สอบถามข้อมูล : หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ โทร 043-363077-9 www.srinagarind.md.kku.ac.th
สื่อความรู้ สู่ประชาชน
HPMD DP59-017
ความหมาย อหิวาตกโรค เป็นโรคติดต่อ ทางอาหารและน้้า โดยการรับประทาน อาหารและน้้าที่ปนเปื้อนเชื้อ
อาการแสดง 1. ปวดท้อง ถ่ายอุจจาระเหลว วันละหลายครั้ง 2. อุจจาระเป็นน้้าสีซาวข้าว กลิ่นเหม็นคาว 3. อ่อนเพลีย ปากแห้ง กระหายน้้า มีไข้ได้
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ คอเลอเร (Vibio Cholerae) ปนเปื้อนในอาหารและ น้้าดื่ม โดยมีแมลงวัน และมือของผูป้ ่วยเป็น พาหนะน้าโรค
การดูแลผู้ป่วย
1. กินสารละลายน้้าตาลเกลือแร่โออาร์เอส 2. ถ่ายอุจาระลงในโถส้วม 3. ก้าจัดอาเจียนผู้ป่วยลงในโถส้วม 4. รักษาความสะอาดสิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วย 5. ล้างมือให้สะอาดฟอกด้วยสบู่ 6. หากอาการไม่ดีขึ้นควรพบแพทย์ทันที โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-019
1. รับประทำน อำหำรที่สะอำด
2. ล้ำงผักสด ผลไม้
3. ดืม่ น้ ำสะอำด
4. ภำชนะที่ใส่ อำหำรและน้ ำดืม่ ต้องสะอำด
5. ล้ำงมือฟอกสบู ่ ให้สะอำด
7. ถังขยะควรมี ฝำปิ ด
6. ใช้ฝำชี ครอบอำหำร
8. ถ่ำยอุจำระใน ห้องส้วม
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th
HPMD DP59-015
ความหมาย โรคฉี่หนู คือ โรคที่เกิดจาก การติดเชื้อ แบคทีเรีย ชนิดสไปโรขีส
อาการแสดง
คนกลุ่มเสี่ยง ชาวไร่ ชาวนา ชาวสวน กลุ่มประชาชนทั่วไป ในพื้นที่มีน้าท่วมขัง ผู้ที่บ้านมีหนูมาก สัตว์ที่เป็นแหล่งโรค กระรอก กวาง สุนัข หนู โค กระบือ ปวดหัว
ไข้
ต่อมน้าเหลืองโต
ไอแห้งๆ
หายใจหอบเหนื่อย
คลื่นไส้อาเจียน
จุดเลือดออกตามร่างกาย
การป้องกัน 1. ไม่เดินย่้าอยู่ในน้้าที่ท่วมขัง 2. ใช้รองเท้าบูทยาง ถุงมือยาง 3. ควรฉีดวัคซีนให้สัตว์เลี้ยง 4.ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
สุขภาพ
ด้วยหลัก ... HPMD PP59-018
ต้องกินอาหารครบ 5 หมู่
ต้องออกก้าลังกาย
ต้องดื่มน้าให้เพียงพอ
ต้องดูแลสภาพแวดล้อม
ไม่กินดิบ ไม่ซือยาแก้ปวดทางเอง
ไม่ดื่มแอลกอฮอล์
ไม่กินเค็ม
ไม่สูบบุหรี่
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-010
“วัณโรค” คือ เกิดจากเชื้อ แบคทีเรียไมโค แบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium tuberculosis ) หรือเรียกย่อๆว่า TB สามารถ เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วน พบบ่อย คือ วัณโรคปอด การติดต่อ คือ ติดต่อจากคนสู่คน ผ่านทางละอองเสมหะที่เกิดจาก การไอ จาม หรือการใช้เสียง เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
อาการ ไอติดต่อกันนาน 2 สัปดาห์ เจ็บหน้าอก น้าหนักลด ไข่ต่้าๆ อ่อนเพลีย เหนื่อยหอบ เบื่ออาหาร
การรักษา
ไอแห้งๆ ,ไอมีเสมหะ , ไอมีเสมหะปนเลือด
วัณโรค รักษาหายได้เพียงกินยาต่อเนื่องและสม่่าเสมอ ใช้เวลาเพียง 6-8 เดือน หากกินยาไม่ต่อเนื่องจะท่าให้เชื้อดื้อยา และยากต่อการรักษา อาจแพร่เชื้อวัณโรคดื้อยาสู่ผู้อื่นได้
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-011
การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นวัณโรค กินยา ตามแพทย์สั่ง ต่อเนื่องจนครบ
งดสูบบุหรี่ งดแอลกอฮอล์
กินอาหาร ครบ 5 หมู่
ใช้ผ้าปิดปากและจมูก เวลาไอหรือจาม
ควรน้าผู้อยู่ใกล้ชิด ผู้ป่วยไปรับ การตรวจร่างกาย
จัดสถานที่พัก ให้อากาศถ่ายเทสะดวก
บ้วนเสมะลงใน ภาชนะที่ปิดมิดชิดแล้ว น้าไปฝั่งหรือ เทลง ส้วมแล้วราดน้าตาม ให้สะอาด
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-016
ติดเชือ พยาธิใบไม้ตับ
กินปลาน้าจืด แบบสุกๆดิบๆ
“พยาธิใบไม้ตับ” ซึ่งอาศัยใต้ เกล็ดปลาน้าจืด วงศ์ปลาตะเพียน เช่น ปลาซิว ปลาตะเพียน เป็นต้น
“พฤติกรรม” เช่น ก้อยปลาดิบ ปลาส้มดิบ ปลาร้าดิบ เป็นต้น
“ไนโตรซามีน” คือ อาหาร หมักดองใส่ดินปะสิวหรือมีเชือรา เป็นต้น
รับสารก่อมะเร็ง ดูแนลรั) กษาเท้า (ไนโตรซามี
ความหมาย “มะเร็งท่อน้าดี” คือ มะเร็งที่เกิด จากความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุ ท่อน้าดีทังในและนอกตับ
การรักษา 1. การผ่าตัดเนืองอกหรือการผ่าตัดระบายน้าดี 2. การส่องกล้องใส่สายระบายน้าดี 3. การให้เคมีบ้าบัดหรือรังสีรักษา 4. การรักษาแบบประคับประคอง
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th
สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-014
1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทาน 2.ควรตรวจสุขภาพ ประจาปี
4. หากตรวจพบอุจจาระ พบไข่พยาธิใบไม้ในตับ ควรพบแพทย์ 3. หากรู้ตัวว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง ควรพบแพทย์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th
สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-015
กินอาหาร ลด หวาน มัน เค็ม
ไม่ควรกินน้ำตำลเกินวันละ 6 ช้อนชำ (24กรัม) ใน วัน ลดหวาน 6 ช้อนชา ลดมัน 6 ช้อนชา ลดเค็ม 1 ช้อนชา วันนี้คุณกินน้้ำตำลมำกเกินไปหรือไม่ ชาเขียวนาผึง 1 ขวด
มีนาตาล 12 ช้อนชา
ชาไข่มุก 1 แก้ว
มีนาตาล 11 ช้อนชา
นาอัดลมสีดา 1 กระป๋อง
มีนาตาล 8 ช้อนชา
นาผลไม้สาเร็จรูป 1กล่อง
มีนาตาล 5 ช้อนชา
เทคนิค...ลดหวาน 1. ชิมก่อนปรุง 2. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มรสหวานและขนมหวาน 3. เติมน้าตาลปรุงรสเพิ่มให้น้อยที่สุด 4. อ่านฉลากก่อนซือ
ลดหวาน ควบคุมนาหนัก เพิ่มผัก ผลไม้ให้หลากหลาย หมั่นออกกาลังกาย ลดความเสี่ยง โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-016
กินอาหาร ลด หวาน มัน เค็ม
ไม่ควรกินน้ำมันเกินวันละ 6 ช้อนชำ (30กรัม) ใน วัน ลดหวาน 6 ช้อนชา ลดมัน 6 ช้อนชา ลดเค็ม 1 ช้อนชา วันนี้คุณกินมันมำกเกินไปหรือไม่ โดนัด 1 ชิน
มีนามัน 41/2 ช้อนชา
เทคนิค...ลดมัน
ปลาท่อโก๋ 1 ชิน
น่องไก่ 1 ชิน
มีนามัน 1 ช้อนชา
มีนามัน 3 ช้อนชา
ข้าวขาหมู 1 จาน มีนามัน 8 ช้อนชา
1. กินเนือติดมัน เลาะมันออก 2. หลีกเลี่ยงอาหารทอด 3. เลือกน้ามันพืชในการประกอบอาหาร 4. ลดการกินอาหารที่มีกะทิ
ลดมัน ควบคุมนาหนัก เพิ่มผัก ผลไม้ให้หลากหลาย หมั่นออกกาลังกาย ลดความเสี่ยง โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง หัวใจ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-017
กินอาหาร ลด หวาน มัน เค็ม
ไม่ควรกินเกลือเกินวันละ 1 ช้อนชำ หรือ 2,000มก. ใน วัน ลดหวาน 6 ช้อนชา ลดมัน 6 ช้อนชา ลดเค็ม 1 ช้อนชา วันนี้คุณกินเค็มมำกเกินไปหรือไม่ นาปลา 1 ช้อนกินข้าว
ซุปก้อน 1 ก้อน
ปลาร้า 1 ช้อนกินข้าว
บะหมี่สาเร็จรูป 1 ซอง
มีโซเดียม 3/4 ช้อนชา
มีโซเดียม 11/4 ช้อนชา
มีโซเดียม 3/4 ช้อนชา
มีโซเดียม 3/4 ช้อนชา
เทคนิค...ลดเค็ม 1. ชิมก่อนปรุง 2. ลดการใส่เครื่องปรุง 3. ลดน้าจิม 4. ลดการกินอาหารส้าเร็จรูปและขมมขบเคียว 5. อ่านฉลากก่อนซือ
ลดเค็ม(โซเดียม) เพิ่มผัก ผลไม้ให้หลากหลาย หมั่นออกกาลังกาย ลดความเสี่ยง โรคไต ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-002
อันตรายจากโรค โรคอ้วนลงพุง ทาให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา ดังนี้
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-009
การป้องกัน
งดบุหรี่ งดแอลกอฮอล์
ออกกาลังกายเป็นประจา อย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละไม่น้อยกว่า 30 นาที
งดขนมจุบจิบ หรือที่มีไขมันมาก ไม่รับประทาน อาหารหวานจัด
ความหมาย
นอนหลับพักผ่อน
คนอ้วนลงพุงที่มีไขมันรอบเอวหรือช่องท้อง ปริมาณมากเกินไป โดยจะมีขนาดเส้นรอบเอว ในผู้หญิง ≥ 80 ซม. และ ในผู้ชาย ≥ 90 ซม.
กินครบ 5 หมู่ ครบ 3 มื้อ
สาเหตุ
1.พันธุกรรม 2.อาหารที่รับประทาน 3.พฤติกรรมการดารงชีวิต
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-013
เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
โลหิตสูง
1.ลดน้าหนัก 2.ลดเค็ม 3.งดแอลกอฮอล์ 4.ควบคุมอาหาร
ออกกาลังกาย บริหารคลายเครียด
1.ออกก้าลังกายสม่้าเสมอ 2.ออกก้าลังกายอย่างน้อยวันละ 20 นาที เช่น เดิน วิ่ง ว่ายน้า ปั่นจักยาน เป็นต้น
1.หลีกเลี่ยงเหตุการณ์ที่จะท้าให้เกิดความเครียด 2.ควบคุมความรูส้ กึ ของตัวเอง
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-008
อาการ ปวดท้ายทอย
โลหิตสูง ปวดศีรษะรุนแรง
ใจสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน
เหนื่อยง่าย
ความหมาย เป็นภาวะที่ตรวจพบความดันโลหิต อยู่ในระดับ >140/90 มม.ปรอท
ความรู้สึก ทางเพศลดลง
การรักษา 1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดาเนินชีวิตให้เหมาะสม 2. รับประทานยาและรักษาต่อเนื่อง
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
ปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิด
HPMD DP59-003
โลหิตสูง 1. 2.
พันธุกรรม อายุที่มากขึ้น
3. 4. 5. 6.
รูปร่างอ้วน โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน
การนอนกรน ขาดการออกกาลังกาย
7. 8. ความเครียด 9. กินเค็ม 10. สูบบุหรี่ 11. ดื่มแอลกอฮอล์
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-007
ควบคุม นาตาล รับประทานยา
ควบคุม อาหาร ออกกาลังกาย ดูแลรักษาเท้า
ฉีดอินซูลิน
ความหมาย ที่เรียก “เบาหวาน” เพราะมีน้าตาล(กลูโคส) ออกมาในปัสสาวะเนื่องจากมีน้าตาลในเลือดมาก โดยอินซูลินเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อน มีหน้าที่ควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้ปกติ
การรักษา เบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากตับอ่อนถูกท้าลายท้าให้สร้าง อินซูลินได้น้อยหรือไม่ได้เลย ต้องรักษาโดยการฉีดอินซูลิน เบาหวานชนิดที่ 2 ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอกับ ความต้องการของร่างกาย ต้องรักษาโดยการรับประทานยา
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th
สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-008
กระหายนา
ปัสสาวะจานวนมาก และบ่อยครัง
แผล ฝี หายช้า
กินจุ แต่นาหนักลด
ตามัว
เสื่อมสมรรภถาพ ทางเพศ
อ่อนเพลีย
ชาที่ปลายนิวมือ นิวเท้า
ติดเชือง่าย
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-012
ควบคุม นาหนัก ลดข้าวขาว ลดแป้งขัดสี
กินอาหาร ครบ 5 หมู่
ไม่อ้วนลงพุง
ออกกาลังกาย งดแอลกอฮอล์ งดสูบบุหรี่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th
เส้นรอบเอว ผู้หญิงไม่เกิน 80 ซม. ผู้ชายไม่เกิน 90 ซม.
สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-007
วิธีป้องกัน ภาวะ...
ผิดปกติ
ในเลือด
30 นาที 3 ครัง/สัปดาห์ ไม่ควรรับประทานน้าตาล เกิน 6 ช้อนชา/วัน ไม่ควรรับประทานน้ามัน เกิน 6 ช้อนชา/วัน
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-005
ปัจจัยเสี่ยง
ที่มีผลต่อระดับไขมันในเลือด
อายุ
อ้วน
กรรมพันธุ์
แอลกอฮอล์ เครียด ความหมาย
อาหาร
ภาวะที่มไี ขมันในเลือดตัวใดตัวหนึ่งผิดปกติ เช่น คอเลสเตอรอล >200 มก./ดล. ไตรกลีเซอไรด์ >150 มก./ดล. แอลดีแอล >160 มก./ดล. เอชดีแอล <50 มก./ดล.
สูบบุหรี่
การออกกาลังกาย อาการ
1.ผนังหลอดเลือดแข็ง 2.มีปื้นเหลืองที่ผิวหนัง 3.เอ็นร้อยหวายหนาตัวกว่าปกติ 4.มีเส้นวงสีขาวเกิดขึนระหว่าง ขอบตาด้ากับตาขาว
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-011
เป็นวัคซีนที่ผลิต จากเชือที่ตายแล้วที่สามารถ กระตุ้นภูมิคุ้มกันต่อเชือ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ผู้ที่เคยฉีดวัคซีนแล้วยังมี โอกาสเป็นโรคนีได้
ผลข้างเคียง ปวดเมื่อย มีไข้ 1-2 วัน
ใครควรฉีด ควรฉีดเมื่อไหร่ สามารถฉีดได้ตลอดปี แต่ช่วงเวลา ที่เหมาะสม คือก่อนฤดูฝนและ ก่อนฤดูหนาว ที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน
หากมีไข้ เกิน 2 วัน ควรพบแพทย์
ผู้ที่มีอายุ>65 ปี เด็กอายุ6 เดือน-2 ปี หญิงตังครรภ์>4 เดือน ผู้ป่วยโรคเรือรัง
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD DP59-012
อาการ
ผู้ป่วยจะมีไข้สูงซึ่งเกิดขึ้น ฉับพลัน มีลักษณะไข้สูงลอย ตลอดเวลา (กินยาลดไข้ ก็มักจะไม่ลด) หน้าแดง ตาแดง ปวดศีรษะ กระหายน้้า ผู้ป่วยจะซึม มักมีอาการเบื่อ อาหารและอาเจียนร่วมด้วย อาการไข้จะเริ่มลดลง แต่ผู้ป่วยกลับมีอาการ ทรุดหนัก มีอาการปวดท้องและอาเจียนบ่อยขึ้น ซึมมากขึ้น กระสับกระส่าย ตัวเย็น มือเท้าเย็น เหงื่อออก ปัสสาวะออกน้อย ชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว (อาจมากกว่า ๑๒๐ ครั้งต่อนาที) และความดันต่้า
ผู้ป่วยจะเริ่มยากกินอาหาร ปัสสาวะออกเยอะขึ้น ชีพจร เต้นช้าลง อาการต่างๆ จะกลับคืนสู่สภาพปกติ ระยะนี้อาจกินเวลา ๗-๑๐ วัน
ความหมาย
ยุงลายกัดคนที่มีเชื้อโรคไข้เลือดออก แล้วไปกัดคนปกติแล้วจะถ่ายทอดเชื้อ ไปสู่คนปกติได้ โดยส่วนใหญ่เป็นยุงลายบ้าน
การรักษา
1. ถ้าเป็นไม่รุนแรงอาจกินยาลดไข้ พาราเซตามอล 2. ในรายที่รุนแรง แพทย์อาจให้นอนโรงพยาบาล โดยให้ น้้าเกลือทางหลอดเลือดด้า และท้าการตรวจเลือด
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
3เก็บ
3โรค เก็บน้า
HPMD PP59-010
ภัย โรค โรค
เก็บปิดน้า ภาชนะให้มิดชิด ไม่ให้ยุงลายวางไข่
ไข้เลือดออก
เก็บบ้าบ
โรคติดเชื้อ ไวรัสชิกกา
เก็บบ้านให้ปลอดโปร่ง ไม่ให้ยุงลายเกาะพัก
เก็บขยะ เก็บขยะ ไม่ให้เป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลาย
โรค ไข้ปวดข้อยุงลาย
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน
HPMD PP59-009
การป้ องกัน
5ป
1ข เปลี่ยน
ปิด
เปลี่ยนน้า ในภาชนะที่ปิดไม่ได้
ปิดฝา ภาชนะให้สนิท
ปล่อย
ปรับปรุง ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ไม่ให้เป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ยุง
ปล่อยปลา กินลูกน้า
ปฏิบัติ ปฏิบตั เิ ป็นประจ้า อย่างต่อเนื่อง ทุกๆ 7 วัน
ขัด
ขัดภาชนะ ที่เคยมีน้าขัง ก้าจัดไข่ยุง
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เว็บไซด์ : http://www.srinagarind.md.kku.ac.th สื่อความรู้สปู่ ระชาชน