56-1
แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สารบัญ หน้ า
ส่ วนที่ 1
ข้ อมูลสรุ ป (Executive Summary)
ส่ วนที่ 2
บริษัททีอ่ อกหลักทรัพย์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.
ปั จจัยความเสี่ ยง ลักษณะการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ การวิจยั และพัฒนา ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ โครงการดาเนินงานในอนาคต ข้อพิพาททางกฎหมาย โครงสร้างเงินทุน การจัดการ การควบคุมภายใน รายการระหว่างกัน ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง
1- 1
2–2 2–5 2 – 11 2 – 15 2 – 16 2 – 17 2 – 18 2 – 19 2 – 23 2 – 35 2 – 37 2 – 40 2 – 57
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ และผูบ้ ริ หารที่มีอานาจควบคุมบริ ษทั ย่อย
ส่ วนที่ 3
การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล
3– 1
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลสรุ ป (Executive Summary) บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ก่อตังขึ ้ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจค้ าปลีก โดย จาหน่ายสินค้ า และให้ บริ การทีเ่ กี่ยวข้ องกับการก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม ปรับปรุง อาคาร บ้ าน และที่อยูอ่ าศัย แบบครบวงจร (One Stop Shopping Home Center) โดยใช้ ชื่อทางการค้ าว่า “โฮมโปร” (HOMEPRO) ซึง่ เป็ น เครื่ องหมายการค้ าของบริ ษัท ปั จจุบนั บริ ษัทฯ มีสนิ ค้ าเพื่อจาหน่ายมากกว่า 60,000 รายการ ซึง่ สามารถแบ่งกลุม่ สินค้ าออกเป็ น 5 กลุม่ หลัก ได้ แก่ กลุม่ วัสดุก่อสร้ างและอุปกรณ์ปรับปรุงบ้ าน กลุม่ ห้ องน ้าและสุขภัณฑ์ กลุม่ เครื่ องครัวและเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า อุปกรณ์ไฟฟ้ าและโคมไฟ และกลุม่ เครื่ องนอนและสินค้ าตกแต่ง นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ยังได้ จัดทีมผู้เชี่ยวชาญที่พร้ อมให้ คาแนะนา เพื่อลูกค้ าสามารถเลือกซื ้อสินค้ าได้ ตรงกับวัตถุประสงค์ในการใช้ งานได้ มาก ที่สดุ บริ ษัทฯ เปิ ดดาเนินการตังแต่ ้ ปี 2539 ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้ นที่ 150.0 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีทนุ จดทะเบียนอยูท่ ี่ 1,938.1 ล้ านบาท โดยมีมลู ค่าทีต่ ราไว้ ห้ นุ ละ 1.0 บาท และมีทนุ ที่เรี ยกชาระแล้ ว 1,919.8 ล้ านบาท จานวนสาขาในเขตกรุงเทพ ปริ มณฑล และต่างจังหวัดรวมทังสิ ้ ้น 26 สาขา ดังนี ้ สาขา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.
สาขารังสิต สาขารัตนาธิเบศร์ สาขาแฟชัน่ ไอส์แลนด์ สาขาฟิ วเจอร์ มาร์ ท สาขาเสรี เซ็นเตอร์ สาขาเดอะมอลล์ บางแค สาขาเดอะมอลล์ โคราช สาขารัชดาภิเษก สาขาเพลินจิต สาขาภูเก็ต สาขาเชียงใหม่ สาขารามคาแหง สาขาพระราม 2 สาขาประชาชื่น สาขาลาดพร้ าว สาขาพัทยา
สถานที่ตงั ้ บริ เวณศูนย์การค้ าฟิ วเจอร์ พาร์ ค รังสิต แยกบางใหญ่ รัตนาธิเบศร์ ในศูนย์การค้ าแฟชัน่ ไอส์แลนด์ รามอินทรา เชิงสะพานกรุ งเทพใหม่ ถ. พระราม 3 ในศูนย์การค้ าเสรี เซ็นเตอร์ ถ. ศรี นคริ นทร์ ในศูนย์การค้ าเดอะมอลล์ บางแค ในศูนย์การค้ าเดอะมอลล์ โคราช จ. นครราชสีมา ในศูนย์การค้ าคาร์ ฟรู ์ รัชดาภิเษก ในอาคารเวฟเพลส ถ. เพลินจิต ในศูนย์การค้ าโลตัส ภูเก็ต ในศูนย์การค้ าคาร์ ฟรู ์ เชียงใหม่ ใกล้ ศนู ย์การค้ าคาร์ ฟรู ์ ถ. สุขาภิบาล 3 ใกล้ ทางด่วนบางนา - ดาวคะนอง ถ. พระราม 2 บริ เวณสี่แยกพงษ์เพชร ถ. ประชาชื่น ในศูนย์การค้ าคาร์ ฟรู ์ ลาดพร้ าว ในศูนย์การค้ าคาร์ ฟรู ์ พัทยากลาง
ส่วนที่ 1 หน้ าที่ 1
วันที่เปิ ด ดาเนินการ กันยายน 2539 พฤษภาคม 2540 เมษายน 2542 มีนาคม 2543 พฤษภาคม 2543 กรกฎาคม 2543 เมษายน 2544 มิถนุ ายน 2544 ตุลาคม 2544 มิถนุ ายน 2545 กันยายน 2545 เมษายน 2546 พฤษภาคม 2546 กรกฎาคม 2546 ตุลาคม 2546 ธันวาคม 2546
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สาขา 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.
สาขาแจ้ งวัฒนะ สาขาหาดใหญ่ สาขาราชพฤกษ์ สาขาสุวรรณภูมิ (บางนา) สาขาหัวหิน สาขาสมุย สาขาพิษณุโลก สาขาขอนแก่น สาขาอุดรธานี สาขาสุราษฎร์ ธานี
สถานที่ตงั ้ ในศูนย์การค้ าคาร์ ฟรู ์ แจ้ งวัฒนะ ในศูนย์การค้ า คาร์ ฟรู ์ หาดใหญ่ ใกล้ วงเวียนนครอินทร์ ถ. ราชพฤกษ์ ถ. บางนา-ตราด กม. 12 ถ. เพชรเกษม อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขนั ธ์ ใกล้ ศูนย์การค้ าโลตัส อ. เกาะสมุย จ. สุราษฎร์ ธานี ใกล้ ศูนย์การค้ าโลตัส ต. อรัญญิก อ. เมือง จ. พิษณุโลก ถ. มิตรภาพ ต.ในเมือง อ. เมือง จ. ขอนแก่น ใกล้ ศาลปกครอง ถ. รัฎาภิเศก จ. อุดรธานี ใกล้ ศนู ย์การค้ าโลตัส ถ. เลี่ยงเมือง จ. สุราษฎร์ ธานี
วันที่เปิ ด ดาเนินการ กรกฎาคม 2547 ตุลาคม 2547 สิงหาคม 2548 พฤศจิกายน 258 กุมภาพันธ์ 2549 เมษายน 2549 กรกฎาคม 2549 กันยายน 2549 ตุลาคม 2549 ธันวามคม 2549
ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2548 บริ ษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด (“มาร์ เก็ต วิลเลจ”) ได้ ถกู จัดตังขึ ้ ้น โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อบริ หารพื ้นที่ให้ เช่าให้ กบั บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ พร้ อมกับให้ บริการทางด้ านสาธารณูปโภคแก่ผ้ ู เช่า โดยบริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เข้ าถือหุ้นทังหมดร้ ้ อยละ 100 ปั จจุบนั มีทนุ จดทะเบียน 5 ล้ าน บาท ดาเนินการบริ หารพื ้นที่ในส่วนร้ านค้ าเช่าบนพื ้นที่โครงการ “หัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ” (Hua-Hin Market Village) ซึง่ ตังอยู ้ บ่ ริ เวณ ถ. เพชรเกษม อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ เปิ ดดาเนินการในไตรมาสแรกปี 2549 ผลการดาเนินงาน ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา ผลการดาเนินงานของบริษัทฯ ยังคงปรับตัวไปในทิศทางทีด่ ี โดยจะเห็นได้ จากยอดขาย กาไรขันต้ ้ น กาไรก่อนดอกเบี ้ยและภาษี และกาไรสุทธิ ที่มีการเติบโตอยู่ตลอดเวลา ปั จจัยทีเ่ ป็ นตัวผลักดันผลการ ดาเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ แก่ จานวนสาขาทีเ่ พิ่มขึ ้น จาก 18 สาขาในปี 2547 เป็ น 20 สาขาในปี 2548 และ 26 สาขา ในปี 2549 การเติบโตของยอดขายในสาขาเดิม การเพิ่มขึ ้นของประสิทธิภาพการจัดการต้ นทุนสินค้ า การเพิ่มขึ ้นของ รายได้ จากธุรกิจให้ บริ การพื ้นที่เช่า และรายได้ จากการจัดงาน HomePro Expo โดยในปี 2549 บริ ษัทฯ มีรายได้ จาก การขายจานวน 14,223.72 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 2,011.93 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 16.48 และในปี 2548 บริ ษัทฯ มีรายได้ จากการขายจานวน 12,211.79 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี 2547 จานวน 2,397.53 ล้ านบาท คิด เป็ นร้ อยละ 24.43 ในส่วนของต้ นทุนขายนัน้ ในปี 2547 - ปี 2549 บริ ษัทฯ มีต้นทุนขายจานวน 7,736.33 ล้ านบาท 9,575.65 ล้ าน บาท และ 10,967.07 ล้ านบาท ตามลาดับ คิดเป็ นอัตรากาไรขันต้ ้ นเท่ากับร้ อยละ 21.17 ร้ อยละ 21.59 และร้ อยละ 22.90 ตามลาดับ โดยอัตรากาไรขันต้ ้ นดังกล่าวมีการปรับตัวที่ดขี ี ้น ทังนี ้ ้ เนื่องจากการได้ รับส่วนลดจากการสัง่ ซื ้อสินค้ า ในปริ มาณมาก และจากสินค้ าประเภท Private Brand และ House Brand และจากการที่บริ ษัทฯ สามารถบริ หาร ต้ นทุนขายและใช้ กลยุทธ์ทางการตลาดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ อตั รากาไรสุทธิตอ่ รายได้ จากการขายของบริ ษัท ในปี 2548 และปี 2549 ที่มีคา่ เท่ากับร้ อยละ 4.13 และร้ อยละ 4.28 ตามลาดับ เพิม่ สูงขึ ้นจากปี 2547 ที่มีคา่ เท่ากับ ร้ อยละ 3.88
ส่วนที่ 1 หน้ าที่ 2
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ ณ สิ ้นปี 2547 - ปี 2549 มีจานวนเท่ากับ 6,208.82 ล้ านบาท 9,028.05 ล้ านบาท และ 12,205.06 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยการเพิ่มขึ ้นของสินทรัพย์รวมดังกล่าวเป็ นผลจากการเพิ่มขึ ้นของรายการ สินค้ าคงเหลือที่บริ ษัทฯ สารองไว้ สาหรับสาขาทีเ่ ปิ ดใหม่และอยูร่ ะหว่างรอเปิ ดดาเนินการ การเพิม่ ขึ ้นของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่บริ ษัทฯ ลงทุนสาหรับสาขาที่เปิ ดใหม่และอยูร่ ะหว่างรอเปิ ดดาเนินการ และการเพิม่ ขึ ้นของสินทรัพย์ไม่มี ตัวตนทีเ่ กิดจากรายการสิทธิการเช่าของสาขาสมุย และการเพิ่มขึ ้นของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรับหนี ้สินรวมของ บริ ษัทฯ ณ 31 ธันวาคม 2549 มีจานวนเท่ากับ 8,287.51 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากสิ ้นปี 2547 - ปี 2548 ที่มีจานวนเท่ากับ 4,599.04 ล้ านบาท และ 6,500.81 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยการเพิ่มขึ ้นดังกล่าวเป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ ้นของเจ้ าหนี ้ การค้ า ซึง่ เป็ นการเพิ่มขึ ้นตามปริมาณยอดขาย และจานวนสาขาที่เพิ่มขึ ้น การเพิ่มขึ ้นของค่าเช่ารับล่วงหน้ า ซึง่ เกิดจาก การให้ เช่าพื ้นที่ระยะยาวของสาขาหัวหินแก่ผ้ เู ช่ารายใหญ่ และการเพิ่มขึ ้นของเงินกู้ยืมระยะยาว จานวน 1,500 ล้ าน บาท เพื่อใช้ ในการก่อสร้ างและขยายสาขาทีเ่ ปิ ดดาเนินการในช่วงปี 2549 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาอัตราส่วนของ หนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นจะพบว่า ณ สิ ้นปี 2549 อัตราส่วนดังกล่าวมีคา่ เท่ากับ 2.12 เท่า ลดลงจาก 2.86 เท่า ณ สิ ้น ปี 2547 และ 2.56 เท่า ณ สิ ้นปี 2548 โดยการลดลงของอัตราส่วนดังกล่าวเกิดจากในช่วงไตรมาส 4 ปี 2549 บริ ษัทฯ ได้ ทาการเพิ่มทุนเสนอขายแก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม จานวน 954.64 ล้ านบาท
ส่วนที่ 1 หน้ าที่ 3
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ส่ วนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ชื่อบริ ษัท
:
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
:
ที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่ เลขทะเบียนบริ ษัทเลขที่ Home Page โทรศัพท์ โทรสาร
: : : : :
บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) Home Product Center Public Company Limited จาหน่ายสินค้ า และให้ บริ การที่เกี่ยวข้ องกับการก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม บ้ าน อาคาร และที่อยูอ่ าศัยแบบครบวงจร เลขที่ 96/27 หมู่ 9 ตาบลบางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 บมจ. 665 www.homepro.co.th +66-2832-1000 +66-2832-1400
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 1
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
1. ปั จจัยความเสี่ยง ปั จจัยความเสีย่ งที่อาจเกิดขึ ้น และมีผลกระทบต่อการดาเนินงานในอนาคตของบริษัทฯ มีดงั นี ้ 1.1
ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจ
ในปี ที่ผา่ นมาประเทศไทยได้ รับผลกระทบจากปั จจัยทังภายใน ้ และภายนอกประเทศอย่างต่อเนื่อง เช่น ปั ญหา จากภัยธรรมชาติ เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ การเปลีย่ นแปลงทางการเมือง ราคาน ้ามัน และอัตราดอกเบี ้ยที่ปรับตัวสูงขึ ้น การลดลงของความเชื่อมัน่ ของผู้บริ โภค เหล่านี ้ล้ วนส่งผลกระทบต่อแทบทุกภาค ธุรกิจ ซึง่ รวมถึงธุรกิจค้ าปลีกด้ วย ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักและดาเนินการวางแผนเพื่อหามาตรการ และกลยุทธ์ตา่ งๆ สาหรับป้องกันความเสีย่ งที่อาจเกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ทังนี ้ ้ เพื่อให้ สามารถดาเนินธุรกิจ และได้ รับผลสาเร็ จตาม เป้าหมายทีว่ างไว้ สินค้ าคงคลัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 และ 31 ธันวาคม 2547 บริ ษัทฯ มีสนิ ค้ าคงเหลือสุทธิ (ตามงบเฉพาะบริ ษัทฯ) เท่ากับ 2,861.38 ล้ านบาท 2,321.26 ล้ านบาท และ 2,167.98 ล้ านบาท ตามลาดับ มีระยะเวลาการขายสินค้ าเฉลีย่ เท่ากับ 85 84 และ 90 วัน มีระยะเวลาการชาระหนี ้เท่ากับ 101 98 และ 103 วัน ตามลาดับ จะเห็นว่าในปี 2549 สินค้ าคงเหลือมีปริ มาณเพิ่มขึ ้น สาเหตุมาจากการเพิ่มปริมาณการเก็บ สินค้ าคงคลังไว้ ลว่ งหน้ าสาหรับสาขาทีเ่ ปิ ดใหม่ในปี 2549 และสาขาที่กาลังจะเปิ ดในปี 2550 และจากการที่ บริ ษัทฯ ได้ มีการขยายพื ้นที่ศนู ย์กระจายสินค้ าจึงทาให้ ระยะเวลาในการขายสินค้ าเพิม่ ขึ ้นจากเดิมเพียงเล็กน้ อย อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะเพิ่มรอบการหมุนของสินค้ าคงคลัง ไม่วา่ จะ เป็ นการพัฒนาคุณภาพการให้ บริการของพนักงานขาย การปรับปรุงรูปแบบการจัดเรี ยงสินค้ าและรูปลักษณ์ ภายในสาขา การเพิม่ สินค้ าใหม่เข้ าร้ านอย่างสมา่ เสมอ รวมทังพยายามที ้ ่จะลดปริ มาณการจัดเก็บลง ในส่วน ของการลดปริมาณการจัดเก็บ ในปี 2549 บริ ษัทฯ ได้ ทาการขยายพื ้นที่ศนู ย์กระจายสินค้ าให้ มขี นาดใหญ่ขึ ้น เพื่อให้ สามารถรองรับการเพิ่มขึ ้นของสาขาในอนาคต พร้ อมกับสามารถบริ หารจัดการสินค้ าในอนาคตได้ อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ ้น การลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริ ษัทฯ มีสาขาทีเ่ ปิ ดดาเนินการแล้ วทังสิ ้ ้นรวม 26 สาขา สาหรับการลงทุน ในปี 2550 บริ ษัทฯ มีโครงการที่จะขยายเพิม่ อีกประมาณ 4-5 สาขา ทังในเขตกรุ ้ งเทพฯ และต่างจังหวัด ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั ภาวะเศรษฐกิจ ทังนี ้ ้ จากการที่บริ ษัทมีนโยบายที่จะขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง ซึง่ อาจมีความเสีย่ งในกรณีที่ผล ประกอบการของสาขาที่เปิ ดใหม่ไม่เป็ นไปตามเป้าหมายที่ได้ ประมาณการไว้ และอาจส่งผลกระทบต่อผล ประกอบการโดยรวมนัน้ บริ ษัทจึงมีมาตรการที่จะลดความเสีย่ งจากการลงทุนขยายสาขา โดยการตัดสินใจทีจ่ ะ เปิ ดสาขาใหม่ในแต่ละครัง้ บริ ษัทฯ จะทาการศึกษาถึงลักษณะทาเลที่ตงที ั ้ ่อยูใ่ กล้ แหล่งชุมชน เงินทุน ยอดขาย
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 2
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
จุดคุ้มทุนในการลงทุน อัตราผลตอบแทนหรื อกาไรที่จะได้ รับ และความพร้ อมของบุคลากรในการขยายสาขา นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังมีการจัดทาแผนดาเนินการ งบประมาณประจาปี และเมื่อสาขาใหม่เปิ ดดาเนินการจะมี การติดตามผลประกอบการ และความคืบหน้ าของแผนทุกเดือน ซึง่ จะช่วยให้ บริษัทฯ สามารถวางแผนรับความ เสีย่ งที่อาจจะเกิดได้ ทนั ท่วงที การปฏิบัติงาน บริ ษัทฯ มีความเสีย่ งที่จะสูญเสีย หรื อได้ รับความเสียหายในทรัพย์สนิ เนื่องจากการปฏิบตั ิงานของ พนักงานขาย ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ได้ จดั ตังหน่ ้ วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับความเสีย่ งดังกล่าว คือ ฝ่ ายป้องกันการ สูญเสีย (Loss Prevention) ซึง่ รับผิดชอบด้ านการวางระบบป้องกันความเสีย่ งในด้ านต่าง ๆ ของบริ ษัท รวมถึง ความเสีย่ งที่พนักงานอาจได้ รับจากการปฏิบตั ิงานด้ วย ลูกหนี ้ บริ ษัทฯ ขายสินค้ า และให้ บริ การที่เกี่ยวข้ องกับบ้ านและที่อยูอ่ าศัย โดยแบ่งกลุม่ ลูกค้ าเป็ น 2 กลุม่ กลุม่ แรกคือลูกค้ ารายย่อย ซึง่ โดยส่วนใหญ่เป็ นการขายเงินสด กลุม่ ที่ 2 เป็ นกลุม่ ผู้รับเหมา และเจ้ าของ โครงการ ซึง่ จะเป็ นการขายทีใ่ ห้ เครดิต รายได้ สว่ นใหญ่ของบริษัทฯ เป็ นรายได้ ที่มาจากการขายเป็ นเงินสด โดยในปี 2549 สัดส่วนการขายเป็ น เงินสดอยูท่ ี่ร้อยละ 97 ของยอดขายทังหมด ้ สาหรับปี 2548 และ 2547 มีสดั ส่วนประมาณร้ อยละ 94 ใน ส่วนของการขายโดยให้ เครดิต บริ ษัทฯ จะพิจารณาให้ เฉพาะกับเจ้ าของโครงการที่มีฐานะการเงินที่ดี ที่ทาง บริ ษัทฯ ได้ มีการวิเคราะห์งบการเงินแล้ ว หรื อผู้รับเหมาที่มีหนังสือค ้าประกันแทนการขายผู้รับเหมารายย่อย ทัว่ ไป ทังนี ้ ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 และ 31 ธันวาคม 2547 บริ ษัทฯ มีลกู หนี ้ค้ างชาระ จานวน 162.09 168.79 และ 191.99 ล้ านบาท โดยคิดเป็ นลูกหนี ้บัตรเครดิตเท่ากับ 22.08 34.24 และ 29.29 ล้ านบาท ตามลาดับ มีการตังส ้ ารองค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญคิดเป็ นมูลค่าประมาณ 25.24 23.10 และ 21.17 ล้ านบาท ตามลาดับ ซึง่ ผู้บริ หารได้ ประเมินระยะเวลาทีก่ าหนดในการชาระหนี ้และสถานะทางการเงิน ของลูกหนี ้แต่ละรายแล้ ว บริ ษัทเห็นว่าค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญที่ตงไว้ ั ้ เพียงพอและเหมาะสมแล้ ว 1.2
ความเสี่ยงจากการแข่ งขัน
บริ ษัทฯ ประกอบธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน และที่อยูอ่ าศัยโดยมีคแู่ ข่งขันทังทางตรงและทางอ้ ้ อม เช่น ร้ านค้ าปลีก ห้ างสรรพสินค้ า ร้ านค้ าสินค้ าเฉพาะอย่าง และร้ านค้ ารายย่อยทัว่ ไป บริ ษัทฯ สร้ างความแตกต่างโดย มุง่ เน้ นในเรื่ องความหลากหลายของสินค้ า และการให้ บริ การทีค่ รบวงจร ทังในด้ ้ านการก่อสร้ าง ซ่อมแซม ตกแต่ง และ ต่อเติม อีกทังยั ้ งมีบริ การจัดหาทีมช่างผู้เชี่ยวชาญงานระบบด้ านต่าง ๆ เช่น งานระบบไฟฟ้ า ประปา งานติดตัง้ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้ อง เป็ นต้ น นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ได้ เน้ นการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริ หารภายใน เพื่อเสริ มสร้ างศักยภาพ และความได้ เปรี ยบ ต่อคูแ่ ข่งทังภายใน ้ และต่างประเทศที่อาจเข้ ามาในอนาคต
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 3
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
1.3
ความเสี่ยงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
ที่ผา่ นมามีการเปลีย่ นแปลงกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้ องกับการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ คือ การปรับกฎหมายผังเมือง รวมกรุงเทพมหานคร โดยได้ ประกาศใช้ เมื่อ 16 พฤษภาคม 2549 มีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนา กรุงเทพมหานคร และรองรับการขยายตัวในอนาคต การปรับปรุงผังเมืองรวมดังกล่าวมีการเปลีย่ นแปลงจากเดิมไม่ มากนัก และบริษัทฯ ไม่ได้ รับผลกระทบจากข้ อจากัดนี ้แต่อย่างใด เนื่องจากที่ผา่ นมาบริ ษัทฯได้ ลงทุนครอบคลุมพื ้นที่ ในเขตกรุงเทพฯ เกือบทุกส่วนแล้ ว ส่วนที่บริ ษัทฯ จะลงทุนขยายสาขาเพิ่มก็ไม่อยูใ่ นข้ อจากัดของผังเมืองใหม่แต่อย่าง ใด และหากมีการเปลีย่ นแปลงผังเมืองในอนาคต ซึง่ เป็ นอุปสรรคต่อการขยายสาขา บริ ษัทฯ กลับมองว่าเป็ นโอกาส เนื่องจากเป็ นการจากัดการขยายธุรกิจของคูแ่ ข่ง ในปี พ.ศ. 2549 คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ า มีมติให้ ประกาศใช้ เกณฑ์แนวทางพิจารณาการปฏิบตั ิ ทางการค้ าระหว่างผู้ประกอบธุรกิจค้ าส่งค้ าปลีกกับผู้ผลิต/ผู้จาหน่าย ภายใต้ พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้ า พ.ศ. 2542 จานวน 8 แนวทาง ได้ แก่ 1. การกาหนดราคาที่ไม่เป็ นธรรม 2. การเรี ยกรับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ไม่เป็ นธรรม 3. การคืนสินค้ าโดยไม่เป็ นธรรม 4. การใช้ สญ ั ญาการฝากขายที่ไม่เป็ นธรรม 5. การบังคับให้ ซื ้อ หรื อให้ จ่ายค่าบริ การ (Coercion to Purchase) 6. การใช้ พนักงานของผู้ผลิต/ผู้จาหน่าย อย่างไม่เป็ นธรรม 7. การปฏิเสธการรับสินค้ าที่ สัง่ ซื ้อ/ผลิตพิเศษ เป็ นตราเฉพาะของผู้สงั่ ผลิต (Private Brand) หรื อเป็ นตราเฉพาะของผู้ประกอบธุรกิจค้ าส่งค้ าปลีก (House Brand) และ 8. การปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นธรรมอื่น ๆ แนวทางดังกล่าวมีผลกระทบต่อผู้ค้าปลีกแบบสมัยใหม่ทกุ ราย (Modern Trade) อย่างไรก็ตามบริ ษัทฯ ป้องกัน ข้ อขัดแย้ งระหว่างแนวทางปฏิบตั ดิ งั กล่าวกับประเพณีปฏิบตั ิทางการค้ าเดิมทีม่ ีกบั คูค่ ้ า ด้ วยการปรับแก้ ข้อสัญญาบาง รายการที่อาจเข้ าข่าย โดยได้ ระบุข้อปฏิบตั ิระหว่างกันให้ ละเอียด และชัดเจนยิ่งขึ ้น
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 4
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1
ประวัติความเป็ นมา
บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) จดทะเบียนจัดตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 27 มิถนุ ายน 2538 มีทนุ จด ทะเบียนเริ่ มต้ นที่ 150 ล้ านบาท แบ่งเป็ น 1.5 ล้ านหุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้ ห้ นุ ละ 100 บาท ใช้ ชื่อทางการค้ าว่า “โฮมโปร” (HomePro) เปิ ดดาเนินการสาขาแรกที่ศนู ย์การค้ าฟิ วเจอร์ พาร์ ค รังสิต ในเดือนกันยายน 2539 ซึง่ ใช้ เป็ นที่ตงั ้ สานักงานใหญ่ของบริ ษัทฯ จนถึงเดือนมิถนุ ายน 2546 ได้ ย้ายที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่มาที่ถนนประชาชื่น (สาขาประชา ชื่น ในปั จจุบนั ) - ในปี 2540 บริ ษัทฯ ได้ เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 350 ล้ านบาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญ 3.5 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท เพื่อการขยายสาขา - ตุลาคม 2542 บริ ษัทฯ ได้ ทาการลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 350 ล้ านบาท มาเป็ น 116 ล้ านบาท แบ่งเป็ น 1.16 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท เพื่อล้ างผลขาดทุนสะสมของบริ ษัทฯ ที่เกิดจากการขาดทุนจากอัตรา แลกเปลีย่ นและหนี ้สูญจากผู้รับเหมา - ปี 2543 บริ ษัทฯ ได้ ทาการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 200 ล้ านบาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญ 2 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้น ละ 100 บาท เพื่อการขยายสาขา - มกราคม 2544 บริ ษัทฯ ได้ จดทะเบียนแปลงมูลค่าหุ้นสามัญจากเดิม 2 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท จานวนเงิน 200 ล้ านบาท มาเป็ น 40 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท - มีนาคม 2544 บริ ษัทฯ ได้ จดทะเบียนเพิ่มทุนเป็ น 275 ล้ านบาท แบ่งเป็ น 55 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท เพื่อใช้ เป็ นเงินทุนในการขยายสาขาในอนาคต - พฤษภาคม 2544 ได้ รับการอนุมตั ิให้ เข้ าเป็ นบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยได้ ทาการจดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชน พร้ อมกับได้ จดทะเบียนเพิม่ ทุนเป็ น 375 ล้ านบาท แบ่งเป็ น 75 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท - ตุลาคม 2544 ได้ เปลีย่ นแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ จากมูลค่าหุ้นละ 5 บาท เป็ นมูลค่าหุ้นละ 1 บาท และได้ นาหุ้นของบริ ษัท เข้ าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - พฤษภาคม 2545 บริ ษัทฯ จดทะเบียนเพิ่มทุนอีก 612.5 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทาให้ มีทนุ จดทะเบียน เป็ นเงินรวม 987.5 ล้ านบาท โดยจัดสรรหุ้นเพิม่ ทุน ดังนี ้
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 5
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(1) จานวน 375 ล้ านหุ้น จาหน่ายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม ราคาหุ้นละ 1 บาท ซึง่ ได้ จดทะเบียน เปลีย่ นแปลงทุนชาระแล้ วในเดือนมิถนุ ายน 2545 (2) จานวน 187.5 ล้ านหุ้น ไว้ รองรับการใช้ สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้น จัดสรรให้ แก่ผ้ ถู ือ หุ้นเดิม ซึง่ ใช้ สทิ ธิจองซื ้อหุ้นสามัญใหม่ตามสัดส่วน และจากการใช้ สทิ ธิเกินส่วน อายุ 3 ปี ไม่มี ราคาเสนอขาย โดยใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซื ้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาหุ้นละ 3 บาท ระยะเวลาการใช้ สทิ ธิทกุ ๆ 3 เดือน ซึง่ ครบกาหนดในเดือนกรกฎาคม 2548 (3) จานวน 50 ล้ านหุ้น ให้ ขายแก่บคุ คลในวงจากัด (Private Placement) คณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 12/2543
ตามประกาศ
- พฤศจิกายน 2546 บริ ษัท ทริ สเรตติ ้ง จากัด จัดอันดับเครดิต (Investment Grade) ให้ บริ ษัทเป็ น BBB - เมษายน 2547 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิให้ ยกเลิกการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนส่วนทีย่ งั ไม่ได้ เรี ยกชาระจานวน 50,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ซึง่ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2545 มีมติอนุมตั ใิ ห้ เสนอขายแก่บคุ คลในวงจากัด แต่เนื่องจากยังไม่ได้ มีการเสนอขาย จึงอนุมตั ใิ ห้ จดั สรรใหม่ดงั นี ้ (1) จานวน 15,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้ สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิซงึ่ จัดสรรให้ แก่พนักงาน ของบริ ษัท ภายใต้ โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้ แก่พนักงานของบริ ษัทฯ (2) จานวน 5,000,000 หุ้น สารองไว้ เพิ่มเติมสาหรับรองรับการใช้ สทิ ธิของใบสาคัญแสดงสิทธิของผู้ ถือหุ้นเดิม ครัง้ ที่ 1 ซึง่ บริษัทฯ อาจมีการปรับราคาการใช้ สทิ ธิ และอัตราการใช้ สทิ ธิตาม ข้ อกาหนด และเงื่อนไขของใบสาคัญแสดงสิทธินนั ้ (3) จานวน 30,000,000 หุ้น ให้ แก่บคุ คลในวงจากัด - กันยายน 2547 เปิ ดศูนย์การกระจายสินค้ า อาเภอวังน้ อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ซึง่ มีพื ้นมากกว่า 20,000 ตารางเมตร หรื อมากกว่า 16,500 พาเลท ซึง่ สามารถรองรับจานวนสาขาได้ ประมาณ 25 สาขา - ตุลาคม 2547 บริ ษัท ทริ สเรตติ ้ง จากัด ได้ เพิ่มอันดับเครดิตให้ บริษัท เป็ น BBB+ Stable Outlook - เมษายน 2548 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิให้ ยกเลิกการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนส่วนทีย่ งั ไม่ได้ เรี ยกชาระจานวน 30,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ซึง่ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2547 มีมติอนุมตั ิให้ เสนอ ขายแก่บคุ คลในวงจากัด เนื่องจากบริษัทฯ ยังไม่ได้ มีการเสนอขายให้ แก่บคุ คลดังกล่าว และอนุมตั ิการ จัดสรรใหม่ดงั นี ้ (1) จานวน 7,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้ สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิซงึ่ จัดสรรให้ แก่ พนักงาน ของบริ ษัท ภายใต้ โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้ แก่พนักงานของบริ ษัทฯ ครัง้ ที่ 2
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 6
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(2) จานวน 100,000 หุ้น สารองไว้ เพิ่มเติมสาหรับรองรับการใช้ สทิ ธิของใบสาคัญแสดงสิทธิ ซึง่ จัดสรรให้ แก่พนักงานของบริษัทฯ ภายใต้ โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้ แก่พนักงานของบริ ษัท ฯ ครัง้ ที่ 1 ซึง่ บริ ษัทฯ อาจมีการปรับราคาการใช้ สทิ ธิ และอัตราการใช้ สทิ ธิตามข้ อกาหนด และ เงื่อนไขของใบสาคัญแสดงสิทธินนั ้ (3) จานวน 22,900,000 หุ้น ให้ แก่บคุ คลในวงจากัด - พฤษภาคม 2548 ได้ ทาการจดทะเบียนจัดตัง้ บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด โดยมีทนุ จดทะเบียนทังสิ ้ ้น 5 ล้ านบาทถ้ วน ซึง่ บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ถือหุ้นร้ อยละ 99.99 - เมษายน 2549 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิให้ ยกเลิกการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน ส่วนที่ยงั ไม่ได้ เรี ยกชาระ (รวมหุ้น ที่เหลือจากการใช้ ใบสาคัญแสดงสิทธิ ซื ้อหุ้นสามัญของผู้ถือหุ้นเดิม) จานวน 25,406,359 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท ซึง่ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2548 มีมติให้ เสนอขายแก่บคุ คลในวงจากัด แต่ เนื่องจากยังไม่ได้ มกี ารเสนอขาย จึงอนุมตั ิการจัดสรรใหม่ดงั นี ้ (1) จานวน 15,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้ สทิ ธิ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิซงึ่ จัดสรรให้ แก่พนักงาน ของบริ ษัท และบริ ษัทย่อย (2) จานวน 250,000 หุ้น สารองไว้ เพิ่มเติมสาหรับรองรับการใช้ สทิ ธิของใบสาคัญแสดงสิทธิ ซึง่ จัดสรรให้ แก่พนักงานของบริษัทฯ ครัง้ ที่ 2 (3) จานวน 10,156,359 หุ้น ยกเลิกการจัดสรร - เมษายน 2549 บริ ษัทฯ ได้ ทาการลดทุนจดทะเบียนจานวน 10,156,359 บาท ซึง่ เป็ นทุนในส่วนที่ยงั ไม่ได้ เรี ยกชาระ และถูกยกเลิกการจัดสรรจากมติที่ประชุมสามัญปี 2549 โดยมีผลทาให้ ทนุ จดทะเบียนเดิม จานวน 987,500,000 บาท ลดลงเป็ น 977,343,641 บาท - ตุลาคม 2549 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้ มีมติให้ เพิม่ ทุนจดทะเบียนจานวน 960,803,219 บาท มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท รวมเป็ นทุนจดทะเบียน 1,938,146,860 บาท โดยจัดสรรดังนี ้ (1) จานวน 954,638,219 หุ้น เสนอขายแก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิมในอัตราส่วน 1 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ในราคา หุ้นละ 1 บาท ทังนี ้ ้บริ ษัทได้ ทาการเสนอขายและจดทะเบียนเปลีย่ นแปลงทุนชาระเรี ยบร้ อยแล้ ว เมื่อเดือนธันวาคม 2549 (2) จานวน 6,165,000 หุ้น สารองไว้ เพื่อรองรับการปรับสิทธิของใบสาคัญแสดงสิทธิที่เสนอขาย ให้ แก่พนักงานครัง้ ที่ 1 (ESOP-W1) และครัง้ ที่ 2 (ESOP-W2)ใบสาคัญแสดงสิทธิที่เสนอขาย ให้ แก่พนักงานครัง้ ที ้1 (ESOP-W1) และครัง้ ที่ 2 (ESOP-W2) - มกราคม 2550 บริ ษัท ทริ สเรตติ ้ง จากัด ได้ เพิ่มอันดับเครดิตองค์กรให้ บริ ษัท จาก BBB+ เป็ น A- Stable Outlook
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 7
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2.2
การประกอบธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่ อย
บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ก่อตังขึ ้ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจค้ าปลีก โดย จาหน่ายสินค้ า และให้ บริ การทีเ่ กี่ยวข้ องกับการก่อสร้ าง ต่อเติม ตกแต่ง ซ่อมแซม ปรับปรุง อาคาร บ้ าน และที่อยู่ อาศัยแบบครบวงจร (One Stop Shopping Home Center) โดยใช้ ชื่อทางการค้ าว่า “โฮมโปร” (HOMEPRO) ซึง่ เป็ น เครื่ องหมายการค้ าของบริ ษัท ปั จจุบนั บริ ษัทฯ มีลกั ษณะการประกอบธุรกิจ ดังนี ้ (1) จาหน่ายสินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน และที่อยูอ่ าศัย โดยแบ่งประเภทสินค้ าออกเป็ น 5 กลุม่ หลักได้ แก่ กลุม่ วัสดุ ก่อสร้ างและอุปกรณ์ปรับปรุงบ้ าน กลุม่ ห้ องน ้าและสุขภัณฑ์ กลุม่ เครื่ องครัวและเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า อุปกรณ์ ไฟฟ้ าและโคมไฟ และ กลุม่ เครื่ องนอนและสินค้ าตกแต่ง นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ยังได้ จดั ทีมผู้เชี่ยวชาญที่ พร้ อมให้ คาแนะนา เพื่อลูกค้ าสามารถเลือกซื ้อสินค้ าได้ ตรงกับวัตถุประสงค์ในการใช้ งานได้ มากทีส่ ดุ (2) การให้ บริ การด้ านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง ได้ แก่ การให้ ความรู้เกี่ยวกับตัวสินค้ า และวิธีการใช้ งานที่จะช่วยให้ ลูกค้ าสามารถเลือกซื ้อสินค้ าได้ ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้ งานให้ ได้ มากที่สดุ บริ การจัดส่งสินค้ า บริ การ ติดตัง้ ซ่อมแซม จัดหาผู้รับเหมา และทีมช่างผู้เชี่ยวชาญ บริ การออกแบบเพื่อวางแผนการตกแต่ง หรื อ ปรับปรุงส่วนต่างๆ ภายในบ้ านด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ บริ การผสมสีด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ บริ การสัง่ ซื ้อ สินค้ ากรณีพิเศษ บริ การเปลีย่ นคืนสินค้ า จัดสาธิต D.I.Y (Do It Yourself) และ Workshop เป็ นต้ น จากลักษณะการประกอบธุรกิจดังกล่าว บริ ษัทได้ เปิ ดให้ สาขาแรกที่ศนู ย์การค้ าฟิ วเจอร์ พาร์ ค–รังสิต ในเดือน กันยายน 2539 และได้ ทาการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีสาขาที่เปิ ดดาเนินการแล้ ว ทังสิ ้ ้น 26 สาขา โดยตังอยู ้ ใ่ นเขตกรุงเทพฯ – ปริ มณฑล 15 สาขา และ เขตต่างจังหวัด 11 สาขา ซึง่ สามารถแยก แสดงได้ ดงั นี ้
พืน้ ที่ตงั ้
จานวน
กรุงเทพฯ และปริ มณฑล
15
ต่างจังหวัด
11
สาขา รังสิต, รัตนาธิเบศร์ , แฟชัน่ ไอส์แลนด์, ฟิ วเจอร์ มาร์ ท, เสรี เซ็นเตอร์ , เดอะมอลล์ บางแค, รัชดาภิเษก, เพลินจิต, รามคาแหง, พระราม2, ประชาชื่น, ลาดพร้ าว, แจ้ งวัฒนะ, ราชพฤกษ์ , สุวรรณภูมิ (บางนา) เดอะมอลล์ โคราช, ภูเก็ต, เชียงใหม่, พัทยา, หาดใหญ่, หัวหิน, สมุย, พิษณุโลก, ขอนแก่น, อุดรธานี, สุราษฎร์ ธานี
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 8
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทย่ อย บริ ษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด (“มาร์ เก็ต วิลเลจ”) ได้ จดั ตังขึ ้ ้นเมือ่ วันที่ 26 พฤษภาคม 2548 โดยตังอยู ้ ท่ ี่ 234/1 ถนน เพชรเกษม ตาบลหัวหิน อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ โดยบริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) เข้ าถือหุ้นทังหมดร้ ้ อยละ 99.99 ปั จจุบนั มีทนุ จดทะเบียน 5 ล้ านบาท มาร์ เก็ต วิลเลจ ถูกจัดตังขึ ้ ้นโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อบริ หารพื ้นทีใ่ ห้ เช่าให้ กบั บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ พร้ อมกับให้ บริ การทางด้ านสาธารณูปโภคแก่ ผู้เช่า เริ่ มต้ นดาเนินการที่โครงการ “หัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ” (Hua-Hin Market Village) ซึง่ ตังอยู ้ บ่ ริ เวณ ถนนเพชร เกษม อาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ ได้ เปิ ดดาเนินการในไตรมาสแรกปี 2549 2.3
โครงสร้ างรายได้ โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท สามารถแสดงแยกตามสายผลิตภัณฑ์หลักได้ ดงั นี ้ หน่วย : ล้ านบาท
ผลิตภัณฑ์
2549 จานวน
2548 %
จานวน
2547 %
จานวน
1. รายได้ จากการขายปลีก - กลุม่ วัสดุก่อสร้ างและอุปกรณ์ปรับปรุงบ้ าน 3,408.6 22.6 2,875.2 22.8 2,334.7 - กลุม่ ห้ องน ้าและสุขภัณฑ์ 2,749.1 18.2 2,323.5 18.4 1,987.9 - กลุม่ เครื่องครัวและเครื่องใช้ ไฟฟ้า 4,216.4 27.9 3,484.5 27.6 2,556.3 - กลุม่ อุปกรณ์ไฟฟ้า และโคมไฟ 1,306.6 8.7 1,119.5 8.9 982.9 - กลุม่ เครื่องนอนและสินค้ าตกแต่ง 2,152.9 14.3 1,731.7 13.7 1,332.3 2. รายได้ จากการขายให้ โครงการ 390.1 2.6 677.4 5.4 620.2 รวมรายได้ จากการขาย 14,223.7 94.2 12,211.8 96.8 9,814.3 3. รายได้ อื่น 880.1 5.8 410.6 3.2 220.2 รวม 15,103.8 100.0 12,622.4 100.0 10,034.5 หมายเหตุ รายการที่ 2 เป็ นการสัง่ ซื ้อจากเจ้ าของโครงการ ซึง่ ไม่สามารถจาแนกตามสายผลิตภัณฑ์ได้ รายการที่ 3 รายได้ อื่น ประกอบด้ วย ค่าเช่าพื ้นที่ ค่าส่งเสริมการขาย เป็ นต้ น
2.4
2546 %
จานวน
%
23.3 19.8 25.5 9.7 13.3 6.2 97.8 2.2 100.0
1,629.6 1,381.2 1,579.1 733.9 926.8 502.4 6,753.0 113.7 6,866.7
23.7 20.1 23.0 10.7 13.5 7.3 98.3 1.7 100.0
เป้าหมายการดาเนินธุรกิจของบริษัท
บริ ษัทฯ มีเป้าหมายทีจ่ ะเป็ นผู้นาในธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเพื่อการก่อสร้ าง ตกแต่ง และซ่อมแซม บ้ านและที่อยู่ อาศัย พร้ อมกับการให้ บริ การอย่างครบวงจร (One Stop Shopping) เพือ่ ให้ เกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ลกู ค้ า โดยใน ปั จจุบนั บริ ษัทฯ มีสนิ ค้ าสาหรับให้ บริ การมากกว่า 60,000 รายการ อีกทังมี ้ การจัดตังศู ้ นย์ฝึกอบรม (Training Center) เพื่อพัฒนาบุคลากรในทุกระดับให้ มีความรู้ความสามารถในการให้ บริ การที่ดีแก่ลกู ค้ า เพื่อให้ สามารถบรรลุเป้าหมาย บริ ษัทฯมีความพยายามที่จะลดค่าใช้ จา่ ยในการดาเนินงานลง และเพิ่มคุณภาพ ในการให้ บริ การ รวมทังพั ้ ฒนาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจค้ าปลีกให้ มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้บริ ษัทยังได้ จดั สร้ างศูนย์กระจายสินค้ า (Distribution Center) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ อีกทัง้ ยังช่วยให้ กระบวนการบริ หารสินค้ าคงคลังทังระบบมี ้ ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น โดยศูนย์กระจายสินค้ านีเ้ ดิมอยูท่ ี่ อาเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึง่ ต่อมาในเดือนกันยายน 2547 บริ ษัทฯ ได้ ย้ายไปที่ อาเภอวังน้ อย จังหวัด
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 9
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
พระนครศรี อยุธยา บนพื ้นที่ที่เป็ นกรรมสิทธิ์ของบริ ษัทเอง โดยพื ้นที่มีขนาดใหญ่ขึ ้น เพื่อรองรับการเพิ่มขึ ้นของสาขาใน อนาคต
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 10
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
3. การประกอบธุรกิจของแต่ ละสายผลิตภัณฑ์ 3.1
ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ 3.1.1 ผลิตภัณฑ์ เพื่อการค้ าปลีก บริ ษัทฯ แบ่งสายผลิตภัณฑ์ออกเป็ น 5 กลุม่ หลัก ดังนี ้ 1. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มวัสดุก่อสร้ างและอุปกรณ์ ปรับปรุ งบ้ าน ประกอบด้ วย บล๊ อคปูถนน ปูนซิ เมนต์ ฉนวนกันความร้ อน ไม้ แปรรูป ไม้ ประดิษฐ์ เช่น ไม้ คิ ้ว ไม้ บวั ประตู วงกบ หน้ าต่าง กระเบื ้องหลังคา ผลิตภัณฑ์ฝาผนัง ประปา สี อุปกรณ์ประตู หน้ าต่าง อุปกรณ์สวน ฮาร์ ดแวร์ เครื่ องมือช่าง เป็ นต้ น 2. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มห้ องนา้ และสุขภัณฑ์ ประกอบด้ วย เซรามิค สุขภัณฑ์ อุปกรณ์ที่ใช้ ในห้ องน ้า ก๊ อกน ้า อ่างอาบน ้า ฉากกันอาบน ้ ้า เป็ นต้ น 3. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเครื่องครัวและเครื่องใช้ ไฟฟ้า ประกอบด้ วย เครื่ องดูดควัน เตาแก๊ ส ชุดครัว เตาอบ แอร์ ตู้เย็น เครื่ องซักผ้ า รวมถึงอุปกรณ์เกี่ยวกับภาพและเสียง เป็ นต้ น 4. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มอุปกรณ์ ไฟฟ้า และโคมไฟ ประกอบด้ วย อุปกรณ์ไฟฟ้ า และแสงสว่างต่างๆ ได้ แก่ โคมไฟ ไฟกิ่ง ไฟแขวน หลอดไฟ สายไฟ อุปกรณ์ตดั ไฟ ปลัก๊ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ าภายในบ้ าน เป็ นต้ น 5. ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเครื่องนอน และสินค้ าตกแต่ ง ประกอบด้ วย ที่นอน ชุดเครื่ องนอน ผ้ าม่าน วอลล์เปเปอร์ พรม ชุดเฟอร์ นิเจอร์ อุปกรณ์ของใช้ ในบ้ าน ของแต่งบ้ าน เป็ นต้ น 3.1.2 พืน้ ที่เพื่อร้ านค้ าเช่ า บริ ษัทย่อย คือ มาร์ เก็ต วิลเลจ ได้ สทิ ธิการบริ หารพื ้นที่ในโครงการ “หัวหิน มาร์ เก็ต วิลเลจ” ทังสิ ้ ้น จานวน 36,500 ตารางเมตร โดยในจานวนนี ้ได้ ถกู จัดสรรเป็ นพื ้นที่เพื่อร้ า นค้ าเช่าจานวน 16,500 ตารางเมตร ปั จจุบนั มีร้านค้ าเข้ าร่วมโครงการแล้ วมากกว่าร้ อยละ 90 ของพื ้นทีท่ งหมด ั้
3.2
การตลาด และภาวะการแข่ งขัน ลักษณะตลาด และรูปแบบการแข่ งขัน 3.2.1 ภาวะการแข่ งขัน ปั จจุบนั บริ ษัทฯ เป็ นผู้นาในธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าเกี่ยวกับบ้ านพร้ อมบริ การที่ครบวงจร ในส่วนของคูแ่ ข่ง ขัน บริ ษัทฯ ได้ จาแนกผู้ประกอบการรายอื่นทีจ่ าหน่ายสินค้ าในลักษณะเดียวกัน ได้ ดงั นี ้ 1. ผู้ประกอบธุรกิจโฮมเซ็นเตอร์ ได้ แก่ โฮมเวิร์ค (HomeWorks) เป็ นหน่วยธุรกิจค้ าปลีกสินค้ า เกี่ยวกับบ้ านในเครื อเซ็นทรัล รี เทล คอร์ ปอเรชัน่ (Central Retail Corporation) ซึง่ ในปั จจุบนั เปิ ด ดาเนินการ 10 สาขา - สาขา เซ็นทรัลบางนา
- สาขา โรบินสันรัชดาภิเษก
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 11
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
-
สาขา เซ็นทรัลรัตนาธิเบศร์ สาขา เซ็นทรัลพระราม 2 สาขา เซ็นทรัลลาดพร้ าว สาขา โรบินสันรังสิต
-
สาขา เซ็นทรัล รังสิต สาขา เซ็นทรัลเฟสติวลั ภูเก็ต สาขา เพชรเกษม สาขา พัทยาใต้
อย่างไรก็ตาม บริ ษัทเห็นว่าธุรกิจนี ้ยังมีศกั ยภาพ และโอกาสทางการตลาดอีกมาก การที่มี ผู้ประกอบการในธุรกิจนี ้เพิม่ ขึ ้น จะช่วยกระตุ้นให้ ผ้ บู ริ โภครู้จกั และเปลีย่ นพฤติกรรมให้ หนั มาซื ้อสินค้ า จากร้ านสมัยใหม่ (Modern Trade) แบบโฮมเซ็นเตอร์ ได้ มากและเร็ วขึ ้น 2. ผู้ประกอบธุรกิจร้ านค้ าเฉพาะอย่ าง (Specialty Store) ได้ แก่ ร้ านค้ ารายย่อยทีเ่ น้ นการขาย สินค้ าเฉพาะอย่าง ดังนี ้ -
กลุม่ เซรามิคและสุขภัณฑ์ เช่น ร้ านสุขภัณฑ์เซ็นเตอร์ บุญถาวร Decor mart แกรนด์ โฮมมาร์ ท และ อินเตอร์ สขุ ภัณฑ์ โดยมีกลุม่ สินค้ าเน้ นทางด้ านเซรามิค และสุขภัณฑ์ และ จาหน่ายในราคาทีใ่ กล้ เคียงกับบริ ษัทฯ
-
กลุม่ เฟอร์ นิเจอร์ สินค้ าตกแต่งบ้ าน ได้ แก่ ร้ าน Index ประกอบธุรกิจค้ าปลีกสินค้ าทีเ่ กี่ยวกับ บ้ าน โดยเน้ นที่อปุ กรณ์ตกแต่ง เฟอร์ นิเจอร์ ชุดห้ องนอน ชุดรับแขก เครื่ องครัว โดยลูกค้ า เป้าหมายเป็ นกลุม่ ที่มีกาลังซื ้อสูง
-
ร้ านค้ ารายย่อยที่จาหน่ายเฉพาะวัสดุก่อสร้ าง ได้ แก่ ร้ านของ Cement Thai Home Mart ซึง่ เน้ นการจาหน่ายสินค้ าของกลุม่ เครื อซิเมนต์ไทย แต่สาหรับสินค้ าประเภทอื่น เช่น กระเบื ้อง สุขภัณฑ์ สี อุปกรณ์ไฟฟ้ า ประปา ยังมีจาหน่ายไม่มาก
-
ร้ านขายสินค้ าเฉพาะอย่าง เช่น ร้ านขายสี ร้ านขายอุปกรณ์ประปา ร้ านฮาร์ ดแวร์ ฯลฯ โดย ร้ านค้ าเหล่านี ้ยังขาดในเรื่ องความหลากหลายของสินค้ า อีกทังรู้ ปแบบการจัดเรี ยงยังเป็ นแบบ เก่า (Traditional Trade) ทาให้ ขาดอิสระในการเลือกซื ้อ
3. ผู้ประกอบธุรกิจค้ าปลีกขนาดใหญ่ เช่น เทสโก้ โลตัส (Tesco Lotus) บิ๊กซี (Big C) และคาร์ ฟูร์ (Carrefour) โดยธุรกิจเหล่านี ้มุง่ เน้ นด้ านการจาหน่ายสินค้ าเพื่อการอุปโภคและบริ โภคเป็ นหลัก ไม่ เน้ นสินค้ าเกี่ยวกับบ้ าน 3.2.2 กลยุทธ์ ทางการแข่ งขัน บริ ษัทฯ กาหนดกลยุทธ์เพื่อการแข่งขันไว้ 4 ด้ าน ดังนี ้ 1. สินค้ า บริ ษัทฯ มีสนิ ค้ าเพื่อการก่อสร้ าง ตกแต่ง ต่อเติม ซ่อมแซมบ้ านและที่อยูอ่ าศัยมากกว่า 60,000 รายการ ทังนี ้ ้เป็ นการสร้ างความหลากหลาย เพื่อให้ ลกู ค้ าสามารถเลือกซื ้อสินค้ าได้ อย่าง ครบถ้ วนตามต้ องการ นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ยังได้ พฒ ั นาสินค้ าบางรายการภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าของ
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 12
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ เอง (Private Brand) เพื่อเพิ่มทางเลือกให้ กบั ลูกค้ าที่ต้องการซื ้อสินค้ าคุณภาพดีราคาประหยัด เช่น สินค้ ากลุม่ วัสดุก่อสร้ างภายใต้ ชื่อ Home Base ผลิตภัณฑ์กลุม่ เครื่ องนอน และสินค้ าตกแต่ง ภายใต้ ชื่อ Home Concept และ Home Living 2. บริการ บริ ษัทฯ มีแผนก Design & Installation Service ซึง่ ให้ บริ การทีเ่ กี่ยวเนื่องกับผลิตภัณฑ์ทงั ้ การออกแบบส่วนต่างๆ ภายในบ้ าน รวมทังงานปรั ้ บปรุงซ่อมแซม นอกจากนี ้ยังมีบริ การจัดหาสินค้ า พิเศษ บริ การจัดส่งสินค้ า บริ การติดตัง้ รวมทังการมี ้ พนักงานที่มคี วามเชี่ยวชาญในตัวผลิตภัณฑ์คอยให้ คาปรึกษา และแนะนาวิธีการใช้ งาน ตลอดจนการแก้ ไขปั ญหาต่างๆ นอกจากนันบริ ้ ษัทฯ ยังมีบริ การ รับเหมางานติดตัง้ ต่อเติมระบบงานต่างๆ ภายในบ้ าน นอกจากนี ้ยังมีการนาเสนอบริ การรูปแบบใหม่ คือ Wood Center ที่ให้ บริ การด้ านการออกแบบ และผลิตเฟอร์ นิเจอร์ ไม้ ตามคาสัง่ ของลูกค้ า การ ให้ บริ การบารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้ า และเครื่ องใช้ ตา่ ง ๆ ภายในบ้ าน (Home Maintenance Services) 3. ทาเลที่ตงั ้ และจานวนสาขา บริ ษัทฯ พิจารณาเลือกเปิ ดสาขาในพื ้นที่ที่สะดวกต่อการเดินทางของ ลูกค้ าเป็ นหลัก โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริ ษัทฯ มีสาขาทังสิ ้ ้นจานวน 26 สาขา และมีแผนที่ จะขยายสาขาเพิม่ ในพื ้นที่เขตกรุงเทพ ปริ มณฑล และต่างจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 4. การบริหารงาน กลุม่ ผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัทฯ เป็ นผู้ที่มีประสบการณ์ในด้ านธุรกิจค้ าปลีก และธุรกิจที่เกี่ยวกับวัสดุก่อสร้ าง ทาให้ มีการผสมผสานและแลกเปลีย่ นความรู้ในตัวสินค้ าและรูปแบบ ของธุรกิจค้ าปลีก อีกทังบริ ้ ษัทฯ ยังให้ ความสาคัญกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยนาระบบ คอมพิวเตอร์ มาใช้ ในทุกๆ ขันตอนของการปฏิ ้ บตั งิ าน ตังแต่ ้ การสัง่ ซื ้อ การรับสินค้ า การจาหน่าย และ การควบคุมสินค้ าคงคลัง ซึง่ เป็ นผลให้ บริ ษัทฯ สามารถลดค่าใช้ จา่ ยในการดาเนินงานให้ ตา่ ลง 3.2.3 กลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย บริ ษัทฯ มีลกู ค้ าเป้าหมาย 2 กลุม่ คือ กลุม่ ลูกค้ ารายย่อยทัว่ ไป และกลุม่ ผู้รับเหมา ทังตลาดบ้ ้ านใหม่ ตลาดซ่อมแซม และต่อเติมบ้ าน (บ้ านเก่า) โดยตลาดบ้ านใหม่จะมีการขยายตัวตามสภาพทางเศรษฐกิจ หาก สภาพทางเศรษฐกิจอยูใ่ นช่วงการขยายตัว ตลาดก็จะขยายตัวตาม นัน่ ก็คือ เมื่อผู้บริ โภคมีอานาจการซื ้อที่ เพิ่มขึ ้นก็ต้องการที่จะซื ้อบ้ านใหม่ที่มีขนาดใหญ่ขึ ้น ในส่วนของตลาดบ้ านเก่าเองก็มกี ารขยายตัวอยูต่ ลอดเวลา ไม่วา่ จะเพื่อการซ่อมแซม บารุงรักษา ตกแต่ง หรื อต่อเติมเพื่อรองรับการขยายตัวของครอบครัว ซึง่ ในระยะหลัง ตลาดบ้ านเก่ามีแนวโน้ มการขยายตัวเพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ลูกค้ าส่วนใหญ่ของบริษัทฯ เป็ นลูกค้ ารายย่อย และไม่มีรายใดที่มียอดขายเกินกว่าร้ อยละ 30 ของ ยอดขายทังหมด ้ ทาให้ บริ ษัทฯ ไม่มีความเสีย่ งทีจ่ ะสูญเสียอานาจการต่อรองกับลูกค้ า 3.2.4 การตลาด และการจัดจาหน่ าย บริ ษัทฯ ทาการตลาดโดยเน้ นการเข้ าถึงกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายให้ ได้ ประสิทธิผลสูงสุด โฆษณาและ ประชาสัมพันธ์โดยใช้ สอื่ ท้ องถิ่น (Local Media) อาทิ Direct Mail สือ่ สิง่ พิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ เพื่อให้ เกิ ด
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 13
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
การยอมรับอย่างกว้ างขวางในด้ านภาพลักษณ์ของสินค้ า และการให้ บริ การที่มคี ณ ุ ภาพ อีกทังยั ้ งได้ มกี ารจัด กิจกรรม และ Workshop ต่าง ๆ เพื่อสร้ างการรับรู้ของผู้บริ โภคให้ ได้ มากที่สดุ พร้ อมกับการสร้ างความภักดีตอ่ ตราสินค้ า (Brand Loyalty) ผ่านโปรแกรมการสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้ า หรื อ CRM (Customer Relation Management) บริ ษัทฯ สนับสนุนการขาย โดยได้ มกี ารจับมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็ น หน่วยงานภาครัฐ เอกชน บริ ษัทคูค่ ้ า และสถาบันการเงิน ผ่านกิจกรรมทางการตลาดต่าง ๆ ซึง่ จะช่วยเพิม่ ช่องทางการจาหน่าย ขยายฐานลูกค้ า และแสดงควมเป็ นผู้นาในธุรกิจ ในส่วนของช่องทางการจัดจาหน่าย บริษัทฯ ได้ ขยายสาขาเพื่อให้ ครอบคลุมบริ เวณที่อยูอ่ าศัยหลักใน กรุงเทพฯ - ปริ มณฑล และมีแผนงานในการขยายสาขาไปในเขตเมืองใหญ่ในต่างจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 3.3
การจัดหาผลิตภัณฑ์ 3.3.1 ลักษณะการจัดหาผลิตภัณฑ์ บริ ษัทฯ จัดซื ้อสินค้ าโดยแบ่งตามสายผลิตภัณฑ์ แยกตามกลุม่ สินค้ า โดยมีการสัง่ ซื ้อจากผู้ผลิต หรื อ ตัวแทนจาหน่ายทังภายใน ้ และต่างประเทศ ในการจัดหา บริษัทฯ มุง่ เน้ นทีค่ ณ ุ ภาพ และความหลากหลายของ สินค้ าเป็ นหลัก โดยจะทาการคัดเลือผู้ผลิต หรื อตัวแทนจาหน่ายจากความสามารถในการผลิต คุณภาพการ ผลิต และคุณภาพการให้ บริ การ เบื ้องต้ นจะพิจารณาจากการได้ รับการรับรองมาตรฐานการผลิต นอกจากนี ้ยังมี การเข้ าเยี่ยมชมโรงงานเพื่อพิจารณาคุณภาพโดยรวมอีกด้ วย บริ ษัทฯ จัดหาสินค้ าจากผู้ผลิต และตัวแทนจาหน่ายกว่า 800 ราย ซึง่ โดยส่วนใหญ่ดาเนินงานร่วมกัน มาเป็ นระยะเวลานาน ซึง่ ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมาผู้ผลิต และตัวแทนจาหน่ายต่าง ๆ ได้ ให้ การสนับสนุน และ ดาเนินงานร่วมกันด้ วยดีมาโดยตลอด ไม่วา่ จะเป็ นด้ านโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมส่งเสริ มการ ขายร่วมกัน การร่วมกันวางแผนทางการขาย และการให้ บริ การอย่างใกล้ ชิด การสนับสนุนและเข้ าร่วมในสาขา ที่กาลังจะเปิ ด สาหรับวิธีการสัง่ ซื ้อสินค้ า ในกรณีที่สงั่ ซื ้อสินค้ าประเภทเดิม สาขาที่ต้องการสัง่ ซื ้อจะจัดทาคาสัง่ ซื ้อ ภายใต้ นโยบายของสานักงานกลาง ส่วนกรณีการสัง่ ซื ้อสินค้ าใหม่ สานักงานกลางจะเป็ นผู้ดาเนินการทังหมด ้ 3.3.2 ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม - ไม่มี -
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 14
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
4. การวิจัยและพัฒนา บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญต่อการวิจยั เพื่อการพัฒนาธุรกิจให้ สอดคล้ องกับสภาพความเป็ นจริ ง ของตลาด เพื่อ สามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าให้ ได้ มากที่สดุ เริ่มตังแต่ ้ การวิจยั ก่อนเปิ ดสาขา เพื่อรับทราบถึงสภาพ ตลาด และนาข้ อมูลที่ได้ มาเป็ นแนวทางในการกาหนดรูปแบบของสินค้ าและบริ การแก่กลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย นอกจากนันบริ ้ ษัทฯ ยังมีการวิจยั พฤติกรรมของกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจ ความ ต้ องการของลูกค้ าที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา การยอมรับในตราสินค้ า ฯลฯ และนาข้ อมูลที่ได้ มาใช้ ในการ วางแผนพัฒนารูบแบบสินค้ าและบริ การให้ ตรงกับความต้ องการของลูกค้ าให้ ได้ มากที่สดุ นอกจากนี ้บริษัทฯ ยังได้ ทา การตรวจสอบมาตรฐานการบริการ (Mystery Shopper) ของแต่ละสาขา และการวิจยั การตอบรับในด้ านรายการ ส่งเสริ มการขาย (Evaluate Mail) เพื่อใช้ ในการประเมินผลอันนามาสูก่ ารพัฒนาธุรกิจบนพื ้นฐานความต้ องการของ ลูกค้ า พร้ อมกันนี ้ บริ ษัทฯ ได้ ร่วมกับบริ ษัทคู่ค้าในการพัฒนาคุณภาพ และรูปแบบการใช้ งานของสินค้ าให้ ดขี ึ ้น โดยบริ ษัทฯ ได้ มีการรวบรวมข้ อมูลจากลูกค้ าเกี่ยวกับปั ญหา และข้ อบกพร่องที่เกิดขึ ้น เพื่อส่งให้ กบั ผู้ผลิตได้ ทาการ ปรับปรุงแก้ ไขปั ญหาต่าง ๆ รวมทังช่ ้ วยวิเคราะห์แนวโน้ มความต้ องการของผู้บริ โภค เพื่อเป็ นข้ อมูลที่ช่วยในการวาง แผนการผลิตต่อไป
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 15
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
5. ทรัพย์ สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ บริ ษัทมีสนิ ทรัพย์หลักที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ดังต่อไปนี ้ หน่วย : ล้ านบาท รายการ 1. 2. 3. 4.
จานวน
ที่ดิน สิทธิการเช่ารอตัดบัญชี อาคาร และส่วนปรับปรุงอาคาร สินทรัพย์ถาวรอื่น ๆ
1,861.58 622.42 5,253.21 1,720.99 9,458.20 (137.33) (1,237.49) 8,083.38
รวม
หัก ค่าตัดจาหน่ายสะสม ค่าเสื่อมราคาสะสม สินทรัพย์ ถาวรสุทธิ หมายเหตุ : 1. สิ นทรัพย์ถาวรอืน่ ๆ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ เครื ่องใช้สานักงาน เครื ่องตกแต่ง และอุปกรณ์ และ ยานพาหนะ 2. ยอดสิ นทรัพย์สทุ ธิ รวมรายการของบริ ษัทย่อยไว้จานวน 12.77 ล้านบาท 3. บริ ษัทได้นาสิ ทธิ การเช่าพร้อมทัง้ อาคารบนทีเ่ ช่าทัง้ หมดและเครื ่องตกแต่งติ ดตัง้ และอุปกรณ์ บางส่วนไปจดจานอง ค้าประกันภาระหนีส้ ิ นทีม่ ีต่อธนาคารพาณิ ชย์ วงเงิน 5,204 ล้านบาท ทัง้ นี ้ ณ เดือนมกราคม 2550 บริ ษัทฯ ได้มีการ ไถ่ถอนวงเงินจานอง จานวน 3,605 ล้านบาท
รายละเอียดที่ดิน สิทธิการเช่ารอการตัดบัญชี อาคารและส่วนปรับปรุงอาคารสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีดงั นี ้ ประเภทการ ถือครองกรรมสิทธิ์ 1. สิทธิการเช่าที่ดิน
2. สิทธิการเช่าพื ้นที่
3. ถือกรรมสิทธิ์
สาขาที่ตัง้ รังสิต, รัตนาธิเบศร์ , รามคาแหง, พระราม 2, แจ้ งวัฒนะ, ราชพฤกษ์ , สุวรรณภูมิ (บางนา) แฟชัน่ ไอส์แลนด์, ฟิ วเจอร์ มาร์ ท, เสรี เซ็นเตอร์ , เดอะมอลล์ บางแค, เดอะ มอลล์ โคราช, รัชดาภิเษก, เพลินจิต, ภูเก็ต, เชียงใหม่, ลาดพร้ าว, พัทยา, หาดใหญ่, สมุย ประชาชื่น, หัวหิน, พิษณุโลก, ขอนแก่น , อุดรธานี, ศูนย์กระจายสินค้ าวังน้ อย และสาขาที่อยูร่ ะหว่างรอเปิ ดดาเนินการ รวม
เนือ้ ที่ โดยประมาณ
มูลค่ าทางบัญชี (ล้ านบาท)
วันสิน้ สุดอายุ สัญญาเช่ า
สิทธิในการ ต่ อสัญญา
31 ก.ค. 2565– 27 ธ.ค. 2578
ไม่มี *
ที่ดิน 368.78
อาคาร 1,742.15
86,181 ตรม.
165.08
425.55
31 ธ.ค. 2559 – 14 ส.ค. 2574
ไม่มี
246 ไร่ 1 งาน 32 ตรว.
1,861.58
2,246.65
-
ไม่มี
2,395.44
4,414.35
98 ไร่ 1 งาน 25 ตรว.
หมายเหตุ : * บริ ษัทฯ มีสิทธิ ในการต่อสัญญาเช่าทีด่ ิ นจานวน 1 สาขา ทัง้ นี ้ รายละเอียดและเงือ่ นไขในการต่อสัญญาจะมีการตกลงกับ ผู้ให้เช่าในอนาคต
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 16
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
6. โครงการดาเนินงานในอนาคต บริ ษัทฯ มีโครงการที่จะขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง โดยมีการวางแผนที่จะเปิ ดให้ ครบ 30 สาขา ภายในปี 2550 สาหรับปี 2550 บริ ษัทฯ ได้ วางแผนที่จะเปิ ดสาขาเพิม่ อีกประมาณ 4-5 สาขา ทังในขตพื ้ ้นที่กรุงเทพฯ และต่างจังหวัด
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 17
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
7. ข้ อพิพาททางกฎหมาย บริ ษัทฯ มีคดีที่อยูร่ ะหว่างการฟ้ องร้ องกับลูกหนี ้ร้ านค้ าเช่ารายหนึง่ เกี่ยวกับการเรี ยกค่าเช่าและค่าบริ การ พื ้นที่ นอกจากนี ้ยังมีคดีที่ไม่ได้ เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโดยปกติ ซึง่ เมื่อรวมมูลหนี ้ทังสิ ้ ้นแล้ วยังมีจานวนที่น้อยกว่า ร้ อยละ 5 ของส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 18
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8. โครงสร้ างเงินทุน 8.1
หลักทรัพย์ ของบริษัทฯ 8.1.1 ทุนของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริ ษัทมีทนุ จดทะเบียน 1,938,146,860 บาท เป็ นหุ้นสามัญจานวน 1,938,146,860 หุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท เป็ นทุนที่เรี ยกชาระแล้ วจานวน 1,919,818,404 บาท 8.1.2 จานวนหุ้นหรือผลกระทบต่ อสิทธิในการออกเสียงของผู้ถอื หุ้นจากการออก TTF หรือ NVDR ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2549 บริ ษัทฯ มีการออกตราสารแสดงสิทธิในผลตอบแทนที่เกิดจากหลักทรัพย์ อ้ างอิง (THAI NVDR) จานวน 72,135,082 หุ้น หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 7.56 ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายแล้ วทังหมด ้ ทังนี ้ ้การนาหุ้นมาออกเป็ น NVDR ในส่วนนี ้จะไม่สามารถใช้ สทิ ธิออกเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้นได้ ยกเว้ นกรณี การใช้ สทิ ธิออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับการเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ (Delist) และจานวนหุ้นที่มีสทิ ธิออกเสียงของบริ ษัทฯ ก็จะลดลง ซึง่ จะทาให้ สทิ ธิในการออกเสียง ของผู้ถือหุ้นรายอื่นเพิ่มขึ ้นด้ วย ทังนี ้ ้ ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนสามารถตรวจสอบจานวนหุ้นทีเ่ ป็ น NVDR ได้ จากเว็บ ไซท์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาใช้ สทิ ธิออกเสียงต่อไป 8.1.3 ใบสาคัญแสดงสิทธิ (1) ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญให้ แก่พนักงานของบริษัทฯ ครัง้ ที่ 1 (ESOP-W1) โครงการเสนอขายใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญแก่พนักงานของบริษัทมีวตั ถุประสงค์เพื่อ เป็ นแรงจูงใจและตอบแทนการปฏิบตั ิงานของพนักงาน อีกทังเพื ้ ่อช่วยรักษาบุคลากรทีม่ ีความรู้ความสามารถ ในการผลักดันการดาเนินธุรกิจในระยะยาว สาหรับรายละเอียดของการออกใบสาคัญแสดงสิทธิฯ มีดงั นี ้ ชนิดของใบสาคัญแสดงสิทธิ อายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ วันที่ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ จานวนทีเ่ สนอขาย จานวนหุ้นที่รองรับการใช้ สทิ ธิ
: : : : :
ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราการใช้ สทิ ธิ ราคาใช้ สทิ ธิ วันกาหนดใช้ สทิ ธิ
: : : :
ระบุชื่อผู้ถือ และเปลีย่ นมือไม่ได้ 3 ปี นับแต่วนั ที่ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ วันที่ 15 กันยายน 2547 15,000,000 หน่วย 15,000,000 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 1.99 ของจานวนหุ้นที่เรี ยก ชาระแล้ วทังหมดของบริ ้ ษัทจานวน 753,000,000 หุ้น ณ วันที่ 30 เมษายน 2547 ไม่มีราคาเสนอขาย ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ต่อ หุ้นสามัญ 1.811 หุ้น 1 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ ในวันทาการสุดท้ ายของเดือนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิงหาคม และพฤศจิกายน และกรณีวนั กาหนดใช้ สทิ ธิตรงกับ วันหยุดทาการให้ เลือ่ นเป็ นวันทาการถัดไป ทังนี ้ ้วันใช้ สทิ ธิวนั ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 19
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
สัดส่วนการใช้ สทิ ธิ
:
การเสนอขาย
:
กรรมการบริษัทที่ได้ รับจัดสรร
:
แรก คือ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2547 และวันสุดท้ ายของการใช้ สิทธิ คือวันที่ 17 กันยายน 2550 ปี ที่ 1 ไม่เกินร้ อยละ25 ของใบสาคัญแสดงสิทธิที่ได้ รับจัดสรร ปี ที่ 2 เพิ่มขึ ้นไม่เกินร้ อยละ 30 ของใบสาคัญแสดงสิทธิที่ได้ รับ จัดสรร ปี ที่ 3 เพิ่มขึ ้นไม่เกินร้ อยละ 45 ของใบสาคัญแสดงสิทธิ ที่ได้ รับจัดสรร เสนอขายให้ แก่พนักงานของบริ ษัทฯ โดยเข้ าทางานก่อนวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 คุณคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล โดยได้ รับจัดสรร จานวน 750,000 หน่วย หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 5 จากจานวนทีเ่ สนอขายทังหมด ้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใบสาคัญแสดงสิทธิซื ้อหุ้นสามัญแก่พนักงานครัง้ ที่ 1 คงเหลือทังสิ ้ ้น จานวน 1,488,311 หน่วย (2) ใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญให้ แก่พนักงานของบริษัทฯ ครัง้ ที่ 2 (ESOP-W2) ชนิดของใบสาคัญแสดงสิทธิ อายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ วันที่ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ จานวนทีเ่ สนอขาย จานวนหุ้นที่รองรับการใช้ สทิ ธิ
: : : : :
ราคาเสนอขายต่อหน่วย อัตราการใช้ สทิ ธิ ราคาใช้ สทิ ธิ วันกาหนดใช้ สทิ ธิ
: : : :
สัดส่วนการใช้ สทิ ธิ
:
การเสนอขาย
:
ระบุชื่อผู้ถือ และเปลีย่ นมือไม่ได้ 3 ปี นับแต่วนั ที่ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2549 7,000,000 หน่วย 7,000,000 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.74 ของจานวนหุ้นที่เรี ยก ชาระแล้ วทังหมดของบริ ้ ษัทจานวน 947,310,416 หุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ไม่มีราคาเสนอขาย ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย ต่อ หุ้นสามัญ 1.80 หุ้น 1 บาท ต่อ 1 หุ้นสามัญ ในวันทาการสุดท้ ายของเดือนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิงหาคม และพฤศจิกายน และกรณีวนั กาหนดใช้ สทิ ธิตรงกับ วันหยุดทาการให้ เลือ่ นเป็ นวันทาการถัดไป ทังนี ้ ้วันใช้ สทิ ธิวนั แรก คือ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2549 และวันสุดท้ ายของการใช้ สิทธิ คือวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2552 พนักงานที่ได้ รับการจัดสรร สามารถใช้ สทิ ธิได้ ตามวัน กาหนดการใช้ สทิ ธิตลอดอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ เสนอขายให้ แก่พนักงานของบริ ษัทฯ โดยต้ องเป็ นพนักงาน ก่อนวันที่ 1 กรกฎาคม 2547
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 20
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
กรรมการบริษัทที่ได้ รับจัดสรร
:
คุณคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล โดยได้ รับจัดสรร จานวน 340,000 หน่วย หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 5 จากจานวนทีเ่ สนอขายทังหมด ้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ใบสาคัญแสดงสิทธิซื ้อหุ้นสามัญแก่พนักงานครัง้ ที่ 2 คงเหลือทังสิ ้ ้น จานวน 48,200 หน่วย 8.1.4 หุ้นกู้ บริ ษัทฯ ได้ มีการออกหุ้นกู้โดยใช้ ชื่อว่า หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกัน ของบริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็น เตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2548 โดยได้ ทาการออกในจานวน 2 ชุด สาหรับรายละเอียดมีดงั นี ้ ผู้แทนผูู ู้ถือหุ้นกู้ ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้
: :
ประเภทของหุ้นกู้
:
จานวน และมูลค่าที่เสนอขาย
:
จานวน และมูลค่าทังหมดที ้ เ่ สนอขาย มูลค่าที่ตราไว้ ตอ่ หน่วย ราคาเสนอขายต่อหน่วย วันออกหุ้นกู้ อายุ และวันครบกาหนดไถ่ถอน
: : : : :
อัตราดอกเบี ้ย
:
ธนาคารไทยพาณิชย์ (มหาชน) (ก) “หุ้นกู้ชดุ ที่ 1” ใช้ ชื่อว่า “หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกัน ของบริ ษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2548 ชุดที่ 1 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2551 (ข) “หุ้นกู้ชดุ ที่ 2” ใช้ ชื่อว่า “หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีประกัน ของบริ ษัท โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2548 ชุดที่ 2 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2552 หุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมี ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (ก) หุ้นกู้ชดุ ที่ 1 จานวน 500,000 หน่วย มูลค่า 500,000,000 บาท (ข) หุ้นกู้ชดุ ที่ 2 จานวน 500,000 หน่วย มูลค่า 500,000,000 บาท จานวน 1,000,000 หน่วย มูลค่า 1,000,000,000 บาท 1,000 บาท 1,000 บาท วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2548 (ก) หุ้นกู้ชดุ ที่ 1 อายุ 3 ปี นับแต่วนั ที่ออกหุ้นกู้ ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2551 (ข) หุ้นกู้ชดุ ที่ 2 อายุ 4 ปี นับแต่วนั ที่ออกหุ้นกู้ ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2552 (ก) หุ้นกู้ชดุ ที่ 1 อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 5.00 ต่อปี โดยกาหนดชาระทุก ๆ 3 เดือน ในวันกาหนดชาระดอกเบี ้ย (ข) หุ้นกู้ชดุ ที่ 2 อัตราดอกเบี ้ยคงที่ร้อยละ 5.40 ต่อปี โดยกาหนดชาระทุก ๆ 3 เดือน ในวันกาหนดชาระดอกเบี ้ย
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 21
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
8.2
ผู้ถอื หุ้น
รายชื่อและสัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นของบริ ษัทฯ (ทังนี ้ ้รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้ องตามมาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2549 ประกอบด้ วย ลาดับ
ชื่อบุคคล / นิติบุคคล
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
บริ ษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด บริ ษัท อเมริ กนั อินเตอร์ แนชชัน่ แนล แอสชัวรันส์ จากัด นายนิติ โอสถานุเคราะห์ Chase Nominees Limited Goldman Sachs International นายมานิต อุดมคุณธรรม HSBC (Singapore) Nominees PTE Limited UBS AG Singapore, Branch - PB Securities Client Custody อืน่ ๆ
8.3
จานวนหุ้น 275,956,146 200,914,461 72,135,082 48,921,091 45,470,000 32,382,900 31,844,900 30,254,110 25,354,304 12,780,841 178,072,655
ร้ อยละของจานวนหุ้นที่ จาหน่ ายแล้ วทัง้ หมด 28.92 21.06 7.56 5.13 4.77 3.39 3.34 3.17 2.66 1.34 18.66
นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล
บริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 50 ของกาไรสุทธิในแต่ละปี ทังนี ้ ้การพิจารณา จ่ายเงินปั นผลจะมีการนาปั จจัยต่างๆ มาพิจารณาประกอบด้ วย เช่น ผลการดาเนินงาน และฐานะการเงินของบริ ษัท สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องในการบริ หารงานของบริ ษัท โดยในการจ่ายเงินปั นผลจะต้ อง ได้ รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้น และคณะกรรมการบริ ษัททุกครัง้ การจ่ายเงินปั นผลในช่วงปี 2546 – 2548 เป็ นดังนี ้
เงินปั นผลจ่าย (บาทต่อหุ้น)
2548
2547
2546
0.20
0.18
0.12
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 22
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9. การจัดการ 9.1
โครงสร้ างการจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549
คณะกรรมการบริ ษทั
กรรมการบริ หาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการผูจ้ ดั การ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านพัฒนาธุรกิจ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านจัดซื้ อต่างประเทศ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านปฏิบตั ิการ
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านจัดซื้ อสิ นค้า Hard Line ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านจัดซื้ อสิ นค้า Soft Line
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านทรัพยากรบุคคล ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 23
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านบัญชี และการเงิน ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านระบบซัพพลายเชน
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ ด้านการตลาด
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มี คุณสมบัติครบถ้ วนตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศ คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ.12/2543 เรื่ อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ เสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ ฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 ทุกประการ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 คณะกรรมการบริษัทมีจานวนทังสิ ้ ้น 12 ท่าน ประกอบด้ วย ชื่อ – นามสกุล 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายพงส์ สารสิน 3. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 4. นายจุมพล มีสขุ 5. นายอภิชาติ นารถศิลป์ 6. นางสุวรรณา พุทธประสาท 7. นายมานิต อุดมคุณธรรม 8. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 9. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 10. นายอภิลาศ โอสถานนท์ 11. นายทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ 12. นายชนินทร์ รุนสาราญ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ และกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผู้จดั การ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ
หมายเหตุ : เลขานุการคณะกรรมการบริ ษทั คือ นางสาว วรรณี จันทามงคล
กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพัน ได้ แก่ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 5. นายมานิต อุดมคุณธรรม 2. นายจุมพล มีสขุ 6. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 3. นายอภิชาติ นารถศิลป์ 7. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 4. นางสุวรรณา พุทธประสาท โดยกรรมการ 2 ใน 7 คนลงลายมือชื่อร่วมกันพร้ อมประทับตราสาคัญของบริ ษัทฯ อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการมีอานาจ และหน้ าที่บริ หารงานของบริษัทฯ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ ข้ อบังคับของบริ ษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และมีอานาจกระทาการใดๆ ตามที่ระบุไว้ ใน หนังสือบริ คณห์สนธิ
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 24
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
2. คณะกรรมการมีอานาจแต่งตังกรรมการจ ้ านวนหนึง่ ให้ เป็ นคณะกรรมการบริ หาร โดยมีจานวนตามที่ คณะกรรมการกาหนด ซึง่ จะประกอบด้ วยประธานกรรมการบริ หาร และรองประธานกรรมการบริหารเพื่อ ปฏิบตั ิงานตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 3. คณะกรรมการอาจแต่งตังบุ ้ คคลอื่นใดให้ ดาเนินกิจการของบริ ษัทฯ ภายใต้ การควบคุมของคณะกรรมการ หรื ออาจมอบอานาจเพื่อให้ บคุ คลดังกล่าวมีอานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร และภายในเวลาที่ กรรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลีย่ นแปลงหรื อแก้ ไขอานาจนันๆ ้ ก็ได้ 4. คณะกรรมการต้ องประชุมอย่างน้ อยสามเดือนต่อครัง้ 5. กรรมการจะต้ องไม่ประกอบกิจการซึง่ มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษัทฯ หรื อเข้ าเป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนสามัญ หรื อเป็ นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดในห้ างหุ้นส่วนจากัด หรื อ เป็ นกรรมการของบริษัทเอกชนหรื อบริ ษัทอื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการ แข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ ไม่วา่ จะทาเพื่อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์อื่น เว้ นแต่จะได้ แจ้ งที่ประชุมผู้ ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตัง้ 6. กรรมการจะต้ องแจ้ งให้ บริษัทฯ ทราบทันทีที่มีสว่ นได้ เสียไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้ อมในสัญญาใดๆ หรื อถือหุ้นหรื อหุ้นกู้ในบริ ษัทฯ และบริ ษัทในเครื อ 7. กรรมการที่มีสว่ นได้ เสียในเรื่ องใด จะไม่มีสทิ ธิ์ออกเสียงในเรื่ องนัน้ 8. การตัดสินใจในการลงทุนขยายสาขา หรื อการลงทุนที่มีมลู ค่าสูงทีไ่ ม่ใช่การดาเนินงานตามปกติของบริ ษัท เว้ นแต่เรื่ องต่อไปนี ้ ซึง่ คณะกรรมการต้ องได้ รับอนุมตั จิ ากผู้ถือหุ้นก่อนดาเนินการ - เรื่ องที่กฎหมายกาหนดให้ ต้องได้ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น - การทารายการที่เกี่ยวข้ องกันที่มีมลู ค่าเกินกว่าร้ อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของงบการเงินล่าสุด - การซื ้อหรื อขายสินทรัพย์สาคัญที่มลู ค่าเกินกว่าร้ อยละ 50 ของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุดของบริ ษัท 9. ในกรณีที่ที่ประชุมมีการลงคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานคณะกรรมการเป็ นผู้ชี ้ขาด กรรมการบริหาร บริ ษัทได้ แต่งตังกรรมการบริ ้ หาร 3 ท่าน ประกอบด้ วย ชื่อ – นามสกุล 1. นายมานิต อุดมคุณธรรม 2. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 3. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร กรรมการบริ หาร
อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. พิจารณา และกลัน่ กรองเรื่ องทีต่ ้ องตัดสินใจเบื ้องต้ น ก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ 2. พิจารณาการลงทุน การขยายสาขา การจัดสรรงบประมาณประจาปี และการเสนอแผนกลยุทธ์บริ ษัทต่อ คณะกรรมการ ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 25
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
กรรมการตรวจสอบ บริ ษัทฯ ได้ แต่งตังกรรมการตรวจสอบ ้ 3 ท่าน ประกอบด้ วย ชื่อ – นามสกุล 1. นายอภิลาศ โอสถานนท์ 2. นายทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ 3. นายชนินทร์ รุนสาราญ
ตาแหน่ ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
อานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานความถูกต้ อง การเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ และความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงินของบริ ษัทฯ 2. สอบทานความเหมาะสม และประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในของ บริ ษัทฯ 3. สอบทานการปฏิบตั ิการของบริษัทฯ ตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้ อกาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริษัท 4. สอบทานระบบการบริ หาร และจัดการความเสีย่ งของฝ่ ายจัดการ 5. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ 6. ปรึกษาหารื อและพิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายใน และ ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ให้ มีความสัมพันธ์และเกื ้อกูลกัน 7. ประสานความเข้ าใจให้ อยูใ่ นแนวทางเดียวกันระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบ ตรวจสอบ และผู้สอบบัญชี
ฝ่ ายจัดการ
ฝ่ าย
8. ให้ ความเห็นชอบในการแต่งตัง้ โยกย้ าย และถอดถอน รวมทังการพิ ้ จารณาผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ของ ผู้อานวยการตรวจสอบสานักงานตรวจสอบภายใน 9. พิจารณาอนุมตั ิระเบียบข้ อบังคับของสานักงานตรวจสอบภายใน 10. สอบทาน และพิจารณาร่วมกับผู้ตรวจสอบภายใน เกี่ยวกับผลการตรวจสอบ ข้ อสังเกต และข้ อเสนอแนะ 11. สอบทาน และพิจารณาร่วมกับผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับรายงานทางการเงิน ข้ อสังเกต และข้ อเสนอแนะ 12. พิจารณาการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัท ในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกัน ขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ มีความถูกต้ องและครบถ้ วน
หรื อรายการที่อาจมีความ
13. จัดทารายงานการกากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจาปี ของ บริ ษัทฯ ซึง่ รายงานดังกล่าวต้ องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ 14. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนด รับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
หรื อคณะกรรมการบริ ษัท
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 26
มอบหมายภายในขอบเขตความ
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
15. สอบทานและแก้ ไขระเบียบข้ อบังคับคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นปกติปีละครัง้ เพื่อให้ ทนั สมัย เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมขององค์กร
และ
16. ให้ ความเชื่อมัน่ และยืนยันในความมีอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี ผู้บริหาร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549) 1. 2. 3. 4.
ชื่อ – นามสกุล นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล น.ส.ธาราทิพย์ ตรี มนั่ คง นายวทัญญู วิสทุ ธิโกศล นายอนุชา จิตจาตุรันต์
ตาแหน่ ง กรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
5. น.ส.จารุโสภา ธรรมกถิกานนท์ 6. นายวีรพันธ์ อังสุมาลี
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
7. นายทินกร 8. น.ส.ริ ษนา 9. นายณัฎฐ์ 10. น.ส.วรรณี
ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
พรหมพล ติลกานนท์ จริ ตชนะ จันทามงคล
หน่ วยงานที่รับผิดชอบ งานด้ านจัดซื ้อต่างประเทศ งานด้ านพัฒนาธุรกิจ งานด้ านจัดซื ้อกลุม่ สินค้ า Hard Line และ ธุรกิจ The Power งานด้ านจัดซื ้อกลุม่ สินค้ า Soft Line งานด้ านปฏิบตั ิการ และรักษาการงานด้ าน เทคโนโลยีสารสนเทศ งานด้ านทรัพยากรบุคคล งานด้ าน Supply Chain งานด้ านการตลาด งานด้ านบัญชี, การเงิน และ กฎหมาย
ขอบเขตอานาจหน้ าที่กรรมการผู้จัดการ ตามที่ได้ กาหนดไว้ ในมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครัง้ ที่ 7/2544 ซึง่ ประชุมเมื่อวันที่ 21 มิถนุ ายน 2544 และที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครัง้ ที่ 9/2544 ซึง่ ประชุมเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2544 กรรมการผู้จดั การเป็ นผู้รับมอบอานาจจากคณะกรรมการบริ ษัท เกี่ยวกับการดาเนินงานตามธุรกิจปกติของบริ ษัท ซึง่ หมายถึง
ให้ ทาหน้ าที่แทนเฉพาะในเรื่ องที่
1) การสัง่ ซื ้อสินค้ ามาเพื่อจาหน่าย 2) การอนุมตั ิคา่ ใช้ จา่ ยในการดาเนินงาน ค่าใช้ จา่ ยในการขาย และการบริ หาร และรายจ่ายลงทุนให้ เป็ นไปตามงบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ทังนี ้ ้ ไม่รวมการกู้ยืมและการค ้า ประกัน 3) การดาเนินงานอื่นๆ ที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการ เช่น การจัดหาพื ้นที่เพื่อขยายสาขา เป็ นต้ น ทังนี ้ ้กรรมการผู้จดั การไม่สามารถที่จะอนุมตั ิรายการที่ตนหรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งทางผล ประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัท หรื อบริ ษัทย่อย
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 27
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.2
การสรรหากรรมการ
คณะกรรมการจะจัดตังโดยที ้ ่ประชุมใหญ่ผ้ ถู ือหุ้นเพื่อเป็ นผู้ดาเนินกิจการของบริษัท ภายใต้ การควบคุมของที่ ประชุมใหญ่ผ้ ถู ือหุ้น และตามข้ อบังคับของบริษัท ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ไม่มีคณะกรรมการสรรหาโดยในการคัดเลือกบุคคลที่ จะได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นกรรมการ ให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตังกรรมการตามหลั ้ กเกณฑ์ และวิธีการดังต่อไปนี ้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุ้นต่อหนึง่ เสียง 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้ องใช้ คะแนนเสียงที่มีอยูท่ งหมดตาม ั้ ข้ อ1. เลือกตังบุ ้ คคลคนเดียวหรื อ หลายคนเป็ น กรรมการได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึง่ ได้ รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการเท่าจานวน กรรมการทีจ่ ะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่บคุ คลซึง่ ได้ รับการเลือกตังในล ้ าดับถัดลงมามี คะแนนเสียงเท่ากันเกินจานวนกรรมการที่จะพึงมี หรื อจะพึงเลือกตังในครั ้ ง้ นันให้ ้ ผ้ เู ป็ นประธานในที่ ประชุมเป็ นผู้ออกเสียงชีข้ าดเพิ่มอีกหนึง่ เสียง กรรมการที่เป็ นตัวแทนจากกลุ่มผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ โดยกรรมการเหล่านี ้เป็ นตัวแทนกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึง่ ถือหุ้นอยูใ่ นบริ ษัท มากกว่าร้ อยละ 20 ชื่อ – นามสกุล 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 3. นายจุมพล มีสขุ 4. นางสุวรรณา พุทธประสาท 5. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 9.3
ตัวแทนกลุ่มผู้ถอื หุ้น บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ บมจ. ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและกรรมการบริ หาร
ค่ าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหารบริษัท ก) ค่าตอบแทนกรรมการ ตามมติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2549 อนุมตั ใิ ห้ คา่ ตอบแทนแก่คณะกรรมการ และ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อเป็ นค่าเบี ้ยประชุมไม่เกินปี ละ 8 ล้ านบาท และค่าบาเหน็จอีกไม่เกินปี ละ 2 ล้ าน บาท โดยรายละเอียดของการจ่ายค่าตอบแทนในปี 2549 มีดงั นี ้ ชื่อ – นามสกุล 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายพงส์ สารสิน 3. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 4. นายจุมพล มีสขุ 5. นายอภิชาติ นารถศิลป์ 6. นางสุวรรณา พุทธประสาท
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 28
จานวน 910,000 445,000 490,000 445,000 445,000 445,000
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ชื่อ – นามสกุล 7. นายมานิต อุดมคุณธรรม 8. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 9. นายอภิลาศ โอสถานนท์ 10. นายทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ 11. นายชนินทร์ รุนสาราญ
ตาแหน่ ง กรรมการและประธานกรรมการบริ หาร กรรมการและกรรมการบริ หาร ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ รวม
จานวน 3,650,000 490,000 775,000 695,000 695,000 9,485,000
หมายเหตุ : - นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล ได้รบั ค่าตอบแทนในฐานะผูบ้ ริ หารของบริ ษัท - นายอภิ ชาติ นารถศิ ลป์ เป็ นผู้ได้รบั มอบอานาจจาก บริ ษัท อเมริ กนั อินเตอร์ แนชชัน่ แนล แอสชัวรันส์ จากัด โดยค่าตอบแทนผู้บริ หาร บริ ษัทได้ทาจ่ายในนาม บริ ษัท อเมริ กนั อินเตอร์ แนชชัน่ แนล แอสชัวรันส์ จากัด
ข) ค่าตอบแทนผู้บริ หารบริษัท ค่าตอบแทนทังหมดของผู ้ ้ บริ หารในปี 2548 และ 2549 ได้ แก่ เงินเดือน, โบนัส และค่าตอบแทนอื่นๆ คิดเป็ นจานวนรวมทังสิ ้ ้น 44.5 ล้ านบาท และ 81.1 ล้ านบาท ตามลาดับ นอกจากนี ้ ผู้บริ หารของบริษัท ยังได้ รับค่าตอบแทนอื่นในรูปใบสาคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื ้อหุ้นสามัญ ของบริ ษัทครัง้ ที่ 1 และครัง้ ที่ 2 9.4
การป้องกันการนาข้ อมูลภายในไปใช้ ประโยชน์ ของผู้บริหาร บริ ษัทมีนโยบาย และวิธีการดูแลผู้บริ หารในการนาข้ อมูลภายในของบริ ษัท ไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตนดังนี ้ - ให้ ความรู้แก่ผ้ บู ริ หารในฝ่ ายต่างๆ เกี่ยวกับหน้ าที่ที่ผ้ บู ริ หารต้ องรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษัท และบท กาหนดโทษตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามข้ อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - บริ ษัทจะกาหนดให้ ผ้ บู ริ หารรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ตอ่ สานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และจัดส่งสาเนารายงานนี ้ให้ แก่บริ ษัทในวันเดียวกับวันที่สง่ รายงานต่อสานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - บริ ษัทจะดาเนินการส่งหนังสือเวียนแจ้ งให้ ผ้ บู ริ หารทราบว่า ผู้บริ หารที่ได้ รับทราบข้ อมูลภายในทีม่ ีผลต่อการ เปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้ องระงับการซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบการเงิน หรื อข้ อมูลภายในนันจะเปิ ้ ดเผยต่อสาธารณชน และห้ ามไม่ให้ เปิ ดเผยข้ อมูลทีเ่ ป็ นสาระสาคัญนันต่ ้ อบุคคล อื่น
ทังนี ้ ้ หากมีการกระทาการฝ่ าฝื นระเบียบปฏิบตั ิงานดังกล่าวข้ างต้ น บริ ษัทจะดาเนินการทางวินยั เพื่อพิจารณา ลงโทษตามสมควรแก่กรณี
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 29
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.5
บุคลากร จานวนพนักงาน สานักงานกลาง (คน) สาขา (คน)* รวม (คน) จานวนสาขา
31 ธ.ค. 2549 1,041 2,756 3,797 26
31 ธ.ค. 2548 838 2,174 3,012 20
31 ธ.ค. 2547 752 1,956 2,708 18
* หมายเหตุ : รวมพนักงานของสาขาทีอ่ ยู่ระหว่ างเตรียมเปิ ดดาเนินการปี 2550
ระหว่างปี 2548 และ 2549 มีคา่ ตอบแทนในรูปเงินเดือน และสวัสดิการ รวมทังสิ ้ ้น 695.71 ล้ านบาท และ 873.35 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยในรอบระยะเวลา 3 ปี ที่ผา่ นมาบริ ษัทไม่เคยมีกรณีพิพาทด้ านแรงงานใดๆ เกี่ยวกับ พนักงาน นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริ ษัทฯ ให้ การส่งเสริ ม และสนับสนุนบุคลากรให้ ได้ รับการพัฒนาในทุก ๆ ด้ าน ทังเรื ้ ่ องความรู้ในตัวสินค้ า (Product Knowledge) เรื่ องมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน การให้ บริ การ การบริ หารจัดการ รวมถึงเรื่ องทัศนคติ และการ ปฏิบตั ิงานร่วมกัน (Attitude and Team Work) เพื่อให้ บคุ ลากรมีความรู้ ทักษะ และมีทศั นคติที่ดีตอ่ องค์กร เพื่อให้ สามารถปฏิบตั งิ านได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะนามาซึง่ ความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้ า ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ให้ การส่งเสริ ม และสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในด้ านต่าง ๆ ดังนี ้ 1. บริ ษัทฯ ได้ จดั สรรงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรเป็ นเงิน 2% ของเงินเดือนรวมทังบริ ้ ษัท 2. บริ ษัทฯ จัดให้ มีศนู ย์ DIY workshop โดยมีวิทยากรที่มคี วามรู้ และเชี่ยวชาญแยกตามกลุม่ สินค้ า จานวน 12 กลุม่ ในการแนะนา และอบรมบุคลากรให้ มีความรู้เกี่ยวตัวสินค้ า ซึง่ ถือเป็ นความรู้ที่สาคัญที่พงึ มี 3. บริ ษัทฯ จัดให้ แต่ละสาขามี Learning Center สาหรับให้ บคุ ลากรที่เข้ าใหม่ได้ เรียนรู้ด้วยตัวเอง (SelfLearning) ผ่านระบบ E-Learning ในหลักสูตรที่มีมาตรฐานของแต่ละตาแหน่งงาน 4. บริ ษัทฯ จัดให้ มีระบบ On the Job Training ขึ ้น สาหรับบุคลากรระดับผู้บงั คับบัญชา เพื่อให้ เกิดการสอน งาน และถ่ายทอดความรู้ในส่วนงานที่รับผิดชอบอย่างเป็ นระบบ 5. บริ ษัทฯ จัดให้ มี Individual Development Program เพื่อพัฒนาบุคลากรที่เป็ นกลุม่ Talent Group ให้ สามารถทีจ่ ะเลือ่ นตาแหน่งที่สงู ขึ ้น รองรับการขยายงานของบริ ษัทได้ ทนั ที 6. บริ ษัทฯ ส่งเสริ มให้ บคุ ลากรได้ ไปศึกษางานในต่างประเทศ เพื่อให้ สามารถนาความรู้ และวิทยาการใหม่ๆ ที่ ได้ รับมาพัฒนา ปรับปรุงในส่วนงานที่เกี่ยวข้ องได้ 7. บริ ษัทฯ สนับสนุนให้ บคุ ลากรได้ ศกึ ษาต่อในระดับปริ ญญาตรี พร้ อมทังมี ้ ทนุ สาหรับเรียนภาษาอังกฤษ เพื่อ เป็ นการเพิ่มศักยภาพในตัวบุคลากร ให้ สามารถปฏิบตั งิ านได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 30
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
9.6
การกากับดูแลกิจการ
ที่ผา่ นมาคณะกรรมการบริ ษัทได้ ปฏิบตั ิตามข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดี (Code of Best Practices) เพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น และเพิ่มประสิทธิภาพในแง่การควบคุมภายในควบคูก่ นั ไป ดังนี ้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการ บริษัทฯ ได้ เล็งเห็นความสาคัญของการมีบรรษัทภิบาลที่ดี โดย มุง่ เน้ นในเรื่ องความโปร่งใสในการดาเนินงาน การเปิ ดเผยข้ อมูลที่ถกู ต้ อง ครบถ้ วน แก่นกั ลงทุน และสาธารณชนได้ รับ ทราบ และสามารถตรวจสอบการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ 2. สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริ ษัทฯ ยึดถือนโยบายการให้ สทิ ธิพื ้นฐานต่อผู้ถือ หุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็ นการให้ สทิ ธิในการซื ้อขายหรื อโอนหุ้น สิทธิการเข้ าร่วมประชุมเพื่อออกเสียง ลงคะแนนในเรื่ องที่มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงของบริ ษัท สิทธิในการแต่งตัง้ หรื อถอดถอนกรรมการ แต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชี สิทธิในส่วนแบ่งกาไร สาหรับการเข้ าร่วมประชุม บริ ษัทฯจะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้ อมสาระสนเทศที่เกี่ยวข้ องแก่ ผู้ถือหุ้นล่วงหน้ าก่อนวันประชุม 7 วัน ในกรณีที่ผ้ ถู ือหุ้นไม่สามารถเข้ าประชุมได้ บริ ษัทฯ จะจัดให้ กรรมการอิสระเป็ น ผู้รับมอบอานาจแทน 3. สิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสีย บริ ษัทฯ เคารพในสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสีย และได้ กาหนดเป็ นแนวปฏิบตั ิไว้ ใน จรรยาบรรณของบริษัทฯ เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจว่าสิทธิตามกฎหมายใดๆ ที่เกี่ยวข้ องกับผู้มีสว่ นได้ เสีย ไม่วา่ จะเป็ นผู้ถือ หุ้น พนักงาน ผู้บริ หาร ลูกค้ า กิจการคูค่ ้ า ตลอดจนสาธารณชน และสังคมจะได้ รับการดูแล นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ยัง ได้ เสริ มสร้ างความร่วมมือกับผู้มสี ว่ นได้ เสียในกลุม่ ต่างๆ เพื่อให้ สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้ ด้วยดี มีความมัน่ คงโดย ตอบแทนผลประโยชน์ที่เป็ นธรรมแก่ทกุ ฝ่ าย เพื่อสร้ างความสาเร็จในระยะยาว 4. การประชุมผู้ถือหุ้น ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริ ษัทฯ ได้ กาหนดให้ มีขนตอนการประชุ ั้ มผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้ อง ตามกฎหมาย ตังแต่ ้ การเรี ยกประชุม การจัดส่งเอกสารและแจ้ งวาระการประชุมพร้ อมความเห็นของคณะกรรมการ บริ ษัทล่วงหน้ าตามกฎหมาย หรือไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น โดยกาหนดทังภาษาไทย ้ และภาษาอังกฤษ ขันตอนในการด ้ าเนินการประชุม การจัดทาและส่งรายงานการประชุมให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย นอกจากนี ้ บริษัทฯ ได้ ประกาศลงในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และ ก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน นอกจากนี ้บริ ษัทฯ มีนโยบายในการแต่งตังกรรมการอิ ้ สระอย่างน้ อย 1 คน เป็ นผู้รับ มอบฉันทะการออกเสียงแทนผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้ าร่วมประชุม ก่อนเริ่ มการประชุม บริษัทฯ ได้ ถือปฏิบตั ิให้ มกี ารแถลงแก่ผ้ ถู ือหุ้นให้ ทราบถึงสิทธิตามข้ อบังคับของบริ ษัทฯ การดาเนินการประชุม วิธีการใช้ สทิ ธิลงคะแนน และสิทธิในการแสดงความเห็นรวมทังการตั ้ งค ้ าถามใดๆ ต่อที่ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม โดยประธานที่ประชุม ตัวแทนกรรมการตรวจสอบ และผู้สอบบัญชีได้ เข้ าร่วมประชุม เพื่อให้ ข้อมูล ตอบข้ อซักถามตามวาระต่างๆ ทังนี ้ ้ประธานกรรมการที่ประชุมได้ จดั สรรเวลาให้ อย่างเหมาะสม อีกทัง้ ส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีโอกาสแสดงความเห็น และซักถามในที่ประชุมอย่างเท่าเทียมกัน*ภายหลังการประชุม บริ ษัทฯ จะ
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 31
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ทาการแจ้ งมติที่ประชุมแก่ตลาดหลักทรัพย์ทนั ที หรื อภายใน 9.00 น ของวันทาการถัดไป ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ได้ มีการจัดส่ง รายงานการประชุมให้ ตลาดหลักทรัพย์เช่นกัน โดยจัดส่งภายใน 14 วัน ในการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานที่ประชุมได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีสทิ ธิอย่างเท่าเทียมกัน ในการตรวจสอบ การดาเนินงานของบริ ษัทฯ สอบถาม แสดงความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะต่างๆ รวมทังได้ ้ บนั ทึกประเด็นซักถามและ ข้ อคิดเห็นที่สาคัญไว้ ในรายงานการประชุมแล้ ว 5. ภาวะผู้นาและวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการได้ มีสว่ นร่วมในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย แผนธุรกิจ และ งบประมาณของบริ ษัทฯ ตลอดจนกากับดูแลให้ ฝ่ายบริ หารดาเนินการให้ เป็ นไปตามแผน และงบประมาณที่กาหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. ความขัดแย้ งของผลประโยชน์ บริ ษัทฯ ได้ ป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ ้น โดยได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลของการทารายการระหว่างกัน ตามหลักเกณฑ์ ของตลาดหลักทรัพย์ 7. จริ ยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ ได้ ออกข้ อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผู้บริ หาร และ พนักงาน เพื่อให้ ยดึ ถือเป็ นแนวปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้ า คูค่ ้ า คูแ่ ข่ง สังคม และต่อพนักงานด้ วยกัน ด้ วยความ ซื่อสัตย์สจุ ริ ต ทังนี ้ ้ได้ มีการติดตามการปฏิบตั ิตาม รวมถึงกาหนดบทลงโทษทางวินยั ไว้ ด้วย 8. การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร คณะกรรมการของบริษัทฯ มีจานวน 12 คน ประกอบด้ วย - กรรมการทีเ่ ป็ นกรรมการบริ หาร 3 คน - กรรมการที่ไม่ได้ เป็ นกรรมการบริหาร 6 คน - กรรมการตรวจสอบ 3 คน บริ ษัทฯ มีกรรมการที่เป็ นอิสระทังหมด ้ 3 คน คิดเป็ นร้ อยละ 25 หรื อเท่ากับ 1 ใน 4 ของคณะกรรมการ ทังหมด ้ 9. การรวมหรื อแยกตาแหน่ง ประธานกรรมการบริ ษัท ประธานกรรมการบริ หาร และกรรมการผู้จดั การของ บริ ษัทฯ ไม่ได้ เป็ นบุคคลเดียวกัน อีกทังมี ้ การแบ่งแยกบทบาทหน้ าที่การกากับดูแล และการบริหารออกจากกันอย่าง ชัดเจน ทังนี ้ ้เพื่อเป็ นการถ่วงดุลอานาจ และสร้ างความโปร่งใสในการปฏิบตั ิงานระหว่างกัน สาหรับรายการที่ไม่ใช่การดาเนินงานตามปกติของบริษัท จะผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริ ษัท ซึง่ มีกรรมการที่เป็ นอิสระร่วมอยูใ่ นที่ประชุมด้ วย 10. ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริ หาร บริ ษัทฯ ได้ กาหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้ อย่างชัดเจน โดยผ่านการพิจารณาอนุมตั จิ ากผู้ถือหุ้น ซึง่ ค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษัทอยูใ่ นระดับที่เหมาะสม และเทียบได้ กบั อุตสาหกรรมเดียวกัน บริ ษัทฯ ได้ กาหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการในรูปของค่าเบี ้ยประชุม บาเหน็จกรรมการ และค่าตอบแทนผู้บริ หารตามผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ และผลการดาเนินงานของผู้บริ หารแต่ละท่าน ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 32
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
11. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริ หารจะมีการประชุมเป็ นประจาทุก เดือน และอาจมีการจัดการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจาเป็ น โดยการประชุมแต่ละครัง้ จะกาหนดวันเวลาการ ประชุมไว้ ลว่ งหน้ าตลอดทังปี ้ และจะมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้ อมระเบียบวาระการประชุมก่อนประชุมล่วงหน้ า ประมาณ 7 วัน เพื่อให้ กรรมการได้ มีเวลาการศึกษามาก่อนล่วงหน้ า ในการประชุมแต่ละครัง้ จะใช้ เวลาประมาณ 2 - 3 ชัว่ โมง ประธานกรรมการทาหน้ าที่ดแู ลจัดสรรเวลาให้ อย่างเพียงพอที่ฝ่ายบริ หารจะเสนอเอกสารและข้ อมูลเพื่อการอภิปรายปั ญหาสาคัญ และเพียงพอสาหรับ คณะกรรมการที่จะอภิปรายในประเด็นที่สาคัญและคานึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องอย่างเป็ น ธรรม และกรรมการทุกท่านมีอิสระในการแสดงความคิดเห็น และเสนอวาระการประชุม สาหรับการประชุมในแต่ละครัง้ ยังมีเลขานุการคณะกรรมการบริ ษัททาหน้ าที่ในการจดบันทึก และจัดทา รายงานการประชุม ตลอดจนจัดเก็บรายงาน และเอกสารประกอบการประชุมที่ผา่ นการรับรองจากคณะกรรมการ บริ ษัทเพื่อพร้ อมสาหรับการตรวจสอบจากคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น สาหรับคณะกรรมการบริ หารบริษัทจะมีการประชุมทุกเดือนเช่นกัน เพื่อพิจารณาเรื่ องที่ต้องตัดสินใจโดย คณะกรรมการบริ หาร สาหรับเรื่ องที่ต้องให้ คณะกรรมการบริ ษัทตัดสินใจ คณะกรรมการบริ หารจะส่งต่อให้ คณะกรรมการบริ ษัทประชุมพิจารณาต่อไป ระหว่างปี 2549 บริ ษัทได้ มีการประชุมคณะกรรมการทังสิ ้ ้น 14 ครัง้ โดยมีจานวนคณะกรรมการเข้ าร่วม ดังต่อไปนี ้ ชื่อ – นามสกุล 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายพงส์ สารสิน 3. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 4. นายจุมพล มีสขุ 5. นายอภิชาติ นารถศิลป์ 6. นางสุวรรณา พุทธประสาท 7. นายมานิต อุดมคุณธรรม 8. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 9. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 10. นายอภิลาศ โอสถานนท์ 11. นายทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ 12. นายชนินทร์ รุนสาราญ
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 33
จานวนครัง้ ที่เข้ าร่ วม 14 10 13 14 13 14 14 12 14 12 12 14
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
12. คณะอนุกรรมการ บริ ษัทฯ ได้ มีการแต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบ ้ ซึง่ มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 3 ปี เพือ่ ช่วยในการกากับดูแลกิจการ ซึง่ มีรายละเอียดภาระหน้ าที่ตามที่ระบุไว้ ใน “ข้ อ 9 การจัดการ” ส่วนของหน้ าที่ คณะกรรมการตรวจสอบ 13. ระบบควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ได้ กาหนดหน้ าที่ของผู้ปฏิบตั ิงานในแต่ละระดับอย่าง ชัดเจน นอกจากนันยั ้ งมีฝ่ายตรวจสอบภายใน เพื่อทาหน้ าที่ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของแต่ละส่วนงานว่าเป็ นไปตาม ระเบียบวิธีปฏิบตั ิและหลักเกณฑ์ที่บริ ษัทฯ กาหนดไว้ หรื อไม่ ซึง่ จะรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 14. รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจาปี งบการเงินดังกล่าวได้ จดั ทาขึ ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง โดยทัว่ ไป และคณะกรรมการ ซึง่ ประกอบด้ วยคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับที่นา่ พอใจ และสามารถสร้ างความเชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ ของงบการเงินของ บริ ษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 นอกจากนันคณะกรรมการตรวจสอบได้ ้ ร่วมกับฝ่ ายตรวจสอบภายในและฝ่ าย บริ หารของบริ ษัทฯ ในการจัดทามาตรการบริ หารความเสีย่ งด้ วย 15. ความสัมพันธ์กบั ผู้ลงทุน คณะกรรมการให้ ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ถกู ต้ อง ครบถ้ วน และ โปร่งใสแก่นกั ลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้ องทราบ ทังในส่ ้ วนของรายงานทางการเงิน และข้ อมูลสาคัญอื่นที่มีผลกระทบต่อ มูลค่าหลักทรัพย์ของบริ ษัท โดยจะให้ ข้อมูลผ่านทางการเผยแพร่ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนัน้ บริ ษัทฯ ยังได้ เปิ ดเผยข้ อมูลที่เกี่ยวกับประวัติ สินค้ า และบริ การต่างๆ ของบริ ษัทฯ ไว้ ใน www.homepro.co.th และ สามารถติดต่อกับส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ ที่ ir@homepro.co.th
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 34
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
10. การควบคุมภายใน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2550 คณะกรรมการตรวจสอบร่วมกับกรรมการบริษัท ฝ่ ายบริ หาร และจัดการของ บริ ษัท ได้ ทาการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยจากการประเมินระบบการควบคุมภายในของ บริ ษัท ในด้ านต่างๆ 5 ส่วน ดังนี ้ คือ องค์ กร และสภาพแวดล้ อม บริ ษัทมีโครงสร้ างองค์กรที่ชดั เจน และมีการกาหนดขอบเขตอานาจ ความ รับผิดชอบแต่ละฝ่ ายไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร สาหรับนโยบาย และระเบียบปฏิบตั ิงานอาจมีการพิจารณาปรับเปลีย่ น เป็ นครัง้ คราว เพื่อให้ เหมาะสมกับสภาวะการณ์ที่เปลีย่ นแปลงไป อีกทังยั ้ งเป็ นการปิ ด กันโอกาสที ้ ่จะเกิดการทุจริตอีก ด้ วย ในการกาหนดนโยบาย หรื อระเบียบปฏิบตั ิ บริ ษัทจะพิจารณาโดยคานึงถึงกฎหมาย และข้ อบังคับต่างๆ ประกอบ กับผลกระทบที่อาจเกิดกับผู้มีสว่ นได้ เสีย ทังนี ้ ้ เพื่อให้ การดาเนินงานโดยรวมเกิดผลลัพธ์ที่เป็ นธรรมแก่ทกุ ฝ่ าย คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลต่อองค์กร สภาพแวดล้ อม
และ
การบริหารความเสี่ยง คณะผู้บริ หารจะร่วมกันพิจารณา และวิเคราะห์ปัจจัยที่อาจเป็ นความเสีย่ ง เพื่อกาหนด เครื่ องมือในการป้องกัน โดยจะมีการประชุมในทุกๆ 2 สัปดาห์ และได้ มีการติดตามสถานการณ์ ทเี่ ป็ นสาเหตุของปั จจัย เสีย่ งอย่างใกล้ ชิด พร้ อมกับแจ้ งให้ พนักงานทีเ่ กี่ยวข้ องรับทราบ และปฏิบตั ิตามมาตรการบริ หารความเสีย่ งทีก่ าหนดไว้ อย่างสมา่ เสมอ คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีการประเมิน วิเคราะห์ ติดตาม และป้องกันความเสีย่ งอย่างสมา่ เสมอ การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริหาร บริ ษัทมีการกาหนดขอบเขต อานาจหน้ าที่ และวงเงินอานาจ อนุมตั ิของฝ่ ายบริ หารในแต่ละระดับไว้ อย่างชัดเจนและเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และแยกหน้ าที่ความรับผิดชอบงานด้ าน การอนุมตั ิ การบันทึกบัญชีและข้ อมูลสารสนเทศ และการดูแลจัดเก็บทรัพย์สนิ ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเป็ นการ ตรวจสอบซึง่ กันและกัน ในกรณีที่บริ ษัทมีการทาธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ หรื อผู้บริ หาร ผู้พิจารณาอนุมตั ิ จะกระทาโดยผู้ที่ไม่มีสว่ นได้ เสียในธุรกรรมนัน้ และจะทาการพิจารณารายการนันเสมื ้ อนรายการที่กระทากับ บุคคลภายนอก คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีการกาหนดขอบเขตอานาจหน้ าที่ของฝ่ ายบริ หารอย่างชัดเจนและมีประสิทธิผล รวมทังมี ้ ระบบการควบคุมภายในในเรื่ องการทาธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อผู้ที่เกี่ยวข้ องกับ บุคคลดังกล่าวอย่างเพียงพอแล้ ว ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข้ อมูล ในการเสนอเรื่ องให้ คณะกรรมการพิจารณา บริษัทได้ จดั ส่งหนังสือ เชิญประชุมโดยมีข้อมูลและรายละเอียดของวาระที่จะเข้ าร่วมประชุม พร้ อมทังสรุ ้ ปข้ อมูลต่างๆ ให้ คณะกรรมการได้ พิจารณาก่อนการประชุมล่วงหน้ าอย่างน้ อย 7 วัน และได้ จดั ทารายงานการประชุมกรรมการ โดยมีรายละเอียดตาม ควรที่ทาให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้ าที่ของกรรมการได้
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 35
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ในการจัดทาบัญชี บริษัทได้ เลือกใช้ นโนบายตามหลัการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป และได้ จดั เก็บเอกสาร ประกอบการบันทึกต่างๆ อย่างเหมาะสม โดยได้ วา่ จ้ างบริ ษัทภายนอกซึง่ มีระบบการจัดการที่ดเี ป็ นผู้ดแู ล คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีการจัดข้ อมูลที่เป็ นระบบเหมาะสม และมีระบบสารสนเทศรวมถึงระบบข้ อมูลที่มี เนื ้อหาเพียงพอ ถูกต้ อง เหมาะสม ต่อการตัดสินใจของกรรมการ ผู้บริ หาร และผู้ถือหุ้น ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริ ษัทจะมีการประชุมในทุกๆ เดือน เพื่อรับทราบผลการดาเนินงาน และให้ ข้ อเสนอแนะในการปฏิบตั ิงาน สาหรับเป้าหมายในการดาเนินงาน บริ ษัทจะพิจารณาปรับปรุงในทุกๆ ครึ่งปี กรณีที่บริ ษัทมีการตรวจสอบภายใน บริ ษัทกาหนดให้ ผ้ ตู รวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อ คณะกรรมการหรื อคณะกรรมการตรวจสอบ ทังนี ้ ้ เพื่อให้ ผ้ ตู รวจสอบสามารถปฏิบตั งิ านได้ อย่างอิสระและเสนอรายงาน ผลการตรวจสอบได้ อย่างตรงไปตรงมา คณะกรรมการเห็นว่าบริ ษัทมีระบบการติดตามการปฏิบตั งิ านตามเป้าหมายทีว่ างไว้ รวมถึงระบบการควบคุม ภายในที่เพียงพอ โดยบริ ษัทมีสานักตรวจสอบภายในที่ทาหน้ าที่ตรวจสอบ และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ อย่างสมา่ เสมอ นอกจากนี ้ผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ นางวิไลรัตน์ โรจน์นคริ นทร์ ซึง่ เป็ นผู้ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษัท ได้ ให้ ความเห็นเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในด้ านบัญชีของบริ ษัทฯ ว่าทางสานักงานไม่พบจุดอ่อนที่ เป็ นสาระสาคัญในระบบการควบคุมภายในด้ านบัญชี
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 36
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
11. รายการระหว่ างกัน 11.1 รายการระหว่ างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 31 ธันวาคม 2548 บริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) มีรายการ ระหว่างกันตามงบการเงินรวมดังนี ้ ชื่อบริษัท
จานวน (ล้ านบาท) ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู้บริหาร 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. 49 48 44.86 298.68 ราคาขายดังกล่าวเป็ นราคาที่ 3.45 26.96 เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดียวกับราคาตลาดที่ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ สามารถ ซื ้อได้ จากผู้ผลิต หรื อผู้ขาย รายอื่น
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการ
1. บริ ษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน)
- เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ โดยถือหุ้นร้ อยยละ 28.92 ของ ทุนชาระแล้ ว ณ 10 พ.ย. 2549 - มีกรรมการร่ วม 2 ท่าน คือ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ
ขายสินค้ า ลูกหนี ้การค้ า
2. บริ ษัท ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ จากัด (มหาชน)
- เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ โดยถือหุ้นร้ อยยละ 21.06 ของ ทุนชาระแล้ ว ณ 10 พ.ย. 2549 - มีกรรมการร่ วม 4 ท่าน คือ 1. นายรัตน์ พานิชพันธ์ 2. นายอนันต์ อัศวโภคิน 3. นางสุวรรณา พุทธประสาท 4. นายจุมพล มีสขุ
ขายสินค้ า ลูกหนี ้การค้ า
10.60 5.13
103.53 ราคาขายดังกล่าวเป็ นราคาที่ 11.08 เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดียวกับราคาตลาดที่ บมจ. ควอลิตี ้เฮ้ าส์ สามารถซื ้อได้ จากผู้ผลิต หรื อผู้ขายรายอื่น
3. บริ ษัท ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ จากัด (มหาชน)
- บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ และ บมจ.ควอลิตี ้เฮ้ าส์ เป็ นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ โดยถือ หุ้นอยู่ร้อยละ 31.41 และ 24.33 ตามลาดับ ณ 5 เม.ย. 49 - มีกรรมการร่ วม 4 ท่าน คือ 1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2. นายพงส์ สารสิน 3. นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 4. นายจุมพล มีสขุ
ซื ้อสินค้ า เจ้ าหนี ้การค้ า
5.47 0.53
5.81 ราคาซื ้อดังกล่าวเป็ นราคาที่ 0.82 เหมาะสม โดยเป็ นราคา เดียวกับราคาตลาดที่บริ ษัท สามารถซื ้อได้ จากผู้ผลิต หรื อ ผู้ขายรายอื่น
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 37
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการ
4. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ เพื่อ รายย่อย จากัด (มหาชน)
- มีผ้ ถู ือหุ้นร่ วมกัน ได้ แก่ 1. บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ 2. บริ ษัท ควอลิตี ้ เฮ้ าส์ จากัด -มีกรรมการร่ วมกัน ได้ แก่ 1.นายอนันต์ อัศวโภคิน 2.รัตน์ พานิชพันธ์ 3.นายนพร สุนทรจิตต์เจริ ญ 4.นางสุวรรณา พุทธประสาท
ดอกเบี ้ยเงินฝาก ดอกเบี ้ยค้ างรับ
5. บริ ษัท เงินทุน สินอุตสาหกรรม จากัด (มหาชน)
- มีกรรมการร่ วมกัน 1 ท่าน คือ นายชนินทร์ รุ นสาราญ
ดอกเบี ้ยเงินฝาก ดอกเบี ้ยจ่าย
จานวน (ล้ านบาท) 30 ก.ย. 31 ธ.ค. 48 49 3.22 0.42
ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู้บริหาร
- บริ ษัทฯ ได้ รับดอกเบี ้ยใน - อัตราเดียวกันกับลูกค้ ารายอื่น
ของธนาคารฯ โดยเป็ นอัตรา ดอกเบี ้ยตามปกติของ ธนาคาร หรื อสถาบันการเงิน อื่น
0.25 0.90
- บริ ษัทฯ ได้ รับและจ่าย
ดอกเบี ้ยในอัตราเดียวกันกับ ลูกค้ ารายอื่น โดยเป็ นอัตรา ดอกเบี ้ยตามปกติของ ธนาคาร หรื อสถาบันการเงิน อื่น
11.2 ความจาเป็ น และความสมเหตุสมผลของรายการ การทารายการระหว่างกันเป็ นความจาเป็ น และมีความสมเหตุสมผลของการทารายการเพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์ สูงสุดของบริ ษัท โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็นว่าเป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว่ ไป ซึง่ บริ ษัทได้ รับและจ่าย ค่าตอบแทนในราคายุติธรรม 11.3 มาตรการ/ขัน้ ตอนการอนุมตั ิการทารายการระหว่ างกัน รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึ ้นในปั จจุบนั และคาดว่าจะเกิดขึ ้นอีกในอนาคต ได้ แก่ การขายสินค้ าให้ กบั บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้ าส์ และบมจ. ควอลิตี ้เฮ้ าส์ การซื ้อสินค้ าจากบมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ รายการดอกเบี ้ย รับจากบัญชีเงินฝากจาก บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ เพื่อรายย่อย และ บมจ.เงินทุนสินอุตสาหกรรม สาหรับรายการขายสินค้ า บริ ษัทฯ ได้ กาหนดราคาตามราคาตลาด ซึง่ เป็ นราคาที่ผ้ ซู ื ้อสามารถซื ้อได้ จาก ผู้ผลิต หรื อผู้จดั จาหน่ายรายอื่น โดยทัว่ ไปจะทาการกาหนดคุณสมบัติ และราคาสินค้ ากันก่อนล่วงหน้ า สาหรับ ในส่วนของการ ซื ้อสินค้ า บริ ษัทได้ สงั่ ซื ้อในราคาที่เหมาะสม โดยรายการระหว่างกันนี ้คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณา และให้ ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นไปตามลักษณะธุรกิจทัว่ ไป โดยบริ ษัทได้ รับ และจ่ายค่าตอบแทนในราคายุตธิ รรม
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 38
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
11.4 นโยบายหรือแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกัน บริ ษัทมีนโยบายในการทารายการระหว่างกันที่เกิดขึ ้นในปั จจุบนั และในอนาคตทีค่ าดว่าจะเกิดขึ ้นกับบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์หรื อมีสว่ นได้ สว่ นเสีย ในการขายสินค้ า ซึง่ จะมีการกาหนดเงื่อนไขต่างๆ ให้ เป็ นไป ตามลักษณะการดาเนินการค้ าปกติในราคาที่สามารถแข่งขันกับผู้ขายรายอื่นได้ ทังนี ้ ้บริ ษัทจะให้ คณะกรรมการ ตรวจสอบหรื อผู้สอบบัญชีของบริษัท หรื อ ผู้เชี่ยวชาญอิสระ พิจารณาตรวจสอบ และให้ ความเห็นถึงความเหมาะสม ของราคา และความสมเหตุสมผลของการทารายการด้ วย รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ ้นในอนาคตนัน้ คณะกรรมการบริษัทจะต้ องปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม ตลอดถึงการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทารายการเกี่ยวโยงและการได้ มาหรื อจาหน่ายทรัพย์สนิ ที่สาคัญของบริษัทหรื อบริ ษัทย่อย ทังนี ้ ้ หากมีรายการระหว่างกันของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อยเกิดขึ ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้ สว่ นเสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริ ษัทจะได้ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี่ยวกับความจาเป็ นและความเหมาะสมของรายการนัน้ ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วาม ชานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ ้น บริ ษัทจะได้ ให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญอิสระ หรื อผู้สอบบัญชีของบริ ษัท เป็ นผู้ให้ ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ หรื อผู้ถือ หุ้นตามแต่กรณี ทังนี ้ ้บริ ษัทจะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้ รับการตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชีของบริ ษัท
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 39
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
12. ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 12.1 งบการเงิน 12.1.1 สรุ ปรายงานการตรวจสอบของผู้สอบบัญชี งบการเงินสาหรับปี สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2549 นางวิไลรัตน์ โรจน์นคริ นทร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3104 จากสานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ ได้ ให้ ความเห็นต่องบการเงินไว้ ดงั นี ้ - งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 งบกาไรขาดทุน งบแสดงการเปลีย่ นแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น งบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ทังงบรวม ้ และงบเฉพาะของบริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ เป็ นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้ องและ ครบถ้ วนของข้ อมูลในงบการเงินเหล่านี ้ ส่วนผู้สอบบัญชีเป็ นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่อ งบการเงินดังกล่าว - ผู้สอบบัญชีได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ตรวจสอบดังกล่าวให้ ข้อสรุปที่เป็ นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็น
โดยเชื่อว่าการ
- จากการตรวจสอบ ผู้สอบบัญชีเห็นว่างบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะข้ างต้ นนี ้แสดงฐานะ การเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ผลการดาเนินงานและกระแสเงินสด สาหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกัน ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป งบการเงินสาหรับปี สิน้ สุด 31 ธันวาคม 2548 และ 2547 นางสุวมิ ล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 จากสานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ ได้ ให้ ความเห็นต่องบการเงินไว้ ดงั นี ้ - งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 และ 2547 งบกาไรขาดทุน งบแสดงการเปลีย่ นแปลงในส่วน ของผู้ถือหุ้น งบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2548 และ 2547 ทังงบรวม ้ และ งบเฉพาะของบริ ษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ เป็ น ผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้ องและครบถ้ วนของข้ อมูลในงบการเงินเหล่านี ้ ส่ว นผู้สอบบัญชีเป็ น ผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว - ผู้สอบบัญชีได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ตรวจสอบดังกล่าวให้ ข้อสรุปที่เป็ นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็น
โดยเชื่อว่าการ
- จากการตรวจสอบ ผู้สอบบัญชีเห็นว่างบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะข้ างต้ นนี ้แสดงฐานะ การเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ผลการดาเนินงานและกระแสเงินสด สาหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกัน ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ถูกต้ องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 40
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
12.1.2 งบการเงิน ก) งบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 2548 และ 2547 (หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม 2549 จานวนเงิน
%
31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน
%
31 ธันวาคม 2547 จานวนเงิน
%
สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากสถาบันการเงิน - ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน ลูกหนี ้การค้ า - สุทธิ สินค้ าคงเหลือ ลูกหนี ้กรมสรรพากร สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
142,325 525,000 131,450 2,861,383 79,930 306,114
1.2 4.3 1.1 23.5 0.7 2.5
59,714 145,689 2,321,256 60,310 240,569
0.6 1.6 25.8 0.7 2.7
104,967 170,818 2,167,975 62,186 151,501
1.7 2.8 34.9 1.0 2.4
รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน
4,046,202
33.3
2,827,538
31.4
2,657,447
42.8
4,999
0.0
4,999
0.1
57 -
0.0 -
7,424,616 645,985 4,174 27,208 1,781
61.1 5.3 0.0 0.2 0.0
5,567,992 563,181 4,174 25,421 1,451
61.9 6.3 0.1 0.3 0.0
3,050,902 464,221 4,174 27,189 4,829
49.1 7.5 0.1 0.4 0.1
รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
8,108,763
66.7
6,167,218
68.6
3,551,372
57.2
รวมสินทรัพย์
12,154,965
100.0
8,994,756
100.0
6,208,819
100.0
สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากประจา เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริมทรัพย์รอการขาย เงินประกันการเช่า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 41
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) งบดุล (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 2548 และ 2547 (หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม 2549 จานวนเงิน หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจาก ้ สถาบันการเงิน เจ้ าหนี ้การค้ า
31 ธันวาคม 2548
%
จานวนเงิน
31 ธันวาคม 2547
%
จานวนเงิน
%
3,361,011
27.7
241,338 2,787,879
2.7 31.0
400,148 2,445,627
6.4 39.4
ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน ส่วนของหนี ้สินระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระ ภายในหนึ่งปี
-
-
-
-
38,000
0.6
448,201
3.7
223,799
2.5
185,971
3.0
เงินกู้ยืมระยะสันจากกิ ้ จการที่เกี่ยวข้ องกัน เจ้ าหนี ้ค่าทรัพย์สิน เงินมัดจาค่าสินค้ า เจ้ าหนี ้อื่น หนี ้สินหมุนเวียนอื่น
40,000 226,855 291,569 148,179 367,030
0.3 1.9 2.4 1.2 3.0
303,294 258,906 134,709 298,967
3.3 2.9 1.5 3.3
18,700 182,976 104,748 254,161
0.3 3.0 1.7 4.1
รวมหนีส้ ินหมุนเวียน
4,882,845
40.2
4,248,892
47.2
3,630,331
58.5
14,795
0.1
17,188
0.2
13,458
0.2
1,697,000 1,000,000 587,074 56,080
14.0 8.2 4.8 0.5
626,000 1,000,000 497,057 76,839
7.0 11.1 5.5 0.9
849,417 81,031 24,802
13.7 1.3 0.4
รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน
3,354,949
27.6
2,217,084
24.7
968,708
15.6
รวมหนีส้ ิน
8,237,794
67.8
6,465,976
71.9
4,599,039
74.1
หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน หนี ้สินระยะยาวตามสัญญาเช่าซื ้อ เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ ค่าเช่ารับล่วงหน้ า หนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 42
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) งบดุล (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 2548 และ 2547 (หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม 2549 จานวนเงิน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,938,146,860 หุ้น @ 1 บาท หุ้นสามัญ 987,500,000 หุ้น @ 1 บาท ทุนที่ออกและเรียกชาระแล้ ว หุ้นสามัญ 1,919,818,404 หุ้น @ 1 บาท หุ้นสามัญ 947,310,416 หุ้น @ 1 บาท หุ้นสามัญ 756,089,030 หุ้น @ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น
%
31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน
31 ธันวาคม 2547
%
จานวนเงิน
%
1,938,147 987,500
1,919,819
987,500
15.8 947,310
10.5
555,694
4.6
555,694
6.2
756,089 190,121
95,400 1,346,258
0.8 11.0
64,400 961,376
0.7 10.7
39,100 624,470
0.6 10.1
รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น
3,917,171
32.2
2,528,780
28.1
1,609,780
25.9
รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น
12,154,965
100.0
8,994,756
100.0
6,208,819
100.0
กาไรสะสม จัดสรรแล้ ว สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 43
12.2 3.0
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 2548 และ 2547 ปี 2548
ปี 2549 รายได้ จากการขาย รายได้ อื่น รวมรายได้ ต้ นทุนขาย ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริหาร รวมค่ าใช้ จ่าย กาไรก่อนดอกเบี ้ยจ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบี ้ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล กาไรสุทธิ กาไรต่ อหุ้นขัน้ พืน้ ฐาน (บาท/หุ้น) กาไรต่ อหุ้นปรับลด (บาท/หุ้น)
(หน่ วย : พันบาท) ปี 2547
จานวนเงิน 14,224,325
% 100.0
จานวนเงิน 12,211,785
% 100.0
จานวนเงิน 9,814,253
% 100.0
786,028
5.5
410,618
3.4
220,241
2.2
15,010,353 10,967,071
105.5 77.1
12,622,403 9,575,650
103.4 78.4
10,034,494 7,736,333
102.2 78.8
3,023,706
21.2
2,276,080
18.6
1,736,512
17.7
13,990,777 1,019,576 (192,639)
98.3 7.2 (1.4)
11,851,730 770,673 (82,080)
97.1 6.3 (0.7)
9,472,845 561,649 (32,662)
96.5 5.7 (0.3)
(220,237)
(1.5)
(182,258)
(1.5)
(147,746)
(1.5)
606,700 0.59
4.3
506,335 0.59
4.1
381,241 0.51
3.9
0.59
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 44
0.58
0.47
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ข) งบการเงินรวม บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ 2548 (หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม 2549 จานวนเงิน
%
31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน
%
สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
169,968
1.4
96,915
1.1
เงินฝากสถาบันการเงิน - ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน ลูกหนี ้การค้ า - สุทธิ สินค้ าคงเหลือ ลูกหนี ้กรมสรรพากร สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
525,000 136,847 2,861,383 79,930 315,393
4.3 1.1 23.4 0.7 2.6
145,689 2,321,256 60,310 240,893
1.6 25.7 0.7 2.6
รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน
4,088,521
33.5
2,865,063
31.7
7,437,380 645,994 4,174
61.0 5.3 0.0
5,568,760 563,181 4,174
61.7 6.3 0.0
27,208 1,781
0.2 0.0
25,421 1,451
0.3 0.0
รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
8,116,537
66.5
6,162,987
68.3
รวมสินทรัพย์
12,205,058
100.0
9,028,050
100.0
สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริมทรัพย์รอการขาย เงินประกันการเช่า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 45
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบดุล (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ 2548 (หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม 2549 จานวนเงิน หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน
31 ธันวาคม 2548
%
จานวนเงิน
%
-
-
241,338
2.7
เจ้ าหนี ้การค้ า ตัว๋ สัญญาใช้ เงิน ส่วนของหนี ้สินระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เจ้ าหนี ้ค่าทรัพย์สิน เงินมัดจาค่าสินค้ า เจ้ าหนี ้อื่น หนี ้สินหมุนเวียนอื่น
3,363,987 448,201 226,855 291,569 148,179 392,616
27.6 3.7 1.9 2.4 1.2 3.2
2,788,711 223,799 303,294 258,906 134,709 299,305
30.9 2.5 3.4 2.9 1.5 3.2
รวมหนีส้ ินหมุนเวียน
4,871,407
39.9
4,250,062
47.1
14,795 1,697,000
0.1 13.9
17,188 626,000
0.2 6.9
1,000,000 587,074 117,237
8.2 4.8 1.0
1,000,000 497,057 110,502
11.1 5.5 1.2
3,416,106
28.0
2,250,747
24.9
หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน หนี ้สินระยะยาวตามสัญญาเช่าซื ้อ เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ ค่าเช่ารับล่วงหน้ า หนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน
รวมหนีส้ ิน 8,287,513 67.9 6,500,809 72.0 * งบการเงินรวมนีไ้ ด้ รวมฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ซึ่งบริษัทถือหุ้นร้ อยละ 99.99 ตัง้ แต่ วันที่ 26 พ.ค 2548
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 46
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย งบดุล (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และ 2548 31 ธันวาคม 2549 จานวนเงิน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,938,146,860 หุ้น @ 1 บาท
%
(หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม 2548 จานวนเงิน
%
1,938,147
หุ้นสามัญ 987,500,000 หุ้น @ 1 บาท
987,500
ทุนที่ออกและเรียกชาระแล้ ว หุ้นสามัญ 1,919,818,404 หุ้น @ 1 บาท หุ้นสามัญ 947,310,416 หุ้น @ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กาไรสะสม จัดสรรแล้ ว สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร
1,919,819
15.7
555,694
4.6
947,310 555,694
10.5 6.2
95,400 1,346,631
0.8 11.0
64,400 959,836
0.7 10.6
รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย
3,917,554 1
32.1 0.0
2,527,240 1
28.0 0.0
รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น และส่ วนของผู้ถือหุ้นส่ วนน้ อย
3,917,545
32.1
2,527,241
28.0
รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น 12,205,058 100.0 9,028,050 100.0 * งบการเงินรวมนีไ้ ด้ รวมฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ซึ่งบริษัท ถือหุ้นร้ อยละ 99.99 ตัง้ แต่ วันที่ 26 พ.ค. 2548
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 47
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 2548 (หน่ วย : พันบาท) ปี 2548
ปี 2549 จานวน
%
จานวน
14,223,718 880,095
100.0 6.2
12,211,785 410,631
100.0 3.4
ต้ นทุนขาย ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริหาร
15,103,813 10,967,071 3,116,289
106.2 77.1 21.9
12,622,416 9,575,650 2,277,634
103.4 78.4 18.7
รวมค่ าใช้ จ่าย กาไรก่อนดอกเบี ้ยจ่ายและภาษีเงินได้ นิติบคุ คล ดอกเบี ้ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล
14,083,360 1,020,453 (191,530) (220,310)
99.0 7.2 (1.3) (1.5)
11,853,284 769,132 (82,080) (182,258)
97.1 6.3 (0.7) (1.5)
608,613 -
4.3 -
504,794 (1)
4.1 (0.0)
608,613 4.3 504,795 0.59 0.58 กาไรต่ อหุ้นขัน้ พืน้ ฐาน (บาท/หุ้น) 0.59 0.58 กาไรต่ อหุ้นปรับลด (บาท/หุ้น) * งบการเงินรวมนีไ้ ด้ รวมฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ซึ่งบริษัท ถือหุ้นร้ อยละ 99.99 ตัง้ แต่ วันที่ 26 พ.ค. 2548
4.1
รายได้ จากการขาย รายได้ อื่น รวมรายได้
กาไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย กาไรสุทธิ
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 48
%
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
(ค) ตารางสรุ ปอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญ งบการเงินเฉพาะบริ ษัท 2549 2548 2547
อัตราส่ วนทางการเงิน
อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่า 0.83 อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว เท่า 0.16 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด เท่า 0.28 อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า เท่า 87.41 ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ วัน 4 อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ เท่า 4.23 ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีย่ วัน 85 อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ เท่า 3.57 ระยะเวลาชาระหนี ้ วัน 101 Cash cycle วัน (12) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability ratio) อัตรากาไรขันต้ ้ น % 22.90 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน % 7.17 อัตรารายได้ อื่นต่อรายได้ รวม % 5.24 อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร % 123.41 อัตรากาไรสุทธิตอ่ รายได้ รวม % 4.04 อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น % 18.82 อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ % 5.74 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร % 15.55 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ เท่า 1.42 อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่า 2.10 อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย เท่า 8.67 อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน เท่า 0.40 - Cash basis อัตราการจ่ายเงินปั นผล % 31.45
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 49
0.67 0.05 0.40 67.70 5 4.27 84 3.66 98 (9)
0.73 0.08 0.21 58.70 6 4.00 90 3.48 103 (7)
21.59 6.31 3.25 203.53 4.01 24.47
21.17 5.72 2.19 123.61 3.80 26.06
6.66 16.55 1.66
7.18 20.30 1.89
2.56 22.33 0.49
2.86 26.78 0.41
28.47
23.70
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
อัตราส่ วนทางการเงิน
งบการเงินรวม 2549 2548
อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่า 0.84 อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว เท่า 0.17 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด เท่า 0.29 อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า เท่า 85.98 ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ วัน 4 อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ เท่า 4.23 ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีย่ วัน 85 อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ เท่า 3.56 ระยะเวลาชาระหนี ้ วัน 101 Cash cycle วัน (12) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (Profitability ratio) อัตรากาไรขันต้ ้ น % 22.90 อัตรากาไรจากการดาเนินงาน % 7.17 อัตรารายได้ อื่นต่อรายได้ รวม % 5.83 อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร % 127.70 อัตรากาไรสุทธิตอ่ รายได้ รวม % 4.03 อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น % 18.89 อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ % 5.73 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร % 15.60 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ เท่า 1.42 อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่า 2.12 อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย เท่า 8.95 อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน เท่า 0.41 - Cash basis อัตราการจ่ายเงินปั นผล % 31.35
0.67 0.06 0.41 67.70 5 4.27 84 3.66 98 (9) 21.59 6.30 3.25 208.22 4.00 24.40 6.63 16.52 1.66 2.57 22.73 0.50 28.55
หมายเหตุ : งบการเงินรวมได้ รวมผลประกอบการของบริษัทย่ อย คือ บริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ซึ่งได้ เปิ ด ดาเนินการในปี 2548 จึงไม่ แสดงเปรียบเทียบปี 2547
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 50
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
12.2 คาอธิบาย และการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ภาพรวมของผลการดาเนินงานที่ผ่านมา ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา ผลการดาเนินงานของบริษัทฯ ยังคงปรับตัวไปในทิศทางทีด่ ี โดยจะเห็นได้ จากยอดขาย กาไรขันต้ ้ น กาไรก่อนดอกเบี ้ยและภาษี และกาไรสุทธิ ที่มีการเติบโตอยูต่ ลอดเวลา ปั จจัยทีเ่ ป็ นตัวผลักดันผลการ ดาเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ แก่ จานวนสาขาที่เพิม่ ขึ ้น จาก 18 สาขาในปี 2547 เป็ น 20 สาขาในปี 2548 และ 26 สาขา ณ 31 ธันวาคม 2549 การเติบโตของยอดขายในสาขาเดิม ประสิทธิภาพการจัดการต้ นทุนสินค้ า รายได้ จากธุรกิจ ให้ บริ การพื ้นที่เช่า รายได้ จากการจัดงาน HomePro Expo เป็ นต้ น ผลการดาเนินงาน เนื่องจากบริษัท มาร์ เก็ต วิลเลจ จากัด ซึง่ เป็ นบริษัทย่อย ได้ ดาเนินการจดทะเบียนเป็ นนิติบคุ คลในเดือน พฤษภาคม 2548 และมีผลการดาเนินงานตังแต่ ้ ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 คาอธิบายและการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน ย้ อนหลัง 3 ปี จึงได้ จากการเปรียบเทียบข้ อมูลงบการเงินรวมปี 2548 – ปี 2549 และงบการเงินเฉพาะบริ ษัทปี 2547 โดยสามารถอธิบายได้ ดังนี ้ รายได้ จากการขาย ในปี 2549 บริ ษัทฯ มีรายได้ จากการขายจานวน 14,233.72 ล้ านบาท เพิม่ ขึ ้นจากปี ก่อน จานวน 2,011.93 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 16.48 โดยการเพิ่มขึ ้นเกิดจากยอดขายของสาขาที่เปิ ดใหม่ในช่วง 6 เดือนหลังของปี 2548 ได้ แก่ สาขาราชพฤกษ์ และ สุวรรณภูมิ (บางนา) สาขาทีเ่ ปิ ดใหม่ในปี 2549 ได้ แก่ หัวหิน สมุย พิษณุโลก ขอนแก่น อุดรธานี และสุราษฎร์ ธานี การเติบโตของยอดขายของสาขาเดิม และยอดขายจากการจัดงาน HomePro Expo ในปี 2548 รายได้ จากการขายอยูท่ ี่ 12,211.79 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี 2547 จานวน 2,397.53 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 24.43 ซึง่ เป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ ้นของยอดขายของสาขาทีเ่ ปิ ดใหม่ ได้ แก่ สาขาราชพฤกษ์ และ สุวรรณภูมิ การเติบโตของยอดขายของสาขาเดิม และจากการจัดงาน HomePro Expo รายได้ อ่ ืน ในปี 2549 บริษัทฯ มีรายได้ อื่นจานวน 880.10 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 469.46 ล้ าน บาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 114.33 การเติบโตเกิดจากการเพิ่มขึ ้นของค่าสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริ มการขายจากบริษัทคูค่ ้ า รายได้ จากธุรกิจให้ เช่าพื ้นที่ของบริ ษัทย่อย รายได้ คา่ บริ การต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการขายสินค้ า รายได้ คา่ เช่าและ ค่าบริ การจากการจัดงาน HomePro Expo ครัง้ ที่ 3 และ 4 ปี 2548 บริ ษัทฯ มีรายได้ อื่นจานวน 410.63 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี 2547 จานวน 190.39 ล้ านบาท หรื อคิด เป็ นร้ อยละ 86.45 โดยการเติบโตของรายได้ อื่นเกิดจาก การสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริ มการขายจากบริ ษัทคูค่ ้ า รายได้ ค่าเช่าพื ้นที่ของสาขาสุวรรณภูมิ รายได้ คา่ บริ การต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการขายสินค้ า รายได้ คา่ เช่าและค่าบริ การจาก การจัดงาน HomePro Expo ครัง้ ที่ 1 และ 2
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 51
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ต้ นทุนขาย ในปี 2549 บริ ษัทฯ มีต้นทุนขายจานวน 10,967.07 ล้ านบาท ขณะที่ในปี 2548 มีจานวน 9,575.65 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 1,391.42 ล้ านบาท อัตรากาไรขันต้ ้ นปรับเพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 21.59 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 22.90 การเพิม่ ขึ ้นของต้ นทุนขายเป็ นผลมาจากการปรับตัวตามยอดขาย แต่จากการบริ หารสินค้ าคงคลังที่มีประสิทธิภาพ และการได้ รับส่วนลดจากการสัง่ ซื ้อสินค้ าในปริ มาณมาก ทาให้ ต้นทุนขายลดลง ประกอบกับการเพิ่มขึ ้นของกาไรขันต้ ้ น จากสินค้ าประเภท Private Brand และ House Brand ส่งผลให้ สดั ส่วนการเพิ่มขึ ้นของต้ นทุนขายน้ อยกว่ายอดขาย เป็ นผลให้ อตั รากาไรขันต้ ้ นเพิม่ ขึ ้น ปี 2548 ต้ นทุนขายมีจานวนเท่ากับ 9,575.65 เพิ่มขึ ้นจากปี 2547 จานวน 1,839.32 ล้ านบาท อัตรากาไร ขันต้ ้ นเพิ่มจากร้ อยละ 21.17 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 21.59 ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ในปี 2549 บริ ษัทฯ มีคา่ ใช้ จ่ายในการขายและบริ หารทังสิ ้ ้น 3,116.29 ล้ านบาท เพิม่ ขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 838.66 ล้ านบาท สัดส่วนต่อยอดขายเพิม่ ขึ ้นจากร้ อยละ 18.65 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 21.91 โดยสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ ้นของค่าใช้ จ่ายในกลุม่ เงินเดือน ค่าเช่าพื ้นที่ของสาขาราชพฤกษ์ สุวรรณภูมิ และสาขาสมุย ค่าเสือ่ มราคา ค่าใช้ จ่ายด้ านพลังงาน เช่น ค่าขนส่งสินค้ า ค่าน ้า ค่าไฟฟ้ า ค่าใช้ จา่ ยในการจัดงาน HomePro Expo และค่าใช้ จา่ ยจากธุรกิจให้ บริ การพื ้นที่เช่าของบริ ษัทย่อย สาหรับปี 2548 ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หารมีจานวนทังสิ ้ ้น 2,277.63 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี 2547 จานวน 541.12 ล้ านบาท สัดส่วนต่อยอดขายของปี 2548 และ 2547 อยูท่ ี่ร้อยละ 18.65 และร้ อยละ 17.69 ตามลาดับ สาเหตุหลักของการเพิ่มขึ ้นมาจากค่าใช้ จ่ายในกลุม่ เงินเดือน ค่าเช่าพื ้นที่ของสาขาราชพฤกษ์ และสุวรรณภูมิ ซึง่ เป็ นสาขาทีเ่ ปิ ดใหม่ในปี 2548 ค่าใช้ จ่ายทีเ่ กี่ยวกับการส่งเสริ มการขาย ค่าเสือ่ มราคา และค่าใช้ จ่ายในการจัดงาน HompPro Expo ค่ าใช้ จ่ายทางการเงิน ดอกเบี ้ยจ่ายของบริษัทฯ ในปี 2549 อยูท่ ี่ 191.53 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน จานวน 109.45 ล้ านบาท สัดส่วนต่อยอดขายเพิม่ ขึ ้นจากร้ อยละ 0.67 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 1.35 โดยดอกเบี ้ยที่เพิม่ ขึ ้นในปี 2549 มาจากการกู้ยมื เงินระยะยาวกับธนาคารพาณิชย์จานวน 1,500 ล้ านบาท ซึง่ ส่วนหนึง่ ใช้ สาหรับการก่อสร้ างและ ขยายสาขาทีเ่ ปิ ดดาเนินการในช่วงปี 2549 ที่ผา่ นมา ปี 2548 และปี 2547 ดอกเบี ้ยจ่ายมีจานวนเท่ากับ 82.08 ล้ านบาท และ 32.67 ล้ านบาท ตามลาดับ สัดส่วน ต่อยอดขายอยูท่ ี่ร้อยละ 0.67 และร้ อยละ 0.33 ตามลาดับ การเพิ่มขึ ้นของปี 2548 เป็ นผลของดอกเบี ้ยจากการออก หุ้นกู้จานวน 1,000 ล้ านบาท กาไรสุทธิ ในปี 2549 บริ ษัทฯ มีกาไรสุทธิจานวน 608.61 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนจานวน 103.82 ล้ าน บาท และสัดส่วนต่อยอดขายหลักเพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 4.13 ในปี 2548 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 4.28 ในปี 2549 การเติบโตของ กาไรสุทธิเกิดจากการเพิ่มขึ ้นของยอดขาย และรายได้ อื่น ประกอบกับต้ นทุนขายที่ลดลง ซึง่ สะท้ อนให้ เห็นว่าบริ ษัทฯ สามารถใช้ กลยุทธ์ทางการตลาด ตลอดจนบริ หารต้ นทุนขายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ปี 2548 และ ปี 2547 กาไรสุทธิมีจานวนเท่ากับ 504.80 ล้ านบาท และ 381.24 ล้ านบาท เพิม่ ขึ ้นจานวน 123.56 ล้ านบาท สัดส่วนต่อยอดขายเพิ่มขึ ้นจากร้ อยละ 3.88 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 4.13
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 52
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
อัตราผลตอบแทนต่ อผู้ถอื หุ้น ในปี 2549 บริ ษัทฯ มีอตั ราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับร้ อยละ 18.89 ลดลงจากปี 2548 ทีม่ ีคา่ เท่ากับร้ อยละ 24.40 การลดลงของอัตราผลตอบแทนเกิดจากส่วนของผู้ถือหุ้นที่ เพิ่มขึ ้นการใช้ สทิ ธิใบสาคัญแสดงสิทธิซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัทฯ และการเพิ่มทุน สาหรับปี 2548 และ ปี 2547 อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมีคา่ เท่ากับร้ อยละ 24.40 และร้ อยละ 26.06 ตามลาดับ ในปี 2548 อัตราผลตอบแทนดังกล่าวลดลงซึง่ เกิดจากการใช้ สทิ ธิใบสาคัญแสดงสิทธิซื ้อหุ้นสามัญ ของบริ ษัทฯ ทาให้ สว่ นของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ ้นจากการใช้ สทิ ธิดงั กล่าวรวม 556.79 ล้ านบาท อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ สามารถทากาไรได้ ในอัตราที่สงู กว่า ส่งผลให้ อตั ราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นลดลงเพียงเล็กน้ อย ฐานะการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 และ 31 ธันวาคม 2547 บริ ษัทฯ มีสนิ ทรัพย์ รวมอยูท่ ี่ 12,205.06 ล้ านบาท 9,028.05 ล้ านบาท และ 6,208.82 ล้ านบาท ตามลาดับ การเปลีย่ นแปลงของ สินทรัพย์รวมระหว่างปี 2549 เป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ ้นของรายการเงินฝากสถาบันการเงิน รายการสินค้ าคงเหลือ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ และสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน รายการสินค้ าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีจานวน 2,861.38 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 จานวน 540.13 ล้ านบาท หรื อร้ อยละ 23.27 ซึง่ เกิดจากการปรับตัวตามยอดขายของสาขาต่างๆ การ เพิ่มขึ ้นของสาขาในปี 2549 และการเพิม่ ปริ มาณการเก็บสินค้ าคงคลังไว้ ลว่ งหน้ าสาหรับสาขาที่อยูร่ ะหว่างรอเปิ ด ดาเนินการในช่วงต้ นปี 2550 และที่ศนู ย์กระจายสินค้ าในส่วนขยาย ณ สิ ้นปี 2549 รายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ มีจานวน 7,437.38 ล้ านบาท เพิม่ ขึ ้นจากสิ ้นปี 2548 จานวน 1,868.62 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 33.56 สาเหตุเกิดจากการลงทุนในที่ดิน และอาคารสาหรับสาขาทีจ่ ะ เปิ ดในปี 2549 - 2550 ณ สิ ้นปี 2549 รายการสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน มีจานวน 645.99 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากสิ ้นปี 2548 จานวน 82.91 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 14.70 โดยเพิ่มขึ ้นจากรายการสิทธิการเช่าของสาขา สมุย ที่เริ่ มเปิ ดดาเนินการในเดือน เมษายน 2549 และเพิ่มขึ ้นจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรับสาขาใหม่ที่เปิ ดดาเนินการในปี 2549 และสาขาที่อยู่ ระหว่างการรอเปิ ดดาเนินการ ลูกหนีก้ ารค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 259 บริ ษัทฯ มียอดลูกหนี ้การค้ าสุทธิจานวน 136.85 ล้ านบาท ลดลง จากสิ ้นปี 2548 จานวน 8.84 ล้ านบาท เนื่องจากการลดลงของลูกหนี ้ของบริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน ทังนี ้ ้รายละเอียดอายุ ของลูกหนี ้สามารถสรุปได้ ตามตาราง
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 53
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ยังไม่ครบกาหนดชาระ ครบกาหนดชาระ ไม่เกิน 6 เดือน เกิน 6 – 12 เดือน เกิน 12 เดือน รวม
31 ธันวาคม 2549 ( ล้ านบาท ) 130.29
31 ธันวาคม 2548 ( ล้ านบาท ) 121.67
31 ธันวาคม 2547 ( ล้ านบาท ) 155.57
9.47 0.06 22.27 162.09
22.89 1.22 23.00 168.78
16.98 0.24 19.19 191.98
ลูกหนีก้ ารค้ าของบริ ษัท ฯ ได้ แก่ลูกค้ าโครงการ ซึ่ง บริ ษัทจะให้ เครดิตประมาณ 45-60 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริ ษัทฯ มีลกู หนี ้การค้ าที่ค้างชาระเกินกาหนด มากกว่า 12 เดือน เป็ นจานวน 22.27 ล้ านบาท โดยส่วน หนึง่ เกิดจากลูกหนี ้ที่ประสบปั ญหาการชาระหนี ้ ซึง่ ได้ รับผลกระทบมาจากช่วงภาวะเศรษฐกิ จหดตัวในปี 2540 และอีก ส่วนหนึง่ เกิดจากลูกหนี ้โครงการที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดาเนินการจนไม่สามารถชาระเงินให้ กบั บริ ษัทฯ ได้ ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ ดาเนินการฟ้ องร้ องและสารองหนี ้สูญไว้ เรี ยบร้ อยแล้ ว โดยในปี 2547-ปี 2549 บริ ษัทฯ ได้ ตงค่ ั ้ าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สาหรับลูกหนี ้ดังกล่าวจานวน 21.17 ล้ านบาท 23.10 ล้ านบาท และ 25.24 ล้ านบาท ตามลาดับ นอกจากนี ้ ในระหว่าง ปี 2549 และ 2548 บริ ษัทฯ ได้ ทาการตัดจาหน่ายลูกหนี ้การค้ าและค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ จานวน 0.62 ล้ านบาท และ 1.07 ล้ านบาท ตามลาดับ ปั จจุบนั บริ ษัทฯ ได้ ม่งุ เน้ นการขายเงินสดรวมทังได้ ้ มีการพิจาณาประวัติและวิเคราะห์ฐานะ การเงินสาหรับลูกค้ าโครงการเพื่อป้องกันปั ญหาลูกหนี ้การค้ า หนิส้ นิ หนี ้สินรวมของบริ ษัท ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2548 และ 31 ธันวาคม 2547 มี จานวน 8,287.51 ล้ านบาท .6,500.81 ล้ านบาท และ 4,599.04 ล้ านบาท ตามลาดับ เพิ่มขึ ้นจานวน 1,786.70 ล้ าน บาท และ 1,901.77 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยส่วนใหญ่เป็ นผลมาจากการเพิม่ ขึ ้นของรายการเจ้ าหนี ้การค้ า เงินกู้ยืม ระยะยาว และค่าเช่ารับล่วงหน้ า รายการเจ้ าหนี ้การค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีจานวน 3,363.99 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากสิ ้นปี 2548 จานวน 575.28 ล้ านบาท ซึง่ เป็ นผลมาจากการสัง่ ซื ้อสินค้ าที่เพิ่มขึ ้นตามปริ มาณยอดขาย และจานวนสาขาทีเ่ พิ่มขึ ้น เงินกู้ระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 มีจานวน 1,697.00 ล้ านบาท เพิม่ ขึ ้นจากสิ ้นปี 2548 จานวน 1,071.00 ล้ านบาท โดยระหว่างปี 2549 บริ ษัทฯ มีการกู้ยืมเงินระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์เพิม่ จานวน 1,500 ล้ าน บาท เพื่อใช้ ในการก่อสร้ างและขยายสาขาที่เปิ ดดาเนินการในช่วงปี 2549 (สาหรับโครงสร้ างหนี ้สินระยะยาวสามารถดู ได้ จากหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ15) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ค่าเช่ารับล่วงหน้ า มีจานวน 587.07 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจาก 31 ธันวาคม 2548 จานวน 90.02 ล้ านบาท ซึง่ เพิ่มขึ ้นจากการให้ เช่าพื ้นที่ระยะยาวของสาขาหัวหินแก่ผ้ เู ช่ารายใหญ่
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 54
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ส่วนของผู้ถือหุ้นมีจานวนเท่ากับ 3,917.54 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น จาก 31 ธันวาคม 2548 จานวน 1,390.30 ล้ านบาท สาหรับการเพิ่มขึ ้นดังกล่าวเกิดจากกาไรสุทธิของบริ ษัทฯ จานวน 605.61 ล้ านบาท และการใช้ สทิ ธิแปลงสภาพใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญของบริษัทให้ แก่พนักงาน โครงการ ESOP-W1 และ ESOP-W2 ซึง่ ทาให้ สว่ นหุ้นสามัญที่เรี ยกชาระแล้ ว เพิ่มขึ ้น 972.51 ล้ านบาท และจากการเสนอขาย หุ้นสามัญเพิ่มทุนให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม จานวน 954.64 ล้ านหุ้น ในราคาหุ้นละ 1 บาท ความเหมาะสมของโครงสร้ างเงินทุน หากพิจารณาอัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2549 บริ ษัทฯ มีอตั ราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 2.12 เท่า ลดลงจากปี 2547 และปี 2548 ที่มีคา่ เท่ากับ 2.86 เท่า และ 2.56 เท่า ตามลาดับ สาเหตุหลักของการลดลงของอัตราส่วนดังกล่าวส่วนใหญ่เกิดจากกาไรสุทธิที่เพิ่มขึ ้น และ นอกจากนี ้ ในช่วงไตรมาส 4 ของปี 2549 บริษัทฯ ได้ ทาการเพิ่มทุนเสนอขายแก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม จานวน 954.64 ล้ านบาท สภาพคล่ องทางการเงิน สรุปรายการจากงบกระแสเงินสดสาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ปี 2548 และปี 2547 หน่วย : ล้ านบาท งบรวม
รายการ กระแสเงินสดจากการดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสด และรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ
งบเฉพาะบริษัท ปี 2549 ปี 2548 ปี 2547
ปี 2549
ปี 2548
1,303.16 (2,541.46) 1,836.35 598.05
1,601.52 1,258.23 1,568.55 694.27 (2,634.07) (2,526.98) (2,638.30) (1,359.22) 1,024.44 1,876.35 1,024.44 733.68 (8.11) 607.61 (45.31) 68.73
ในปี 2549 บริ ษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจานวน 694.97 ล้ านบาท สุทธิเพิ่มขึ ้น 598.05 ล้ าน บาท เนื่องจากกิจกรรมดังนี ้ 1) เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมการดาเนินงาน 1,303.16 ล้ านบาท ซึง่ เกิดจาการเปลีย่ นแปลงของ สินทรัพย์และหนี ้สิน ได้ แก่ ค่าเสือ่ มราคา และค่าเสือ่ มสภาพสินทรัพย์ เพิ่มขึ ้น 500.26 ล้ านบาท การ เพิ่มขึ ้นของเจ้ าหนี ้การค้ า จานวน 575.28 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิ่มขึ ้น 537.10 ล้ านบาท และค่าเช่า รับล่วงหน้ าเพิม่ ขึ ้น 90.02 ล้ านบาท 2) เงินสดสุทธิที่ใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน 2,541.46 ล้ านบาท ซึง่ เกิดจากบริ ษัทฯ ได้ ลงทุนในสินทรัพย์เพิ่มขึ ้น ในสิทธิการเช่าพื ้นที่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซึง่ เป็ นการจ่ายลงทุนสาหรับการขยายสาขาในปี 2549 และในอนาคต 3) เงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินเพิ่มขึ ้น 1,836.35 ล้ านบาท เนื่องจากเงินสดรับจากการกู้เงินระยะยาวกับ ธนาคารพาณิชย์จานวน 1,500 ล้ านบาท การคืนเงินกู้ระยะสันและระยะยาวที ้ ค่ รบกาหนดจานวน 445.34 ล้ านบาท และการจ่ายเงินปั นผลจานวน 190.82 ล้ านบาท
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 55
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)
ในปี 2548 บริ ษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจานวน 96.92 ล้ านบาท สุทธิลดลง 8.11 ล้ านบาท เนื่องจากกิจกรรมดังนี ้ 1) เงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมการดาเนินงาน 1,601.52 ล้ านบาท สาเหตุหลักเกิดจากการเปลีย่ นแปลง ของสินทรัพย์และหนี ้สิน ได้ แก่ ค่าเสือ่ มราคา และค่าเสือ่ มสภาพสินทรัพย์ เพิ่มขึ ้น 291.90 ล้ านบาท เจ้ าหนี ้การค้ าเพิม่ ขึ ้น จานวน 343.09 ล้ านบาท สินค้ าคงเหลือเพิม่ ขึ ้น 153.34 ล้ านบาท และค่าเช่ารับ ล่วงหน้ าเพิ่มขึ ้น 416.03 ล้ านบาท 2) เงินสดสุทธิที่ใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน 2,634.07 ล้ านบาท ซึง่ เกิดจากบริ ษัทฯ ได้ ลงทุนในสินทรัพย์เพิ่มขึ ้น ได้ แก่สทิ ธิการเช่าพื ้นที่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยเป็ นการจ่ายลงทุนสาหรับการขยายสาขาในปี 2548 และ 2549 3) เงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินเพิ่มขึ ้น 1,024.44 ล้ านบาท เนื่องจากในปี 2548 บริ ษัทฯ รับจากการออก หุ้นกู้จานวน 1,000 ล้ านบาท รับเงินจากการใช้ ใบสาคัญแสดงสิทธิซื ้อหุ้นสามัญ 556.79 ล้ านบาท จ่ายคืนเงินกู้ระยะสัน้ และระยะยาว จานวน 388.23 และมีการจ่ายเงินปั นผลจานวน 144.13 ล้ าน บาท อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงินของบริ ษัทมีการพัฒนาที่ดีขึ ้น โดยอัตราส่วนสภาพคล่องเพิ่มขึ ้นจาก 0.67 เท่า ในปี 2548 เป็ น 0.84 เท่า ในปี 2549 ทังนี ้ ้ เนื่องจากนโยบายการขายสินค้ าส่วนใหญ่เป็ นเงินสดทาให้ อตั ราการเพิ่มขึ ้น ของสินทรัพย์หมุนเวียนโดยเฉพาะเงินสดและสินค้ าคงเหลือเพิ่มขึ ้น ประกอบกับการรับเงินจากการเพิม่ ทุนในช่วงไตร มาสที่ 4 ของปี 2549 จึงทาให้ อตั ราการเพิม่ ขึ ้นของสินทรัพย์หมุนเวียนมีสงู กว่าหนี ้สินหมุนเวียน แต่อย่างไรก็ตาม อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วในปี 2549 มีสงู กว่าปี 2548 อยู่ 2.83 เท่า เนื่องจากบริ ษัทฯ มีเงินสดคงเหลือจากการ เพิ่มทุนที่คงค้ างเหลืออยู่ 12.3 ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1.ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (Audit Fee) ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ของผู้สอบบัญชีบริ ษัท สาหรับปี 2548 และปี 2549 มีจานวนเงิน 1,096,000 และ 1,357,000 บาท ตามลาดับ 2.ค่ าบริการอื่น (Non-Audit Fee) –ในปี 2549 บริ ษัทมีการจ่ายค่าสังเกตการณ์การทาลายสินค้ าที่ชารุดและเสียหายจานวน 10,000 บาท
ส่วนที่ 2 หน้ าที่ 56
บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหำชน)
13.
ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง
- ไม่มี -
ส่วนที่ 2 หน้ ำที่ 57
ส่ วนที่ 3 การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล การรับรองความถูกต้องของข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ให้เป็ น ดังนี้ 1. กรรมการบริ หารทุกคนและผูท้ ี่ดารงตาแหน่งบริ หารสูงสุดในสายงานบัญชีให้ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งประทับตราบริ ษทั (ถ้ามี) ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี พร้อมทั้งมอบอานาจให้บุคคลใดลงนามกากับเอกสารในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจาปี แทนด้วย โดยใช้ขอ้ ความและรู ปแบบดังนี้ “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริ หารของบริ ษทั หรื อผูด้ ารงตาแหน่งบริ หารสูงสุดในสายงานบัญชี ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้อง ครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาให้ผอู ้ ื่นสาคัญผิด หรื อไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสาคัญ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าขอรับรองว่า (1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินที่สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ได้แสดงข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วนในสาระสาคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยแล้ว (2) ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อการจัดให้บริ ษทั มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ใจว่าบริ ษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูล ในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญทั้งของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบ ดังกล่าว (3) ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อการจัดให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตาม ระบบดังกล่าว และข้าพเจ้าได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบควบคุมภายใน ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2550 ต่อผูส้ อบบัญชีและ กรรมการตรวจสอบของบริ ษทั แล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงข้อบกพร่ องและการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทาที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารที่ขา้ พเจ้าได้รับรองความถูกต้องที่เป็ นชุดเดียวกัน ข้าพเจ้าได้มอบหมาย ให้ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้า หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กากับไว้ ข้าพเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ขา้ พเจ้าได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลไว้” ชื่อ ตาแหน่ง ลายมือชื่อ 1. นายมานิต
อุดมคุณธรรม
2. นายนพร
สุนทรจิตต์เจริ ญ กรรมการและกรรมการบริ หาร
...........................................
3. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ
...........................................
4. นางสาววรรณี จันทามงคล ชื่อ
กรรมการและประธานกรรมการบริ หาร
ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ สายบัญชีและการเงิน ตาแหน่ง
ผูร้ ับมอบอานาจ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ
...........................................
........................................... ลายมือชื่อ ...........................................
2. กรรมการคนอื่นของบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์นอกจาก 1. ให้ลงลายมือชื่อพร้อมประทับตราบริ ษทั (ถ้ามี) ในแบบแสดง รายการข้อมูลประจาปี พร้อมทั้งมอบอานาจให้บุคคลใดลงนามกากับเอกสารในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี แทนด้วย โดยให้ใช้ขอ้ ความและรู ปแบบ ดังนี้ “ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริ ษทั ข้าพเจ้าไม่มีเหตุอนั ควรสงสัยว่าข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้องครบถ้วน เป็ นเท็จ ทาให้ผอู ้ ื่นสาคัญผิด หรื อขาด ข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสาคัญ ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็ นเอกสารที่ขา้ พเจ้าได้รับรองความถูกต้องที่เป็ นชุดเดียวกัน ข้าพเจ้าได้ มอบหมายให้ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่ลงลายมือชื่อ ของ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กากับไว้ ข้าพเจ้าถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ขา้ พเจ้าได้สอบทานแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ
ตาแหน่ง
ลายมือชื่อ
1. นายอนันต์ อัศวโภคิน
ประธานกรรมการ
...........................................
2. นายพงส์
สารสิ น
กรรมการ
...........................................
3. นายรัตน์
พานิชพันธ์
กรรมการ
...........................................
4. นายจุมพล มีสุข
กรรมการ
...........................................
5. นายอภิชาติ นารถศิลป์
กรรมการ
...........................................
6. นางสุวรรณา พุทธประสาท
กรรมการ
...........................................
7. นายอภิลาศ โอสถานนท์
ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ ...........................................
8. นายทวีวฒั น์ ตติยมณี กลุ
กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
...........................................
9. นายชนินทร์ รุ นสาราญ
กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
...........................................
ชื่อ
ตาแหน่ง
ผูร้ ับมอบอานาจ นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ
ลายมือชื่อ ...........................................
*หมายเหตุ หากในวันที่ยนื่ แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ต่อสานักงาน มีเหตุจาเป็ นที่ทาให้บุคคลใดยังไม่สามารถลง ลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ได้ เมื่อเหตุดงั กล่าวหมดสิ้นแล้ว บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ตอ้ งจัดให้บุคคลนั้นลง ลายมือชื่อทันที เว้นแต่ที่ทาให้บุคคลดังกล่าวไม่สามารถลงลายมือชื่อได้เกิดจากการที่บุคคลดังกล่าวอยูใ่ นภาวะไม่สามารถรู ้ผิด ชอบ หรื อไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บป่ วยทางร่ างกายหรื อทางจิต บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์ไม่จาต้องจัดให้บุคคล ดังกล่าวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี
เอกสารแนบ 1
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหาร และผู้มีอานาจควบคุมบริษัท
เอกสารแนบ 1
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ
นายพงส์ สารสิน กรรมการ
นายรัตน์ พานิชพันธ์ กรรมการ
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
56 - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - M.S. Industrial Engineering, Illinois Institute of Technology, USA - วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ปี 2547 79 - ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
59 - M.S. in Business Ad., Fort Hays Kansas State College, Hays, Kansas, USA. - วิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2546
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครั ว บริ ษัท (%) ระหว่ างผู้บริ หาร
0.16
-
ประสบการณ์ การทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง 2538 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2548 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ 2537 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ 2528 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จดั การ 2526 - ปั จจุบนั กรรมการ
0.22
-
-
-
2538 - ปั จจุบนั 2543 - ปั จจุบนั 2539 - ปั จจุบนั 2537 - ปั จจุบนั 2533 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2549 - ปั จจุบนั 2548 - ปั จจุบนั
กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการ และ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ
กรรมการอิสระ 2544 - ปั จจุบนั ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร และ กรรมการผู้จดั การ 2548 กรรมการ กรรมการ 2546 - 2548 กรรมการบริหาร 2546 - 2547 กรรมการตรวจสอบ 2543 - 2548 ประธานกรรมการ
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษัท
ประเภทธุรกิจ
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้ าส์ เพือ่ รายย่อย จากัด (มหาชน) บมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ บมจ. บางกอกเชน ฮอลปิ ทอล บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ.ควอลิตี ้เฮ้ าส์
ค้ าปลีก Home center ธนาคารพาณิชย์
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.ไทยน ้าทิพย์ บมจ.แชงกรี -ลา โฮเต็ล บมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ บมจ.สัมมากร บมจ. ฝาจีบ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. ไออาร์พีซี
ค้ าปลีก Home center จาหน่ายน ้าอัดลม ธุรกิจโรงแรม ผลิต และจาหน่ายวัสดุก่อสร้ าง พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผลิต และจาหน่ายฝาจีบ ค้ าปลีก Home center ธุรกิจพลังงาน
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เอ้ าส์ เพือ่ รายย่อย จากัด (มหาชน) บมจ. บ้ านปู บมจ.ควอลิตี ้เฮ้ าส์
ธนาคารพาณิชย์
บมจ. ทิพยประกันภัย สมาคมบริษัทจดทะเบียน ธนาคาร กรุงไทย จากัด (มหาชน) ธนาคาร กรุงไทย จากัด (มหาชน) บจก.ยูไนเต็ด แอ๊ ดไวเซอรี่ เซอร์วิส
ธุรกิจประกันภัย สมาคม สถาบันการเงิน สถาบันการเงิน ทีป่ รึกษาทางการเงิน
ผลิต และจาหน่ายวัสดุก่อสร้ าง โรงพยาบาล พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ธุรกิจพลังงาน พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
เอกสารแนบ 1
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายจุมพล มีสขุ กรรมการ
นายอภิชาติ นารถศิลป์ กรรมการ
นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
57 - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547
49 - MBA, University of Southern California - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547 51 - MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครั ว บริ ษัท (%) ระหว่ างผู้บริ หาร
0.03
-
-
-
-
-
ประสบการณ์ การทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ช่ วงเวลา 2538 - ปั จจุบนั 2547 - ปั จจุบนั 2545 - ปั จจุบนั 2540 - ปั จจุบนั 2537 - ปั จจุบนั 2536 - ปั จจุบนั 2535 - ปั จจุบนั 2531 - ปั จจุบนั 2544 - ปั จจุบนั 2542 - ปั จจุบนั
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษัท
ประเภทธุรกิจ
ตาแหน่ ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และทีป่ รึกษากรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ
2546 - ปั จจุบนั กรรมการ 2548 - ปั จจุบนั กรรมการ 2546 - ปั จจุบนั กรรมการ 2543 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการ กรรมการ และรองกรรมการผู้จดั การ
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก. คิว-คอน อีสเทอร์ น บจก.เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้ นท์ บจก.คิว.เอช.อินเตอร์เนชัน่ แนล บจก.ฮาเบอร์วิว บมจ. ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ บจก. คาซ่า วิลล์ บจก.คิว.เอช.แมนเนจเม้ นท์ บมจ.ควอลิตี ้เฮ้ าส์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ AIGGIC (Thailand) Ltd.
ค้ าปลีก Home center ผลิต และจาหน่ายวัสดุก่อสร้ าง ธุรกิจดูแลจัดการบริหารอาคาร ลงทุนอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศ ธุรกิจโรงแรมในต่างประเทศ ผลิต และจาหน่ายวัสดุก่อสร้ าง พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ค้ าปลีก Home center ทีป่ รึกษาแนะนาการลงทุน
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ เพือ่ รายย่อย จากัด (มหาชน) บจก.คิว.เอช.แมนเนจเม้ นท์ บจก.เซ็นเตอร์พอยท์ แมเนจเม้ นท์ บจก.คิว.เอช.อินเตอร์เนชัน่ แนล บมจ.ควอลิตี ้เฮ้ าส์
ค้ าปลีก Home center ธนาคารพาณิชย์ ลงทุนอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศ ธุรกิจดูแลจัดการบริหารอาคาร พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
เอกสารแนบ 1
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายมานิต อุดมคุณธรรม กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ กรรมการ และกรรมการบริหาร
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
61 - มัธยมศึกษาตอนปลาย - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547
48 - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ปี 2548 - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครั ว บริ ษัท (%) ระหว่ างผู้บริ หาร
3.16
-
-
-
ประสบการณ์ การทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง 2543 - ปั จจุบนั กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร 2547 - ปั จจุบนั กรรมการ 2546 - ปั จจุบนั ประธานคณะอนุกรรมการบริหาร จัดการอสังหาริมทรัพย์ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ 2545 - ปั จจุบนั ทีป่ รึกษา / อนุกรรมการ ทีป่ รึกษา / อนุกรรมการ กรรมการ 2544 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ 2543 - ปั จจุบนั กรรมการ 2532 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการ กรรมการ 2538 - ปั จจุบนั กรรมการ และกรรมการบริหาร 2548 - ปั จจุบนั กรรมการ 2545 - ปั จจุบนั 2534 - 2544 2538 - 2547 2537 - ปั จจุบนั 2537 - 2548
กรรมการ และรองกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษัท
ประเภทธุรกิจ
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก. เจเอสเอ็ม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ค้ าปลีก Home center ภัตตาคาร / ร้ านอาหาร หน่วยงานราชการ
บจก.ภูเก็ตสแควร์ บจก.อาร์ แอล พี องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ (ออป.) บจก.ไม้ อดั ไทย บจก. ภูเก็ต รีสอร์ต คลับ บจก.ยู เอส ไอ โฮลดิ ้ง บจก.แฟชัน่ พีเพิล บจก.แอ๊ คทีฟ เนชัน่ บจก. ธนนนทรี บจก.รังสิตพลาซ่า บจก.สตาร์ แบง อินเตอร์เนชัน่ แนล บจก.สตาร์ แฟชัน่ บจก.สเททัส สีลม บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ เพือ่ รายย่อย จากัด (มหาชน) บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ บล.แอสเซท พลัส จากัด (มหาชน) บมจ.ควอลิตี ้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ บมจ. บางกอกเชน ฮอลปิ ทอล
ศูนย์การค้ า บริษัท Holding รัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจโรงแรม บริษัท Holding จาหน่ายเครื่องแต่งกาย จาหน่ายผลิตภัณฑ์กีฬา บริษัท Holding ศูนย์การค้ า จาหน่ายเครื่องแต่งกาย จาหน่ายเครื่องแต่งกาย จาหน่ายเครื่องแต่งกาย ค้ าปลีก Home center ธนาคารพาณิชย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจหลักทรัพย์ ผลิต และจาหน่ายวัสดุก่อสร้ าง โรงพยาบาล
เอกสารแนบ 1
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จดั การ นายอภิลาศ โอสถานนท์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ
นายทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ นายชนินทร์ รุนสาราญ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
49 - MBA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ปี 2544 72 - ปริญญาบัตรเทคโนโลยีการเกษตร ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547 61 - ประถมศึกษา - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ปี 2547 59 - MBA, Fort Hays State University Kansas, USA. - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ปี 2545 - การอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร RCM Program ปี 2545
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครั ว บริ ษัท (%) ระหว่ างผู้บริ หาร
1.29
-
-
-
ประสบการณ์ การทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ช่ วงเวลา ตาแหน่ ง 2538 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จดั การ
ชื่อหน่ วยงาน / บริ ษัท
ประเภทธุรกิจ
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
2544 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 2539 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์
ค้ าปลีก Home center
DKB Leasing
ธุรกิจ Leasing
-
-
2544 - ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 2532 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการบริหาร
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บจก.สตาร์ แฟชัน่ กรุ๊ป
ค้ าปลีก Home center ผลิตและจาหน่ายเครื่องแต่งกาย
-
-
2548 - ปั จจุบนั กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 2545 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการกาหนดค่าตอบแทน กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร 2547 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกาหนดค่าตอบแทน และ กรรมการสรรหา 2546 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการทรัพยากรบุคคล และพิจารณาค่าตอบแทน 2539 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ. หลักทรัพย์ ซิกโก้
ค้ าปลีก Home center ธุรกิจหลักทรัพย์
บจก. ซิกโก้ แอ็ดไวเซอรี่ บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ
ทีป่ รึกษาทางการเงิน ธุรกิจประกันภัย
บมจ. สามัคคีประกันภัย
ธุรกิจประกันภัย
บมจ. เงินทุน สินอุตสาหกรรม
ธุรกิจเงินทุน
เอกสารแนบ 1
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ชื่อ - สกุล / ตาแหน่ ง
อายุ
คุณวุฒทิ างการศึกษาสูงสุด
สัดส่ วนการ ความสัมพันธ์ ถือหุ้นใน ทางครอบครัว บริ ษัท (%) ระหว่ างผู้บริ หาร
ประสบการณ์ การทางานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง ช่ วงเวลา 2545 - ปั จจุบนั 2542 - 2544 2545 - ปั จจุบนั 2542 - 2544 2546 - ปั จจุบนั 2532 - 2546 2543 - ปั จจุบนั มิ.ย.-ธ.ค. 2542 ก.ย. 2548 - ปั จจุบนั 2544 - ก.ย. 2548 2547 - ปั จจุบนั 2544 - 2546
นายวทัญญู วิสทุ ธิโกศล
42 - MBA Georgia State University, USA.
0.05
-
นายอนุชา จิตจาตุรันต์
43 - MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ 47 - ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ า 46 - มัธยมศึกษาตอนต้ น
0.10
-
0.01
-
0.22
-
-
-
0.01
-
0.01
-
มิ.ย. 2547 - ปั จจุบนั 2544 - มิ.ย. 2547 มี.ค.2548 - ปั จจุบนั 2547 - มี.ค. 2548 2542 - 2546 2549 - ปั จจุบนั 2542 - 2548 มี.ค.2548 - ปั จจุบนั 2547 - มี.ค. 2548 2542 - 2546 ม.ค. 2549 - ปั จจุบนั 2542 - 2548
นางสาวจารุโสภา ธรรมกถิกานนท์ นางสาวธาราทิพย์ ตรีมนั่ คง นายวีรพันธ์ อังสุมาลี นายทินกร พรหมพล
43 - ปริญญาโท วิศวอุตสาหการ สถาบันเอไอที 51 - ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง
นางสาวริษนา ติลกานนท์
47 - MBA (MIS) University of Dallas, USA
นางสาววรรณี จันทามงคล
42 - MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์
-
-
นายณัฏฐ์ จริ ตชนะ
46 - MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ '
0.04
-
นางสาววรรณี จันทามงคล
42 ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์
-
-
นายณัฏฐ์ จริ ตชนะ
46 ปริญญาโท โครงการปริญญาโทสาหรับผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
0.04
-
ตาแหน่ ง ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป สายพัฒนาธุรกิจ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป สายจัดซื ้อ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การอาวุโสฝ่ ายจัดซื ้อ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การสาขารังสิต ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ Director ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การอาวุโส - บริหารและพัฒนา ลูกค้ าสัมพันธ์ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป - Supply Chain & Business Development ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้อานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน Associate Director - Finance ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป - สายการตลาด ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้อานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน Associate Director - Finance ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว่ ไป - สายการตลาด
ชื่อหน่ วยงาน / บริษัท
ประเภทธุรกิจ
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.สยามแม็คโคร บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ Solution Delivery บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บมจ.สยามแม็คโคร
ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก - ค้ าส่ง ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Home center Computer Consulting ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก - ค้ าส่ง
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ บริษัท เพาเวอร์ บาย จากัด
ค้ าปลีก Home center ค้ าปลีก Home Appliance
บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ค้ าปลีก Home center บมจ. ไทยน๊ อคซ์ สเตนเลส ผลิตเหล็กไร้ สนิมรีดเย็น Colgate Palmolive (Thailand) Ltd.Consumer Products บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ค้ าปลีก Home center บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ค้ าปลีก Home center บมจ.โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ค้ าปลีก Home center บมจ. ไทยน๊ อคซ์ สเตนเลส ผลิตเหล็กไร้ สนิมรีดเย็น Colgate Palmolive (Thailand) Ltd.Consumer Products บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ค้ าปลีก Home center บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ ค้ าปลีก Home center
เอกสารแนบ 2
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย
เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับการดารงตาแหน่ งของกรรมการ และผู้บริ หารที่มอี านาจควบคุมบริ ษัทย่ อย รายชื่อ 1. นายอนันต์ 2. นายพงส์ 3. นายรัตน์ 4. นายจุมพล 5. นายอภิชาติ 6. นางสุวรรณา 7. นายมานิต 8. นายนพร 9. นายคุณวุฒิ 10. นายอภิลาศ 11. นายทวีวฒ ั น์ 12. นายชนินทร์ 13. น.ส.ธาราทิพย์ 14. นายวทัญญู 15. นายอนุชา 16. น.ส.จารุโสภา 17. นายวีรพันธ์ 18. นายทินกร 19. น.ส.ริษนา 20. นายณัฎฐ์ 21. น.ส.วรรณี
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ อัศวโภคิน สารสิน พานิชพันธ์ มีสขุ นารถศิลป์ พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต์เจริญ ธรรมพรหมกุล โอสถานนท์ ตติยมณีกุล รุนสาราญ ตรีมนั่ คง วิสทุ ธิโกศล จิตจาตุรันต์ ธรรมกถิกานนท์ อังสุมาลี พรหมพล ติลกานนท์ จริตชนะ จันทามงคล
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และประธานกรรมการบริ หาร กรรมการ และกรรมการบริ หาร กรรมการ กรรมการบริ หาร และกรรมการผู้จดั การ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ
บจก. มาร์ เก็ต วิลเลจ (บริ ษัทย่ อย) ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
เอกสารแนบ 3
เอกสารแนบอื่น ๆ (ไม่มี)