รายงานประจำป 2553
Moving forward to Service Excellence
www.homepro.co.th
Shop.homepro.co.th
บริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จำกัด (มหาชน)
96/27 หมู 9 ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท 02-832-1000 โทรสาร 02-832-1400 กรุงเทพฯ และปริมณฑล แจ งวัฒนะ เดอะมอลล บางแค ประชาชื่น พระราม 2 เพชรเกษม เพลินจิต แฟชั่น ไอส แลนด ฟิวเจอร มาร ท รังสิต รัชดาภิเษก รัตนาธิเบศร
02-962-6955 02-454-9299 02-955-5888 02-895-6555 02-444-4699 02-655-3400 02-947-6365 02-689-0844 02-958-5699 02-641-2900 02-921-2400
ราชพฤกษ รามคำแหง ลาดพร าว ลำลูกกา สุขาภิบาล 3 สุวรรณภูมิ (บางนา) เสรี เซ็นเตอร เอกมัย-รามอินทรา
02-423-3222 02-735-4999 02-983-7444 02-997-4800 02-976-9114 02-325-1200 02-746-0377 02-933-5000
นครปฐม หัวหิน อยุธยา
034-21-3200 032-52-6000 035-23-6655
กลาง
เหนือ
เชียงใหม เชียงใหม -หางดง พิษณุโลก
ตะวันออกเฉียงเหนือ เขาใหญ ขอนแก น เดอะมอลล โคราช นครราชสีมา (บายพาส2) อุดรธานี
053-85-1229 053-44-7939 055-28-9009 044-32-8799 043-36-5365 044-28-8345 044-28-2550 042-30-9000
ตะวันออก ชลบุรี พัทยา ระยอง
038-78-5111 038-36-0422 038-80-9333
กระบี่ นครศรีธรรมราช ภูเก็ต ภูเก็ต-ฉลอง สมุย สุราษฏร ธานี หาดใหญ
075-81-0499 075-32-4740 076-25-5189 076-60-2399 077-23-1900 077-48-9199 074-46-9055
ใต
Moving forward to Service Excellence
Loving home by homepro
รายงานประจำป 2553
คณะกรรมการบริษัท โฮมโปร คือผู นำในธุรกิจค าปลีกสินค าเกี่ยวกับบ าน และที่อยู อาศัยในประเทศไทย
บริษัทฯ มีสาขาที่เป ดดำเนินการแล ว 40 สาขาทั่วประเทศ โดยมีสินค าสำหรับให บริการมากกว า 60,000 รายการ พร อมกับรูปแบบการบริการที่ครบวงจร เพื่อสร างความพึงพอใจสูงสุดแก ลูกค า
นายอนันต อัศวโภคิน
นายพงส สารสิน
นายมานิต อุดมคุณธรรม
นายรัตน พานิชพันธ
นายอภิลาศ โอสถานนท
นายทวีวัฒน ตติยมณีกุล
ประธานกรรมการ
รายได จากการขาย
+18.4%
กำไรสุทธิ
+44.9%
สินทรัพย สุทธิ
+2,718 ลบ.
จำนวนสาขาใหม
5 สาขา
กรรมการ กรรมการบริหาร และ ประธานกรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ
กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ
24,073 16,592 20,329
13,873
1,638
18,540
40
13,369 12,274
15,944
33 1,131
35
30
นายชนินทร รุนสำราญ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาและ กำหนดค าตอบแทน
นายอภิชาติ นารถศิลป
กรรมการ แล และกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ กรรมการบรหาร กรรมการบริหาร และ กรรมการผู จัดการ
959 710
2550 2551 2552 2553
2550 2551 2552 2553
2550 2551 2552 2553
2550 2551 2552 2553
นายนพร สุนทรจิตต เจริญ
ป 2553 ยอดขาย เพิ่มขึ้น 18.4% มาอยู ที่ 24,073 ล านบาท
กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น 44.9% เป น 1,638 ล านบาท
เพิ่มขึ้นจากการลงทุน ในสินทรัยพ ของ 5 สาขาใหม
สาขาลำลูกกา สาขาสุขภิบาล 3 สาขานครปฐม สาขานครราชสีมา และสาขานครศรีธรรมราช
กรรมการ และกรรมการบริหาร
นายจุมพล มีสุข กรรมการ
นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ
สารบัญ 2 3 12 15 16 18 21 22 23 36 42 43 43 46 50 51 53 54
สารจากประธานกรรมการ สารจากกรรมการผู จัดการ ข อมูลทั่วไป สรุปข อมูลทางการเงิน ลักษณะการประกอบธุรกิจ ป จจัยความเสี่ยง โครงสร างการถือหุ น แผนผังองค กร การจัดการ การกํากับดูแลกิจการ การควบคุมภายใน นโยบายการจ ายเงินป นผล รายการระหว างกัน คําอธิบายและวิเคราะห ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต อรายงานทางการเงิน รายงานของกรรมการตรวจสอบ รายงานของผู สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน 1
สารจากประธานกรรมการ เรียน ท านผู ถือหุ น
“ บริษัทฯ ได เตรียมแผนงาน รวมถึงกลยุทธ ด านต างๆ เพื่อให สามารถ ดําเนินกิจการให ได ผล ตามเป าหมายที่วางไว
ป 2553 ถือเป นจุดเริ่มต นแห งการฟ นฟูทางเศรษฐกิจไทยอย างแท จริง นับตั้งแต ได รับ ผลกระทบจากวิกฤติการณ เศรษฐกิจโลกมาตัง้ แต ป 2551 ตัวเลขการส งออกอันเป นกลไกสําคัญ ต อการผลักดันเศรษฐกิจของไทยกลับมาขยายตัว รวมถึงระดับความเชื่อมั่นของผู บริโภคใน ประเทศเพิ่มสูงขึ้น ส งผลให อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ มวลรวมภายในประเทศ หรือ จีดีพี ตลอดป 2553 ปรับตัวสูงขึ้นเหนือระดับ 7% ด วยภาวะเศรษฐกิจขาขึน้ ดังกล าวนี้ รากฐานทางธุรกิจทีบ่ ริษทั ฯ ได วางไว อย างแข็งแกร ง ทั้งในด านของการขยายเครือข ายสาขา รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารภายในอย าง ต อเนื่อง การเพิ่มศักยภาพ และความได เปรียบเหนือคู แข งในด านของสินค าและบริการ การ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารต นทุนขาย การพัฒนารูปแบบการให บริการ รวมถึงการใช กลยุทธ ทางการตลาดที่เหมาะสม ทําให ในป 2553 โฮมโปรสามารถประสบความสําเร็จทางด าน ยอดขายอย างโดดเด น โดยมีอัตราการขยายตัวของยอดขายสูงถึง 18% และมีอัตราการขยาย ของผลกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นถึง 43% สําหรับในป 2554 แม จะมีการคาดการณ ว า เศรษฐกิจไทยจะยังคงขยายตัวขึ้นอย าง ต อเนื่อง แต ยังคงมีความเปราะบางในหลายๆ ด านที่ต องจับตามอง อาทิ วิกฤติการณ ทาง การเงินในยุโรป สถานการณ ทางการเมืองในประเทศ รวมถึงภาวการณ แข งขันในธุรกิจ บริษทั ฯ ได เตรียมแผนงาน รวมถึงกลยุทธ ด านต างๆ เพื่อให สามารถดําเนินกิจการให ได ผลตาม เป าหมายที่วางไว ทั้งนี้จําเป นต องอาศัยความร วมแรงร วมใจของพนักงานทุกภาคฝ าย ความ ร วมมือของผู ถือหุ นทุกท าน ตลอดจนการสนับสนุนจากคู ค า รวมถึงความไว วางใจ และการ ตอบรับจากลูกค าทุกกลุ มของบริษัทฯ สุดท ายนี้ บริษัทฯ ขอขอบคุณผู ที่ให การสนับสนุนกิจการของบริษัทฯ ในทุกๆ ด าน และหวังเป นอย างยิ่งว า บริษัทฯ จะยังคงได รับความร วมมือ และการสนับสนุนด วยดีต อไป บริษทั ฯ ถือเป นพันธะสัญญาว า จะดําเนิน และพัฒนาธุรกิจให เจริญเติบโตเพือ่ ประโยชน สงู สุด ของผู ถือหุ น คู ค า ลูกค า และพนักงานทั่วประเทศกว า 6,000 ท านสืบต อไป
”
นายอนันต อัศวโภคิน ประธานกรรมการ
2
สารจากกรรมการผู จัดการ เรียน ท านผู ถือหุ น ในป 2553 มีปจ จัยบวกทางเศรษฐกิจหลายป จจัยทีส่ ง สัญญาณดีขนึ้ อาทิ สภาพเศรษฐกิจ ที่กลับมาฟ นตัวอย างชัดเจนทั้งใน และนอกประเทศ ดัชนีความมั่นใจของผู บริโภคภายใน ประเทศทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ได สง ให ผลิตภัณฑ มวลรวมของไทยขยายตัวมากกว า 7% ผลักดันให ธรุ กิจ ของบริษัทฯ สามารถดําเนินงานโดยมีผลประกอบการในระดับที่น าพอใจ มียอดขายสินค า เพิ่มขึ้น 18% และมีผลกําไรเพิ่มขึ้น 44% อันเป นผลจากการเติบโตของยอดขายสาขาเดิม การ เป ดสาขาใหม การจัดงาน HomePro EXPO การเพิม่ สัดส วนสินค า Private Brand การปรับปรุง ประสิทธิภาพการให บริการ รายได ค าโฆษณาและส งเสริมการขาย และรายได ค าบริการอื่นๆ ในป 2553 บริษัทฯ ได ทําการขยายสาขาเพิ่มขึ้นอีก 5 แห ง ได แก สาขานครปฐม สาขา นครราชสีมา ซึ่งเป นสาขาแห งที่ 3 ในจังหวัดนครราชสีมา สาขาลําลูกกา สาขาสุขาภิบาล 3 และสาขานครศรีธรรมราช ทําให ในสิ้นป 2553 บริษัทฯ มีเครือข ายสาขาในการให บริการ ถึง 40 สาขา โดยในป 2554 บริษัทฯ ยังมีแผนที่จะขยายสาขาเพิ่มอีกประมาณ 4-5 แห ง รวมถึงการปรับปรุงสาขาเดิม เพื่อเพิ่มบรรยากาศในการจับจ ายใช สอย ในป 2553 บริษัทฯ ยังเน นเรือ่ งการปรับปรุงประสิทธิภาพภายในอย างต อเนือ่ ง โดยเฉพาะในด านระบบสารสนเทศ โดยได ดําเนินการพัฒนาระบบ SAP รวมถึงระบบฐานข อมูลทั้งหมดของบริษัทฯ เพื่อลดความ ซ้ําซ อนของข อมูล และสามารถดําเนินงานได อย างมีประสิทธิผล รวมถึงสามารถเข าถึงข อมูล ที่จะนํามาใช ในการกําหนดกลยุทธ ของบริษัทฯ ได อย างแม นยํา สําหรับกิจกรรมการตลาดอย างงาน HomePro EXPO ที่จัดขึ้นอย างต อเนื่องเป นป ที่ 6 ในช วงเดือนมีนาคม และตุลาคม สามารถสร างยอดขายได เป นทีน่ า พอใจ และได รบั ความสนใจ จากกลุ มลูกค าอย างเกินความคาดหมาย พร อมกันนั้น บริษัทฯ ยังคงให ความสําคัญต อการ พัฒนาการบริการอย างต อเนื่อง โดยมีเป าหมายหลัก คือ การมุ งสู ความเป นเลิศด านบริการ เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค า การพัฒนาบริการ Home Service ที่ครอบคลุมถึงการ ออกแบบระบบ 3D Design และHomeCare ตลอดจนรายการส งเสริมการขาย ทีต่ รงใจลูกค า อย างต อเนื่อง นอกจากนี้ การทดสอบเพิ่มช องทางการขายผ านระบบ E-Commerce ยังได แล วเสร็จ และคาดว าจะเริ่มดําเนินการอย างเต็มรูปแบบภายในป 2554 บริษัทฯ ยังได ให ความสําคัญต อกิจกรรมเพื่อตอบแทนคืนกลับสังคมอย างต อเนื่อง โดย ในป 2553 บริษัทได ร วมกับกรมอนามัยในการยกระดับห องน้ําภายใต โครงการห องน้ําของหนู โดยได ปรับปรุงและ/หรือจัดสร างห องน้ําที่ผ านมาตรฐานส วมสาธารณะระดับประเทศให แก โรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาเพิ่มเติมอีก 219 ห อง จนถึงป จจุบันได ดําเนินการแล วใน 16 จังหวัด 60 โรงเรียน จํานวนห องน้ํารวม 745 ห อง นอกจากนี้ได ดําเนินโครงการปลูกป า ชายเลนจํานวน 1 แสนต นอย างต อเนื่อง ณ ศูนย ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จ.สมุทรปราการ และจากสถานการณ อุทกภัยในป 2553 โฮมโปรได ร วมกับทางคู ค าจัดลด ราคาสินค าสูงสุดกว า 50% เพื่อลดภาระให แก ผู ประสบภัยในการฟ นฟู ซ อมแซม ปรับปรุง ที่อยู อาศัย รวมถึงบริจาคเงินเพื่อช วยเหลือผู ประสบภัย และร วมเป ดรับบริจาคเงินจากผู มี จิตศรัทธาที่โฮมโปรทุกสาขาทั่วประเทศ จากผลสําเร็จที่เกิดขึ้น บริษัทฯ ขอขอบคุณพนักงานทุกคนสําหรับความมุ งมั่นในการ ทํางาน และหวังเป นอย างยิ่งว าผู ถือหุ น และผู ร วมค า จะยังคงให การสนับสนุนการดําเนิน กิจการของบริษัทฯ ด วยดีต อไป
“ บริษัทฯ ยังคงให
ความสําคัญต อการ พัฒนาการบริการ อย างต อเนื่อง โดยมีเป าหมายหลัก คือ การสู ความเป นเลิศ ด านบริการ เพื่อความ พึงพอใจสูงสุดของลูกค า
”
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการผู จัดการ
3
Business Expansion
Store Expansion ป 2553 โฮมโปรเป ดสาขาใหม เพิม่ อีก 5 แห ง โดยเป นสาขาในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล 2 แห ง ได แก สาขาลําลูกกา สาขาสุขาภิบาล 3 และสาขาในต างจังหวัด 3 แห ง ได แก สาขานครปฐม สาขานครราชสีมา (สาขาที่ 3 ในจังหวัดนครราชสีมา) และสาขานครศรีธรรมราช สิน้ ป 2553 โฮมโปรมีสาขาทีพ่ ร อมให บริการทัว่ ประเทศ ทั้งสิ้น 40 สาขา 4
HomePro Expo โฮมโปรพร อมกับพันธมิตรทางธุรกิจ สถาบันการเงิน ผู ผลิตและจัดจําหน ายสินค ากว า 300 ราย ร วมกันจัดงาน HomePro Expo ครั้งที่ 11 และ 12 ซึ่งจากการจัดงานทั้ง 2 ครั้ง สามารถสร างยอดขายได มากกว า 1,200 ล านบาท นอกจากนี้ ยังได จัดกิจกรรม HomePro Champion อย างต อเนือ่ งเป นป ที่ 4 เพือ่ เป ดโอกาสให คนรักบ านเข าร วมแข งขันเพือ่ โชว ไอเดียการตกแต ง ห องภายใต โจทย ที่กําหนด เพื่อชิงเงินรางวัลมูลค ากว า 200,000 บาท
5
Product Mix Expansion 6
Product Mix Expansion นอกเหนือจากการเพิ่มความหลากหลาย ของสินค าที่ได รับการสนับสนุนจากคู ค า ในประเทศแล ว ตลอดป 2553 บริษัทฯ ยังได พัฒนาสินค า Private Brand อย าง ต อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค หลักอยู ที่การ มุ งสร างมูลค าเพิ่มให กับลูกค า บริษัทฯ คั ด สรรสิ น ค า คุ ณ ภาพในราคาที่ คุ ม ค า โดยประเมิ น จากความต อ งการ และ พฤติกรรมการเลือกซือ้ ของลูกค าเป นหลัก ซึ่งนอกจากจะรักษาฐานลูกค าเดิมไว ได แล ว ยังสามารถสร างความแตกต างจาก คู แข งได อีกด วย จนถึงป จจุบัน บริษัทฯ มี Private Brand ทัง้ สิน้ 36 แบรนด มีสนิ ค า รวมมากกว า 1,000 รายการ
7
Service Expansion Home Service Nationwide Home Service คือ งานบริการที่ครอบคลุมถึงการออกแบบด วยระบบ 3D Design และ HomeCare อันประกอบด วยบริการ ออกแบบ ติดตัง้ งานปรับปรุงและตกแต ง งานตรวจเช็คและบํารุงรักษา ทีโ่ ฮมโปรได รังสรรค ขึ้นจากความเข าใจในความต องการ ของลูกค าอย างแท จริง โดยลูกค าจะได รบั บริการจากทีมช างผูช าํ นาญงานทีม่ คี วามรูใ นงานแต ละประเภท และผลิตภัณฑ ทเี่ กีย่ วข อง เป นอย างดี นอกจากนี้ยังสามารถคุมงบประมาณ และเวลาได อย างแน นอนอีกด วย หลังจากได รับการตอบรับที่ดีจากป ก อน ป นี้โฮมโปรขยายพื้นที่ให บริการ Home Service ครบทั้ง 40 สาขาทั่วประเทศ
Installation Service
Home Improvement Service
Maintenance Service
Customer Satisfaction through HomePro Call Center 02-831-6000 เพราะการเพิม่ ความพึงพอใจของลูกค าเป นอีกหนึง่ เป าหมายทีส่ ําคัญ ของบริษัทฯ ในป 2553 โฮมโปรยังคงเดินหน าพัฒนาระบบ Call Center เพือ่ อํานวยความสะดวกด านการให ขอ มูล และข าวสารต างๆ แก ลกู ค า โดยได นาํ ระบบสารสนเทศ ระบบโทรศัพท และระบบบริหาร จัดการลูกค า (Customer Relation Management) มาใช เพื่อเป น ศูนย กลางในการให ข อมูล ติดตาม ตรวจสอบ และรับแจ งป ญหา พร อมประสานงานกับหน วยงานที่เกี่ยวข องเพื่อแก ไขป ญหา และให บริการลูกค าได อย างรวดเร็วที่สุด
8
Benefit Expansion อภิสิทธิ์เพื่อคนรักบ าน
HomeCard และ Professional Card
ป 2553 โฮมโปรเป ดตัวบัตร HomeCard เพิม่ อีกหนึง่ รูปแบบใหม ภายใต ชอื่ ว า “Professional Card” บัตรสมาชิกสําหรับลูกค ากลุม เจ าของโครงการ ผูร บั เหมา สถาปนิก วิศวกร มัณฑนากร และช าง ลูกค าผูถ อื บัตรจะได สทิ ธิรบั ส วนลดในการซือ้ สินค าและบริการ ส วนลดพิเศษสําหรับ การซือ้ สินค าในกลุม Hard Line อาทิ วัสดุก อสร าง เครือ่ งมือช าง อุปกรณ สําหรับงานระบบ เป นต น ยอดซื้อผ านบัตรจะถูกสะสมเป นคะแนนเพื่อนํามาแลกใช แทนเงินสด นอกจากนี้ ยังได รับสิทธิประโยชน อื่นๆ อาทิ การเข าร วมกิจกรรม Workshop เป นต น
HomePro Visa โฮมโปรได เป ดตัวบัตรเครดิต โฮมโปร วีซ า รูปลักษณ ใหม พร อมสิทธิประโยชน ครบครัน ทั้ง รับส วนลดจากการซื้อสินค าและบริการที่โฮมโปร ส วนลดน้ํามัน รับคะแนนไมล สะสมจาก สายการบิน ภายใต แนวคิด “ครบถ วนเรื่องบ าน เติมเต็มให ชีวิต”
9
Corporate Social Responsibility (CSR)
โครงการห องน้ําของหนู
สิ้นป 2553 โฮมโปรได ส งมอบห องน้ําที่ได มาตรฐาน ส วมสาธารณะระดับประเทศของกรมอนามัย กระทรวง สาธาณสุข ภายใต “โครงการห องน้าํ ของหนู” ไปแล ว ทั้งสิ้น 745 ห อง จาก 60 โรงเรียน ใน 16 จังหวัดทั่ว ประเทศ
10
โครงการปลูกป าชายเลน
ปลูกป าภายใต โครงการ “โฮมโปรร วมใจ ลดภัย โลกร อน” โดยมีเป าหมายในการปลูกต นลําพู และต นแสมให ครบ 100,000 ต น ภายในระยะ เวลา 3 ป ณ ศูนย ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จ.สมุทรปราการ โดยในป 2553 ได ดําเนินการ 2 ครั้ง ในเดือนพฤษภาคม และ กันยายน
โครงการสร าง ห องปฏิบัติการคอมพิวเตอร
เดือนมกราคม 2553 ได มอบเครื่องคอมพิวเตอร ภายใต โครงการ “สร างห องปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร ” ให กบั โรงเรียน บ านบุ งเตย ต.หมูสี อ.ปากช อง จ.นครราชสีมา โดยได เข า ดําเนินการปรับปรุงห อง พร อมกับติดตัง้ เครือ่ งและอุปกรณ ต างๆ ให อยู ในสภาพที่พร อมใช งาน
โครงการช วยเหลือผู ประสบภัยน้ําท วม
ด วยสํานึกความรับผิดชอบในการเป นส วนหนึ่งของสังคม และชุมชน ที่โฮมโปรเข าไปตั้งอยู โฮมโปร มุ งมั่นที่จะเข าไปช วยจรรโลง หรือ ช วยเหลือสังคมในทุกโอกาสที่จะสามารถทําได ซึ่งจากสถานการณ อุทกภัยที่เกิดขึ้นในป 2553 และรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบป โฮมโปร ได ผนึกกําลังกับพันธมิตรผู ร วมค าในการลดราคาสินค าสูงสุดกว า 50% ในกลุ มสินค าที่มีความจําเป นต อการฟ นฟู ปรับปรุง และซ อมแซมที่อยู อาศัยอย างเร งด วน รวมถึงการร วมบริจาคเงินเพื่อช วยเหลือผู ประสบ ภัย และการเป ดรับบริจาคเงินจากผู มีจิตศรัทธา ณ โฮมโปรทุกสาขา ทั่วประเทศ
11
ข อมูลทั่วไป บริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ก อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2538 ด วยทุนจดทะเบียนเริ่มต น 150 ล านบาท ซึ่งเป นการร วมลงทุนของ กลุ ม แลนด แอนด เฮ าส และ บริษัท อเมริกัน อินเตอร แนชชั่นแนล แอสชัวรันส จํากัด ได เข าจดทะเบียนเป นบริษัท รับอนุญาตในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2544 บริษทั ฯ ก อตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ ประกอบธุรกิจค าปลีก โดยจําหน ายสินค าและให บริการทีเ่ กีย่ วข องกับการก อสร าง ต อเติม ซ อมแซม อาคาร บ านและที่อยู อาศัยแบบครบวงจร โดยใช ชื่อทางการค าว า “โฮมโปร” (HomePro) ซึ่งเป นเครื่องหมายการค าของบริษัท สาขาแรก ที่บริษัทได เป ดดําเนินการคือ สาขารังสิต โดยเป ดในเดือนกันยายน 2539 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีสาขารวมทั้งสิ้น 40 สาขา ตัง้ อยูใ นเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 19 สาขา และสาขาต างจังหวัดอีก 21 สาขา บนทําเลทีส่ ะดวกต อการเดินทางในการเลือกซือ้ สินค า ของลูกค า สําหรับป 2553 มีสาขาที่เป ดใหม จํานวน 5 สาขา ได แก สาขานครปฐม นครราชสีมา ลําลูกกา สุขาภิบาล 3 และนครศรีธรรมราช
ข อมูลบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร Website ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ว
96/27 หมู 9 ตําบลบางเขน อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 02-832-1000 02-832-1400 www.homepro.co.th จําหน ายสินค า และให บริการที่เกี่ยวข องกับการก อสร าง ต อเติม ตกแต ง ซ อมแซมบ าน และที่อยู อาศัยแบบครบวงจร บมจ.665 4,426,605,527 หุ น 4,352,991,862 หุ น
ข อมูลบริษัทที่ บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ถือครองตั้งแต ร อยละ 10 ขึ้นไป ชื่อ ที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร ประเภทธุรกิจ จํานวนหุ นที่ออกจําหน าย จํานวนหุ นที่ีถือครอง
12
บริษัท มาร เก็ต วิลเลจ จํากัด 234/1 ถนนเพชรเกษม ตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ 77110 0-3261-8888 0-3261-8800 บริหารพื้นที่ให เช า พร อมให บริการด านสาธารณูปโภค หุ นสามัญ 50,000 หุ น มูลค าหุ นละ 100 บาท 49,993 หุ น
ข อมูลสาขา 1. รังสิต
21. หัวหิน
2. รัตนาธิเบศร
22. สมุย
3. แฟชั่น ไอส แลนด
23. พิษณุโลก
4. ฟ วเจอร มาร ท
24. ขอนแก น
5. พาราไดซ พาร ค (เสรี เซ็นเตอร เดิม)
25. อุดรธานี
6. เดอะมอลล บางแค
26. สุราษฏร ธานี
7. เดอะมอลล โคราช
27. เพชรเกษม
8. รัชดาภิเษก
28. ชลบุรี
9. เพลินจิต
29. รามอินทรา
10. ภูเก็ต
30. ระยอง
11. เชียงใหม
31. อยุธยา
12. รามคําแหง
32. เชียงใหม -หางดง
13. พระราม 2
33. กระบี่
14. ประชาชื่น
34. ภูเก็ต-ฉลอง
15. ลาดพร าว
35. เขาใหญ
16. พัทยา
36. นครปฐม
17. แจ งวัฒนะ
37. นครราชสีมา
18. หาดใหญ
38. ลําลูกกา
19. ราชพฤกษ
39. สุขาภิบาล 3
20. สุวรรณภูมิ
40. นครศรีธรรมราช
161/2 หมู ที่ 2 ถ.พหลโยธิน ต.ประชาธิป ตย อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12130 6/1 หมู ที่ 6 ถ.ตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ จ.นนทบุรี 11140 587, 589 ถ.รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว จ.กรุงเทพฯ 10230 295 ถ.พระราม 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม จ.กรุงเทพฯ 10120 61 ถ.ศรีนครินทร แขวงหนองบอน เขตประเวศ จ.กรุงเทพฯ 10260 275 หมู ที่ 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค จ.กรุงเทพฯ 10160 1242/2 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 125 ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง จ.กรุงเทพฯ 10320 55 อาคารเวฟเพลส ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน จ.กรุงเทพฯ 10330 104 หมู ที่ 5 ถ.บายพาส ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000 94 หมู ที่ 4 ถ.เชียงใหม -ลําปาง ต.หนองป าคลั่ง อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000 647/19 ถ.รามคําแหง (สุขาภิบาล 3) แขวงหัวหมาก เขตบางกะป จ.กรุงเทพฯ 10240 45/581 หมู ที่ 6 ถ.พระราม 2 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน จ.กรุงเทพฯ 10150 96/27 หมู ที่ 9 ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 669 ถ.ลาดพร าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร จ.กรุงเทพฯ 10900 333 หมู ที่ 9 ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20260 113 หมู ที่ 5 ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 677 ถ.เพชรเกษม ต.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 82 หมู ที่ 2 ต.บางขุนกอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 99/28 หมู ที่ 1 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540
234/1 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ 77110 1/7 หมู ที่ 6 ต.บ อผุด อ.เกาะสมุย จ.สุราษฎร ธานี 84320 959 หมู ที่ 10 ต.อรัญญิก อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 177/98 หมู ที่ 17 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก น 40000 89/20 หมู ที่ 9 ซ.บ านหนองเหล็ก ต.หมากแข ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 9/1 หมู ที่ 3 ถ.เลี่ยงเมือง ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎร ธานี 84000 28 หมู ที่ 11 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค างพลู เขตหนองแขม จ.กรุงเทพฯ 10160 15/16 หมู ที่ 3 ต.ห วยกะป อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000 14/12 หมู ที่ 8 แขวงลาดพร าว เขตลาดพร าว จ.กรุงเทพฯ 10310 560 ถ.สุขุมวิท ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 21000 80 หมู 2 ต.บ านกรด อ.บางปะอิน จ.อยุธยา 13160 433/4-5 หมู 7 ต.แม เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 349 หมู 11 ต.กระบี่น อย อ.เมือง จ.กระบี่ 81000 61/10 หมู ที่ 10 ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83130 288 หมู ที่ 11 ต.หนองน้ําแดง อ.ปากช อง จ.นครราชสีมา 30130 752/3 ถ.เพชรเกษม ต.ห วยจรเข อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 384 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 99 ม.6 ต.บึงคําพร อย อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12150 101 ถ.รามคําแหง (สุขาภิบาล3) แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี จ.กรุงเทพฯ 10510 89 ถ.นคร-ปากพนัง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 13
ข อมูลบุคคลอ างอิง ผู สอบบัญชี
บริษัท สํานักงาน เอินส ท แอนด ยัง จํากัด อาคารเลครัชดา ชั้น 33 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-264-0777 โทรสาร 02-264-0789-90
นายทะเบียนหุ น บริษัท ศูนย รับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด
62 อาคารตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ชัน้ 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-229-2800 โทรสาร 02-359-1262-3
ที่ปรึกษากฎหมาย Wissen & Co Ltd.
ชัน้ 8 ห อง 3801 อาคาร บีบี 54 ซอยสุขมุ วิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-259-2627 โทรสาร 02-259-2630
ผู แทนผู ถือหุ นกู
หุ นกู ไม ด อยสิทธิ และไม มีประกันชนิดทยอยชําระคืนเงินต นของบมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ครั้งที่ 1/2551 และ หุ นกู ไม ด อยสิทธิ และไม มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด ครั้งที่ 2/2551 ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-264-0777 โทรสาร 02-264-0789-90
หุ นกู ไม ด อยสิทธิ และไม มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ครั้งที่ 1/2552 และ หุ นกู ไม ด อยสิทธิ และไม มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ครั้งที่ 1/2553 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-626-7503-4, โทรสาร 02-626-7542, 02-626-7218 02-626-7587
หุ นกู ไม ด อยสิทธิ และไม มีประกันของบมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ครั้งที่ 2/2553 ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-256-2323-7 โทรสาร 02-256-2406
14
สรุปข อมูลทางการเงิน (หน วย : ล านบาท) รายการ
สินทรัพย รวม หนี้สินรวม ส วนของผู ถือหุ น รายได จากการขาย รายได รวม กําไร (ขาดทุน) สุทธิ กําไรต อหุ น (บาท) เงินป นผลต อหุ น (บาท)* หุ นสามัญที่ออกชําระแล ว (ล านหุ น)*
2553
16,591.99 10,353.78 6,238.21 24,072.76 25,914.90 1,638.43 0.38 0.186 4,352.99
งบการเงินรวม 2552
13,872.83 8,662.91 5,209.92 20,329.12 21,799.09 1,130.88 0.26 0.212 3,703.93
2551
งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 2552 2551
13,369.07 8,412.86 4,956.21 18,540.27 19,824.19 959.42 0.50 0.35 1,933.61
16,543.68 10,332.80 6,210.88 24,073.78 25,816.76 1,627.21 0.37 0.186 4,352.99
13,824.31 8,630.51 5,193.81 20,330.43 21,710.98 1,126.22 0.26 0.212 3,703.93
13,318.38 8,373.62 4,944.76 18,541.73 19,743.97 953.95 0.49 0.35 1,933.61
หมายเหตุ : วันที่ 4 ตุลาคม 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ น ครั้งที่ 1/2553 อนุมัติให มีการจ ายป นผลระหว างกาลจํานวน 0.186 บาท/หุ น โดยแยกเป น เงินป นผล 0.0193 บาท/หุ น และหุ นป นผล 0.1667 บาท/หุ น พร อมกันนี้ที่ประชุมได อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 632.39 ล านหุ น เพื่อรองรับ การจ ายหุ นป นผล และการใช สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ นสามัญของพนักงานครั้งที่ 4 (ESOP 4)
อัตราส วนทางการเงิน รายการ
2553
งบการเงินรวม 2552
2551
งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 2552 2551
อัตราส วนสภาพคล อง อัตราส วนสภาพคล อง (เท า)
0.77
0.67
0.62
0.76
0.66
0.61
อัตราส วนแสดงความสามารถการทํากําไร อัตรากําไรขั้นต น (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากําไรสุทธิต อรายได รวม (%) อัตราผลตอบแทนผู ถือหุ น (%)
25.01 10.00 6.32 28.62
24.27 8.57 5.19 22.25
23.70 8.01 4.84 20.68
25.01 9.94 6.30 28.54
24.28 8.54 5.19 22.22
23.70 7.98 4.83 20.60
อัตราส วนแสดงประสิทธิภาพการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย รวม (%)
10.76
8.30
7.48
10.72
8.30
7.47
1.66
1.66
1.70
1.66
1.66
1.69
33.89
27.56
22.37
33.32
27.14
21.91
อัตราส วนวิเคราะห นโยบายทางการเงิน อัตราส วนหนี้สินต อส วนผู ถือหุ น (เท า) อัตราส วนความสามารถในการชําระ ดอกเบี้ย (เท า)
15
ลักษณะการประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน เป นผู นําในธุรกิจโฮมเซ็นเตอร ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต พันธกิจ 1. เราจะมอบความคุ มค าในด านสินค า บริการ และราคาให แก ลูกค าเพื่อให โฮมโปรเป นอันดับหนึ่งในใจลูกค า 2. เราจะร วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ ในการเพิ่มประสิทธิภาพด านต างๆ เพื่อสร างสรรค ความสําเร็จร วมกัน 3. เราจะให ความสําคัญและจะพัฒนาบุคลากรให มีศักยภาพในการทํางาน มีความรับผิดชอบต องาน และลูกค า รวมทั้งมีความพอใจ ความสุข และความผูกพันต อโฮมโปร 4. เราจะบริหารงานอย างมืออาชีพตามหลักธรรมาภิบาล การสร างความสัมพันธ ที่ดีต อสังคมและชุมชน 5. เราจะแสวงหาโอกาสใหม ทางธุรกิจเพื่ออนาคต และการสร างมูลค าเพิ่มที่เหมาะสมแก ผู มีส วนได ส วนเสีย ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) บริษทั ฯ ก อตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค เพือ่ ประกอบธุรกิจค าปลีก โดยจําหน ายสินค า และให บริการทีเ่ กีย่ วข องกับการก อสร าง ต อเติม ตกแต ง ซ อมแซม ปรับปรุง อาคาร บ าน และที่อยู อาศัยแบบครบวงจร (One Stop Shopping Home Center) โดยใช ชื่อทางการค าว า “โฮมโปร” (HomePro) ซึ่งเป นเครื่องหมายการค าของบริษัทฯ ป จจุบันมีรายได จากการประกอบธุรกิจ ดังนี้ 1. ธุรกิจค าปลีก โดยแบ งสินค าออกเป น 3 กลุ มหลัก ได แก Hard Line 1
สินค าที่เกี่ยวกับวัสดุก อสร าง สี อุปกรณ ปรับปรุงบ าน ห องน้ําและ สุขภัณฑ
Hard Line 2
สินค าที่เกี่ยวกับเครื่องครัว เครื่องใช ไฟฟ า อุปกรณ ไฟฟ า และโคมไฟ
Soft Line
สินค าประเภทเครื่องนอน ผ าม าน และสินค าตกแต ง
การให บริการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจค าปลีก เนื่องจากสินค าส วนใหญ ของบริษัทฯ เป นสินค าที่มีรายละเอียดของวิธีการ และขั้นตอนการใช งานที่ต องมีการถ ายทอดให กับลูกค า บริษัทฯ จึงจัดให บริการด านต างๆ ที่เกี่ยวข อง โดยเริ่มตั้งแต การให คําปรึกษา และข อมูลที่จะเป นประโยชน ตอ การตัดสินใจ เพื่อให ลูกค า สามารถเลือกซือ้ สินค าได ตรงกับวัตถุประสงค การใช งานมากทีส่ ดุ นอกจากนีม้ บี ริการ “โฮมแคร ” (HomeCare) ทีใ่ ห บริการครอบคลุมงาน ด านการติดตั้ง ซ อมแซม และบํารุงรักษาอุปกรณ เครื่องใช ไฟฟ า งานระบบ งานทาสี งานกระเบื้อง ฯลฯ บริการจัดส งสินค า บริการจัดหา ช างและผู รับเหมา บริการเปลี่ยนคืนสินค า การจัดสาธิต DIY (Do It Yourself) และ กิจกรรม Workshop สําหรับลูกค า เป นต น 2. การให บริการพื้นที่เพื่อร านค าเช า บริษทั ฯ มีการจัดสรรพืน้ ทีใ่ นบางสาขาเพือ่ ให บริการแก รา นค าเช า และมีการพัฒนารูปแบบสาขาทีเ่ รียกว า “โฮมโปร วิลเลจ” (HomePro Village) ซึ่งดําเนินธุรกิจในลักษณะของศูนย การค าเต็มรูปแบบ ภายในโครงการ นอกจากจะมีสาขาของโฮมโปรแล ว ยังมีพื้นที่ในส วนของ ศูนย การค า โดยผู เช าส วนใหญ ได แก ซุปเปอร มาร เก็ต ร านอาหาร ธนาคาร ร านหนังสือ ร านสินค าไอที เป นต น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสาขาในรูปแบบ โฮมโปร วิลเลจทั้งสิ้น 4 สาขา ได แก สาขาสุวรรณภูมิ สาขาหัวหิน สาขา ภูเก็ต-ฉลอง และสาขาราชพฤกษ ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทย อย บริษทั มาร เก็ต วิลเลจ จํากัด ได จัดตัง้ ขึน้ เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2548 ตัง้ อยูท ี่ 234/1 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรขี ันธ โดยบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) เข าถือหุ นทั้งหมดร อยละ 99.99 ป จจุบันมีทุนจดทะเบียน 5 ล านบาท มาร เก็ต วิลเลจ ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เพื่อบริหารพื้นที่ให เช าให กับ บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร พร อมกับให บริการทางด านสาธารณูปโภคแก ผู เช า เริ่มต นดําเนินการที่โครงการ “หัวหิน มาร เก็ต วิลเลจ” (Hua-Hin Market Village) ซึ่งตั้งอยู บริเวณถนนเพชรเกษม จังหวัดประจวบคีรีขันธ เป ดดําเนินการในไตรมาสแรกป 2549 16
โครงสร างรายได รายได ของบริษัทฯ และบริษัทย อยประกอบด วย รายได จากการขาย และรายได อื่น โดยโครงสร างรายได ทั้งสิ้น สามารถแสดงแยกตามสาย ผลิตภัณฑ หลักได ดังนี้ (หน วย : ล านบาท) ผลิตภัณฑ
1. รายได จากการขายปลีก - กลุ ม Hard Line 1 - กลุ ม Hard Line 2 - กลุ ม Soft Line 2. รายได จากการขายให โครงการ1 รวมรายได จากการขาย 3. รายได อื่น2 รวม
2553 จํานวน
10,108.3 9,742.3 3,989.4 232.7 24,072.8 1,842.1 25,914.9
2552 %
39.0 37.6 15.4 0.9 92.9 7.1 100.0
จํานวน
8,604.1 8,123.0 3,428.9 173.1 20,329.1 1,470.0 21,799.1
2551 %
39.5 37.3 15.7 0.8 93.3 6.7 100.0
จํานวน
7,782.2 7,520.9 2,998.9 238.3 18,540.3 1,283.9 19,824.2
%
39.3 37.9 15.1 1.2 93.5 6.5 100.0
หมายเหตุ 1. รายได จากการขายให โครงการไม สามารถจําแนกตามสายผลิตภัณฑ ได 2. รายได อื่น ประกอบด วย ค าเช าพื้นที่ ค าสนับสนุนการขาย เป นต น
การจัดหาผลิตภัณฑ บริษัทฯ จัดหาสินค าโดย 1. สั่งซื้อ บริษัทฯ สั่งซื้อสินค าโดยแบ งตามสายผลิตภัณฑ แยกตามกลุ มสินค า จากผู ผลิต หรือตัวแทนจําหน ายทั้งใน และต างประเทศ โดยมุ งเน นที่คุณภาพ และความหลากหลายของสินค าเป นหลัก ป จจุบนั บริษทั ฯ จัดหาสินค าจากผูผ ลิต และตัวแทนจําหน ายกว า 700 ราย ซึง่ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า นมาได ให การสนับสนุน และดําเนิน งานร วมกันด วยดีมาโดยตลอด ไม วา จะเป นด านการโฆษณา ประชาสัมพันธ การจัดกิจกรรมส งเสริมการขายร วมกัน การร วมวางแผนทางการ ขาย การสนับสนุนและเข าร วมในสาขาที่กําลังจะเป ดใหม 2. สั่งผลิต บริษัทฯ สั่งผลิตสินค าประเภท House Brand จากทั้งผู ผลิตภายในประเทศ และต างประเทศ โดยในเบื้องต นจะคัดเลือก บริษัทผู ผลิตที่ได รับการรับรองมาตรฐานการผลิต ชื่อเสียง การให บริการ รวมถึงรูปแบบการดําเนินงานที่สอดคล องกัน นอกจากนี้บริษัทฯ ยัง มีการเข าเยี่ยมชมโรงงาน และการตรวจสอบผลิตภัณฑ เพื่อพิจารณาคุณภาพโดยรวมอีกด วย ตลาด และภาวะการแข งขัน บริษัทฯ เป นผู นําในธุรกิจค าปลีกสินค าเกี่ยวกับบ าน พร อมบริการที่ครบวงจร ในส วนของคู แข งขัน บริษัทฯ จําแนกผู ประกอบการรายอื่น ที่จําหน ายสินค าในลักษณะเดียวกัน ได ดังนี้ 1. ผู ประกอบธุรกิจโฮมเซ็นเตอร • โฮมเวิร ค (HomeWorks) เป นหน วยธุรกิจค าปลีกสินค าเกี่ยวกับบ านในเครือกลุ มบริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร ปอเรชั่น (Central Retail Corporation) ป จจุบันเป ดดําเนินการ 7 สาขา • โกลบอลเฮ าส (Global House) ประกอบธุรกิจจําหน ายสินค าวัสดุกอ สร าง ตกแต ง เครือ่ งมือ อุปกรณ ทใี่ ช ในงานก อสร าง ต อเติม ตกแต ง บ าน และสวน ในรูปแบบแวร เฮ าส สโตร ดําเนินธุรกิจโดย บมจ. สยามโกลบอลเฮ าส ป จจุบันเป ดดําเนินการ 11 สาขา อย างไรก็ตาม บริษัทเห็นว าธุรกิจนี้ยังมีศักยภาพ และโอกาสทางการตลาดอีกมาก การที่มีผู ประกอบการในธุรกิจนี้เพิ่มขึ้น จะช วย กระตุ นให ผู บริโภครู จัก และเปลี่ยนพฤติกรรมให หันมาซื้อสินค าจากร านสมัยใหม (Modern Trade) แบบโฮมเซ็นเตอร ได มากและเร็วขึ้น
17
2. ผู ประกอบธุรกิจร านค าเฉพาะอย าง (Specialty Store) ได แก ร านค ารายย อยที่เน นการขายสินค าเฉพาะอย าง ซึ่งอาจมีการแข งขัน กับบริษัทฯ ในบางสายผลิตภัณฑ ได แก • ร านสินค าประเภทเซรามิค สุขภัณฑ และชุดครัว ได แก บุญถาวร แกรนด โฮมมาร ท • ร านเฟอร นิเจอร และสินค าตกแต งบ าน ได แก อินเด็กซ ลิฟวิ่ง มอลล • ร านค ารายย อยที่จําหน ายเฉพาะวัสดุก อสร าง ได แก ซิเมนต ไทยโฮมมาร ท ไทวัสดุ • ร านจําหน ายสินค าเฉพาะอย าง 3. ผู ประกอบธุรกิจค าปลีกขนาดใหญ ในกลุ ม Hypermarket โดยธุรกิจเหล านี้มุ งเน นด านการจําหน ายสินค าเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป นหลัก ไม เน นสินค าเกี่ยวกับบ าน อาจมีสินค าบางกลุ มที่จําหน ายทับซ อนกัน แต กลุ มลูกค าเป าหมายหลักต างกัน
ป จจัยความเสี่ยง บริษัทฯ แยกอธิบายป จจัยความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต อการดําเนินธุรกิจ ไว ดังนี้ 1. ความเสี่ยงจากการประกอบธุรกิจ ภาวะเศรษฐกิจตลอดป 2553 แม ว าจะต องเผชิญกับป จจัยลบหลายด าน ทั้งความไม แน นอนของเศรษฐกิจโลก ป ญหาการเมืองภายใน ประเทศ ความผันผวนของค าเงินบาทและเงินทุนเคลื่อนย าย รวมทั้งภัยธรรมชาติต างๆ แต เศรษฐกิจไทยยังขยายตัวได มากว า 7% จากการ ส งออกสินค าและบริการที่เพิ่มขึ้นตามการฟ นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู ค าที่สําคัญรวมทั้งอุปสงค ในประเทศที่ฟ นตัวอย างต อเนื่อง โดย ป จจัยดังกล าวได ส งผลอย างชัดเจนยิ่งขึ้นในช วงครึ่งหลังของป ภาพรวมธุรกิจค าปลีกในป 2553 มีการขยายตัวพอสมควรตามภาวะเศรษฐกิจที่ดีขึ้น เสถียรภาพทางการเมืองที่มีมากขึ้น การใช นโยบาย กระตุ นเศรษฐกิจของภาครัฐ รวมถึงการปรับขึ้นเงินเดือนในทุกภาคส วนของรัฐบาล ส งผลให ผู บริโภคมีกําลังซื้อมากขึ้น โดยในช วงครึ่งป หลัง ดัชนีความเชื่อมั่นของผู บริโภคปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากผู บริโภคเริ่มกลับมามีความมั่นใจในเศรษฐกิจ การจ างงาน รวมถึงรายได ในอนาคต อย างไรก็ตามบริษัทฯ ได มีการติดตามสถานการณ ด านเศรษฐกิจ และการเมืองอย างใกล ชิด เพื่อดําเนินการวางแผนเพื่อหามาตรการ และ กลยุทธ ต างๆ สําหรับป องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อให สามารถดําเนินธุรกิจ และได รับผลสําเร็จตามเป าหมายที่วางไว 1.1 สินค าคงคลัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2553 2552 และ 2551 บริษัทฯ มีสินค าคงเหลือสุทธิ เท ากับ 3,714.23 ล านบาท 2,905.14 ล านบาท และ 2,728.08 ล านบาท ตามลําดับ มีระยะเวลาการขายสินค าเฉลี่ยป 2553 และ 2552 เท ากันที่ 66 วัน และป 2551 ที่ 67 วัน จะเห็นได ว า ขณะทีม่ ลู ค าสินค าคงเหลือเพิม่ มากขึน้ แต บริษทั ฯ ยังคงบริหารจัดการระบบสินค าคงคลังได อย างมีประสิทธิภาพ ทําให สามารถรักษาระยะ เวลาการขายสินค าเฉลี่ยได เท ากับป ที่ผ านมา อย างไรก็ตามบริษัทฯ มีความพยายามอย างต อเนื่องที่จะเพิ่มรอบการหมุนของสินค าคงคลัง ไม ว าจะเป นการพัฒนาคุณภาพการ ให บริการของพนักงานขาย การจัดรายการส งเสริมการขายอย างต อเนื่อง การปรับปรุงรูปแบบการจัดเรียงสินค าและรูปลักษณ ภายในสาขา การเพิม่ สินค าใหม เข าร านอย างสม่าํ เสมอ รวมทัง้ พยายามทีจ่ ะลดปริมาณการจัดเก็บลง ในส วนของการลดปริมาณการจัดเก็บ ในป 2549 บริษัทฯ ได ทําการขยายพื้นที่ศูนย กระจายสินค าให มีขนาดใหญ ขึ้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 พื้นที่รวมมีจํานวน 44,000 ตาราง เมตร และบริษัทฯ มีแผนจะขยายพื้นที่ของศูนย กระจายสินค าเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพื่อให สามารถรองรับการเพิ่มขึ้นของสาขาในอนาคต พร อม กับสามารถบริหารจัดการสินค าได อย างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1.2 การลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสาขาที่เป ดดําเนินการแล วทั้งสิ้นรวม 40 สาขา มีสาขาเป ดใหม ในป 2553 จํานวน 5 สาขา โดยเป นสาขาในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล 2 แห ง ได แก สาขาลําลูกกา สาขาสุขาภิบาล 3 และสาขาในต างจังหวัด 3 แห ง ได แก สาขานครปฐม สาขานครราชสีมา (สาขาที่ 3 ในจังหวัด นครราชสีมา) และสาขานครศรีธรรมราช 18
จากที่บริษัทฯ ได มีนโยบายที่จะขยายสาขาอย างต อเนื่อง อาจมีความเสี่ยงเกี่ยวกับผลการดําเนินงานของสาขาใหม ไม เป นไปตาม ทีไ่ ด ประมาณการไว โดยจะส งผลกระทบต อผลการดําเนินงานโดยรวม บริษทั ฯ หลีกเลีย่ งความเสีย่ งโดยได ทาํ การวิเคราะห ผลตอบแทนจาก การลงทุนก อนที่จะตัดสินใจลงทุนทุกครั้ง มีการจัดทําแผนดําเนินการ งบประมาณประจําป และเมื่อสาขาใหม เป ดดําเนินการจะมีการ ติดตามผลประกอบการ และความคืบหน าของแผนทุกเดือน โดยจะช วยให บริษัทฯ สามารถวางแผนรับความเสี่ยงและแก ไขป ญหาที่อาจ จะเกิดได ทันท วงที 1.3 การปฏิบัติงาน บริษัทฯ มีความเสี่ยงที่จะสูญเสีย หรือได รับความเสียหายในทรัพย สินเนื่องจากการปฏิบัติงานของพนักงานขาย ทั้งนี้บริษัทฯ ได จัด ตัง้ หน วยงานทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับความเสีย่ งดังกล าว คือ ฝ ายป องกันการสูญเสีย (Loss Prevention) ซึง่ รับผิดชอบด านการวางระบบป องกัน ความเสี่ยงและความปลอดภัยในด านต างๆ ของบริษัท รวมถึงความเสี่ยงที่พนักงานอาจได รับจากการปฏิบัติงานด วย 1.4 ลูกหนี้ บริษัทฯ แบ งลูกค าออกเป น 2 กลุ ม คือกลุ มลูกค ารายย อย และ กลุ มผู รับเหมาและเจ าของโครงการ กลุ มลูกค ารายย อย คือลูกค า หน าร านที่ส วนใหญ ขายสินค าเป นเงินสด ส วนกลุ มผู รับเหมาและเจ าของโครงการ คือกลุ มลูกค าทีข่ ายโดยการให เครดิต รายได จากการ ขายส วนใหญ มาจากกลุ มลูกค ารายย อย โดยในป 2553 สัดส วนการขายเป นเงินสดอยู ที่ร อยละ 99.0 ของยอดขายทั้งหมด สําหรับป 2552 และ 2551 สัดส วนอยู ที่ร อยละ 99.1 และ ร อยละ 98.7 สําหรับการขายที่ให เครดิต บริษัทฯ จะพิจารณาเฉพาะโครงการที่มีฐานะการเงิน ที่เชื่อถือได โดยได ตรวจสอบผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินแล ว หรือเป นผู รับเหมาที่มีหนังสือค้ําประกันเป นหลักประกันใน การชําระหนี้ เป นต น ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2553 2552 และ 2551 บริษัทฯ มีลูกหนี้ค างชําระจํานวน 164.02 ล านบาท 144.58 ล านบาท และ 160.63 ล านบาท โดยเป นลูกหนี้บัตรเครดิตเท ากับ 80.44 ล านบาท 65.55 ล านบาท และ 34.06 ล านบาท ตามลําดับ มีการตั้งสํารอง ค าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญคิดเป นมูลค าประมาณ 2.65 ล านบาท 5.40 ล านบาท และ 25.64 ล านบาท ซึง่ ผูบ ริหารได ประเมินระยะเวลาทีก่ าํ หนด ในการชําระหนี้ และสถานะทางการเงินของลูกหนี้แต ละรายแล ว บริษัทฯ เห็นว าค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งไว เพียงพอ และเหมาะสมแล ว 2. ความเสี่ยงจากการแข งขัน บริษัทฯ ประกอบธุรกิจค าปลีกสินค าเกี่ยวกับบ าน และที่อยู อาศัยโดยมีคู แข งขันทั้งทางตรงและทางอ อม เช น ร านจําหน ายสินค าเกี่ยวกับ บ านในลักษณะ Modern trade ร านค าปลีกวัสดุเกี่ยวกับบ าน ห างสรรพสินค า และร านจําหน ายสินค าเฉพาะอย าง เป นต น บริษัทฯ สร าง ความแตกต างโดยมุง เน นในเรือ่ งความหลากหลายของสินค า และการให บริการทีค่ รบวงจร อีกทัง้ ยังมีบริการจัดหาทีมช างผูเ ชีย่ วชาญงานระบบ ด านต างๆ เช น งานระบบไฟฟ า ประปา งานติดตั้งอุปกรณ ที่เกี่ยวข อง เป นต น นอกจากนี้บริษัทฯ ได เน นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารภายใน เพื่อเสริมสร างศักยภาพ สร างความแตกต าง และความได เปรียบต อคู แข งทั้งภายใน และต างประเทศที่อาจเข ามาในอนาคต 3. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข อง กฎหมายที่เกี่ยวข อง และอาจมีผลให เกิดความเสี่ยงต อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีดังนี้ 3.1 กฎหมายผังเมือง รวมกรุงเทพมหานคร ประกาศใช เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2549 มีวัตถุประสงค เพื่อเป นแนวทางในการพัฒนากรุงเทพมหานคร และรองรับการขยายตัวใน อนาคต หากในอนาคตมีการปรับปรุงผังเมืองรวมดังกล าว บริษัทฯ จะไม ได รับผลกระทบจากข อจํากัดนี้แต อย างใด เนื่องจากที่ผ านมา บริษทั ฯได ลงทุนครอบคลุมพืน้ ทีใ่ นเขตกรุงเทพฯ เกือบทุกส วนแล ว แต กลับมองว าเป นการจํากัดการขยายธุรกิจของคูแ ข ง ซึง่ จะเป นประโยชน แก บริษัทฯ อีกด วย 3.2 พระราชบัญญัติการแข งขันทางการค า ในป พ.ศ. 2549 คณะกรรมการการแข งขันทางการค า มีมติให ประกาศใช เกณฑ แนวทางพิจารณาการปฏิบัติทางการค าระหว าง ผู ประกอบธุรกิจค าส งค าปลีกกับผู ผลิต/ผู จําหน าย ภายใต พ.ร.บ.การแข งขันทางการค า พ.ศ. 2542 จํานวน 8 แนวทาง ได แก
19
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
การกําหนดราคาที่ไม เป นธรรม การเรียกรับผลประโยชน ทางเศรษฐกิจที่ไม เป นธรรม การคืนสินค าโดยไม เป นธรรม การใช สัญญาการฝากขายที่ไม เป นธรรม การบังคับให ซื้อ หรือให จ ายค าบริการ (Coercion to Purchase) การใช พนักงานของผู ผลิต/ผู จําหน าย อย างไม เป นธรรม การปฏิเสธการรับสินค าทีส่ งั่ ซือ้ /ผลิตพิเศษ เป นตราเฉพาะของผูส งั่ ผลิต (Private Brand) หรือเป นตราเฉพาะของผูป ระกอบธุรกิจ ค าส งค าปลีก (House Brand) 8. การปฏิบัติที่ไม เป นธรรมอื่นๆ แนวทางพิจารณาการปฏิบตั ทิ างการค า 8 ข อ ดังกล าว มีผลกระทบต อผูค า ปลีกแบบสมัยใหม ทกุ ราย (Modern Trade) อย างไรก็ตาม เพื่อให สามารถดําเนินธุรกิจได สอดคล องตามประกาศข างต น บริษัทฯ ได ตกลงร วมกันในการปรับแก ข อสัญญากับบริษัทคู ค าให มี ความละเอียด และชัดเจนยิ่งขึ้น ป จจุบนั สภาหอการค าไทยได ดาํ เนินการจัดทําร างแก ไขแนวปฏิบตั ิ (Guide Line) ใหม ซึง่ อยูร ะหว างการเจรจาของสภาหอการค าไทย กับทางสมาคมผู ค าปลีก เพื่อหาข อสรุปที่เป นธรรมกับทั้งผู ผลิต และผู ค าปลีกค าส ง 3.3 พระราชบัญญัติการตอบโต การทุ มตลาด และการอุดหนุนซึ่งสินค าจากต างประเทศ พ.ศ. 2542 เนือ่ งจากป จจุบนั บริษทั ฯได มกี ารนําเข าสินค าจากต างประเทศหลายรายการ ประกอบกับในป 2553 จะมีการลดอัตราภาษีสนิ ค านําเข า จากประเทศที่เป นคู สัญญาตามข อตกลงว าด วยความร วมมือทางเศรษฐกิจ ตามข อตกลงต างๆ ทําให ผู ผลิตในประเทศไทยอาจยื่น ข อร องเรียนเรื่องการทุ มตลาดได
20
โครงสร างการถือหุ น ผู ถือหุ นที่ถือหุ นสูงสุด 10 อันดับแรก ณ วันป ดทะเบียน วันที่ 15 ตุลาคม 2553 ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแล วรวม 3,728,518,496 หุ น ประกอบด วย ลําดับ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
ชื่อบุคคล / นิติบุคคล
บริษัท แลนด แอนด เฮ าส จํากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮ าส จํากัด (มหาชน) บริษัท อเมริกัน อินเตอร แนชชั่นแนล แอสชัวรันส จํากัด นายนิติ โอสถานุเคราะห บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด นายมานิต อุดมคุณธรรม BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES LUXEMBOURG HSBC (Singapore) Nominees PTE Limited นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล บริษัท สารสิน จํากัด อื่นๆ
จํานวนหุ น
1,128,118,175 759,959,070 185,900,145 178,339,985 161,942,217 116,126,806 72,420,800 54,518,702 52,441,480 48,087,430 970,663,686
ร อยละของจํานวนหุ น ที่จําหน ายแล วทั้งหมด
30.26 20.38 4.99 4.78 4.34 3.11 1.94 1.46 1.41 1.29 26.03
หมายเหตุ ตารางข างต นแสดงจํานวนหุ นก อนการจ ายหุ นป นผลระหว างกาล ในวันที่ 29 ตุลาคม 2553 โดยบริษัทฯ ได จ ายให แก ผู ถือหุ นที่มีรายชื่อในวัน ป ดสมุดทะเบียน วันที่ 15 ตุลาคม 2553 ในอัตรา 6 หุ นเดิมต อ 1 หุ นป นผล
ข อจํากัดหุ นต างด าว ผู ถือหุ นชาวต างชาติสามารถถือหุ น และมีชื่อปรากฏบนทะเบียนหลักทรัพย ของบริษัทฯ รวมกันได ไม เกินร อยละ 30 ของจํานวนหุ นที่ออก และชําระแล ว โดย ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553 หุ นของบริษัทฯ ที่ถือครองโดยชาวต างชาติอยู ที่ประมาณร อยละ 15 กรรมการที่เป นตัวแทนจากกลุ มผู ถือหุ นรายใหญ โดยกรรมการเหล านี้เป นตัวแทนกลุ มผู ถือหุ นรายใหญ ซึ่งถือหุ นอยู ในบริษัทฯ มากกว าร อยละ 20 ชื่อ - นามสกุล
1. 2. 3. 4. 5.
นายอนันต นายรัตน นายจุมพล นางสุวรรณา นายนพร
อัศวโภคิน พานิชพันธ มีสุข พุทธประสาท สุนทรจิตต เจริญ
ตัวแทนกลุ มผู ถือหุ น
ตําแหน ง
บมจ.แลนด แอนด เฮ าส บมจ. ควอลิตี้ เฮ าส บมจ. ควอลิตี้ เฮ าส บมจ. ควอลิตี้ เฮ าส บมจ.แลนด แอนด เฮ าส
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
21
แผนผังองค กร คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค าตอบแทน
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการผู จัดการ
สํานักตรวจสอบภายใน
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ด านจัดซื้อ Hard Line และธุรกิจต างประเทศ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ด านจัดซื้อสินค า Soft Line
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ด านจัดซื้อสินค า Home Electric Product และ ธุรกิจ The Power
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ด านจัดซื้อต างประเทศ และ กลุ มสินค ากระเบื้องและสุขภัณฑ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ด านปฎิบัติการ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ด านการตลาด
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ด านศูนย กระจายสินค า
22
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ด านพัฒนาธุรกิจ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ด านทรัพยากรบุคคลและป องกันการสูญเสีย
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ด านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ด านบัญชี การเงิน และกฎหมาย
การจัดการ โครงสร างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด วยคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย อย และผู บริหาร สําหรับคณะกรรมการชุดย อย มีทั้งหมด 3 ชุด ได แก คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน โดยรายละเอียด มีดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท มีจํานวนทั้งหมด 12 ท าน โดยประกอบด วยกรรมการอิสระ 4 ท าน กรรมการที่เป นผู บริหาร 1 ท าน และ กรรมการที่ไม ได เป นผู บริหาร 7 ท าน ได แก ชื่อ - นามสกุล
1. นายอนันต 2. นายรัตน 3. นายจุมพล 4. นายอภิชาติ 5. นางสุวรรณา 6. นายมานิต 7. นายนพร 8. นายคุณวุฒิ 9. นายพงส 10. นายอภิลาศ 11. นายทวีวัฒน 12. นายชนินทร
อัศวโภคิน พานิชพันธ มีสุข นารถศิลป พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต เจริญ ธรรมพรหมกุล สารสิน โอสถานนท ตติยมณีกุล รุนสําราญ
ตําแหน ง
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร และประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน กรรมการ กรรมการ และกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน กรรมการ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร กรรมการ และกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการผู จัดการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน
หมายเหตุ : เลขานุการบริษัท คือ นางสาววรรณี จันทามงคล ผู ช วยกรรมการผู จัดการด านบัญชี การเงิน และกฎหมาย
กรรมการผู มีอํานาจลงนาม
1. นายอนันต อัศวโภคิน 5. นายมานิต อุดมคุณธรรม 2. นายจุมพล มีสุข 6. นายนพร สุนทรจิตต เจริญ 3. นายอภิชาติ นารถศิลป 7. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล 4. นางสุวรรณา พุทธประสาท โดยกรรมการสองในเจ็ดคนลงลายมือชื่อร วมกันพร อมประทับตราบริษัทฯ
อํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบริษัท
1. คณะกรรมการมีอํานาจ และหน าที่บริหารงานของบริษัทฯ ให เป นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และข อบังคับของบริษัทฯ ตลอด จนมติของที่ประชุมผู ถือหุ น และมีอํานาจกระทําการใดๆ ตามที่ระบุไว ในหนังสือบริคณห สนธิ 2. คณะกรรมการมีอํานาจแต งตั้งกรรมการจํานวนหนึ่งให เป นคณะกรรมการบริหาร โดยมีจํานวนตามที่คณะกรรมการกําหนด ซึ่งจะ ประกอบด วยประธานกรรมการบริหาร และรองประธานกรรมการบริหารเพือ่ ปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 3. คณะกรรมการอาจแต งตั้งบุคคลอื่นใดให ดําเนินกิจการของบริษัทฯ ภายใต การควบคุมของคณะกรรมการหรืออาจมอบอํานาจ เพือ่ ให บคุ คลดังกล าวมีอาํ นาจตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร และภายในเวลาทีก่ รรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลงหรือแก ไขอํานาจนั้นๆ ก็ได 4. คณะกรรมการต องประชุมอย างน อยสามเดือนต อครั้ง 5. กรรมการจะต องไม ประกอบกิจการซึ่งมีสภาพอย างเดียวกัน และเป นการแข งขันกับกิจการของบริษัทฯ หรือเข าเป นหุ นส วนใน ห างหุ นส วนสามัญ หรือเป นหุ นส วนไม จํากัดความรับผิดในห างหุ นส วนจํากัด หรือเป นกรรมการของบริษัทเอกชนหรือบริษัทอื่นที่ ประกอบกิจการอันมีสภาพอย างเดียวกัน และเป นการแข งขันกับกิจการของบริษัทฯ ไม ว าจะทําเพื่อประโยชน ตน หรือประโยชน อื่น เว นแต จะได แจ งที่ประชุมผู ถือหุ นทราบก อนที่จะมีมติแต งตั้ง 23
6. กรรมการจะต องแจ งให บริษัทฯ ทราบทันทีที่มีส วนได เสียไม ว าโดยทางตรงหรือทางอ อมในสัญญาใดๆ หรือถือหุ นหรือหุ นกู ใน บริษัทฯ และบริษัทในเครือ 7. กรรมการที่มีส วนได เสียในเรื่องใดจะไม มีสิทธิ์ออกเสียงในเรื่องนั้น 8. การตัดสินใจในการลงทุนขยายสาขา หรือการลงทุนที่มีมูลค าสูงที่ไม ใช การดําเนินงานตามปกติของบริษัท เว นแต เรื่องต อไปนี้ ซึ่ง คณะกรรมการต องได รับอนุมัติจากผู ถือหุ นก อนดําเนินการ • เรือ่ งทีก่ ฎหมาย และข อบังคับของสํานักงานกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (กลต.) และตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย (ตลท.) กําหนดให ต องได มติที่ประชุมผู ถือหุ น • การทํารายการที่เกี่ยวข องกันที่มีมูลค าเกินกว าร อยละ 3 ของสินทรัพย ที่มีตัวตนสุทธิของงบการเงินล าสุด • การซื้อหรือขายสินทรัพย สําคัญที่มูลค าเกินกว าร อยละ 50 ของสินทรัพย ตามงบการเงินล าสุด 9. ในกรณีที่ที่ประชุมมีการลงคะแนนเสียงเท ากันให ประธานคณะกรรมการเป นผู ชี้ขาด
นิยามกรรมการอิสระ
“กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการที่มีความเป นอิสระในการแสดงความเห็นต อการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยจะต องเป นผู ที่ไม มีส วน เกี่ยวข อง หรือส วนได เสียต อผลการดําเนินงานทั้งทางตรงและทางอ อม คุณสมบัติของกรรมการอิสระมีดังนี้ 1. ถือหุ นไม เกินร อยละ 1 ของทุนชําระแล วของบริษัทฯ บริษัทในเครือ บริษัทร วม บริษัทที่เกี่ยวข อง ทั้งนี้ให นับรวมหุ นที่ถือโดย ผู ที่เกี่ยวข องด วย 2. มีความเป นอิสระไม ว าโดยทางตรงหรือทางอ อม ทั้งในด านการเงินและการบริหารงานของบริษัทฯ หรือบริษัทร วม หรือบริษัทย อย หรือผู ถือหุ นรายใหญ ของบริษัทฯ และรวมถึงไม มีผลประโยชน หรือส วนได ส วนเสียในลักษณะดังกล าวในเวลา 2 ป ก อนได รับการ แต งตั้งเป นกรรมการอิสระ เว นแต คณะกรรมการบริษัทได พิจารณาอย างรอบคอบแล วเห็นว าการเคยมีผลประโยชน หรือส วนได ส วน เสียนั้นจะไม มีผลกระทบต อการปฏิบัตหิ น าที่และการ ให ความเห็นที่เป นอิสระ 3. ต องไม เป นกรรมการทีไ่ ด รบั การแต งตัง้ ขึน้ เป นตัวแทนเพือ่ รักษาผลประโยชน ของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูถ อื หุน ซึ่งเป นผู ที่เกี่ยวข องกับผู ถือหุ นรายใหญ ของบริษัทฯ 4. ต องไม เป นผู ที่มีส วนร วมในการบริหารงาน รวมทั้งไม เป นลูกจ าง พนักงานหรือที่ปรึกษาที่ได รับเงินเดือนประจําในบริษัทฯ บริษัท ในเครือ บริษัทร วม บริษัทที่เกี่ยวข องหรือผู ถือหุ นรายใหญ ของบริษัทฯ 5. ต องไม เป นผู ที่เกี่ยวข อง หรือญาติสนิทของผู บริหาร หรือผู ถือหุ นรายใหญ ของบริษัทฯ 6. สามารถปฏิบตั ิหน าที่ และแสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามหน าทีท่ ี่ได รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทได โดย อิสระ โดยไม อยู ภายใต การควบคุมของผู บริหารหรือผู ถือหุ นรายใหญ ของบริษัทฯ รวมทั้งผู ที่เกี่ยวข องหรือญาติสนิทของบุคคล ดังกล าว 7. ไม มีลักษณะอื่นใดที่ทําให ไม สามารถให ความเห็นต อการดําเนินงานของบริษัทฯ ได อย างเป นอิสระ
วาระการดํารงตําแหน งของกรรมการบริษัท
การประชุมผู ถือหุ นสามัญประจําป ทุกครั้ง กรรมการจะพ นจากวาระจํานวน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่ดํารงตําแหน งนานที่สุดเป น ผู ที่จะพ นจากวาระ สําหรับกรรมการที่พ นจากวาระอาจถูกเลือกกลับเข ามาดํารงตําแหน งใหม ได และนอกจากการพ นตําแหน งตามวาระแล ว กรรมการจะพ นจากตําแหน งเมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต องห ามตามมาตรา 68 แห งพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ.2535 4. ที่ประชุมผู ถือหุ นลงมติให ออกตามมาตรา 76 แห งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 5. ศาลมีคําสั่งให ออก
24
7. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป นอิสระเพื่อทําหน าที่ผู สอบบัญชีของบริษัทฯ และนําเสนอค าตอบแทนผู สอบ บัญชี ต อคณะกรรมการบริษัท 8. พิจารณาความเป นอิสระของหน วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให ความเห็นชอบในการพิจารณาแต งตั้ง โยกย าย และเลิกจ าง รวมทั้งการพิจารณาผลการปฏิบัติงานประจําป ของหัวหน าหน วยงานตรวจสอบภายใน 9. พิจารณาอนุมัติระเบียบข อบังคับของสํานักงานตรวจสอบภายใน 10. พิจารณาอนุมัติแผนงานตรวจสอบภายในประจําป รวมทั้งพิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผู ตรวจสอบ ภายใน และผู สอบบัญชีของบริษัทฯ ให มีความสัมพันธ เกื้อกูลกัน 11. ประสานความเข าใจให อยู ในแนวทางเดียวกันระหว างคณะกรรมการตรวจสอบ ฝ ายจัดการ ฝ ายตรวจสอบ และผู สอบบัญชี 12. สอบทานและพิจารณาร วมกับผู ตรวจสอบภายใน เกี่ยวกับผลการตรวจสอบ ข อสังเกตและข อเสนอแนะ 13. สอบทานและแก ไขระเบียบข อบังคับคณะกรรมการตรวจสอบเป นปกติป ละครั้ง เพื่อให ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพแวดล อม ขององค กร 14. ดําเนินการตรวจสอบเรือ่ งทีไ่ ด รบั แจ งจากผูส อบบัญชีของบริษทั ฯ ในกรณีทผี่ สู อบบัญชีพบพฤติกรรมอันควรสงสัยว ากรรมการ ผูจ ดั การ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัทฯ ได กระทําความผิดตามที่กําหนดไว ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 และ รายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต นให แก สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และผู สอบบัญชีของบริษัททราบภายในเวลา 30 วันนับตั้งแต วันที่ได รับแจ งจากผู สอบบัญชี 15. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด หรือคณะกรรมการบริษัทมอบหมายตามความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 16. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเป ดเผยไว ในรายงานประจําป ของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล าว ต องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต องประกอบด วยข อมูลอย างน อยดังต อไปนี้ 16.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต อง ครบถ วน เป นที่เชื่อถือได ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 16.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ 16.3 ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว าด วยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข องกับธุรกิจของบริษัทฯ 16.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู สอบบัญชี 16.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย งทางผลประโยชน 16.6 จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข าร วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต ละท าน 16.7 ความเห็นหรือข อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได รับจากการปฏิบัติหน าที่ตามกฎบัตร 16.8 รายการอื่นที่เห็นว าผู ถือหุ นและผู ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต ขอบเขตหน าที่และความรับผิดชอบที่ได รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท
วาระการดํารงตําแหน ง
1. ดํารงตําแหน งคราวละ 3 ป รวมทั้งการแต งตั้งเพิ่มและถอดถอนจากกรรมการตรวจสอบ 2. กรณีที่พ นจากตําแหน งตามวาระอาจได รับการแต งตั้งใหม อีกได 3. กรรมการตรวจสอบพ นจากตําแหน งเมื่อ 3.1 ครบกําหนดตามวาระ 3.2 พ นจากการเป นกรรมการบริษัท 3.3 ลาออก 3.4 ตาย 3.5 ขาดคุณสมบัติการเป นกรรมการตรวจสอบตามข อบังคับนี้ หรือตามหลักเกณฑ ของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย 3.6 คณะกรรมการบริษัทมีมติให พ นจากตําแหน ง 4. กรณีการลาออก ให ยนื่ ใบลาต อประธานกรรมการบริษทั ล วงหน าไม นอ ยกว า 30 วัน โดยคณะกรรมการบริษทั เป นผูอ นุมตั พิ ร อมส งสําเนา หนังสือลาออกให ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยทราบ
26
5. กรณีที่มีตําแหน งว างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให คณะกรรมการบริษัท แต งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ วน เป นกรรมการตรวจสอบ เพื่อให กรรมการตรวจสอบมีจํานวนครบตามที่ได กําหนดไว ในระเบียบข อบังคับ โดยบุคคลที่เข าเป น กรรมการตรวจสอบแทนอยู ในตําแหน งได เพียงเท าวาระที่ยังเหลืออยู ของกรรมการตรวจสอบเดิม พร อมแจ งให ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยทราบ
2.3 คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค าตอบแทน ประกอบด วย ชื่อ - นามสกุล
1. นายรัตน 2. นายชนินทร 3. นายอภิชาติ
พานิชพันธ รุนสําราญ นารถศิลป
ตําแหน ง
ประธานกรรมการสรรหา และกําหนดค าตอบแทน กรรมการสรรหา และกําหนดค าตอบแทน กรรมการสรรหา และกําหนดค าตอบแทน
หมายเหตุ : เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน ครั้งที่ี 1/2554 มีมติแต งตั้งนายนิทัศน อรุณทิพย ไพฑูรย ผู ช วยกรรมการผู จัดการ กลุ มทรัพยากรบุคคล และป องกันการสูญเสีย ให ดํารงตําแหน งเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน
อํานาจหน าที่
1. ทําหน าที่คัดเลือกบุคคลที่สมควรได รับการเสนอรายชื่อเป นกรรมการใหม หรือสรรหากรรมการผู จัดการ 2. กําหนดวิธีการ และหลักเกณฑ การสรรหากรรมการบริษัท หรือกรรมการผู จัดการเพื่อให เกิดความโปร งใส 3. กําหนดวิธีการ และหลักเกณฑ การจ ายค าตอบแทนและผลประโยชน อื่นใดให แก คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย อย ที่คณะกรรมการบริษัทแต งตั้ง ที่เป นธรรมและสมเหตุสมผล และนําเสนอที่ประชุมผู ถือหุ นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณาเสนอแนะการกําหนดค าตอบแทนและผลประโยชน อนื่ ใด โดยคํานึงถึงหน าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการผูจ ดั การ ตลอด จนพิจารณาหลักเกณฑ และประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อกําหนดผลตอบแทนการปฏิบัติงานประจําป 5. พิจารณาทบทวนโครงสร าง หลักเกณฑ ต างๆ เกี่ยวกับค าตอบแทนตามข อ 3 และข อ 4 ให เหมาะสมกับหน าที่ความรับผิดชอบ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และให สอดคล องกับภาวะตลาดด วย 6. พิจารณางบประมาณเกี่ยวกับการขึ้นเงินเดือน และเงินรางวัลประจําป สวัสดิการ ตลอดจนผลประโยชน อื่นใดของพนักงานบริษัทฯ และบริษัทในเครือ 7. จัดทํารายงานการปฏิบัติงานเสนอคณะกรรมการบริษัท อย างน อยป ละ 1 ครั้ง กําหนดนโยบายในภาพรวมเกี่ยวกับการจัดสรรหุ น ให แก พนักงาน (Employee Stock Option Plan) ตามที่กรรมการผู จัดการเสนอมา 8. ปฏิบัติหน าที่อื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย
วาระการดํารงตําแหน ง
1. กรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทนพ นจากตําแหน งเมื่อ 1.1 ครบกําหนดตามวาระ 1.2 พ นจากการเป นกรรมการบริษัท 1.3 ลาออก 1.4 ตาย 1.5 คณะกรรมการบริษัทมีมติให พ นจากตําแหน ง 2. กรณีการลาออก ให ยื่นใบลาต อประธานกรรมการบริษัทล วงหน าไม น อยกว า 30 วัน โดยคณะกรรมการบริษัทเป นผู อนุมัติ 3. กรณีที่มีตําแหน งว างลง เพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให คณะกรรมการบริษัทแต งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ วน เป นกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน เพื่อให มีจํานวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทได กําหนดไว ในระเบียบข อบังคับ
27
การสรรหากรรมการ
บริษัทฯได แต งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน เพื่อทําหน าที่พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควรได รับการเสนอชื่อ เป นกรรมการ หรือกรรมการผู จัดการ โดยพิจารณาบุคคลที่มีความรู ความสามารถและประสบการณ ตามที่บริษัทฯ กําหนด และจะต อง ไม มีคุณสมบัติต องห ามตามหลักเกณฑ ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย รวมถึงกฎหมาย ระเบียบ หรือ ข อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข อง เมื่อผ านการพิจารณาเห็นชอบ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทนจะเสนอต อที่ประชุมสามัญ ผู ถือหุ น เพื่อลงมติแต งตั้งเป นกรรมการบริษัทต อไป หลักเกณฑ การให คะแนนแต งตั้งกรรมการบริษัทในที่ประชุมผู ถือหุ นมีดังนี้ 1. ผู ถือหุ นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท ากับหนึ่งหุ นต อหนึ่งเสียง 2. ผูถ อื หุน แต ละคนจะต องใช คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท งั้ หมดตาม ข อ1. เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือ หลายคนเป นกรรมการได แต จะแบ ง คะแนนเสียงให แก ผู ใดมากน อยเพียงใดไม ได 3. บุคคลซึ่งได รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป นผู ได รับการเลือกตั้งเป นกรรมการเท าจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได รบั การเลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท ากันเกินจํานวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นให ผู เป นประธานในที่ประชุมเป นผู ออกเสียงชี้ขาดเพิ่มอีกหนึ่งเสียง ในป 2553 มีกรรมการครบกําหนดต องออกตามวาระทั้งสิ้น 4 ท าน ได แก 1. นายจุมพล มีสุข 2. นางสุวรรณา พุทธประสาท 3. นายทวีวัฒน ตติยมณีกุล และ 4. นายชนินทร รุนสําราญ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทนกรรมการได พิจารณาตาม หลักเกณฑ การสรรหา เห็นว ากรรมการทั้ง 4 ท านมีคุณสมบัติครบถ วนตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และมี ความรู ความสามารถ รวมถึงมีประสบการณ ในธุรกิจที่เกี่ยวข องกับการดําเนินงานของบริษัท โดยเสนอเรื่องผ านมติคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อเป นวาระในที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นประจําป 2553 โดยที่ประชุมมีมติอนุมัติแต งตั้งกรรมการทั้งหมดกลับเข าดํารงตําแหน ง อีกวาระหนึ่ง
อํานาจหน าที่ของกรรมการผู จัดการ
ตามที่ได กําหนดไว ในมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 7/2544 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2544 และที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 9/2544 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2544 กรรมการผู จัดการมีอํานาจหน าที่เกี่ยวกับการบริหาร บริษัทตามที่คณะกรรมการมอบหมาย และจะต องบริหารบริษัทตามแผนงาน หรืองบประมาณที่ได รับอนุมัติจากคณะกรรมการอย าง เคร งครัด และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน ของบริษัท และผู ถือหุ นอย างดีที่สุด อํานาจหน าที่ของกรรมการได ครอบคลุมถึงเรื่องอื่นๆ ดังต อไปนี้ 1. ดําเนินกิจการ และบริหารงานประจําวันของบริษทั ฯ 2. การอนุมัติค าใช จ ายในการดําเนินงาน ค าใช จ ายในการขาย และบริหาร และรายจ ายลงทุนให เป นไปตามงบประมาณที่ได รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ ไม รวมการกู ยืมและการค้ําประกัน 3. บรรจุ แต งตั้ง ถอดถอน โยกย าย เลื่อนตําแหน ง ลด ตัดเงินเดือน หรือค าจ าง ลงโทษทางวินัย พนักงาน และลูกจ าง ตลอดจนให พนักงาน และลูกจ างออกจากตําแหน งตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด 4. การดําเนินงานอื่นๆ ที่ได รับมอบหมายจากคณะกรรมการ โดยให มีอํานาจดังนี้ • มีอาํ นาจในการบริหารตามวัตถุประสงค ข อบังคับ นโยบาย ระเบียบ ข อกําหนด คําสัง่ และมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการ และที่ ประชุมผู ถือหุ นของบริษัทฯ • มีอาํ นาจดําเนินการ ตลอดจนเข าลงนามในนิตกิ รรม สัญญา เอกสารคําสัง่ หรือหนังสือใดๆ ทีใ่ ช ตดิ ต อกับหน วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และบุคคลอืน่ ตลอดจนให มอี าํ นาจกระทําการใดๆ ทีจ่ าํ เป นและสมควร เพือ่ ให การดําเนินการข างต นสําเร็จลุลว ง • มีอาํ นาจในการมอบอํานาจช วงให บคุ คลอืน่ ปฏิบตั งิ านเฉพาะอย างแทนได โดยให อยูภ ายใต ระเบียบ ข อกําหนด หรือคําสัง่ ทีค่ ณะ กรรมการของบริษัทฯ หรือบริษัทฯ กําหนดไว ทัง้ นีก้ รรมการผูจ ดั การไม สามารถทีจ่ ะอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย งทางผลประโยชน ในลักษณะอืน่ ใดกับบริษทั ฯ หรือบริษัทย อย 28
เลขานุการบริษัท
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2551 คณะกรรมการมีมติอนุมัติให แต งตั้ง นางสาววรรณี จันทามงคล เป นเลขานุการบริษัท เพื่อให เป นไป ตาม “พระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551” ทั้งนี้บริษัทฯ ได แจ งชื่อพร อมกับสถานที่จัดเก็บเอกสาร ของบริษัทฯ ต อคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย แล ว เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2551
อํานาจหน าที่ของเลขานุการบริษัท
1. อํานวยความสะดวกสําหรับกิจกรรมต างๆ ของคณะกรรมการบริษัท 2. ติดตาม และประสานงานกับผู ที่เกี่ยวข อง เพื่อให เกิดการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริษัท พร อมกับรายงานผลการดําเนินงาน ดังกล าวอย างใกล ชิด 3. จัดทําและรักษาเอกสารดังนี้ • ทะเบียนกรรมการ • หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจําป ของบริษัทฯ • หนังสือนัดประชุมผู ถือหุ น และรายงานการประชุมผู ถือหุ น 4. เก็บรักษารายงานการมีส วนได เสียที่รายงานโดยกรรมการ หรือผู บริหาร 5. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด
3. รายชื่อผู บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด วย ชื่อ - นามสกุล
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
นายคุณวุฒิ นายวทัญู นายอนุชา น.ส.จารุโสภา น.ส.ธาราทิพย นายวีรพันธ น.ส.จริยา
8. นายณัฏฐ 9. นายชัยยุทธ 10. นายหาญชัย 11. นายนิทัศน 12. น.ส.วรรณี
ตําแหน ง
ธรรมพรหมกุล วิสุทธิโกศล จิตจาตุรันต ธรรมกถิกานนท ตรีมั่นคง อังสุมาลี โสรธรณ
กรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
จริตชนะ กรัณยโสภณ เหล าพาณิชกร อรุณทิพย ไพฑูรย จันทามงคล
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
หน วยงานที่รับผิดชอบ
งานด านพัฒนาธุรกิจ งานด านจัดซื้อกลุ มสินค า Hard Line และ ธุรกิจต างประเทศ งานด านจัดซื้อกลุ มสินค า Soft Line งานด านจัดซื้อต างประเทศ และสินค ากลุ มกระเบื้องและสุขภัณฑ งานด านปฏิบัติการ งานด านจัดซื้อสินค า Home Electric Product และ ธุรกิจ The Power งานด านการตลาด งานด านศูนย กระจายสินค า งานด านเทคโนโลยีสารสนเทศ งานด านทรัพยากรบุคคล และป องกันการสูญเสีย งานด านบัญชี การเงิน และ กฎหมาย
29
30
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 1 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 2 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ป จจุบัน ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
กรรมการ และ กรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน
นายอภิชาติ นารถศิลป
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการที่ บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร เพียงบริษัทเดียว
กรรมการ
นายจุมพล มีสุข
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 3 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 3 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ ประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
กรรมการ กรรมการบริหาร และ ประธานกรรมการสรรหาและ กําหนดค าตอบแทน
นายรัตน พานิชพันธ
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 5 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 7 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ป จจุบัน ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
ประธานกรรมการ
นายอนันต อัศวโภคิน
ชื่อ - สกุล / ตําแหน ง
53
62
63
60
อายุ
- MBA, University of Southern California - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2547
- MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - M.S. Industrial Engineering, Illinois Institute of Technology, USA - วิศวกรรมศาสตร บัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ป 2547 - M.S. in Business Ad., Fort Hays Kansas State Uinversity, Hays, Kansas, USA. - วิทยาศาสตร บัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2546 - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ป 2548 - MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - BS.ARCH, F.E.U., Philippines - BS.CE, F.E.U., Philippines - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2547 - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ป 2551
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ
-
0.03
-
0.15
-
-
-
-
สัดส วน ความ การถือ สัมพันธ ทาง หุ นใน ครอบครัว บริษัท ระหว าง (%) ผูบ ริหาร
2542 - ป จจุบัน
2544 - ป จจุบัน
2535 - 2553
2538 - 2553 2536 - 2553 2536 - 2553
2538 - ป จจุบัน 2549 - 2553 2547 - 2553 2540 - 2553
2544 - ป จจุบัน
กรรมการ และ กรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน กรรมการ กรรมการ
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการกําหนดค าตอบแทน กรรมการ ประธานเจ าหน าที่บริหาร และ กรรมการผู จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษาประธานเจ าหน าที่บริหาร และ กรรมการผู จัดการ กรรมการ
ประธานกรรมการ และกรรมการผู จัดการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการสรรหาและ กําหนดค าตอบแทน และกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร
2528 - ป จจุบัน 2526 - ป จจุบัน 2544 - ป จจุบัน 2552 - ป จจุบัน 2549 - 2552 2548 - ป จจุบัน
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
ตําแหน ง
2547 - ป จจุบัน 2537 - ป จจุบัน
2538 - ป จจุบัน 2548 - ป จจุบัน
ช วงเวลา
ประสบการณ การทํางานในระยะ 5 ป ย อนหลัง
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ค าปลีก Home center บจก. ไพน บริดจ (ประเทศไทย) บริการคําแนะนําการลงทุน บจก. มิลีนเนียม ไมโครเทค (ประเทศไทย) ผลิตและประกอบชิ้นส วนอิเล็กทรอนิกส
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บริการดูแลผลประโยชน ทางการเงิน
บริหารจัดการอาคาร ค าปลีก Home center ธุรกิจดูแลจัดการบริหารอาคาร ผลิต และจําหน ายวัสดุก อสร าง ลงทุนอสังหาริมทรัพย ในต างประเทศ ธุรกิจโรงแรมในต างประเทศ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ผลิต และจําหน ายวัสดุก อสร าง พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย
บจก. คิว.เอช.อินเตอร เนชั่นแนล บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร บจก. เซ็นเตอร พอยท แมเนจเม นท บจก. คิว-คอน อีสเทอร น บจก. คิว.เอช.อินเตอร เนชั่นแนล (บีวีไอ) บจก. ฮาเบอร วิว บจก. คิว.เอช.อินเตอร เนชั่นแนล บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส บจก. คาซ า วิลล บมจ. ควอลิตี้เฮ าส บจก. คิว.เอช.แมนเนจเม นท
พัฒนาอสังหาริมทรัพย
ธุรกิจพลังงาน
สถาบันการเงิน ธุรกิจป โตรเคมี ธนาคารพาณิชย
ผลิต และจําหน ายวัสดุก อสร าง ผลิต และจําหน ายวัสดุก อสร าง โรงพยาบาล พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center ธนาคารพาณิชย
ประเภทธุรกิจ
บมจ. ควอลิตี้เฮ าส
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ เชียล กรุ ป บมจ. ไออาร พีซี ธนาคารแลนด แอนด เอ าส เพื่อรายย อย จํากัด (มหาชน) บมจ. บ านปู
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ธนาคารแลนด แอนด เอ าส เพื่อรายย อย จํากัด (มหาชน) บจก. คิว-คอน อีสเทอร น บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส บมจ. บางกอก เชน ฮอสป ตอล บมจ. แลนด แอนด เฮ าส บมจ. ควอลิตี้เฮ าส บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
ชื่อหน วยงาน / บริษัท
31
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการที่ บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร เพียงบริษัทเดียว
กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการผู จัดการ
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 4 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 9 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
กรรมการ และกรรมการบริหาร
นายนพร สุนทรจิตต เจริญ
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 1 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 14 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร
นายมานิต อุดมคุณธรรม
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 2 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 7 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
53
52
66
56
นางสุวรรณา พุทธประสาท
กรรมการ
อายุ
ชื่อ - สกุล / ตําแหน ง
- MBA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ป 2544
- MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - วิศวกรรมศาสตร บัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ป 2548 - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2547
- มัธยมศึกษาตอนปลาย - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2547
- MBA จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ป 2550 - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2547
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
1.41
-
3.11
-
-
-
-
-
สัดส วน ความ การถือ สัมพันธ ทาง หุ นใน ครอบครัว บริษัท ระหว าง (%) ผูบ ริหาร
2538 - ป จจุบัน
2538 - 2547 2537 - ป จจุบัน 2537 - ป จจุบัน
2545 - ป จจุบัน 2538 - ป จจุบัน
2544 - ป จจุบัน 2544 - 2553 2543 - ป จจุบัน 2538 - ป จจุบัน 2548 - ป จจุบัน
2543 - ป จจุบัน 2546 - ป จจุบัน 2545 - ป จจุบัน
กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการผู จัดการ
กรรมการ และ รองกรรมการผู จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ และ รองกรรมการผู จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ และ กรรมการบริหาร กรรมการ
2546 - ป จจุบัน 2543 - ป จจุบัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ตําแหน ง
2546 - ป จจุบัน 2553 - ป จจุบัน 2548 - ป จจุบัน
ช วงเวลา
ประสบการณ การทํางานในระยะ 5 ป ย อนหลัง
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร บจก. ไอเดีย ฟ ตติ้ง ธนาคารแลนด แอนด เฮ าส เพื่อรายย อย จํากัด (มหาชน) บจก. คาซ า วิลล บจก. คิว.เอช.แมนเนจเม นท บมจ. ควอลิตี้เฮ าส บจก. คิว.เอช.อินเตอร เนชั่นแนล บจก. เดอะ คอนฟ เด นซ บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร บจก. อาร แอล พี บจก. ภูเก็ต รีสอร ต คลับ บจก. ภูเก็ต ป าตอง คลับ บจก. ยู เอส ไอ โฮลดิ้ง บจก. ธนนนทรี บจก. รังสิตพลาซ า บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร ธนาคารแลนด แอนด เฮ าส เพื่อรายย อย จํากัด (มหาชน) บมจ. แลนด แอนด เฮ าส บจก. แลนด แอนด เฮ าส นอร ธอีส บจก. แลนด แอนด เฮ าส นอร ธ บล. แอสเซท พลัส จํากัด (มหาชน) บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส บมจ. บางกอก เชน ฮอสป ตอล
ชื่อหน วยงาน / บริษัท
ค าปลีก Home center
พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย ธุรกิจหลักทรัพย ผลิต และจําหน ายวัสดุก อสร าง โรงพยาบาล
พัฒนาอสังหาริมทรัพย บริการดูแลผลประโยชน ทางการเงิน พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย ค าปลีก Home center บริษัท Holding บริการ (ให เช าอสังหาริมทรัพย ) บริการ (ให เช าอสังหาริมทรัพย ) บริษัท Holding บริษัท Holding ศูนย การค า ค าปลีก Home center ธนาคารพาณิชย
ค าปลีก Home center ออกแบบ และติดตั้งเฟอร นิเจอร ธนาคารพาณิชย
ประเภทธุรกิจ
32
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 3 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 1 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ ประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน
นายชนินทร รุนสําราญ
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 1 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 1 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
นายทวีวัฒน ตติยมณีกุล
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการที่ บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร เพียงบริษัทเดียว
กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
นายอภิลาศ โอสถานนท
** ป จจุบันดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 6 แห ง และ บริษัทที่ไม ได จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย 5 แห ง โดยในจํานวนนี้ไม มีกิจการที่ประกอบ ธุรกิจประเภทเดียวกันกับบริษัทฯ
กรรมการอิสระ
นายพงส สารสิน
ชื่อ - สกุล / ตําแหน ง
62
- MBA, Fort Hays State University Kansas, USA. - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DCP Program ป 2545 - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร RCM Program ป 2545
- ประถมศึกษา - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2547
- ปริญญาบัตรเทคโนโลยีการเกษตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ - การอบรมจากสมาคมส งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร DAP Program ป 2547
76
65
- ปริญญาตรีดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
83
อายุ
-
-
-
0.22
-
-
-
-
สัดส วน ความ การถือ สัมพันธ ทาง หุ นใน ครอบครัว บริษัท ระหว าง (%) ผูบ ริหาร
2539 - 2552 2529 - ป จจุบัน
2546 - ป จจุบัน
2545 - 2552
2548 - ป จจุบัน
2544 - ป จจุบัน 2532 - ป จจุบัน
2539 - 2552
2544 - ป จจุบัน
2533 - ป จจุบัน 2533 - 2552
2537 - 2553 2537 - ป จจุบัน
2538 - ป จจุบัน 2543 - ป จจุบัน 2539 - ป จจุบัน
ช วงเวลา
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการกําหนดค าตอบแทน กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง และ กรรมการทรัพยากรบุคคลและพิจารณาค าตอบแทน กรรมการผู จัดการ และประธานเจ าหน าที่บริหาร กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกําหนดค าตอบแทน และกรรมการสรรหา
กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ
กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ตําแหน ง
ประสบการณ การทํางานในระยะ 5 ป ย อนหลัง
บมจ. เงินทุน สินอุตสาหกรรม บมจ. ไทยรับประกันภัยต อ
บจก. ซิกโก แอ็ดไวเซอรี่ บมจ. ไทยพาณิชย สามัคคีประกันภัย
บมจ. หลักทรัพย ซิกโก
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร บจก. สตาร แฟชั่น (2551)
Tokyo Leasing
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร บจก. ไทยน้ําทิพย บมจ. แชงกรี-ลา โฮเต็ล บมจ. ธารารมณ เอ็นเตอร ไพรส บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บมจ. สัมมากร บมจ. ฝาจีบ บมจ. เอเชีย่ น พร็อพเพอร ต้ี ดีเวลลอปเม นท
ชื่อหน วยงาน / บริษัท
ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจประกันภัย
ที่ปรึกษาทางการเงิน ธุรกิจประกันภัย
ธุรกิจหลักทรัพย
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center ผลิตและจําหน ายเครื่องแต งกาย
ธุรกิจ Leasing
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center จําหน ายน้ําอัดลม ธุรกิจโรงแรม พัฒนาอสังหาริมทรัพย ผลิต และจําหน ายวัสดุก อสร าง พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาอสังหาริมทรัพย ผลิต และจําหน ายฝาจีบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย
ประเภทธุรกิจ
33
46
47
51
50
48
52
50
52
46
45
46
นาย อนุชา จิตจาตุรันต
นางสาว จารุโสภา ธรรมกถิกานนท
นางสาว ธาราทิพย ตรีมั่นคง
นาย วีรพันธ อังสุมาลี
นาง จริยา โสรธรณ
นาย ณัฏฐ จริตชนะ
นาย ชัยยุทธ กรัณยโสภณ
นาย หาญชัย เหล าพาณิชกร
นาย นิทัศน อรุณทิพย ไพฑูรย
นางสาว วรรณี จันทามงคล
อายุ
นาย วทัญู วิสุทธิโกศล
ชื่อ - สกุล / ตําแหน ง
- MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร
- MBA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
- ปริญญาตรี การบัญชี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
- ปริญญาตรี การเงิน มหาวิทยาลัยรามคําแหง
- MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
- ปริญญาโท สังคมสงเคราะห ศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
- ปริญญาโท วิศวอุตสาหการ สถาบันเอไอที
- มัธยมศึกษาตอนต น
- ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยหอการค า
- MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร
- MBA Georgia State University, USA.
คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด
รายละเอียดเกี่ยวกับผู บริหาร
0.06
0.06
0.02
0.01
0.08
0.07
0.04
0.24
0.07
0.14
0.08
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
สัดส วน ความ การถือ สัมพันธ ทาง หุ นใน ครอบครัว บริษัท ระหว าง (%) ผูบ ริหาร
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ
ตําแหน ง
มี.ค.2548 - ป จจุบัน 2547 - มี.ค. 2548
2553 - ป จจุบัน 2548 - 2553
2550 - ป จจุบัน 2549 - 2550 2548 2547 - 2548 2545 - 2547
ก.ค. 2550 - ป จจุบัน 2549 - มิ.ย. 2550 2548 2545 - 2547
2549 - ป จจุบัน 2542 - 2548
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู อํานวยการฝ ายบัญชีและการเงิน
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู จัดการทั่วไป สํานักตรวจสอบภายใน
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ SAP Manager Project Manager (IT) SAP Consultant & Trainer Service Manager
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ GM - Contract Logistics GM - Contract Logistics Operation & IT Director
ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู จัดการทั่วไป - สายการตลาด
ก.ย. 2550 - ป จจุบัน ผู ช วยกรรมการผู จัดการ 2548 - 2550 ผู จดั การทั่วไป สายเดอะพาวเวอร 2545 - 2548 ผู จดั การทั่วไป สายปฏิบัติการ
ก.ย. 2548 - ป จจุบัน ผู ช วยกรรมการผู จัดการ 2544 - ก.ย. 2548 Director
2543 - ป จจุบัน
2546 - ป จจุบัน
2545 - ป จจุบัน
2545 - ป จจุบัน
ช วงเวลา
ประสบการณ การทํางานในระยะ 5 ป ย อนหลัง
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร บมจ. ไทยน อคซ สเตนเลส
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร บจก. ดีทแฮล ม ธนาคารสแตนดาร ดชาร เตอร ด บจก. ไมโครซอฟท (ประเทศไทย)
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร DHL Exel Supply Chain Thailand บจก. เอ็กเซล โลจิสติคส (ฟาร อีส) บจก. เดวิดส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย)
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร Solution Delivery
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
ชื่อหน วยงาน / บริษัท
ค าปลีก Home center ผลิตเหล็กไร สนิมรีดเย็น
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center จําหน ายสินค าอุปโภค - บริโภค ธนาคารพาณิชย ที่ปรึกษาระบบ Software คอมพิวเตอร ซอฟต แวร
ค าปลีก Home center ให บริการดูแลการกระจายสินค า ให บริการดูแลการกระจายสินค า ให บริการดูแลการกระจายสินค า
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center Computer Consulting
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center
ค าปลีก Home center
ประเภทธุรกิจ
กรรมการ และผู บริหารที่มีอํานาจควบคุมบริษัทย อย ชื่อ - นามสกุล
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18 19. 20. 21. 22. 23. 24.
นายอนันต นายรัตน นายจุมพล นายอภิชาติ นางสุวรรณา นายมานิต นายนพร นายคุณวุฒิ นายพงส นายอภิลาศ นายทวีวัฒน นายชนินทร นายวทัญู นายอนุชา น.ส.จารุโสภา น.ส.ธาราทิพย นายวีรพันธ น.ส.จริยา นายณัฏฐ นายชัยยุทธ นายหาญชัย นายนิทัศน น.ส.วรรณี นายธีร
อัศวโภคิน พานิชพันธ มีสุข นารถศิลป พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต เจริญ ธรรมพรหมกุล สารสิน โอสถานนท ตติยมณีกุล รุนสําราญ วิสุทธิโกศล จิตจาตุรันต ธรรมกถิกานนท ตรีมั่นคง อังสุมาลี โสรธรณ จริตชนะ กรัณยโสภณ เหล าพาณิชกร อรุณทิพย ไพฑูรย จันทามงคล พรหมพล
บมจ. โฮม โปรดักส เซ็นเตอร
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และกรรมการผู จัดการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ -
บจก. มาร เก็ต วิลเลจ (บริษัทย อย)
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
หมายเหตุ : นายธีร พรหมพล ได เกษียณอายุการทํางานเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 โดยบริษัทฯ ได แต งตั้งให นายนิทัศน อรุณทิพย ไพฑูรย เข ารับตําแหน งแทน
ค าตอบแทนกรรมการ และผู บริหาร
1. ค าตอบแทนกรรมการ องค ประกอบของค าตอบแทนกรรมการ คือ ค าตอบแทนในการให คําแนะนําด านต างๆ แก คณะทํางานของบริษัทฯ และ เบี้ยประชุม ซึ่งโดยปกติบริษัทฯได มีการประชุมคณะกรรมการอย างน อยเดือนละ 1 ครั้ง และมีการจัดประชุมคณะกรรมการชุดย อยอื่นๆ ได แก การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุมคณะกรรมการบริหาร การประชุมคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทนกรรมการ และคณะกรรมการบริษัทได พิจารณากําหนดค าตอบแทนกรรมการจาก ผลงานของบริษัทฯในภาพรวม การจ ายเงินป นผลให กับผู ถือหุ น ภาระหน าที่และความรับผิดชอบของกรรมการแต ละคณะแล ว สําหรับ เกณฑ ในการจ ายค าตอบแทนใช เกณฑ เดียวกับการจ ายค าตอบแทนกรรมการของบริษัทที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน ในวันที่ 7 เมษายน 2553 ที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นมีมติอนุมัติค าตอบแทนคณะกรรมการประจําป 2553 ไม เกิน 12 ล านบาท และค าบําเหน็จกรรมการจํานวน 11 ล านบาท โดยรายละเอียดของการจ ายค าตอบแทนในป 2553 มีดังนี้ 1. ค าตอบแทนรายเดือน • ประธานกรรมการ 70,000 บาท / คน / เดือน • กรรมการ 35,000 บาท / คน / เดือน
34
2. ค าเบีย้ ประชุม สําหรับการประชุมคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหารคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค าตอบแทนกรรมการ โดยกําหนดจ ายตามจํานวนครั้งที่เข าประชุม • ประธานกรรมการ 25,000 บาท / คน / เดือน • กรรมการ 15,000 บาท / คน / เดือน ค าเบี้ยประชุม ชื่อ - นามสกุล
1. นายอนันต 2. นายพงส 3. นายรัตน 4. นายจุมพล 5. นายอภิชาติ 6. นางสุวรรณา 7. นายมานิต 8. นายนพร 9. นายคุณวุฒิ 10. นายอภิลาศ 11. นายทวีวัฒน 12. นายชนินทร
อัศวโภคิน สารสิน พานิชพันธ มีสุข นารถศิลป 1 พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต เจริญ ธรรมพรหมกุล2 โอสถานนท ตติยมณีกุล รุนสําราญ รวม
กรรมการ บริษัท
1,015,000 570,000 585,000 600,000 600,000 600,000 570,000 585,000 600,000 600,000 585,000 600,000 7,510,000
กรรมการ บริหาร
180,000 275,000 135,000 180,000 770,000
กรรมการ กรรมการสรรหา าหนดค า ตรวจสอบ และกํ ตอบแทน
300,000 180,000 180,000 660,000
75,000 45,000 45,000 165,000
ค าบําเหน็จ กรรมการ
รวม (บาท)
1,692,308 846,154 846,154 846,154 846,154 846,154 846,154 846,154 846,154 846,154 846,154 846,154 11,000,000
2,707,308 1,416,154 1,686,154 1,446,154 1,491,154 1,446,154 1,691,154 1,566,154 1,626,154 1,746,154 1,611,154 1,671,154 20,105,000
หมายเหตุ : 1. นายอภิชาติ นารถศิลป เป นผู ได รับมอบอํานาจจาก บจก. อเมริกัน อินเตอร แนชชั่นแนล แอสชัวรันส ให รับค าตอบแทนในนาม บจก. ไพน บริดจ (ประเทศไทย) 2. นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล ดํารงตําแหน งกรรมการ และกรรมการผู จัดการ ได รับค าตอบแทนเป นค าเบี้ยประชุมกรรมการ ค าบําเหน็จกรรมการ เงินเดือน และโบนัส โดยส วนของเงินเดือน และโบนัสได รวมอยู ในค าตอบแทนของผู บริหาร
2. ค าตอบแทนผู บริหาร บริษัทฯ มีเกณฑ ในการจ ายค าตอบแทนผู บริหาร โดยพิจารณาจากความรู ความสามารถ ประสบการณ และผลงานที่ผ านมา รวมถึงได พิจารณาเทียบเคียงกับบริษัทอื่นในธุรกิจประเภทเดียวกันด วย ค าตอบแทนของคณะผู บริหาร ประจําป 2552 และ 2553 ได แก เงินเดือน โบนัส และค าตอบแทนอื่นๆ คิดเป นจํานวนรวม ทั้งสิ้น 50.3 ล านบาท และ 54.9 ล านบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ ผู บริหารของบริษัทฯ ยังได รับค าตอบแทนอื่นในรูปใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ นสามัญของบริษัทฯ บุคลากร รายละเอียดจํานวนพนักงานระหว างป 2551 - 2553 มีดังนี้ จํานวนพนักงาน
สํานักงานกลาง สาขา รวม (คน) จํานวนสาขา
31 ธ.ค. 2553
31 ธ.ค. 2552
1,547 4,426 5,973 40
1,420 3,849 5,269 36
31 ธ.ค. 2551
1,232 3,662 4,894 35
หมายเหตุ : จํานวนพนักงานแต ละป ได รวมพนักงานบางส วนของสาขาที่กําลังเตรียมเป ดในป ถัดไปแล ว
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีพนักงานประจําจํานวน 5,973 คน ซึ่งบริษัทฯ มีค าใช จ ายเกี่ยวกับพนักงานรวมทั้งสิ้น 1,786 ล านบาท 35
การกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทได ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการและเชื่อมั่นว าระบบ และการกํากับดูแลกิจการที่ดีเป นป จจัย ต อการดําเนินธุรกิจ เพื่อให การบริหารจัดการธุรกิจเป นไปอย างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความมั่นคงและเจริญเติบโตอย างต อเนื่อง และเกิดความเป นธรรมกับทุกฝ ายที่เกี่ยวข อง จากเหตุผลดังกล าว คณะกรรมการบริษัทจึงได กําหนดนโยบายและการกํากับดูแลกิจการ โดย มีเนื้อหาครอบคลุมหลักการสําคัญในเรื่อง สิทธิของผู ถือหุ น การปฏิบัติต อผู ถือหุ นอย างเท าเทียมกัน การคํานึงถึงบทบาทของผู มีส วนได เสีย การเป ดเผยข อมูลและความโปร งใส และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เพื่อเป นแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจให บรรลุวัตถุประสงค และเป าหมายที่วางไว บนแนวทางของการดําเนินธุรกิจที่ยึดมั่นในความถูกต องและโปร งใส โดยนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ได เป ดเผยไว ที่ www.homepro.co.th/ir/investor_th.html 1. สิทธิของผู ถือหุ น คณะกรรมการบริษัท ให ความสําคัญถึงสิทธิของผู ถือหุ น โดยจะไม กระทําการใดๆ อันเป นการละเมิดหรือริดรอนสิทธิ รวมถึงได อํานวย ความสะดวกในการใช สิทธิเรื่องต างๆ จึงได มีการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน เพื่อสร างความมั่นใจว าผู ถือหุ นจะได รับการคุ มครองสิทธิ ขั้นพื้นฐาน ดังนี้ • บริษัทฯ เป ดโอกาสให ผู ถือหุ นเสนอวาระการประชุม และเสนอรายชื่อบุคคลขึ้นเป นกรรมการ รวมถึงส งคําถามเกี่ยวกับบริษัทล วงหน า ก อนการประชุมผูถ อื หุน ได โดยได แจ งหลักเกณฑ และเอกสารประกอบการแจ งเรือ่ งไว ทเี่ วปไซด ของบริษทั ฯ ตัง้ แต วนั ที่ 1 ธันวาคม 2553 ทั้งนี้ได เป ดโอกาสให ผู ถือหุ นยื่นเรื่องได จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2554 • บริษัทฯ ดําเนินการจัดส งหนังสือนัดประชุมพร อมทั้งข อมูล เอกสารประกอบการประชุมตามวาระต างๆ พร อมกับหนังสือมอบฉันทะ ให แก ผู ถือหุ นล วงหน าก อนวันประชุม 7 วัน หรือตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมถึงมีข อบังคับบริษัทเกี่ยว กับการประชุมผู ถือหุ นและการออกเสียงลงคะแนน • กรณีที่ผู ถือหุ นไม สามารถเข าประชุม สามารถมอบฉันทะให กับกรรมการอิสระในการออกเสียงลงคะแนนแทน หรือสามารถกําหนด การลงคะแนนเสียงเองได โดยในป 2553 บริษัทฯ ได จัดให นายชนินทร รุนสําราญ เป นกรรมการผู รับมอบฉันทะ • ก อนเริ่มการประชุม คณะกรรมการจะชี้แจงแก ผู ถือหุ นให ทราบถึงสิทธิตามข อบังคับของบริษัทฯ การดําเนินการประชุม วิธีการใช สิทธิลงคะแนน รวมทั้งให สิทธิแก ผู ถือหุ นในการตั้งคําถาม และแสดงความเห็น ในที่ประชุมอย างเท าเทียมกัน • ภายหลังการประชุม บริษัทฯ ได ทําการแจ งมติที่ประชุมแก ตลาดหลักทรัพย ฯ ภายในระยะเวลาที่ตลาดหลักทรัพย ฯ กําหนด พร อมกับ มีรายละเอียดจํานวนคะแนนเสียงในแต ละวาระอย างชัดเจน ซึง่ ได จดั ส งรายงานการประชุมให ตลาดหลักทรัพย ฯ ภายใน 14 วัน รวมถึงได เผย แพร รายงานดังกล าวบนเว็บไซต ของบริษัทฯ ด วย 2. การปฏิบัติต อผู ถือหุ นอย างเท าเทียมกัน บริษัทฯ ให ความสําคัญและดูแลให มีการปฏิบัติต อผู ถือหุ นทุกราย ทั้งผู ถือหุ นที่เป นผู บริหาร และผู ถือหุ นที่ไม เป นผู บริหาร รวมทั้งผู ถือหุ น ต างชาติ ควรได รับการปฏิบัติอย างเท าเทียมกันและเป นธรรม บริษทั ฯ มีนโยบายการป องกันการใช ขอ มูลภายใน ซึง่ กําหนดไว ในคูม อื จริยธรรม และได มกี ารเป ดเผยให พนักงาน ผูบ ริหาร และกรรมการ ของบริษัทฯ ทราบ โดยในส วนของนโยบาย และวิธีการดูแลผู บริหารในการนําข อมูลภายในของบริษัทฯ ไปใช เพื่อประโยชน ส วนตนมีดังนี้ • ให ความรู แก ผู บริหารในฝ ายต างๆ เกี่ยวกับหน าที่ที่ผู บริหารต องรายงานการถือหลักทรัพย ของบริษัทฯ และบทกําหนดโทษตาม พระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และตามข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย • บริษัทกําหนดให ผู บริหารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย ต อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แห งพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจัดส งสําเนารายงานนี้ให แก บริษัทในวันเดียว กับวันที่ส งรายงานต อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย • บริษัทฯ แจ งผู บริหารให ระงับการซื้อขายหลักทรัพย ของบริษัท ก อนเป ดเผยงบการเงิน หรือข อมูลภายในต อสาธารณชน 1 เดือน และ ห ามไม ให เป ดเผยข อมูลที่เป นสาระสําคัญนั้นต อบุคคลอื่น โดยได มีการแจ งเตือนผ านทาง E-mail ทุกไตรมาส ทั้งนี้ หากมีการกระทําการฝ าฝ นระเบียบปฏิบัติงานดังกล าวข างต น บริษัทจะดําเนินการทางวินัยเพื่อพิจารณาลงโทษตามสมควรแก กรณี
36
3. บทบาทของผู มีส วนได เสีย บริษัทฯ ได กําหนดแนวปฏิบัติต อผู มีส วนได เสียไว ใน “คู มือจริยธรรมธุรกิจ” ของบริษัทฯ เพื่อให เกิดความมั่นใจว าบริษัทจะปฏิบัติตามเพื่อ ให สิทธิแก ผู มีส วนได เสียตามกฎหมายที่เกี่ยวข อง ไม ว าจะเป นผู ถือหุ น พนักงาน ลูกค า คู ค า ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล อม นอกจากนี้บริษัท ยังได เสริมสร างความร วมมือกับผู มีส วนได เสียในกลุ มต างๆ เพื่อให สามารถดําเนินกิจการต อไปได ด วยความมั่นคง โดยตอบแทนผลประโยชน ที่เป นธรรมแก ทุกฝ าย เพื่อสร างความสําเร็จในระยะยาว ผู ถือหุ น ผู ถือหุ น และผู มีส วนได เสีย สามารถร องเรียน สื่อสาร หรือแจ งเรื่องที่เกี่ยวข องกับบริษัทฯ ต อกรรมการ หรือกรรมการตรวจสอบได ที่ www.homepro.co.th/ir/investor_th.html • การติดต อกับกรรมการบริษัท กรณีที่ต องการแจ งหรือสื่อสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยข อมูลจะถูกส งถึงกรรมการ ผู จัดการ • การติดต อกรรมการตรวจสอบ กรณีทตี่ อ งการร องเรียนเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการทําผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ ข อสงสัยทางบัญชี การ ควบคุมภายใน เป นต น โดยข อมูลดังกล าวจะส งถึงสํานักตรวจสอบภายในของบริษัท เพื่อรวบรวมเสนอต อคณะกรรมการ ตรวจสอบในการพิจารณาต อไป บริษัทคู ค า ในการดําเนินธุรกิจ บริษัทฯ ยึดปฏิบัติตาม พ.ร.บ.การแข งขันทางการค า ตามมติคณะกรรมการการแข งขันทางการค าในป พ.ศ. 2549 ที่ประกาศใช เกณฑ แนวทางพิจารณาการปฏิบัติทางการค าระหว างผู ประกอบธุรกิจค าส งค าปลีกกับผู ผลิต/ผู จําหน าย ภายใต พ.ร.บ. การแข งขันทางการค า พ.ศ. 2542 และเพื่อให สามารถดําเนินธุรกิจได สอดคล องตามประกาศข างต น บริษัทฯ ได ตกลงร วมกันในการปรับแก ข อสัญญากับบริษัทคู ค าให มีความละเอียด และชัดเจนยิ่งขึ้น พนักงาน บริษัทฯ ตระหนักเสมอว าพนักงานเป นทรัพยากรที่สําคัญต อการดําเนินธุรกิจ บริษัทจะไม สามารถเติบโตอย างแข็งแกรงและยั่งยืนได หากพนักงานไม ได รบั การพัฒนาและเติบโตไปด วย เพือ่ บรรลุวสิ ยั ทัศน และพันธกิจของบริษทั ฯ จึงมีนโยบายทีแ่ น วแน ชดั เจนด านการพัฒนา พนักงาน โดยส งเสริมและพัฒนาพนักงานทุกคนให มคี ณุ ภาพ ความรูค วามสามารถ จนถึงศักยภาพสูงสุดของพนักงาน และเติบโตไปพร อม กับบริษทั ฯ พนักงานจะได รบั โอกาสและสนับสนุนให ได รบั การเรียนรู และพัฒนาให เป นทัง้ คนเก งและคนดี มีประสิทธิผลทีส่ งู ขึน้ และพร อม รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได รวมถึงการมีนโยบายที่จะให การดูแลที่เป นธรรมทั้งในด านผลตอบแทน ความก าวหน าในอาชีพ การแต งตั้งโยกย าย ซึ่งที่ผ านมาบริษัทฯ ได ให การดูแลพนักงานในเรื่องที่สําคัญ ดังนี้ 1. บริษทั ฯ ดูแลพนักงานให ได รบั ผลตอบแทนทีเ่ ป นธรรม เหมาะสมกับหน าทีค่ วามรับผิดชอบและสามารถแข งขันกับตลาดแรงงานได รวมทั้งจัดให มีสวัสดิการต างๆ ได แก การตรวจร างกายประจําป ค ารักษาพยาบาล การประกันอุบัติเหตุ เครื่องแบบพนักงาน เงินช วยเหลือฉุกเฉินกรณีประสบภัยจากธรรมชาติ และ กิจกรรมเพื่อเสริมสร างความสุขในชีวิตการทํางาน เช น โฮมโปรใจอาสา ซึ่งเป นโครงการที่สนับสนุนให พนักงานเข าร วมกิจกรรมที่ทําประโยชน ต อชุมชน การจัดแข งกีฬาภายในองค กร การจัดกิจกรรม ทําบุญประจําเดือนเกิด เป นต น 2. จัดให มีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เพื่อให พนักงานมีเงินออมไว ใช ยามเกษียณอายุ 3. บริษัทฯ ให ความสําคัญต อการพัฒนาความรู ความสามารถของพนักงานในทุกๆ ด าน ทั้งเรื่องความรู ในตัวสินค า เรื่องมาตรฐาน การปฏิบัติงาน การให บริการ การบริหารจัดการ รวมถึงเรื่องทัศนคติ และการปฏิบัติงานร วมกัน ซึ่งเป นการเพิ่มทั้งทักษะและการ บริหารจัดการ โดยที่ผ านมาบริษัทฯ ได ปฏิบัติเพื่อการส งเสริมพนักงานดังนี้ • จัดสรรงบประมาณในการพัฒนาบุคลากร ที่เหมาะสมและเพียงพอในการพัฒนาพนักงานทุกระดับ • จัดให มีการพัฒนาหลักสูตรในการเรียนการสอน ในมีความทันสมัยตลอดเวลา • จัดให มีศูนย DIY workshop โดยมีวิทยากรที่มีความรู และเชี่ยวชาญแยกตามกลุ มสินค า
37
• จัดให แต ละสาขามี Learning Center สําหรับพนักงานใหม ได เรียนรู ด วยตัวเอง • มี Individual Development Program เพื่อพัฒนาบุคลากรที่เป นกลุ ม Talent Group ให สามารถที่จะเลื่อนตําแหน งที่สูงขึ้น รองรับการขยายงานของบริษัทได ทันที • สนับสนุนให บุคลากรได ศึกษาต อในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท พร อมทั้งมีทุนสําหรับเรียนภาษาอังกฤษ เพื่อเป นการ เพิ่มศักยภาพในตัวบุคลากร ให สามารถปฏิบัติงานได อย างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ลูกค า บริษัทฯ มุ งดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานของความพึงพอใจสูงสุดของลูกค า และเพื่อให สามารถดําเนินงานได ตามวัตถุประสงค บริษัทฯ ได มีนโยบายและข อปฏิบัติต อลูกค าดังนี้ 1. ส งมอบสินค า และให บริการตามเงือ่ นไขทีไ่ ด ตกลงกับลูกค าอย างเคร งครัด สําหรับกรณีทไี่ ม สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขได บริษทั ฯ ได แจ งแก ลูกค าทราบ เพื่อร วมกันสรุปแนวทางในการแก ไข 2. ให ข อมูล และคําแนะนําเกี่ยวกับสินค าและบริการ รวมถึงเงื่อนไขทางการค าที่เกี่ยวข อง อย างถูกต อง ครบถ วน ไม ให ข อมูลเกิน จริงที่จะเป นเหตุให ลูกค าเกิดความเข าใจผิด 3. เป ดช องทางให ลูกค าสามารถแนะนํา หรือร องเรียนเกี่ยวกับสินค า และบริการ รวมถึงการให บริการของพนักงาน หรือความไม สะดวกอื่นใดที่ลูกค าได รับที่ www.homepro.co.th/cs/ccm.asp ชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล อม บริษัทฯ มีนโยบายในการสนับสนุนกิจกรรมทางสังคม โดยจัดให มีโครงการเพื่อสนับสนุนกิจกรรมที่เป นประโยชน ต อชุมชน และ สังคมดังนี้ 1. โครงการห องปฏิบัติการคอมพิวเตอร เพื่อสร างโอกาสการเรียนรู ผ านทาง Internet ให กับนักเรียนในวัยประถมศึกษา โดยใน ป 2553 บริษัทฯ ได มอบเครื่องคอมพิวเตอร พร อมติดตั้งให กับโรงเรียนบ านบุ งเตย ต.หมูสี อ.ปากช อง จ.นครราชสีมา 2. โครงการยกระดับคุณภาพห องน้ําในโครงการห องน้ําของหนู โดยในป 2553 บริษัทได ร วมกับกรมอนามัยในการยกระดับห องน้ํา ภายใต โครงการห องน้ําของหนู โดยได ปรับปรุงและ/หรือจัดสร างห องน้ําที่ผ านมาตรฐานส วมสาธารณะระดับประเทศ หรือ HAS (Healthy,Accessibility and Safety)ให แก โรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาเพิ่มเติมอีก 219 ห อง จนถึงป จจุบันได ดําเนินการ แล วใน 16 จังหวัด 60 โรงเรียน จํานวนห องน้ํารวม 745 ห อง 3. โครงการปลูกป าชายเลนภายใต ชื่อ “โฮมโปรร วมใจ ลดภัยโลกร อน” เริ่มต นโครงการในป 2552 โดยมีเป าหมายที่จะปลูกต นแสม และต นลําพู จํานวน 100,000 ต น ภายในระยะเวลา 3 ป ณ ศูนย ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ 4. จากสถานการณ อทุ กภัยในป 2553 โฮมโปรได รว มกับทางคูค า จัดลดราคาสินค า เพือ่ ลดภาระให แก ผปู ระสบภัยในการฟ น ฟู ซ อมแซม ปรับปรุงที่อยู อาศัย รวมถึงบริจาคเงินเพื่อช วยเหลือผู ประสบภัย และร วมเป ดรับบริจาคเงินจากผู มีจิตศรัทธาที่โฮมโปรทุกสาขา ทั่วประเทศ 4. การเป ดเผยข อมูลและความโปร งใส คณะกรรมการให ความสําคัญต อการเป ดเผยข อมูลทีถ่ กู ต อง ครบถ วน โปร งใส ทันเวลาและเท าเทียมกันแก นกั ลงทุน และผูท เี่ กีย่ วข องทราบ ทัง้ ในส วนของรายงานทางการเงิน และข อมูลสําคัญอืน่ ทีม่ ผี ลกระทบต อมูลค าหลักทรัพย ของบริษทั ฯ ผ านทางการเผยแพร ของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย และเว็บไซต ของบริษัทฯ บริษัทมีหน วยงานนักลงทุนสัมพันธ รับผิดชอบในการให ข อมูล และรับฟ งความเห็นของผู ถือหุ น และ นักลงทุนอย างสม่ําเสมอ โดยติดต อ คุณรักพงศ อรุณวัฒนา โทร. 02-832-1416 หรือทาง E-mail: ir@homepro.co.th นอกจากนัน้ ได กาํ หนดให มชี อ งทางในการสือ่ สารและกิจกรรม ต างๆ ระหว างผู ถือหุ น นักลงทุนและผู บริหารระดับสูงของบริษัท นอกเหนือจากการประชุมผู ถือหุ นประจําป ดังนี้
38
เว็บไซต
บริษัทฯ นําเสนอผลประกอบการ รายงานประจําป แบบแสดงรายการข อมูลประจําป 56-1 รายงานการ ประชุมผู ถือหุ น ข าวสารเกี่ยวกับบริษัท ข าวแจ ง ตลาดหลักทรัพย webcast เอกสารประกอบการจัดประชุม นักวิเคราะห และช องทางการติดต อ รวมทั้งได มีการเผยแพร ข อมูลของบริษัทในเรื่องการกํากับดูแลกิจการ โครงสร างคณะกรรมการและคณะผูบ ริหาร โครงสร างการถือหุน เพือ่ ความสะดวกและเท าเทียมกันในการสืบค น ข อมูล โดยได จัดทําทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ นอกจากนั้น ผู ถือหุ น นักลงทุน และผู มีส วนได เสียของบริษัท สามารถแสดงความคิดเห็นต างๆ ตลอดจนเสนอ เพิ่มวาระการประชุม และเสนอผู ที่มีคุณสมบัติที่จะดํารงตําแหน งกรรมการก อนที่บริษัทจะส งหนังสือเชิญ ประชุมผ านเว็บไซต ได
การประชุมนัก วิเคราะห หลักทรัพย
บริษัทฯ ได จัดการบรรยายสําหรับนักวิเคราะห และ นักลงทุนรวมทั้งผู ถือหุ นที่สนใจ สําหรับการเป ดเผย ผลประกอบการทุกรายไตรมาส รวมจํานวน 4 ครั้งในป 2553
กิจกรรมพบนักลงทุน ตลอดป 2553 บริษัทฯ ได เป ดโอกาสให นักวิเคราะห หลักทรัพย ผู ถือหุ น และนักลงทุนสถาบันทั้งใน และต าง และการเยี่ยมชม ประเทศเข าพบผูบ ริหาร รวมถึงการประชุมทางโทรศัพท (Conference Call) เพือ่ ตอบข อซักถามเรือ่ งการดําเนิน กิจการ ธุรกิจ ทั้งสิ้นจํานวน 78 ครั้ง และยังได มีโอกาสต อนรับคณะบุคคลกลุ มต างๆ ในการเข าเยี่ยมชมกิจการ (Company Visit) 4 ครั้ง กิจกรรมพบนักลงทุน ป 2553 บริษัทฯ เข าร วมงาน Conference และ Road show ทั้งที่จัดในประเทศ และต างประเทศรวม 11 ครั้ง นอกสถานที่ ได แก 1. งานพบปะนักลงทุนต างประเทศที่จัดโดยสถาบันการเงินในประเทศ 3 ครั้ง 2. งาน Conference และ Roadshow ในต างประเทศ ได แก ประเทศอังกฤษ สิงคโปร มาเลเซีย และ ฮ องกง ทั้งสิ้น 8 ครั้ง งานแถลงข าวและ ความสัมพันธ กับ สื่อมวลชน
บริษัทได จัดให มีการแถลงข าวรวม 2 ครั้ง เกี่ยวกับรายงานผลประกอบการประจําป 2552 พร อมกับทิศทาง การดําเนินธุรกิจในป 2553 และรายงานผลการดําเนินงาน 6 เดือนแรกของป 2553 โดยได จัดทําเอกสารข าว (Press Release) สําหรับสื่อมวลชนด วย นอกจากนี้ คุณคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการผู จัดการของบริษัทฯ ได ให สัมภาษณ ผ านรายการของสถานี Money Channel รวมทั้งสื่อต างๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับแนวโน มอุตสาหกรรม และทิศทางการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ และยังได ร วมเป นวิทยากร ให กับนักศึกษา หลักสูตร TLCA Executive Development Program หรือ EDP รุน ที่ 6 ซึง่ จัดโดย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย และสถาบันวิทยาการ ตลาดทุน ในวันที่ 15 ตุลาคม 2553 อีกด วย
5. ความรับผิดของคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริษัทฯ มีจํานวน 12 ท าน ประกอบด วย 1. กรรมการที่เป นกรรมการบริหาร 4 ท าน 2. กรรมการที่ไม ได เป นกรรมการบริหาร 4 ท าน 3. กรรมการอิสระ 4 ท าน โดยในจํานวนนี้มี 3 ท าน ดํารงตําแหน งกรรมการตรวจสอบ ความรับผิดชอบ คณะกรรมการได มีส วนร วมในการกําหนดนโยบาย เป าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกํากับดูแลให ฝ าย บริหารดําเนินการให เป นไปตามแผน และงบประมาณทีก่ าํ หนดไว อย างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยประธานกรรมการบริษทั ประธาน 39
กรรมการบริหาร และกรรมการผู จัดการของบริษัท ไม ได เป นบุคคลเดียวกัน อีกทั้งมีการแบ งแยกบทบาทหน าที่การกํากับดูแล และการ บริหารออกจากกันอย างชัดเจน ทั้งนี้เพื่อเป นการถ วงดุลอํานาจ และสร างความโปร งใสในการปฏิบัติงาน บริษัทฯ ได มีการแต งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งดํารงตําแหน งเป นกรรมการอิสระทุกท าน เพื่อสอบทานความถูกต อง การเป ดเผย ข อมูลอย างเพียงพอและความน าเชือ่ ถือของรายงานทางการเงิน การกํากับดูแลกิจการและการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ซึง่ มีรายละเอียด ภาระหน าที่ตามที่ระบุไว ใน “ข อ 9 การจัดการ” ส วนของหน าที่คณะกรรมการตรวจสอบ ในกรณีที่มีการทํารายการที่ไม ใช การดําเนินงานตามปกติของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท มีหน าที่พิจารณารายการดังกล าว ซึ่งมี กรรมการที่เป นอิสระร วมอยู ในที่ประชุมด วย บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน เพื่อกําหนดวิธีการ และหลักเกณฑ ในการสรรหากรรมการบริษัท และกําหนด การจ ายค าตอบแทนหรือประโยชน อื่นใด ที่เป นธรรมและสมเหตุผล และนําเสนอที่ประชุมผู ถือหุ นเพื่อพิจารณาอนุมัติ และเพือ่ เป นการส งเสริมให ทกุ ฝ ายปฏิบตั หิ น าทีต่ ามความรับผิดชอบได อย างโปร งใส บริษทั ฯ มีการจัดทํานโยบายการกํากับดูแลกิจการ คู มือจริยธรรม และข อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ ายจัดการ และพนักงาน เพื่อให ผู ที่เกี่ยวข องยึดถือเป นแนวทาง ในการปฏิบตั หิ น าทีต่ ามภารกิจของบริษทั ฯ ด วยความซือ่ สัตย สจุ ริต และติดตามการปฏิบตั ติ ามแนวทางดังกล าวเป นประจํา รวมถึงกําหนด บทลงโทษทางวินัยไว ด วย การปฐมนิเทศและให ความรู ในธุรกิจของบริษัท แก กรรมการใหม บริษัทฯ มีนโยบายให มีการปฐมนิเทศแก กรรมการใหม ทุกท าน เพื่อให ทราบถึงบทบาท หน าที่ และความรับผิดชอบ รวมถึงการให ความรู ความเข าใจในธุรกิจและการดําเนินงานด านต างๆ ของบริษัท เพื่อเตรียมความพร อมในการปฏิบัติหน าที่ของกรรมการ แต เนื่องจากในป 2553 บริษัทไม มีกรรมการใหม จึงไม ได มีการจัดปฐมนิเทศดังกล าว การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหารจะมีการประชุมเป นประจําทุกเดือน และอาจมีการจัดการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตาม ความจําเป น โดยการประชุมแต ละครั้งจะกําหนดวันเวลาการประชุมไว ล วงหน าตลอดทั้งป และจะมีการจัดส งหนังสือเชิญประชุม พร อมระเบียบวาระการประชุมก อนประชุมล วงหน าประมาณ 7 วัน เพื่อให กรรมการได มีเวลาการศึกษามาก อนล วงหน า ในป 2553 บริษัทได มีการประชุมคณะกรรมการบริษัททั้งสิ้น 12 ครั้ง และการประชุมคณะกรรมการชุดย อย ได แก การประชุม คณะกรรมการบริหาร 12 ครั้ง การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 12 ครั้ง และการประชุมคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน 3 ครั้ง โดยรายละเอียดการเข าร วมประชุมของคณะกรรมการเป นดังนี้ จํานวนครั้งที่เข าร วม / จํานวนครั้งที่จัดประชุม ชื่อ - นามสกุล
1. นายอนันต 2. นายพงส 3. นายรัตน 4. นายจุมพล 5. นายอภิชาติ 6. นางสุวรรณา 7. นายมานิต 8. นายนพร 9. นายคุณวุฒิ 10. นายอภิลาศ 11. นายทวีวัฒน 12. นายชนินทร 40
อัศวโภคิน สารสิน พานิชพันธ มีสุข นารถศิลป พุทธประสาท อุดมคุณธรรม สุนทรจิตต เจริญ ธรรมพรหมกุล โอสถานนท ตติยมณีกุล รุนสําราญ
การประชุม คณะกรรมการบริษัท
7 / 12 10 / 12 11 / 12 12 / 12 12 / 12 12 / 12 10 / 12 11 / 12 12 / 12 12 / 12 11 / 12 12 / 12
การประชุม คณะกรรมการบริหาร
การประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ
12 / 12
การประชุม คณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค าตอบแทน
3/3 3/3
11 / 12 9 / 12 12 / 12
12 / 12 12 / 12 12 / 12
3/3
การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู จัดการ บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค าตอบแทน ทําหน าที่ในเสนอความเห็นต อคณะกรรมการบริษัท ในการพิจารณา กําหนดเกณฑ ที่ใช ในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําป ของกรรมการผู จัดการ โดยเกณฑ ดังกล าวจะต องสอดคล องกับเป าหมายของ บริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว แผนการสืบทอดตําแหน งของผู บริหารระดับสูง บริษทั ฯ ได มกี ารจัดทําแผนสืบทอดตําแหน ง เพือ่ เตรียมความพร อมในกรณีทผี่ บู ริหารไม สามารถปฏิบตั งิ านได โดยได เริม่ วางโครงสร าง การทดแทนตําแหน งตัง้ แต ผบู ริหารระดับต นในระดับผูจ ดั การสาขา สําหรับการจัดทําแผนของผูบ ริหารระดับกลาง และระดับสูงอยูร ะหว าง ดําเนินการ ทั้งนี้เพื่อให มั่นใจได ว าการดําเนินงานของบริษัทฯ จะสามารถดําเนินต อไปได การจัดการโดยผู บริหารระดับสูง บริษัทฯ มีนโยบายบริหารความเสี่ยง โดยคณะผู บริหารจะร วมกันพิจารณา และวิเคราะห ป จจัยเสี่ยงทั้งภายนอก และภายในองค กร โดยจะมีการประชุมในทุกๆ 2 สัปดาห และได มีการติดตามสถานการณ ที่เป นสาเหตุของป จจัยเสี่ยงอย างใกล ชิด พร อมกับแจ งให พนักงาน ที่เกี่ยวข องรับทราบ และปฏิบัติตามมาตรการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว การจัดตั้งหน วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อส งเสริมให เกิดกระบวนการกํากับที่ดี บริษัทฯ มีการจัดตั้งหน วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อทําหน าที่สอบทาน และติดตามผลการ ปฏิบตั งิ านให กบั ฝ ายบริหาร โดยปฏิบตั งิ านด วยความเป นอิสระ และรายงานผลการดําเนินงานให กบั คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรงอย าง สม่ําเสมอ นอกจากนีย้ งั ได มกี ารเสนอแต งตัง้ ผูส อบบัญชี ในการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในด านบัญชีของบริษทั ฯ ซึง่ จากมติทปี่ ระชุม ผู ถือหุ นประจําป 2553 อนุมัติให แต งตั้งผู สอบบัญชีจากบริษัทสํานักงาน เอินส ท แอนด ยัง จํากัด โดยนางกิ่งกาญจน อัศวรังสฤษฎ ผู สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4496 เป นผู สอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทย อยประจําป 2553
41
การควบคุมภายใน เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2554 คณะกรรมการตรวจสอบร วมกับกรรมการบริษัท ฝ ายบริหารและจัดการของบริษัทฯ ได ทําการประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยสรุปสาระสําคัญได ดังนี้
1. องค กร และสภาพแวดล อม
คณะกรรมการมีความเห็นว าบริษัทฯ มีโครงสร างองค กรที่ชัดเจน และได กําหนดขอบเขตอํานาจ ความรับผิดชอบแต ละฝ ายไว เป น ลายลักษณ อักษร มีการกําหนดเป าหมายการดําเนินธุรกิจทีช่ ัดเจน วัดผลได ซึ่งในการกําหนดเป าหมาย และแผนงาน ฝ ายจัดการและผูบ ริหาร แต ละสายงาน ได รว มกันพิจารณา และกําหนดเป าหมายธุรกิจ พร อมกลยุทธ ในการดําเนินการ โดยใช ผลการดําเนินงานในป ทผี่ า นมาเป นข อมูล เบื้องต น จึงมั่นใจว ามีความเหมะสม และจะดําเนินงานได ตามเป าหมายที่กําหนด สําหรับนโยบาย ระเบียบปฏิบตั งิ าน และข อกําหนดเกีย่ วกับจริยธรรม (Code of Conduct) บริษทั ฯ ได มกี ารกําหนดไว ในคูม อื จริยธรรม ธุรกิจ เพื่อเป นแนวทางการปฏิบัติงานของกรรมการ ผู บริหาร และพนักงานทุกฝ าย โดยคู มือจริยธรรมธุรกิจนี้ บริษัทฯ ได จัดทําโดยคํานึงถึง กฎหมายและข อบังคับที่เกี่ยวข อง ประกอบกับผลกระทบที่อาจเกิดกับผู มีส วนได เสีย
2. การบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการเห็นว าคณะผู บริหารได พิจารณา และประเมินความเสี่ยงที่อาจมีผลต อการดําเนินงานของบริษัทฯ อย างสม่ําเสมอ โดยมี การกําหนดแผนการดําเนินงานในทุกๆ ป และกําหนดให มีการประชุมในทุกๆ 2 สัปดาห เพื่อติดตามผลการดําเนินงาน และป จจัยเสี่ยงอย าง ใกล ชิด เพื่อกําหนดวิธีบริหาร และควบคุมให ความเสี่ยงอยู ในระดับที่ยอมรับได พร อมกับแจ งให พนักงานที่เกี่ยวข องรับทราบ และปฏิบัติตาม มาตรการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว
3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ ายบริหาร
คณะกรรมการเห็นว าบริษัทฯ ได มีการกําหนดขอบเขต อํานาจหน าที่ และวงเงินอํานาจอนุมัติของฝ ายบริหารในแต ละระดับไว อย าง ชัดเจนเป นลายลักษณ อักษร และแยกหน าที่ความรับผิดชอบงานด านการอนุมัติ การบันทึกบัญชีและข อมูลสารสนเทศ และการดูแลจัดเก็บ ทรัพย สนิ ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพือ่ เป นการตรวจสอบซึง่ กันและกัน ในกรณีทบี่ ริษทั มีการทําธุรกรรมกับผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการ ผูบ ริหาร หรือผู ที่เกี่ยวข องกับบุคคลดังกล าว บริษัทฯจะเสนอรายการดังกล าวผ านที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และทํากระทํารายการนั้น เสมือน ที่กระทํากับบุคคลภายนอก
4. ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข อมูล
คณะกรรมการเห็นว าบริษทั ฯ ได มกี ารจัดทําหนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการโดยมีขอ มูลและรายละเอียดของวาระทีจ่ ะเข าร วมประชุม พร อมทั้งสรุปข อมูลต างๆ ให คณะกรรมการได พิจารณาก อนการประชุมล วงหน าอย างน อย 7 วัน และได จัดให มีการบันทึกรายงานการประชุม กรรมการอย างละเอียด ซึ่งทําให สามารถอ างอิง และตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบัติหน าที่ของกรรมการได ในการจัดทําบัญชี บริษัทได เลือกใช นโนบายตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และได จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกต างๆ อย างเหมาะสม โดยได ว าจ างบริษัท แบรมเบิ้ลส (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเป นบริษัทรับจัดเก็บเอกสารเป นผู รักษาเอกสารโดยมีระบบการดูแล ที่เหมาะสม
5. ระบบการติดตาม
คณะกรรมการเห็นว า บริษัทฯ มีการบรรจุวาระการประชุมเกี่ยวกับการติดตามผลการดําเนินงานในทุกๆ เดือน เพื่อรายงานแก คณะ กรรมการรับทราบ และให ข อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน สําหรับแผนงานในการดําเนินงาน และงบประมาณ บริษัทฯจะมีการจัดทําและ ทบทวนทุกๆ ครึ่งป บริษัทจัดให มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว อย างสม่ําเสมอ โดยใช นโยบายการควบคุม 2 ระดับ คือ (1) ควบคุมกันเองระหว างหน วยงานที่เกี่ยวข องกัน ตามหลักการควบคุมภายในที่ดี และ (2) จัดให มีการตรวจสอบและประเมินผลการควบคุม ภายในโดยสํานักตรวจสอบภายใน ซึ่งบริษัทฯ ได กําหนดให ผู ตรวจสอบต องรายงานผลตรงต อคณะกรรมการ หรือคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้เพื่อให ผู ตรวจสอบสามารถปฏิบัติงานได อย างอิสระและเสนอรายงานผลการตรวจสอบได อย างตรงไปตรงมา นอกจากนี้นางกิ่งกาญจน อัศวรังสฤษฎ ผู สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4496 จากสํานักงานสอบบัญชี เอินส ท แอนด ยัง ผู ตรวจ สอบงบการเงินของบริษัทฯ สําหรับป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553 ได ให ความเห็นเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในด าน บัญชีของบริษัทฯ ว าทางสํานักงานไม พบจุดอ อนที่เป นสาระสําคัญในระบบการควบคุมภายในด านบัญชี 42
นโยบายการจ ายเงินป นผล บริษัทฯ มีนโยบายที่จะจ ายเงินป นผลให แก ผู ถือหุ นไม น อยกว าร อยละ 40 ของกําไรสุทธิในแต ละป ทั้งนี้การพิจารณาจ ายเงินป นผล จะมีการนําป จจัยต างๆ มาพิจารณาประกอบด วย เช น ผลการดําเนินงาน และฐานะการเงินของบริษัท สภาพคล อง การขยายธุรกิจ และ ป จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข องในการบริหารงานของบริษัทฯ โดยในการจ ายเงินป นผลจะต องได รับความเห็นชอบจากผู ถือหุ น และคณะกรรมการ บริษัททุกครั้ง ประวัติการจ ายเงินป นผลสําหรับผลประกอบการประจําป 2551 - 2553 มีดังนี้
เ
เงินป นผลจ าย
2551
2552
บาทต อหุ น
0.35
1.161
2553
0.1862
หมายเหตุ : 1. บริษัทฯ จ ายเงินป นผลจากผลประกอบการของป 2552 ทั้งสิ้น 1.16 บาท/หุ น โดยแยกเป นการจ ายป นผลระหว างกาลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนแรก จํานวน 1 บาท/หุ น ประกอบด วยเงินป นผล 0.10 บาท/หุ น และหุ นป นผลในอัตรา 10 หุ นเดิมต อ 9 หุ นใหม หรือเท ากับ 0.90 บาท/หุ น ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ น ครั้งที่ 1/2552 และจ ายเงินป นผลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนหลังอีก 0.16 บาท/หุ น ตามมติท่ปี ระชุม สามัญประจําป 2553 2. วันที่ 29 ตุลาคม 2553 บริษัทฯ จ ายป นผลระหว างกาลจํานวน 0.186 บาท/หุ น โดยแยกเป นเงินป นผล 0.0193 บาท/หุ น และหุ นป นผลใน อัตรา 6 หุ นเดิมต อ 1 หุ นใหม หรือเท ากับ 0.1667 บาท/หุ น ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ น ครั้งที่ 1/2553
รายการระหว างกัน ป 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบริษัทที่เกี่ยวข องกัน (เกี่ยวข องโดยการถือหุ นหรือ มีผู ถือหุ นและ/หรือมี กรรมการร วมกัน) โดยรายการดังกล าวเป นไปตามเงื่อนไขทางการค า และเกณฑ ตามที่ตกลงระหว างกัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไม มีรายการใน ลักษณะที่เป นการให ความช วยเหลือทางการเงิน ไม ว าจะเป นการให กู ยืมเงิน การค้ําประกันสินเชื่อแก บริษัทที่ไม ใช บริษัทย อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ มียอดคงค างกับกิจการที่เกี่ยวข องกันซึ่งสรุปได ดังนี้ ชื่อบริษัท / ลักษณะความสัมพันธ
1. บมจ.แลนด แอนด เฮ าส และบริษัทย อย - เป นผู ถือหุ นรายใหญ โดยถือหุ นร อยละ 30.26 ของทุนชําระแล ว ณ 15 ต.ค. 2553 - มีกรรมการร วม 2 ท าน คือ 1. นายอนันต อัศวโภคิน 2. นายนพร สุนทรจิตต เจริญ 2. บมจ.ควอลิตี้ เฮ าส และบริษัทย อย - เป นผู ถือหุ นรายใหญ โดยถือหุ นร อยละ 20.38 ของทุนชําระแล ว ณ 15 ต.ค. 2553 - มีกรรมการร วม 4 ท าน คือ 1. นายรัตน พานิชพันธ 2. นายอนันต อัศวโภคิน 3. นางสุวรรณา พุทธประสาท 4. นายจุมพล มีสุข
รายการ
จํานวน (พันบาท) 31 ธ.ค.53
31 ธ.ค.52
ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู บริหาร
ขายสินค า ลูกหนี้การค า
8,478 2,363
3,755 มูลค าดังกล าวเกิดจาก 432 ราคาขายที่เหมาะสม
ขายสินค า ลูกหนี้การค า
3,021 959
617 มูลค าดังกล าวเกิดจาก 142 ราคาขายที่เหมาะสม
โดยเป นราคาเดียวกับ ราคาตลาดที่บริษัทฯ ขายให กับลูกค ารายอื่น
โดยเป นราคาเดียวกับ ราคาตลาดที่บริษัทฯ ขายให กับลูกค ารายอื่น
43
ชื่อบริษัท / ลักษณะความสัมพันธ
3. ธนาคารแลนด แอนด เฮ าส เพื่อรายย อย - มีผู ถือหุ นร วมกัน ได แก 1. บมจ. แลนด แอนด เฮ าส 2. บมจ. ควอลิตี้ เฮ าส - มีกรรมการร วมกัน 4 ท าน ได แก 1. นายอนันต อัศวโภคิน 2. นายรัตน พานิชพันธ 3. นายนพร สุนทรจิตต เจริญ 4. นางสุวรรณา พุทธประสาท 4. บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส และบริษัทย อย - มีผถ ู อื หุน ร วมกัน คือ บมจ.แลนด แอนด เฮ าส - มีกรรมการร วมกัน 3 ท าน คือ 1. นายอนันต อัศวโภคิน 2. นายนพร สุนทรจิตต เจริญ 3. นายจุมพล มีสุข 5. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย ควอลิตี้ เฮ าส - มีผู ถือหุ นร วมกัน ได แก 1. บมจ. ควอลิตี้ เฮ าส 2. บมจ. แลนด แอนด เฮ าส
รายการ
จํานวน (พันบาท) 31 ธ.ค.53
ดอกเบี้ยรับ 5,703 เงินฝากสถาบันการเงิน 1,196,575
31 ธ.ค.52
ความเห็นของกรรมการ ตรวจสอบ และผู บริหาร
1,809 บริษัทฯ ได รับดอกเบี้ย 677,977 ในอัตราเดียวกันกับ ลูกค ารายอื่นของ ธนาคารฯ โดยเป น อัตราดอกเบี้ยตาม ปกติของธนาคาร หรือ สถาบันการเงินอื่น
ซื้อสินค า ลูกหนี้อื่น เจ าหนี้การค า
ค าเช าและค าบริการจ าย เจ าหนี้อื่น เงินประกันการเช า
547 3 -
17,645 1,436 3,000
1,411 มูลค าดังกล าวเกิดจาก 3 ราคาซือ้ ที่เหมาะสม 162 โดยเป นราคาเดียวกับ ราคาตลาดที่บริษัทฯ สามารถซื้อได จาก ผู ผลิตรายอื่น
17,918 มูลค าดังกล าวเกิดจาก 1,302 รายการค าเช าและ 3,000 ค าบริการพื้นที่ในอาคาร เวฟเพลส โดยคณะ กรรมการตรวจสอบได ให ความเห็นว าค าใช จ าย ดังกล าวคํานวณจาก อัตราที่สมเหตุสมผล
44
ความจําเป น และความสมเหตุสมผลของรายการ การทํารายการระหว างกันเป นความจําเป น และมีความสมเหตุสมผลของการทํารายการเพื่อก อให เกิดประโยชน สูงสุดของบริษัทฯ โดย คณะกรรมการตรวจสอบได ให ความเห็นว าเป นไปตามลักษณะธุรกิจทั่วไป ซึ่งบริษัทฯ ได รับและจ ายค าตอบแทนในราคายุติธรรม มาตรการ/ขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหว างกัน สําหรับรายการระหว างกันที่เกิดขึ้นในป จจุบัน และคาดว าจะเกิดขึ้นในอนาคต ได แก การขายสินค าให กับ บมจ. แลนด แอนด เฮ าส และ บมจ. ควอลิตี้ เฮ าส การซื้อและขายสินค ากับบมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส การเช าพื้นที่ในอาคารเวฟเพลสของกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย ควอลิตี้ เฮ าส และการทําธุรกรรมด านเงินฝากกับธนาคารแลนด แอนด เฮ าส เพื่อรายย อย สําหรับรายการขายสินค า บริษัทฯ ได กําหนดราคาตามราคาตลาด ซึ่งเป นราคาที่ผู ซื้อสามารถซื้อได จากผู ผลิตหรือผู จําหน ายรายอื่น โดยทั่วไปจะทําการกําหนดคุณสมบัติ และราคาสินค าก อนล วงหน า เช นเดียวกับรายการซื้อสินค า บริษัทฯ สั่งซื้อสินค าตามราคาราคาตลาด ซึง่ สามารถสัง่ ซือ้ ได จากผูผ ลิต หรือผูจ าํ หน ายรายอืน่ โดยรายการระหว างกันนีค้ ณะกรรมการตรวจสอบได พจิ ารณา และให ความเห็นว ารายการ ดังกล าวเป นไปตามลักษณะของการประกอบธุรกิจโดยทั่วไป ซึ่งบริษัทฯ ได รับ และจ ายค าตอบแทนในราคายุติธรรม นโยบายหรือแนวโน มการทํารายการระหว างกัน บริษัทฯ มีนโยบายที่จะกําหนดเงื่อนไขทางการค าสําหรับการเข าทํารายการระหว างกันให เป นไปตามลักษณะการดําเนินธุรกิจ ตามปกติ ราคาสินค าที่ขายจะกําหนดให อยู ในระดับที่สามารถแข งขันกับผู ขายรายอื่นได รายการระหว างกั นที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้ น คณะกรรมการบริ ษั ทจะต องปฏิ บั ติให เป นไปตามกฎหมายว าด วยหลั กทรั พย และตลาดหลักทรัพย และข อบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตาม ข อกําหนดเกี่ยวกับการเป ดเผยข อมูลการทํารายการเกี่ยวโยงและการได มาหรือจําหน ายทรัพย สินที่สําคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทย อย ทั้งนี้ หากมีรายการระหว างกันของบริษัทฯ หรือบริษัทย อยเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย งทางผลประโยชน มีส วนได ส วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย งทางผลประโยชน ในอนาคต บริษัทฯ จะได ให คณะกรรมการตรวจสอบเป นผู ให ความเห็นเกี่ยวกับความจําเป น และความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม มีความชํานาญในการพิจารณารายการระหว างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษทั ฯ จะได ให ผเู ชีย่ วชาญอิสระ หรือผูส อบบัญชีของบริษทั ฯ เป นผูใ ห ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว างกันดังกล าว เพือ่ นําไปใช ประกอบการ ตัดสินใจของคณะกรรมการ หรือผู ถือหุ นตามแต กรณี ทั้งนี้บริษัทฯ จะเป ดเผยรายการระหว างกันไว ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได รับ การตรวจสอบจากผู สอบบัญชีของบริษัทฯ
45
คําอธิบาย และวิเคราะห ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ภาพรวมของผลการดําเนินงานที่ผ านมา ภาวะเศรษฐกิจตลอดป 2553 แม ว าจะต องเผชิญกับป จจัยลบหลายด าน ทั้งความไม แน นอนของเศรษฐกิจโลก ป ญหาการเมืองภายใน ประเทศ ความผันผวนของค าเงินบาทและเงินทุนเคลื่อนย าย รวมทั้งภัยธรรมชาติต างๆ แต เศรษฐกิจไทยยังขยายตัวได มากว า 7% จากการ ส งออกสินค าและบริการที่เพิ่มขึ้นตามการฟ นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู ค าที่สําคัญ รวมทั้งอุปสงค ในประเทศที่ฟ นตัวอย างต อเนื่อง โดย ป จจัยดังกล าวได ส งผลอย างชัดเจนยิ่งขึ้นในช วงครึ่งหลังของป ภาพรวมธุรกิจค าปลีกในป 2553 มีการขยายตัวพอสมควรตามภาวะเศรษฐกิจทีด่ ขี นึ้ เสถียรภาพทางการเมืองทีม่ มี ากขึน้ การใช นโยบาย กระตุ นเศรษฐกิจของภาครัฐ รวมถึงการปรับขึ้นเงินเดือนในทุกภาคส วนของรัฐบาล ส งผลให ผู บริโภคมีกําลังซื้อมากขึ้น โดยในช วงครึ่งป หลัง ดัชนีความเชื่อมั่นของผู บริโภคปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากผู บริโภคเริ่มกลับมามีความมั่นใจในเศรษฐกิจ การจ างงาน รวมถึงรายได ในอนาคต อย างไรก็ตามบริษัทฯ ได มีการติดตามสถานการณ ด านเศรษฐกิจ และการเมืองอย างใกล ชิด เพื่อดําเนินการวางแผนเพื่อหามาตรการ และกลยุทธ ต างๆ สําหรับป องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อให สามารถดําเนินธุรกิจ และได รับผลสําเร็จตามเป าหมายที่วางไว สําหรับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในป 2553 ทั้งยอดขาย รายได รวม และกําไรสุทธิ ยังคงเติบโตขึ้นจากป ก อน โดยป จจัยที่เป น ตัวผลักดัน ได แก จํานวนสาขาที่เพิ่มขึ้น การเติบโตของยอดขายในสาขาเดิม ยอดขายของสาขาที่เป ดใหม ประสิทธิภาพการบริหารสินค า คงคลัง รายได จากธุรกิจให บริการพื้นที่เช า รายได จากการจัดงาน HomePro Expo เป นต น ผลการดําเนินงาน เปรียบเทียบผลการดําเนินงาน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 กับช วงเวลาเดียวกันของป 2552 1. รายได จากการขาย ป 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อย มีรายได จากการขายทั้งสิ้น 24,072.76 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน จํานวน 3,743.64 ล านบาท หรือร อยละ 18.42 โดยป จจัยของการเพิ่มขึ้นมาจากการเติบโตของยอดขายของสาขาเดิม ยอดขายของสาขาที่เป ดใหม ใน ป 2553 และยอดขายจากงาน HomePro Expo ในช วงไตรมาสที่ 1 และ 4 ของป 2. รายได อื่น ป 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อย มีรายได อื่นทั้งสิ้น 1,842.15 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 372.17 ล านบาท หรือร อยละ 25.32 สัดส วนต อยอดขายเพิ่มขึ้นจากร อยละ 7.23 มาอยู ที่ร อยละ 7.65 โดยรายละเอียดมีดังนี้ • รายได ค าเช าและค าบริการเพิ่มขึ้น 83.46 ล านบาท จากพื้นที่เช าของสาขาในรูปแบบโฮมโปร วิลเลจ และพื้นที่เช าในงาน HomePro Expo ครั้งที่ 11 - 12 • รายได อนื่ เพิม่ ขึน้ 288.71 ล านบาท จากรายได คา โฆษณา ค าสนับสนุนกิจกรรมส งเสริมการขายจากบริษทั คูค า และค าบริการ ต างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการขายสินค า 3. ต นทุนขาย และกําไรขั้นต น ในป 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อยมีต นทุนขายทั้งสิ้น 18,052.22 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 2,657.15 ล านบาท หรือร อยละ 17.26 โดยเป นผลมาจากการปรับตัวตามยอดขาย บริษัทฯ มีกําไรขั้นต นจํานวน 6,020.53 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 1,086.49 ล านบาท อัตรากําไรขั้นต นอยู ที่ร อยละ 25.01 ปรับตัวสูงขึ้นจากป ก อนที่ร อยละ 24.27 กําไรขั้นต นที่เพิ่มขึ้นเป นผลมาจากประสิทธิภาพระบบจัดการสินค าคงคลัง และได รับส วนลดจากการสั่งซื้อสินค าในปริมาณ มาก ทําให ต นทุนขายเพิ่มขึ้นในสัดส วนที่ต่ํากว า ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของกําไรขั้นต นจากสินค าประเภท House Brand 4. ค าใช จ ายในการขาย และบริหาร ป 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อยมีค าใช จ ายในการขายและบริหารทั้งสิ้น 5,456.17 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 793.90 ล านบาท หรือร อยละ 17.03 สัดส วนต อยอดขายลดลงเล็กน อยจากร อยละ 22.93 มาอยู ที่ร อยละ 22.67 โดยรายละเอียดค าใช จ ายในแต ละ กลุ มมีดังนี้
46
• ค าใช จ ายในการขาย จํานวน 4,493.71 ล านบาท เป นค าใช จ ายในส วนของสาขา ผ ายปฏิบัติการ และฝ ายกระจายสินค า เพิม่ ขึน้ 674.43 ล านบาท จากค าใช จา ยกลุม เงินเดือน ค าขนส งและค าบริการ ค าซ อมแซม ค าใช จา ยในการจัดงาน HomePro Expo และ ค าใช จ ายในการเป ดสาขาใหม • ค าใช จา ยในการบริหาร จํานวน 915.74 ล านบาท ส วนใหญ เป นค าใช จา ยในส วนของสํานักงานใหญ เพิม่ ขึน้ 134.85 ล านบาท จากค าใช จ ายกลุ มเงินเดือน ค าที่ปรึกษา ภาษี และค าธรรมเนียมต างๆ • ค าใช จ ายอื่น จํานวน 46.72 ล านบาท ลดลง 15.38 ล านบาท 5. ค าใช จ ายทางการเงิน ค าใช จ ายทางการเงินของป 2553 จํานวน 103.49 ล านบาท ลดลงจากป ก อน 9.64 ล านบาท หรือร อยละ 8.52 สัดส วน ต อยอดขายลดลงจากร อยละ 0.56 มาอยู ที่ร อยละ 0.43 ซึ่งป จจัยหลักเป นผลมาจากรายการดอกเบี้ยจ ายที่ลดลงจากการ ชําระคืนเงินกู ยืมระยะยาว และอัตราดอกเบี้ยที่ลดต่ําลง 6. กําไรสุทธิ ผลการดําเนินงานในป 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อยมีกําไรสุทธิอยู ที่ 1,638.43 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 507.55 ล านบาท หรือร อยละ 44.88 กําไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นเป นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของยอดขาย และรายได อื่น ประกอบกับต นทุนขาย และดอกเบี้ย จ ายที่ลดลง ทําให สัดส วนกําไรสุทธิต อยอดขายปรับตัวขึ้นจากร อยละ 5.56 มาอยู ที่ร อยละ 6.81 7. อัตราผลตอบแทนต อส วนของผู ถือหุ น อัตราผลตอบแทนต อส วนของผูถ อื หุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 อยูท รี่ อ ยละ 28.62 เพิม่ ขึน้ จากป กอ นทีร่ อ ยละ 22.25 อัตราส วน ที่เพิ่มขึ้นแสดงให เห็นถึงความสามารถของบริษัทฯ ในการสร างผลตอบแทนจากใช เงินลงทุนของผู ถือหุ นในการดําเนินงานของ บริษัทฯ ได อย างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ฐานะทางการเงิน เปรียบเทียบฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กับวันที่ 31 ธันวาคม 2552 1. สินทรัพย สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อย มีสินทรัพย รวมจํานวน 16,591.99 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 2,719.16 ล านบาท หรือคิดเป นร อยละ 19.60 โดยมูลค าที่เพิ่มขึ้นเป นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของรายการที่สําคัญ ดังต อไปนี้ • เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสดเพิ่มขึ้น 570.91 ล านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเงินฝากธนาคารคงเหลือจากการออกหุ นกู ใน ระหว างป และเงินสดคงค างที่สาขา ณ วันสิ้นป • สินค าคงเหลือ-สุทธิ เพิ่มขึ้น 809.09 ล านบาท โดยเป นผลมาจากการปรับตัวตามจํานวนสาขาที่เพิ่มขึ้น • ลูกหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 130.61 ล านบาท โดยเป นลูกหนี้ที่ค างชําระค าสนับสนุนการขาย ค าเช าพื้นที่ และค าบริการอื่น • ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สิทธิการเช า - สุทธิ และซอฟแวร คอมพิวเตอร - สุทธิ รวมเพิ่มขึ้น 1,128.71 ล านบาท หรือร อยละ 11.87 โดยเป นการจ ายลงทุนสําหรับขยายสาขาในป 2553 และ 2554 • สินทรัพย อื่นๆ สุทธิเพิ่มขึ้น 79.84 ล านบาท ลูกหนี้การค า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อย มียอดลูกหนี้การค าสุทธิจํานวน 164.02 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 19.43 ล านบาท หรือร อยละ 13.44 สําหรับรายละเอียดอายุของลูกหนี้สามารถสรุปได ตามตารางดังนี้
47
หน วย : ล านบาท รายการ
ยังไม ครบกําหนดชําระ ครบกําหนดชําระ - ไม เกิน 6 เดือน - เกิน 6-12 เดือน - เกิน 12 เดือน รวม
งบการเงินรวม 31 ธ.ค. 2553 31 ธ.ค. 2552
งบการเงินเฉพาะ 31 ธ.ค. 2553 31 ธ.ค. 2552
143.40
133.07
140.42
130.67
20.82 2.45 166.67
11.80 0.04 5.07 149.98
18.99 2.45 161.87
9.52 5.07 145.26
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯ และบริษทั ย อย มียอดลูกหนีก้ ารค าทีค่ า งชําระเกิน 12 เดือน จํานวน 2.45 ล านบาท ลดลงจาก ป ก อนมากกว าร อยละ 50 โดยยอดดังกล าวส วนหนึ่งเป นลูกหนี้ที่ประสบป ญหาการดําเนินธุรกิจ ซึ่งได รับผลกระทบมาจากช วงภาวะ เศรษฐกิจในป 2540 ทั้งนี้ บริษัทฯ ได ดําเนินการฟ องร อง และสํารองหนี้สูญไว เรียบร อยแล ว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ ได ตั้งค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ดังกล าวที่ 5.40 ล านบาท และ 2.65 ล านบาท ตามลําดับ 2. หนี้สิน หนี้สินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจํานวน 10,353.78 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 1,690.87 ล านบาท หรือร อยละ 19.52 ซึ่งเป นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของรายการดังต อไปนี้ • เจ าหนี้การค าเพิ่มขึ้น 719.94 ล านบาท ซึ่งเป นผลมาจากการสั่งซื้อสินค าเพิ่มขึ้นที่ปรับตัวตามยอดขายที่เพิ่มขึ้น • หุน กู - สุทธิ เพิม่ ขึน้ 1,540 ล านบาท จากทีร่ ะหว างป มกี ารจ ายคืน 160 ล านบาท และมีการออกหุน กูป ระเภทไม ดอ ยสิทธิ และไม มี หลักประกันเพิม่ จํานวน 1,700 ล านบาท โดยในจํานวนนีม้ สี ว นทีจ่ ะถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวน 730 ล านบาท ในป 2554 • จ ายคืนเงินกู ยืมระยะยาวกับธนาคารพาณิชย จํานวน 980.32 ล านบาท • หนี้สินอื่นๆ สุทธิเพิ่มขึ้น 411.25 ล านบาท 3. ส วนของผู ถือหุ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ส วนของผู ถือหุ นมีจํานวนเท ากับ 6,238.21 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ก อน 1,028.29 ล านบาท หรือคิด เป นร อยละ 19.74 โดยการเพิ่มขึ้นเป นผลของรายการดังต อไปนี้ • หุน สามัญทีอ่ อกและชําระแล วเพิม่ ขึน้ จํานวน 649.07 ล านบาท จากการเพิม่ ทุนเพือ่ จ ายหุน ป นผลในเดือนตุลาคม 2553 และจาก การใช สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุ นสามัญของพนักงานครั้งที่ 3 และ 4 จํานวน 27.65 ล านบาท • ส วนเกินมูลค าหุ นเพิ่มขึ้น 27.49 ล านบาท • กําไรสะสมเพิ่มขึ้น 351.73 ล านบาท แยกเป นกําไรสะสมที่สํารองตามกฎหมาย 81.40 ล านบาท และที่ยังไม ได จัดสรรอีก 270.33 ล านบาท 4. โครงสร างเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีหนี้สินรวมจํานวน 10,353.78 ล านบาท และส วนของผู ถือหุ น จํานวน 6,238.21 ล านบาท โดยอัตราส วนหนีส้ นิ รวมต อส วนของผูถ อื หุน เท ากับ 1.66 เท า ซึง่ เท ากับป กอ น อธิบายได วา โครงสร างเงินทุนของบริษทั ฯ ยังคงเป นสัดส วน เดียวกันกับป ก อน
48
สภาพคล องทางการเงิน เปรียบเทียบกระแสเงินสด สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 กับช วงเวลาเดียวกันของป 2552 รายการ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ
งบการเงินรวม
หน วย : ล านบาท
2553
2552
งบการเงินเฉพาะ 2553 2552
2,624.55 (2,005.68) (47.96) 570.91
2,454.23 (900.96) (1,310.73) 242.54
2,605.17 (2,004.84) (32.96) 567.37
2,445.17 (899.96) (1,300.73) 244.48
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อย มีเงินสด และรายการเทียบเท าเงินสด จํานวน 1,417.24 ล านบาท สุทธิเพิ่มขึ้น จากวันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 570.91 ล านบาท เนื่องจากกิจกรรมดังนี้ 1. เงินสดสุทธิจากกิจกรรมการดําเนินงาน 2,624.55 ล านบาท ได มาจากกําไรสุทธิก อนการเปลี่ยนแปลงในรายการสินทรัพย หมุนเวียน และหนี้สินหมุนเวียน 2,726.38 ล านบาท และเงินทุนหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของรายการสินทรัพย หมุนเวียนและ หนี้สินหมุนเวียน ได แก รายการสินค าคงเหลือเพิ่มขึ้น 873.59 ล านบาท ลูกหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 130.60 ล านบาท สินทรัพย หมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้น 74.80 ล านบาท รายการเจ าหนี้การค าเพิ่มขึ้น 719.93 ล านบาท ค าใช จ ายค างจ ายเพิ่มขึ้น 91.19 ล านบาท และหนี้สิน หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 166.04 ล านบาท 2. เงินสดสุทธิใช ไปในกิจกรรมลงทุนจํานวน 2,005.68 ล านบาท ซึ่งเป นการจ ายลงทุนในสินทรัพย สําหรับการขยายสาขาในป 2553 จํานวน 1,791.15 ล านบาท ซอฟแวร คอมพิวเตอร 57.68 ล านบาท และค าสิทธิการเช าจํานวน 160.08 ล านบาท 3. เงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินสุทธิใช ไปจํานวน 47.96 ล านบาท โดยในจํานวนนี้ได มาจากการออกหุ นกู 1,700 ล านบาท ใช ไปใน จ ายคืนหุ นกู 160 ล านบาท จ ายคืนเงินกู ยืมระยะยาว 980.32 ล านบาท และจ ายเงินป นผลอีกจํานวน 665.11 ล านบาท
อัตราส วนสภาพคล อง
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย อยมีสินทรัพย หมุนเวียนจํานวน 5,889.46 ล านบาท มีหนี้สินหมุนเวียนจํานวน 7,634.17 ล านบาท ซึ่งเมื่อคิดเป นอัตราส วนสภาพคล องจะอยู ที่ 0.77 เท า เพิ่มขึ้นจากป ก อน 0.10 เท า อัตราส วนสภาพคล องของบริษัทฯ และบริษัทย อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2551 2552 และ 2553 อยู ที่ 0.62 เท า 0.67 เท า และ 0.77 เท า อัตราส วนที่เพิ่มขึ้นอย างต อเนื่องแสดงถึงความสามารถในการชําระหนี้ระยะสั้นที่เพิ่มขึ้นตามลําดับ ค าตอบแทนของผู สอบบัญชี ตามมติที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นประจําป 2553 ได อนุมัติแต งตั้งผู สอบบัญชีจากบริษัท สํานักงาน เอินส ท แอนด ยัง จํากัด เป นผู สอบ บัญชีของบริษัทฯ โดยกําหนดค าตอบแทนการสอบบัญชีสําหรับป 2553 เป นจํานวนเงิน 2,400,000 บาท สําหรับค าตอบแทนที่จ ายให แก ผู สอบบัญชีสําหรับรอบป 2553 ประกอบด วย ค าตอบแทนการสอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทย อย จํานวน 2,400,000 บาท และค าบริการอื่น จํานวน 100,000 บาท รวมทั้งสิ้น 2,500,000 บาท
49
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต อรายงานทางการเงิน เรียน ท านผู ถือหุ น งบการเงินของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย ได จัดขึ้นตามข อกําหนดพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และประกาศกรมทะเบียนการค า วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2544 โดยปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว าระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยู ในระดับที่น าพอใจ เพียงพอที่จะดํารงรักษา ไว ซึ่งทรัพย สิน รวมทั้งป องกันการทุจริต และขอรับผิดชอบต อรายงานทางการเงินของ บริษัทฯ และบริษัทย อย เพื่อให เกิด ความมั่นใจว าได แสดงผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน และกระแสเงินสดอย างเป นจริง มีการบันทึกข อมูลทางบัญชีที่ถูกต อง ครบถ วน การจัดทํารายงานทางการเงินได มกี ารพิจารณาเลือกใช นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสม และถือปฏิบตั อิ ย างสม่าํ เสมอ เป นไปตาม มาตรฐานบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งได มีการเป ดเผยข อมูลสําคัญอย างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
(นายอนันต อัศวโภคิน) ประธานกรรมการ
50
(นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล) กรรมการผู จัดการ
รายงานของกรรมการตรวจสอบ เรียน ท านผู ถือหุ น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ประกอบด วยกรรมการอิสระจํานวน 3 ท าน ซึ่งเป นผู มีความสามารถ มีคุณสมบัติ และความเป นอิสระตามข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย โดยมีนายอภิลาศ โอสถานนท เป นประธานฯ นายทวีวัฒน ตติยมณีกุล และนายชนินทร รุนสําราญ เป นกรรมการทําหน าที่ในการสอบทาน ความน าเชื่อถืองบการเงิน ในรอบป 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได ปฏิบัติหน าที่ตามขอบเขตความรับผิดชอบตามที่ได กําหนดไว ใน กฎบัตรของ คณะกรรมการตรวจสอบ และตามที่ได รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยมีการประชุมร วมกันรวม 12 ครั้ง และใน การประชุมแต ละครั้ง กรรมการทุกท านได เข าประชุมโดยพร อมเพรียงกันทุกครั้ง นอกจากนี้ได เชิญผู สอบบัญชีเข าประชุมด วย ในวาระที่เกี่ยวข อง คณะกรรมการตรวจสอบมีหน าที่และความรับผิดชอบตามที่ได รับมอบหมายจากคณะกรรมการฯ ซึ่งรวมถึงการสอบทานให มีรายงานฐานะทางการเงินของบริษทั ฯ อย างถูกต องและเพียงพอ มีระบบควบคุมภายในและกระบวนการกํากับดูแลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการปฏิบัติตามกฎหมายและข อกําหนดต างๆ ที่เกี่ยวข อง มีการดูแลการทํารายการที่อาจมีความขัดแย งทางผลประโยชน ให เป น ไปตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข องและให เกิดประโยชน สูงสุดต อบริษัทฯ ตลอดจนมีหน าที่ในการคัดเลือกและเสนอความเห็นแต งตั้ง ผู สอบบัญชี โดยการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบที่เป นสาระสําคัญสรุปได ดังนี้ สาระสําคัญของงานที่ได ปฏิบัติในป 2553 1. ได พิจารณาสอบทานรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ประจํารายไตรมาส และงบการเงินประจําป ก อนเป ดเผยไปยัง ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ในวาระพิจารณา สอบทานรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 2. พิจารณาคัดเลือกเสนอแต งตั้งผู สอบบัญชีของบริษัทฯ และกําหนดค าตอบแทนเสนอให คณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติ ที่ประชุมผู ถือหุ น 3. ประชุมหารือกับผู สอบบัญชีรวม 4 ครั้ง ถึงแนวทางการปฏิบัติงานและขอบเขตการดําเนินงานสอบบัญชี ผลการตรวจสอบ และข อเสนอแนะ เพื่อให มั่นใจได ว าการตรวจสอบงบการเงินได ทําไปอย างครบถ วนเหมาะสมตามมาตรฐานการสอบบัญชี ครอบคลุมการดําเนินงานที่สําคัญและความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบกับการดําเนินงานของบริษัทฯ ซึ่งการประชุมร วมกับ ผู สอบบัญชีจะไม มีฝ ายจัดการเข าร วมประชุมด วย 4. ประชุมร วมกับสํานักตรวจสอบภายใน ถึงการปฏิบัติงานและขอบเขตการดําเนินงาน สอบทานแผนการตรวจสอบเพื่อให มัน่ ใจได วา การตรวจสอบภายในได ดาํ เนินการไปอย างครบถ วนเหมาะสมตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน โดยในป 2553 นี้ได ทําการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทย อยในภาพรวม รวมถึง การรับทราบรายงานผลการตรวจสอบและติดตามผลการปรับปรุงแก ไขตามข อเสนอแนะเพื่อให ระบบการควบคุมภายใน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น 5. ทําการสอบทานการปฏิบตั งิ านให เป นไปตามกฎหมายว าด วยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข อง กับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ 6. พิจารณาการเป ดเผยข อมูล รายการธุรกรรมระหว างกิจการทีเ่ กีย่ วข องกัน และรายการทีอ่ าจมีความขัดแย งทางผลประโยชน 7. จัดทําการประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุมถึงเรื่อง องค กรและ สภาพแวดล อม การบริหารความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ ายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข อมูล และ ระบบการติดตาม
51
คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว า 1. รายงานทางการเงินของบริษัทฯ เป นที่เชื่อถือได มีความถูกต อง ครบถ วน ไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมีการเป ด เผยข อมูลที่สําคัญอย างเพียงพอและทันเวลา 2. บริษัทฯ มีระบบควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมการปฏิบัติงานและระบบการติดตามที่เพียงพอ และมีประสิทธิผล 3. บริษัทฯ ไม มีการปฏิบัติอันใดเป นการฝ าฝ นกฎหมายว าด วยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. ผู สอบบัญชีที่ได รับแต งตั้งเป นผู ที่มีประสบการณ ในการปฏิบัติงาน ตลอดจนมีเครือข ายครอบคลุมและเป นที่ยอมรับทั้งในและ ต างประเทศ ซึ่งจะทําให มาตรฐานการตรวจสอบของบริษัทฯ อยู ในระดับสากล อีกทั้งผู สอบบัญชีและผู ที่ได รับมอบหมายให ลงนามรับรองงบการเงินทุกท านมีความเป นอิสระ ไม มีความสัมพันธ หรือรายการที่อาจก อให เกิดความขัดแย งทางผลประโยชน กับบริษัทฯ ทําให เชื่อมั่นได ว าการตรวจสอบบัญชีเป นไปอย างครบถ วนเหมาะสมตามมาตรฐานการสอบบัญชี มีประสิทธิภาพ และโปร งใส 5. การทําธุรกรรมกับกิจการทีเ่ กีย่ วข องหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย งทางผลประโยชน นนั้ ได มกี ารปฏิบตั ใิ ห เป นไปตามกฎหมาย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย มีความสมเหตุสมผลเพื่อให เกิดประโยชน สูงสุดต อบริษัทไม มีข อบ งชี้หรือข อสังเกตอื่นใดที่ ส อถึงความผิดปกติ 6. คณะกรรมการตรวจสอบได ปฏิบัติหน าที่ได ครบถ วน มีความเป นอิสระ และถูกต องตามที่ควรตามกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบที่ได กําหนดไว โดยได รับความร วมมือสนับสนุนด วยดีจากผู ที่เกี่ยวข องทุกฝ าย
(นายอภิลาศ โอสถานนท ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
52
รายงานของผู สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต อผู ถือหุ นของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ข าพเจ าได ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบกําไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ น รวม และงบกระแสเงินสดรวมสําหรับป สิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน).และบริษัทย อย และ ได ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ด วยเช นกัน ซึ่งผู บริหารของกิจการเป น ผู รับผิดชอบต อความถูกต องและครบถ วนของข อมูลในงบการเงินเหล านี้ ส วนข าพเจ าเป นผู รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต อ งบการเงินดังกล าว จากผลการตรวจสอบของข าพเจ า งบการเงินรวมของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) และ บริษัทย อย และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่นํามาเปรียบเทียบไว ณ ที่นี้ได ตรวจสอบโดยผู สอบบัญชีท านอื่นในสํานักงานเดียวกันกับข าพเจ า ซึ่งได แสดงความเห็นอย างไม มี เงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 18 กุมภาพันธ 2553 ข าพเจ าได ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกําหนดให ข าพเจ าต องวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให ได ความเชื่อมั่นอย างมีเหตุผลว างบการเงินแสดงข อมูลที่ขัดต อข อเท็จจริงอันเป นสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบ รวม ถึงการใช วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป นจํานวนเงินและการเป ดเผยข อมูลในงบการเงิน การประเมินความ เหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป นสาระสําคัญ ซึ่งผู บริหารเป นผู จัด ทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ข าพเจ าเชื่อว าการตรวจสอบ ดังกล าวให ข อสรุปที่เป นเกณฑ อย างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข าพเจ า ข าพเจ าเห็นว า งบการเงินข างต นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับ ป สนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย อย และเฉพาะของบริษทั โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) โดยถูกต องตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
กิ่งกาญจน อัศวรังสฤษฎ ผู สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4496 บริษัท สํานักงาน เอินส ท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 16 กุมภาพันธ 2554
53
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน วย : บาท) หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
สินทรัพย สินทรัพย หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด ลูกหนี้การค า - สุทธิ สินค าคงเหลือ - สุทธิ ภาษีมูลค าเพิ่มค างรับ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ สินทรัพย หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย หมุนเวียน สินทรัพย ไม หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ คอมพิวเตอร ซอฟแวร - สุทธิ สิทธิการเช า - สุทธิ อสังหาริมทรัพย รอการขาย เงินประกันการเช า สินทรัพย ไม หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย ไม หมุนเวียน รวมสินทรัพย หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้
54
7, 12 8, 12 10 9, 12
11 13 14 15 12
1,417,245,111 164,019,004 3,714,231,755 28,231,172 478,399,129 87,334,310 5,889,460,481
846,330,829 144,584,882 2,905,138,033 303,776 347,794,276 63,747,426 4,307,899,222
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
1,391,744,140 159,220,872 3,714,231,755 28,231,172 480,832,986 80,232,000 5,854,492,925
824,376,948 139,866,504 2,905,138,033 350,048,810 58,154,929 4,277,585,224
4,999,300 4,999,300 9,672,822,674 8,710,587,478 9,668,997,414 8,703,030,061 130,201,480 92,115,899 129,864,210 92,110,169 831,392,108 702,999,498 831,392,108 702,999,498 4,174,122 4,174,122 4,174,122 4,174,122 47,700,842 37,821,322 47,700,842 37,821,322 16,238,088 17,230,349 2,056,352 1,595,201 10,702,529,314 9,564,928,668 10,689,184,348 9,546,729,673 16,591,989,795 13,872,827,890 16,543,677,273 13,824,314,897
งบดุล (ต อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน วย : บาท) หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
หนี้สินและส วนของผู ถือหุ น หนี้สินหมุนเวียน เจ าหนี้การค า ส วนของหนี้สินตามสัญญาเช าการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกู ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข องกัน หุ นกู ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกู ยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจ าหนี้ค าซื้อสินทรัพย ค าใช จ ายค างจ าย ภาษีเงินได นิติบุคคลค างจ าย เงินรับล วงหน าจากลูกค า เจ าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช าการเงิน - สุทธิจากส วนที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หุ นกู - สุทธิจากส วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกู ยืมระยะยาว - สุทธิจากส วนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป สํารองผลประโยชน พนักงาน ค าเช ารับล วงหน า หนี้สินไม หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม หมุนเวียน รวมหนี้สิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
12
4,936,826,558
4,216,890,094
4,930,933,267
4,211,189,025
17 12 19 20
4,598,239 730,000,000 186,444,811 518,499,518 313,024,859 471,439,028 254,731,780 218,604,858 7,634,169,651
3,539,452 160,000,000 486,240,000 119,219,458 422,114,603 247,190,722 430,697,315 197,239,903 165,356,564 6,448,488,111
4,598,239 85,000,000 730,000,000 186,444,811 501,302,666 313,024,859 471,439,028 248,156,063 216,348,822 7,687,247,755
3,539,452 70,000,000 160,000,000 486,240,000 119,219,458 404,673,798 247,190,722 430,697,315 191,781,208 163,453,254 6,487,984,232
17 19
6,905,501 2,000,000,000
5,635,594 1,030,000,000
6,905,501 2,000,000,000
5,635,594 1,030,000,000
20 18
76,786,033 499,498,041 136,421,226 2,719,610,801 10,353,780,452
494,080,000 63,515,819 76,786,033 521,145,727 499,498,041 100,042,095 62,361,347 2,214,419,235 2,645,550,922 8,662,907,346 10,332,798,677
494,080,000 63,515,819 521,145,727 28,144,671 2,142,521,811 8,630,506,043
12
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้
55
งบดุล (ต อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน วย : บาท) หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
ส วนของผู ถือหุ น ทุนเรือนหุ น 21, 22 ทุนจดทะเบียน หุน สามัญ 4,426,605,527 หุน มูลค าหุน ละ 1 บาท (2552: หุ นสามัญ 3,794,213,851 หุ น มูลค าหุ นละ 1 บาท) ทุนที่ออกและชําระแล ว หุน สามัญ 4,352,991,862 หุน มูลค าหุน ละ 1 บาท (2552: หุ นสามัญ 3,703,926,216 หุ น มูลค าหุ นละ 1 บาท) ส วนเกินมูลค าหุ น กําไรสะสม จัดสรรแล ว - สํารองตามกฎหมาย 23 ยังไม ได จัดสรร ส วนของผู ถือหุ นของบริษัทฯ ส วนของผู ถือหุ นส วนน อยของบริษัทย อย รวมส วนของผู ถือหุ น รวมหนี้สินและส วนของผู ถือหุ น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้
56
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
4,426,605,527
3,794,213,851
4,426,605,527
3,794,213,851
4,352,991,862 621,806,886
3,703,926,216 594,317,420
4,352,991,862 621,806,886
3,703,926,216 594,317,420
316,800,000 235,400,000 316,800,000 235,400,000 946,606,069 676,273,953 919,279,848 660,165,218 6,238,204,817 5,209,917,589 6,210,878,596 5,193,808,854 4,526 2,955 6,238,209,343 5,209,920,544 6,210,878,596 5,193,808,854 16,591,989,795 13,872,827,890 16,543,677,273 13,824,314,897
งบกําไรขาดทุน
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน วย : บาท) หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
รายได รายได จากการขาย รายได ค าเช าและค าบริการ รายได อื่น รวมรายได ค าใช จ าย ต นทุนขาย ค าใช จ ายในการขาย ค าใช จ ายในการบริหาร ค าตอบแทนผู บริหาร ค าใช จ ายอื่น รวมค าใช จ าย กําไรก อนค าใช จ ายทางการเงิน และภาษีเงินได นิติบุคคล ค าใช จ ายทางการเงิน กําไรก อนภาษีเงินได นิติบุคคล ภาษีเงินได นิติบุคคล กําไรสุทธิสําหรับป การแบ งป นกําไรสุทธิ ส วนที่เป นของผู ถือหุ นบริษัทใหญ ส วนที่เป นของผู ถือหุ นส วนน อยของบริษัทย อย กําไรต อหุ น กําไรต อหุ นขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิส วนที่เป นของผู ถือหุ นบริษัทใหญ กําไรต อหุ นปรับลด กําไรสุทธิส วนที่เป นของผู ถือหุ นบริษัทใหญ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
24,072,755,450 20,329,115,960 24,073,781,310 20,330,434,724 767,698,279 684,236,990 641,854,232 572,842,217 1,074,447,671 785,735,252 1,101,125,208 807,702,375 25,914,901,400 21,799,088,202 25,816,760,750 21,710,979,316
12
18,052,220,987 15,395,071,205 18,052,220,987 15,395,071,205 4,493,709,519 3,819,276,323 4,405,352,452 3,740,567,347 836,282,688 709,946,423 841,147,954 705,554,421 79,459,900 70,950,247 79,459,900 70,950,247 46,720,978 62,097,147 46,674,253 62,035,902 23,508,394,072 20,057,341,345 23,424,855,546 19,974,179,122 2,406,507,328 (103,492,795) 2,303,014,533 (664,583,692) 1,638,430,841
1,741,746,857 (113,129,135) 1,628,617,722 (497,738,690) 1,130,879,032
2,391,905,204 (104,539,836) 2,287,365,368 (660,153,584) 1,627,211,784
1,736,800,194 (114,485,389) 1,622,314,805 (496,099,245) 1,126,215,560
1,638,429,270 1,571 1,638,430,841
1,130,878,380 652 1,130,879,032
1,627,211,784
1,126,215,560
0.38
0.26
0.37
0.26
0.37
0.26
0.37
0.26
25
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้
57
งบกระแสเงินสด
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน วย : บาท) งบการเงินรวม 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิก อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรสุทธิก อนภาษีเป นเงินสดรับ (จ าย) จากกิจกรรมดําเนินงาน ค าเสื่อมราคาและค าตัดจําหน าย โอนกลับค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค าเผื่อสินค าเสื่อมคุณภาพ ขาดทุนจากการจําหน ายสินทรัพย ตัดจําหน ายสินทรัพย - สุทธิ ค าเผื่อการด อยค าของสินทรัพย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม เกิดขึ้น - สุทธิ ค าใช จ ายดอกเบี้ย สํารองผลประโยชน พนักงาน กําไรจากการดําเนินงานก อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพย ดําเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค า สินค าคงเหลือ ภาษีมูลค าเพิ่มค างรับ เงินประกันการเช า ลูกหนี้อื่น สินทรัพย หมุนเวียนอื่น สินทรัพย ไม หมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ าหนี้การค า เจ าหนี้อื่น เงินรับล วงหน าจากลูกค า ค าใช จ ายค างจ าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ค าเช ารับล วงหน า จ ายสํารองผลประโยชน พนักงาน หนี้สินไม หมุนเวียน เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน จ ายดอกเบี้ย จ ายภาษีเงินได เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 58
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
2,303,014,533
1,628,617,722
2,287,365,368
1,622,314,805
860,458,906 (2,754,168) 64,498,619 11,147,490 39,891,005 32,698,000 3,864 99,825,120 15,198,214
804,523,182 (11,245,058) 59,219,925 2,658,249 2,752,544 57,000,000 76,352 110,975,824 11,979,050
856,264,684 (2,754,168) 64,498,619 11,100,767 39,891,005 32,698,000 3,864 101,046,449 15,198,214
800,383,504 (11,245,058) 59,219,925 2,597,003 2,752,544 57,000,000 76,352 112,514,434 11,979,050
3,423,981,583
2,666,557,790
3,405,312,802
2,657,592,559
(16,685,000) (873,592,341) (27,927,396) (9,879,520) (130,599,807) (23,586,884) 3,280,505
24,242,894 (236,279,432) 10,959,440 569,560 (59,273,969) 7,097,415 1,369,372
(16,605,246) (873,592,341) (28,231,172) (9,879,520) (130,779,130) (22,077,071) (461,151)
24,245,788 (236,279,432) 11,263,216 569,560 (54,600,254) 214,673 1,369,373
719,932,600 57,491,877 40,741,713 91,190,947 53,072,642 (21,647,686) (1,928,000) 36,379,131 3,320,224,364 (94,631,152) (601,037,799) 2,624,555,413
519,656,096 (1,069,839) (26,830,710) 104,080,618 (6,803,407) (21,647,686) 3,995,800 2,986,623,942 (110,016,181) (422,378,455) 2,454,229,306
719,740,378 56,374,855 40,741,713 91,434,900 52,719,916 (21,647,686) (1,928,000) 34,216,676 3,295,339,923 (95,852,481) (594,319,447) 2,605,167,995
518,660,474 4,669,520 (26,830,710) 102,511,051 (7,059,267) (21,647,686) (2,084,275) 2,972,594,590 (111,554,791) (415,871,285) 2,445,168,514
งบกระแสเงินสด (ต อ)
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน วย : บาท) งบการเงินรวม 2553 2552
(ปรับปรุงใหม )
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ ายซื้อคอมพิวเตอร ซอฟแวร เงินสดจ ายชําระค าสิทธิการเช า เงินสดรับจากการขายสินทรัพย เงินสดจ ายซื้อสินทรัพย เงินสดสุทธิใช ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง เงินกู ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข องกันเพิ่มขึ้น จ ายคืนเงินกู ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข องกัน เงินกู ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น หนี้สินจากสัญญาเช าการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) หุ นกู เพิ่มขึ้น จ ายคืนหุ นกู จ ายคืนเงินกู ยืมระยะยาว เพิ่มทุนหุ นสามัญจากการแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิ เงินป นผลจ าย เงินสดสุทธิใช ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสดต นป เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสดปลายป ข อมูลกระแสเงินสดเป ดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม ใช เงินสดประกอบด วย รายการซื้ออุปกรณ ที่ยังไม ได จ ายชําระ หุ นป นผล
(57,679,118) (160,076,067) 3,219,510 (1,791,147,760) (2,005,683,435)
(ปรับปรุงใหม )
(23,846,186) (57,331,067) (9,347,368) (160,076,067) 1,125,744 3,216,711 (868,891,001) (1,790,652,684) (900,958,811) (2,004,843,107)
- (124,823,805) 745,000,000 2,328,694 (5,591,053) 1,700,000,000 300,000,000 (160,000,000) (660,000,000) (980,320,000) (739,680,000) 55,139,056 45,816,199 (665,105,446) (871,449,157) (47,957,696) (1,310,727,816) 570,914,282 242,542,679 846,330,829 603,788,150 1,417,245,111 846,330,829
67,225,353 621,416,056
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552
5,381,343 1,752,012,439
(23,846,186) (9,347,368) 1,119,505 (867,884,386) (899,958,435)
- (124,823,805) 15,000,000 25,000,000 - (15,000,000) 745,000,000 2,328,694 (5,591,053) 1,700,000,000 300,000,000 (160,000,000) (660,000,000) (980,320,000) (739,680,000) 55,139,056 45,816,199 (665,105,446) (871,449,157) (32,957,696) (1,300,727,816) 567,367,192 244,482,263 824,376,948 579,894,685 1,391,744,140 824,376,948
67,225,353 621,416,056
5,381,343 1,752,012,439
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้
59
60
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามที่รายงานไว เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกสํารองผลประโยชน พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลังการปรับปรุง กําไรสุทธิสําหรับป รวมรายได ทั้งสิ้นที่รับรู สําหรับป หุ นป นผล เงินป นผลจ าย โอนกําไรสะสมที่ยังไม ได จัดสรรเป นสํารองตามกฎหมาย เพิ่มทุนหุ นสามัญจากการแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - ตามที่รายงานไว เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกสํารองผลประโยชน พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - หลังการปรับปรุง กําไรสุทธิสําหรับป (ปรับปรุงใหม ) รวมรายได ทั้งสิ้นที่รับรู สําหรับป หุ นป นผล เงินป นผลจ าย โอนกําไรสะสมที่ยังไม ได จัดสรรเป นสํารองตามกฎหมาย เพิ่มทุนหุ นสามัญจากการแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
21
28 28
6
28 28
6
หมายเหตุ
3,703,926,216 621,416,056 27,649,590 4,352,991,862
3,703,926,216
1,933,610,600 1,752,012,439 18,303,177 3,703,926,216
1,933,610,600
ทุนเรือนหุ นที่ ออกและ ชําระแล ว
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ น
594,317,420 27,489,466 621,806,886
594,317,420
566,804,398 27,513,022 594,317,420
566,804,398
235,400,000 81,400,000 316,800,000
235,400,000
178,400,000 57,000,000 235,400,000
178,400,000
(63,515,819) 676,273,953 1,638,429,270 1,638,429,270 (621,416,056) (665,281,098) (81,400,000) 946,606,069
739,789,772
(51,536,769) 2,225,857,169 1,130,878,380 1,130,878,380 (1,752,012,439) (871,449,157) (57,000,000) 676,273,953
2,277,393,938
งบการเงินรวม ส วนของผู ถือหุ นบริษัทใหญ กําไรสะสม จัดสรรแล ว ส วนเกิน ยังไม ได จัดสรร สํ ารองตาม มูลค าหุ น กฎหมาย
(63,515,819) 5,209,917,589 1,638,429,270 1,638,429,270 (665,281,098) 55,139,056 6,238,204,817
5,273,433,408
(51,536,769) 4,904,672,167 1,130,878,380 1,130,878,380 (871,449,157) 45,816,199 5,209,917,589
4,956,208,936
รวมส วนของ ผู ถือหุ น บริษัทใหญ
2,955 1,571 1,571 4,526
2,955
2,303 652 652 2,955
2,303
ส วนของผู ถือหุ น ส วนน อยของ บริษัทย อย
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
(63,515,819) 5,209,920,544 1,638,430,841 1,638,430,841 (665,281,098) 55,139,056 6,238,209,343
5,273,436,363
(51,536,769) 4,904,674,470 1,130,879,032 1,130,879,032 (871,449,157) 45,816,199 5,209,920,544
4,956,211,239
รวม
(หน วย : บาท)
61
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป นส วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามที่รายงานไว เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกสํารองผลประโยชน พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลังการปรับปรุง กําไรสุทธิสําหรับป รวมรายได ทั้งสิ้นที่รับรู สําหรับป หุ นป นผล เงินป นผลจ าย โอนกําไรสะสมที่ยังไม ได จัดสรรเป นสํารองตามกฎหมาย เพิ่มทุนหุ นสามัญจากการแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - ตามที่รายงานไว เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกสํารองผลประโยชน พนักงาน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 - หลังการปรับปรุง กําไรสุทธิสําหรับป (ปรับปรุงใหม ) รวมรายได ทั้งสิ้นที่รับรู สําหรับป หุ นป นผล เงินป นผลจ าย โอนกําไรสะสมที่ยังไม ได จัดสรรเป นสํารองตามกฎหมาย เพิ่มทุนหุ นสามัญจากการแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
21
28 28
6
28 28
6
4,352,991,862
3,703,926,216 621,416,056 27,649,590
3,703,926,216
1,933,610,600 1,752,012,439 18,303,177 3,703,926,216
1,933,610,600
621,806,886
27,489,466
594,317,420 -
594,317,420
566,804,398 27,513,022 594,317,420
566,804,398
316,800,000
235,400,000 81,400,000 -
235,400,000
178,400,000 57,000,000 235,400,000
178,400,000
919,279,848
(63,515,819) 660,165,218 1,627,211,784 1,627,211,784 (621,416,056) (665,281,098) (81,400,000) -
723,681,037
(51,536,769) 2,214,411,254 1,126,215,560 1,126,215,560 (1,752,012,439) (871,449,157) (57,000,000) 660,165,218
2,265,948,023
ทุนเรือนหุ นที่ ออกและชําระแล ว ส วนเกินมูลค าหุ น
งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม จัดสรรแล ว ยังไม ได จัดสรร สํารองตามกฎหมาย
หมายเหตุ
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ น
6,210,878,596
(63,515,819) 5,193,808,854 1,627,211,784 1,627,211,784 (665,281,098) 55,139,056
5,257,324,673
(51,536,769) 4,893,226,252 1,126,215,560 1,126,215,560 (871,449,157) 45,816,199 5,193,808,854
4,944,763,021
รวม
(หน วย : บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 1. ข อมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลําเนาในประเทศไทย โดยมีบริษัท แลนด แอนด เฮ าส จํากัด (มหาชน) และบริษัท ควอลิตี้ เฮ าส จํากัด (มหาชน) ซึ่งเป นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทยเป นผู ถือหุ นรายใหญ ธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือการจําหน ายสินค าที่เกี่ยวข องกับการตกแต ง ก อสร าง ต อเติมและซ อมแซมอาคารและที่อยู อาศัยแบบครบวงจรและ ให บริการที่เกี่ยวข อง รวมถึงการให เช าพื้นที่ ที่อยู ตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯ อยู ที่เลขที่ 96/27 หมู 9 ตําบลบางเขน อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีสาขาในกรุงเทพฯ และต างจังหวัดรวม 40 สาขา (2552: 35 สาขา) 2. เกณฑ ในการจัดทํางบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ยกเว น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่19 เรื่อง ผลประโยชน ของพนักงาน ซึ่งบริษัทฯถือปฏิบัติก อนวันที่มีผลบังคับใช การแสดงรายการในงบการเงินเป นไปตามข อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค าลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตามความใน พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใช เป นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจากงบการเงิน ฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได จัดทําขึ้นโดยใช เกณฑ ราคาทุนเดิมเว นแต จะได เป ดเผยเป นอย างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ ในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนีจ้ ดั ทําขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) (ซึง่ ต อไปนีเ้ รียกว า“บริษทั ฯ”) และ บริษัทย อย (ซึ่งต อไปนี้เรียกว า “บริษัทย อย”) ดังต อไปนี้ ชื่อบริษัท
บริษัท มาร เก็ต วิลเลจ จํากัด
ลักษณะ ธุรกิจ
ให เช าพื้นที่ ศูนย การค า
จัดตั้งขึ้น ในประเทศ
ไทย
อัตราร อยละ ของการถือหุ น
ร อยละของสินทรัพย ที่รวมอยู ในสินทรัพย รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
ร อยละของรายได ที่รวมอยู ในรายได รวม สําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2553
2552
2553
2552
2553
2552
ร อยละ 99.99
ร อยละ 99.99
ร อยละ 0.34
ร อยละ 0.40
ร อยละ 1.09
ร อยละ 1.20
ข) บริษัทฯนํางบการเงินของบริษัทย อยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตั้งแต วันที่ได มา (วันที่บริษัทฯมีอํานาจในการควบคุม บริษัทย อย) จนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย อยได จัดทําขึ้นโดยใช นโยบายการบัญชีที่สําคัญเช นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) ยอดคงค างระหว างบริษัทฯและบริษัทย อย รายการค าระหว างกันที่มีสาระสําคัญได ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล ว จ) ยอดเงินลงทุนในบริษัทย อยในบัญชีของบริษัทฯได ตัดกับส วนของผู ถือหุ นของบริษัทย อยแล ว ฉ) ส วนของผู ถือหุ นส วนน อย คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพย สุทธิของบริษัทย อย ส วนที่ไม ได เป นของบริษัทฯ และ แสดงเป นรายการแยกต างหากในงบกําไรขาดทุนรวมและส วนของผู ถือหุ นในงบดุลรวม 2.3 บริษัทฯได จัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน ต อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย อยตามวิธีราคาทุน
62
3. การประกาศใช มาตรฐานการบัญชีใหม ในระหว างป ป จจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม ตามรายละเอียดข างล างนี้ ก) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 (เว นแต แม บทการบัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช ทันที) แม บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552)
การนําเสนองบการเงิน สินค าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เหตุการณ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) สัญญาก อสร าง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) สัญญาเช า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) รายได มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ผลประโยชน ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) ต นทุนการกู ยืม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเป ดเผยข อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เงินลงทุนในบริษัทร วม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ อรุนแรง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) ส วนได เสียในการร วมค า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) กําไรต อหุ น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินระหว างกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) การด อยค าของสินทรัพย มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) ประมาณการหนีส้ นิ หนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ และสินทรัพย ทอ่ี าจเกิดขึน้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพย ไม มีตัวตน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) อสังหาริมทรัพย เพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 การจ ายโดยใช หุ นเป นเกณฑ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) การรวมธุรกิจ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพย ไม หมุนเวียนที่ถือไว เพื่อขาย และการดําเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 การสํารวจและประเมินค าแหล งทรัพยากรแร การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 สัญญาการก อสร างอสังหาริมทรัพย ข) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)
ภาษีเงินได การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเป ดเผยข อมูลเกี่ยว กับความช วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต างประเทศ 63
ฝ ายบริหารของบริษัทฯ เชื่อว ามาตรฐานการบัญชีข างต นจะไม มีผลกระทบอย างเป นสาระสําคัญต องบการเงินสําหรับป ที่เริ่มใช มาตรฐานการบัญชีดังกล าว ยกเว นมาตรฐานการบัญชีดังต อไปนี้ที่ฝ ายบริหารคาดว าจะมีผลกระทบต องบการเงินในป ที่นํามาตรฐานการบัญชี ดังกล าวมาถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดให กิจการระบุผลแตกต างชั่วคราวที่เกิดจากความแตกต างของมูลค าสินทรัพย และหนี้สินระหว างเกณฑ ทางบัญชีและภาษีอากร เพื่อรับรู ผลกระทบทางภาษีเป นสินทรัพย หรือหนี้สินภาษีเงินได รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ ที่กําหนด ป จจุบันฝ ายบริหารของบริษัทฯอยู ระหว างการประเมินผลกระทบที่อาจมีต องบการเงินในป ที่เริ่มนํามาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ต นทุนการกู ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดให กิจการต องรวมต นทุนการกู ยืมที่เกี่ยวข องโดยตรงกับการได มา การก อสร าง หรือการผลิตสินทรัพย ที่เข าเงื่อนไขเป นส วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย นั้น ซึ่งในป จจุบันบริษัทฯ เลือกบันทึกต นทุนการกู ยืมเป นค าใช จ ายเมื่อเกิดรายการ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล าวจะเริ่มถือปฏิบัติกับต นทุนการกู ยืมที่เกิดในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 4. นโยบายการบัญชีที่สําคัญ 4.1 การรับรู รายได ขายสินค า รายได จากการขายสินค ารับรู เมื่อบริษัทฯได โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป นสาระสําคัญของความเป นเจ าของสินค า ให กับผู ซื้อแล ว รายได จากการขายแสดงมูลค าตามราคาขายสินค าหลังจากหักส วนลดแล ว รายได ค าบริการ รายได ค าบริการรับรู เมื่อได ให บริการแล วโดยพิจารณาถึงขั้นความสําเร็จของงาน ค าเช ารับ ค าเช าสัญญาเช าดําเนินงานรับรู เป นรายได ตามระยะเวลาที่ให เช า ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเป นรายได ตามเกณฑ คงค างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท จริง 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล องสูง ซึ่งถึงกําหนด จ ายคืนภายในระยะเวลาไม เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได มาและไม มีข อจํากัดในการเบิกใช 4.3 ลูกหนี้การค า ลูกหนี้การค าแสดงมูลค าตามจํานวนมูลค าสุทธิที่จะได รับ บริษัทฯบันทึกค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สําหรับผลขาดทุนโดยประมาณ ที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม ได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ การเก็บเงินและการวิเคราะห อายุหนี้ 4.4 สินค าคงเหลือ สินค าคงเหลือแสดงมูลค าตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถ วงน้ําหนัก) หรือมูลค าสุทธิที่จะได รับแล วแต ราคาใดจะต่ํากว า ส วนลดรับจากปริมาณการซื้อซึ่งบริษัทฯได รับจากผู ขายจะบันทึกลดมูลค าของสินค าที่เกี่ยวข องและรับรู ในงบกําไรขาดทุนเมื่อสินค า นั้นขายได 4.5 เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย อยที่แสดงอยู ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค าตามวิธีราคาทุน 4.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และค าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ แสดงมูลค าตามราคาทุนหักค าเสื่อมราคาสะสม และค าเผื่อการด อยค าของ สินทรัพย (ถ ามี) 64
ค าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ คํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเส นตรงตามอายุการใช งานโดยประมาณดังนี้ อาคาร 20 ป อาคารบนที่เช าและส วนปรับปรุงอาคาร ตามอายุการใช งานแต ไม เกินอายุสัญญาเช า อุปกรณ คอมพิวเตอร 3 - 10 ป เครื่องตกแต งและเครื่องใช สํานักงาน 5 - 10 ป ยานพาหนะ 5 ป ค าเสื่อมราคารวมอยู ในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม มีการคิดค าเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพย ระหว างติดตั้งและก อสร าง บริษัทฯตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ออกจากบัญชี เมื่อจําหน ายสินทรัพย หรือคาดว าจะไม ได รับประโยชน เชิงเศรษฐกิจ ในอนาคตจากการใช รายการผลกําไรหรือขาดทุนจากการจําหน ายสินทรัพย (ผลต างระหว างสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ด รบั จากการจําหน าย สินทรัพย กับมูลค าตามบัญชีของสินทรัพย นั้น) จะรับรู ในงบกําไรขาดทุนเมื่อบริษัทฯ ตัดรายการสินทรัพย นั้นออกจากบัญชี 4.7 สินทรัพย ไม มีตัวตน บริษัทฯบันทึกต นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย ไม มีตัวตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู รายการเริ่มแรก สินทรัพย ไม มีตัวตนแสดงมูลค า ตามราคาทุนหักค าตัดจําหน ายสะสมและค าเผื่อการด อยค าสะสม (ถ ามี) ของสินทรัพย นั้น บริษัทฯตัดจําหน ายสินทรัพย ไม มีตัวตน (คอมพิวเตอร ซอฟท แวร ) ที่มีอายุการให ประโยชน จํากัดอย างมีระบบตลอดอายุการให ประโยชน ของสินทรัพย นนั้ (10 ป ) และจะประเมินการด อยค าของสินทรัพย ดงั กล าวเมือ่ มีขอ บ งชีว้ า สินทรัพย นนั้ เกิดการด อยค า บริษทั ฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหน ายและวิธกี ารตัดจําหน ายของสินทรัพย ไม มตี วั ตนดังกล าวทุกสิน้ ป เป นอย างน อย ค าตัดจําหน ายรับรู เป นค าใช จ ายในงบกําไรขาดทุน 4.8 สิทธิการเช าและค าตัดจําหน าย สิทธิการเช าแสดงตามราคาทุนหักค าตัดจําหน ายสะสม บริษัทฯตัดจําหน ายสิทธิการเช าตามวิธีเส นตรงตามอายุสัญญาเช า ค าตัดจําหน ายรวมอยู ในการคํานวณผลการดําเนินงาน 4.9 ต นทุนการกู ยืม ต นทุนการกู ยืมของเงินกู ที่ใช ในการจัดหาหรือก อสร างสินทรัพย ที่ต องใช ระยะเวลานานในการทําให อยู ในสภาพพร อมใช บันทึกเป น ค าใช จ ายเมื่อเกิดรายการ 4.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี าํ นาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกบริษทั ฯ ควบคุมไม วา จะเป น โดยทางตรงหรือทางอ อม หรืออยู ภายใต การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนีบ้ คุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข องกันยังหมายรวมถึงบุคคลทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ อมซึง่ ทําให มอี ทิ ธิพลอย างเป น สาระสําคัญต อบริษัทฯ ผู บริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯที่มีอํานาจในการวางแผน และควบคุมการดําเนินงานของ บริษัทฯ 4.11 สัญญาเช าระยะยาว สัญญาเช าอุปกรณ และยานพาหนะทีค่ วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป นเจ าของส วนใหญ ได โอนไปให กบั ผูเ ช าถือเป นสัญญาเช า การเงิน สัญญาเช าการเงินจะบันทึกเป นรายจ ายฝ ายทุนด วยมูลค ายุติธรรมของสินทรัพย ที่เช าหรือมูลค าป จจุบันสุทธิของจํานวนเงิน ทีต่ อ งจ ายตามสัญญาเช าแล วแต มลู ค าใดจะต่าํ กว า ภาระผูกพันตามสัญญาเช าหักค าใช จา ยทางการเงินจะบันทึกเป นหนีส้ นิ ระยะยาว ส วนดอกเบี้ยจ ายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช า สินทรัพย ที่ได มาตามสัญญาเช าการเงินจะคิดค าเสื่อมราคา ตลอดอายุการใช งานของสินทรัพย ที่เช า จํานวนเงินที่จ ายตามสัญญาเช าดําเนินงานรับรู เป นค าใช จ ายในงบกําไรขาดทุนตามวิธีเส นตรงตลอดอายุสัญญาเช า 65
4.12 เงินตราต างประเทศ รายการที่เป นเงินตราต างประเทศแปลงค าเป นเงินบาทโดยใช อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ สินทรัพย และหนี้สินที่เป น ตัวเงินซึ่งอยู ในสกุลเงินตราต างประเทศได แปลงค าเป นเงินบาทโดยใช อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได รวมอยู ในการคํานวณผลการดําเนินงาน 4.13 การด อยค าของสินทรัพย ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯจะทําการประเมินการด อยค าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ หรือสินทรัพย อื่นของบริษัทฯ หากมีข อบ งชี้ว า สินทรัพย ดงั กล าวอาจด อยค า บริษทั ฯรับรูข าดทุนจากการด อยค าเมือ่ มูลค าทีค่ าดว าจะได รบั คืนของสินทรัพย มมี ลู ค าต่าํ กว ามูลค าตาม บัญชีของสินทรัพย นนั้ ทัง้ นีม้ ลู ค าทีค่ าดว าจะได รบั คืนหมายถึงมูลค ายุตธิ รรมหักต นทุนในการขายของสินทรัพย หรือมูลค าจากการใช สินทรัพย แล วแต ราคาใดจะสูงกว า ในการประเมินมูลค าจากการใช สินทรัพย บริษัทฯประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการ คาดว าจะได รบั จากสินทรัพย และคํานวณคิดลดเป นมูลค าป จจุบนั โดยใช อตั ราคิดลดก อนภาษีทสี่ ะท อนถึงการประเมินความเสีย่ งใน สภาพตลาดป จจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย ที่กําลังพิจารณาอยู ในการประเมิน มูลค ายุติธรรมหักต นทุนในการขาย บริษัทฯใช แบบจําลองการประเมินมูลค าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย ซึ่งสะท อนถึงจํานวน เงินทีก่ จิ การสามารถจะได มาจากการจําหน ายสินทรัพย หกั ด วยต นทุนในการจําหน าย โดยการจําหน ายนัน้ ผูซ อื้ กับผูข ายมีความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต อรองราคากันได อย างเป นอิสระในลักษณะของผู ที่ไม มีความเกี่ยวข องกัน บริษัทฯจะรับรู รายการขาดทุนจากการด อยค าในงบกําไรขาดทุน หากในการประเมินการด อยค าของสินทรัพย มีข อบ งชี้ที่แสดงให เห็นว าผลขาดทุนจากการด อยค าของสินทรัพย ที่รับรู ในงวดก อน ได หมดไปหรือลดลง บริษัทฯจะประมาณมูลค าที่คาดว าจะได รับคืนของสินทรัพย นั้น และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด อยค า ที่รับรู ในงวดก อนก็ต อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช กําหนดมูลค าที่คาดว าจะได รับคืนภายหลังจากการรับรู ผลขาดทุน จากการด อยค าครั้งล าสุด โดยมูลค าตามบัญชีของสินทรัพย ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการด อยค าต องไม สูงกว ามูลค าตามบัญชีที่ควรจะเป นหากกิจการไม เคยรับรู ผลขาดทุนจากการด อยค าของสินทรัพย ในงวดก อนๆ บริษัทฯจะบันทึก กลับรายการผลขาดทุนจากการด อยค าของสินทรัพย โดยรับรู ไปยังงบกําไรขาดทุนทันที 4.14 ผลประโยชน พนักงาน บริษัทฯรับรู เงินเดือน ค าจ าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเป นค าใช จ ายเมื่อเกิดรายการ สํารองเงินบําเหน็จของพนักงานเมื่อเกษียณอายุคํานวณโดยการประมาณจํานวนเงินผลประโยชน ในอนาคตที่พนักงาน จะได รับจาก การทํางานให กับบริษัทฯในงวดป จจุบันและงวดอนาคตตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย โดยผลประโยชน ดังกล าวได ถูกคิดลดเป น มูลค าป จจุบนั อัตราคิดลดใช อตั ราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลเป นอัตราอ างอิงเริม่ ต น การประมาณการหนีส้ ินดังกล าวคํานวณ โดยผู เชี่ยวชาญโดยใช วิธีคิดลดแต ละหน วยที่ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) เมื่อผลประโยชน พนักงานมีการเปลี่ยนแปลง ส วนของผลประโยชน ที่เพิ่มขึ้นซึ่งเกี่ยวข องกับการทํางานให กับบริษัทฯ ในอดีต ของพนักงานจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามวิธเี ส นตรงตามอายุงานคงเหลือโดยเฉลีย่ จนกระทัง่ ผลประโยชน ได มกี ารจ ายจริง กําไร หรือขาดทุนที่เกิดจากการคํานวณจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนในรอบบัญชีที่มีการคํานวณ 4.15 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป นผลมาจากเหตุการณ ในอดีตได เกิดขึ้นแล ว และมีความ เป นไปได ค อนข างแน นอนว าบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯสามารถประมาณ มูลค าภาระผูกพันนั้นได อย างน าเชื่อถือ 4.16 ภาษีเงินได บริษัทฯบันทึกภาษีเงินได ตามวิธีภาษีเงินได ค างจ ายโดยคํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑ ที่กําหนดในกฎหมายภาษีอากร 66
5. การใช ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ ายบริหารจําเป นต องใช ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่มีความไม แน นอนเสมอ การใช ดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกล าวนีส้ ง ผลกระทบต อจํานวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและต อข อมูลทีแ่ สดงในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต างไปจากจํานวนที่ประมาณการไว การใช ดุลยพินิจและการประมาณการที่สําคัญมีดังนี้ สัญญาเช า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช าว าเป นสัญญาเช าดําเนินงานหรือสัญญาเช าทางการเงิน ฝ ายบริหารได ใช ดลุ ยพินจิ ในการประเมิน เงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาว า บริษทั ฯได โอนหรือรับโอนความเสีย่ งและผลประโยชน ในสินทรัพย ทเ่ี ช าดังกล าวแล วหรือไม ค าเผื่อสินค าเสียหาย ในการประมาณค าเผื่อสินค าเสียหายอันเนื่องมาจากการสูญหายหรือเสื่อมสภาพ ฝ ายบริหารจําเป นต องใช ดุลยพินิจในการประมาณ การโดยพิจารณาจากสภาพของสินค าและระยะเวลาในการเก็บสินค า ค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ ายบริหารจําเป นต องใช ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว าจะเกิดขึน้ จากลูกหนี้แต ละราย โดยคํานึงถึงประสบการณ การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป นอยู ในขณะนั้น เป นต น มูลค ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม มีการซื้อขายในตลาดและไม สามารถหาราคาได ในตลาดซื้อขายคล อง ฝ ายบริหารต องใช ดุลยพินิจในการประมาณมูลค ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล าว โดยใช เทคนิคและแบบจําลองการประเมิน มูลค า ซึ่งตัวแปรที่ใช ในแบบจําลองได มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู ในตลาด โดยคํานึงถึงสภาพคล อง ข อมูลความสัมพันธ และ การเปลี่ยนแปลงของมูลค าของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และค าเสื่อมราคา ในการคํานวณค าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝ ายบริหารจําเป นต องทําการประมาณอายุการใช งานและมูลค าซากเมื่อเลิกใช งานของอาคารและอุปกรณ และต องทบทวนอายุการใช งานและมูลค าซากใหม หากมีการเปลี่ยนแปลงเช นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ ายบริหารจําเป นต องสอบทานการด อยค าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ ในแต ละช วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการ ด อยค าหากคาดว ามูลค าทีค่ าดว าจะได รบั คืนต่าํ กว ามูลค าตามบัญชีของสินทรัพย นนั้ ในการนีฝ้ า ยบริหารจําเป นต องใช ดลุ ยพินจิ ทีเ่ กีย่ วข อง กับการคาดการณ รายได และค าใช จ ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย นั้น ค าใช จ ายส งเสริมการตลาด ค าใช จ ายส งเสริมการตลาด คือ รายการที่เกิดจากกิจกรรมโฆษณา ประชาสัมพันธ รวมถึงกิจกรรมส งเสริมการขายต างๆ ที่เกิด จากธุรกรรมทีไ่ ด มกี ารขายสินค าไปแล ว แต บริษทั ฯยังคงมีภาระผูกพันจากการส งเสริมการขายดังกล าวอยูก บั ลูกค าทีจ่ ะต องชําระภาระผูกพัน ดังกล าวในอนาคต ซึ่งบางรายการเป นการประมาณขึ้นจากประสบการณ ในอดีต รวมถึงการเปรียบเทียบข อมูลต างๆ ที่มีอยู ในตลาดที่ เกี่ยวข อง อย างไรก็ตามการใช ประมาณการและข อสมมติฐาน ณ ช วงเวลาที่แตกต างกันอาจมีผลต อจํานวนที่เคยประมาณการไว ดังนั้น การปรับปรุงค าใช จ ายส งเสริมการขายอาจมีขึ้นได ในอนาคต เงินบํานาญ และผลประโยชน ของพนักงานหลังการเลิกจ างงาน เงินบํานาญและผลประโยชน ของพนักงานหลังการเลิกจ างงานประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย ซึง่ ต องอาศัยข อสมมติฐาน ต างๆ ในการประมาณการนั้น เช น จํานวนเงินเดือนที่จะคาดว าจะเพิ่มขึ้นในอนาคตและอัตราคิดลด เป นต น 6. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ในระหว างป ป จจุบัน บริษัทฯมีการประเมินมูลค าสํารองเงินบําเหน็จของพนักงานเมื่อเกษียณอายุโดยผู ประเมินอิสระโดยใช วิธีคิดลดแต ละ หน วยที่ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) เพื่อแสดงมูลค าของสํารองให เหมาะสม ซึ่งบริษัทฯบันทึกการเปลี่ยนแปลงโดยใช วิธีปรับย อนหลังและได ปรับปรุงประมาณการหนี้สินดังกล าวกับกําไรสะสมยกมาของป 2553 เป นจํานวนเงินประมาณ 63.5 ล านบาท และปรับ 67
ย อนหลังงบการเงินสําหรับป 2552 โดยถือเสมือนว าบริษัทฯ ได บันทึกบัญชีตั้งแต แรก การเปลี่ยนแปลงนี้ทําให บริษัทฯมีกําไรสุทธิในงบกําไร ขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ลดลงเป นจํานวน 12.0 ล านบาท ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล าวได แสดงไว ในหัวข อ “ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ การบันทึกสํารองผลประโยชน พนักงาน” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส วนของผู ถือหุ นแล ว 7. เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด
(หน วย : บาท) งบการเงินรวม 2553
เงินสด เงินฝากธนาคาร ตั๋วแลกเงิน รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552
86,922,003 135,323,108 1,195,000,000 1,417,245,111
60,264,352 111,066,477 675,000,000 846,330,829
2553
86,191,705 110,552,435 1,195,000,000 1,391,744,140
2552
59,686,438 89,690,510 675,000,000 824,376,948
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงินฝากออมทรัพย และตั๋วแลกเงินมีอัตราดอกเบี้ยระหว างร อยละ 0.25 ถึง 1.60 ต อป (2552: ร อยละ 0.50 ถึง 2.85 ต อป ) 8. ลูกหนี้การค า
(หน วย : บาท) งบการเงินรวม 2553
ลูกหนี้การค า ลูกหนี้เช็คคืน ลูกหนี้บัตรเครดิตและคูปอง รวม หัก: ค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค า - สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552
84,015,217 2,211,537 80,441,476 166,668,230 (2,649,226) 164,019,004
79,645,437 4,788,722 65,549,071 149,983,230 (5,398,348) 144,584,882
2553
79,217,085 2,211,537 80,441,476 161,870,098 (2,649,226) 159,220,872
ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แยกตามอายุหนี้ที่คงค างได ดังนี้ งบการเงินรวม 2553
อายุหนี้ค างชําระ ยังไม ครบกําหนดชําระ ค างชําระ ไม เกิน 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว า 12 เดือน รวม หัก: ค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค า - สุทธิ 68
2552
74,973,931 4,788,722 65,502,199 145,264,852 (5,398,348) 139,866,504
(หน วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552
2553
2552
143,397,176
133,064,836
140,420,729
130,671,318
20,816,374 2,454,680 166,668,230 (2,649,226) 164,019,004
11,801,713 43,433 5,073,248 149,983,230 (5,398,348) 144,584,882
18,994,689 2,454,680 161,870,098 (2,649,226) 159,220,872
9,520,286 5,073,248 145,264,852 (5,398,348) 139,866,504
9. ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้อื่นส วนใหญ ประกอบด วยลูกหนี้ที่เกิดจากการดําเนินงานที่เกี่ยวเนื่องกับการสนับสนุนการขายและลูกหนี้จากการให เช าพื้นที่และ บริการอื่นที่เกี่ยวข อง ยอดคงเหลือของลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แยกตามอายุหนี้ที่คงค างได ดังนี้
(หน วย : บาท)
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2553
อายุหนี้ค างชําระ ยังไม ถึงกําหนดชําระ ค างชําระ ไม เกิน 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว า 12 เดือน รวม หัก: ค าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ
2552
2553
2552
169,956,341
122,516,249
172,390,198
124,770,783
304,083,566 1,971,495 11,382,681 487,394,083 (8,994,954) 478,399,129
222,275,208 3,083,936 8,918,883 356,794,276 (9,000,000) 347,794,276
304,083,566 1,971,495 11,382,681 489,827,940 (8,994,954) 480,832,986
222,275,208 3,083,936 8,918,883 359,048,810 (9,000,000) 350,048,810
10. สินค าคงเหลือ
(หน วย : บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
สินค าคงเหลือ หัก: ค าเผื่อสินค าเสียหาย สุทธิ หัก: สินค าที่จ ายชําระค าสินค าเมื่อขาย ส วนลดจากการซื้อสินค า สินค าคงเหลือ - สุทธิ
4,559,357,759 (149,360,727) 4,409,997,032 (566,259,876) (129,505,401) 3,714,231,755
2552
3,613,453,916 (112,301,165) 3,501,152,751 (495,509,317) (100,505,401) 2,905,138,033
11. เงินลงทุนในบริษัทย อย
(หน วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนเรียกชําระแล ว
2553
บริษัทย อย บริษัท มาร เก็ต วิลเลจ จํากัด
2552
5,000,000 5,000,000
สัดส วนเงินลงทุน
2553
2552
(ร อยละ) 99.99
(ร อยละ) 99.99
ราคาทุน
2553
เงินป นผลที่บริษัทฯรับระหว างป
2552
4,999,300 4,999,300
2553
2552
-
-
69
12. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข องกัน ในระหว างป บริษัทฯ และบริษัทย อยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข องกัน รายการธุรกิจดังกล าวเป นไปตามเงื่อนไข ทางการค าและเกณฑ ตามที่ตกลงกันระหว างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข องกันเหล านั้น ซึ่งเป นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุป ได ดังนี้ (หน วย : บาท) งบการเงินรวม 2552
2553
รายการธุรกิจกับบริษัทย อย (ได ตัดออกจากงบการเงินรวมแล ว) ขายสินค า ค าเช าและค าบริการรับ
รายได อื่น ค าบริการรับ ค าบริการจ าย ดอกเบี้ยจ าย รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข องกัน ขายสินค า ดอกเบี้ยรับ ซื้อสินค า ค าเช าและค าบริการจ าย
70
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
2552
-
1,025,860 1,318,764 - 146,311,429 138,894,845
-
-
27,671,890 9,277,234 603,020 1,221,329
24,293,934 7,558,230 64,540 1,538,610
11,499,285 5,702,548
4,371,699 1,809,526
11,499,285 5,702,548
4,371,699 1,809,526
547,100 17,645,175
1,410,774 17,918,221
547,100 17,645,175
1,410,774 17,918,221
นโยบายการกําหนดราคา
ราคาตลาด เดือนละ 11.7 - 12.3 ล านบาท สําหรับป 2553 และ (เดือนละ 10.9 - 11.7 ล านบาท สําหรับป 2552) ร อยละของยอดรายได หลัก ตามต นทุนที่เกิดขึ้นจริง ราคาตลาด ร อยละ 1.50 - 1.85 ต อป (2552: ร อยละ 1.50 - 4.00 ต อป ) ราคาตลาด ร อยละ 0.25 - 1.60 ต อป (2552: ร อยละ 0.75 - 2.85 ต อป ) ราคาตลาด ร อยละของยอดขายแต ไม น อยกว าอัตราขั้นต่ํา
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯมียอดคงค างกับกิจการที่เกี่ยวข องกัน ซึ่งแสดงในงบดุลรวมอยู ในรายการดังนี้ (หน วย : บาท) งบการเงินรวม 2553
ตั๋วแลกเงินและเงินฝากสถาบันการเงิน (แสดงรวมในเงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด) บมจ. ธนาคารแลนด แอนด เฮ าส เพื่อรายย อย (1) ลูกหนี้การค า บมจ. แลนด แอนด เฮ าส และ บริษัทย อย (2) บมจ. ควอลิตี้ เฮ าส และบริษัทย อย (2) บจ. มาร เก็ต วิลเลจ (ได ตัดออกจากงบการเงินรวมแล ว) รวม ลูกหนี้อื่น บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส (3) บจ. มาร เก็ต วิลเลจ (ได ตัดออกจากงบการเงินรวมแล ว) รวม เงินประกันการเช า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย ควอลิตี้ เฮ าส (1) เจ าหนี้การค า บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดักส (3) เงินกู ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข องกัน บจ. มาร เก็ต วิลเลจ (ได ตัดออกจากงบการเงินรวมแล ว) เจ าหนี้อื่น กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย ควอลิตี้ เฮ าส (1) บจ. มาร เก็ต วิลเลจ (ได ตัดออกจากงบการเงินรวมแล ว) รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2552
1,196,574,649
2553
2552
677,976,592 1,196,574,649
677,976,592
2,363,253 959,041 3,322,294
432,460 141,868 574,328
2,363,253 959,041 124,190 3,446,484
432,460 141,868 81,800 656,128
3,210 3,210
3,210 3,210
3,210 2,433,857 2,437,067
3,210 2,254,534 2,257,744
3,000,000
3,000,000
3,000,000
3,000,000
-
161,918
-
161,918
-
-
85,000,000
70,000,000
1,436,038 1,436,038
1,302,452 1,302,452
1,436,038 13,977 1,450,015
1,302,452 1,302,452
ลักษณะความสัมพันธ กับบริษัทที่เกี่ยวข องกัน: (1) มีผู ถือหุ นรายใหญ ร วมกัน (2) เป นผู ถือหุ นรายใหญ (3) มีกรรมการร วมกัน
ในระหว างป 2553 เงินกู ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข องกันมีรายการเคลื่อนไหวดังต อไปนี้ (หน วย : บาท) ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 2552
บริษัทย อย บจ. มาร เก็ต วิลเลจ
70,000,000
ในระหว างป เพิ่มขึ้น
15,000,000
ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 2553
ลดลง
-
85,000,000
บริษัทฯได กู ยืมเงินแบบไม มีหลักทรัพย ค้ําประกันจากบริษัทย อยจํานวน 85 ล านบาท ชําระดอกเบี้ยเป นรายเดือนในอัตราดอกเบี้ย ร อยละ 1.50 - 1.85 ต อป (2552: ร อยละ 1.50 - 4.00 ต อป ) ครบกําหนดชําระเงินต นเมื่อทวงถาม 71
ค าตอบแทนกรรมการและผู บริหาร ในป 2553 บริษัทฯและบริษัทย อยมีค าใช จ ายสําหรับเงินเดือน โบนัส ค าเบี้ยประชุมและเงินบําเหน็จของกรรมการและผู บริหารเป น จํานวนเงิน 79.46 ล านบาท (2552: 70.95 ล านบาท) 13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ
(หน วย : บาท) งบการเงินรวม
ที่ดินและ ส วนปรับปรุง ที่ดิน
อาคารและ สิ่งปลูกสร าง
อุปกรณ คอมพิวเตอร
เครื่องตกแต ง และเครื่องใช สํานักงาน
ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 2,380,384,994 7,200,605,936 307,060,222 1,981,422,476 ซื้อเพิ่ม 97,469,176 83,646,056 45,512,958 299,361,183 จําหน ายและตัดจําหน าย - (75,769,581) (16,439,486) (107,943,786) โอนเข า (ออก) 4,302,000 526,948,245 11,028,913 156,436,536 31 ธันวาคม 2553 2,482,156,170 7,735,430,656 347,162,607 2,329,276,409 ค าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 - 1,616,665,539 252,826,116 1,325,845,362 ค าเสื่อมราคาสําหรับป - 446,961,250 39,670,440 314,482,694 ค าเสื่อมราคาสําหรับ ส วนที่จําหน าย และตัดจําหน าย - (40,828,948) (16,424,483) (91,308,221) 31 ธันวาคม 2553 - 2,022,797,841 276,072,073 1,549,019,835 ค าเผื่อการด อยค า 31 ธันวาคม 2552 13,000,000 64,540,000 เพิ่มขึ้นระหว างป 53,598,000 ลดลงระหว างป - (17,900,000) 31 ธันวาคม 2553 13,000,000 100,238,000 มูลค าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 2,367,384,994 5,519,400,397 54,234,106 655,577,114 31 ธันวาคม 2553 2,469,156,170 5,612,394,815 71,090,534 780,256,574 ค าเสื่อมราคาสําหรับป 2552 (714.4 ล านบาท รวมอยู ในค าใช จ ายในการขาย ส วนที่เหลือรวมอยู ในค าใช จ ายในการบริหาร) 2553 (773.3 ล านบาท รวมอยู ในค าใช จ ายในการขาย ส วนที่เหลือรวมอยู ในค าใช จ ายในการบริหาร)
72
สินทรัพย ระหว างติดตั้ง และก อสร าง
ยานพาหนะ
รวม
41,964,035 99,117,491 12,010,555,154 7,947,553 1,324,436,187 1,858,373,113 (6,331,808) - (206,484,661) - (698,715,694) 43,579,780 724,837,984 13,662,443,606 27,090,659 7,434,872
- 3,222,427,676 - 808,549,256
(6,032,348) 28,493,183
- (154,594,000) - 3,876,382,932
14,873,376 15,086,597
-
77,540,000 53,598,000 (17,900,000) 113,238,000
99,117,491 8,710,587,478 724,837,984 9,672,822,674 756,319,116 808,549,256
งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดินและ ส วนปรับปรุง ที่ดิน
อาคารและ สิ่งปลูกสร าง
อุปกรณ คอมพิวเตอร
เครื่องตกแต ง และเครื่องใช สํานักงาน
ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 2,380,384,994 7,199,960,219 306,812,940 1,961,881,890 ซื้อเพิ่ม 97,469,176 83,646,056 45,391,909 299,098,418 จําหน ายและตัดจําหน าย - (75,769,581) (16,439,486) (107,723,277) โอนเข า (ออก) 4,302,000 526,948,245 11,028,913 156,436,536 31 ธันวาคม 2553 2,482,156,170 7,734,784,939 346,794,276 2,309,693,567 ค าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 - 1,616,509,808 252,675,868 1,313,145,786 ค าเสื่อมราคาสําหรับป - 446,896,679 39,582,207 310,575,360 ค าเสื่อมราคาสําหรับ ส วนที่จําหน าย และตัดจําหน าย - (40,828,948) (16,424,483) (91,137,236) 31 ธันวาคม 2553 - 2,022,577,539 275,833,592 1,532,583,910 ค าเผื่อการด อยค า 31 ธันวาคม 2552 13,000,000 64,540,000 เพิ่มขึ้นระหว างป 53,598,000 ลดลงระหว างป - (17,900,000) 31 ธันวาคม 2553 13,000,000 100,238,000 มูลค าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 2,367,384,994 5,518,910,411 54,137,072 648,736,104 31 ธันวาคม 2553 2,469,156,170 5,611,969,400 70,960,684 777,109,657 ค าเสื่อมราคาสําหรับป 2552 (714.4 ล านบาท รวมอยู ในค าใช จ ายในการขาย ส วนที่เหลือรวมอยู ในค าใช จ ายในการบริหาร) 2553 (773.3 ล านบาท รวมอยู ในค าใช จ ายในการขาย ส วนที่เหลือรวมอยู ในค าใช จ ายในการบริหาร)
ยานพาหนะ
สินทรัพย ระหว างติดตั้ง และก อสร าง
รวม
41,366,990 99,117,491 11,989,524,524 7,947,553 1,324,324,925 1,857,878,037 (6,331,809) - (206,264,153) - (698,715,694) 42,982,734 724,726,722 13,641,138,408 26,623,001 7,317,300
- 3,208,954,463 - 804,371,546
(6,032,348) 27,907,953
- (154,423,015) - 3,858,902,994
14,743,989 15,074,781
-
77,540,000 53,598,000 (17,900,000) 113,238,000
99,117,491 8,703,030,061 724,726,722 9,668,997,414 752,180,384 804,371,546
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมียอดคงเหลือของยานพาหนะและอุปกรณ ซึ่งได มาภายใต สัญญาเช าทางการเงิน โดยมีมูลค าสุทธิ ตามบัญชีเป นจํานวนเงิน 15.2 ล านบาท (2552: 15.4 ล านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯและบริษัทย อยมีอาคารและอุปกรณ จํานวนหนึ่งซึ่งตัดค าเสื่อมราคาหมดแล ว แต ยังใช งานอยู มูลค า ตามบัญชีก อนหักค าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย ดังกล าวมีจํานวนเงินประมาณ 859.2 ล านบาท (2552: 512.6 ล านบาท) (งบการเงิน เฉพาะบริษัทฯ: 858.9 ล านบาท และ 2552: 512.6 ล านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯได จดจํานองอาคารและสิทธิการเช า (หมายเหตุ 15) มูลค าสุทธิตามบัญชี 625.4 ล านบาท เพื่อ เป นหลักประกันวงเงินสินเชื่อที่ได รับจากธนาคารพาณิชย ในเดือนพฤศจิกายน 2553 บริษัทฯได ดําเนินการปลดภาระจํานองของหลักทรัพย ดังกล าวทั้งจํานวนแล วตามที่กล าวไว ในหมายเหตุ 20
73
14. คอมพิวเตอร ซอฟแวร
(หน วย : บาท) งบการเงินรวม
ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่มระหว างป ตัดจําหน ายระหว างป 31 ธันวาคม 2553 ค าตัดจําหน ายสะสม 31 ธันวาคม 2552 ตัดจําหน ายสําหรับป ตัดจําหน ายส วนที่ตัดจําหน าย 31 ธันวาคม 2553 ค าเผื่อการด อยค า 31 ธันวาคม 2552 ลดลงระหว างป 31 ธันวาคม 2553 มูลค าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553
งบการเงินเฉพาะกิจการ
234,652,474 57,679,118 (6,296,962) 286,034,630
234,643,018 57,331,067 (6,296,962) 285,677,123
99,536,575 20,873,036 (4,576,461) 115,833,150
99,532,849 20,856,524 (4,576,460) 115,812,913
43,000,000 (3,000,000) 40,000,000
43,000,000 (3,000,000) 40,000,000
92,115,899 130,201,480
92,110,169 129,864,210
15. สิทธิการเช า
(หน วย : บาท) งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ
ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 ซื้อเพิ่มระหว างป ตัดจําหน ายระหว างป 31 ธันวาคม 2553 ค าตัดจําหน ายสะสม 31 ธันวาคม 2552 ตัดจําหน ายสําหรับป ตัดจําหน ายส วนที่ตัดจําหน าย 31 ธันวาคม 2553 มูลค าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553
74
870,798,826 160,076,067 (870,573) 1,030,004,320 167,799,328 31,036,614 (223,730) 198,612,212 702,999,498 831,392,108
16. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ มีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารหลายแห งที่ยังมิได เบิกใช เป นจํานวนทั้งสิ้น 175 ล านบาท และ 155 ล านบาท ตามลําดับ และมีวงเงินสินเชือ่ อืน่ ๆ จํานวน 4,203 ล านบาท และ 3,929 ล านบาท ตามลําดับ 17. หนี้สินตามสัญญาเช าการเงิน
(หน วย : บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส วนที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งป
หนี้สินตามสัญญาเช าการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจําหน าย สุทธิ
ส วนที่ถึงกําหนดชําระเกินหนึ่งป
2553
2552
2553
5,145,326 (547,087) 4,598,239
3,996,042 (456,590) 3,539,452
7,429,996 (524,495) 6,905,501
2552
5,995,160 (359,566) 5,635,594
บริษัทฯได ทําสัญญาเช าการเงินกับบริษัทลีสซิ่งเพื่อเช ายานพาหนะและอุปกรณ ใช ในการดําเนินงานของกิจการโดยมีกําหนดการชําระ ค าเช าเป นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ถึง 5 ป (หน วย : ล านบาท) ไม เกิน 1 ป
ผลรวมของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ต องจ ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช า ดอกเบี้ยตามสัญญาเช าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค าป จจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ต องจ ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช า
5.15 (0.55) 4.60
1-5 ป
รวม
7.43 (0.52) 6.91
12.58 (1.07) 11.51
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีภาระผูกพันที่จะต องจ ายค าเช าขั้นต่ําตามสัญญาเช าการเงิน ดังนี้ 18. สํารองผลประโยชน พนักงาน การเปลี่ยนแปลงของสํารองผลประโยชน พนักงานสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได ดังนี้
(หน วย : บาท)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
สํารองผลประโยชน พนักงาน ณ วันต นป ต นทุนบริการในป จจุบัน ต นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน พนักงานจ ายระหว างป สํารองผลประโยชน พนักงาน ณ วันสิ้นป
2553
2552
63,515,819 12,212,971 2,985,243 (1,928,000) 76,786,033
51,536,769 9,556,822 2,422,228 63,515,819
75
จํานวนผลประโยชน พนักงานที่รับรู ในงบกําไรขาดทุนสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได ดังนี้
(หน วย : บาท)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
2552
ต นทุนบริการในป จจุบัน ต นทุนดอกเบี้ย รวมผลประโยชน พนักงาน
12,212,971 2,985,243 15,198,214
9,556,822 2,422,228 11,979,050
ผลประโยชน พนักงานที่รับรู ในงบกําไรขาดทุน ค าใช จ ายในการขาย ค าใช จ ายในการบริหาร ค าตอบแทนผู บริหาร
3,991,941 8,224,174 2,982,099
3,596,118 5,690,985 2,691,947
สมมติฐานหลักในการประมาณตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย ณ วันประเมินคือ ใช อัตราคิดลดร อยละ 4.7 ต อป อัตราการขึ้นเงิน เดือนในอนาคตร อยละ 6.7 - 7.2 ต อป และอัตราเงินเฟ อร อยละ 2.0 ต อป 19. หุ นกู งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุ น (หน วย)
หุ นกู ประเภทไม มีหลักประกัน ครั้งที่ 1/2551 ครั้งที่ 2/2551 ครั้งที่ 1/2552 ครั้งที่ 1/2553 ครั้งที่ 2/2553 รวม หัก: ส วนที่จะถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป หุ นกู - สุทธิจากส วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป
76
2553
2552
500,000 630,000 300,000 700,000 1,000,000 3,130,000
500,000 630,000 300,000 1,430,000
จํานวนเงิน (บาท) 2553
2552
100,000,000 630,000,000 300,000,000 700,000,000 1,000,000,000 2,730,000,000 (730,000,000) 2,000,000,000
260,000,000 630,000,000 300,000,000 1,190,000,000 (160,000,000) 1,030,000,000
รายละเอียดของหุ นกู มีดังนี้ 1. หุน กูไ ม ดอ ยสิทธิและไม มหี ลักประกันชนิดทยอยชําระคืนเงินต นของบริษทั โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2551 ครบกําหนดไถ ถอนป 2554 ชื่อของหุ นกู
จํานวนเงิน อายุ วันที่ออกหุ นกู อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการชําระดอกเบี้ย การชําระเงินต น เงื่อนไขและข อจํากัดทางการเงิน
“หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีหลักประกันชนิดทยอยชําระคืนเงินต น ของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2551 ครบกําหนดไถ ถอนป 2554”
500 ล านบาท 3 (สาม) ป นับจากวันที่ออกหุ นกู 2 พฤษภาคม 2551 ร อยละ 4.00 ต อป ชําระทุกๆ 3 (สาม) เดือน ในเดือนกุมภาพันธ พฤษภาคม สิงหาคม และพฤศจิกายนของทุกป ชําระคืนเป นรายงวด 3 (สาม)เดือน งวดละ 40 ล านบาท (งวดสุดท าย 60 ล านบาท) จํานวน 12 งวด เริ่มงวดแรกวันที่ 2 สิงหาคม 2551 งวดสุดท าย 2 พฤษภาคม 2554 การดํารงสัดส วนหนี้สินต อส วนของผู ถือหุ น
ในระหว างป 2553 บริษทั ฯได ชาํ ระคืนเงินต นตามเงือ่ นไขการชําระคืนของหุน กูด งั กล าวจํานวนงวดละ 40 ล านบาท คิดเป นจํานวน เงินรวมทั้งสิ้น 160 ล านบาทให แก ผู ถือหุ นกู 2.
หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2551 ครบกําหนดไถ ถอนป 2554 ชื่อของหุ นกู
จํานวนเงิน อายุ วันที่ออกหุ นกู อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการชําระดอกเบี้ย การชําระเงินต น เงื่อนไขและข อจํากัดทางการเงิน
“หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2551 ครบกําหนดไถ ถอนป 2554”
630 ล านบาท 3 (สาม) ป นับจากวันที่ออกหุ นกู 21 พฤศจิกายน 2551 ร อยละ 5.50 ต อป ชําระทุกๆ 3 (สาม) เดือน ในเดือนพฤศจิกายน กุมภาพันธ พฤษภาคม และสิงหาคม ของแต ละป ตลอดอายุของหุ นกู ในวันครบกําหนดไถ ถอนหุ นกู คือวันที่ 21 พฤศจิกายน 2554 การดํารงสัดส วนหนี้สินต อส วนของผู ถือหุ นและข อจํากัดการประกาศจ ายเงินป นผล
เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552 ที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นของบริษัทฯได มีมติอนุมัติยกเลิกการออกหุ นกู ส วนที่เคยได รับอนุมัติแต ยัง ไม มีการออกจําหน ายจํานวน 1,870 ล านบาท และพิจารณาอนุมัติให บริษัทฯออกและเสนอขายตราสารหนี้ดังนี้ • ออกและเสนอขายตั๋วเงิน และ/หรือหุ นกู ระยะสั้นที่มีระยะเวลาครบกําหนดไถ ถอนไม เกิน 270 วัน นับแต วันออกหุ นกู ภายในวงเงินไม เกิน 2,000 ล านบาท • ออกและเสนอขายหุ นกู ระยะยาวที่มีระยะเวลาครบกําหนดไถ ถอนไม เกิน 10 ป นับแต วันออกหุ นกู ภายในวงเงินไม เกิน 4,000 ล านบาท
77
3.
หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2552 ครบกําหนดไถ ถอนป 2555 ชื่อของหุ นกู
จํานวนเงิน อายุ วันที่ออกหุ นกู อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการชําระดอกเบี้ย การชําระเงินต น เงื่อนไขและข อจํากัดทางการเงิน
“หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2552 ครบกําหนดไถ ถอนป 2555”
300 ล านบาท 3 (สาม) ป นับจากวันที่ออกหุ นกู 1 ตุลาคม 2552 ร อยละ 4.00 ต อป ชําระทุกๆ 3 (สาม) เดือน ในเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคมและตุลาคม ของแต ละป ตลอดอายุ ของหุ นกู กําหนดชําระดอกเบี้ยครั้งแรกวันที่ 1 มกราคม 2553 และชําระดอกเบี้ยครั้งสุดท ายวันที่ 2 ตุลาคม 2555 ในวันครบกําหนดไถ ถอนหุ นกู คือวันที่ 2 ตุลาคม 2555 การดํารงสัดส วนหนี้สินต อส วนของผู ถือหุ นและข อจํากัดการประกาศจ ายเงินป นผล
4. ในระหว างป 2553 บริษัทฯได ออกหุน กูไ ม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษทั โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) เสนอขาย ให แก ผู ลงทุนสถาบันและ/หรือผู ลงทุนรายใหญ ตามมติที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นประจําป ของบริษัทฯเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552 โดยมี รายละเอียดดังนี้ 4.1 หุ นกู ไม ดอ ยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2553 ครบกําหนดไถ ถอนป 2556 ชื่อของหุ นกู
จํานวนเงิน อายุ วันที่ออกหุ นกู อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการชําระดอกเบี้ย การชําระเงินต น เงื่อนไขและข อจํากัดทางการเงิน
78
“หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2553 ครบกําหนดไถ ถอนป 2556”
700 ล านบาท 3 (สาม) ป นับจากวันที่ออกหุ นกู 8 มกราคม 2553 ร อยละ 3.65 ต อป ชําระทุกๆ 3 (สาม) เดือน ในเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคมและตุลาคม ของแต ละป ตลอดอายุ ของหุ นกู กําหนดชําระดอกเบี้ยครั้งแรกวันที่ 8 เมษายน 2553 และชําระดอกเบี้ยครั้งสุดท ายวันที่ 8 มกราคม 2556 ในวันครบกําหนดไถ ถอนหุ นกู คือวันที่ 8 มกราคม 2556 การดํารงสัดส วนหนี้สินต อส วนของผู ถือหุ นและข อจํากัดการประกาศจ ายเงินป นผล
4.2 หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2553 ครบกําหนดไถ ถอนป 2556 “หุ นกู ไม ด อยสิทธิและไม มีประกันของบริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2553 ครบกําหนดไถ ถอนป 2556”
ชื่อของหุ นกู
จํานวนเงิน อายุ วันที่ออกหุ นกู อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาการชําระดอกเบี้ย การชําระเงินต น เงื่อนไขและข อจํากัดทางการเงิน
1,000 ล านบาท 3 (สาม) ป นับจากวันที่ออกหุ นกู 25 มิถุนายน 2553 ร อยละ 3.00 ต อป ชําระทุก ๆ 6 (หก) เดือน ในเดือนมิถุนายน และธันวาคม ของแต ละป ตลอดอายุของหุ นกู กําหนด ชําระดอกเบี้ยครั้งแรกวันที่ 25 ธันวาคม 2553 และชําระดอกเบี้ยครั้งสุดท ายวันที่ 25 มิถุนายน 2556 ในวันครบกําหนดไถ ถอนหุ นกู คือวันที่ 25 มิถุนายน 2556 การดํารงสัดส วนหนี้สินต อส วนของผู ถือหุ นและข อจํากัดการประกาศจ ายเงินป นผล
20. เงินกู ยืมระยะยาว เงินกู ยืมเงินระยะยาวของบริษัทฯมีรายละเอียดดังนี้
(หน วย : บาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
ลําดับที่
ยอดเงินกู
ยอดคงเหลือ 2553
1 1,500,000,000 2 845,000,000 รวม หัก: ส วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกู ยืมระยะยาว - สุทธิ จากส วนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป
2552
-
675,000,000 305,320,000 980,320,000 (486,240,000)
-
494,080,000
เงื่อนไขการผ อน ชําระต อเดือน
25.00 ล านบาท 15.52 ล านบาท
อัตราดอกเบี้ย
* **
* อัตราร อยละ 4.15 - 4.25 ต อป และตั้งแต มิถุนายน 2553 เป น MLR ** อัตรา MLR ลบร อยละตามที่ตกลงร วมกัน
1) บริษัทฯได นําสินทรัพย และสิทธิการเช าเป นหลักทรัพย ค้ําประกันเงินกู ยืมลําดับที่ 1 (หมายเหตุ 13 และ 15) 2) เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2550 บริษัทฯได ทําสัญญาเงินกู ยืมจํานวน 2,000 ล านบาทกับธนาคารพาณิชย แห งหนึ่ง (ลําดับที่ 2) โดยมีกําหนด ระยะเวลาชําระคืนภายใน 78 เดือน เดือนละไม ต่ํากว า 33 ล านบาท และคิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR ลบร อยละตามที่ตกลงร วมกัน เงินกู ยืมนี้ค้ําประกันแบบ Negative Pledge ด วยสินทรัพย และสิทธิการเช าบางส วน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2551 บริษัทฯ ได ทําความตกลงกับธนาคารในการลดวงเงินกู ยืมจาก 2,000 ล านบาท เป น 845 ล านบาท และ วันที่ 5 กุมภาพันธ 2552 บริษัทฯได ทําความตกลงกับธนาคารเพื่อเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการใช วงเงินกู บางประการรวมทั้งเงื่อนไข การผ อนชําระจากเดิมกําหนดระยะเวลาชําระคืนภายใน 61 เดือน เดือนละไม ต่ํากว า 33.00 ล านบาท เปลี่ยนเป นกําหนดระยะเวลา ชําระคืนภายใน 48 เดือน เดือนละไม ต่ํากว า 15.52 ล านบาท ในเดือนกันยายน 2552 บริษัทฯใช วงเงินกู ยืมระยะยาวเต็มวงเงิน 3) บริษัทฯจะต องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุในสัญญาเงินกู ทั้งสองฉบับ เช น จะต องดํารงสัดส วนหนี้สินทาง การเงินต อส วนของผู ถือหุ นตามที่ตกลงร วมกัน ในระหว างป 2553 บริษัทฯได ชําระคืนเงินกู ลําดับที่ 1 และลําดับที่ 2 ทั้งจํานวนแล วและได ดําเนินการปลดภาระจํานองของหลักทรัพย ที่ค้ําประกันการกู ยืมดังกล าว
79
21. ทุนจดทะเบียน ในระหว างป 2553 ตามที่กล าวในหมายเหตุ 22 ผู ถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ นสามัญของบริษัทฯได ใช สิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิดังนี้ ป 2553
จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ (หน วย)
จํานวนหุ นสามัญ (ห ุน)
259,650 9,480
508,133 18,551
1.000 1.000
508,133 18,551
2,265,025 7,107,309 3,010,695 1,346,244 13,998,403
4,376,019 13,830,789 5,858,788 3,057,310 27,649,590
2.059 2.044 2.044 1.752
9,010,391 28,270,176 11,975,386 5,356,419 55,139,056
ESOP-W3 - ไตรมาสที่หนึ่ง - ไตรมาสที่สอง ESOP-W4 - ไตรมาสที่หนึ่ง - ไตรมาสที่สอง - ไตรมาสที่สาม - ไตรมาสที่สี่ รวม
ราคาใช สิทธิ (บาทต อหุ น)
จํานวนเงิน (บาท)
ตามที่กล าวข างต นทําให จํานวนหุ นสามัญ ทุนชําระแล วและส วนเกินมูลค าหุ นสามัญของบริษัทฯเพิ่มขึ้นดังนี้ จํานวนหุ น (พันหุ น)
หุ นสามัญจดทะเบียน ณ วันต นป เพิม่ ทุนจดทะเบียนเพือ่ รองรับการจ ายหุน ป นผล และการใช สทิ ธิออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ณ วันปลายป หุ นสามัญที่ออกและชําระแล ว ณ วันต นป เพิ่มทุนจากการใช สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ เพิ่มทุนจากการจ ายหุ นป นผล ณ วันปลายป
ทุนชําระแล ว (พันบาท)
ส วนเกินมูลค า (พันบาท)
3,794,213.9 632,391.6 4,426,605.5 3,703,926.2 27,649.6 621,416.1 4,352,991.9
3,703,926.2 27,649.6 621,416.1 4,352,991.9
594,317.4 27,489.5 621,806.9
เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได มีมติซึ่งได นําเสนออนุมัติในการประชุมวิสามัญผู ถือหุ นแล วเมื่อ วันที่ 4 ตุลาคม 2553 ดังนี้ 1. อนุมัติให จัดสรรกําไรสะสมและจ ายป นผลระหว างกาล โดยมีรายละเอียดดังนี้ - จัดสรรเป นสํารองตามกฎหมายจํานวน 35.20 ล านบาท ซึ่งเป นอัตรา 5% ของกําไรสุทธิงวดเดือนมกราคม 2553 ถึงเดือน มิถุนายน 2553 - จ ายป นผลเป นหุ นสามัญของบริษัทฯจํานวนไม เกิน 622.64 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว หุ นละ 1.00 บาท รวมมูลค าทั้งสิ้นไม เกิน จํานวน 622.64 ล านบาทให แก ผู ถือหุ นของบริษัทฯในอัตรา 6 หุ นเดิมต อ 1 หุ นป นผลหรือคิดเป นอัตราการจ ายป นผล 0.1667 บาทต อหุ น ในกรณีที่ผู ถือหุ นรายใด มีเศษของหุ นเดิมหลังการจัดสรรหุ นป นผลแล ว ให จ ายป นผลเป นเงินสดแทนในอัตรา หุ นละ 0.1667 บาท - จ ายป นผลเป นเงินสดในอัตราหุ นละ 0.0193 บาท หรือคิดเป นจํานวนเงินไม เกิน 72.10 ล านบาท รวมเป นการจ ายป นผลในอัตราหุ นละ 0.186 บาท โดยมีกําหนดจ ายหุ นป นผลและเงินป นผลจํานวนดังกล าวภายในวันที่ 29 ตุลาคม 2553 80
2. อนุมัติให ยกเลิกการจัดสรรหุ นสามัญที่เหลือจากใช สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ นสามัญของพนักงาน (ESOP-W3) เนื่องจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกล าวครบกําหนดการใช สิทธิในเดือนเมษายน 2553 และให จัดสรรหุ นสามัญจํานวนดังกล าวเป นส วนหนึ่งของ หุ นสามัญ ที่ใช รองรับการปรับสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิจะซื้อหุ นสามัญของพนักงาน (ESOP-W4) 3. อนุมัติให เพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 632.39 ล านบาท จากทุนจดทะเบียนเดิม 3,794.21 ล านบาท เป น 4,426.61 ล านบาท โดยการ ออกหุ นสามัญใหม จํานวน 632.39 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว หุ นละ 1.00 บาท โดยอนุมัติให จัดสรรหุ นเพิ่มทุนจํานวนดังกล าวดังนี้ - จัดสรรหุ นจํานวน 622.64 ล านหุ นเพื่อรองรับการจ ายหุ นป นผล - จัดสรรหุ นจํานวน 9.75 ล านหุ นเพื่อรองรับการใช สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ นสามัญของพนักงาน (ESOP-W4) ที่จะมี การปรับสิทธิแปลงสภาพเนื่องจากการจ ายหุ นป นผลตามที่กล าวข างต น ในเดือนตุลาคม 2553 บริษัทฯได จ ายป นผลเป นเงินสดจํานวน 71.96 ล านบาท และได จัดสรรหุ นสามัญเพื่อการจ ายหุ นป นผลจํานวน 621.42 ล านหุ น โดยได จดทะเบียนการเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย เป นทุนชําระแล วจํานวน 4,349.94 ล านบาท เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2553 ทั้งนี้ บริษัทฯได ย่ืนขอให ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยรับหุ นเพิ่มทุนจํานวน 621.42 ล านหุ นเป นหลักทรัพย จดทะเบียนเพิ่มเติม และ ได รับอนุมัติให หุ นเพิ่มทุนดังกล าวเริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย ได ตั้งแต วันที่ 28 ตุลาคม 2553 เป นต นไป ส วนจํานวนหุ นที่เหลือจากการ จ ายหุ นป นผลดังกล าว คณะกรรมการบริษัทฯจะนําเสนอต อที่ประชุมผู ถือหุ นเพื่อพิจารณาจัดสรรหุ นส วนที่เหลือดังกล าวในคราวต อไป ณ วันที่ในงบการเงิน บริษัทฯได บันทึกการจ ายหุ นป นผลจํานวน 621.42 ล านบาทตามราคามูลค าที่ตราไว ในบัญชีทุนเรือนหุ นที่ออกและ ชําระแล ว ซึ่งแสดงในส วนของผู ถือหุ น บริษัทฯได จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย เป นทุนชําระแล วจํานวน 4,352.99 ล านบาทเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553
22. ใบสําคัญแสดงสิทธิ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ นสามัญของบริษัทฯซึ่งออกให โดยไม มีราคาเสนอขาย มีรายละเอียดดังนี้ ประเภท ใบสําคัญ แสดงสิทธิ
ESOP-W3 ESOP-W4
ออกให แก
วันที่ออกใบสําคัญ แสดงสิทธิ
กรรมการและ 2 เมษายน 2550 พนักงานของบริษัทฯ กรรมการและ พนักงานของบริษัทฯ 23 พฤษภาคม 2551 และบริษัทย อย
จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิที่ออก (หน วย)
อายุใบสําคัญ แสดงสิทธิ
ราคาใช สิทธิ ต อ 1 หุ นสามัญ
อัตราการใช สิทธิ ต อ 1 หน วยใบ สําคัญแสดงสิทธิ
15,000,000
3 ป
1 .00 บาท
1 หุ นสามัญ
50,000,000
5 ป
3.98 บาท
1 หุ นสามัญ
ในระหว างป 2551 บริษัทฯได ออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ นสามัญของบริษัทฯให แก พนักงานของบริษัทฯและบริษัทย อยครั้งที่ 4 (ESOP-W4) ตามที่กล าวข างต น ทําให มีผลกระทบต ออัตราการใช สิทธิของ ESOP-W3 ดังนี้ ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิ
ราคาใช สิทธิต อ 1 หุ นสามัญ
ESOP-W3
1.00 บาท
อัตราการใช สิทธิ ต อ 1 หน วยใบสําคัญแสดงสิทธิ
1.007 หุ นสามัญ
81
ตามมติที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552 อนุมัติให บริษัทฯจ ายเงินป นผลซึ่งเป นเงินเกินกว าอัตราร อยละ 55 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได ของบริษัทฯในป 2551 บริษัทฯจึงต องเปลี่ยนแปลงราคาใช สิทธิและอัตราการใช สิทธิของ ESOP-W3 และ ESOP-W4 ตามเงื่อนไขที่กําหนดไว ในหนังสือชี้ชวนการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ ดังนี้ ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิ
ราคาใช สิทธิต อ 1 หุ นสามัญ
ESOP-W3 ESOP-W4
1.000 บาท 3.912 บาท
อัตราการใช สิทธิ ต อ 1 หน วยใบสําคัญแสดงสิทธิ
1.030 หุ นสามัญ 1.017 หุ นสามัญ
การเปลีย่ นแปลงราคาและอัตราการใช สทิ ธิใหม สาํ หรับ ESOP-W3 และ ESOP-W4 นีม้ ผี ลบังคับตัง้ แต วนั ที่ 16 เมษายน 2552 ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 บริษัทฯต องจ ายป นผลระหว างกาลเป นหุ นป นผลให กับผู ถือหุ น จํานวน 1,752.0 ล านหุ น ให แก ผู ถือหุ นของบริษัทฯ บริษัทฯจึงต องปรับราคาใช สิทธิและอัตราการใช สิทธิของ ESOP-W3 และ ESOP-W4 ตามเงื่อนไขที่กําหนดไว ในหนังสือชี้ชวนการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ ดังนี้ ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิ
ราคาใช สิทธิต อ 1 หุ นสามัญ
ESOP-W3 ESOP-W4
1.000 บาท 2.059 บาท
อัตราการใช สิทธิ ต อ 1 หน วยใบสําคัญแสดงสิทธิ
1.957 หุ นสามัญ 1.932 หุ นสามัญ
การเปลีย่ นแปลงราคาและอัตราการใช สทิ ธิใหม สาํ หรับ ESOP-W3 และ ESOP-W4 นีม้ ผี ลบังคับตัง้ แต วนั ที่ 12 ตุลาคม 2552 ตามมติที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 อนุมัติให บริษัทฯ จ ายเงินป นผลซึ่งเป นเงินเกินกว าอัตราร อยละ 55 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได ของบริษัทฯ ในป 2552 บริษัทฯ จึงต องเปลี่ยนแปลงราคาใช สิทธิและอัตราการใช สิทธิของ ESOP-W4 ตามเงื่อนไขที่กําหนดไว ในหนังสือชี้ชวนการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิดังนี้ ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิ
ราคาใช สิทธิต อ 1 หุ นสามัญ
ESOP-W4
2.044 บาท
อัตราการใช สิทธิ ต อ 1 หน วยใบสําคัญแสดงสิทธิ
1.946 หุ นสามัญ
การเปลี่ยนแปลงราคาและอัตราการใช สิทธิใหม สําหรับ ESOP-W4 นี้มีผลบังคับตั้งแต วันที่ 12 เมษายน 2553 ตามมติทปี่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ของบริษทั ฯเมือ่ วันที่ 4 ตุลาคม 2553 บริษทั ฯต องจ ายป นผลระหว างกาลเป นหุน ป นผลให กบั ผูถ อื หุน จํานวน ไม เกิน 622.64 ล านหุ น ให แก ผู ถือหุ นของบริษัทฯ บริษัทฯจึงต องปรับราคาใช สิทธิและอัตราการใช สิทธิของ ESOP-W4 ตามเงื่อนไขที่ กําหนดไว ในหนังสือชี้ชวนการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิดังนี้ ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิ
ราคาใช สิทธิต อ 1 หุ นสามัญ
ESOP-W4
1.752 บาท
อัตราการใช สิทธิ ต อ 1 หน วยใบสําคัญแสดงสิทธิ
2.271 หุ นสามัญ
การเปลี่ยนแปลงราคาและอัตราการใช สิทธิใหม สําหรับ ESOP-W4 นี้มีผลบังคับตั้งแต วันที่ 12 ตุลาคม 2553 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ นสามัญของบริษัทฯในระหว างป 2553 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ประเภท ใบสําคัญ แสดงสิทธิ
ESOP-W3 ESOP-W4 82
จํานวนใบสําคัญแสดง สิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
580,931 36,148,625
จํานวนใบสําคัญแสดง สิทธิที่มีการใช สิทธิ ในระหว างป
(269,130) (13,729,273)
(หน วย : หน วย)
จํานวนใบสําคัญแสดง สิทธิที่หมดอายุลง ในระหว างป
(311,801) -
จํานวนใบสําคัญแสดง สิทธิคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
22,419,352
23. สํารองตามกฎหมาย ภายใต บทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แห งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯต องจัดสรรกําไรสุทธิประจําป สว นหนึง่ ไว เป น ทุนสํารองไม น อยกว าร อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําป จนกว าทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไม น อยกว าร อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตาม กฎหมายดังกล าวไม สามารถนําไปจ ายเงินป นผลได
24. ค าใช จ ายตามลักษณะ รายการค าใช จ ายแบ งตามลักษณะประกอบด วยรายการค าใช จ ายที่สําคัญดังต อไปนี้
(หน วย : บาท)
งบการเงินรวม 2553
ผลตอบแทนพนักงาน ค าใช จ ายเกี่ยวกับอาคารและสถานที่ ค าเสื่อมราคาและค าตัดจําหน าย ค าสนับสนุนการขายและการดําเนินงาน ค าใช จ ายทางการเงิน ค าใช จ ายทางภาษี การเปลี่ยนแปลงในสินค าสําเร็จรูป
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552
1,786 918 860 974 103 727 (917)
2553
1,437 820 805 784 114 558 (265)
2552
1,786 918 856 946 105 722 (917)
1,437 820 800 758 114 557 (265)
25. กําไรต อหุ น กําไรต อหุ นขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรสุทธิสําหรับป ด วยจํานวนถัวเฉลี่ยถ วงน้ําหนักของหุ นสามัญที่ออกอยู ในระหว างป โดยได ปรับจํานวนหุ นตามสัดส วนที่เปลี่ยนไปของจํานวนหุ นสามัญที่เกิดจากการเพิ่มทุนโดยการออกหุ นป นผล ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2553 จํานวน 621.42 ล านหุ น (ตามที่กล าวไว ในหมายเหตุ 21) และได ปรับปรุงจํานวนหุ นสามัญที่ใช ในการคํานวณกําไรต อหุ นของป ก อนที่นํามาเปรียบเทียบ โดยถือเสมือนว าการออกหุ นป นผลได เกิดขึ้นตั้งแต วันเริ่มต นของงวดแรกที่เสนอรายงาน กําไรต อหุ นปรับลดคํานวณโดยหารกําไรสุทธิสําหรับป ด วยผลรวมของจํานวนหุ นสามัญถัวเฉลี่ยถ วงน้ําหนักที่ออกอยู ในระหว างป โดยได ปรับจํานวนหุ นตามสัดส วนที่เปลี่ยนไปของจํานวนหุ นสามัญที่เกิดจากการเพิ่มทุนโดยการออกหุ นป นผลตามที่กล าวข างต นกับจํานวนถัวเฉลี่ย ถ วงน้าํ หนักของหุน สามัญทีบ่ ริษทั ฯอาจต องออกเพือ่ แปลงหุน สามัญเทียบเท าปรับลดทัง้ สิน้ ให เ ป นหุน สามัญ โดยสมมติวา ได มกี ารแปลงเป นหุน สามัญ ณ วันต นป หรือ ณ วันออกหุ นสามัญเทียบเท า กําไรต อหุ นขั้นพื้นฐานและกําไรต อหุ นปรับลดแสดงการคํานวณได ดังนี้ งบการเงินรวม สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม กําไรสุทธิ (บาท)
2553
2552
(ปรับปรุงใหม )
จํานวนหุ นสามัญถัวเฉลี่ย ถ วงน้ําหนัก (หุ น)
2553
2552
(ปรับปรุงใหม )
กําไรต อหุ น (บาท)
2553
2552
(ปรับปรุงใหม )
กําไรต อหุ นขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิสว นทีเ่ ป นของผูถ อื หุน ของบริษทั ใหญ ผลกระทบของหุ นสามัญเทียบเท าปรับลด
1,638,429,270 1,130,878,380 4,339,764,479 4,313,635,897 - 48,535,285 48,733,170
0.38
0.26
1,638,429,270 1,130,878,380 4,388,299,764 4,362,369,067
0.37
0.26
กําไรต อหุ นปรับลด กําไรสุทธิที่เป นของผู ถือหุ นสามัญ สมมติว ามีการแปลงเป นหุ นสามัญ จากใบสําคัญแสดงสิทธิ
83
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จํานวนหุ นสามัญถัวเฉลี่ย กําไรสุทธิ (บาท) กําไรต อหุ น (บาท) ถ วงน้ําหนัก (หุ น) 2553 2552 2553 2552 2553 2552 (ปรับปรุงใหม )
(ปรับปรุงใหม )
(ปรับปรุงใหม )
กําไรต อหุ นขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิส วนที่เป นของผู ถือหุ นของบริษัทใหญ ผลกระทบของหุ นสามัญเทียบเท าปรับลด
1,627,211,784 1,126,215,560 4,339,764,479 4,313,635,897
-
-
48,535,285
0.37
0.26
0.37
0.26
48,733,170
กําไรต อหุ นปรับลด กําไรสุทธิที่เป นของผู ถือหุ นสามัญ สมมติว ามีการแปลงเป นหุ นสามัญ จากใบสําคัญแสดงสิทธิ
1,627,211,784 1,126,215,560 4,388,299,764 4,362,369,067
26. การเสนอข อมูลทางการเงินจําแนกตามส วนงาน บริษัทฯและบริษัทย อยดําเนินกิจการหลัก คือ จําหน ายสินค าที่เกี่ยวข องกับการตกแต ง ก อสร าง ต อเติม ซ อมแซมอาคารและที่อยู อาศัย แบบครบวงจรและให บริการที่เกี่ยวข อง รวมถึงการให เช าพื้นที่ (ซึ่งมียอดรายได และสินทรัพย น อยกว าร อยละ 10 ของยอดรายได รวมและ สินทรัพย รวมของทุกส วนงาน) โดยมีสว นงานทางภูมศิ าสตร หลักในประเทศไทย ดังนัน้ รายได กําไร และสินทรัพย โดยส วนใหญ ตามทีแ่ สดงไว ใน งบการเงินจึงเกี่ยวข องกับส วนงานธุรกิจจําหน ายสินค าและส วนงานทางภูมิศาสตร ตามที่กล าวไว
27. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯได ร วมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ และพนักงานจะจ ายสมทบเข ากองทุนเป นรายเดือนในอัตราร อยละ 3 - 5 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัท อเมริกัน อินเตอร แนชชั่นแนล แอสชัวรันส จํากัด และจะจ ายให แก พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจาก งานตามระเบียบว าด วยกองทุนของบริษัทฯ ในระหว างป 2553 บริษัทฯได จ ายเงินสมทบกองทุนเป นจํานวนเงิน 34.25 ล านบาท (2552: 30.24 ล านบาท)
28. เงินป นผลจ าย อนุมัติโดย
หุ นป นผลระหว างกาล สําหรับป 2553 เงินป นผลระหว างกาล สําหรับป 2553 เงินป นผลประจําป สําหรับป 2552 หุ นป นผลระหว างกาล สําหรับป 2552 เงินป นผลระหว างกาล สําหรับป 2552 เงินป นผลประจําป สําหรับป 2551 84
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 และที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ น เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 และที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ น เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2553 ที่ประชุมสามัญผู ถือหุ น เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 ที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ น เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ที่ประชุมวิสามัญผู ถือหุ น เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ที่ประชุมสามัญผู ถือหุ น เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552
เงินป นผลจ าย (ล านบาท)
เงินป นผลจ ายต อหุ น (บาท)
วันที่จ ายเงินป นผล
621.42
0.1667
29 ตุลาคม 2553
71.96
0.0193
29 ตุลาคม 2553
593.32
0.1600
30 เมษายน 2553
1,752.01
0.9000
27 ตุลาคม 2552
194.67
0.1000
27 ตุลาคม 2552
676.78
0.3500
28 เมษายน 2552
29. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น 29.1 บริษัทฯ มีภาระผูกพันกับธนาคารในการค้ําประกันการเช า การซื้อสินค าหรือจ างทําของและค้ําประกันต อหน วยงานรัฐวิสาหกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ2552 เป นจํานวนเงินรวม 89.16ล านบาท และ 66.65 ล านบาท ตามลําดับ 29.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีภาระผูกพันจากการเป ดวงเงินเลตเตอร ออฟเครดิตกับธนาคารพาณิชย 2 แห ง วงเงิน 3.99 ล าน เหรียญสหรัฐ (2552: วงเงิน 3.53 ล านเหรียญสหรัฐ)
30. ภาระผูกพันตามสัญญาเช าดําเนินงาน 30.1 สัญญาเช าระยะยาว ก) บริษัทฯได เข าทําสัญญาเช าที่ดินรวม 16 แห ง อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 24 ถึง 30 ป และสัญญา ดังกล าวเป นสัญญาที่บอกเลิกไม ได เว นแต คู สัญญาทั้งสองฝ ายตกลงยินยอมร วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีจํานวนเงินขั้นต่ําที่ต องจ ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต สัญญาเช าดําเนินการดังนี้ ล านบาท
จ ายชําระภายใน 1 ป 2 ถึง 5 ป มากกว า 5 ป
48.01 221.92 1,144.35 1,414.28
ข) บริษทั ฯได เข าทําสัญญาเช าพืน้ ทีศ่ นู ย การค ารวม 17 แห ง อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลีย่ ประมาณ 17 ถึง 30 ป และสัญญา ดังกล าวเป นสัญญาที่บอกเลิกไม ได เว นแต คู สัญญาทั้งสองฝ ายตกลงยินยอมร วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมีจํานวนเงินขั้นต่ําที่ต องจ ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต สัญญาเช าดําเนินการดังนี้ ล านบาท
จ ายชําระภายใน 1 ป 2 ถึง 5 ป มากกว า 5 ป
84.67 363.70 1,236.38 1,684.75
30.2 สัญญาให เช าระยะยาว บริษัทฯ ได ทําสัญญา 7 สัญญาในการให เช าและให เช าช วงพื้นที่บางส วนในสาขาของบริษัทฯ 5 แห งกับบริษัทอื่น 2 แห ง อายุ สัญญา 29 - 30 ป โดยมีค าเช ารับล วงหน ารวมจํานวน 640.0 ล านบาท สัญญาครบกําหนดระหว างป 2576 - 2579 บริษัทฯ รับรู รายได ตามเกณฑ ที่เป นระบบตลอดอายุการให ประโยชน ของสิทธิการเช าโดยวิธีเส นตรงตามอายุสัญญาเช า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯมียอดคงค างของค าเช ารับล วงหน า (สุทธิจากจํานวนทีร่ บั รูเ ป นรายได ) ตามสัญญาให เช าพืน้ ที่ ดังกล าวจํานวน 521.2 ล านบาท (2552: 556.4 ล านบาท)
85
31. เครื่องมือทางการเงิน 31.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯตามที่นิยามอยู ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเป ดเผย ข อมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด วย เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด ลูกหนี้การค าและลูกหนี้อื่น เจ าหนี้การค าและ เจ าหนี้อื่น เงินกู ยืมระยะสั้นและหุ นกู บริษัทฯมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล าว และมีนโยบายการบริหาร ความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด านการให สินเชื่อ บริษัทฯมีความเสี่ยงด านการให สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค าและลูกหนี้อื่น ฝ ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกําหนด ให มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯจึงไม คาดว าจะได รับความเสียหายที่เป นสาระสําคัญจากการให สินเชื่อนอกจากนี้ การให สิ นเชื่อของบริษัทฯไม มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯมีฐานของลูกค าที่หลากหลายและมีอยู จํานวน มากราย จํานวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯอาจต องสูญเสียจากการให สินเชื่อคือมูลค าตามบัญชีของลูกหนี้และลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู ในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินกู ยืมระยะสั้นและหุ นกู อย างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย และบางส วนของหนี้สินทางการเงินมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด และมีหนี้สินทางการเงินบางส วน ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล เคียงกับอัตราตลาดในป จจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯจึงอยู ในระดับต่ํา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพย และหนี้สินทางการเงินที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสําหรับสินทรัพย และ หนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกําหนด หรือ วันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการ กําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม ถึงก อน) ได ดังนี้ งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว า 1 ป 1 ถึง 5 ป
สินทรัพย ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด 1,195,000,000 หนี้สินทางการเงิน หุ นกู 730,000,000 2,000,000,000
อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ราคาตลาด (บาท)
ไม มี อัตรา ดอกเบี้ย
รวม
อัตรา ดอกเบี้ย (ร อยละต อป )
34,843,680
187,401,431 1,417,245,111
0.25 - 1.60
-
- 2,730,000,000
3.00 - 5.50
งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว า 1 ป 1 ถึง 5 ป
สินทรัพย ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด 1,195,000,000 หนี้สินทางการเงิน เงินกู ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข องกัน 85,000,000 หุ นกู 730,000,000 2,000,000,000 815,000,000 2,000,000,000 86
อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ราคาตลาด (บาท)
ไม มี อัตรา ดอกเบี้ย
รวม
อัตรา ดอกเบี้ย (ร อยละต อป )
10,075,107
186,669,033 1,391,744,140
0.25 - 1.60
-
- 85,000,000 - 2,730,000,000 - 2,815,000,000
1.50 - 1.85 3.00 - 5.50
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อสินค าเป นเงินตราต างประเทศ บริษัทฯไม ได ทําสัญญา ซื้อขายเงินตราต างประเทศล วงหน าเพื่อใช เป นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯมียอดคงเหลือของหนี้สินทางการเงินที่เป นสกุลเงินตราต างประเทศดังนี้ สกุลเงิน
หนี้สินทางการเงิน (เหรียญ)
เหรียญสหรัฐอเมริกา
488,141
อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 (บาทต อหน วยเงินตราต างประเทศ)
30.2963
31.2 มูลค ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนือ่ งจากสินทรัพย และหนีส้ นิ ทางการเงินส วนหนึง่ ของบริษทั ฯจัดอยูใ นประเภทระยะสัน้ และหุน กูม อี ตั ราดอกเบีย้ ใกล เคียงกับอัตรา ดอกเบีย้ ในตลาด บริษทั ฯจึงประมาณมูลค ายุตธิ รรมของสินทรัพย และหนีส้ นิ ทางการเงินใกล เคียงกับมูลค าตามบัญชีทแี่ สดงในงบดุล มูลค ายุตธิ รรม หมายถึง จํานวนเงินทีผ่ ซู อื้ และผูข ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย กนั ในขณะทีท่ งั้ สองฝ ายมีความรอบรู และเต็มใจใน การแลกเปลีย่ นและสามารถต อรองราคากันได อย างเป นอิสระในลักษณะทีไ่ ม มคี วามเกีย่ วข องกันวิธกี ารกําหนดมูลค ายุตธิ รรมขึน้ อยูก บั ลักษณะของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค ายุตธิ รรมจะกําหนดจากราคาตลาดล าสุดหรือกําหนดขึน้ โดยใช เกณฑ การวัดมูลค าทีเ่ หมาะสม
32. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค หลักของบริษทั ฯในการบริหารจัดการทุน คือ การจัดให มซี งึ่ โครงสร างทางการเงินทีเ่ หมาะสมและการดํารงไว ซงึ่ ความสามารถ ในการดําเนินธุรกิจอย างต อเนื่อง บริษทั ฯบริหารจัดการสถานะของทุนโดยใช อัตราส วนหนีส้ ินต อทุน (Debt-to-Equity Ratio) เพือ่ ให สอดคล องกับเงือ่ นไขในข อกําหนดของ หุ นกู ซึ่งต องรักษาระดับของอัตราส วนหนี้สินต อทุนให ไม เกิน 1.75 ต อ 1 ในระหว างป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯไม ได เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค นโยบาย หรือกระบวนการในการบริหาร จัดการทุน
33. เหตุการณ ภายหลังวันที่ในงบการเงิน เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯได มีมติอนุมัติการจ ายเงินป นผลจากผลการดําเนินงานของเดือน กรกฎาคม 2553 ถึงธันวาคม 2553 โดยมีรายละเอียดดังนี้ - จ ายป นผลเป นหุ นสามัญของบริษัทฯให แก ผู ถือหุ นของบริษัทฯในอัตรา 6 หุ นเดิมต อ 1 หุ นป นผลหรือคิดเป นอัตราการจ ายป นผล หุ นละ 0.1667 บาท - จ ายป นผลเป นเงินสดในอัตราหุ นละ 0.0193 บาท รวมคิดเป นการจ ายป นผลในอัตราหุน ละ 0.186 บาท โดยมีกาํ หนดจ ายหุน ป นผลและเงินป นผลจํานวนดังกล าวภายในวันที่ 29 เมษายน 2554 อย างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯได มีมติซึ่งได นําเสนออนุมัติในการประชุมวิสามัญผู ถือหุ นแล ว เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2553 อนุมัติการจ ายป นผลระหว างกาลให แก ผู ถือหุ นโดยจ ายป นผลเป นหุ นในอัตราหุ นละ 0.1667 บาท และจ ายป นผลเป น เงินสดในอัตราหุ นละ 0.0193 บาท ซึ่งได จ ายเงินป นผลไปเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2553 ทั้งนี้ การจ ายป นผลระหว างกาลตามที่กล าวข างต น เมื่อ คํานวณมูลค าหลังการปรับลดการจ ายหุ นป นผลจะมีมูลค าเท ากับ 0.1594 บาทต อหุ น ดังนั้น รวมการจ ายป นผลสําหรับป 2553 คิดเป นมูลค า 0.3454 บาทต อหุ น เงินป นผลข างต นจะเสนอต อที่ประชุมผู ถือหุ นเพื่ออนุมัติ 87
34. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน บริษัทฯได จัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ใหม เพื่อให สอดคล องกับการ จัดประเภทรายการบัญชีในป ป จจุบัน ซึ่งไม มีผลกระทบต อกําไรสุทธิหรือส วนของผู ถือหุ น (ยกเว นผลกระทบของการเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ตามที่กล าวในหมายเหตุ 6) การจัดประเภทรายการใหม มีดังต อไปนี้ (หน วย : บาท) งบการเงินรวม
ลูกหนี้การค า - สุทธิ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ ค าใช จ ายค างจ าย เงินรับล วงหน าจากลูกค า หนี้สินหมุนเวียนอื่น
ตามที่จัดประเภทใหม
ตามที่เคยรายงานไว
144,584,882 347,794,276 422,114,603 430,697,315 165,356,564
128,785,030 356,794,276 365,409,521 423,897,463 222,061,646
(หน วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามที่จัดประเภทใหม ตามที่เคยรายงานไว
ลูกหนี้การค า - สุทธิ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ ค าใช จ ายค างจ าย เงินรับล วงหน าจากลูกค า หนี้สินหมุนเวียนอื่น
139,866,504 350,048,810 404,673,798 430,697,315 163,453,254
35. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได รับอนุมัติให ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2554
88
124,066,652 359,048,810 347,968,716 423,897,463 220,158,336
คณะกรรมการบริษัท โฮมโปร คือผู นำในธุรกิจค าปลีกสินค าเกี่ยวกับบ าน และที่อยู อาศัยในประเทศไทย
บริษัทฯ มีสาขาที่เป ดดำเนินการแล ว 40 สาขาทั่วประเทศ โดยมีสินค าสำหรับให บริการมากกว า 60,000 รายการ พร อมกับรูปแบบการบริการที่ครบวงจร เพื่อสร างความพึงพอใจสูงสุดแก ลูกค า
นายอนันต อัศวโภคิน
นายพงส สารสิน
นายมานิต อุดมคุณธรรม
นายรัตน พานิชพันธ
นายอภิลาศ โอสถานนท
นายทวีวัฒน ตติยมณีกุล
ประธานกรรมการ
รายได จากการขาย
+18.4%
กำไรสุทธิ
+44.9%
สินทรัพย สุทธิ
+2,718 ลบ.
จำนวนสาขาใหม
5 สาขา
กรรมการ กรรมการบริหาร และ ประธานกรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ
กรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ
24,073 16,592 20,329
13,873
1,638
18,540
40
13,369 12,274
15,944
33 1,131
35
30
นายชนินทร รุนสำราญ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาและ กำหนดค าตอบแทน
นายอภิชาติ นารถศิลป
กรรมการ แล และกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
นายคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการ กรรมการบรหาร กรรมการบริหาร และ กรรมการผู จัดการ
959 710
2550 2551 2552 2553
2550 2551 2552 2553
2550 2551 2552 2553
2550 2551 2552 2553
นายนพร สุนทรจิตต เจริญ
ป 2553 ยอดขาย เพิ่มขึ้น 18.4% มาอยู ที่ 24,073 ล านบาท
กำไรสุทธิเพิ่มขึ้น 44.9% เป น 1,638 ล านบาท
เพิ่มขึ้นจากการลงทุน ในสินทรัยพ ของ 5 สาขาใหม
สาขาลำลูกกา สาขาสุขภิบาล 3 สาขานครปฐม สาขานครราชสีมา และสาขานครศรีธรรมราช
กรรมการ และกรรมการบริหาร
นายจุมพล มีสุข กรรมการ
นางสุวรรณา พุทธประสาท กรรมการ
รายงานประจำป 2553
Moving forward to Service Excellence
www.homepro.co.th
Shop.homepro.co.th
บริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จำกัด (มหาชน)
96/27 หมู 9 ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท 02-832-1000 โทรสาร 02-832-1400 กรุงเทพฯ และปริมณฑล แจ งวัฒนะ เดอะมอลล บางแค ประชาชื่น พระราม 2 เพชรเกษม เพลินจิต แฟชั่น ไอส แลนด ฟิวเจอร มาร ท รังสิต รัชดาภิเษก รัตนาธิเบศร
02-962-6955 02-454-9299 02-955-5888 02-895-6555 02-444-4699 02-655-3400 02-947-6365 02-689-0844 02-958-5699 02-641-2900 02-921-2400
ราชพฤกษ รามคำแหง ลาดพร าว ลำลูกกา สุขาภิบาล 3 สุวรรณภูมิ (บางนา) เสรี เซ็นเตอร เอกมัย-รามอินทรา
02-423-3222 02-735-4999 02-983-7444 02-997-4800 02-976-9114 02-325-1200 02-746-0377 02-933-5000
นครปฐม หัวหิน อยุธยา
034-21-3200 032-52-6000 035-23-6655
กลาง
เหนือ
เชียงใหม เชียงใหม -หางดง พิษณุโลก
ตะวันออกเฉียงเหนือ เขาใหญ ขอนแก น เดอะมอลล โคราช นครราชสีมา (บายพาส2) อุดรธานี
053-85-1229 053-44-7939 055-28-9009 044-32-8799 043-36-5365 044-28-8345 044-28-2550 042-30-9000
ตะวันออก ชลบุรี พัทยา ระยอง
038-78-5111 038-36-0422 038-80-9333
กระบี่ นครศรีธรรมราช ภูเก็ต ภูเก็ต-ฉลอง สมุย สุราษฏร ธานี หาดใหญ
075-81-0499 075-32-4740 076-25-5189 076-60-2399 077-23-1900 077-48-9199 074-46-9055
ใต
Moving forward to Service Excellence
Loving home by homepro
รายงานประจำป 2553