56-1
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สารบัญ ส่ วนที่ 1
ข้ อมูลสรุป (Executive Summary)
ส่วน 1 หน้า 1
ส่ วนที่ 2
บริษัททีอ่ อกหลักทรัพย์ 1. ปั จจัยความเสี่ ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ 4. การวิจยั และพัฒนา 5. ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการดาเนินงานในอนาคต 7. ข้อพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสร้างเงินทุน 9. การจัดการ 10. การกากับดูแลกิจการ 11. การควบคุมภายใน 12. รายการระหว่างกัน 13. ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 14. ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง
ส่วน 2 หน้า 2 ส่วน 2 หน้า 4 ส่วน 2 หน้า 8 ส่วน 2 หน้า 12 ส่วน 2 หน้า 13 ส่วน 2 หน้า 15 ส่วน 2 หน้า 16 ส่วน 2 หน้า 17 ส่วน 2 หน้า 21 ส่วน 2 หน้า 29 ส่วน 2 หน้า 33 ส่วน 2 หน้า 34 ส่วน 2 หน้า 36 ส่วน 2 หน้า 45
การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล
ส่วน 3 หน้า 1
ส่ วนที่ 3
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหารและผู้มอี านาจควบคุมบริษัท
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลสรุป (Executive Summary) บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจค้าปลีกจาหน่ายสิ นค้าและบริ การที่เกี่ยวข้องกับการ ก่อสร้าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม บ้าน อาคาร และที่อยูอ่ าศัยมากกว่า 60,000 รายการ ในลักษณะ Home Center ที่ครบวงจร ใช้ ชื่อทางการค้าว่า “HomePro” ซึ่งเป็ นเครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั ฯ โดยจัดกลุ่มสิ นค้าเป็ น 5 กลุ่มหลัก อันได้แก่ กลุ่มวัสดุ ก่อสร้างและอุปกรณ์ปรับปรุ งบ้าน, กลุ่มห้องน้ าและสุขภัณฑ์, กลุ่มเครื่ องครัวและเครื่ องใช้ไฟฟ้ า, กลุ่มอุปกรณ์ไฟฟ้ าและโคม ไฟ และ กลุ่มเครื่ องนอนและสินค้าตกแต่ง เพื่อให้ลูกค้ามีความสะดวกในการเลือกซื้อสิ นค้าที่มีความหลากหลายได้ครบตาม ความต้องการเพียงแห่งเดียว (One Stop Shopping) ในราคาที่เหมาะสม บริ ษทั ฯ เปิ ดดาเนินการตั้งแต่ปี 2539 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่ มต้นที่ 150.0 ล้านบาท และเข้าเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ ในปี 2544 ปัจจุบนั มีทุนจดทะเบียน 987.5 ล้านบาท โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1.0 บาท และมีทุนที่เรี ยก ชาระแล้ว 947.3 ล้านบาท ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริ ษทั มีสาขาในเขตกรุ งเทพ ปริ มณฑลและต่างจังหวัดรวมทั้งสิ้น 20 สาขา ดังนี้ 1. สาขารังสิ ต 2. สาขารัตนาธิเบศร์ 3. สาขาแฟชัน่ ไอส์แลนด์ 4. สาขาฟิ วเจอร์มาร์ท 5. สาขาเสรี เซ็นเตอร์ 6. สาขาเดอะมอลล์ บางแค 7. สาขาเดอะมอลล์ โคราช 8. สาขารัชดาภิเษก 9. สาขาเพลินจิต 10. สาขาภูเก็ต 11. สาขาเชียงใหม่ 12. สาขารามคาแหง 13. สาขาพระราม 2 14. สาขาประชาชื่น 15. สาขาลาดพร้าว 16. สาขาพัทยา 17. สาขาแจ้งวัฒนะ 18. สาขาหาดใหญ่ 19. สาขาราชพฤกษ์ 20. สาขาบางนา
เปิ ดเดือน กันยายน 2539 ใกล้ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต เปิ ดเดือน พฤษภาคม 2540 บริ เวณแยกบางใหญ่ รัตนาธิเบศร์ เปิ ดเดือน เมษายน 2542 ในศูนย์การค้าแฟชัน่ ไอส์แลนด์ รามอินทรา เปิ ดเดือน มีนาคม 2543 ที่ถนนพระราม 3 เชิงสะพานกรุ งเทพใหม่ เปิ ดเดือน พฤษภาคม 2543 ในศูนย์การค้าเสรี เซ็นเตอร์ ถนนศรี นคริ นทร์ เปิ ดเดือน กรกฎาคม 2543 ในศูนย์การค้า เดอะมอลล์ บางแค เปิ ดเดือน เมษายน 2544 ในศูนย์การค้า เดอะมอลล์ โคราช เปิ ดเดือน มิถุนายน 2544 ในศูนย์การค้า คาร์ฟรู ์ รัชดาภิเษก เปิ ดเดือน ตุลาคม 2544 ในอาคารเวฟเพลส ถนนเพลินจิต เปิ ดเดือน มิถุนายน 2545 ในศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส ภูเก็ต เปิ ดเดือน กันยายน 2545 ในศูนย์การค้า คาร์ฟรู ์ เชียงใหม่ เปิ ดเดือน เมษายน 2546 ใกล้ศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ ถนนสุขาภิบาล 3 เปิ ดเดือน พฤษภาคม 2546 ใกล้จุดขึ้นลงทางด่วนบางนา-ดาวคะนอง ถนนพระราม 2 เปิ ดเดือน กรกฎาคม 2546 ใกล้สี่แยกพงษ์เพชร ถนนประชาชื่น เปิ ดเดือน ตุลาคม 2546 ในศูนย์การค้า คาร์ฟรู ์ ลาดพร้าว เปิ ดเดือน ธันวาคม 2546 ในศูนย์การค้า คาร์ฟรู ์ พัทยากลาง เปิ ดเดือน กรกฎาคม 2547 ใกล้หา้ แยกปากเกร็ ด ถนนแจ้งวัฒนะ เปิ ดเดือน ตุลาคม 2547 ในศูนย์การค้า คาร์ฟรู ์ หาดใหญ่ เปิ ดเดือน สิ งหาคม 2548 ใกล้วงเวียนนครอินทร์ เปิ ดเดือน พฤศจิกายน 2548 ใกล้โรงพยาบาลจุฬารัตน์ ถนนบางนา-ตราด ก.ม. 12
ส่วนที่ 1 หน ้าที่ 1
ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ เป็ นผูน้ าในธุรกิจค้าปลีกเกี่ยวกับบ้าน พร้อมบริ การที่ครบวงจร ถึงแม้วา่ ที่ผา่ นมาจะมีผปู ้ ระกอบการราย อื่นที่จาหน่ายสิ นค้าในลักษณะเดียวกับบริ ษทั ฯ เปิ ดบริ การเพิ่มขึ้นก็ตาม สาหรับบริ ษทั ฯเองถือว่าการขยายตัวของผูป้ ระกอบการ รายอื่นนั้น เป็ นส่วนช่วยกระตุน้ ให้ผบู ้ ริ โภคเปลี่ยนพฤติกรรมให้หนั มาซื้อสิ นค้าจากร้านค้าปลีกที่ทนั สมัยแบบโฮมเซ็นเตอร์ อย่างไรก็ตามบริ ษทั ฯ มีแผนการขยายสาขาให้ครอบคลุมในพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งกรุ งเทพฯ ปริ มณฑล และหัวเมืองใหญ่ทวั่ ประเทศ ไทย เพื่อรองรับการขยายตัวของตลาดโฮม เซ็นเตอร์ ในอนาคต สาหรับผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ใน ปี 2546 2547 และ 2548 บริ ษทั ฯ มียอดขายเท่ากับ 6,752.97 9,814.25 และ 12,211.78 ล้านบาทตามลาดับ ซึ่งคิดเป็ นอัตราเพิ่มของยอดขายเท่ากับ ร้อยละ 48.0 45.3 และ 24.4 และมีกาไรสุทธิในปี 2546 2547 และ 2548 เท่ากับ 206.6 381.2 และ 504.8 ล้านบาท ตามลาดับ
ส่วนที่ 1 หน ้าที่ 2
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ส่ วนที่ 2 บริษัททีอ่ อกหลักทรัพย์ ชื่อบริ ษทั
:
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
:
ที่ต้ งั สานักงานใหญ่ เลขทะเบียนบริ ษทั เลขที่ Home Page โทรศัพท์ โทรสาร
: : : : :
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) Home Product Center Public Company Limited จาหน่ายสิ นค้า และให้บริ การที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม บ้าน อาคาร และที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร เลขที่ 96/27 หมู่ 9 ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 บมจ. 665 www.homepro.co.th +66-2832-1000 +66-2832-1400
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
1. ปัจจัยความเสี่ยง ปั จจัยความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้น และมีผลกระทบต่อการดาเนินงานในอนาคตของบริ ษทั ฯ มีดงั นี้ 1.1 ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจ ในปี ที่ผา่ นมาประเทศไทยได้รับผลกระทบจากปั จจัยทั้งภายใน และภายนอกประเทศอย่างต่อเนื่อง เช่น ปั ญหา โรคไข้หวัดนก เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ราคาน้ ามันที่ปรับตัวสูงขึ้นและดอกเบี้ย ตลอดจนภัย ธรรมชาติ เหล่านี้ลว้ นส่งผลกระทบต่อแทบทุกภาคธุรกิจ ซึ่งรวมถึงธุรกิจค้าปลีกด้วย ทั้งนี้บริ ษทั ฯ ได้ตระหนัก และ ดาเนินการวางแผนเพื่อหามาตรการ และกลยุทธ์ต่างๆ สาหรับป้ องกันความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้สามารถ ดาเนินธุรกิจ และได้รับผลสาเร็จตามเป้ าหมายที่วางไว้ สินค้ าคงคลัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 และ 2548 บริ ษทั ฯ มีสินค้าคงเหลือสุทธิเท่ากับ 2,168.0 ล้านบาท และ 2,321.3 ล้าน บาท มีระยะเวลาการขายสิ นค้าเฉลี่ยเท่ากับ 90 และ 84 วัน มีระยะเวลาการชาระหนี้เท่ากับ 103 และ 98 วัน ตามลาดับ แม้วา่ ระยะเวลาในการชาระหนี้ของบริ ษทั ฯ จะสั้นลง แต่ในขณะเดียวกันบริ ษทั ฯ ก็ยงั สามารถลดระยะเวลาในการขายลงได้เช่นกัน โดยสามารถลดลงได้มากกว่าระยะเวลาในการชาระหนี้ที่ลดลง ทาให้บริ ษทั ฯ มีระยะเวลาการขายสิ นค้าสั้นกว่าระยะเวลาการ ชาระหนี้อยู่ 13 วัน ในปี 2547 และ 14 วันในปี 2548 บริ ษทั ฯ มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะเพิ่มอัตราการหมุนเวียนของสิ นค้าและลดปริ มาณการจัดเก็บสิ นค้าที่ สาขาลง โดยได้มีการจัดสร้างศูนย์กระจายสิ นค้าขึ้น พร้อมกับนาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ (Warehouse Management System) นอกจากนี้ยงั ได้ทาการแบ่งกลุ่มสิ นค้าตามระยะเวลาในการจัดเก็บ เพื่อให้สามารถบริ หารจัดการได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมาก ยิง่ ขึ้น โดยสิ นค้าจะถูกแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่ สิ นค้าที่ตอ้ งจัดเก็บเพื่อกระจายไปยังสาขา (Put Away) สิ นค้าที่รับจาก Supplier แล้วส่งไปสาขาทันที (Flow Through) และสิ นค้าที่จดั ส่งให้ลูกค้าโดยตรงพร้อมบริ การติดตั้ง (Home Delivery) สาหรับสิ นค้าที่ลา้ สมัย บริ ษทั ฯ จะทาการเปลี่ยนคืนไปยังผูผ้ ลิต หรื อนามาขายลดราคา (Clearance) ทั้งนี้เพื่อเป็ นการช่วยลด ระดับปริ มาณสิ นค้าคงคลังลง และลดค่าเสี ยโอกาสเงินลงทุนในสิ นค้าอีกด้วย การลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริ ษทั ฯ มีสาขาที่เปิ ดดาเนินการแล้วทั้งสิ้นรวม 20 สาขา สาหรับแผนการลงทุนในปี 2549 บริ ษทั ฯ มีโครงการที่จะขยายสาขา อีกประมาณ 4 - 6 แห่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นพื้นที่ในต่างจังหวัด จากที่บริ ษทั ฯ ได้มีนโยบายที่จะขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง อาจมีความเสี่ ยงเกี่ยวกับผลการดาเนินงานของสาขาใหม่ ไม่เป็ นไปตามที่ได้ประมาณการไว้ โดยจะส่งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานโดยรวม บริ ษทั ฯ หลีกเลี่ยงความเสี่ ยงโดยได้ทา การวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุนก่อนที่จะตัดสิ นใจลงทุนทุกครั้ง มีการจัดทาแผนดาเนินการ งบประมาณประจาปี และ เมื่อสาขาใหม่เปิ ดดาเนินการจะมีการติดตามผลประกอบการ และความคืบหน้าของแผนทุกเดือน โดยจะช่วยให้บริ ษทั ฯ สามารถ วางแผนรับความเสี่ ยงที่อาจจะเกิดได้ทนั ท่วงที การปฏิบัตงิ าน จากการที่บริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจค้าปลีก ทาให้อาจมีความเสี่ ยงจากการสูญเสี ย หรื อเสี ยหายจากการปฏิบตั ิงาน ดังนั้นบริ ษทั ฯ จึงได้จดั ตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับความเสี ยหายดังกล่าว คือ ฝ่ ายป้ องกันการสูญเสี ย (Loss Prevention) ที่ รับผิดชอบดูแลเรื่ องความเสี่ ยงที่อาจจะก่อให้เกิดความสูญเสี ยในทรัพย์สินของบริ ษทั ฯ เช่น อัคคีภยั วินาศภัย โจรกรรม เป็ นต้น
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ลูกหนี้ บริ ษทั ฯ ขายสิ นค้า และให้บริ การที่เกี่ยวข้องกับบ้านและที่อยูอ่ าศัยโดยแบ่งกลุ่มลูกค้าเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็ น ลูกค้ารายย่อย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นการขายเงินสด กลุ่มที่ 2 เป็ นกลุ่มผูร้ ับเหมา และเจ้าของโครงการ ซึ่งเป็ นการขายโดยให้เครดิต โดยส่วนใหญ่บริ ษทั ฯ จะมีรายได้จากการขายมาจากการขายเป็ นเงินสด โดยในปี 2547 และ 2548 บริ ษทั ฯ มีสดั ส่วนการขายเงิน สดประมาณ 94% ของยอดขายทั้งหมด ในส่วนของการขายโดยให้เครดิต บริ ษทั ฯ จะพิจารณาให้เฉพาะกับเจ้าของโครงการที่มี ฐานะการเงินที่ดี ที่ทางบริ ษทั ฯ ได้มีการวิเคราะห์งบการเงินแล้ว หรื อผูร้ ับเหมาที่มีหนังสื อค้ าประกันแทนการขายผูร้ ับเหมาราย ย่อยทัว่ ไป ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2546, 2547 และ 2548 บริ ษทั ฯ มีลูกหนี้คา้ งชาระจานวน 142.4, 192.0 และ 168.8 ล้านบาท โดยคิด เป็ นลูกหนี้บตั รเครดิตเท่ากับ 19.9, 29.3 และ 34.2 ล้านบาท ตามลาดับ 1.2
ความเสี่ยงจากการแข่ งขัน บริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจค้าปลีกสิ นค้าเกี่ยวกับบ้าน และที่อยูอ่ าศัยโดยมีคู่แข่งขันทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น ร้านค้าปลีก ห้างสรรพสิ นค้า ร้านค้าสิ นค้าเฉพาะอย่าง (Specialty Store) และร้านค้ารายย่อยทัว่ ไป บริ ษทั ฯ สร้างความแตกต่าง โดยมุ่งเน้นในเรื่ องการจาหน่ายสิ นค้า พร้อมกับการให้บริ การอย่างครบวงจร ทั้งในด้านการก่อสร้าง ซ่อมแซม ตกแต่ง และต่อ เติม มีการจัดหาสิ นค้าที่มีคุณภาพดีราคาประหยัด เน้นในเรื่ องความหลากหลายของสิ นค้า เพื่อสามารถที่จะให้บริ การลูกค้าได้ อย่างครบครัน (Variety and Assortment) จัดให้มีบริ การผูร้ ับเหมารายย่อยในงานต่าง ๆ เช่น งานระบบไฟฟ้ า ประปา งาน ซ่อมแซม งานติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ เป็ นต้น ตลอดจนการให้ความรู ้เกี่ยวกับตัวสิ นค้า และวิธีการใช้งาน ซึ่งจะช่วยให้ลูกค้า สามารถเลือกซื้อสิ นค้าได้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการใช้งานได้มากที่สุด รวมถึงสามารถประกอบ และติดตั้งเพื่อการใช้งานได้ ด้วยตนเอง (Do It Yourself) ทางด้านช่องทางการจาหน่าย บริ ษทั ฯ ได้ทาการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง โดยครอบคุลมทั้งพื้นที่ใน เขตกรุ งเทพฯ และต่างจังหวัดเพื่อเพิม่ ความสะดวกให้แก่ลูกค้า นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ได้เน้นการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการบริ หารภายใน เพื่อเสริ มสร้างศักยภาพ และความได้เปรี ยบต่อคู่แข่ง ทั้งภายใน และต่างประเทศที่อาจเข้ามาในอนาคต 1.3
ความเสี่ยงเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง ที่ผา่ นมามีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุรกิจของบริ ษทั ฯ คือ กฎหมายผังเมือง โดยได้มี ประกาศกระทรวงมหาดไทย ในการกาหนดบริ เวณพื้นที่ก่อสร้างและการใช้ประโยชน์อาคาร และประกาศอธิบดีกรมโยธาธิการ ในการปรับปรุ งกฎกระทรวงเรื่ องผังเมืองรวม โดยเหล่านี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อกาหนดมาตรฐาน และควบคุมการขยายตัวของ ธุรกิจค้าปลีกให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของธุรกิจในท้องถิ่น ดังนั้นจึงมีความเป็ นไปได้ที่กฎหมายฉบับนี้จะถูก ปรับเปลี่ยนได้อีกในอนาคต อย่างไรก็ตามทางบริ ษทั ฯ ได้วางแผนจัดหาพื้นที่ที่จะขยายสาขาไว้ล่วงหน้าเพื่อรองรับความไม่ แน่นอนที่อาจเกิดขึ้น สาหรับในส่วนกฎหมายแข่งขันทางการค้า เป็ นกรณี ที่กรมการค้าภายในได้ประกาศแนวทางปฏิบตั ิทางการค้า เพื่อส่งเสริ มการประกอบธุรกิจให้เป็ นไปอย่างเสรี และเพื่อป้ องกันมิให้เกิดการกระทาที่ไม่เป็ นธรรมในการประกอบธุรกิจ ซึ่ง ในเรื่ องนี้ บริ ษทั ฯ คานึงถึงการเจริ ญเติบโตร่ วมกันอย่างยัง่ ยืน โดยไม่ใช้ขนาดธุรกิจในการสร้างความได้เปรี ยบกับธุรกิจค้าปลีก อื่นๆ อย่างไม่เป็ นธรรม จึงไม่ได้รับผลกระทบในการประกาศใช้แนวทางดังกล่าว
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ประวัตคิ วามเป็ นมา บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2538 โดยมีทุนจด ทะเบียนเริ่ มต้นที่ 150 ล้านบาท แบ่งออกเป็ น 1.5 ล้านหุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท ภายใต้ชื่อทางการค้าว่า “โฮมโปร” (HomePro) เปิ ดดาเนินการสาขาแรกที่ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต ในเดือนกันยายน 2539 ซึ่งใช้เป็ นที่ต้ งั สานักงานใหญ่ของ บริ ษทั ฯ จนถึงเดือนมิถุนายน 2546 ได้ยา้ ยที่ต้ งั สานักงานใหญ่มาที่ถนนประชาชื่น (สาขาประชาชื่น ในปัจจุบนั ) ในปี 2540 บริ ษทั ฯ ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 350 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญ 3.5 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท เพื่อการขยายสาขา ในเดือนตุลาคม 2542 บริ ษทั ฯ ได้ทาการลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ล้านบาท มาเป็ น 116 ล้านบาท แบ่งเป็ น 1.16 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท เพื่อล้างผลขาดทุนสะสมของบริ ษทั ฯ ที่เกิดจากการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนและหนี้สูญ จากผูร้ ับเหมา ในปี 2543 บริ ษทั ฯ ได้ทาการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 200 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญ 2 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท เพื่อการขยายสาขา ในเดือนมกราคม 2544 บริ ษทั ฯ ได้จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์ให้แปลงมูลค่าหุน้ สามัญจากเดิม 2 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท จานวนเงิน 200 ล้านบาท มาเป็ น 40 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5 บาท มีทุนจดทะเบียน และทุนเรี ยกชาระ แล้วทั้งสิ้น 200 ล้านบาท เดือนมีนาคม บริ ษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนเป็ น 275 ล้านบาท แบ่งเป็ น 55 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5 บาท เพื่อใช้ เป็ นเงินทุนในการขยายสาขาในอนาคต เดือนพฤษภาคม ได้ทาการจดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชน โดยเปลี่ยนชื่อจากบริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด มาเป็ น บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) พร้อมกับได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนเป็ น 375 ล้านบาท แบ่งเป็ น 75 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5 บาท โดยมีทุนชาระแล้ว 275 ล้านบาท แบ่งเป็ น 55 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 5 บาท ในเดือนตุลาคม ได้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุน้ ที่ตราไว้ จากมูลค่าหุน้ ละ 5 บาท เป็ นมูลค่าหุน้ ละ 1 บาท และได้นา หุน้ ของบริ ษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในเดือนพฤษภาคม 2545 ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนอีก 612.5 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทาให้มีทุนจดทะเบียนเป็ น เงินรวม 987.5 ล้านบาท โดยจัดสรรหุน้ เพิ่มทุน ดังนี้ (1) จานวน 375 ล้านหุน้ จาหน่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ เดิม ราคาหุน้ ละ 1 บาท ซึ่งได้จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชาระ แล้วในเดือนมิถนุ ายน 2545 (2) จานวน 187.5 ล้านหุน้ ไว้รองรับการใช้สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ จัดสรรให้แก่ผถู ้ ือหุน้ เดิม ซึ่ง ใช้สิทธิจองซื้อหุน้ สามัญใหม่ตามสัดส่วน และจากการใช้สิทธิเกินส่วน อายุ 3 ปี ไม่มีราคาเสนอขาย โดยใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซ้ือหุน้ สามัญได้ 1 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 3 บาท ระยะเวลาการใช้สิทธิทุกๆ 3 เดือน ซึ่งครบกาหนดในเดือนกรกฎาคม 2548 (3) จานวน 50 ล้านหุน้ ให้ขายแก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 12/2543 เดือนพฤศจิกายน 2546 บริ ษทั ทริ สเรตติ้ง จากัด จัดอันดับเครดิตให้บริ ษทั เป็ น BBB (Investment Grade)
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ในเดือนเมษายน 2547 มีมติอนุมตั ิให้ยกเลิกการจัดสรรหุน้ สามัญเพิ่มทุนส่วนที่ยงั ไม่ได้เรี ยกชาระจานวน 50,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท (หนึ่งบาท) ซึ่งมติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2545 ได้มีมติอนุมตั ิให้เสนอ ขายแก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) เนื่องจากบริ ษทั ฯ ยังไม่ได้มีการเสนอขายให้แก่บุคคลดังกล่าว และอนุมตั ิการ จัดสรรใหม่ดงั นี้ (1) จานวน 15,000,000 หุน้ เพื่อรองรับการใช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิซ่ ึงจัดสรรให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ ภายใต้โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ (2) จานวน 5,000,000 หุน้ สารองไว้เพิ่มเติมสาหรับรองรับการใช้สิทธิของใบสาคัญแสดงสิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ เดิม ครั้งที่ 1 ซึ่งบริ ษทั ฯ อาจมีการปรับราคาการใช้สิทธิ และอัตราการใช้สิทธิตามข้อกาหนด และเงื่อนไขของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ นั้น (3) จานวน 30,000,000 หุน้ ให้แก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ.12/2543 ในเดือนกันยายน 2547 เปิ ดศูนย์การกระจายสิ นค้า อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ซึ่งมีพ้นื มากกว่า 20,000 ตารางเมตร หรื อมากกว่า 16,500 พาเลท ซึ่งสามารถรองรับจานวนสาขาได้ประมาณ 25 สาขา ในเดือนตุลาคม 2547 บริ ษทั ทริ สเรตติ้ง จากัด ได้เพิ่มอันดับเครดิตให้บริ ษทั เป็ น BBB+ ในเดือนเมษายน 2548 มีมติอนุมตั ิให้ยกเลิกการจัดสรรหุน้ สามัญเพิ่มทุน ส่วนที่ยงั ไม่ได้เรี ยกชาระจานวน 30,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท (หนึ่งบาท) ซึ่งมติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2547 ได้มีมติอนุมตั ิให้เสนอ ขายแก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) เนื่องจากบริ ษทั ฯ ยังไม่ได้มีการเสนอขายให้แก่บุคคลดังกล่าว และอนุมตั ิการ จัดสรรใหม่ดงั นี้ (1) จานวน 7,000,000 หุน้ เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิซ่ ึงจัดสรรให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ ภายใต้โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 2 (2) จานวน 100,000 หุน้ สารองไว้เพิ่มเติมสาหรับรองรับการใช้สิทธิของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซึ่งจัดสรรให้แก่ พนักงานของบริ ษทั ฯ ภายใต้โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 1 ซึ่งบริ ษทั ฯ อาจมีการปรับราคา การใช้สิทธิ และอัตราการใช้สิทธิ ตามข้อกาหนด และเงื่อนไขของใบสาคัญแสดงสิ ทธิน้ นั (3) จานวน 22,900,000 หุน้ ให้แก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ.12/2543 ปัจจุบนั บริ ษทั ยังไม่ได้กาหนดระยะเวลาในการออกและเสนอขาย เดือนพฤษภาคม 2548 ได้ทาการจดทะเบียนจัดตั้ง บริ ษทั มาร์เก็ต วิลเลจ จากัด โดยมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 5 ล้านบาทถ้วน ซึ่งบริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 99.99 2.2 การประกอบธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่ อย บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจค้าปลีก โดยจาหน่าย สิ นค้า และให้บริ การที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม อาคาร บ้าน และที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร โดยใช้ ชื่อทางการค้าว่า “โฮมโปร” (HOMEPRO) ซึ่งเป็ นเครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั ฯ ปัจจุบนั บริ ษทั ฯ มีลกั ษณะการประกอบธุรกิจ ดังนี้
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ก) จาหน่ายสิ นค้าเกี่ยวกับบ้าน และที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร (One Stop Shopping Home Center) โดยสามารถแบ่ง ประเภทสิ นค้าได้เป็ น 5 กลุ่มหลักคือ กลุ่มวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ปรับปรุ งบ้าน กลุ่มห้องน้ าและสุขภัณฑ์ กลุ่มเครื่ องครัวและ เครื่ องใช้ไฟฟ้ า อุปกรณ์ไฟฟ้ าและโคมไฟ และ กลุ่มเครื่ องนอนและสิ นค้าตกแต่ง นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังมีพนักงานที่มีความรู ้ เกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ที่พร้อมให้คาแนะนา เพื่อลูกค้าสามารถเลือกซื้อสิ นค้าได้อย่างครบถ้วน และตรงกับวัตถุประสงค์ในการ ใช้งานได้มากที่สุด ข) ให้บริ การด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ บริ การจัดส่งสิ นค้า จัดหาช่างผูช้ านาญ และผูร้ ับเหมางานก่อสร้าง งานระบบต่างๆ ภายในบ้าน บริ การออกแบบและปรับปรุ งส่วนต่าง ๆ ภายในบ้านด้วยระบบคอมพิวเตอร์ บริ การผสมสี ดว้ ย เครื่ องคอมพิวเตอร์ บริ การสัง่ ซื้อสิ นค้ากรณี พิเศษ บริ การเปลี่ยนคืนสิ นค้า จัดสาธิต D.I.Y (Do It Yourself) และ Workshop เป็ นต้น จากลักษณะการประกอบธุรกิจดังกล่าว บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดให้สาขาแรกที่ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต ในเดือน กันยายน 2539 และได้ทาการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 มีสาขาที่เปิ ดดาเนินการแล้วทั้งสิ้น 20 สาขา โดยมุ่งเน้นในบริ เวณพื้นที่ใกล้แหล่งชุมชน ย่านธุรกิจ และศูนย์การค้าที่มีสิ่งอานวยความสะดวกแก่ลูกค้า ทั้งในด้านการเดินทาง การจอดรถ การขนส่งสิ นค้า เป็ นต้น ข้อมูลของแต่ละสาขาสามารถสรุ ปได้ดงั นี้
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.
สาขา สาขารังสิ ต สาขารัตนาธิเบศร์ สาขาแฟชัน่ ไอส์แลนด์ สาขาฟิ วเจอร์มาร์ท สาขาเสรี เซ็นเตอร์ สาขาเดอะมอลล์ บางแค สาขาเดอะมอลล์ โคราช สาขารัชดาภิเษก สาขาเพลินจิต สาขาภูเก็ต สาขาเชียงใหม่ สาขารามคาแหง สาขาพระราม 2 สาขาประชาชื่น สาขาลาดพร้าว สาขาพัทยา สาขาแจ้งวัฒนะ สาขาหาดใหญ่ สาขาราชพฤกษ์ สาขาบางนา
สถานทีต่ ้งั ใกล้ศูนย์การค้าฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต แยกบางใหญ่ รัตนาธิเบศร์ ในศูนย์การค้าแฟชัน่ ไอส์แลนด์ รามอินทรา เชิงสะพานกรุ งเทพใหม่ ถนนพระราม 3 ในศูนย์การค้าเสรี เซ็นเตอร์ ถนนศรี นคริ นทร์ ในศูนย์การค้าเดอะมอลล์ บางแค ในศูนย์การค้าเดอะมอลล์ โคราช ในศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ รัชดาภิเษก ในอาคารเวฟเพลส ถนนเพลินจิต ในศูนย์การค้าโลตัส ภูเก็ต ในศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ เชียงใหม่ ใกล้ศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ ถนนสุขาภิบาล 3 ใกล้ทางด่วนบางนา-ดาวคะนอง ถนนพระราม 2 ใกล้สี่แยกพงษ์เพชร ถนนประชาชื่น ในศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ ลาดพร้าว ในศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ พัทยากลาง ใกล้ศูนย์การค้าคาร์ฟรู ์ แจ้งวัฒนะ ในศูนย์การค้า คาร์ ฟรู ์ หาดใหญ่ ใกล้วงเวียนนครอินทร์ ใกล้โรงพยาบาล จุฬารัตน์ บางนา-ตราด กม.12
วันทีเ่ ปิ ดดาเนินการ กันยายน 2539 พฤษภาคม 2540 เมษายน 2542 มีนาคม 2543 พฤษภาคม 2543 กรกฎาคม 2543 เมษายน 2544 มิถุนายน 2544 ตุลาคม 2544 มิถุนายน 2545 กันยายน 2545 เมษายน 2546 พฤษภาคม 2546 กรกฎาคม 2546 ตุลาคม 2546 ธันวาคม 2546 กรกฎาคม 2547 ตุลาคม 2547 สิ งหาคม 2548 พฤศจิกายน 2548
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทย่ อย บริ ษทั มาร์เก็ต วิลเลจ จากัด (“มาร์เก็ต วิลเลจ”) ได้จดั ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2548 โดยตั้งอยูท่ ี่ 234/1 ถนน เพชรเกษม ตาบลหัวหิ น อาเภอหัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ โดยบริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เข้าถือ หุน้ ทั้งหมดร้อยละ 99.99 ปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท มาร์เก็ต วิลเลจ ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อบริ หาร พื้นที่ให้เช่าให้กบั บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ พร้อมกับให้บริ การทางด้านสาธารณูปโภคแก่ผเู ้ ช่า เริ่ มต้นดาเนินการบนพื้นที่ โครงการ “หัวหิ น มาร์เก็ต วิลเลจ” (Hua-Hin Market Village) ซึ่งตั้งอยูบ่ ริ เวณ ถนนเพชรเกษม อาเภอหัวหิ น จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ ซึ่งจะเปิ ดดาเนินการในไตรมาสแรกปี 2549 2.3 โครงสร้ างรายได้ โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั สามารถแสดงแยกตามสายผลิตภัณฑ์หลักได้ดงั นี้ หน่วย : ล้านบาท
ผลิตภัณฑ์ 1. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ปรับปรุ งบ้าน 2. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มห้องน้ าและสุขภัณฑ์ 3. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเครื่ องครัวและเครื่ องใช้ไฟฟ้ า 4. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มอุปกรณ์ไฟฟ้ า และโคมไฟ 5. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเครื่ องนอนและสิ นค้าตกแต่ง 6. รายได้จากการขายให้โครงการ 7. รายได้อื่น รวม
2548 จานวน 2,875.3 2,323.5 3,484.5 1,119.5 1,731.7 677.4 410.6 12,622.4
% 22.8 18.4 27.6 8.9 13.7 5.4 3.2 100.0
2547 จานวน 2,334.8 1,987.9 2,556.3 982.9 1,332.3 620.2 220.2 10,034.5
% 23.3 19.8 25.5 9.7 13.3 6.2 2.2 100.0
2546 จานวน 1,629.6 1,381.2 1,579.1 733.9 926.8 502.4 113.7 6,866.7
% 23.7 20.1 23.0 10.7 13.5 7.3 1.7 100.0
หมายเหตุ รายการที่ 1-5 เป็ นการขายปลีกหน้าร้าน รายการที่ 6 เป็ นการสัง่ ซื้อจากเจ้าของโครงการ ซึ่ งไม่สามารถจาแนกตามสายผลิตภัณฑ์ได้ รายการที่ 7 รายได้อื่น ประกอบด้วย ค่าเช่าพื้นที่ ค่าส่ งเสริ มการขาย เป็ นต้น
2.4 เป้ าหมายการดาเนินธุรกิจของบริษัท บริ ษทั ฯ มีเป้ าหมายที่จะเป็ นผูน้ าในธุรกิจค้าปลีกสิ นค้าเพื่อการก่อสร้าง ตกแต่ง และซ่อมแซม บ้านและที่อยูอ่ าศัย พร้อมกับการให้บริ การอย่างครบวงจร (One Stop Shopping) เพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า โดยในปัจจุบนั บริ ษทั ฯ มี สิ นค้าสาหรับให้บริ การมากกว่า 60,000 รายการ อีกทั้งมีการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรม (Training Center) เพื่อพัฒนาบุคลากรในทุก ระดับให้มีความรู ้ความสามารถในการให้บริ การที่ดีแก่ลูกค้า เพื่อให้สามารถบรรลุเป้ าหมาย บริ ษทั ฯ มีความพยายามที่จะลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานลงและเพิม่ คุณภาพในการ ให้บริ การ รวมทั้งพัฒนาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจค้าปลีกให้มีความทันสมัย และมีประสิ ทธิภาพ โดยได้มีการ จัดสร้างศูนย์กระจายสิ นค้าขึ้น (Distribution Center) เพื่อเป็ นศูนย์กลางในการจัดส่งสิ นค้าไปยังแต่ละสาขา ทั้งนี้เพื่อให้สามารถ ลดเวลาในการปฏิบตั ิงานและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องลงได้ อีกทั้งยังทาให้กระบวนการบริ หารสิ นค้าคงคลังทั้งระบบมีประสิ ทธิภาพ มากยิง่ ขึ้น โดยศูนย์กระจายสิ นค้านี้ต้ งั อยูท่ ี่ อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึ่งต่อมาในเดือนกันยายน 2547 บริ ษทั ฯ ได้ยา้ ย ไปที่ อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยา บนพื้นที่ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั ฯ เอง โดยพื้นที่มีขนาดใหญ่ข้ นึ เพื่อรองรับ การเพิ่มขึ้นของสาขาในอนาคต
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3.
การประกอบธุรกิจของแต่ ละสายผลิตภัณฑ์
3.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ 3.1.1 ผลิตภัณฑ์ เพือ่ การค้ าปลีก บริ ษทั ฯ แบ่งสายผลิตภัณฑ์ออกเป็ น 5 กลุ่มหลัก ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ กลุ่มวัสดุก่อสร้ างและอุปกรณ์ ปรับปรุงบ้ าน ประกอบด้วย บล๊อคปูถนน ปูนซิเมนต์ ฉนวนกัน ความร้อน ไม้แปรรู ป ไม้ประดิษฐ์ เช่น ไม้คิ้ว ไม้บวั ประตู วงกบ หน้าต่าง กระเบื้องหลังคา ผลิตภัณฑ์ฝา ผนัง ประปา สี อุปกรณ์ประตู หน้าต่าง อุปกรณ์สวน ฮาร์ดแวร์ เครื่ องมือช่าง เป็ นต้น ผลิตภัณฑ์ กลุ่มห้ องนา้ และสุขภัณฑ์ ประกอบด้วย เซรามิค สุขภัณฑ์ อุปกรณ์ที่ใช้ในห้องน้ า ก๊อกน้ า อ่างอาบน้ า ฉากกั้นอาบน้ า เป็ นต้น ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเครื่องครัวและเครื่องใช้ ไฟฟ้า ประกอบด้วย เครื่ องดูดควัน เตาแก๊ส ชุดครัว เตาอบ แอร์ ตูเ้ ย็น เครื่ องซักผ้า รวมถึงอุปกรณ์เกี่ยวกับภาพและเสี ยง เป็ นต้น ผลิตภัณฑ์ กลุ่มอุปกรณ์ ไฟฟ้า และโคมไฟ ประกอบด้วย อุปกรณ์ไฟฟ้ า และแสงสว่างต่างๆ ได้แก่ โคมไฟ ไฟกิ่ง ไฟแขวน หลอดไฟ สายไฟ อุปกรณ์ตดั ไฟ ปลัก๊ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าภายในบ้าน เป็ นต้น ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเครื่องนอน และสินค้ าตกแต่ ง ประกอบด้วย ที่นอน ชุดเครื่ องนอน ผ้าม่าน วอลล์เปเปอร์ พรม ชุดเฟอร์นิเจอร์ เป็ นต้น 3.1.2 พืน้ ทีเ่ พือ่ ร้ านค้ าเช่ า บริ ษทั ย่อย คือ มาร์เก็ต วิลเลจได้สิทธิในการบริ หารพื้นที่โครงการ “หัวหิ น มาร์เก็ต วิลเลจ” ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 20,000 ตารางเมตร สาหรับบริ หารพื้นที่ให้เช่าแก่ร้านค้ารายย่อย ปั จจุบนั มีร้านค้าเข้าร่ วมแล้วทั้งสิ้นมากกว่าร้อยละ 90 ของพื้นที่ท้ งั หมด ทั้งนี้บริ ษทั ฯ ได้รับชาระค่าเช่ามาแล้วเป็ นการล่วงหน้า และจะเริ่ มรับรู ้รายได้เมื่อโครงการหัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ เปิ ดดาเนินการประมาณไตรมาสแรกปี 2549 3.2 การตลาด และภาวะการแข่ งขัน ลักษณะตลาด และรู ปแบบการแข่ งขัน 3.2.1 ภาวะการแข่ งขัน ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ยังคงเป็ นผูป้ ระกอบการธุรกิจค้าปลีกสิ นค้าเกี่ยวกับบ้าน พร้อมบริ การที่ครบวงจรเพียงรายเดียว (One Stop Shopping Home Center) แต่อาจจาแนกผูป้ ระกอบการรายอื่นที่จาหน่ายสิ นค้าในลักษณะเดียวกับบริ ษทั ได้ดงั นี้ 1. ผูป้ ระกอบธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ได้แก่ โฮมเวิร์ค (HomeWorks) เป็ นหน่วยธุรกิจค้าปลีกสิ นค้าเกี่ยวกับบ้านใน เครื อเซ็นทรัล รี เทล คอร์ปอเรชัน่ (Central Retail Corporation) ซึ่งในปัจจุบนั เปิ ดดาเนินการ 10 สาขา - ชั้น 5 เซ็นทรัล บางนา - ชั้น 4 บิ๊กซี หัวหมาก - ชั้น 1 เซ็นทรัล รัตนาธิเบศร์ - ชั้น 3 โรบินสัน รัชดาภิเษก - ชั้นใต้ดิน เซ็นทรัล พระราม 2 - ชั้น 1 เซ็นทรัล รังสิ ต - ชั้นใต้ดิน เซ็นทรัล ลาดพร้าว - ชั้น 2 เซ็นทรัลเฟสติวลั ภูเก็ต - ชั้น 3 โรบินสัน รังสิ ต - ชั้น 1 บิ๊กซี เพชรเกษม
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ เห็นว่าธุรกิจนี้ยงั มีศกั ยภาพ และโอกาสทางการตลาดอีกมาก การที่มีผปู ้ ระกอบการในธุรกิจ นี้เพิ่มขึ้น จะช่วยกระตุน้ ให้ผบู ้ ริ โภครู ้จกั และเปลี่ยนพฤติกรรมให้หนั มาซื้อสิ นค้าจากร้านที่ทนั สมัยแบบโฮมเซ็นเตอร์ได้ มากและเร็ วขึ้น 2. ผูป้ ระกอบธุรกิจร้านค้าเฉพาะอย่าง (Specialty Store) เช่น ร้านค้ารายย่อยที่เน้นการขายสิ นค้าเฉพาะอย่าง 2.1. กลุ่มเซรามิคและสุขภัณฑ์ เช่น ร้านสุขภัณฑ์เซ็นเตอร์ บุญถาวร Decor mart แกรนด์โฮมมาร์ท และ อินเตอร์สุขภัณฑ์ โดยมีกลุ่มสิ นค้าที่หลากหลาย และจาหน่ายในราคาที่ใกล้เคียงกับบริ ษทั ฯ 2.2. กลุ่มเฟอร์นิเจอร์ สิ นค้าตกแต่งบ้าน ได้แก่ ร้าน Index ประกอบธุรกิจค้าปลีกสิ นค้าที่เกี่ยวกับบ้าน โดย เน้นที่อุปกรณ์ตกแต่ง เฟอร์นิเจอร์ ชุดห้องนอน ชุดรับแขก เครื่ องครัว โดยลูกค้าเป้ าหมายเป็ นกลุ่มที่มีกาลังซื้อสูง 2.3 ร้านค้ารายย่อยที่จาหน่ายเฉพาะวัสดุก่อสร้าง ได้แก่ ร้านของ Cement Thai Home Mart ซึ่งเน้นการ จาหน่ายสิ นค้าในกลุ่มเครื อซิเมนต์ไทย แต่สาหรับสิ นค้าประเภทอื่น เช่น กระเบื้อง สุขภัณฑ์ สี อุปกรณ์ไฟฟ้ า ประปา ยังมีจาหน่ายไม่มาก 2.4. ร้านขายสิ นค้าเฉพาะอย่าง เช่น ร้านขายสี ร้านขายอุปกรณ์ประปา ร้านฮาร์ดแวร์ ฯลฯ โดยร้านค้าเหล่านี้ ยังขาดในเรื่ องความหลากหลายของสิ นค้า อีกทั้งรู ปแบบการจัดเรี ยงยังเป็ นแบบเก่า (Traditional Trade) ทาให้ขาดอิสระ ในการเลือกซื้อ 3. ผูป้ ระกอบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ เช่น เทสโก้ โลตัส (Tesco Lotus) บิ๊กซี (Big C) และคาร์ฟรู ์ (Carrefour) โดยธุรกิจเหล่านี้มงุ่ เน้นด้านการจาหน่ายสิ นค้าเพื่อการอุปโภคและบริ โภคเป็ นหลัก สาหรับสิ นค้าเกี่ยวกับบ้านยังขาดใน เรื่ องของความหลากหลายของสิ นค้า 3.2.2 กลยุทธ์ ทางการแข่ งขัน บริ ษทั ฯ กาหนดกลยุทธ์เพื่อการแข่งขันไว้ 4 ด้าน ดังนี้ 1. สิ นค้า บริ ษทั ฯ มีสินค้าเพื่อการก่อสร้าง ตกแต่ง ต่อเติม ซ่อมแซมบ้านและที่อยูอ่ าศัยมากกว่า 60,000 รายการ ทั้งนี้เป็ นการสร้างความหลากหลาย เพื่อให้ลูกค้าสามารถเลือกซื้อสิ นค้าได้อย่างครบถ้วนตามต้องการ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้พฒั นาสิ นค้าบางรายการภายใต้เครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั ฯ เอง (Private Brand) เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กบั ลูกค้าที่ตอ้ งการซื้อสิ นค้าคุณภาพดีราคาประหยัด เช่น สิ นค้ากลุ่มวัสดุก่อสร้างภายใต้ชื่อ Home Base, Home Concept และ Home Living 2. บริ การ บริ ษทั ฯ มีแผนก Design & Installation Service ซึ่งให้บริ การที่เกี่ยวเนื่องกับผลิตภัณฑ์ท้ งั การ ออกแบบส่วนต่างๆ ภายในบ้าน รวมทั้งงานปรับปรุ งซ่อมแซม นอกจากนี้ยงั มีบริ การจัดหาสิ นค้าพิเศษ บริ การจัดส่งสิ นค้า บริ การติดตั้ง รวมทั้งการมีพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญในตัวผลิตภัณฑ์คอยให้คาปรึ กษา และแนะนาวิธีการใช้งาน ตลอดจนการแก้ไขปั ญหาต่างๆ นอกจากนั้นบริ ษทั ฯ ยังมีบริ การรับเหมางานติดตั้ง ต่อเติมระบบงานต่างๆ ภายในบ้าน นอกจากนี้ยงั มีการนาเสนอบริ การรู ปแบบใหม่ คือ Wood Center ที่ให้บริ การด้านการออกแบบ และผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ ตามคาสัง่ ของลูกค้า 3. ทาเลที่ต้งั และจานวนสาขา บริ ษทั ฯ พิจารณาเลือกเปิ ดสาขาในพื้นที่ที่สะดวกต่อการเดินทางของลูกค้าเป็ น หลัก โดยในปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีสาขาทั้งสิ้นจานวน 20 สาขา และมีแผนที่จะขยายสาขาเพิ่มในพื้นที่เขตกรุ งเทพ ปริ มณฑล และต่างจังหวัดอย่างต่อเนื่อง
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
4. การบริ หารงาน กลุม่ ผูบ้ ริ หารระดับสูงของบริ ษทั ฯ เป็ นผูท้ ี่มีประสบการณ์ในด้านธุรกิจค้าปลีก และ ธุรกิจที่เกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง ทาให้มีการผสมผสานและแลกเปลี่ยนความรู ้ในตัวสิ นค้าและรู ปแบบของธุรกิจค้าปลีก อีกทั้ง บริ ษทั ฯ ยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในทุกๆ ขั้นตอนของการ ปฏิบตั ิงาน ตั้งแต่การสัง่ ซื้อ การรับสิ นค้า การจาหน่าย และการควบคุมสิ นค้าคงคลัง ซึ่งเป็ นผลให้บริ ษทั ฯ สามารถลด ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานให้ต่าลง 3.2.3 กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย บริ ษทั ฯ มีลูกค้าเป้ าหมาย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มลูกค้ารายย่อยทัว่ ไป และกลุ่มผูร้ ับเหมา ทั้งตลาดบ้านใหม่ ตลาด ซ่อมแซม และต่อเติมบ้าน (บ้านเก่า) โดยตลาดบ้านใหม่จะมีการขยายตัวตามสภาพทางเศรษฐกิจ หากสภาพทางเศรษฐกิจ อยูใ่ นช่วงการขยายตัว ตลาดก็จะขยายตัวตาม นัน่ ก็คือ เมื่อผูบ้ ริ โภคมีอานาจการซื้อที่เพิ่มขึ้นก็ตอ้ งการที่จะซื้อบ้านใหม่ที่ ใหญ่ข้ นึ ในส่วนของตลาดบ้านเก่าเองก็มีการขยายตัวอยูต่ ลอดเวลา ไม่วา่ จะเพื่อการซ่อมแซม บารุ งรักษา ตกแต่ง หรื อต่อ เติมเพื่อรองรับการขยายตัวของครอบครัว ซึ่งในระยะหลังตลาดบ้านเก่ามีแนวโน้มการขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ลูกค้าส่วนใหญ่ของบริ ษทั ฯ เป็ นลูกค้ารายย่อย และไม่มีรายใดที่มียอดขายเกินกว่าร้อยละ 30 ของยอดขายทั้งหมด ทาให้บริ ษทั ฯ ไม่มีความเสี่ ยงที่จะสูญเสี ยอานาจการต่อรองกับลูกค้า 3.2.4 การตลาด และการจัดจาหน่ าย บริ ษทั ฯ ได้ทาการตลาดโดยเน้นการใช้สื่อที่เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายในด้านกว้างเพื่อการสร้าง Brand awareness และมีการจัดส่ง Direct mail ให้กบั สมาชิกและลูกค้าบริ เวณใกล้เคียงสาขา เพื่อนาเสนอข้อมูลสินค้าและบริ การถึงลูกค้า เป้ าหมายโดยตรง อีกทั้งยังมีการทากิจกรรมส่งเสริ มการขายที่ร่วมกับคู่คา้ ทั้ง Suppliers และสถาบันการเงินอย่างต่อเนื่อง โดยหมุนเวียนกลุ่มสิ นค้าให้เหมาะสมกับการใช้งานในแต่ละช่วงเวลา ทางด้านช่องทางการจัดจาหน่าย บริ ษทั ฯ ได้ขยายสาขาเพื่อให้ครอบคลุมบริ เวณที่อยูอ่ าศัยหลักในเขตกรุ งเทพฯ ปริ มณฑล และมีแผนงานที่จะขยายสาขาไปในเขตเมืองใหญ่ในต่างจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 3.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์ 3.3.1 ลักษณะการจัดให้ ได้ มาซึ่งผลิตภัณฑ์ บริ ษทั ฯ จัดซื้อสิ นค้าโดยแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์ตามประเภทกลุ่มสิ นค้า โดยมุ่งเน้นการจัดหาสิ นค้าที่มีคุณภาพจาก ผูผ้ ลิตหรื อผูน้ าเข้าโดยตรง ทั้งที่สงั่ ซื้อจากผูผ้ ลิต/ตัวแทนจาหน่ายภายในประเทศ และนาเข้าโดยตรงจากต่างประเทศ เพื่อ เพิม่ ความหลากหลายให้กบั สิ นค้า โดยในการสัง่ ซื้อบริ ษทั ฯ จะพิจารณาเปรี ยบเทียบคุณสมบัติของสิ นค้านั้นๆ ตลอดจน ความสามารถในการผลิต และการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ของผูผ้ ลิตด้วย ซึ่งที่ผา่ นมาผูผ้ ลิต และผูน้ าเข้าได้ให้ การสนับสนุนบริ ษทั ฯ ด้วยดีมาตลอด เช่น มีการโฆษณา และส่งเสริ มการขายร่ วมกัน การให้ส่วนลดพิเศษ และขยาย ระยะเวลาการชาระค่าสิ นค้าในช่วงที่เปิ ดสาขาใหม่ สาหรับวิธีปฏิบตั ิในการสัง่ ซื้อสิ นค้ากรณี ที่เป็ นสิ นค้าประเภทที่มี จาหน่ายอยูแ่ ล้ว ทางส่วนกลางจะเป็ นเพียงผูก้ าหนดนโยบาย และให้แต่ละสาขาจัดคาสัง่ ซื้อ (Repeat Order) ไปยังศูนย์ กระจายสิ นค้าหรื อบริ ษทั คู่คา้ ที่ได้ทาข้อตกลงกันไว้แล้ว ในกรณี ที่เป็ นสิ นค้าใหม่ทางส่วนกลางจะเป็ นผูด้ าเนินการจัดหา ให้ นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังได้มีการจาหน่ายสิ นค้าที่พฒั นาขึ้นภายใต้เครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั ฯ เอง (Private Brand) และได้ร่วมกับผูผ้ ลิตในการพัฒนาสิ นค้าสาหรับจาหน่ายเฉพาะที่โฮมโปร (Exclusive Brand) เพือ่ เป็ นการเพิ่มทางเลือก สาหรับลูกค้าที่ตอ้ งการสิ นค้าที่มีคุณภาพ โดยไม่ยดึ ติดกับตราสิ นค้า
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
เนื่องจากบริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจค้าปลีกแบบ Home Center โดยมีสินค้าสาหรับให้บริ การมากกว่า 60,000 รายการ ซึ่งสิ นค้าดังกล่าวจัดหาจากผูผ้ ลิตและผูจ้ าหน่ายสิ นค้า (Suppliers) กว่า 800 ราย โดยส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์กบั บริ ษทั มา เป็ นเวลานาน สาหรับผูผ้ ลิต และผูจ้ าหน่ายสิ นค้าหลักที่ทางบริ ษทั ฯ มียอดขายสิ นค้าได้เกินกว่าร้อยละ 10 ของยอดขาย รวมในแต่ละกลุ่มสิ นค้า มีประมาณ 4-5 ราย ได้แก่ บจก.เซรามิคอุตสาหกรรมไทย (COTTO), บจก. พานาโซนิค เอ.พี. เซลส์ (ประเทศไทย), บจก. แอลจี มิตร อิเลคทรอนิคส์ เป็ นต้น โดยในแต่ละกลุ่มสิ นค้า จะแยกออกเป็ นหลายตรายีห่ อ้ ทั้งนี้เพื่อเป็ นการเพิ่มความหลากหลายในการเลือกซื้อให้แก่ลูกค้า และจากการศึกษาพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคในปัจจุบนั พบว่า ผูบ้ ริ โภคนิยมที่จะจับจ่ายสิ นค้าในช่องทาง Modern Trade มากขึ้น ทาให้โอกาสทางการตลาดของบริ ษทั มีเพิม่ ขึ้น เช่นกัน ทางด้านการสัง่ ซื้อสิ นค้า บริ ษทั ฯ ได้นาระบบ Vendor Relation Management เข้ามาใช้ ซึ่งได้มีการเชื่อมโยง ระบบคอมพิวเตอร์ของบริ ษทั ฯ เข้ากับระบบของผูผ้ ลิต และผูจ้ าหน่ายสิ นค้า ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เช่น ข้อมูลการขายสิ นค้า จานวนสิ นค้าคงเหลือ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค โดยผูผ้ ลิต และผูจ้ าหน่าย สิ นค้าสามารถนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการวางแผนการผลิต และส่งสิ นค้าให้กบั บริ ษทั ฯ ในเวลาที่เหมาะสมได้ ซึ่งใน การใช้ระบบ Vendor Relation Management ร่ วมกันนี้ จะช่วยให้ทุกฝ่ ายสามารถลดค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องลงได้ เช่น ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง เป็ นต้น อีกทั้งยังช่วยในด้านการจัดการสิ นค้าคงคลังให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้นอีกด้วย นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้จดั ตั้งศูนย์กระจายสิ นค้า (Distribution Center) ขึ้นเพื่อช่วยในการควบคุมระดับสิ นค้าคง คลังตามสาขาต่างๆ ลง และยังจะช่วยลดการเสี ยโอกาสในการขายจากการขาดแคลนสิ นค้าคงคลังได้ 3.3.2 ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม - ไม่มี -
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
4.
การวิจยั และพัฒนา
บริ ษทั ฯ ได้มีการจัดตั้งหน่วยงานพัฒนาธุรกิจและสาขา ซึ่งเป็ นหน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้านการพัฒนาพื้นที่ขาย การวางรู ปแบบการจัดเรี ยงสิ นค้า การสร้างห้องแสดงสิ นค้า (Model Room) ตลอดจนปรับปรุ งบริ การหลังการขาย โดยจะมีการ วิจยั ข้อมูลการขาย การบริ การ และความต้องการของลูกค้ามาใช้พิจารณาประกอบการตัดสิ นใจ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถเสนอสิ นค้า และบริ การเพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้าได้ อีกทั้งยังเป็ นการบริ หารยอดขายต่อพื้นที่ขาย และบริ หารต้นทุนการ ลงทุนต่อสาขาให้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ได้ร่วมกับบริ ษทั คู่คา้ ในการพัฒนาคุณภาพ พร้อมกับรู ปแบบการใช้งานของสินค้าให้ดีข้ นึ โดย บริ ษทั ฯ ได้มีรวบรวมข้อมูลจากลูกค้าเกี่ยวกับปั ญหา และข้อบกพร่ องที่เกิดขึ้น เพื่อส่งให้กบั ผูผ้ ลิตได้ทาการปรับปรุ งแก้ไข ปั ญหาต่างๆ รวมทั้งช่วยวิเคราะห์แนวโน้มความต้องการของผูบ้ ริ โภค เพื่อเป็ นข้อมูลที่ช่วยในการวางแผนการผลิตต่อไป
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
5.
ทรัพย์ สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ
บริ ษทั ฯ มีสินทรัพย์หลักที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ดังต่อไปนี้ รายการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
สิ ทธิการเช่ารอตัดบัญชี ที่ดิน อาคาร คอมพิวเตอร์ เครื่ องใช้สานักงาน เครื่ องตกแต่งติดตั้งและอุปกรณ์ ยานพาหนะ รวม หัก ค่าตัดจาหน่ายสะสม ค่าเสื่ อมราคาสะสม สินทรัพย์ ถาวรสุ ทธิ
จานวน (ล้ านบาท) 556.10 1,411.23 3,385.18 325.46 165.72 1,156.03 18.84 7,018.56 (98.41) (788.21) 6,131.94
หมายเหตุ : เครื่องตกแต่ งติดตั้ง และอุปกรณ์ รวมรายการของบริษทั ย่อยจานวน 0 23 ล้านบาท ยานพาหนะ รวมรายการของบริษทั ย่อยจานวน 0.54 ล้านบาท
บริ ษทั ฯ ได้นาสิ ทธิการเช่า อาคารบนพื้นที่เช่าทั้งหมด พร้อมกับเครื่ องตกแต่ง และอุปกรณ์บางส่วน ไปจดจานองค้ า ประกันภาระหนี้สินที่มีต่อธนาคารพาณิ ชย์ วงเงิน 1,599 ล้านบาท
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
รายละเอียดที่ดิน และสิ ทธิการเช่ารอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 มีดงั นี้ ประเภทการ ถือครองกรรมสิ ทธิ์
1. สิ ทธิการเช่าที่ดิน
2. สิ ทธิการเช่าพื้นที่
3. ถือกรรมสิ ทธิ์
เนื้อที่ โดยประมาณ
สาขาที่ต้งั รังสิ ต, รัตนาธิ เบศร์, รามคาแหง, พระราม 2, แจ้งวัฒนะ, ราชพฤกษ์, บางนา แฟชัน่ ไอส์แลนด์, ฟิ วเจอร์ มาร์ท, เสรี เซ็นเตอร์, เดอะมอลล์ บางแค, เดอะมอลล์ โคราช, รัชดาภิเษก, เพลินจิต, ภูเก็ต, เชียงใหม่, ลาดพร้าว, พัทยา, หาดใหญ่ ประชาชื่น, ศูนย์กระจายสิ นค้าวัง น้อย และสาขาที่อยูร่ ะหว่างรอเปิ ด ดาเนินการ
มูลค่ าทางบัญชี (ล้านบาท)
วันสิ้นสุ ดอายุ สั ญญาเช่ า
สิ ทธิในการ ต่ อสั ญญา
98 ไร่ 1 งาน 25 ตรว.
383.48 31 ก.ค. 2565 – 27 ธ.ค. 2578
ไม่มี *
81,643 ตรม.
102.60 31 ธ.ค. 2559 – 14 ส.ค. 2574
ไม่มี
171 ไร่ 2 งาน 3 ตรว.
1,403.40
รวม
-
ไม่มี
1,889.48
หมายเหตุ : บริษทั ฯ มีสิทธิในการต่ อสัญญาเช่ าที่ดนิ จานวน 1 สาขา สาหรั บเงื่อนไขในข้ อสัญญาอาจตกลงกับผู้ให้ เช่ าช่ วงในอนาคต
รายละเอียดอาคาร และส่วนปรับปรุ งอาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 มีดงั นี้ ประเภทการ ถือครองกรรมสิ ทธิ์
1. เช่าที่ดินสร้างอาคาร 2. เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้า
3. ซื้อที่ดินสร้างอาคาร
สาขาที่ต้งั รังสิ ต, รัตนาธิเบศร์, รามคาแหง, พระราม 2, แจ้งวัฒนะ, ราชพฤกษ์ แฟชัน่ ไอส์แลนด์, ฟิ วเจอร์ มาร์ท, เสรี เซ็นเตอร์, เดอะมอลล์ บางแค, เดอะมอลล์ โคราช, รัชดาภิเษก, เพลินจิต, ภูเก็ต, เชียงใหม่, ลาดพร้าว, พัทยา, หาดใหญ่ ประชาชื่น, ศูนย์กระจายสิ นค้าวังน้อย
รวม หมายเหตุ : ไม่ รวม ส่ วนของงานระหว่ างก่อสร้ าง
มูลค่ าทางบัญชี (ล้านบาท)
วันสิ้นสุ ดอายุ สั ญญาเช่ า
1,787.64 31 ก.ค. 2565 – 27 ธ.ค. 2578 405.95 31 ธ.ค. 2559 – 14 ส.ค. 2574
389.55 2,583.14
-
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
6. โครงการดาเนินงานในอนาคต 6.1 การขยายสาขา บริ ษทั ฯ มีแผนการขยายสาขาในปี 2549 ประมาณ 4 - 6 สาขา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นสาขาในต่างจังหวัด 6.2 การดาเนินโครงการในรู ปแบบ “โฮมโปร วิลเลจ” (HomePro Village) โฮมโปร วิลเลจ เป็ นรู ปแบบการดาเนินธุรกิจแนวความคิดใหม่ ที่บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาตัวเองไปสู่การเป็ นศูนย์การค้า อย่างเต็มรู ปแบบ โดยภายในโครงการนอกจากจะมีสาขาของโฮมโปรแล้ว บริ ษทั ฯ ยังได้จดั สรรพื้นที่ในส่วนของศูนย์การค้า ให้มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็ นการเพิม่ ความหลากหลายให้กบั สิ นค้า และบริ การในรู ปแบบต่างๆ ที่จะสามารถตอบสนองได้กบั ทุก รู ปแบบการดาเนินชีวติ ของลูกค้า บริ ษทั ฯ ได้ทาการเปิ ดสาขาในรู ปแบบที่เป็ น โฮมโปร วิลเลจ ที่สาขาบางนาเป็ นแห่งแรก โดยได้เริ่ มเปิ ดดาเนินการ เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2548 ภายในโครงการประกอบด้วย สาขาของโฮมโปร เทสโก้โลตัส เอส.บี.เฟอร์นิเจอร์ ร้านอาหาร ธนาคาร ร้านสิ นค้าไอที ฯลฯ และมีการแบ่งโซนสิ นค้าอย่างชัดเจน พร้อมพื้นที่จอดรถรองรับได้มากถึง 900 คัน สาหรับปี 2549 บริ ษทั ฯ มีแผนที่จะเปิ ดสาขาในรู ปแบบ โฮมโปร วิลเลจ อีก 1 แห่ง ที่ อาเภอ หัวหิ น จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ โดยใช้ชื่อโครงการว่า “หัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ” (Hua-Hin Market Village) โดยโครงการที่หวั หิ นนี้จะ แตกต่างจาก โฮมโปร วิลเลจ สาขา บางนา ในเรื่ องของขนาดพื้นที่ และจานวนร้านค้าเช่าที่มากกว่า โครงการหัวหิน มาร์เก็ต วิลเลจ มีพ้นื ที่กว่า 60,000 ตารางเมตร ภายในโครงการนอกจากสาขาของโฮมโปร และร้านค้าที่เข้าร่ วมโครงการหลัก เช่นเดียวกับสาขาบางนาแล้ว ยังมีโรงภาพยนต์ โรงโบว์ลิ่ง สปอร์ตเวิลด์ และร้านค้าชั้นนาอีกจานวนมาก
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
7.
ข้ อพิพาททางกฎหมาย
บริ ษทั ฯ ไม่มีขอ้ พิพาททางกฎหมายที่ถูกฟ้ องร้องโดยผูอ้ ื่น แต่จะมีที่บริ ษทั ฯ ได้ดาเนินการฟ้ องร้องดาเนินคดีกบั ลูกหนี้ของบริ ษทั ฯ (เป็ นลูกหนี้ทวั่ ไปโดยไม่มีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ฯ) และมูลหนี้ดงั กล่าวมี มูลค่าต่ากว่าร้อยละ 5 ของส่วนของผูถ้ ือหุน้
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8.
โครงสร้ างเงินทุน
8.1 หลักทรัพย์ของบริษัทฯ 1. ทุนของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียน 987.5 ล้านบาท เป็ นหุน้ สามัญจานวน 987.5 ล้านหุน้ มูลค่าที่ตราไว้ หุน้ ละ 1 บาท เป็ นทุนที่เรี ยกชาระแล้วจานวน 947.31 ล้านบาท และมีหุน้ รองรับการใช้สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิซ้ือหุน้ สามัญ (ESOP-W1) จานวน 7,683,225 หุน้ 2. จานวนหุ้นหรือผลกระทบต่ อสิทธิในการออกเสียงของผู้ถือหุ้นจากการออก TTF หรือ NVDR ณ วันที่ 30 มีนาคม 2548 บริ ษทั ฯ มีการออกตราสารแสดงสิ ทธิในผลตอบแทนที่เกิดจากหลักทรัพย์อา้ งอิง (THAI NVDR) จานวน 59,692,836 หุน้ หรื อคิดเป็ นร้อยละ 7.45 ของจานวนหุน้ ที่จาหน่ายแล้วทั้งหมด ทั้งนี้การนาหุน้ มาออกเป็ น NVDR ในส่วนนี้จะไม่สามารถใช้สิทธิออกเสี ยงในการประชุมผูถ้ ือหุน้ ได้ ยกเว้นกรณี การใช้สิทธิออกเสี ยงเพื่อลงมติเกี่ยวกับ การเพิกถอนหุน้ ออกจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (Delist) และจานวนหุน้ ที่มีสิทธิออกเสี ยงของ บริ ษทั ฯ ก็จะลดลง ซึ่งจะทาให้สิทธิในการออกเสี ยงของผูถ้ ือหุน้ รายอื่นเพิ่มขึ้นด้วย ทั้งนี้ ผูถ้ ือหุน้ และนักลงทุนสามารถ ตรวจสอบจานวนหุน้ ที่เป็ น NVDR ได้จากเว็บไซท์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาใช้สิทธิออกเสี ยงต่อไป 3. ใบสาคัญแสดงสิทธิ 3.1 ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 1 (ESOP-W1) การกาหนดให้มีโครงการเสนอขายใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญแก่พนักงาน มีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นแรงจูงใจ และตอบแทนการปฏิบตั ิงานของพนักงานของบริ ษทั ฯ นอกจากนี้เพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีความตั้งใจในการทางาน เพื่อสร้าง ประโยชน์สูงสุดให้แก่บริ ษทั ฯ อีกทั้งเพื่อเป็ นการสร้างแรงจูงใจให้พนักงานทางานกับบริ ษทั ฯ ต่อไปในระยะยาว โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ ชนิดของใบสาคัญแสดงสิทธิ อายุของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ วันที่ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ จานวนที่เสนอขาย จานวนหุน้ ที่รองรับการใช้สิทธิ
: : : : :
ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราการใช้สิทธิ ราคาใช้สิทธิ วันกาหนดใช้สิทธิ
: : : :
ระบุชื่อผูถ้ ือ และเปลี่ยนมือไม่ได้ 3 (สาม) ปี นับแต่วนั ที่ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ วันที่ 15 กันยายน 2547 15,000,000 (สิ บห้าล้าน) หน่วย 15,000,000 (สิ บห้าล้าน) หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 1.99 (หนึ่งจุดเก้าเก้า) ของจานวน หุน้ ที่เรี ยกชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั จานวน 753,000,000 (เจ็ดร้อยห้าสิ บ สามล้าน) หุน้ ณ วันที่ 30 เมษายน 2547 ไม่มีราคาเสนอขาย ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 (หนึ่ง) หน่วย ต่อ หุน้ สามัญ 1(หนึ่ง) หุน้ 1 (หนึ่ง) บาท ต่อ 1 (หนึ่ง) หุน้ สามัญ ในวันทาการสุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์, พฤษภาคม, สิ งหาคม และ พฤศจิกายน และกรณี วนั กาหนดใช้สิทธิตรงกับวันหยุดทาการให้เลื่อนเป็ นวัน ทาการถัดไป ทั้งนี้วนั ใช้สิทธิวนั แรก คือ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2547 และวัน สุดท้ายของการใช้สิทธิ คือวันที่ 17 กันยายน 2550
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สัดส่วนการใช้สิทธิ
:
การเสนอขาย
:
กรรมการบริ ษทั ที่ได้รับจัดสรร
:
ปี ที่ 1 ไม่เกินร้อยละ 25 ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่ได้รับจัดสรร ปี ที่ 2 เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 30 ต่อปี ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่ได้รับจัดสรร ปี ที่ 3 เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 45 ต่อปี ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่ได้รับจัดสรร เสนอขายให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ โดยเข้าทางานก่อนวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 คุณคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล โดยได้รับจัดสรร จานวน 750,000 หน่วย หรื อคิด เป็ นร้อยละ 5 จากจานวนที่เสนอขายทั้งหมด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริ ษทั ฯ มีใบสาคัญแสดงสิทธิซ้ือหุน้ สามัญแก่พนักงานครั้งที่ 1 คงเหลือทั้งสิ้นจานวน 7,683,225 หน่วย 3.2 ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 2 (ESOP-W2) ชนิดของใบสาคัญแสดงสิทธิ อายุของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ วันที่ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ จานวนที่เสนอขาย จานวนหุน้ ที่รองรับการใช้สิทธิ
: : : : :
ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราการใช้สิทธิ ราคาใช้สิทธิ วันกาหนดใช้สิทธิ
: : : :
สัดส่วนการใช้สิทธิ
:
การเสนอขาย
:
กรรมการบริ ษทั ที่ได้รับจัดสรร
:
ระบุชื่อผูถ้ ือ และเปลี่ยนมือไม่ได้ 3 (สาม) ปี นับแต่วนั ที่ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2549 7,000,000 (เจ็ดล้าน) หน่วย 7,000,000 (เจ็ดล้าน) หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 0.74 (ศูนย์จุดเจ็ดสี่ ) ของจานวน หุน้ ที่เรี ยกชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั จานวน 947,310,416 (เจ็ดร้อยห้าสิ บ สามล้าน) หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ไม่มีราคาเสนอขาย ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 (หนึ่ง) หน่วย ต่อ หุน้ สามัญ 1(หนึ่ง) หุน้ 1 (หนึ่ง) บาท ต่อ 1 (หนึ่ง) หุน้ สามัญ ในวันทาการสุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์, พฤษภาคม, สิ งหาคม และ พฤศจิกายน และกรณี วนั กาหนดใช้สิทธิตรงกับวันหยุดทาการให้เลื่อนเป็ นวัน ทาการถัดไป ทั้งนี้วนั ใช้สิทธิวนั แรก คือ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2549 และวัน สุดท้ายของการใช้สิทธิ คือวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2552 พนักงานที่ได้รับการจัดสรร สามารถใช้สิทธิได้ตามวันกาหนดการใช้สิทธิ ตลอดอายุของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ เสนอขายให้แก่พนักงานของบริ ษทั ฯ โดยต้องเป็ นพนักงานก่อนวันที่ 1 กรกฎาคม 2547 คุณคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล โดยได้รับจัดสรร จานวน 340,000 หน่วย หรื อคิด เป็ นร้อยละ 5 จากจานวนที่เสนอขายทั้งหมด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 บริ ษทั ฯ ยังไม่ได้มีการจัดสรรใบสาคัญแสดงสิ ทธิซ้ือหุน้ สามัญแก่พนักงานครั้งที่ 2
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
4. หุ้นกู้ บริ ษทั ฯ ได้มีการออกหุน้ กูโ้ ดยใช้ชื่อว่า หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีประกัน ของบริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2548 โดยได้ทาการออกในจานวน 2 ชุด สาหรับรายละเอียดมีดงั นี้ ผูแ้ ทนผ ้้ถือหุน้ กู้ ชื่อเฉพาะของหุน้ กู้
: :
ประเภทของหุน้ กู้ จานวน และมูลค่าที่เสนอขาย
: :
จานวน และมูลค่าทั้งหมดที่เสนอขาย : มูลค่าที่ตราไว้ต่อหน่วย ราคาเสนอขายต่อหน่วย วันออกหุน้ กู้ อายุ และวันครบกาหนดไถ่ถอน
: : : :
อัตราดอกเบี้ย
:
ธนาคารไทยพาณิ ชย์ (มหาชน) (ก) “หุน้ กูช้ ุดที่ 1” ใช้ชื่อว่า “หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษทั โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2548 ชุดที่ 1 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2551 (ข) “หุน้ กูช้ ุดที่ 2” ใช้ชื่อว่า “หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีประกันของ บริ ษทั โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2548 ชุดที่ 2 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2552 หุน้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุน้ กู้ (ก) หุน้ กูช้ ุดที่ 1 จานวน 500,000 (ห้าแสน) หน่วย มูลค่า 500,000,000 (ห้าร้อย ล้าน) บาท (ข) หุน้ กูช้ ุดที่ 2 จานวน 500,000 (ห้าแสน) หน่วย มูลค่า 500,000,000 (ห้าร้อย ล้าน) บาท จานวน 1,000,000 (หนึ่งล้าน) หน่วย มูลค่า 1,000,000,000 (หนึ่งพันล้าน) บาท 1,000 (หนึ่งพัน) บาท 1,000 (หนึ่งพัน) บาท วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2548 (ก) หุน้ กูช้ ุดที่ 1 อายุ 3 (สาม) ปี นับแต่วนั ที่ออกหุน้ กู้ ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2551 (ข) หุน้ กูช้ ุดที่ 2 อายุ 4 (สี่ ) ปี นับแต่วนั ที่ออกหุน้ กู้ ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2552 (ก) หุน้ กูช้ ุดที่ 1 อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.00 (ห้า) ต่อปี โดยกาหนดชาระ ทุก ๆ 3 (สาม) เดือน ในวันกาหนดชาระดอกเบี้ย (ข) หุน้ กูช้ ุดที่ 2 อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.40 (ห้า) ต่อปี โดยกาหนดชาระ ทุก ๆ 3 (สาม) เดือน ในวันกาหนดชาระดอกเบี้ย
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8.2 ผู้ถือหุ้น รายชื่อและสัดส่วนการถือหุน้ ของผูถ้ ือหุน้ ที่ถือหุน้ ของบริ ษทั ฯ (ทั้งนี้รวมการถือหุน้ ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องตามมาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) ณ วันที่ 30 มีนาคม 2548 ประกอบด้วย ลาดับที่
ชื่อบุคคล / นิตบิ ุคคล
จานวนหุ้น
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
บริ ษทั แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ควอลิต้ ี เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด บริ ษทั อเมริ กนั อินเตอร์แนชชัน่ แนล แอสชัวรันส์ จากัด Morgan Stanley & Co International Limited นายมานิต อุดมคุณธรรม Somers (U.K.) Limited น.ส.วรี รัตน์ อุดมคุณธรรม HSBC (Singapore) Nominees PTE Limited Chase Nominees Limited อื่น ๆ
235,961,840 160,727,590 59,692,836 39,018,180 36,682,462 30,254,110 21,693,399 18,184,000 14,154,100 12,638,600 171,710,578
ร้ อยละของจานวนหุ้นที่ จาหน่ ายแล้ วทั้งหมด 29.47 20.07 7.45 4.87 4.58 3.78 2.71 2.27 1.77 1.58 21.45
8.3 นโยบายการจ่ ายเงินปันผล บริ ษทั ฯ มีนโยบายที่จะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิในแต่ละปี ทั้งนี้การพิจารณา จ่ายเงินปั นผลจะมีการนาปัจจัยต่างๆ มาพิจารณาประกอบด้วย เช่น ผลการดาเนินงาน และฐานะการเงินของบริ ษทั สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริ หารงานของบริ ษทั โดยในการจ่ายเงินปั นผลจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก ผูถ้ ือหุน้ และคณะกรรมการบริ ษทั ทุกครั้ง การจ่ายเงินปันผลในช่วงปี 2545 – 2548 เป็ นดังนี้
เงินปันผลจ่าย (บาทต่อหุ ้น)
2548
2547
2546
2545
0.20
0.18
0.12
0.06
หมายเหตุ : สาหรั บเงินปันผลปี 2548 จะต้ องได้ รับมติเห็นชอบจากที่ประชุมสามัญประจาปี 2549 ซึ่งจะจัดประชุมในวันที่ 4 เมษายน 2549
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9. 9.1
การจัดการ
โครงสร้ างการจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548
คณะกรรมการบริ ษทั
กรรมการบริ หาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการผูจ้ ดั การ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านบัญชี และการเงิน
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านจัดซื้ อต่างประเทศ
ผูจ้ ดั การทัว่ ไป – สายบัญชี ผูจ้ ดั การทัว่ ไป – สายการเงิน
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านปฏิบตั ิการ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านพัฒนาธุรกิจ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านสิ นค้าภาพ และเสี ยง
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านจัดซื้ อ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านทรัพยากรบุคคล
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านระบบซัพพลายเชน
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั ฯ มีคณะกรรมการบริ ษทั โดยคณะกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิที่มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชน จากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ.12/2543 เรื่ อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุน้ ที่ออกใหม่ ฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 ทุกประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวนทั้งสิ้น 12 ท่าน ประกอบด้วย ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่ ง 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ 2. นายพงส์ สารสิ น กรรมการ 3. นายรัตน์ พานิชพันธ์ กรรมการ 4. นายจุมพล มีสุข กรรมการ 5. นายอภิชาติ นารถศิลป์ กรรมการ 6. นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ 7. นายมานิต อุดมคุณธรรม กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร 8. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ กรรมการ และกรรมการบริ หาร 9. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การ 10. นายอภิลาศ โอสถานนท์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 11. นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 12. นายชนินทร์ รุ นสาราญ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ หมายเหตุ : เลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท คือ นางสาว วรรณี จันทามงคล
กรรมการผูม้ ีอานาจลงนามผูกพัน ได้แก่ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 5. นายมานิต อุดมคุณธรรม 2. นายจุมพล มีสุข 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 3. นายอภิชาติ นารถศิลป์ 7. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 4. นางสุวรรณา พุทธประสาท โดยกรรมการสองในเจ็ดคนลงลายมือชื่อร่ วมกันพร้อมประทับตราบริ ษทั ฯ อานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการมีอานาจ และหน้าที่บริ หารงานของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของ บริ ษทั ฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ และมีอานาจกระทาการใดๆ ตามที่ระบุไว้ในหนังสื อบริ คณห์สนธิ 2. คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งกรรมการจานวนหนึ่งให้เป็ นคณะกรรมการบริ หาร โดยมีจานวนตามที่คณะกรรมการ กาหนด ซึ่งจะประกอบด้วยประธานกรรมการบริ หาร และรองประธานกรรมการบริ หารเพื่อปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษทั
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3. คณะกรรมการอาจแต่งตั้งบุคคลอื่นใดให้ดาเนินกิจการของบริ ษทั ฯ ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการหรื ออาจ มอบอานาจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีอานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในเวลาที่กรรมการเห็นสมควร และ คณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลงหรื อแก้ไขอานาจนั้นๆ ก็ได้ 4. คณะกรรมการต้องประชุมอย่างน้อยสามเดือนต่อครั้ง 5. กรรมการจะต้องไม่ประกอบกิจการซึ่งมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษทั ฯ หรื อเข้าเป็ น หุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วนสามัญ หรื อเป็ นหุน้ ส่วนไม่จากัดความรับผิดในห้างหุน้ ส่วนจากัด หรื อเป็ นกรรมการของบริ ษทั เอกชน หรื อบริ ษทั อื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษทั ฯ ไม่วา่ จะทาเพื่อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์อื่น เว้นแต่จะได้แจ้งที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง 6. กรรมการจะต้องแจ้งให้บริ ษทั ฯ ทราบทันทีที่มีส่วนได้เสี ยไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้อมในสัญญาใดๆ หรื อถือหุน้ หรื อหุน้ กูใ้ นบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อ 7. กรรมการที่มีส่วนได้เสี ยในเรื่ องใด จะไม่มีสิทธิ์ออกเสี ยงในเรื่ องนั้น 8. การตัดสิ นใจในการลงทุนขยายสาขา หรื อการลงทุนที่มีมูลค่าสูงที่ไม่ใช่การดาเนินงานตามปกติของบริ ษทั เว้นแต่ เรื่ องต่อไปนี้ ซึ่งคณะกรรมการต้องได้รับอนุมตั ิจากผูถ้ ือหุน้ ก่อนดาเนินการ - เรื่ องที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งได้มติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ - การทารายการที่เกี่ยวข้องกันที่มีมูลค่าเกินกว่าร้อยละ 3 ของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของงบการเงินล่าสุด - การซื้อหรื อขายสิ นทรัพย์สาคัญที่มูลค่าเกินกว่าร้อยละ 50 ของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุดของบริ ษทั ฯ 9. ในกรณี ที่ที่ประชุมมีการลงคะแนนเสี ยงเท่ากันให้ประธานคณะกรรมการเป็ นผูช้ ้ ีขาด กรรมการบริหาร บริ ษทั ได้แต่งตั้งกรรมการบริ หาร 3 ท่าน ประกอบด้วย ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่ ง 1. นายมานิต อุดมคุณธรรม ประธานกรรมการบริ หาร 2. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ กรรมการบริ หาร 3. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการบริ หาร อานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริหาร พิจารณา และกลัน่ กรองเรื่ องที่ตอ้ งตัดสิ นใจเบื้องต้น ก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาต่อไป เช่น การ ลงทุนขยายสาขา การจัดสรรงบประมาณประจาปี เป็ นต้น
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
กรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ฯ ได้แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ 3 ท่าน ประกอบด้วย ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่ ง 1. นายอภิลาศ โอสถานนท์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 2. นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 3. นายชนินทร์ รุ นสาราญ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ อานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานความถูกต้อง การเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ และความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ 2. สอบทานความเหมาะสม และประสิ ทธิผลของระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ 3. สอบทานการปฏิบตั ิการของบริ ษทั ฯ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั 4. สอบทานระบบการบริ หาร และจัดการความเสี่ ยงของฝ่ ายจัดการ 5. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ 6. ปรึ กษาหารื อและพิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบ บัญชีของบริ ษทั ฯ ให้มีความสัมพันธ์และเกื้อกูลกัน 7. ประสานความเข้าใจให้อยูใ่ นแนวทางเดียวกันระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ ายจัดการ ฝ่ ายตรวจสอบ และผูส้ อบบัญชี 8. ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง โยกย้าย และถอดถอน รวมทั้งการพิจารณาผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ของ ผูอ้ านวยการตรวจสอบสานักงานตรวจสอบภายใน 9. พิจารณาอนุมตั ิระเบียบข้อบังคับของสานักงานตรวจสอบภายใน 10. สอบทาน และพิจารณาร่ วมกับผูต้ รวจสอบภายใน เกี่ยวกับผลการตรวจสอบ ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะ 11. สอบทาน และพิจารณาร่ วมกับผูส้ อบบัญชีเกี่ยวกับรายงานทางการเงิน ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะ 12. พิจารณาการเปิ ดเผยข้อมูลของบริ ษทั ในกรณี ที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน 13. จัดทารายงานการกากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ 14. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนด หรื อคณะกรรมการบริ ษทั มอบหมายภายในขอบเขตความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ 15. สอบทานและแก้ไขระเบียบข้อบังคับคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นปกติปีละครั้งเพื่อให้ทนั สมัย และเหมาะสม กับสภาพแวดล้อมขององค์กร 16. ให้ความเชื่อมัน่ และยืนยันในความมีอิสระของผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ผู้บริหาร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548) ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่ ง 1. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการผูจ้ ดั การ 2. น.ส.ธาราทิพย์ ตรี มนั่ คง ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 3. นายอชิระ เสน่หา ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 4. นายวทัญญู วิสุทธิโกศล ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 5. นายอนุชา จิตจาตุรันต์ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 6. น.ส.จารุ โสภา ธรรมกถิกานนท์ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 7. นายวีรพันธ์ อังสุมาลี * ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 8. นายทินกร พรหมพล ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 9. น.ส.ริ ษนา ติลกานนท์ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 10. น.ส.วรรณี จันทามงคล ** ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ หมายเหตุ : โปรดดูรายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหารเพิม่ เติมในเอกสารแนบ 1
หน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบ งานด้าน จัดซื้อต่างประเทศ งานด้าน ปฏิบตั ิการ งานด้าน พัฒนาธุรกิจ งานด้าน สิ นค้าภาพและเสี ยง (The Power) งานด้าน จัดซื้อ งานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ งานด้าน ทรัพยากรบุคคล งานด้าน Supply Chain งานด้าน บัญชีและการเงิน
* นาย วีรพันธ์ อังสุมาลี เข้าดารงตาแหน่ง ตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน 2548 ** นางสาว วรรณี จันทามงคล เข้าดารงตาแหน่ง ตั้งแต่วนั ที่ 16 มีนาคม 2548
ขอบเขตอานาจหน้ าทีก่ รรมการผู้จดั การ ตามที่ได้กาหนดไว้ในมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2544 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2544 และที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 9/2544 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 16 สิ งหาคม 2544 กรรมการผูจ้ ดั การเป็ นผูร้ ับมอบอานาจจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้ทาหน้าที่แทนเฉพาะในเรื่ องที่เกี่ยวกับการ ดาเนินงานตามธุรกิจปกติของบริ ษทั ซึ่งหมายถึง 1. การสัง่ ซื้อสิ นค้ามาเพื่อจาหน่าย 2. การอนุมตั ิค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการขาย และการบริ หาร และรายจ่ายลงทุนให้เป็ นไปตาม งบประมาณที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั ทั้งนี้ไม่รวมการกูย้ มื และการค้ าประกัน 3. การดาเนินงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ เช่น การจัดหาพื้นที่เพื่อขยายสาขา เป็ นต้น ทั้งนี้กรรมการผูจ้ ดั การไม่สามารถที่จะอนุมตั ิรายการที่ตน หรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใน ลักษณะอื่นใดกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย 9.2 การสรรหากรรมการ คณะกรรมการจะจัดตั้งโดยที่ประชุมใหญ่ผถู ้ ือหุน้ เพื่อเป็ นผูด้ าเนินกิจการของบริ ษทั ภายใต้การควบคุมของที่ประชุม ใหญ่ผถู ้ ือหุน้ และตามข้อบังคับของบริ ษทั ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ไม่มีคณะกรรมการสรรหาโดยในการคัดเลือกบุคคลที่จะได้รับการ แต่งตั้งเป็ นกรรมการ ให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ผูถ้ ือหุน้ คนหนึ่งมีคะแนนเสี ยงเท่ากับหนึ่งหุน้ ต่อหนึ่งเสี ยง 2. ผูถ้ ือหุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสี ยงที่มีอยูท่ ้ งั หมดตาม ข้อ1. เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรื อ หลายคนเป็ นกรรมการ ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสี ยงให้แก่ผใู ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสี ยงสูงสุดตามลาดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รับการเลือกตั้งเป็ นกรรมการเท่าจานวนกรรมการที่จะพึง มีหรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลาดับถัดลงมามีคะแนนเสี ยงเท่ากันเกิน
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
จานวนกรรมการที่จะพึงมี หรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ผเู ้ ป็ นประธานในที่ประชุมเป็ นผูอ้ อกเสี ยงชี้ขาดเพิ่มอีก หนึ่งเสี ยง กรรมการทีเ่ ป็ นตัวแทนจากกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยกรรมการเหล่านี้เป็ นตัวแทนกลุ่มผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ ซึ่งถือหุน้ อยูใ่ นบริ ษทั มากกว่า 20% ชื่อ – นามสกุล ตัวแทนกลุ่มผู้ถือหุ้น ตาแหน่ ง 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ประธานกรรมการ 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ บมจ. ควอลิต้ ี เฮ้าส์ กรรมการ 3. นายจุมพล มีสุข บมจ. ควอลิต้ ี เฮ้าส์ กรรมการ 4. นางสุวรรณา พุทธประสาท บมจ. ควอลิต้ ี เฮ้าส์ กรรมการ 5. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กรรมการและกรรมการบริ หาร 9.3 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ก) ตามมติจากที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2548 อนุมตั ิให้ค่าตอบแทนเพื่อเป็ นเบี้ยประชุมแก่คณะกรรมการ และ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นเงินไม่เกินปี ละ 6 ล้านบาท โดยรายละเอียดของการจ่ายค่าตอบแทนมีดงั นี้ ชื่อ – นามสกุล 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายพงส์ สารสิ น 3. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 4. นายจุมพล มีสุข 5. นายอภิชาติ นารถศิลป์ 6. นางสุวรรณา พุทธประสาท 7. นายมานิต อุดมคุณธรรม 8. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 9. นายอภิลาศ โอสถานนท์ 10. นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ 11. นายชีระ สุริยาศศิน 12. นายชนินทร์ รุ นสาราญ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและประธานกรรมการบริ หาร กรรมการและกรรมการบริ หาร ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ รวม
2548 480,000 300,000 300,000 300,000 300,000 300,000 2,400,000 300,000 480,000 420,000 245,000 105,000 5,930,000
หมายเหตุ : - นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล ได้ รับค่าตอบแทนในฐานะผู้บริ หารของบริ ษทั - นายชีระ สุ ริยาศศิน ได้ลาออกจากการเป็ นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ โดยมีนายชนินทร์ รุ นสาราญ เข้ ารั บ ตาแหน่ งแทน ณ วันที่ 22 กันยายน 2548 - นายอภิชาติ นารถศิลป์ เป็ นผู้ได้ รับมอบอานาจจาก บริษทั อเมริกนั อินเตอร์ แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จากัด โดย ค่ าตอบแทนผู้บริหาร บริษทั ได้ ทาจ่ ายในนาม บริ ษทั อเมริ กนั อินเตอร์ แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จากัด
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ข) ค่าตอบแทนทั้งหมดของผูบ้ ริ หารในปี 2547 และ 2548 ได้แก่เงินเดือน, โบนัส และค่าตอบแทนอื่นๆ คิดเป็ นจานวน รวมทั้งสิ้น 37.8 ล้านบาท และ 44.5 ล้านบาทตามลาดับ 9.4 การป้ องกันการนาข้ อมูลภายในไปใช้ ประโยชน์ ของผู้บริหาร บริ ษทั มีนโยบาย และวิธีการดูแลผูบ้ ริ หารในการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนดังนี้ - ให้ความรู ้แก่ผบู ้ ริ หารในฝ่ ายต่างๆ เกี่ยวกับหน้าที่ที่ผบู ้ ริ หารต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริ ษทั และบท กาหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - บริ ษทั จะกาหนดให้ผบู ้ ริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และจัดส่งสาเนารายงานนี้ให้แก่บริ ษทั ในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ - บริ ษทั จะดาเนินการส่งหนังสื อเวียนแจ้งให้ผบู ้ ริ หารทราบว่า ผูบ้ ริ หารที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบการเงินหรื อ ข้อมูลภายในนั้นจะเปิ ดเผยต่อสาธารณชน และห้ามไม่ให้เปิ ดเผยข้อมูลที่เป็ นสาระสาคัญนั้นต่อบุคคลอื่น ทั้งนี้หากมีการกระทาการฝ่ าฝื นระเบียบปฏิบตั ิงานดังกล่าวข้างต้น บริ ษทั จะดาเนินการทางวินยั เพื่อพิจารณาลงโทษ ตามสมควรแก่กรณี 9.5 บุคลากร จานวนพนักงาน สานักงานกลาง (คน) สาขา (คน) รวม (คน) จานวนสาขา
31 ธันวาคม 2548 838 2,174 3,012 20
31 ธันวาคม 2547 752 1,956 2,708 18
ปี 2547 และ 2548 มีค่าตอบแทนในรู ปเงินเดือน และสวัสดิการ รวมทั้งสิ้น 560.65 และ 695.71 ล้านบาทตามลาดับ โดย ในรอบระยะเวลา 3 ปี ที่ผา่ นมาบริ ษทั ไม่เคยมีกรณี พิพาทด้านแรงงานใดๆ เกี่ยวกับพนักงาน นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริ ษทั ฯ ให้การส่งเสริ ม และสนับสนุนบุคลากรให้ได้รับการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน ทั้งเรื่ องความรู ้ในตัวสิ นค้า (Product Knowledge) เรื่ องมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน การให้บริ การ การบริ หารจัดการ รวมถึงเรื่ องทัศนคติ และการปฏิบตั ิงานร่ วมกัน (Attitude and Team Work) เพื่อให้บุคลากรมีความรู ้ ทักษะ และมีทศั นคติที่ดีต่อองค์กร เพื่อให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ โดยจะนามาซึ่งความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ให้การส่งเสริ ม และสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. บริ ษทั ฯ ได้จดั สรรงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรเป็ นเงิน 2% ของเงินเดือนรวมทั้งบริ ษทั 2. บริ ษทั ฯ จัดให้มีศูนย์ DIY workshop โดยมีวทิ ยากรที่มีความรู ้ และเชี่ยวชาญแยกตามกลุ่มสิ นค้า จานวน 12 กลุ่ม ในการแนะนา และอบรมบุคลากรให้มีความรู ้เกี่ยวตัวสิ นค้า ซึ่งถือเป็ นความรู ้ที่สาคัญที่พงึ มี
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3. บริ ษทั ฯ จัดให้แต่ละสาขามี Learning Center สาหรับให้บุคลากรที่เข้าใหม่ได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตัวเอง (Self-Learning) ผ่านระบบ E-Learning ในหลักสูตรที่มีมาตรฐานของแต่ละตาแหน่งงาน 4. บริ ษทั ฯ จัดให้มีระบบ On the Job Training ขึ้น สาหรับบุคลากรระดับผูบ้ งั คับบัญชา เพื่อให้เกิดการสอนงาน และ ถ่ายทอดความรู ้ในส่วนงานที่รับผิดชอบอย่างเป็ นระบบ 5. บริ ษทั ฯ จัดให้มี Individual Development Program เพื่อพัฒนาบุคลากรที่เป็ นกลุ่ม Talent Group ให้สามารถที่จะ เลื่อนตาแหน่งที่สูงขึ้น รองรับการขยายงานของบริ ษทั ได้ทนั ที 6. บริ ษทั ฯ ส่งเสริ มให้บุคลากรได้ไปศึกษางานในต่างประเทศ เพื่อให้สามารถนาความรู ้ และวิทยาการใหม่ๆ ที่ได้ รับมาพัฒนา ปรับปรุ งในส่วนงานที่เกี่ยวข้องได้ 7. บริ ษทั ฯ สนับสนุนให้บุคลากรได้ศึกษาต่อในระดับปริ ญญาตรี พร้อมทั้งมีทุนสาหรับเรี ยนภาษาอังกฤษ เพื่อเป็ น การเพิ่มศักยภาพในตัวบุคลากร ให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
10.
การกากับดูแลกิจการ
ที่ผา่ นมาคณะกรรมการบริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามข้อพึงปฏิบตั ิที่ดี (Code of Best Practices) เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ผูถ้ ือหุน้ และเพิ่มประสิ ทธิภาพในแง่การควบคุมภายในควบคู่กนั ไป ดังนี้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการ บริ ษทั ฯ ได้เล็งเห็นความสาคัญของการมีบรรษัทภิบาลที่ดี โดยมุง่ เน้นใน เรื่ องความโปร่ งใสในการดาเนินงาน การเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน แก่นกั ลงทุน และสาธารณชนได้รับทราบ และสามารถ ตรวจสอบการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ได้ 2. สิ ทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ ือหุน้ คณะกรรมการมีนโยบายที่จะปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และมีนโยบายที่จะอานวยความสะดวกให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในการเข้าร่ วมประชุม โดยได้จดั ส่งหนังสื อนัดประชุมพร้อมทั้งข้อมูล ประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 7 วัน โดยในแต่ละวาระมีความเห็นของคณะกรรมการ ประกอบ และมีการบันทึกการประชุมถูกต้อง ครบถ้วน ในกรณี ที่ผถู ้ ือหุน้ ไม่สามารถเข้าประชุมได้ บริ ษทั ฯ จะจัดให้กรรมการ อิสระเป็ นผูร้ ับมอบอานาจแทนในการประชุมผูถ้ ือหุน้ ตั้งแต่การประชุมใหญ่สามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1 ปี 2546 เป็ นต้นไป 3. สิ ทธิของผูม้ ีส่วนได้เสี ย บริ ษทั ฯ เคารพในสิ ทธิของผูม้ ีส่วนได้เสี ย และได้กาหนดเป็ นแนวปฏิบตั ิไว้ใน จรรยาบรรณของบริ ษทั ฯ เพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่าสิ ทธิตามกฎหมายใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับผูม้ ีส่วนได้เสี ย ไม่วา่ จะเป็ นผูถ้ ือหุน้ พนักงาน ผูบ้ ริ หาร ลูกค้า กิจการคู่คา้ ตลอดจนสาธารณชน และสังคมจะได้รับการดูแล นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังได้เสริ มสร้าง ความร่ วมมือกับผูม้ ีส่วนได้เสี ยในกลุ่มต่างๆ เพื่อให้สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้ดว้ ยดี มีความมัน่ คงโดยตอบแทน ผลประโยชน์ที่เป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ าย เพื่อสร้างความสาเร็ จในระยะยาว 4. การประชุมผูถ้ ือหุน้ ในการประชุมผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ฯ ได้กาหนดให้มีข้ นั ตอนการประชุมผูถ้ ือหุน้ อย่างถูกต้องตาม กฎหมาย ตั้งแต่การเรี ยกประชุม การจัดส่งเอกสารและแจ้งวาระการประชุมพร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั ล่วงหน้าตาม กฎหมาย หรื อไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันประชุมผูถ้ ือหุน้ โดยกาหนดทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ขั้นตอนในการดาเนินการ ประชุม การจัดทาและส่งรายงานการประชุมให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้ประกาศลงในหนังสื อพิมพ์รายวันภาษาไทย ติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน และก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ มีนโยบายในการแต่งตั้งกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เป็ นผูร้ ับมอบฉันทะการออกเสี ยงแทนผูถ้ ือหุน้ ที่ไม่สามารถเข้า ร่ วมประชุม ก่อนเริ่ มการประชุม บริ ษทั ฯ ได้ถือปฏิบตั ิให้มีการแถลงแก่ผถู ้ ือหุน้ ให้ทราบถึงสิ ทธิตามข้อบังคับของบริ ษทั ฯ การ ดาเนินการประชุม วิธีการใช้สิทธิลงคะแนน และสิ ทธิในการแสดงความเห็นรวมทั้งการตั้งคาถามใดๆ ต่อที่ประชุมตามระเบียบ วาระการประชุม โดยประธานที่ประชุม ตัวแทนกรรมการตรวจสอบ และผูส้ อบบัญชีได้เข้าร่ วมประชุมเพื่อให้ขอ้ มูล ตอบข้อ ซักถามตามวาระต่างๆ ทั้งนี้ประธานกรรมการที่ประชุมได้จดั สรรเวลาให้อย่างเหมาะสม อีกทั้งส่งเสริ มให้ผถู ้ ือหุน้ มีโอกาส แสดงความเห็น และซักถามในที่ประชุมอย่างเท่าเทียมกัน*ภายหลังการประชุม บริ ษทั ฯ จะทาการแจ้งมติที่ประชุมแก่ตลาด หลักทรัพย์ทนั ที หรื อภายใน 9.00 น ของวันทาการถัดไป ทั้งนี้บริ ษทั ฯ ได้มีการจัดส่งรายงานการประชุมให้ตลาดหลักทรัพย์ เช่นกัน โดยจัดส่งภายใน 14 วัน ในการประชุมผูถ้ ือหุน้ ประธานที่ประชุมได้เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ มีสิทธิอย่างเท่าเทียมกัน ในการตรวจสอบการ ดาเนินงานของบริ ษทั ฯ สอบถาม แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ รวมทั้งได้บนั ทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นที่ สาคัญไว้ในรายงานการประชุมแล้ว
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
5. ภาวะผูน้ าและวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการได้มีส่วนร่ วมในการกาหนดนโยบาย เป้ าหมาย แผนธุรกิจ และ งบประมาณของบริ ษทั ฯ ตลอดจนกากับดูแลให้ฝ่ายบริ หารดาเนินการให้เป็ นไปตามแผน และงบประมาณที่กาหนดไว้อย่างมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล 6. ความขัดแย้งของผลประโยชน์ บริ ษทั ฯ ได้ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น โดยได้ มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลของการทารายการระหว่างกัน ตามหลักเกณฑ์ของตลาด หลักทรัพย์ 7. จริ ยธรรมธุรกิจ บริ ษทั ฯ ได้ออกข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ่ ายจัดการ และพนักงาน เพื่อให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามภารกิจของบริ ษทั ฯ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต และติดตามการปฏิบตั ิ ตามแนวทางดังกล่าวเป็ นประจา รวมถึงกาหนดบทลงโทษทางวินยั ไว้ดว้ ย 8. การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ มีจานวน 12 คน ประกอบด้วย - กรรมการที่เป็ นกรรมการบริ หาร 3 คน - กรรมการที่ไม่ได้เป็ นกรรมการบริ หาร 6 คน - กรรมการตรวจสอบ 3 คน บริ ษทั ฯ มีกรรมการที่เป็ นอิสระทั้งหมด 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 25 หรื อเท่ากับ 1 ใน 4 ของคณะกรรมการทั้งหมด 9. การรวมหรื อแยกตาแหน่ง ประธานกรรมการบริ ษทั ประธานกรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การของบริ ษทั ฯ ไม่ได้เป็ นบุคคลเดียวกัน อีกทั้งมีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่การกากับดูแล และการบริ หารออกจากกันอย่างชัดเจน ทั้งนี้เพื่อ เป็ นการถ่วงดุลอานาจ และสร้างความโปร่ งใสในการปฏิบตั ิงานระหว่างกัน สาหรับรายการที่ไม่ใช่การดาเนินงานตามปกติของบริ ษทั จะผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่งมี กรรมการที่เป็ นอิสระร่ วมอยูใ่ นที่ประชุมด้วย 10. ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริ หาร บริ ษทั ฯ ได้กาหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจน โดย ผ่านการพิจารณาอนุมตั ิจากผูถ้ ือหุน้ ซึ่งค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษทั อยูใ่ นระดับที่เหมาะสม และเทียบได้กบั อุตสาหกรรม เดียวกัน บริ ษทั ฯ ได้กาหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการในรู ปของค่าเบี้ยประชุม บาเหน็จกรรมการ และค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ตามผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และผลการดาเนินงานของผูบ้ ริ หารแต่ละท่าน 11. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการบริ หารจะมีการประชุมเป็ นประจาทุกเดือน และอาจมีการจัดการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจาเป็ น โดยการประชุมแต่ละครั้งจะกาหนดวันเวลาการประชุมไว้ล่วงหน้า ตลอดทั้งปี และจะมีการจัดส่งหนังสื อเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมก่อนประชุมล่วงหน้าประมาณ 7 วัน เพื่อให้ กรรมการได้มีเวลาการศึกษามาก่อนล่วงหน้า ในการประชุมแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 2 - 3 ชัว่ โมง ประธานกรรมการทาหน้าที่ดูแลจัดสรรเวลาให้อย่าง เพียงพอที่ฝ่ายบริ หารจะเสนอเอกสารและข้อมูลเพื่อการอภิปรายปัญหาสาคัญ และเพียงพอสาหรับคณะกรรมการที่จะอภิปรายใน ประเด็นที่สาคัญและคานึงถึงผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องอย่างเป็ นธรรม และกรรมการทุกท่านมีอิสระในการ แสดงความคิดเห็น และเสนอวาระการประชุม
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สาหรับการประชุมในแต่ละครั้งยังมีเลขานุการคณะกรรมการบริ ษทั ทาหน้าที่ในการจดบันทึก และจัดทา รายงานการประชุม ตลอดจนจัดเก็บรายงาน และเอกสารประกอบการประชุมที่ผา่ นการรับรองจากคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพร้อม สาหรับการตรวจสอบจากคณะกรรมการและผูถ้ ือหุน้ สาหรับคณะกรรมการบริ หารบริ ษทั จะมีการประชุมทุกเดือนเช่นกัน เพื่อพิจารณาเรื่ องที่ตอ้ งตัดสิ นใจโดยคณะ กรรมการบริ หาร สาหรับเรื่ องที่ตอ้ งให้คณะกรรมการบริ ษทั ตัดสิ นใจ คณะกรรมการบริ หารจะส่งต่อให้คณะกรรมการบริ ษทั ประชุมพิจารณาต่อไป ในปี 2548 บริ ษทั ได้มีการประชุมคณะกรรมการทั้งสิ้น 12 ครั้ง โดยมีจานวนคณะกรรมการเข้าร่ วมดังต่อไปนี้ ชื่อ – นามสกุล 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายพงส์ สารสิ น 3. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 4. นายจุมพล มีสุข 5. นายอภิชาติ นารถศิลป์ 6. นางสุวรรณา พุทธประสาท 7. นายมานิต อุดมคุณธรรม 8. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 9. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 10. นายอภิลาศ โอสถานนท์ 11. นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ 12. นายชนินทร์ รุ นสาราญ* 13. นายชีระ สุริยาศศิน*
จานวนครั้งทีเ่ ข้ าร่ วม 10 9 12 12 9 11 10 8 12 12 10 3 5
หมายเหตุ *นายชนินทร์ รุนสาราญ ได้รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2548
12. คณะอนุกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 3 ปี เพื่อ ช่วยในการกากับดูแลกิจการ ซึ่งมีรายละเอียดภาระหน้าที่ตามที่ระบุไว้ใน “ข้อ 9 การจัดการ” ส่วนของหน้าที่คณะกรรมการ ตรวจสอบ 13. ระบบควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริ ษทั ฯ ได้กาหนดหน้าที่ของผูป้ ฏิบตั ิงานในแต่ละระดับอย่างชัดเจน นอกจากนั้นยังมีฝ่ายตรวจสอบภายใน เพื่อทาหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของแต่ละส่วนงานว่าเป็ นไปตามระเบียบวิธีปฏิบตั ิ และหลักเกณฑ์ที่บริ ษทั ฯ กาหนดไว้หรื อไม่ ซึ่งจะรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 14. รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย และ สารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจาปี งบการเงินดังกล่าวได้จดั ทาขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป และคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับ
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ที่น่าพอใจ และสามารถสร้างความเชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 นอกจากนั้นคณะกรรมการตรวจสอบได้ร่วมกับฝ่ ายตรวจสอบภายในและฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯ ในการจัดทามาตรการบริ หาร ความเสี่ ยงด้วย 15. ความสัมพันธ์กบั ผูล้ งทุน คณะกรรมการให้ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และ โปร่ งใสแก่ นักลงทุน และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทราบ ทั้งในส่วนของรายงานทางการเงิน และข้อมูลสาคัญอื่นที่มีผลกระทบต่อมูลค่าหลักทรัพย์ของ บริ ษทั โดยจะให้ขอ้ มูลผ่านทางการเผยแพร่ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนั้นบริ ษทั ฯ ยังได้เปิ ดเผยข้อมูลที่ เกี่ยวกับประวัติ สิ นค้า และบริ การต่างๆ ของบริ ษทั ฯ ไว้ใน www.homepro.co.th และสามารถติดต่อกับส่วนงานนักลงทุน สัมพันธ์ได้ที่ ir@homepro.co.th
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
11.
การควบคุมภายใน
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2548 คณะกรรมการตรวจสอบร่ วมกับกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หาร และจัดการของบริ ษทั ได้ ทาการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยจากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ในด้านต่างๆ 5 ส่วน ดังนี้ คือ องค์ กร และสภาพแวดล้อม คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษทั มีความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในที่มีประสิ ทธิผล ต่อองค์กร และสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษทั มีการประเมิน วิเคราะห์ ติดตาม และป้ องกันความเสี่ ยงอย่าง สม่าเสมอ การควบคุมการปฏิบัตงิ านของฝ่ ายบริหาร คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษทั มีการกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ของฝ่ าย บริ หารอย่างชัดเจนและมีประสิ ทธิผล รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในในเรื่ องการทาธุรกรรมกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวอย่างเพียงพอแล้ว ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข้ อมูล คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษทั มีการจัดข้อมูลที่เป็ นระบบเหมาะสม และมีระบบ สารสนเทศรวมถึงระบบข้อมูลที่มีเนื้อหาเพียงพอ ถูกต้อง เหมาะสม ต่อการตัดสิ นใจของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และผูถ้ ือหุน้ ระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษทั มีระบบการติดตามการปฏิบตั ิงานตามเป้ าหมายที่วางไว้ รวมถึงระบบ การควบคุมภายในที่เพียงพอ โดยบริ ษทั มีสานักตรวจสอบภายในที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ อย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้ผสู ้ อบบัญชีของบริ ษทั คือ นางสุวมิ ล กฤตยาเกียรณ์ ซึ่งเป็ นผูต้ รวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ได้ให้ความเห็น เกี่ยวกับการประเมินประสิ ทธิภาพการควบคุมภายในด้านบัญชีของบริ ษทั ฯ ว่าทางสานักงานไม่พบจุดอ่อนที่เป็ นสาระสาคัญใน ระบบการควบคุมภายในด้านบัญชี
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
12.
รายการระหว่ างกัน
12.1 รายการระหว่ างกัน ในปี 2547 และ2548 บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) มีรายการระหว่างกันกับบุคคลผูม้ ีผลประโยชน์ เกี่ยวข้องดังนี้ บุคคล/นิตบิ ุคคล ทีม่ ผี ลประโยชน์ ร่ วม ระหว่างบริ ษทั กับ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์
ความสัมพันธ์
ลักษณะ รายการ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ถือหุน้ ขายสิ นค้า ของบริ ษทั ร้อยละ 29.47 ณ 30 ลูกหนี้การค้า มี.ค. 48 โดยมีกรรมการร่ วม คือ นายอนันต์ อัศวโภคิน และ นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ
มูลค่ า (ล้ านบาท) ความเห็นของ 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. กรรมการตรวจสอบ 2548 2547 และผู้บริหาร 298.68 338.66 ราคาขายดังกล่าวเป็ นราคาที่ 26.96 65.43 เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดียวกับราคาตลาดที่ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ สามารถซื้อ ได้จากผูผ้ ลิต หรื อผูข้ ายรายอื่น
ระหว่างบริ ษทั กับ บมจ. ควอลิต้ ีเฮ้าส์
บมจ. ควอลิต้ ีเฮ้าส์ ถือหุน้ ของ บริ ษทั ร้อยละ 20.07 ณ 30 มี.ค. 48 โดยมีกรรมการร่ วม คือ นายอนันต์ อัศวโภคิน นางสุวรรณา พุทธประสาท นายจุมพล มีสุข และ นายรัตน์ พานิชพันธ์
ขายสิ นค้า ลูกหนี้การค้า
103.53 11.08
ระหว่างบริ ษทั กับ บมจ. ควอลิต้ ี คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ และบ มจ. ควอลิต้ ีเฮ้าส์ เป็ นผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ของ บมจ. ควอลิต้ คี อนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ โดยถือหุน้ อยูร่ ้อยละ 31.40 และ 24.33 ตามลาดับ ณ 5 เม.ย. 48 กรรมการร่ วม คือ นายอนันต์ อัศวโภคิน นาง สุวรรณา พุทธประสาท และ นายอดิศร ธนนันท์นราพูล
ซื้อสิ นค้า เจ้าหนี้การค้า
5.81 0.82
135.30 ราคาขายดังกล่าวเป็ นราคาที่ 15.01 เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดียวกับราคาตลาดที่ บมจ. ควอลิต้ ีเฮ้าส์ สามารถซื้อได้ จากผูผ้ ลิต หรื อผูข้ ายรายอื่น
4.80 ราคาซื้อดังกล่าวเป็ นราคาที่ 0.63 เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดียวกับราคาตลาดที่บริ ษทั สามารถซื้อได้จากผูผ้ ลิต หรื อ ผูข้ ายรายอื่น
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
12.2 ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผลของรายการ การทารายการระหว่างกันเป็ นความจาเป็ น และมีความสมเหตุสมผลของการทารายการเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดของ บริ ษทั โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นว่าเป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว่ ไป ซึ่งบริ ษทั ได้รับและจ่ายค่าตอบแทนใน ราคายุติธรรม 12.3 มาตรการ/ขั้นตอนการอนุมตั กิ ารทารายการระหว่ างกัน รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั และคาดว่าจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต ได้แก่ การขายสิ นค้าให้กบั บมจ. แลนด์แอนด์ เฮ้าส์ และบมจ. ควอลิต้ ีเฮ้าส์ การซื้อสิ นค้าจากบมจ. ควอลิต้ ี คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ สาหรับรายการขายสิ นค้า บริ ษทั ฯ ได้กาหนดราคาตามราคาตลาด ซึ่งเป็ นราคาที่ผซู ้ ้ือสามารถซื้อได้จาก ผูผ้ ลิตหรื อผูจ้ ดั จาหน่ายรายอื่น โดยทัว่ ไปจะทาการกาหนดคุณสมบัติ และราคาสิ นค้ากันก่อนล่วงหน้า สาหรับในส่วนของการซื้อสิ นค้า บริ ษทั ได้สงั่ ซื้อในราคาที่เหมาะสม โดยรายการระหว่างกันนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา และให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าว เป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว่ ไป โดยบริ ษทั ได้รับ และจ่ายค่าตอบแทนในราคายุติธรรม 12.4 นโยบายหรือแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกัน บริ ษทั มีนโยบายในการทารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นในปั จจุบนั และในอนาคตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์หรื อมีส่วนได้ส่วนเสี ย ในการขายสิ นค้า ซึ่งจะมีการกาหนดเงื่อนไขต่างๆ ให้เป็ นไปตามลักษณะการ ดาเนินการค้าปกติในราคาที่สามารถแข่งขันกับผูข้ ายรายอื่นได้ ทั้งนี้บริ ษทั จะให้คณะกรรมการตรวจสอบหรื อผูส้ อบบัญชีของ บริ ษทั หรื อ ผูเ้ ชี่ยวชาญอิสระ พิจารณาตรวจสอบ และให้ความเห็นถึงความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการทา รายการด้วย รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น คณะกรรมการบริ ษทั จะต้องปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบตั ิ ตามข้อกาหนดเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลการทารายการเกี่ยวโยงและการได้มาหรื อจาหน่ายทรัพย์สินที่สาคัญของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ ส่วนเสี ย หรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริ ษทั จะได้ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับ ความจาเป็ นและความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณี ที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชานาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริ ษทั จะได้ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญอิสระ หรื อผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั เป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่าง กันดังกล่าว เพื่อนาไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจของคณะกรรมการ หรื อผูถ้ ือหุน้ ตามแต่กรณี ทั้งนี้บริ ษทั จะเปิ ดเผยรายการระหว่าง กันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
13.
ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน
13.1 งบการเงิน (ก) สรุปรายงานการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีในระยะ 3 ปี ทีผ่ ่านมา นางสุวมิ ล กฤตยาเกียรณ์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 จากสานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ ได้ให้ ความเห็นสาหรับงบการเงินปี 2543 ถึง 2548 ดังนี้ รายงานของผูส้ อบบัญชีสาหรับงบการเงินปี 2543 ถึง 2548 ได้ให้ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขว่างบการเงินของ บริ ษทั ได้จดั ทาขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรและเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป รายงานของผูส้ อบบัญชีสาหรับงบการเงิน ณ 31 ธันวาคม 2548 ที่สอบทานโดยผูส้ อบบัญชี ไม่พบสิ่ งที่เป็ นเหตุ ให้เชื่อว่างบการเงินดังกล่าวไม่ถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ข) ตารางสรุปงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 2547 และ 2546 (หน่ วย : พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน %
งบการเงินเฉพาะบริษทั 31 ธันวาคม 2548 31 ธันวาคม 2547 31 ธันวาคม 2546 จานวนเงิน % จานวนเงิน % จานวนเงิน %
สินทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
96,915
1.1
59,714
0.7
105,024
1.7
50,943
1.2
145,689 2,321,256
1.6 25.7
145,689 2,321,256
1.6 25.8
170,818 2,167,975
2.8 34.9
121,236 1,702,343
2.7 38.6
ลูกหนี้กรมสรรพากร สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น
60,310 240,893
0.7 2.7
60,310 240,569
0.7 2.7
62,186 151,501
1.0 2.4
51,025 119,413
1.2 2.7
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
2,865,063
31.7
2,827,538
31.4
2,657,504
42.8
2,044,961
46.3
5,568,760 563,181 4,174
61.7 6.2 0.0
3,459 5,567,992 563,181 4,174
0.0 61.9 6.3 0.0
3,050,902 464,221 4,174
49.1 7.5 0.1
1,998,388 336,092 4,174
45.3 7.6 0.1
เงินประกันการเช่า สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
25,421 1,451
0.3 0.0
25,421 1,451
0.3 0.0
27,189 4,829
0.4 0.1
25,825 5,427
0.6 0.1
รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
6,162,987
68.3
6,165,678
68.6
3,551,315
57.2
2,369,906
53.7
รวมสินทรัพย์
9,028,050 100.0
ลูกหนี้การค้า - สุทธิ สิ นค้าคงเหลือ
สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริ มทรัพย์รอการขาย
8,993,216 100.0
6,208,819 100.0
4,414,866 100.0
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบดุล (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 2547 และ 2546 (หน่ วย : พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน %
งบการเงินเฉพาะบริษทั 31 ธันวาคม 2548 31 ธันวาคม 2547 31 ธันวาคม 2546 จานวนเงิน % จานวนเงิน % จานวนเงิน %
หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบัน การเงิน เจ้าหนี้ การค้า ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ส่วนของหนี้ สินระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายใน หนึ่งปี เจ้าหนี้ ค่าทรัพย์สิน เงินมัดจาค่าสิ นค้า เจ้าหนี้ อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน
241,338 2.7 2,788,711 30.9
241,338 2.7 2,787,879 31.0
-
-
-
-
38,000
0.6
-
-
223,799 303,294 258,906 134,709 299,305
2.5 3.4 2.9 1.5 3.3
223,799 303,294 258,906 134,709 298,967
2.5 3.4 2.9 1.5 3.3
185,971 18,700 182,976 104,748 254,161
3.0 0.3 2.9 1.7 4.1
66,054 31,733 132,961 64,600 192,293
1.5 0.7 3.0 1.5 4.4
4,250,062 47.1
4,248,892 47.2
400,148 6.4 2,445,627 39.4
3,630,331 58.5
527,111 11.9 1,996,511 45.2
3,011,263 68.2
หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน หนี้สินระยะยาวตามสัญญาเช่าซื้อ เงินกูย้ มื ระยะยาว หุ้นกู้
17,188
0.2
17,188
0.2
13,458
0.2
7,116
0.2
ค่าเช่ารับล่วงหน้า หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น
626,000 6.9 1,000,000 11.1 497,057 5.5 110,502 1.2
626,000 7.0 1,000,000 11.1 497,057 5.5 76,839 0.9
849,417 13.7 81,031 1.3 24,802 0.4
21,417 42,692 16,569
0.5 1.0 0.4
รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน
2,250,747 24.9
2,217,084 24.7
968,708 15.6
87,793
2.0
รวมหนีส้ ิน
6,500,809 72.0
6,465,976 71.9
4,599,039 74.1
3,099,056 70.2
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบดุล (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 2547 และ 2546 (หน่ วย : พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน %
งบการเงินเฉพาะบริษทั 31 ธันวาคม 2548 31 ธันวาคม 2547 31 ธันวาคม 2546 จานวนเงิน % จานวนเงิน % จานวนเงิน %
ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 987,500,000 หุ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท
987,500
987,500
987,500
987,500
ทุนที่ออกและเรี ยกชาระแล้ว หุ้นสามัญ 947,310,416 หุ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท หุ้นสามัญ 756,089,030 หุ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท หุ้นสามัญ 753,000,000 หุ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กาไรสะสม จัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร
947,310
10.5
947,310
10.5 756,089
12.2
555,694
6.2
555,694
6.2
190,121
3.1
753,000 190,121
64,400 959,836
0.7 10.6
64,400 959,836
0.7 10.7
39,100 624,470
0.6 10.1
20,000 352,689
0.5 8.0
2,527,240 1
28.0 0.0
2,527,240 -
28.1 -
1,609,780 -
25.9 -
1,315,811 -
29.8 -
รวมส่ วนของผูถ้ ือหุ้นส่ วนและส่ วนของ ผูถ้ ือหุ้นส่วนน้อย
2,527,241
28.0
2,527,240
28.1
1,609,780
25.9
1,315,811
29.8
รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น
9,028,050 100.0
รวมส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ส่วนของผูถ้ ือหุ ้นส่ วนน้อย
8,993,216 100.0
6,208,819 100.0
17.1 4.3
4,414,866 100.0
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 2547 และ 2546 (หน่ วย : พันบาท) งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน %
งบการเงินเฉพาะบริษทั 31 ธันวาคม 2547 31 ธันวาคม 2546 จานวนเงิน % จานวนเงิน %
31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน %
12,211,785 100.0 410,631 3.4
12,211,785 100.0 410,618 3.4
9,814,253 100.0 220,241 2.2
6,752,972 100.0 113,740 1.7
12,622,416 103.4
12,622,403 103.4
10,034,494 102.2
6,866,712 101.7
รายได้ รายได้จากการขาย รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้ จ่าย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย
9,575,650 2,277,634 -
78.4 18.7
9,575,650 2,276,080 1,540
78.4 18.6 0.0
7,736,333 1,736,512 -
78.8 17.7
5,327,226 1,235,450 -
78.9 18.3
11,853,284
97.1
11,853,270
97.1
9,472,845
96.5
6,562,677
97.2
769,132 (82,080) (182,258)
6.3 (0.7) (1.5)
769,133 (82,080) (182,258)
6.3 (0.7) (1.5)
561,649 (32,662) (147,746)
5.7 (0.3) (1.5)
304,035 (24,986) (72,413)
4.5 (0.4) (1.1)
กาไรก่อนส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นส่ วนน้อย ส่วนของผูถ้ ือหุ ้นส่วนน้อย
504,794 (1)
4.1 (0.0)
504,795 -
4.1
381,241 -
3.9
206,637 -
3.1
กาไรสุ ทธิ
504,795
4.1
504,795
4.1
381,241
3.9
206,637
3.1
รวมค่าใช้ จ่าย กาไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้นิติบุคคล ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคล
กาไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน (บาท/หุ้น) 0.58 0.58 0.51 0.27 กาไรต่ อหุ้นปรับลด (บาท/หุ้น) 0.58 0.58 0.47 0.26 * งบการเงินรวมนีไ้ ด้รวมฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษทั มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ซึ่งบริษทั ถือหุ้นร้ อยละ 99.99 ตั้งแต่ วนั ที่ 26 พฤษาาคม
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(ค) ตารางสรุปอัตราส่ วนทางการเงินทีส่ าคัญ อัตราส่ วนทางการเงิน
งบการเงินรวม 2548
อัตราส่ วนสาาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่า 0.67 อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว เท่า 0.06 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด เท่า 0.41 อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า เท่า 67.70 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย วัน 5 อัตราส่วนหมุนเวียนสิ นค้าคงเหลือ เท่า 4.27 ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย วัน 84 อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ เท่า 3.66 ระยะเวลาชาระหนี้ วัน 98 Cash cycle วัน (9) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability ratio) อัตรากาไรขั้นต้น % 21.59 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน % 2.94 อัตรากาไรอื่น % 3.25 อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร % 446.73 อัตรากาไรสุทธิ % 4.00 อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ % 24.40 อัตราส่ วนแสดงประสิทธิาาพในการดาเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ % 6.63 อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ถาวร % 16.52 อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ เท่า 1.66 อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ เท่า 2.57 อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี้ย เท่า 22.73 อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน เท่า 0.50 - Cash basis อัตราการจ่ายเงินปั นผล % 37.53
งบการเงินเฉพาะบริษัท 2548 2547 2546 0.67 0.05 0.40 67.70 5 4.27 84 3.66 98 (9)
0.73 0.08 0.21 58.70 6 4.00 90 3.48 103 (7)
0.67 0.05 0.27 41.39 9 3.61 100 3.11 116 (7)
21.59 2.95 3.25 435.64 4.00 24.40
21.17 3.48 2.19 203.35 3.80 26.06
21.11 2.82 1.66 348.3 3.01 16.79
6.64 16.52 1.66
7.18 20.30 1.89
5.47 18.36 1.82
2.56 22.33 0.49
2.86 26.78 0.41
2.36 30.42 0.56
37.53
35.70
43.73
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
13.2 คาอธิบาย และการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน
าาพรวมของผลการดาเนินงานทีผ่ ่านมา ผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา (2546 – 2548) ยังคงมีแนวโน้มปรับตัวในทิศทางที่ดี ทั้งยอดขาย รายได้อื่น กาไรขั้นต้น และกาไรสุทธิ โดยบริ ษทั ยังคงขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง จาก 16 สาขาในปี 2546 เป็ น 18 สาขาในปี 2547 และ 20 สาขาในปี 2548 ประกอบกับยอดขายของสาขาเดิมยังอยูใ่ นอัตราที่สูง ทาให้ยอดขายยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ สาขาใหม่ที่ได้เปิ ดดาเนินการมีพ้นื ที่เช่าทาให้ รายได้เช่าเพิม่ ขึ้นด้วยเช่นกัน ส่งผลให้กาไรสุทธิที่ดีข้ นึ
ผลการดาเนินงาน รายได้ จากการขาย ในปี 2548 บริ ษทั ฯ มีรายได้จากยอดขายทั้งสิ้น 12,211.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2547 ถึง 2,397.53 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 24.43 โดยเป็ นผลจากการเปิ ดสาขาใหม่ และการเพิ่มขึ้นจากยอดขายของสาขาเดิม รวมถึงการจัดงาน Homepro EXPO รายได้ อนื่ ในปี 2548 บริ ษทั ฯ มีรายได้อื่นจานวน 410.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2547 เท่ากับ 190.39 ล้านบาทหรื อคิด เป็ นร้อยละ 86.44 ซึ่งเป็ นผลจากการสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริ มการขายของผูค้ า้ รายได้จากเช่าพื้นที่และรายได้ค่าบริ การ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการขายสิ นค้า ซึ่งเพิ่มขึ้นตามการเติบโตของยอดขาย การขยายสาขา และการจัดกิจกรรมทางการตลาด เช่น งาน Homepro EXPO ต้ นทุนขาย สาหรับปี 2548 บริ ษทั ฯ มีกาไรขั้นต้น 2,636.13 ล้านบาทคิดเป็ นร้อยละ 21.59 ของรายได้จากการขาย โดย บริ ษทั ฯ ยังคงรักษาอัตรากาไรขั้นต้นและอยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงกว่าปี 2547 ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการบริ หารสิ นค้าที่ดี ความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูจ้ าหน่ายสิ นค้า และอานาจต่อรองที่ดีข้ ึนจากการสัง่ ซื้อสิ นค้าจากผูจ้ าหน่ายสิ นค้า ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ในปี 2548 บริ ษทั ฯ มีค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หารเท่ากับ 2,277.63 ล้านบาทหรื อ คิดเป็ นร้อยละ 18.65 ของรายได้จากการขาย โดยค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หารมีอตั ราส่วนเพิ่มขึ้นจากปี 2547 เป็ นผลจาก การจัดกิจกรรมทางการตลาด งาน Homepro EXPO ซึ่งจะได้รับรายได้สนับสนุนจากผูจ้ าหน่ายสิ นค้าที่เข้าร่ วมงาน ทั้งนี้สาหรับ การจัดงานดังกล่าวส่งผลถึงกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายในด้านกว้างเพื่อการสร้าง Brand Awareness โดยเห็นได้จากผลของงานที่ผา่ นมา ซึ่งได้รับความสนใจจากลูกค้าเป็ นอย่างมาก ค่ าใช้ จ่ายทางการเงิน ในปี 2548 บริ ษทั ฯ มีดอกเบี้ยจ่ายจานวน 82.08 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี ก่อน 49.42 ล้านบาท ทั้งนี้ เกิดจากการที่บริ ษทั ฯ มีการออกหุน้ กูห้ ุน้ กูร้ ะยะยาว 3-4 ปี เพื่อใช้ในการขยายสาขา ส่งผลให้ดอกเบี้ยจ่ายสูงขึ้น กาไรสุ ทธิ ในปี 2548 บริ ษทั ฯ มีกาไรสุทธิเท่ากับ 504.80 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากปี 2547 เท่ากับ 123.55 ล้านบาทคิดเป็ น อัตราการเพิ่มขึ้นเท่ากับร้อยละ 32.41 ทั้งนี้เนื่องมาจากการใช้กลยุทธ์ทางการตลาดทาให้ยอดขายและรายได้อื่น ๆ ของบริ ษทั ฯ เพิ่มขึ้น ตลอดจนการบริ หารต้นทุนขายอย่างมีประสิทธิภาพ อัตราผลตอบแทนต่ อผู้ถือหุ้น ในช่วงปี 2546, 2547 และ 2548 บริ ษทั มีผลกาไรสุทธิโดยคานวณเป็ นอัตราผลตอบแทน ต่อเงินลงทุนของผูถ้ ือหุน้ คิดเป็ นร้อยละ 16.79, 26.06 และ 24.40 ตามลาดับ สาหรับอัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุน้ ในปี 2548 ลดลงเล็กน้อยซึ่งเกิดจากการใช้สิทธิของใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญของบริ ษทั ฯ ส่งผลให้ส่วนของผูถ้ ือหุน้ เพิ่มขึ้นจาก การใช้สิทธิดงั กล่าวรวม 556.79 ล้านบาท อย่างไรก็ตามบริ ษทั ฯ ยังสามารถทากาไรได้ในอัตราที่สูงส่งผลให้อตั ราผลตอบแทนต่อ ผูถ้ ือหุน้ ลดลงเพียงเล็กน้อย
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ฐานะการเงิน สินทรัพย์ สิ นทรัพย์รวมของบริ ษทั ฯ เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 6,208.82 ล้านบาทในปี 2547 เป็ น 9,028.05 ล้านบาท ในปี 2548 ทั้งนี้เกิดจากการขยายสาขา รวมถึงการที่บริ ษทั ฯ เห็นถึงโอกาสในการขยายกิจการเพื่อเป็ นการสร้างรายได้ และ ผลตอบแทน ซึ่งเห็นได้จากกาไรสุทธิของบริ ษทั ฯ ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง หนิส้ ิน สาหรับหนี้สินรวมของบริ ษทั ฯ ในปี 2548 เท่ากับ 6,500.81 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,866.94 ล้านบาท โดยสาเหตุ หลัก การเพิ่มขึ้นจากการออกหุน้ กูร้ ะยะยาวอายุ 3 – 4 ปี มูลค่า 1,000 ล้านบาท รวมถึงการรับรู ้ค่าเช่ารับล่วงหน้าจากผูเ้ ช่ารายใหญ่ สาหรับสัญญาเช่าระยะยาวเพิ่มขึ้นรวม 416.03 ล้านบาท และ เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้นรวม 342.25 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการซื้อสิ นค้า สาหรับสาขาใหม่ ส่ วนของผู้ถือหุ้น ในส่วนของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ ในปี 2548 เท่ากับ 2,527.24 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 917.46 ล้านบาท สาหรับการเพิม่ ขึ้นดังกล่าวเกิดจากกาไรสุทธิของบริ ษทั ฯ รวมถึงการใช้สิทธิแปลงสภาพของ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญของบริ ษทั (HMPRO-W1) และใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญของบริ ษทั ให้แก่พนักงาน (ESOP-W1) ซึ่งทาให้ส่วน หุน้ สามัญที่เรี ยกชาระแล้ว เพิ่มขึ้น 191.22 ล้านบาท และ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ เพิ่มขึ้น 365.57 ล้านบาท
สาาพคล่องทางการเงิน กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานของบริ ษทั ฯ เป็ นบวกมา ในปี 2548 กระแสเงินสดจากการดาเนินงานสูงขึ้นจากปี 2547 เท่ากับ 907.25 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 130.68 ทั้งนี้ เนื่องจากบริ ษทั ฯ มีผลการดาเนินงานที่ดีข้ ึน รวมถึงการใช้เงินทุนในส่วนสิ นค้าคงคลังลดลงเมื่อเทียบกับปี ที่ผา่ นมา และได้รับเงิน จากค่าเช่ารับล่วงหน้าของคู่คา้ รายใหญ่เพิ่มขึ้น กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั ฯ มีการขยายสาขามาโดยตลอด ทั้งนี้เนื่องจากบริ ษทั ฯ มองเห็นถึงโอกาสทางการตลาดที่มีช่องว่างอยูค่ ่อนข้างมาก และการแข่งขันไม่รุนแรงเหมือนธุรกิจค้าปลีกอื่น ตลอดจนผูบ้ ริ โภคมี แนวโน้มที่เปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อสิ นค้าจาก Traditional Trade มาสู่ Modern Trade มากขึ้น กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2548 บริ ษทั ฯ มีกระแสเงินสดรับ จากการออกหุน้ กูร้ ะยะยาวอายุ 3 – 4 ปี มูลค่า 1,000 ล้านบาท รวมถึงกระแสเงินสดรับจากส่วนของผูถ้ ือหุน้ ที่เพิ่มซึ่งเกิดจากการใช้สิทธิของใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุน้ สามัญของบริ ษทั (HMPRO-W1) ซึ่งหมดอายุลงในเดือน กรกฎาคม 2548
รายการ กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
2548 1,601.52 (2,643.63) 1034.00
2547 694.27 (1,359.27) 733.68
13.3 ปัจจัยและอิทธิพลหลักทีอ่ าจมีผลต่ อการดาเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต – ไม่มี –
หน่วย : ล้านบาท 2546 662.79 (989.13) 278.57
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
13.4 ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (Audit Fee) ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ของผูส้ อบบัญชีบริ ษทั สาหรับปี 2547 และ 2548 มีจานวนเงิน 956,000 และ 1,096,000 บาท ตามลาดับ 2. ค่ าบริการอืน่ (Non-Audit Fee) - ไม่มี -
บริ ษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)
14. - ไม่มี -
ข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ อง
ส่ วนที่ 3 การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล การรับรองความถูกต้องของข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ให้เป็ น ดังนี้ 1. กรรมการบริ หารทุกคนและผูท้ ี่ดารงตาแหน่งบริ หารสูงสุดในสายงานบัญชีให้ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งประทับตราบริ ษทั (ถ้ามี) ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี พร้อมทั้งมอบอานาจให้บุคคลใดลงนามกากับเอกสารในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจาปี แทนด้วย โดยใช้ขอ้ ความและรู ปแบบดังนี้ “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริ หารของบริ ษทั หรื อผูด้ ารงตาแหน่งบริ หารสูงสุดในสายงานบัญชี ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้อง ครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาให้ผอู ้ ื่นสาคัญผิด หรื อไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสาคัญ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าขอรับรองว่า (1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินที่สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ได้แสดงข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วนในสาระสาคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยแล้ว (2) ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อการจัดให้บริ ษทั มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ใจว่าบริ ษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูล ในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญทั้งของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบ ดังกล่าว (3) ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อการจัดให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตาม ระบบดังกล่าว และข้าพเจ้าได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบควบคุมภายใน ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2549 ต่อผูส้ อบบัญชีและ กรรมการตรวจสอบของบริ ษทั แล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงข้อบกพร่ องและการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทาที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารที่ขา้ พเจ้าได้รับรองความถูกต้องที่เป็ นชุดเดียวกัน ข้าพเจ้าได้มอบหมาย ให้ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้า หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กากับไว้ ข้าพเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ขา้ พเจ้าได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลไว้” ชื่อ ตาแหน่ง ลายมือชื่อ 1. นายมานิต
อุดมคุณธรรม
2. นายนพร
สุนทรจิตต์เจริ ญ กรรมการและกรรมการบริ หาร
....นพร สุนทรจิตต์เจริ ญ...
3. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ
...คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล...
4. นางสาววรรณี จันทามงคล ชื่อ
กรรมการและประธานกรรมการบริ หาร
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายบัญชีและการเงิน ตาแหน่ง
ผูร้ ับมอบอานาจ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ
....มานิต อุดมคุณธรรม.....
….วรรณี จันทามงคล..... ลายมือชื่อ ...คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล...
2. กรรมการคนอื่นของบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์นอกจาก 1. ให้ลงลายมือชื่อพร้อมประทับตราบริ ษทั (ถ้ามี) ในแบบแสดง รายการข้อมูลประจาปี พร้อมทั้งมอบอานาจให้บุคคลใดลงนามกากับเอกสารในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี แทนด้วย โดยให้ใช้ขอ้ ความและรู ปแบบ ดังนี้ “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริ ษทั ข้าพเจ้าไม่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้องครบถ้วน เป็ นเท็จ ทาให้ผอู ้ ื่นสาคัญผิด หรื อขาด ข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสาคัญ ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็ นเอกสารที่ขา้ พเจ้าได้รับรองความถูกต้องที่เป็ นชุดเดียวกัน ข้าพเจ้าได้ มอบหมายให้ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่ลงลายมือชื่อ ของ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กากับไว้ ข้าพเจ้าถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ขา้ พเจ้าได้สอบทานแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ
ตาแหน่ง
ลายมือชื่อ
1. นายอนันต์ อัศวโภคิน
ประธานกรรมการ
…..อนันต์ อัศวโภคิน.......
2. นายพงส์
สารสิ น
กรรมการ
..........พงส์ สารสิ น............
3. นายรัตน์
พานิชพันธ์
กรรมการ
........รัตน์ พานิชพันธ์.........
4. นายจุมพล มีสุข
กรรมการ
...........จุมพล มีสุข.............
5. นายอภิชาติ นารถศิลป์
กรรมการ
.........อภิชาติ นารถศิลป์ .....
6. นางสุวรรณา พุทธประสาท
กรรมการ
....สุวรรณา พุทธประสาท....
7. นายอภิลาศ โอสถานนท์
ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ …...อภิลาศ โอสถานนท์.....
8. นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ
กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
.....ทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ .....
9. นายชนินทร์ รุ นสาราญ
กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
......ชนินทร์ รุ นสาราญ.......
ชื่อ
ตาแหน่ง
ผูร้ ับมอบอานาจ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ
ลายมือชื่อ ...คุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล...
*หมายเหตุ หากในวันที่ยนื่ แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ต่อสานักงาน มีเหตุจาเป็ นที่ทาให้บุคคลใดยังไม่สามารถลง ลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ได้ เมื่อเหตุดงั กล่าวหมดสิ้นแล้ว บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ตอ้ งจัดให้บุคคลนั้นลง ลายมือชื่อทันที เว้นแต่ที่ทาให้บุคคลดังกล่าวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกล่าวอยูใ่ นภาวะไม่สามารถรู ้ผิด ชอบ หรื อไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บป่ วยทางร่ างกายหรื อทางจิต บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ไม่จาต้องจัดให้บุคคล ดังกล่าวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี
รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายอนันต์ อัศวโภคิน
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
55 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์ ปริ ญญาโท วิศวกรรมอุตสาหกรรม Illinois Institute of Technology USA.
นายพงส์ สารสิ น
78 ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริ หารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นายรัตน์ พานิ ชพันธ์
58 ปริ ญญาโท M.S.in Business Ad.,Fort Hays Kansas State College, Hays , Kansas, USA.
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 0.16 -
0.23
-
0
-
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2548 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2528 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2537 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2548 2548 2543-2548 2546-2547
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บมจ. บางกอกเชน ฮอลปิ ทอล ประธานกรรมการ บมจ. คลอลิต้ ีคอนสครัคชัน่ โปรดักส์ ประธานกรรมการ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮาส์ ประธานกรรมการ บจก.ชิน คอร์ปอเรชัน่ ประธานกรรมการ บจก.ไทยน้ าทิพย์ ประธานกรรมการ บมจ.แชงกรี -ลา โฮเต็ล กรรมการ บมจ.ธารารมณ์ เอ็นเตอร์ไพรส์ กรรมการ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ กรรมการ บมจ.สัมมากร ประธานกรรมการบริ หาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) กรรมการ บมจ. บ้านปู กรรมการ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารและ บมจ.ควอลิต้ ีเฮาส์ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ หาร ธนาคาร กรุ งไทย จากัด (มหาชน) กรรมการ บมจ. ทิพยประกันภัย กรรมการ สมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ประธานกรรมการ บจก.ยูไนเต็ด แอ๊ดไวเซอรี่ เซอร์ วิส กรรมการตรวจสอบ ธนาคาร กรุ งไทย จากัด (มหาชน)
ประเภทธุรกิจ สถาบันการเงิน โรงพยาบาล ธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ เทคโนโลยี และสื่ อสาร จาหน่ายน้ าอัดลม ธุรกิจโรงแรม (มหาชน) พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ สถาบันการเงิน ธุรกิจพลังงาน ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ สถาบันการเงิน ธุรกิจประกันภัย สมาคม ที่ปรึ กษาทางการเงิน สถาบันการเงิน
รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
นายจุมพล มีสุข
56 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์
นายอภิชาติ นารถศิลป์
48 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ MBA, University of Southern California 50 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นางสุ วรรณา พุทธประสาท
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 0.03 -
0
-
0
-
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2548 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2540 - ปั จจุบนั 2540 - ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2537 - ปั จจุบนั 2535 - ปั จจุบนั 2531 - ปั จจุบนั
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง
2544 - ปั จจุบนั 2542 - ปั จจุบนั 2548-ปั จจุบนั
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ที่ปรึ กษากรรมการผูจ้ ดั การ และกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
2546 - ปั จจุบนั 2546- ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและรองกรรมการผูจ้ ดั การ
บจก. คาซ่ า บจก.เซ็นเตอร์ พอยท์ แมเนจเม้นท์ บจก.คิว.เอช.อินเตอร์เนชัน่ แนล บจก.ฮาเบอร์วิว บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.ควอลิต้ ี คอนสตรัคชัน่ โปรดักส์ บจก.คิว.เอช.แมนเนจเม้นท์ บมจ.ควอลิต้ ีเฮาส์
พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจดูแลจัดการบริ หารอาคาร ลงทุนอสังหาริ มทรัพย์ในต่างประเทศ ธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศ ค้าปลีก Home center ผลิตวัสดุก่อสร้าง พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ AIGGIC (Thailand)Ltd. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.คิว.เอช.แมนเนจเม้นท์ บจก.เซ็นเตอร์ พอยท์ แมเนจเม้นท์ บจก.คิว.เอช.อินเตอร์เนชัน่ แนล บมจ.ควอลิต้ ีเฮาส์
ค้าปลีก Home center ที่ปรึ กษาแนะนาการลงทุน สถาบันการเงิน ค้าปลีก Home center ลงทุนอสังหาริ มทรัพย์ในต่างประเทศ ธุรกิจดูแลจัดการบริ หารอาคาร พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายมานิ ต อุดมคุณธรรม
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
60 มัธยมศึกษาตอนปลาย
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 3.19 -
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2547 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2545- ปั จจุบนั 2545- ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง กรรมการ ประธานคณะอนุกรรมการบริ หาร จัดการอสังหาริ มทรัพย์ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ ที่ปรึ กษา / อนุ กรรมการ ที่ปรึ กษา / อนุ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บจก. เจเอสเอ็ม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ภัตตาคาร / ร้านอาหาร หน่วยงานราชการ
บจก.ภูเก็ตสแควร์ บจก.อาร์ แอล พี องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ (ออป.) บจก.ไม้อดั ไทย บจก. ภูเก็ต รี สอร์ต คลับ บจก.ยู เอส ไอ โฮลดิ้ง บจก.แฟชัน่ พีเพิล บจก.แอ๊คทีฟ เนชัน่ บจก. ธนนนทรี บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.รังสิ ตพลาซ่ า บจก.สตาร์แบง อินเตอร์เนชัน่ แนล บจก.สตาร์แฟชัน่ บจก.สเททัส สี ลม
ศูนย์การค้า บริ ษทั Holding รัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจโรงแรม บริ ษทั Holding จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย จาหน่ายผลิตภัณฑ์กีฬา บริ ษทั Holding ค้าปลีก Home center ศูนย์การค้า จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย
รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายนพร สุ นทรจิตต์เจริ ญ
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล นายอภิลาศ โอสถานนท์ นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ นายชนิ นทร์ รุ นสาราญ
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
47 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์
48 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ 71 ปริ ญญาบัตรเทคโนโลยีการเกษตร ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ 60 ประถมศึกษา 58 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ Fort Hays State University
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 0 -
1.27
-
0
-
0
-
0
-
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2548-ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2533 - ปั จจุบนั 2547 - 2548 2547 - 2548 2538 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2547 - ปั จจุบนั
2546 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง กรรมการ กรรมการบริ หาร รองกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร และ กรรมการกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกาหนดค่าตอบแทน และ กรรมการสรรหา กรรมการ กรรมการทรัพยากรบุคคล และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการผูจ้ ดั การ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮาส์ บลจ. กองทุนแอสเซทพลัส บมจ. บางกอกเชน ฮอลปิ ทอล บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
สถาบันการเงิน
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ DKB Leasing บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.สตาร์แฟชัน่ กรุ๊ ป บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. หลักทรัพย์ ซิ กโก้
ค้าปลีก Home center ธุรกิจLeasing ค้าปลีก Home center ผลิตและจาหน่ายเครื่ องแต่งกาย ค้าปลีก Home center ธุรกิจหลักทรัพย์
มจ. ซิ กโก้ แอ็ดไวเซอรี่ บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ
ที่ปรึ กษาทางการเงิน ธุรกิจประกันภัย
บมจ. สามัคคีประกันภัย
ธุรกิจประกันภัย
บมจ. เงินทุน สิ นอุตสาหกรรม
ธุรกิจเงินทุน
ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ กองทุนรวม โรงพยาบาล ค้าปลีก Home center
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายอนันต์ อัศวโภคิน
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
55 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์ ปริ ญญาโท วิศวกรรมอุตสาหกรรม Illinois Institute of Technology USA.
นายพงส์ สารสิ น
78 ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริ หารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นายรัตน์ พานิ ชพันธ์
58 ปริ ญญาโท M.S.in Business Ad.,Fort Hays Kansas State College, Hays , Kansas, USA.
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 0.16 -
0.23
-
0
-
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2548 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2528 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2537 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2548 2548 2543-2548 2546-2547
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บมจ. บางกอกเชน ฮอลปิ ทอล ประธานกรรมการ บมจ. คลอลิต้ ีคอนสครัคชัน่ โปรดักส์ ประธานกรรมการ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮาส์ ประธานกรรมการ บจก.ชิน คอร์ปอเรชัน่ ประธานกรรมการ บจก.ไทยน้ าทิพย์ ประธานกรรมการ บมจ.แชงกรี -ลา โฮเต็ล กรรมการ บมจ.ธารารมณ์ เอ็นเตอร์ไพรส์ กรรมการ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ กรรมการ บมจ.สัมมากร ประธานกรรมการบริ หาร ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) กรรมการ บมจ. บ้านปู กรรมการ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารและ บมจ.ควอลิต้ ีเฮาส์ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริ หาร ธนาคาร กรุ งไทย จากัด (มหาชน) กรรมการ บมจ. ทิพยประกันภัย กรรมการ สมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ประธานกรรมการ บจก.ยูไนเต็ด แอ๊ดไวเซอรี่ เซอร์ วิส กรรมการตรวจสอบ ธนาคาร กรุ งไทย จากัด (มหาชน)
ประเภทธุรกิจ สถาบันการเงิน โรงพยาบาล ธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ เทคโนโลยี และสื่ อสาร จาหน่ายน้ าอัดลม ธุรกิจโรงแรม (มหาชน) พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ สถาบันการเงิน ธุรกิจพลังงาน ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ สถาบันการเงิน ธุรกิจประกันภัย สมาคม ที่ปรึ กษาทางการเงิน สถาบันการเงิน
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
นายจุมพล มีสุข
56 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์
นายอภิชาติ นารถศิลป์
48 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ MBA, University of Southern California 50 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นางสุ วรรณา พุทธประสาท
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 0.03 -
0
-
0
-
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2548 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2540 - ปั จจุบนั 2540 - ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2537 - ปั จจุบนั 2535 - ปั จจุบนั 2531 - ปั จจุบนั
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง
2544 - ปั จจุบนั 2542 - ปั จจุบนั 2548-ปั จจุบนั
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ที่ปรึ กษากรรมการผูจ้ ดั การ และกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
2546 - ปั จจุบนั 2546- ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและรองกรรมการผูจ้ ดั การ
บจก. คาซ่ า บจก.เซ็นเตอร์ พอยท์ แมเนจเม้นท์ บจก.คิว.เอช.อินเตอร์เนชัน่ แนล บจก.ฮาเบอร์วิว บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.ควอลิต้ ี คอนสตรัคชัน่ โปรดักส์ บจก.คิว.เอช.แมนเนจเม้นท์ บมจ.ควอลิต้ ีเฮาส์
พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจดูแลจัดการบริ หารอาคาร ลงทุนอสังหาริ มทรัพย์ในต่างประเทศ ธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศ ค้าปลีก Home center ผลิตวัสดุก่อสร้าง พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ AIGGIC (Thailand)Ltd. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.คิว.เอช.แมนเนจเม้นท์ บจก.เซ็นเตอร์ พอยท์ แมเนจเม้นท์ บจก.คิว.เอช.อินเตอร์เนชัน่ แนล บมจ.ควอลิต้ ีเฮาส์
ค้าปลีก Home center ที่ปรึ กษาแนะนาการลงทุน สถาบันการเงิน ค้าปลีก Home center ลงทุนอสังหาริ มทรัพย์ในต่างประเทศ ธุรกิจดูแลจัดการบริ หารอาคาร พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายมานิ ต อุดมคุณธรรม
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
60 มัธยมศึกษาตอนปลาย
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 3.19 -
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2547 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2546 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2545- ปั จจุบนั 2545- ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง กรรมการ ประธานคณะอนุกรรมการบริ หาร จัดการอสังหาริ มทรัพย์ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ ที่ปรึ กษา / อนุ กรรมการ ที่ปรึ กษา / อนุ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บจก. เจเอสเอ็ม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ภัตตาคาร / ร้านอาหาร หน่วยงานราชการ
บจก.ภูเก็ตสแควร์ บจก.อาร์ แอล พี องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ (ออป.) บจก.ไม้อดั ไทย บจก. ภูเก็ต รี สอร์ต คลับ บจก.ยู เอส ไอ โฮลดิ้ง บจก.แฟชัน่ พีเพิล บจก.แอ๊คทีฟ เนชัน่ บจก. ธนนนทรี บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.รังสิ ตพลาซ่ า บจก.สตาร์แบง อินเตอร์เนชัน่ แนล บจก.สตาร์แฟชัน่ บจก.สเททัส สี ลม
ศูนย์การค้า บริ ษทั Holding รัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจโรงแรม บริ ษทั Holding จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย จาหน่ายผลิตภัณฑ์กีฬา บริ ษทั Holding ค้าปลีก Home center ศูนย์การค้า จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย จาหน่ายเครื่ องแต่งกาย
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายนพร สุ นทรจิตต์เจริ ญ
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล นายอภิลาศ โอสถานนท์ นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ นายชนิ นทร์ รุ นสาราญ
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
47 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ ม.ธรรมศาสตร์
48 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ 71 ปริ ญญาบัตรเทคโนโลยีการเกษตร ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ 60 ประถมศึกษา 58 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ Fort Hays State University
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 0 -
1.27
-
0
-
0
-
0
-
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2548-ปั จจุบนั 2538 - ปั จจุบนั 2533 - ปั จจุบนั 2547 - 2548 2547 - 2548 2538 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2532 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2547 - ปั จจุบนั
2546 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง กรรมการ กรรมการบริ หาร รองกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร และ กรรมการกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกาหนดค่าตอบแทน และ กรรมการสรรหา กรรมการ กรรมการทรัพยากรบุคคล และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการผูจ้ ดั การ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้าส์ เพื่อรายย่อย จากัด (มหาชน) บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮาส์ บลจ. กองทุนแอสเซทพลัส บมจ. บางกอกเชน ฮอลปิ ทอล บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
สถาบันการเงิน
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ DKB Leasing บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.สตาร์แฟชัน่ กรุ๊ ป บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. หลักทรัพย์ ซิ กโก้
ค้าปลีก Home center ธุรกิจLeasing ค้าปลีก Home center ผลิตและจาหน่ายเครื่ องแต่งกาย ค้าปลีก Home center ธุรกิจหลักทรัพย์
มจ. ซิ กโก้ แอ็ดไวเซอรี่ บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ
ที่ปรึ กษาทางการเงิน ธุรกิจประกันภัย
บมจ. สามัคคีประกันภัย
ธุรกิจประกันภัย
บมจ. เงินทุน สิ นอุตสาหกรรม
ธุรกิจเงินทุน
ค้าปลีก Home center พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ กองทุนรวม โรงพยาบาล ค้าปลีก Home center
รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายอชิระ เสน่ หา นายวทัญญู วิสุทธิโกศล
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสู งสุ ด
46 ปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ MBA. Northrop University USA. 41 ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ Georgia State University, USA.
นายอนุ ชา จิตจาตุรันต์
42 ปริ ญญาโท สาขาบริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์
นางสาวจารุ โสภา ธรรมกถิกานนท์
46 ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้า 45 มัธยมศึกษาตอนต้น
นางสาวธาราทิพย์ ตรี มนั่ คง
สั ดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริษัท (%) ระหว่างผู้บริหาร 0 0.02
-
0.04
-
0
-
0.04
-
นายวีรพันธ์ อังสุ มาลี
42 ปริ ญญาโท วิศวอุตสาหการ สถาบันเอไอที
0
-
นายทินกร พรหมพล
50 ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง
0
-
นางสาวริ ษนา ติลกานนท์
นางสาววรรณี จันทามงคล
46 ปริ ญญาโท MBA (MIS) University of Dallas, USA
41 ปริ ญญาโท สาขาบริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจศศินทร์
0
0
-
-
ประสบการณ์การทางานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ช่ วงเวลา 2544 - ปั จจุบนั 2539 - 2544 2545 - ปั จจุบนั 2542 - 2544 2537 - 2542 2545 - ปั จจุบนั 2542 -2544 2538 - 2542 2546 - ปั จจุบนั 2532 - 2546 2543 - ปั จจุบนั มิ.ย.-ธ.ค. 2542 2538-2542 ก.ย. 2548 - ปั จจุบนั 2544 - ก.ย. 2548
ตาแหน่ ง ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ Assistant Vice President of Operation ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายพัฒนาธุรกิจ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายจัดซื้อ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายจัดซื้อ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายพัฒนาธุรกิจ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การอาวุโสฝ่ ายจัดซื้อ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การสาขารังสิ ต ผูจ้ ดั การสาขารัตนาธิเบศร์ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ
มค.2547 - ปั จจุบนั ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 2544 - 2546 ผูจ้ ดั การอาวุโส - บริ หารและพัฒนา ลูกค้าสัมพันธ์ 2542 - 2544 ผูจ้ ดั การทัว่ ไปฝ่ ายปฏิบตั ิการประจา สาขาจรัญสนิ ทวงศ์ มิ.ย. 2547 - ปั จจุบนั ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 2544 - มิ.ย. 2547 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป - Supply Chain & Business Development 2541 - 2543 ผูจ้ ดั การอาวุโส - Digital Products Development มี.ค.2548 - ปั จจุบนั ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ 2547 - มี.ค. 2548 ผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน 2542 - 2546 Associate Director - Finance
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ TESCO LOTUS บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.สยามแม็คโคร บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ Solution Delivery
ค้าปลีก Home center ค้าปลีก ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก - ค้าส่ ง ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home center Computer Consulting
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.สยามแม็คโคร
ค้าปลีก Home center ค้าปลีก - ค้าส่ ง
บมจ.สยามแม็คโคร
ค้าปลีก - ค้าส่ ง
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บริ ษทั เพาเวอร์บาย จากัด
ค้าปลีก Home center ค้าปลีก Home Appliance
Ricoh (Thailand) Co.,Ltd.
ผูแ้ ทนจาหน่ายอุปกรณ์ Office Automation บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ค้าปลีก Home center บมจ. ไทยน๊อคซ์ สเตนเลส ผลิตเหล็กไร้สนิ มรี ดเย็น Colgate Palmolive (Thailand) Ltd. Consumer Products
เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับการดารงตาแหน่ งของผู้บริหาร และผู้มีอานาจควบคุมในบริษัทย่อย รายชื่อ 1. นายอนันต์ 2. นายพงส์ 3. นายรัตน์ 4. นายจุมพล 5. นายอภิชาติ 6. นางสุวรรณา 7. นายมานิต 8. นายนพร 9. นายคุณวุฒิ 10. นายอภิลาศ 11. นายทวีวฒั น์ 12. นายชนินทร์ 13. นายวทัญญู 14. นายทินกร 15. น.ส.วรรณี
อัศวโภคิน สารสิน พานิชพันธ์ มีสุข นารถศิลป์ พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต์เจริ ญ ธรรมพรหมกุล โอสถานนท์ ตติยมณีกุล รุ นสาราญ วิสุทธิโกศล พรหมพล จันทามงคล
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ และกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ
บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ (บริษทั ย่อย) ประธานกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
รายละเอียดอืน่ ๆ - ไม่มี -