HMPRO: Form 56-1 2001

Page 1

56-1

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)


สารบัญ ส่ วนที่ 1

ข้ อมูลสรุป (Executive Summary)

หน้ า ส่วน 1 - 1

ส่ วนที่ 2

บริษัททีอ่ อกหลักทรัพย์ 1. ปั จจัยความเสี่ ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ 4. การวิจยั และพัฒนา 5. ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการดาเนินงานในอนาคต 7. ข้อพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสร้างเงินทุน 9. การจัดการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหว่างกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง

ส่วน 2 - 1 ส่วน 2 - 2 ส่วน 2 - 3 ส่วน 2 - 8 ส่วน 2 - 8 ส่วน 2 - 11 ส่วน 2 - 11 ส่วน 2 - 11 ส่วน 2 - 12 ส่วน 2 – 17 ส่วน 2 - 18 ส่วน 2 - 20 ส่วน 2 - 27

ส่ วนที่ 3

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหารและผู้มอี านาจควบคุมบริษัท

ส่วน 3 - 1


ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลสรุ ป (Executive Summary)

บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจค้าปลีกจาหน่ายสิ นค้าและบริ การที่เกี่ยวข้องกับ การก่อสร้าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม บ้าน อาคาร และที่อยูอ่ าศัยมากกว่า 60,000 รายการ ในลักษณะ Home Center ที่ครบ วงจร ใช้ชื่อทางการค้าว่า “HomePro” ซึ่งเป็ นเครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั โดยจัดกลุ่มสิ นค้าเป็ น 6 กลุ่มหลัก อันได้แก่ วัสดุก่อสร้าง, เซรามิค/สุขภัณฑ์/อุปกรณ์หอ้ งน้ า, อุปกรณ์เครื่ องมือ, อุปกรณ์ไฟฟ้ าและโคมไฟ, อุปกรณ์ทาสวนและต้นไม้, และเฟอร์นิเจอร์/ออแกนไนซ์เซอร์ เพื่อให้ลูกค้ามีความสะดวกในการเลือกซื้อสิ นค้าที่มีความหลากหลายได้ครบตามความ ต้องการเพียงแห่งเดียว (One Stop Shopping) ในราคาที่เหมาะสม บริ ษทั เปิ ดดาเนินการตั้งแต่ปี 2539 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่ มต้นที่ 150.0 ล้านบาท และได้ทาการเพิ่มทุนจดทะเบียน เป็ น 350 ล้านบาทในปี 2540 หลังจากนั้นบริ ษทั ได้ทาการลดทุนจดทะเบียนมาเป็ น 116 ล้านบาทในปี 2542 ในปี 2543 บริ ษทั เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 200.0 ล้านบาทเพื่อขยาย 3 สาขา และได้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 375 ล้านบาทในปั จจุบนั โดย มีมูลค่าหุน้ ละ 1.00 บาท เพื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินธุ รกิจและขยายสาขาโฮมโปร ซึ่งในปัจจุบนั บริ ษทั มี สาขาในเขตกรุ งเทพ ปริ มณฑลและต่างจังหวัดรวมทั้งสิ้น 9 สาขา ดังนี้ 1. สาขารังสิ ต เปิ ดเดือน กันยายน 2539 ใกล้ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต 2. สาขารัตนาธิเบศร์ เปิ ดเดือน พฤษภาคม 2540 บริ เวณแยกบางใหญ่ รัตนาธิเบศร์ 3. สาขาแฟชัน่ ไอส์แลนด์ เปิ ดเดือน เมษายน 2542 ในศูนย์การค้าแฟชัน่ ไอส์แลนด์ รามอินทรา 4. สาขาฟิ วเจอร์มาร์ท เปิ ดเดือน มีนาคม 2543 ที่ถนนพระราม 3 เชิงสะพานกรุ งเทพใหม่ 5. สาขาเสรี เซ็นเตอร์ เปิ ดเดือน พฤษภาคม 2543 ในศูนย์การค้าเสรี เซ็นเตอร์ ถนนศรี นคริ นทร์ 6. สาขาเดอะมอลล์ บางแค เปิ ดเดือน กรกฎาคม 2543 ในศูนย์การค้า เดอะมอลล์ บางแค 7. สาขาเดอะมอลล์ โคราช เปิ ดเดือน เมษายน 2544 ในศูนย์การค้า เดอะมอลล์ โคราช 8. สาขารัชดาภิเษก เปิ ดเดือน มิถุนายน 2544 ในศูนย์การค้า คาร์ฟรู ์ รัชดาภิเษก 9. สาขาเพลินจิต เปิ ดเดือน ตุลาคม 2544 ในอาคารเวฟเพลส ถนนเพลินจิต จากผลการดาเนินงานของบริ ษทั ในปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั มีรายได้จากยอดขายและบริ การเท่ากับ 1,336.27, 1,164.82, 1,343.03, 2,188.17 , 3,231.54 ล้านบาท ในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 ตามลาดับ และขาดทุนสุทธิในปี 2540 และ 2541 เท่ากับ 179.96 และ 18.33 ล้านบาท ตามลาดับ และมีกาไรสุทธิในปี 2542, 2543 และ 2544เท่ากับ 31.68 , 39.55 และ 85.88 ล้านบาทตามลาดับ

ส่วนที่ 1 หน ้าที่ 1


ส่ วนที่ 2 บริษัททีอ่ อกหลักทรัพย์ ชื่อบริ ษทั

:

ลักษณะการประกอบธุรกิจ : ที่ต้ งั สานักงานใหญ่

:

เลขทะเบียนบริ ษทั เลขที่ Home Page

: :

โทรศัพท์ โทรสาร

: :

บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) Home Product Center Public Company Limited จาหน่ายสิ นค้าและบริ การที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม บ้าน อาคาร และที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร เลขที่ 161/2 หมู่ 2 ถนนพหลโยธิน ตาบลประชาธิปัตย์ อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130 บมจ. 665 www.homepro.co.th คาดว่าจะเปิ ดใช้บริ การประมาณไตรมาส 2 ปี 2545 โดยในช่วงแรกจะเป็ นเพียงการแนะนาข้อมูลของบริ ษทั และจะ สามารถทาการสัง่ ซื้อสิ นค้าของบริ ษทั โดยผ่าน website นี้ได้ต่อไป 02 958-5678 02 958-5677


1.

ปัจจัยความเสี่ยง จากลักษณะการประกอบธุรกิจของบริ ษทั ปั จจัยความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการดาเนินงานใน อนาคตของบริ ษทั มีดงั นี้ 1.1 ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจ ลูกหนี้ บริ ษทั ขายสิ นค้าและบริ การที่เกี่ยวข้องกับบ้านและที่อยูอ่ าศัย โดยแบ่งกลุ่มลูกค้าเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มลูกค้ารายย่อย ซึ่งเป็ นการขายเงินสด และกลุ่มผูร้ ับเหมาก่อสร้างทัว่ ไป ซึ่งเป็ นการขายโดยให้เครดิต ทั้งนี้ช่วงที่เกิด วิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 เป็ นต้นมา ส่งผลกระทบโดยตรงต่อกลุ่มผูร้ ับเหมาก่อสร้าง ซึ่งเป็ นลูกหนี้ของบริ ษทั อย่างไรก็ตามบริ ษทั ได้ติดตามหนี้และตั้งสารองค่าเผื่อหนี้สูญมาโดยตลอด และบริ ษทั ได้มีมาตรการที่จะลดความเสี่ ยง ดังกล่าว โดยขายสิ นค้าเป็ นเงินสดมากขึ้น ซึ่งในปี 2544 บริ ษทั มีสดั ส่วนการขายเงินสดคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 92 ของ ยอดขายทั้งหมด ซึ่งนอกจากการลดความเสี่ ยงจากหนี้สูญแล้วยังช่วยให้สภาพคล่องของบริ ษทั ดีข้ ึนด้วย และปรับการ ขายเงินเชื่อให้กบั เจ้าของโครงการที่มีฐานะทางการเงินที่ดีซ่ ึงเป็ นกลุ่มผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั เช่น แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ และ ควอลีต้ ี เฮ้าส์ หรื อผูร้ ับเหมาที่มีหนังสื อค้ าประกันแทนการขายผูร้ ับเหมาทัว่ ไปเหมือนที่ผา่ นมา ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2544 บริ ษทั มีลูกหนี้คา้ งชาระอยู่ 89.8 ล้านบาท และมีสารองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญคิดเป็ นมูลค่าประมาณ 63.1 ล้านบาท ซึ่ง ผูบ้ ริ หารประเมินจากระยะเวลาที่กาหนดในการชาระหนี้และสถานะทางการเงินของลูกหนี้แต่ละราย และบริ ษทั เห็นว่า ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ต้ งั ไว้เพียงพอและเหมาะสมแล้ว ยอดขาย ในช่วงปี 2540 ที่ผา่ นมา ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์จะได้ผลกระทบจากปั ญหาสภาวะเศรษฐกิจและมี ผลกระทบต่อธุรกิจของบริ ษทั ทาให้ยอดขายในปี 2541 ลดลงจากปี 2540 ประมาณร้อยละ 12.83 แต่อย่างไรก็ตาม ความจาเป็ นในการซ่อมแซม ปรับปรุ งและต่อเติมบ้าน และที่อยูอ่ าศัย ซึ่งเป็ นหนึ่งในปัจจัยพื้นฐานยังคงมีการขยายตัว บริ ษทั ได้มีการปรับเปลี่ยนนโยบายการขายใหม่โดยตอบสนองลูกค้ากลุ่มบ้านเก่ามากขึ้น ทั้งการเพิ่มสิ นค้าที่สามารถ ประกอบและติดตั้งได้ดว้ ยตนเอง (DIY : Do It Yourself) และการจัดให้มีช่างและผูร้ ับเหมางานปรับปรุ ง ซ่อมแซม และต่อเติมบ้านไว้บริ การเพื่อคอยให้คาแนะนาแก่ลูกค้าของบริ ษทั ทาให้ในปี 2542, 2543 และ 2544 มียอดขายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 15.30 , 62.93 และ 47.68 ตามลาดับ การลงทุน ปั จจุบนั บริ ษทั มีสาขาที่เปิ ดดาเนินการแล้วทั้งสิ้น 9 สาขา และในปี 2545 บริ ษทั มีโครงการที่จะ เปิ ดสาขาอีก 4 แห่ง คือ สาขาภูเก็ต เชียงใหม่ และในกรุ งเทพมหานครอีกประมาณ 2 สาขา ซึ่งคาดว่าจะใช้เงินลงทุน โดยประมาณ 620 ล้านบาท ทั้งนี้จากการที่ บริ ษทั มีนโยบายที่จะขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจมีความเสี่ ยงในกรณี ที่ ผลประกอบการของสาขาที่เปิ ดใหม่ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายที่ได้ประมาณการไว้ และอาจส่งผลกระทบต่อผล ประกอบการโดยรวมนั้นบริ ษทั จึงมีมาตรการที่จะลดความเสี่ ยงจากการลงทุนขยายสาขา โดยการตัดสิ นใจที่จะเปิ ด สาขาใหม่ในแต่ละครั้ง บริ ษทั จะทาการศึกษาถึงลักษณะทาเลที่ต้ งั ที่อยูใ่ กล้แหล่งชุมชน เงินลงทุน ยอดขาย จุดคุม้ ทุน ในการลงทุน อัตราผลตอบแทนหรื อกาไรที่จะได้รับ และความพร้อมของบุคลากรในการขยายสาขา


1.2

ความเสี่ยงจากการแข่ งขัน ธุรกิจของบริ ษทั เป็ นธุรกิจค้าปลีกที่มีคู่แข่งขันทางอ้อมหลายทาง เช่น จากร้านค้าปลีกหรื อ ห้างสรรพสิ นค้า ร้านค้าสิ นค้าเฉพาะอย่าง (Specialty Store) และร้านค้าย่อยทัว่ ไป แต่บริ ษทั ได้สร้างความแตกต่างจาก ธุรกิจค้าปลีกอื่น โดยมุ่งเน้นที่จะจาหน่ายสิ นค้าและบริ การที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ซ่อมแซม ตกแต่ง และต่อเติม บ้านและที่อยูอ่ าศัยครบวงจร มีการจัดหาสิ นค้าที่มีคุณภาพดีในราคาถูก โดยเน้นความหลากหลายและมีให้เลือกครบ ครัน (Variety and Assortment) จัดให้มีบริ การผูร้ ับเหมารายย่อยในงานต่าง ๆ อาทิ งานระบบไฟฟ้ า ระบบประปา งาน ซ่อมแซม และต่อเติมบ้าน เป็ นต้น ตลอดจนการให้ความรู ้เกี่ยวกับตัวสิ นค้าและวิธีการใช้งานแก่ลูกค้า เพื่อช่วยให้ ลูกค้าตัดสิ นใจเลือกซื้อสิ นค้าที่เหมาะสมกับการใช้งานจริ ง และสามารถประกอบและติดตั้งได้ดว้ ยตนเอง (Do It Yourself) รวมทั้งเน้นการขยายช่องทางการจาหน่ายเพื่อเพิม่ ความสะดวกให้แก่ลูกค้า โดยการขยายสาขาให้ครอบคลุม พื้นที่หลักที่เป็ นแหล่งชุมชนทั้งในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล และต่างจังหวัด 1.3

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น บริ ษทั มีหนี้สินต่างประเทศเป็ นเงินกูย้ มื ระยะยาวประมาณ 4.28 ล้านเหรี ยญสหรัฐ โดยปั จจุบนั บริ ษทั ได้แปลงเงินกูด้ งั กล่าวทั้งหมดเป็ นสกุลเงินเยนจานวน 469.81 ล้านเยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 คิดเป็ นเงิน บาทเท่ากับ 155.91 ล้านบาท และเนื่องจากค่าเงินบาทมีความผันผวนนับตั้งแต่ปี 2540 จนถึงปั จจุบนั จึงทาให้บริ ษทั มี ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ สิ้นปี 2542 และสิ้นปี 2543 คิดเป็ นจานวน 4.02 ล้านบาท และ 23.90 ล้านบาท และ มีกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ สิ้ นปี 2544 คิดเป็ นจานวนเงิน 3.06 ล้านบาท ตามลาดับ ทั้งนี้ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ได้ ตระหนักถึงปั ญหาดังกล่าวจึงได้ขอกูเ้ งินบาทจากสถาบันการเงินเพื่อ Refinance เงินกูส้ กุลเงินเยนทั้งหมดเรี ยบร้อยแล้ว ในเดือน กุมภาพันธ์ 2545 นี้


2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1

ประวัตคิ วามเป็ นมาและพัฒนาการทีส่ าคัญ บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) (“บริษัท”) จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั ขึ้นมาเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2538 โดยมีทุนจดทะเบียนบริ ษทั เริ่ มต้นที่ 150.0 ล้านบาท แบ่งออกเป็ น 1.50 ล้านหุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท ภายใต้ชื่อทางการค้าว่า “โฮมโปร” (HomePro) โดยได้เปิ ดดาเนินการ โฮมโปรสาขาแรกที่ศูนย์การค้าฟิ ว เจอร์พาร์ครังสิ ตในเดือนกันยายน 2539 และได้ใช้เป็ นที่ต้ งั สานักงานใหญ่ของบริ ษทั ในปั จจุบนั ด้วย  ในเดือนเมษายน 2540 บริ ษทั ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนเป็ น 350 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญ 3.5 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท เพือ่ การขยายสาขาโฮมโปรแห่งที่ 2 คือ โฮมโปรสาขารัตนาธิเบศร์  ในเดือนเมษายน 2542 บริ ษทั ได้ทาการขยายสาขาโฮมโปรแห่งที่ 3 คือสาขาแฟชัน่ ไอส์แลนด์ และในเดือนตุลาคม 2542 บริ ษทั ได้ทาการลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ล้านบาท มาเป็ น 116 ล้านบาท แบ่งเป็ น 1.16 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท เพื่อล้างผลขาดทุนสะสมของบริ ษทั ที่เกิดจากขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนและหนี้สูญ จากผูร้ ับเหมา  ในปี 2543 บริ ษทั ได้ทาการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 200 ล้านบาท มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท เพื่อทา การขยายสาขาโดยบริ ษทั ได้ขยายสาขาเพิ่มเติมอีก 3 สาขาในปี 2543 คือสาขาฟิ วเจอร์มาร์ท, สาขาเสรี เซ็นเตอร์ และ สาขาเดอะมอลล์ บางแค  ในเดือนมกราคม 2544 บริ ษทั ได้จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์ให้แปลงมูลค่าหุน้ สามัญจาก เดิม 2 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100.00 บาท จานวนเงิน 200 ล้านบาท มาเป็ น 40 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5.00 บาท มีทุนจด ทะเบียนและทุนเรี ยกชาระแล้วทั้งสิ้น 200 ล้านบาท และในเดือนมีนาคมบริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนเป็ น 275 ล้าน บาท แบ่งเป็ น 55 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5.00 บาท เพื่อใช้เป็ นเงินทุนในการขยายสาขาโฮมโปรในอนาคต และในเดือน พฤษภาคม 2544 บริ ษทั ได้ทาการจดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนโดยเปลี่ยนจากบริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด มาเป็ น บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และได้จดทะเบียนเพิ่มทุนเป็ น 375 ล้านบาท แบ่งเป็ น 75 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5.00 บาท โดยมีทุนชาระแล้ว 275 ล้านบาท แบ่งเป็ น 55 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5.00 บาท  ในเดือนเมษายน 2544 ได้เปิ ดดาเนินการสาขาโคราช ซึ่งเป็ นสาขาที่ 7 และเป็ นสาขาแรกใน ต่างจังหวัด  ในเดือนมิถุนายน 2544 ได้เปิ ดดาเนินการสาขารัชดาภิเษก เป็ นสาขาที่ 8  ในเดือนตุลาคม 2544 ได้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุน้ ที่ตราไว้ จากมูลค่าหุน้ ละ 5.0 บาทเป็ นมูลค่าหุน้ ละ 1.0 บาท และได้นาหุน้ ของบริ ษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  ในเดือนตุลาคม 2544 ได้เปิ ดดาเนินการสาขาเพลินจิต เป็ นสาขาที่ 9 2.2

การประกอบธุรกิจ บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั ที่ก่อตั้งขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ประกอบธุรกิจค้าปลีก โดยจาหน่ายสิ นค้าและบริ การที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม อาคาร บ้าน


และที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร โดยใช้ชื่อทางการค้าว่า “โฮมโปร” (HomePro) ซึ่งเป็ นเครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั ปั จจุบนั บริ ษทั มีลกั ษณะการประกอบธุรกิจ ดังนี้ ก) เป็ นศูนย์จาหน่ายสิ นค้าที่เกี่ยวกับบ้านและที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร (One Stop Shopping Home Center) โดยสามารถแบ่งประเภทกลุ่มสิ นค้าหลักได้เป็ น 6 กลุ่มคือ กลุ่มวัสดุก่อสร้าง, สิ นค้าตกแต่ง, อุปกรณ์ และเครื่ องมือช่าง, อุปกรณ์ไฟฟ้ าและโคมไฟ, อุปกรณ์ทาสวนและต้นไม้, และ เฟอร์นิเจอร์ & ออแกนไนซ์เซอร์ เพื่อให้ลูกค้าได้รับความสะดวกสบายในการเลือกซื้อสิ นค้าตามความต้องการโดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลาเดินทางไปหาซื้อ สิ นค้าจากหลายแห่ง ตลอดจนมีพนักงานที่มีความรู ้ในตัวผลิตภัณฑ์ที่คอยให้คาแนะนาเพื่อช่วยให้ลูกค้าตัดสิ นใจเลือก ซื้อสิ นค้าได้ตรงกับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน ข) มีบริ การพิเศษให้ลูกค้า ได้แก่ บริ การจัดส่งสิ นค้า จัดหาช่างและผูร้ ับเหมางานก่อสร้าง ต่อเติม ซ่อมแซม และงานระบบต่าง ๆ ภายในบ้าน ออกแบบห้องน้ า ห้องครัว ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ บริ การผสมสี ดว้ ยเครื่ อง คอมพิวเตอร์ และบริ การสัง่ ซื้อสิ นค้ากรณี พิเศษ เป็ นต้น ค) เป็ นการจาหน่ายสิ นค้าที่ผซู ้ ้ือชาระค่าสิ นค้าด้วยเงินสด หรื อบัตรเครดิต ง) รับประกันความพึงพอใจ สามารถเปลี่ยนคืนสิ นค้าได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด จากลักษณะการประกอบธุรกิจดังกล่าว บริ ษทั ได้ทาการเปิ ดให้บริ การสาขาแรกที่ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์ พาร์ค รังสิ ต ในเดือนกันยายน 2539 ซึ่งเป็ นที่ต้ งั สานักงานใหญ่ของบริ ษทั ในปัจจุบนั ด้วย และได้ทาการขยายสาขาอย่าง ต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั มีสาขาที่เปิ ดดาเนินการแล้วทั้งสิ้น 9 สาขา โดยมุ่งเน้นทาเลที่ต้ งั ในบริ เวณศูนย์การค้าที่มีสิ่ง อานวยความสะดวกแก่ลูกค้า อาทิเช่น การเดินทางสะดวก ที่จอดรถ การขนสิ นค้า เป็ นต้น รายละเอียดโดยสรุ ปของแต่ ละสาขามีตามตารางต่อไปนี้ สาขา

สถานที่ต้ งั

1. 2. 3. 4. 5.

สาขารังสิ ต สาขารัตนาธิเบศร์ สาขาแฟชัน่ ไอส์แลนด์ สาขาฟิ วเจอร์มาร์ท สาขาเสรี เซ็นเตอร์

6. 7. 8. 9.

สาขาเดอะมอลล์ บางแค สาขาเดอะมอลล์ โคราช สาขารัชดาภิเษก สาขาเพลินจิต

ใกล้ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต แยกบางใหญ่ รัตนาธิเบศร์ ในศูนย์การค้าแฟชัน่ ไอส์แลนด์ รามอินทรา เชิงสะพานกรุ งเทพใหม่ ถนนพระราม 3 ในศูนย์การค้าเสรี เซ็นเตอร์ ถนนศรี นคริ นทร์ ในศูนย์การค้าเดอะมอลล์ บางแค ในศูนย์การค้าเดอะมอลล์ โคราช ในศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ รัชดาภิเษก ในอาคารเวฟเพลส ถนนเพลินจิต

วันที่เปิ ดดาเนินการ กันยายน 2539 พฤษภาคม 2540 เมษายน 2542 มีนาคม 2543 พฤษภาคม 2543

พื้นที่ขาย (ตารางเมตร) 9,000 8,200 5,500 4,900 6,100

กรกฎาคม 2543 เมษายน 2544 มิถุนายน 2544 ตุลาคม 2544

5,100 4,400 5,000 4,200


2.3

โครงสร้ างรายได้ โครงสร้างรายได้แยกตามสายผลิตภัณฑ์หลักดังนี้ ผลิตภัณฑ์ ปี 2544 % ปี 2543 รายได้ รายได้ 1. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มวัสดุก่อสร้าง 137.4 4.6 108.5 2. ผลิตภัณฑ์ สิ นค้าตกแต่ง 1,034.0 34.5 714.0 3. ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์และเครื่ องมือ 529.7 17.7 376.9 4. ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ไฟฟ้ าและโคมไฟ 725.9 24.3 494.0 5. ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ทาสวนและต้นไม้ 90.1 3.0 75.2 6. ผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ & ออแกนไนซ์เซอร์ 475.0 15.9 364.2 รวมรายได้ 2,992.1 100.0 2,132.8 2.4

% 5.1 33.5 17.6 23.2 3.5 17.1 100.0

ปี 2542 รายได้ 75.0 447.9 260.3 291.5 58.8 179.7 1,313.2

% 5.7 34.1 19.8 22.2 4.5 13.7 100.0

ปี 2541 รายได้ 76.0 358.3 204.9 210.5 56.8 138.2 1,044.7

เป้ าหมายการดาเนินธุรกิจ บริ ษทั มีเป้ าหมายที่จะเป็ นผูน้ าในธุรกิจด้านการขายวัสดุก่อสร้าง อุปกรณ์ เครื่ องมือสิ นค้าตกแต่ง บ้าน และบริ การแบบครบวงจร ณ ปั จจุบนั บริ ษทั มีสินค้าที่ใช้สาหรับการก่อสร้าง ตกแต่ง และซ่อมแซม บ้านและที่อยู่ อาศัยมากกว่า 60,000 รายการ เพื่อให้ลูกค้าสามารถเลือกซื้อสิ นค้าพร้อมบริ การในร้านของบริ ษทั ได้ครบตามความ ต้องการเพียงแห่งเดียว (One Stop Shopping) บริ ษทั มีเป้ าหมายที่จะสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบั ลูกค้า โดยมีศูนย์ ฝึ กอบรม (Training Center) เพื่อพัฒนาบุคลากรในทุกระดับให้มีความรู ้ความสามารถเพื่อให้บริ การที่ ดีกบั ลูกค้า บริ ษทั มีเป้ าหมายในการลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานโดยมีการตั้ง ศูนย์กระจายสิ นค้า (Distribution Center) ที่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2544 เพื่อเป็ นศูนย์กลางในการสัง่ ซื้อสิ นค้าเพื่อกระจายไปสู่สาขา ตลอดจนเป็ น คลังสิ นค้าของบริ ษทั ทาให้มีสินค้าเพียงพอโดยไม่สูญเสี ยโอกาสการขายและลดปริ มาณสิ นค้าคงคลังส่วนเกินได้ใน อนาคต อีกทั้งยังลดขั้นตอนและปริ มาณการรับสิ นค้าของโฮมโปรแต่ละสาขา ทาให้กระบวนการบริ หารสิ นค้าคงคลัง ทั้งระบบมีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนี้จะมีการพัฒนาระบบ Computer เพื่อช่วยให้การบริ หารงานทั้งในด้านการ สัง่ ซื้อ การรับ การขาย และการบริ หารสิ นค้าคงคลังเป็ นไปด้วยความรวดเร็ ว ถูกต้อง และลดค่าใช้จ่ายการดาเนินงาน ตลอดจนการจัดทารายงานข้อมูลเพื่อการตัดสิ นใจของฝ่ ายจัดการให้เป็ นไปด้วยความถูกต้อง แม่นยา และรวดเร็ ว อัน จะเป็ นผลให้บริ ษทั สามารถดาเนินธุรกิจให้สนองตอบความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น

% 7.3 34.3 19.6 20.2 5.4 13.2 100.0


3.

การประกอบธุรกิจของแต่ ละสายผลิตภัณฑ์ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ปั จจุบนั บริ ษทั แบ่งสายผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ตามประเภทกลุ่มสิ นค้าได้เป็ น 6 กลุ่มหลัก ดังนี้ 3.1.1 ผลิตภัณฑ์ กลุ่มวัสดุก่อสร้าง ประกอบด้วย บล๊อคปูถนน ปูนซิเมนต์ ฉนวนกันความร้อน ไม้แปรรู ป ไม้ประดิษฐ์ เช่น ไม้ควิ้ ไม้บวั ประตู วงกบ หน้าต่าง กระเบื้องหลังคา ผลิตภัณฑ์ฝาผนัง ยิบซัม่ บอร์ด เป็ น ต้น 3.1.2 ผลิตภัณฑ์ สิ นค้าตกแต่ง ประกอบด้วย เซรามิค สุขภัณฑ์ อุปกรณ์ที่ใช้ในห้องน้ า ปั๊ มน้ า ท่อ และข้อต่อประปา เครื่ องทาน้ าร้อน เป็ นต้น 3.1.3 ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์และเครื่ องมือ ประกอบด้วย สว่าน ค้อน ไขควง ประแจจับ เครื่ องมือ ช่างต่าง ๆ สี และอุปกรณ์ทาสี มือจับ ลูกบิด สลักประตูและหน้าต่าง เป็ นต้น 3.1.4 ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ไฟฟ้ าและโคมไฟ ประกอบด้วย อุปกรณ์ไฟฟ้ า และแสงสว่างต่าง ๆ ได้แก่ โคมไฟ ไฟกิ่ง ไฟแขวน หลอดไฟ สายไฟ อุปกรณ์ตดั ไฟ อุปกรณ์สาหรับระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง ปลัก๊ เป็ นต้น 3.1.5 ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ทาสวนและต้นไม้ ประกอบด้วย อุปกรณ์ทาสวน อุปกรณ์ตดั หญ้า ชุดเฟอร์นิเจอร์สนาม ต้นไม้ ดิน ปุ๋ ยและกระถาง เป็ นต้น 3.1.6 ผลิตภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ & ออแกนไนซ์เซอร์ ประกอบด้วย แผ่นชั้น Storage ชุด เฟอร์นิเจอร์สาหรับห้องนอน ห้องทานอาหาร ห้องนัง่ เล่น ห้องทางาน เป็ นต้น 3.2

การตลาดและภาวะการแข่ งขัน ก. ภาวะการแข่ งขัน ด้านการแข่งขัน ณ ปั จจุบนั มีผทู ้ ี่ประกอบธุรกิจในลักษณะเดียวกับโฮมโปรโดยตรง (One Stop Shopping Home Center)เพียงรายเดียว คือ โฮมเวิร์ค แต่อาจจาแนกร้านค้าที่อาจจัดได้วา่ มีการขายสิ นค้าที่แข่งขันกับโฮ มโปรได้ดงั นี้ 1. ผูป้ ระกอบธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ปั จจุบนั มีเพียง 2 ราย ได้แก่ บริ ษทั ฯ และโฮมเวิร์ค ซึ่งเป็ นบริ ษทั ใน เครื อของกลุ่มเซ็นทรัล โดยในขณะนี้มีสาขาเพียง 3 สาขา คือ ชั้น 5 เซ็นทรัลบางนา ชั้น 4 เซ็นทรัลรามคาแหง และที่ Jusco รัตนาธิเบศร์ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ เห็นว่าธุรกิจนี้ยงั มีศกั ยภาพและช่องว่างอยูม่ าก การที่มีผเู ้ ล่นในธุรกิจนี้ เพิ่ม ขึ้น จะช่วยกระตุน้ ให้ผบู ้ ริ โภครู ้จกั และเปลี่ยนพฤติกรรมให้หนั มาซื้อสิ นค้าจากร้านที่ทนั สมัยแบบโฮมเซ็นเตอร์ได้มาก ขึ้นและเร็ วขึ้น 2. ผูป้ ระกอบธุรกิจร้านค้าเฉพาะอย่าง (Specialty Store) เช่น ร้านค้ารายย่อยที่เน้นการขายสิ นค้า เฉพาะกลุ่มเซรามิคและสุขภัณฑ์เป็ นหลัก เช่น ร้านสุขภัณฑ์เซ็นเตอร์ , บุญถาวร, Decor mart, แกรนด์โฮมมาร์ท และ อินเตอร์สุขภัณฑ์ ซึ่งความหลากหลายของสิ นค้าเซรามิคและสุขภัณฑ์และราคาที่จาหน่ายมีความใกล้เคียงกับโฮมโปร


สาหรับร้านค้ารายย่อยที่ขายเฉพาะวัสดุก่อสร้าง ได้แก่ ร้านของ Cement Thai Home Mart ที่ เน้นการจาหน่ายสิ นค้าของเครื อซิเมนต์ และร้านขายสิ นค้าเฉพาะอย่าง เช่น ร้านขายสี , ร้านขายอุปกรณ์ประปา, และ ร้านฮาร์ดแวร์ เป็ นต้น ซึ่งร้านค้าเหล่านี้จะมีความหลากหลายของสิ นค้าน้อย และมีขอ้ จากัดในการเลือกซื้อสิ นค้า ทาให้ ลูกค้าต้องเสี ยเวลาไปซื้อสิ นค้าจากหลาย ๆ ร้าน อีกทั้งมักไม่มีความอิสระในการเลือกซื้อสิ นค้าเพราะรู ปแบบการ จัดเรี ยงสิ นค้าในร้านยังเป็ นแบบเก่า (Traditional trade) ซึ่งลูกค้าไม่สามารถเลือกสิ นค้าได้ตามความพอใจ และไม่มี ป้ ายแสดงราคา ทาให้เกิดความไม่มนั่ ใจในคุณภาพสิ นค้าและราคา ซึ่งร้านค้าประเภทนี้ส่วนใหญ่จะเหมาะสาหรับ กรณี ที่ลูกค้ามีความต้องการเร่ งด่วน อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากความหลากหลายในตัวสิ นค้าแล้ว โฮมโปร ยังจัดให้มีบริ การ พิเศษแก่ลูกค้าซึ่งแตกต่างจากร้านค้าเฉพาะอย่างและร้านค้ารายย่อย อาทิเช่น จัดหาช่างและผูร้ ับเหมางานระบบ งาน ปรับปรุ ง ซ่อมแซมและต่อเติมบ้านคอยให้บริ การ, มีนโยบายเปลี่ยนคืนสิ นค้าภายในระยะเวลาที่กาหนด, รับชาระค่า สิ นค้าผ่านบัตรเครดิตโดยไม่คิดค่าธรรมเนียมเพิ่มจากลูกค้า และตลอดจนมีระบบบัตรสมาชิกที่จะให้ขอ้ มูล ข่าวสาร และส่วนลดแก่ลูกค้าของโฮมโปร 3. ร้านค้าปลีก เช่น Lotus, Big C, และ Carrefour โดยร้านค้าปลีกเหล่านี้จะมีผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม สิ นค้าที่เป็ นของกินของใช้ทวั่ ๆ ไปเป็ นหลัก มีขายสิ นค้าที่เกี่ยวกับบ้านบางรายการเท่านั้น เช่น หลอดไฟ ปั้ มน้ า อุปกรณ์หอ้ งน้ า อุปกรณ์ประตู อุปกรณ์ตกแต่งสวน เป็ นต้น ทาให้ความหลากหลายของสิ นค้าที่เกี่ยวกับบ้านและ ตกแต่งบ้านมีนอ้ ย ซึ่งที่ผา่ นมามีร้านค้าปลีกดังกล่าวบางแห่งให้โฮมโปรเข้าไปเช่าพื้นที่บางส่วน เช่นที่ Carrefour สาขารัชดาภิเษก เพื่อทาให้ศูนย์การค้านั้นมีความหลากหลายของสิ นค้ามากขึ้น โดยจะมีสินค้าที่เป็ นของกินของใช้ และสิ นค้าที่เกี่ยวกับบ้านและตกแต่งบ้านที่ครบวงจร เพื่อให้ลูกค้าสามารถเลือกซื้อสิ นค้าทุกอย่างที่ตอ้ งการได้ในที่ เดียว (One Stop Shopping) ข. กลยุทธการแข่ งขัน บริ ษทั ยังได้กาหนดกลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน 4 ประการ ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์ บริ ษทั มีสินค้าที่ใช้สาหรับการสร้าง ตกแต่ง ต่อเติม และซ่อมแซมบ้านและที่อยู่ อาศัยมากกว่า 60,000 รายการ เพื่อให้ลูกค้ามีความสะดวกในการเลือกซื้อสิ นค้าได้ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้งานได้ ภายในที่เดียว(One Stop Shopping) และบริ ษทั มีเป้ าหมายที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั เอง (Private Brand) ในกลุ่มสิ นค้าที่มียอดจาหน่ายสูง เพื่อเพิ่มทางเลือกให้ลูกค้าที่ตอ้ งการซื้อสิ นค้าคุณภาพดีในราคาพิเศษ 2. บริ การ บริ ษทั มีบริ การที่เกี่ยวเนื่องกับผลิตภัณฑ์ท้ งั การออกแบบห้องน้ า ห้องครัว บริ การจัดหาสิ นค้าพิเศษ บริ การจัดส่งสิ นค้า รวมทั้งการมีพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญในตัวผลิตภัณฑ์คอยให้คาปรึ กษา และแนะนาการแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ตลอดจนมีบริ การจัดหาช่างและผูร้ ับเหมางานติดตั้งต่อเติมระบบงานต่าง ๆ ภายใน บ้าน 3. ทาเลที่ต้งั และจานวนสาขา บริ ษทั เลือกเปิ ดสาขาในทาเลที่ต้ งั ที่สะดวกต่อการเดินทางของลูกค้า และมีแผนที่จะขยายสาขาไปในพื้นที่ที่มีศกั ยภาพทั้งในเขตกรุ งเทพ ปริ มณฑล และต่างจังหวัด อย่างต่อเนื่อง เพื่อขยาย การให้บริ การแก่ลูกค้าเป้ าหมายอย่างทัว่ ถึง


4. การบริ หารงาน กลุ่มผูบ้ ริ หารระดับสูงของบริ ษทั เป็ นผูท้ ี่มีประสบการณ์จากธุรกิจค้าปลีกและ ผูท้ ี่มาจากบริ ษทั ผูผ้ ลิตสิ นค้าวัสดุก่อสร้าง ทาให้มีการผสมผสานและแลกเปลี่ยนความรู ้ในตัวสินค้าและรู ปแบบของ ธุรกิจค้าปลีก อีกทั้งบริ ษทั ยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยนาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการ ทางานที่ครบวงจร ตั้งแต่การสัง่ ซื้อ การรับ การขาย และการควบคุมสิ นค้าคงคลัง ซึ่งเป็ นผลให้บริ ษทั สามารถลด ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานให้ต่าลง ตลอดจนผูบ้ ริ หารสามารถนาข้อมูลจากการประมวลผลที่ถูกต้องมาวิเคราะห์ผล การดาเนินงานเพื่อปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการทางานให้ดียงิ่ ขึ้นได้อย่างรวดเร็ วทันต่อเหตุการณ์ ค. กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย เนื่องจากธุรกิจของบริ ษทั เป็ นธุรกิจค้าปลีกที่เกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง เครื่ องมือ และสิ นค้าตกแต่งบ้าน และที่อยูอ่ าศัย ดังนั้นกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของบริ ษทั จะเป็ นลูกค้ารายย่อยทัว่ ไปเป็ นลูกค้าหลัก และมีเพียงบางส่วนที่ เป็ นผูร้ ับเหมารายย่อย ทั้งตลาดบ้านใหม่ ตลาดซ่อมแซมและต่อเติมบ้าน (บ้านเก่า) ซึ่งในช่วงสภาวะทางเศรษฐกิจที่ดี นั้นตลาดบ้านใหม่จะขยายตัวสูง เนื่องจากพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคที่มีรายได้ดีข้ ึนมักจะซื้อบ้านใหม่ที่ใหญ่ข้ ึนเพื่อ รองรับครอบครัวที่ขยายตัวขึ้น แต่หลังจากเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจในปี 2540 ทาให้ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์หดตัวอย่าง มาก ความต้องการซื้อบ้านใหม่ลดน้อยลง อย่างไรก็ตาม บ้านที่อาศัยมาแล้วระยะเวลาหนึ่ง(บ้านเก่า)จาเป็ นต้องมีการ ซ่อมแซม บารุ งรักษา อีกทั้งบางส่วนมีความจาเป็ นที่ตอ้ งขยาย ต่อเติม ตกแต่ง เพื่อรองรับการขยายตัวของครอบครัว จึงทาให้ตลาดในส่วนนี้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น บริ ษทั จึงหันมาให้ความสาคัญแก่ลูกค้าบ้านเก่ามากขึ้น ง. การตลาดและการจัดจาหน่ าย บริ ษทั ได้ทาการตลาดโดยเน้นการใช้สื่อที่เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายทั้งในด้านกว้างเพื่อการสร้าง Brand awareness และมี Direct mail เพื่อนาเสนอสิ นค้าและบริ การถึงลูกค้าที่ตอ้ งการซื้อสิ นค้า อีกทั้งยังมีการทากิจกรรม ส่งเสริ มการขายที่ร่วมกับคูค่ า้ ทั้ง Suppliers และสถาบันการเงินอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยหมุนเวียนกลุ่มสิ นค้าให้ เหมาะสมกับการใช้งานในแต่ละช่วงแต่ละเดือน ในด้านการจัดจาหน่าย บริ ษทั ได้ขยายสาขาเพื่อให้ครอบคลุมบริ เวณที่อยูอ่ าศัยหลักในเขตกรุ งเทพฯ และมีแผนงานที่จะขยายสาขาไปในเขตเมืองใหญ่ในต่างจังหวัด เพื่ออานวยความสะดวกในการมาจับจ่ายใช้สอบของ ลูกค้า อีกทั้งบริ ษทั ได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในตัวสิ นค้า ปรับปรุ งระบบงานให้มี ความคล่องตัวและสร้างบรรยากาศภายในร้าน เพื่อให้ลูกค้าได้รับบริ การที่ดีและมีความพึงพอใจสูงสุด 3.3

การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ก) ลักษณะการจัดให้ ได้ มาซึ่งผลิตภัณฑ์

บริ ษทั จัดซื้อสิ นค้าโดยแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์ตามประเภทกลุ่มสิ นค้า โดยมุ่งเน้นการจัดหาสิ นค้าที่ มีคุณภาพจากผูผ้ ลิตหรื อผูน้ าเข้าโดยตรง ทั้งที่สงั่ ซื้อจากผูผ้ ลิต / ตัวแทนจาหน่ายภายในประเทศ และนาเข้าโดยตรงจาก ต่างประเทศ คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 97 และร้อยละ 3 เพื่อลดพ่อค้าคนกลาง และให้ได้ตน้ ทุนที่ต่าที่สุด โดยพิจารณา เปรี ยบเทียบคุณสมบัติของสิ นค้านั้นๆ ตลอดจนความสามารถในการผลิต และการควบคุมคุณภาพ (Quality control)


ของผูผ้ ลิตด้วย ซึ่งที่ผา่ นมาผูผ้ ลิตและผูน้ าเข้าได้ให้การสนับสนุนโฮมโปรด้วยดีมาตลอด เช่น มีการทาการโฆษณาและ โปรโมชัน่ ร่ วมกัน เป็ นระยะ ๆ มี Special Discount, และขยายระยะเวลาการชาระค่าสิ นค้าในช่วงที่เปิ ดสาขาใหม่ท้ งั นี้ วิธีปฏิบตั ิในการสัง่ ซื้อ สิ นค้านั้นในกรณี ที่เป็ นสิ นค้าประเภทที่มีจาหน่ายอยูแ่ ล้ว ทางส่วนกลางจะเป็ นเพียงผูก้ าหนด นโยบายและให้แต่ละสาขาจัดซื้อเอง (REPEAT ORDER) ในกรณี ที่เป็ นสิ นค้าใหม่ทางส่วนกลางจะเป็ นผูด้ าเนินการ จัดหาให้ นอกจากนี้บริ ษทั ได้เริ่ มจาหน่ายสินค้าภายใต้เครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั เอง (Private Brand) เพื่อ เพิ่มทางเลือกให้แก่ลูกค้าที่ตอ้ งการสิ นค้าราคาถูกและไม่ยดึ ติดในตรายีห่ อ้ และร่ วมกับผูผ้ ลิตพัฒนาสิ นค้าเพื่อจาหน่าย เฉพาะที่โฮมโปร (Exclusive Brand) เพื่อสนองตอบลูกค้าที่ตอ้ งการสิ นค้าที่มีรูปแบบสวยงาม ทันสมัย คุณภาพดีและ ราคาประหยัด เนื่องจากบริ ษทั ทาธุรกิจค้าปลีกแบบ Home Center มีสินค้ามากกว่า 60,000 รายการ ซึ่งสิ นค้า ดังกล่าวจัดหาจากผูผ้ ลิตและผูจ้ าหน่ายสิ นค้า (Suppliers) กว่า 600 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์กบั บริ ษทั มาเป็ น เวลานาน ทั้งนี้โฮมโปรมีผผู ้ ลิตและผูจ้ าหน่ายสิ นค้า ที่มียอดซื้อขายสิ นค้ากันเกินกว่าร้อยละ 10 ของยอดขายรวมในแต่ ละกลุ่มสิ นค้า ประมาณ 4-5 ราย ได้แก่ เครื อซิเมนต์ไทย บจก.เครื่ องสุขภัณฑ์อเมริ กนั สแตนดาร์ด (ประเทศไทย) บจก.ฟิ ลิปส์อิเล็คทรอนิกส์(ประเทศไทย) เป็ นต้น ซึ่งในแต่ละกลุม่ สิ นค้าจะมีสินค้าหลายยีห่ อ้ เพื่อให้ลูกค้าได้เลือกซื้อ และเนื่องจากแนวโน้มพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคจะมาเลือกซื้อสิ นค้าจากร้านที่เป็ นทันสมัย (modern trade) มากขึ้น ทา ให้โฮมโปรเป็ นช่องทางการจาหน่าย (Distribution Channel) ที่มีการขยายตัวของยอดขายในอัตราที่สูง นอกจากนี้โฮ มโปรจะพัฒนาวิธีการสัง่ ซื้อสิ นค้าโดยใช้ระบบ SUPPLY CHAIN MANAGEMENT ซึ่งเป็ นระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายทาการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโฮมโปรกับระบบคอมพิวเตอร์ของผูผ้ ลิตและผูจ้ าหน่ายสิ นค้า ทาให้ ผูผ้ ลิตและผูจ้ าหน่ายสิ นค้า รับรู ้ขอ้ มูลการขายสิ นค้า จานวนสิ นค้าคงเหลือของโฮมโปร รวมถึงพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค ที่มีต่อสิ นค้าของตน และนาข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผลในการวางแผนการผลิตและส่งสิ นค้าให้กบั โฮมโปรในเวลา ที่เหมาะสม ทาให้ลดต้นทุนในการขนส่งและช่วยในการบริ หารสิ นค้าคงเหลือที่มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น นอกจากนี้โฮมโปร ได้จดั ตั้งศูนย์กระจายสิ นค้า (Distribution Center) ขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การสัง่ ซื้อสิ นค้าและเป็ นที่เก็บสิ นค้าคงคลังส่วนกลาง ซึ่งจะช่วยให้โฮมโปร ลดปริ มาณสิ นค้าคงคลังส่วนเกินที่เดิมมี อยูต่ ามสาขาต่างๆลง และยังจะช่วยลดการสูญเสี ยโอกาสในการขายสิ นค้าอันเนื่องมาจากการขาดแคลนสิ นค้าคงคลัง ได้ ข) ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้อม โฮมโปรเป็ นธุรกิจที่ซ้ือมาและขายไป ไม่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม


4.

การวิจยั และพัฒนา บริ ษทั มีหน่วยงานพัฒนาธุรกิจและสาขา โดยนาข้อมูลการขาย ความต้องการของลูกค้ามาพัฒนาพื้นที่ขาย การจัดเรี ยงสิ นค้า การสร้างห้องแสดงสิ นค้า (Model Room) ตลอดจนปรับปรุ งบริ การหลังการขาย ทั้งนี้เพื่อให้ลูกค้ามี ความต้องการที่จะซื้อสิ นค้ามากขึ้น รวมทั้งบริ หารยอดขายต่อพื้นที่ขาย และบริ หารต้นทุนการลงทุนต่อสาขาให้มี ประสิ ทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ บริ ษทั มีแผนที่จะร่ วมกับผูผ้ ลิตที่เป็ นคูค่ า้ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพที่ดีข้ ึน มีการใช้งานง่ายขึ้น ตลอดจนให้ลูกค้าที่ใช้ผลิตภัณฑ์น้ นั ได้รับคุณค่า (Value) มากขึ้น โดยรวบรวมข้อมูลและปั ญหาต่างๆ ที่ได้รับฟังจาก ลูกค้าผสานกับความเชี่ยวชาญในตัวสิ นค้าของบริ ษทั และผูผ้ ลิตปรับปรุ งแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ รวมทั้งช่วยวิเคราะห์ แนวโน้มความต้องการของผูบ้ ริ โภคให้คู่คา้ ผลิตสิ นค้าที่สามารถสนองตอบความพึงพอใจของลูกค้าได้สูงสุด


5.

ทรัพย์ สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ บริ ษทั มีสินทรัพย์หลักที่ใช้ในการประกอบธุรกิจดังต่อไปนี้ สิ นทรัพย์หลักของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ประกอบด้วย (หน่ วย : ล้ านบาท) สินทรัพย์ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สิ ทธิการเช่ารอตัดบัญชี อาคาร คอมพิวเตอร์ เครื่ องใช้สานักงาน เครื่ องตกแต่งติดตั้งและอุปกรณ์ ยานพาหนะ รวม หัก ค่าเสื่ อมราคา ทรัพย์ สินถาวรสุ ทธิ

มูลค่ าทางบัญชี (ราคาสุ ทธิ) 141.72 730.00 100.13 46.21 203.94 2.63 1,224.63 (196.47) 1,028.16

รายละเอียดสัญญาเช่าระยะยาวของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 สินทรัพย์

ที่ดิน

ทาเลทีต่ ้งั

สาขารังสิ ต สาขารัตนาธิเบศร์

เนือ้ ที่ โดยประมาณ

มูลค่ าทางบัญชี (ล้ านบาท) ณ 31 ธันวาคม 2544 15 ไร่ 3 งาน 82 34.89 ตรว. 7 ไร่ 20 ตรว. 22.39

ประเภทการ ถือครอง กรรมสิทธิ์

ปี ทีส่ ิ้นสุ ด อายุ สัญญาเช่ า

สิทธิในการต่ อ สัญญา

สิ ทธิการเช่า ที่ดิน สิ ทธิการเช่า ที่ดิน

2565

ไม่มี

2568

ถ้าผูใ้ ห้เช่าช่วง ได้ต่ออายุ สัญญาเช่าที่ดิน จะตกลงต่ออายุ การเช่าที่ดิน ให้กบั บริ ษทั ตามเงื่อนไขที่ บริ ษทั และผูใ้ ห้ เช่าช่วงจะตกลง


สาขาแฟชัน่ ไอส์ 7,350 ตรม. แลนด์ สาขาฟิ วเจอร์ มาร์ท 6,300 ตรม.

0.66

สาขาเสรี เซ็นเตอร์

6,920 ตรม.

1.76

สาขาเดอะมอลล์ บาง 6,473 ตรม. แค สาขาเดอะมอลล์ 5,736 ตรม. โคราช สาขารัชดาภิเษก 5,652 ตรม.

1.32 1.05 31.49

4,926 ตรม.

บางนา

23 ไร่ 2 งาน 90 ตรว.

-

รวม

2559

ไม่มี

2566

ไม่มี

2565

ไม่มี

2568

ไม่มี

2563

ไม่มี

2564

ไม่มี

2569

ไม่มี

ประเภทการถือ ครองกรรมสิทธิ์

ปี ทีส่ ิ้นสุ ด อายุ สัญญาเช่ า

เจ้าของกรรมสิ ทธิ เจ้าของกรรมสิ ทธิ เช่าพื้นที่ใน ศูนย์การค้า เช่าพื้นที่ใน ศูนย์การค้า เช่าพื้นที่ใน ศูนย์การค้า เช่าพื้นที่ใน

2565 2568 2566

สิ ทธิการเช่า พื้นที่ สิ ทธิการเช่า พื้นที่ สิ ทธิการเช่า พื้นที่ สิ ทธิการเช่า พื้นที่ สิ ทธิการเช่า พื้นที่ สิ ทธิการเช่า พื้นที่ สิ ทธิการเช่า พื้นที่ สิ ทธิการเช่า ที่ดิน

-

สาขาเพลินจิต

2566

กันต่อไป ไม่มี

48.16 141.72

รายละเอียดอาคารและส่วนปรับปรุ งอาคารที่สาคัญของบริ ษทั สินทรัพย์

ทาเลทีต่ ้งั

พืน้ ทีข่ าย (ตารางมตร)

อาคาร

สานักงานใหญ่ และสาขารังสิ ต สาขารัตนาธิเบศร์ สาขาแฟชัน่ ไอส์แลนด์

9,000 8,200 5,500

มูลค่ าทางบัญชี (ล้ านบาท) ณ 31 ธันวาคม 2544 244.13 236.33 29.73

สาขาฟิ วเจอร์ มาร์ท

4,900

22.10

สาขาเสรี เซ็นเตอร์

6,100

24.31

สาขาเดอะมอลล์ บางแค

5,100

41.94

2559 2566 2565


สาขาเดอะมอลล์ โคราช

4,300

33.42

สาขารัชดาภิเษก

4,200

25.01

สาขาเพลินจิต

4,145

25.16

คลังสิ นค้า

ศูนย์การค้า เช่าพื้นที่ใน ศูนย์การค้า เช้าพื้นที่ใน ศูนย์การค้า เช่าพื้นที่ใน ศูนย์การค้า เช่าพื้นที่

1.85 รวม 683.98 หมายเหตุ : ไม่ รวมส่ วนของสาขาใหม่ ทกี่ าลังมีการขยายเพิม่ ซึ่งมีค่าก่ อสร้ างบางส่ วนแล้ ว

2568 2563 2564 2546

บริ ษทั ได้นาสิ ทธิการเช่าพร้อมทั้งอาคารบนที่เช่าทั้งหมด และเครื่ องตกแต่งติดตั้งและอุปกรณ์บางส่วนไปจดจานองค้ า ประกันภาระหนี้สินที่บริ ษทั มีต่อธนาคาร 2 แห่ง วงเงิน 408.50 ล้านบาท และในปี 2543 บริ ษทั ได้นาอาคารและสิ่ ง ปลูกสร้างบนที่เช่าบางส่วนไปจดจานองอันดับ 2 เพื่อค้ าประกันเงินกูย้ มื จากบริ ษทั อื่นในประเทศแห่งหนึ่ง มูลค่าการ จดจานอง 469.81 ล้านเยน


6.

โครงการดาเนินงานในอนาคต 6.1 การขยายสาขา บริ ษทั มีแผนการขยายสาขา ทั้งในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล และในจังหวัดใหญ่ เช่น เชียงใหม่ ภูเก็ต ชลบุรี เป็ นต้น โดยในปี 2545 บริ ษทั มีแผนที่จะขยายสาขา 4 สาขา ดังนี้ สาขาภูเก็ต เปิ ดดาเนินงานราวไตรมาสที่ 2 ในอาคารของโลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาภูเก็ต สาขาเชียงใหม่ เปิ ดดาเนินงานราวไตรมาสที่ 3 ในอาคารของคาร์ฟรู ์ สาขาเชียงใหม่ นอกจากนี้ บริ ษทั มีแผนที่จะขยายสาขาเพิ่มเติมอีกประมาณ 2 สาขา ซึ่งอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาทาเล ที่ต้ งั ที่เหมาะสม


7.

ข้ อพิพาททางกฎหมาย บริ ษทั ไม่มีขอ้ พิพาททางกฎหมายที่ถูกฟ้ องร้องโดยผูอ้ ื่น แต่จะมีที่บริ ษทั ได้ทาการดาเนินการฟ้ องร้อง ดาเนินคดีกบั ลูกหนี้ของบริ ษทั (เป็ นลูกหนี้ทวั่ ไปโดยไม่มีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ) เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจหดตัว ทาให้มีลูกหนี้บางรายที่ไม่สามารถชาระหนี้ได้จานวนประมาณ 63.2 ล้าน บาท ซึ่งบริ ษทั ได้ทาการฟ้ องร้องดาเนินคดีกบั ลูกหนี้ดงั กล่าวจานวนประมาณ 59.4 ล้านบาท โดยมีหนี้ที่ยงั ไม่ได้ ดาเนินคดีประมาณ 3.8 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม หนี้ที่มีปัญหาดังกล่าวบริ ษทั ได้ต้งั ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ท้ งั หมดแล้ว (ณ 31 ธันวาคม 2544 บริ ษทั มีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจานวน 63.1 ล้านบาท) ทั้งนี้หากลูกหนี้ที่บริ ษทั ได้ฟ้องร้อง ดาเนินคดีไม่สามารถชาระหนี้ได้ บริ ษทั ก็จะนามูลหนี้น้ นั มาใช้ประโยชน์ทางภาษีเงินได้ต่อไป ซึ่งคาดว่าจะดาเนินการ ได้แล้วเสร็ จภายในปี 2545


8.

โครงสร้ างเงินทุน 8.1 หลักทรัพย์ ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริ ษัทมีทนุ จดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว 375 ล้ านบาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญ จานวน 375 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท 8.2

ผู้ถอื หุ้น รายชื่อและสัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นของบริ ษัท (ทังนี ้ ้รวมการถือหุ้นของผู้ทเี่ กี่ยวข้ องตาม มาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2544 ลาดับที่ ชื่อบุคคล / นิติบุคคล จานวนหุ้น ร้ อยละของจานวนหุ้น ที่จาหน่ ายแล้ วทัง้ หมด 1. บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 109,090,920 29.09 2. บมจ. ควอลิตี ้เฮ้ าส์ 81,818,045 21.82 3. บจก. อเมริ กนั อินเตอร์ แนชชัน่ แนล แอสชัวรันส์ 41,509,090 11.07 4. นายมานิต อุดมคุณธรรม 32,127,055 8.57 5. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 15,000,000 4.00 6. บจก.สารสิน 10,227,275 2.73 7. นายพงส์ สารสิน 4,063,775 1.08 8. นายปวิตร กุลธนวิทย์ 1,500,000 0.40 9. กองทุนเปิ ดอยุธยาหุ้นทวีปันผล 1,247,200 0.33 10. นายบรรพต คล้ ายชัง 1,200,000 0.32 รวม 297,783,360 79.41

8.3

นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล บริ ษัทมีนโยบายทีจ่ ะจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นประมาณร้ อยละ 30 ของกาไรสุทธิในแต่ละปี ฺ​ฺ ทังนี ้ ้ การจ่ายเงินปั นผลให้ นาปั จจัยต่าง ๆ มาพิจารณาประกอบดังนี ้เช่น ผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของบริ ษัท สภาพ คล่องของบริษัท การขยายธุรกิจ และปั จจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องในการบริ หารงานของบริ ษัท ซึง่ การจ่ายเงินปั นผลดังกล่าว ข้ างต้ นจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้น ตามความเหมาะสมและความเห็นชอบของคณะกรรมการของบริษัท โดย ในช่วง 3 ปี แรก (ตังแต่ ้ 2544-2547) บริ ษัทมีแผนในการขยายสาขา จึงยังไม่มีนโยบายในการจ่ายเงินปั นผล



บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)

9.

แบบ 56-1

การจัดการ 9.1

โครงสร้ างการจัดการ

คณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจ้ ดั การ (นายคุณวุ ฒิ ธ.)

ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ (นายอชิ ระ ส.) ผูจ้ ดั การเขต 1 ผูจ้ ดั การเขต 2

ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ (น.ส.ธาราทิพย์ ต.)

ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ (นายตรี เทพ ค.)

ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ (นางวั นทนีย์ ม.)

ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ

ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายขายโครงการ

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายบัญชีและการเงิน

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายทรัพยากรบุคคล

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายพัฒนาธุ รกิจ

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายจัดซื้อ

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายพัฒนาระบบงาน

ผูจ้ ดั การเขต 3 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป ศูนย์กระจายสินค้า ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายปฏิบตั ิการกลาง

ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 1

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายการตลาด


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1

บริ ษัทมีคณะกรรมการบริ ษัท โดยคณะกรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทประกอบด้ วย ผู้ทรงคุณวุฒิทมี่ ีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้ วนตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชน จากัด พ.ศ. 2535 และตาม ประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ.12/2543 เรื่ อง การขออนุญาตและการอนุญาต ให้ เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ ฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 ทุกประการ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 คณะกรรมการบริษัทมีจานวนทังสิ ้ ้น 12 ท่าน ประกอบด้ วย ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่ ง 1. นายพงส์ สารสิน ประธานกรรมการ 2. นายอนันต์ อัศวโภคิน กรรมการ 3. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ กรรมการ 4. นายจุมพล มีสขุ กรรมการ 5. นายชาย ศรี วิกรม์ กรรมการ 6. นายอภิชาติ นารถศิลป์ กรรมการ 7. นายมานิต อุดมคุณธรรม กรรมการ 8. นายรัตน์ พานิชพันธ์ กรรมการ 9. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการและกรรมการผู้จดั การ 10. นายอภิลาศ โอสถานนท์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 11. นายทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 12. นายชอ สิงหเสนี กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ หมำยเหตุ : เลขำนุกำรบริ ษัท คือ นำยไพบูรณ์ นำโคศิ ริ กรรมการผู้มีอานาจลงนามแทนบริษัท กรรมการผู้มีอานาจลงนามแทนบริ ษัท เพื่อมีผลผูกพันบริ ษัทได้ คอื กรรมการลาดับที่ 1 ถึง 9 สอง ท่าน (ยกเว้ นกรรมการตรวจสอบ) ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสาคัญของบริ ษัท อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการมีอานาจและหน้ าที่บริ หารงานของบริ ษัท ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ ข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และมีอานาจกระทาการใดๆตามที่ระบุไว้ ใน หนังสือบริ คณห์สนธิ

ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 2


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)

2.

3.

4. 5.

6. 7. 8.

9.

แบบ 56-1

คณะกรรมการมีอานาจแต่งตังกรรมการจ ้ านวนหนึง่ ให้ เป็ นคณะกรรมการบริ หาร โดยมีจานวนตามที่ คณะกรรมการกาหนด ซึง่ จะประกอบด้ วยประธานกรรมการบริ หาร และรองประธานกรรมการบริหาร เพื่อปฏิบตั ิงานตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการอาจแต่งตังบุ ้ คคลอื่นใดให้ ดาเนินกิจการของบริ ษัทภายใต้ การควบคุมของ คณะกรรมการหรื ออาจมอบอานาจเพื่อให้ บคุ คลดังกล่าวมีอานาจตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควรและ ภายในเวลาทีก่ รรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลีย่ นแปลงหรื อแก้ ไข อานาจนันๆ ้ ก็ได้ คณะกรรมการต้ องประชุมอย่างน้ อยสามเดือนต่อครัง้ กรรมการจะต้ องไม่ประกอบกิจการซึง่ มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท หรื อเข้ าเป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนสามัญ หรื อเป็ นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดในห้ างหุ้นส่วนจากัด หรื อเป็ นกรรมการของบริ ษัทเอกชนหรื อบริ ษัทอื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ น การแข่งขันกับกิจการของบริ ษัท ไม่วา่ จะทาเพื่อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์อื่น เว้ นแต่จะได้ แจ้ งที่ ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนทีจ่ ะมีมติแต่งตัง้ กรรมการจะต้ องแจ้ งให้ บริษัท ทราบทันทีที่มีสว่ นได้ เสียไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้ อมในสัญญาใดๆ หรื อถือหุ้นหรื อหุ้นกู้ในบริ ษัท และบริ ษัทในเครื อ กรรมการที่มีสว่ นได้ เสียในเรื่ องใดๆ จะไม่มีสทิ ธิ์ออกเสียงในเรื่ องนันๆ ้ ตัดสินใจในการลงทุนขยายสาขา หรื อการลงทุนที่มีมลู ค่าสูงที่ไม่ใช่การดาเนินงานตามปกติของบริ ษัท เว้ นแต่เรื่ องต่อไปนี ้ ซึง่ คณะกรรมการต้ องได้ รับอนุมตั จิ ากผู้ถือหุ้นก่อนดาเนินการ  เรื่ องที่กฎหมายกาหนดให้ ต้องได้ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น  การทารายการที่เกี่ยวข้ องกันที่มมี ลู ค่าเกินกว่าร้ อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของงบ การเงินล่าสุด  การซื ้อหรื อขายสินทรัพย์สาคัญที่มลู ค่าเกินกว่าร้ อยละ 50 ของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุดของ บริ ษัท ในกรณีที่ที่ประชุมมีการลงคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานคณะกรรมการเป็ นผู้ชี ้ขาด ผู้บริหาร ( ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ) ชื่อ – นามสกุล 1. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 2. นางวันทนีย์ แก้ วมหาวงศ์ 3. น.ส.ธาราทิพย์ ตรี มนั่ คง 4. นายอชิระ เสน่หา 5. นายตรี เทพ คูค่ งวิริยพันธ์ 6 นายไพบูรณ์ นาโคศิริ

ตาแหน่ ง กรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป สายบัญชีและการเงิน

ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 3


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1

หมายเหตุ : โปรดดูรายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารเพิ่มเติมในเอกสารแนบ 1 ขอบเขตอานาจหน้ าที่กรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จดั การเป็ นผู้รับมอบอานาจจากคณะกรรมการบริ ษัทให้ ทาหน้ าที่แทนเฉพาะในเรื่ องที่เกี่ยวกับ การดาเนินงานตามธุรกิจปกติของบริ ษัทซึง่ หมายถึง 1. การสัง่ ซื ้อสินค้ ามาเพื่อจาหน่าย 2. การอนุมตั คิ า่ ใช้ จ่ายในการดาเนินงาน ค่าใช้ จ่ายในการขายและการบริ หาร และรายจ่ายลงทุนให้ เป็ นไปตามงบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ทังนี ้ ้ไม่รวมการกู้ยืมและการค ้าประกัน 3. การดาเนินงานอื่นๆ ที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการเป็ นกรณีๆ เช่นการจัดหาทาเลเพื่อการขยาย สาขา เป็ นต้ น แต่ทงนี ั ้ ้กรรมการผู้จดั การไม่สามารถที่จะอนุมตั ิรายการทีต่ นหรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย

9.2

การสรรหากรรมการ คณะกรรมการจะจัดตังโดยที ้ ่ประชุมใหญ่ผ้ ถู ือหุ้นเพื่อเป็ นผู้ดาเนินกิจการของบริษัทภายใต้ การ ควบคุมของที่ประชุมใหญ่ผ้ ถู ือหุ้น และตามข้ อบังคับของบริ ษัท บริ ษัทไม่มีคณะกรรมการสรรหาโดยในการคัดเลือก บุคคลที่จะได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นกรรมการ ให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตังกรรมการตามหลั ้ กเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี ้ วิธีการแต่งตังกรรมการ ้ ให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตังกรรมการตามหลั ้ กเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี ้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึง่ เสียง 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้ องใช้ คะแนนเสียงที่มีอยูท่ งหมดตาม ั้ 1. เลือกตังบุ ้ คคลคน เดียวหรื อหลายคนเป็ นกรรมการได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อย เพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึง่ ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ ้ น กรรมการเท่าจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่ บุคคลซึง่ ได้ รับการเลือกตังในล ้ าดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจานวน กรรมการทีจ่ ะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นันให้ ้ ผ้ เู ป็ นประธานในที่ประชุมเป็ นผู้ ออกเสียงชี ้ขาดเพิม่ อีกหนึง่ เสียง 9.3 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร 9.3.1 (ก) ค่าตอบแทนรวมทังหมดของกรรมการบริ ้ ษัททุกคนในปี 2544 ที่ผา่ นมา เท่ากับ 1.2 ล้ านบาท

ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 4


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1

9.3.1 (ข) ค่าตอบแทนรวมทังหมดของผู ้ ้ บริ หารของบริ ษัทในปี 2544 ซึง่ รวมถึงเงินเดือน, โบนัส และค่าตอบแทนอื่น ๆ คิดเป็ นจานวนรวมทังสิ ้ ้น 24.88 ล้ านบาท 9.3.2

ค่าตอบแทนอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่เงิน) - ไม่มี -

9.4 การกากับดูแลกิจการ ที่ผา่ นมาบริ ษัทเป็ นบริ ษัทจากัด คณะกรรมการบริ ษัทมีการปฏิบตั ิที่ดี และภายหลังจากการแปร สภาพเป็ นบริ ษัทมหาชนแล้ ว บริ ษัทมีนโยบายจะปฏิบตั ิตามข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดี (Code of Best Practices) เพื่อ ก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น และเพิ่มประสิทธิภาพในแง่การควบคุมภายในควบคูก่ นั ไป 9.5 การป้องกันการนาข้ อมูลภายในไปใช้ ประโยชน์ ของผู้บริหาร บริ ษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลผู้บริ หารในการนาข้ อมูลภายในของบริ ษัทไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตนดังนี ้  ให้ ความรู้แก่ผ้ บู ริ หารในฝ่ ายต่าง ๆ เกี่ยวกับหน้ าที่ที่ผ้ บู ริหารต้ องรายงานการถือ หลักทรัพย์ของบริ ษัทและบทกาหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  บริ ษัทจะกาหนดให้ ผ้ บู ริ หารรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ตอ่ สานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และจัดส่งสาเนารายงานนี ้ ให้ แก่บริ ษัทในวันเดียวกับวันที่สง่ รายงานต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์  บริ ษัทจะดาเนินการส่งหนังสือเวียนแจ้ งให้ ผ้ บู ริ หารทราบว่า ผู้บริหารที่ได้ รับทราบข้ อมูล ภายในที่เป็ นสาระสาคัญ ซึง่ มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้ องระงับการ ซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบการเงินหรื อข้ อมูลภายในนันจะ ้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชน และห้ ามไม่ให้ เปิ ดเผยข้ อมูลที่เป็ นสาระสาคัญนันต่ ้ อบุคคลอื่น 9.6 บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 บริ ษัทมีจานวนพนักงานรวมทังสิ ้ ้น 1,188 คน โดยแบ่งเป็ น พนักงานสานักงานกลาง จานวน 190 คน พนักงานสาขา 9 สาขา จานวน 998 คน โดยค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงินรวมถึงเงินเดือนและโบนัสที่จ่ายให้ กบั พนักงานในปี 2544 รวมทังสิ ้ ้น 152.19 ล้ านบาท ในรอบระยะเวลา 3 ปี ที่ผา่ นมาบริ ษัทไม่เคยมีกรณีพิพาทด้ านแรงงานใด ๆ เกี่ยวกับพนักงาน ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 5


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1

บริ ษัทมีนโยบายในการพัฒนาพนักงาน โดยมีการจัดอบรมภายใน ซึง่ บริษัทมีศนู ย์อบรม (Training Center) เพื่อจัดอบรมพนักงาน ให้ มีความรู้ในตัวสินค้ าและทักษะในการขายและบริ การลูกค้ า ตลอดจนส่ง อบรมภายนอกอย่างสม่าเสมอ

ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 6


10.

การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2544 โดยมีกรรมการตรวจสอบทังสามท่ ้ าน เข้ าร่วมประชุมด้ วย คณะกรรมการได้ ศกึ ษาถึงแบบประเมินระบบการควบคุมภาย และเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2544 กรรมการตรวจสอบทังสามท่ ้ านร่วมกับกรรมการบริษัท, ฝ่ ายบริ หารและจัดการของบริษัทได้ ทาการประเมินแบบ ประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยจากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทในด้ านต่าง ๆ 5 ส่วน ดังนี ้ คือ องค์กรและสภาพแวดล้ อม คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิผลต่อองค์กรและสภาพแวดล้ อม การบริ หารความเสีย่ ง คณะกรรมการเห็นว่าบริษัทมีการประเมิน, วิเคราะห์, ติดตามและป้องกันความเสีย่ ง อย่างสมา่ เสมอ แต่ก็ไม่อาจครอบคลุมความเสีย่ งทุกประเด็นได้ เพราะความเสีย่ งที่เกิดขึ ้นอาจเป็ นความเสีย่ งที่ไม่ได้ คาดคิดมาก่อนหรื อเป็ นความเสีย่ งที่ไม่อาจควบคุมได้ เช่น ความเสีย่ งจากสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยอย่างรุนแรงในปี 2540 เป็ นต้ น การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีการกาหนดขอบเขตอานาจหน้ าที่ ของฝ่ ายบริ หารอย่างชัดเจนและมีประสิทธิผล รวมทังมี ้ ระบบการควบคุมภายในในเรื่ องการทาธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อผู้ที่เกี่ยวข้ องกับบุคคลดังกล่าวอย่างเพียงพอแล้ ว โดยรายการที่เกิดขึ ้นและจะเกิดขึ ้นใน อนาคตต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบก่อน ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้ อมูล คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีการจัดข้ อมูลที่เป็ นระบบเหมาะสม และมีระบบสารสนเทศรวมถึงระบบข้ อมูลที่มีเนื ้อหาเพียงพอ ถูกต้ อง เหมาะสม ต่อการตัดสินใจของกรรมการ, ผู้บริ หาร, และผู้ถือหุ้น แต่ในส่วนของรายงานการประชุมกรรมการนันไม่ ้ ได้ มีการบันทึกข้ อซักถามและข้ อสังเกตุของ กรรมการในเรื่ องที่พิจารณา ซึง่ บริ ษัทได้ ทาการปรับปรุงโดยการบันทึกข้ อซักถามและข้ อสังเกตุของกรรมการในการ ประชุมกรรมการครัง้ ต่อไปแล้ ว ระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นว่าบริษัทมีระบบการติดตามการปฏิบตั ิงานตามเป้าหมายที่วางไว้ รวมถึงระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ แต่ยงั ต้ องมีการปรับปรุงระบบการติดตามให้ ทนั สมัยและสอดคล้ องกับ สภาวะปั จจุบนั ตลอดเวลา นอกจากนี ้ผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ นางสุวมิ ล กฤตยาเกียรณ์ ซึง่ เป็ นผู้ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษัท ได้ ให้ ความเห็นเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัท ว่าทางสานักงานไม่พบ จุดอ่อนที่เป็ นสาระสาคัญในระบบการควบคุมภายในด้ านบัญชี


11.

รายการระหว่ างกัน 11.1 รายการระหว่ างกัน ในปี 2544 บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) มีรายการระหว่างกันกับบุคคลผู้มี ผลประโยชน์เกี่ยวข้ องดังนี ้ บุคคล/นิติบุคคล ที่มีผลประโยชน์ ร่วม บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์

บมจ. ควอลิตี ้เฮ้ าส์

ความสัมพันธ์

ลักษณะ/ขนาดรายการ

หมายเหตุ

เป็ นผู้ถือหุ้นของบริ ษัท โดยถือหุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 29.09 ของจานวน หุ้นที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมดของ ้ บริ ษัท

ขายสินค้ ากลุม่ Construction และ Finishing คิดเป็ นจานวนเงินเท่ากับ 180.9 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 5.6 ของยอดขายรวมในปี 2544

เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท โดยถือหุ้นคิดเป็ นร้ อยละ 21.82 ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายได้ แล้ ว ทังหมดของบริ ้ ษัท

ขายสินค้ ากลุม่ Construction และ Finishing คิดเป็ นจานวนเงินเท่ากับ 63.6 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 2.0 ของยอดขายรวมในปี 2544

จากการประเมินของกรรมการ ตรวจสอบและผู้บริ หาร ราคา ขายและบริ การดังกล่าว เป็ น ราคาขายส่งทีเ่ หมาะสม ซึง่ จะตา่ กว่าการขายปลีก ลักษณะการ ขายจะเป็ นการขายส่งโดยตรง ให้ กบั บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์ ในราคาตลาดเดียวกันกับที่ สามารถซื ้อได้ กบั ผู้ผลิตหรื อ ผู้ขายรายอื่นและทาให้ บริษัทมี กาไรจากการขายดังกล่าวที่ เหมาะสม จากการประเมินของกรรมการ ตรวจสอบและผู้บริ หาร ราคา ขายและบริ การดังกล่าว เป็ น ราคาขายส่งทีเ่ หมาะสม ซึง่ จะตา่ กว่าการขายปลีก ลักษณะการ ขายจะเป็ นการขายส่งโดยตรง ให้ กบั บมจ.ควอลิตี ้เฮ้ าส์ ใน ราคาตลาดเดียวกันกับที่สามารถ ซื ้อได้ กบั ผู้ผลิตหรื อผู้ขายรายอื่น และทาให้ บริ ษัทมีกาไรจากการ ขายดังกล่าวที่เหมาะสม จากการประเมินของกรรมการ ตรวจสอบและผู้บริ หาร ราคา ขายและบริ การดังกล่าว เป็ น ราคาขายส่งทีเ่ หมาะสม ซึง่ จะตา่

บมจ. เอเชี่ยน พร็ อพ กลุม่ บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์ (เป็ น เพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเมนท์ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สดุ ของบริ ษัท) ได้ ถือหุ้นคิดเป็ นร้ อยละ 29.74 ของ จานวนหุ้นทีจ่ าหน่ายได้ แล้ ว

ขายสินค้ ากลุม่ Construction และ Finishing คิดเป็ นจานวนเงินเท่ากับ 1.18 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 0.04 ของยอดขายรวมในปี 2544


บุคคล/นิติบุคคล ที่มีผลประโยชน์ ร่วม

ความสัมพันธ์ ทังหมดของบมจ. ้ เอเชี่ยน พร็ อพ เพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเมนท์

ลักษณะ/ขนาดรายการ

หมายเหตุ กว่าการขายปลีก ลักษณะการ ขายจะเป็ นการขายส่งโดยตรง ให้ กบั บมจ. เอเชี่ยน พร็ อพเพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเมนท์ ในราคาตลาด เดียวกันกับที่สามารถซื ้อได้ กบั ผู้ผลิตหรื อผู้ขายรายอื่นและทา ให้ บริ ษัทมีกาไรจากการขาย ดังกล่าวที่เหมาะสม

11.2

ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ การทารายการระหว่างกันเป็ นความจาเป็ นและมีความสมเหตุสมผลของการทารายการเพื่อ ก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดของบริษัท โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็นว่าเป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว่ ไป และบริ ษัทได้ รับและจ่ายค่าตอบแทนในราคาตลาดยุตธิ รรม 11.3

มาตรการ/ขัน้ ตอนการอนุมตั ิการทารายการระหว่ างกัน รายการระหว่างกันที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั และจะเกิดขึ ้นต่อไปในอนาคต ได้ แก่การขายสินค้ าให้ กบั บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์ และ บมจ. ควอลิตี ้เฮ้ าส์ รายการระหว่างกันข้ างต้ น บริ ษัทดาเนินการโดยเป็ นการขายในราคาขายส่ง ซึง่ ผู้ซื ้อสามารถซื ้อได้ จาก ผู้ผลิตและผู้จดั จาหน่าย (Supplier) รายอื่น โดยทัว่ ไปแล้ ว เจ้ าของโครงการเช่น Land & House และ Quality House จะเจรจากาหนดคุณสมบัติ (Specification) และราคาของสินค้ าที่จะใช้ ในโครงการกันล่วงหน้ า และ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณารายการดังกล่าวที่ผา่ นมาและเกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั โดยมี ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นรายการที่เป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว่ ไป และบริ ษัทได้ รับและจ่ายค่าตอบแทนใน ราคาตลาดยุติธรรม 11.4

นโยบายหรือแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกัน บริ ษัทมีนโยบายในการทารายการระหว่างกันที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั และในอนาคตที่คาดว่าจะเกิด ขึ ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์หรื อมีสว่ นได้ สว่ นเสีย ในการขายสินค้ า ซึง่ จะมีการกาหนดเงื่อนไข ต่างๆ ให้ เป็ นไปตามลักษณะการดาเนินการค้ าปกติในราคาที่สามารถแข่งขันกับผู้ขายรายอื่นได้ ทังนี ้ ้บริ ษัทจะให้ คณะกรรมการตรวจสอบหรื อผู้สอบบัญชีของบริษัท หรื อ ผู้เชี่ยวชาญอิสระ พิจารณาตรวจสอบและให้ ความเห็นถึง ความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการทารายการด้ วย


รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ ้นในอนาคตนัน้ คณะกรรมการบริ ษัทจะต้ องปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตาม กฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทารายการเกี่ยวโยงและการได้ มา หรื อจาหน่ายทรัพย์สนิ ที่สาคัญของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย ทังนี ้ ้ หากมีรายการระหว่างกันของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อยเกิดขึ ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ มีสว่ นได้ สว่ นเสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริ ษัทจะได้ ให้ คณะกรรมการ ตรวจสอบเป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี่ยวกับความจาเป็ นและความเหมาะสมของรายการนัน้ ในกรณีที่คณะกรรมการ ตรวจสอบไม่มคี วามชานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึ ้น บริษัทจะได้ ให้ ผ้ เู ชี่ย วชาญอิสระหรื อ ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทเป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของ คณะกรรมการ หรื อผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทังนี ้ ้บริ ษัทจะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ที่ได้ รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัท


12.

ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 12.1 งบการเงิน (ก) สรุ ปรายงานการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีในระยะ 4 ปี ที่ผ่านมา นางสุวมิ ล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 จากสานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ ได้ ให้ ความเห็นสาหรับงบการเงินปี 2540 ถึงปี 2544 ดังนี ้  รายงานของผู้สอบบัญชีสาหรับงบการเงินปี 2540 ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มเี งื่อนไขว่างบ การเงินได้ จดั ทาขึ ้นโดยถูกต้ องตามที่ควรและได้ ทาขึ ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป  รายงานของผู้สอบบัญชีสาหรับงบการเงินเปรี ยบเทียบปี 2541 และ 2542 ได้ ให้ ความเห็น อย่างไม่มีเงื่อนไขว่างบการเงินได้ จดั ทาขึ ้นโดยถูกต้ องตามทีค่ วร และได้ ทาขึ ้นตามหลักการ บัญชีที่รับรองทัว่ ไป อนึง่ ผู้สอบบัญชีได้ ขอให้ สงั เกตหมายเหตุประกอบงบการเงินดังต่อไปนี ้ (1) ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 1 และ 9 ซึง่ กล่าวถึงภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยและในเขตภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคโดยรวม อันเกี่ยวเนื่องจากการลดลงของ มูลค่าของหน่วยเงินตราและการลดลงของความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึง่ ทาให้ บริ ษัท ต้ องชะลอการจ่ายชาระหนี ้และอยูใ่ นระหว่างดาเนินการเจรจาขอผ่อน ผันการชาระหนี ้เงินกู้ของบริษัท (อธิบายเพิม่ เข้ าไปอีก ไปใส่ไว้ ในข้ อ 13) ข้ อสังเกตตามที่กล่าวข้ างต้ น จึงอาจมีผลกระทบต่อการดาเนินงานต่อเนื่องของบริ ษัท งบการเงินนี ้ได้ จดั ทาขึ ้นตามสมมติฐานว่ากิจการจะดารงอยูต่ อ่ ไป ดังนันจึ ้ งไม่ได้ ปรับปรุงรายการทรัพย์สนิ และหนี ้สินจากความไม่แน่นอนดังกล่าวที่อาจมีขึ ้น ซึง่ ยังไม่ อาจประมาณได้ ในปั จจุบนั (2) ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 6 และ 7 บริ ษัทฯ ได้ ชะลอโครงการก่อสร้ างซึง่ มี ต้ นทุนโครงการทีเ่ กิดขึ ้นเป็ นค่าสิทธิการเช่า ค่าก่อสร้ างรวม 94.08 ล้ านบาท ในปี 2542 และ 96.07 ล้ านบาท ในปี 2541 จากงบประมาณทางการเงินที่ได้ รับอนุมตั ิจากผู้บริ หาร ของบริ ษัท แสดงมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ในอนาคตสูงกว่ามูลค่าสุทธิทางบัญชี บริ ษัท จึงไม่ได้ ทาการพิจารณาด้ อยค่าของสินทรัพย์ในโครงการ แต่เนื่องจากภาวะ เศรษฐกิจของประเทศไทยที่ยงั มีปัญหาอยูอ่ ย่างต่อเนื่อง จึงอาจจะมีความไม่แน่นอนใน ผลประโยชน์ที่จะได้ รับจากทรัพย์สนิ ดังกล่าว  รายงานของผู้สอบบัญชีสาหรับงบการเงินปี 2543 และปี 2544 ได้ ให้ ความเห็นอย่างไม่มี เงื่อนไขว่างบการเงินได้ จดั ทาขึ ้นโดยถูกต้ องตามทีค่ วรและได้ ทาขึ ้นตามหลักการบัญชีที่ รับรองทัว่ ไป


(ข)

ตารางสรุ ปงบการเงินของบริษัท รายการ

(หน่ วย : พันบาท) 2542 2541

2544

2543

ฐานะการเงิน เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี ้การค้ าและตัว๋ เงินรับ-สุทธิ สินค้ าคงเหลือ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ สิทธิการเช่ารอตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น สินทรัพย์รวม

266,883.69 81,334.21 819,950.44 886,431.63 141,722.53 25,642.42 2,286,909.80

109,083.57 9,300.24 265,553.82 576,672.18 116,177.06 5,050.12 1,094,964.41

7,391.92 29,844.14 184,490.15 555,116.16 120,844.71 5,269.19 915,413.68

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยมื จากธนาคาร เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน-ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน เจ้ าหนี ้การค้ าและตัว๋ เงินจ่าย เงินกู้ยืมระยะยาว หนี ้สินรวม

5,000.00 0.00 959,171.86 349,588.54 1,626,012.89

5,099.44 0.00 449,033.00 235,317.55 977,870.93

57,196.54 30,000.00 330,414.69 158,678.77 830,000.62

375,000.00 101,775.45 660,896.91

186,320.32 37,442.82 474,245.05 718,297.60 113,272.85 17,608.52 1,576,257.9 1 5,561.55 0.00 699,110.10 427,395.69 1,335,608.7 2 200,000.00 40,649.19 240,649.19

116,000.00 1,093.48 117,093.48

350,000.00 (264,586.94) 85,413.06

ทุนชาระแล้ ว กาไร (ขาดทุน) สะสม ส่วนของผู้ถือหุ้น กระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน การจ่ายชาระหนี ้สิน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลประกอบการ รายได้ จากการขาย

32,479.56 108,430.36 (253,295.74) 301,379.55

118,633.03 32,809.26 (191,624.48) 135,152.85

154,967.24 33,475.32 (19,800.26) (33,475.32)

24,405.26 24,567.75 (4,438.29) (22,543.96)

3,231,538.16

1,343,029.43

รายได้ รวม

3,262,896.53

ต้ นทุนขาย

2,589,683.66

2,188,170.8 4 2,204,052.4 3 1,746,285.5 3

1,164,817.1 2 1,232,547.1 4 945,694.03

1,372,264.08 1,072,744.83


ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริ หาร ตังส ้ ารองค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น กาไร (ขาดทุน) สุทธิ กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท)

559,521,.08 63,074.70 3,060.62 85,876.25 0.32

354,495.00 72,705.56 (23,439.58) 39,555.71 0.24

216,442.29 81,714.20 (4,018.46) 31,680.42 10.19

244,081.65 86,632.56 57,528.64 (18,332.19) (5.24)


(ค)

อัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญที่สะท้ อนถึงฐานะการเงินและผลดาเนินงานในธุรกิจหลัก ของบริษัท

อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีย่ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ (เท่า) ระยะเวลาชาระหนี ้ (วัน) Cash cycle (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (profitability ratio) อัตรากาไรขันต้ ้ น (เปอร์ เซ็นต์) อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (เปอร์ เซ็นต์) อัตรากาไรอื่น (เปอร์ เซ็นต์) อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร (เปอร์ เซ็นต์) อัตรากาไรสุทธิ (เปอร์ เซ็นต์) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (เปอร์ เซ็นต์) อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (เปอร์ เซ็นต์) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (เปอร์ เซ็นต์) อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่ วนวิเคราะนโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน-cash basis (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปั นผล (เปอร์ เซ็นต์)

2544

2543

2542

2541

0.98 0.28 0.03 54.41 6.62 4.00 89.96 3.12 115.3 (18.69)

0.82 0.25 0.15 93.63 3.85 4.72 76.26 3.04 118.3 (38.25)

0.56 0.17 0.23 68.62 5.25 4.77 75.51 2.75 130.8 (50.03)

0.35 0.06 0.04 16.30 22.09 5.11 70.39 2.72 132.3 (39.82)

19.86 1.52 0.96 39.45 2.63 19.05

20.19 2.15 0.72 135.75 1.79 22.11

20.12 0.48 2.13 287.83 2.31 31.29

18.81 (7.39) 5.50 (97.78) (1.49) (16.07)

4.45 17.90 1.69

2.96 12.83 1.65

3.15 11.68 1.37

(1.84) 2.33 1.24

2.46 0.98 0.09 0.29

5.55 2.95 0.58 0.00

8.35 3.27 3.30 0.00

9.72 0.40 0.74 0.00


ข้ อมูลต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุ้น (บาท) กาไรสุทธิตอ่ หุ้น (บาท) เงินปั นผลต่อหุ้น (บาท) อัตราการเติบโต สินทรัพย์รวม (เปอร์ เซ็นต์) หนี ้สินรวม (เปอร์ เซ็นต์) รายได้ จากการขายหรื อบริ การ (เปอร์ เซ็นต์) ค่าใช้ จา่ ยในการดาเนินงาน (เปอร์ เซ็นต์) กาไรสุทธิ (เปอร์ เซ็นต์)

2544

2543 re

2542

2541

2.49 0.32 0.09

1.47 0.24 0.00

100.94 10.19 0.00

24.40 (5.24) 0.00

45.08 21.74 47.68 57.84 117.10

43.96 36.58 62.93 63.78 24.86

19.61 17.82 15.30 (11.32) 272.81

(14.65) (10.73) (12.83) 12.30 89.81

12.2

คาอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ในช่วงตังแต่ ้ ปี 2540 จนถึงปั จจุบนั บริ ษัทมีการดาเนินธุรกิจภายใต้ ภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่าและ ภาวะตลาดทุนที่ผนั ผวนมาก หากแต่บริษัทได้ มีการเตรี ยมการและมีการแก้ ไขปั ญหาอย่างต่อเนือ่ งทาให้ มีฐานะทาง การเงินและผลการดาเนินงานที่ดขี ึ ้นตามลาดับ กล่าวคือ ผลการดาเนินงาน ในช่วงปี 2540 บริ ษัทมีรายได้ จากการจาหน่ายสินค้ าและบริ การจานวน 1,336.27 ล้ านบาท และ รายได้ อื่น 12.40 ล้ านบาท ซึง่ คิดเป็ นรายได้ รวมเท่ากับ 1,348.68 ล้ านบาท มีสาขา “โฮมโปร” ทังสิ ้ ้น 2 สาขา ในปี 2541 บริ ษัทมีรายได้ รวม 1,232.55 ล้ านบาท ทังนี ้ ้รายได้ ทลี่ ดลงจากปี 2540 เป็ นผลสืบเนื่องมาจากสภาวะเศรษฐกิจ ของประเทศทีถ่ ดถอยอย่างรุนแรง ซึง่ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ทาให้ การสร้ างและตกแต่งบ้ าน ใหม่ชะลอตัวและหยุดชะงักลง ในปี 2542 บริ ษัทมีรายได้ จากยอดขายและบริการทังสิ ้ ้นจานวน 1,343.03 ล้ านบาท และรายได้ อื่น 29.23 ล้ านบาท คิดเป็ นรายได้ รวมทังสิ ้ ้น 1,372.26 ล้ านบาท ทังนี ้ ้รายได้ ที่เพิม่ ขึ ้นจากปี 2541 เป็ น ผลเนื่องมาจากการเพิ่มสาขา “โฮมโปร” จากเดิม 2 สาขา มาเป็ น 3 สาขา ซึง่ เป็ นการเพิม่ พื ้นที่และจุดขายสินค้ าและ บริ การไปยังกลุม่ ลูกค้ ามากขึ ้น ส่งผลให้ บริ ษัทมียอดขายเพิ่มขึ ้นจากปี 2541 ในปี 2544 บริ ษัทมีรายได้ จากยอดขาย ทังสิ ้ ้นจานวน 3,231.54 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี 2543 ถึง 1,043.37 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 47.68 มีรายได้ อื่น จานวน 28.30 ล้ านบาท และมีกาไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจานวน 3.06 ล้ านบาท คิดเป็ นรายได้ รวมทังสิ ้ ้นในปี 2544 เท่ากับ 3,262,90 ล้ านบาท ซึง่ การเพิม่ ขึ ้นของยอดขายในปี 2544 นัน้ เป็ นผลสืบเนื่องมาจากทังการเพิ ้ ่มสาขา “โฮ มโปร” จากเดิม 6 สาขาในปี 2543 มาเป็ น 9 สาขาในปี 2544 และการเพิ่มขึ ้นของความต้ องการในสินค้ าที่เกี่ยวกับ บ้ าน ตกแต่งบ้ าน และอาคาร


ในปี 2540 บริ ษัทมีต้นทุนขายจานวนทังสิ ้ ้น 1,138.77 ล้ านบาท และเป็ น 945.69, 1,072.74, 1,746.29 , 2,589.68 ล้ านบาท ในปี 2541, 2542 , 2543 และ 2544 ตามลาดับ และเมื่อเปรี ยบเทียบกับยอดขาย ของบริ ษัทในแต่ละปี จะมีอตั รากาไรขันต้ ้ นร้ อยละ 14.78, 18.81, 20.12, 20.19 และ 19.86 ในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 ตามลาดับ จากการที่บริ ษัทได้ สร้ างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผู้จาหน่ายสินค้ า, มีการเลือกสินค้ าที่ สอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ า, มีการบริ หารสินค้ าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวมทังมี ้ อานาจต่อรองจากการสัง่ ซื ้อ สินค้ าจากผู้จาหน่ายสินค้ าในปริมาณมาก ทาให้ ต้นทุนสินค้ าของบริ ษัทลดตา่ ลง ทาให้ อตั รากาไรขันต้ ้ นของการขาย ปลีกหน้ าร้ านเพิม่ อย่างต่อเนื่อง ทังนี ้ ้สาหรับอัตรากาไรขันต้ ้ นของปี 2544 ที่ต่ากว่าปี 2543 เป็ นผลมาจากการที่ บริ ษัทมีสดั ส่วนการขายส่งเพิม่ ขึ ้น เนื่องจากธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ขยายตัวเพิ่มขึ ้น ในปี 2540-2544 บริ ษัทมีคา่ ใช้ จา่ ย ในการขายและบริ หารจานวน 217.34, 244.08, 216.44, 354.50 และ 559,52 ล้ านบาทตามลาดับ ซึง่ การเพิ่มขึ ้น ของค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหารเป็ นผลมาจากสาขาที่ขยายเพิ่ม และการเพิ่มบุคคลากรเพือ่ รองรับการขยายตัว ของบริ ษัทในการขายสินค้ าและบริ การให้ กบั กลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย ในปี 2540 บริ ษัทมีผลขาดทุนสุทธิ 179.96 ล้ านบาท ทังนี ้ ้หากไม่รวมผลขาดทุนอัตราแลกเปลีย่ น จานวน 124.50 ล้ านบาทที่เกิดขึ ้นเนื่องจากบริษัทมีเงินกู้ยืมเป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 4.63 ล้ านเหรี ยญ สหรัฐ ซึง่ มีผลกระทบจากการประกาศเปลีย่ นแปลงระบบอัตราแลกเปลีย่ นเป็ นแบบลอยตัว (Managed Float) ของ กระทรวงการคลังแล้ ว บริ ษัทจะมีผลขาดทุนสุทธิจานวน 55.46 ล้ านบาท อันมีผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทาง เศรษฐกิจ ทาให้ บริ ษัทต้ องตังค่ ้ าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญจานวน 34.30 ล้ านบาท และมีคา่ ใช้ จ่ายจากการดาเนินงาน เพิ่มขึ ้น ซึง่ ส่วนหนึง่ เกิดจากการขยายสาขาเพิ่ม ในปี 2541 บริ ษัทมีขาดทุนสุทธิ 18.33 ล้ านบาท และมีกาไรสุทธิ จานวน 31.68, 39.56 และ 85.88 ล้ านบาท ในปี 2542 2543 และ 2544 ตามลาดับ ทังนี ้ ้เนื่องมาจากการเพิ่มขึ ้น ของจานวนสาขา “โฮมโปร” ทาให้ ยอดขายของบริษัทเพิ่มมากขึ ้นและการปรับนโยบายมามุง่ เน้ นการขายปลีกหน้ า ร้ านทาให้ บริษัทมีอตั รากาไรขันต้ ้ นเพิ่มขึ ้น ในปี 2544 บริ ษัทมีดอกเบี ้ยจ่ายจานวน 33.07 ล้ านบาท ลดลงจากปี ก่อน ๆ ซึง่ ดอกเบี ้ยจ่ายในปี 2540, 2541, 2542 และ 2543 เท่ากับ 48.03, 61.10, 47.38 และ 40.28 ล้ านบาทตามลาดับ และในปี 2544 บริ ษัทมีผลกาไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจานวน 3.06 ล้ านบาท และมีกาไรจากการปรับโครงสร้ างหนี ้ จานวน 5.25 ล้ านบาท ฐานะทางการเงิน ลูกหนีก้ ารค้ าและตั๋วเงินรับ บริ ษัทมีลกู หนี ้การค้ ารวมทังสิ ้ ้นจานวน 147.40, 116.48, 91.01,110.15 และ 144.41 ล้ านบาท ในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 ตามลาดับ โดยมีลกู หนี ้การค้ าสุทธิจานวน 113.10, 29.84, 9.30, 37.44 และ 81.33 ล้ านบาท ในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 ตามลาดับ โดยมีอายุของลูกหนี ้ในปี 2544 ดัง ตารางสรุปต่อไปนี ้


อยูใ่ นกาหนด เกินกาหนด <= 30 วัน เกินกาหนด <= 60 วัน เกินกาหนด <= 90 วัน เกินกาหนด > 90 วัน รวม

ลูกหนี ้การค้ ารวม (ล้ านบาท) 44.84 22.77 76.80 144.41

โดยเฉลีย่ บริ ษัทจะให้ เครดิตกับลูกหนี ้การค้ าเป็ นเวลา 60 วันดังนันลู ้ กหนี ้การค้ าที่มีอายุตา่ กว่า 60 วันจึงถือได้ วา่ ยังอยูใ่ นกาหนดของการชาระหนีแ้ ละจากตารางข้ างต้ นมีลกู หนี ้การค้ าเกินกาหนด > 90 วันจานวน 76.8ล้ านบาทโดยเป็ นลูกหนี ้ทีเ่ กิดขึ ้นในช่วงสภาวะเศรษฐกิจหดตัวในปี 2540 จากผลกระทบทางสภาวะเศรษฐกิจใน ปี 2540 ที่ถดถอยทาให้ ลกู หนี ้การค้ าซึง่ ส่วนใหญ่มาจากลูกหนี ้ที่เป็ นผู้รับเหมาประสบปั ญหาในการชาระหนี ้กับบริ ษัท ทาให้ บริ ษัทตังค่ ้ าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญโดยการประมาณของผู้บริ หารจากสถานะทางการเงินของลูกหนี ้ดังกล่าว ที่คาด ว่าอาจจะเก็บเงินไม่ได้ โดยในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 บริ ษัทได้ ตงค่ ั ้ าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญไว้ จานวน 34.30, 86.63, 81.71, 72.70 และ 63.07 ล้ านบาท ตามลาดับ จากจานวนค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญที่สงู ในช่วงปี ที่ผา่ น มา ทาให้ บริ ษัทมีนโยบายทีจ่ ะไม่ให้ สนิ เชื่อกับลูกค้ าโดยเฉพาะในส่วนของผู้รับเหมาก่อสร้ าง ทังนี ้ ้ตังแต่ ้ ปี 2543 เป็ น ต้ นมา บริ ษัทได้ ปรับนโยบายโดยมุง่ เน้ นการขายเงินสดหน้ าร้ านเพือ่ ลดจานวนลูกหนี ้การค้ าและหนี ้สงสัยจะสูญ ซึง่ ได้ เริ่ มดาเนินการในปี 2543 เป็ นต้ นมา (มากกว่า 90% ของยอดขายในปี 2543 จะขายเป็ นเงินสด) ซึง่ จะเป็ นการช่วย ปรับปรุงฐานะการเงินและทาให้ กาไรสุทธิของบริ ษัทเพิ่มสูงขึ ้น เงินกู้ยมื บริ ษัทมีเงินกู้ยมื ระยะยาวในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 จานวน 247.98, 158.68, 235.32, 427.40 และ 349.59 ล้ านบาท ตามลาดับ ซึง่ รวมเงินกู้ยืมที่เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศจานวน 469.81 ล้ านเยน มีอตั ราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 6.51, 9.72, 8.35, 5.55 และ 2.46 ในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 ตามลาดับ ทังนี ้ ้การลดลงของหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นในช่วงที่ผา่ นมาสืบเนือ่ งจากการลดทุนจด ทะเบียนเพื่อล้ างขาดทุนสะสม และเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อเพิม่ เงินลงทุนและสภาพคล่องของบริ ษัท ในปี 2542 บริ ษัทได้ ทาสัญญาปรับโครงสร้ างหนี ้สาหรับเงินกู้ยืมจากธนาคารในประเทศ 3 แห่ง (ตามหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้ อ 10 ปี 2542) ทาให้ บริ ษัทสามารถยืดระยะเวลาการชาระหนี ้และชาระเงินต้ น โดยแบ่งจ่ายเป็ นงวดราย เดือนทุก ๆ เดือน และลดอัตราดอกเบี ้ยของเงินกู้ลง ในปี 2543 บริ ษัทได้ ทาการปรับโครงสร้ างหนี ้ที่เป็ นเงินกู้ยืมใน สกุลเงินตราต่างประเทศกับสถาบันการเงินแห่งหนึง่ โดยทาการแปลงเงินกู้ยืมระยะยาวจานวน 4.28 ล้ านเหรี ยญ สหรัฐเป็ นสกุลเยนจานวน 469.81 ล้ านเยน โดยแบ่งชาระกับเจ้ าหนี ้เป็ นงวด (ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 8 ในปี 2543) และได้ นาอาคารสิง่ ปลูกสร้ างที่สาขารังสิตไปเป็ นหลักประกันอันดับสองกับเจ้ าหนี ้ด้ วยแทนหลักประกัน


เดิมซึง่ ทางบริ ษัท เอเชี่ยน พร็ อพเพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด (มหาชน) [เดิมชื่อ บริ ษัท พื ้นสาเร็ จรูป พีซีเอ็ม จากัด (มหาชน)] ได้ เป็ นผู้ค ้าประกันเงินกู้ยืมจานวนนี ้ซึง่ ต่อมา บมจ. เอเชี่ยน พร็ อพเพอร์ ตี ้ ดีเวลลอปเม้ นท์ ได้ ทาการขาย หุ้นของบริ ษัททังหมดให้ ้ แก่บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์และนายมานิต อุดมคุณธรรม (ซึง่ เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทใน ปั จจุบนั ) ซึง่ ผลจากการปรับโครงสร้ างหนี ้ในเงินกู้ยืมกับเจ้ าหนี ้ดังกล่าวข้ างต้ นช่วยให้ บริ ษัทมีสภาพคล่องในการ บริ หารเงินมากขึ ้น และช่วยเพิ่มเงินทุนหมุนเวียนให้ กบั บริ ษัท สินค้ าคงเหลือ บริ ษัทมีสนิ ค้ าคงเหลือจานวน 185.34, 184.49, 265.55, 474.25 และ 819.95 ล้ านบาท ในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 ตามลาดับ โดยจากปริมาณสินค้ าคงเหลือที่มีแนวโน้ มเพิ่มมากขึ ้นในแต่ละปี จะสะท้ อนถึงการเพิม่ ขึ ้นของยอดขายและจานวนสาขาทีเ่ ปิ ดในแต่ละปี ด้ วย โดยในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 บริ ษัทมีจานวนสาขา 2, 2, 3, 6 และ 9 สาขา และมียอดขายเท่ากับ 1,336.27, 1,164.82, 1,343.03, 2188.17 และ 3,231.54 ล้ านบาท และระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีย่ เท่ากับ 58.59, 70.39, 75.51, 76.26 และ 89.96 วัน ตามลาดับ เพื่อเป็ นการป้องกันไม่ให้ เสียโอกาสในการขายอันเนื่องมาจากไม่มีสนิ ค้ าอยูใ่ นโรงเก็บสินค้ าและ ลดปริ มาณสินค้ าคงเหลือลงเพื่อลดต้ นทุนและค่าเก็บรักษาสินค้ า บริ ษัทจึงพยายามบริ หารสินค้ าคงเหลือให้ มี ประสิทธิภาพมากที่สดุ โดย ณ ปั จจุบนั บริ ษัทได้ จดั ทาศูนย์กระจายสินค้ า (Distribution Center) เพื่อที่จะลดปริ มาณ สินค้ าคงเหลือตามสาขาต่างๆ และเป็ นตัวกลางในการจัดซื ้อสินค้ าและบริ หารสินค้ าคงเหลืออย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้จะพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ทตี่ ิดต่อกับผู้ผลิตและผู้จาหน่ายเพื่อใช้ ในการสัง่ ซื ้อสินค้ าทีถ่ กู ต้ องรวดเร็ วและ ลดปริ มาณสินค้ าคงเหลือลง อันจะเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริ หารสินค้ าคงเหลือต่อไป สภาพคล่ อง เมื่อพิจารณาถึงอัตราส่วนสภาพคล่องและอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ วจะพบว่ามีแนวโน้ มที่ เพิ่มขึ ้นในแต่ละปี โดยในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 มีอตั ราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.48, 0.35, 0.56, 0.82 และ 0.98 และมีอตั ราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วเท่ากับ 0.18, 0.06, 0.17, 0.25 และ 0.28 ตามลาดับ ซึง่ จะ พบว่าสินทรัพย์หมุนเวียนมีอตั ราที่เพิ่มสูงขึ ้นเมื่อเทียบกับหนี ้สินหมุนเวียนของบริษัท ซึง่ หมายถึง สภาพคล่องของ บริ ษัทปรับตัวดีขึ ้นตามลาดับจนถึงปั จจุบนั ซึง่ ในปี 2540-2544 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานของบริ ษัทเป็ น บวกมาโดยตลอด จานวน 89.62, 24.40, 154.97, 118.63 และ 32.48 ล้ านบาท ตามลาดับ ซึง่ จากกระแสเงินสด ของบริ ษัทที่ผา่ นมาแสดงให้ เห็นว่า บริ ษัทมีสภาพคล่องที่ดแี ละการที่บริ ษัทมีศนู ย์กระจายสินค้ า (Distribution Center) ซึง่ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการบริ หารสินค้ าคงคลังและการใช้ นโยบายขายสินค้ าเป็ นเงินสดหน้ าร้ านก็จะ ทาให้ สภาพคล่องของบริษัทดีขึ ้นอีกด้ วย แหล่ งที่มาของเงินทุน


ในปี 2540 บริ ษัทมีทนุ ชาระแล้ ว เท่ากับ 350 ล้ านบาท โดยมีมลู ค่าหุ้นหุ้นละ 100 บาท และมี ขาดทุนสะสมจานวน 207.19 ล้ านบาท มีสว่ นของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 142.81 ล้ านบาท ในปี 2542 บริ ษัทได้ ลดทุนจด ทะเบียนจาก 350 ล้ านบาท เป็ น 116 ล้ านบาท เพื่อลดขาดทุนสะสม ทาให้ บริ ษัทเปลีย่ นจากการมีขาดทุนสะสมในปี 2541 จานวน 264.59 ล้ านบาท มาเป็ นกาไรสะสมเท่ากับ 1.09 ล้ านบาทในปี 2542 และมีสว่ นของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 85.41 และ 117.09 ล้ านบาท ในปี 2541 และ 2542 ตามลาดับ ในปี 2543 บริ ษัทมีการเพิม่ ทุนชาระแล้ วอีก 84 ล้ าน บาท ทาให้ บริษัทมีทนุ ชาระแล้ วเป็ น 200 ล้ านบาท มีกาไรสะสมเท่ากับ 40.65 ล้ านบาท และมีสว่ นของผู้ถือหุ้น จานวน 240.65 ล้ านบาท และในปี 2544 บริ ษัทมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 175 ล้ านบาท ทาให้ บริ ษัทมีทนุ ที่เรี ยก ชาระแล้ วเป็ น 375 ล้ านบาท ซึง่ บริ ษัทได้ จดั สรรหุ้นบางส่วนเสนอขายให้ แก่ประชาชนทัว่ ไปจานวน 75 ล้ านหุ้น ใน ราคาหุ้นละ 3.60 บาท นอกจากนี ้บริ ษัทได้ จา่ ยเงินปั นผลแก่ผ้ ถู ือหุ้นเป็ นเงิน 24.75 ล้ านบาท และในปี 2544 นี ้ บริ ษัทมีกาไรสะสมเท่ากับ 101.78 ล้ านบาท และมีสว่ นของผู้ถือหุ้นรวมเป็ นเงิน 660.90 ล้ านบาท สินทรัพย์ รวม บริ ษัทมีสนิ ทรัพย์รวมในปี 2540 เท่ากับ 1,072.56 ล้ านบาท และลดลงเป็ น 915.41 ล้ านบาท ใน ปี 2541 โดยเป็ นการลดลงของหนี ้สินรวมประมาณ 100 ล้ านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นอีกประมาณ 57 ล้ านบาท จากนันสิ ้ นทรัพย์รวมมีการเติบโตเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง เป็ น 1,094.96, 1,576.26 และ 2,286.91 ล้ านบาท ในปี 2542, 2543 และ 2544 ตามลาดับ และมีอตั ราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ในปี 2540, 2541, 2542, 2543 และ 2544 เท่ากับ -16.78, -1.84, 3.15, 2.96 และ 4.45 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ซึง่ แสดงให้ เห็นถึงประสิทธิภาพในการ ใช้ สนิ ทรัพย์ของบริษัทในการสร้ างกาไรมีแนวโน้ มที่ดีขึ ้น ทังนี ้ ้จากการเพิม่ ขึ ้นของสาขา “โฮมโปร” มาเป็ น 9 สาขา ใน ปี 2544 ทาให้ บริษัทมีสนิ ทรัพย์เพิ่มขึ ้น ซึง่ ส่งผลให้ บริษัทมีรายได้ มากขึ ้น และบริ ษัทก็ยงั มีแผนการที่จะขยายสาขา เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิม่ ส่วนแบ่งการตลาด ยอดขาย และกาไรสุทธิของบริ ษัทต่อไป บริ ษัทได้ ทาสัญญาเช่าที่ดินระยะยาวแห่งหนึง่ กับบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้ องและไม่มีความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ โดยมีอายุสญ ั ญาเช่า 30 ปี นับตังแต่ ้ วนั ที่ 15 ตุลาคม 2539 บริ ษัทมีโครงการที่จะก่อสร้ างสาขาบนที่ดิน ดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2543 บริ ษัทมีเงินลงทุนในโครงการไปแล้ วทังหมดประมาณ ้ 90.62 ล้ านบาท นับตังแต่ ้ เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจตังแต่ ้ ปี 2540 เป็ นต้ นมา บริษัทได้ ชะลอโครงการชัว่ คราว เนื่องจากเห็นว่ายังต้ องใช้ เงินลงทุน ก่อสร้ างอีกเป็ นจานวนมาก แต่อย่างไรก็ตามบริษัทยังคงมีภาระที่จะต้ องจ่ายค่าเช่าทุกปี ตลอดอายุสญ ั ญาเช่า โดย จะต้ องจ่ายค่าเช่าจานวน 5.32 ล้ านบาทในปี 2544 และจะมีการปรับค่าเช่าเพิ่มขึ ้นทุกๆ 3 ปี ตลอดอายุสญ ั ญาเช่า อย่างไรก็ตามบริษัทยังคงมีแผนที่จะใช้ ประโยชน์ในโครงการนันในอนาคต ้ แต่ในสภาวะปั จจุบนั บริ ษัทได้ เปลีย่ น นโยบายขยายสาขาใหม่มาเป็ นวิธีการลงทุนโดยการเช่าพื ้นที่แทนซึง่ จะช่วยลดความเสีย่ งเรื่ องของเงินลงทุนลง


บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)

13.

แบบ 56-1

ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง - ไม่มี -

ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 1


ส่ วนที่ 3 การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล การรับรองความถูกต้องของข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ให้เป็ น ดังนี้ ให้กรรมการผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ทุกคนลงลายมือชื่อพร้อมทั้ง ประทับตราบริ ษทั (ถ้ามี) ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี เพื่อรับรองความถูกต้องของข้อมูล พร้อมทั้ง มอบอานาจให้บุคคลใดลงนามกากับเอกสารในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี แทนด้วย โดยให้ใช้ ข้อความและรู ปแบบ ดังนี้ “ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้แล้ว ขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาให้ผอู ้ ื่นสาคัญผิดหรื อขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งใน สาระสาคัญอันอาจทาให้บุคคลผูเ้ ข้าซื้ อหลักทรัพย์เสี ยหาย ในกรณี น้ ี เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็ นเอกสารที่ขา้ พเข้าได้รับรองความ ถูกต้องที่เป็ นชุดเดียวกัน ข้าพเจ้าได้มอบหมายให้ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับ เอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กากับไว้ ข้าพเจ้าจะถือ ว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ขา้ พเจ้าได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลไว้” ชื่อ 1. นายพงส์ 2. นายอนันต์ 3. นายนพร 4. นายจุมพล 5. นายรัตน์ 6. นายชาย 7. นายอภิชาติ 8. นายมานิต 9. นายคุณวุฒิ

สารสิ น อัศวโภคิน สุ นทรจิตต์เจริ ญ มีสุข พานิชพันธ์ ศรี วิกรม์ นารถศิลป์ อุดมคุณธรรม ธรรมพรหมกุล

ชื่อ ผูร้ ับมอบอานาจ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล

ตาแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ตาแหน่ง กรรมการ

ลายมือชื่อ ………………………. ………………………. …...............................… …..............…............... . ................................... . ..................................... .........…...................... ……………………… ………………………. ลายมือชื่อ .......................................

หมายเหตุ ให้ผมู ้ ีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ทุกคนลงลายมือชื่อใน แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ต่อสานักงาน เว้นแต่ (1) ในกรณี ที่มีเหตุอนั สมควรทาให้ผมู ้ ีอานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลบางรายไม่สามารถ ลงลายมือชื่อขณะยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ต่อสานักงานได้ และเมื่อเหตุดงั กล่าวหมดสิ้ นไป บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ตอ้ งดาเนินการให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อทันที (2) ในขณะที่บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์แสดงให้สานักงานเห็นได้วา่ ผูม้ ีอานาจลงนาม


ผูกพันบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์รายใดอยูใ่ นภาวะไม่สามารถรู ้ผิดชอบหรื อไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจาก เจ็บป่ วยทางร่ างกายหรื อทางจิต บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ไม่จาเป็ นต้องให้บุคคลนั้นลงลายมือชื่อ ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี

8/3/45

แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1)


รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ชื่อ-สกุล / ตาแหน่ง อายุ คุณวุฒิทาง (ปี )

การศึกษาสูงสุด

นายพงส์ สารสิ น

75

ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริ หารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นายอนันต์ อัศวโภคิน

52

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์

ปริ ญญาโท วิศวกรรมอุตสาหกรรม

สัดส่วนการ ประสบการณ์ทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ถือหุน้ ในบริ ษทั ช่วงเวลา ตาแหน่ง (%) 0.29 2538-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2543-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2542-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2539-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2539-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2539-ปั จจุบนั กรรมการ 0.16 2538-ปั จจุบนั กรรมการ 2523-ปั จจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ

ชื่อหน่วยงาน / บริ ษทั

ประเภทธุรกิจ

บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.ไทยน้ าทิพย์ บมจ.สัมมากร บจก.อโศก มอเตอร์ส โฮลดิ้ง บมจ.แชงกรี -ลา โฮเต็ล บมจ.ธารารมณ์ เอ็นเตอร์ไพรส์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

ค้าปลีก Home center จาหน่ายน้ าอัดลม พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ โรงแรม พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้าปลีก Home center

IIIinois Institute of Technology USA.

นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ

44

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม. ธรรมศาสตร์

0.16

2538-ปั จจุบนั 2533-ปั จจุบนั

นายจุมพล มีสุข

53

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์

0.03

2538-ปั จจุบนั 2531-ปั จจุบนั 2535-ปั จจุบนั 2535-ปั จจุบนั 2537-ปั จจุบนั

กรรมการ กรรมการและรองกรรมการ ผูจ้ ดั การ กรรมการ

ที่ปรึ กษากรรมการผูจ้ ดั การและ บมจ. ควอลิต้ ี เฮ้าส์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ กรรมการ กรรมการ บจก. คิว.เอช. อินเตอร์เนชัน่ แนล ลงทุนอสังหาริ มทรัพย์ ในต่างประเทศ กรรมการ บจก. คิว.เอช. แมนเนจเม้นท์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ บจก. ควอลิต้ ีคอนสตรัคชัน่ โปรดักส์ ผลิตวัสดุก่อสร้าง กรรมการ


รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ชื่อ-สกุล / ตาแหน่ง อายุ คุณวุฒิทาง (ปี )

การศึกษาสูงสุด

นายชาย ศรี วกิ รม์

41

ปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ สถาบันศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นายอภิชาติ นารถศิลป์

45

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ MBA, University of Southern California

นายมานิต อุดมคุณธรรม

57

มัธยมศึกษาตอนปลาย

สัดส่วนการ ประสบการณ์ทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ถือหุน้ ในบริ ษทั ช่วงเวลา ตาแหน่ง (%) 0.16 2538-ปั จจุบนั กรรมการ 2533-ปั จจุบนั กรรมการ 0.00 ส.ค.44- ปั จจุบนั กรรมการ พ.ค.42- ปั จจุบนั Director

8.03

ม.ค.40–เม.ย. 42 2536 - 2540

กรรมการผูจ้ ดั การ ผูอ้ านวยการอาวุโส

2534 - 2536

Teasurer

2527 - 2534 2543 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั

Second Vice President กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2532 - ปั จจุบนั

กรรมการ

2522 – ปั จจุบนั 2538 – ปั จจุบนั 2532 – ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการ

ชื่อหน่วยงาน / บริ ษทั

บจก.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.ควอลิต้ ี เฮ้าส์ บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ AIGIC (Thailand) Ltd. บงล. เอเสค สายงานบริ หารการลงทุน ธนาคารเอเชีย จากัด (มหาชน) JTS Co., Ltd. Chinteik Holding Company Chase Manhattan Bank บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก. ฟิ วเจอร์ พาร์ค รังสิ ต บจก.สตาร์แบง อินเตอร์เนชัน่ แนล บจก. สตาร์แฟชัน่

ประเภทธุรกิจ

ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ค้าปลีก Home center ที่ปรึ กษาแนะนาการ ลงทุน ธุรกิจเงินทุนหลักทรัพย์ ธนาคารพาณิ ชย์ Holding Company ธนาคารพาณิ ชย์ ค้าปลีก Home Center ศูนย์การค้า จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย

ผลิตและจาหน่ายเครื่ อง แต่งกาย บมจ. ห้างสรรพสิ นค้าโรบินสัน ห้างสรรพสิ นค้า บจก. เซ็นทรัล รี เทล คอร์ปอเรชัน่ Holding Company บจก. สเททัส สี ลม ขายเครื่ องแต่งกาย


รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ชื่อ-สกุล / ตาแหน่ง อายุ คุณวุฒิทาง (ปี ) นายรัตน์ พานิชพันธ์

55

สัดส่วนการ ถือหุน้ การศึกษาสูงสุด ในบริ ษทั (%) ปริ ญญาโทM.S.in Business Ad.,Fort 0.00 HaysKansas State College, Hays, Kansas,USA.

ประสบการณ์ทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่วงเวลา

นายอภิลาศ โอสถานนท์

68

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ ปริ ญญาบัตรเทคโนโลยีการเกษตรดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์

ตาแหน่ง กรรมการ

บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็น ค้าปลีก เตอร์ center

ก.ค.2543-ปั จจุบนั

ที่ปรึ กษา

บมจ. บ้านปู

เหมืองแร่

ส.ค.2544-ปั จจุบนั

ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารและ กรรมการผูจ้ ดั การ ประธานกรรมการ

บมจ.ควอลิต้ ีเฮ้าส็

พัฒนา อสังหาริ มทรัพย์ ที่ปรึ กษาทางการเงิน

2542-2544

45

ประเภทธุรกิจ

ธ.ค.2544-ปั จจุบนั

ม.ค.2543-ปั จจุบนั

นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล

ชื่อหน่วยงาน / บริ ษทั

บจก.ยูไนเต็ดแอดไวเซอรี่ เซอร์วสิ และ บจก. บ้านปู เพาเวอร์

3.15

2541-2542 2533-2541 2538-ปั จจุบนั

กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ ที่ปรึ กษา กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ

0.00

ต.ค.2544-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ

2539-ปั จจุบนั 2539-ปั จจุบนั

ที่ปรึ กษา ประธานกรรมการ

Home

โรงไฟฟ้ าขนาดย่อม

บจก. บ้านปู เพาเวอร์ โรงไฟฟ้ าขนาดย่อม บลง. ธนสยาม บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็น ค้าปลีกHome center เตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็น ค้าปลีกHome center เตอร์ บจก.เค พี เอ็น DKB Leasing

จาหน่ายจักรยานยนต์

Leasing


รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ชื่อ-สกุล / ตาแหน่ง อายุ คุณวุฒิทาง

นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ

นายชอ สิ งหเสนี

(ปี ) 57

48

การศึกษาสูงสุด ประถมศึกษา

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ MBA. University of San Francisco

สัดส่วนการถือ ประสบการณ์ทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง หุน้ ในบริ ษทั (%) ช่วงเวลา ตาแหน่ง 0.00 ต.ค.2544-ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ

0.00

2532-ปั จจุบนั ต.ค.2544-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการตรวจสอบ

2541-ปั จจุบนั

กรรมการและที่ปรึ กษา

ชื่อหน่วยงาน / บริ ษทั

บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ บจก.สตาร์แฟชัน่ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ บมจ.ไทยประกันภัย

ประเภทธุรกิจ

ค้าปลีกHome center

ผลิตและจาหน่าย เครื่ องแต่งกาย ค้าปลีกHome center

ประกันภัย


รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2544 ชื่อ-สกุล / ตาแหน่ง อายุ คุณวุฒิทาง

นางวันทนีย ์ แก้วมหาวงศ์

(ปี ) 46

การศึกษาสูงสุด ปริ ญญาโทบัญชีและประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สัดส่วนการถือ ประสบการณ์ทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง หุน้ ในบริ ษทั (%) ช่วงเวลา ตาแหน่ง 0.00 2543 – ปั จจุบนั ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ

ประเภทธุรกิจ

บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้าปลีกHome center

บจก.สยามสิ นธร บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

อสังหาริ มทรัพย์

บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้าปลีกHome center

น.ส.ธาราทิพย์ ตรี มนั่ คง

42

มัธยมศึกษาตอนต้น

0.00

นายอชิระ เสน่หา

43

ปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ MBA. Northrop University USA.

0.00

2539 – 2543 2543 – ปั จจุบนั มิ.ย.- ธ.ค..2542 2538-พ.ค.2542 ก.ย.2544-ปั จจุบนั

Assistant Vice President of TESCO LOTUS Operation ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์

ค้าปลีก

0.00

พค 2539ส.ค.2544 พ.ย.2544-ปั จจุบนั

กรรมการบริ หาร บจก.สยามสิ นธร ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายบัญชีและ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ การเงิน

อสังหาริ มทรัพย์

0.04

2537-ต.ค..2544 พ.ย.2537-ปั จจุบนั

นายตรี เทพ คู่คงวิริยพันธ์

นายไพบูรณ์ นาโคศิริ

44

41

ปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ ธรรมศาสตร์ ปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ ธรรมศาสตร์

ม.

ม.

กรรมการบริ หาร ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การสาขารังสิ ต ผูจ้ ดั การสาขารัตนาธิเบศร์ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ

ชื่อหน่วยงาน / บริ ษทั

ค้าปลีกHome center

ค้าปลีก Home center

ค้าปลีก Home center


เอกสารแนบ 2 รายละเอียดที่เกีย่ วข้ องกับกรรมการของบริษัทย่อย - ไม่มี -


เอกสารแนบ 3 อืน่ ๆ - ไม่มี -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.