#อาจก่อให้ เกิดความเสียหายต่อบริ ษัทฯ ควบคุมให้ มีการชําระคืนเงินกู้และ ดอกเบี ย= ให้ กับเจ้ า หนี ต= ามกํ าหนดเวลา และปฏิบัติตามเงื# อ นไขการกู้ยืม เงิ นตามข้ อ ตกลงอย่ า ง ครบถ้ วน กรณี ที#ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื#อนไขใดได้ ต้ องรี บแจ้ งให้ เจ้ าหนี =ทราบล่วงหน้ า เพื#อร่ วมกัน พิจารณาหาแนวทางแก้ ไขปั ญหา

คู่แข่ งทางการค้ า :

ดําเนินธุรกิจภายใต้ กรอบกติกาของการแข่งขันที#ดี ไม่แสวงหาข้ อมูลที#เ ป็ นความลับของคู่แ ข่งทาง การค้ าด้ วยวิธีการที#ไม่สุจริ ตหรื อไม่เหมาะสม และไม่ทําลายชื#อเสียงของคู่แข่งทางการค้ าด้ วยการ กล่าวหาในทางร้ าย

51


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

สังคม ชุมชน และสิ งแวดล้ อม :

ดําเนินธุรกิจที#เป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ#งแวดล้ อม ให้ ความสําคัญกับการดูแลรั กษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ท้องถิ#นที#หน่วยงานของบริ ษัทฯ ตังอยู = ่ โดยบริ ษัทฯ จะยึดมัน# ปฏิบตั ิตนเป็ น พลเมื อ งที# ดี ปฏิ บัติต ามกฎหมาย และข้ อ บัง คับที# เ กี# ย วข้ อ งอย่ า งครบถ้ วน เพื# อ ส่ ง เสริ ม นโยบาย ดัง กล่าว บริ ษัทฯ จะดํา เนินกิจกรรมที#มี ส่วนสร้ างสรรค์สัง คมอย่างสมํ# าเสมอ และจะดําเนินการ ปลูกฝั งจิตสํานึกของพนักงานทุกระดับให้ มีความรั บผิดชอบต่อสังคม ชุมชม และสิ#งแวดล้ อมอย่าง จริ งจังและต่อเนื#อง เพื#อให้ ดํารงอยู่เป็ นวัฒนธรรมองค์กรที#ดีตลอดไป

หมายเหตุ : สําหรับรายละเอียดด้ านบทบาทของบริ ษัทฯ ที#มีตอ่ ผู้มีสว่ นได้ เสีย ได้ รายงานเพิ#มเติมไว้ ที#หวั ข้ อ “รายงานการพัฒนาอย่างยัง# ยืน”

นโยบายและแนวปฏิบัตดิ ้ านทรัพย์ สินทางปั ญญา บริ ษัทฯ ได้ กําหนดให้ บคุ ลากรปฏิบตั ิหน้ าที#ภายใต้ กฎหมายหรื อข้ อกําหนดที#เกี#ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปั ญญา ไม่วา่ จะเป็ นเครื# องหมายทางการค้ า และทรัพย์สนิ ทางปั ญญาด้ านอื#นที#กฎหมายกําหนด โดยกําหนดนโยบายในเรื# องต่างๆ เช่น การใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที#มีลิขสิทธ์ ถกู ต้ อง โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทกุ ชนิดจะต้ องผ่านการตรวจสอบและลง โปรแกรมโดยฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านัน= การกําหนดให้ พนักงานตรวจสอบข้ อมูลต่างๆ ก่อนที#จะนํามาใช้ ในการ ปฏิบตั ิงานว่าไม่เป็ นการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญาของผู้อื#น เป็ นต้ น รวมทังได้ = สง่ เสริ มให้ พนักงานมีความรู้ ความเข้ าใจ เกี#ยวกับข้ อกําหนดของกฎหมาย และความเสียหายที#เกิดขึ =น กรณีละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญา นโยบายและแนวปฏิบัตดิ ้ านการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน การเคารพและปฏิ บัติ ต ามกฎหมายเป็ นพื น= ฐานสํา คัญ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ซึ#ง รวมถึ ง กฎหมาย ภายในประเทศ และต่างประเทศ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมที#เกี#ยวข้ องกับการดําเนินงาน โดยมุ่ง ยกระดับมาตรฐานการปฏิบตั ิให้ สงู กว่าข้ อกําหนดตามกฎหมาย บริ ษัทฯ สนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิมนุษยชน ดูแลไม่ให้ ธุรกิจของบริ ษัทฯ เข้ าไปมีสว่ นเกี#ยวข้ องกับการ ล่วงละเมิดสิทธิ มนุษยชน เช่น ไม่สนับสนุนการบังคับใช้ แรงงาน (Forced Labor) ต่อต้ านการใช้ แรงงานเด็ก (Child Labor) ให้ ความเคารพนับถือ และปฏิบตั ิตอ่ ต่อผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายด้ วยความเป็ นธรรมบนพื =นฐานของศักดิ ศรี ความเป็ น มนุษย์ ไม่เลือกปฏิบตั ิ ไม่แบ่งแยกถิ#นกําเนิด เชื =อชาติ เพศ อายุ สีผิว ศาสนา สภาพร่ างกาย ฐานะ ชาติตระกูล ตลอดจน ส่งเสริ มให้ มีการเฝ้ าระวังการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดด้ านสิทธิมนุษยชนภายในบริ ษัทฯ และส่งเสริ มให้ บริ ษัทย่อย ผู้ร่วมทุน คูค่ ้ า และผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายปฏิบตั ิตามหลักสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานสากล คุ้มครองสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียที#ได้ รับ ความเสียหายจากการละเมิดสิทธิอนั เกิดจากการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ โดยพิจารณาชดเชยค่าเสียหายให้ ไม่ตํ#ากว่า อัตราที#กฎหมายกําหนด นโยบายและแนวปฏิบัตดิ ้ านการต่ อต้ านการทุจริตคอร์ รัปชั น บริ ษัทฯ แสดงออกถึงความมุง่ มัน# ในการต่อต้ านคอร์ รัปชัน# โดยกําหนดให้ ความมีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรม (Integrity) เป็ นหนึง# ค่านิยมขององค์กร และปลูกฝั งให้ ทกุ คนในองค์กรถือปฏิบตั ิ ทังนี = = บริ ษัทฯ ได้ แสดงเจตนารมย์เป็ นแนวร่ วมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ในการต่อต้ านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน# ตังแต่ = วนั ที# 2 กันยายน 2557 ซึง# จัดโดย สมาคมส่งเสริ ม

52


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

สถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ร่ วมกับ หอการค้ าไทย หอการค้ านานาชาติ สมาคมบริ ษั ทจดทะเบียนไทย และ สมาคมธนาคารไทย โดยในปี 2558 สถาบันไทยพัฒน์ ได้ ประเมินการดําเนิน การเพื#อความยัง# ยืนเรื# องการต่อต้ านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน# ของบริ ษัทฯ โดยประเมินจากข้ อมูลที#บริ ษัทฯ ได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณะทังในแบบ = 56-1 รายงานประจําปี และรายงานอื#นๆ ส่งผลให้ บริ ษัทฯ ได้ รับการปรับคะแนนเพิ#มขึ =นจากระดับ 2 (Declared) ในปี ก่อนมาอยูท่ ี#ระดับ 3 (Established) ซึง# แสดงให้ เห็นถึงระดับของนโยบายที#บริ ษัทฯ กําหนดเพื#อดําเนินการ (ไม่จ่ายให้ เจ้ าหน้ าที#รัฐ ไม่มีสว่ นเกี#ยวข้ อง ไม่เกี#ยวข้ อง และต่อต้ านผู้เกี#ยวข้ อง) การประเมินความเสี#ยงของธุรกิจ เพื#อระบุการดําเนินงานของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยที#มีความ เสี#ยงว่าอาจมีส่วนเกี#ยวข้ องกับการคอร์ รัปชั#น การสื#อสาร และฝึ กอบรมแก่พนักงานเพื#อให้ ความรู้ เกี#ยวกับนโยบาย และ แนวปฏิบตั ิในการต่อต้ านคอร์ รัปชัน# รวมทังการดู = แลให้ มีการดําเนินการตามนโยบายและมีการทบทวนความเหมาะสมของ นโยบายโดยคณะกรรมการบริ ษัทอย่างน้ อยทุกปี นอกจากนี =บริ ษัทฯ ยังกําหนดโนบายเกี#ยวกับการให้ และรับของขวัญ โดยมีการแจ้ งเป็ นลายลักษณ์อกั ษรต่อคูค่ ้ าทุก ปี (เอกสารแนบ 4 จดหมายขอความร่วมมืองดเว้ นการให้ ของขวัญแก่ผ้ บู ริ หาร หรื อพนักงาน) รายละเอียดมีดงั นี = 1. ห้ ามให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานเรี ยก หรื อรับผลประโยชน์ใดๆ จากคู่ค้า ผู้รับเหมา ผู้จดั ส่งสินค้ า ที#ปรึ กษา และ ผู้ที#บริ ษัทฯ ทําธุรกิจด้ วย 2. ผู้บริ หารและพนักงานควรหลีกเลี#ยงการให้ หรื อรับของขวัญหรื อของกํานัลใดๆ จากคู่ค้า หรื อผู้ที#บริ ษัทฯ ทํา ธุรกิจด้ วย 3. ผู้บริ หารและพนักงานควรหลีกเลี#ยงการให้ หรื อรับการเลี =ยงรับรองในลักษณะที#เกินกว่าปกติจากบุคคลที# บริ ษัทฯ ทําธุรกิจด้ วย 4. ผู้บริ หารและพนักงานควรหลีกเลีย# งการให้ หรื อการรับรางวัลการท่องเที#ยวจากคูค่ ้ า บริ ษัทฯ ได้ กําหนดให้ การบริ หารความเสี#ยงเป็ นความรับผิดชอบของทุกคน ตังแต่ = กรรมการผู้บริ หาร และพนักงาน โดยความเสี#ยงที#เกี#ยวข้ องกับการทุจริ ตคอร์ รัปชั#นได้ ถูกนํามาพิจารณาในการประเมินความเสี#ยง และได้ รับการบริ หาร จัดการรวมถึงมีการควบคุมอย่างเหมาะสมผ่านเครื# องมือต่างๆ เช่น การรายงานความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ นโยบายการแจ้ งเบาะแสการกระทําผิด (Whistleblowing Policy) บริ ษัทฯ ได้ กําหนดให้ สายทรัพยากรบุคคลและหน่วยงานตรวจสอบภายในเป็ นหน่วยงานในการรับเรื# องร้ องเรี ยน เบาะแสการกระทําผิดรวมถึงการติดตามการปฏิบตั ิตามคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจ โดยได้ กําหนดให้ มีช่องทางสําหรับพนักงาน คู่ค้า ลูกค้ า ผู้ถือหุ้น และบุคคลผู้มีผลประโยชน์เกี#ยวข้ องกับบริ ษัทฯ สามารถแจ้ งเรื# อง หรื อร้ องเรี ยนถึงการกระทําใดๆ ที# ต้ อ งสงสัย ว่ า เป็ นการกระทํ า ผิ ด หรื อ เรื# อ งที# อ าจเป็ นปั ญ หากับ คณะกรรมการ เพื# อ ให้ บ ริ ษั ท ฯสามารถสื บ สวน และ ดําเนินการอย่างเหมาะสมได้ กรณีที#ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียกลุม่ ต่างๆมีข้อสงสัย หรื อพบเห็นการกระทําที#สงสัยว่ามีการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ จรรยาบรรณทางธุรกิจ หรื อต้ องการร้ องเรี ยนกรณี ถูกละเมิด ผู้มีส่วนได้ เสียสามารถสอบถาม แจ้ ง เบาะแสหรื อร้ องเรี ยน พร้ อมส่งรายละเอียดหลักฐานต่างๆ ถึงบุคคลหรื อหน่วยงานที#เกี#ยวข้ องทางการติดต่อดังนี =

53


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

กรรมการบริษัท :

กรณีที#ต้องการแจ้ งหรื อสื#อสารเกี#ยวกับการดําเนินงานของบริ ษัทฯ โดยข้ อมูลจะถูกส่งถึง กรรมการผู้จดั การ ที# http://hmpro.th.listedcompany.com/contact_board.html

กรรมการตรวจสอบ :

กรณีที#ต้องการร้ องเรี ยนเรื# องที#เกี#ยวกับการทําผิดกฎหมายหรื อจรรยาบรรณ ข้ อสงสัยทาง บัญชี การควบคุมภายใน เป็ นต้ น โดยข้ อมูลดังกล่าวจะส่งถึงสํานักตรวจสอบภายในของ บริ ษั ท ฯ เพื# อ รวบรวมเสนอต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบในการพิ จ ารณาต่ อ ไปที# http://hmpro-th.listedcompany.com/contact_audit.html

หน่ วยรับเรื องร้ องเรี ยน ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล :

กรณี ที#ต้องการแจ้ งการกระทําผิดของพนักงาน หรื อกรณี ที#พนักงานต้ องการร้ องเรี ยนต่อ บริ ษัทฯ ที# md@homepro.co.th

สําหรับรายละเอียดช่องทางการติดต่อของผู้มีสว่ นได้ เสียสามารถอ่านเพิ#มเติมได้ ที# “รายงานการพัฒนาอย่าง ยัง# ยืน” หน้ า 68 ทังนี = = บริ ษัทฯ จะเก็บข้ อมูลและตัวตนของผู้แจ้ งเบาะแสไว้ เป็ นความลับ โดยกรรมการผู้จดั การ และผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการของสายงานที# เกี# ยวข้ อ งเท่า นัน= ซึ#งฝ่ ายจัด การจะเป็ นผู้ร วบรวมข้ อร้ องเรี ยนและนํ า เสนอต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ หารความเสีย# ง เพื#อทําการสอบสวน และรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทต่อไป โดยในปี 2558 ที#ผา่ นมา ยังไม่มีการร้ องเรี ยนเรื# องการกระทําผิด

9.4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส คณะกรรมการให้ ความสําคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลที#ถูกต้ อง ครบถ้ วน โปร่ งใส ทันเวลาและเท่าเทียมกันแก่นกั ลงทุน และผู้ที#เกี#ยวข้ องทราบ ทังในส่ = วนของรายงานทางการเงิน และข้ อมูลสําคัญอื#นที#มีผลกระทบต่อมูลค่าหลักทรัพย์ ของบริ ษัทฯ ผ่านทางการเผยแพร่ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ เพื#อให้ นกั ลงทุนและผู้มี ส่วนได้ เสียทุกฝ่ ายทังในประเทศและต่ = างประเทศมีข้อมูลที#เชื#อถือได้ และเพียงพอต่อการตัดสินใจอย่างสมํ#าเสมอ หน่ วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษัทฯ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ รับผิดชอบในการให้ ข้อมูล และรับฟั งความเห็นของผู้ถือหุ้น และนักลงทุน อย่างสมํ#าเสมอ รวมถึงนําเสนอผลการปฏิบตั ิงาน ข้ อคิดเห็นจากผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ต่อ คณะกรรมการ บริ ษัทอย่างน้ อยปี ละ 4 ครัง= โดยบริ ษัทฯ มุง่ หวังว่าหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์จะเป็ นสื#อกลางสําคัญในการให้ ข้อมูลชี =แจง ตอบข้ อซักถามรวมถึงการรับฟั ง และแลกเปลี#ยนความคิดเห็นกับผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้ที#สนใจ โดยหัวหน้ างานฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ของบริ ษัทฯ คือ นายรักพงศ์ อรุ ณวัฒนา ทังนี = = สามารถติดต่อเพื#อขอรับทราบข้ อมูล ของบริ ษัทฯ ได้ 3 วิธี ได้ แก่ 1. ทางโทรศัพท์ : 0 2832 1416 2. ทางโทรสาร : 0 2832 1066 3. ทางอีเมล : ir@homepro.co.th

54


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังมีการเผยแพร่ ข้อมูลสําคัญของบริ ษัทฯ เพื#อเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมายได้ อย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ทันเวลา และเท่าเทียมกัน ผ่าน 3 ช่องทางหลัก ได้ แก่ 1. แบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และ รายงานประจําปี (แบบ 56-2) ซึง# มีรายละเอียดในหัวข้ อที# สําคัญอาทิ ภาพรวมการดําเนินธุรกิจปั จจัยความเสีย# งโครงสร้ างผู้ถือหุ้น การจัดการ การทํารายการระหว่าง กัน การกํากับดูแลกิจการ เป็ นต้ น โดยแบบแสดงรายการ ข้ อมูลประจําปี และรายงานประจําปี จะถูกเผยแพร่ ภายในระยะเวลาที#กําหนด เพื#อให้ นกั ลงทุนสามารถทราบรายละเอียดการดําเนินงานในปี ที#ผ่านมาได้ อย่าง ทันเวลา 2. คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ (MD&A) ประจําไตรมาส และประจําปี ซึ#งแสดงรายละเอียดผล การดําเนินงานด้ านการปฏิบตั ิการและการเงิน พร้ อมการวิเคราะห์และคําอธิบายถึงสาเหตุการเปลี#ยนแปลง โดยคํานึงถึงปั จจัยที#สง่ ผลกระทบต่อการเปลีย# นแปลง ของผลการดําเนินงาน 3. การเปิ ดเผยข้ อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ในหัวข้ อนักลงทุนสัมพันธ์ เพื#ออํานวยความสะดวกให้ แก่นกั ลงทุน และผู้ที#สนใจให้ สามารถศึกษาข้ อมูลบริ ษัทฯ ได้ อย่างต่อเนื#อง โดยมีการปรับปรุ งให้ เป็ นปั จจุบนั และ ทันต่อเหตุการณ์ อยู่เสมอ ซึ#งหน่ว ยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ได้ จัดทํา และเปิ ดเผยข้ อมูลผ่า นทางเว็บไซต์ ทัง= ภาษาไทย และภาษาอัง กฤษข้ อมูลที#เปิ ดเผยบนเว็บไซต์ อาทิ ลักษณะการดํา เนินธุรกิ จของบริ ษั ทฯ งบ การเงินทังงบปั = จจุบนั และย้ อนหลัง เอกสารข่าว (Press Release) โครงสร้ างการถือหุ้นของบริ ษัทฯ โครงสร้ าง องค์กร โครงสร้ างกลุม่ ธุรกิจ ข้ อมูลเกี#ยวกับกรรมการและผู้บริ หาร ข้ อมูลด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ ข้ อบังคับของ บริ ษัทฯ และรายงานประจําปี ที#สามารถดาวน์โหลดได้ เป็ นต้ น การประชุมนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ บริ ษั ท ฯ ได้ จัดการบรรยายสํา หรั บนักวิ เ คราะห์ และนัก ลงทุน รวมทัง= ผู้ถื อหุ้นที# ส นใจ สํา หรั บ การเปิ ดเผยผล ประกอบการ และจัดทําเอกสารข่าวแก่นกั ลงทุน (Investor Release) เป็ นรายไตรมาสแก่นกั ลงทุน กิจกรรมพบนักลงทุน และการเยี#ยมชมกิจการ ตลอดปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ เปิ ดโอกาสให้ นกั วิเคระห์หลักทรัพย์ผ้ ถู ือหุ้น และนักลงทุนสถาบันทังใน = และต่างประเทศเข้ าพบผู้บริ หารผ่านกิจกรรมหลากหลายรู ปแบบอย่างต่อเนื#อง เพื#อให้ ผ้ ูลงทุนทราบถึงข้ อมูล ผลการ ดําเนินงาน แผนกลยุทธ์แนวทางการเติบโต รวมถึงสรุ ปเหตุการณ์สําคัญต่างๆ ที#เกิดขึ =นในรอบปี และตอบข้ อซักถาม โดย ในปี ที#ผา่ นมา บริ ษัทฯ มีการดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี = 1. การเดินทางพบปะนักลงทุน หรื อ Roadshow แบ่งเป็ น - การเดินทางพบปะนักลงทุนต่างประเทศ รวม 7 ครัง= ได้ แก่ สิงคโปร์ 3 ครัง= ฮ่องกง 2 ครัง= มาเลเซีย 1 ครัง= และยุโรป 1 ครัง= - การเดินทางพบปะนักลงทุนในประเทศรวม 7 ครัง= 2. การจัดให้ นกั วิเคราะห์นกั ลงทุนรายย่อยและนักลงทุนสถาบันทังในประเทศและต่ = างประเทศเข้ าพบผู้บริ หารโดย ผ่านการนัดหมายเพื#อสอบถามข้ อมูลบริ ษัทฯ (Company Visit) รวม 74 ครัง= 3. การเยี#ยมชมสาขาโดยการนัดหมายล่วงหน้ าจากนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และนักลงทุน (Site Visit) รวม 13 ครัง= 4. การประชุมทางโทรศัพท์จากนักลงทุน (Conference Call) รวม 14 ครัง=

55


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

5. การจัดกิจกรรมบริ ษัทจดทะเบียนพบนักลงทุน (Opportunity Day) รวม 2 ครัง= ซึง# จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย งานแถลงข่ าวและความสัมพันธ์ กบั สื อมวลชน ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีการแถลงข่าว 1 ครัง= เกี#ยวกับรายงานผลประกอบการประจําปี 2557 และทิศทางการ ดําเนินธุรกิจในปี 2558 โดยได้ มีการจัดทําเอกสารข่าว (Press Release) สําหรับสื#อมวลชน รวมทังมี = การแจ้ งข่าวเกี#ยวกับ ความคืบหน้ าของการดําเนินธุรกิจและกิจกรรมทางการตลาดต่างๆ ตลอดทังปี =

9.5 ความรั บผิดชอบของคณะกรรมการ นอกจากอํานาจหน้ าที#ของคณะกรรมการบริ ษัท ที#ได้ เปิ ดเผยไว้ ที#หวั ข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 30 - 31 แล้ ว คณะกรรมการบริ ษัทยังมีบทบาทสําคัญในเรื# องต่างๆ ดังนี = - การกําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินธุรกิจ : คณะกรรมการได้ มีสว่ นร่ วมในการกําหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย เป้าหมายแผนธุรกิจ และงบประมาณของบริ ษัทฯ โดยมีการนํามาพิจารณาทบทวนทุกๆ ปี ตลอดจน กํากับดูแลให้ ฝ่ายบริ หารดําเนินการให้ เป็ นไปตามแผน และงบประมาณที#กําหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล - การกํากับดูแลกิจการที ดี : คณะกรรมการกําหนดให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกคนยึดถือปฏิบตั ิ ตามการกํากับดูแลกิจการที#ดีและคูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ ของบริ ษัทฯ ในการดําเนินธุรกิจให้ มีมาตรฐาน โปร่งใส มี ประสิทธิภาพ และสามารถตรวจสอบได้ - การควบคุม และการตรวจสอบภายใน : คณะกรรมการตระหนักถึงความสําคัญของระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน โดยกําหนดให้ บริ ษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที#มีประสิทธิ ภาพ สอดคล้ องกับ ระดับความเสี#ยงที#ยอมรับได้ และได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบทําหน้ าที#สอบทานและติดตามผล การควบคุมภายในอย่างสมํ#าเสมอ เพื#อสร้ างความมัน# ใจให้ กบั ผู้บริ หาร นักลงทุน และผู้มีสว่ นได้ เสียอื#นๆ - การบริหารความเสี ยง : คณะกรรมการมีหน้ าที#กํากับดูแลให้ มีการบริ หารจัดการความเสี#ยงที#จะส่งผลกระทบ ต่อการดําเนินธุรกิจโดยจัดตังคณะกรรมการบริ = หารความเสีย# งเพื#อทําหน้ าที#และมีความรับผิดชอบในการกํากับ และส่ง เสริ ม ให้ ก ารบริ ห ารความเสี#ยงเป็ นไปอย่า งมี ป ระสิท ธิ ภ าพ รวมถึ งมี ก ารพิ จารณาความเสี#ย งที# มี นัยสําคัญ ตลอดจนการกําหนดแผนการดําเนินการ ติดตาม ประเมินผล และปรับปรุ งแผนงานดังกล่าวอย่าง ต่อเนื#องเพื#อลดระดับ ความเสีย# งให้ อยูใ่ นระดับที#ยอมรับได้ - การป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ : คณะกรรมการเป็ นผู้กําหนดเครื# องมือในการบริ หารจัดการ เพื#อให้ เกิดความมัน# ใจว่าบริ ษัทฯ มีการบริ หารจัดการธุรกิจอย่างมีประสิทธิ ภาพและโปร่ งใส เพื#อประโยชน์ สูงสุดของผู้ถือหุ้นโดยดูแลไม่ให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในการดําเนินงานทังนี = = หากกรรมการหรื อ ผู้บริ หารมีสว่ นได้ เสียในเรื# องใด จะต้ องเปิ ดเผยเรื# องดังกล่าวอย่างครบถ้ วน

56


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

บริ ษัทฯ ได้ มีการแต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบ = ซึ#งดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการอิสระทุกท่านเพื#อสอบทานความ ถูกต้ อง การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอและความน่าเชื#อถือของงบการเงิน การกํากับดูแลกิจการและการควบคุมภายใน ของบริ ษัทฯ ซึง# มีรายละเอียดภาระหน้ าที#ตามที#ระบุไว้ ในหัวข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 34 - 35 ในกรณี ที#มีการทํารายการที#ไม่ใ ช่การดํา เนินงานตามปกติของบริ ษัทฯ คณะกรรมการบริ ษั ท มีหน้ า ที#พิจารณา รายการดังกล่าว ซึง# มีกรรมการที#เป็ นอิสระร่วมอยูใ่ นที#ประชุมด้ วย บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน เพื#อกําหนดวิธีการ และหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการ บริ ษัท และกําหนดการจ่ายค่าตอบแทนหรื อประโยชน์อื#นใด ที#เป็ นธรรมและสมเหตุสมผล และนําเสนอที#ประชุมผู้ถือหุ้น เพื#อพิจารณาอนุมตั ิ ซึง# มีรายละเอียดภาระหน้ าที#ตามที#ระบุไว้ ในหัวข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 36 บทบาทของประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ ประธานกรรมการและกรรมการผู้จดั การของบริ ษัทฯ ไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน เพื#อให้ มีการแบ่งแยกบทบาทอย่าง ชัดเจน และมีการถ่วงดุลอํานาจในการดําเนินงาน แม้ วา่ ประธานกรรมการจะเป็ นตัวแทนจากผู้ถือหุ้นที#ไม่ใช่กรรมการอิสระ แต่อย่างไรก็ตาม จากการพิจารณาของ คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่า ตอบแทนผ่า นความเห็นชอบของคณะกรรมการบริ ษั ทมีความเห็นว่า โครงสร้ าง ดังกล่าวมีความเหมาะสมกับลักษณะการประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ และเป็ นจุดแข็งที#ช่วยส่งเสริ มให้ การดําเนินธุรกิจของ บริ ษัทฯ ประสบความสําเร็ จและมีการเติบโตอย่างต่อเนื#องมาจนถึงปั จจุบนั เนื#องจากประธานกรรมการเป็ นผู้มีความรู้ ประสบการณ์ และความเชี#ยวชาญหลายด้ าน ทังธุ = รกิจที#เกี#ยวข้ องกับบ้ าน อสังหาริ มทรัพย์ รวมถึงด้ านการค้ าปลีก จึงทําให้ ประธานกรรมการสามารถปฏิบตั ิหน้ าที#โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายมาโดยตลอด ประธานกรรมการมีหน้ าที# และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการตามกฎบัตรคณะกรรมการบริ ษัท ยึดมัน# ใน จรรยาบรรณและนโยบายการกํากับดูแลกิจการเพื#อเป็ นแบบอย่างที#ดีให้ แก่กรรมการผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทฯ ทังนี = = ประธานกรรมการเป็ นประธานในที#ประชุมคณะกรรมการและที#ประชุมผู้ถือหุ้น ควบคุมดูแลการประชุมดังกล่าวให้ ดําเนินไปอย่างเรี ยบร้ อย เปิ ดโอกาสให้ กรรมการและผู้ถือหุ้นได้ แสดงความคิดเห็นหรื อข้ อเสนอแนะอย่างเต็มที#ในเชิง สร้ างสรรค์ และเป็ นอิสระ กรรมการผู้จดั การมีหน้ าที#และความรับผิดชอบในการบริ หาร และจัดการบริ ษัทฯ ให้ มีการดําเนินการตามแผนกล ยุทธ์ วิสยั ทัศน์ และพันธกิจที#กําหนดไว้ โดยมีขอบเขตอํานาจหน้ าที#ภายใต้ กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของ บริ ษัทฯ ตลอดจนมติที#ประชุมคณะกรรมการ และมติที#ประชุมผู้ถือหุ้น รายละเอียดเพิ#มเติมเกี#ยวกับอํานาจหน้ าที#ของประธานกรรมการ และกรรมการผู้จดั การ สามารถอ่านรายละเอียด เพิ#มเติมได้ ที#หวั ข้ อ “โครงสร้ างการจัดการ” หน้ า 31 และ 39 - 40 ตามลําดับ

57


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริ ษัทฯ มีนโยบายให้ ความสําคัญในการจัดปฐมนิเทศให้ กบั กรรมการใหม่ทกุ ครัง= เพื#อให้ ทราบถึงบทบาท หน้ าที# และ ความรับผิดชอบ รวมถึงการให้ ความรู้ ความเข้ าใจในธุรกิจ และการดําเนินงานด้ านต่างๆ ของบริ ษัทฯ เพื#อเตรี ยม ความพร้ อมในการปฏิบตั ิหน้ าที#ของกรรมการ โดยนําเสนอเอกสารและข้ อมูลที#เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิหน้ าที#ของ กรรมการใหม่ เช่น คู่มือกรรมการบริ ษัทจดทะเบียน คู่มือการกํากับดูแลกิจการที#ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ ข้ อบังคับของ บริ ษัทฯ โครงสร้ างเงินทุน โครงสร้ างผู้ถือหุ้น รายงานประจําปี แบบ 56-1 ผลการดําเนินงาน กฎหมาย ข้ อพึงปฏิบตั ิที#ดี กฎเกณฑ์ตา่ งๆ และหลักสูตรการอบรมกรรมการ รวมทังข้ = อมูลอื#นๆ ที#เกี#ยวข้ องกับการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ ทังนี = = เพื#อ เสริ มสร้ างความรู้ความเข้ าใจในธุรกิจและการดําเนินงานด้ านต่างๆ ของบริ ษัทฯ ให้ แก่กรรมการที#เข้ ารับตําแหน่งเป็ นครัง= แรก ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ จดั ปฐมนิเทศให้ กบั กรรมการ 2 ท่าน ได้ แก่ นายชัชชาติ สิทธิพนั ธุ์ ตําแหน่งกรรมการ ในวันที# 19 มิถนุ ายน 2558 และนายพรวุฒิ สารสิน ตําแหน่งกรรมการอิสระ ในวันที# 16 ตุลาคม 2558 การเข้ าอบรมหลักสูตรของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทส่งเสริ มและอํานวยความสะดวกให้ กรรมการเข้ าอบรมหลักสูตรหรื อเข้ าร่วมกิจกรรมสัมมนาที# เป็ นการเพิ#มพูนความรู้ ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื#อง โดยมอบหมายให้ เลขานุการบริ ษัทประสานงานกับกรรมการเพื#อ แจ้ งหลักสูตรการฝึ กอบรมต่างๆ ตามตารางการฝึ กอบรมเป็ นระยะๆ ทังนี = = ในปี 2558 ไม่มีกรรมการท่านใดเข้ ารับการอบรม เนื#องจากกรรมการที#เข้ าใหม่ในปี 2558 ทังสองท่ = าน ได้ แก่ นาย ชัชชาติ สิทธิพนั ธ์ ได้ ผา่ นการอบรมหลักสูตร DCP แล้ ว ใน ปี 2549 และ นาย พรวุฒิ สารสินได้ ผา่ นการอบรมหลักสูตร DAP ในปี 2548 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการบริ หารจะมีการประชุมเป็ นประจําทุกเดือน และอาจมีการจัดการประชุม พิเศษเพิ#มเติมตามความจําเป็ น โดยการประชุมแต่ละครัง= รวมถึงการลงมติในที#ประชุม บริ ษัทฯ ได้ กําหนดนโยบายจํานวน องค์ประชุมขันตํ = #าไว้ โดยจะต้ องมีคณะกรรมการ เข้ าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ#งหนึง# จึงจะครบองค์ประชุม ซึง# กําหนดวันและ เวลาการประชุมไว้ ล่ว งหน้ า ตลอดทัง= ปี และจะมีก ารจัดส่งหนังสือ เชิ ญประชุม ระเบีย บวาระการประชุม และเอกสาร ประกอบการประชุม ก่อนการประชุมล่วงหน้ าอย่างน้ อย 5 วันทําการ เพื#อให้ กรรมการได้ มีเวลาศึกษามาก่อนล่วงหน้ า ในระหว่างการประชุม ประธานในที#ประชุมได้ มีการจัดสรรเวลาอย่างเพียงพอในการอภิปรายประเด็นที#สําคัญ อีก ทังสนั = บสนุนให้ กรรมการทุกท่านได้ แสดงความคิดเห็นอย่างสร้ างสรรค์และเป็ นอิสระ มีการใช้ ดลุ ยพินิจอย่างรอบคอบ ทังนี = = เลขานุการบริ ษัทจะเข้ าร่วมประชุม และจดบันทึกรายงาน การประชุมทุกครัง= ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัทกรรมการ ที#อาจมีส่ว นได้ เสียจะไม่อยู่ใ นที#ประชุม และงดออกเสียงในวาระน้ั น เอกสารประกอบการประชุม รายงานการประชุม ตลอดจน ข้ อ มูล หรื อ เอกสารที# เ กี# ย วข้ อ งมี ก ารเก็ บ ไว้ อ ย่า งครบถ้ ว นในที# ป ลอดภัย โดยมี ก ารจัด เก็ บ ในรู ป แบบไฟล์ อิเล็กทรอนิกส์ ควบคูก่ บั การจัดเก็บเอกสารต้ นฉบับ นอกจากนี =คณะกรรมการบริ ษั ทที#ไม่เป็ นผู้บริ หาร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ สามารถประชุมระหว่า ง กันเองตามความเหมาะสม เพื#ออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกี#ยวกับการจัดการที#อยู่ในความสนใจโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่ วม ประชุมด้ วย

58


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการมีการพิจารณาเกี#ยวกับการเปลีย# นแปลงในกฎหมาย ข้ อบังคับ หลักเกณฑ์ตา่ งๆ ที#สาํ คัญ เช่น ข้ อมูล อุตสาหกรรมตลอดจนข่าวสารความเคลื#อนไหวด้ านการกํากับดูแลกิจการที#ดีอย่างสมํ#าเสมอ เพื#อให้ การปฏิบตั ิหน้ าที#ใน ฐานะกรรมการสอดคล้ องตามกฎหมาย ข้ อบังคับหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบตั ิที#ดี และเป็ นปั จจุบนั ในปี 2558 บริ ษัทฯได้ มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัททังสิ = =น 12 ครัง= และการประชุมคณะกรรมการชุดย่อย ได้ แก่ การประชุมคณะกรรมการบริ หาร 11 ครัง= การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 12 ครัง= และการประชุมคณะกรรมการสรร หาและกําหนดค่าตอบแทน 3 ครัง= โดยรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมของคณะกรรมการเป็ นดังนี = จํานวนครั งB ที เข้ าร่ วม / จํานวนครั งB ที จัดประชุม ชื อ – นามสกุล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

นาย อนันต์ นาย มานิต นาย รัตน์ นาย นพร นาย คุณวุฒิ นาย ชัชชาติ นาง สุวรรณา นาย อาชวิณ นาย พรวุฒิ นาย บุญสม นาย ทวีวฒ ั น์ นาย ชนินทร์

อัศวโภคิน อุดมคุณธรรม พานิชพันธ์ สุนทรจิตต์เจริ ญ 1 ธรรมพรหมกุล สิทธิพนั ธุ์ 2 พุทธประสาท อัศวโภคิน สารสิน 3 เลิศหิรัญวงศ์ ตติยมณีกลุ รุนสําราญ

1. 2.

นาย จุมพล นาย พงส์

มีสขุ 4 สารสิน 5

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริ ษัท บริ หาร ตรวจสอบ 12 / 12 12 / 12 10 / 11 12 / 12 11 / 11 11 / 12 10 / 11 12 / 12 11 / 11 7/7 12 / 12 11 / 12 3/3 12 / 12 12 / 12 12 / 12 12 / 12 12 / 12 12 / 12 กรรมการที ลาออกระหว่ างปี 2558 4/4 3/8

คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่ าตอบแทน

3/3 1/1

3/3 1/1

หมายเหตุ: 1. ได้ รับการแต่งตังเป็ = นกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที# 1 มิถนุ ายน 2558 2. ได้ รับการแต่งตังเป็ = นกรรมการ ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที# 1 มิถนุ ายน 2558 3. ได้ รับการแต่งตังเป็ = นกรรมการ และกรรมการอิสระ ตามมติที#ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท โดยมีผลวันที# 1 ตุลาคม 2558 4. ลาออกจากการเป็ นกรรมการ โดยมีผลวันที# 1 พฤษภาคม 2558 และลาออกจากการเป็ นกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทน โดยมีผลวันที# 30 เมษายน 2558 5. ลาออกจากการเป็ นกรรมการ และกรรมการอิสระ โดยมีผลวันที# 1 กันยายน 2558

กระบวนการและหลักเกณฑ์ ในการประเมินผลงานคณะกรรมการบริษัท การประเมินผลการปฏิบติงานของคณะกรรมการของบริ ษัทแบ่งออกเป็ นดังนี = -

การประเมินผลงานคณะกรรมการทังB คณะ : บริ ษัทฯ ได้ มอบหมายคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน เป็ นตัวแทนในการกําหนดหลักเกณฑ์ และประเมินผลงานคณะกรรมการทัง= คณะในแต่ละปี เพื#อพิจารณากําหนด ค่า ตอบแทน และค่า บํ า เหน็จ กรรมการ โดยคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่า ตอบแทน ได้ พิ จ ารณาโดยมี หลักเกณฑ์การประเมินจากการเติบโตของผลกําไรสุทธิ ของบริ ษัทฯ การจ่ายเงินปั นผล มูลค่าของหลักทรัพย์ตาม

59


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ราคาตลาดและจํานวนครัง= การเข้ าประชุมการประเมินผลงานคณะกรรมการในแต่ละปี มีจุดมุ่งหมายเพื#อพัฒนา ประสิทธิภาพของคณะกรรมการบริ ษัท และหาแนวทางในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมินสําหรับปี ถัดไป -

การประเมินผลงานคณะกรรมการชุดย่ อย : ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิหน้ าที#ของ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแบ่งเกณฑ์ การประเมินเป็ น 2 ส่วน ได้ แก่ (1) ความเหมาะสมของ โครงสร้ างและ องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ (2) การปฏิบตั ิหน้ าที#ของคณะกรรมการตรวจสอบในรอบปี ที#ผา่ นมา

หลักเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงานและนโยบายค่ าตอบแทนของกรรมการผู้จัดการ บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ทําหน้ าที#ในการเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษัทใน การพิจารณากําหนดเกณฑ์ที#ใช้ ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี ของกรรมการผู้จดั การ โดยเกณฑ์ดงั กล่าวจะต้ อง สอดคล้ องกับเป้าหมายของบริ ษัทฯ ทังในระยะสั = นและระยะยาว = โดยมีจุดมุ่งหมายเพื#อสร้ างแรงจูงใจในการปฏิบตั ิงาน และสร้ างความรู้สกึ มีสว่ นร่วมในความเป็ นเจ้ าของบริ ษัทฯ โดยมีการจ่ายค่าตอบแทนดังนี = ระยะสันB : ระยะยาว :

จ่ายค่าตอบแทนในรูปของเงินเดือน และโบนัส โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงาน โครงการสะสมหุ้นสําหรับพนักงาน (EJIP) โดยมีระยะดําเนินโครงการตังแต่ = วนั ที# 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 30 มิถนุ ายน 2561 รายละเอียดเพิ#มเติมสามารถอ่านได้ ที#สว่ นการจัดการ หัวข้ อ 8.9 หน้ า 43

แผนการสืบทอดตําแหน่ งของผู้บริหารระดับสูง บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความสําคัญของการดําเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิ ภาพต่อเนื#อง จึงได้ จัดทําแผนสืบทอด ตํา แหน่งในการสรรหาบุคลากรที#มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื#อพัฒนาให้ มีศกั ยภาพที#จะสืบทอดตํา แหน่งที#สํา คัญในการ ดําเนินธุรกิจ โดยสามารถสืบทอดตําแหน่งได้ ทนั ที หรื อภายใน 1 - 2 ปี โดยมีขนตอนการดํ ั= าเนินงานที#สาํ คัญ ดังนี = 1. กําหนดตําแหน่งงานสําคัญที#เป็ นตําแหน่งงานหลัก (Key Position) ในการดําเนินกิจการของบริ ษัทฯ 2. กํ า หนดหลัก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาคัด เลื อ กผู้สื บ ทอดตํ า แหน่ ง โดยพิ จ ารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ศักยภาพ และวิสยั ทัศน์ในการบริ หารจัดการ 3. พิจารณาคัดเลือกผู้สบื ทอดตําแหน่งที#มีคณ ุ สมบัติตามหลักเกณฑ์ ประเมินความพร้ อมของผู้ได้ รับการคัดเลือก ทังจุ = ดเด่น และเรื# องที#ต้องพัฒนาเพิ#มเติม 4. การวางแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan) โดยจัดทํา แผนพัฒนาความสามารถ รายบุคคลที#ได้ รับการคัดเลือกเพื#อให้ มีความพร้ อมในตําแหน่งที#จะสืบทอด 5. ประเมินผล และทบทวนการจัดทําแผนการสืบทอดตําแหน่งประจําปี เพื#อขออนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท การกํากับดูแลบริษัทย่ อย คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีการแต่งตังผู = ้ บริ หารของบริ ษัทฯ เป็ นกรรมการในบริ ษัทย่อย โดยมีหน้ าที#ดําเนินการเพื#อ ประโยชน์ที#ดีที#สดุ ของบริ ษัทย่อย และดูแลให้ บริ ษัทย่อยมีข้อบังคับในเรื# องการทํารายการเกี#ยวโยง การได้ มาหรื อจําหน่าย ไปซึง# สินทรัพย์หรื อการทํารายการสําคัญอื#นใดอย่างครบถ้ วนถูกต้ อง และกําหนดให้ บริ ษัทย่อยใช้ หลักเกณฑ์การเปิ ดเผย

60


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ข้ อมูลและการทํารายการข้ างต้ นในลักษณะเดียวกับหลักเกณฑ์ของบริ ษัทฯ รวมถึงกํากับดูแลให้ มีการจัดเก็บข้ อมูล และ การบันทึกบัญชีของบริ ษัทย่อยเพื#อให้ บริ ษัทฯ สามารถตรวจสอบและรวบรวมมาจัดทํางบการเงินรวมได้ ทนั กําหนด หน่ วยงานกํากับการปฏิบตั ิงาน (Compliance Unit) ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน เรื# องการจัดให้ มีหน่วยงานกํากับดูแลการปฏิบตั ิงานของผู้ประกอบ ธุรกิจ ที#บงั คับใช้ กับผู้ได้ รับใบอนุญาตซึ#งเป็ นผู้ประกอบธุรกิจดังนี = (1) การเป็ นนายหน้ าซื =อขายหลักทรัพย์ (2) การค้ า หลักทรัพย์ (3) การจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ (4) การจัดการกองทุนรวม (5) การจัดการกองทุนส่วนบุคคล (6) การเป็ น ตัวแทนซื =อขายสัญญาซื =อขายล่วงหน้ า (7) การเป็ นผู้ค้าสัญญาซื =อขายล่วงหน้ า และ (8) การเป็ นผู้จดั การเงินทุนสัญญาซื =อ ขายล่วงหน้ า ให้ จดั ตังหน่ = วยงานกํากับดูแลการปฏิบตั ิงานเพื#อประโยชน์ในการควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานของผู้ประกอบ ธุรกิจให้ เป็ นไปตามการกํากับดูแลที#ดี บริ ษัทฯ ไม่ได้ จดั ตังหน่ = วยงานกํากับดูแลโดยเฉพาะ แต่จะเป็ นการมอบหมายให้ แต่ละหน่วยงานที#รับผิดชอบใน แต่ละเรื# องดูแล เช่น การกํากับเรื# องที#เกี#ยวกับใบอนุญาตต่างๆ และการปฏิบตั ิตามกฎหมาย การปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และสํานักงาน ก.ล.ต. จะมอบหมายให้ หน่วยงานกฎหมายดูแล การปฏิบตั ิตามมาตรฐานการ ทํางาน ของสาขาอยู่ในความรับผิดชอบของส่วนงานการปฏิบตั ิการสาขา และมีหน่วยงานตรวจสอบภายในทําหน้ าที# ตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของส่วนงานต่างๆ ในทุกเรื# องให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และมาตรฐานต่างๆ อีกครัง= หนึง# หน่ วยงานตรวจสอบภายใน เพื#อส่งเสริ มให้ เกิดกระบวนการกํากับที#ดี บริ ษัทฯมีการจัดตังหน่ = วยงานตรวจสอบภายใน เพื#อทําหน้ าที#สอบทาน และติดตามผลการปฏิบตั ิงานให้ กบั ฝ่ ายบริ หาร โดยปฏิบตั ิงานด้ วยความเป็ นอิสระ และรายงานผลการดําเนินงานให้ กบั คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรงอย่างสมํ#าเสมอ ทังนี = = ผู้บริ หารสูงสุดของสํานักตรวจสอบภายในคือ นาย อายุรทัศน์ ไชยอนันต์ ผู้จดั การทัว# ไปสายงานตรวจสอบภายใน ซึง# ได้ รับการแต่งตังให้ = ดํารงตําแหน่งโดยคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี =ยังได้ มีการเสนอแต่งตังผู = ้ สอบบัญชีที#ผ่านการพิจารณาคัดเลือกจากคณะกรรมการตรวจสอบและเพื#อ ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัทฯ ซึง# จากมติที#ประชุมผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 อนุมตั ิให้ แต่งตัง= ผู้สอบบัญชีจากบริ ษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด โดยนางสาวสุมนา พันธ์ พงษ์ สานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 5872 เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยประจําปี 2558 ทังนี = =ผู้สอบบัญชีมิได้ มีผลประโยชน์หรื อส่วนได้ สว่ นเสีย อย่างเป็ นสาระสําคัญทังทางตรงและทางอ้ = อม รวมถึงมิได้ เป็ นลูกหนี =หรื อเจ้ าหนี =ของบริ ษัท / บริ ษัทย่อย / ผู้บริ หาร / ผู้ถือ หุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ที#เกี# ยวข้ องกับบุคคลดังกล่า ว โดยผู้สอบบัญชี มีความเป็ นอิสระและมีคุณสมบัติที#ได้ รับการยอมรั บ รวมถึงเป็ นผู้สอบบัญชีที#ได้ รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. การกํากับดูแลการใช้ ข้อมูลภายใน คณะกรรมการกําหนดให้ มีนโยบายที#ใช้ ในการควบคุมเกี#ยวกับการใช้ ข้อมูลภายใน และการซื =อขายหลักทรัพย์ของ บริ ษัทฯ เพื#อให้ เกิดความเสมอภาคและยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกราย และป้องกันไม่ให้ กรรมการและผู้บริ หารที#เกี#ยวข้ องซื =อ ขายหลักทรัพย์และหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรื อผู้อื#นในทางมิชอบ

61


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- การควบคุมเกี ยวกับข้ อมูลภายใน : กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกคน ต้ องไม่ใช้ ข้อมูลภายในของบริ ษัทฯ ที#มี สาระสําคัญ และยังไม่ได้ เปิ ดเผยสารสนเทศ ต่อสาธารณชนเพื#อประโยชน์ของตนเองและผู้อื#น และต้ องยึดถือปฏิบตั ิ ตามนโยบายการเก็บรักษาและการใช้ ข้อมูลภายในที#บริ ษัทฯ กําหนดขึ =นอย่างเคร่งครัด - การถือหลักทรั พย์ ของบริ ษัทฯ : กรรมการผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทฯ มีสิทธิเสรี ภาพในการลงทุน ซื =อขาย หลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ แต่เพื#อป้องกันไม่ให้ เกิด ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์กรรมการผู้บริ หาร และพนักงานรวมถึงคู่ สมรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ต้ องไม่ซื =อขาย โอน หรื อรับโอนหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิ ดเผยงบการเงินแก่สาธารณชน ทังนี = =หากผู้บริ หาร หรื อพนักงานรายใดฝ่ าฝื น ไม่ปฏิบตั ิตามนโยบายด้ านการ ดูแลการใช้ ข้อมูลภายในที#กล่าวข้ างต้ นนี =ถือเป็ นความผิดทางวินยั ตามระเบียบบริ ษัทฯ และอาจมีโทษตามกฎหมาย - การรายงานการถือหลักทรั พย์ ของบริ ษัทฯ : เลขานุการบริ ษัทรวบรวมข้ อมูลการถือหลักทรัพย์ของกรรมการ และ ผู้บริ หารรวมถึงคูส่ มรสและบุตรที#ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะให้ ที#ประชุมคณะกรรมการทราบทุกครัง= โดยจัดให้ เป็ นหนึง# ในวาระ การประชุม ทุก เดื อน นอกจากนี บ= ริ ษั ท ฯยังได้ กํ า หนดนโยบายให้ กรรมการและผู้บ ริ ห ารระดับ สูง แจ้ งต่อสายงาน เลขานุการบริ ษัทเกี#ยวกับการซื =อขายหลักทรัพย์ของตนเองอย่างน้ อย 1 วันล่วงหน้ าก่อนทําการซื =อขาย การกํากับดูแลกิจการด้ านความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ บริ ษัทฯ มีนโยบายในการดําเนินธุรกิจด้ วยความซื#อสัตย์สจุ ริ ต เปิ ดกว้ าง โปร่ งใส และเป็ นธรรม โดยกําหนดให้ กรรมการผู้บริ หาร และพนักงานทุกคน ห้ ามประกอบธุรกิจที#แข่งขันกับบริ ษัทฯ หลีกเลี#ยงการทํารายการที#เกี#ยวโยงกับ ตนเองหรื อบุคคล/นิติบคุ คลที#เกี#ยวข้ องที#อาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์กบั บริ ษัทฯ โดยคณะกรรมการบริ ษัทมี หน้ าที#ดแู ลให้ บริ ษัทฯ มีการปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิ ด เผยข้ อมูลรายการที#เกี#ยวโยงกัน ตามที#กฎหมาย หรื อหน่วยงานกํากับดูแลกิจการกําหนดไว้ อย่างเคร่งครัด ในกรณีที#มีความจําเป็ นต้ องทํารายการที#เกี#ยวโยงกัน รายการน้ั นจะต้ องเป็ นไปตามเงื#อนไขทางการค้ าทัว# ไปตาม หลักการที#คณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิ ด้ วยความโปร่ งใสและเป็ นธรรม เปรี ยบเสมือนการทํารายการกับบุคคลภายนอก และคํานึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทฯ โดยผู้ที#มีสว่ นได้ เสียจะต้ องไม่มีสว่ นในการพิจารณารายการที#ตนมีความขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์ ทังนี = =ในกรณีที#เป็ นรายการที#เกี#ยวโยงกันที#ไม่เป็ นไปตามเงื#อนไขการค้ าทัว# ไปตามหลักการที#คณะกรรมการ บริ ษัทอนุมตั ิ ซึ#งอาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ต้องผ่านการสอบทานและให้ ความเห็นจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ก่อนนําเสนอขออนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทหรื อผู้ถือหุ้น - การรายงานการทํารายการที เกี ยวโยงกัน : กรรมการ และผู้บริ หารต้ องตอบแบบชี =แจงรายการที#เกี#ยวโยงกันในรอบ ปี บัญชีสิ =นสุดวันที# 31 ธันวาคม เป็ นประจําทุกปี เพื#อแสดงถึงความโปร่งใส รอบคอบ และระมัดระวังใน การทําธุรกรรม ที#เกี#ยวโยงกันในรอบปี โดยมีเลขานุการบริ ษัทเป็ นผู้จดั ส่งแบบชี =แจงรายการและรวบรวมข้ อมูล - การเปิ ดเผยข้ อมูลส่ วนได้ เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้ท ีเกี ยวข้ อง : มีการรายงานครัง= แรกภายใน 30 วันนับ จากวันที#เข้ ารับดํารงตําแหน่งในบริ ษัทฯ และรายงานข้ อมูล ณ วันที# 31 ธันวาคม ของทุกปี สําหรับกรณีระหว่างปี กรรมการหรื อผู้บริ หารรวม ถึงบุคคลที#มีความเกี#ยวข้ องจําเป็ นต้ องเข้ าทําธุรกรรมใดๆ กับบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยไม่ว่า โดยทางตรง หรื อโดยทางอ้ อม กรรมการหรื อผู้บริ หารมีหน้ าที#แจ้ งให้ บริ ษั ทฯ รับทราบโดยระบุข้อเท็จจริ งเกี# ยวกับ ลักษณะของสัญญา ชื#อของคูส่ ญ ั ญา และส่วนได้ เสียของกรรมการหรื อผู้บริ หารในสัญญา เพื#อความโปร่ งใสในการเข้ า ทําธุรกรรมน้ั น

62


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- การรายงานการมีส่วนได้ เสีย : กรรมการและผู้บริ หาร มีหน้ าที#รายงานการมีสว่ นได้ เสียของตนเองและของบุคคลที#มี ความเกี#ยวข้ อง ซึ#งเป็ นส่วนได้ เสียที#เกี#ยวข้ องกับการบริ หารจัดการกิจการของบริ ษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ เงื#อนไขและ วิธีการตามที#คณะกรรมการกํากับตลาดทุนกําหนดซึง# เลขานุการบริ ษัทมีหน้ าที#รวบรวมและจัดส่งสําเนารายงานการมี ส่วนได้ เสียให้ แก่ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทําการ นับแต่วนั ที#ได้ รับรายงาน - การเปิ ดเผยผู้มีส่วนร่ วมในการบริ หารงาน (Strategic Shareholder) : บริ ษัทฯ มีหน้ าที#ในการจัดทํารายงาน การ กระจายหุ้นซึง# ถือโดยผู้ถือหุ้นรายย่อย หรื อ Free Float โดยผู้ถือหุ้นรายย่อย หมายถึง ผู้ถือหุ้นที#มิได้ เป็ นผู้มีสว่ นร่ วมใน การบริ หารงาน ซึ#งสัดส่วนของการกระจายหุ้นโดยผู้ถือหุ้นรายย่อยถือเป็ นส่วนสําคัญของการมีสภาพคล่องในการซื =อ ขายหุ้นของบริ ษัทฯ และเป็ นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ และนักลงทุน ที#จะซื =อขายได้ อย่างคล่องตัว รวมถึงได้ ราคาที#เหมาะสมทําให้ เกิดความน่าสนใจที#จะลงทุนในหุ้นของบริ ษัทฯ ทังนี = = ในปี 2558 บริ ษัทฯ ไม่ได้ รับข้ อร้ องเรี ยนใดๆ เกี#ยวกับการกระทําผิดของกรรมการและผู้บริ หารเกี#ยวกับการใช้ ข้ อมูลภายในในทางมิชอบ คู่มือจริยธรรมธุรกิจ บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจอย่างมีจริ ยธรรม โดยถือว่าจริ ยธรรมธุรกิจเป็ นกรอบพฤติกรรมและเป็ น เครื# องชี =นําการดําเนินธุรกิจที#ดีให้ กับกรรมการผู้บริ หาร และพนักงานทุกคนของบริ ษัทฯ ได้ ยึดถือปฏิบตั ิ เพื#อให้ เกิดการ ทํางานที#มีประสิทธิภาพ และสามารถตรวจสอบได้ ซึง# จะสร้ างความเชื#อมัน# และการยอมรับในการดําเนินงานที#โปร่ งใสของ บริ ษัทฯ ตลอดจนสร้ างคุณค่าในระยะยาวให้ แก่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียอย่างยัง# ยืน และเป็ นธรรมกับทุกฝ่ าย โดยคณะกรรมการได้ จัดให้ มี “คู่มือจริ ยธรรมธุรกิจ” ซึ#งเป็ นส่วนหนึ#งของ “การกํากับดูแลกิจการที#ดี” ของบริ ษัทฯ ซึ#งสามารถดาวน์โหลดได้ บน เว็บไซต์ของบริ ษัทฯ คู่มือจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยนโยบาย และแนวปฏิบตั ิ 6 เรื# อง ที#สะท้ อนถึงค่านิยมในการดําเนิน ธุรกิจขององค์กร โดยกําหนดให้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานยึดถือและปฏิบตั ิตามดังต่อไปนี = 1. 2. 3. 4. 5. 6.

หลักการในการดําเนินธุรกิจ ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์และการรักษาข้ อมูลอันเป็ นความลับ ความรับผิดชอบของต่อบริ ษัทฯ และทรัพย์สนิ ของบริ ษัทฯ การปฏิบตั ิตอ่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย การดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามจริ ยธรรมธุรกิจ การรับข้ อร้ องเรี ยนเกี#ยวกับบรรษัทภิบาล และจริ ยธรรมธุรกิจ

บริ ษัทฯ ได้ แจกจ่ายคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจให้ แก่กรรมการผู้บริ หาร และพนักงานทุกคนเพื#อใช้ อ้างอิง และถือปฏิบตั ิ ด้ วย โดยกําหนดให้ เป็ นหน้ าที#และความรับผิดชอบของทุกคนที#จะต้ องรับทราบ ทําความเข้ าใจ และปฏิบตั ิตามนโยบาย และข้ อปฏิบตั ิตาม ที#กําหนดไว้ ในคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจอย่างเคร่ งครัด นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังได้ เผยแพร่ บนเว็บไซต์ของ บริ ษัทฯ ภายใต้ หวั ข้ อเรื# องการกํากับดูแลกิจการที#ดีเพื#อให้ ผ้ ถู ือหุ้น นักลงทุน และผู้ที#สนใจได้ เข้ าดูได้ อย่างสะดวกด้ วย บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการเสริ มสร้ างความรู้ ความเข้ าใจ ในเรื# องการกํากับดูแลกิจการที#ดีและจริ ยธรรมธุรกิจ อย่างต่อเนื#อง โดยคณะกรรมการบริ ษัทได้ ดูแลให้ มีการสื#อสารในเรื# องดังกล่าวเพื#อสร้ างความมั#นใจว่ากรรมการ และ

63


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

บุคลากรมีการยึดถือ และปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวผ่านการดําเนินการต่างๆ อาทิ บรรจุเรื# องเกี#ยวกับการกํากับดูแล กิจการที#ดี และคูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจ เป็ นเรื# องหนึ#งในการปฐมนิเทศให้ กบั กรรมการ และพนักงานทุกคน โดยในปี 2558 ได้ จัดให้ กบั กรรมการ 2 ครัง= และพนักงาน 24 ครัง=

64


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10. ความรับผิดชอบต่ อสังคม - รายงานการพัฒนาอย่ างยั งยืน ในรายงานฉบับนี = เกี#ยวกับรายงานฉบับนี = คณะกรรมการด้ านการพัฒนาอย่างยัง# ยืน แผนงานและผลการดําเนินงานในปี 2558 ด้ านสินค้ าและบริการ สินค้ าที#เป็ นมิตรต่อสิง# แวดล้ อม นวัตกรรมด้ านสิง# แวดล้ อมและสังคม บริ การที#เป็ นเลิศ ความรับผิดชอบต่อลูกค้ า การจัดซื =อจัดจ้ างอย่างมีความรับผิดชอบ ด้ านประสิทธิภาพ การบริ หารจัดการพลังงานและการใช้ นํ =า การจัดการขยะและของเสีย การบริ หารจัดการระบบนิเวศ การขนส่งที#มีประสิทธิภาพ การจัดการสิง# แวดล้ อมของบริษัทย่อย การรณรงค์ด้านอื#นๆ เพื#อการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ด้ านการดูแลพนักงาน การสรรหาพนักงานคุณภาพ การเพิม# ศักยภาพด้ านความรู้และทักษะ การดูแลผลประโยชน์ และกิจกรรมพนักงานสัมพันธ์ ความปลอดภัยและสุขภาพ ด้ านสังคมและชุมชน โครงการทุนทวิภาคี โครงการห้ องนํ =าของหนู โครงการเถ้ าแก่น้อย โครงการเพื#อสังคมอื#นๆ ด้ านการบริหารจัดการ การขยายสาขาและเพิม# โอกาสทางธุรกิจ การคัดเลือกคูค่ ้ าทีเ# หมาะสม การต่อต้ านทุจริตคอร์ รัปชัน#

หน้ า 66 69 69 70

77

83

91

96

65


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

เกี ยวกับรายงานฉบับนี B แนวทางการจัดทํารายงาน รายงานฉบับนี =จัดทําขึ =นเป็ นเล่มที# 3 เพื#อรายงานการดําเนินงานด้ านการพัฒนาอย่างยัง# ยืนของบริ ษัท โฮม โปร ดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) ในประเด็นทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ#งแวดล้ อม ครอบคลุมระยะเวลาตังแต่ = วนั ที# 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2558 ตามดัชนีชี =วัดของ Global Reporting Initiatives (GRI) ฉบับ 4.0 โดยเลือกตัวชี =วัดที# สอดคล้ องกับการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ และเป็ นประเด็นที#ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียให้ ความสนใจ ขอบเขตเนื =อหาของรายงานฉบับนี =ครอบคลุมนโยบายภาพรวม กระบวนการ และกิจกรรมเพื#อความยัง# ยืนด้ าน เศรษฐกิจ สังคม และสิง# แวดล้ อมของ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย การคัดเลือกเนือB หาเพื อการรายงาน เพื#อคัดกรองประเด็นที#มีความสําคัญต่อบริ ษัทฯ และตรงกับความสนใจของผู้มีสว่ นได้ เสีย กระบวนการกําหนด ประเด็นสําคัญของบริ ษัทฯ จึงมีขนตอน ั= ดังนี = 1. ระบุประเด็นที#สําคัญต่อบริ ษัทฯ จากการกลัน# กรองด้ วยกลยุทธ์ เชิงธุรกิจ ความเสี#ยง ความท้ าทาย กิจกรรม ต่างๆ จากความคาดหวัง และความสนใจของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย โดยครอบคลุมทังด้ = านการกํากับดูแลกิจการ เศรษฐกิจ สังคม และสิง# แวดล้ อม สรุปได้ ทงสิ ั = =น 5 ประเด็นหลัก ได้ แก่ - ด้ านสินค้ าและบริ การ (สินค้ าที#เป็ นมิตรต่อสิง# แวดล้ อม สินค้ านวัตกรรม บริ การต่างๆ) - ด้ านประสิทธิภาพ (การบริ หารจัดการพลังงาน การจัดการขยะและของเสีย การขนส่ง) - ด้ านการดูแลพนักงาน (การสรรหา การพัฒนาความรู้ การดูแลผลประโยชน์ ความปลอดภัย) - ด้ านสังคมและชุมชน (การทํากิจกรรมเพื#อสังคม) - ด้ านการบริ หารจัดการ (การขยายสาขา การคัดเลือกคูค่ ้ า การต่อต้ านคอร์ รัปชัน# ) 2. จัดลําดับความสําคัญของประเด็น โดยวัดจากระดับความสําคัญที#มีตอ่ บริ ษัทฯ ตามเกณฑ์การประเมินความ เสีย# งองค์กรและระดับความสนใจของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย

66


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

3. เสนอผลที#ได้ ให้ กับคณะกรรมการการพัฒนาอย่า งยั#ง ยืนเพื#อทบทวนและอนุมัติเนือ= หาที#เกี#ยวข้ อง และ นําเสนอในรายงานประจําปี และเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ การมีส่วนร่ วมกับผู้มีส่วนได้ เสีย บริ ษัทฯ กําหนดผู้มีสว่ นได้ เสียโดยพิจารณาจากกิจกรรมภายในห่วงโซ่คณ ุ ค่า (Value Chain) ซึ#งประกอบด้ วย กิจกรรมพื =นฐาน (Primary Activities) และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ตามแผนภาพ ดังนี =

กิจกรรมพื =นฐาน ได้ แก่ การสัง# ซื =อ/สัง# ผลิตสินค้ า การกระจายสินค้ าไปยังสาขาต่างๆ ทัว# ประเทศ การขายและการ ให้ บริ การ ด้ านกิจกรรมสนับสนุน ประกอบด้ วยการการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการจัดการสินค้ า การพัฒนาความรู้ แก่ บุคลากร การเพิ#มช่องทางการจัดจําหน่ายการพัฒนารู ปแบบให้ บริ การ การพัฒนาการบริ หารจัดการภายใน โดยคุณค่าที# เพิ#มขึ =นจากทุกกิจกรรมจะรวมกัน ส่งต่อไปในรู ปแบบสินค้ าและบริ การที#มีคณ ุ ภาพ ลดระยะเวลาในการดําเนินการ ลูกค้ า ได้ รับความสะดวกสบายมากขึ =น ลดผลกระทบต่อสังคมและสิ#งแวดล้ อมขณะที#บริ ษัทฯ ก็สามารถลดการสูญเสียและ ค่าใช้ จ่ายด้ านต่างๆ ลงได้ จากกิจกรรมข้ างต้ น บริ ษัทฯ จึงกําหนดผู้มีสว่ นได้ เสียหลักออกเป็ น 6 กลุม่ ได้ แก่ (1) คู่ค้า (2) พนักงาน (3) ผู้ถือ หุ้น (4) เจ้ าหนี = (5) ลูกค้ า (6) สังคมและชุมชน ทังนี = = ได้ ผนวกความสนใจและข้ อกังวลของผู้มีสว่ นได้ เสียเข้ าในแผนงานและ ประเด็นความยัง# ยืน รวมถึงจัดหาวิธีการติดต่อ และแนวปฏิบตั ิตอ่ ผู้มีสว่ นได้ เสียดังกล่าวด้ วยวิธีการที#หลากหลาย ทังแบบ = เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการตลอดปี 2558 ดังนี =

67


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) ผู้มีส่วนได้ เสีย (1) คูค่ ้ า

ความคาดหวัง - การค้ าที#เป็ นธรรม - การเพิ#มปริ มาณการสัง# สินค้ า

(2) พนักงาน

- การจ่ายค่าตอบแทนที#เป็ นธรรม - ปฏิบตั ติ ามจริ ยธรรมด้ านแรงงาน - ความปลอดภัยต่อทรัพย์สนิ และ ชีวิต - การพัฒนาความรู้ และโอกาสใน การก้ าวหน้ า - ความสมดุลระหว่างชีวิตและการ ทํางาน

(3) ผู้ถือหุ้น

- การปรับปรุ งผลการดําเนินงาน ทางธุรกิจ - การกํากับดูแลกิจการที#ดี - ความโปร่ งใสของข้ อมูล - การดูแลสิทธิและความเท่าเทียม กัน

(4) เจ้ าหนี =

- การชําระหนี =ตรงต่อเวลา - การปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดสิทธิ

(5) ลูกค้ า

- ผลิตภัณฑ์ที#รับผิดชอบต่อสังคม และสิง# แวดล้ อม - ราคาที#เป็ นธรรม - คุณภาพและความปลอดภัยของ สินค้ า - บริ การหลังการขาย

(6) สังคมและชุมชน - ชุมชน

- ภาครัฐ

แนวปฏิบัติ - ปฏิบตั ติ อ่ คูค่ ้ าอย่างเท่าเทียม - มีกระบวนการจัดซื =อที#ชดั เจน - แบ่งปั นความรู้ และมีการปรับปรุง - ปฏิบตั ติ ามข้ อกําหนดและเงื#อนไขทางการค้ า - มีการแข่งขันการค้ าขายอย่างเสรี และเป็ น ธรรม ให้ ความสําคัญกับมาตรฐานการผลิต - มีการดําเนินงานอย่างมีจริยธรรม - กิจกรรมสร้ างความผูกพันกับองค์กร - ความมัน# คง และโอกาสเจริ ญเติบโตในหน้ าที# การงาน - ให้ ผลตอบแทนที#เป็ นธรรม รวมถึงสวัสดิการ ต่างๆ ในระดับที#ดี สามารถแข่งขันกับ ตลาดแรงงานได้ - มีสภาพแวดล้ อมในที#ทํางานที#ดี และปลอดภัย - ให้ การฝึ กอบรมในทักษะที#เกี#ยวข้ องกับงานที# รับผิดชอบ - เผยแพร่รายงาน และให้ ข้อมูลที#โปร่ งใส - ดําเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล - มุ่งสร้ างผลตอบแทนต่อเนื#องระยะยาว - สร้ างประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้นโดยรวม

- จ่ายชําระหนี =ตามระยะเวลา และเงื#อนไขที# กําหนด - รับผิดชอบในการรักษาอัตราส่วนหนี =สินทาง การเงินที#มีดอกเบี =ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นให้ ไม่เกิน ข้ อกําหนดในการออกหุ้นกู้ และเงินกู้ธนาคาร - การส่งเสริ มการขายและโปรโมชัน# - จําหน่ายสินค้ าที#มีมาตรฐาน และเป็ นไปตามที# ประชาสัมพันธ์ - ให้ บริ การที#เท่าเทียมกัน - ให้ การดูแลทังก่ = อน และหลังการขาย - รับฟั งและสนองตอบต่อข้ อร้ องเรี ยน

ช่ องทางการติดต่ อ - นโยบาย จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ และข้ อกําหนดในการร่ วมธุรกิจ - การเยี#ยมชมและการตรวจประเมิน - โปรแกรมการฝึ กอบรมคูค่ ้ า - Vendor day - ติดต่อผ่านทางผู้บริ หาร - Website : www.homepro.co.th - การให้ ข้อมูลกับพนักงาน - แบบสํารวจความพึงพอใจ - การประชุมประจําสายงาน - หน่วยรับเรื# องร้ องเรี ยน ฝ่ ายทรัพยากร บุคคล - ร้ องเรี ยนโดยตรงกับผู้บริ หาร - Email : md@homepro.co.th

- รายงานประจําปี - การประชุมผู้ถือหุ้น - ติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ โทร 0 2831 1000 Email : ir@homepro.co.th Website : http://hmpro-th.listedcompany.com/ - ติดต่อผ่านทางผู้บริ หาร - Website : www.homepro.co.th - ติดต่อฝ่ ายการเงิน โทร. 0 2832 1000

-

การสํารวจความพึงพอใจของลูกค้ า กล่องรับความคิดเห็นทุกสาขา Call Center โทร. 0 2831 6000 ศูนย์บริ การลูกค้ า Website : www.homepro.co.th

- การดําเนินธุรกิจด้ วยความ รับผิดชอบ - การพัฒนาชุมชน - การปรับปรุ งเศรษฐกิจของชุมชน

- รักษาระบบนิเวศสําคัญในบริเวณที#จะ ดําเนินการสร้ างสาขา - รับฟั งความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของชุมชน - ส่งเสริ มการประกอบอาชีพของคนในชุมชน จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณีร่วมกัน

- ก่อนการก่อสร้ าง ทีมสํารวจจะเข้ าพบปะ ชุมชนโดยรอบ - หลังการก่อสร้ าง ติดต่อผ่านผู้จดั การสาขา - Website : www.homepro.co.th

- การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย - การเข้ าร่ วมโครงการต่างๆ

- สนับสนุนและปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบอย่าง ครบถ้ วน - ให้ ความร่ วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของ หน่วยงานภาครัฐ

- ติดต่อผ่านทางผู้บริ หาร และส่วนติดต่อ ราชการ - Website : www.homepro.co.th

68


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการด้ านการพัฒนาเพื อความยั งยืน ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ มีการปรับบทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการด้ านความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเพิ#มนาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ - ด้ านบริ หารคลังสินค้ า และปรับชื#อเป็ นคณะกรรมการด้ าน การพัฒนาอย่างยัง# ยืน ซึ#งประกอบด้ วยคณะผู้บริ หารระดับสูงจากหน่วยงานต่างๆ ตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่า เพื#อเข้ าร่ วมทํา หน้ าที#กําหนดและทบทวนนโยบาย กลยุทธ์ แผนการดําเนินงาน ข้ อกําหนดและติดตามผลการดําเนินงานด้ านการพัฒนา อย่างยัง# ยืนที#เกี#ยวเนื#องและสร้ างความสมดุลระหว่างการดําเนินธุรกิจ การดูแลสิ#งแวดล้ อม และการสร้ างความเป็ นอยู่ที#ดี ให้ กบั สังคมและชุมชน โดยอาศัยการมีสว่ นร่ วมจากผู้มีสว่ นได้ เสียฝ่ ายต่างๆ ทังนี = = คณะกรรมการด้ านการพัฒนาอย่าง ยัง# ยืน มีรายชื#อดังต่อไปนี = 1. นาย ณัฏฐ์ 2. นาย วีรพันธ์ 3. นาย วทัญ{ู 4. น.ส. ศิริวรรณ 5. นาย นิทศั น์ 6. น.ส. วรรณี 7. นาย ชัยยุทธ์ 8. น.ส. อรพิน 9. นาย นพดล

จริ ตชนะ อังสุมาลี วิสทุ ธิโกศล เปี# ยมเศรษฐสิน อรุณทิพย์ไพฑูรย์ จันทามงคล กรัณยโสภณ ศิริจิตเกษม ผิวเกลี =ยง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ – ด้ านการตลาด ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ – ด้ านปฏิบตั ิการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ – ด้ านพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ – ด้ านจัดซื =อ Home Electric Product ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ – ด้ านทรัพยากรบุคคล และป้องกันการสูญเสีย ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ – ด้ านบัญชีและการเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ – ด้ านบริ หารคลังสินค้ า ผู้จดั การทัว# ไป – สายสือ# สารองค์กร ผู้จดั การทัว# ไป – สายพัฒนาองค์กร

แผนงานและผลการดําเนินงานในปี 2558 แผนงาน

ผลการดําเนินงานปี 2558

แผนงานในระยะถัดไป

ด้ านสินค้ าและบริการ ความพึงพอใจของลูกค้ า

เพิ#มคะแนนความพึงพอใจ

คะแนนความพึงพอใจของ ลูกค้ าสูงขึ =นจากร้ อยละ 94.29 มาอยู่ที#ร้อยละ 94.44

รักษามาตรฐานของสินค้ าและคุณภาพการให้ บริ การ รวมถึงเพิ#มความหลากหลายให้ กับกลุ่มสินค้ า และ บริ การ

ลดการใช้ พลังงาน 20% ภายใน 5 ปี (2557 - 2562)

ปริ มาณการใช้ พลังงานต่อพื น= ที# สร้ างจิตสํานึกด้ านการอนุรักษ์ พลังงานกับพนักงาน ลดลง 17.03% จากปี ฐาน (ปี ทุกระดับ 2557)

ด้ านประสิทธิภาพ พลังงาน

ด้ านการดูแลพนักงาน การอบรมพนักงาน

ฝึ กอบรม และพัฒนาบุคลากร เพื# อ ความรู้ ของพนักงานเพิม# ขึ =น รองรับการเติบโตของบริ ษัทฯ จากร้ อยละ 96.00 มาอยู่ที# ร้ อยละ 96.89 ด้ า นสุ ข ภาพและความ ลดอัตราการเกิดอุบตั เิ หตุตอ่ สาขา การเกิดอุบตั เิ หตุตอ่ สาขา ปลอดภัย ลดลงมาอยู่ที# 0.16 ครัง= จาก 0.20 ครัง=

ฝึ กอบรม และพั ฒ นาศั ก ยภาพบุ ค ลากร เพื# อ ความก้ าวหน้ า ในอาชี พ พร้ อมกั บ สร้ างผู้นํ า เพื# อ ความสําเร็ จขององค์กร รณรงค์ในการสร้ างพฤติกรรมเพื# อความปลอดภัย ละจัดกิจกรรมสัปดาห์เพื#อความปลอดภัย

69


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) แผนงาน

ผลการดําเนินงานปี 2558

แผนงานในระยะถัดไป

ด้ านสังคมและชุมชน พัฒนากิจกรรมเพื#อสังคม

ได้ รับการยอมรับจากชุมชนรอบข้ าง - โครงการห้ องนํ =าของหนู - โครงการทุนทวิภาคี

ดําเนินงานได้ ตามเป้าหมาย

เพิ# ม การดํ า เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื# อ ง รวมถึ ง ขยาย กลุม่ เป้าหมายที#หลากหลายขึ =น - ขยายก าร ดํ า เ นิ น งาน 13 - ขยายการดําเนินงานโครงการห้ องนํ =าผู้สงู อายุ โรงเรี ยน รวม 181 ห้ อง - มอบทุนการศึกษาระดับปวส. - เพิ#มสถาบันที#เข้ าร่ วมเป็ นเครื อข่าย จํานวน 258 ทุน และปริ ญญา ตรี จํานวน 100 ทุน

ด้ านการบริหารจัดการ การขยายธุรกิจ

100 สาขา โฮมโปร 15 - 20 สาขา เมกา โฮม 5 - 10 สาขา โฮมโปร มาเลเซีย (ภายในปี 2563)

76 สาขา โฮมโปร 7 สาขา เมกา โฮม 1 สาขา โฮมโปร มาเลเซีย ( ณ สิ =นปี 2558)

ขยายสาขาอย่ า งต่ อ เนื# อ ง ทั ง= ในประเทศและ ต่างประเทศ ครอบคลุมทุกกลุ่มลูกค้ าเป้าหมายใน ธุรกิจ Home Improvement

10.1 ด้ านสินค้ าและบริการ วัตถุประสงค์หลักของการคัดสรรสินค้ า อยู่ที#ความมุ่งมัน# ในการมอบสิ#งที#ดีที#สดุ ให้ กบั ลูกค้ า ดังนัน= หัวใจสําคัญ ของสินค้ าจึงอยูท่ ี#คณ ุ ภาพ และความคุ้มค่า บริ ษัทฯ มีความมุ่งมัน# ในการจัดหาสินค้ าที#มีความหลากหลาย เช่น หลอดไฟ LED สุขภัณฑ์ประหยัดนํ =าและสินค้ าแห่งนวัตกรรมใหม่ๆ เพื#อตอบสนองความต้ องการของผู้บริ โภคที#เปลี#ยนแปลงไป นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังเล็งเห็นถึงความต้ องการของผู้บริ โภคในด้ านการบริ การ โดยการจัดหาช่างผู้ชํานาญการที#มีความรู้ ในงานออกแบบ 3D Design บริ การติดตังตกแต่ = ง ซ่อมแซม ตรวจเช็ค และบํารุ งรักษา เพื#อให้ ลกู ค้ าสามารถควบคุม งบประมาณ และเวลาได้ อย่างแน่นอน บริ ษัทฯ มีการร่ วมมือกับบริ ษัทคู่ค้าในการคัดสรรผลิตภัณฑ์ที#มีการประหยัดพลังงาน สนับสนุนการจําหน่าย สินค้ าที#เป็ นมิตรต่อสิ#งแวดล้ อม ช่วยประหยัดพลังงาน และมีมาตรฐานสากลรับรองตลอดจนนวัตกรรมใหม่ๆ เพื#อ ตอบสนองต่อความต้ องการของผู้บริ โภคในเรื# องของการรักษาสิง# แวดล้ อม ดังนี = 10.1.1 สินค้ าที เป็ นมิตรต่ อสิ งแวดล้ อม โซลาร์ เซลล์ โซลาร์ เซลล์ (Solar Cell) สามารถเปลีย# นพลังงานแสงอาทิตย์ให้ เป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยกระแสไฟฟ้ าที#ผลิตได้ จาก โซลาร์ เซลล์จะเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct Current) ซึง# สามารถนํามาใช้ ประโยชน์ได้ ทนั ที โดยบริ ษัทฯ ได้ ร่วมมือ กับ บริ ษัท เอสพีซีจี จํากัด (มหาชน) ร่วมพัฒนาธุรกิจ “ระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์” หรื อ “SPR Solar Roof” ซึง# เป็ นแผงผลิตไฟฟ้ าที#ใช้ ติดตังบนหลั = งคาบ้ าน อีกทังยั = งส่งเสริ มให้ ผ้ บู ริ โภคสามารถผลิตไฟฟ้ าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ไว้ ใช้ เองด้ วยการติดตังแผงอุ = ปกรณ์ไว้ บนหลังคาเพื#อผลิตไฟฟ้ าไว้ ใช้ เองในเวลากลางวัน ซึ#งจะช่วยให้ ประชาชนประหยัดค่าไฟฟ้ า และประหยัดพลังงานด้ วยพลังงานสะอาดจากแสงอาทิตย์ผา่ นแผงโซลาร์ เซลล์

70


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

หลอดประหยัดไฟ LED หลอดประหยัดไฟ LED เป็ นหลอดไฟประสิทธิภาพสูงมีลกั ษณะเด่นหลายประการ เช่น อายุการใช้ งานยาวนานทน ต่อแรงสัน# สะเทือน ไม่มีสารปรอท ไม่เป็ นพิษต่อสิ#งแวดล้ อม เป็ นต้ น ตลอดปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ จําหน่ายหลอด ประหยัดไฟ LED ไปแล้ วกว่า 3.1 ล้ านหลอดทัว# ประเทศ สุขภัณฑ์ ประหยัดนําB ฉลากเขียว บริ ษัทฯ มีการคัดเลือกสินค้ ากลุม่ สุขภัณฑ์ และก๊ อกนํ =าที#ได้ รับฉลากเขียวฉบับใหม่ (ฉบับ TGL-5-R3-11) ซึง# เป็ นการรับรองจากสถาบันสิง# แวดล้ อมไทย โดยสินค้ าที#ได้ รับ การรับรองต้ องผ่านขันตอนการคั = ดเลือกวัตถุดิบมาเป็ นสุขภัณฑ์ใส่ใจในเรื# องของการ ประหยัดนํ =าต่อทุกการกดชําระ สีและสารเคลือบปลอดภัยจากส่วนผสมของสารโลหะ หนัก ได้ แก่ ปรอท ตะกัว# แคดเมีย# ม ฝารองนัง# ของสุขภัณฑ์มีสว่ นผสมของวัสดุเหลือใช้ ลดการใช้ ทรัพยากรถึงร้ อยละ 25 อีกทังการบรรจุ = ภณ ั ฑ์ และสีที#ใช้ พิมพ์บนบรรจุภณ ั ฑ์ จะต้ องไม่มีสว่ นผสมของโลหะหนัก เครื องฟอกอากาศ Allergy Friendly Product Award บริ ษัทฯ ได้ มีการคัดเลือกสินค้ ากลุม่ เครื# องฟอกอากาศที#ได้ รับรางวัล Allergy Friendly Product Award ซึง# เป็ นผลิตภัณฑ์ที#จะเป็ นประโยชน์สาํ หรับลูกค้ าที#เป็ นโรคภูมิแพ้ โรคหืดหอบหรื อแพ้ อากาศ อีกทังยั = งปลอดสารพิษทางเคมีอีกด้ วย กระเบือB งและสี ฉลากลดคาร์ บอน (Carbon Reduction Label) สินค้ ากลุม่ กระเบื =องและสี ที#วางจําหน่ายในโฮมโปรได้ รับการรับรองฉลากลดคาร์ บอน (Carbon Reduction Label) โดยสถาบันสิง# แวดล้ อมไทย ซึง# เป็ นฉลากที#แสดงระดับ การลดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกสูบ่ รรยากาศต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ โดยการประเมิน การปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกทีเ# กิดขึ =นจากกระบวนการผลิต อันเนื#องมาจากการใช้ ไฟฟ้ า เชื =อเพลิงฟอสซิล และของเสียในรูปของกากของเสีย นํ =าเสีย และมลพิษทางอากาศ จากวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment : LCA) กลุ่มสินค้ าผ้ าม่ านป้องกัน UV มาตรฐาน Smart Fabric ฉลากเนื =อผ้ าอัจฉริ ยะ (Smart Fabric) สําหรับสินค้ าในกลุม่ ผ้ าม่านป้องกัน UV จัดทํา โดยสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ#งทอ (Thailand Textile Institute : THTI)โดยต้ อง ผ่านการทดสอบ 2 หัวข้ อหลัก ได้ แก่ การทดสอบคุณสมบัติการป้องกันรังสียวู ี (UV Protection) และการทดสอบฉลากคุณภาพพื =นฐานสิ#งทอ อาทิ การทดสอบสารเคมีที# มีอนั ตรายต่อผู้บริ โภค การเปลีย# นแปลงขนาดหลังการซัก ความคงทนของสีตอ่ การซัก เป็ นต้ น

71


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

กลุ่มสินค้ าเครื องนอนและผ้ าขนหนู บริ ษัทฯ คัดเลือกสินค้ ากลุม่ เครื# องนอนเพื#อสุขภาพที#มีกระบวนการผลิตที#เป็ นมิตร ต่อสิง# แวดล้ อม โดยให้ ความสําคัญในการเลือกผู้ผลิตที#ไม่ใช้ สารเคมี ไม่ใช้ คลอรี น ในการฟอกย้ อม และหลีกเลี#ยงการใช้ สารฟอร์ มาลดีไฮด์(Formaldehyde) ใน กระบวนการตกแต่งสําเร็ จ โดยใช้ มาตรฐาน Okeo-Tex Standard 100 ซึ#งผ่าน การรับรองโดยสถาบันวิจัยด้ า นสิ#งทออิสระในประเทศออสเตรี ยและเยอรมันนี (The Austrian Textile Research Institute and The German Hohenstein Research Institute) ที#เป็ นข้ อกําหนดในการทดสอบสารตกค้ างในผลิตภัณฑ์สิ#ง ทอและเครื# องนุง่ ห่ม เพื#อให้ ลกู ค้ ามีความมัน# ใจในความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ เครื องปรับอากาศระบบอินเวอร์ เตอร์ (Inverter) การใช้ เครื# องปรับอากาศระบบอินเวอร์ เตอร์ ช่วยให้ ประหยัดไฟได้ กว่าร้ อยละ 20–30 เนื#องจากระบบคอมเพรสเซอร์ ทํางานอย่างต่อเนื#อง โดยการเพิ#มหรื อลดรอบการทํางาน ไม่หยุดเป็ นช่วงๆ สามารถรักษาอุณภูมิของห้ องให้ คงที# รวมถึงการใช้ นํ =ายา R32 ซึง# เป็ นนํ =ายาทําความเย็นที#ไม่ทําลายชันบรรยากาศโอโซน = และไม่สร้ างมลพิษ ดีกว่านํ =ายา ทัว# ไปถึง 3 เท่า จึงเป็ นมิตรต่อสิ#งแวดล้ อม โดยในช่วง 3 ปี ที#ผ่านมา (ปี 2556 – 2558) บริ ษัทฯ มีจํานวนการ จําหน่ายเครื# องปรับอากาศระบบอินเวอร์ เตอร์ เพิ#มขึ =นต่อเนื#องเฉลีย# มากกว่าร้ อยละ 45.72 ถุงขยะย่ อยสลาย ถุงขยะย่อยสลาย เป็ นถุงขยะที#สามารถย่อยสลายได้ ตามธรรมชาติภายใน 1 – 2 ปี โดยไม่ต้องเผาทําลาย ซึ#งสาร ช่วยย่อยสลายนี =ไม่มีสว่ นผสมของสารก่อมะเร็ ง หรื อสารที#เป็ นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และสิ#งแวดล้ อม ทําให้ ลด ปั ญหาภาวะโลกร้ อน จากการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและไม่ก่อให้ เกิดปั ญหาสิ#งแวดล้ อมเป็ นพิษ โดยถุงขยะย่อย สลายได้ โดยธรรมชาติ มีความเหนียว ใช้ สาํ หรับใส่ขยะเปี ยกและแห้ ง และมีกลิน# หอมจากกลิน# สตรอเบอร์ รี# ทังนี = = นอกจากกลุม่ สินค้ าที#ได้ กล่าวมาข้ างต้ น บริ ษัทฯ ยังมีผลิตภัณฑ์ที#เป็ นมิตรกับสิ#งแวดล้ อมอื#นๆ จําหน่ายใน สาขาของโฮมโปร และมีแผนงานที#จะขยายกลุม่ สินค้ าให้ มากขึ =นเพื#อยกระดับคุณภาพชีวิตของลูกค้ าอีกด้ วย 10.1.2 นวัตกรรมด้ านสิ งแวดล้ อมและสังคม เทียน LED เทียน LED เป็ นนวัตกรรมด้ านสิ#งแวดล้ อมที#บริ ษัทฯ ร่ วมกับคู่ค้าคิดค้ นการผลิตเทียนโดยใช้ หลอด LED เพื#อ ทดแทนการใช้ เทียนจริ ง โดยเทียน LED เป็ นเทียนเสมือนจริ งที#ให้ แสงสว่าง อีกทังยั = งมีกลิน# หอม ซึง# นอกจากจะช่วย ลดปริ มาณการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) จากควันเทียนแล้ ว เทียน LED ยังช่วยป้องกันการเกิดอัคคีภยั อีกด้ วย ทําให้ ลกู ค้ าสามารถรู้สกึ ปลอดภัยมากกว่าการใช้ เทียนจริ ง

72


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ห้ องนําB ผู้สูงอายุ ห้ องนํ =าถือเป็ นอีกหนึง# ห้ องที#เกิดอุบตั ิเหตุได้ ง่ายต่อผู้สงู อายุ บริ ษัทฯจึงได้ มีการพัฒนาการออกแบบห้ องนํ =า สําหรับ ผู้สงู อายุ ให้ ปลอดภัยขณะใช้ งาน โดยได้ มีการคัดเลือกอุปกรณ์เพื#อความปลอดภัยและเหมาะสมมาติดตังใน = ห้ องนํ =า เช่น ชักโครกขนาด 16 - 18 นิ =ว เพื#อความสะดวกของผู้ใช้ ด้ วยความกว้ างที#พอเหมาะกับการนัง# และรองรับ นํ =าหนัก และสะดวกในการลุกนัง# ของผู้สงู อายุพร้ อมทังอุ = ปกรณ์เพื#อความปลอดภัยอื#น เช่น พรมกันลื#นเก้ าอี =นัง# อาบนํ =าทังแบบลอยตั = วและติดผนัง ราวจับที#แขวนฝั กบัวซึ#งสามารถปรับระดับได้ ฉากกันอาบนํ = =าซึ#งสามารถเปิ ดได้ ทังสองฝั = # งและสามารถนํารถเข็นเข้ าไปได้ ตลอดจนสุขภัณฑ์เคลื#อนที# ซึ#งเป็ นการอํานวยความสะดวกและสร้ าง ความปลอดภัยให้ แก่ผ้ สู งู อายุ 10.1.3 บริการที เป็ นเลิศ เนื#องจากสินค้ าส่วนใหญ่ของบริ ษัทฯ เป็ นสินค้ าที#มีรายละเอียดของวิธีการ และขันตอนการใช้ = งานที#ต้องมีการ ถ่ายทอดให้ กบั ลูกค้ า บริ ษัทฯ จึงจัดให้ มีบริ การด้ านต่างๆ ที#เกี#ยวข้ อง โดยเริ# มตังแต่ = การให้ คําปรึ กษา และข้ อมูลที#จะเป็ น ประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจ เพื#อให้ ลกู ค้ าสามารถเลือกซื =อสินค้ าได้ ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้ งานมากที#สดุ อีกทังยั = งมีบริ การ “โฮม เซอร์ วิส” (Home Service) ที#ให้ บริ การครอบคลุมงานออกแบบห้ องด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ 3 มิติ (3D Design) และ งานบริ การ 3 กลุ่มหลักได้ แก่ งานบริ การติดตัง= (Installation Service) งานตรวจเช็ค และบํารุ งรักษาเครื# องใช้ ไฟฟ้ า (Maintenance Service) และงานบริ การปรับปรุ ง และตกแต่งบ้ าน (Home Improvement Service)รวมถึงบริ การจัดหา ช่างและผู้รับเหมา นอกจากนี = บริ ษัทฯยังอํานวยความสะดวกให้ กบั ลูกค้ า โดยลูกค้ าสามารถเปลี#ยนคืน ซ่อมสินค้ าได้ ทกุ สาขาทัว# ประเทศ ไม่วา่ ลูกค้ าจะซื =อสินค้ าจากโฮมโปรสาขาไหน และบริ ษัทฯ ยังมีบริ การจัดส่งสินค้ าทัว# ประเทศ โดยลูกค้ า จะไม่เสียค่าใช้ จ่ายหากสถานที#จดั ส่งของลูกค้ าอยู่ใกล้ สาขาโฮมโปรในระยะ 30 กิโลเมตรการจัดสาธิต DIY (Do It Yourself) และกิจกรรม Workshop ที#เป็ นประโยชน์แก่การดูแลบ้ านของลูกค้ า Lady Service ปั จจุบนั มีผ้ ูบริ โภคที#เป็ นผู้สงู อายุและสุภาพสตรี ใช้ ชีวิตอยู่โดยลําพังเป็ นจํานวนมาก ความปลอดภัยในการ ให้ บริ การจึงเป็ นสิง# สําคัญ บริ ษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญในเรื# องนี = จึงได้ คิดค้ นและพัฒนา บริ การ Lady Service โดยการคัดเลือกช่างที#เป็ นสุภาพสตรี มาฝึ กอบรมงานบริ การที#มีมาตรฐาน เพื#อให้ บริ การติดตังเครื = # องใช้ ไฟฟ้ าและ บริ การบํารุ งรักษาเครื# องใช้ ไฟฟ้ า โดยในปี 2558 มีจํานวนช่าง Lady Service ทังหมด = 9 ทีม รองรับงานบริ การ สาขาในกรุงเทพฯ และปริ มณฑล จํานวน 21 สาขา Tracking Service เป็ นบริ การที#ช่วยในการควบคุมคุณภาพการให้ บริ การให้ แก่ลกู ค้ า ทังในด้ = านการจัดส่งและติดตัง= ซึ#งได้ จดั ตังศู = นย์ ควบคุมการจัดส่ง (Tracking Center) ในการติดตามรถขนสินค้ าและการติดตังของที = มช่างด้ วยระบบ GPS รวมถึง ในด้ านการบริ การ Home Service มีการใช้ โปรแกรมตรวจสอบคุณภาพการให้ บริ การผ่านทางTablet เพื#อให้ สามารถตรวจสอบการทํางานของทีมช่างได้ อย่าง Real Time

73


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.1.4 ความรับผิดชอบต่ อลูกค้ า การบริการลูกค้ า สินค้ าแต่ละชนิดของบริ ษัทฯ ได้ รับการออกแบบมาให้ เหมาะสมกับการใช้ งานในครัวเรื อน และผ่านการผลิตที#มี มาตรฐาน คํานึงถึงสิ#งแวดล้ อม ทําให้ มีคณ ุ ภาพและคงทนต่อการใช้ งาน อีกทังมี = มาตรฐานในการดูแลลูกค้ าทัง= บริ การก่อนการขาย และบริ การหลังการขาย โดยยังคงเน้ นแนวคิด Service Excellence มอบให้ กบั ลูกค้ า ดังนี = 1. บริการก่ อนการขาย - บริ การให้ คาํ แนะนําสินค้ า และบริ การต่างๆอย่างมืออาชีพและเชื#อถือได้ เพื#อให้ มนั# ใจว่าลูกค้ าจะได้ รับ สินค้ าและบริ การ ที#ถกู ต้ องตรงความต้ องการ และได้ รับสิทธิประโยชน์เต็มที# - บริ การออกแบบ 3 มิติ ซึง# บริษัทฯ มีบริ การออกแบบให้ กบั ลูกค้ าทีม# ีความประสงค์ปรับปรุงห้ องนํ =า ห้ องครัว หรื อต้ องการปรับเปลีย# นกระเบื =อง โดยผู้เชี#ยวชาญจะเสนอแบบให้ ตรงตามความต้ องการ และประโยชน์ใน การใช้ งานของลูกค้ า เพื#อช่วยให้ ลกู ค้ าได้ เห็นภาพและรูปแบบก่อนการตัดสินใจพร้ อมทังหากลู = กค้ าไม่ สามารถจัดหาช่างของตนเองได้ บริ ษัทฯ มีชา่ งที#เชี#ยวชาญในการลงไปปฏิบตั ิงาน และทําการควบคุมการ ปฏิบตั ิงานตามแบบ ตามกําหนดเวลาทีม# ีการตกลงกันด้ วย 2. บริการหลังการขาย - บริ การจัดส่งสินค้ าและติดตังสิ = นค้ ากลุม่ เครื# องใช้ ไฟฟ้ า อุปกรณ์ชดุ ครัว ให้ กบั ลูกค้ าตามเงื#อนไขของบริ ษัทฯ โดยลูกค้ าสามารถแจ้ งกําหนดวันนัดหมายกับพนักงานในวันที#ซื =อสินค้ า โดยบริ การจัดส่งและติดตังนี = = สามารถดําเนินการได้ ทกุ สาขาทัว# ประเทศ ลูกค้ าสามารถซื =อสินค้ าจากสาขาใดก็ได้ การจัดส่งและติดตัง= สินค้ าจะดําเนินการโดยสาขาทีใ# กล้ กบั สถานที#จดั ส่งที#สดุ - บริ การซ่อมสินค้ า โดยบริ ษัทฯ จะประสานงานนําส่งให้ กบั เจ้ าของผลิตภัณฑ์ พร้ อมกับติดตามการซ่อมจน แล้ วเสร็ จ เพื#ออํานวยความสะดวกให้ กบั ลูกค้ า - บริ การเปลีย# น-คืนสินค้ าได้ ทกุ สาขาภายใน 14 วัน โดยอยูภ่ ายใต้ เงื#อนไขที#บริ ษัทฯ กําหนด - บริ การ “โฮม เซอร์ วิส” (Home Service) เป็ นบริ การหลังการขายที#ให้ บริ การงาน 3 กลุม่ หลักได้ แก่ (1) งาน บริ การติดตัง= (Installation Service) (2) งานตรวจเช็ค และบํารุงรักษาเครื# องใช้ ไฟฟ้ า (Maintenance Service) และ (3) งานบริการปรับปรุง และตกแต่งบ้ าน (Home Improvement Service) โดยลูกค้ าจะ ได้ รับบริ การจากทีมช่างผู้ชํานาญงานที#มคี วามรู้ในงานแต่ละประเภท และผลิตภัณฑ์ที#เกี#ยวข้ องเป็ นอย่างดี นอกจากนี =ยังสามารถคุมงบประมาณ และเวลาได้ อย่างแน่นอน การรักษาข้ อมูลของลูกค้ า บริ ษัทฯ ตระหนักถึงการเคารพสิทธิสว่ นบุคคลและการคุ้มครองข้ อมูลส่วนตัวของผู้บริ โภค จึงให้ ความสําคัญใน เรื# องการดูแลรักษาข้ อมูลของลูกค้ า โดยข้ อมูลของลูกค้ าทังหมดจะถู = กจัดเก็บไว้ ในระบบฐานข้ อมูล การเข้ าดูข้อมูล การบันทึกข้ อมูล และการแก้ ไขข้ อมูลต่างๆ จะมีการกําหนดสิทธิ การใช้ งานตามระดับ (Level of Authorization) ส่วนการขอข้ อมูล การขอแก้ ไขข้ อมูลหรื อการขอใช้ สทิ ธิพิเศษจากบัตรสมาชิกจากลูกค้ า ก็จะมีขนตอนที ั= #ลกู ค้ าต้ อง แสดงความเป็ นเจ้ าของข้ อมูล โดยการแสดงบัตรประจําตัวประชาชนของลูกค้ าเพื#อทําการตรวจสอบก่อนการ ดําเนินการ

74


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

การให้ บริการอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษัทฯ มีเป้าหมายและนโยบายการให้ บริ การลูกค้ าโดยเท่าเทียมกันอย่างชัดเจน พร้ อมถ่ายทอดไปสูพ่ นักงานทุก ระดับ โดยบริ การลูกค้ าด้ วยแนวคิด Service Excellence และมีการกําหนดแนวปฏิบตั ิในการให้ บริ การลูกค้ าเป็ น มาตรฐานเดียวกันทุกสาขา โดยให้ การดูแลลูกค้ าทุกคน ทุกระดับ ทุกเพศ ทุกวัย ในแบบเดียวกัน ไม่เลือกปฏิบตั ิ มี การจัดลําดับการให้ บริ การก่อนหลัง มีระบบการจองคิวในการใช้ บริ การ จัดนํ =าดื#ม สําหรับบริ การแก่ลกู ค้ าทุกคน จัดบริ การรถเข็นนัง# สําหรับลูกค้ าที#เป็ นผู้พิการหรื อผู้สงู อายุ เป็ นต้ น ภายหลังจากที#ลกู ค้ าใช้ บริ การ บริ ษัทฯ จะให้ ลูกค้ าประเมินคุณภาพการให้ บริ การ และความพึงพอใจ โดยระดับความพึงพอใจในช่วงปี 2554 - 2558 เพิ#มขึ =น อย่างต่อเนื#องดังนี = ความพึงพอใจของลูกค้ า (ร้ อยละ)

ปี

92.32

92.36

2554

2555

93.84

94.29

94.44

2556

2557

2558

ในปี 2558 ระดับความพึงพอใจอยู่ที#ร้อยละ 94.44 เพิ#มขึ =นจากปี ก่อนที#ร้อยละ 94.29 โดยปั จจัยหลักมาจาก คุณภาพการให้ บริ การ และความสามารถในการปฏิบตั ิงานของทีมช่าง การสื อสารอย่ างมีความรับผิดชอบ บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการสื#อสารด้ านการตลาดอย่างมีความรับผิดชอบและเคารพในสิทธิการรับข้ อมูลของ ลูกค้ า โดยเฉพาะกิจกรรมประชาสัมพันธ์ หรื อการสื#อสารผ่านทางระบบสังคมออนไลน์ต่างๆ โดยบริ ษัทฯ ให้ ความ เคารพต่ อ ความเป็ นส่ว นตัว ของลูก ค้ าและให้ ทางเลื อ กแก่ ลูก ค้ าในการปฏิ เ สธการรั บ ข่ า วสารและข้ อ มู ล (Unsubscribe) นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังดูแลเพื#อให้ แน่ใจว่าเนื =อหาสาระของข้ อมูลเป็ นไปตามข้ อเท็จจริ ง ในปี 2558 บริ ษัทฯ ไม่พบกรณีที#มีการกระทําผิดหรื อละเมิดกฎหมายที#เกี#ยวข้ องกับการสือ# สารเพื#อการตลาดและไม่ พบว่ามีการร้ องเรี ยนที#มีนยั สําคัญที#เกี#ยวข้ องกับการละเมิดความเป็ นส่วนตัวของลูกค้ าเช่นกัน

75


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.1.5 การจัดซือB จัดจ้ างอย่ างมีความรับผิดชอบ ธุรกิจของบริ ษัทฯ มีกระบวนการจัดหาสินค้ าที#มีความหลากหลายและเกี#ยวข้ องกับคูค่ ้ าจํานวนมาก ดังนัน= บริ ษัทฯ จึงจําเป็ นต้ องมีระบบที#เป็ นมาตรฐานในการคัดเลือกคู่ค้า ซึ#งสามารถดูรายละเอียดเพิ#มเติมเกี#ยวกับการคัดเลือกคู่ค้าได้ ที# หน้ า 97 นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังตระหนักถึงความปลอดภัยของสินค้ าที#จําหน่ายให้ แก่ผ้ บู ริ โภค จึงมีการตรวจสอบมาตรฐาน ความปลอดภัยของสินค้ า รวมถึงมีการประเมินคูค่ ้ าดังนี = การตรวจสอบที มาและมาตรฐานความปลอดภัยของสินค้ า บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับมาตรฐานความปลอดภัยของสินค้ าที#จําหน่ายแก่ลกู ค้ าอย่างยิ#ง โดยหน่วยงานจัดซื =อจะ ทํางานร่ วมกันอย่างใกล้ ชิดกับผู้จัดจําหน่ายหรื อผู้ผลิตในการตรวจสอบ และรับรองความปลอดภัยของสินค้ า เพราะบริ ษัทฯ ตระหนักว่าคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้ ามีความสําคัญเป็ นอย่างมากต่อสุขอนามัยของ ลูกค้ า นอกจากนัน= ในระดับปฏิบตั ิการการจัดฝึ กอบรมเรื# องมาตรฐานความปลอดภัยและการจัดวางสินค้ าอย่าง เป็ นระเบียบยังคงเป็ นสิง# ที#บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญอย่างยิ#ง บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ าที#ได้ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพตามกฎหมาย ไม่เป็ นสินค้ าละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญา ละเมิดลิขสิทธิ หรื อสิทธิ บัตร รวมทัง= ต้ องผ่านการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย อาทิเช่น มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (มอก.) มาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริ โภค (สคบ.) สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และวัตถุอนั ตรายที#ใช้ ในทางสาธารณสุข (อย.วอส.) สินค้ ากลุม่ ฉลากเบอร์ 5 และมาตรฐานสากลอย่าง IEC (International ElectroTechnical Commission) ซึ#งเป็ นมาตรฐานที#เกี#ยวข้ องกับ ไฟฟ้ า ทังนี = =ในกรณีที#เกิดปั ญหาเกี#ยวกับสินค้ า บริ ษัทฯรับเปลีย# นคืนภายใน 14 วัน ในปี 2558 บริ ษัทฯ ไม่พบผลิตภัณฑ์หรื อบริ การที#ไม่เป็ นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยและสุขอนามัย การประเมินและตรวจสอบคุณภาพของคู่ค้า ด้ วยความมุง่ มัน# ที#จะรักษามาตรฐานความปลอดภัยของสินค้ าให้ แก่ลกู ค้ า บริ ษัทฯ มีกระบวนการประเมินคูค่ ้ า อย่างชัดเจน โดยคูค่ ้ ารายใหม่ทกุ รายต้ องผ่านเกณฑ์การคัดเลือกในเรื# องคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัย อย่างเคร่งครัด สําหรับคูค่ ้ ารายเดิมจะต้ องได้ รับการประเมินอย่างสมํ#าเสมอ และในกรณีที#พบประเด็นปั ญหา บริ ษัทฯ จะร่วมมือกับบริษัทคูค่ ้ าเพื#อหาทางแก้ ไขปั ญหานันอย่ = างเหมาะสม โดยมีหวั ข้ อประเมินคูค่ ้ าดังนี = 1. 2. 3. 4. 5.

ความสามารถในการผลิต (Ability to Produce) ความสามารถในการควบคุมคุณภาพ (Ability to Control Quality) การบริ หารความเสีย# ง (Risk Management) การตรวจสอบผลิตภัณฑ์สาํ เร็ จรูป (Product Audit) การจัดเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ก่อนการส่งมอบ (Warehouse Management)

76


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.2 ด้ านประสิทธิภาพ ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็ นหนึ#งในก๊ าซเรื อนกระจกที#ทําให้ เกิดวิกฤตภาวะโลกร้ อน (Global Warming Potential) บริ ษัทฯ ตระหนักถึงปั ญหาดังกล่าว จึงให้ ความสําคัญในเรื# องการบริ หารจัดการพลังงานเป็ นอย่างมาก โดย กิจกรรมที#เกี#ยวข้ องกับการใช้ พลังงานของบริ ษัทฯ ที#มีผลต่อการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ได้ แก่ การใช้ ไฟฟ้ า และการ ขนส่งสินค้ า ดังนัน= บริ ษัทฯ จึงมีการปรับปรุ งและพัฒนาการดําเนินงานด้ านสิ#งแวดล้ อมอย่างต่อเนื#องซึ#งนอกจากจะช่วย ลดผลกระทบต่อสิง# แวดล้ อมแล้ ว ยังช่วยให้ บริ ษัทฯ สามารถลดค่าใช้ จ่าย และช่วยเพิ#มประสิทธิภาพได้ อีกด้ วย 10.2.1 การบริหารจัดการพลังงาน และการใช้ นําB บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการบริ หารจัดการด้ านพลังงานเป็ นอย่างมาก โดยบริ ษัทฯ ได้ วางแผนเรื# องการประหยัด การใช้ พลังงานไว้ ตงแต่ ั = ช่วงเริ# มต้ นของการออกแบบสาขา ซึง# รวมถึงการเลือกสรรวัสดุที#มีนํ =าหนักเบาในการก่อสร้ างเพื#อลด ปริ มาณการใช้ คอนกรี ตและเพื#อประหยัดพลังงาน มีการติดตังระบบเซนเซอร์ = การเปิ ดปิ ดไฟอัตโนมัติในลานจอดรถการ ติดตังระบบที = #จอดรถอัจฉริ ยะ (Intelligent Car Park) ในศูนย์การค้ ามาร์ เก็ตวิลเลจ และการติดตังระบบบํ = าบัดนํ =าเสีย ภายในสาขา เมื#อเปิ ดดําเนินการแล้ ว บริ ษัทฯ ยังคงให้ ความสําคัญกับการอนุรักษ์ ทรัพยากร ผ่านระบบการนํามาใช้ ซํ =า ระบบ ประหยัดพลังงาน และระบบจัดการของเสียที#มีประสิทธิภาพ บริ ษัทฯมีการติดตังหลอดไฟประหยั = ดพลังงานในสาขาให้ ได้ มากที#สดุ เท่าที#สามารถทําได้ นํานํ =าที#ผา่ นการบําบัดแล้ วกลับมาใช้ รดนํ =าต้ นไม้ นําวัสดุกลับมาใช้ ซํ =า เช่น หีบห่อบรรจุภณ ั ฑ์ ทังวั = สดุประเภทไม้ ลังกระดาษ และถุงพลาสติก นอกจากนี =บริ ษัท ดีซี เซ็นเตอร์ จํากัด ซึง# เป็ นบริ ษัทย่อยในเครื อ ยังได้ มีการ ผลิตนํ =าแข็งสะอาดใช้ ในศูนย์กระจายสินค้ า เพื#อช่วยลดปริ มาณของเสียและการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในระหว่าง การขนส่ง ทังนี = = ในปี 2558 ไม่พบว่ามีกรณีที#มีการกระทําผิดกฎหมายทีเ# กี#ยวข้ องกับสิง# แวดล้ อมแต่อย่างใด การลดใช้ พลังงาน บริ ษัทฯ เล็งเห็นความสําคัญด้ านสิ#งแวดล้ อมควบคู่กบั ด้ านเศรษฐกิจและสังคมมาโดยตลอด สอดคล้ องกับการ บริ หารการจัดการภายในองค์กรในการลดต้ นทุนการดําเนินงานโดยเฉพาะการลดต้ นทุนด้ านพลังงาน ดังนันบริ = ษัท ฯ จึงกําหนดแนวทางปฏิบตั ิด้านพลังงานในแผนปฏิบตั ิงานของหน่วยงานที#เกี#ยวข้ อง พร้ อมติดตามผลกระทบด้ าน สิ#งแวดล้ อมในการบริ หารงานอย่างสมํ#าเสมอโดยจัดตังคณะทํ = างานในการกําหนดแผนงาน เฝ้ าติดตามและวัด ประสิทธิผลในการดําเนินงานที#เกี#ยวกับสิง# แวดล้ อมครอบคลุมด้ านต่างๆ โดยในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ นําเทคนิคในการประหยัดไฟมาปรับใช้ ในหลายสาขา ส่งผลให้ ปริ มาณการใช้ ไฟใน ภาพรวมลดลง พร้ อมกันนี =ได้ พิจารณาเปรี ยบเทียบดัชนีการใช้ พลังงานไฟฟ้ าต่อหนึ#งหน่วยพื =นที# (Specific Energy Consumption หรื อ SEC) พบว่าในปี 2558 อัตราดังกล่าวมีค่าลดลงจากปี ก่อนถึง 63 GWh/Sq.m. หรื อร้ อยละ 17.03

77


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ปี 2556 2557 2558

จํานวนสาขา ที นํามาคํานวณ 51 63 72

ปริ มาณการใช้ พลังงานไฟฟ้า

ปริ มาณการใช้ ไฟฟ้าต่ อหนึ งหน่ วยพืนB ที

(GWh)

(kWh/Sq.m.)

127 155 159

394 370 307

มาตรการลดใช้ พลังงานไฟฟ้าในปี 2558 ติดตังอุ = ปกรณ์กําจัดกลิ#นทดแทนการใช้ เครื# องปรับอากาศในห้ องขยะ

จํานวน สาขา 28

ปริ มาณพลังงาน ที ลดลง (kWh) 196,000

ปริ มาณ Ton CO2 ที ลดได้ 113,935

จํานวน 24 สาขาเก่า และ สาขาก่อสร้ างใหม่ 4 สาขา ติดตังอุ = ปกรณ์ Water Fog ที#เครื# องทํานํ =าเย็น (Air cool chiller)

11

3,300,000

1,918,290

การตังอุ = ณหภูมิของเครื# องทํานํ =าเย็นให้ เหมาะสมกับการใช้ งานที# 49 F

52

774,606

450,278

การปรับลดจํานวนหลอดไฟ fluorescent ในพื =นที#ขาย และสํานักงาน

32

1,612,000

937,056

ติดตังหลอด = LED ทดแทนหลอด fluorescent T5 ในสาขาเปิ ดใหม่

4

63,500

36,913

เพื#อลดพลังงานไฟฟ้าและเพิ#มประสิทธิภาพการทํางานเครื# องทํานํ =าเย็น

หมายเหตุ : ค่า Ton CO2 / kWh = 0.5813 อ้ างอิงข้ อมูลจากองค์การบริ หารจัดการก๊ าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

เพิ มโอกาสทางธุรกิจรองรับการเปลี ยนแปลงของสภาวะแวดล้ อม บริ ษัทฯ ได้ ลงนามทําสัญญาให้ เช่าพื =นที#เพื#อติดตังแผงโซลาร์ = เซลล์ โดยร่ วมมือกับ บริ ษัท ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ ยี# จํากัด (มหาชน) หรื อ TSE และธนาคารไทยพาณิชย์ ร่วมพัฒนาโครงการผลิตไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ที#ติดตังบน = หลังคาของโฮมโปร ซึง# เทียบได้ วา่ เป็ นอาคารพาณิชย์ (Commercial Solar Rooftop) ใหญ่ที#สดุ ของไทย จํานวน 11 โครงการ โครงการละ 1 เมกะวัตต์ รวม 11 เมกะวัตต์ โดยเริ# มต้ นโครงการในปี 2557เพื#อจําหน่ายไฟฟ้ าเข้ าระบบ เชิงพาณิชย์ให้ แก่การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค โดยโครงการนี =เกิดจากการที#บริ ษัทฯ มีแนวคิดที#จะเพิ#มโอกาสการดําเนิน ธุรกิจ ภายใต้ การตระหนักถึงการเปลีย# นแปลงถึงสภาวะแวดล้ อมที#มีการเปลี#ยนแปลงไป ซึ#งสอดคล้ องกับนโยบาย ของรัฐบาลที#ต้องการสนับสนุนและส่งเสริ มการแสวงหาพลังงานทดแทน และยังช่วยประเทศชาติลดการนําเข้ า เชื =อเพลิงจากต่างประเทศอีกด้ วย ณ สิ =นปี 2558 มีสาขาที#ดําเนินโครงการแล้ ว 11 สาขา ได้ แก่ นครศรี ธรรมราช นครสวรรค์ ชุมพร เขาใหญ่ ลพบุรี เอกมัย-รามอินทรา ราชพฤกษ์ สุราษฎร์ ธานี อุบลราชธานี แพร่ และ หาดใหญ่ (กาญจนวนิช) ซึง# สามารถผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ เฉลีย# 100,000 หน่วย/สาขา/เดือน สาขาต้ นแบบประหยัดพลังงาน โฮมโปร สาขาลําลูกกา เป็ นศูนย์ค้าปลีกสินค้ าเกี#ยวกับบ้ านและอุปกรณ์ตกแต่งบ้ านรายแรกของไทยที#ได้ รับการ รับรองการขึ =นทะเบียนคาร์ บอนฟุตพริ น= ท์และฉลากคาร์ บอน จากองค์การบริ หารจัดการก๊ าซเรื อนกระจก (องค์การ มหาชน) หรื อ อบก. เมื#อเดือนกันยายน 2558 โดยโฮมโปรสาขาลําลูกกา มีการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกจาก Scope 1 และ 2 จํานวน 1,728 ตันคาร์ บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี (tCo2 eq.) คิดเป็ น 0.20 ตันคาร์ บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าต่อปี ต่อตารางเมตรและได้ มีการดําเนินการลดการปล่อยคาร์ บอนด้ วยกิจกรรมประหยัดพลังงาน อาทิ การเปลีย# นหลอดไฟ LED การติดตังฉนวนกั = นความร้ อน การติดตังหลั = งคาโปร่ งแสง การติดตังระบบ = VSD ควบคุม

78


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

มอร์ เตอร์ ในระบบทําความเย็น และได้ มีการชดเชยคาร์ บอนไดออกไซด์เท่ากับศูนย์ (Carbon Neutral) ทําให้ สาขา ลําลูกกาเป็ นร้ านค้ าปลีกสินค้ าเกี#ยวกับบ้ านและอุปกรณ์ตกแต่งบ้ านปลอดคาร์ บอนรายแรกของไทย

รายละเอียดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกของโฮมโปรสาขาลําลูกกา สามารถแสดงรายละเอียด ได้ ดงั นี = การปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก

ปริมาณ (Ton CO2)

Scope 1

15.18

Scope 2

1,712.57

Scope 3

78.85

การบริหารจัดการทรัพยากรนําB บริ ษัทฯ ใช้ นํ =าจากการประปา นํ =าบาดาล และนํ =าที#ผ่านกระบวนการบําบัด (Recycle) ในการดําเนินธุรกิจทังหมด = โดยการใช้ นํ =าส่วนใหญ่ใช้ ในสาขา สํานักงานการชําระล้ างบริ เวณลานจอดรถ รดนํ =าต้ นไม้ และการใช้ นํ =าในส่วน ของร้ านค้ าเช่า ทังนี = = บริ ษัทฯ มีความพยายามที#จะลดปริ มาณการใช้ นํ =าลง โดยกําหนดให้ ฝ่ายซ่อมบํารุ งมีการตรวจสอบท่อประปา มาตรวัดนํ =า และอุปกรณ์ตา่ งๆ อย่างสมํ#าเสมอทุกเดือน เลือกใช้ โถสุขภัณฑ์ ก๊ อกนํ =า และสายชําระแบบประหยัดนํ =า เปลี#ยนก๊ อกนํ =าในห้ องนํ =าให้ เป็ นแบบอัตโนมัติ (Sensor) ตังเวลาการไหลของนํ = =าที#กดชําระในแต่ละครัง= อย่า ง เหมาะสม นอกจากนี =ยังมีการใช้ นํ =าจากแหล่งนํ =าธรรมชาติ โดยมีการขุดบ่อบาดาลเพื#อนํามาใช้ รดนํ =าต้ นไม้ (ผ่าน การขออนุญาตจากทางราชการ) 10.2.2 การจัดการขยะและของเสีย การจัดการนําB เสีย นํ =าจากการใช้ ในระบบทังหมดจะถู = กบําบัดและตรวจวัดคุณภาพตามมาตรฐานกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง# แวดล้ อม ก่อนจะถูกระบายทิ =งสูท่ อ่ สาธารณะ โดยบริ ษัทฯ จะนํานํ =าที#ถกู บําบัดบางส่วนมาใช้ รดนํ =าต้ นไม้ สําหรับสาขาใหม่ บริ ษัทฯ ได้ นําระบบบําบัดนํ =าเสีย Membrane Bioreactor (MBR) มาใช้ แทนระบบเดิมคือ Conventional Activated Sludge (CAS) ซึ#งเมื#อเปรี ยบเทียบขนาดปั มนํ =าแล้ ว มีขนาดเล็กลง 35% และช่วย ประหยัดเวลาการบําบัดลง 1 ใน 3 ของระบบเดิม นอกจากนี =ระบบ MBR ยังสามารถกักเชื =อโรคขนาดใหญ่ เช่น แบคทีเรี ย รวมถึงสามารถขยายระบบได้ ง่าย โดยไม่ต้องรื อ= ถอนระบบเดิม และยังช่วยประหยัดงบประมาณลงทุน ถึง 0.8 ล้ านบาทต่อโครงการอีกด้ วย

79


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

การจัดการขยะ บริ ษัทฯ มีกระบวนการคัดแยกประเภทขยะ โดยแบ่งประเภทขยะออกเป็ น 3 แบบ (1) ขยะรี ไซเคิล (2) ขยะเปี ยก (3) ขยะสารเคมี การจัดการขยะรี ไซเคิลประเภท กระดาษ พลาสติก แก้ ว บริ ษัทฯ จะเรี ยกประกวดราคาไปยังบริ ษัทคูค่ ้ า และทําการ เรี ยกประกวดราคาซํ =าทุกๆ 1 ปี หรื อ 6 เดือน ทังนี = =ขึ =นอยูก่ บั การเปลีย# นแปลงของราคาขยะ สําหรับขยะเปี ยก บริ ษัท ฯ จะทําการคัดแยก และนําไปเก็บในห้ องพักขยะเปี ยก เพื#อชะลอการเติบโตของแบคทีเรี ยและมีอปุ กรณ์ควบคุม กลิน# โดยจะมีหน่วยงานเทศบาลมาเก็บทุกวัน สําหรับขยะสารเคมี เช่น หลอดไฟ หรื อนํ =ายาเคมี บริ ษัทฯ จะทําการ คัดแยก และส่งกลับให้ บริ ษัทคูส่ ญ ั ญานําไปกําจัดอย่างถูกวิธี 10.2.3 การบริหารจัดการระบบนิเวศ ตามที#บริ ษัทฯ มีแผนที#จะขยายสาขาอย่างต่อเนื#อง จึงมีการกําหนดให้ ฝ่ายออกแบบของหน่วยงานพัฒนาธุรกิจ ศึกษาระบบนิ เวศบริ เวณโดยรอบของพืน= ที# สํา หรั บก่ อสร้ างสาขาและพยายามรั ก ษาระบบนิเ วศไว้ ใ ห้ ไ ด้ ใ นสัดส่ว นที# เหมาะสมและกลมกลืนไปกับรูปแบบของอาคารที#ออกแบบไว้ ซึง# ระบบนิเวศที#บริ ษัทฯ พยายามรักษาไว้ ได้ แก่ ต้ นไม้ ขนาด ใหญ่ที#มีอยูเ่ ดิม โดยฝ่ ายออกแบบจะศึกษาร่ วมกับผู้เชี#ยวชาญเพื#อทําการล้ อมต้ นไม้ และนําไปต้ นไม้ ไปพักไว้ ในบริ เวณที# เหมาะสมก่อนจะนํากลับมาปลูกในบริ เวณพื =นที#โดยรอบของอาคารที#ปลูกสร้ างอีกครัง= 10.2.4 การขนส่ งที มีประสิทธิภาพ บริ ษัทฯ มีความพยายามที#จะลดปริ มาณการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ที#เกิดจากการเผาไหม้ เชื =อเพลิงของรถ ขนส่งสินค้ า โดยใช้ แนวคิด Green Transport and Supply Chain ที#นําเทคโนโลยีที#ช่วยลดผลกระทบต่อสิง# แวดล้ อมผนวก กับประสิทธิภาพการจัดการด้ านการขนส่ง โดยช่วยให้ บริ ษัทฯ สามารถลดการใช้ เชื =อเพลิง และลดการปล่อยก๊ าซคาร์ บอน ไดออกไซค์ไปพร้ อมกัน องค์ประกอบของแนวคิด Green Transport and Supply Chain ที#เลือกใช้ ได้ แก่ 1. การขนส่งสินค้ าแบบ Full Truck Load เป็ นการติดตังแท่ = นชัง# นํ =าหนัก และการควบคุมการบรรจุสินค้ าต่อเที#ยว ขนส่งให้ ได้ ปริ มาณที#เหมาะสม 2. การรวมสินค้ าส่งพร้ อมกัน (Consolidation) โดยการวางแผนเส้ นทางการเดินรถ พร้ อมกับจัดตารางเวลาขนส่ง ให้ เหมาะสม เพื#อให้ สามารถส่งสินค้ าให้ ลกู ค้ าหลายรายได้ ในเส้ นทางเดียวกัน หรื อใกล้ เคียงกัน 3. การลดเที#ยวเปล่า (Back Haul) โดยนํารถที#ต้องวิ#งรถเที#ยวเปล่าไปรับสินค้ าจากผู้ผลิตกลับมายังคลังสินค้ าหรื อ สาขาของโฮมโปร โดยในปี 2558 บริ ษัทฯ สามารถประหยัดเชื =อเพลิงได้ รวม 356,917 ลิตร

80


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

คลังสินค้ าสีเขียว บริ ษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จํากัด ตังอยู = ่ที# ต.ลําไทร อ.วังน้ อย จ.อยุธยา ก่อตังขึ = =นเมื#อปี 2547 บนพื =นที#กว่า 136,000 ตร.ม. เพื#อบริ หารคลังสินค้ าและให้ บริ การจัดการการขนส่งให้ แก่บริ ษัทฯ ปั จจุบนั มีพนักงานกว่า 850 คน โดยส่วนมากเป็ นการจ้ างงานในท้ องถิ#น ด้ วยความมุ่งมัน# ในการดําเนินกิจการเพื#อไปสูม่ าตรฐานระดับสูงสุด บริ ษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จํากัด จึงลงทุน ก่อสร้ างคลังสินค้ า และระบบจัดการภายในที#ได้ มาตรฐานทังในระดั = บประเทศและในระดับสากล อาทิ การใช้ เครื# องมือที#ทนั สมัย การฝึ กอบรมพนักงานอย่างสมํ#าเสมอ การออกแบบเพื#อลดความเสีย# งจากภัยพิบตั ินํ =าท่วม การ วางระบบการเติมสต๊ อกอัตโนมัติ การบริ หารจัดการเก็บสต๊ อกเพื#อยืดอายุของผลิตภัณฑ์ และการลดปริ มาณการ สูญหายของสินค้ า นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังมีการบริ หารจัดการด้ านสิง# แวดล้ อมโดยปฏิบตั ิตามมาตรฐาน ISO50001 ซึ#งเป็ นมาตรฐานระบบการจัดการพลังงานที#ช่วยให้ การใช้ พลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ =น และลดการปล่อยก๊ าซ เรื อนกระจกที#สง่ ผลต่อภาวะโลกร้ อน โดยในปี 2558 บริ ษัท ดีซี เซ็นเตอร์ จํากัด ได้ รับการคัดเลือกจากกระทรวงพลังงาน ให้ เข้ าร่ วมโครงการ “การ พัฒนาระบบการจัดการพลังงานระดับสากล ISO 50001 สําหรับอาคารควบคุม” โดยได้ เริ# มดําเนินงานตาม มาตรฐานดังกล่าว ซึ#งผ่านการตรวจสอบและรับรองจากกระทรวงพลังงาน และมีแผนงานในการขอการรับรอง ระบบ ISO 50001:2011 ในปี 2559 ทังนี = = หน่วยงานบริ หารสินค้ าคงคลัง (Inventory Management) ของบริ ษัทฯ จะทํางานใกล้ ชิดกับบริ ษัท ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์ จํากัด ในการบริ หารจัดการการดําเนินงานต่างๆ และมีกระบวนการกํากับดูแล โดยทังสองฝ่ = าย เห็ น ตรงกัน ว่า การร่ ว มมื อ อย่า งใกล้ ชิ ด ได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี#ย นความรู้ เกี# ย วกับ อุต สาหกรรมและวิ ธี ก าร ปฏิบตั ิงานที#ดีที#สดุ ช่วยลดการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ที#เกิดจากกระบวนการขนส่ง และทําให้ สามารถเพิ#ม ประสิทธิภาพในการตรวจสอบกระบวนการจัดหาสินค้ าเพื#อให้ มีความมัน# ใจในเรื# องความตรงต่อเวลา และเพียงพอ ต่อการขายได้ มากยิ#งขึ =น โครงการลดปริมาณการใช้ ฟิล์ มพันสินค้ า บริ ษัทฯ ลดปริ มาณการใช้ ฟิล์มพันสินค้ า โดยเปลีย# นจากการใช้ แรงงานคนมาเป็ นเครื# องจักร ตังแต่ = ต้นปี 2556 เป็ น ต้ นมา และในปี 2558 บริ ษัทฯ มีการเริ# มต้ นใช้ ผ้าแถบพันประคองสินค้ าก่อนขึ =นเครื# องพันฟิ ล์ม ซึง# ช่วยลดปริ มาณ การใช้ ฟิล์มลงไปได้ อีก 10.2.5 การจัดการสิ งแวดล้ อมของบริษัทย่ อย บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จํากัด ดําเนินธุรกิจบริ หารพื =นที#ให้ เช่าพร้ อมกับให้ บริ การด้ านสาธารณูปโภคแก่ผ้ เู ช่า มีการจัดการด้ านสิ#งแวดล้ อมอย่าง ต่อเนื#อง เริ# มตังแต่ = การออกแบบอาคาร ที#เน้ นให้ มีความสอดคล้ องกับสิ#งแวดล้ อมโดยรอบ มีการปลูกต้ นไม้ และ รักษาบรรยากาศภายนอกอาคารให้ ร่มรื# นโดยการให้ ความเย็นด้ วยระบบไอนํ =า รวมถึงมีการดูแลเรื# องการประหยัด พลังงานและรักษาสิง# แวดล้ อมดังนี = - กําหนดเวลาการเปิ ด-ปิ ดระบบปรับอากาศ และหลีกเลีย# งการเริ# มต้ นเปิ ดระบบในช่วงเวลาที#มคี วามต้ องการใช้ ไฟฟ้ ามาก (On Peak) ได้ แก่ ช่วงเวลาประมาณ 9.00 น. และ 22.00 น. เนื#องจากเป็ นช่วงที#อตั ราค่าไฟสูง

81


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- ใช้ ระบบจัดการเครื# องทําความเย็น (Chiller Plant Management System) ที#ช่วยควบคุมการทํางานของระบบ ปรับอากาศให้ เป็ นอัตโนมัติทาํ ให้ พลังงานถูกใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ ประหยัดค่าใช้ จา่ ย - ติดฟิ ล์มกันความร้ อนภายในอาคารในจุดที#มีแสงแดดส่อง เพื#อลดการทํางานของเครื# องปรับอากาศ - ติดตังระบบบํ = าบัดนํ =าเสีย โดยนํ =าจากการใช้ ทงหมดจะถู ั= กผ่านการบําบัด และตรวจวัดคุณภาพตามมาตรฐาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง# แวดล้ อมก่อนจะถูกระบายทิ =งสูท่ อ่ สาธารณะ - การติดตังระบบที = จ# อดรถอัจฉริ ยะ (Intelligent Car Park) ที#ให้ ความสะดวกในการหาทีจ# อด ซึง# ช่วยลูกค้ า ประหยัดการใช้ พลังงาน - การบริ หารจัดการตามแผนบํารุงรักษาเชิงป้องกัน การประเมินประสิทธิภาพของแต่ละเทคนิค (Machinery Efficiency Assessment) การตรวจสอบการใช้ งานของระบบในอาคาร การนําเทคนิคใหม่ๆ ที#เป็ นมิตรต่อ สิง# แวดล้ อมมาปรับใช้ - มาตรการอื#นๆ เช่น ติดตังระบบบั = นไดเลือ# นอัตโนมัติ และปรับการทํางานของระบบปรับอากาศ บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร์ จํากัด ดําเนินธุรกิจค้ าปลีก และค้ าส่งสินค้ าเกี#ยวกับบ้ านครบวงจร มีการเลือกใช้ ระบบปรับอากาศ EVAP (Evaporative Cooling System) ซึ#งเป็ นระบบที#อาศัยหลักการระเหยของนํ =ามาช่วยในการทําความเย็น เมื#ออากาศร้ อนผ่านสื#อ การระเหยนํ =า (Cooling Pad) นํ =าจะดึงความร้ อนจากอากาศเพื#อใช้ เปลีย# นสถานะจากของเหลวเป็ นไอ โดยอากาศ ที#ผา่ น Cooling Pad จะมีอณ ุ หภูมิตํ#าลง และเมื#อนําไปออกแบบการระบายอากาศที#ดี จะทําให้ ได้ อากาศบริ สทุ ธิ ที# มีความเย็นสบาย ทําให้ บริ ษัทฯ สามารถประหยัดเงินลงทุน และประหยัดการใช้ พลังงานไฟฟ้ ากว่าการใช้ เครื# องปรับอากาศหลายเท่า 10.2.6 การรณรงค์ ด้านอื นๆ เพื อการใช้ ทรัพยากรอย่ างคุ้มค่ า - ให้ ความรู้ และฝึ กอบรมพนักงานในเรื# องสิง# แวดล้ อม รวมถึงมีการประชาสัมพันธ์วิธีการลดใช้ พลังงานใน สํานักงาน ผ่านสือ# ภายในองค์กร เช่น บอร์ ดประชาสัมพันธ์ อินทราเน็ต โครงการ Homepro Go Green และ โครงการ Homepro We Green

- สนับสนุนให้ พนักงานนําวัสดุกลับมาใช้ ใหม่ เช่น การใช้ กระดาษสองหน้ า - การปิ ดเครื# องปรับอากาศ และปิ ดไฟ ในช่วงที#พนักงานหรื อผู้บริ หารไม่ได้ อยูใ่ นห้ องทํางานเป็ นเวลานาน - การเปลีย# นสวิทช์เปิ ด-ปิ ดไฟ เป็ นสวิทช์กระตุกโดยให้ พนักงานรับผิดชอบบริ เวณโต๊ ะทํางานของตัวเอง

82


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ พนักงานร่วมกันลดใช้ พลังงาน เช่น กิจกรรม “HomePro Fun Walk” ให้ พนักงานใช้ บนั ได แทนลิฟท์

- การปรับอุณหภูมิภายในสํานักงานไม่ให้ ตํ#ากว่า 24 องศาเซลเซียส - การใช้ รถร่วมกันในทางเดียวกัน (Car Pool) - รณรงค์ลดการใช้ แก้ วพลาสติก โดยร่วมกับร้ านขายเครื# องดื#มที#สาํ นักงานใหญ่ โดยให้ สว่ นลดแก่พนักงานที#นาํ แก้ วส่วนตัวมาซื =อเครื# องดื#ม - รณรงค์ประหยัดนํ =าสู้ภยั แล้ ง การทําโครงการดังกล่าวแม้ จะไม่สง่ ผลชัดเจนในเชิงตัวเลขค่าพลังงานหรื อตัวเลขค่าใช้ จา่ ยที#ลดลง แต่ช่วยในการ ปลูกฝั ง และสร้ างจิตสํานึกให้ เป็ นนิสยั ส่วนตัวและนํากลับไปใช้ ในชีวิตประจําวันของครอบครัวเพือ# เป็ นพลเมืองทีด# ีของ สังคม

10.3 ด้ านการดูแลพนักงาน บริ ษัทฯ เชื#อว่าพนักงานเป็ นทรัพยากรที#มีคา่ มากที#สดุ และเป็ นกลไกสําคัญในการขับเคลื#อนกลยุทธ์ ขององค์กร ซึ#ง จะนําไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมายที#กําหนดไว้ ดังนันบริ = ษัทฯ จึงให้ ความสําคัญในการดูแลและพัฒนาพนักงานทุกคนตามหลัก สิทธิมนุษยชน ไม่เลือกปฏิบตั ิ หรื อแบ่งแยกเพศ อายุ สีผิว หรื อลักษณะการแบ่งแยกอื#นๆ โดยมีโครงสร้ างของพนักงาน แบ่งแยกตามลักษณะต่างๆ ดังนี =

83


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.3.1 การสรรหาพนักงานคุณภาพ บริ ษัทฯ ตระหนักและเคารพในสิทธิมนุษยชน โดยปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ า พนักงานประจํา พนักงานชัว# คราว คูค่ ้ า และผู้ มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ และให้ โอกาสที#เท่าเทียมกันในการจ้ างงาน ไม่มีการแบ่งแยก เพศ ศาสนา สีผิว เชื =อชาติ ภูมิลาํ เนา ความพิการ รวมถึงถึงการยอมรับในความแตกต่างทางความคิด สังคม สิ#งแวดล้ อม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมที#แตกต่างกันในแต่ละท้ องถิ#นที#บริ ษัทฯ เข้ าไปเปิ ดสาขา บริ ษัทฯ เคารพสิทธิมนุษยชนในเรื# องของสวัสดิภาพการใช้ แรงงาน ไม่ใช้ แรงงานเด็ก มีการกําหนดชัว# โมงการ ทํางานตามกฎหมายแรงงาน การทํางานล่วงเวลา (OT) รวมถึงวันหยุดที#เหมาะสม บริ ษัทฯ มีการจ้ างแรงงานต่างด้ าวอย่าง ถูกต้ องตามที#กฎหมายกําหนด และมีมาตรฐาน/ตัวชี =วัดสากลด้ านสิทธิมนุษยชนมาเป็ นแนวปฏิบตั ิของบริ ษัทฯ ส่งเสริ ม ความเท่าเทียมกันทางเพศ ไม่มีนโยบายที#กําหนดเพศของผู้บริ หารหากแต่จะพิจารณาตามผลงาน ประสบการณ์ และผ่าน การสอบจากคณะกรรมการบริ ษัทเท่านัน= ซึง# หลักการนี =บริ ษัทฯ ได้ ใช้ ครอบคลุมถึงบริ ษัทในเครื อด้ วย

84


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ดังนัน= บริ ษัทฯ จึงตระหนักถึงความสําคัญด้ านการพัฒนาและสนับสนุนโครงการด้ านการศึกษา สรรหาบุคลากร จากแหล่งที#เหมาะสม ตามแนวปฏิบตั ิในการสรรหาบุคลากรที#กําหนดเพื#อช่วยอํานวยความสะดวกในการจ้ างงานภายใต้ กรอบเวลาที#เหมาะสม เพื#อให้ บรรลุเป้าหมายที#กําหนดไว้ นอกจากนี =ยัง มีกระบวนการสรรหาและคัดเลือกอย่างเป็ นระบบ โดยมีกระบวนการสรรหาที#หลากหลาย เพื#อคัดเลือกพนักงานที#เป็ นคนเก่งและคนดีเข้ าร่วมงาน อาทิ -

การทดสอบ Personality Test เพื#อประเมินบุคลิกภาพทีเ# หมาะสมกับตําแหน่งที#สมัครงาน หากเป็ นตําแหน่ง ระดับผู้จดั การฝ่ ายขึ =นไปจะใช้ แบบทดสอบ Supervisory Test เพือ# ประเมินความสามารถในการบังคับบัญชา เริ# มใช้ กระบวนการสัมภาษณ์แบบ Competency-Based Interview โดยคณะกรรมการสัมภาษณ์ เพื#อให้ มนั# ใจ ว่าได้ คดั เลือกบุคลากรที#ตรงตามความต้ องการขององค์กร โครงการคัดเลือก Management Trainee เพื#อคัดเลือกผู้บริ หารรุ่นใหม่เข้ าร่วมงาน

โครงการ “สุขใจใกล้ บ้าน” บริ ษัทฯ สนับสนุนให้ พนักงานได้ มีโอกาสในการโอนย้ ายกลับไปทํางานยังภูมิลําเนาของตน ภายใต้ โครงการ “สุขใจ ใกล้ บ้าน” เพื#อเสริ มสร้ างให้ พนักงานเกิดความสุขในการทํางาน ปั จจุบนั มีพนักงานที#เข้ าโครงการได้ กลับภูมิลําเนา แล้ ว เป็ นจํานวน 847 คน ปี 2555 2556 2557 2558 รวม

จํานวนพนักงาน (คน) 254 228 264 101 847

การจ้ างงานคนพิการ บริ ษัทฯ มีนโยบายไม่เลือกปฏิบตั ิและให้ โอกาสที#เท่าเทียมกันในการจ้ างงาน โดยมีการจ้ างงานคนพิการตามกฎหมาย การจ้ างงานคนพิการ รวมถึงสนับสนุน และส่งเสริ มให้ คนพิการได้ ทํางานเท่าเทียมกับคนปกติในตําแหน่งที#สามารถทํา ได้ เช่น งานฝ่ ายขาย งานซ่อมบํารุ งบริ การให้ ข้อมูลลูกค้ า (Call Center) บริ การส่งสินค้ าฝ่ ายธุรการ เป็ นต้ น โดย ข้ อมูลจํานวนพนักงานผู้พิการของบริ ษัทฯ ในปี 2555 – 2558 เป็ นดังนี = ปี 2555 2556 2557 2558 รวม

จํานวนพนักงานผู้พกิ าร (คน) 83 91 101 96 371

85


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.3.2 การเพิ มศักยภาพด้ านความรู้และทักษะ บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญในการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงานให้ มีคณ ุ ภาพอย่างต่อเนื#องในทุกๆ ระดับ เพื#อรองรับ การเจริ ญเติบโตทางธุรกิจ โดยสนับสนุนให้ พนักงานและผู้บริ หารได้ ใช้ ความรู้ ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที# โดย บริ ษัทฯ ได้ มีการสร้ างศูนย์ฝึกอบรมขึ =นเป็ นการเฉพาะ เพื#อให้ ความรู้ ความเข้ าใจและเสริ มสร้ างศักยภาพในการทํางานของ พนักงานรวมถึงการติดตามผลจากการฝึ กอบรมและการนําไปใช้ ในทางปฏิบตั ิ โดยมีทีมงานในการดูแลการฝึ กอบรมและ พัฒนาหลักสูตรเฉพาะ สําหรับการฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากรแบ่งเป็ น 4 รูปแบบ ดังนี = 1. ฝึ กอบรมความรู้ พื =นฐาน (Corporate Fundamental Training) ด้ านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นหลักสูตรด้ านความ ปลอดภัย การพัฒนาทีมงานหรื อพัฒนาด้ านจิตใจ ตลอดจนเตรี ยมความพร้ อมเพื#อรองรับการขยายธุรกิจไปยัง ต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ โดยมีหลักสูตรความรู้พื =นฐานจํานวน 23 หลักสูตร 2. ฝึ กอบรมหน้ าที#งานให้ กบั พนักงานใหม่ (Functional Training) เพื#อให้ พนักงานมีทกั ษะการปฏิบตั ิงาน และ สามารถทํางานในฟั งก์ชนั# ที#ปฏิบตั ิได้ ถกู ต้ อง โดยมีหลักสูตรหน้ าที#งานจํานวน 82 หลักสูตร 3. ฝึ กอบรม และพัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะ(Competency-Based Development) ซึ#งมุ่งเน้ นพัฒนาเพื#อ เพิ#มพูนทักษะการปฏิบตั ิงานให้ กบั พนักงาน สามารถทํางานเชิงลึก โดยมีหลักสูตรพัฒนาศักยภาพตามหลัก ศักยภาพ จํานวน 8 หลักสูตร 4. หลักสูตรการพัฒนา การสร้ างผู้นํา/กลุม่ คนเก่ง โดยมีจํานวน 4 หลักสูตร นอกเหนือจากการฝึ กอบรมในห้ องเรี ยนแล้ ว ศูนย์ฝึกอบรมยังได้ สง่ เสริ มการเรี ยนรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น - สร้ างวัฒนธรรมการสอนงานและการเป็ นพี#เลี =ยง (Coaching and Mentoring) ให้ เกิดขึ =นในองค์กร ผ่านการ เรี ยนรู้ แบบ OJT (On-the-Job Training) ซึ#งสอนในสถานที#ปฏิบตั ิจริ ง ผู้บริ หารสาขาสามารถแบ่งปั นความรู้ ประสบการณ์ Best Practice รวมถึงข้ อมูลต่างๆ ให้ กบั พนักงานใหม่ - ส่งเสริ มให้ ผ้ บู ริ หารตังแต่ = ระดับต้ นขึ =นไป ทําหน้ าที#เป็ นวิทยากร ซึง# ช่วยให้ เกิดการพัฒนาทังตนเองและผู = ้ อื#น อีกทังยั = งได้ นําความรู้ประสบการณ์ที#อยูใ่ นตัวบุคคล (Tacit Knowledge) แปลงให้ เป็ นความรู้ที#สามารถจัดเก็บได้ (Explicit Knowledge) ในรูปแบบการจัดทําสือ# /เอกสารประกอบการสอนสําหรับเผยแพร่ภายในบริ ษัทฯ ได้ อีกด้ วย - บริ ษัทฯ มีการลงทุนทางด้ านเทคโนโลยี โดยจัดให้ ทกุ สาขามีห้อง Conference ที#สามารถจัดการเรียนการสอน ได้ รวดเร็ วและทันเวลาจากศูนย์ฝึกอบรม และยังช่วยลดระยะเวลาในการเดินทางของพนักงานนอกเหนือจากการ ฝึ กอบรมในห้ องเรี ยนแล้ ว ศูนย์ฝึกอบรมยังได้ สง่ เสริ มการเรี ยนรู้ในรูปแบบต่างๆ ในการติดตามและประเมินผลการพัฒนาบุคลากร บริ ษัทฯ ได้ จดั ทําระบบการติดตามและประเมินผล 3 ระดับ คือ 1. ประสิทธิภาพ เช่น การจัดอบรมได้ ตามแผนงาน ความพึงพอใจในการฝึ กอบรม ความสามารถของวิทยากร ฯลฯ 2. ประสิทธิผล เช่น ความรู้และทักษะที#เพิ#มขึ =น การปรับเปลีย# นพฤติกรรม โดยศูนย์ฝึกอบรมฯ ดําเนินการทดสอบ ความรู้ (Knowledge Survey Check) ของแต่ละสาขาอย่างน้ อย 1 ครัง= /ปี 3. ผลกระทบต่อธุรกิจ เช่น การเพิม# ขึ =นของยอดขาย ความพึงพอใจของลูกค้ า บริ ษัทฯ เริ# มวางแผนงานการติดตาม ผลโดยดูจากยอดขาย หรื อความพึงพอใจในการให้ บริ การที#เพิม# ขึ =นหลังจากอบรม

86


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน สามารถแสดงได้ ดงั นี = การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน การลงทุนด้ านการฝึ กอบรมและพัฒนา (ล้ านบาท) สถิติการฝึ กอบรม Classroom (คน) e-Learning (คน) เฉพาะสาขา OJT (1) (คน) เฉพาะสาขาเปิ ดใหม่ Classroom (ชัว# โมง) e-Learning (ชัว# โมง) เฉพาะสาขา OJT (ชัว# โมง) เฉพาะสาขาเปิ ดใหม่ จํานวนชัว# โมงการฝึ กอบรมโดยเฉลี#ยต่อคน กลุม่ พนักงานบริ หารระดับสูง กลุม่ พนักงานบริ หารระดับกลาง กลุม่ พนักงานบริ หารระดับต้ น กลุม่ พนักงานระดับปฏิบตั ิการ จํานวนชัว# โมงการฝึ กอบรมโดยเฉลี#ยต่อคนต่อปี ความรู้ของพนักงานสาขา (หลังอบรม)

2556 5.57

2557 8.89

2558 6.09

26,736 4,909 1,178 217,120 16,411 354,578

21,953 6,033 823 183,823 21,906 207,396

13,523 (2) - (3) 1,633 106,818 - (3) 508,640

55.57 51.56 91.01 103.92 75.52 96.20%

31.59 50.34 38.75 49.93 45.04 96.00%

40.06 31.13 37.26 100.55 69.06 96.89%

หมายเหตุ : 1 OJT (On-the-Job Training) คือ การอบรมในพื =นที#ปฏิบตั ิงานจริ ง (In store Training) สอนงานโดยหัวหน้ างาน 2 จํานวนพนักงานที#ผ่านการอบรมแบบ Classroom ลดลง เนื#องจากในปี 2558 บริ ษัทฯ มีนโยบายเปลี#ยนรู ปแบบการอบรม โดยเป็ นการอบรมในพื =นที#ปฏิบตั ิงานจริ ง (In-Store Training) สอนงานโดยหัวหน้ างาน เพื#อเน้ นการสร้ างวัฒนธรรมการ สอนงานที#สาขา รวมทังจั = ดให้ มีการอบรมผ่าน VDO Conference via Lync System ซึ#งทําให้ พนักงานไม่ต้องเสียเวลาใน การเดินทาง และช่วยลดค่าใช้ จา่ ยในการเดินทาง 3 ในปี 2558 มีการฝึ กอบรมในพื =นที#ปฏิบตั ิงานจริ ง (In-Store Training) และยกเลิกการจัดอบรมด้ วยระบบ e-Learning

การสร้ างความก้ าวหน้ าทางอาชีพ การบริ หารเส้ นทางสายอาชีพ เป็ นเครื# องมือในการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและมีแบบแผน มีการจัดการ ประเมินสมรรถนะหลัก ในตําแหน่งงานหลักที#เป็ นหัวใจในการขับเคลื#อนธุรกิจ เช่น กลุม่ งานปฏิบตั ิการ กลุม่ งาน จัดซื =อ กลุม่ งานบริ หารสินค้ าคงคลัง เป็ นต้ น ตลอดจนการบริ หารกลุม่ คนเก่ง โดยพิจารณาความรู้ ความสามารถ และองค์ประกอบในมิติต่างๆ เช่น ความรู้ และผลการปฏิบตั ิงาน สมรรถนะความสามารถประสบการณ์และอายุ งาน คุณลักษณะส่วนบุคคล เป็ นระบบบริ หารงานแบบหนึง# ที#ทําให้ พนักงานมีทิศทางการพัฒนาที#ชดั เจน รองรับกับ การเติบโตขององค์กร ก่อให้ เกิดแรงจูงใจที#จะพัฒนาตัวเองต่อไปเพื#อเป้าหมายที#สงู ยิ#งขึ =น และเกิดการผูกพันกับ องค์กร โดยบริ ษัทฯ ยังมีโครงการมอบทุนการศึกษาต่อในระดับปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท รวมถึงการจัดอบรม Mini MBA ให้ กบั กลุม่ คนเก่ง ที#สอดคล้ องกับเป้าหมายในการพัฒนาบุคลากรอย่างชัดเจน ให้ เดินไปในทิศทางเดียวกับการ ดําเนินธุรกิจ นอกเหนือจากการพัฒนาศักยภาพพนักงานผ่านการอบรมแล้ ว บริ ษัทฯ ได้ กําหนดแผนการพัฒนาความก้ าวหน้ า ในอาชีพ (Career Path) เพื#อเตรี ยมกําลังคน และทีมงานให้ พร้ อมเสมอสําหรับการเติบโตในสายอาชีพเฉพาะ

87


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

บุคคล สอดคล้ องกับการขยายธุรกิจของบริ ษัทฯ อย่างต่อเนื#องทังภายในประเทศและต่ = างประเทศ โดยแนวทางใน การพัฒ นาศัก ยภาพของพนัก งานแต่ล ะคนนัน= ดํ า เนิ น การโดยผู้บัง คับ บัญ ชาเป็ นผู้กํ า หนดแผนการพัฒ นา ความก้ าวหน้ าทางอาชีพ (Individual Career Development Plan) ซึง# ประกอบไปด้ วย - การวางแผนอาชีพ (Individual Career Plan) ซึ#งเป็ นการคาดการณ์ถึงเส้ นทางหรื อแนวโน้ มในการเติบโตทาง อาชีพของพนักงานทังในระยะสั = นและระยะยาว = โดยพิจารณาจากความสามารถ ณ ปั จจุบนั ของพนักงาน เปรี ยบเทียบกับความคาดหวังขององค์กรในตําแหน่งที#สงู ขึ =น - แผนการพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan หรื อ IDP) ที#ระบุถึงศักยภาพที#พนักงานควรได้ รับ การพัฒนา และวิธีก ารที#สอดคล้ องกันตามที#ระบุไว้ ใ นคู่มือสํา หรั บการจัดทํา แผนความก้ า วหน้ า ในอาชี พ รายบุคคล เช่น การฝึ กอบรมในหลักสูตร การฝึ กปฏิบตั ิในงาน (On-the-Job Training) การสอนงาน (Coaching) การรับมอบหมายโครงการ (Project Assignment) เป็ นต้ น พนักงานจะได้ รับการติดตามความคืบหน้ าของแผน IDP และรับข้ อมูลป้อนกลับจากผู้บงั คับบัญชาในทุกๆ 6 เดือน โดยจะเป็ นการประเมินความคืบหน้ าในการพัฒนาตนเองและพูดคุยหารื อกันในแผนดังกล่าวระหว่างตัวพนักงาน และผู้บงั คับบัญชา ทังนี = =เพื#อให้ การพัฒนาศักยภาพเป็ นไปอย่างต่อเนื#องสะสมเป็ นพื =นฐานในการเตรี ยมความ พร้ อมสําหรับการเติบโตในอาชีพของพนักงานต่อไป โดยกรอบการประเมินศักยภาพของบุคลากรของบริ ษัทฯ นัน= จะใช้ กรอบเดียวกันในทุกระดับตําแหน่งและสายงานเพื#อเปิ ดกว้ างในการโอนย้ ายข้ ามสายงานกันได้ ในอนาคตแบ่ง ออกเป็ น 3 ด้ าน ได้ แก่ ดัชนีชี =วัดผลงาน สมรรถนะ ด้ านการบริ หาร และค่านิยมองค์กร ผลของการประเมิน ศักยภาพที#ได้ จะใช้ ในการพิจารณาควบคู่กับผลการประเมินการปฏิบตั ิงานประจํา ปี เพื#อนํา เสนอต่อผู้บริ หาร ตามลําดับขัน= เพื#อนําไปประมวลผลสําหรับการปรับเลื#อนตําแหน่ง การบริ หารกลุม่ คนเก่ง (Talent Group) และ การพิจารณาสร้ างผู้สบื ทอดตําแหน่ง (Successor) ซึง# เป็ นส่วนหนึง# ของแผนงานการพัฒนาผู้นําให้ พร้ อมเติบโตไป กับการขยายตัวขององค์กร 10.3.3 การดูแลผลประโยชน์ และกิจกรรมพนักงานสัมพันธ์ บริ ษัทฯ ได้ มีการสํารวจความพึงพอใจของพนักงานเป็ นประจําทุกปี และนําผลดังกล่าวมาใช้ พฒ ั นาสภาพแวดล้ อม การทํางาน โดยในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ นําผลที#ได้ มากําหนดกรอบการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ภายใต้ จุดมุ่งหมาย “ทํางาน แล้ วต้ องมีความสุข” อันประกอบไปด้ วย Happy Home, Teamwork, Think Good Do Great และ Stay Healthy โดยแบ่ง แผนการดําเนินงานได้ ดงั นี = - มอบสวัสดิการที#เหนือกว่าตลาดแรงงานโดยทัว# ไปได้ แก่ ค่าครองชีพ ค่านํ =ามันรถ กองทุนสํารองเลี =ยงชีพ ค่า โทรศัพท์มือถือ ค่าประกันสุขภาพ ประกันอุบตั ิเหตุเครื# องแบบพนักงาน ผ้ าตัดชุดคลุมท้ อง วงเงินซื =อสินค้ า ใน ราคาพนักงาน เงินช่วยเหลือฉุกเฉิน ของเยี#ยมยามเจ็บป่ วย เงินช่วยงานสมรส เงินช่วยเหลือค่าทําศพทังของ = พนักงานและญาติ ฯลฯ - นําเทคโนโลยีมาใช้ ในการบริ หารจัดการทรัพยากรผ่านระบบ HRMS (Human Resource Management System) โดยพนักงานสามารถดํา เนินการได้ ด้ว ยตนเอง ทังเรื = # องการตรวจสอบประวัติการทํา งาน การ ดําเนินการเรื# องการลา รวมถึงการเบิกจ่ายสวัสดิการ ทังนี = =เพื#อลด ขันตอนการอนุ = มตั ิต่างๆ ทําให้ พนักงาน บริ หารเวลาได้ อย่างมีประสิทธิภาพเพิ#มขึ =น รวมถึงการประมวลผล ค่าจ้ างและเงินเดือนที#มีความรวดเร็ วและ แม่นยํา ซึง# เป็ นหนึง# ในผลจากการเปิ ดกว้ างให้ พนักงานส่งความคิดเห็นเพื#อการปรับปรุงระบบที#ดี

88


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- ให้ ความเคารพในสิทธิของพนักงานในการรวมกลุม่ โดยเสรี ภาพ ไม่ปิดกันการก่ = อตังสหภาพหรื = อร่ วมในสหภาพ แรงงานอื#น นอกจากนันยั = งเปิ ดกว้ างให้ คําปรึ กษาแก่พนักงานในทุกๆ ด้ าน ทังเรื = # องงานและเรื# องส่วนตัว ไม่ปิด กันการหารื = อแบบรายคน หรื อรวมตัวรายกลุม่ โดยสามารถหารื อผ่านเจ้ าหน้ าที#ด้านการดูแลบุคลากรโดยตรง ผ่านผู้บงั คับบัญชา ผ่านตัวแทนคณะกรรมการ หรื อส่งเรื# องผ่านช่องทางร้ องเรี ยน เพื#อรวบรวมส่งพิจารณาแก้ ไข และปรั บปรุ งพัฒนาโดยฝ่ ายทรัพยากรบุคคล เพื#อให้ พนักงานได้ รับแนวทางในการแก้ ไขปั ญหาและร่ ว ม เสนอแนะในด้ านต่างๆ ได้ ครอบคลุมมากขึ =น ทังนี = = บริ ษัทฯ ไม่มีการจัดตังสหภาพแรงงานภายในองค์ = กรและไม่ มีบคุ ลากรใดของบริ ษัทร่วมอยูใ่ นสหภาพแรงงานอื#น - จัดกิจกรรมเพื#อเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั พนักงานและเพิ#มสัมพันธภาพภายในองค์กรผ่านกิจกรรมที#ปรับ เฉพาะตามความต้ องการและวัฒนธรรมย่อยของแต่ละหน่วยงานมากขึ =น เช่น กิจกรรม Staff Party ของ สํานักงานใหญ่ และสาขาทัว# ประเทศ กิจกรรม Sports Day กิจกรรมสานสัมพันธ์นอกสถานที# เป็ นต้ น - โครงการปรับปรุงสถานที#ทํางาน ให้ สามารถรองรับกําลังคนที#เพิ#มขึ =น โดยมีการปรับปรุ งให้ มีรูปแบบที#ทนั สมัย และสะดวกสบาย อาทิ ห้ องอาหารที#มีการควบคุมความสะอาดทังในเรื = # องของอาหาร นํ =าดื#ม ภาชนะและ อุปกรณ์อื#นๆ รวมถึงมีการกําหนดให้ จําหน่ายอาหารในราคาประหยัดการจัดสวน Indoor เพื#อให้ พนักงานรู้ สกึ ผ่อนคลายจากการทํางาน นอกจากนี =ยังได้ สร้ างห้ องออกกําลังกาย ที#เปิ ดให้ บริ การทุกวันตังแต่ = เวลา 06.15 – 22.00 น. สร้ างห้ องเอนกประสงค์สาํ หรับประชุม หรื อทํากิจกรรมต่างๆ - เปิ ดโอกาสให้ พนักงานสามารถรวมกลุ่มเพื#อจัดตังชมรมตามความชอบและสมั = ครใจ โดยพนักงานมีการ รวมกลุม่ ออกกําลังกายประเภทต่างๆ เช่น ฟุตบอล แบดมินตันปิ งปอง ฟิ ตเนส จากผลการดําเนินงานตามแผนงานที#กําหนดดังกล่าว ส่งผลให้ คะแนนความพึงพอใจของพนักงาน ประจําปี 2558 มีคะแนนเพิ#มขึ =นจาก 86.4% เป็ น 87.4% 10.3.4 ความปลอดภัยและสุขภาพ ความปลอดภัย และสุขภาพของพนักงานเป็ นปั จจัยที#มีความสําคัญอย่างยิ#ง บริ ษัทฯ จึงให้ ความสําคัญและจัด สภาพแวดล้ อมในที#ทํางานให้ มีความเหมาะสม คัดสรรวัสดุอปุ กรณ์ที#ปลอดสารพิษ ไม่มีสารเคมีตกค้ าง เพื#อป้องกันการ เกิดมลพิษ สารเคมี ในระหว่างการปฏิบตั ิงาน มีการจัดอุปกรณ์เพื#อความปลอดภัย ไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพในระยะสัน= และระยะยาว เช่น การมีเข็มขัด Back Support สําหรับพนักงานยกกระเบื =อง ยกของหนัก การมีพดั ลมระบายอากาศ ให้ กบั พื =นที# Back Stock เป็ นต้ น ด้ านสภาพแวดล้ อมในการทํางานจัดให้ มีการตรวจวัดสภาพแวดล้ อมในการทํางาน ได้ แก่ การตรวจวัดแสงสว่างในการทํางาน เป็ นต้ น นอกจากนี =ยังมีการกําหนดนโยบายเกี#ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน โดย กําหนดหน่วยงานรับผิดชอบในด้ านความปลอดโดยเฉพาะ ทําหน้ าที#ฝึกอบรม ให้ ความรู้ แก่พนักงาน ตรวจสอบและให้ คําแนะนําสภาพแวดล้ อมในการทํางานประเมินความเสี#ยงอุปกรณ์ ต่างๆ รวมถึงมีการรณรงค์และจัดกิจกรรมเกี#ยวกับ ความปลอดภัยในการทํางาน พร้ อมตรวจติดตามผล ส่งผลให้ ในปี ที#ผ่านมา บริ ษัทฯ สามารถลดอัตราการเกิดอุบตั ิเหตุต่อ สาขาได้ ดงั นี =

89


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) อัตราการเกิดอุบัติเหตุ (ครั งB /สาขา) 0.21

0.20

0.20 0.16

ปี

2555

2556

2557

2558

ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ มีการเข้ าร่ วมโครงการลดอุบตั ิเหตุให้ เป็ นศูนย์กบั ทางจากกรมสวัสดิการ และคุ้มครอง แรงงาน โดยมีรายละเอียดการรับรางวัลดังนี = ประเภทรางวัล

จํานวนสาขาที ได้ รับรางวัล

ระดับต้ น (มีชวั# โมงการทํางานสะสมของลูกจ้ างน้ อยกว่า 1,000,000 ชัว# โมง)

23 สาขา

ระดับทองแดง (มีชวั# โมงการทํางานสะสมของลูกจ้ างตังแต่ = 1,000,000 – 2,999,999 ชัว# โมง)

4 สาขา

นอกจากนี ท= างบริ ษั ท ฯ ได้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการสถานประกอบการปลอดภัย เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถุประสงค์เพื#อสร้ างจิตสํานึกความปลอดภัยในการทํางาน เพื#อคุ้มครอง และดูแ ลสุขภาพอนามัยของพนัก งาน ให้ มี ค วามปลอดภัย ในการทํ า งานพร้ อมกับ ยกระดับ มาตรฐานความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทํางานที#ดี อันจะก่อประโยชน์ต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศด้ วย และเป็ นโอกาสร่ วมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื#องในโอกาสทรงมีพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ทังนี = =บริ ษัทฯ ได้ เข้ าร่ วมและได้ รับมอบใบประกาศเกียรติคุณสถาน ประกอบการปลอดภัยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีรายละเอียดการรับ รางวัลดังนี = สาขา ในเขตกรุงเทพและปริ มณฑล ในต่างจังหวัด รวม

จํานวนสาขา 14 สาขา 37 สาขา 51 สาขา

นอกจากเรื# องการดูแลเรื# องความปลอดภัยในการทํางาน สุขภาพอนามัยของพนักงาน ความปลอดภัยของลูกค้ าที# เข้ ามาใช้ บริ การแล้ ว ทางบริ ษัทฯ ยังได้ ให้ ความสําคัญเกี#ยวกับการการป้องกันหรื อระงับเหตุวิกฤติต่างๆ เช่น เหตุ เพลิงไหม้ โดยมีการกําหนดให้ ทกุ สาขาจัดตังที = มที#ทําหน้ าที#ในการเผชิญเหตุวิกฤติ และมีการเตรี ยมความพร้ อม ตลอดเวลา โดยในปี 2558 ได้ มีการจัดแข่งขันทีมเผชิญเหตุวิกฤติ (Emergency Response Team: ERT) เพื#อให้ เกิดความมัน# ใจว่าทีมเผชิญเหตุวิกฤติมีความพร้ อมทังด้ = านทักษะและสมรรถภาพร่ างกาย ส่วนพนักงานทุกคนก็ ต้ องได้ รับการอบรมและซักซ้ อมอพยพหนีไฟประจําปี เพื#อให้ ทกุ คนรับรู้บทบาทหรื อการปฏิบตั ิตวั เมื#อเกิดเหตุขึ =น ทังนี = = บริ ษัทฯ ได้ ขยายขอบเขตนโยบายด้ านความปลอดภัยสูค่ คู่ ้ าที#สาํ คัญในห่วงโซ่อปุ ทาน อาทิ ผู้รับเหมาก่อสร้ าง ซึง# มีบทบาทสําคัญในช่วงการก่อสร้ างโครงการต่างๆ ของบริ ษัทฯ โดยกําหนดเป็ นข้ อบังคับด้ านความปลอดภัยใน

90


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

สัญญาว่า จ้ า งสํา หรั บผู้รั บเหมาก่อ สร้ างที# ร่ว มงานกับ บริ ษั ทฯ ว่า จะต้ อ งดํา เนิ นการและปฏิบัติตาม Safety Checklist อย่างเคร่งครัด มีการกําหนดให้ มีเจ้ าหน้ าที#ความปลอดภัยประจําอยู่ ณ พื =นที#ก่อสร้ าง และมีการว่าจ้ างที# ปรึ กษาภายนอกด้ านความปลอดภัยที#ได้ รับการรั บรองมาตรฐาน ISO 9001 ในการตรวจประเมินเพิ#มเติม นอกเหนือจากการประเมินรายสัปดาห์โดยผู้จัดการโครงการของบริ ษัทฯ นอกจากนันยั = งมีการดูแลด้ านความ ปลอดภัยให้ กบั แรงงานสัญญาเหมาช่วงที#ผา่ นการว่าจ้ างโดยผู้รับเหมาอีกทอดหนึง# ทังคํ = านึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน เช่น ห้ ามจ้ างแรงงานเด็ก หากจ้ างแรงงานต่างด้ าวต้ องมีใบขออนุญาตทํางานทุกคน และไม่เอารัดเอาเปรี ยบใน เรื# องค่าแรง มีการอํานวยความสะดวกกับแรงงานอย่างเหมาะสมเช่น การสร้ างห้ องนํ =า ห้ องอาบนํ =า ที#ซกั ล้ าง โรง อาหาร ร้ านค้ าสวัสดิการ ห้ องรับเลี =ยงดูเด็ก ที#พกั อาศัย รวมไปถึงการอบรมความปลอดภัยให้ กบั แรงงานที#ว่าจ้ าง และบริ ษัทฯ ได้ กําหนดให้ ผ้ รู ับเหมาทุกรายต้ องทําประกันชีวิตแรงงานหากเกิดการเสียชีวิตระหว่างปฏิบตั ิงาน ซึ#ง เพิ#มเติมจากที#กฎหมายกําหนด

10.4 ด้ านสังคมและชุมชน เพื#อก้ าวสูค่ วามเป็ นผู้นําทางธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริ ษัทฯ มี ความมุง่ มัน# ที#จะขยายสาขา และดําเนินธุรกิจภายใต้ ปณิธานที#จะพัฒนาและยกระดับความเป็ นอยู่ให้ กบั สังคมและชุมชน ตลอดจนการสร้ างคุณค่าร่ วมผ่านกิจกรรมและโครงการต่า งๆ โดยการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ จะต้ องไม่ก่อให้ เกิ ด ผลกระทบเชิงลบต่อชุมชน เพื#อให้ เกิดการยอมรับและเชื#อใจจากชุมชนรอบข้ าง โดยในปี ที#ผา่ นมาบริ ษัทฯ มีการดําเนินงาน ด้ านสังคมและชุมชน ดังนี = 10.4.1 โครงการทุนการศึกษาทวิภาคี วิทยาการค้ าปลีกเป็ นพื =นฐานของการค้ าขาย และสามารถนําไปใช้ ในการบริ หารธุรกิจได้ ตงแต่ ั = ขนาดเล็กไปจนถึง ขนาดใหญ่ ในอดีตที#ผา่ นมาไม่มีสถาบันการศึกษาใดในประเทศไทยที#เปิ ดสอนสาขาวิชาทางด้ านนี =อย่างชัดเจน บุคลากร ส่วนใหญ่ในธุรกิจค้ าปลีกเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิงานจริ ง ในขณะที#ธุรกิจค้ าปลีกในประเทศไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื#อง บริ ษัทฯ ได้ เล็งเห็นถึงความสําคัญของการ พัฒนาความก้ าวหน้ าในองค์ความรู้ ด้านการค้ าปลีก และมีความมุ่งมัน# ที#จะส่งเสริ มการพัฒนาบุคลากรเพื#อรองรับการ ขยายตัวดังกล่าวโดยได้ มีการลงนามบันทึกข้ อตกลงความร่วมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) เพื#อ สร้ างความร่วมมือด้ านการจัดการอาชีวศึกษาและฝึ กอบรมวิชาชีพประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาธุรกิจค้ าปลีก โครงการนี =มีวตั ถุประสงค์เพื#อร่วมมือในการจัดการเรี ยนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ตลอดจนเปิ ดโอกาสให้ นักเรี ยนนักศึกษาเข้ ารับการฝึ กประสบการณ์ด้านวิชาชีพ ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาธุรกิจค้ าปลีก ให้ มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ตรงจากการปฏิบตั ิงานจริ งในสถานประกอบการความร่ วมมือครัง= นี =จะเป็ นการพัฒนาการจัดการเรี ยน การสอนที#สง่ เสริ มให้ นกั ศึกษามีสมรรถนะอาชีพสอดคล้ องกับวิชาชีพครู และนักศึกษาที#ผ่านการอบรม และฝึ กปฏิบตั ิงาน ภายใต้ ความร่ วมมือนี =จะมีโอกาสเพิ#มพูนความรู้ และประสบการณ์ ด้านวิชาชีพในสถานประกอบการได้ กว้ างขวางยิ#งขึ =น โดยเฉพาะอย่างยิ#งการสร้ างโอกาสให้ นกั ศึกษาได้ เรี ยนรู้ทกั ษะการทํางานเกี#ยวกับธุรกิจและบริ การในสถานการณ์จริ งซึง# จะ ช่วยส่งเสริ มให้ มีความรักในอาชีพและเห็นความก้ า วหน้ าของเส้ นทางอาชีพในอนาคต โดยสํานักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษาจะมีการจัด 2 โปรแกรม คือ โปรแกรมการจัดการเรี ยนการสอนระบบทวิภาคีระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชันสู = ง (ปวส.) และโปรแกรมการฝึ กงาน 1 ปี การศึกษา

91


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

สถานศึกษาที#เข้ าร่วมโครงการในครัง= นี = ถือเป็ นผู้ที#มีบทบาทสําคัญอย่างมากต่อความสําเร็ จของโครงการ กล่าวคือ สถานศึกษาและบริ ษั ทฯ ได้ มีส่วนร่ ว มในการออกแบบรายวิชาที#เหมาะสมเพื#อช่ว ยให้ บณ ั ฑิตมีความรู้ ด้ านวิชาการที# ทันสมัยจึงทําให้ บริ ษัทฯ มัน# ใจได้ ว่าบัณฑิต (บุคลากรใหม่) มีความรู้ ที#เหมาะสมตรงกับความต้ องการของบริ ษัทฯ การ ได้ รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในครัง= นี = จึงอาจกล่าวได้ ว่าเป็ นการบูรณาการการศึกษาครัง= สําคัญของประเทศไทย ซึง# จะช่วยเพิ#มศักยภาพให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ทงภาคทฤษฎี ั= และมีประสบการณ์จริ งจากการฝึ กภาคปฏิบตั ิที#ครบถ้ วน ภายใต้ การดูแลอย่างใกล้ ชิดจากศูนย์บริ การการศึกษา (Education Service Centre) ของบริ ษัทฯ ในปี 2558 มีนกั ศึกษาในโครงการผ่านการฝึ กอาชีพในระบบทวิภาคี และได้ เข้ าร่ วมพิธีมอบประกาศนียบัตร “โครงการทุนการศึกษาทวิภาคี” รุ่นที# 2 ที#เข้ าร่วมโครงการตังแต่ = ปี 2556 พร้ อมทังได้ = เข้ าบรรจุเป็ นพนักงานโฮมโปรแล้ ว 66 คน ตามสาขาต่างๆ ทัว# ประเทศ จํานวน 16 สาขารายละเอียดการมอบทุนการศึกษาในปี ที#ผา่ นมามีดงั นี = ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันB สูง (ปวส.) ปี 2555 2556 2557 2558

รุ่ นที 1 2 3 4 รวม

จํานวนสถานศึกษาที เข้ าร่ วม (แห่ ง) 6 10 11 10 37

จํานวนทุน 64 123 183 258 628

มูลค่ าทุนรวม (บาท) 1,843,200 3,542,400 5,472,000 7,430,400 18,288,800

ระดับปริญญาตรี ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ มีการขยายการให้ ทนุ การศึกษาระดับปริ ญญาตรี ดังนี = ปี 2558

รุ่ นที 1

จํานวนสถานศึกษาที เข้ าร่ วม (แห่ ง) 2

จํานวนทุน 100

มูลค่ าทุนรวม (บาท) 1,360,000

“ผมเป็ นคนเชียงราย ครอบครัวมี ฐานะยากจน หาเช้ากิ นคํ า ขณะศึกษาอยู่มธั ยมที ร.ร.

พงษ์ มล อายุ 22 อดีตนักเรี ยนภายใต้ โครงการ ทุนการศึกษาทวิภาคี

ศึกษาสงเคราะห์ บางกรวย จ.นนทบุรี ก็ต้องทํางานพิ เศษแบ่งเบาภาระครอบครัวช่วงปิ ด เทอม ช่วงใกล้จบมัธยมคิ ดว่าคงหมดหวังในการเรี ยนต่อ แต่ก็มีความหวังอี กครั/งเมื อ โฮมโปร มาแนะแนวเรื องทุนทวิ ภาคี ที ให้ทนุ เรี ยนฟรี และทํางานไปด้วย ผมจึงสมัครร่ วม โครงการทันที โดยเลื อกทํางานที โฮมโปร สาขารัตนาธิ เบศร์ และเรี ยนที วิทยาลัยเทคนิ ค ดอนเมื อง ในการทํางานก็มีหวั หน้าคอยให้คําปรึ กษาตลอด ทัง/ ยังมี ทีมทีด ี เป็ นเหมื อน ครอบครัวเดี ยวกัน ตอนเรี ยนจบผมได้ทงั/ วุฒิของโฮมโปรและวิ ทยาลัย และได้เข้าเป็ น พนักงานประจําของโฮมโปรยิ งทําให้ผมดี ใจและภูมิใจกับโอกาสครั/งนี / ผมจึงตัง/ ใจทํางาน อย่างเต็มความสามารถเพื อตอบแทนโฮมโปรผู้มอบโอกาส ฝากถึงน้องๆที ขาดโอกาส เมื อได้รับก็ตอ้ งรี บไขว่คว้าไว้ สุดท้ายนีผ/ มขอขอบคุณโฮมโปรทีท ําให้ผมมี ทกุ วันนีค/ รับ”

92


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.4.2 โครงการห้ องนําB ของหนู ในปั จจุบนั โรงเรี ยนประถมศึกษาในประเทศไทยจํานวนมากยังขาดแคลนห้ องนํ =าที#ได้ มาตรฐานและถูกสุขลักษณะ รวมถึงยังขาดความรู้ และวิธีการใช้ ห้องนํ =าอย่างถูกต้ อง ด้ วยปณิธานที#ต้องการยกระดับคุณภาพชีวิต และส่งเสริ มเรื# อง สุขอนามัยในการใช้ ห้องนํ =าให้ กบั เด็กนักเรี ยน บริ ษัทฯ จึงได้ จดั กิจกรรมเพื#อสังคมภายใต้ ชื#อ “โครงการห้ องนํ =าของหนู” โดย ร่ วมกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื = =นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และ พันธมิตรทางธุรกิจ อาทิ บริ ษัท พาราซโซ่ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จํากัด ผู้ผลิตและจําหน่ายประตู Parazzo และบริ ษัท เบเยอร์ จํากัด ผู้ผลิตและจําหน่ายสี Beger โดยได้ ทําการเข้ าตรวจสอบ และปรับปรุง เพื#อยกระดับมาตรฐานห้ องนํ =าให้ ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานส้ วมสาธารณะระดับประเทศ หรื อ HAS (Healthy Accessibility and Safety) คือ สะอาด พอเพียง และ ปลอดภัย โดยบริ ษัทฯ ได้ มีการจัดสรรงบประมาณในแต่ละปี เพื#อปรับปรุ งห้ องนํ =าให้ กบั โรงเรี ยนในต่างจังหวัด โดยเฉพาะใน จังหวัดที#บริ ษัทฯ เข้ าไปเปิ ดสาขา รวมถึงได้ รับการสนับสนุนเงินทุนส่วนหนึ#งจากลูกค้ าที#มาซื =อสินค้ าที#โฮมโปร ซึ#งทุกการ ช้ อปของลูกค้ าทุกคนเป็ นส่วนหนึ#งที#จะถูกนําไปสร้ างรอยยิ =มให้ แก่เด็กจํานวนมาก ผ่าน “โครงการห้ องนํ =าของหนู” โดย บริ ษัทฯ และพันธมิตรทางธุรกิจ ร่ วมกับกรมอนามัยได้ เข้ าตรวจสอบ และปรับปรุ ง เพื#อยกระดับมาตรฐานห้ องนํ =าของ โรงเรี ยนให้ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน HAS โดยนับจากจุดเริ# มต้ นโครงการในเดือนธันวาคม 2549 จนถึงสิ =นปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ ส่งมอบห้ องนํ =าตามโครงการแล้ วทังสิ = =น 2,317 ห้ อง รวม 172 โรงเรี ยน ครอบคลุม 45 จังหวัดทัว# ประเทศ ทังนี = = บริ ษัทฯ ได้ ร่ วมผลักดันไปสูก่ ารดูแลรักษาห้ องนํ =าอย่างยัง# ยืน โดยได้ รับมาตรฐาน HAS ส้ วมสาธารณะในระดับประเทศเพื#อเป็ นการ เป็ นการสร้ างความสุข และเพิ#มบรรยากาศในการเรี ยนให้ มคี วามสดชื#นแจ่มใส เพื#อนักเรี ยนจะได้ มีพลังในการสร้ างสรรค์สงิ# ดีๆ ให้ สงั คมต่อไป ผลการดําเนินโครงการตังแต่ = ปี 2549 ถึงวันที# 31 ธันวาคม 2558 ปี

จํานวนจังหวัด

จํานวนโรงเรี ยน

จํานวนห้ องนําB

2549

1

3

20

2550

6

20

215

2551

3

11

131

2552

4

18

210

2553

5

11

219

2554

5

17

200

2555

7

20

314

2556

10

35

494

2557

7

24

333

2558

5

13

181

รวม

45

172

2,317

93


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ด.ญ.ภัทรธิดา พลเภา นักเรี ยนชันB ป.4 โรงเรี ยนนาป่ ามโนรถ ต.นาป่ า อ.เมือง จ.ชลบุรี

“ในนามตัวแทนของนักเรี ยนโรงเรี ยนนาป่ ามโนรถ หนูอยากขอขอบพระคุณพีๆ โฮมโปร เป็ นอย่างยิ ง ที มาช่วยปรับปรุงห้องนํ/าที โรงเรี ยนของพวกหนู จากที เคยมี สภาพเก่า มี กลิ น และไม่สะอาด ให้สวยงาม สะอาดน่าใช้กว่าเดิ ม อี กทัง/ พวกหนูก็ไม่ตอ้ งต่อคิ วเข้าห้องนํ/ายาวๆ แล้ว พวกหนูดีใจมากค่ะที ได้ใช้ห้องนํ/า ที สะอาด สวยงาม ถูกสุขลักษณะ และยังมี พีๆ จากสาธารณะสุข จังหวัดเข้า มาสอนการใช้หอ้ งนํ/าอย่างถูกวิ ธี หนูหวังว่าในอนาคตจะมี โครงการดี ๆ อย่างนี / อี กนะคะ และพวกหนูสญ ั ญาว่าจะใช้ห้องนํ/ าอย่างถูกวิ ธี และดูแลรักษา ห้องนํ/าให้สะอาดน่าใช้ตลอดไปค่ะ”

10.4.3 โครงการเถ้ าแก่ น้อย บริ ษัทฯ ให้ การสนับสนนุ และช่วยเหลือคูค่ ้ าบริ ษัท Outsource บริ ษัทรับเหมาช่วงรายย่อยที#ยงั ขาดทุนทรัพย์ หรื อ สิ#งอํานวยความสะดวกพื =นฐานในการทําธุรกิจ ร่ วมกันสร้ าง “โครงการเถ้ าแก่น้อย” โดยบริ ษัทฯ ได้ กระจายงานด้ านการ จัดส่ง งานบริ การ Home Service ให้ กบั ผู้รับเหมาช่วงภายนอก ทีมช่างที#เข้ าร่ วมโครงการจะได้ รับการฝึ กอบรมเพื#อให้ ทราบถึงนโยบาย วิธีการและขันตอนการปฏิ = บตั ิงาน เพื#อสามารถให้ บริ การลูกค้ าได้ ภายใต้ มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน เดียวกัน ในปี 2558 บริ ษัทฯ มีการพัฒนาช่างในโครงการทัว# ประเทศกว่า 700 ทีม ให้ มีทกั ษะที#หลากหลาย เช่น ช่างทาสีที# สามารถทํางานทาสีพื =น Epoxy ติดตังฝ้= าหลุม และติดตังรางนํ = =าฝนได้ อีกด้ วย โดยบริ ษัทฯ มีการฝึ กอบรมหลักสูตรงานช่าง ดังนี = - หลักสูตรการติดตังเครื = # องใช้ ไฟฟ้ าภายในบ้ าน จํานวน 40 รุ่น จํานวนช่างที#เข้ าอบรม 400 คน - หลักสูตรการเดินสายไฟฟ้ าภายในอาคารจํานวน 4 รุ่น จํานวนช่างที#เข้ าอบรม 80 คน - หลักสูตรการเดินงานบํารุงรักษาเครื# องใช้ ไฟฟ้ า จํานวน 10 รุ่น จํานวนช่างที#เข้ าอบรม 200 คน - หลักสูตรช่างติดตังเครื = # องปรับอากาศ จํานวน 20 รุ่น จํานวนช่างทีเ# ข้ าอบรม 200 คน - หลักสูตรซ่อมฝ้ า จํานวน 4 รุ่น จํานวนช่างทีเ# ข้ าอบรม 80 คน

อัญชลี ศิริร่ ุ งโรจน์ (ช่ างไก่ ) ผู้เข้ าร่ วมในโครงการเถ้ าแก่ น้อยและ หนึ งในทีมงาน Lady Service

“อาชี พช่างอย่างเรามันไม่มีอะไรแน่นอน โชคดี ที ได้มาเข้าร่ วมโครงการเถ้า แก่นอ้ ยของโฮมโปร ทีค อยมอบงานให้อย่างสมํ าเสมอ ในช่วงเริ มต้นโฮมโปร มี การจัดอบรมความรู้ เรื องช่างให้ความรู้ เพิ มเติ มหลายอย่างเทคนิ คต่างๆ ที ช่วยพัฒนาฝี มื อ จนตอนนี / เป็ นเวลาเกื อบ 10 ปี แล้วที ได้ร่วมงานกันมา คุณภาพก็เป็ นที ไว้วางใจของลูกค้า ก่อนหน้านี /พูดได้ว่าไม่มีอะไรเลย ไม่มี บ้าน ไม่มีรถ ต่างไปจากตอนนี /ที มีเงิ นซื /อของที เราอยากได้ ขณะที หน้าที ความรับผิ ดชอบแม้จะมากขึ/นแต่รู้สึกดี ใจที มายื นอยู่ในจุดนี /ได้ ทุกวันนี /เรามี ทีมงานคุณภาพ 7 ทีม งานและรายได้เพิ มขึ/นทุกปี ”

94


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.4.4 โครงการเพื อสังคมอื นๆ โครงการทีวีเก่ าแลกทีวีใหม่ ปั จจุบนั ความก้ าวลํ =าทางเทคโนโลยีมีสว่ นเร่งให้ สนิ ค้ าอิเล็กทรอนิกส์อยูใ่ นสภาพตกรุ่นเร็ วยิง# ขึ =น โดยเฉพาะโทรทัศน์ ที#มีการเปลี#ยนแปลงจากระบบอนาล็อกเป็ นดิจิตอล ทําให้ ลกู ค้ ามีการเปลี#ยนแปลงพฤติกรรมตามความก้ าวหน้ า ทางเทคโนโลยี ส่งผลให้ โทรทัศน์เครื# องเก่าของลูกค้ ากลายเป็ นขยะอิเล็กทรอนิกส์ บริ ษัทฯ จึงได้ จดั โครงการ “ ทีวี เก่าแลกทีวีใหม่” โดยเชิญชวนให้ ลกู ค้ าและประชนทัว# ไปนําโทรทัศน์เครื# องเก่าสภาพดีมาบริ จาค เพื#อแลกเป็ น ส่วนลดในการซื =อโทรทัศน์เครื# องใหม่ที# โฮมโปร โดยโทรทัศน์ที#ได้ มา บริ ษัทฯ ได้ นําไปบริ จาคให้ กบั โรงเรี ยนในพื =นที# ขาดแคลนทัว# ประเทศซึ#งนอกจากเป็ นการช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้ วยังเป็ นการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทาง สังคมอีกด้ วย ในปี 2558 เครื# องโทรทัศน์ที#ลกู ค้ านํามาบริ จาค จํานวน 761 เครื# อง ซึง# ทางบริ ษัทฯ ได้ สง่ มอบให้ กบั มูลนิธิศภุ นิมิตร แห่งประเทศไทย เพื#อเป็ นตัวแทนในการส่งมอบต่อให้ กบั โรงเรี ยน 167 โรงเรี ยน ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 25 แห่ง กลุม่ พัฒนาอาชีพ 2 แห่ง ศูนย์การเรี ยนรู้ 10 แห่ง ครอบครัวยากจน 39 ครอบครัว และคริ สตจักร 6 แห่ง โครงการ Give & Get ผ้ าม่ านเก่ าแลกใหม่ บริ ษัทฯ ร่วมกับ PASAYA จัดโครงการ “Give & Get ผ้ าม่านเก่าแลกใหม่” ซึ#งเป็ นโครงการที#เปิ ดโอกาสให้ ลกู ค้ ามี ส่วนร่วมในการแบ่งปั นให้ สงั คมและเป็ นการช่วยลดของที#ไม่ได้ ใช้ แล้ ว บริ ษัทฯ มีการตังจุ = ดรับบริ จาคในโฮมโปรทุก สาขา เพื#อให้ ลกู ค้ านําผ้ าม่านผืนเก่ามาร่ วมบริ จาค จากนันทางบริ = ษัทฯ ได้ นําผ้ าม่านที#ลกู ค้ านํามาบริ จาค กว่า 1,000 ชิ =น ไปส่งมอบให้ กบั มูลนิธิบ้านนกขมิ =นซึ#งนอกจากจะเป็ นการแบ่งปั นทางสังคมแล้ ว ยังช่วยลดปริ มาณ ผ้ าม่านเก่าอีกด้ วย โครงการซักผ้ าได้ บุญ บริ ษัทฯ ร่วมกับบริ ษัท อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย จํากัดจัด “โครงการซักผ้ าได้ บญ ุ ” ซึง# เป็ นโครงการที#เปิ ดโอกาสให้ ลูกค้ านําเสื =อผ้ ามาร่วมบริ จาคที#โฮมโปร แล้ วนําเสื =อผ้ าที#ได้ จากการรับบริ จาคมาซัก อบ รี ด ก่อนนําไปบริ จาคให้ กบั โรงเรี ยนที#ขาดแคลน ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ จดั กิจกรรมนี =เป็ นครัง= ที# 6 โดยตังกล่ = องรับบริ จาคเสื =อผ้ าในโฮมโปร ทาง บริ ษัทฯ นําเสื =อผ้ าที#ได้ จากการรับบริ จาคกว่า 3,000 ชิ =น ไปซัก อบ รี ด และส่งมอบให้ กบั นักเรี ยนโรงเรี ยนบ้ านกุด ตะเคียน อ.เมือง จ.นครนายก ซึง# มีเด็กนักเรี ยนเด็กเล็กระดับอนุบาล และประถมได้ รับประโยชน์มากกว่า 100 คน กิจกรรมบํารุ งศาสนา บริ ษัทฯ ได้ จัดกิจกรรมทางด้ า นศาสนาอยู่เสมอ โดยการส่งเสริ มให้ ผ้ ูบริ หารและพนักงานเข้ า ร่ ว มโครงการ ทอดผ้ าป่ า กฐิ นสามัคคี และการทําบุญเนื#องในวันสําคัญต่างๆ ในปี 2558 บริ ษัทฯ เป็ นเจ้ าภาพทําบุญทอดกฐิ น สามัคคี ดังนี = วัด วัดลําผักชี วัดแม่คําหนองบัว

จังหวัด/ภาค กรุงเทพฯ /ภาคกลาง เชียงราย /ภาคเหนือ รวม

จํานวนเงินที บริ จาค (บาท) 5,097,052 1,299,840 6,396,892

95


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

นอกจากนี = บริ ษัทฯ ยังได้ จดั กิจกรรมทําบุญทอดผ้ าป่ าในภูมิภาคอื#นๆ ดังนี = วัด วัดสะทังใหญ่ วัดบ้ านกล้ วย วัดมาบตอง

จังหวัด/ภาค พัทลุง /ภาคใต้ นครราชสีมา /ภาคตะวันออกเหนือ ระยอง /ตะวันออก รวม

จํานวนเงินที บริ จาค (บาท) 181,000 271,299 183,999 636,298

กิจกรรมสนับสนุนการประกอบอาชีพของชุมชน ในการขยายสาขาทุกครั ง= บริ ษั ทฯ คํา นึงถึงคนในชุมชนในพื =นที#ที#เข้ าไปก่อสร้ างสาขาเป็ นสําคัญ โดยจะไม่ ดําเนินการใดๆ ที#จะกระทบต่อการประกอบอาชีพของคนในชุมชนเหล่านัน= และได้ ให้ การสนับสนุน เช่น การใช้ บริ การจากบริ ษัทผู้รับเหมาในท้ องถิ#น มหกรรมสินค้ าไทยโบราณ “วันวานยังหวานอยู”่ ตลาดนากก การจัดกิจกรรม ตลาดนัดชุมชน การจัดงานแสดงมหกรรมสินค้ าธงฟ้ า ตลาดนัดต้ นไม้ อาหารพื =นบ้ าน และหัตถกรรมพื =นบ้ าน โครงการบริจาคโลหิต ปั จจุบนั ประมาณโลหิตสํารองที#สภากาชาดไทยได้ รับบริ จาคมีไม่เพียงพอต่อความต้ องการของผู้ป่วย บริ ษัทฯ ได้ ตระหนัก และมีความต้ องการจะเป็ นส่วนหนึง# ที#ช่วยส่งเสริ มกิจกรรมเพื#อสังคม จึงได้ จดั ทําโครงการบริ จาคโลหิตขึ =น เพื#อรับบริ จาคโลหิตจากพนักงานที#มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงให้ กบั สภากาชาดไทยทุกปี ปี ละ 4 ครัง= เพื#อสํารองไว้ ช่วยเหลือผู้ป่วยที#มีความต้ องการโลหิตต่อไป จํานวนโลหิตที#ได้ บริ จาคระหว่างปี 2555 – 2558 มีดงั นี = ปี 2555 2556 2557 2558

สํานักงานใหญ่ 354 438 397 398

จํานวนที#ได้ รับบริ จาค (ยูนิต) สาขา 2,454 2,637 3,627

จํานวนที#ได้ รับบริ จาค รวม 354 2,892 3,034 4,025

(มิลลิลติ ร)

123,900 1,156,800 1,365,300 1,811,250

10.5 ด้ านการบริหารจัดการ การพัฒนาองค์กรให้ เติบโตอย่างยัง# ยืนของบริ ษัทฯ ได้ รับการขับเคลื#อนโดยผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่ ายตลอดห่วงโซ่ คุณค่า ทังนี = = เพื#อรักษาความเป็ นผู้นําในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ บริ ษัทฯ จึงต้ องมีระบบการบริ หารงานที#คล่องตัวและการ ดําเนินงานที#มีประสิทธิภาพสูง ภายใต้ การบริ การอย่างมีธรรมาภิบาลโดยคณะกรรมการ และคณะผู้บริ หาร ตลอดจน พนักงานทุกระดับ

96


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

10.5.1 การขยายสาขาและเพิ มโอกาสทางธุรกิจ ธุรกิจโฮมโปร ธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเกี#ยวกับบ้ าน และบริ การที#เกี#ยวข้ องกับการก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม ปรับปรุ ง อาคาร บ้ านและที#อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร โดยมีสนิ ค้ าให้ เลือกกว่า 40,000 รายการ แผนงาน ประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย

: ขยายให้ ครบ 100 สาขา ภายในปี 2563 : ขยายให้ ครบ 5 -10 สาขา ภายในปี 2563

ความคืบหน้ า ณ สินB ปี 2558 ประเทศไทย : เปิ ดดําเนินการ 76 สาขา ครอบคลุม 46 จังหวัด โดยมีการขยาย 5 สาขาในปี 2558 ได้ แก่ สุโขทัย สมุทรสงคราม เพชรบุรี พัทลุง และชลบุรี (อมตะ) ประเทศมาเลเซีย : เปิ ดดําเนินการ 1 สาขา ที#ศนู ย์การค้ าไอโอไอ ซิตี =มอลล์ (IOI City Mall) ธุรกิจเมกาโฮม ศูนย์รวมวัสดุก่อสร้ าง ที#จําหน่ายทังปลี = กและส่ง โดยมีสินค้ าให้ เลือกสรรกว่า 80,000 รายการ ครบสําหรับบ้ านทัง= หลัง ตังแต่ = งานโครงสร้ าง งานระบบ งานตกแต่ง สินค้ าเครื# องใช้ ตา่ งๆ สําหรับบ้ าน อีกทังยั = งมีมาตรฐานและราคาที# ถูกใจทังช่ = างมืออาชีพ ผู้ประกอบการ และลูกค้ าที#เป็ นเจ้ าของบ้ าน แผนงาน ขยายสาขาให้ ครบ 15 - 20 สาขา ภายในปี 2563 ความคืบหน้ า ณ สินB ปี 2558 เปิ ดดําเนินการ 7 สาขา ครอบคลุม 7 จังหวัด โดยมีการขยาย 3 สาขาในปี 2558 ได้ แก่ กบินทร์ บรุ ี มีนบุรี และอรัญ ประเทศ 10.5.2 การคัดเลือกคู่ค้าที เหมาะสม บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญต่อคู่ค้า ดูแลเป็ นเสมือนหนึ#งพันธมิตรทางการค้ าที#เติบโตไปด้ วยกัน พร้ อมทังสนั = บสนุน และเปิ ดโอกาสให้ ธุรกิจของคู่ค้า หรื อผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมอย่างเท่าเทียม โดยยึดประโยชน์ ร่ วมกัน ซึ#งทางบริ ษัทฯ มีมาตรการในการช่วยแบ่งเบาภาระทางด้ านต้ นทุนให้ กับคู่ค้า หรื อผู้ประกอบการธุรกิจ และ มาตรการดังกล่าวสามารถช่วยผู้ประกอบการลดภาระทางด้ านต้ นทุน ได้ ในหลายส่วน อาทิ เช่น ภาคการจัดซือB : บริ ษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ ค่คู ้ ามีช่องทางในการนําเสนอสินค้ า โดยไม่กดราคา มีการคัดเลือก และ การประเมินผลคูค่ ้ าใน 4 ด้ าน คือ ด้ านความสามารถทางการผลิต ด้ านคุณภาพสินค้ า ด้ านคุณภาพการให้ บริ การ ด้ านคุณภาพ และความสามารถในการจัดส่ง อีกทังวางแผนแบบมื = ออาชีพในการสัง# ซื =อ/สัง# ผลิตสินค้ าล่วงหน้ าอย่าง น้ อย 3 เดือน เพื#อให้ คคู่ ้ าสามารถวางแผนการผลิต อันจะนํามาซึง# ประโยชน์ทางธุรกิจร่วมกัน

97


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ภาคการค้ า : ในปี 2558 บริ ษัทฯ มีจํานวนสาขาทังหมด = 76 สาขาทัว# ประเทศ จึงเป็ นการเพิ#มช่องทางการจัด จําหน่ายสินค้ าให้ กบั คูค่ ้ า หรื อผู้ประกอบการ ได้ มากขึ =นจากเดิมที#มีอยู่ และเป็ นการประหยัดค่าใช้ จ่ายให้ กบั คู่ค้า ในการจัดส่งสินค้ า และบริ การที#มีคณ ุ ภาพแก่ลกู ค้ า อีกทังยั = งมีการพัฒนาความรู้ ตวั แทนแต่ละฝ่ ายของคู่ค้า เช่น พนักงานช่วยขาย PC (Product Consultant) เป็ นต้ น ภาคการบริ การ : บริ ษัทฯ มีศนู ย์กระจายสินค้ า เพื#อสนับสนุนการกระจายสินค้ าไปยังแหล่งต่างๆ ทัว# ประเทศ ให้ กบั คู่ค้าเพื#อช่วยลดต้ นทุนด้ านการขนส่ง และการกระจายสินค้ า ทังยั = งสะดวกรวดเร็ ว และทันสมัย รวมทังยั = งมี ระบบ VRM (Vendor Relationship Management) เพื#อสนับสนุนข้ อมูลในทุกๆ ด้ านเสมอเหมือนพันธมิตรทาง การค้ าที#สามารถตรวจสอบข้ อมูลของตนเองได้ เกณฑ์ ในการคัดเลือกคู่ค้า บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญอย่างยิ#งต่อการคัดเลือกคูค่ ้ าที#เหมาะสม โดยจะต้ องมัน# ใจว่ากระบวนการคัดเลือกและการ ปฏิบตั ิต่อคู่ค้าเป็ นไปอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม บริ ษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการมีค่คู ้ าที#มีชื#อเสียงที#ดี มี จริ ยธรรม ความเป็ นมืออาชีพและคํานึงถึงสวัสดิการของพนักงานที#เป็ นไปตามมาตรฐาน โดยเรี ยนรู้ จุดแข็งของกันและกัน เพื#อนําไปสูก่ ารพัฒนาธุรกิจร่วมกันให้ มีความก้ าวหน้ ายิ#งขึ =นในการดําเนินธุรกิจ บริ ษัทฯ ยึดปฏิบตั ิตาม พ.ร.บ.การแข่งขัน ทางการค้ า ตามมติคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ าในปี พ.ศ. 2549 ที#ประกาศใช้ เกณฑ์แนวทางพิจารณาการปฏิบตั ิ ทางการค้ าระหว่างผู้ประกอบธุรกิจค้ าส่งค้ าปลีกกับผู้ผลิต/ผู้จําหน่าย ภายใต้ พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. 2542 และเพื#อให้ สามารถดําเนินธุรกิจได้ สอดคล้ องตามประกาศข้ างต้ น บริ ษัทฯ ได้ ตกลงร่ วมกันในการปรับแก้ ข้อสัญญากับ บริ ษัทคูค่ ้ าให้ มีความละเอียด และชัดเจนยิ#งขึ =น โดยบริ ษัทฯ ดูแลคูค่ ้ าเสมือนเป็ นหุ้นส่วนในการทําธุรกิจระหว่างกัน สําหรับ เกณฑ์ในการคัดเลือกมีดงั นี = 1. มีประวัติทางการเงินที#เชื#อถือได้ และมีศกั ยภาพที#จะเติบโตไปพร้ อมกับบริ ษัทฯ ได้ ในระยะยาว 2. ผลิต หรื อจําหน่ายสินค้ าทีม# ีคณ ุ ภาพตรงกับความต้ องการ และสามารถตรวจสอบคุณภาพได้ 3. ให้ การสนับสนุนด้ านการส่งเสริ มการขาย และการให้ บริ การหลังการขายแก่ลกู ค้ า โดยบริ ษัทฯ มีนโยบายที#จะปฏิบตั ิตามกฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญา โดยจะไม่จําหน่ายสินค้ าที#ละเมิดลิขสิทธิ และเครื# องหมายทางการค้ า สําหรับการคัดเลือกสินค้ ามาจําหน่าย บริ ษัทฯ จะทําการตรวจสอบก่อน และหากไม่มีการ ละเมิดผู้ใด บริ ษัทฯ จะทําการจดทะเบียนให้ ถกู ต้ อง การดําเนินการก่ อสร้ างสาขา ในปี 2558 บริ ษัทฯ มีจํานวนสาขาทังหมด = 76 สาขาทัว# ประเทศ และยังคงมีแผนที#จะขยายสาขาอย่างต่อเนื#อง สําหรับการก่อสร้ างอาคาร บริ ษัทฯ ดําเนินการอย่างโปร่งใส โดยมีรายละเอียดในการคัดเลือกคูค่ ้ าดังนี = 1. มีการว่าจ้ างผู้ออกแบบสถาปั ตยกรรม ตกแต่งภายใน และงานระบบ โดยผู้ออกแบบจะกําหนดสเปคและวัสดุ นําเสนอข้ อมูลให้ ทางบริ ษัทฯ เพื#อตัดสินใจร่วมกันก่อนที#จะบรรจุในสเปควัสดุใหม่ 2. บริ ษัทฯ คัดเลือกผู้รับเหมา โดยพิจารณาจากประวัติการทํางานที#มคี ณ ุ ภาพ โดยจัดการประมูลงาน หรื อ ต่อรอง อย่างน้ อย 2 ครัง= มีคณะกรรมการในการคัดเลือกผู้รับเหมาหรื อคัดเลือกวัสดุอปุ กรณ์ อย่างโปร่ งใส และเป็ น ธรรม และเนื#องจากบริ ษัทฯ มีการขยายสาขาอย่างต่อเนื#อง เมื#อได้ ผ้ รู ับเหมาแล้ ว อาจใช้ ราคานันสํ = าหรับสร้ าง สาขาต่อไปได้

98


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

3. ขันตอนการตรวจสอบงาน = วิศวกรผู้ควบคุมงานจะเป็ นผู้ตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการก่อสร้ างให้ เป็ นไป ตามการออกแบบ 4. เมื#อสิ =นสุดโครงการ บริ ษัทฯ จะทําการประเมินให้ คะแนนผู้รับเหมา เพื#อพิจารณาเชิญเข้ าประมูลงานครัง= ต่อไป 10.5.3 การต่ อต้ านทุจริตคอร์ รัปชั น บริ ษัทฯ ได้ มีการกําหนดแนวปฎิบตั ิเกี#ยวกับการกํากับดูแลและควบคุมดูแลเพื#อป้องกันและติดตามความเสี#ยงจาก การทุจริ ตคอร์ รัปชัน# ดังนี = 1. กํา หนดให้ ผ้ ูบริ หารและพนักงานทุกคนรับทราบเกี#ยวกับการปฎิบตั ิตามคู่มือการกํ ากับดูแลกิ จการที#ดีและ จริ ยธรรมธุรกิจที#บริ ษัทฯ กําหนดขึ =น และส่งเสริ มให้ พนักงานมีความรู้ความเข้ าใจในเรื# องดังกล่าว โดยเผยแพร่ เอกสารที#เกี#ยวข้ องผ่านทาง อินทราเน็ตเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ และประชาสัมพันธ์ตามสถานที#ตา่ งๆ ภายในบริ ษัท ฯ ทังนี = =เพื#อให้ ผ้ บู ริ หาร และพนักงานทุกคนรับทราบและถือปฏิบตั ิโดยทัว# กัน 2. จัดให้ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ทําหน้ าที#ตรวจสอบการควบคุมภายใน การบริ หารความเสี#ยง การกํากับดูแล กิจการ และให้ ข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื#อง โดยดําเนินการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําปี ที#ได้ รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบที#มีนยั สําคัญและข้ อเสนอแนะต่อ คณะกรรมการตรวจสอบทุกเดือน 3. กําหนดให้ คณะกรรมการบริ หารความเสีย# งและควบคุมภายใน รับผิดชอบในการตรวจสอบและประเมินความ เสีย# งจากการทุจริ ตคอร์ รัปชัน# อย่างต่อเนื#อง รวมถึงนําเสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริ ษัท 4. หากมีการกระทําซึง# อาจส่งผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญต่อฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ รวมถึงการฝ่ าฝื นการกระทําผิดกฎหมาย หรื อจริ ยธรรมธุรกิจของบริ ษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงาน ต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื#อหาแนวทางในการป้องกัน และบทลงโทษต่อบุคคลที#ฝ่าฝื น ตามที#คณะกรรมการ บริ ษัทเห็นสมควร โดยสามารถศึกษารายละเอียดเพิ#มเติมได้ ที#หวั ข้ อ “นโยบายและแนวปฏิบตั ิด้านการต่อต้ านทุจริ ตคอร์ รัปชัน# ” หน้ า 52

99


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี ยง 11.1 การจัดการความเสี ยง บริ ษั ท ฯ ให้ ความสํา คัญกับความเสี#ยงที#อ าจเกิ ดขึน= และส่งผลกระทบต่อผลการดํา เนิ นงาน โดยได้ จัดตัง= คณะกรรมการบริ หารความเสี#ยงเพื#อติดตาม และกําหนดแนวทางบริ หารจัดการความเสี#ยงให้ อยู่ในระดับที#ยอมรับได้ คณะกรรมการบริ หารความเสีย# งประกอบด้ วยกรรมการผู้จดั การ เป็ นประธานกรรมการ และผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การจาก 6 กลุม่ งานที#ครอบคลุมความเสีย# งหลักของบริ ษัทฯ เป็ นกรรมการโดยมีการดําเนินงานดังต่อไปนี = 1. กําหนดนโยบายบริ หารความเสี#ยงองค์กร ให้ สอดคล้ องกับทิศทางในการดําเนินธุรกิจตามมาตรฐานสากล มุง่ เน้ นการบริ หารความเสีย# งที#สาํ คัญทัง= 4 ด้ าน ได้ แก่ ความเสีย# งด้ านกลยุทธ์ ด้ านการปฏิบตั ิงาน ด้ านการเงิน และด้ านการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที#เกี#ยวข้ อง 2. พิจารณาความเสี#ยงที#สําคัญระดับองค์กร รวมถึงมีการวิเคราะห์ และประเมินความเสี#ยงเพื#อจัดทําสรุ ปความ เสีย# งระดับองค์กร (Corporate Risk Profile) และกําหนดดัชนีชี =วัดความเสีย# ง (Key Risk Indicator) เพื#อใช้ เป็ น สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้ า และให้ มีการบริ หารจัดการความเสีย# งเหล่านันได้ = อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ติดตามและทบทวนความเสี#ยงเหล่านันทุ = กไตรมาสเพื#อให้ สอดคล้ องและทันกับสภาพแวดล้ อมในการดําเนิน ธุรกิจที#เปลีย# นแปลงไป กํากับดูแลให้ มีการบริ หารจัดการความเสีย# งให้ อยูใ่ นระดับที#ยอมรับได้ 4. รายงานผลการพิจารณาความเสีย# งให้ กบั คณะกรรมการบริ ษัทรับทราบทุกไตรมาส

11.2 การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง= ที# 1/2559 เมื#อวันที# 26 มกราคม 2559 คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีการพิจารณา ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ร่ วมกับคณะกรรมการตรวจสอบ และผู้บริ หาร ทัง= 5 ด้ าน เห็นว่าระบบการ ควบคุมภายในของบริ ษัทฯ มีความเพียงพอเหมาะสม โดยสรุปสาระสําคัญได้ ดงั นี = 11.2.1 สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Control Environment) บริ ษัทฯ มีการกําหนดโครงสร้ างองค์กรที#ชดั เจน และได้ กําหนดขอบเขตอํานาจความรับผิดชอบแต่ละฝ่ ายไว้ เป็ น ลายลักษณ์อกั ษร มีการกําหนดเป้าหมายการดําเนินธุรกิจที#ชดั เจน วัดผลได้ ซึง# ในการกําหนดเป้าหมาย และแผนงาน ฝ่ าย จัดการและผู้บริ หารแต่ละสายงานได้ ร่วมกันพิจารณาและกําหนดเป้าหมายธุรกิจ พร้ อมกลยุทธ์ในการดําเนินการโดยใช้ ผล การดํ า เนิ น งานในปี ที# ผ่า นมา ปั จ จัย ทัง= ภายในและภายนอกที# ส่งผลต่อการดํ า เนิ น ธุร กิ จ มาเป็ นข้ อ มูล จึ ง มั#นใจว่า มี สภาพแวดล้ อมการควบคุมมีความเหมาะสม และจะดําเนินงานได้ ตามเป้าหมายที#กําหนด บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ค วามสํา คัญ ในพัฒ นาศัก ยภาพของพนัก งานโดยมี แ ผนการฝึ กอบรม พัฒ นาทัก ษะ ความรู้ ความสามารถของพนักงานทุกระดับอย่างชัดเจนทุกปี เพื#อให้ พนักงานมีศกั ยภาพในการปฏิบตั ิงานได้ ตามแผนงานที# กํ า หนด รวมถึ งมี ระบบการประเมิ นผลการปฏิบัติง าน เพื#อ ปรั บตํ า แหน่งให้ สูง ขึน= มอบสวัส ดิก ารและโครงการที#เ ป็ น ประโยชน์ เพื#อรักษาพนักงานให้ ทํางานอยู่กับบริ ษัทฯ ในระยะยาวสําหรับนโยบาย ระเบียบปฏิบตั ิงาน และข้ อกําหนด เกี#ยวกับจริ ยธรรม (Code of Conduct) บริ ษัทฯ ได้ มีการกําหนดไว้ ในคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจ ซึ#งมีการพิจารณาปรับเปลี#ยน เป็ นระยะให้ เหมาะสมกับสภาวะที#เปลีย# นแปลงไป เพื#อเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิงานของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุก

100


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ฝ่ าย โดยคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจนี = บริ ษัทฯ สื#อสารให้ พนักงานทุกระดับได้ รับทราบโดยเผยแพร่ ผ่านระบบ Intranet สําหรับ พนักงานใหม่ได้ สื#อสารให้ รับทราบในการปฐมนิเทศทุกครัง= ทังนี = =ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ มีการทบทวนคู่มือจริ ยธรรมธุรกิจ เพื#อปรับปรุงให้ มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ที#เปลีย# นแปลง โดยเมื#อพิจารณาแล้ วพบว่าสาระสําคัญของนโยบายต่างๆ ยังมีความเหมาะสม และสอดคล้ องกับสภาพการดําเนินธุรกิจในปั จจุบนั 11.2.2 การประเมินความเสี ยง (Risk Assessment) คณะกรรมการบริ หารความเสีย# งได้ พิจารณา และติดตามปั จจัยความเสีย# ง หรื อเหตุการณ์ที#อาจมีผลกระทบต่อการ ดําเนินงานตามเป้าหมายทุกไตรมาส เพื#อให้ มนั# ใจว่าได้ มีการบริ หารและควบคุมตามแผนงานที#กําหนด และจะไม่สง่ ผล กระทบต่อดําเนินงานของบริ ษัทฯ รวมทังมี = การพิจารณาเพิ#มเติมถึงปั จจัยความเสี#ยงหรื อเหตุการณ์ที#อาจมีผลกระทบต่อ การดําเนินงานตามสถานการณ์ หรื อสภาพแวดล้ อมในการดําเนินธุรกิจที#เปลีย# นแปลงไป สําหรับข้ อมูลในการพิจารณา จะ ใช้ ข้อมูลทังจากภายในและภายนอกองค์ = กรเพื#อให้ การพิจารณานันถู = กต้ อง และเหมาะสม สําหรับความเสี#ยงจากการทุจริ ต คณะกรรมการบริ หารความเสี#ยงจะมีการพิจารณาจากข้ อมูลของหน่วยงาน ป้องกันการสูญเสีย (Loss Prevention) สํานักตรวจสอบภายในและส่วนงานต่างๆ ที#เกี#ยวข้ องกับกิจกรรมที#มีความนันๆ = เป็ นประจํา รวมถึงข้ อมูลจากภายนอกที#เกี#ยวข้ อง เพื#อประเมินโอกาสที#จะเกิดเหตุการณ์ทจุ ริ ต 11.2.3 กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) บริ ษัทฯ มีการจัดทํานโยบาย ระเบียบการปฏิบตั ิงาน กําหนดขอบเขต อํานาจหน้ าที# วงเงินอํานาจอนุมตั ิของฝ่ าย บริ หารในแต่ละระดับ และแยกหน้ าที#ความรับผิดชอบด้ านการอนุมตั ิด้านการบันทึกรายการบัญชีและข้ อมูลสารสนเทศ ด้ า นการดูแ ลจัดเก็ บ ทรั พย์ สิน ของแต่ละกิ จ กรรมการดํ า เนิน งานไว้ อ ย่า งชัดเจนเป็ นลายลัก ษณ์ อัก ษร เพื#อ ให้ มีก าร ตรวจสอบและควบคุมการปฏิบัติ งานอย่า งเพี ยงพอ และรั ดกุม ซึ#งกิ จกรรมการควบคุมที#กํ า หนดไว้ ข้า งต้ น จะมีการ ปรับเปลีย# นให้ เหมาะสมสอดคล้ องกับสภาวะการทํางานที#มีการเปลีย# นแปลง การควบคุมความเสี#ยงด้ านการทุจริ ตที#อาจเกิดขึ =น นอกจากกิจกรรมควบคุมที#กําหนดไว้ ข้างต้ น บริ ษัทฯ ยัง กําหนดให้ หน่วยงานป้องกันการสูญเสีย สํานักตรวจสอบภายใน และพนักงานทุกระดับสอดส่องดูแล และแจ้ งข้ อมูลให้ บริ ษัทฯ ทราบผ่านช่องทางที#กําหนดไว้ ตามคูม่ ือจริ ยธรรมธุรกิจการควบคุมด้ านสารสนเทศ บริ ษัทฯ ได้ กําหนดนโยบายการ เข้ าถึงข้ อมูล (Access Control) ไว้ ชดั เจนเพื#อป้องกันการเข้ าถึงข้ อมูลจากบุคคลที#ไม่เกี#ยวข้ อง ในด้ านความต่อเนื#องของ การใช้ ระบบสารสนเทศในการดําเนินธุรกิจ บริ ษัทฯ มีการสํารองข้ อมูลที#สําคัญในการดําเนินงานไว้ ที#ศนู ย์สํารองข้ อมูล และมีแผนการกู้ระบบสารสนเทศ (Disaster Recovery Plan : DRP) เมื#อเกิดเหตุการณ์ฉกุ เฉินซึ#งจะมีการฝึ กซ้ อมเป็ น ประจําทุกปี เพื#อควบคุมความเสีย# งด้ านสารสนเทศให้ อยูใ่ นระดับที#ยอมรับได้ 11.2.4 ระบบสารสนเทศ และการสื อสารข้ อมูล (Information and Communication) บริ ษัทฯ ได้ กําหนดนโยบายและช่องทางการสื#อสารข้ อมูลภายในองค์กร เพื#อให้ สามารถควบคุมการปฏิบตั ิงานไว้ อย่างเพียงพอ และมีประสิทธิภาพดังนี =

101


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- คณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการตรวจสอบ สามารถเข้ าถึงแหล่งสารสนเทศที#จําเป็ นต่อการปฏิบตั ิ - งานสอบทานรายงานตามที#ต้องการผ่านเลขานุการของคณะกรรมการชุดนัน= ๆ รวมทังการติ = ดต่อสอบถาม ข้ อมูลจากผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายในอย่างอิสระ - กําหนดให้ มีการรายงานวาระการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริ ษัททุกเดือน เพื#อ รับทราบปั ญหาเกี#ยวกับการปฏิบตั ิงาน ระบบการควบคุมภายในในกิจกรรมที#มีการตรวจสอบ - คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาสอบทานงบการเงิ นของบริ ษั ทฯ ประจํา รายไตรมาส และงบการเงิ น ประจําปี ร่วมกับฝ่ ายบริ หาร และผู้สอบบัญชี - คณะกรรมการตรวจสอบจัดให้ มีวาระการประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีผ้ บู ริ หารเข้ าร่วมทุกไตรมาส - นอกจากนี = บริ ษั ท ฯ จัด ให้ มี ช่ อ งทางสํ า หรั บ รั บ แจ้ งเบาะแสการกระทํ า ผิ ด ของพนัก งาน ผู้บ ริ ห าร และ คณะกรรมการบริ ษัทและจัดให้ มีนโยบายการแจ้ งเบาะแสการกระทําผิด (Whistle Blowing Policy) ซึ#งเป็ น มาตรการในการคุ้มครองพนักงานที#ร้องเรี ยน หรื อให้ ข้อมูลเกี#ยวกับการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้ อบังคับ และจรรยาบรรณของบริ ษัทฯ การสือ# สารข้ อมูลภายนอกบริ ษัท บริ ษัทฯ กําหนดให้ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ รับผิดชอบในการสื#อสารและให้ ข้ อมูลกับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ นักลงทุน และหน่วยงานภายนอกอื#นๆ ที#เกี#ยวข้ อง โดยข้ อมูลหรื อข้ อคิดเห็นจากภายนอกที# มีต่อบริ ษัทฯ จะถูกนํามาสื#อสารภายในบริ ษัทฯ เพื#อให้ เกิดประโยชน์ในการปรับปรุ งและพัฒนาการทํางานในด้ านต่างๆ ต่อไป การจัดส่งหนังสือเชิญประชุม และวาระการประชุมของคณะกรรมการ บริ ษัทฯ ได้ จดั ทําและส่งหนังสือเชิญประชุม พร้ อมกับให้ ข้อมูลและรายละเอียดในแต่ละวาระการประชุมต่อคณะกรรมการบริ ษัท และกรรมการชุดย่อย เพื#อพิจารณา ก่อนการประชุมล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 5 วัน และมีการบันทึกรายงานการประชุม ซึง# มีรายละเอียดที#ทําให้ สามารถตรวจสอบ ความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้ าที#ของกรรมการได้ ข้ อมูลการจัดทํา บัญชี คณะกรรมการบริ ษั ทได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบ ทํา หน้ าที#สอบทานและ พิจารณาความเหมาะสมของนโยบายบัญชี การบันทึกรายการบัญชีและการประมาณการทางบัญชี เพื#อให้ งบการเงินของ บริ ษัทฯ มีความถูกต้ อง และเป็ นไปตามหลักการบัญชี ที#รับรองทั#วไป ทัง= นี =ได้ มีการจัดเก็ บเอกสารประกอบการบันทึก รายการต่างๆ โดยได้ ว่าจ้ างบริ ษัท รี คอล เอ็นเตอร์ ไพร์ ส (ประเทศไทย) จํากัด ซึ#งมีความชํานาญ และมีระบบในการดูแล เอกสารที#เหมาะสมเป็ นผู้ดแู ล 11.2.5 ระบบการติดตาม (Monitoring) บริ ษัทฯ มีการติดตามและประเมินผลการดํา เนินงานในแต่ละกิจกรรมเป็ นประจํา เพื#อให้ มนั# ใจได้ ว่าระบบการ ควบคุม ภายในหรื อ กิ จ กรรมการควบคุม ที# กํา หนดไว้ ยัง มี ก ารปฏิ บัติ ต ามที# กํ า หนด และสอดคล้ องกับ สถานการณ์ ที# เปลีย# นแปลงที#เกิดขึ =นอยูเ่ สมอ ดังนี = - กําหนดให้ มีวาระการประชุมเพื#อรับทราบผลการดําเนินงานปั ญหาที#เกิดขึ =น และที#อาจเกิดขึ =นในอนาคต ในการ ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ทุก ครั ง= เพื# อ ให้ ท ราบความคื บ หน้ า กํ า หนดแนวทางแก้ ไขปั ญ หา หรื อ ให้ ข้ อเสนอแนะในการปฏิบตั ิงาน

102


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

- คณะกรรมการบริ ษัทมีการพิจารณาทบทวนทิศทางและเป้าหมายในการดํา เนินงาน เพื#อให้ สอดคล้ องกับ สถานการณ์ และสภาวะในการดําเนินธุรกิจทุกๆ 6 เดือน - คณะกรรมการบริ หารมี การประชุม เพื#อพิ จารณาผลการดํา เนินงาน ทํ า ให้ ท ราบปั ญหาที# อาจเกิ ดขึน= และ สามารถกําหนดแนวทางแก้ ไขได้ ทนั ท่วงที - คณะกรรมการบริ หารความเสีย# งมีการพิจารณา และทบทวนปั จจัยความเสีย# ง ระดับ และโอกาสที#จะเกิดความ เสีย# งในการประชุมทุกไตรมาส - บริ ษัทฯ จัดให้ มีการตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายในที#วางไว้ อย่างสมํ#าเสมอ โดยใช้ นโยบาย การควบคุม 2 ระดับ คือ (1) ควบคุมกันเองระหว่างหน่วยงานที#เกี#ยวข้ องกัน ตามหลักการควบคุมภายในที#ดี และ (2) จัดให้ มีการตรวจสอบและประเมินผลการควบคุมภายในโดยสํานักตรวจสอบภายใน ซึ#งบริ ษัทฯ ได้ กําหนดให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในต้ องรายงานผลการตรวจสอบตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทังนี = =เพื#อให้ ผ้ ตู รวจ สอบภายในสามารถปฏิบตั ิงานได้ อย่างอิสระและเสนอรายงานผลการตรวจสอบได้ อย่างตรงไปตรงมา นอกจากนี = นาง สุมนา พันธ์ พงษ์ สานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 5872 จาก บริ ษัท สํานักงาน อีวาย จํ า กัด ผู้ตรวจสอบงบการเงิ นของบริ ษั ทฯ สํา หรั บ ปี สิน= สุด 31 ธันวาคม 2558 ได้ ใ ห้ ความเห็ นเกี# ยวกับการประเมิ น ประสิทธิภาพการควบคุมภายในด้ านบัญชีวา่ ไม่พบข้ อบกพร่องที#เป็ นสาระสําคัญ

11.3 หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครัง= ที# 1/2557 วันที# 9 มกราคม 2557 ได้ แต่งตัง= นายอายุรทัศน์ ไชยอนันต์ ผู้จดั การทัว# ไป – สํานักตรวจสอบภายใน ให้ ดํารงตําแหน่งหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน เนื#องจากมีประสบการณ์ในการ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ เป็ นเวลา 12 ปี และงานตรวจสอบในธุรกิจที#มีลกั ษณะเดียวกับบริ ษัทฯ รวมทังสิ = =น เป็ นระยะเวลา 15 ปี สอบผ่านหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ตรวจสอบภายในของประเทศไทย (CPIAT) และเคยเข้ ารับการ อบรมในหลักสูตรที#เกี#ยวข้ องกับการปฏิบตั ิงานด้ านตรวจสอบภายใน ได้ แก่ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบ ภายในด้ านคอมพิวเตอร์ การบริ หารความเสีย# ง เป็ นต้ น อีกทังมี = ความเข้ าใจในการดําเนินงานของบริ ษัทฯ จึงเห็นว่ามีความ เหมาะสมที#จะปฏิบตั ิหน้ าที#ดงั กล่าวได้ อย่างเหมาะสมเพียงพอ ทังนี = = การพิจารณา และอนุมตั ิ แต่งตัง= ถอดถอน โยกย้ ายผู้ ดํารงตําแหน่งหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ จะต้ องผ่านการอนุมตั ิจากคณะกรรมการตรวจสอบ ทังนี = = สามารถอ่านประวัติหวั หน้ างานตรวจสอบภายในได้ ที#เอกสารแนบ 3

103


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

12. รายการระหว่ างกัน ปี 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีรายการธุรกิจที#สําคัญกับบริ ษัทที#เกี#ยวข้ องกัน (เกี#ยวข้ องโดยการถือหุ้นหรื อ มีผ้ ู ถือหุ้นและ/หรื อมีกรรมการร่วมกัน) โดยรายการดังกล่าวเป็ นไปตามเงื#อนไขทางการค้ า และเกณฑ์ตามที#ตกลงระหว่างกัน นอกจากนี = บริ ษัทฯ ไม่มีรายการในลักษณะที#เป็ นการให้ ความช่วยเหลือทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็ นการให้ ก้ ูยืมเงิน การคํ =า ประกันสินเชื#อแก่บริ ษัทที#ไม่ใช่บริ ษัทย่อย ณ วันที# 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริ ษัทฯ มียอดคงค้ างกับกิจการที#เกี#ยวข้ องกันซึง# สรุปได้ ดงั นี = ชื อบริษัท / ลักษณะความสัมพันธ์ 1. บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ - เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยถือหุ้นร้ อยละ 30.23 ของทุนชําระแล้ ว ณ 10 ก.ย. 58 - มีกรรมการร่ วม 2 ท่าน คือ 1. นาย อนันต์ อัศวโภคิน 2. นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 2. บมจ.ควอลิตี B เฮ้ าส์ - เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยถือหุ้นร้ อยละ 19.87 ของทุนชําระแล้ ว ณ 10 ก.ย. 58 - มีกรรมการร่ วม 4 ท่าน คือ 1. นาย บุญสม เลิศหิรัญวงศ์ 2. นาย ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ์ 3. นาย อนันต์ อัศวโภคิน 4. นาง สุวรรณา พุทธประสาท 3. บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ - มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกัน ได้ แก่ 1. บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2. บมจ. ควอลิตี = เฮ้ าส์ - มีกรรมการร่ วมกัน 5 ท่าน ได้ แก่ 1. นาย อนันต์ อัศวโภคิน 2. นาย นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 3. นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 4. นาย รัตน์ พานิชพันธ์ 5. นาง สุวรรณา พุทธประสาท

รายการ

จํานวน (พันบาท) 31 ธ.ค. 58

31 ธ.ค. 57

ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู้บริหาร

ขายสินค้ า ลูกหนี =การค้ า

55,074 11,317

51,581 มู ล ค่ า ดัง กล่ า วเกิ ด จากราคา 7,195 ขายที#เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดี ย วกับ ราคาตลาดที# บ ริ ษั ท ฯ ขายให้ กบั ลูกค้ ารายอื#น

ขายสินค้ า ลูกหนี =การค้ า

483 20

373 มู ล ค่ า ดัง กล่ า วเกิ ด จากราคา 30 ขายที#เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดี ย วกับ ราคาตลาดที# บ ริ ษั ท ฯ ขายให้ กบั ลูกค้ ารายอื#น

ดอกเบี =ยรับ เงินฝากสถาบันการเงิน ค่าเช่าและค่าบริ การรับ

21,151 4,702 บริ ษัทฯ ได้ รับดอกเบี =ยในอัตรา 1,943,121 1,955,128 เดี ย วกัน กับ ลู ก ค้ า รายอื# น ของ 14,941 11,956 ธ น า ค า ร ฯ โ ด ย เ ป็ น อั ต ร า ดอกเบี =ยตามปกติของธนาคาร หรื อสถาบันการเงินอื#น ค่า เช่ า และค่าบริ ก ารจากการ ให้ เช่าพื =นที# บริ ษัทฯ เรี ยกเก็บใน อัตราปกติเช่นเดียวกับผู้เช่าราย อื#น

104


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ชื อบริษัท / ลักษณะความสัมพันธ์ 4. กองทุนรวมสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี B เฮ้ าส์ มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกัน ได้ แก่ 1. บมจ. ควอลิตี = เฮ้ าส์ 2. บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

รายการ

ลูกหนี =อื#น ค่าเช่าและค่าบริ การจ่าย เจ้ าหนี =อื#น เงินประกันการเช่า

จํานวน (พันบาท) 31 ธ.ค. 58

31 ธ.ค. 57

646 21,370 1,632 3,000

3,215 22,488 1,580 3,000

ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู้บริหาร

มูลค่าดังกล่าวเกิดจากรายการ ค่ า เช่ า และค่ า บริ ก ารพื น= ที# ใ น อาคารเวฟเพลส โดยค่าใช้ จ่าย ดัง กล่ า วคํ า นวณจากอั ต ราที# สมเหตุสมผล

ความจําเป็ น และความสมเหตุสมผลของรายการ

การทํารายการระหว่างกันเป็ นความจําเป็ น และมีความสมเหตุสมผลของการทํารายการเพื#อก่อให้ เกิดประโยชน์ สูงสุดของบริ ษัทฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็นว่าเป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว# ไป ซึง# บริ ษัทฯ ได้ รับและจ่าย ค่าตอบแทนในราคายุติธรรม มาตรการ / ขันB ตอนการอนุมัตกิ ารทํารายการระหว่ างกัน

สําหรับรายการระหว่างกันที#เกิดขึ =นในปั จจุบนั และคาดว่าจะเกิดขึ =นในอนาคต ได้ แก่ การขายสินค้ าให้ กบั บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์ และบมจ. ควอลิตี =เฮ้ าส์ การเช่าพื =นที#ในอาคารเวฟเพลสของกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ ควอลิตี = เฮ้ าส์ การให้ เช่าพื =นที# และการทําธุรกรรม ด้ านเงินฝากกับ บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ สําหรับรายการขาย สินค้ า บริ ษัทฯ ได้ กําหนดราคาตามราคาตลาด ซึง# เป็ นราคาที#ผ้ ซู ื =อสามารถซื =อได้ จากผู้ผลิตหรื อผู้จําหน่ายรายอื#น โดยทัว# ไป จะทําการกําหนดคุณสมบัติ และราคาสินค้ าก่อนล่วงหน้ า เช่นเดียวกับรายการซื =อสินค้ า บริ ษัทฯ สัง# ซื =อสินค้ าตามราคา ตลาด ซึง# สามารถสัง# ซื =อได้ จากผู้ผลิต หรื อผู้จําหน่ายรายอื#น โดยรายการระหว่างกันนี =คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณา และให้ ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นไปตามลักษณะของการประกอบธุรกิจโดยทัว# ไป ซึ#งบริ ษัทฯ ได้ รับ และจ่าย ค่าตอบแทนในราคายุติธรรม นโยบายหรือแนวโน้ มการทํารายการระหว่ างกัน

บริ ษัทฯ มีนโยบายที#จะกําหนดเงื#อนไขทางการค้ าสําหรับการเข้ าทํารายการระหว่างกันให้ เป็ นไปตามลักษณะการ ดําเนินธุรกิจตามปกติ ราคาสินค้ าที#ขายจะกําหนดให้ อยูใ่ นระดับที#สามารถแข่งขันกับผู้ขายรายอื#นได้ รายการระหว่างกันที# อาจเกิดขึ =นในอนาคตนัน= คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คําสัง# หรื อข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนด เกี#ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทํารายการเกี#ยวโยงและการได้ มาหรื อจําหน่ายทรัพย์สนิ ที#สาํ คัญของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย ทังนี = = หากมีรายการระหว่างกันของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยเกิดขึ =นกับบุคคล หรื อผู้มีสว่ นได้ เสียที#อาจมีความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริ ษัทฯ จะเสนอให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี#ยวกับความจําเป็ นและความเหมาะสมของรายการนัน= ในกรณีที#คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญใน การพิจารณารายการระหว่างกันที#อาจเกิดขึ =น บริ ษัทฯ จะให้ ผ้ ูเชี#ยวชาญอิสระหรื อผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ เป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี#ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื#อนําไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริ ษัท หรื อผู้ถือหุ้น ตามแต่กรณี ทังนี = =บริ ษัทฯ จะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที#ได้ รับการตรวจสอบจากผู้สอบ บัญชีของบริ ษัทฯ

105


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ส่ วนที 3 ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

106


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

13. ข้ อมูลทางการเงินที สาํ คัญ 13.1 สรุ ปข้ อมูลตามงบการเงินรวม 13.1.1 งบแสดงฐานะการเงินรวม (หน่ วย : พันบาท)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี 4การค้ าและลูกหนี 4อื8น สินค้ าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื8น รวมสินทรั พย์ หมุนเวียน อสังหาริ มทรัพย์เพื8อการลงทุน ที8ดิน อาคารและอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื8น รวมสินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรั พย์ เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั 4 นการเงิน เจ้ าหนี 4การค้ าและเจ้ าหนี 4อื8น เงินกู้ยืมระยะยาวที8ถึงกําหนดชําระภายในหนึ8งปี หุ้นกู้ที8ถึงกําหนดชําระภายในหนึ8งปี หนี 4สินหมุนเวียนอื8น รวมหนีส; ินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ หนี 4สินไม่หมุนเวียนอื8น รวมหนีส; ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส; ิน ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กําไรสะสม องค์ประกอบอื8นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น

31 ธ.ค. 58 2,698,063 1,704,101 8,364,758 600,292 13,367,214 3,218,238 27,655,132 352,133 2,157,905 240,414 33,623,821

% 5.7 3.6 17.8 1.3 28.4 6.8 58.9 0.7 4.6 0.6 71.6

46,991,035 12,733,313 700,000 4,000,000 2,001,036 19,434,349 1,100,000 8,550,000 964,058 10,614,058

100.0 27.2 1.5 8.5 4.2 41.4 2.3 18.2 2.2 22.6

30,088,406 13,151,198 646,323 3,174,084 (68,976) 16,902,629

ณ วันที 31 ธ.ค. 57 2,434,763 1,620,157 8,030,816 704,975 12,790,711 2,764,572 26,351,909 246,256 1,967,320 192,051 31,522,108

% 5.5 3.7 18.1 1.6 28.9 6.2 59.5 0.6 4.4 0.4 71.1

31 ธ.ค. 56 807,459 1,410,783 6,505,639 496,942 9,220,823 1,552,260 23,234,994 241,572 1,532,400 159,634 26,720,860

% 2.2 3.9 18.1 1.4 25.7 4.3 64.6 0.7 4.3 0.4 74.3

44,312,819 12,075,365 700,000 2,300,000 1,701,197 16,776,562 1,800,000 9,050,000 984,623 11,834,623

100.0 27.3 1.6 5.2 3.8 37.9 4.1 20.4 2.2 26.7

35,941,683 1,360,000 11,056,715 500,000 1,414,581 14,331,296 1,600,000 6,300,000 994,003 8,894,003

100.0 3.8 30.8 1.4 3.9 39.9 4.5 17.5 2.8 24.7

64.0 28.0 1.4 6.7 (0.1)

28,611,185 12,329,315 646,323 2,749,871 (23,876)

64.6 27.8 1.5 6.2 (0.1)

23,225,299 9,589,551 646,323 2,481,015 (505)

64.6 26.7 1.8 6.9 0.0

36.0

15,701,633

35.4

12,716,384

35.4

107


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

13.1.2 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่ วย : พันบาท)

สําหรั บปี สิน; สุดวันที 31 ธ.ค. 57 %

31 ธ.ค. 58

%

52,512,720 3,730,454 56,243,174 38,999,730 12,259,912 543,681 23,047 51,826,371 4,416,803 917,995

93.4 6.6 100.0 69.3 21.8 1.0 0.0 92.1 7.9 1.6

47,964,749 3,243,841 51,208,590 35,472,882 11,058,323 466,016 60,388 47,057,609 4,150,981 837,647

93.7 6.3 100.0 69.3 21.6 0.9 0.1 91.9 8.1 1.6

40,006,636 2,718,592 42,725,228 29,346,060 9,196,036 276,621 49,281 38,867,998 3,857,230 788,748

93.6 6.4 100.0 68.7 21.5 0.6 0.1 91.0 9.0 1.8

กําไรสําหรั บปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื8นสําหรับปี

3,498,808 78,705

6.2 0.1

3,313,334 (23,377)

6.5 (0.0)

3,068,482 (348)

7.2 (0.0)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรั บปี การแบ่ งปั นกําไร : ส่วนที8เป็ นของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ส่วนที8เป็ นของผู้มีสว่ นได้ เสียที8ไม่มีอํานาจควบคุม ของบริ ษัทย่อย กําไรต่อหุ้นขั 4นพื 4นฐาน (บาท/หุ้น) กําไรต่อหุ้นปรับลด (บาท/หุ้น)

3,420,103

6.1

3,289,957

6.4

3,068,134

7.2

3,498,810

6.2

3,313,328

6.5

3,068,478

7.2

(2) 0.27 0.27

(0.0)

6 0.25 0.25

0.0

4 0.23 0.23

0.0

รายได้ จากการขาย รายได้ อื8น รวมรายได้ ต้ นทุนขาย ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริ หาร ค่าใช้ จา่ ยทางการเงิน ค่าใช้ จา่ ยอื8น รวมค่ าใช้ จ่าย กําไรก่อนค่าใช้ จา่ ยภาษี เงินได้ ภาษี เงินได้

31 ธ.ค. 56

%

13.1.3 งบกระแสเงินสด (หน่ วย : พันบาท)

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ8มขึ 4น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดปลายปี

31 ธ.ค. 58 6,892,810 (4,885,841) (1,717,744) (25,924) 263,299 2,434,763

สําหรั บปี สิน; สุดวันที 31 ธ.ค. 57 4,912,802 (7,060,909) 3,784,374 (8,963) 1,627,304 807,459

31 ธ.ค. 56 5,193,441 (9,661,515) 3,985,262 (348) (483,159) 1,290,618

2,698,062

2,434,763

807,459

108


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

13.2 อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง1 (เท่า) 2 อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 3 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) 4 อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี 4การค้ า (เท่า) 5 ระยะเวลาเก็บหนี 4เฉลี8ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ6 (เท่า) 7 ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี8ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี 84 (เท่า) 9 ระยะเวลาชําระหนี 4 (วัน) 10 Cash cycle (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability ratio) อัตรากําไรขันต้ 4 น11 (%) 12 อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) 13 อัตรารายได้ อื8นต่อรายได้ รวม (%) 14 อัตรากําไรสุทธิตอ่ รายได้ รวม (%) 15 อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์16 (%) 17 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) 18 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี 4สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น19 (เท่า) 20 อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี 4ย - Cash basis (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน - Cash basis21 (เท่า) 22 อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%)

ปี 2558

ปี 2557

ปี 2556

0.69 0.15 0.38 184.50 2 4.76 77 3.80 96 (17)

0.76 0.16 0.32 161.26 2 4.88 75 3.88 94 (17)

0.64 0.08 0.40 124.04 3 4.95 74 3.83 95 (18)

25.73 9.45 6.63 6.22 21.46

26.04 9.63 6.33 6.47 23.32

26.65 10.33 6.36 7.18 27.10

7.66 19.22 1.23

8.26 19.27 1.28

9.93 21.37 1.38

1.78 15.75 0.68 93.26

1.82 15.11 0.53 95.91

1.83 28.29 0.43 97.62

หมายเหตุ 1

อัตราส่วนสภาพคล่อง = สินทรัพย์หมุนเวียนรวม / หนี 4สินหมุนเวียนรวม อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว = (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด + ลูกหนี 4การค้ า) / หนี 4สินหมุนเวียนรวม 3 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด = เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน / หนี 4สินหมุนเวียนถัวเฉลี8ย 4 อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี 4การค้ า = รายได้ จากการขาย / ลูกหนี 4การค้ าถัวเฉลี8ย 5 ระยะเวลาเก็บหนี 4เฉลี8ย = 365 / อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี 4การค้ า 6 อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ = ต้ นทุนขาย / สินค้ าคงเหลือถัวเฉลี8ย 7 ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี8ย = 365 / อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ 8 อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี 4 = ต้ นทุนขาย / เจ้ าหนี 4การค้ าถัวเฉลี8ย 9 ระยะเวลาชําระหนี 4 = 365 / อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี 4 10 Cash Cycle = ระยะเวลาเก็บหนี 4เฉลี8ย + ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลี8ย – ระยะเวลาชําระหนี 4 11 อัตรากําไรขันต้ 4 น = กําไรขันต้ 4 น / รายได้ จากการขาย 2

109


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) 12

อัตรากําไรจากการดําเนินงาน = กําไรก่อนต้ นทุนทางการเงินและภาษี เงินได้ / รายได้ จากการขาย อัตรารายได้ อื8นต่อรายได้ รวม = รายได้ อื8น / รายได้ รวม 14 อัตรากําไรสุทธิ = กําไรสุทธิ / รายได้ รวม 15 อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น = กําไรสุทธิ / ส่วนของผู้ถือหุ้นถัวเฉลี8ย 16 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ = กําไรสุทธิ / สินทรัพย์ถาวรรวมถัวเฉลี8ย 17 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร = (กําไรสุทธิ + ค่าเสื8อมราคา) / สินทรัพย์ถาวรสุทธิถวั เฉลี8ย 18 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ = รายได้ รวม / สินทรัพย์รวมถัวเฉลีย8 19 อัตราส่วนหนี 4สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = หนี 4สินรวม / ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 20 อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี 4ย - Cash basis = เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน / ดอกเบี 4ยจ่าย 21 อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน - Cash basis = เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน / (การจ่ายชําระหนี 4สิน + รายจ่ายลงทุน + การจ่ายปั นผล) 22 อัตราการจ่ายเงินปั นผล = การจ่ายปั นผล / กําไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการ 13

110


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

14. การวิเคราะห์ และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ 14.1 ภาพรวมของผลการดําเนินงานที ผ่านมา ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2558 ยังถูกกดดันจากปั จจัยทางเศรษฐกิจหลายด้ าน โดยเฉพาะปั จจัยหลักจากราคา สินค้ าเกษตรที8ปรับตัวลดลง ส่งผลให้ กําลังซื 4อในต่างจังหวัดลดลง ในขณะที8ผ้ บู ริ โภคในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล ซึ8งได้ รับ ผลกระทบที8น้อยกว่า ยังคงมีกําลังซื 4อที8ดีอยู่ ในช่วงครึ8งปี แรก รัฐบาลพยายามออกมาตรการต่างๆ เพื8อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ทังเรื 4 8 องของการดูแลราคาสินค้ าเกษตร การออกมาตรการกระตุ้นการจับจ่ายใช้ สอย เช่น การลดหย่อนภาษี จากการท่องเที8ยว ในประเทศ อย่างไรก็ตาม การฟื น4 ตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจยังได้ ผลน้ อยกว่าที8คาดไว้ ในช่วงครึ8 งปี หลังมีการออก มาตรการใหม่ๆ เพิ8มเติมขึ 4น โดยเฉพาะในไตรมาส 4 ดัชนีความเชื8อมัน8 ของผู้บริ โภคมีทิศทางปรับตัวดีขึ 4นจากมาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจเพิ8มเติมของภาครัฐ อาทิ มาตรการส่งเสริ มสินเชื8อที8อยู่อาศัย และการลดค่าธรรมเนียมการโอนอสังหาริ มทรัพย์ โดยเฉพาะมาตรการ “ช้ อปช่วยชาติ” ที8ช่วยกระตุ้นการใช้ จ่ายของผู้บริ โภค ซึ8งธุรกิจของบริ ษัทฯ ก็ได้ รับประโยชน์จาก มาตรการดังกล่าว ภายใต้ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจที8เติบโตในอัตราตํ8า บริ ษัทฯ ยังคงเดินหน้ าขยายสาขาตามกลยุทธ์ ที8วางไว้ โดยได้ เปิ ดสาขาของโฮมโปรเพิ8ม 5 สาขา ได้ แก่ สุโขทัย สมุทรสงคราม เพชรบุรี พัทลุง และชลบุรี (อมตะ) เปิ ดสาขาเมกา โฮม เพิ8ม 3 สาขา ได้ แก่ กบินทร์ บรุ ี มีนบุรีและอรัญประเทศ ทําให้ ณ สิ 4นปี บริ ษัทฯ มีสาขาโฮมโปร ทังสิ 4 4น 76 แห่ง เมกา โฮม 7 สาขา และโฮมโปร ที8ประเทศมาเลเซีย 1 สาขาซึง8 ยังคงเป็ นไปตามเป้าหมายที8ได้ กําหนดไว้ ที8จะเปิ ดสาขาโฮมโปรให้ ครบ 100 สาขา เมกา โฮม 15 - 20 สาขา และโฮมโปรที8ประเทศมาเลเซีย 5 - 10 สาขา ภายในปี 2563 ผลการดําเนินงานของธุรกิจโฮมโปร ส่วนใหญ่เป็ นไปตามเป้าหมาย สําหรับธุรกิจเมกา โฮม มีผลการดําเนินงานเป็ นที8นา่ พอใจ และสร้ างผลงานที8ดีกว่าแผนงานที8 วางไว้ ทางด้ านธุรกิจโฮมโปรที8ประเทศมาเลเซีย ผลการดําเนินงานยังไม่เป็ นไปตามเป้าหมาย เนื8องจากเป็ นผู้ประกอบธุรกิจ โฮมเซ็นเตอร์ แห่งแรกทําให้ บริ ษัทฯ ยังคงต้ องศึกษาตลาดสินค้ า ตลอดจนพฤติกรรมการซื 4อสินค้ าที8เกี8ยวข้ องกับบ้ านอย่าง ต่อเนื8อง เพื8อปรับรูปแบบของสินค้ าและประโยชน์ให้ ตรงกับความต้ องการของลูกค้ า และพร้ อมที8จะเป็ นสาขาต้ นแบบสําหรับ ขยายสาขาในปี ต่อๆ ไป อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ ยังคงมุง่ เน้ นการเพิ8มประสิทธิภาพด้ านการบริ หารต้ นทุน และค่าใช้ จ่ายอย่างต่อเนื8อง การเพิ8ม ประสิทธิภาพกําลังคนการจัดการสาขา การบริ หารเงินทุนหมุนเวียน การจัดสรรเงินลงทุน และการบริ หารห่วงโซ่อปุ ทาน ตลอดจนกระบวนการต่างๆ ส่งผลให้ ในปี 2558 บริ ษัทฯ ยังสามารถเติบโตทังรายได้ 4 และกําไรสุทธิ ทังนี 4 4 บริ ษัทฯ มองการ เติบโตในระยะยาว จึงยังมีแผนการขยายสาขาให้ ครอบคลุมในทุกพื 4นที8 ทังในเขตกรุ 4 งเทพฯ และหัวเมืองต่างจังหวัดที8มี ศักยภาพในการเติบโต ตลอดจนประเทศเพื8อนบ้ าน รวมถึงการปรับปรุงสาขาเดิมให้ มีความทันสมัย มีบรรยากาศที8นา่ จับจ่าย ใช้ สอย ตลอดจนการศึกษากลุ่มสินค้ าและบริ การใหม่ๆ ที8จะสร้ างความคุ้มค่าและตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าให้ ได้ มากยิ8งขึ 4น

111


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

14.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ (1) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที เริ มมีผลบังคับในปี 2558 บริ ษัทฯและบริ ษัทย่อยได้ นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2557) และฉบับ ใหม่ที8ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีซึ8งมีผลบังคับใช้ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที8เริ8 ม ในหรื อหลังวันที8 1 มกราคม 2558 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้ รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้ มีขึ 4นเพื8อให้ มีเนื 4อหา เท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้ อยคําและ คําศัพท์ การตีความและการให้ แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีกบั ผู้ใช้ มาตรฐาน การนํามาตรฐานการรายงานทาง การเงินดังกล่าวมาถือปฏิบตั ินี 4ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อย อย่างไรก็ตาม มาตรฐานรายงานทางการเงินตามที8กล่าวข้ างต้ นบางฉบับมีการเปลี8ยนแปลงหลักการสําคัญซึ8ง สามารถสรุปได้ ดงั นี 4 1. 2. 3. 4. 5.

มาตรฐานการบัญชีฉบับที8 19 (ปรับปรุง 2557) เรื8 องผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที8 10 เรื8 อง งบการเงินรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที8 11 เรื8 อง การร่วมการงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที8 12 เรื8 อง การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี8ยวกับส่วนได้ เสียในกิจการอื8น มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที8 13 เรื8 อง การวัดมูลค่ายุติธรรม

ทังนี 4 4 รายละเอียดของมาตรฐานทางการเงินข้ างต้ นได้ แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจําปี 2558 แล้ ว (2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที จะมีผลบังคับในอนาคต ในระหว่างปี ปั จจุบนั สภาวิชาชีพบัญชีได้ ประกาศใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2558) และฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางบัญชีจํานวนหลายฉบับ ซึ8งมีผลบังคับใช้ สําหรับงบ การเงินที8มีรอบระยะเวลาบัญชีที8เริ8 มในหรื อหลังวันที8 1 มกราคม 2559 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกล่าวได้ รับการปรับปรุงหรื อจัดให้ มีขึ 4นเพื8อให้ มีเนื 4อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่าง ประเทศ ฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อยเชื8อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ งและฉบับ ใหม่ รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางบัญชีดงั กล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินเมื8อนํามาถือ ปฏิบตั ิ 14.3 ผลการดําเนินงาน และความสามารถในการทํากําไร ผลการดําเนินงานในปี 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ รวม 56,243.17 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นร้ อยละ 9.83 จากปี ก่อน ซึ8งเป็ นผลมาจากการเพิ8มขึ 4นของรายได้ จากสาขาที8เปิ ดใหม่ของโฮมโปร รายได้ ของธุรกิจเมกา โฮม ทังสาขาเดิ 4 ม และ สาขาใหม่ การเพิ8มขึ 4นของพื 4นที8และอัตราค่าเช่าในกลุม่ ธุรกิจมาร์ เก็ต วิลเลจ การบริ หารกระบวนการทํางานภายใน และ กิจกรรมต่างๆ เพื8อลดการสูญเสีย (Lean Management) ส่งผลให้ ค่าใช้ จ่ายโดยรวมลดลง ทําให้ กําไรสุทธิ เพิ8มขึ 4นเป็ น 3,498.81 ล้ านบาท หรื อเพิ8มขึ 4นร้ อยละ 5.60 จากปี ก่อน

112


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

(1) รายได้ จากการขาย หน่วย : ล้ านบาท

รายการ 1. รายได้ จากการขายปลีกโฮมโปร - สินค้ าประเภท Hard Line 1 - สินค้ าประเภท Soft Line 2 2. รายได้ จากการขายให้ โครงการโฮมโปร 3 3. รายได้ จากบริษัทย่อย รวมรายได้ จากการขาย

2558 จํานวน 39,108.8 8,580.0 343.2 4,480.7 52,512.7

%

2557 จํานวน

74.5 16.3 0.7 8.5 100.0

36,965.9 7,956.3 407.6 2,635.0 47,964.8

%

2556 จํานวน

%

77.1 16.6 0.8 5.5 100.0

32,162.4 6,992.0 674.5 177.7 40,006.6

80.4 17.5 1.7 0.4 100.0

หมายเหตุ 1. สินค้ าประเภท Hard Line ได้ แก่ สินค้ าที8เกี8ยวกับวัสดุก่อสร้ าง สี อุปกรณ์ปรับปรุ งบ้ าน ห้ องนํ 4าและสุขภัณฑ์ เครื8 องครัว เครื8 องใช้ ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และโคมไฟ 2. สินค้ าประเภท Soft Line ได้ แก่ สินค้ าประเภทเครื8 องนอน ผ้ าม่าน และสินค้ าตกแต่ง 3. รายได้ จากการขายให้ โครงการไม่สามารถจําแนกตามสายผลิตภัณฑ์ได้

ปี 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีรายได้ จากการขายรวม 52,512.72 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน จํานวน 4,547.97 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 9.48 โดยเป็ นการเพิ8มขึ 4นของธุรกิจโฮมโปรทังในประเทศไทย 4 และประเทศมาเลเซีย รวมถึงธุรกิจเมกา โฮมที8มียอดขายเพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน สําหรับรายได้ จากการขายปลีกของธุรกิจ “โฮมโปร” ซึง8 สามารถแบ่งออกเป็ น Hard Line และ Soft Line ยังคงมี อัตราการเติบโตเพิ8มขึ 4นจากปี ก่อนจํานวน 2,142.9 ล้ านบาท และ 623.7 ล้ านบาทตามลําดับ จากสาขาที8เพิ8มขึ 4นในปี 2558 อย่างไรก็ตาม เมื8อพิจารณาการเติบโตของยอดขายของสาขาเดิม (Same Store Sales Growth) มีอตั ราการ เติบโตติดลบเล็กน้ อย ซึ8งเป็ นผลจากการบริ โภคที8ยงั ไม่ฟืน4 ตัวในต่างจังหวัด และการเปิ ดสาขาใหม่ในบริ เวณที8 ใกล้ เคียงกับสาขาเดิม (Cannibalization) ทังนี 4 4 บริ ษัทฯ เชื8อว่าผลกระทบดังกล่าวเป็ นเรื8 องปกติของการขยายสาขา สําหรับธุรกิจค้ าปลีก และจะสามารถลดลงไปได้ เองในระยะ 1 - 2 ปี (2) รายได้ อ ืน ปี 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ อื8นทังสิ 4 4น 3,730.45 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 486.61 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 15 และมีสดั ส่วนต่อยอดขายอยูท่ ี8ร้อยละ 7.10 โดยรายละเอียดของการเปลีย8 นแปลงมีดงั นี 4 - รายได้ คา่ เช่าและค่าบริ การเพิ8มขึ 4น 286.42 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 24.05 จากการปรับปรุงและขยายพื 4นที8 เพิ8มเติมมากกว่า20,000 ตร.ม. ของศูนย์การค้ าสุวรรณภูมิ มาร์ เก็ต วิลเลจ รวมถึงการเพิม8 ขึ 4นของพื 4นที8ให้ เช่าเพิ8มจากการขยายสาขาของโฮมโปรในปี 2558 - รายได้ อื8นเพิ8มขึ 4น 200.20 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 9.75 จากรายได้ คา่ โฆษณา ค่าสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริ ม การขายจากบริ ษัทคูค่ ้ าและค่าบริ การต่างๆ ที8เกี8ยวเนื8องกับการขายสินค้ า

113


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

(3) ต้ นทุนขาย และกําไรขัน; ต้ น ในปี 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีต้นทุนขายทังสิ 4 4น 38,999.73 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 3,526.85 ล้ าน บาท หรื อร้ อยละ 9.94โดยเป็ นผลมาจากการปรับตัวตามยอดขายบริ ษัทฯ มีกําไรขันต้ 4 นจํานวน 13,512.99 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 1,021.12 ล้ านบาท อัตรากําไรขันต้ 4 นอยู่ที8ร้อยละ 25.73 ลดลงจากปี 2557 ที8มีอตั ราอยู่ที8ร้อยละ 26.04 โดยเป็ นผลมาจากการเปลี8ยนแปลงส่วนผสมของกลุม่ สินค้ าที8ขายของธุรกิจโฮมโปรและโครงสร้ างอัตรากําไร ขันต้ 4 นของธุรกิจเมกา โฮมที8ตํ8ากว่า (4) ค่ าใช้ จ่ายในการขาย และบริหาร ปี 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หารทังสิ 4 4น 12,282.96 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 1,164.25 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 10.47 สัดส่วนต่อยอดขายอยู่ที8ร้อยละ 23.39 เพิ8มขึ 4นจากปี 2557 ที8มีอตั รา เท่ากับ 23.18 โดยรายละเอียดค่าใช้ จ่ายในแต่ละกลุม่ มีดงั นี 4 - ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริการ จํานวน 10,647.81 ล้ านบาท เป็ นค่าใช้ จา่ ยในส่วนของสาขา ฝ่ าย ปฏิบตั ิการ และฝ่ ายกระจายสินค้ าเพิ8มขึ 4น 1,022.44 ล้ านบาท จากเงินเดือน ค่าสาธารณูปโภค ค่าขนส่ง ค่าใช้ จา่ ยทางการตลาด ค่าเสือ8 มราคา ค่าใช้ จา่ ยในการขยายธุรกิจเมกา โฮม และการขยายสาขาที8ประเทศ มาเลเซีย - ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร จํานวน 1,612.11 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4น 179.15 ล้ านบาท จากค่าใช้ จ่ายในส่วนของ สํานักงานใหญ่เป็ นหลัก - ค่าใช้ จา่ ยอื8น จํานวน 23.05 ล้ านบาท ลดลงจากปี ก่อน 37.34 ล้ านบาท (5) ค่ าใช้ จ่ายทางการเงิน ค่าใช้ จ่ายทางการเงิน สําหรับปี 2558 จํานวน 543.68 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4น 77.67 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 16.67 เมื8อเทียบกับปี ก่อน เป็ นผลจากการออกหุ้นกู้ในไตรมาส 1 และ 3 เพื8อรองรับการขยายธุรกิจในอนาคต อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ มีการวิเคราะห์และพิจารณาต้ นทุนการบริ หารการเงินผ่านเครื8 องมือต่างๆ ทังการใช้ 4 เงินจากกระแสเงินสด การ กู้เงินจากธนาคาร หรื อออกหุ้นกู้ เพื8อบริ หารต้ นทุนสมดุลและสอดคล้ องกับนโยบายของบริ ษัทฯ (6) กําไรสุทธิ ผลการดําเนินงานในปี 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีกําไรสุทธิอยู่ที8 3,498.81 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 185.48 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 5.60 เมื8อพิจารณาเฉพาะอัตราส่วนกําไรสุทธิต่อยอดขายของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีอตั ราผลกําไรเท่ากับร้ อยละ 6.66 ลดลงจากปี ก่อนที8มีอตั ราส่วนกําไรสุทธิตอ่ ยอดขายเท่ากับร้ อยละ 6.91 โดยสาเหตุหลักมาจากการเริ8 มลงทุนใน ธุรกิจใหม่ทงธุ ั 4 รกิจ “เมกา โฮม” และธุรกิจ “โฮมโปร ที8ประเทศมาเลเซีย” ซึง8 ในช่วงแรกจะมีอตั ราการทํากําไรที8ตํ8ากว่า ธุรกิจ “โฮมโปร” อย่างไรก็ตาม การลงทุนในธุรกิจใหม่ดงั กล่าวก็เป็ นการสร้ างโอกาสในการเติบโตในระยะยาวได้ ใน อนาคต ทังนี 4 4ในปี 2558 ธุรกิจ “เมกา โฮม” มีแนวโน้ มดีขึ 4นจากปี ก่อน และมีผลการดําเนินงานที8นา่ พอใจ

114


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

(7) อัตราผลตอบแทนต่ อส่ วนของผู้ถอื หุ้น อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 อยู่ที8ร้อยละ 21.46 ลดลงจากปี ก่อนที8มีอตั รา ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที8ร้อยละ 23.32 จากอัตราการทํากําไรที8ลดลง รวมถึงการเพิ8มทุนเพื8อจ่ายหุ้นปั น ผลในเดือนพฤษภาคม 2558 ที8อตั รา 15 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปั นผล รวมเป็ นจํานวนหุ้นที8เพิ8มขึ 4น 821,882,579 หุ้น คิด เป็ นร้ อยละ 6.67 ทังนี 4 4 ในการจ่ายหุ้นปั นผลดังกล่าว ก็เพื8อเป็ นผลตอบแทนให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น และเพิ8มสภาพคล่องของการ ซื 4อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ในขณะที8บริ ษัทฯ ก็สามารถดํารงเงินสดไว้ ใช้ ในการขยายธุรกิจเพื8อเสริ มสร้ างการ เติบโตในระยะยาวได้ 14.4 ความสามารถในการบริหารทรัพย์ สิน เปรี ยบเทียบฐานะทางการเงิน ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 กับวันที8 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีสินทรัพย์รวมจํานวน 46,991.04 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 2,678.22 ล้ า นบาทหรื อคิดเป็ นร้ อยละ 6.04 โดยมูลค่าที8เพิ8มขึ 4นเป็ นผลมาจากการเปลี8ยนแปลงของรายการที8สําคัญ ดังต่อไปนี 4 - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ8มขึ 4น 263.30 ล้ านบาท ซึง8 เพิ8มขึ 4นจากเงินฝากธนาคารคงเหลือจากการออก หุ้นกู้ในระหว่างปี และเงินสดจากการดําเนินงานคงค้ างที8สาขา ณ วันสิ 4นปี - ลูกหนี 4การค้ าเพิ8มขึ 4น 40.17 ล้ านบาท และลูกหนี 4อื8นเพิ8มขึ 4น 43.85 ล้ านบาท โดยลูกหนี 4ที8เพิ8มขึ 4นส่วนใหญ่มาจาก ลูกหนี 4ที8ค้างชําระค่าสนับสนุนการขาย ค่าเช่าพื 4นที8และค่าบริ การอืน8 ที8เกี8ยวข้ อง ซึง8 เป็ นผลมาจากการปรับตัวตาม การขยายพื 4นที8ให้ เช่าของพื 4นที8โฮมโปรและศูนย์การค้ ามาร์ เก็ต วิลเลจ อย่างต่อเนื8อง อย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ ได้ มี การวิเคราะห์ลกู หนี 4 โดยแยกตามอายุหนี 4ที8คงค้ าง โดย ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 ลูกหนี 4การค้ าและลูกหนี 4อื8นคง ค้ างทีม8 ีอายุมากกว่า 12 เดือน มีจํานวน 23.77 ล้ านบาท โดยบริ ษัทฯ ได้ มีการตังสํ 4 ารองค่าเผื8อหนี 4สงสัยจะสูญไว้ ที8 15.97 ล้ านบาท - สินค้ าคงเหลือ-สุทธิ เพิ8มขึ 4น 333.94 ล้ านบาท โดยเป็ นผลมาจากการปรับตัวตามจํานวนสาขาที8เพิ8มขึ 4น ทังจาก 4 ธุรกิจ “โฮมโปร” “เมกา โฮม” และ “โฮมโปร” ที8ประเทศมาเลเซีย ทังนี 4 4บริ ษัทฯ ได้ มีการบริ หารจัดการสินค้ าคงคลัง โดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ เพื8อช่วยในการตรวจติดตามตัววัดด้ านต่างๆ เช่น สินค้ าที8มีอตั ราการขายช้ ากว่าปกติ (Aging Inventory) เปรี ยบเทียบกับค่าที8ยอมรับได้ ซงึ8 บริ ษัทจะมีมาตรการจัดการ เพื8อจัดการสินค้ าและป้องกัน การเสือ8 มสภาพหรื อล้ าสมัยของสินค้ า รวมถึงมีแผนงานการตรวจนับสินค้ าโดยมีทีมงานในการรับผิดชอบดูแล - ที8ดิน อาคาร และอุปกรณ์–สุทธิ ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ –สุทธิ และสิทธิการเช่า–สุทธิ รวมเพิ8มขึ 4น 1,599.68 ล้ าน บาท หรื อร้ อยละ 5.60 โดยเป็ นรายจ่ายลงทุนสําหรับการขยายสาขาใหม่ในปี 2558 และ 2559 - อสังหาริ มทรัพย์เพื8อการลงทุนเพิม8 ขึ 4น 453.67 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 16.41 จากการขยายพื 4นทีใ8 ห้ เช่าที8 ศูนย์การค้ า สุวรรณภูมิมาร์ เก็ต วิลเลจ

115


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

14.5 สภาพคล่ องทางการเงินและความเพียงพอของเงินทุน เปรี ยบเทียบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ 4นสุดวันที8 31 ธันวาคม 2558 กับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2557 หน่วย : ล้ านบาท

รายการ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน เงินสดเพิ มขึน; (ลดลง) สุทธิ

งบการเงินรวม 2558 2557 6,892.81 4,912.80 (4,885.84) (7,060.91) (1,717.74) 3,784.73 (25.92) (8.96) 263.30 1,627.30

งบเฉพาะบริษัท 2558 2557 6,354.27 5,390.26 (4,422.91) (7,675.88) (1,721.51) 3,779.79 209.86 1,494.18

ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจํานวน 2,698.06 ล้ านบาท สุทธิเพิ8มขึ 4นจากวันที8 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 263.30 ล้ านบาท เนื8องจากกิจกรรมดังนี 4 - เงินสดสุทธิ จากกิจกรรมการดําเนินงาน 6,892.81 ล้ านบาท ได้ มาจากกํ าไรจากการดําเนินงานก่อนการ เปลี8ยนแปลงในรายการสินทรัพย์และหนี 4สินดําเนินงาน 7,849.59 ล้ านบาท และเงินทุนหมุนเวียนที8เพิ8มขึ 4นจาก การเปลี8ยนแปลงของรายการสินทรัพย์และหนี 4สินดําเนินงานที8สําคัญ ได้ แก่ รายการลูกหนี 4การค้ าและลูกหนี 4อื8น เพิ8มขึ 4น 89.28 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิ8มขึ 4น 474.60 ล้ านบาทรายการเจ้ าหนี 4การค้ าและเจ้ าหนี 4อื8นเพิ8มขึ 4น 692.80 ล้ านบาท เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ าเพิ8มขึ 4น 257.04 ล้ านบาท หนี 4สินหมุนเวียนอื8นเพิ8มขึ 4น 23.34 ล้ านบาท ทังนี 4 4 ได้ มีการจ่ายดอกเบี 4ย และภาษี เงินได้ จํานวน 1,440.20 ล้ านบาท - เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน จํานวน 4,885.84 ล้ านบาท ซึ8งเป็ นการจ่ายลงทุนในที8ดิน งานก่อสร้ าง และ สินทรัพย์สําหรับการขยายสาขาในปี 2558 และ 2559 จํานวน 4,739.77 ล้ านบาท และซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ 146.08 ล้ านบาท - เงินสดสุทธิได้ ใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จํานวน 1,717.74 ล้ านบาท โดยในจํานวนนี 4เป็ นการชําระคืนเงินกู้ยืม ระยะยาวจํานวน700 ล้ านบาท ชําระคืนหุ้นกู้จํานวน 2,300 ล้ านบาท และการจ่ายเงินปั นผลจํานวน 2,218.67 ล้ านบาท ทังนี 4 4 บริ ษัทฯ ได้ มีการจัดหาแหล่งเงินเพิ8มเติมโดยการออกหุ้นกู้ในไตรมาส 1 และ 3 รวมจํานวน 3,500 ล้ านบาท (1) อัตราส่ วนสภาพคล่ อง ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีสินทรัพย์หมุนเวียนจํานวน 13,367.21 ล้ านบาท มีหนี 4สิน หมุนเวียนจํานวน19,474.35 ล้ านบาท ซึ8งเมื8อคิดเป็ นอัตราส่วนสภาพคล่องจะอยู่ที8 0.69 เท่า ลดลงจากปี ก่อนที8มี อัตราส่วนสภาพคล่องอยู่ที8 0.76 เท่าอย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ ได้ มีแหล่งเงินทุนระยะสันเพื 4 8อรักษาสภาพคล่องทังในรู 4 ป วงเงินเบิกเกินบัญชี และตัว} เงินระยะสัน4 วงเงินสินเชื8อการค้ าระหว่างประเทศไว้ อย่างพอเพียง

116


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

(2) โครงสร้ างเงินทุน ในปี 2558 บริ ษัทฯ จัดหาเงินทุนสําหรับขยายกิจการจากการก่อหนี 4ระยะยาว โดยมีการกู้ยืมเงินแบบไม่มี หลักทรัพย์คํ 4าประกันจากสถาบันการเงินภายใต้ วงเงินสินเชื8อ และการออกหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน ทํา ให้ ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 บริ ษัทฯ มีหนี 4สินรวมจํานวน 30,088.41 ล้ านบาท โดยมีอตั ราส่วนหนี 4สินรวมต่อส่วน ของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.78 เท่า ซึง8 ใกล้ เคียงกับปี ก่อนซึง8 มีอตั ราอยูท่ ี8 1.82 ตามข้ อกําหนดว่าด้ วยสิทธิและหน้ าที8ในการออกหุ้นกู้ กําหนดให้ บริ ษัทฯ ต้ องดํารงอัตราส่วนหนี 4สินทางการเงิน ที8มีดอกเบี 4ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 1.75 เท่า สําหรับหุ้นกู้ที8ออกก่อนปี 2556 และสําหรับหุ้นกู้ที8ออกใหม่ตงแต่ ั 4 ปี 2556 กําหนดให้ ต้องดํารงอัตราส่วนหนี 4สินทางการเงินที8มีดอกเบี 4ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2.50 เท่า ซึ8งบริ ษัทฯ ยังคงมีฐานะการเงินที8แข็งแกร่ ง ยังสามารถดํารงอัตราส่วนดังกล่าวได้ ตํ8ากว่าเงื8อนไขการกู้ยืม ทังนี 4 4 ในปี 2558 บริ ษัทฯ มีหนี 4สินทางการเงินจํานวน 14,377.11 ล้ านบาท โดยมีอตั ราหนี 4สินที8มีภาระดอกเบี 4ยสุทธิตอ่ ส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 0.85 เท่า ซึง8 อัตราส่วนระหว่างปี 2556 – 2558 มีรายละเอียดดังนี 4 อัตราส่วนหนี 4สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

2558

2557

2556

0.85

0.88

0.77

(3) ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 ส่วนของผู้ถือหุ้นมีจํานวนเท่ากับ 16,902.63 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 1,201.00 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 7.65 โดยการเพิ8มขึ 4นเป็ นผลมาจากการเปลีย8 นแปลงของรายการที8สาํ คัญดังต่อไปนี 4 - หุ้นสามัญที8ออกและชํา ระแล้ ว เพิ8มขึ 4น 821.88 ล้ า นบาท จากการเพิ8มทุนเพื8อจ่ายหุ้นปั นผลในเดือน พฤษภาคม 2558 - กําไรสะสมเพิ8มขึ 4น 424.21 ล้ านบาท แยกเป็ นกําไรสะสมที8สํารองตามกฎหมาย 176.7 ล้ านบาท และที8ยงั ไม่ได้ จดั สรรอีก 247.51 ล้ านบาท (4) รายจ่ ายการลงทุน ในปี 2558 บริ ษัทฯ มีรายจ่ายเพื8อการลงทุนสุทธิ 4,885.84 ล้ านบาท โดยมีวตั ถุประสงค์เพื8อใช้ ในการก่อสร้ าง อาคาร ซื 4อที8ดิน ชําระค่าสิทธิการเช่าที8ดิน เพื8อขยายสาขาใหม่ทงในปี ั4 2558 และปี ถัดไป ทังธุ 4 รกิจ “โฮมโปร” “เมกา โฮม” และ “โฮมโปร มาเลเซีย” รวมทังการปรั 4 บปรุ งสาขาเดิมให้ มีความทันสมัย การเพิ8มพื 4นที8การขาย และการขยาย พื 4นที8ให้ เช่าภายในศูนย์การค้ ามาร์ เก็ต วิลเลจ จํานวน 4,739.77 ล้ านบาทและเป็ นการลงทุนในคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ จํานวน 146.08 ล้ านบาท โดยแหล่งเงินทุนมาจากเงินสดจากการดําเนินงาน และเงินทุนจากสถาบัน การเงิน รวมทังการออกตราสารหนี 4 4หุ้นกู้ (5) ความสามารถในการจัดหาแหล่ งเงินทุน ความสามารถในการชําระหนี ; ในปั จจุบนั บริ ษัทฯ จัดหาแหล่งเงินทุนทังระยะสั 4 นและระยะยาว 4 จากทังเงิ 4 นกู้จากสถาบันการเงิน และการออก หุ้นกู้ โดยได้ รับการจัดอันดับจาก TRIS rating เป็ นรายปี และรายครัง4 ที8ออกตราสารหนี 4 โดยมีเงื8อนไขการกู้ยืม (Covenant) ในเรื8 องการดํารงสัดส่วนหนี 4สินทางการเงินต่อทุนไม่เกิน 1.75 เท่า สําหรับหุ้นกู้ที8ออกก่อนปี 2556 และ 2.5 เท่า สําหรับหุ้นกู้ที8ออกตังแต่ 4 ปี 2556 เป็ นต้ นไป ณ วันที8 5 ตุลาคม 2558 TRIS rating คงอันดับเครดิตองค์กร ไว้ ที8ระดับ A+ Stable 117


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

14.6 ภาระผูกพันด้ านหนีส; นิ หนี 4สินรวมของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ณ วันที8 31 ธันวาคม 2558 มีจํานวน 30,088.41 ล้ านบาท เพิ8มขึ 4นจากปี ก่อน 1,477.22 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 5.16 ซึง8 มูลค่าที8เพิม8 ขึ 4นเป็ นผลมาจากการเปลีย8 นแปลงของรายการที8สาํ คัญ ดังต่อไปนี 4 - เจ้ าหนี 4การค้ าเพิ8มขึ 4น 1,203.10 ล้ านบาท ซึง8 เป็ นผลของการสัง8 ซื 4อสินค้ าที8ปรับตัวตามยอดขายและสาขาที8เพิ8มขึ 4น - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสุทธิจากส่วนที8ถึงกําหนดชําระภายในหนึง8 ปี ลดลง 700 ล้ านบาท ซึง8 เป็ นการ ชําระคืนเงินต้ นให้ แก่ สถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม ในส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที8ถึงกําหนดชําระภายในหนึ8งปี จํานวน 700 ล้ านบาท บริ ษัทฯ ได้ มีการจัดหาแหล่งเงินกู้เพิ8มเติมจากสถาบันการเงินเพื8อเตรี ยมความพร้ อมในการ ดําเนินธุรกิจต่อไป - หุ้นกู้สทุ ธิเพิ8มขึ 4น 1,200 ล้ านบาท จากการออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีหลักประกัน ครัง4 ที8 1/2558 และ 2/2558 จํานวน 1,000 ล้ านบาท และ 2,500 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยมีปัจจัยหลักเพื8อนําเงินไปขยายสาขา และ ไถ่ถอนหุ้นกู้ที8ครบกําหนดในปี 2558 จํานวน 2,300 ล้ านบาท ทังนี 4 4 ในปี 2559 บริ ษัทฯ มีห้ นุ กู้ทถี8 ึงกําหนดชําระ ภายในปี จํานวน 4,000 ล้ านบาท ซึง8 บริ ษัทฯ ได้ จดั เตรี ยมแนวทางในการบริ หารจัดการเงินทุนไว้ ลว่ งหน้ า โดยการ เตรี ยมความพร้ อมในการออกหุ้นกู้เพิ8มเติม สํา หรั บ รายละเอี ย ดเกี8 ย วกับ เงิ น กู้ยื ม ระยะยาว และหุ้นกู้ไ ด้ เ ปิ ดเผยไว้ ใ นหมายเหตุง บการเงิ น ข้ อ 19 และ 21 ตามลําดับ 14.7 ปั จจัยหรือเหตุการณ์ ท จี ะมีผลต่ อฐานะการเงินหรือการดําเนินงานในอนาคต แนวโน้ มเศรษฐกิจไทยในปี 2559 คาดว่าจะมีการขยายตัวเล็กน้ อย จากการขับเคลือ8 นของภาครัฐเป็ นหลัก โดยเฉพาะ การลงทุนในโครงสร้ างพื 4นฐาน อาทิ โครงการรถไฟฟ้ า ซึ8งคาดว่าจะผลักดันการลงทุนภาคเอกชนให้ ขยายตัวตาม กอปรกับ มาตรการเร่ งรัดการลงทุนภาคเอกชนทังเรื 4 8 องมาตรการช่วยเหลือทางการเงิน SMEs การให้ สิทธิประโยชน์จูงใจในการลงทุน เพิ8มขึ 4น ซึง8 จะช่วยให้ บรรยากาศการลงทุนโดยรวมปรับตัวดีขึ 4น นอกจากนี 4 ด้ านการบริ โภคโดยรวมมีแนวโน้ มขยายตัวเพิ8มขึ 4น จากการออกมาตรการกระตุ้น การใช้ จ่ า ยเพิ8 มเติ ม แต่ยัง คงมี ปัจ จัย หน่ว งจากรายได้ ภ าคเกษตรที8 ยัง อยู่ใ นระดับ ตํ8 า เช่นเดียวกับภาคการส่งออก ที8ยงั มีปัจจัยเสี8ยงจากการชะลอของเศรษฐกิจจีนและความไม่แน่นอนของสถานการณ์ ราคา นํ 4ามันและราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ ได้ มีการจัดทําแผนงานประจําปี พร้ อมตรวจติดตามผลจากฝ่ ายบริ หารเป็ นประจําทุกเดือน จึง ทําให้ สามารถปรับเปลีย8 นหรื อกําหนดแผนงาน เพื8อรองรับเหตุการณ์ที8อาจจะเกิดขึ 4นได้ อย่างทันท่วงที รวมถึงมีการจัดทําแผน บริ หารความเสีย8 ง ซึง8 ได้ กําหนดระดับของความเสีย8 งที8ยอมรับได้ ในแต่ละปั จจัย และสามารถใช้ เป็ นแนวทางในการจัดการกับ ปั ญหาที8อาจเกิดขึ 4นอีกทางหนึง8 14.8 บทวิเคราะห์ ของฝ่ ายจัดการและภาพรวมในอนาคต จากปั ญหาหลายด้ านที8เกิดขึ 4นในปี 2558 ทังปั 4 ญหาเรื8 องราคาสินค้ าเกษตรที8ลดลง และมูลค่าการส่งออกที8ยงั คงมี แนวโน้ มลดลงจากปี ที8ผ่านมาส่ง ผลให้ การลงทุนและการบริ โภคในภาคเอกชนชะลอตัวลง และคาดว่าจะส่ง ผลกระทบ ต่อเนื8องไปในครึ8งแรกของปี 2559

118


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

อย่างไรก็ตามจากนโยบายการลงทุนของภาครัฐ ไม่วา่ จะเป็ นการเร่งแผนการสร้ างรถไฟฟ้ าหลายสายในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล รวมถึงแผนการสร้ างรถไฟรางคู่เชื8อมจากหัวเมืองใหญ่ตามแนวชายแดนที8จะเป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษรองรับ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรื อ AEC ถึงแม้ วา่ จะเป็ นโครงการระยะยาวก็ตาม แต่น่าจะส่งผลให้ มีการขยายตัวของ เมืองเพื8อรองรับการลงทุนดังกล่าวได้ จากปั จจัยดังกล่าวข้ างต้ นจะเห็นได้ วา่ ถึงแม้ วา่ ในระยะสันอาจจะมี 4 ผลกระทบที8ทําให้ เศรษฐกิจเติบโตได้ ช้า หรื ออาจ ชะลอตัวลง แต่ยงั มีปัจจัยในระยะยาวที8เกิดจากภาครัฐ และปั จจัยทางธุรกิจที8เป็ นโอกาสของบริ ษัทฯ ในอีกหลายด้ าน ตัวอย่างเช่น - การเปลีย8 นแปลงวิถีชีวิต และการขยายตัวของสังคมเมืองที8จะเพิ8มขึ 4นในอนาคต - การเปลีย8 นแปลงพฤติกรรมผู้บริ โภคในการจับจ่ายใช้ สอยที8ร้านค้ าในรูปแบบสมัยใหม่ (Modern Trade) - ภาพรวม Supply ในตลาดที8บริ ษัทฯ อยู่ เมื8อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้ วยังตํ8า ทําให้ มีโอกาสในการขยายตัวได้ - การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรื อ AEC ซึง8 ทําให้ มีโอกาสทางการตลาดเพิ8มขึ 4น จากจุดนี 4เอง บริ ษัทฯ ยังคงมองการขยายสาขาในประเทศอย่างต่อเนื8อง ทังในธุ 4 รกิจ “โฮมโปร” เพื8อรองรับกลุม่ ลูกค้ าที8 เป็ นเจ้ าของบ้ านซึง8 อยูใ่ นเขตเมือง และการขยายสาขาในธุรกิจ “เมกา โฮม” เพื8อรองรับการขยายตัวของภาคการก่อสร้ างที8จะ เกิดขึ 4นจากการขยายตัวในอนาคตทังนี 4 4ก็เพื8อรองรับการเติบโตในระยะยาวของบริ ษัทฯ สําหรับธุรกิจโฮมโปร ที8ประเทศมาเลเซีย ยังคงมีผลการดําเนินงานที8ไม่เป็ นไปตามเป้าหมายมากนัก เนื8องจากบริ ษัทฯ ยังคงต้ องมีการปรับปรุ งขันตอน 4 และกระบวนการ เพื8อให้ เหมาะสมกับพฤติกรรมของลูกค้ าที8แตกต่างกัน แต่ก็ถือเป็ นปั จจัย สําคัญที8จะได้ เรี ยนรู้ เพื8อเป็ นแนวทางสําหรับการเปิ ดธุรกิจในต่างประเทศในอนาคต ทังธุ 4 รกิจโฮมโปร และธุรกิจเมกา โฮม ทังนี 4 4 บริ ษัทฯ ยังคงวิสยั ทัศน์ที8จะเป็ นผู้นําในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมัน8 ใจว่าจากการแผนงาน และการดําเนินการ จะสามารถทําให้ บริ ษัทฯ บรรลุถึงวิสยั ทัศน์ที8วางไว้ ได้ 14.9 ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ตามมติที8ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2558 ได้ อนุมตั ิแต่งตังผู 4 ้ สอบบัญชีจากบริ ษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด เป็ น ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย โดยกําหนดค่าตอบแทนการสอบบัญชีสําหรับปี 2558 เป็ นเงินไม่เกิน 3,200,000 บาท ค่าตอบแทนอื8นๆ ได้ แก่ ค่าสังเกตการณ์ทําลายสินค้ าประมาณ 100,000 บาท และค่าสอบบัญชีที8อาจเพิ8มขึ 4นจากการ ขยายสาขาเพิ8มเติม หรื อการจดทะเบียนจัดตังบริ 4 ษัทใหม่อีกไม่เกิน 1,000,000 บาท สําหรับค่าตอบแทนที8จ่ายให้ แก่ผ้ สู อบบัญชีในรอบปี 2558 และ 2557 ประกอบด้ วยค่าตอบแทนการสอบบัญชีของ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยและค่าบริ การอื8น โดยมีรายละเอียดดังนี 4 หน่วย : บาท

รายการ ค่าสอบบัญชี ค่าบริ การอื8น (ค่าสังเกตการณ์การทําลายสินค้ า) รวม

2558 3,384,676 100,000 3,484,676

2557 3,475,388 100,000 3,575,388

119


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล บริ ษัทฯ ได้ สอบทานข้ อมูลในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี ฉบับนี *แล้ วด้ วยความระมัดระวัง บริ ษัทฯ ขอรับรอง ว่าข้ อมูลดังกล่าวถูกต้ องครบถ้ วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทําให้ ผ้ ูอื1นสําคัญผิด หรื อไม่ขาดข้ อมูลที1ควรต้ องแจ้ งในสาระสําคัญ นอกจากนี * บริ ษัทขอรับรองว่า 1. งบการเงินและข้ อมูลทางการเงินที1สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี ได้ แสดงข้ อมูลอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วนในสาระสําคัญเกี1ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษัทฯ และบริ ษัท ย่อยแล้ ว 2. บริ ษัทฯ ได้ จัดให้ มีระบบการเปิ ดเผยข้ อมูลที1ดี เพื1อให้ แน่ใจว่าได้ เปิ ดเผยข้ อมูลในส่วนที1เป็ นสาระสําคัญทัง* ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยอย่างถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว รวมทังควบคุ * มดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว 3. บริ ษัทฯ ได้ จัดให้ มีระบบการควบคุมภายในที1ดี และควบคุมดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว และได้ แจ้ งข้ อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที1 14 มกราคม 2559 ต่อผู้สอบบัญชีและกรรมการ ตรวจสอบของบริ ษัทฯ แล้ ว ซึ1งครอบคลุมถึงข้ อบกพร่ องและการเปลี1ยนแปลงที1สําคัญของระบบการควบคุม ภายใน รวมทังการกระทํ * าที1มิชอบที1อาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของบริ ษัทฯ และบริ ษัท ย่อย ในการนี * เพื1อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทังหมดเป็ * นเอกสารชุดเดียวกันกับที1บริ ษัทฯ ได้ รับรองความถูกต้ องแล้ ว บริ ษัทฯ ได้ มอบหมายให้ นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล ตําแหน่ง กรรมการผู้จัดการ หรื อ นางสาว วรรณี จันทามงคล ตํา แหน่ง ผู้ช่ว ยกรรมการผู้จัดการ เป็ นผู้ลงลายมือชื1 อกํ า กับเอกสารนีไ* ว้ ทุกหน้ าด้ ว ย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื1 อ นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล หรื อ นางสาว วรรณี จันทามงคล กํากับไว้ บริ ษัทฯ จะถือว่าไม่ใช่ข้อมูลที1บริ ษัทฯ ได้ รับรอง ความถูกต้ องของข้ อมูลแล้ วดังกล่าวข้ างต้ น ชื อ

ตําแหน่ ง

1. นาง สุวรรณา พุทธประสาท

กรรมการ

2. นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล

กรรมการ

ชื อ

ลายมือชื อ

ตําแหน่ ง

ผู้รับมอบอํานาจ นาย คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ หรื อ นางสาว วรรณี จันทามงคล ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

ลายมือชื อ


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

ทังนี * * มาตรา 89/20 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ พ.ศ. 2535 ซึ1งแก้ ไขเพิ1มเติมโดย พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที1 4) พ.ศ. 2551 กําหนดให้ กรรมการ และผู้บริ หารต้ องร่ วมกันรับผิด ต่อ บุค คลที1ซื อ* ขายหลักทรั พย์ ของบริ ษั ทในความเสียหายใดๆ อัน เกิ ดขึน* เนื1 องจากการเปิ ดเผยข้ อมูลต่อผู้ถือ หุ้น หรื อ ประชาชนทัว1 ไป โดยแสดงข้ อความที1เป็ นเท็จในสาระสําคัญ หรื อปกปิ ดข้ อความจริ งที1ควรบอกให้ แจ้ งในสาระสําคัญในกรณี ของงบการเงิน และรายงานเกี1ยวกับฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของบริ ษัทหรื อรายงานอื1นใดที1ต้องเปิ ดเผยตาม มาตรา 56 หรื อมาตรา 199 โดยมิได้ จํากัดความรับผิดไว้ เฉพาะกรรมการ และผู้บริ หารที1ลงลายมือชื1อรับรองความถูกต้ อง ของข้ อมูลในเอกสารดังกล่าวเท่านัน* อย่างไรก็ดี กรรมการ หรื อผู้บริ หารซึง1 สามารถพิสจู น์ได้ วา่ โดยตําแหน่งหน้ าที1ตนไม่อาจ ล่วงรู้ถึงความแท้ จริ งของข้ อมูล หรื อการขาดข้ อมูลที1ควรต้ องแจ้ งนัน* ย่อมไม่มีความรับผิดตามมาตรา 89/20


เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริ ษัท


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (1) นาย อนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ (แต่งตังเมื "อ 29/5/44)

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

65 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

0.15

บิดาของ

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ประเภทธุรกิจ

ตําแหน่ ง

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 4 แห่ ง

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นาย อาชวิณ

2544 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

- ปริ ญญาโท วิศวอุตสาหการ

อัศวโภคิน

2552 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

ธุรกิจลงทุน

2528 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร

บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2526 - ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. ควอลิตี เฮ้ าส์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

Illinois Institute of Technology, USA - วิศวกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ปี 2547 : หลักสูตร DCP - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 15 แห่ ง 2548 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

สถาบันการเงิน

กรรมการ

บจ. แอล แอนด์ เอช พร็ อพเพอร์ ตี

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการ

บจ. แอล แอนด์ เอช สาทร

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บจ. แอล เอช เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บจ. แอล เอช แอสเซท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2545 - ปั จจุบนั กรรมการ

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2

บริ หารเงินทุน

2543 - ปั จจุบนั กรรมการ

2547 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ กรรมการ

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 1

บริ หารเงินทุน

กรรมการ

บจ. เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี"

ที"ปรึกษางานวิศวกรรม

2538 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. คิว.เอช. อินเตอร์ เนชัน" แนล

อสังหาริ มทรัพย์ให้ เช่า

2536 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. สยามธานี เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2534 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. บุญชัยโฮลดิ ง

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2533 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. สยามธานี พร๊ อบเพอร์ ตี

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2531 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. แอตแลนติก เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2529 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. แปซิฟิค เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2523 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. พลาซ่า โฮเต็ล

โรงแรม


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (2) นาย มานิต อุดมคุณธรรม - กรรมการ (แต่งตังเมื "อ 29/5/44) - ประธานกรรมการบริหาร

(แต่งตังเมื "อ 21/6/50)

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

70 - มัธยมศึกษาตอนปลาย

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

2.59

-

- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน

68 - ปริ ญญาโท วิทยาศาตร์ มหาบัณฑิต สาขาบริ หารธุรกิจ

- กรรมการบริหาร (แต่งตังเมื "อ 21/6/50)

Fort Hays Kansas State Uinversity, USA

- ประธานกรรมการสรรหา และ กําหนดค่ าตอบแทน (แต่งตังเมื "อ 29/3/50)

- วิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน

ปี 2548 : หลักสูตร DCP ปี 2546 : หลักสูตร DAP - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ประเภทธุรกิจ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 10 แห่ ง

-

-

2550 - ปั จจุบนั กรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร

บจก. อิลิเชี"ยน ดีเวลบอปเม้ น

โรงแรม

2549 - ปั จจุบนั กรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร

บจก. เซี"ยงไฮ้ อินน์

โรงแรม

2546 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจก. เกาะมะพร้ าว ไอส์แลนด์

โรงแรม

2544 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจก. อาร์ แอล พี

บริ ษัท Holding

ประธานกรรมการบริ หาร

บจก. ยู เอส ไอ โฮลดิ ง

บริ ษัท Holding

กรรมการ

บจก. แฟชัน" พีเพิล

จําหน่ายเครื" องแต่งกาย

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2550 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร และ ประธานกรรมการ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

บมจ. บ้ านปู

ธุรกิจพลังงาน

บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

ธุรกิจลงทุน

บมจ. ควอลิตี เฮ้ าส์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ 2557 - ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ 2548 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ

กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ปี 2553 : หลักสูตร FGP

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ตําแหน่ ง

2550 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร

ปี 2547 : หลักสูตร DAP

- กรรมการ (แต่งตังเมื "อ 20/12/44)

ช่ วงเวลา 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ

กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

(3) นาย รั ตน์ พานิชพันธ์

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป

ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 2552 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร 2544 - 2557

กรรมการ ประธานเจ้ าหน้ าที"บริ หาร และกรรมการผู้จดั การ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2556 - ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

ธุรกิจซื อขายหลักทรัพย์

2553 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

บลจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จํากัด

บริ หารจัดการกองทุน

2548 - ปั จจุบนั กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร

บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

ธนาคารพาณิชย์


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (4) นาย นพร สุนทรจิตต์ เจริ ญ - กรรมการ (แต่งตังเมื "อ 29/5/44) - กรรมการบริหาร (แต่งตังเมื "อ 21/6/50)

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

57 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริ ญญาตรี วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

-

-

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา

ปี 2544 : หลักสูตร FGP - หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.2549) - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ประเภทธุรกิจ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 4 แห่ ง 2550 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

ธุรกิจลงทุน

บมจ. ควอลิตี คอนสตรัคชัน" โปรดัคส์

ผลิต และจําหน่ายวัสดุก่อสร้ าง

บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิ ตอล

โรงพยาบาล

2544 - ปั จจุบนั กรรมการ 2556 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร และกรรมการผู้จดั การ 2545 - 2556

กรรมการบริ หาร และรองกรรมการผู้จดั การ

2554 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการบริ หาร และ

ปี 2548 : หลักสูตร DCP ปี 2547 : หลักสูตร DAP

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ตําแหน่ ง

กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 2537 - ปั จจุบนั กรรมการ 2537 - 2554

กรรมการ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 17 แห่ ง 2556 – ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

ธุรกิจลงทุน

2555 – ปั จจุบนั กรรมการ

Land and Houses USA, INC

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2548 – ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการบริ หาร และ

บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

ธนาคารพาณิชย์

กรรมการ

บจ. ภูเก็ต ฟิ วเจอร์ แพลน

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการ

บจ. ดับเบิ ลทรี

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บจ. แอล เอช เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บจ. แอล เอช แอสเซท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2

บริ หารเงินทุน

และกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

2547 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการ 2545 - ปั จจุบนั กรรมการ 2544 - ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. เมืองใหม่ กัตทรี

ผลิตนํ ายาง

2543 - ปั จจุบนั กรรมการ

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 1

บริ หารเงินทุน

2538 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ นอร์ ธอีส

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการ

บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ นอร์ ธ

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการ

บจ. แอล.เอช. เมืองใหม่

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2536 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. สยามธานี เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2534 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. สยามธานี พร๊ อบเพอร์ ตี

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2531 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. แอตแลนติก เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2529 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. แปซิฟิค เรี ยลเอสเตท

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (5) นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

58 - MBA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

1.08

-

- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา 2550 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร

กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)

2544 - ปั จจุบนั กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ

- กรรมการบริหาร (แต่งตังเมื "อ 21/6/50)

ปี 2544 : หลักสูตร DCP

2556 - ปั จจุบนั กรรมการ

- กรรมการ (แต่งตังเมื "อ 1/6/58)

49 - ปริ ญญาเอก วิศวกรรมโยธา University of Illinois, USA

2555 - ปั จจุบนั กรรมการ และกรรมการบริ หาร

บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์

ธนาคารพาณิชย์

บจ. เมกา โฮม เซ็นเตอร์

ค้ าปลีกวัสดุก่อสร้ าง

2554 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD.

ค้ าปลีก

2548 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ

บริ หารพื นที"ให้ เช่า

-

-

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง 2558 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการ ประธานเจ้ าหน้ าที"บริ หาร

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

บมจ. ควอลิตี เฮ้ าส์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการผู้จดั การ และ ประธานกรรมการบริ หารความเสี"ยง ส.ค. – ธ.ค. 2557 กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์

- ปริ ญญาตรี วิศวกรรมโยธา

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี"ยง 2551 – ม.ค. 2555 กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ธุรกิจลงทุน ธุรกิจขนส่งสินค้ า

- ปริ ญญาโท วิศวกรรมโยธา (โครงสร้ าง)

ปี 2549 : หลักสูตร DCP และ FND

บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป บจ. ดีซี เซอร์ วิส เซ็นเตอร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน

ค้ าปลีก Home center

2556 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

- ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

Massachusetts Institute of Technology, USA

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 5 แห่ ง

ประธานกรรมการ

(6) นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์

ประเภทธุรกิจ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง

(แต่งตังเมื "อ 29/5/44)

- การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ตําแหน่ ง

และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ไม่ ได้ ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ 2555 – 2557

รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคม

2555

รัฐมนตรี ชว่ ยว่าการกระทรวงคมนาคม

2548 – 2555

ผู้ชว่ ยอธิการบดี สํานักจัดการทรัพย์สิน

2547 – 2554

ผู้อํานวยการศูนย์บริ การวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์

ราชการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันการศึกษา


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (7) นางสุวรรณา พุทธประสาท - กรรมการ (แต่งตังเมื "อ 2/7/46)

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

60 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริ ญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ปี 2554 : หลักสูตร FGP ปี 2550 : หลักสูตร DCP

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

-

-

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา

ประเภทธุรกิจ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 3 แห่ ง 2546 - ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

2554 - ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป

ธุรกิจลงทุน

2543 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการบริ หารความเสี"ยง

บมจ. ควอลิตี เฮ้ าส์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการบรรษัทภิบาล รองกรรมการผู้จดั การ และเลขานุการบริ ษัท ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 10 แห่ ง 2556 – ปั จจุบนั กรรมการ

ปี 2547 : หลักสูตร DAP - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ตําแหน่ ง

2555 – ปั จจุบนั กรรมการ 2553 – ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. พร็ อพเพอร์ ตี โฮสท

ตกแต่งภายใน

บจ. คาซ่า วิลล์ (ชลบุรี 2554)

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บจ. เซนเตอร์ พอยต์ ฮอสพิทอลิตี

อสังหาริ มทรัพย์ให้ เช่า

บจ. แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์

โรงแรม

บจ. คิว.เฮ้ าส์ พรี คาสท์

ตกแต่งภายใน

2551 – ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์

โรงแรม

2546 - ปั จจุบนั กรรมการ

บจก. คาซ่า วิลล์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บจก. คิว.เอช.แมนเนจเม้ นท์

บริ การ

บจก. คิว.เอช.อินเตอร์ เนชัน" แนล

บริหารสํานักงาน และโครงการที"อยู่อาศัยให้ เช่า

บจก. เดอะ คอนฟิ เด้ นซ์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

กรรมการ 2543 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการ


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (8) นาย พรวุฒิ สารสิน - กรรมการอิสระ (แต่งตังเมื "อ 1/10/58)

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

56 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

-

-

Pepperdine University, USA

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา 2558 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

บมจ. ฝาจีบ

ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์

2552 – ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. เอพี (ไทยแลนด์)

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

2537 – ปั จจุบนั กรรมการ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

บมจ. จรุงไทยไวร์ แอนด์เคเบิ ล

ผลิตและจําหน่ายสายเคเบิ ล

กรรมการ

- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 13 แห่ ง

ปี 2548 : หลักสูตร DAP

2557 – ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. กรุงเทพธนาคม

ธุรกิจขนส่ง

กรรมการ

บมจ. บางกอกกล๊ าส

ผลิตและจําหน่ายบรรจุภณ ั ฑ์

- การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

2556 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

บจ. ไทยนํ าทิพย์

ผลิตและจําหน่ายเครื" องดื"ม

2543 – ปั จจุบนั

บจ. ฮอนด้ า ออโตโมบิล (ประเทศไทย)

ผลิตรถยนต์

2541 – ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. เด็นโซ่ (ประเทศไทย)

ผลิตชิ นส่วนอิเล็กทรอนิกส์

2536 – ปั จจุบนั กรรมการ

บจ. ไทยเอเชีย แปซิฟิค บริ วเวอรี"

ผลิตและจําหน่ายเครื" องดื"ม

กรรมการ

2529 – ปั จจุบนั กรรมการ

(9) นายอาชวิณ อัศวโภคิน - กรรมการ (แต่งตังเมื "อ 10/4/57)

40 - ปริ ญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ University of Pennsylvania, USA - ปริ ญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ University of Pennsylvania, USA - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ปี 2557 : หลักสูตร DCP - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ประเภทธุรกิจ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 4 แห่ ง

- ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ Boston University, USA

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ตําแหน่ ง

-

บุตรของ นาย อนันต์ อัศวโภคิน

บจ. ไทย เอ็ม-ซี

ค้ าส่งเคมีภณ ั ฑ์

กรรมการ

บจ. อีซซู ุ มอเตอร์ (ประเทศไทย)

ผลิตรถยนต์

กรรมการ

บจ. ตรี เพชรอีซซู เุ ซลส์

จําหน่ายรถยนต์

กรรมการ

บจ. ตรี เพชรอีซซู ลุ ิสซิ"ง

เช่าซื อรถยนต์

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2557 - ปั จจุบนั กรรมการ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ไม่ ได้ ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2554 - ปั จจุบนั ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ

บลจ. ไทยพาณิชย์

บริ หารจัดการกองทุน


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (10) นายบุญสม เลิศหิรัญวงศ์ - กรรมการอิสระ (แต่งตังเมื "อ 1/10/57) - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (แต่งตังเมื "อ 1/10/57)

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

62 - ปริ ญญาเอก วิศวกรรมโยธา INSA Toulouse, France

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

-

-

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา

- ปริ ญญาตรี วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD)

2557 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ

ปี 2555 : หลักสูตร DCP, FSD, ACP MFM, MFR, MIA, MIR และ หลักสูตร C-Conference - หลักสูตรอื"น ปี 2557 : Corporate Governance: Effectiveness and Accountability in the Boardroom, Kellogg School of Management,

Northwestern University ปี 2556 : หลักสูตรผู้บริ หาร ด้ านวิทยาการพลังงาน รุ่นที" 3 ปี 2549 : หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที" 19 - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

บมจ. ควอลิตี เฮ้ าส์

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บมจ. ปตท.

ธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2558 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 2555 - 2557

กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในองค์ กรที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง 2558 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์ แห่งชาติ

องค์กรมหาชน

2553 - ปั จจุบนั กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร

สภากาชาดไทย

องค์กรการกุศล

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันการศึกษา

ปี 2557 : หลักสูตร RCP และ NCD ปี 2556 : หลักสูตร SFE

ประเภทธุรกิจ

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง

- ปริ ญญาโท วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ตําแหน่ ง

อาคาร สถานที" และระบบสาธารณูปโภค 2551 - 2556

คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์

ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง (11) นายทวีวัฒน์ ตติยมณีกุล - กรรมการอิสระ (แต่งตังเมื "อ 29/5/44) - กรรมการตรวจสอบ (แต่งตังเมื "อ 19/3/44)

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

70 - ประถมศึกษา

ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

-

-

- การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน

- กรรมการอิสระ (แต่งตังเมื "อ 3/10/48) - กรรมการตรวจสอบ (แต่งตังเมื "อ 22/9/48) - กรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน (แต่งตังเมื "อ 29/3/50)

Kansas, USA. - การอบรมจากสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ปี 2549 : หลักสูตร DCP Refresher ปี 2548 : หลักสูตร ACP ปี 2545 : หลักสูตร DCP ปี 2544 : หลักสูตร RCM - การอบรมในปี 2558 (ไม่มี)

ชื อหน่ วยงาน / บริ ษัท

ประเภทธุรกิจ

ตําแหน่ ง

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง

- การอบรมในปี 2558 (ไม่มี) 68 - ปริ ญญาโท MBA Fort Hays State University

ช่ วงเวลา

2544 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547

(12) นายชนินทร์ รุ นสําราญ

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป

-

-

2556 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร

บจก. มณีพิณ

ธุรกิจ Holding

2532 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร

บจก. สตาร์ แฟชัน" (2551)

ผลิตและจําหน่ายเครื" องแต่งกาย

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 2 แห่ ง 2550 - ปั จจุบนั กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ

ธุรกิจประกันภัย

บมจ. สามัคคีประกันภัย

ธุรกิจประกันภัย

2548 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 2529 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 2546 - 2556

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการบริหารความเสี"ยง

ดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที ไม่ ได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ฯ 1 แห่ ง 2553 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริ หาร

บจก. เอส บี แอล ลิสซิ"ง

เช่าซื อรถจักรยานยนต์


รายละเอียดเกี ยวกับผู้บริหาร ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ชื อ - สกุล / ตําแหน่ ง

อายุ

คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด

สัดส่ วนการ

ความสัมพันธ์

ถือหุ้นใน

ทางครอบครัว

บริษัท (%) ระหว่ างผู้บริหาร

(1) นาย วีรพันธ์ อังสุมาลี

53 - ปริ ญญาโท วิศวอุตสาหการ

ประสบการณ์ การทํางาน 5 ปี ย้ อนหลังโดยสังเขป ช่ วงเวลา

ชื อหน่ วยงาน / บริษัท

ประเภทธุรกิจ

ตําแหน่ ง

0.05

-

2548 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.0014

-

2556 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.08

-

2546 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.03

-

2554 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.0001

-

2557 - ปั จจุบนั

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (2) นาย เกษม ปิ> นมณเฑียรทอง

57 - บริ หารธุรกิจ

(3) น.ส. จารุโสภา ธรรมกถิกานนท์

56 - ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์

(4) น.ส. ศิริวรรณ เปี> ยมเศรษฐสิน

57 - อนุปริ ญญา คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ

(5) น.ส. สันนิภา สว่างพื Lน

46 - ปริ ญญาโท บัญชี

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

2554 - 2556

ผู้จดั การเขต

มหาวิทยาลัยหอการค้ า มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

2550 - 2554

Griffith University (6) น.ส. อิษฏพร ศรี สขุ วัฒนา

51 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

2540 - 2556 0.0032

-

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (7) น.ส. ธาราทิพย์ ตรี มนั> คง

55 - มัธยมศึกษาตอนต้ น

(8) น.ส. ถนอมศรี รุจิเรขเสรี กลุ

48 - ปริ ญญาโท การจัดการ

2553 - 2557

44 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

(10) นาย ณัฏฐ์ จริ ตชนะ

55 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

(11) นาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ

57 - ปริ ญญาตรี การเงิน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ผู้จดั การอาวุโส

บจก. เอก-ชัย ดีสทิบวิ ชัน> ซิสเทม

ค้ าปลีก Tesco Lotus

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ผู้จดั การทัว> ไป

0.27

-

2543 - ธ.ค. 58

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.0001

-

ก.ย. 58 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ผู้จดั การอาวุโส

บจก. เอก-ชัย ดีสทริ บวิ ชัน> ซิสเทม

ค้ าปลีก Tesco Lotus

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

มหาวิทยาลัยมหิดล (9) นาง อภิรดี ทวีลาภ

ม.ค. 58 - ปั จจุบนั

ผู้จดั การทัว> ไป สายเครื> องใช้ ไฟฟ้ า

2551 - 2558 0.0003

-

2557 - ปั จจุบนั

Head of Commercial Support

บจก. เอก-ชัย ดีสทิบวิ ชัน> ซิสเทม

ค้ าปลีก Tesco Lotus

0.07

-

2549 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.02

-

2550 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.0004

-

2556 - ปั จจุบนั

Colorado State University, USA

2555 - 2556

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง (12) นาง พรสุข ดํารงศิริ

50 - MS-CIS Colorado State University, USA

2550 - 2556 (13) นาย อนุชา จิตจาตุรันต์

52 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ผู้จดั การอาวุโส

บจก. เอก-ชัย ดีสทิบวิ ชัน> ซิสเทม

ค้ าปลีก Tesco Lotus

0.11

-

2545 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.07

-

2545 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

0.07

-

2548 - ปั จจุบนั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ และ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์ (14) นาย วทัญfู วิสทุ ธิโกศล

51 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ Georgia State University, USA.

(15) น.ส. วรรณี จันทามงคล

51 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์

เลขานุการบริ ษัท

- ปริ ญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (16) น.ส. สุดาภา ชะมด

42 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ

0.0006

-

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (17) นาย นิทศั น์ อรุณทิพย์ไพฑูรย์

50 - ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

2555 - ปั จจุบนั 2542 - 2555

0.04

-

2553 - ปั จจุบนั 2548 - 2553

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ผู้จดั การอาวุโส

บจก. เอคเซนเชอร์ โซลูชนั> ส์

ที>ปรึกษาด้ านการวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้ าปลีก Home center

ผู้จดั การทัว> ไป สํานักตรวจสอบภายใน


กรรมการ และผู้บริหารที มีอํานาจควบคุมบริษัทย่ อย บริษัทย่ อย ชื อ – นามสกุล

บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ

Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD.

บจก. เมกา โฮม เซ็นเตอร์

บจก. ดีซี เซอร์ วสิ เซ็นเตอร์

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

(1) นาย อนันต์

อัศวโภคิน

ประธานกรรมการ

(2) นาย มานิต

อุดมคุณธรรม

กรรมการ

(3) นาย รัตน์

พานิชพันธ์

กรรมการ

(4) นาย นพร

สุนทรจิตต์เจริ ญ

กรรมการ

(5) นาย คุณวุฒิ

ธรรมพรหมกุล

กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ

(6) นาย ชัชชาติ

สิทธิพนั ธุ์

กรรมการ

(7) นาง สุวรรณา

พุทธประสาท

กรรมการ

(8) นาย พรวุฒิ

สารสิน

กรรมการ

(9) นาย อาชวิณ

อัศวโภคิน

กรรมการ

(10) นาย บุญสม

เลิศหิรัญวงศ์

กรรมการ

(11) นาย ทวีวฒ ั น์

ตติยมณีกลุ

กรรมการ

(12) นาย ชนินทร์

รุ นสําราญ

กรรมการ

(13) นาย วีรพันธ์

อังสุมาลี

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(14) นาย เกษม

ปิ8 นมณเฑียรทอง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(15) น.ส. จารุ โสภา

ธรรมกถิกานนท์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(16) น.ส. ศิริวรรณ

เปี8 ยมเศรษฐสิน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(17) น.ส. สันนิภา

สว่างพื >น

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(18) น.ส. อิษฏพร

ศรี สขุ วัฒนา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(19) น.ส. ธาราทิพย์

ตรี มนั8 คง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(20) น.ส. ถนอมศรี

รุ จิเรขเสรี กลุ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(21) นาง อภิรดี

ทวีลาภ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(22) นาย ณัฏฐ์

จริ ตชนะ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(23) นาย ชัยยุทธ

กรัณยโสภณ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(24) นาง พรสุข

ดํารงศิริ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(25) นาย อนุชา

จิตจาตุรันต์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(26) นาย วทัญAู

วิสทุ ธิโกศล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ

(27) น.ส. วรรณี

จันทามงคล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

กรรมการ

(28) น.ส. สุดาภา

ชะมด

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

(29) นาย นิทศั น์

อรุ ณทิพย์ไพฑูรย์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ

กรรมการ

กรรมการ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ

กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ


รายละเอียดเกี ยวกับเลขานุการบริษัท ชื อ : นางสาว วรรณี จันทามงคล (51 ปี ) สัดส่ วนการถือหุ้นในบริษัท : ร้ อยละ 0.07 ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่ างกรรมการ และผู้บริหาร : วุฒทิ างการศึกษา :

การอบรม : ปี 2558 ปี 2551 ปี 2548

ไม่มี

- ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์ - ปริ ญญาตรี พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- หลักสูตร Strategic CFO โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - หลักสูตรกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ิสาํ หรับเลขานุการบริ ษัทตามกฎหมายหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Company Secretary Program โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์ การทํางาน : ปี 2551 - ปั จจุบนั - เลขานุการบริ ษัท ปี 2548 - ปั จจุบนั - ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การด้ านบัญชีและการเงิน บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ (ธุรกิจค้ าปลีก) อํานาจหน้ าที ของเลขานุการบริษัท 1 อํานวยความสะดวกสําหรับกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการบริ ษัท 2 ติดตาม และประสานงานกับผู้ทีTเกีTยวข้ อง เพืTอให้ เกิดการปฏิบตั ิตามมติของคณะกรรมการบริ ษัท และมติทีTประชุมผู้ถือหุ้น พร้ อมกับรายงานผลการดําเนินงานดังกล่าวอย่างใกล้ ชิด 3 กําหนดตารางเวลาการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท และกรรมการชุดย่อย รวมถึงทําหน้ าทีTในการดําเนินการจัดประชุม คณะกรรมการบริ ษัท และประชุมผู้ถือหุ้น 4 จัดทําและรักษาเอกสารดังนี Y - ทะเบียนกรรมการ - หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจําปี - หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 5 เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้ เสียทีTรายงานโดยกรรมการ หรื อผู้บริ หาร 6 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทีTกํากับดูแล เช่น สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ดูแลการเปิ ดเผยข้ อมูล และรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงานทีTกํากับดูแลและสาธารณชนให้ ถกู ต้ องครบถ้ วนตามกฎหมาย 7 ให้ คําแนะนําด้ านกฎหมายและกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทีTเกีTยวข้ อง และข้ อพึงปฏิบตั ิด้านการกํากับดูแลในการดําเนินกิจกรรม ของคณะกรรมการบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมาย 8 ดําเนินการอืTนๆ ตามทีTคณะกรรมการกํากับตลาดทุนกําหนด 9 จัดให้ มีการปฐมนิเทศ ให้ คําแนะนํากรณีมีกรรมการเข้ าดํารงตําแหน่งใหม่ (Board of Director’s Orientation) 10 หน้ าทีTอืTนๆ ตามทีTได้ รับมอบหมายจากบริ ษัทฯ


เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการของบริ ษัทย่อย


รายละเอียดเกี ยวกับกรรมการของบริษัทย่ อย บริษัทย่ อย ชื อ – นามสกุล

1. นาย คุณวุฒิ 2. นาย วีรพันธ์ 3. นาย ชัยยุทธ 4. นาย วทัญ0ู 5. นาย อนุชา 6. นาย ณัฏฐ์ 7. นาย นิทศั น์ 8. น.ส. วรรณี 9. Teh Ah Hock 10. Shikha Dutt

ธรรมพรหมกุล อังสุมาลี กรัณยโสภณ วิสทุ ธิโกศล จิตจาตุรันต์ จริ ตชนะ อรุณทิพย์ไพฑูรย์ จันทามงคล a/p Delip Kumar Dutt

บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ

Home Product Center (Malaysia) SDN. BHD.

บจก. เมกา โฮม เซ็นเตอร์

บจก. ดีซี เซอร์ วสิ เซ็นเตอร์

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ

กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ

กรรมการ กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ

กรรมการ และกรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

หมายเหตุ ณ วันที 31 ธันวาคม 2558 ไม่มีบริ ษัทย่อยใดที มีรายได้ เกินกว่าร้ อยละ 10 ของรายได้ รวมตามงบกําไรขาดทุนรวมของปี บัญชีลา่ สุดของบริ ษัทฯ

กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ


เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี ยวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน


รายละเอียดเกี ยวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน ชื อ : ตําแหน่ ง :

นาย อายุรทัศน์ ไชยอนันต์ (48 ปี ) ผู้จดั การทัว ไป - สํานักตรวจสอบภายใน

ความสัมพันธ์ ระหว่ างผู้บริหาร : ไม่มี วุฒทิ างการศึกษา : การอบรม : ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556 ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553 ปี 2549 ปี 2548 ปี 2546 ปี 2541 ประสบการณ์ ทาํ งาน : ปี 2553 – ปั จจุบนั ปี 2546 – ปั จจุบนั ปี 2543 – 2546 ปี 2540 – 2543

- ปริ ญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย

- COBIT 5 for enterprise framework และ CG forum “Risk oversight: High priority roles of the board” - Going From “Good” to “Great” - หลักสูตรประกาศนีบตั รผู้ตรวจสอบภายในของประเทศไทย (CPIAT) - โครงการพัฒนาผู้บริ หาร Mini MBA - NIDA - การตรวจสอบภายในเพื อเตรี ยมตัวเป็ นผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาตสากล - การบริ หารความเสี ยง - เชิงปฏิบตั ิ - Skill for new Auditor-In-charge - Operation Audit - มาตรฐานการตรวจสอบภายใน หลักสูตร 2 - มาตรฐานการตรวจสอบภายใน หลักสูตร 1 และการตรวจสอบภายในด้ านคอมพิวเตอร์ หลักสูตร 1

-

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้ช่วยผู้จดั การทัว ไป - สํานักตรวจสอบภายใน บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ที ปรึกษาด้ านการบริ หารสินค้ า - บมจ. กะรัต สุขภัณฑ์ หัวแผนกตรวจสอบภายใน - บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง

หน้ าที ความรับผิดชอบของหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน 1. จัดโครงสร้ างแบ่งงานความรับผิดชอบและบริ หารงานทัว ไปภายในสํานักตรวจสอบ 2. จัดทําคูม่ ือและมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของผู้ตรวจสอบภายใน และสอบทานผู้ตรวจสอบภายในว่าได้ ปฏิบตั ติ าม มาตรฐานการตรวจสอบภายใน 3. จัดทําแผนการตรวจสอบภายในประจําปี ของบริ ษัท โดยกําหนดเป้าหมายและขอบเขตที จะตรวจสอบ เพื อนําเสนอ พิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 4. จัดทํางบประมาณประจําปี ของสํานักตรวจสอบภายใน และ บริ หาร/ควบคุมรายจ่ายให้ อยู่ในงบประมาณ ตามที

กําหนด 5. สอบทานงาน บริ หารและควบคุมงานตรวจสอบภายในให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และขอบเขตของการ ตรวจสอบภายใน เพื อให้ ระบบการควบคุมภายในเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 6. สอบทานและอนุมตั แิ นวการตรวจสอบ (Audit Program) แบบประเมินความเสี ยงและความเพียงพอของระบบการ ควบคุมภายใน ของแต่ละงานตรวจสอบทังด้ q านปฏิบตั งิ าน ด้ านการตรวจสอบสารสนเทศ


7.

8. 9. 10. 11. 12. 13.

สอบทานและให้ คําแนะนํา ต่องานของผู้ใต้ บงั คับบัญชา เพื อดําเนินการตามแนวทางการตรวจสอบ รวมถึงควบคุม และ ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านให้ เป็ นไปตามแผนงาน โดยพิจารณาการปฏิบตั งิ านต่างๆ ให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน และระเบียบปฏิบตั งิ านต่าง ๆ ของบริ ษัท และกฎหมายที เกี ยวข้ อง สอบทานรายงานการตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบตั งิ านตามข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการตรวจสอบตามแผนงาน พร้ อมทังข้ q อเสนอแนะ ความคิดเห็นของผู้รับการตรวจสอบฯ รายงานอต่อ คณะกรรมการตรวจสอบทุกเดือน คัดเลือกและพัฒนาผู้ตรวจสอบภายในทุกระดับให้ มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และทักษะในการปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบภายใน รวมทังประเมิ q นผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายใน ให้ คําปรึกษา แนะนํา เกี ยวกับระบบการควบคุมภายในและความเสี ยงกับหน่วยงานต่างๆ ปฏิบตั งิ านพิเศษตามที ได้ รับมอบหมายจากฝ่ ายบริ หาร และคณะกรรมการตรวจสอบ ประสานงานกับผู้บริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบ ผู้สอบบัญชี และที ปรึกษา


เอกสารแนบ 4 จดหมายขอความร่วมมืองดเว้ นการให้ ของขวัญแก่ผ้ บู ริ หาร หรื อพนักงาน


(ไม่ มี)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.