Method for Sustainable Community-Business Development | 1
Thammasat Model: Method for Sustainable Community-Business Development คณะผู้วิจัย ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) พิมพ์สุดา วาสนาเรืองไร ปรีชญาพันธ์ จำ�ปา อธิชา โฮริกุจ กัลยากร เอี่ยมอุ้ย รวิกานต์ วงศ์ไกรศรี ชนกนาถ หลายพัฒน์ สุภาภรณ์ อัษฎมงคล ผู้เขียน พิภพ อุดร วิทยา ด่านธำ�รงกูล ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ บรรณาธิการ ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ สุภาภรณ์ อัษฎมงคล
คู่มือปฏิบัติการเพื่อยกระดับวิสาหกิจชุมชนตามแนวทางธรรมศาสตร์โมเดล Thammasat Model: Method for Sustainable Community-Business Development คณะผู้วิจัย ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) | พิมพ์สุดา วาสนาเรืองไร | ปรีชญาพันธ์ จำ�ปา | อธิชา โฮริกุจิ | กัลยากร เอี่ยมอุ้ย | รวิกานต์ วงศ์ไกรศรี | ชนกนาถ หลายพัฒน์ | สุภาภรณ์ อัษฎมงคล ผู้เขียน พิภพ อุดร | วิทยา ด่านธำ�รงกูล | ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ บรรณาธิการ ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ และ สุภาภรณ์ อัษฎมงคล ผู้ประสานงานและกระบวนการจัดทำ� แพรวพรรณ เลิศบรรลือชัย หน่วยงานสนับสนุนกระบวนการจัดทำ�และเผยแพร่ ธนาคารออมสิน สมาคมเพื่อนชุมชน จำ�นวนพิมพ์ พิมพ์ครั้งแรก ISBN
1,500 เล่ม พฤศจิกายน 2561 978-616-8139-92-9
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
พิภพ อุดร. คู่มือปฏิบัติการเพื่อยกระดับวิสาหกิจชุมชนตามแนวทางธรรมศาสตร์โมเดล = Thammasat Model : method for sustainable community-business development.-- กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561. 100 หน้า. 1. วิสาหกิจชุมชน. I. วิทยา ด่านธำ�รงกูล, ผู้แต่งร่วม. II. ดวงใจ หล่อธนวณิชย์, ผู้แต่งร่วม. III. ชื่อเรื่อง. 338.642 ISBN 978-616-8139-92-9
จัดรูปเล่ม พิมพ์ที่
บริษัท ดรีม แคชเชอร์ กราฟฟิค จำ�กัด โทรศัพท์ 0 2455 3932 หจก. เรือนแก้วการพิมพ์ โทรศัพท์ 0 2411 1523
จัดพิมพ์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0 2613 2183 โทรสาร 0 2623 5657 email: ccc@tbs.tu.ac.th website: www.tbs.tu.ac.th การจัดพิมพ์ซ้ำ�ต้องได้รับอนุญาตจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีและต้องใส่ตราสัญลักษณ์ของคณะฯ ธนาคาร ออมสิน สมาคมเพื่อนชุมชน ตามแบบที่กำ�หนด ดาวน์โหลดอีบุ๊คได้ที่ website: www.tbs.tu.ac.th
สารบัญ
บทนำ� เราเรียนรู้อะไร ธรรมศาสตร์โมเดลกับช่องว่างที่หายไป วิทยา ด่านธำ�รงกูล หลักการของ “ธรรมศาสตร์โมเดล” พิภพ อุดร นักศึกษาคือกระท้อน พิภพ อุดร ทำ�หัวใจนักศึกษาให้พองโต พิภพ อุดร ห้ามขอ ... ห้ามให้ พิภพ อุดร ประเมินผลสำ�เร็จด้วย 2C 2S พิภพ อุดร KPI สัมฤทธิ์ผลแห่งความร่วมมือ ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ ทำ�ไมวิสาหกิจชุมชนถึง “อยู่ได้อย่างยั่งยืน” ยาก ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ เน็ตเวิร์ก : เคล็ดลับแห่งความสำ�เร็จ ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ โครงการสมาคมเพื่อนชุมชน-ธรรมศาสตร์โมเดล ธรรมศาสตร์โมเดล โชว์เคส สิบปี สิบกรณีศึกษา ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ ภาคผนวก ตารางแสดงผลิตภัณฑ์ ขอบคุณ
4 7 8 11 14 17 20 23 26 28 34 40 49 90 91 98
บทนำ�
หนังสือคูม่ อื ปฏิบตั กิ ารเพือ่ ยกระดับพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามแนวทาง “ธรรมศาสตร์โมเดล” เล่มนีเ้ ป็นผลการวิจยั เชิงสำ�รวจติดตามการดำ�เนินการ ของวิสาหกิจชุมชนหรือชุมชนทีก่ ลุม่ นักศึกษาหลักสูตรควบตรี-โททางการบัญชี และบริหารธุรกิจ (IBMP) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ นำ�ความรู้ทางบัญชีและบริหารธุรกิจที่เรียนมาประยุกต์ใช้ เพื่อ ส่งเสริมหรือแก้ไขปัญหาของธุรกิจชุมชน หรือ เพือ่ วางระบบการบริหารจัดการ เพื่อคุณภาพชีวิตหรือการประกอบธุรกิจของชุมชนอย่างยั่งยืน ตัง้ แต่ปกี ารศึกษา 2551 จนถึงปี 2560 เราจับมือกับ “องค์กรเครือข่าย” พากลุ่มนักศึกษาลงไปทำ�งานร่วมกับ “วิสาหกิจชุมชนและสมาชิกชุมชน” จำ�นวน 101 โครงการใน 20 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ ศรีสะเกษ ชัยภูมิ นครราชสีมา กำ�แพงเพชร ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นนทบุรี ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา อยุธยา ชลบุรี ระยอง นครปฐม สมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร นับตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 เราจับมือกับ ธนาคารออมสิน สมาคม เพื่อนชุมชน ที่มีเครือข่ายบริษัทเอกชนและหน่วยงานราชการ มาร่วมกัน เพื่อยกระดับธุรกิจ เพื่อสร้างความยั่งยืนแก่เศรษฐกิจของชุมชน โดยจัดการ เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ (learning by doing) ฝึกฝนนักศึกษาให้พัฒนา ตนเอง เป็นคนที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ผ่านรายวิชาพลเมืองและความ รับผิดชอบต่อสังคม (มธ.100) เป้าหมายของโครงการจัดทำ�คู่มือเล่มนี้ เพื่อยกระดับทักษะ และขีด ความสามารถของวิสาหกิจชุมชน ให้สามารถแข่งขันในตลาด ยุคไทยแลนด์
Method for Sustainable Community-Business Development | 5
4.0 และสร้างความยัง่ ยืนให้กบั เศรษฐกิจในชุมชน เราจึงทำ�การศึกษาติดตาม ประเมินผลการดำ�เนินการ “ธรรมศาสตร์โมเดล” ถอดบทเรียน และวิเคราะห์ เงื่อนไขที่ทำ�ให้วิสาหกิจชุมชนสามารถสร้างรายได้ ยกระดับธุรกิจและสร้าง ความยั่งยืนทางสังคมและเศรษฐกิจในชุมชน คู่มือเล่มนี้เป็นผลจากการวิจัยเชิงสำ�รวจ ติดตามประเมินผลการ ดำ�เนินการของธุรกิจชุมชน ภายหลังจากที่นักศึกษาส่งมอบโครงการ เรา ดำ�เนินโครงการวิจัยช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงกันยายนปีนี้ เราสำ�รวจ ติดตาม ผลการดำ�เนินงานด้วยการสัมภาษณ์ผนู้ �ำ ชุมชนเบือ้ งต้น เพือ่ คัดกรองวิสาหกิจ ชุมชนหรือชุมชน 101 โครงการ จากนั้นทีมวิจัยลงพื้นที่สัมภาษณ์วิสาหกิจ ชุมชนเชิงลึก วิเคราะห์เงือ่ นไข ปัจจัยทีท่ �ำ ให้ชมุ ชนสามารถยกระดับธุรกิจ ได้ อย่างยั่งยืน ดังที่เห็น 10 โชว์เคส (showcases) ซึ่งจะนำ�เสนอในคู่มือพัฒนา วิสาหกิจชุมชน “ธรรมศาสตร์โมเดล” เล่มนี้ พร้อมคลิปแนะนำ�วิสาหกิจชุมชน ที่ได้รับการคัดสรร สามารถรับชมได้ที่เว็บไซต์คณะพาณิชยศาสตร์และการ บัญชี www.tbs.tu.ac.th ผลการวิจัยเชิงสำ�รวจติดตามประเมินผลโครงการในครั้งนี้ ทำ�ให้เรา เข้าใจวิธคี ดิ ในการทำ�ธุรกิจ วิธกี ารทำ�งานของวิสาหกิจชุมชนทีส่ ามารถดำ�เนิน กิจการได้อย่างต่อเนื่อง เข้าใจปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้วิสาหกิจชุมชนสามารถ พึง่ พาตนเองได้จนถึงทุกวันนี้ เข้าใจวิธคี ดิ ในการแก้ปญ ั หา และความต้องการ ของชุมชนเพื่อพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน ขณะเดียวกันเราก็เห็นปัญหา ข้อ จำ�กัดและอุปสรรคที่ทำ�ให้ชุมชนส่วนใหญ่ไม่สามารถดำ�เนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนื่อง ทีมผูจ้ ัดทำ�หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มอื พัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามแนวทาง ธรรมศาสตร์โมเดล จะเป็นประโยชน์ต่อ 1. หน่วยงานต่างๆ ได้แนวทางในการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ให้เกิด ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ และสังคมในชุมชน 2. ชุมชนสามารถพัฒนาทักษะการบริหารจัดการและเรียนรูก้ ระบวนการ ในการพัฒนาธุรกิจชุมชน อย่างเป็นระบบ จากบทเรียนของวิสาหกิจชุมชน ที่ประสบความสำ�เร็จ 3. บุคลากรของหน่วยงานได้เรียนรูแ้ นวทางและปรับบทบาทหน้าทีใ่ น การยกระดับวิสาหกิจชุมชนให้พัฒนาอย่างยั่งยืน 4. เอกสารประกอบการอบรมเทรนเนอร์ (trainers) ทีเ่ ข้าใจการพัฒนา วิสาหกิจชุมชนตามแนวทาง “ธรรมศาสตร์โมเดล” เพื่อยกระดับวิสาหกิจ ชุมชนทั่วประเทศให้สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างยั่งยืน 5. สร้างการต่อยอดในระหว่างชุมชน เพือ่ ยกระดับวิสาหกิจให้สามารถ แข่งขันในตลาดยุคไทยแลนด์ 4.0 และสร้างเครือข่ายวิสาหกิจต้นแบบ ทั่วประเทศ วิสาหกิจชุมชนเป็นองค์กรทางธุรกิจขนาดย่อมที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น
6 | Thammasat Model:
เป็นฐานและทักษะที่หลากหลาย ได้ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาที่มีอาจารย์ และนักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถ มีความคิดแปลกใหม่ มีการจัดการ สมัยใหม่ และมีองค์กรเครือข่าย ที่เป็นกลไกสนับสนุน ทั้งด้านประสบการณ์ การเงินและการประสานงาน เกิดเป็นความร่วมมือทั้งสามฝ่าย ย่อมจะนำ�ไป สู่การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นได้ต่อไป
เรา เรียน รู้ อะ ไร
?
ธรรมศาสตร์โมเดลกับช่องว่างที่หายไป วิทยา ด่านธำ�รงกูล
ที่ธรรมศาสตร์...เราเชื่อเสมอในการทำ�งานเพื่อประชาชน สำ�นึกนี้ถูก ปลูกฝังผ่านการเรียนการสอนในห้องเรียน ในกิจกรรม และในทุกโอกาสทีเ่ ป็น ไปได้ ทุกๆ ปี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จึงมีโครงการนำ�นักศึกษา ลงพื้นที่เพื่อทำ�งานเคียงบ่าเคียงไหล่กับวิสาหกิจชุมชน นอกเหนือจากเป็น ข้อกำ�หนดของโครงการรณรงค์ทางบัญชีและธุรกิจเพื่อสังคมและประเทศ ชาติแล้ว ยังเป็นความพยายามที่จะปลูกฝังให้นักศึกษาตระหนักว่า เมื่อมี ความรู้ต้องแบ่งปันและทำ�ประโยชน์ให้สังคม ให้สอดคล้องกับปรัชญาการ ศึกษาของธรรมศาสตร์ 4 เดือนเต็มคือเวลาที่นักศึกษาจะใช้กับวิสาหกิจชุมชนที่ตกลงทำ�งาน ร่วมกัน เดินทางระหว่างกรุงเทพฯ กับชุมชน กินอยู่ในบ้านของพี่ป้าน้าอา ทำ�งานกันอย่างหามรุง่ หามค�่ำ ด้วยความพยายามและแน่วแน่ทจี่ ะร่วมแก้ปญั หา ให้กบั วิสาหกิจชุมชน ผลทีส่ ดุ นักศึกษาทุกกลุม่ สามารถสร้างปรากฏการณ์ให้กบั วิสาหกิจชุมชนทีก่ ำ�ลังจะเลิกกิจการเพราะสมาชิกเกิดความท้อแท้ รวมตัวกัน ไม่ตดิ สินค้าทีผ่ ลิตไม่สามารถจำ�หน่ายได้ ขาดความมัน่ ใจเพราะลงทุนลงแรง ไปเท่าไรกลับไม่มีผลงอกเงยขึ้นมา จนวันสิ้นสุดโครงการวิสาหกิจชุมชนต่าง ยิ้มออก ผลิตภัณฑ์มีการพัฒนาไปไกลจนคาดไม่ถึง ที่สำ�คัญวิสาหกิจเหล่านี้ จะยืนอยู่บนขาของตัวเองได้อย่างยั่งยืนบนความรู้และวิธีการทำ�งานใหม่ที่ ได้รับการแบ่งปันและถ่ายทอดสู่กันและกัน กระบวนการเหล่านี้ถูกเรียกว่า... ธรรมศาสตร์โมเดล หัวใจของ “ธรรมศาสตร์โมเดล” คือการเรียนรูแ้ ละแบ่งปัน นักศึกษา ต้องเข้าใจพื้นฐานของชุมชน เข้าใจความคิดและวัฒนธรรม ตลอดจนข้อดี
Method for Sustainable Community-Business Development | 9
การทำ�งานร่วมกันอย่างใกล้ชิด และทุ่มเทของนักศึกษา คณาจารย์ที่ ปรึกษา ผูน้ �ำ ชุมชน รวมทัง้ สมาชิกในชุมชน ทำ�ให้ธรรมศาสตร์โมเดลถูกขับเคลือ่ นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ผลปรากฏชัดเจนใน เรื่องของรายได้ การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ การเข้าถึงช่องทางใหม่ๆ ในการขาย การ สร้างความร่วมมือกับพันธมิตรทัง้ จากภาค ราชการและเอกชน
และด้อยของชุมชน การนั่งลงพูดคุยและค้นหาข้อมูลจึงเป็นสิ่งแรกที่ต้อง ทำ� นักศึกษาไม่สามารถยัดเยียดความคิดของตนเองให้ชุมชน แต่มันคือการ กล่อมเกลาความคิดของทั้งสองฝ่ายให้ลงตัว ไม่ใช่เพียงวิธีคิด แต่คือวิธีการ ทำ�งาน การประเมินผล และการวางแผนเพือ่ อนาคตระยะยาวด้วย การทำ�งาน อย่างถ้อยทีถอ้ ยอาศัยเป็นหัวใจทีจ่ ะสร้างการเรียนรูร้ ะหว่างกัน เพือ่ ให้โครงการ ดำ�เนินไปได้อย่างไม่สะดุด การเปลีย่ นแปลงไม่วา่ เล็กหรือใหญ่ตอ้ งผ่านความ เห็นร่วมกัน ไม่เช่นนัน้ แล้วทันทีทนี่ กั ศึกษาเดินจากไป โครงการก็จะหยุดลงทันที วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพบ้านปากานต์ อำ�เภอจอมบึง ราชบุรี ทำ�อาหารแปรรูปจากเห็ดและน�้ำ สลัดขาย ต่อสูม้ า 3 ปีจนทุนหายกำ�ไร หด กำ�ลังจะถอดใจเลิกกลุม่ เมือ่ พบกับนักศึกษาได้ระดมความคิดร่วมกันปรับ ระบบการผลิต ออกผลิตภัณฑ์ใหม่คือคุกกี้ไรซ์เบอร์รี่ ช่วยกันพัฒนาหีบห่อ บรรจุภัณฑ์และตรายี่ห้อใหม่ เพิ่มรสชาติน้ำ�สลัด พร้อมทำ�ระบบสเตอรีไลซ์ และหาช่องทางการขายใหม่ ยอดขายเพิม่ ขึน้ กว่า 200% นักศึกษายังช่วยวาง ระบบการเงินและการบัญชีทที่ �ำ ให้กลุม่ รูต้ น้ ทุนกำ�ไรทีแ่ ท้จริงหลังจากขายมา นานโดยไม่มขี อ้ มูล ผลการปรับปรุงกิจการเป็นแรงผลักดันให้กลุม่ ตัดสินใจส่ง แผนโครงการเข้าประกวดเพือ่ ขอรับเงินสนับสนุนในโครงการกองทุนต้านภัย แล้ง ในทีส่ ดุ ได้รบั อนุมตั เิ งินสนับสนุน 150,000 บาทจากกองทุนเพือ่ ปรับปรุง โรงเรือนการผลิต วิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง ชุมชนผลิตข้าวสารบรรจุถุงจากที่นาผืนสุดท้ายกลางเมืองที่แวดล้อมไปด้วย บ้านจัดสรร ชุมชนที่เผชิญการแข่งขันจากบรรดาข้าวถุงสารพัดยี่ห้อ แม้จะ
10 | Thammasat Model:
ขยับมาผลิตลูกประคบสมุนไพรเพิม่ แต่ดเู หมือนจะไม่สร้างมูลค่าเพิม่ ได้มากนัก ด้วยการนัง่ ลงพูดคุยและสร้างทางเลือกร่วมกัน ชุมชนตัดสินใจปรับผลิตภัณฑ์ ครั้งใหญ่เพื่อความอยู่รอด ด้วยการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ “ไรซ์มี” สแนคบาร์ที่ ผลิตจากข้าวไรซ์เบอร์รี่ รวมทัง้ ปรับโฉมลูกประคบไปเป็นหมอนรองคอทีบ่ รรจุ สมุนไพรในชือ่ “หอมเฮิรบ์ ” นับเป็นการปฏิวตั คิ รัง้ ใหญ่ของชุมชน นำ�ไปสูค่ วาม หวังและรายได้เพิม่ ขึน้ ชุมชนได้รบั รางวัลผลิตภัณฑ์ดเี ด่นและจุดประกายการ รวมตัวของชุมชนที่เข้มแข็งขึ้นอย่างชัดเจน ยิง่ ไปกว่านัน้ ธรรมศาสตร์โมเดล ต้องการวางรากฐานความรูค้ วามเข้าใจ ที่ลึกซึ้งในการทำ�ธุรกิจให้กับชุมชน ชุมชนจึงได้รับความรู้ในเรื่องการควบคุม คุณภาพ การคำ�นวณต้นทุน การทำ�บัญชี เพือ่ ให้รสู้ ถานการณ์ของกิจการตลอด เวลา ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างความเติบโตอย่างยั่งยืนให้กับกิจการ การนำ�ความรู้การบริหารธุรกิจสมัยใหม่ลงไปทำ�งานร่วมกับชุมชนนั้น มุง่ ทีจ่ ะทำ�ให้ชมุ ชนเข้มแข็งและเติบโตได้ดว้ ยตัวเองอย่างยัง่ ยืน จึงต้องร่วมกัน วางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้ชุมชนรักษาความคงเส้นคงวาของ สินค้า มีกระบวนการทำ�งานที่ประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ในเวลาเดียวกัน ต้องพยายามทำ�ให้ชมุ ชนเห็นความสำ�คัญของข้อมูลทัง้ รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จา่ ย ตลอดจนสถิตติ า่ งๆ การสนับสนุนในทิศทางเหล่านีเ้ ป็นการให้เครือ่ งมือทีช่ มุ ชน จะได้เรียนรูร้ ว่ มกันและนำ�ไปปฏิบตั เิ ป็นกิจวัตรเพือ่ ความเติบโตอย่างแข็งแรง ต่อไป โมเดลธรรมศาสตร์จึงไม่ใช่การเอาเงินลงไปสนับสนุน แต่เป็นการให้ ความรู้ การร่วมแรง การหาพันธมิตร การปรึกษาหารือ และหาทางออกร่วม กันตลอดเวลา เพราะปัญหาหลายอย่างคนในชุมชนเป็นผู้รู้ดีกว่า การเรียนรู้ และลงมือปรับปรุงบนการเคารพความเห็นของภูมปิ ญ ั ญาของชุมชนจึงเป็นสิง่ สำ�คัญ จะนำ�ความภูมิใจและความเข้มแข็งมาสู่ชุมชน ซึ่งต่างจากการทำ�งาน ของหน่วยราชการทีม่ หี น้าทีส่ ง่ เสริมวิสาหกิจชุมชน แต่มกั ใช้งบประมาณส่วน ใหญ่ไปเพื่อการจัดงานขายสินค้า ที่มีเอาต์ซอร์สเจ้าประจำ�รับช่วงไปทำ�ต่อ จนเดี๋ยวนี้ข้าราชการทำ�อะไรกันไม่เป็นเสียแล้ว การส่งเสริมที่ว่าจึงไม่ช่วย ให้วิสาหกิจชุมชนเติบโตขึ้น ในหลายกรณีกลับสร้างภาระให้ชุมชนด้วยซ้ำ�ไป 10 ปีแล้วทีธ่ รรมศาสตร์โมเดลพิสจู น์วา่ การทำ�งานเคียงบ่าเคียงไหล่กบั ชุมชนเป็นทิศทางที่จะทำ�ให้วิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนด้วยการร่วม เรียน ร่วมรู้ ร่วมทำ�ในเชิงลึก ไม่ใช่การแบมือขอและการให้อย่างขาดความ รู้ความเข้าใจดังที่เป็นมาในอดีต วิธีการนี้จึงถูกขยายไปสู่ความร่วมมือจาก พันธมิตรที่มีปรัชญาการทำ�งานเช่นเดียวกัน ทั้งธนาคารออมสิน และสมาคม เพื่อนชุมชน จังหวัดระยอง ที่ก�ำ ลังทำ�ให้ธรรมศาสตร์โมเดลได้รับการขยับ ขยายไปสู่วิสาหกิจชุมชนทั่วประเทศในอนาคตอันใกล้ สิ่งที่น่าภูมิใจไปกว่านั้นคือธรรมศาสตร์โมเดลได้กลายเป็นเครื่องมือใน การลดช่องว่างระหว่างห้องเรียน มหาวิทยาลัยและชุมชน ช่องว่างที่หายไป กลับกลายมาเป็นรอยยิ้มและความสำ�เร็จของชุมชน และนั่นคือรางวัลสูงสุด ที่เป็นสิ่งยอดปรารถนาของแนวทางของเรา...ธรรมศาสตร์โมเดล
หลักการของ “ธรรมศาสตร์โมเดล” พิภพ อุดร
“ธรรมศาสตร์โมเดล” คือการนำ�นักศึกษาออกจากรั้วมหาวิทยาลัย ท้าทายให้ประยุกต์ใช้ความรู้ความสามารถไปสร้างนวัตกรรมต่อยอดสินค้า จากภูมปิ ญ ั ญาชุมชน เพือ่ ยกระดับรายได้ให้ชมุ ชนอย่างมีนยั สำ�คัญและยัง่ ยืน เราไม่เคยเชื่อว่า “นักศึกษาคือผ้าขาว แล้วแต่เราจะแต่งแต้ม” ในทาง ตรงกันข้ามเราเชื่อว่า “ทุกคนเกิดมาเป็นเมล็ดพันธุ์ที่แตกต่าง” พร้อมที่จะ เติบโต ผลิดอกที่งดงาม ออกผลที่หอมหวาน สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคม หากถูกบ่มเพาะในสถานการณ์ และเงือ่ นไขทีท่ �ำ ให้เมล็ดพันธุเ์ หล่านัน้ งอกเงย เต็มตามศักยภาพ ธรรมศาสตร์โมเดลเป็นการเรียนรูผ้ า่ นการทำ�งาน 3 ประสาน โดยมีโจทย์ ของชุมชนเป็นตัวตัง้ มี “กลุม่ นักศึกษา” เป็นพลังขับเคลือ่ นร่วมกับ “สมาชิก ชุมชน” และมี “องค์กรเครือข่าย” เป็นกลไกสนับสนุนทั้งด้านประสบการณ์ การเงิน และการประสานงาน ปัญหาของชุมชนเป็นของจริงไม่ใช่เรื่องสมมติ ทำ�ให้นักศึกษาทุ่มเท จริงจังเพราะตระหนักว่านี่เป็นการเรียนรู้ผ่านการทำ�งานที่มีผลลัพธ์เป็น รูปธรรม พิสูจน์ผลงานกันได้จริง ไม่ใช่เรื่องโต้เถียงเอาชนะกันด้วยเหตุผล จากการอภิปรายเท่านั้น และที่ส�ำ คัญสถานการณ์ที่อยู่ตรงหน้าไม่อาจแก้ไข ได้ดว้ ยสูตรสำ�เร็จจากเอกสารหรือตำ�ราใดๆ มีเรือ่ งราวมากมายทีต่ อ้ งประสบ และแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยเรียนมา หรือไม่มีโอกาสจะได้เรียนในวิชาใดๆ ด้วย ซ้ำ�ไป ซึ่งจะแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ นอกจากต้องคิดใหม่ให้รอบด้าน หาทางออกอย่างสร้างสรรค์แล้ว ยัง ต้องโน้มน้าวทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้คล้อยตาม เห็นดีเห็นงามไปกับข้อเสนอ
12 | Thammasat Model:
ทางออกที่เสนออีกด้วย นักศึกษาเหล่านีเ้ พิง่ อยูป่ ี 3 ใครจะเชือ่ ใครจะฟัง “เด็กเมือ่ วานซืน” ทุก โครงการจึงสะท้อนถึงพลังมหาศาลทีน่ กั ศึกษาต้องใช้เพือ่ ขับเคลือ่ นโครงการ จากปัญหาที่เป็นจุดตั้งต้นไปสู่เป้าหมายที่เป็นผลสำ�เร็จซึ่งสร้างความสุขให้ ชุมชน และสร้างความชื่นชมให้ทุกฝ่ายที่พบเห็น แต่เอาเข้าจริง เหนือสิง่ อืน่ ใดคือ “ทักษะ” การทำ�งาน การแก้ไขปัญหา ในสถานการณ์ใหม่ที่ไม่เคยประสบมาคือสิ่งที่จะติดตัวนักศึกษาไป “ความ มั่นใจ” ว่าพวกเขาทำ�ได้ ไม่ว่าปัญหาเหล่านั้นจะใหม่ หรือยากเย็นเพียงใด ความตระหนักที่เกิดขึ้นว่าตนเองมี “ความถนัด” ในเรื่องใดผ่านความยาก ลำ�บากของ “การทำ�งานเป็นทีม” โดยมีผลสำ�เร็จจาก “การทำ�ประโยชน์ที่ ใหญ่กว่าตัวเอง” เป็นรางวัล และประโยชน์ทวี่ า่ นัน้ ต้องมากอย่างมี “นัยสำ�คัญ” ให้สมกับพละกำ�ลัง และเวลาที่ทุกฝ่ายได้ทุ่มเททำ�งานร่วมกันตลอด 4 เดือน และทัง้ หมดทีเ่ ล่ามานัน้ คือการย�้ำ ปรัชญาทีเ่ รายึดมัน่ ว่า การศึกษาไม่ใช่ “การใส่เข้าไป” หากแต่เป็น “การดึงออกมา” ตัวอย่างของผลลัพธ์ทมี่ นี ยั สำ�คัญทีว่ า่ ก็เช่น จากการทำ�งานของนักศึกษา คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี (TBS) ร่วมกับชุมชนเขาไผ่ทที่ ำ�น�้ำ พริกขาย ไปวันๆ สินค้ามีอายุสั้น และต้องขายในวงจำ�กัด กลายมาเป็นน้ำ�พริกเผาหมู ชะมวงภายใต้แบรนด์ “แหล่มฮิ” ที่มียอดขายเติบโตแบบก้าวกระโดด และ มีการวางกลไกที่จะช่วยให้ชุมชนพัฒนาต่อได้ด้วยตนเอง นอกจากนีย้ งั มีการยกระดับการรวมตัวของผูส้ งู วัย “กลุม่ แม่บา้ นชุมชน พัฒนาบ่อนไก่” ให้เป็นแบรนด์ใหม่ “Herbane” สร้าง 11 ช่องทางการขาย ใหม่ ส่งผลให้ยอดขายเพิ่มขึ้น 1,392% โดยชุมชนยืนยันว่าสิ่งที่นักศึกษา TBS ร่วมพัฒนาจะทำ�ให้ชมุ ชนพัฒนาต่อยอดไปได้อย่างมีความสุขและยัง่ ยืน ความน่าสนใจของโครงการนี้อยู่ที่การลงไปร่วมพัฒนาชุมชนที่ซ่อนใน เมืองใหญ่ และมักถูกละเลยไม่มีใครให้ความสำ�คัญ ชุมชนจึงรวมตัวกันและ
Method for Sustainable Community-Business Development | 13
พยายามช่วยเหลือกันและกันในทางเศรษฐกิจ แต่ด้วยข้อจำ�กัดด้านความรู้ ความสามารถทางธุรกิจทัง้ การตลาด การผลิต การจัดการและการบัญชีท�ำ ให้ กลุ่มแม่บ้านไปได้ไม่ไกล ธนาคารออมสินเห็นความตั้งใจอันดีของชุมชนจึง ชักชวนมาเข้าร่วมในโครงการออมสิน-ธรรมศาสตร์โมเดล จุดเด่นของโครงการนี้ที่มากไปกว่าการนำ�สินค้าชุมชนไปสู่การได้รับ “ใบจดแจ้ง อย.” การได้รบั “มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช)” และ การได้ “Bangkok Brand” ก็คือ การจัดทำ� “คู่มือ” เพื่อสร้างมาตรฐานให้วิสาหกิจ ชุมชน ซึง่ จะกลายเป็นกลไกสำ�คัญทีท่ �ำ ให้ชมุ ชนพัฒนาต่อยอด ด้วยตนเองต่อ ไปได้ไกลมากขึ้นหลังโครงการเสร็จสิ้น ทีมนักศึกษาเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆของชุมชนแล้วจึง วางแผนร่วมกันเพื่อยกระดับธุรกิจของชุมชนขึ้นทั้งระบบตั้งแต่การปรับปรุง ระบบการผลิตให้มีมาตรฐาน ปราศจากการปนเปื้อน กำ�หนดรูปแบบ ขั้น ตอนในการผลิตรวมทัง้ การแยกชนิดอุปกรณ์ทใี่ ช้ส�ำ หรับสินค้าแต่ละประเภท แล้วจบลงที่ “คู่มือการผลิต” เพื่อเป็นมาตรฐานให้ชุมชนพัฒนาต่อยอด และ สามารถขยายฐานดึงสมาชิกชุมชนที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจให้เข้าร่วมในการ ผลิตได้โดยง่าย จากนัน้ เดินหน้าศึกษาตลาด สร้างความเข้าใจร่วมกับชุมชน แล้วร่วมกัน พัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยนสูตร สี บรรจุภัณฑ์ รวมทั้งสินค้าใหม่อีก 2 ชนิด คือ “ครีมนวดมะกรูดใบย่านาง” และ “เซรั่มบํารุงผมผสมน้ำ�มันมะกอก” โดย ตกลงร่วมกันที่จะใช้แบรนด์ใหม่ที่มีความหมายที่ชุมชนเข้าใจและสามารถ อธิบายได้ว่าเป็นการชูจุดเด่นของสมุนไพร (Herb) กับ ชุมชนเมือง (Urban) ซึง่ เมือ่ นำ�การออกเสียงของทัง้ 2 คำ�มาผสมกันแล้วปรับให้เรียกง่ายๆ จึงกลาย เป็นแบรนด์ใหม่ “Herbane” ที่ฟังดูทันสมัย และจดจำ�ได้ง่าย จากนั้นเพิ่ม ช่องทางการขายให้มากขึ้นโดยเฉพาะในช่องทางออนไลน์คือ Facebook, Line @ และ Shopee โดยมีการสอนชุมชนให้สามารถใช้ได้จนคุ้นเคย และ จบลงด้วยการจัดทำ� “คูม่ อื การขายและการใช้สอื่ โซเชียลมีเดีย” ให้กบั ชุมชน ใช้อย่างต่อเนื่องต่อไป สุดท้ายทีส่ �ำ คัญยิง่ ต่อความยัง่ ยืนของการรวมกลุม่ ก็คอื การพัฒนาระบบ บัญชี ทัง้ ในเรือ่ งการจดบันทึก การจัดการสต็อกสินค้า การบันทึกยอดขายทัง้ ขายเอง และฝากขาย พัฒนาไฟล์ Excel ที่มีสูตรคํานวณต่างๆ ไว้เรียบร้อย เพื่อให้การบันทึกและคำ�นวณต่างๆ ถูกต้อง ครบถ้วน แต่เรียบง่ายสำ�หรับ ชาวบ้านและจบลงด้วยสมุดบัญชี และ “คู่มือบัญชี และ Excel” ซึ่งเป็น พื้นฐานสำ�คัญสำ�หรับกําหนดค่าแรง การแบ่งหุ้น และการจัดสรรกำ�ไร หรือ เงินปันผล อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม ป้าแอ๋ว (สุรีภรณ์ ตางาม) ประธานวิสาหกิจชุมชนปิดท้ายอย่างสั้นๆ อย่างมั่นใจว่า “ได้ค่ะ คิดว่าทำ�ได้ และจะสานต่ออย่างมีความสุขและยั่งยืน”
นักศึกษาคือกระท้อน พิภพ อุดร
เพียงขึ้นต้นว่า “นักศึกษาคือกระท้อน...” ก็มีคนมาช่วยต่อท้ายให้ว่า “...ยิง่ ทุบ ยิง่ หวาน” และนัน่ ก็ดจู ะใกล้เคียงกับแนวทางของธรรมศาสตร์โมเดล หมายความว่า เราเลือกที่จะไม่ประคบประหงมนักศึกษาให้ค่อยๆ เติบโตไปทีละเล็กละน้อย เราไม่ใช้วธิ กี ารทีเ่ ริม่ ต้นจากการบอกสอนให้มคี วาม รู้ แล้วยกตัวอย่างให้เห็นว่าของจริงเป็นอย่างไร จากนั้นให้ไปฝึกปฏิบัติแบบ เล็กๆ ง่ายๆ ในห้องก่อน แล้วจึงค่อยส่งออกไปปฏิบตั ขิ องจริงในโลกภายนอก ในทางตรงกันข้าม เราเอาของจริงเข้ามาในห้องตัง้ แต่ชวั่ โมงแรก ชุมชน หอบหิ้วสินค้ามา บอกเล่าปัญหาจริงๆ ที่ประสบอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญ และ ตบท้ายด้วยเป้าหมายที่ชุมชนต้องการไปให้ถึง หลังจากนั้นนักศึกษาจึงจะไป ลงพื้นที่และทำ�งานร่วมกับชุมชนจนจบโครงการ ในกระบวนการทำ�งานนักศึกษาต้องคิด วิเคราะห์ ค้นคว้า และพัฒนา แนวทางมาเสนอเพื่อขอความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ ประจำ�วิชาโดยเร็วตั้งแต่ช่วงต้นเทอม เพราะตั้งแต่แรกพบชุมชนในตอนต้น จนถึงจบโครงการในระยะเวลา 4 เดือน นักศึกษาต้องมีผลลัพธ์ทเี่ ป็นยอดขาย และกำ�ไรมาแสดง ไม่ใช่แค่มีไอเดีย หรือแผนว่าจะทำ�อะไรเท่านั้น ช่วงต้นๆ นักศึกษามักจะนำ�เสนออะไรที่เราคิดว่าไม่ใกล้กับศักยภาพ ที่เขาควรทำ�ได้ เราก็จะบอกนักศึกษาว่า ได้เท่านี้ก็ไม่เป็นไรไว้เรียนใหม่อีกที เทอมหน้าก็ได้ หรือโครงการทีน่ ำ�เสนอก็ดนี ะ ทำ�เต็มทีก่ น็ า่ จะได้เกรด C และ จากประสบการณ์ของเรา นักศึกษาเหล่านี้ไม่มีวันยอม และจะกลับมาด้วย โครงการที่เหนือกว่าที่เคยนำ�เสนอมาหลายเท่าตัว ตัวอย่างเช่น เคยมีกลุม่ นักศึกษาทีเ่ สนอให้กลุม่ สตรีจติ ทุเลา ชุมชนผูส้ งู
Method for Sustainable Community-Business Development | 15
วัยที่อยู่กับบ้านเฉยๆ ไม่มีรายได้อะไร ให้ประดิษฐ์ดอกไม้กระดาษชิ้นละไม่กี่ ตังค์และจะทำ�ให้มรี ายได้วนั ละ 300 บาท เราบอกนักศึกษาว่า ถ้าเขาออกไป รับจ้างก็ได้เงินเท่ากัน นักศึกษาก็บอกว่าแต่นี่เขาสามารถทำ�อยู่ที่บ้านได้และ รายได้เพิ่มจาก 0 บาท เป็น 300 บาทต่อวันเลยนะ เราบอกว่าถ้าต้องใช้นกั ศึกษาหนึง่ ทีมไปทำ�งานหนึง่ เทอมแล้วทำ�ให้ชมุ ชน มีรายได้เท่ากับค่าแรงขั้นต่ำ� เราปิดหลักสูตรกันเลยดีกว่าไหม นักศึกษากลับ มาใหม่ด้วยการนำ�กระดาษใช้แล้วไปทำ�เป็นกระดาษสาแล้วเอาไปทำ�ภาพ สินค้าชุมชนก่อนและหลังนักศึกษา นูนต่ำ� ลงสี ใส่กรอบไม้ และสร้างรายได้ให้ชุมชนสูงกว่าที่เสนอมาในคราว แรกหลายเท่าตัว เข้าไปพัฒนา
16 | Thammasat Model:
แต่ถงึ นักศึกษาจะเสนออะไรทีท่ ำ�ให้เราว้าวจนอ้าปากตาค้างแค่ไหน เราก็จะรักษาสีหน้าให้นิ่งๆ ไว้ กล่าวชมเชยให้มีกำ�ลังใจ แต่ยังคงกระตุ้น และชีใ้ ห้เห็นว่าตรงไหนยังปรับได้ ตรงไหนจะไปได้ไกลกว่าทีเ่ สนอมา และ ส่วนใหญ่ก็มักเป็นเช่นนั้นจริง นักศึกษาไปได้ไกลกว่าเดิมเสมอ หน้าทีส่ �ำ คัญของคนเป็นอาจารย์ คือต้องไม่ยอมให้นกั ศึกษา Take the easy way out ต้องถือเป็นพันธกิจของเราที่จะต้องผลักนักศึกษาให้ไปไกล ที่สุดเท่าที่เขาเหล่านั้นจะไปได้ อย่าให้เขาหยุดอยู่เพียงแค่สิ่งที่เราเห็นและ พอใจว่าดี เพราะถ้าเราไม่ผลักให้เขาไปต่อ เราจะไม่มีทางรู้เลยว่านักศึกษา ไปได้ไกลเต็มศักยภาพตนเองแล้วหรือยัง และนั่นคือสิ่งที่เราเรียกว่ากระบวนการ “ทุบ” เพราะนักศึกษารู้สึก เหมือนโดน “ทุบ” ทุกครั้งที่ได้ฟังคอมเมนต์ที่มีต่อข้อเสนอในโครงการ แต่ นัน่ ก็เป็นแนวทางทีส่ อดคล้องกับผลวิจยั ว่า ความคิดสร้างสรรค์มกั จะบรรเจิด และเกิดขึ้นได้ง่ายภายใต้แรงกดดันนิดๆ หัวใจสำ�คัญของการ “ทุบ” ก็คือ การ “ท้าทาย” ให้นักศึกษาไป ไกลจนเต็มศักยภาพ ดังนั้น ไม่ว่าผลงานนักศึกษาจะออกมาโดดเด่น ถูกใจ เกินความ คาดหมายของเราแค่ไหน เราก็ไม่มที างรูไ้ ด้วา่ นักศึกษาเดินหน้าไปไกลจนเต็ม ศักยภาพของเขาในขณะนั้นแล้วหรือยัง หน้าที่ของเราจึงต้อง “ทุบ” ต่อไป คำ�ถามคือจะหยุดทุบตอนไหน เมื่อใดจึงจะรู้ได้ว่ากระท้อนหอมหวาน และ “ไม่น่วม” จนเกินพอดี หลักการเรื่องนี้คือให้ดูที่ผลสำ�เร็จส่วนเพิ่ม (marginal outcomes) ถ้าสิง่ ทีน่ �ำ กลับมาเสนองอกเงยเพิม่ พูนกว่าเดิมเยอะ ก็แปลว่ายังทุบต่อได้อกี ให้ทบุ ไปเรือ่ ยๆ จนกว่าสิง่ ทีง่ อกเงยเพิม่ เติมขึน้ มาจะ น้อยมากจนไม่มีนัยสำ�คัญ แน่นอน ทุบไปเรื่อยๆ ท้าทายไปไม่หยุดเช่นนั้น สร้างความเครียดให้ นักศึกษาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ประเด็นที่น่าติดตามคือจะ “ทุบ” อย่างไรให้ นักศึกษาไม่เครียดไม่ทอ้ แท้ ไม่หมดกำ�ลังใจ หากแต่กลับมีไฟ และแรงใจทีจ่ ะ กลับไปพัฒนา ยกระดับโครงการให้ขึ้นไปไกลกว่าที่เคยเสนอมาแล้ว และนั่น คือเนื้อหาในบทถัดมาคือ ทำ�หัวใจนักศึกษาให้พองโต ภาพประกอบสวยๆ ของบทนี้ คือ แบรนด์ใหม่ “มัดใจ” ผลงานสร้างสรรค์ ของผ้ามัดย้อมที่เป็นการร่วมกันระหว่างนักศึกษา TBS และชุมชนห้วยโป่งที่ ทำ�ให้รายได้ชมุ ชนเพิม่ ขึน้ กว่า 300% และมีก�ำ ไรขัน้ ต้นสูงกว่า 50% ยังไม่รวม เสื้อมัดใจ การยกมาตรฐานในทุกด้านให้กับวิสาหกิจชุมชนอีกด้วย
ทำ�หัวใจนักศึกษาให้พองโต พิภพ อุดร
หลายคนอาจเข้าใจว่าผลสำ�เร็จในโครงการของธรรมศาสตร์โมเดล เกิดขึน้ ได้ดว้ ย “สมอง และสองมือ” หรืออันทีจ่ ริงต้องบอกว่า “หลายร้อยมือ” ที่เป็นผลงานความคิด และความร่วมใจของนักศึกษา ชุมชน และเครือข่าย ต่างๆ แต่เอาเข้าจริงแล้วทุกโครงการสำ�เร็จได้ดว้ ย “หัวใจ” ของนักศึกษา หัวใจของความเป็นนักสู้ที่ไม่ยอมแพ้แม้เจอโจทย์ยากๆ หัวใจที่ไม่ยอมท้อแม้ โดนทุบไม่หยุดหย่อน หัวใจที่มุ่งมั่นจะสร้างจะทำ�อะไรที่ใหญ่กว่าประโยชน์ ส่วนตัวของตนเอง ฟังเสียงสะท้อนจากหัวใจของนักศึกษากันเองดีกว่า ถ้ามีเวลาน้อย ก็ ขอแนะนำ�ให้ดูคลิปที่สรุปทุกเรื่องที่นักศึกษาทำ�ไว้ใน 3 นาที https://www. youtube.com/watch?v=DrOGpi9JGG8 แต่ถ้าอยากได้อรรถรสจากการอ่านขอแนะนำ� กระทู้ในเว็บไซต์พันทิป (Pantip) เรื่อง “วิชาแค่ 3 หน่วยกิต ทำ�ไมมันต้องอะไรขนาดนี้เนี่ย!!! “วิชาแค่ 3 หน่วยกิต ทำ�ไมมันต้องอะไรขนาดนี้เนี่ย!!! นี่คือสิ่งที่แวบ เข้ามาในหัวในช่วงแรกๆ ของการทำ�โครงการนี้ แต่แล้วก็มีอะไรบางอย่าง ที่ทำ�ให้ความคิดของพวกเราต้องเปลี่ยนไป... ตอนแรกสุดพวกเราคิดว่าจะ ง่ายๆ แค่หาเงินเอาของให้ชาวบ้าน หาเงินก็ง่ายๆ ไปเปิดหมวก ถือกล่อง แถว skywalk ก็ได้เงินไปซื้อของ ได้เกรดมา 3 หน่วยกิต สบ๊ายยยยยยย แต่!!! พอได้ลงมือทำ�จริงๆ แล้ว มันไม่ได้ง่ายอย่างที่มโนไว้เลย จนบางครั้งก็ แอบคิดโวยวายในใจดังชือ่ กระทู้ ครัง้ แรกทีท่ �ำ ให้พวกเราถึงกับเงิบ คือ ตอนที่ อาจารย์พูดว่า ‘หาเงินนี่ไม่ใช่ไปเรี่ยไรเค้านะ เรียนมาตั้ง 3 ปี เอาความรู้ไปใช้
18 | Thammasat Model:
ประโยชน์ดว้ ย’ โอ้โหหหหห ผมนีไ่ ปไม่เป็นเลยครับบบบ งานงอกมากๆ!!” เราก็ ทำ�ตาม โจทย์ที่อาจารย์ให้มาต่อไป คือ “ทำ�ยังไงก็ได้ให้ชาวบ้านมีรายได้อย่าง ยั่งยืน” ชาวบ้านที่พวกเราไปช่วยพัฒนา ทำ�กล้วยตาก ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ทุก จังหวัดในประเทศไทย วันแรกที่เราได้คุยกับชาวบ้าน รายได้จากการขาย กล้วยตากต่ออาทิตย์คอื 600 บาท แล้วพวกเราก็เริม่ ปฏิบตั กิ าร! พวกเราตัง้ ใจ เข้าไปช่วยเปลี่ยนแปลงในหลายๆ เรื่อง ตั้งแต่หาช่องทางจำ�หน่าย (เพื่อให้ ชาวบ้านมีรายได้ที่แน่นอนในระยะยาว) ปรับปรุงแพ็กเกจ กระบวนการผลิต สอนระบบบัญชี หาช่องทางขายก็ตระเวนโทรฯ ตระเวนหาร้านทีน่ า่ จะรับฝาก ขายทั่วจังหวัดราชบุรี พอมีอันไหนเข้าตา ติดต่อไปก็โดนปฏิเสธบ้าง อะไร บ้าง #ร้องไห้หนักมาก กลุม่ ของพวกเรามีทงั้ เด็กบัญชี ซึง่ เทอมนีม้ ฝี กึ งานเต็ม เวลา จันทร์-ศุกร์ และเด็กบริหารทีม่ เี รียน เวลาจะเจอกันนัดกันระดมสมองก็ ยากแล้ว ยังต้องหาเวลาลงไปช่วยทำ�อีก สุดท้ายพวกเราก็ได้ใช้เวลาว่างในวัน เสาร์-อาทิตย์ ผลัดกันแวะเวียนเข้าไปช่วยทุกกระบวนการ ตั้งแต่ปอกกล้วย คลึงกล้วย เอากล้วยไปตากในโรง (ที่ให้ฟีลเหมือนอบซาวน่ามากๆ ค่ะ เม่า ในกองไฟ) จนถึงแพ็กใส่กล่อง หลังจากทำ�โครงการไปสักพัก ผ่านอุปสรรคมามากมาย ความรูส้ กึ ของ พวกเราก็เริ่มเปลี่ยนไป… จากตอนแรกที่คิดว่า “ทำ�เพราะต้องทำ�” มันได้ กลายเป็น “ทำ�เพราะอยากทำ�” การที่ได้เข้าไปช่วยทำ�กล้วยตาก ได้พูดคุย กับชาวบ้านแบบเปิดใจมากขึน้ ได้ไปกินกับข้าวแสนอร่อยทีช่ าวบ้านทำ� ตอน นีพ้ วกเราลืมเรือ่ งเกรดไปแล้ว ได้เกรดเท่าไหร่กไ็ ม่สำ�คัญ ห่วงชาวบ้านมากกว่า ว่าชาวบ้านจะได้ประโยชน์จริงๆ ไหม? เราทำ�ให้ชาวบ้านลำ�บากขึน้ รึเปล่า? ถ้า จบโครงการแล้วชาวบ้านจะยังแฮปปี้กับสิ่งที่เราเข้าไปช่วยทำ�ให้มั้ย? ชีวิตใน มหาวิทยาลัยที่ผ่านมาเราได้เรียนรู้แต่ทฤษฎี อย่างมากสุดก็แค่ทำ�แผนธุรกิจ ซึ่งเมื่อมาลงมือทำ�จริงๆ แล้ว มันเทียบกันไม่ได้เลย ตอนเขียนแผนธุรกิจเรา จะมโนให้สวยงามยังไงก็ได้ แต่นคี่ อื ชีวติ จริง ถ้ามันผิดพลาด คือ พังงงง! ทีเ่ รา พังก็แค่วิชาเดียว แค่ 3 หน่วยกิต แต่สำ�หรับชาวบ้านมันคืออาชีพและชีวิต
Method for Sustainable Community-Business Development | 19
ของเขา พวกเราจึงอยากทำ�ทุกอย่างให้ดีที่สุด อยากให้ชาวบ้านได้ประโยชน์ จากสิ่งที่พวกเราทำ�จริงๆ พวกเราคิดว่าสิ่งที่ได้จากวิชานี้ ไม่ใช่แค่การทำ�ธุรกิจเพื่อแสวงหากำ�ไร เพียงอย่างเดียว แต่มนั ทำ�ให้พวกเราเห็นคุณค่าในตัวเองมากขึน้ คุณค่าทีเ่ กิด จากการทีเ่ ราได้ใช้ความรูจ้ ากสิง่ ทีเ่ รียน มาสร้างอะไรดีๆ กลับคืนสูส่ งั คม ทำ�ให้ รู้สึกว่าเงินไม่ใช่ทุกอย่างของชีวิต แต่การได้เห็นคนรอบข้างมีความสุข มีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่างหากที่ทำ�ให้พวกเรารู้สึกภูมิใจ” นั่นคือความหมาย “หัวใจที่พองโตของนักศึกษา” เพราะเราไม่เชื่อว่า ใครจะบังคับใครให้มุ่งมั่น ให้เรียนรู้ ให้เปลี่ยนแปลง ให้ประสบความสำ�เร็จ ในแบบที่เราต้องการได้ สิ่งที่เราทำ�ได้มากที่สุดก็คือ การทำ�ให้เขาเหล่านั้น “อยากมุ่งมั่น” “อยากเรียนรู้” อยากเปลี่ยนแปลง” และ “อยากประสบ ความสำ�เร็จ” ด้วยตัวของเขาเอง
สนใจอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
“แกะกินกล้วย : บทสรุปของวิชา 3 หน่วยกิต จากกล้วยตาก สู่ ความ ผูกพันระหว่างชุมชนและนักศึกษา” https://pantip.com/topic/33822266 https://www.youtube.com/watch?v=DrOGpi9JGG8
ห้ามขอ ... ห้ามให้ พิภพ อุดร
เราไม่เคยกล่าวอ้างเลยว่าผลงานการเปลีย่ นแปลงอย่างชนิดพลิกโฉมใน ทุกๆ โครงการเป็นผลงานของนักศึกษา เพราะกติกาสำ�คัญของธรรมศาสตร์ โมเดลคือ “ห้ามขอ ... ห้ามให้” “ห้ามให้” หมายถึง ห้ามนักศึกษาทำ�ตัวเสมือนเป็น “ผู้ให้” โดยไป นั่งคิด นั่งวางแผน วิ่งดำ�เนินการในด้านต่างๆ แล้วนำ�ผลลัพธ์มาเสนอให้ กับชุมชน โดยชุมชนมีบทบาทเสมือนเป็นเพียง “ผู้รับ” เท่านั้น หากทำ� เช่นนั้น โครงการก็จะเป็นของนักศึกษา ไม่ใช่ของชุมชน เมื่อนักศึกษาออก จากพื้นที่ ชุมชนก็จะทิ้งไป ไม่สนใจ ดังนั้น นักศึกษาทุกกลุ่มจึงต้องเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์สถานการณ์ และจุดแข็งจุดอ่อนของชุมชนในลักษณะคล้ายกับแนวคิดคลาสสิกของการ จัดการที่เรียกว่า SWOT Analysis แต่สิ่งที่สำ�คัญยิ่งยวดคือการเรียนรู้ “ภูมิปัญญา (Local Wisdom)” สมาชิกชุมชนเก่งเรื่องอะไร มีฉันทะ (passion) กับสิ่งใด สิ่งที่นักศึกษาร่วมคิดและร่วมนำ�เสนอเพื่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงจึงต้องสอดคล้องไปกับเรื่องเหล่านั้น เพราะนี่เป็นโครงการที่ ชุมชนต้องต่อยอดไปด้วยตัวของพวกเขาเอง แน่นอนนักศึกษาต้องเติมในสิง่ ทีช่ มุ ชนยังขาดในเรือ่ งความรูค้ วามเข้าใจ ในด้านต่างๆ นักศึกษาจึงพาชุมชนไปเรียนรู้ดูงานนอกสถานที่ ไปเข้ารับการ ฝึกอบรม สอนเรื่องใหม่ๆ ให้ชุมชนทำ�ได้เองเป็นไม่ว่าจะเป็นเรื่องบัญชี การ ตลาดออนไลน์ ฯลฯ และที่สำ�คัญพาชุมชนไปเชื่อมโยงกับเครือข่ายต่างๆ ที่ จะช่วยให้ชุมชนเดินต่อไปได้ด้วยตนเองในอนาคต “ห้ามขอ” หมายถึง ห้ามนักศึกษาไปถือกล่องรับบริจาคตามศูนย์การค้า
Method for Sustainable Community-Business Development | 21
ถนน สะพานลอย ป้ายรถเมล์ ท่าเรือ ฯลฯ แน่นอนในการทำ�งานต้องใช้เงิน ใช้งบประมาณ ซึง่ คณะสนับสนุนบางส่วน องค์กรเครือข่ายสนับสนุนบางส่วน แต่ทเี่ หลือนักศึกษาต้องหางบประมาณเพิม่ เติม คำ�ถามคือจะหาเงินจากทีไ่ หน ทำ�ไมถึงห้ามไปถือกล่องรับบริจาคในที่สาธารณะ การขอรับบริจาคในทีส่ าธารณะไม่ใช่เรือ่ งผิด การขอแต่ละครัง้ ของแต่ละ กลุ่มก็มีเงื่อนไขความจำ�เป็นที่แตกต่างกันไป แต่ในแนวทางของธรรมศาสตร์ โมเดล นักศึกษาต้องเดินตามกติกาพื้นฐานที่เป็นหัวใจของธุรกิจคือ “การ แลกเปลี่ยน” ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเห็นชอบในประโยชน์ร่วมกัน สิ่งที่ย้ำ�กับนักศึกษาเสมอคือเขาเหล่านั้นเรียนอยู่ในโรงเรียนด้าน บริหารธุรกิจที่อ้างตัวว่าดีที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ และดีเด่นเป็นที่รู้จักใน ระดับนานาชาติ ดังนั้นนักศึกษาจะใช้วิธีการหาเงินที่ใช้แต่แรงโดยไม่ใช้ความ สามารถในทางธุรกิจไม่ได้ ที่ส�ำ คัญการไปขอรับเงินบริจาคแบบหยอดกล่อง ตามที่ต่างๆ ขาดองค์ประกอบเรื่อง Accountability ที่ผู้บริจาคเงินไม่ทราบ และไม่สามารถมั่นใจได้เลยว่าเงินที่มอบให้จะถูกนำ�ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ของการบริจาคอย่างถูกต้องและเหมาะสมหรือไม่ ดังนัน้ นักศึกษาจึงลงเอยด้วยการทำ�เสือ้ ขาย ขายของในงานคอนเสิรต์ จัดกิจกรรมหารายได้ในรูปแบบต่างๆ รวมไปถึงการหาสปอนเซอร์จากองค์กร ต่างๆ ที่นักศึกษาต้องขายไอเดียให้องค์กรได้อย่างชัดเจนว่าองค์กรจะได้รับ อะไรบ้างจากการสนับสนุนโครงการ รวมถึงต้องรายงานผลสำ�เร็จจากการ ดำ�เนินงานกลับไปที่องค์กรสนับสนุนด้วย ด้วยกติกา “ห้ามขอ ห้ามให้” ทำ�ให้นักศึกษารุ่นแรกๆ ที่ลงไปพัฒนา ชุมชนหมูบ่ า้ นในอำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรรี มั ย์ เพือ่ สร้างรายได้ ลดค่าใช้จา่ ย และยกระดับคุณภาพชีวิตให้ชุมชน เป็นโจทย์ที่นักศึกษาต้องทำ�ให้เห็นผล สัมฤทธิ์ โดยมีตวั ชีว้ ดั ทีก่ �ำ หนดผลสำ�เร็จของโครงการ ภายในหนึง่ ภาคการศึกษา นักศึกษาต้องบริหารจัดการโครงการ บริหารเวลา คิด วิเคราะห์ และ เสนอแนวทาง และทำ�ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ในยุคนั้น กลุ่มนักศึกษาเสนอ ทำ�โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดให้กับชุมชนบ้านโคกสะอาด บ้านโคกตาอิ่ม และ บ้านโคกพลวง เพราะต้องการลดรายจ่ายที่ชุมชนต้องไปซื้อปุ๋ยจากที่อื่นโดย นำ�ขี้วัวในหมู่บ้านมาทำ�ปุ๋ยอัดเม็ดให้ชุมชนในหมู่บ้านใช้ และเพิ่มรายได้ด้วย การเอาไปขายให้ชุมชนรอบๆ แต่กว่าจะได้โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด นักศึกษา ต้องหาสปอนเซอร์ขอวัสดุจากบริษัทห้างร้าน เพื่อมาก่อสร้างโรงปุ๋ย หรือ ไปขายของเพื่อให้ได้เงินมาซื้ออุปกรณ์ทำ�ปุ๋ยอัดเม็ด กว่าจะได้โรงปุ๋ยอัดเม็ด ของทั้งสามหมู่บ้าน สร้างรายได้ให้กับชุมชนจนถึงทุกวันนี้ นักศึกษากลุ่มที่เสนอว่าจะสร้างศูนย์สาธิตการตลาดตามที่ชุมชนบ้าน หนองมะมาต้องการ ก็ไปหาสปอนเซอร์มาซื้อวัสดุก่อสร้าง เพื่อมาปรับปรุง อาคารเก่าเป็นร้านค้าชุมชน จัดร้าน หาสินค้าเข้าร้าน วางระบบบัญชีร้านค้า และไปรับบริจาคคอมพิวตอร์มอื สองมาลงโปรแกรม ให้รา้ นค้าสแกนบาร์โค้ด
22 | Thammasat Model:
สินค้า ตอนทีเ่ ราไปสำ�รวจร้านค้าบ้านหนองมะมายังคงใช้ระบบสแกนบาร์โค้ด และยังติดต่อขอคำ�แนะนำ�จากนักศึกษามาจนถึงทุกวันนี้ นับตั้งแต่ปี 2558 หลังจากที่เรามี “องค์กรเครือข่าย” สมาคมเพื่อน ชุมชน และธนาคารออมสิน เข้ามาสนับสนุนทั้งในด้านประสบการณ์ การ เงินและการประสานงานเครือข่าย ทำ�ให้เกิดพลังในการขับเคลือ่ นการพัฒนา วิสาหกิจชุมชน เห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด นักศึกษาใช้เวลาได้อย่างเต็มทีใ่ นการลงพืน้ ทีท่ �ำ งาน คิด วิเคราะห์ปญ ั หา หาแนวทางแก้ปญ ั หา และลงมือทำ�ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ได้ภายในหนึง่ ภาค การศึกษา อย่างเช่น กรณีวิสาหกิจชุมชน ศพก.บ้านฉาง จังหวัดระยอง กลุ่ม นักศึกษา สมาชิกชุมชนและบริษทั พีเ่ ลีย้ งร่วมมือกันพัฒนาคาสซียช์ ปิ ส์ (Cassy Chips) โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการเลือกพันธุ์มันสำ�ปะหลังที่น�ำ มาใช้แปรรูป เป็นมันทอดกรอบ คิดค้นรสชาติใหม่ เสาะหาผู้เชี่ยวชาญ ยื่นตรวจปริมาณ ไซยาไนด์ ออกแบบเครื่องสไลด์มัน ออกแบบบรรจุภัณฑ์ หาความรู้เพื่อยืด อายุผลิตภัณฑ์ ออกแบบโลโก้ คำ�นวณต้นทุน หาช่องทางจัดจำ�หน่าย และ จัดเตรียมแนวทางในการยื่นขอเลขจดแจ้ง อย. เพื่อจะทำ�ให้ชุมชนสามารถ ขยายตลาดและพัฒนาต่อยอดได้ด้วยตนเอง
ประเมินผลสำ�เร็จด้วย 2C 2S พิภพ อุดร
ธรรมชาติ ขอบเขต และลักษณะโครงการทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละชุมชนส่ง ผลให้เกิดคำ�ถามว่าจะใช้เกณฑ์การประเมินอย่างไรสำ�หรับแต่ละกลุม่ เหมือน กันหรือต่างกันอย่างไรดี คำ�ตอบคือ ก็ให้นักศึกษาเป็นผู้เสนอว่าควรจะประเมินความสำ�เร็จใน โครงการอย่างไร โดยให้พวกเขาเสนอตัวชีว้ ดั ทีจ่ ะใช้ในการประเมิน และหาก เราเห็นชอบก็ตกลงกันตามนั้น แน่นอน กระบวนการกำ�หนดตัวชี้วัดก็เป็นการฝึกฝนการเจรจาต่อรอง ที่วางอยู่บนการคาดการณ์ผลสำ�เร็จในอนาคต และความมุ่งมั่นที่จะไปให้ถึง ฝัง่ ฝันทีว่ างไว้ และหนีไม่พน้ ว่าเมือ่ เป็นโครงการยกระดับธุรกิจก็แปลว่า 2 ตัว ชี้วัดที่สำ�คัญก็คือยอดขาย และกำ�ไร เพียงแต่จะมีตัวชี้วัดความสำ�เร็จเพียง แค่ 2 ตัวนีไ้ ม่ได้ ต้องมีตวั อืน่ ๆ ทีบ่ ง่ บอกว่าวิสาหกิจชุมชนจะเดินต่อไปได้อย่าง ประสบความสำ�เร็จต่อไปในอนาคต กรอบที่เราใช้ในการเจรจาว่าจะรับตัวชี้วัดผลสำ�เร็จของโครงการที่ นักศึกษาเสนอมาหรือไม่ ก็คือ อิงจากเกณฑ์ 2C 2S 2C ประกอบด้วย C ตัวแรกคือ Community Centred กล่าวคือ สิ่งที่นำ�เสนอตรงกับความต้องการของชุมชนหรือไม่ และพัฒนาขึ้นจาก ภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้านและทักษะชุมชนหรือไม่ ส่วน C ตัวทีส่ องคือ Community Participation ประสานงานร่วมกันทั้ง 3 ฝ่ายหรือไม่ อธิบายบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนร่วมแต่ละฝ่ายชัดเจนหรือไม่ 2S ประกอบด้วย Significance & Sustainability โดย S ตัวแรกคือ Significant Change เป็นข้อเสนอเพื่อการพัฒนาที่สร้างการเปลี่ยนแปลง
24 | Thammasat Model:
อย่างชัดเจน ทางด้านรายได้ผลกำ�ไรของวิสาหกิจ และความเป็นอยูข่ องชุมชน หรือไม่ ส่วน S ตัวที่สองคือ Sustainable Mechanism พิจารณาถึงการ สร้างกลไกเพื่อให้ธุรกิจชุมชนดำ�เนินการพัฒนาได้ยั่งยืนต่อไปหรือไม่ และ ชุมชนสามารถขยายธุรกิจออกไปได้อีกหรือไม่ ตัวชีว้ ดั ในการวัดผล ต้องเกิดการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ด่นชัด ยกตัวอย่างเช่น จากสินค้าคุณภาพต่ำ� สู่สินค้าที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน จากช่องทางการ ขายที่จำ�กัด สู่การเพิ่มช่องทางการขาย จากไม่มีแบรนด์ สู่การมีแบรนด์ จาก ผืนดินแห้งแล้ง สู่ผืนดินอุดมสมบูรณ์ พูดง่ายๆ ว่า สิ่งแรกที่เราประเมินก็คือโครงการสร้างความสำ�เร็จหรือ การเปลีย่ นแปลงอะไรทีม่ ี “นัยสำ�คัญ (Significance)” หรือเป็น Big Change หรือไม่ เราบอกกับนักศึกษาเสมอว่า เปลี่ยนนิดๆ หน่อยๆ อย่ามาทำ�ให้เสีย เวลา และเสียศักยภาพของนักศึกษา เสียโอกาสของชุมชน เราเอาตัวอย่างความสำ�เร็จของโครงการในรุ่นก่อนๆ ให้ดูแล้วบอก กับพวกเขาว่า โครงการของรุ่นพี่ๆ ดีตรงไหน น่าชื่นชมอย่างไร สร้างความ สำ�เร็จและชื่อเสียงไว้มากแค่ไหน ส่วนโครงการของพวกเขาที่กำ�ลังลงมือทำ� มีเงื่อนไขเดียว คือต้องดีกว่ารุ่นก่อนๆ เท่านั้น ดีเท่ากันก็ไม่ได้ เพราะถ้าดี เท่ากันก็เท่ากับเราถอยหลังไปเรียบร้อย โลกหมุนไปข้างหน้า คนรุ่นหลังต้อง ดีกว่ารุ่นก่อนเท่านั้น สังคมเราจึงจะดีขึ้นได้ และนั่นน่าจะเป็นแรงขับเคลื่อน สำ�คัญที่ทำ�ให้เราได้เห็นผลสำ�เร็จของโครงการใหม่ๆ ที่ดูน่าตื่นตาตื่นใจมาก ขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งรุ่นพี่ยังเอ่ยปากว่า “โปรเจกต์ท้าทายมากขึ้นทุกปีเลย” แต่ “นัยสำ�คัญ” ก็ไม่ได้ประเมินง่าย หลายครั้งนักศึกษาก็ใช้เทคนิค ที่คลาสสิกที่สุด คือ สร้างมายาด้วยตัวเลข เช่น บอกว่าจะเพิ่มยอดขายขึ้น 200-300% ซึ่งยอดดังกล่าวแม้ดูว่าจะเพิ่มขึ้นถึง 2-3 เท่าตัว แต่เอาเข้าจริง อาจทำ�ได้ไม่ยากหากฐานรายได้เดิมนั้นน้อยมาก ดังนั้น ตัวชี้วัดที่เป็นยอดขายที่จะต่อรองกัน จึงอาจเป็นได้ตั้งแต่ไม่กี่ ร้อยเปอร์เซ็นต์ไปจนถึงเกินพันเปอร์เซ็นต์ขึ้นอยู่กับฐานเดิมของยอดขายว่า เดิมอยู่ในระดับใด นอกจากนี้ ตัวเลขที่ต้องดูควบคู่ไปกับ “ยอดขาย” คือ “สัดส่วนกำ�ไร” เพราะหากต้องลงทุนปรับปรุงเปลีย่ นแปลงต่างๆ นานาเพือ่ ทำ�ให้ขายของได้มาก ขึน้ แต่ท�ำ ไปแล้วสุดท้ายเหลือผลกำ�ไรเท่าเดิม หรือน้อยลงก็ไม่มปี ระโยชน์อะไร การประเมินความสำ�เร็จจึงต้องดูทงั้ “ยอดขาย” “สัดส่วนกำ�ไร” “ความ ต้องการและการมีส่วนร่วมของชุมชน” รวมไปถึงความยั่งยืนแก่วิสาหกิจ ชุมชนอีกด้วย สิ่งสำ�คัญที่ช่วยให้เกิดความยั่งยืนแก่วิสาหกิจชุมชนมักได้แก่ ความ สามารถด้านการตลาดทัง้ เรือ่ งการสร้างแบรนด์ การนำ�เสนอสตอรีท่ นี่ า่ สนใจ ของสินค้าชุมชน การพัฒนาสินค้าใหม่ การสร้างมาตรฐานคุณภาพสินค้า การเพิ่มช่องทางการขาย การโปรโมตสินค้าในรูปแบบต่างๆ การสร้าง
Method for Sustainable Community-Business Development | 25
Facebook Fan Page การยกระดับการผลิต เทคนิคการลดต้นทุน การริเริ่มและสร้างเครือ ข่ายพันธมิตรไว้ให้กับชุมชน รวมถึงการทำ�ให้มีระบบบัญชีที่ทำ�ให้รู้ต้นทุน ที่แท้จริง และตั้งราคาได้อย่างเหมาะสม และที่สำ�คัญมากกว่าเรื่องใดๆ คือ การวางระบบการแบ่งปันผลประโยชน์ให้เกิดความไว้วางใจกันในกลุม่ สมาชิก ของวิสาหกิจชุมชนโดยมีการจัดสรรผลตอบแทน/เงินปันผลคืนให้สมาชิกอย่าง โปร่งใส เชื่อถือได้ และทำ�ให้กลุ่มสามารถขยายฐานสมาชิกให้เติบโตและเข้ม แข็งต่อไปได้ในอนาคต และนี่เป็นสิ่งที่เราประเมินภายใต้กรอบ 2C 2S เพื่อความยั่งยืนของ วิสาหกิจชุมชนนั้นเอง
KPI สัมฤทธิ์ผลแห่งความร่วมมือ ดวงใจ หล่อธนวณิชย์
เราได้มโี อกาสพานักศึกษาไปทำ�งานกับชุมชนหลายลักษณะ หลากหลาย อาชีพ ในพื้นที่ที่มีสภาพเศรษฐกิจ สังคมและสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่ แตกต่างกัน นักศึกษาลงพืน้ ทีท่ ำ�งานกับชุมชนทีเ่ ป็นเกษตรกรในชนบท ปลูก ข้าว ทำ�ไร่ ปลูกผัก ผลไม้ เลี้ยงวัว เลี้ยงแพะ ทำ�นาเกลือ และทำ�งานกับกลุ่ม สตรี กลุ่มแม่บ้านในชุมชน ที่มีทักษะฝีมือการตัดเย็บ ย้อมผ้า จักสานทำ� กระเป๋า ทำ�ดอกไม้ ทำ�อาหาร แปรรูปอาหาร แปรรูปผลไม้ ทำ�สบู่ แชมพู โลชั่น 10 ปีมานี้ นักศึกษาร่วมกับชุมชนพัฒนาสินค้าและบริการรวมทั้งหมด 112 รายการ ในจำ�นวนนี้ ส่วนใหญ่เป็นอาหารแปรรูปและเครือ่ งดืม่ ทีท่ �ำ จาก พืช ผัก ผลไม้ที่ปลูกในชุมชน รวม 46 รายการ คิดเป็นร้อยละ 41.07 เช่น ข้าวสารแปรรูป อาหารแปรรูปทีท่ �ำ จากเห็ด น�้ำ สลัด น�้ำ พริก ผลไม้แปรรูปทำ� จากกล้วย สับปะรด ลำ�แพน ขนมเปี๊ยะ รองลงมาเป็น ของใช้ รวม 21 รายการ คิดเป็นร้อยละ 18.75 (ลูกประคบ เสื้อผ้ามัดย้อม เสื้อยืด กระเป๋าสาน หมอน เฟอร์นิเจอร์ไม้วัสดุเหลือใช้ ปุ๋ย อินทรีย์ ปุ๋ยราบิวเวอเรีย ฯลฯ) ลำ�ดับต่อมา เป็นเครื่องสำ�อาง มี 19 รายการ คิดเป็นร้อยละ 16.96 (สครับผิวที่ทำ�จากดอกเกลือ ครีมทาผิว สบู่ ยาสระ ผมที่ทำ�จากพืชที่หาได้ในท้องถิ่น เช่น ลูกมะหาด ลูกฟักข้าว ลูกพิลังกาสา) อื่นๆ อีก 7 รายการ คิดเป็นร้อยละ 6.25 (โครงการแก้ปัญหาภาระหนี้สิน ชุมชน บริการโฮมสเตย์ ร้านค้าชุมชน ร้านค้าสินค้ามือสอง ศูนย์การเรียนรู้) (ดูตารางแสดงประเภทผลิตภัณฑ์และบริการ ในหน้า 91)
Method for Sustainable Community-Business Development | 27
ตัวชี้วัด “การอยู่ได้อย่างยั่งยืน” ของ วิสาหกิจชุมชน
ธรรมชาติ ขอบเขตและลักษณะโครงการที่แตกต่างกันในแต่ละชุมชน ส่งผลให้เกิดคำ�ถามว่าจะใช้เกณฑ์การประเมินอย่างไรสำ�หรับแต่ละโครงการ ตัวชีว้ ดั “การอยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน” ของวิสาหกิจชุมชน ทีใ่ ช้ในการประเมิน ชุมชนหรือวิสาหกิจในคู่มือนี้ เราอ้างอิงจากตัวชี้วัด “การอยู่ได้อย่างยั่งยืน” ของวิสาหกิจชุมชน หรือ กลุ่มเศรษฐกิจฐานรากต้นแบบ ที่ทางสมาคมเพื่อน ชุมชนใช้ประเมินการดำ�เนินการของชุมชนภายใน 3 ปี แต่เราปรับตัวชีว้ ดั เพือ่ ให้สอดรับกับลักษณะของวิสาหกิจชุมชนทีม่ หี ลายลักษณะ และใช้เป็นเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ในการประเมินเพื่อคัดเลือกโชว์เคส (showcases) 1. มีการพึ่งพาตนเองจากการจำ�หน่ายสินค้า ที่สัดส่วนรายได้จากการ ขายสินค้าเติบโตต่อเนื่องในระดับที่ชุมชนพึงพอใจ 2. มีการบริหารจัดการกันเอง แบบมีส่วนร่วม แบ่งหน้าที่กันทำ� 3. มีการจ้างงานกันเองในชุมชน และ หรือมีการกระจายรายได้ในรูป แบบการปันผล 4. ได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าจากหน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วย งานที่น่าเชือถือให้การรับรอง อย่างน้อย 1 มาตรฐาน เช่น มผช. อย. GMP OTOP 5. มีการฟืน้ ฟูวตั ถุดบิ ผลผลิตในชุมชน เช่นการปลูกผัก ปลูกผลไม้เพือ่ แปรรูป หรือการเชื่อมแหล่งวัตถุดิบในพื้นที่ หรือ 6. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือสามารถจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ของ ชุมชน
ลักษณะวิสาหกิจชุมชนแบบไหนถึงจะอยู่ได้อย่างยั่งยืน
เป็นคำ�ถามในใจที่ต้องการหาคำ�ตอบ จากประสบการณ์เราจะเห็น นักศึกษาทำ�งานร่วมกับชุมชน นักศึกษาบางกลุม่ ก็พฒ ั นาสินค้าจนสัมฤทธิผ์ ล ตอนเสร็จสิน้ โครงการ สิง่ สำ�คัญคือ ความพร้อมของผูน้ �ำ ชุมชนและสมาชิกทีจ่ ะ เรียนรู้ เปิดใจและเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาแสดงความสามารถเต็มทีแ่ ละพร้อม ให้ความร่วมมือ เพื่อพัฒนาหรือยกระดับสินค้าและบริการ
ความสามารถที่ติดตัวนักศึกษา หลังเสร็จสิ้นโครงการ
ความสามารถด้านการสำ�รวจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อเข้าใจปัญหา ที่วิสาหกิจชุมชนเผชิญ ความสามารถในการสือ่ สาร ให้ได้รบั ความร่วมมือจากผูค้ นหลายภาคส่วน ความสามารถในการต่อรอง เพื่อเชื่อมโยงผู้คนที่แตกต่าง หลากหลาย ความสามารถในการจัดการ และวางแผนดำ�เนินโครงการ ความสามารถในการแนะนำ� ดึงความสามารถผูค้ นทีห่ ลากหลายเข้าด้วยกัน ความสามารถในการคิด เสนอมุมมองใหม่ คิดค้นสิ่งใหม่ๆ
ทำ�ไมวิสาหกิจชุมชนถึง “อยู่ได้อย่างยั่งยืน” ยาก ดวงใจ หล่อธนวณิชย์
ปัญหาทั่วไปของธุรกิจชุมชนในชนบท สินค้าคุณภาพไม่ดี ต้นทุนสูง ไม่รตู้ น้ ทุน ไม่มรี ะบบบัญชี ราคาต�่ำ กว่ามาตรฐาน รูปลักษณ์สนิ ค้าไม่ทนั สมัย แพ็กเกจไม่ทนั สมัย ขาดความสวยงาม ขาดแผนการตลาด ขาดกลยุทธ์ในการ สื่อสาร มีช่องทางการขายจำ�กัด ขาดช่องทางสื่อสารออนไลน์ อุปสรรคเหล่านีท้ ำ�ให้บางชุมชนถอดใจเมือ่ สินค้าทีผ่ ลิตออกมาขายไม่ได้ เงินทุนของชุมชนเริ่มหดหาย ในที่สุดก็แยกย้ายกันไปทำ�อย่างอื่น ปัญหาวิสาหกิจส่วนใหญ่จะคล้ายกัน ประเภทของผลิตภัณฑ์ ลักษณะ การจัดตัง้ กลุม่ ของวิสาหกิจ วัฒนธรรมของชุมชน วิธคี ดิ ของผูน้ �ำ ความสัมพันธ์ ของสมาชิก สภาพเศรษฐกิจของชุมชน ล้วนมีผลต่อการขับเคลื่อนวิสาหกิจ ชุมชนให้ดำ�เนินอย่างยั่งยืน หรือหยุดชะงัก จากการสำ�รวจและติดตามประเมินผลการดำ�เนินธุรกิจของวิสาหกิจ ชุมชน ตั้งแต่นักศึกษาลงชุมชนระหว่างปีการศึกษา 2551-2560 จำ�นวนรวม 101 โครงการ ใน 20 จังหวัด พบว่าชุมชนที่เข้าร่วมโครงการธรรมศาสตร์ โมเดล มีสัดส่วนการดำ�เนินโครงการอย่างต่อเนื่อง มากถึงร้อยละ 75-89 ทั้งนี้ก็เพราะเครือข่ายความร่วมมือของภาคี ที่เข้ามาร่วมกันพัฒนากับชุมชน นำ�ความรู้ที่เรียนในห้องเรียนไปปรับใช้ในการพัฒนาธุรกิจชุมชน ซึ่งถ้าเทียบ สัดส่วนของชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชนที่นักศึกษาร่วมพัฒนากับชุมชนช่วงปี 2551-2556 พบว่า สัดส่วนของชุมชนที่ทำ�ต่อเนื่องนั้นมีเพียงร้อยละ 10-15 (ดูตาราง) จึงเกิดคำ�ถามว่าทำ�ไมชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชนจึงไม่ด�ำ เนินการต่อ ธรรมชาติและลักษณะชุมชน ขอบเขตงานทีน่ กั ศึกษาลงไปพัฒนาในชุมชน ช่วงปี 2551-2556 มีการดำ�เนินโครงการทีแ่ ตกต่างกันกับชุมชนหลังปี 2557
Method for Sustainable Community-Business Development | 29
ตารางสรุปผลการดำ�เนินงานของชุมชน/วิสาหกิจชุมชนปี 2551-2560 ปี
จำ�นวน โครงการ
โครงการ ดำ�เนินการ
โครงการ ดำ�เนินการ ต่อ (%)
2551-2553
32
5
15.62
11
34.37
2554
8
1
12.5
5
62.5
2555
13
3
23.1
9
69.2
2556
9
1
11.1
7
77.8
2557
4
3
75
1
25
-
-
2558
9
8
88.9
1
11.1
-
-
2559
12
10
83.4
1
8.3
ข้อมูลไม่แน่ชัด 1 โครงการ
8.3
2560
14
14
100
-
-
-
-
101
45
44.55
35
34.65
21 โครงการ
20.79
รวม
โครงการ โครงการ ไม่ดำ�เนินการ ไม่ดำ�เนินการ ต่อ ต่อ (%)
อื่นๆ โครงการ SIFE 16 โครงการ ติดต่อไม่ได้ 2 โครงการ ติดต่อไม่ได้ 1 โครงการ ติดต่อไม่ได้ 1 โครงการ
อื่นๆ (%) 50 25 7.7 11.1
ยุคแรกของการดำ�เนินโครงการธรรมศาสตร์โมเดล (ปี 2551-2553)
เราได้รับความร่วมมือจากศูนย์พัฒนาชนบทผสมผสานนางรอง ช่วย ประสานโครงการใน 11 หมู่บ้าน 5 ตำ�บลในพื้นที่อำ�เภอนางรอง จังหวัด บุรรี มั ย์ เป็นโครงการเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ ชุมชน เราพานักศึกษา ไปลงพื้นที่ทำ�งานร่วมกับชุมชน สร้างงาน สร้างรายได้ ลดรายจ่ายของชุมชน นักศึกษาจากรุน่ สูร่ นุ่ ลงพืน้ ทีต่ ดิ ต่อกันสามปี ร่วมกับชุมชนพัฒนากิจกรรม ทีด่ �ำ เนินการในยุคนัน้ ได้แก่ โรงปุย๋ อินทรียอ์ ดั เม็ด 3 หมูบ่ า้ น ศูนย์เพาะชำ�กล้า ไม้ชุมชน 1 หมู่บ้าน สร้างศูนย์สาธิตการตลาด 1 หมู่บ้าน กิจกรรมห้องสมุด ของเล่นประจำ�หมู่บ้าน 1 หมู่บ้าน สอนระบบบัญชีร้านค้าชุมชน 5 หมู่บ้าน ศูนย์การเรียนรู้ ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ 5 หมู่บ้าน
ผลการติดตามการดำ�เนินโครงการในยุคแรก (ปี 2551-2553) พบว่า
โครงการที่สร้างรายได้ให้ชุมชน ทุกวันนี้ชุมชนก็ยังดำ�เนินการอยู่อย่าง ยั่งยืน อย่างเช่น ทำ�โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด บ้านโคกพลวง บ้านโคกตาอิ่ม
30 | Thammasat Model:
โครงการศูนย์เพาะชำ�กล้าไม้ชุมชน บ้านโคกพลวง และได้รับการคัดเลือก เป็นโชว์เคส (showcases) ส่วนโครงการสร้างศูนย์สาธิตการตลาดที่บ้าน หนองมะมา อำ�เภอนางรอง ชุมชนยังบริหารจัดการร้านค้าชุมชนจนถึงทุกวันนี้ เป็นอะไรที่น่าประทับใจ ส่วนโครงการทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดรายได้ เช่น สร้างอาคารศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชน สร้างห้องสมุดประจำ�หมูบ่ า้ น แต่เมือ่ สังคมชนบทพัฒนา มีอนิ เทอร์เน็ตเข้าถึง โรงเรียน อาคารที่สร้างไว้ก็ปรับใช้เป็นที่ประชุมของหมู่บ้าน
สาเหตุที่ชุมชนในยุคแรก (ปี 2551-2553) ไม่ดำ�เนินโครงการต่อ
เพราะสภาพสังคมชนบทที่เปลี่ยนแปลง เมื่ออินเทอร์เน็ตเข้าถึงครัว เรือน เด็กในชุมชนก็ไม่จำ�เป็นต้องใช้ศนู ย์การเรียนรูท้ นี่ กั ศึกษาพัฒนาปรับปรุง ร่วมกับชุมชน อาคารสถานที่ก็ถูกนำ�มาใช้เป็นศาลาอเนกประสงค์ หรือการ สอนระบบบัญชีร้านค้าชุมชนในยุคนั้น ปัจจุบันร้านค้าชุมชนหลายแห่งไม่ สามารถดำ�เนินการต่อ
โครงการที่ชุมชนดำ�เนินการต่อเนื่องได้อย่างยั่งยืนจนทุกวันนี้
เป็นโครงการที่สร้างรายได้ และชุมชนต่อยอดโครงการได้ อย่างเช่น 1. โครงการปุ๋ยอินทรีย์ ที่บ้านโคกตาอิ่ม บ้านโคกพลวง และบ้าน โคกสะอาด 2. โครงการศูนย์เพาะชำ�กล้าไม้ที่ชุมชนบ้านโคกพลวง กิจการชุมชน เติบโต สร้างรายได้ให้กบั วิสาหกิจชุมชนได้อย่างยัง่ ยืนจนทุกวันนี้ (ดูรายละเอียด ในโชว์เคสบ้านโคกตาอิ่มและบ้านโคกพลวงในหน้า 82 และหน้า 78) 3. ศูนย์สาธิตการตลาด ร้านค้าชุมชนบ้านหนองมะมา พี่สมชาย เชื้อชุมชนแสง ผู้ดูแลร้านค้าคนแรก ที่เริ่มต้นกับนักศึกษา ปรับปรุงห้องสมุดเก่า นำ�มาปรับปรุงเป็นร้านค้าชุมชน บอกว่า นักศึกษาไป หาเงินมาทำ�หลังคา ทาสีห้องสมุดที่ไม่มีคนใช้ จัดวางระบบร้านค้า ตอนน้อง นักศึกษาเข้ามา ชุมชนเริ่มมีไวไฟ (wifi) น้องๆ นักศึกษาธรรมศาสตร์แนะนำ� ให้ท�ำ บาร์โค้ดสินค้า จัดหาคอมพิวเตอร์โน้ตบุก๊ แต่พอลูกค้าเยอะ ประเมินผล ช้า เลยใช้คอมพิวเตอร์ตงั้ โต๊ะโดยศูนย์ซเี บิรด์ บริจาคเครือ่ งคอมฯ ต่อมาจอเสีย ชุมชนเลยซื้อเพิ่ม ชุมชนยังติดต่อน้องแก็ป น้องธรรมศาสตร์ ดีมากครับ ให้ คำ�ปรึกษาเรือ่ งการลงโปรแกรมการขายแบบยิงบาร์โค้ดในคอมพิวเตอร์ สร้าง ความมั่นใจให้ลูกค้า น้องๆ สอนทำ�บัญชีอย่างง่ายๆ แบ่งปันผลลงตัว การบันทึกยอดขายแต่ละ วัน พอสิ้นปีจะรวมยอดขายและแบ่งปันผล อาจารย์วรรณีเอาโปรแกรมตัด สต็อกเข้าไปใช้ในร้านค้าชุมชนหนองมะมาอยูส่ กั พัก เครือ่ งคอมฯ หมดสภาพ เพราะที่นี่มีปัญหาความร้อนกับฝุ่น ชุมชนเริ่มทำ�ร้านค้าชุมชนในปี 2553 เป็นร้านค้าเล็กๆ ที่ดำ�เนินการ
Method for Sustainable Community-Business Development | 31
คุณประยม หัวหน้าศูนย์ซีเบิร์ด (เสือ้ เทายืนซ้ายสุด) ประสานโครงการให้ กับธรรมศาสตร์โมเดลตัง้ แต่แรก ถัดไปด้าน หลังสวมเสื้อสีเทาเช่นกัน คือคุณสมชาย เป็นคนทีเ่ ริม่ ทำ�ร้านค้าชุมชนกับนักศึกษา ตั้งแต่เริ่มแรก และบริหารต่อเนื่องจนถึง ปัจจุบนั (ภาพถ่ายเมือ่ กรกฎาคม 2561)
ต่อเนือ่ งจนทุกวันนี้ แม้จ�ำ นวนร้านค้าในชุมชนเพิม่ ขึน้ ร้านค้าของเราไม่ขาดทุน สมาชิกร้านค้าให้ความร่วมมือดี ชุมชนส่วนใหญ่มาซื้อของที่นี่ ผูใ้ หญ่บา้ นจวนแจ้ง กันตพต เล่าว่า หมูบ่ า้ นเรามี 134 ครัวเรือน ประชากร 500 คน มีสมาชิกร้านค้า 300 คน กำ�ไรจากร้านค้าชุมชนช่วงแรกๆ เราปันผล ให้สมาชิกร้านค้า คนละ 1,000 บาท ในปีที่สาม (ปี 2555) เราเอากำ�ไรไปซื้อ รถกระบะไว้ซอื้ ของเข้าร้าน กับพาพีน่ อ้ งชุมชน คนแก่ คนป่วยไปโรงพยาบาล เอากำ�ไรบางส่วนไปปรับปรุงต่อเติมหลังคาร้านทีใ่ ช้มาร่วมสามสิบปี ระยะหลัง สมาชิกเพิม่ ขึน้ กำ�ไรเราน้อยลง เงินปันผลสมาชิกลดลง เหลือคนละ 200-300 บาท เพราะเกิดการแข่งขันเรื่องราคา ร้านค้าเยอะขึ้น สองปีมานี้ร้านค้าเรามี ตู้เติมเงิน มีร้านขายของมาเช่าที่หน้าร้านช่วยค่าไฟ
32 | Thammasat Model:
นำ�กำ�ไรมาปรับปรุงหลังคาร้านค้าชุมชน รถเพื่อประชาบ้านหนองมะมา
“ชุมชนอยากให้มาดูความสำ�เร็จทีส่ ร้างไว้กบั ชุมชนบ้านหนองมะมา ผม คิดถึงน้องๆ ทุกคน อาจารย์จะมาขยายโครงการชุมชนไหมครับ เราอยากได้ เครื่องคอมใหม่ กับโปรแกรมนาโนซอฟต์ (Nanosoft) ยิงบาร์โค้ดแล้วสลิป ออกมา เพื่อสร้างความมั่นใจให้ลูกค้า” ผู้ใหญ่บ้านจวนแจ้งกล่าว
ผลการติดตามการดำ�เนินโครงการยุคกลาง (ปี 2554-2556)
ลักษณะของโครงการทีด่ ำ�เนินการในยุคกลางเป็นโครงการทีไ่ ม่มคี วาม ต่อเนือ่ ง เราเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาหาชุมชนเอง เริม่ โครงการหลังจากอาจารย์ ที่ปรึกษาเห็นชอบ
Method for Sustainable Community-Business Development | 33
ในปี 2554 เป็นปีทนี่ �้ำ ท่วมใหญ่กรุงเทพฯ และปริมณฑล เราเปิดโอกาส ให้นักศึกษาเลือกชุมชนที่ประสบภัยน้ำ�ท่วม ที่ต้องการให้นักศึกษาไปช่วย พัฒนาให้ชุมชนมีรายได้ เป็นการดำ�เนินโครงการเฉพาะกิจ นักศึกษาใช้เวลาในการติดต่อขอข้อมูลจากหน่วยงานราชการและลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ไปพูดคุยกับชุมชน บางกลุม่ ต้องลงพืน้ ทีไ่ ปสองสามแห่งกว่าจะตัดสินใจ เลือกชุมชน ทีพ่ ร้อมจะร่วมมือกับนักศึกษาในการพัฒนาสินค้าและบริการของ ชุมชน เวลาในการทำ�งานกับชุมชนน้อยลง เพราะบางครัง้ นักศึกษาต้องหาเงิน มาซือ้ อุปกรณ์เพือ่ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ลองทำ�แพ็กเกจ ทำ�สินค้าต้นแบบ เป็นต้น
ผลการติดตามการดำ�เนินโครงการของชุมชนช่วง ปี 2554-2556
พบว่าชุมชนที่ไม่ดำ�เนินการต่อ มีสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ 66 (ดูตาราง ในหน้า 29)
สาเหตุที่ทำ�ให้ชุมชนไม่ดำ�เนินการต่อ สรุปได้ดังนี้
1. ธรรมชาติ ลักษณะของวิสาหกิจชุมชนในชนบท เกิดการรวมกลุ่ม ของชุมชนทีม่ กั จะเป็นกลุม่ สตรี กลุม่ แม่บา้ นทีม่ ที กั ษะในการทำ�อาหารแปรรูป หรือเย็บผ้าและต้องการหารายได้เสริม สมาชิกส่วนใหญ่สงู อายุ เมือ่ ผูน้ ำ�ชุมชน ป่วยหรือเสียชีวติ ชุมชนก็เลิกทำ� หรือบางครัง้ สมาชิกครอบครัวผูน้ ำ�ชุมชนเกิด เจ็บป่วย ก็ไม่สามารถมาดำ�เนินกิจกรรมชุมชนได้เต็มที่ 2. ลักษณะของสินค้าที่ชุมชนผลิต เหมือนกับที่ชุมชนอื่นทำ� เช่น ผลิต แปรรูป เห็ดแปรรูป เพาะเห็ด ผลไม้กวน ผลิตกระเป๋าสานที่มีขั้นตอนยุ่งยาก ชาวบ้านเองก็ไม่มีเวลามารวมตัวกันทำ� 3. ชุมชนเกษตรกร ไม่สานต่อ สิ่งที่นักศึกษาเสนอ แนะนำ�ให้ปรับปรุง บรรจุภัณฑ์ และทำ�โลโก้ เพราะมองว่าเป็นหน้าที่ของพ่อค้าคนกลาง ไม่ใช่ หน้าที่เกษตรกร (โครงการข้าวไท จ. สุพรรณบุรี) 4. โครงการทีน่ กั ศึกษาร่วมมือกับหน่วยงานราชการ เมือ่ เปลีย่ นผูบ้ ริหาร หน่วยงาน นโยบายก็เปลี่ยน จึงไม่มีการสานต่อ อย่างเช่นโครงการที่ทำ�กับ โรงเรียน หรือสถานสงเคราะห์คนไข้โรคจิตทุเลา หรือโครงการที่ทำ�กับมูลนิธิ 5. ชาวบ้านในชุมชนไม่มีเวลามารวมกันเพื่อผลิตสินค้า 6. วิธคี ดิ ของชุมชน ทีม่ องว่า ไม่ได้อยากให้ธรุ กิจโตขึน้ เพียงแค่ทกุ คน ได้มีงานทำ� มีความสุขกับการที่เป็นแบบนี้ก็พอ (ชุมชนมุสลิมที่มีนบุรี) ทั้งหมดนี้จึงเป็นภาพรวมที่แสดงให้เห็นว่า ทำ�ไมวิสาหกิจชุมชนจึงไม่ ยั่งยืน หรือ ยั่งยืนได้ยาก ซึ่งล้วนแล้วแต่มีเหตุปัจจัยทั้งภายนอกและภายใน ประกอบกับสังคมมีความเปลี่ยนแปลงไป
เน็ตเวิร์ก : เคล็ดลับแห่งความสำ�เร็จ ดวงใจ หล่อธนวณิชย์
ผลสำ�รวจติดตามผลการดำ�เนินโครงการธรรมศาสตร์โมเดลทีน่ กั ศึกษา เข้าไปพัฒนาธุรกิจชุมชน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551-2560 รวม 101 โครงการ พบว่าชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ตั้งแต่ปี 2557 และยังดำ�เนินการต่อเนื่อง จนถึงทุกวันนี้ มีสัดส่วนสูงกว่าร้อยละ 75 เป็นที่น่าสังเกตว่า เพราะความ ร่วมมือของ “องค์กรเครือข่าย” อย่างเช่นธนาคารออมสิน และสมาคมเพื่อน ชุมชน มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาขีดความสามารถกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้ เติบโตอย่างยั่งยืน
ออมสิน-ธรรมศาสตร์โมเดล
ธนาคารออมสินเริ่มกิจกรรมนำ�ร่องการบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็น ปัจจุบนั ไปปรับประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ไทย โดยธนาคาร ออมสินได้เริ่มดำ�เนินการตั้งแต่ปี 2557 ร่วมกับคณะพาณิชยศาสตร์และการ บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยการแนะนำ�ชุมชนทีอ่ �ำ เภอจอมบึง จังหวัด ราชบุรี ให้กบั เรา มุง่ เน้นด้านการพัฒนาขีดความสามารถกลุม่ องค์กรชุมชนที่ จัดอยูใ่ นหมวดกลุม่ ผูผ้ ลิตสินค้าเพือ่ จัดจำ�หน่าย อาทิ กลุม่ วิสาหกิจชุมชน เพือ่ ให้มศี กั ยภาพในการเข้าสูต่ ลาดเพือ่ การแข่งขัน และยังเป็นการสนับสนุนและ เสริมสร้างประสบการณ์ให้กบั นักศึกษาได้นำ�ความรูท้ เี่ รียนในห้องเรียนไปปรับ ใช้ในการพัฒนาธุรกิจชุมชน เรียนรู้ปัญหาจริงในการทำ�ธุรกิจ เรียนรู้ เข้าใจ วิถีชีวิต เอกลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำ�คัญของภูมิปัญญา และทรัพยากรท้องถิน่ รูจ้ กั รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน สิง่ แวดล้อม และคิดถึง ประโยชน์ส่วนรวม
Method for Sustainable Community-Business Development | 35
ในปี 2557 นักศึกษาของเราได้ลงไปพัฒนาสินค้าของวิสาหกิจชุมชน ในอำ�เภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี โดยทางธนาคารออมสินคัดเลือกวิสาหกิจที่ มีความพร้อมและเต็มใจที่จะร่วมมือซึ่งอยู่ในพื้นที่ดูแลของธนาคารออมสิน สาขา ชุมชนมีความพร้อมในทีน่ ี้ หมายถึงชุมชนทีม่ กี ารบริหารจัดการทีโ่ ปร่งใส มีการเปิดเผยงบการเงินสามารถตรวจสอบยึดหลักธรรมาภิบาล จากการติดตามผล ปัจจุบนั วิสาหกิจชุมชน 3 ใน 4 แห่งทีส่ ามารถดำ�เนิน ธุรกิจได้อย่างยั่งยืน ด้วยความร่วมมือของ ธนาคารออมสิน ซึ่งเป็น“องค์กร เครือข่าย” ช่วยประสาน และมีบทบาทเป็นพี่เลี้ยงและให้คำ�ปรึกษาชุมชน
วิสาหกิจชุมชนบ้านปากานต์ บทพิสจู น์ ออมสิน-ธรรมศาสตร์โมเดล
คุณกานต์สินี จิตพนมกาญจน์ (พี่กานต์) ประธานวิสาหกิจชุมชนบ้าน ปากานต์ เล่าว่า “จากเดิมที่เราประสบผลผลิตราคาตกต่ำ� ชุมชนอยากสร้าง มูลค่าเพิม่ ให้วตั ถุดบิ อยากให้ชาวบ้านมีรายได้เพิม่ ขึน้ จึงคิดมาแปรรูปสินค้า แต่ผลิตแล้วขายไม่ได้ ควบคุมวัตถุดิบไม่ได้ ยืดอายุสินค้าอาหารไม่ได้ เงินทุน ร่อยหรอ ชุมชนไปต่อไม่ได้ เลยรูว้ า่ สินค้าทีผ่ ลิตออกมาไม่ตอบโจทย์ผบู้ ริโภค อีกเหตุผลหนึ่งที่เราถอดใจคือ เราไม่เคยทำ�บัญชี เราไม่คำ�นวณต้นทุน นักศึกษาเข้ามาสอนวิธีการทำ�บัญชี คำ�นวณต้นทุน อุดรูรั่ว เพื่อพัฒนา สินค้า ช่วยเราคิดค้นสูตร ปรับปรุงบรรจุภณ ั ฑ์ใหม่ สร้างแบรนด์ เพิม่ ช่องทาง จำ�หน่าย ตอนหลังเราปลูกข้าวอินทรีย์เอง เพื่อลดต้นทุนวัตถุดิบ นักศึกษา อดทน ทุ่มเท เปิดใจกับชุมชนทำ�ให้ชุมชนเราก้าวผ่านจุดที่เป็นวิกฤตที่สุด ให้ ชีวิตใหม่กับชุมชน ทำ�ให้เรายิ้มได้” การทำ�งานร่วมกันของชุมชนที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความมุ่งมั่นและ ร่วมมืออย่างเต็มที่ กับนักศึกษาและอาจารย์ที่มีความรู้สมัยใหม่และมีความ คิดแปลกใหม่ ทำ�ให้วิสาหกิจเกิดการพัฒนาแบบก้าวกระโดด ผลสัมฤทธิข์ องโครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในอำ�เภอจอมบึง จังหวัด ราชบุรี ต่อมาขยายผลกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ระหว่าง ธนาคารออมสิน และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการ บัญชี ภายใต้ชื่อ ออมสิน-ธรรมศาสตร์โมเดล ในปี 2559
เคล็ดลับของความสำ�เร็จ ออมสิน-ธรรมศาสตร์โมเดล
สืบเนือ่ งจากผลสัมฤทธิอ์ ย่างต่อเนือ่ งของโครงการความร่วมมือระหว่าง ธนาคารออมสิน และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ภายใต้ชื่อ ออมสิน-ธรรมศาสตร์โมเดล ตั้งแต่ปี 2557-2559 ต่อมา ธนาคารออมสินขยายแนวคิด ธรรมศาสตร์โมเดล ไปยังเครือข่าย 16 สถาบันอุดมศึกษาเพื่อจัดกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปี 2560-2561 ภายใต้ชื่อโครงการอออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น และ ธนาคาร ออมสินเตรียมขับเคลื่อนโครงการออมสินยุวพัฒน์รักถิ่นในปี 2562 ขยาย
36 | Thammasat Model:
เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ โครงการธรรมศาสตร์โมเดล เกิดจากความร่วมมือ 3 ฝ่าย ได้แก่ “สถาบัน การศึกษา” “ชุมชน” “องค์กรเครือข่าย” แต่ละฝ่ายมีบทบาทสำ�คัญไม่ ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน กล่าวคือ 1. “สถาบันการศึกษา” ทีม่ อี าจารย์ซงึ่ มีความรูค้ วามสามารถ มีนกั ศึกษา ที่มีความคิดแปลกใหม่ 2. “ชุมชน” ที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นและมีทักษะ พร้อมเรียนรู้ พัฒนา ร่วมกันกับนักศึกษา มีผนู้ ำ�ชุมชนทีต่ งั้ ใจ รูค้ วามต้องการของชุมชน และคิดถึง ประโยชน์ของชุมชน 3. “องค์กรเครือข่าย” มีบทบาทหน้าที่สำ�คัญในการ • คัดเลือกชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชนที่มุ่งมั่นที่จะพัฒนาวิสาหกิจ ให้เติบโตอย่างยั่งยืน • ประสานชุมชน เชื่อมโยงเครือข่ายชุมชน • ประสาน เชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือกับบริษัทเอกชน ทำ� หน้าที่เป็นพี่เลี้ยง ซึ่งบริษัทพี่เลี้ยงมีบทบาทสำ�คัญในการ • คัดเลือกชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชนทีต่ อ้ งการพัฒนาสินค้าชุมชน • ช่วยประสานชุมชนกับนักศึกษา • ให้ค�ำ แนะนำ�ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตามความถนัดของบริษทั พี่เลี้ยง • สนับสนุนช่องทางการตลาด • ต่อยอดความรู้ พัฒนาทักษะในการดำ�เนินธุรกิจให้กบั วิสาหกิจ ชุมชน พาไปศึกษาดูงาน • ติดตามการดำ�เนินวิสาหกิจของชุมชน และให้คำ�ปรึกษา ฯลฯ • เชื่อมโยงหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้กับวิสาหกิจ ชุมชน เพือ่ สนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มคี ณ ุ ภาพได้มาตรฐาน • สนับสนุนงบประมาณค่าเดินทางลงชุมชน ค่าทีพ่ กั ค่าอาหาร และ ค่าอุปกรณ์ในการจัดทำ�สินค้าต้นแบบ หรือทดลองทำ�ผลิตภัณฑ์ ทำ�ให้นักศึกษาใช้เวลาทำ�งานได้เต็มที่ โดยไม่ต้องไปขอรับการ สนับสนุนจากแหล่งทุนอื่น
สมาคมเพื่อนชุมชน-ธรรมศาสตร์โมเดล
จากบทความ “พัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้ยั่งยืน : ธรรมศาสตร์โมเดล” ซึ่งเขียนโดยรองศาสตราจารย์วิทยา ด่านธำ�รงกูล ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพ ธุรกิจ (25 มิถุนายน 2558) นำ�ไปสู่การสร้างความร่วมมือกับสมาคมเพื่อน ชุมชนตอนนัน้ คุณมนชัย รักสุจริต ผูจ้ ดั การสมาคม และคุณณัฐพล ศิลาคุปต์ ประสานกับองค์กรเครือข่ายสมาคมเพื่อนชุมชน ที่มีบริษัทพี่เลี้ยงที่เป็นภาคี เครือข่าย 18 บริษัท อาทิ PTT Group SCG BLCP DOW GLOW BST VNT
Method for Sustainable Community-Business Development | 37
BIG Linde TPT Indorama SYS JBE ABB PDI Air Liquide ZEON และ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในพื้นที่มาบตาพุดคอมเพล็กซ์ เกิด ความร่วมมือภายใต้ชอื่ “สมาคมเพือ่ นชุมชน-ธรรมศาสตร์โมเดล” ในปี 2558 เพือ่ สร้างเสริมและพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน และกลุม่ เศรษฐกิจฐานราก พื้นที่มาบตาพุดคอมเพล็กซ์ สมาคมเพื่อนชุมชนที่มีบทบาทสำ�คัญในการเตรียมความพร้อมชุมชน เตรียมบริษัทพี่เลี้ยง โดยสมาคมเพื่อนชุมชนทำ�หน้าที่ประสาน สร้าง และ ขยายเครือข่ายความร่วมมือไปยังหน่วยงานราชการ อาทิ พัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร สำ�นักงานจังหวัดระยอง การนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลังจากร่วมมือกันในรุ่นแรกแล้ว ต่อมาคุณสุรจิต สถาพรวลัยรัตน์ ผูจ้ ดั การสมาคมเพือ่ นชุมชน ได้ผลักดันธรรมศาสตร์โมเดล ในปี 2559 และปี 2560 ทำ�ให้เราได้เห็นพัฒนาการของผลงานธรรมศาสตร์โมเดลทุกปี มีข้อสังเกตว่า วิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ สมาคมเพื่อนชุมชนธรรมศาสตร์โมเดล ยังคงดำ�เนินวิสาหกิจต่อเนื่อง เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ และ มีหลายวิสาหกิจที่เติบโตอย่างรวดเร็ว และเติบโตแบบก้าวกระโดด การที่วิสาหกิจชุมชนเกาะกก เติบโตเร็วมาก เป็นเพราะคุณสำ�ราญ ทิพย์บรรพต ผู้นำ�ชุมชนมีความรู้ ขยัน เก่งในโซเชียล นอกจากนี้ยังมีบทบาท ของผูใ้ ห้การสนับสนุนอย่าง SCG และ กลุม่ ปตท.ทีเ่ ข้ามามีบทบาทเป็นพีเ่ ลีย้ ง ในการพัฒนาด้านต่างๆ รวมถึงสมาคมเพือ่ นชุมชนทีเ่ ข้ามาเป็นทีป่ รึกษาชุมชน จากการสัมภาษณ์คุณไพลิน โด่งดัง (พี่แตน) ประธานกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนแตนบาติก เห็นได้ว่า เป็นคนที่มีใจรักในการทำ�งาน ชอบงานศิลปะ เป็นชีวติ จิตใจ รวมทัง้ เป็นผูน้ ำ�ชุมชนทีช่ ว่ ยส่งเสริมให้สมาชิกมีแรงผลักดันใน การทำ�งาน เพราะ เป็นคนริเริ่มสร้างสรรค์ผลงานให้สมาชิกเห็นตามว่าทำ�ได้ จริง และสามารถสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน นอกจากนี้พี่แตนไม่ได้รอรับ ความช่วยเหลือจากทางบริษัทพี่เลี้ยง หรือหน่วยงานภายนอกอยู่เพียงอย่าง เดียว แต่ยงั เรียนรูท้ จี่ ะค้นคว้าหาความรูเ้ พิม่ เติม ไม่วา่ จะเป็นการติดต่อดูงาน กับหน่วยงานทีม่ คี วามสามารถในการพัฒนาผ้ามัดย้อม หรือเข้าร่วมโครงการ ประกวดต่าง ๆ ทัง้ ในระดับจังหวัดและระดับประเทศ เพือ่ ยกระดับผลิตภัณฑ์ ของแตนบาติกให้เป็นที่รับรู้แก่บุคคลภายนอก ปัญหาและอุปสรรคของ วิสาหกิจชุมชนแตนบาติกทีต่ อ้ งการนักออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก ยัง ไม่มีความรู้เพียงพอในการออกแบบแพตเทิร์นให้ตรงกับความต้องการของ กลุ่มลูกค้า นอกจากนี้ยังพบปัญหาในเรื่องของระบบการจัดทำ�บัญชีที่ต้องส่ง ข้อมูลการบันทึกรายรับรายจ่ายให้กบั บริษทั เอสซีจี เพือ่ นำ�ไปทำ�บัญชีค�ำ นวณ ต้นทุนและกำ�ไรทีแ่ ท้จริงอยู่ แต่ประธานวิสาหกิจกล่าวว่า ตอนนีอ้ ยูใ่ นช่วงปรับ
38 | Thammasat Model:
ตัวเพื่อเรียนรู้การทำ�บัญชี หลังจากที่บริษัท ดาวเคมิคอลประเทศไทย จำ�กัด พาไปเรียนรู้การทำ�บัญชีในวิสาหกิจมาแล้ว การที่วิสาหกิจชุมชนบ้านหนองสนม มีประธานวิสาหกิจที่ตั้งใจทำ�งาน ชอบเรียนรู้อย่าง ป้าอ้อย (คุณกนิษฐา ธนะจินดา) มักไปเข้าอบรมคอร์สที่ สำ�นักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) และนำ�ความ รู้ใหม่เพื่อมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ หลังจากนักศึกษาเสร็จสิ้นโครงการ ป้าอ้อย ดำ�เนินการต่อจนผลิตภัณฑ์ได้รับหมายเลขจดแจ้งเรียบร้อย และผลิตภัณฑ์ น้ำ�สำ�รองเป็นสินค้าโอทอป 3 ดาว ตอนนี้ได้เพิ่มสูตรน้ำ�สำ�รองขึ้นใหม่ ทุก วันนี้กลุ่มวิสาหกิจบ้านหนองสนมสามารถยืนได้ด้วยตนเอง
เน็ตเวิร์ก เคล็ดลับความสำ�เร็จ
จากการติดตามผลการดำ�เนินการของวิสาหกิจระหว่างปี 2557-2559 เราสรุปได้ว่า บทบาทที่สำ�คัญขององค์กรเครือข่ายที่ร่วมมือกับเราพัฒนา วิสาหกิจชุมชน ตั้งแต่กระบวนการคัดเลือกวิสาหกิจที่มีความพร้อม มุ่งมั่น ตั้งใจที่จะพัฒนาสินค้าของตน รู้ปัญหาและความต้องการของชุมชน และ อยู่เคียงข้างชุมชน ภายหลังจากนักศึกษาทำ�โครงการเสร็จสิ้น บริษัทพี่เลี้ยง ติดตามผลการดำ�เนินการของวิสาหกิจ พาวิสาหกิจชุมชนไปเพิ่มพูน ต่อยอด ความรูค้ วามสามารถในการดำ�เนินธุรกิจ คอยให้คำ�ปรึกษาติดตามการดำ�เนิน ธุรกิจของชุมชน จากการตั้งข้อสังเกตว่า หากเปรียบเทียบกับการดำ�เนินการของชุมชน ในพื้นที่อำ�เภอนางรอง จ. บุรีรัมย์ ที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง ศูนย์ ซีเบิร์ด (Community Base Integrated Rural Development: CBIRD) กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ระหว่างปี 2551-2553 มีวสิ าหกิจทีด่ �ำ เนินการต่อเนือ่ งได้อย่างยัง่ ยืน ก็เพราะการทีศ่ นู ย์ ซีเบิร์ด เป็นองค์กรเครือข่าย ที่ช่วยประสานงานต่อเนื่อง ดังนั้นการมีองค์กร เครือข่ายทีร่ จู้ กั ชุมชน เป็นเงือ่ นไขทีส่ �ำ คัญข้อหนึง่ ทีท่ �ำ ให้โครงการสัมฤทธิผ์ ล พี่ประยม พรมบุตร หัวหน้าศูนย์ซีเบิร์ด ซึ่งตอนนั้นทำ�เรื่องธุรกิจเพื่อ สังคม (social enterprise) บอกเราว่าเงื่อนไขในการเลือกชุมชนเข้าร่วม โครงการธรรมศาสตร์ ดู “ความตัง้ ใจของผูใ้ หญ่บา้ น ทีม่ หี วั ใจของการพัฒนา” หัวหน้าศูนย์ซเี บิรด์ กล่าวว่า โครงการธรรมศาสตร์มขี อ้ ดีทนี่ กั ศึกษามา ทำ�เป็นต้นแบบ ชุมชนบางกลุ่มก็ดำ�เนินการได้อย่างยั่งยืน อย่างเช่น ชุมชน บ้านโคกพลวง พีส่ ามัญ โล่หท์ อง ผูใ้ หญ่บา้ นโคกพลวง เล่าว่าตอนนักศึกษาธรรมศาสตร์ เข้ามารับฟังปัญหาชุมชนมีหลายปัญหา แต่นักศึกษารุ่นแรกที่เข้ามาปี 2551 เสนอชุมชนทำ�ปุ๋ยอัดเม็ดและหาเครื่องจักรมา พอนักศึกษารุ่นสองที่เข้ามา ปี 2552 เสนอชุมชนทำ�เรือนเพาะชำ�กล้าไม้ โครงการนี้ไปได้ไกล เยาวชน คนไหนเพาะต้นกล้า ชุมชนเรามีงบไปซื้อ ทุกวันนี้วิสาหกิจชุมชนดำ�เนินการ
Method for Sustainable Community-Business Development | 39
ได้อย่างยั่งยืน มีหลายองค์กรเข้ามาดูงานและเข้ามาสนับสนุน สิ่งแวดล้อมดี น�้ำ อุดม สร้างผลิตผลได้มากมาย ชาวบ้านกลับมาอยูใ่ นหมูบ่ า้ นมากขึน้ เท่าตัว หรือ ศูนย์ร้านค้าสาธิตชุมชนบ้านหนองมะมา ร้านค้าแห่งนี้ได้ใจคนใน หมู่บ้าน คนในชุมชนมาอุดหนุนก็เพราะจัดเงินปันผลให้สมาชิก เงินกำ�ไรเอา ไปช่วยสวัสดิการหมู่บ้าน ซื้อรถเพื่อบริการพี่น้อง “เพื่อประชา เจ็บป่วย เข้า โรงพยาบาล” เอาไปสนันสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สรุปได้วา่ เน็ตเวิรก์ เป็นเคล็ดลับของความสำ�เร็จ ในการพัฒนาวิสาหกิจ ตามแนวธรรมศาสตร์โมเดล ทีเ่ กิดความร่วมมือระหว่าง “สถาบันการศึกษา” ที่ มีนกั ศึกษาและอาจารย์ทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ มีความคิดแปลกใหม่ ร่วมมือ กับ “ชุมชน” ทีม่ คี วามพร้อม ผูน้ ำ�ชุมชนมีความมุง่ มัน่ พร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ คิดถึง ประโยชน์ของสมาชิก สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานราชการทัง้ ใน และนอกพืน้ ทีไ่ ด้ดเี ยีย่ ม และร่วมมือกับ “องค์กรเครือข่าย” ทีเ่ ป็นบริษทั พีเ่ ลีย้ ง ช่วยประสาน ส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนพัฒนาขีดความสามารถอย่างเต็มที่ ทั้งหมดนี้เป็นเงื่อนไขที่ท�ำ ให้วิสาหกิจชุมชนมีโอกาสเติบโตอย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตามยังมีโครงการจำ�นวนมากที่ชุมชนเลิกทำ�ต่อเพราะผู้นำ�ชุมชน หมดวาระ จึงขาดคนสานต่อการทำ�งาน
40 | Thammasat Model:
โครงการ � นชุ ชน –โมเดล ธรรมศาสตร์ รุ่นที� ๑/๒๕๕๙ โครงการ สมาคมเพื อ � –ม นชุ ชน –ม ธรรมศาสตร์ โมเดล รุโมเดล ่น ที� ๑/๒๕๕๙ โครงการ โครงการ โครงการ สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื อ � นชุ อ � ม นชุ ชน อ � สมาคมเพื นชุ มชน ธรรมศาสตร์ ชน –มธรรมศาสตร์ –อ ธรรมศาสตร์ โมเดล โมเดล รุ่นที รุ� ่น ๑/๒๕๕๙ ที รุ่น � ๑/๒๕๕๙ ที � ๑/๒๕๕๙ โครงการสมาคมเพื อ ่ นชุ ม ชน-ธรรมศาสตร์ โ มเดล รุ น ่ ที ่ 1/2559 า งเสริ ม และพ ัฒนาศ ักยภาพวิ สและกลุ าหกิ จและกลุ ชุ ชน ่ ฐานราก เศรษฐกิ จฐานราก การสร้ งเสริ มัฒนาศ และพ ัฒนาศ าหกิ จชน ชุ มชน ่ และกลุ เศรษฐกิ จฐานราก การสร้ การสร้ การสร้ างเสริ างเสริ มาและพ งเสริ มาการสร้ และพ มัฒนาศ และพ ัฒนาศ ักยภาพวิ ักยภาพวิ ักยภาพวิ สักยภาพวิ าหกิ สาหกิ จสชุาหกิ มจสชน ชุ ม จชุ ชน และกลุ ม และกลุ ม ่ เศรษฐกิ ม ่ ม เศรษฐกิ ม ่ เศรษฐกิ จม ฐานราก จฐานราก จม โครงการ สมาคมเพื อ � นชุ ม ชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล รุ น ่ ที � ๑/๒๕๕๙ โครงการ สมาคมเพื อ � นชุ ม ชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล รุ น ่ ที � ๑/๒๕๕๙ โครงการ โครงการ โครงการ สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื อ � นชุ อ � ม นชุ ชน อ � นชุ ม ชน – ม ธรรมศาสตร์ ชน – ธรรมศาสตร์ – ธรรมศาสตร์ โมเดล โมเดล โมเดล รุ น ่ ที รุ � น ่ ๑/๒๕๕๙ ที รุ น ่ � ๑/๒๕๕๙ ที � ๑/๒๕๕๙ การสร้ า งเสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน พื น � ด ทคอมเพล็ มาบตาพุ ี� ด กซ์ ธรรมศาสตร์ ตามแนวทาง พื น ี� คอมเพล็ กตามแนวทาง ซ์ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ โมเดล โมเดล พืน � ท พืมาบตาพุ ี� น � พื ทน มาบตาพุ � ี� โครงการสมาคมเพื ทมาบตาพุ ี� ทดมาบตาพุ ดคอมเพล็ กคอมเพล็ ซ์ ก ซ์ กด ตามแนวทาง ซ์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ โมเดล มเดล ่อตามแนวทาง นชุ มสคอมเพล็ ชน-ธรรมศาสตร์ โชน มเดล รุโชน ่นธรรมศาสตร์ ทีโจม่มเดล ่และกลุ 1/2559 า งเสริ ม และพ ัฒนาศ ักยภาพวิ ส าหกิ จ ชุ ม ่ ฐานราก เศรษฐกิ จฐานราก การสร้ งเสริ ม และพ ัฒนาศ ักยภาพวิ ส าหกิ จ ชุ ม และกลุ เศรษฐกิ จฐานราก การสร้ การสร้ การสร้ างเสริ างเสริ มาและพ งเสริ มาการสร้ และพ มัฒนาศ และพ ัฒนาศ ัฒนาศ ักยภาพวิ ักยภาพวิ ักยภาพวิ ส าหกิ าหกิ จ ส ชุ าหกิ ม จ ชน ชุ ม จ ชุ ชน และกลุ ม ชน และกลุ และกลุ ม ่ เศรษฐกิ ม ่ เศรษฐกิ ม ่ เศรษฐกิ ฐานราก ฐานราก จม และกลุ ่มเศรษฐกิ ฐานราก โครงการ สมาคมเพื อ � นชุ มชน –จธรรมศาสตร์ โมเดล รุ่นทีจ � ๑/๒๕๕๙ การสร้ า งเสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน พื น � อจ� มด ท มาบตาพุ ี�และ คอมเพล็ กจาหกิ ซ์ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ พื น ท ี�าคอมเพล็ คอมเพล็ ซ์ ตามแนวทาง พื � สรายชื ท ี� สน �มาหกิ พื มาบตาพุ � ี� มการสร้ ทชุมาบตาพุ ี�มโครงการ ดวิมาบตาพุ ดทีคอมเพล็ ก ตามแนวทาง ซ์ ตามแนวทาง ซ์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ โสมเดล โวมเดล โวมเดล รายชื อ � ชุ สชน าหกิ ชุ ม ชน � นาจแทนวิ ยูส ่ าหกิ ผู ้มีธรรมศาสตร์ อ าหกิ จ หน่ � ง อ �จทวิชุน ส าหกิ จ ม ที อ ยูก ่ � อและ ผู ้มีชน อ ําและ นาจแทนวิ สม าหกิ หน่ ษยงาน/บริ ฯลีมเดล ย � ังทฯ พีเ� ลีย รายชืรายชื อ � วิสรายชื าหกิ อ � วิน จ อ �พื าหกิ ชุ วิมาบตาพุ ชน จ ชน ชน ยูและพ ที ่คอมเพล็ อ �ด ยูที ่ ซ์ และ ผู อ � ัฒนาศ ยู้มีก อ ่ และ ํ�าผูนาจแทนวิ ้มีด ผู ํนชุ านาจแทนวิ ้มีกตามแนวทาง อที ํามอ ส ส าหกิ จําชุนาจแทนวิ จ หน่ วจยงาน/บริ หน่ วหน่ ยงาน/บริ ษเศรษฐกิ ัท ฯยงาน/บริ ัโ ทเ� มเดล ฯ ลีษ ย � ัพี ท งเ� ฯวฐานราก ลี พี ย �ั ทงเ� โ ย � พีงเ� ลีษ สมาคมเพื อ ธรรมศาสตร์ โมเดล รุษพี่น ที � จ๑/๒๕๕๙ งเสริ ักยภาพวิ ส– าหกิ จ ชนธรรมศาสตร์ และกลุ ม ่ยงาน/บริ พื น ้ ที ม ่ าบตาพุ ด คอมเพล็ ก ซ์ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ โ มเดล ชุมชน ชุซ์ม ชน ชุ มชน ชน ชุม มก ชน และกลุ ่มมักยภาพวิ เศรษฐกิ ฐานราก โครงการ สมาคมเพื อ � ชุ นชุ ชน –จส ธรรมศาสตร์ โมเดล รุ่นม � ๑/๒๕๕๙ การสร้ างเสริ ม ัฒนาศ าหกิ จชุมธรรมศาสตร์ ชน และกลุ เศรษฐกิ จฐานราก พืน � ทมาบตาพุ ี� และพ ด คอมเพล็ ตามแนวทาง โ่ ที มเดล 1. วิ�จมไพรบ ส าหกิ ม ชนสมุ น ไพรบ ้าน 12/4 หมู ่ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. กลุ ม ่ ปตท. 1. วิชุาหกิ าหกิ ชนสมุ ไพรบ ้าน 12/4 หมู ่ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. กลุ ม ่ ปตท. (PTT Group) วิ1.สาหกิ 1. วิสจาหกิ ชุ วิอ มวิาหกิ ชนสมุ จสรายชื ชนสมุ นจ มไพรบ ้าน ไพรบ 12/4 12/4 หมู 12/4 ่ 6 หมู ต.บ ่ 6 หมู ้านฉาง ต.บ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง ้านฉาง อ.บ อ.บ ้านฉาง จ. ้านฉาง จ. จ. กลุ ม ่ กลุ ปตท. ม ่ กลุ ปตท. ม (PTT ่ ปตท. (PTT Group) (PTT Group) Group) รายชื อ � ชุ้าน วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ที อ � ยู ่ และ ผู ้มี อ ํ า นาจแทนวิ ส าหกิ จ หน่ ว ยงาน/บริ ังทฯ พ รายชื อ วิชุ ส าหกิ จ ม ชน ที อ � ยู และ ผู ้มี อ ํ า นาจแทนวิ ส าหกิ จ หน่ ว ยงาน/บริ ษ ย � Group รายชื รายชื �ส อ � สมวิจ สชุ อ �าหกิ ชุ วิจชนสมุ ส มชุนาหกิ ชน มนการสร้ จ ชน ชุจ้าน มนชุโครงการ ชน ที อ � ยู ที ่ และ อ � ยู ที ่ และ ผู อ � ยู ้มี อ ่ และ ํ า ผู นาจแทนวิ ้มี อ ผู ํ า นาจแทนวิ ้มี อ ํ า นาจแทนวิ ส าหกิ ส จ าหกิ ส าหกิ จ จ หน่ ว ยงาน/บริ หน่ ว หน่ ยงาน/บริ ว ยงาน/บริ ษ ั ท ฯ ษ พี ั ท เ � ฯ ลี ษ ย � ั พี ท ง เ � ฯ ลี พี ย �ั ท งเ� ฯลี(PTT ย � พีงเ� ลีษ สมาคมเพื อ � นชุ ม ชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล รุ น ่ ที � ๑/๒๕๕๙ งเสริ ัฒนาศ ักยภาพวิ าหกิจชุธรรมศาสตร์ มชน และกลุ ม ่ โมเดล เศรษฐกิ จฐานราก น � ทมาบตาพุ ี� มและพ ดคอมเพล็ กซ์สตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ โมเดล พืทร์้นทีอ� วิ่มสาาพื าบตาพุ ด คอมเพล็ ก ซ์ ตามแนวทาง นรายชื ระยอง โทรศั พ ท์ 038941144 ระยอง โทรศั พ ท์ 038941144 เทวินเทวิ ทร์ น เทวิ ทร์นเทวิ ทร์นทร์ เทวิการสร้ ระยอง ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั พ ท์ โทรศั 038941144 พ ท์ พ 038941144 ท์ 038941144 ชุ ม ชน ชุ ม ชน ชุคอมเพล็ มชน ชุอ� มยูักยภาพวิ ชน มก ชน าหกิ ชุมมาบตาพุ ที ่ ชุ และ ผู ้มีอตามแนวทาง ํานาจแทนวิ สชุ าหกิ จชน และกลุ หน่วยงาน/บริ ษัทฯ พีเ� จ ลีย � ฐานราก ง งเสริ ม และพ ัฒนาศ สาหกิ มอ.ธรรมศาสตร์ ม เศรษฐกิ พืน � จท ี� ชน ด ซ์12/4 โ่ มเดล บ้าจ นฉาง บ้จกลุ า้านฉาง นฉาง หมู ่ 6 ต. ่อ ยูสก่ ้านฉาง (สมาชิ ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ ส าหกิ เวชสํ า อางค์ (สมาชิ กอ6หมู ผู ้มีส อ12/4 ําทีนาจแทนวิ ส าหกิ จ เวชสํ า อางค์ (สมาชิ (สมาชิ ก ผู (สมาชิ ้มี อ ก า ํ ผู นาจแทนวิ ้มี ก อ ผู า ํ นาจแทนวิ ้มี า ํ นาจแทนวิ าหกิ จ าหกิ ส าหกิ จ จ เวชสํ เวชสํ า อางค์ เวชสํ า อางค์ า อางค์ ชุ ม ชน สชนสมุ าหกิ จ ชุ ม ชนสมุ น ไพรบ ้าน หมู ่ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ จ. กลุ ม ่ ปตท. 1. าหกิ จ ชุนวิมไพรบ น ไพรบ ้าน 12/4 ่ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. กลุ ม ่ ปตท. (PTT Group) วิ1.สาหกิ 1. วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชนสมุ จวิชุสมจ ชนสมุ ชุน1. มไพรบ ชนสมุ ้าน น ไพรบ ้าน ้าน 12/4 12/4 หมู 12/4 ่ 6 หมู ต.บ ่ 6 หมู ้านฉาง ต.บ ่ ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง อ.บ อ.บ ้านฉาง จ. ้านฉาง จ. จ. กลุ ม ่ ปตท. ม ่ กลุ ปตท. ม (PTT ่ ปตท. (PTT Group) (PTT Group) Group) รายชื อ � วิจส าหกิ จท ชุไพร ม ชน ทีอ � ยู ่ และ ผู ้มีอตามแนวทาง ําโทรศั นาจแทนวิ สาหกิ จ หน่วยงาน/บริ ษัทฯ (PTT พีเ� ลีย � งG พื น �ชน: มาบตาพุ ี� ชน: ด12/4 คอมเพล็ ซ์ ธรรมศาสตร์ โมเดล จ.ก ระยอง พตระกู ท์น 0 3894 1144 1. วิ ส าหกิ ชุ ม ชนสมุ น 1. วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสมุ น ไพรบ ้าน หมู ่ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. กลุ ม ่ ปตท. (PTT Group) ชุ ม ชน: นาง อภิ ญ ญา ล เทวิ น ทร์ ) ชุ ม ชน: นาง อภิ ญ ญา ตระกู ล เทวิ ทร์ ) ชุ ม ชุ ม นาง ชุ ม ชน: นาง อภิ ญ นาง อภิ ญา ญ อภิ ตระกู ญา ญ ตระกู ญา ล เทวิ ตระกู ล น เทวิ ทร์ ล ) น เทวิ ทร์ น ) ทร์ ) ทร์ อ� วิสาหกิ ระยอง โทรศั พ 038941144 ระยอง พ่ และ ท์ 038941144 เทวินเทวิ ทร์ น เทวิ ทร์นเทวิ ทร์นทร์ เทวินรายชื ระยอง ระยอง โทรศั พ ท์โทรศั 038941144 พท์โทรศั พ 038941144 ท์ จระยอง ชุมโทรศั ชน ที อ � ยู038941144 ผู ้มีอชุ ํานาจแทนวิ สาหกิจ หน่วยงาน/บริษัทฯ พีเ� ลีย � ง มท์ชน ผู้มระยอง ีอำานาจแทน เทวิ โทรศั พ ท์12/4 038941144 นบ้ทร์ านเทวินทร์(สมาชิ บ้ า นฉาง อ. บ้ า นฉาง หมู ่ 6 ต. ที อ ่ ยู ่ (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ ส าหกิ จ เวชสํ า อางค์ (สมาชิ ผู ้มีส อาหกิ ํานาจแทนวิ ส าหกิ จลเทวิ้านฉาง เวชสํ าอางค์ นางอภิ ญม้มีญา ตระกู นทร์ สเวชสํ (สมาชิ ก ผู (สมาชิ ้มีอ กําผู นาจแทนวิ ้มีกอวิผูําสาหกิ นาจแทนวิ ้มีกอ12/4 ําจนาจแทนวิ ส่ 6และ จาหกิ สาหกิ จ าจอางค์ าอางค์ าหน่ อางค์ ชุ ชน 1. วิสาหกิ จชุอ ม ชนสมุ นจไพรบ ้าน ต.บ อ.บ จ. เวชสํ เวชสํ กลุ ม ่ าอางค์ ปตท. (PTTษGroup) รายชื � วิ ส าหกิ ชุต มผลิ ชน อ �ณ ผู้านฉาง อจสําโทรศั นาจแทนวิ าหกิ วยงาน/บริ ั ทฯ พีเ� ล ชุต มกที ชน (สมาชิ ผูหมู ้มียู อ่ฑ์ ํานาจแทนวิ าหกิ จท์ 0 3894 เวชสํ ระยอง พ 1144 ผลิ ภั :ลนจ.เทวิ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ :ญา ผลิ ต ภั ผลิ ณ ฑ์ ภั ณ : ต ฑ์ ภั ณ : ฑ์ : ส าหกิ จ ชุ ม ชนสมุ น ไพร 1. เทวิ วิส1. วิ าหกิ จ ชุ ม ชนสมุ น ไพรบ ้าน 12/4 หมู ่ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. กลุ ม ่ ปตท. (PTT Group) ชุ ม ชน: นาง อภิ ญ ญา ตระกู ล เทวิ น ทร์ ) ชุ ม ชน: นาง อภิ ญ ญา ตระกู ล เทวิ น ทร์ ) ชุ ม ชน: ชุ ม ชน: นาง ชุ ม ชน: นาง อภิ ญ นาง อภิ ญา ญ อภิ ตระกู ญ ตระกู ญา ล เทวิ ตระกู ทร์ ล ) น เทวิ ทร์ น ) ทร์ ) นทร์ ระยอง โทรศั พ ท์ 038941144 ชุา นาง ญาญา ตระกู ลเทวิ นทร์) ชุมชน เครื อ � อภิ งสํ อางจากสมุ นไพรไทย งสํ อางจากสมุ อ � เครื งสํ าอ � เครื อางจากสมุ งสํอ � าเครื งสํ อางจากสมุ อางจากสมุ นผูไพรไทย ผูอ� ้มมผลิ ีอชน: ำาตนนาจแทน เทวิ ระยอง โทรศั พไพรไทย ท์ ภัาไพรไทย ณ ฑ์ก ่อน038941144 งสำไพรไทย าญอางจากสมุ นเทวิ ไพรไทย เช่น มะหาด นบ้ทร์ านเทวินทร์ เครื (สมาชิ ้มี•น อ ําเครื นาจแทนวิ สาหกิ จ้านฉาง เวชสํ าอางค์ นางอภิ ญา ตระกู นทร์ 1. วิสาหกิจชุมชนสมุเช่ นน ไพรบ ้าน 12/4 หมู ่ 6 ต.บ ้านฉาง อ.บ จ. เวชสํ กลุ ม ่ าอางค์ ปตท. (PTT Gro เช่ น มะหาด ดสองุ น ่ ลจ ฯลฯ ของ เช่ นวิดณ มะหาด เมล็ ด องุ น ่ องุเมล็ ฯลฯ ของ มะหาด เช่ น เช่ มะหาด น เมล็ มะหาด เมล็ องุ น ่ ด เมล็ องุ ฯลฯ ด ่ องุ ฯลฯ ของ น ่ ฯลฯ ของ ของ ส าหกิ จ ชุ ม ชน (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ าหกิ เมล็ ด น ่ ฯลฯ ของชุ ม ชนเนิ น กระเปาะ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : ผลิ ต ภั ฑ์ : ผลิตภั ผลิ ณตฑ์ ผลิ ภัณ :ตฑ์ ภัณ : ฑ์ผลิ:ชุตมภัชน: อภิญญา ตระกูลเทวินทร์) ณฑ์ นาง : เทวินทร์
ระยอง โทรศั พ ท์้านฉาง 038941144 ชุ ม ชนเนิ กระเปาะ อบ ้านฉาง ชุ มเครื น้านฉาง อบ ม ชุ ชนเนิ นชุาอ ม ชนเนิ นอ นชุา อบ อบ ้านฉาง อบ ้านฉาง ม นาง ตระกู ลเทวิ นทร์) อ.น บ้ญ าญา นฉาง ระยอง ชนเนิ เครื อ � ภั งสํ าน อางจากสมุ น ชน: เครื อ � อภิ งสํ อางจากสมุ นไพรไทย เครื อ � กระเปาะ งสํ ากระเปาะ อางจากสมุ นงสำ ไพรไทย ชุเครื ชนเนิ อ � ม เครื งสํ � กระเปาะ อางจากสมุ งสํ � ากระเปาะ งสํ อางจากสมุ อางจากสมุ น ไพรไทย ไพรไทย น ไพรไทย ผลิ ต ณ ฑ์ • เครื อ ่ าจ.ไพรไทย อางจากสมุ นไพรไทย เช่น มะหาด (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ ส าหกิ จ เวชสํ าอางค์ จั ง หวั ด ระยอง จัด งหวั ด ระยอง จังหวัจัดงระยอง หวั จังดหวั ระยอง ระยอง •:องุ ติของ ดน อฯลฯ ทองุ างของ เช่ มะหาด เมล็ ดสอบถามได้ องุ น ่ ฯลฯ ฯลฯ ตนภัน ณ ฑ์ด เช่ น มะหาด ด น ่ ฯลฯ ของ เช่ นผลิ มะหาด เมล็ ดต่เมล็ องุ ่ดองุเมล็ น ของ เช่น มะหาด เช่น เช่ มะหาด นเมล็ มะหาด ดเมล็ องุ ่ ด เมล็ องุ ฯลฯ ่ ฯลฯ ่ ของ ของ น ่ ฯลฯ ของชุ ม ชนเนิ น กระเปาะ ชุ ม ชน: นาง อภิ ญ ญา ตระกู ล เทวิ น ทร์ ) ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : สอบถามได ติดอ อกระเปาะ สอบถามได ้ทาง inbox, ต่อ้ทาง ้ทาง inbox, ติ ดต่อ ติสอบถามได ดต่ติอดสอบถามได ต่ติ อด สอบถามได inbox, ้ทาง ้ทาง inbox, inbox, line: abantavin, มอบ ชนเนิ น อบ ้านฉาง เครื � ต่ าinbox, อางจากสมุ นไพรไทย ชุ มงสํ ชนเนิ น กระเปาะ อบ ้านฉาง ชุ ชนเนิ น้านฉาง อบ ้านฉาง ชุมชนเนิ ชุมชนเนิ นชุกระเปาะ มชนเนิ นม กระเปาะ นชุกระเปาะ อบ อบ ้านฉาง อ. บ้ า นฉาง จ. ระยอง Tel: อ � กระเปาะ งสํ า้านฉาง อางจากสมุ น ไพรไทย line: abantavin, Tel: 087-ของ line: abantavin, Tel: 087line:line: abantavin, line: abantavin, abantavin, Tel: 087Tel: 087087จังเครื หวั ด ระยอง Tel: 08 7596 เช่ นจังมะหาด เมล็ ดองุ9334 น ่ ฯลฯ หวั ด ระยอง จัด งหวั ด ระยอง จังหวัจัดงระยอง หวั จังดหวั ระยอง ระยอง • ติ ด ต่ อ สอบถามได้ เช่ น มะหาด เมล็ ด องุ น ่ ฯลฯ ผลิ ตอภัสอบถามได ณฑ์ : ้ทาง inbox,ทางของ ติ ดต่ 5969334 5969334 5969334 5969334 ชุ5969334 มชนเนิ ชนเนิ นกระเปาะ กระเปาะ อบ้านฉาง ้านฉาง ติ ดอ อกลุ สอบถามได ้ทาง inbox, หน่ ยงาน/ ปตท. (PTT Group) ต่วline: อ สอบถามได ้ทาง ติ ดต่อ ติสอบถามได ดต่ติอดสอบถามได ต่ติ อด สอบถามได ้ทาง inbox, ้ทาง ้ทาง inbox, inbox, line: abantavin, ชุ ม น อบ abantavin, Tel:inbox, 087 จังเครื � •ต่ระยอง งสํ า่มinbox, อางจากสมุ นไพรไทย หวั ด บริ ษ ท ั ฯ พี เ ่ ลี ย ้ ง line: abantavin, Tel: 087line: abantavin, Tel: 087line: line: abantavin, abantavin, abantavin, Tel: Tel: 087Tel: 087087จังหวั ดระยอง 9334 น มะหาด เมล็ ่ .ฯลฯ ส าหกิ จ่ม ม ชนกลุ บ ้านทิ วline: ลิ 28/111 หมู ่ อ.เมื ต.มาบตาพุ อ.เมื ง .จีของ .จี (SCG) เอส.ซี.จี (SCG) 2. าหกิ จ ชุบ ชนกลุ บ28/111 วแม่ ลิ หมู 28/111 หมู ่ ต.มาบตาพุ อ.เมื อ7596 งเอส.ซี เอส.ซี วิ2.สาหกิ 2. วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชนกลุ จวิชุสมจ ชนกลุ ชุ่ม2. มแม่ ชนกลุ ่มวิมแม่ ้านทิ ่มบแม่ ว้านทิ ลิ บชุแม่ ้านทิ วลิ ว้านทิ ลิ ่ม28/111 28/111 ่ ต.มาบตาพุ หมู ่ ต.มาบตาพุ หมู่ ต.มาบตาพุ ด5969334 อ.เมื ดเช่ อ อ.เมื งดสอบถามได อ งดTel: อง08 ดดองุ น เอส.ซี จีอเอส.ซี (SCG) (SCG) .จี (SCG) ติ ด ต่ อ ้ทาง inbox, ติดต่ อสอบถามได ้ทาง inbox, 5969334 5969334 5969334 5969334 5969334 ชุ ม ชนเนิ น กระเปาะ อบ ้านฉาง ปชุ ม ชนเนิ น พยอม ระยอง จ.ระยอง โทรศั พ ท์ ปชุ ม ชนเนิ น พยอม ระยอง จ.ระยอง โทรศั พ ท์ ปชุมชนเนิ ปชุมปชุ ชนเนิ นพยอม มชนเนิ นพยอม นพยอม ระยอง ระยอง จ.ระยอง ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง โทรศัโทรศั พหน่ ท์โทรศั พ ท์ พabantavin, ท์ • กลุ่ม ปตท. วline: ยงาน/ (PTT Group) Tel: abantavin, 0872. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ ้านทิวลิ 28/111line: หมู่ ต.มาบตาพุ ด Tel: อ.เมื อ ง087- เอส.ซี.จี (SCG) 0805645943 (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทน 0805645943 (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทน จั ง หวั ด ระยอง อาหาร อาหาร 0805645943 0805645943 0805645943 (สมาชิ (สมาชิ ก ผู (สมาชิ ้มี อ ก า ํ ผู นาจแทน ้มี ก อ ผู า ํ นาจแทน ้มี อ า ํ นาจแทน อาหาร อาหาร อาหาร บริ ษัทฯ พี ่เลี้ยง โทรศั พท์ 5969334 5969334 ปชุ ม่ม ระยอง จ.ระยอง ส าหกิ จ่ม ม ชนกลุ ม ่ แม่ บ ้านทิ ว ลิ 28/111 หมู ่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมื อ ง .จี (SCG) เอส.ซี.จี (SCG) 2. าหกิ จ ชุบ ชนกลุ บ ้านทิ ว ลิ 28/111 หมู ่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมื อ ง เอส.ซี วิ2.สาหกิ 2. วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชนกลุ จวิชุสมจ ชนกลุ ชุ่ม2. มแม่ ชนกลุ ่มวิม แม่ ้านทิ บชนเนิ แม่ ว้านทิ ลิ บชุนแม่ ้านทิ วพยอม ลิ 28/111 ว ลิ 28/111 หมู 28/111 ่ ต.มาบตาพุ หมู ่ ต.มาบตาพุ หมู ่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมื ด อ อ.เมื ง ด อ.เมื อ ง อ ง เอส.ซี เอส.ซี . จี เอส.ซี (SCG) . จี (SCG) . จี (SCG) วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน: นาง ลาวรรณ์ ยั � ง ยื น ) วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน: นาง ลาวรรณ์ ยั � ง ยื น ) ติ ด ต่ อ สอบถามได ้ทาง inbox, วิสาหกิ วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชน: จชุมจชน: นาง ชุม0805645943 ชน: นาง ลาวรรณ์ นาง ลาวรรณ์ ยั�งยื นยั)�งยืยั นต. ยื้มีนอ)าํ นาจแทน 28/111 ด อ. เมืองระยอง ที่อยู่ ลาวรรณ์ (สมาชิ ก�ง)ผูมาบตาพุ อาหาร ปชุ มชนเนิ นชุมพยอม จ.ระยอง โทรศั พ0564 ท์ 087ชนเนิ นพยอม ระยอง จ.ระยอง ปชุมชนเนิ ปชุมปชุ ชนเนิ นพยอม มปชุ ชนเนิ นม พยอม นพยอม ระยอง ระยอง จ.ระยอง ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง โทรศั โทรศั พระยอง ท์โทรศั พท์โทรศั พระยอง ท์ พท์ โทรศั พดท์ดอ.เมื 08 abantavin, Tel: 2. วิ สจาหกิ ชนกลุ แม่ น้านทิ าหกิจชุline: มหมู ชน: นาง ลาวรรณ์ ยัอ.เมื �งยือ นง)อง5943 เอส.ซี 2. 2. วิสวิาหกิ ชุ มจม ชนกลุ ่ม่มแม่ ววลิ 28/111 หมูจ.่ ่ต.มาบตาพุ ต.มาบตาพุ เอส.ซี .จี (SCG) สาหกิ จชุ ชนกลุ แม่บบ้า้านทิ ลิ วิส28/111 .จี (SCG) 0805645943 (สมาชิ ก ผู ้มี อาํ นาจแทน 0805645943 (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทน อาหาร อาหาร 0805645943 0805645943 0805645943 (สมาชิ (สมาชิ ก ผู (สมาชิ ้มี อ ก า ํ ผู นาจแทน ้มี ก อ ผู า ํ นาจแทน ้มี อ า ํ นาจแทน อาหาร อาหาร อาหาร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : ผลินตพยอม ภั ผลิ ณตฑ์ ผลิ ภัณ :ตฑ์ ภัณ : ฑ์ผู้ม:ีอำาระยอง 5969334 นาจแทนจ.ระยอง มชนเนิ ทิวชนเนิ ลิปชุนมนพยอม ชนเนิ ปชุ ม พยอม โทรศั พ ท์ ปชุ ระยอง จ.ระยอง โทรศั พ ท์ ยั)ย่งมาบตาพุ ยืนนนยัลาวรรณ์ าหกิ ชุ ม(สมาชิ ชน: �งยืน) าหกิ ชุ นาง ลาวรรณ์ �งยื น ชุ วิส มาหกิ ชน: จวิชุส มงขนมเปี� จ ชน: นาง ชุ มงจ ชน: นาง ลาวรรณ์ นาง ลาวรรณ์ ยันางลาวรรณ์ �ง8 น ยั)8�งยงยื ยั นนาง 28/111 ต. ด )อ.ยเมื ที่อยง:8ยูระยอง ่ จลาวรรณ์ ระยอง ขนมเปี� ยะแห่ ระยอง เซี น อยังระยอง ต ฑ์ วิสาหกิ ขนมเปี� วิสจ าหกิ ขนมเปี� ยะแห่ ขนมเปี� ยะแห่ ยะแห่ งมสชน: ระยอง เซี น เซี ยยื น เซี นเซี วิระยอง สผลิ าหกิ จภัยะแห่ ชุวิม8ณ ชน 0805645943 ก�ง ผูยื อาหาร 0805645943 (สมาชิ ก ผู้มีอ้มี)าํอ8นาจแทน าํ นาจแทน อาหาร ระยอง โทรศั 0564 การกล่ ขนมเปี� ระยอง 8 เซีพา ยท์ง น08 สงอาหารว่ ารกล่ บริ งอาหารว่ างอาหารว่ ง ลาวรรณ์ 2. วิสจาหกิ ชุมชนกลุ นบริ บริ ่ม่มแม่ กแม่ ารกล่ บริ ารกล่ องอาหารว่ กวารกล่ องอาหารว่ าาหกิ งอบริ งยะแห่ าชน: งจ.ง่ อ วิอ จาจก ชุ มมชน: นาง ยัอ.เมื �งยัยื นยื)อ 2. วิสาหกิ ชุมจชนกลุ บ้าก ้านทิ ลิ 28/111 หมู ต.มาบตาพุ ด ง)5943 เอส.ซี.จี (SCG) าหกิ ชุ นาง ลาวรรณ์ � ง น ภั:ณ ฑ์ ภัณ•อฑ์ ขนมเปี 8 เซียน การกล่ งอาหารว่ างงระยอง ผลิ ต : ๊ยะแห่ ผลิ ภัผูณ ผลินตพยอม ภั ผลิ ณตฑ์ ผลิ ภัณ :ตฑ์ ภัณ :ตฑ์ ้ม:ผลิ ีอฑ์ ำาตบริ นาจแทน ทิวลิปชุนมพยอม ชนเนิ ปชุ มชนเนิ ระยอง จ.ระยอง โทรศั พ ท์าง นางลาวรรณ์ ยั ง ่ ยื น • บริ ก ารกล่ อ งอาหารว่ ระยอง ขนมเปี� ยะแห่ ระยอง เซียน ขนมเปี� ง:8:ระยอง 8ยงนเซี ยผู น ้มีอ8าํ นาจแทน ต ฑ์ ขนมเปี� ขนมเปี� ยะแห่ ยะแห่ งขนมเปี� ยะแห่ ง0805645943 งมณระยอง เซี นเซี8 ยน เซี วิระยอง สผลิ าหกิ ชุ8ณ ชน (สมาชิ ก ผลิ ตจภัยะแห่ ภั ฑ์ย อาหาร การกล่ ขนมเปี� ยะแห่ ง ระยอง 8 เซี ย น บริ ก ารกล่ อ งอาหารว่ า ง บริ อ งอาหารว่ า ง บริ การกล่ บริกบริ ารกล่ องอาหารว่ การกล่ องอาหารว่ อ งอาหารว่ า ง า ง า ง งระยอง เซียน8 ยัเซี�งยยืนน) วิสตขนมเปี� าหกิ ชุยะแห่ ม• ชน: นาง ลาวรรณ์ ผลิ ภัอ.เมื ณ ฑ์จอ.เมื ขนมเปี ๊ยะแห่ ง8งระยอง ระยอง 58 บริ กก ารกล่ อออ งอาหารว่ าเอส.ซี งอ .จี (SCG) าหกิ จกล ชุม ชนแปรรู ป กล ้วยมาบ หมู ่ งระยอง ้วยโป่ งอ.เมื จ. เอส.ซี.จี (SCG) 3. าหกิ จ ชุวิมสป ชนแปรรู ป้วยมาบ กล ้วยมาบ 58่ ต.ห หมู ่ ต.ห ้วยโป่ งต.ห งระยอง จ. เอส.ซี วิ3.สาหกิ 3. วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชนแปรรู จวิชุสมจ ชนแปรรู ชุ3. มป ชนแปรรู กล ้วยมาบ กล ป ้วยมาบ 58 หมู 58 ่ ต.ห หมู 58 ่ ้วยโป่ ต.ห หมู ้วยโป่ ง อ.เมื ้วยโป่ ง อ อ.เมื งระยอง ง อ อ จ. งระยอง จ. จ. .จีเอส.ซี (SCG) .จีเอส.ซี (SCG) .จี (SCG) บริ ารกล่ งอาหารว่ า ง 3. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปกล ้วยมาบ 58 หมู่ ต.ห ้วยโป่ •ง อ.เมื องระยอง จ. าง เอส.ซี.จี (SCG) บริ ก0867107011 ารกล่ องอาหารว่ ชลู ด ระยอง โทรศั พ ท์ บริ ั ท เหล็กสยามยามา ระยอง โทรศั พ ท์ 0867107011 บริ ษ ั ท เหล็ กษ สยามยามา ชลูดชลูดชลูดชลูด ระยอง ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั พ ท์ โทรศั 0867107011 พ ท์ พ 0867107011 ท์ 0867107011 บริ ษ ั ท บริ เหล็ ษ บริ ั ท ก ษ เหล็ สยามยามา ั ท ก เหล็ สยามยามา ก สยามยามา ผลิโทรศั ตภัณพฑ์ : ชลูด ระยอง ท์ 0867107011 บริษัท เหล็ กสยามยามา (สมาชิ ้มีอาหกิ นาจแทนวิ สจาหกิ จด จํากัด (SYS) (สมาชิ ผู ้มีส ํากนาจแทนวิ สจ าหกิ จําจํ(SYS) กัาดกัโตะ (สมาชิ (สมาชิ กผู(สมาชิ ้มีอ กําผู นาจแทนวิ ้มีกอผูํานาจแทนวิ ้มีกอ ํานาจแทนวิ ส จํายะแห่ โตะ จํ โตะ กั โตะ จํยา(SYS) จํ ดาโตะ (SYS) กัด (สมาชิ ผูส ้มีกจาหกิ อผูํานาจแทนวิ ส าหกิ ด(SYS) (SYS) อาหกิ ขนมเปี� งจระยอง 8าเซี นกัโตะ หน่ ว ยงาน/ • เอสซี จ ี (SCG) ชุ ม ชน: นาง จิ ร สุ ด า สุ ข เจริ ญ ) ชุ ม ชน: นาง จิ ร สุ ด า สุ ข เจริ ญ ) ชุ ม ชน: ชุ ม ชน: นาง ชุ ม ชน: นาง จิ ร สุ นาง ด จิ า ร สุ สุ ด จิ ข ร า เจริ สุ สุ ด ข ญ า เจริ ) สุ ข ญ เจริ ) ญ ) .จี (SCG) าหกิ จกล ชุม ชนแปรรู กล งญ อ.เมื จ. เอส.ซี.จี (SCG) ม ชน: นาง รารกล่ สุอ.เมื า้วยโป่ สุอขงอาหารว่ เจริ 3. าหกิ จ ชุวิมสป ชนแปรรู ป้วยมาบ กล 58่ ต.ห หมู ่ ต.ห ้วยโป่ งต.ห งระยอง จ. วิ3.สาหกิ 3. วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชนแปรรู จวิชุสมจ ชนแปรรู ชุ3. มป ชนแปรรู กล ้วยมาบ กลป้วยมาบ 58้วยมาบ หมู 58ป ่ ต.ห หมู 58่ ้วยมาบ ้วยโป่ ต.ห หมู ้วยโป่ ง ชุอ.เมื ้วยโป่ ง58 อ อ.เมื งระยอง ง่หมู อ.เมื อจิ่ งระยอง อดจ. งระยอง จ. จ.) เอส.ซี อ เอส.ซี .จีเอส.ซี (SCG) .จีเอส.ซี (SCG) .เอส.ซี จี (SCG) บริ างงระยอง 3. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปกล ้วยมาบ บริษัท58 หมู ต.หก้วยโป่ งออ.เมื องระยอง จ. .จี (SCG) ฯ พี เ ่ ลี ย ้ ง อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร 3. วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป กล ้วยมาบ 58 หมู ่ ต.ห ้วยโป่ ง อ.เมื อ งระยอง จ. เอส.ซี .กจีษ ชลู ด ระยอง โทรศั พ ท์ 0867107011 บริ ั ท เหล็กสยามย ชลู ด ระยอง โทรศั พ ท์ 0867107011 บริ ษ ั ท เหล็ สยามยามา ชลูดชลูดชลูด ระยอง ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั พท์โทรศั 0867107011 พท์ระยอง พ 0867107011 ท์ 0867107011 บริ ษั ท บริเหล็ ษบริ ัทก ษ สยามยามา ั ท บริ ก เหล็ สยามยามา กสยามยามา ชลูด โทรศั พท์ 0867107011 เหล็ ษัท เหล็ ก(SCG) สยามยามา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : ผลิ ต ภั ผลิ ณ ต ฑ์ ผลิ ภั ณ : ต ฑ์ ภั ณ : ฑ์ : ชลูด ระยอง โทรศั ท์ ัท เหล็ (สมาชิ ้มีอ นาจแทนวิ สจาหกิ จด โตะ จํก าสยามยามา กัด (SYS) (สมาชิ ผู ้มีส อาหกิ ํากนาจแทนวิ สจ าหกิ จํบริ าจํ(SYS) กัษ (สมาชิ (สมาชิ กผู(สมาชิ ้มีอ กําผู นาจแทนวิ ้มีกอผูํานาจแทนวิ ้มีกอ ํานาจแทนวิ ส าหกิ จํา0867107011 โตะ จํ โตะ ากั โตะ จํา(SYS) กัโตะ จํ ดาโตะ (SYS) กัด (สมาชิ ผูส้มีกจาหกิ อผูําพ นาจแทนวิ สจ าหกิ าด กั ด(SYS) (SYS) รสหวาน กล ้วยหอมแผ่ นเอสซี รสหวาน รสเค็ มจ กล ้วยหอมแผ่ น รสหวาน รสเค็ ม กล ้วยหอมแผ่ น รสหวาน รสเค็ ม ชุมชน: กล ชุม ้วยหอมแผ่ ชน: กล ้วยหอมแผ่ กล ้วยหอมแผ่ น น รสหวาน น รสหวาน รสเค็ รสเค็ ม รสเค็ ม ม หน่ ว ยงาน/ • จ ี (SCG) (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ ส าหกิ โตะ จํ า กั ด (SYS) ชน: นาง จิเจริ าเจริ ข)เจริญ) สุ)สุดข าญ สุ ญ ) สุญ นาง ชุมชน: นาง จิชุรมสุชน: นาง ดจิารสุสุ ด จิข รชุ าชน: เจริ สุมสุดจิ ข ญ ารนาง เจริ )สุขดญ )สุสุด ชุนาง มผลิ จิเจริ ารอื ข ตม ต ภัลีน ณ ฑ์ ชน ม ุ รเช่ ชน น � สุ ๆข เช่ นๆญ หมู) น หมู ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช ม ุ ชน อื น � ผลิ ภั ณ ฑ์ ช ม ุ ชน อื น � ๆ เช่ น หมู ผลิ ต ภั ผลิ ณ ต ฑ์ ผลิ ภั ช ณ ต ม ุ ฑ์ ชน ภั ณ ช ุ ฑ์ อื ชน น � ช ๆ ม ุ อื ชน เช่ น � ๆ อื เช่ หมู น � ๆ หมู น หมู บริ ษ ท ั ฯ พี เ ่ ย ้ ง ชุ ม ชน: นาง จิ ร สุ ด า เจริ อาหาร อาหาร.จี (SCG) อาหาร อาหาร 3. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปกล ้วยมาบ 58นหมู อ.เมือเช่ งระยองอาหาร จ. อาหาร เอส.ซี แผ่ เผื่ อต.ห ก-มัน้วยโป่ ฉาบงฯลฯ แผ่ น เผื อ ก-มั น ฉาบ ฯลฯ แผ่ น เผื อ ก-มั น ฉาบ ฯลฯ แผ่ น แผ่ เผื น อ แผ่ ก-มั เผื น อ น ก-มั เผื ฉาบ อ น ก-มั ฉาบ ฯลฯ น ฉาบ ฯลฯ ฯลฯ อาหาร ต:ภัณ : ฑ์ : พท์ 0867107011 ผลิ ตภัฑ์ณ ผลิ ภัณ ฑ์ ผลิตภั ผลิ ณตฑ์ ผลิ ภัณ :ตฑ์ ภัณ :ตฑ์ :ผลิ ชลูด ระยอง โทรศั บริษัท เหล็กสยามยา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : กล ้วยหอมแผ่ น รสหวาน รสเค็ ม รสหวาน รสหวาน กล ้วยหอมแผ่ กล ้วยหอมแผ่ น้มีรสหวาน กล ้วยหอมแผ่ กล ้วยหอมแผ่ น รสหวาน น นกล รสหวาน รสเค็ มํานาจแทนวิ รสเค็ ม น รสเค็ ม (สมาชิ ก ผู้วยหอมแผ่ อรสเค็ สม าหกิจรสเค็ม โตะ จํากัด (SYS) กล ้วยหอมแผ่ นอ.บ รสหวาน รสเค็ ม-หมู บริษัท ดาวเคมิคอลประเทศ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช ม ุ ชน อื น � ๆ เช่ น หมู 4. วิสาหกิจชุมชนแตนบาติ หมู ่ 5 ต.บ ้านฉาง ้านฉาง จ. น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช ม ุ ชน อื น � ๆ เช่ น ผลิ ผลิ ภั ณ ฑ์ ช ม ุ ชน อื น � ๆ เช่ น หมู ผลิ กตภั ผลิ ณตฑ์ ภัชณต ม ุ ฑ์ ชน ภั155 ณ ชตม ุ ฑ์ อืชุ ชน �ช ๆ ม ุ อื ชน เช่ น � น ๆ อื เช่ หมู น � ๆ น เช่ หมู น หมู มชน: นาง จิรสุดา สุขเจริญ) าหกิ กต.บ 155 หมู 5พน ต.บ ้านฉาง บริ ษ ั ทคอลประเทศ ดาวเคมิคอลประเ 4. าหกิ ชุวิมกสชนแตนบาติ ก 155 ่ 5อ.บ ต.บ อ.บ ้านฉาง -บริ ษ ั ท- คดาวเคมิ นต่ อ.บ เผื อฑ์ ก-มั ฉาบ ฯลฯ ผลิ ภั ณ ชอ้านฉาง ม ุนก-มั ชน น �บริ ๆจ.ษเช่ นดาวเคมิ วิ4.สาหกิ 4. วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชนแตนบาติ จวิชุสมจ ชนแตนบาติ ชุ4. มจ ชนแตนบาติ ก จชุกมชนแตนบาติ 155 หมู 5น หมู ่ 155 5 หมู ้านฉาง ต.บ ่ 5หมู ต.บ ้านฉาง ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. ้านฉาง จ. - จ. -ฉาบ -ั ท บริ ษหมู ั ทจ. ษ ดาวเคมิ ับริ ทคไทย ดาวเคมิ อลประเทศ คดอลประเทศ ระยอง โทรศั 0861406699 จํอลประเทศ ากั (DOW) แผ่ เผื นอือ.บ ฯลฯ น เผืแผ่ อ้านฉาง นท์ ฉาบ ฯลฯ แผ่่ 155 แผ่ เผื น อแผ่ ก-มั เผื นอแผ่ น ก-มั เผืฉาบ อ้านฉาง น ก-มั ฉาบ ฯลฯ นก-มั ฉาบ ฯลฯ ฯลฯ อาหาร ระยอง โทรศั ท์ น0861406699 จํากัด ระยอง พ ท์้มีน 0861406699 จํั ท า(DOW) กัอิดไทย อพ ก-มั ฉาบ ฯลฯ ระยอง ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั พ ท์โทรศั 0861406699 พท์โทรศั พ 0861406699 ท์ 0861406699 ไทย จํากัไทย ดจํา-(DOW) กัไทย ด จําบริ (DOW) กัด (สมาชิ กแผ่ ผู อําเผื นาจแทนวิ ส าหกิ จ ไทย ษ น(DOW) โดรามา เวน(DOW) ผลิตภัณฑ์ : (สมาชิ ผูรส ้มีนัอาหกิ าหกิ จ-น อินเวน โดรามา เวน ชุผู ชน: นางสุ น นทะนะ) เจอร์ สอิน จํบริ าโดรามา กัษ ดั ท (มหาชน) (สมาชิ ้มีส อาหกิ ํานาจแทนวิ สจัจ าหกิ ษ ั ท-เวน (สมาชิ (สมาชิ กผู(สมาชิ ้มีอ กําผู นาจแทนวิ ้มีกอผูํานาจแทนวิ ้มีกอ ํามนาจแทนวิ สกจาหกิ จําท์นาจแทนวิ - จ บริ - สษ -ั ท บริอิ ษ บริ ั ทโดรามา ษ อิับริ น ทโดรามา อิน โดรามา เวน เวน หมูกล ้วยหอมแผ่ น รสหวาน รสเค็ ม ษบริ 4. วิสาหกิจชุมชนแตนบาติ กชน: 5นางสุ ต.บ ้านฉาง ้านฉาง ัน ทดโดรามา ดาวเคมิ อิ เอ ชุ นั นท์ จัอ.บ นเจอร์ ทะนะ) เจอร์ ส จําโพลี กัคดอลประเทศ (มหาชน) ชุ ชน: นางสุ รนัทะนะ) ท์ทะนะ) จันรทะนะ) กั (มหาชน) ชุมชน: ชุมชน: นางสุ ชุม นางสุ รนัมน นางสุ ท์ รนัจัน นร155 ท์ ทะนะ) นัมน จัชน: น ท์ จัน่ น เจอร์ ส จํจ. าเจอร์ ส กัด-จํเจอร์ า(มหาชน) สกั-บริ ด จําส(มหาชน) กัั ท ดจําษ (มหาชน) 4. าหกิ จชุกมชนแตนบาติ กต.บ 155 หมู ่ อ.บ 5พณ ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. บริ ษ ัท ดาวเคมิ คอล 4. าหกิ ชุวิมกสชนแตนบาติ ก 155 155 หมู ่ 5ภั ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ.ษเช่ -บริ บริ ษ ั ท-อิค ดาวเคมิ คาอลประเทศ ผลิ ต ภั ฑ์ ช ม ุ ชน อื น � ๆ น หมู วิ4.สาหกิ 4. วิสจาหกิ ชุ วิส มาหกิ ชนแตนบาติ จวิชุสมจ ชนแตนบาติ ชุ4. มจ ชนแตนบาติ ก 155 หมู ่ 155 5 หมู ่ 5 หมู ้านฉาง ต.บ ่ 5 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. ้านฉาง จ. จ. บริ ั ท บริ ดาวเคมิ ษ ั ท ษ ดาวเคมิ ั ท ค ดาวเคมิ อลประเทศ อลประเทศ ค อลประเทศ ระยอง โทรศั ท์ 0861406699 ไทย จํ า กั ด (DOW) ผลิ ต ณ ฑ์ : สเตอร์ น ดั ส ตรี ส � ์ จํ กั ด บริ ษ ั ท อิ น โดรามา โพลีเ วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก 155 หมู่ 5 ต.บ ้านฉาง ้านฉาง บริเโดรามา ดาวเคมิ ษ ั ทโพลี อิน โพลี - อ.บ บริ - ษ -ั ท บริอิ ษ-น บริ ั ทจ. โดรามา ษ อิับริ น ทโดรามา อิ-น โดรามา โพลี อษัทโพลี เอ เอ เคออลประเท ระยอง โทรศั พท์ 0861406699 ไทย จํากัด (DOW)
0805645943 (สมาชิกTel: ผู ้มีอ087าํ นาจแทน line: abantavin, วิสาหกิ จ ชุ ม ชน: นาง ลาวรรณ์ ยั�งยืน) 5969334
อาหาร
ผลิตภัณฑ์ 2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ ้านทิวลิ 28/111 หมู:่ ต.มาบตาพุด อ.เมือง เอส.ซี.จี (SCG) for ขนมเปี� ยะแห่ งระยอง Method Sustainable Community-Business ปชุมชนเนินพยอม ระยอง จ.ระยอง โทรศั พท์8 เซียนDevelopment | 41 บริการกล่อ(สมาชิ งอาหารว่ งาํ นาจแทน 0805645943 กผู ้มีาอ อาหาร วิสาหกิจชุมชน: นาง ลาวรรณ์ ยั�งยืน)
ยู่ ฑ์ 58 ผลิตทีภั่อณ : ต. ห้วยโป่ง อ. เมืองระยอง จ. ระยองงโทรศั พท์องระยอง 08 6710 3. วิส3. าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป กล ้วยมาบ 58 หมู ่ ต.ห ้วยโป่ อ.เมื จ. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปกล้วย ขนมเปี� ยะแห่ ระยอง 8 เซี ยน7011 ชลูด มาบชลูด โทรศั 0867107011 ผู้มีอำาระยอง นาจแทน บริก ารกล่พอท์ รงอาหารว่ สุดา สุขเจริญาง วิสาหกิ จชุมชนกผู ้มีนางจิ (สมาชิ อํานาจแทนวิสาหกิจ ชุมชน: นาง จิรสุดา สุขเจริญ)
ผลิตภัณฑ์
3. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปกล ้วยมาบ ชลูด
4. วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก
4. วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก
4. วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก
• กล้วยหอมแผ่น รสหวาน รสเค็ม • ผลิตภัณฑ์ชุมชน อื่นๆ เช่น หมูแผ่น ผลิต ภัณ ฑ์ :้วยโป่ ง อ.เมืองระยอง จ. 58 หมู ่ ต.ห เผือก-มัน ฉาบ ฯลฯ กลโทรศั ้วยหอมแผ่ น รสหวาน รสเค็ม ระยอง พท์ 0867107011 ผลิกตผูภั้มีณ ชม ุ ชน อืน � สๆาหกิ เช่นจ หมู (สมาชิ อําฑ์นาจแทนวิ แผ่ น เผื อ ก-มั น ฉาบ ฯลฯ ชุมชน: นาง จิรสุดา สุขเจริญ)
หน่ วยงาน/ ผลิ ตภัณฑ์ •: เอสซีจี (SCG) บริษัท155 ฯ พี่เลีกล ้ยง ้วยหอมแผ่ บริษ้านฉาง ัท นเหล็รสหวาน กสยามยามาโตะ หมู ่ 5 •ต.บ อ.บ ้านฉาง รสเค็จำจ. มากัด (SYS)
อาหาร เอส.ซี.จี (SCG) บริษัท เหล็กสยามยามา โตะ จํากัด (SYS) อาหาร
บริษัท ดาวเคมิคอลประ ไทย จํากัด (DOW) - บริษัท อินโดรามา เวน เจอร์ส จํากัด (มหาชน) ที่อยู่ 155 หมู่ 5 ต. บ้านฉาง อ. บ้านฉาง - บริษัท อินโดรามา โพล จ. ระยอง โทรศัพท์ 08 6140 6699 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : สเตอร์ อินดัสตรี � อลประ ์ จํากัด หมู่ 5 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง จ. - บริ ษัท ดาวเคมิ คส ผู้มีอำา155 นาจแทน ผู ้ผลิ ตนางสุ และจํ หน่ ผลิตภัณฑ์มด ั (มหาชน) ท์ จัานยทะนะ ระยอง โทรศั พรท์นัาน0861406699 ไทย จํากัด (DOW) วิสาหกิ จชุมยชน้อม บาติ ก คุ ณ ภาพสู ง จั ด ส่ ง ทั ง � บริ ษ ั ท อินโดรามา เวน ปิ โต (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ าท์งประเทศ เคม ส จําจํกัาดกัด (มหาชน) ผลิ ภัณในไทยและต่ ฑ์ นางสุ • ผูรผ้ นัลินตและจำ าย ผลิตภัณฑ์มดั ย้อม บาติก เจอร์ ชุมตชน: จัานหน่ ทะนะ) คุณภาพสูง จัดส่งทัง้ ในไทยและต่างประเทศ - บริษัท อินโดรามา โพล มัดย ้อม-เครื อ � ตรี งแต่ ผลิตภัณฑ์ : สเตอร์ อินดัส ส � ์งจํกาย ากัด ผู ้ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์มด ั (มหาชน) ย ้อม บาติก คุณภาพสูง จัดส่ งทั�ง - บริษัท อินโดรามา ปิ โต ในไทยและต่ งประเทศ หน่วยงาน/ - บริษทั 1าดาวเคมิ Page of 6 คอลประเทศไทย จำากัด (DOW) เคม จํากัด พช ท์ม ระยอง ผลิโทรศั ตภัณฑ์ ุ 0861406699 ชน อืน � ๆ เช่น หมู (สมาชิ ้มีออําก-มั นาจแทนวิ าหกิจ แผ่กนผูเผื น ฉาบสฯลฯ ชุมชน: นางสุรนั นท์ จันทะนะ)
บริษัทฯ พี่เลี้ยง
- บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์ส จำากัด (มหาชน) � งแต่งกาย - บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ มัดย ้อม-เครือ จำากัด (มหาชน) - บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำากัด
195/3 1หมูof ่ 7 ต.6 พลา อ. บ้านฉาง ที่อยู่ Page จ. ระยอง โทรศัพท์ 08 5092 3986 5. วิสาหกิจชุมชนเกษตร นาจแทนหมู่ 7 ต.พลา อ.บ ้านฉาง จ. คลองทราย 5. วิสาหกิ จชุมชนเกษตรคลองทรายผู้มีอำา195/3 นางบังเอิญ พาที วิสาหกิ จชุมชนโทรศั ระยอง พท์ 0850923986
-
(สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ ผลิ ตภัณฑ์ • จำาหน่ายก้อนเชื้อเห็ด ชุมชน: นางบังเอิญ พาที) • จำาหน่ายเห็ดสด • อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ด
ผลิตภัณฑ์ : จําหน่ายก ้อนเชือ � เห็ด จําหน่ายเห็ดสด อบรมให ้ความรู ้เกีย � วกับการเพาะ หน่วยงาน/ บริ ษ ท ั บี แ อลซี พี เพาเวอร์ จำากัด (BLCP) เห็ด
6. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลไม ้ ชุมชนบ ้านพลง
เอส.ซี.จี (SCG) บริษัท เหล็กสยามยาม โตะ จํากัด (SYS)
บริษัทฯ พี่เลี้ยง
- กลุ่มบริษัท โกลว์ (Glow Group)
25/9 หมู่ ต.มาบตาพุด อ.เมืองระยอง จ.ระยอง โทรศัพท์ 0899387393 (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ ชุมชน: นางวราภรณ์ สุขชัยศรี) ผลิตภัณฑ์ : ผลิตภัณฑ์แปรรูปผลไม ้ท ้องถิน � ตามฤดูกาล เช่น มะขามจี� ดจ๊าด
-
บริษัท บีแอลซีพี เพาเว จํากัด (BLCP) กลุม ่ บริษัท โกลว์ (Glo Group) อาหาร
บริษัทฯ กรุงเทพ ซินธิต จํากัด (BST) บริษัท ลินเด ้ (ประเทศ ไทย) จํากัด (มหาชน) (Linde) บริษัท แอร์ ลิควิด (ประ ไทย) จํากัด (ALT)
5. วิสาหกิจชุมชนเกษตรคลองทรายผลิตภั195/3 - บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ ณฑ์ : หมู่ 7 ต.พลา อ.บ ้านฉาง จ. อาหาร จํระยอง าหน่ายกโทรศั ้อนเชือ �พ เห็ท์ ด 0850923986 จํากัด (BLCP) จําหน่ายเห็ดสด (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ - กลุม ่ บริษัท โกลว์ (Glow อบรมให ้ความรู ้เกีย � วกับการเพาะ 5. วิสาหกิจชุมชนเกษตรคลองทราย เห็ 195/3 ่ 7 ต.พลา อ.บ)้านฉาง จ. - Group) บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ ชุดมชน: หมู นางบั งเอิญ พาที ด อ. เมืองระยอง ต. มาบตาพุ ที่อยูโทรศั ่ 25/9พท์ ระยอง 0850923986 จํากัด (BLCP) จ. ระยอง โทรศั พ ท์ 08 9938 7393 6. วิ สาหกิ มชนแปรรู ปผลไม้้ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ ส าหกิ จ กลุ ่ ธิบริ ษ ั ท โกลว์ (Glow 25/9(สมาชิ หมู ่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมื อ งระยอง บริ ษ ั ท ฯ กรุ ง เทพ ซินม ตก ิ ส์ 6. วิ สาหกิ จชุจมชุชนแปรรู ปผลไม ผลิตภัณฑ์ : อาหาร ผูจ.ระยอง ้มีอำาชุ นาจแทน จํ า กั ด (BST) โทรศั พ ท์ 0899387393 ชุ ้านพลง มชุชนบ มชนบ้ านพลง ม ชน: นางบั ง เอิ ญ พาที ) Group) จําหน่านางวราภรณ์ ยก ้อนเชือ � เห็ด อํานาจแทนวิสาหกิจสุขชัยศรี - บริษัท ลินเด ้ (ประเทศ วิ(สมาชิ สาหกิ กจชุผูม้มีจํชน า หน่ า ยเห็ ด สด ไทย) จํากัด (มหาชน) ชุมชน: นางวราภรณ์ สุขชัยศรี) ผลิ ภัฑ์ณฑ์• : ผลิ อาหาร ตภัตณ อบรมให ้ความรู ย � วกั บการเพาะ ผลิ ตภัณฑ์้เกี แปรรู ปผลไม้ ท้องถิ(Linde) ่น ตามฤดูกาล จํ า หน่ า ยก ้อนเชื อ � เห็ ด - บริ ผลิตภัณฑ์ เห็ : ด เช่น มะขามจี๊ดจ๊าด มะยมแช่ อิ่มษัทฯลฯแอร์ ลิควิด (ประเทศ ไทย) จํากัด (ALT) ผลิ แปรรู ปผลไม ้ท ้องถิน � ตภัจํณาฑ์หน่ ายเห็ ดสด ตามฤดูกาล เช่น มะขามจี� ดจ๊าด 25/9 ้ความรู � อ.เมื วกับ-การเพาะ หมู ่ ต.มาบตาพุ ดย องระยอง - พี เพาเวอร์ บริษัทฯ กรุงเทพ ซินธิตก ิ ส์ 6. 5.วิสาหกิ จจชุชุมมชนแปรรู ปผลไม ้ 195/3มะยมแช่ วิสาหกิ ชนเกษตรคลองทราย หมู่ 7อบรมให ต.พลา อ.บ ้านฉาง้เกี จ. บริษัท บีแอลซี อาหาร อม ิ� ฯลฯ ระยองจ.ระยอง โทรศัเห็ พท์ จํากัด (BLCP) ด0850923986 จํากัด (BST) โทรศัพท์ 0899387393 ชุมชนบ ้านพลง 5. วิสาหกิจจชุ 195/3 ษ พี เพาเวอร์ 9/28 กหมู ต.มาบข่ าอ.บ อ.นิ ค มพัจฒจ. นา จ. -- - บริ 7. ชุมมชนเกษตรคลองทราย ชนมาบข่ามาบใน บริ ษบี ัท นโกลว์ ไิ ทย จํากัด (สมาชิ ผู ้มี่ 7 อําต.พลา นาจแทนวิ ส้านฉาง าหกิ ม ่ ัท บริ ษแั ทวีอลซี (Glow (สมาชิ กผู ้มีอํานาจแทนวิ สาหกิจจํกลุ ระยอง พงพ ท์ 0850923986 ากั ด (BLCP)-(VNT)บริษัท ลินเด ้ (ประเทศ โทรศั 0824402237 (มหาชน) ชุระยอง มชน:โทรศั นางบั เอิท์ ญ พาที) Group) ดง(มหาชน) ชุกผูมผู้มีชน: นางวราภรณ์ สุ ชัยศรี ) กลุม่ บริษัท โกลว์ 25/9 ่ ต.มาบตาพุ ดขอ.เมื องระยอง - ไทย) บริษัทจํฯากักรุ เทพ ซินธิตก ิ ส์ 6. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลไม ้ (สมาชิ อ้มีําอหมู นาจแทนวิ (สมาชิ ํานาจแทนวิ สาหกิ หน่กนางบั วนางจั ยงาน/ -พ็ ญบริส)นนทชั ษาหกิ ัทฯ จกรุยจ)งเทพ ซิน-ธิตงานหั ิกGroup) ส์ จำาตกัถกรรม-ดอกไม ด (BST) (Glow ชุ ชน: ญโทรศั (Linde) ชุมม นทร์ เพาที ้ กัด ษ(BST) ฐ์ จําประดิ พท์ 0899387393 ชุมชนบ ้านพลง ผลิ ตชน: ภัจ.ระยอง ณฑ์ : งเอิ อาหาร บริษัทผลิ ฯ พี ่เลีภั้ยณ ง้อนเชื - บริษทั ลินเด้ (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) จํา(สมาชิ หน่ต ายก -- บริ ลิค วิด (ประเทศ ฑ์้มีอ� :อเห็ําดนาจแทนวิสาหกิจ บริษ ษั ท ั ท แอร์ ลินเด ้ (ประเทศ กผู ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : อาหาร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : จําหน่ายเห็ดสด (Linde) ไทย) จํจําากักัดด (ALT) หน่ ผลิ้อนเชื ต ภัอ�ณเห็ฑ์ แปรรูปสุผลไม ้ท ้องถิ น � ไทย) (มหาชน) ชุ มชน: นางวราภรณ์ ข ชั ย ศรี ) จํอบรมให างานหั ายก ด ตถศิ ลป์-้เกี งานฝี มืท ทีท � ําลิจาก ้ความรู ย � บริ วกัษบ ั อการเพาะ แอร์ ควิด (ประเทศไทย) จำากัด (ALT) ตามฤดู กาล เช่ตนสวยงาม มะขามจี� ดจ๊าด จํเห็ าหน่ ายเห็ ดม สด (Linde) ด้าใยบั ผ ว ที � ค ี วามประณี อบรมให ้เกี:ย � วกั อาหาร อม ิ� ต.บการเพาะ ฯลฯา อ. นิคมพัฒนา เฉพาะตั วยูณ - บริษัท แอร์ ลิควิด (ประเทศ ผลิตทีมะยมแช่ ภั่อ้ความรู ฑ์9/28 มาบข่ ่ ด ่ ต.มาบตาพุด อ.เมืองระยอง 25/9เห็หมู -2440 บริ2237 ษน ซิน ธิตก ิ ส์ จํากัด (ALT) 6. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลไม ้ ไทย) หมู ตนภัพระ ณระยอง ฑ์ แปรรู ปพผลไม ้ท- ้องถิ � ั ทฯ กรุงเทพ จ. ท์ 08 8. วิ สาหกิ จชุจมชุชนส่ งเสริมอาชี พ 24/29 ่ ผลิ ต.เนิ อ.เมื อโทรศั งระยอง สมาคมเพื อ � นชุม ชน(CPA) 7. วิ ส าหกิ ม ชนมาบข่ า มาบใน 9/28 หมู า อ.นิคมพัฒนา จ.(BST) - บริษัท วีนไิ ทย จํากัด 7. วิสาหกิ จชุ้านพลง มชนมาบข่ามาบใน จ.ระยอง จํากัด โทรศั พท์่ ต.มาบข่ 0899387393 ชุมชนบ ชนเกาะกก โทรศั พท์ ด 0816158766 ษัท บางกอกอิ เทรี กพ าล เช่ จ๊บริ าัด 25/9 อ.เมื อ0824402237 งระยอง -- - ดบริ ษ งเทพ ซิ(มหาชน) นนธิดั ตส ก ิ ส์ 6. ชุ วิสมาหกิ จชุมชนแปรรูปผลไม ้ ผูจ.ระยอง ้มีอำาหมู นาจแทน บริ ษ ัท ทฯลิกรุ นเด ้ (ประเทศ (สมาชิ กผู่ ต.มาบตาพุ ้มีอตามฤดู ํานาจแทนวิ สท์ าหกิ จน มะขามจี� ระยอง โทรศั (VNT) นางจั น ทร์ เ พ็ ญ นนทชั ย (สมาชิกโทรศั ผู ้มีมะยมแช่ อําพนาจแทนวิ ส าหกิ จ ยลแก๊ ส จํ า กั ด (BIG) จํ า กั ด (BST) จ.ระยอง ท์ 0899387393 ชุมชนบ ้านพลง อาหาร ม ิ� ยศรี ฯลฯ ชุวิมสชน: นางวราภรณ์ ) าหกิ(สมาชิ จชุมชนกผู ้มีอสุขําอชันาจแทนวิ สาหกิจไทย) จํากัด (มหาชน)
7. วิสาหกิจชุมชนมาบข่ามาบใน
7. วิสาหกิจชุมชนมาบข่ามาบใน 7. วิสาหกิจชุมชนมาบข่ามาบใน
8. วิสาหกิจชุมชนส่ งเสริมอาชีพ ชุมชนเกาะกก
8. วิสาหกิจชุมชนส่ งเสริมอาชีพ ชุมชนเกาะกก 8. 9. 8.
วิสาหกิจชุมชนส่ งเสริมอาชีพ ชุสมาหกิ ชนเกาะกก วิ จชุมชนกลุ ลุฟมฟาล่ 8. วิ สาหกิ มชนส่งเสริ ง่มเสริ อาชีพพา วิ สาหกิ จชุจมชุชนส่ มอาชี ชุมชุชนเกาะกก มชนเกาะกก
9. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มลุฟฟาล่า 9. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มลุฟฟาล่า
9. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มลุฟฟาล่า
จชุชนกลุ มชนกลุ่มม่ ลุ ลุฟฟฟาล่ าา 9. วิส9. วิ าหกิสาหกิ จชุม ฟาล่
ชุมชน: าราญ ทิพ บรรพต) บริ ทนผาแดงอิ นดัสทรี - - บริ ษัทษัลิ เด ้ (ประเทศ (สมาชิ กผูนายสํ ้มีอํานาจแทนวิ สย์ าหกิ จ (Linde) จําจ. กัจํดากั(มหาชน) (PDI) ชุ ม ชน: นางจั น ทร์ เ พ็ ญ นนทชั ย ) งานหั ตษ ถกรรม-ดอกไม ้ ด ษฐ์ ไทย) ด (มหาชน) ชุ ม ชน: นางวราภรณ์ สุ ข ชั ย ศรี ) 9/28 หมู ่ ต.มาบข่ า อ.นิ ค มพั ฒ นา บริ ั ท วีนไิ ทย จําประดิ กั ตภั:ณฑ์ • งานหัตถศิลป์ งานฝีม- ือที่ทบริำาจากผ้ าใยบัลิวควิด (ประเทศ ษัท แอร์ ผลิตภัผลิ ณฑ์ ภัณ (Linde) ไทย) จํ า กั ด (ALT) ผลิต ผลิ ตภัฑ์ณ:ฑ์แโทรศั ปรรูปผลไม ้ท ้องถิ น � ระยอง พ ท์ 0824402237 (มหาชน) (VNT) ีความประณี ตสวยงามเฉพาะตั ว ลิควิด (ประเทศ ตภั RICE ผลิ ตภัทีณ่มฑ์ ข ้าวไรซ์ - บริษัท แอร์อาหาร ผลิ ณฑ์ :กME ตามฤดู เช่ ดจ๊าด ผลิตรสี� ภัาล ณ ฑ์น้มี:อมะขามจี� (สมาชิ กปรรู ผู ํานาจแทนวิ สาหกิจไทย) จํากัด (ALT) เบอร์ แนคบาร์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ป ผลไม ้ท ้องถิ น � มะยมแช่ อม ิ� ฯลฯ มชน: ต ถศิ ป์เดนพ็ งานฝี มือทีท � ยํา)จาก อาหารงานหัตถกรรม-ดอกไมประดิ ตามฤดู หอมเฮิ ราล บ ์ นางจั ลู ประคบสมุ ชุ นล ทร์ ญ ้ ษฐ์ กงานหั เช่กน มะขามจี� จ๊ไพร าด นนทชั 9/28 หมู ่ ต.มาบข่ า อ.นิ ค มพั ฒ นา จ. บริษัท วีอาหาร นไิ ทย จํากัด มะยมแช่ ข ้าวสารแพ็ คถุงว ทีม ผอ้าใยบั � ค ี วามประณีต สวยงาม ม ิ� ฯลฯ ระยอง พท์ย0824402237 (มหาชน) (VNT) ศูโทรศั นย์การเรี นรู ้วิสวาหกิจชุมชน เฉพาะตั 9/28 หมู ่ ต.มาบข่ า อ.นิ ฒจนา จ. - บริษัท วีนไิ ทย จํากัด ผลิ ภัําอาชี ณฑ์ : คสมพั (สมาชิ ้มีตอม นาจแทนวิ าหกิ ส่กงผู เสริ พชุมชนเกาะกก ระยอง โทรศั พ 0824402237 (VNT) ้ ชุมชน: นางจังานหั นท์ ทร์ พ็ต นนทชั ) อ.เมื งานหั ตถกรรม-ดอกไม ษฐ์ 24/29 ถศิ ลนปพระ ท � (มหาชน) ําจาก หมู ต.เนิ งระยอง สมาคมเพื อ � นชุมชน(CPA) เทศบาลเมื อเงมาบตาพุ -่ ญ บริ ัท ์ ดวียจนงานฝี ิไทย จำมืากัอดอที (มหาชน) (VNT) - ประดิ หน่ (สมาชิ กวผูยงาน/ ้มีอํานาจแทนวิ สษาหกิ ผ ้าใยบั ว ที ม � ค ี วามประณี ต สวยงาม ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ชุ ม ชนเชิ ง นิ เ วศ จ.ระยอง โทรศั พ ท์ 0816158766 บริ ษ ั ท บางกอกอิ นดัสเทรี ชุ ม ชน: นางจั น ทร์ เ พ็ ญ นนทชั ย ) งานหั ต ถกรรม-ดอกไม ประดิ ้ ษ ฐ์ บริตษภััทตณฯ พี ผลิ ฑ์ ่เ:ลี้ยงจังหวัดระยอง ้นแบบ เฉพาะตั (สมาชิ กปผู์ งานฝี ้มีอวํานาจแทนวิ ยลแก๊ส จํากัด (BIG) งานหั ตถศิ ล มือทีท � ําจาก สาหกิจ ผลิตภั ฑ์ :ว ทีม ผณ ้าใยบั � นายสํ ค ี วามประณี สวยงาม ชุ มชน: าราญ ทิพย์บรรพต) -- บริ ษัท ผาแดงอิ ดัสทรี 24/29 หมู ่ ต.เนิ นตพระ สมาคมเพื อ � นชุมนชน(CPA) งานหั ตถศิ � ําจากอ.เมืองระยอง เฉพาะตั ว ลป์ งานฝี มือทีท จํ า กั ด (มหาชน) (PDI) จ.ระยอง โทรศั พ ท์ 0816158766 บริ ษ ั ท บางกอกอิ นดัสเทรี ผ ้าใยบัว ทีม � ค ี วามประณีต สวยงาม 24/29 หมูต ่ ที ต.เนิ นฑ์ พระ อ.เมืหมู องระยอง -อ. เมืสมาคมเพื อ � นชุมชน(CPA) 24/29 ่ ต. เนิ น พระ อ งระยอง อ ่ ยู ่ ผลิ ภั ณ : เฉพาะตั ว (สมาชิ ออ.เมื ํานาจแทนวิ สาหกิ จ บริ ส จํากัด (BIG) จ.ระยอง โทรศัก พผู ท์ด้มี 0816158766 -1615 ษัทษับางกอกอิ นดัยลแก๊ สเทรี เคมิ 4 หมู่ ต.มาบตาพุ องระยอง จ.08 - บริ8766 ท พีทท ี ี โกลบอล จ.ME ระยอง โทรศั พพท์ฑ์ RICE ตจภัทิณ อาหาร นดัสทรี 24/29 อ.เมื องระยอง -้าวไรซ์ สมาคมเพื � กันชุ ชน(CPA) ชุกหมู ม ชน: าสผลิ ราญ ย์ข บรรพต) บริษัท ผาแดงอิ (สมาชิ ผู ้มี่ ต.เนิ อํานาจแทนวิ าหกิ ยลแก๊ (BIG) ระยอง โทรศั พนนายสํ ท์พระ 038683585 คอลส จํจําอ ด-ม(มหาชน) (PTT ้(สมาชิ มชน: ีอำานาจแทน จ.ระยอง โทรศั พ ท์ร0816158766 -- บริ ษ ั ัท บางกอกอิ นดัดั สทรี เทรี เบอร์ ส � ี แนคบาร์ ชุผู ม นายสํ า ราญ ทิ พ ย์ บ รรพต) บริ ษ ท ผาแดงอิ น ส จํากัด (มหาชน) (PDI) กผู ้มีอํานาจแทนวิ ส าหกิทิจพย์บรรพต GC) นายสำสาาหกิ ราญ (สมาชิ ํานาจแทนวิ จ ยลแก๊ จํากัด (BIG) วิชุสมาหกิ ชุ้มีตมอหอมเฮิ ชน จํากัด ส(มหาชน) (PDI) กจผูนางแอ๋ ์ วาจา) ลูกประคบสมุ นไพร ชน: วฑ์ สนิ:รทบ ผลิ ภั ณ ชุ ม ชน: นายสํ า ราญ ทิ พ ย์ บ รรพต) บริ ษ ั ท ผาแดงอิ น ดั ส ทรี ผลิตภั ณฑ์ :ข ้าวสารแพ็ คถุง เวชสํ าอางค์ จําเกั ด (มหาชน) (PDI) RICE ME ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้าวไรซ์ อาหาร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ • RICE ME ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข า ้ วไรซ์ บอร์ ร ส ่ ี แนคบาร์ ผลิต RICE ME ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ้าวไรซ์ อาหาร ภัณฑ์ ศู : นย์การเรียนรู ้วิสาหกิจชุมชน ผลิตภั ณฑ์ ส ี� : เบอร์ แนคบาร์ ร•ส ี� แนคบาร์ หอมเฮิ�ใรช์บ้วัตลูถุกดประคบสมุ นไพร เบอร์ ผลิตรภั ณ ฑ์ความงามที บ ิ RICE ME ต ภัมณ ฑ์ข ้าวไรซ์ อาหาร ส่ ชุ มกชนเกาะกก หอมเฮิ บ ์ งผลิ ลูเสริ ประคบสมุ ไพร รสี� รแนคบาร์ หอมเฮิ บ ลูพ กนดประคบสมุ ในการผลิ ตกจากสารสกั ธรรมชาติ • รอาชี ข้์ าวสารแพ็ ถุง นไพร เบอร์ ขอาทิ ้าวสารแพ็ ค ถุ ง เทศบาลเมื ด จชุมชนส่งเสริมอาชีพ มะขาม ผั• กบุ มัยงนรู คุด ย์การเรี ถุมไพร งชน ศูน้งทะเล ย์อจคกชุงมาบตาพุ ว้ สิ าหกิ หอมเฮิ รข บ ์ ้าวสารแพ็ ลู กประคบสมุ นารเรี ศูใบบั น ยและมะหาด นรู ้วิสาหกิ วบก ผสมผสาน ้าวสารแพ็ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ชุ ม ชนเชิ วศ ข ค ถุ ง ชุภาพ มย ชนเกาะกก เทศบาลเมื องมาบตาพุด นย์ ารเรี นรู ้วิสาหกิ จงชุนิมเชน ส่งเสริมศู อาชี พก ชุม ชนเกาะกก กันบย์กลี เตซอรี นคุ ้นแบบ จั ง ระยอง ศู การเรี ยอนรู ้วิ•สณาหกิ จหวั ชุารเรี มด ชน เทศบาลเมื งมาบตาพุ ด ศู น ย์ ก ย นรู ช ้ ม ุ ชนเชิ ง นิ เ วศต้ ส่งเสริ มอาชี พชุมชนเกาะกก นแบบ จ. ระยอง Page 2 of 6 อาชี ส่ ศูงนเสริ ย์กม ารเรี ยพ นรูชุ้ชุมมชนเกาะกก ชนเชิงนิเวศ เทศบาลเมื อดงมาบตาพุ เทศบาลเมื งมาบตาพุ หน่้นแบบ วยงาน/ สมาคมเพื ่อนชุมชน ด(CPA) ต จังอหวั ด-ระยอง ศูน ย์การเรี ยนรู ้ชุารเรี มชนเชิ งนิเวศ ศู น ย์ ก ย นรู ้ชุ มชนเชิ นิเยวศ บริษตัท้นแบบ ฯ พี่เลีจั้ยงงหวัด-ระยอง บริษทั บางกอกอิ นดัสงเทรี ลแก๊ส จำากัด (BIG) ต ้นแบบ จังหวัดระยอง
- บริษทั ผาแดงอินดัสทรี จำากัด (มหาชน) (PDI)
4 หมู่ ต.มาบตาพุด อ.เมืองระยอง จ. - บริษัท พีทท ี ี โกลบอล เคมิ 4 หมู่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมื งระยอง จ. - บริษัท พีทท ี ี โกลบอล ระยอง โทรศั พอท์ 038683585 คอลเคมิจํากัด (มหาชน) (PTT ระยอง โทรศั พท์ 038683585 คอล จํากัด (มหาชน) (PTT (สมาชิ ําอนาจแทนวิ าหกิ GC)เคมิ มาบตาพุ งระยอง 4อหมู ต. ยูก่ ผูด ้มีอ.เมื 4(สมาชิ หมู่ ต.มาบตาพุ -เมือจ บริ ษัท พีทท ี ี โกลบอล กผู ้มีที อ่อ ํานาจแทนวิ ส่ งระยอง าหกิ จ จ. ดสอ. GC) ระยอง โทรศั พท์ 038683585 คอล จํากัด (มหาชน) (PTT มชน: ว สนิ ทวาจา) จ. ระยอง โทรศั พ ท์ 0 3868 3585 ชุมชน:ชุ นางแอ๋ ว นางแอ๋ สนิ ทวาจา) ต.มาบตาพุ ดจ อ.เมืองระยอง - บริษัท พีทท ี ี โกลบอล เคมิ (สมาชิ4 ผูหมู ้มีอํา่ นาจแทนวิ สาหกิ GC) จ. เวชสํ าอางค์ เวชสํ าอางค์ ผูม้มชน: ีอำากนาจแทน นางแอ๋ ทวาจา ชุ สนิทวาจา) พท์ว สนิ 038683585 คอล จํากัด (มหาชน) (PTT ผลิ ตภัระยอง ณนางแอ๋ ฑ์ : วโทรศั ผลิ ฑ์ : วิสาหกิ(สมาชิ จชุตมภัชนณ เวชสํ าอางค์ GC) ผลิ ตภัณฑ์ก ความงามที �ใช ้วัตถุดบ ิ สาหกิจ ผู ้มีอํานาจแทนวิ ผลิ ต ภัณฑ์คดวามงามที �ใช ้วัตถุดบ ิ ผลิตภั ณ ฑ์ : ในการผลิ ต จากสารสกั ธรรมชาติ ชุตม วาจา) ผลิ ตภัมะขาม ภัชน: • ผลิตวต�ใจากสารสกั ภัชสนิ ณ้วัมัตฑ์งถุท คคุดวามงามที ่ใช้วัตถุดิบในการผลิต ผลิ ณณ ฑ์ฑ์คนางแอ๋ วามงามที ิ ในการผลิ ดธรรมชาติ อาทิ ผั กบุ ้งทะเล ดบ เวชสํ าอางค์ ในการผลิ ตจากสารสกั ดธรรมชาติ จากสารสกั ด ธรรมชาติ อาทิ ใบบัวบกอาทิ และมะหาด ผสมผสาน มะขาม ผัมักงคุบุด้งทะเล มัมะขาม งคุด ผักบุง้ ทะเล อาทิ ผั กมับุ ้งทะเล ผลิ ต ภัณนฑ์ :ภาพ กับ กลีมะขาม เซอรี คุณ ง คุ ด ใบบั ว บก และมะหาด ผสมผสานกั บ ใบบั วบก และมะหาด ผสมผสาน ใบบัวบก และมะหาด 2 ofกลี 6เฑ์ Page ผลิ ตภั ณ วามงามที �ใช ้วัตถุดบ ิ ซอรีคผสมผสาน กับกลีเซอรี คุณเภาพ กับนกลี ซอรี นนคุคุณ ณภาพ ภาพ ในการผลิ ตจากสารสกัดธรรมชาติ Page 2 of 6 Page 2 of 6 อาทิ มะขาม ผั กบุ ้งทะเล มังคุด ใบบัวบก และมะหาด ผสมผสาน หน่วยงาน/ - บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำากัด (มหาชน) กับกลีเซอรีนคุณภาพ บริษัทฯ พี่เลี้ยง (PTT GC) Page 2 of 6
โครงการ โครงการ สมาคมเพื สมาคมเพื อ � นชุมชน อ � นชุ–มธรรมศาสตร์ ชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล โมเดล รุ่นที� ๑/๒๕๕๙ รุ่นที� ๑/๒๕๕๙ การสร้การสร้ างเสริมาและพ งเสริมัฒนาศ และพ ัฒนาศ ักยภาพวิ ักยภาพวิ สาหกิจสชุาหกิ มชน จชุ และกลุ มชน และกลุ ม ่ เศรษฐกิ ม ่ เศรษฐกิ จฐานราก จฐานราก พืน � ทมาบตาพุ ี� พืน � ทมาบตาพุ ี� ดคอมเพล็ ดคอมเพล็ กซ์ ตามแนวทาง กซ์ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ โมเดล โมเดล รายชือ � วิสรายชื าหกิจ อ � ชุ วิส มาหกิ ชน จชุมชน
Method for Sustainable Community-Business Development | 43
ทีอ � ยู่ และทีผู อ � ยู้มีอ ่ และ ํานาจแทนวิ ผู ้มีอํานาจแทนวิ สาหกิจ สาหกิจหน่วยงาน/บริ หน่วยงาน/บริ ษัทฯ พีเ� ลีษย � ั ทงฯ พีเ� ลีย � ง ชุมชน ชุมชน 1. วิสาหกิ 1. จชุ วิส มาหกิ ชนสมุ จชุนมไพรบ ชนสมุ้าน นไพรบ ้าน12/4 หมู12/4 ่ 6 ต.บ หมู ้านฉาง ่ 6 ต.บอ.บ ้านฉาง ้านฉาง อ.บจ.้านฉาง จ.กลุม ่ ปตท. กลุม (PTT ่ ปตท. Group) (PTT Group) เทวินทร์ เทวินทร์ ระยอง โทรศั ระยอง พท์โทรศั 038941144 พท์ 038941144 (สมาชิกผู(สมาชิ ้มีอํานาจแทนวิ กผู ้มีอํานาจแทนวิ สาหกิจ สาหกิจ เวชสํ าอางค์ เวชสํ าอางค์ ชุมชน: นาง ชุมชน: อภิญนาง ญา อภิ ตระกู ญญา ลเทวิ ตระกู นทร์ล)เทวินทร์)
โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื อ �อ � นชุ นชุ อ � มนชุ มชน อ �อ ชน �อ � นชุ นชุ ม นชุ ชน ––มมม ธรรมศาสตร์ ชน ธรรมศาสตร์ ชน ชน – ธรรมศาสตร์ –––ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ โมเดล โมเดล โมเดล โมเดล โมเดล รุโมเดล รุน ่น ่ ทีที รุ� น ๒/๒๕๖๐ ่ � ๒/๒๕๖๐ ที รุรุรุน ่น ่� น ่ ๒/๒๕๖๐ ที ที ที� � ๒/๒๕๖๐ � ๒/๒๕๖๐ ๒/๒๕๖๐ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผลิ : ต ภั ณ ฑ์ : การสร้ การสร้ การสร้ การสร้ าการสร้ า การสร้ งเสริ งเสริ างเสริ มาม าาและพ งเสริ และพ งเสริ งเสริ มและพ มมม ัฒนาศ และพ ัฒนาศ และพ และพ ัฒนาศ ัฒนาศ ักยภาพวิสาหกิ ัฒนาศ ักยภาพวิสาหกิ ัฒนาศ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ จจชุชุมม จชน ชุ ชน จจ มจชุ ชุ ชน และกลุ ชุ และกลุ มมมชน ชน ชน และกลุ และกลุ และกลุ ่ม และกลุ ่มเศรษฐกิ เศรษฐกิ ่มเศรษฐกิ ่ม่ม่มเศรษฐกิ เศรษฐกิ เศรษฐกิ จจฐานราก ฐานราก จฐานราก จจจฐานราก ฐานราก ฐานราก เครื อ � งสํ า เครื อางจากสมุ อ � งสํ า อางจากสมุ น ไพรไทย น ไพรไทย พื พืน �น � ที พื ทีม �น ม � พื าบตาพุ พื ที าบตาพุ พืน �น ม �น � ที ที าบตาพุ ทีม �ม �ม � าบตาพุ าบตาพุ าบตาพุ ดดคอมเพล็ คอมเพล็ ดคอมเพล็ ดด ดคอมเพล็ คอมเพล็ คอมเพล็ กกซ์ ซ์ก ตามแนวทาง ตามแนวทาง ซ์กกก ตามแนวทาง ซ์ ซ์ ซ์ตามแนวทาง ตามแนวทาง ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ โโมเดล มเดล โมเดล โโโมเดล มเดล มเดล เช่ น มะหาด เช่ นเมล็ มะหาด ดองุน ่ เมล็ ฯลฯ ดองุ ของ น ่ ฯลฯ ของ โครงการ สมาคมเพือ � นชุมชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล รุน ่ ที� ๒/๒๕๖๐ ชุมชนเนินชุกระเปาะ มชนเนิน กระเปาะ อบ ้านฉางอบ ้านฉาง การสร้างเสริมและพ ัฒนาศ ักยภาพวิสาหกิ จชุมชน และกลุ่มเศรษฐกิจฐานราก งอ่ และ หวั ด รายชื รายชื รายชื อ �อ � วิวิรายชื สรายชื ส รายชื าหกิ อ � าหกิ วิสอ �อ � จอ าหกิ � วิจวิชุ วิสชุ สส มาหกิ ม าหกิ ชน าหกิ จชน ชุม จจจชน ชุชุชุมมมชน ชน ชน ทีทีอ � จัอ � ยูงยูที ่ หวั และ ่ และ อ � ที ยูด ที ที ่อ � ระยอง และ อ � ผู อ � ยู ผูยูจั ยู้มี่ ่ ้มีและ อ และ ํผู าํานาจแทนวิ นาจแทนวิ ้มีอ ผูผูผู ําระยอง ้มี้มีนาจแทนวิ ้มีอออําําํานาจแทนวิ นาจแทนวิ นาจแทนวิ สสาหกิ าหกิ สจาหกิ จสสสาหกิ าหกิ าหกิ จ จจจหน่ หน่ววยงาน/บริ หน่ ยงาน/บริ หน่ วหน่ หน่ ยงาน/บริ วววยงาน/บริ ยงาน/บริ ยงาน/บริ ษษั ทั ทฯฯษพี ัท พีเ� ษ ฯเลี ษ �ษ ลี ัท ย ั� ท พี ัท ย � งฯฯเง� ฯลีพี พี ย พี � เ� เ�งลี เ� ลีลีย �ย �ย � งงง พืน � ทีม � าบตาพุ คอมเพล็ ก ติดต่อด สอบถามได ติด ต่มชน อชน ้ทาง inbox, ้ทาง inbox, ธรรมศาสตร์โมเดล ชุชุม ชุสอบถามได มชน ชุชุ ชุมมมซ์ ชน ชน ชนตามแนวทาง 1. 1. วิ1. วิสสาหกิ 1. าหกิ 1. 1. วิสจาหกิ วิจวิชุ วิสชุ สส มาหกิ มาหกิ ชนหั าหกิ จชนหั ชุม จจจชนหั ชุ วชุ วชุ นํมนํ มม �าชนหั �ชนหั าตกพั ชนหั วตกพั นํ�าววตกพั ฒ วนํนํ ฒ นํ�านา �า�านา ตกพั ตกพั ตกพั ฒนา ฒ ฒ ฒนา นา 39 นา 39หมู หมู 39่ ต.มาบตาพุ ่ 39 หมู ต.มาบตาพุ 39 39abantavin, ่หมู หมู ต.มาบตาพุ หมู ่ ่ ต.มาบตาพุ ่ ต.มาบตาพุ ต.มาบตาพุ ดดabantavin, อ.เมื อ.เมื ดTel: อ อ.เมื อ ดงระยอง ดด งระยอง อ.เมื อ.เมื อ.เมื อ งระยอง อออ งระยอง งระยอง จ. งระยอง จ. จ. -- จ. จ. จ.สํ -สําานั-นั --ก สํกงานนิ างานนิ นัสํสํสํ กาางานนิ านันั คนัค กกมอุ กงานนิ มอุ งานนิ งานนิ ต คตสาหกรรม มอุ สาหกรรม คคค ตมอุ มอุ มอุ สาหกรรม ตตตสาหกรรม สาหกรรม สาหกรรม line: line: 087Tel: 087โครงการ ระยอง สมาคมเพื อ � นชุ ม ชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล รุ น ่ ที � ๒/๒๕๖๐ ระยอง ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั ระยอง ระยอง โทรศั พ พ ท์ โทรศั โทรศั ท์ โทรศั 0822109909 พ 0822109909 ท์ พ พ พ 0822109909 ท์ ท์ ท์ 0822109909 0822109909 0822109909 มาบตาพุ มาบตาพุ มาบตาพุ มาบตาพุ มาบตาพุ ด มาบตาพุ ด (สนพ.) (สนพ.) ด (สนพ.) ด ด ด (สนพ.) (สนพ.) (สนพ.) 59693345969334 (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ กก(สมาชิ ผู (สมาชิ (สมาชิ ผู้มี้มีอ กอผู ําํานาจแทนวิ ก ้มีนาจแทนวิ กกอ ผูผูักยภาพวิสาหกิ ผู ํา้มี้มีนาจแทนวิ ้มีที อ นาจแทนวิ สสาหกิ าหกิ ส จาหกิ จ้มีส สาหกิ าหกิ จมาบตาพุ จม --ดชน -เอส.ซี --งระยอง -เอส.ซี ..จีเอส.ซี จี เอส.ซี (SCG) (SCG) .จี่ม(SCG) .เศรษฐกิ .จี.จีจี(SCG) (SCG) (SCG) รายชื อ � วิสาหกิ จชุมมชน ที อ � ออ่อํายูําํายูนาจแทนวิ ่ นาจแทนวิ ผูหมู ําาหกิ นาจแทนวิ จเอส.ซี หน่วยงาน/บริ ษัทฯ พีเ� ล การสร้ างเสริ และพ ัฒนาศ จจจชุ จฐานราก 39 ่ อสต. อ.เอส.ซี เมืสและกลุ อาหกิ ่ และ ชุชุมมชน: ชน: ชุมชน: ชุ นางเสาวลี ชุ นางเสาวลี ชุมมมชน: ชน: ชน: นางเสาวลี นางเสาวลี นางเสาวลี นางเสาวลี ไตรลั ไตรลั ไตรลั กกษณ์ ษณ์ ไตรลั ไตรลั ไตรลั ก)ษณ์ ) กชุ กกษณ์ ษณ์ )ม ษณ์ ) ) ) บริ บริ ษ ษ ั ท บริ ั ท บางกอกอิ ษ บริ บางกอกอิ บริ บริ ั ท ษ ษ ษ บางกอกอิ ั ท ั ท ั ท บางกอกอิ บางกอกอิ บางกอกอิ น น ดั ดั ส ส น เทรี เทรี ดั ส น น น เทรี ดั ดั ดั ส ส ส เทรี เทรี เทรี � ้านทิ ที � ้ำ า28/111 าบตาพุ ดคอมเพล็ กด ซ์ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ โมเดล จ. ระยอง พท์ 08องยลแก๊ 9909 2. วิสาหกิ 2. จชุ วิส มาหกิ ชนกลุ จ1. วิ ชุ่มมแม่ ชนกลุ บ ้านทิ ลิบน วตก ลิ หมู 28/111 ่ ต.มาบตาพุ หมู่ ต.มาบตาพุ อ.เมื อโทรศั งชน ด อ.เมื 2210 เอส.ซี .จีสเอส.ซี (SCG) .(BIG) จี(BIG) (SCG) ส าหกิ จ่มชุแม่ มวพื ชนหั ว นม ยลแก๊ ยลแก๊ สสยลแก๊ จํยลแก๊ ยลแก๊ จําาสกักัดจํดสาส(BIG) (BIG) กัจํจํด จําาากักั (BIG) กัดดด(BIG) 1. วิสาหกิ จชุมชนหัวนํ�าตกพั ฒนาจ.ระยอง 39 หมู ่ ต.มาบตาพุ ดท์อ.เมืองระยอง จ. - สํานักงานนิคมอุตสาห ผู ม ้ อ ี า ำ นาจแทน พัฒนนา ปชุมชนเนิ ปชุ นพยอม มชนเนิ พยอม ระยอง ระยอง จ.ระยอง โทรศั พ ท์ โทรศั พ ผลิ ผลิตตผลิ ภัภัณ ณ ต ผลิ ผลิ ฑ์ ผลิ ฑ์ ภั:ณ ต :ตตภัฑ์ ภัภัณ ณ :ณฑ์ ฑ์ ฑ์::: - บริ -บริษ -ษ --ั ท บริ ั ทผาแดงอิ ษ บริ ผาแดงอิ บริ บริ ั ทษ ษ ษ ผาแดงอิ ัท ัท ั ทผาแดงอิ ผาแดงอิ นผาแดงอิ นดัดัสสน ทรี ทรี ดัส นนนทรี ดัดัดัสสสทรี ทรี ทรี นางเสาวลี ไตรลัก-ษณ์ ระยอง โทรศั พ ท์ 0822109909 มาบตาพุ ด (สนพ.) วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน 0805645943 0805645943 (สมาชิ ก ผู (สมาชิ ้มี อ า ํ นาจแทน ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทน อาหาร อาหาร นํ นํ�า�าพริ พริ นํก�ากเผาสามรส พริ นํ เผาสามรส นํนํ�า�าก �าพริ พริ พริ เผาสามรส กกกเผาสามรส เผาสามรส เผาสามรส ตรา ตราตรา “บ “บ้าน ตรา ตรา ้าน ตรา “บ ้าน “บ “บ “บ้าน ้าน ้าน จํจําากักัดจํดา(มหาชน) กั (มหาชน) จํจํด จําาากักั (มหาชน) กัดดด(มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (PDI) (PDI) (PDI) (PDI) (PDI) (PDI) (สมาชิ ผู ้มีอนาง าหกิ จ-ษ เอส.ซี .ดด จี (SCG) วิสาหกิ จชุ วิ ส มาหกิ ชน: จนาง ชน: ลาวรรณ์ �งยืน) -ส �งบริ ยื น เพชร” เพชร” เพชร” เพชร” เพชร” เพชร” - ยั -ส บริาหกิ ษ -)-ั ท บริ ั ทวีษ วีน บริ บริ ัน ทไิ ษ ไิ ษ ทย ษ วีทย ัท ัท นั ทไิ วี-จํวีทย วี จํนานน าไิกั ไิ กั ไิ ทย ด ทย จํทย ด าวกัยงาน/บริ จํจํด จําาากักักัด รายชือ � วิสาหกิจชุมชน ที อ �ชุยูม่ ก และ ผูํานาจแทนวิ อลาวรรณ์ ํยั านาจแทนวิ จบริ หน่ ษัทฯ พีเ� ล ้ำา้มีพริ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ • น ก เผาสามรส ตรา “บ้ า นเพชร” ชุมชน: นางเสาวลี ไตรลั ก ษณ์ ) บริ ษ ั ท บางกอกอิ นดัส (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (VNT) (VNT) (VNT) (VNT) (VNT) (VNT) ชุมชน ส จําค กัด อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร ผลิฒตนา ภัณฑ์ ผลิ:ต39 ภัณหมู ฑ์ ่ :ต.มาบตาพุด อ.เมืองระยอง อาหาร 1. วิสาหกิจชุมชนหัวนํ�าตกพั จ. - อาหาร สํยลแก๊ านักงานนิ มอุ(BIG) ตสาห กลุ กลุ ่ ม่ม อาชี กลุ อาชี ่ม กลุ กลุ พ กลุ อาชี พตั่มตั ่ม่ม ด อาชี อาชี ดพ อาชี เย็ เย็ ตับพ ด บ พ พเย็ ตัตัตัดด บ 225/1 ดเย็ 225/1 เย็ เย็บบบ 225/1 หมู 225/1 หมู 225/1 225/1 ่ ต.มาบตาพุ ่ หมู ต.มาบตาพุ หมู ่ หมู ต.มาบตาพุ หมู ่ ่ ต.มาบตาพุ ่ ต.มาบตาพุ ต.มาบตาพุ ด ด อ.เมื อ.เมื ด อ อ.เมื อ ด ด งระยอง ด งระยอง อ.เมื อ.เมื อ.เมื อ งระยอง อ อ อ งระยอง งระยอง งระยอง เอส.ซี เอส.ซี เอส.ซี . . จี เอส.ซี จี เอส.ซี เอส.ซี (SCG) (SCG) . จี (SCG) . . จี . จี จี (SCG) (SCG) (SCG) 2. 2. วิ2. วิสสาหกิ 2. าหกิ 2. 2. วิสจาหกิ วิจวิชุ วิสชุ สส มาหกิ มาหกิ ชน าหกิ จชน ชุม จจ จชน ชุชุชุมม ชน ชน ชน ผลิตงภั ณ ฑ์: 8 - มาบตาพุ บริษัท ผาแดงอิ นดัสท ขนมเปี� ยะแห่ ขนมเปี� ระยอง ยะแห่ งระยอง เซี0822109909 ยน 8 เซียน ระยอง โทรศั พ ท์ ด (สนพ.) ชุชุมมชนบ ชนบ ชุมชนบ ชุ ้านบน ชุชุ ้านบน มมมชนบ ชนบ ชนบ ้านบน ้านบน ้านบน ้านบน จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง โทรศั โทรศั โทรศั พพท์ โทรศั โทรศั ท์ โทรศั 0995355624 พ 0995355624 ท์พริ พพ พ 0995355624 ท์ ท์ ท์ 0995355624 0995355624 0995355624 นํ � า ก เผาสามรส ตรา “บ ้าน จํ า กั ด (มหาชน) บริการกล่ (สมาชิ บริ องอาหารว่ การกล่ งอาหารว่ าํางนาจแทนวิ าง สาหกิจ กผูอ้มีอ - เอส.ซี.จี (SCG) (PD (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ กก(สมาชิ ผู (สมาชิ (สมาชิ ผู้มี้มีอ กอผู ําํานาจแทนวิ ก ้มีนาจแทนวิ กกอ ผูผูผูํา้มี้มีนาจแทนวิ ้มีออ ํเพชร” อ าําํานาจแทนวิ นาจแทนวิ นาจแทนวิ สสาหกิ าหกิ สจาหกิ จสสสาหกิ าหกิ าหกิ จ จจจ เสื เสือ �อ � ผผ เสื ้า-เสื ้า-เสื อ � เสื ผ เสื เสื อ � ้า-เสื อ �อ � โปโล ผผ โปโล ผ้า-เสื ้า-เสื ้า-เสื อ � โปโล อ �อ �อ � โปโล โปโล โปโล บริ ษั ท ั ท บางกอกอิ วีนไิ ทย จํน ากัดัดส ชุนางภาวิ ม ชน: -- บริ ษ ชุชุมมชน: ชน: ชุมชน: ชุ นางภาวิ ชุ นางภาวิ ชุมมมชน: ชน: ชน: นางภาวิ ณ นางภาวิ ณ นางภาวิ ี บั ี บัวณ วนาค) นาค) ี นางเสาวลี บัณ ณ ณ วี นาค) ี บัี บับัวววนาค) นาค) นาค)ไตรลักษณ์) หน่วยงาน/ - สำานักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (สนพ.) ยลแก๊ (มหาชน) ส จํา(VNT) กัด (BIG) บริ ษ ท ั ฯ พี เ ่ ลี ย ้ ง เอสซี จ ี (SCG) อาหาร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : บริ ษ ั ท ผาแดงอิ นดัสท ผลิ ผลิตตผลิ ภัภัณ ณ ต ผลิ ผลิ ฑ์ ผลิ ฑ์ ภั:ณ ต :ตตภัฑ์ ภัภัณ ณ :ณฑ์ ฑ์ ฑ์::: บริ ษ ท ั บางกอกอิ น ดั ส เทรี ย ลแก๊ ส จำ า กั ด (BIG) กลุ ม ่ อาชี พ ตั ด เย็ บ 225/1 หมู ่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมื อ งระยอง เอส.ซี . จี (SCG) 2. วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน อ นํเสี �าต� อ เผาสามรส ตรา จํา.กัจีด(SCG) (มหาชน) (PDI หมู เสื เสื่ อ � ต.ห อ �โปโล 58 โปโล เสือ � เสื โปโล เสื เสื เสี �อ � เสี อ � โปโล โปโล � ต.ห อ �ง เชิ เชิอ.เมื ต � พริ เสี เสี เชิ กระเป๋ เสี กระเป๋ อ �ก อ ต �อ � เชิ เชิ เชิ กระเป๋ าผ �ต � าผ กระเป๋ กระเป๋ กระเป๋ ้า้าาผอ้าาผ าผ าผ ้า้า้า “บ จ.้านเอส.ซี .จี เอส.ซี 3. วิสาหกิ 3. จชุ วิส มาหกิ ชนแปรรู จชุมปชนแปรรู กล ้วยมาบ ปกล ้วยมาบ 58 ้วยโป่ หมู ่ อโปโล ้วยโป่ งระยอง งต� ต อ.เมื จ. งระยอง (SCG) บริ ษ ท ั ผาแดงอิ น ดั ส ทรี จำ า กั ด (มหาชน) (PDI) ชุ ม ชนบ ้านบน จ.ระยอง โทรศั พ ท์ 0995355624 และผ และผ และผ ้ากั ้ากั และผ น และผ และผ น เปื ้ากั เปื � อน � น อน ้ากั ้ากั เปื ้ากั น น � อน น เปื เปื เปื � อน � อน � อน เพชร” -บริก บริ ั ท วีกนสยามยามา ไิ ทย จํากัด ชลูด ชลูด ระยอง โทรศั ระยอง พท์โทรศั 0867107011 พท์ 0867107011 บริษั ท เหล็ ษสยามยามา ั ท ษเหล็ บริ ษ ท ั วี น ไ ิ ทย จำ า กั ด (มหาชน) (VNT) (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ ส าหกิ จ เสื อ � ผ ้า-เสื อ � โปโล (มหาชน) (VNT) (สมาชิกผู(สมาชิ ้มีอํานาจแทนวิ กผู ้มีอํานาจแทนวิ สาหกิจ สาหกิจ โตะ จํากัด โตะ (SYS) จํากัด (SYS) ชุ มต.เนิ ชน: นางภาวิ ณ บัออวองระยอง นาค) อาหาร ชุ15/16 มชน: นาง ชุ่ ม3่ หมู จิต.เนิ ร่ หมู สุ นาง ด า3่อพระ สุ รอ.เมื เจริ ดพระ ญ างระยอง )สุ ญ-)- ดสมาคมเพื 3. 3. วิ3. วิสสาหกิ 3. าหกิ 3. 3. วิสจาหกิ วิจวิชุ วิสชุ สส มาหกิ มาหกิ ชนบ าหกิ จชนบ ชุม จจจชนบ ชุ ้านหนองสนม ชุชุ ้านหนองสนม มมมชนบ ชนบ ชนบ ้านหนองสนม ้านหนองสนม ้านหนองสนม ้านหนองสนม 15/16 15/16 หมู 15/16 หมู 15/16 15/16 3ชน: ต.เนิ หมู 3หมู น ่ ที ่น 3่ 3 พระ ต.เนิ ต.เนิ น อ.เมื นสุ นนพระ พระ อ อ.เมื อ งระยอง อ.เมื อ.เมื อ.เมื อขี งระยอง งระยอง งระยอง -สมาคมเพื --สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื อ �อ � นชุ นชุอ ม � มนชุ ชน(CPA) ชน(CPA) อ �อ �อ �ม นชุ นชุ นชุ ชน(CPA) มมมชน(CPA) ชน(CPA) ชน(CPA) 225/1 หมู ่ เจริ ต. มาบตาพุ อ.-เมื องระยอง ยูต.เนิ ่ จิขพระ จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง โทรศั โทรศั โทรศั พพท์ โทรศั โทรศั ท์ โทรศั 0813574630 พ 0813574630 ท์ พพ พ 0813574630 ท์ ท์ 0813574630 0813574630 0813574630 -09 9535 บริ -บริ -ษ --ั ท บริ ั 5624 ทแอร์ ษ บริ แอร์ บริ บริ ั ทษ ษ ษ แอร์ ลิ ัท ัลิ ท ัท คค แอร์ วิแอร์ วิแอร์ ด ลิดค(ประเทศ (ประเทศ วิลิลิลิ ดคคควิ(ประเทศ วิวิดอาหาร ดด(ประเทศ (ประเทศ กลุ่ม่มอาชี พ ตัด เย็จ.ระยอง บ 225/1 หมู ่ ท์จ. ต.มาบตาพุ อษ งระยอง -อาหาร เอส.ซี .(ประเทศ จี (SCG) 2. วิสาหกิ ชุมจชน ระยอง โทรศัพดท์-อ.เมื 2. วิสจาหกิ ชุมชน กลุ อาชีจ.ระยอง พจ.ระยอง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ : (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ ก ก (สมาชิ ผู (สมาชิ (สมาชิ ผู ้มี ้มี อ ก อ ผู า ํ า ํ นาจแทนวิ ก ้มี นาจแทนวิ ก ก อ ผู ผู ผู า ํ ้มี ้มี นาจแทนวิ ้มี อ อ อ า ํ า ํ า ํ นาจแทนวิ นาจแทนวิ นาจแทนวิ ส ส าหกิ าหกิ ส จ าหกิ จ ส ส ส าหกิ าหกิ าหกิ จ จ จ จ ไทย) ไทย) ไทย) จํ จํ า ไทย) ไทย) า กั ไทย) กั ด จํ ด า (ALT) (ALT) กั จํ จํ ด จํ า า า กั กั (ALT) กั ด ด ด (ALT) (ALT) (ALT) ชุมชนบ ตภัณฑ์ ผลิ :ีอตำาจ.ระยอง ภันาจแทน ณฑ์ : โทรศั พท์ 0995355624 ผูมมชน: ้มชน: ตัดเย็้านบน บชุมชนบ้านบน ผลิ ชุ ชุ ม ม ชน: ชน: ชุ ม ชน: ชุ นางสาวเอ๋ ชุ นางสาวเอ๋ ชุ ม ชน: นางสาวเอ๋ นางสาวเอ๋ นางสาวเอ๋ นางสาวเอ๋ วงษ์ วงษ์ น้อย) ้อย) วงษ์ วงษ์ วงษ์ นําน ้อย) น นน ้อย) เสืกรสหวาน อ � นวงษ์ โปโล เสี อ �้อย) ต �ม กระเป๋ ณ้อย) ี เชิ บัวนาค (สมาชิ อ นาจแทนวิ สรสเค็ าหกิาผ จม ้า เสือ � ผ ้า-เสือ � โปโล กล ้วยหอมแผ่ วิสาหกิ กล รสหวาน รสเค็ จชุ้วยหอมแผ่ มนและผ ชน ผู ้มีนางภาวิ อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร ้ากั น เปื � อน ชุ ม ชน: นางภาวิ ณ ี บั ว นาค) ผลิ ผลิ ตผลิ ฑ์ ภัต:ณ ฑ์ ผลิ ชฑ์ ต ม ุ ชน ภัณฑ์ อืน � ชๆม ุ ชน เช่นอืหมู น � ๆ เช่น หมู ผลิตตผลิ ภัภัณ ณ ต ผลิ ฑ์ ผลิ ภั:ณ ตตภัฑ์ ภัภัณ ณ :ณฑ์ ฑ์::: • เสื อ ้ โปโล เสือ้ เชิต้ กระเป๋าผ้า และผ้ากันเปือ้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เผื อ นสํสํสํนาาเผื ฉาบ อลล ก-มั ฯลฯ ฉาบ แผ่ นํ นํ�า�าลูน ลู ก นํกสํ �าสํลู านํานํ รองตรา นํ ก�รองตรา าแผ่ �าก-มั �สํ าลูลูลูากกรองตรา ก ารองตรา รองตรา “มั รองตรา “มั วรา” “มั วรา” ลน “มั “มั วรา” “มัล ลลวรา” วรา” วรา”ฯลฯ ผลิ ต ณ ฑ์ :่ ตรา 3. วิสาหกิจชุมชนบ ้านหนองสนม 15/16 หมู 3คั�วต.เนิ นพระ สมาคมเพือ � นชุมชน(C กะปิ กะปิ ตํ กะปิ ตําามืมื กะปิ กะปิ อตํ กะปิ อ และกะปิ าและกะปิ มืตํตํอ ตําาและกะปิ าภั มืมืมือ ออและกะปิ ค และกะปิ และกะปิ คั�วั�วตรา ตรา “ชิ ค“ชิ คคั�วั�วมั�วตรา มตรา ตรา “ชิ ม“ชิ “ชิ “ชิมมมอ.เมืองระยอง จ.ระยอง เสือ � โปโล เสี อ � เชิ ต � กระเป๋ าผ ้า เคย” เคย”เคย” เคย” เคย” เคย” โทรศั พท์ 0813574630 - บริษัท แอร์ ลิควิด (ป ้ากั เปื � อน เบเกอร์ หมู เบเกอร์ ่155 เบเกอร์ รเบเกอร์ รช เบเกอร์ ี� เบเกอร์ ช ี� ม ุม ุ ชนบ ร้านฉาง ชนบ ช ี� ่ และผ ม ุ รรชนบ รช ี� ้านหนองสนม ช ี� ต.บ ช ี� ้านหนองสนม ม ุม ุม ุ ชนบ ชนบ ้านหนองสนม ้านหนองสนม ้านหนองสนม 4. วิสาหกิ 4. จชุ วิส มาหกิ ชนแตนบาติ จชุมชนแตนบาติ ก ก 155 5 ต.บ หมู 5 อ.บ อ.บจ.้านฉาง - จ. บริษัไทย) ทคดาวเคมิ อลประเทศ (สมาชิ ก ผูชนบ ้มี้านฉาง อน้านหนองสนม ํา้านฉาง นาจแทนวิ สาหกิ จ บริษ-ั ท ดาวเคมิ จํากัดคอลประเท (ALT) บริ บริ ษ ษ ั ท บริ ั ท ลิ ษ บริ ลิ บริ น บริ ั ท น เด ษ เด ษ ษ ลิ ั ท ั ท ้ ั น (ประเทศ ท ้ (ประเทศ เด ลิ ลิ ลิ น น น ้ (ประเทศ เด เด เด ้ (ประเทศ ้ (ประเทศ ้ (ประเทศ 4. 4. วิ4. วิสสาหกิ 4. าหกิ 4. 4. วิสจาหกิ วิจวิชุ วิสชุ สส มาหกิ มาหกิ ชนกลุ าหกิ จชนกลุ ชุม จจจชนกลุ ชุชุชุ่มม ่ม แม่ ชนกลุ ชนกลุ แม่ ชนกลุ บ ่มบแม่ ้าน ้าน ่ม่ม่ม บ แม่ แม่ แม่ ้านบบบ้าน ้าน ้านระยอง 66/2 66/2 66/2 หมู หมู 66/2 66/2 66/2 ่ 8 ่ หมู 8 ต.ทั ต.ทั หมู ่ หมู 8 หมู บ ต.ทั ่ บ ่ 8 มา ่ 8 มา 8 ต.ทั ต.ทั บ ต.ทั อ.เมื อ.เมื มา บ บ บ มา อ.เมื อ มา อ มา งระยอง งระยอง อ.เมื อ.เมื อ.เมื อ งระยอง อ อ อ งระยอง งระยอง จ. งระยอง จ. จ. จ. จ. จ. โทรศั ระยอง พชุท์ 0861406699 พท์ 0861406699 ด (DOW) จํากัด (DOW) มโทรศั ชน: นางสาวเอ๋ วงษ์น ้อย) ไทย จํากัไทย ไทย) ไทย) ไทย) จํ จํ า ไทย) ไทย) า กั ไทย) กั ด จํ ด า (มหาชน) กั (มหาชน) จํ จํ ด จํ า า า กั กั (มหาชน) กั ด ด ด (มหาชน) (มหาชน) เกษตรกรบ เกษตรกรบ เกษตรกรบ เกษตรกรบ เกษตรกรบ เกษตรกรบ ้านสะพานหิ ้านสะพานหิ ้านสะพานหิ ้านสะพานหิ ้านสะพานหิ ้านสะพานหิ นน น นนน (สมาชิ ระยอง ระยอง ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั ระยอง ระยอง โทรศั พ พ ท์ โทรศั โทรศั ท์ โทรศั 0814529179 พ 0814529179 ท์ พ พ พ 0814529179 ท์ ท์ ท์ 0814529179 0814529179 0814529179 กผู(สมาชิ ้มีอํา15/16 นาจแทนวิ กผู ้มีอ ํานาจแทนวิ สาหกิ จนพระ สาหกิจ -องระยอง บริษ-ั ท อิ-น บริ โดรามา ษัท(มหาชน) อินเวน โดรามา อาหาร 3. วิสาหกิจชุมชนบ ้านหนองสนม หมู 3 ต.เนิ � นชุมเวน ชน(C (Linde) (Linde) (Linde) (Linde) (Linde) สมาคมเพือ (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ กก(สมาชิ ผู (สมาชิ (สมาชิ ผู้มี้มีอ กอผู ําํานาจแทนวิ ก ้มีนาจแทนวิ กกอ ผูผูผูํา้มี้มีนาจแทนวิ ้มีอออําําํานาจแทนวิ นาจแทนวิ นาจแทนวิ สส่ าหกิ าหกิ ส จาหกิ จสสสาหกิ าหกิ าหกิ จ จจจ อ.เมื(Linde) ชุมชน: นางสุ ชุมชน: ร นั น นางสุ ท์ จั น ร ทะนะ) นั น ท์ จั น ทะนะ) เจอร์ ส จํ า เจอร์ กั ด (มหาชน) ส จํ า กั ด (มหาชน) ผลิ ตภัณฑ์ : เอสซี หน่ ว ยงาน/ • จ ี (SCG) จ.ระยอง โทรศั พ ท์ 0813574630 บริ ษ ั ท แอร์ ลิ ค วิ ด (ป -บริษ -ษ --ั ท บริ ั ทอิ ษ บริ อิบริ น บริ ัท นโดรามา ษ โดรามา ษ ษ อิั ท ัท น ั ทโดรามา อิอิอินนนโดรามา โดรามา เวน โดรามา เวน เวนเวน เวน เวน ชุชุมมชน: ชน: ชุมชน: ชุ นางสาวปรานี ชุ นางสาวปรานี ชุมมมชน: ชน: ชน: นางสาวปรานี นางสาวปรานี นางสาวปรานี นางสาวปรานี จิจิตตติติรจิรบํตบําติ จิ าจิ รุจิ รรุต งตบํ ต ง)ติติ )าติรรรุรบํบํ งบํา)าารุรุรุงงง)-))- บริ บริ ษ ั ท อิ น บริ โดรามา ษ ั ท อิ น โพลี โดรามา เ อ โพลี บริษัท(สมาชิ ง ลูผูก้มีสํอาํารองตรา ฯ พี่เลีนํ้ย�าก “มั ล วรา” นาจแทนวิสาหกิ จ เจอร์ ไทย) จํากัด (ALT) เอ เจอร์ เจอร์ สสจํเจอร์ จํเจอร์ าเจอร์ าสกักัดจํดสาส(มหาชน) สกั (มหาชน) จํจํด จําาากักั (มหาชน) กัดด ด(มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) ณ ตํามือและกะปิ ค--ั�ว้อย) ตรา “ชิ มอิ ผลิ ตตตภั ฑ์ ผลิ ต ภั ณ :นางสาวเอ๋ อิโดรามา น สเตอร์ ดันโดรามา สโดรามา ตรีโพลี ส � เออน์ จํโพลี ดั าเส ดเเอเออส � ์ จํากัด บริ -บริษ -ษ --ั ท บริ ั สเตอร์ ท ษ บริ อิบริ น บริ ัท นโดรามา ษ โดรามา ษ ษ อิั ท ัท น ัท อิ อิอินน โดรามา โพลี โพลี เอิ โพลี โพลี อกัตรี ผลิ ผลิ ผลิ ภัภัณ ณ ณ ต ผลิ ผลิ ฑ์ ผลิ ฑ์ ภั:ณ ต :ต:ตภั ฑ์ ภัภัชุ ณ :ณ ฑ์ ฑ์ :ฑ์ ::กะปิ มฑ์ ชน: วงษ์น เคย” ผู ้ผลิ ตและจํ ผูด้ดดด ้ผลิ า(Paste หน่ ต และจํ าดดดยPhed) ผลิ าหน่ ตภั าPhed) ณ ยกกฑ์ ผลิ ด ต ั พริ ภักกณ ฑ์ มด ั (มหาชน) (มหาชน) สเตอร์ สเตอร์ อิสเตอร์ อิ สเตอร์ น สเตอร์ นดัดัส อิสน ตรี ตรี ดั อิ อิส �อิ ส นส � นน ์ ตรี ดั จํ์ ดัดั จํส าสาส � กัตรี ตรี กัตรี ์ ดจํดส � าส �ส � ์กั์ จํ์ จํด จําาากั กักัดดด เพ เพ ้ดดด ้ดดด เพ ้ดดด เพ เผ็ เพ เพ เผ็ ด ้ดดด ้ดดด เผ็ (Paste ด เผ็ เผ็ เผ็ (Paste (Paste (Paste Phed) (Paste Phed) พริ พริ Phed) Phed) พริมกพริ พริ ก สเตอร์ อาหาร (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) (มหาชน) แกงป่ แกงป่ แกงป่ ารสร ารสร แกงป่ แกงป่ แกงป่ ารสร ้อนแรงตํ ้อนแรงตํ ารสร ารสร ารสร ้อนแรงตํ ้อนแรงตํ า ้อนแรงตํ า ้อนแรงตํ รั รั บ บ ระยองแท า ระยองแท รั บ า า ระยองแท า รั รั บ รั บ บ ระยองแท ระยองแท ระยองแท ้ ้ ้ ้ ้ ้ เบเกอร์ รงช ี� ณม ุ จัภาพสู ชนบ ้านหนองสนม ย ้อม บาติผลิ ยก้อม คุภั ณ บาติ ภาพสู ดส่ งทั ง�งจัดส่-งทั�งบริษ-ั ท อิน บริ โดรามา ษัท อินปิโดรามา โตร ปิ โตร ต ณ ฑ์ก: คุ -- องระยอง บริ -บริษ -ษ --ั ท บริ ั เคม ทอิ ษ บริ อิบริ น บริ ัจ. ท นโดรามา ษ โดรามา ษ ษ อิา ัท ัท น ัท โดรามา อิ อิอินนนโดรามา โดรามา ปิโดรามา ปิบริ โตร โตร ปิ โตร ปิปิปิโตร โตร โตร ไข่ ไข่เเค็ ค็ ไข่ มมดองน เดองน ไข่ ค็ ไข่ ไข่ ม เเดองน ค็ เค็ค็ ้าเกลื มม ้าเกลื มาดองน ดองน ดองน ้าเกลื ออและพอก และพอก ้าเกลื ้าเกลื ้าเกลื อต.ทั และพอก องประเทศ ออและพอก และพอก และพอก ษ ั ท ลิ นเด ้ (ประเท 4. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้าน ในไทยและต่ 66/2 หมู ่ 8 บ มา อ.เมื ในไทยและต่ งประเทศ า จํ กั ด เคม จํ า กั ด นํ�าลูกสํ ารองตรา “มัลวรา” เคม เคม เคม จํ จํ า า กั เคม กั เคม ด เคม จํ ด า กั จํ จํ ด จํ า า า กั กั กั ด ด ด “เอ “เอ ้กเอ ้กเอ “เอ ้ด” “เอ ้ด” ้กเอ “เอ “เอ (EGG (EGG ้กเอ ้กเอ ้ด” ้กเอ (EGG ้ด” ้ด” ้ด” (EGG (EGG (EGG ดิ ดิ น น สอพองตรา สอพองตรา ดิ น สอพองตรา ดิ ดิ ดิ น น น สอพองตรา สอพองตรา สอพองตรา ไทย) จํากัด (มหาชน เกษตรกรบ ้านสะพานหิน ท์ 0814529179 ระยอง กะปิโทรศั ตํามือพและกะปิ คั�วตรา “ชิม EIGHT) EIGHT) EIGHT) EIGHT) EIGHT) EIGHT) (สมาชิ กผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ มัดย ้อม-เครื มัดย อ � (Linde) งแต่ ้อม-เครื งกาย อ � งแต่งกาย เคย” อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร - บริษัท อินโดรามา เว นางสาวปรานี จิตติรบํารุง) ชุมชน: เบเกอร์ รช ี� ม ุ ชนบ ้านหนองสนม เจอร์ส จํากัด (มหาชน
โครงการสมาคมเพื่อนชุมชน-ธรรมศาสตร์โมเดล รุ่นที่ 2/2560 การสร้างเสริมและพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเศรษฐกิจฐานราก พื้นที่มาบตาพุดคอมเพล็กซ์ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์โมเดล
ผลิตภัณฑ์:
- บริษัท ผาแดงอินดัสทรี - บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ “บ ้านจํากัด (BLCP) จํากัด (มหาชน) (PDI) - กลุม ่ บริษัท- โกลว์ บริ(Glow ษัท วีนไิ ทย จํากัด Group) (มหาชน) (VNT) อาหาร 44 | Thammasat Model: ผลิตภัณฑ์ : อาหาร หมู ่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมื อ งระยอง เอส.ซี . จี (SCG) 2. วิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพตัดเย็บ จํ225/1 าหน่ายก ้อนเชือ � เห็ด ชุมชนบ ้านบน จํจ.ระยอง าหน่ายเห็ดโทรศั สด พ ท์ 0995355624 อบรมให วกับการเพาะ (สมาชิ้ความรู กผู ้มีอ้เกีําย� นาจแทนวิ สาหกิจ เสือ � ผ ้า-เสือ � โปโล เห็ด ชุมชน: 15/16 ณ หมูี ่ บั3 วต.นาค) เนินพระ อ. เมืองระยอง ที่อยู่ นางภาวิ 5. วิสาหกิจชุมชนเกษตรคลองทราย
195/3 หมู่ 7 ต.พลา อ.บ ้านฉาง จ. โทรศั นํ�าพพริ กเผาสามรส ตรา ระยอง ท์ 0850923986 (สมาชิกผู ้มีเพชร” อํานาจแทนวิสาหกิจ ชุมชน: นางบังเอิญ พาที)
3. วิ สาหกิ มชนบ้านปผลไม ้ 6. วิ สาหกิ จชุจมชุชนแปรรู ชุ ชนบ ้านพลง มหนองสนม
จ. ระยอง พท์ 08 1357 25/9 หมู่ ต.มาบตาพุ ด อ.เมืโทรศั องระยอง - 4630 บริษัทฯ กรุงเทพ ซินธิตก ิ ส์ ต ภัณพฑ์ท์: 0899387393 ผูจ.ระยอง ้มีอำาผลิ นาจแทน จํากัด (BST) โทรศั นางสาวเอ๋ วงษ์� น้อกระเป๋ ย -าผ ้าบริษัท ลินเด ้ (ประเทศ อําอ สาหกิ � นาจแทนวิ โปโล เสี อ � เชิจต วิ(สมาชิ สาหกิ กจชุผูม้มีเสื ชน ไทย) จํากัด (มหาชน) ชุมชน: นางวราภรณ์ สุ ข ชั ย ศรี ) และผ ้ากัน้ เปื� อน ผลิตภัณฑ์ • นำาลูกสำารองตรา “มัลวรา” (Linde) - “ชิ บริมษเคย” ั ท แอร์ ลิควิด (ประเทศ ผลิตภัณฑ์ : • กะปิตำามือและกะปิคั่วตรา ไทย) จํากัด (ALT) ผลิตภัณฑ์แปรรูปผลไม ้ท ้องถิน � 15/16 หมู่• 3 เบเกอรี ต.เนิน องระยอง - สมาคมเพือ � นชุมชน(CPA ่ชุมพระ ชนบ้าอ.เมื นหนองสนม ตามฤดูกาล เช่น มะขามจี� ดจ๊าด จ.ระยอง - บริษัท แอร์ ลิควิด (ประเ อาหาร มะยมแช่ อม ิ� โทรศั ฯลฯ พ ท์ 0813574630
3. วิสาหกิจชุมชนบ ้านหนองสนม 7. วิสาหกิจชุมชนมาบข่ามาบใน
(สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ
บริษัทฯ พี่เลี้ยง
4. 8.วิสวิ4. วิ าหกิ ชุ ่ม่มแม่ บ สาหกิ จชุม งเสริ ม พ สจาหกิ จมชนกลุ ชุชนส่ มชนกลุ แม่อาชี บ้า้าน น ชุ ม ชนเกาะกก เกษตรกรบ ้านสะพานหิ น เกษตรกรบ้านสะพานหิน
ไทย) จํากัด (ALT)
9/28 หมู่ ต.มาบข่า อ.นิคมพัฒนา จ. - บริษัท วีนไิ ทย จํากัด ชุม ชน:พนางสาวเอ๋ วงษ์น ้อย) ระยอง โทรศั ท์ 0824402237 (มหาชน) (VNT) อาหาร (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ หน่วนางจั ยงาน/นทร์เ-พ็ ญสมาคมเพื ่อนชุมชน (CPA) ชุมชน: งานหัตถกรรม-ดอกไมประดิ ้ ษฐ์ ผลิตภัณ ฑ์: นนทชัย)
- บริษทั แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จำากัด (ALT)
นํ�าลูกสํ ารองตรา “มัลวรา” ผลิตภัณฑ์ : ตกะปิ มือและกะปิ คั�วตรา “ชิม งานหั ถศิลตํ ป์างานฝี มือทีท � ําจาก ผ ้าใยบัเคย” ว ทีม � ค ี วามประณีต สวยงาม เฉพาะตั ว ทีเบเกอร์ รช ี� ม ุ หมู ชนบ ่ 8 ต.้านหนองสนม ทับมา อ. เมืองระยอง ่อยู่ 66/2 จ.ต.ทั ษัท ลินเด ้ (ประเทศ ระยอง โทรศั พท์ 08องระยอง 1452 66/2 หมูน่ 8พระ บอมา อ.เมื จ. อ� -นชุมบริ 24/29 หมู่ ต.เนิ อ.เมื งระยอง - 9179 สมาคมเพื ชน(CPA) จ.ระยอง โทรศั พ ท์ 0816158766 บริ ษ ั ท บางกอกอิ น ดั สเทรี ไทย) จํากัด (มหาชน) ระยอง โทรศั พ ท์ 0814529179 ผู้มีอำานาจแทน นางสาวปรานี (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิ สาหกิจจิตติรบำารุง ยลแก๊ส จํากัด (BIG) (สมาชิ วิชุสมาหกิ จชุมชนกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิ- จ บริษัท ผาแดงอิน(Linde) ชน: นายสํ าราญ ทิพย์บรรพต) ดัสทรี - บริ ษัท อินโดรามา เวน ชุมชน: นางสาวปรานี จิตติรบํารุง)จํากัด (มหาชน) (PDI) ผลิตภัณฑ์ • เพ้ดดด เผ็ด (Paste Phed) พริกแกงป่า เจอร์ส จํากัด (มหาชน) ผลิตภัณฑ์ : รสร้อนแรงตำารับระยองแท้ RICE อาหาร - บริษัท อินโดรามา โพลีเ ผลิตME ภัณผลิ ฑ์:ตภัณฑ์ข ้าวไรซ์ ้ำาเกลือและพอกดินสอพองตรา • ไข่ เ ค็ ม ดองน เบอร์ ร ส � ี แนคบาร์ สเตอร์ อินดัสตรีส � ์ จํากัด เพ ้ดดด เผ็ด (Paste Phed) พริก หอมเฮิรบ ์ ลูกประคบสมุ “เอ้กเอ้ดน”ไพร (EGG EIGHT) (มหาชน) แกงป่ ารสร ้อนแรงตํ า รั บ ระยองแท ้ ข ้าวสารแพ็คถุง ยงาน/ ษทั จ้าเกลื ลิชุนมเด้ชนอ(ประเทศไทย) - บริษัท อินโดรามา ปิ โตร ไข่เยค็นรู ม- ดองน และพอก จำากัด (มหาชน) หน่ ศูนวย์ การเรี ้วิสบริ าหกิ บริษัทส่ฯ พี เ ่ ลี ย ้ ง (Linde) งเสริดิ มอาชี พชุมชนเกาะกก เคม จํากัด “เอ ้กเอ ้ด” (EGG นสอพองตรา เทศบาลเมื องมาบตาพุ - บริษทั อิดนโดรามา เวนเจอร์ส จำากัด (มหาชน) EIGHT) ศูนย์การเรียนรู- ้ชุมบริ ชนเชิ เวศ ษัท อิงนนิโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ อาหาร ต ้นแบบ จังหวัดระยอง
จำากัด (มหาชน) - บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำากัด
9. วิ สาหกิ จชุจมชุชนกลุ ฟฟาล่าา 5. วิ สาหกิ มชน อี่มโลุค-ซาล่
(Eco-sala) ชุ มโชนชากกลาง 5. วิ สาหกิ จชุมชน อี ค-ซาล่า (Ecosala) ชุมชนชากกลาง
6. วิสาหกิจชุมชนบ ้านฉางไฮโดร ฟาร์ม
ที่อยู่
2 หมู่ ต. ห้วยโป่ง อ. เมืองระยอง
4 หมู่ ต.มาบตาพุดจ.อ.เมื องระยอง - 3451 บริษัท พีทท ี ี โกลบอล เคมิ ระยอง โทรศัพท์จ.08 9544 ระยอง โทรศั พท์ 038683585 คอล จํากัด (มหาชน) (PTT ผู(สมาชิ ีอำานาจแทน 2้มหมู ่ ต.ห ง อ.เมือสงระยอง - GC) สํ านักงานนิคมอุตสาหกรรม กผู ้มี้วยโป่ อํานาจแทนวิ จ นจ.ทร์ นายสำาเริาหกิ ง ขาวจั วิชุระยอง สมาหกิ ชุมชนพวท์สนิ 0895443451 ร่วมดําเนินงานกลุ่มมาบตา ชน:จโทรศั นางแอ๋ ทวาจา) (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ พุด (สนพ.) าอางค์ Page 3 of) 6 อีโค่ - บริษเวชสํ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ • ศาลาไทยในสไตล์ ชุ ม ชน: นายสํ า เริ ง ขาวจั น ทร์ ั ทฯ กรุงเทพ ซินธิตก ิ ส์ ผลิตภัณฑ์ : • เฟอร์ น เ ิ จอร์ ไ ม้ ส ไตล์ อ โ ี ค่ จํ า กั ด (BST) ผลิตภัณฑ์ความงามที�ใช ้วัตถุดบ ิ ผลิตในการผลิ ภัณฑ์: ตจากสารสกัดธรรมชาติ - บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ อาทิ ศาลาไทยในสไตล์ อโี ค่ มังคุด จํากัด (BLCP) มะขาม ผั กบุ ้งทะเล - กลุม ่ บริษัท โกลว์ (Glow ใบบั เฟอร์ นเิ จอร์ ไม ้สไตล์อ โี ค่ วบก และมะหาด ผสมผสาน Group) กับกลีเซอรีนคุณภาพ Page 2 -of สำ6านักงานนิคมอุตสาหกรรมร่วมดำาเนินงาน หน่วยงาน/ เฟอร์นเิ จอร์ไม ้ลัง บริษัทฯ พี่เลี้ยง กลุ่มมาบตาพุด (สนพ.) 154/32 หมู่ 5 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง ม ่ ปตท. (PTT Group) - บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส์ จำากักลุ ด (BST) จ.ระยอง โทรศั พท์ 0629652565 - บริษัทสาหกิ บีแอลซี (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิ จ พี เพาเวอร์ จำากัด (BLCP) อาหาร กลุ่มบริ ชุมชน: นายอนุชา- งามกิ จ)ษัท โกลว์ (Glow Group)
ผลิตภัณฑ์: สลัดกล่อง ระยอง by I AM SALAD รับทํา สลัดโรล สลัดกล่อง แซนด์วช ิ ก๋วยเตี�ยวลุยสวน มีบริการจัดส่ ง!
5. วิสาหกิจชุมชน อีโค-ซาล่า (Ecosala) ชุมชนชากกลาง
6. วิ สาหกิ จชุชนบ มชนบ้ านฉาง 6. วิส าหกิ จชุม ้านฉางไฮโดร ไฮโดรฟาร์ ม ฟาร์ม
2 หมู่ ต.ห ้วยโป่ ง อ.เมืองระยอง จ. ระยอง โทรศั พท์ 0895443451 (สมาชิกผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ ชุมชน: นายสํ าเริง ขาวจันทร์)
-
สํ านักงานนิคมอุตสาหกรรม ร่วมดําเนินงานกลุ่มมาบตา พุด (สนพ.) - บริษัทฯ กรุงเทพ ซินธิตก ิ ส์ จํากัด (BST) ผลิตภัfor ณฑ์ : - บริษัท บี| แ45อลซีพี เพาเวอร์ Method Sustainable Community-Business Development ศาลาไทยในสไตล์อโี ค่ จํากัด (BLCP) - กลุม ่ บริษัท โกลว์ (Glow เฟอร์นเิ จอร์ไม ้สไตล์อโี ค่ Group)
154/32 หมู่ 5 ต. บ้านฉาง อ. บ้านฉาง เฟอร์นเิ จอร์ไม ้ลัง จ. ระยอง โทรศัพท์ 06 2965 2565 154/32 หมู่ 5 ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง กลุม ่ ปตท. (PTT Group) ผู้มจ.ระยอง ีอำานาจแทน ชา งามกิจ โทรศันายอนุ พท์ 0629652565 วิส(สมาชิ าหกิจชุกมผูชน้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ อาหาร ที่อยู่
ชุมชน: นายอนุชา งามกิจ)
ผลิตภัณฑ์
• สลัดกล่อง ระยอง by I AM SALAD ผลิตภัณฑ์: • รับทำา สลัดโรล สลัดกล่อง แซนด์วิช ก๋วยเตี๋ยbyวลุIยสวน สลัดกล่อง ระยอง AM SALAD • มีบริการจัดส่ง!
รับทํา สลัดโรล สลัดกล่อง แซนด์วช ิ ก๋วยเตี�ยวลุยสวน มีบริการจัดส่ ง!
หน่วยงาน/ บริษัทฯ พี่เลี้ยง
• กลุ่ม ปตท. (PTT Group)
Page 4 of 6
46 | Thammasat Model:
โครงการ สมาคมเพื อ �อ ม – ธรรมศาสตร์ โมเดล รุรุน ่น �่ ๓/๒๕๖๑ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื สมาคมเพื � นชุ อ นชุ �่ออ � นชุ นชุ อ �ม อ � ชน นชุ ม อ �ชน นชุ มนชุ ชน ชน มม–ม ชน ชน –ธรรมศาสตร์ ชน –ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ –––ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ โมเดล โมเดล โมเดล โมเดล โมเดล โมเดล ่ รุที รุน ่ทีน ที � รุรุ ที รุ๓/๒๕๖๑ น ่� น รุ่ ่น ๓/๒๕๖๑ � ที น ๓/๒๕๖๑ ่ ที ที � � ๓/๒๕๖๑ ๓/๒๕๖๑ � ๓/๒๕๖๑ โครงการสมาคมเพื นชุ ม ชน-ธรรมศาสตร์ โ มเดล ที ่ 3/2561 การสร้ าการสร้ ัฒนาศ ักยภาพวิสาหกิ จจชุจ ชน และกลุ ่ม จจฐานราก การสร้ การสร้ การสร้ การสร้ การสร้ างเสริ งเสริ าางเสริ งเสริ าม างเสริ ม งเสริ าและพ งเสริ ม และพ มและพ และพ มมและพ ม และพ ัฒนาศ และพ ัฒนาศ ัฒนาศ ัฒนาศ ัฒนาศ ัฒนาศ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ ักยภาพวิสาหกิ ชุม จชุ มชุ ม จ ชน จมชุ จ ชน ชุชน ชุ มมและกลุ ม ชน ชน และกลุ ชน และกลุ และกลุ และกลุ และกลุ ่มเศรษฐกิ ่ม เศรษฐกิ ่มเศรษฐกิ เศรษฐกิ ่ม่มเศรษฐกิ ่ม เศรษฐกิ เศรษฐกิ จ ฐานราก จฐานราก ฐานราก จจฐานราก จ ฐานราก ฐานราก การสร้ าดดงเสริ และพั ฒ นาศั กยภาพวิ สธรรมศาสตร์ าหกิโจโมเดล ชุโโมเดล มมเดล พืพื น � พื ทีน � พื คอมเพล็ กกซ์ก ธรรมศาสตร์ น � พื ที �ม น ที พื ม � าบตาพุ ที พื น ม าบตาพุ �น �ม � ที น าบตาพุ � ที าบตาพุ ที ม �ม � าบตาพุ ม � าบตาพุ าบตาพุ ด คอมเพล็ ดคอมเพล็ คอมเพล็ ด ดม ด คอมเพล็ คอมเพล็ คอมเพล็ ซ์ กตามแนวทาง ซ์ซ์ ตามแนวทาง ก ก ตามแนวทาง ซ์ ก ตามแนวทาง ซ์ ซ์ตามแนวทาง ตามแนวทาง ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ธรรมศาสตร์ มเดล โชน โมเดล มเดล โมเดล และกลุ ่ม เศรษฐกิ จฐานราก โครงการ สมาคมเพื อ � นชุ ม ชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล รุน ่ ที� ๓/๒๕๖๑ การสร้ า งเสริ ม และพ ัฒนาศ ักยภาพวิสาหกิ จ ชุ ม ชน และกลุ ม ่ เศรษฐกิ จ ฐานราก รายชื รายชื รายชื รายชื อ � อ �วิ รายชื รายชื วิ สอ � รายชื ส อ � าหกิ วิพื วิาหกิ สส อ � วิาหกิ จ วิ อ � ที สจ ส ชุ วิาหกิ ชุ ส าหกิ จ ชุ ชน ชุ ชน มจมจชน ชุ ชน ชุ จมชุ มชน ม ชน ชนดคอมเพล็ ทีที อ � ที อ � ยูที ยูอ ่ � และ อ � ่ ยูและ ที ที ยู่ และ อ ที � ่ก อ � และ ยูอ ผู ยู � ซ์ ่ ผู ยู ่ และ ้มีและ ่ผู อ ้มีและ ผู อํา้มีํนาจแทนวิ า้มีอผู นาจแทนวิ อ ผู ําําผู นาจแทนวิ ้มี้มีนาจแทนวิ ออ้มีําอ ํานาจแทนวิ นาจแทนวิ ํานาจแทนวิ สสาหกิ าหกิ สสาหกิ าหกิ จสจ สธรรมศาสตร์ าหกิ ส าหกิ จจาหกิ จจจหน่ หน่ หน่ วหน่ วยงาน/บริ ยงาน/บริ วหน่ หน่ วยงาน/บริ ยงาน/บริ หน่ ววยงาน/บริ ยงาน/บริ วมเดล ยงาน/บริ ษษ ั ทั ษ ทฯษ ัท ฯั พี ทฯษ พี ษ เฯ � ัลี ท ษ พี เ�ั ทลี พี ย � ั ฯท เ� ฯย �ลี งเ� ฯ ลี พี งย พี �ย � เง�พี เ� ลี งลีเ� ย � ลี ย � งงย � ง ้น� อาหกิ ่มมจมาหกิ าบตาพุ ตามแนวทาง โ พืน � ทีม � าบตาพุดคอมเพล็ กซ์ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์โมเดล
ชุชุ มม ชุ ชน ชุ ชน มมชน ชุ ชน ชุมชุ มชน ชน มชน 1.1.1.1. วิวิ ส1. ส1. าหกิ วิวิาหกิ 1. สสาหกิ วิ าหกิ จ วิสจ ส ชุ วิาหกิ ชุ ส าหกิ จ มจม าหกิ ชุ ชนแปรรู ชุ ชนแปรรู มจมจชนแปรรู ชุ ชนแปรรู ชุ จมชุ มชนแปรรู ม ชนแปรรู ป ชนแปรรู ปอาหารวั อาหารวั ปปอาหารวั อาหารวั ปปอาหารวั ป อาหารวั ดอาหารวั ด ดด ดด79/200 ด79/200 79/200 79/200 79/200 79/200 หมู 79/200 หมู หมู ่ หมู 4่ 4ต.เนิ ่ หมู 4่หมู ต.เนิ 4หมู ต.เนิ ่ ต.เนิ ่ 4น4่ นพระ 4ต.เนิ ต.เนิ พระ นต.เนิ นพระ พระ อ.เมื นนอ.เมื พระ น พระ อ.เมื พระ อ.เมื ออ งอ.เมื อ.เมื งออ อ.เมื งง อองงอง กลุ กลุ กลุ ม ่ กลุ ม ่ ปตท. ม ่ ปตท. กลุ ม ่ กลุ ปตท. กลุ ปตท. ม ่ม ่ ม ่ (PTT ปตท. ปตท. (PTT ปตท. (PTT (PTT Group) (PTT (PTT Group) (PTT Group) Group) Group) Group) Group) กรอกยายชา กรอกยายชา กรอกยายชา กรอกยายชา กรอกยายชา กรอกยายชา กรอกยายชา ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง จ.ระยอง ระยอง จ.ระยอง ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง โทรศั โทรศั โทรศั โทรศั พโทรศั พ โทรศั ท์โทรศั พ ท์พท์ท์พ พท์ พ ท์ท์ รายชือ � วิส าหกิจชุมชน ทีอ � ยู่ และ ้มี่ อํานาจแทนวิ ส่ าหกิ หน่วยงาน/บริ ษัทฯ พีเ� ลีย � ง 4าาต.จาเนิ ออาหาร งระยอง ที่อผู(สมาชิ ยู(สมาชิ 0816543803 0816543803 0816543803 0816543803 0816543803 0816543803 0816543803 (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ ก ก ผู (สมาชิ ผู ก้มีกผู อ ้มี79/200 ผูอาํ ้มีกก านาจทํ ํ้มีอผู นาจทํ อ ผู กาํ าํผู ้มีนาจทํ ้มีนาจทํ ออ้มีหมู าํ อ าํ นาจทํ านาจทํ ํ นาจทํ า านพระ อ. เมือาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร ชุมชน ระยอง โทรศัพท์ 08 1654 3803 1. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหาร การแทนวิ การแทนวิ การแทนวิ การแทนวิ การแทนวิ การแทนวิ สสาหกิ าหกิ สสาหกิ าหกิ จสจ ส ชุ าหกิ ชุ ส าหกิ จ มจม าหกิ ชุ ชน มจมจ ชน ชุ นายสมเดช ชน ชุ จนายสมเดช มชุ มจ.ชน นายสมเดช ม ชน นายสมเดช ชนนายสมเดช นายสมเดช นายสมเดช 1. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารวั ดการแทนวิ 79/200 หมู ่ ชุ 4ชน ต.เนิ น พระ อ.เมือง กลุม ่ ปตท. (PTT Group) พรโสภณ) พรโสภณ) พรโสภณ) พรโสภณ) พรโสภณ) พรโสภณ) พรโสภณ) ผู้มีอำานาจแทน วัดกรอกยายชา กรอกยายชา ระยอง จ.ระยอง โทรศั พ ท์ โครงการ สมาคมเพือ � นชุมชน – ธรรมศาสตร์ โมเดล นายสมเดช พรโสภณรุน่ ที� ๓/๒๕๖๑ วิสักยภาพวิสาหกิ าหกิจชุมชน(สมาชิ 0816543803 กผู ้มีอาํ นาจทํา อาหาร การสร้างเสริมและพ ัฒนาศ จ ชุ ม ชน และกลุ่มเศรษฐกิจฐานราก ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ฑ์ ตณ ต :ฑ์ ภั :ต ภั (อยู ฑ์ ณ ภั (อยู :ณ:ณ (อยู ฑ์ ฑ์ ร่(อยู ฑ์ ะหว่ :ร่ :ะหว่ ร่ :(อยู ร่ะหว่ (อยู ะหว่ าางพั ร่ ร่ งพั ะหว่ าจะหว่ ร่ างพั ฒ ะหว่ งพั ฒ าชน าฒ นา งพั ฒ งพั านา งพั นา ฒ ฒฒ นา นา นา การแทนวิ ส(อยู าหกิ ชุ มนา นายสมเดช พืน � ทีม � าบตาพุ คอมเพล็ ตามแนวทาง ธรรมศาสตร์ โมเดล ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัดภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ฑ์ ตณ ต )ฑ์ ภั )ต ภัฑ์ ณ ภั )ณ )ณ ฑ์ ฑ์ ))ภัซ์ )ณฑ์ ผลิ ตกฑ์ • น้ำาพริกสมุ นไพร พรโสภณ) แหนมหมู แหนมหมู แหนมหมู แหนมหมู แหนมหมู แหนมหมู แหนมหมู :ไพร (อยู ร่ ไพร ะหว่างพัฒนา นํนํ�า�าพริ นํนํ พริ �าผลิ �าก พริ พริ นํ กสมุ นํต�าสมุ ก นํ �าภัพริ กพริ สมุ �น าณ สมุ น พริ ไพร กฑ์ ก ไพร นสมุ น ก สมุ ไพร สมุ นนไพร น ไพร รายชือ � วิส าหกิจชุมชน
ทีตอ � ภัยูณ ่ และ หน่วยงาน/บริษัทฯ พีเ� ลีย � ง ผลิ ฑ์) ผู ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ ชุ ม ชน � ้านเลขที 2.2.2.2. วิวิ ส2. ส2. าหกิ วิวิาหกิ 2. สสาหกิ วิ าหกิ จ วิสจ ส ชุ วิาหกิ ชุ ส าหกิ จ มจม าหกิ ชุ ชนกลุ ชุ ชนกลุ มจมจชนกลุ ชุ ชนกลุ ชุ จมชุ ม่มชนกลุ ม ชนกลุ ่ม ผลิ ชนกลุ ผลิ ่ม่มผลิ ตผลิ ตภั่ม่ม ภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ่มณ ภัฑ์ ผลิ ภัณ ฑ์ ตณ ต จฑ์ ภั จ ต าก ภัฑ์ ณ าก ภั จ ณจาก ณ ฑ์ ฑ์ าก ฑ์ จจบาก าก จบ้านเลขที าก บ้านเลขที บ้านเลขที ้านเลขที บบบ ้านเลขที ้านเลขที 55 � 55 � แหนมหมู 55 � ชุ55 ชุ ม� ม ชุ ชนมาบชลู � 55 55 ชุ ชนมาบชลู ม � 55 มชนมาบชลู ชุ ชนมาบชลู ชุมชุ มชนมาบชลู ม ชนมาบชลู ชนมาบชลู ดดซอย ซอย ดดซอย ซอย ด 3ด3ซอย ด ซอย 3ซอย 3- 3 -3-3-เอส.ซี เอส.ซี --เอส.ซี เอส.ซี - .เอส.ซี จี เอส.ซี .จีเอส.ซี .(SCG) จี.(SCG) จี(SCG) .(SCG) .จีจี.จี(SCG) (SCG) (SCG) 1. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารวัด หมู ่4น ต.เนิ กลุม ่ ปตท. (PTT Group) 79/200 นํ�าพริ กสมุ ไพรนพระ อ.เมือง ผผ้าชุ ผ ้าชุ ผม้าชุ มชนมาบชลู ้าชุ ผชนมาบชลู ผ มมผ ้าชุ ชนมาบชลู ้าชุ ชนมาบชลู ้าชุ มมกรอกยายชา ชนมาบชลู ม ชนมาบชลู ชนมาบชลู ดด ดด ดดด มาบชลู มาบชลู มาบชลู มาบชลู มาบชลู มาบชลู ดมาบชลู ด-แหลมสาน -แหลมสาน ด ด -แหลมสาน -แหลมสาน ด ด -แหลมสาน ด -แหลมสาน -แหลมสาน ต.ห ต.ห ต.ห ต.ห ้วยโป่ ้วยโป่ ต.ห ต.ห ้วยโป่ ้วยโป่ ต.ห ง ง ้วยโป่ อ. ้วยโป่ ง อ. ้วยโป่ ง อ. อ. ง ง ง อ. อ. อ. ระยอง จ.ระยอง โทรศั พท์ เมืเมื อเมื อ งเมื งอจ.ระยอง องเมื จ.ระยอง เมื งเมื จ.ระยอง อ0816543803 อ จ.ระยอง งงองจ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง โทร. โทร. โทร. โทร. ... โทร. ... โทร. ... โทร. (สมาชิ ... (สมาชิ (สมาชิ ... (สมาชิ ... ก (สมาชิ (สมาชิ กผู ผู ก้มีก ้มีผู้มีกก ้มีผูก ผูผู ้มี้มี ้มี เสื เสื อ � เสื อ �ผ เสื ผ อ � ้าอ � เสื ผ ้าเสื ผเสื ้าอ �อ ้า� ผอ ผ � ผ ้า้า ้า (สมาชิ ก... ผู ้มี(สมาชิ อ าํ ผู 2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์จาก บ ้านเลขที� 55 ชุ มชนมาบชลู ดนาจทํ ซอย า3 - เอส.ซี.จีอาหาร (SCG) อํอํานาจแทนวิ าอํนาจแทนวิ อําานาจแทนวิ นาจแทนวิ อํอําอํ านาจแทนวิ นาจแทนวิ านาจแทนวิ สสาหกิ าหกิ าหกิ าหกิ จสจ ส ชุาหกิ ชุ ส าหกิ จ มจม าหกิ ชุ ชน ชน มชุ จมจชน ชุ จชน :มชุ คุ ม ชน คุ :ม ณ ชน :่มณ คุ ชน คุ ณ ::ณคุ :คุณ คุ ณ ณ การแทนวิ ส าหกิ จชุ นายสมเดช หน่ วสดสยงาน/ •มชุ:ชน กลุ ปตท. ผ ้าชุมชนมาบชลูด มาบชลู -แหลมสาน ต.ห ้วยโป่ ง(PTT อ. Group) ประคอง ประคอง ประคอง ประคอง ประคอง ประคอง ประคอง เกิ เกิ ด เกิ ด มงคล) เกิ มงคล) ด ด เกิ มงคล) เกิ มงคล) เกิ ด ด มงคล) ด มงคล) มงคล) พรโสภณ) เมือ เสือ � ผ ้า บริ ษงัทจ.ระยอง ฯ พี่เลี้ยง โทร. ... (สมาชิกผู ้มี อํานาจแทนวิสาหกิจชุมชน : คุณ ผลิ ตณ ภั:ณ ณ (อยู ่ ร่ าะหว่ างพั ฒฒ ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ฑ์ ตณ ต :ฑ์ ภั :ต ภั (อยู ฑ์ ภั (อยู :ณ (อยู ฑ์ ฑ์ ร่(อยู ฑ์ ะหว่ :ร่ เกิ :ะหว่ (อยู ร่ :(อยู ร่ะหว่ (อยู ะหว่ ามงคล) างพั ร่ ร่ งพั ะหว่ าระหว่ งพั ฒ ะหว่ งพั ฒนา าาฒ นา ฒ งพั างพั นา งพั นา ฒ ฒ นา นา นา ประคอง ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ) ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ฑ์ ตณ ต )ฑ์ ภั )ต ภัฑ์ ณ ภั )ณ)ณ ฑ์ ฑ์ฑ์ )) ) าตั แหนมหมู กระเป๋ กระเป๋ กระเป๋ กระเป๋ ผลิ กระเป๋ กระเป๋ าตั ด าตั ดเย็ ดฑ์ บ าตั ดาตั เย็ บจากผ เย็ จากผ บ ด(อยู ดบเย็ จากผ ด เย็ จากผ เย็ บ ้าะหว่ จากผ บ จากผ ้า จากผ ้าฒ ้า นา ตกระเป๋ ภัาตั ณเย็ :าตั ร่ บ 55้า ้าาชุงพั ม้าชนมาบชลู ดซอย 3 มาบชลูด-แหลมสาน ยู่ นไพร ตนํ ก สมุ ผลิ ภั�าณพริ ฑ์ที ) ่อ
ห้วยโป่ 2. วิสาหกิจชุมชนกลุม่ ผลิตภัณฑ์ กระเป๋ าตัดเย็บต. จากผ ้า ง อ. เมือง จ. ระยอง โทร. ... 2. วิ สาหกิ จ ชุ ม ชนกลุ ม ่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก บ ้านเลขที � 55 ชุ ม ชนมาบชลู ดซอย 3 - เอส.ซี.จี (SCG) ผู้มีอำานาจแทน จากผ้าชุมชนมาบชลูด ผ ้าชุ ม ชนมาบชลู ด มาบชลู ด -แหลมสาน ต.ห ้วยโป่ ง อ. คุ ณ ประคอง เกิ ด มงคล บริ --ษ บริ บริ ษ -ั ทัษ ทษ บริ ดาวเคมิ บริ ั ทัดาวเคมิ ท บริ ษ ษ ดาวเคมิ ดาวเคมิ ัท ษ ั ทั ทดาวเคมิ ดาวเคมิ คดาวเคมิ คอลประ อลประ คคอลประ อลประ คคอลประ ค อลประ อลประ 3.3.3.3. วิวิ ส3. ส3. าหกิ วิวิาหกิ 3. สสาหกิ วิ าหกิ จ วิสจ ส ชุ วิาหกิ ชุ ส าหกิ จ มจม าหกิ ชุ ชน ชุ ชน มจมจชน ชุ ศพก.บ ชน ชุ จศพก.บ มชุ มชน ศพก.บ ม ชน ศพก.บ ชนศพก.บ ศพก.บ ้านฉาง ศพก.บ ้านฉาง ้านฉาง ้านฉาง ้านฉาง ้านฉาง ้านฉาง131/3 131/3 131/3 131/3 131/3 131/3 ม.4 ม.4 131/3 ศูาหกิ ศู นม.4 น ม.4 ศู ย์ศู ม.4 ย์ น รีชน เศู นนรู รียย์น ย์ ยนรู ้การเพิ เย์ เนรู รี้การเพิ รีเยย้การเพิ รีนรู ้การเพิ นรู ยนรู ม � ้การเพิ ม ้การเพิ � ้การเพิ ม �ม � ม �ม � ม � - - - -บริ วิเมืม.4 สม.4 จนเรีนชุเย์ยรีศูมย์ศูเยนรู งธิ ... (สมาชิ กผู ้มี เทศไทย ผ เทศไทย เทศไทย เทศไทย เทศไทย เทศไทย เทศไทย จํจําากัจํเสื กั จํด าาด กัอ� (DOW) กัจํด จํ(DOW) ด าาจํ้า(DOW) กักั า(DOW) ดกั ดด(DOW) (DOW) (DOW) ประสิ ประสิ ประสิ ประสิ ทท ประสิ ธิ ประสิ ท ธิ ภ ประสิ ท ภาพการผลิ ธิธิ าพการผลิ ภอท ภ ท าพการผลิ ท าพการผลิ ธิจ.ระยอง ภภ ธิาพการผลิ ภ าพการผลิ าพการผลิ ตตสิสิ ต นโทร. ตนสิ คสิ ค น้าเกษตร ต น ตค ้าเกษตร สิ ค ต สิ้าเกษตร นน สิ ้าเกษตร คน คค ้าเกษตร ้าเกษตร ้าเกษตร 3. วิสาหกิจชุมชน ศพก.บ ้านฉาง 131/3 ม.4 ศูส นาหกิ ย์เรียจนรู ้การเพิ ม � คุณ - บริษัท ดาวเคมิคอลประ าน ชุ มอ.บ ชน : ้าน (มั(มัน(มั น(มั สํสํ นาน(มั าปะหลั สํ(มั สํ ปะหลั า(มั นอํ าน ปะหลั สํ ปะหลั สํนาจแทนวิ าสํ งาปะหลั ง)ปะหลั า)ปะหลั งต.บ ง)ต.บ ต.บ ง้านฉาง )ฑ์ )้านฉาง งต.บ )ต.บ ้านฉาง ้านฉาง ต.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง อ.บ ้านฉาง อ.บ ้าน ้าน ้าน ้าน - - -า-บริ บริ --ษ บริ บริ ษ -ั ทัษ ทษ บริ บางกอกอิ บริ ั ทบางกอกอิ ัท บริ ษ ษ บางกอกอิ บางกอกอิ ัท ษ ั ทั ทบางกอกอิ บางกอกอิ บางกอกอิ นนดัดั น สนส ดั เทรี ดัเทรี สนส นเทรี ดัน เทรี ดัสดั สเทรี ส เทรี เทรี ผลิ ภั)าพการผลิ ณงต.บ กระเป๋ า้าน ตัอ.บ ดอ.บ เย็อ.บ บ้าน จากผ้ ประสิ ทธิตภเกิ เทศไทย จํากัด (DOW) ประคอง ดมงคล) ต สินค ้าเกษตร ฉาง ฉาง ฉาง ฉาง จ.ระยอง จ.ระยอง ฉาง ฉาง จ.ระยอง ฉาง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง โทรศั โทรศั โทรศั โทรศั พ โทรศั พ โทรศั ท์ โทรศั พ ท์ พ ท์ ท์ พ พ ท์ พ ท์ ท์ ยลแก๊ ยลแก๊ ยลแก๊ ยลแก๊ ส ยลแก๊ ส ยลแก๊ จํ ยลแก๊ ส จํ า ส า กั จํ กั จํ ด า ส ส ด า กั ส (BIG) กั จํ ด จํ (BIG) ด า า จํ กั (BIG) กั า (BIG) ด กั ด ด (BIG) (BIG) (BIG) (มันสํ าปะหลัง) ต.บ ้านฉาง อ.บ ้าน - บริษัท บางกอกอินดัสเทรี 0899388497 0899388497 0899388497 0899388497 0899388497 0899388497 0899388497 (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ ก(สมาชิ กผู(สมาชิ ผู ก้มีกผู อ ้มีผูอ าํ ้มีกก านาจ ํ ้มีอผู นาจ อ ก ผู าํ าํผู นาจ ้มี้มีนาจ ออ้มีาํ าอ ํ นาจ นาจ าํ นาจ ฉาง จ.ระยอง โทรศั ยลแก๊ส จํากัด (BIG) ผลิตภั ณฑ์: (อยู ร่ ะหว่พาท์ งพัฒนา แทนวิ แทนวิ แทนวิ แทนวิ สแทนวิ แทนวิ สาหกิ แทนวิ าหกิ ส0899388497 สาหกิ าหกิ จตสจ ส ชุภัาหกิ ชุ ส าหกิ จ มณ จม าหกิ ชุ ชน: ชุ ชน: มจมจ ชุ ชน: ชุ จคุมชุ มคุ ณ ชน: ม ชน: ณ คุลั ชน: คุณ ลัด ณด ลั คุ ดา คุลัดา ด ณ คุ ณ ดดา ณ ลั ศิ ดา ลัศิ ลั ดอารศิ ดา ด ดา รนาจ ดา ราาศิศิรศิ ราารา อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร (สมาชิ ก ผู ้มีรด าําศิ ผลิ ฑ์ )ชน: วาริ วาริ วาริ นวาริ น ) )น วาริ วาริ น)วาริ )แทนวิ น น ) น ) ) อาหาร สาหกิ จชุ คุณลั กระเป๋ าตั ดม เย็ชน: บจากผ ้า ดดา ศิรา วาริน) ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ฑ์ ตณ ต :ฑ์ ภั :ต ภั (อยู ฑ์ ณ ภั (อยู :ณ:ณ (อยู ฑ์ ฑ์ ร่(อยู ฑ์ ะหว่ :ร่ :ะหว่ (อยู ร่ :(อยู ร่ะหว่ (อยู ะหว่ าางพั ร่ ร่ งพั ะหว่ าะหว่ ร่ างพั ฒ ะหว่ งพั ฒนา าาฒ นา งพั ฒ งพั านา งพั นา ฒ ฒฒ นา นา นา ผลิ ตณ ภั)ณ ณ ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ฑ์ ตณ ต )ฑ์ ภั )ต ภัฑ์ ภั )ณ ฑ์ ฑ์)ฑ์ ) ): (อยูร่ ะหว่างพัฒนา หน่ วม.4 ยงาน/ - นรูเอสซี จี (SCG) 3. วิสาหกิจชุมชน ศพก.บ ้านฉาง 131/3 ศู น ย � งง ง ภัฑ์ ฑ์ ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ตภัผลิ ภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัตฑ์ ภั ผลิ ณ ตณ ต จณ ฑ์ ภั จต ากมั ภัฑ์ ณ ากมั ภั จ ณจ)ากมั ณ ฑ์ ฑ์ ากมั นฑ์ จ นสํ จย์ ากมั สํ น ากมั จาเนปะหลั ากมั สํ ารีสํ ปะหลั านน าปะหลั สํ ปะหลั น สํ้การเพิ าสํ งาปะหลั งปะหลั าปะหลั งงม
บริษัท ดาวเคมิคอลประ เทศไทย จํากัด (DOW) (มันสํ าปะหลัง) ต.บ ้านฉาง อ.บ ้าน - บริษัท บางกอกอินดัสเทรี ฉาง จ.ระยอง โทรศั พท์ ยลแก๊ส จํากัด (BIG) 4.4.4.4. วิวิ ส4. ส4. าหกิ วิวิาหกิ 4. สสาหกิ วิ าหกิ จ วิสจ ส ชุ วิาหกิ ชุ ส าหกิ จ มจม าหกิ ชุ ชนเขาไผ่ ชุ ชนเขาไผ่ มจมจชนเขาไผ่ ชุ ชนเขาไผ่ ชุ จมชุ มชนเขาไผ่ ม ชนเขาไผ่ ชนเขาไผ่ ผผลิลิ ผ ตผต ลิ นํลินํ ต � าผต ผ �ดื านํลิ ผ ดื นํ ลิ ม � าต �ม าลิ ต ดืดื นํต ม นํ � �ม า�นํ าดืดื � าม � ดื 41 ม � 41 ม � 41 หมู 41 หมู หมู ่41 41 ต.ทั หมู ่ 41 ต.ทั ่ หมู ต.ทั ่ หมู ต.ทั บหมู บมา ่ ่ ต.ทั มา บ ต.ทั ่ บต.ทั มา อ.เมื มา อ.เมื บบอ.เมื มา บ มา อ.เมื อมา อ งระยอง อ.เมื อ.เมื งระยอง ออ อ.เมื งระยอง งระยอง อองระยอง งระยอง อผู จ. งระยอง จ. จ.จ. จ. จ.จ. - - - -บริ บริ --ษ บริ บริ ษ -ั ทัษ ทษ บริ บี บริ ั ทบี ัท บริ แษ ษ แ บี อลซี บี ัท ษ อลซี ัแ ทแัอลซี ทบี อลซี บีพแบี แ พีอลซี อลซี แ เพาเวอร์ พ ี เพาเวอร์ อลซี พี เพาเวอร์ ี เพาเวอร์ พ พพ ี ี เพาเวอร์ เพาเวอร์ ี เพาเวอร์ 0899388497 ้มีอ าํ นาจ 4. วิสาหกิจชุมชนเขาไผ่ผลิตนํ� าดืม � 41 หมู่ ต.ทับมา(สมาชิ อ.เมือกงระยอง จ. - บริษัท บีแอลซีพ ี เพาเวอร์ ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั ระยอง โทรศั โทรศั พ โทรศั พ โทรศั ท์ โทรศั พ ท์ พ 0853964497 ท์ 0853964497 ท์ พ พ 0853964497 0853964497 ท์ พ ท์ ท์ 0853964497 0853964497 0853964497 จํ จํ า า กั จํ กั จํ ด า ด า กั (BLCP) กั จํ ด จํ (BLCP) ด า า จํ (BLCP) กั กั า (BLCP) ด ด กั ด (BLCP) (BLCP) (BLCP) แทนวิสโทรศั าหกิจพ ชุท์ มชน: คุณลัดดา ศิรา อาหาร ระยอง 0853964497 จํากัด (BLCP) (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ (สมาชิ ก (สมาชิ (สมาชิ กผู(สมาชิ ผู ก้มีกผู อ ้มีผูอําน้มีกก ํานาจแทนวิ ้มี)อผู นาจแทนวิ อ ก ผู ําําผู ้มีนาจแทนวิ ออ้มี้มีําอ อ ํานาจแทนวิ นาจแทนวิ นาจแทนวิ สสาหกิ าหกิ สสาหกิ าหกิ จสจ สสาหกิ ส าหกิ จาหกิ จาหกิ จจจจ - - - -กลุ กลุ ม ่ กลุ -ม ่ บริ บริ ม ่ กลุ ม ่ษ กลุ บริ ษ บริ กลุ ่ บริ ัษ ม ท ่ษ บริ ม โกลว์ บริ ่ั ท ั โกลว์ ท บริ ษ ษ โกลว์ ัโกลว์ ท ษ ัท ัท (Glow โกลว์ โกลว์ (Glow โกลว์ (Glow (Glow (Glow (Glow (Glow วาริ (สมาชิ ก ผู้มีนาจแทนวิ ําํานาจแทนวิ ---กลุ กลุ ม ่ ั ทม ษ ัท โกลว์ (Glow ชุชุ มม ชุ ชน: ชุ ชน: มมชน: ชุ ชน: ชุนายภิ มชุ ม นายภิ ชน: ชน: มนายภิ นายภิ รนายภิ มย์ รนายภิ มย์ นายภิ รนายภิ รมย์ ชาลวั มย์ ชาลวั รรชาลวั มย์ มย์ มย์ ลล ชาลวั ย์ ชาลวั ย์ ล )ชาลวั ล )ย์ย์)ล )ลลย์ล ย์ย์))ย์ Group) Group) Group) Group) Group) Group) Group) ชุ มชน: ชน: รรชาลวั มย์ ชาลวั )) Group) ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่างพัฒนา ผลิ ตณ ภั:ณ ณ ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ฑ์ ตณ ต :ฑ์ ภั :ต ภั (อยู ฑ์ ภั (อยู :ณ (อยู ฑ์ ฑ์ ร่(อยู ฑ์ ะหว่ :ร่ :ะหว่ (อยู ร่ :)(อยู ร่ะหว่ (อยู ะหว่ าางพั ร่ ร่ งพั ะหว่ าร่ะหว่ ร่ าะหว่ งพั ฒ ะหว่ งพั ฒนา าาฒ นา ฒ งพั างพั นา งพั นา ฒ ฒ นา นา นา อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร อาหาร ผลิ ต ภั ณ (อยู างพั ฒฒ อาหาร ฑ์ ผลิ ผลิ ผลิ ผลิ ตผลิ ต ภัภั ต ณ ผลิ ต ผลิ ณ ภัฑ์ ภั ผลิ ณ ตณ ต )ฑ์ ภั )ต ภัฑ์ ภั )ณ ฑ์ ฑ์ตฑ์ ))ภั)ณฑ์จากมันสํ าปะหลัง ผลิ ตณ ภั)ณ ณ พริ กกะปิ นํนํ�า�าพริ นํนํ พริ �า�าก พริ พริ นํ กกะปิ นํ�ากะปิ ก นํ �านํพริ กพริ กะปิ �า�ากะปิ พริ กกกะปิ กะปิ กะปิ ท ธิตภภั่เาพการผลิ ้าเกษตร บริ ษัทผลิ ฯ พี ลีณ้ยฑ์ ง จากมัตนสิสํนาคปะหลั ประสิ ง
-
พรโสภณ) 2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์จาก ผ ้าชุมชนมาบชลูด
บ ้านเลขที� 55 ชุมชนมาบชลูดซอย 3 - เอส.ซี.จี (SCG) ผลิตภั ฑ์: (อยูร่ ะหว่ งพัฒงนา มาบชลู ดณ -แหลมสาน ต.หา้วยโป่ อ. ภัณฑ์) โทร. ... (สมาชิกผู ้มี เมืผลิ อง ต จ.ระยอง เสือ � ผ ้า แหนมหมู อํานาจแทนวิ สาหกิจชุมชน : คุณ นํ�าเกิพริ กสมุนไพร ประคอง ดมงคล) Method for Sustainable Community-Business Development | 47 ภัณฑ์: (อยู างพัฒนา ดซอย 3 2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์จาก ผลิบต้านเลขที � 55ร่ ะหว่ ชุมชนมาบชลู - เอส.ซี.จี (SCG) ผลิมาบชลู ตภัณฑ์ด ) -แหลมสาน ต.ห ้วยโป่ ง อ. ผ ้าชุมชนมาบชลูด เมืกระเป๋ าตัดเย็บโทร. จากผ... ้า (สมาชิกผู ้มี อง จ.ระยอง เสือ � ผ ้า
สาหกิ มชน ศพก.บ้ านฉาง 3. 3. วิ วิสาหกิ จชุจมชุชน ศพก.บ ้านฉาง
3. วิสาหกิจชุมชน ศพก.บ ้านฉาง
4. วิสาหกิจชุมชนเขาไผ่ผลิตนํ� าดืม �
อํานาจแทนวิสาหกิจชุมชน : คุณ ที่อดยูมงคล) ่ 131/3 ม. 4 ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ ประคอง เกิ
การผลิ สำาษปะหลั ง) คอลประ 131/3 ม.4 ศูนย์เรียนรู ้การเพิตม � สินค้าเกษตร- (มัน บริ ั ท ดาวเคมิ ผลิท ตธิภัภณาพการผลิ ฑ์: (อยูร่ ตะหว่ า งพั ฒ นา ประสิ สิ น ค ้าเกษตร เทศไทย จํ ต. บ้านฉาง อ. บ้านฉาง จ. ระยอง ากัด (DOW) ภัณฑ์ง)) ต.บ ้านฉาง - บริษัท บางกอกอินดัสเทรี (มัผลิ นสํ าตปะหลั โทรศัพอ.บ ท์ 08้าน9938 8497 ฉาง โทรศั ยลแก๊ส จํากัด (BIG) จ.ระยอง กระเป๋ าตั ดเย็พบท์จากผ ้า ผู้มีอำานาจแทน(สมาชิกผู ้มีอาํ นาจ 0899388497 ศิราวาริน อาหาร แทนวิ สาหกิ ดา ศิรา วิสาหกิ จชุมจชุชนมชน: คุคุณณลัลัดดดา วาริน)
131/3 ยนรู ม � นสำาปะหลั- ง (มับริ ษัท ดาวเคมิคอลประ ผลิตม.4 ภัณศูฑ์นย์เรีผลิ ตภั้การเพิ ณฑ์จากมั นทอด) เทศไทย จํากัด (DOW) - บริษัท บางกอกอินดัสเทรี ยลแก๊ส จํากัด (BIG) 0899388497 (สมาชิกผู ้มีอาํ นาจ แทนวิสาหกิจชุมชน: คุณลัดดา ศิรา อาหาร หน่ บริษทั ดาวเคมิ คอลประเทศไทย กัด (DOW) 41วาริ หมู บมา อ.เมื-องระยอง จ. - บริษัท บีจำแาอลซี พ ี เพาเวอร์ น่ ต.ทั )วยงาน/ าพการผลิ ต สิ ค ้าเกษตร ผลิประสิ ตภัณท ฑ์ธิ:ภ(อยู ร่ ะหว่างพั ฒนนา ผลิ(มั ตภั ) นณ สํ าฑ์ปะหลั ง) ต.บ ้านฉาง อ.บ ้าน ฉาง ผลิจ.ระยอง ตภัณฑ์จากมั นสํพ าปะหลั โทรศั ท์ ง
ระยอง จําย กัลแก๊ ด (BLCP) บริษัทโทรศั ฯ พี่เลีพ้ยท์ง 0853964497 - บริษทั บางกอกอินดัสเทรี ส จำากัด (BIG) (สมาชิ ก ผู ้มี อ า ํ นาจแทนวิ ส าหกิ จ กลุ ม ่ บริษัท โกลว์ (Glow ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่างพัฒนา ชุมชน: นายภิรมย์ ชาลวัลย์) Group)
ผลิตภัณฑ์) ผลิตภัณฑ์จากมันสํ าปะหลัง
้
4. วิ สาหกิ มชนเขาไผ่ผลินตำาดืนํ่ม� าดืม� 4. วิ สาหกิ จชุจมชุชนเขาไผ่
ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่างพัฒนา อาหาร ผลิตภัณฑ์) ที่อยู่ 41 หมู่ ต. ทับมา อ. เมืองระยอง จ. ระยอง นํ�าพริกกะปิ โทรศัอพงระยอง ท์ 08 5396 ่ ต.ทับมา อ.เมื จ. 4497- บริษัท บีแอลซีพ ี เพาเวอร์ 41ผัหมู กดองระยองฮิ
ผูระยอง ้มีอำานาจแทน โทรศัพท์ 0853964497 นายภิรมย์ ชาลวั อํานาจแทนวิ สาหกิ จ ลย์ วิ(สมาชิ สาหกิจกชุผูม้มีชน ชุมชน: นายภิรมย์ ชาลวัลย์) ผลิPage ตภัณฑ์5 of 6นำา้ พริกหมูชะมวง ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่ างพั “แหล่ ม..ฮิฒ”นา
จํากัด (BLCP) กลุม ่ บริษัท โกลว์ (Glow Group)
-
อาหาร
ผลิตภัณฑ์) นํ�าพริกกะปิ ผักดองระยองฮิ
Page 5 of - 6บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จำากัด (BLCP) หน่วยงาน/ บริษัทฯ พี่เลี้ยง - กลุ่มบริษัท โกลว์ (Glow Group)
5. วิสาหกิจชุมชนสกรีนเสื้อผ้า
5. วิสาหกิจชุมชนสกรีนเสือ ชุมชนตลาดห้วยโป่ง � ผ ้าชุมชน ตลาดห ้วยโป่ ง
ที่อยู่
8/1 หมู่ ต. ห้วยโป่ง อ. เมืองระยอง จ. ระยอง โทรศัพท์ 08 7658 1991
หมู่ ต.ห ้วยโป่ ง อ.เมืองระยอง จ. ผู8/1 ้มีอำานาจแทน ระยอง โทรศั พท์นางโฉมศรี 0876581991 ปรุงแต่ง วิส(สมาชิ าหกิจชุกมผูชน ้มีอํานาจแทนวิสาหกิจ
-
บริษัทฯ กรุงเทพ ซินธิตก ิ ส์ จํากัด (BST) - บริษัท วีนไิ ทย จํากัด ชุมชน: นางโฉมศรี ปรุงแต่ง) (มหาชน) (VNT) ผลิตภัณฑ์ • สกรีนเสื้อ - บริษัท อินโดรามา เวน ผลิาตงพั ภัณฒ ฑ์ผนา้ามัดย้อม ผลิตภัณฑ์: (อยู•ร่ ะหว่ เจอร์ส จํากัด (มหาชน) ผลิตภัณฑ์) - บริษัท อินโดรามา โพลีเอ (BST) อินดัสตรีส� ์ จํากัด หน่วยงาน/ � - บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส์ จำากัดสเตอร์ สกรีนเสือ บริ ษ ท ั วี น ไ ิ ทย จำ า กั ด (มหาชน) (VNT) บริษัทฯ พี เ ่ ลี ย ้ ง ผลิตภัณฑ์ผ ้ามัดย ้อม (มหาชน) - บริษทั อินโดรามา เวนเจอร์-ส จำาบริ กัดษ(มหาชน) ั ท อินโดรามา ปิ โตร กัด้ส์ - บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์เคม อินดัจํสาตรี บริ ษ ั ท เจเอสอาร์ บีเอสที จำากัด (มหาชน) อิ ล าสโตเมอร์ จํ า กั ด (JBE) - บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำากัด
- บริษัท เจเอสอาร์ บีเอสที อิลาสโตเมอร์ เครือ � งแต่งกาย – มัดย ้อม จำากัด (JBE)
6. วิสาหกิจชุมชนมาบตาพุด ลิตเติล � เมอเมตคอสเมติกส์
53/1 ถ.เสริมสุวรรณ ต.มาบตาพุด อ. เมือง จ.ระยอง โทรศัพท์ 0917757261 (สมาชิกผู ้มีอาํ นาจแทน วิสาหกิจชุมชน: คุณกมลวรรณ นาค ศิลา) ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่างพัฒนา
-
บริษัท เหล็กสยามยามา โตะ จํากัด (SYS) บริษัท ลินเด ้ (ประเทศ ไทย) จํากัด (มหาชน) (Linde) บริษัท แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จํากัด
ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่างพัฒนา ผลิตภัณฑ์) สกรีนเสือ � ผลิตภัณฑ์ผ ้ามัดย ้อม 48 | Thammasat Model:
-
เจอร์ส จํากัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา โพลีเอ สเตอร์ อินดัสตรีส � ์ จํากัด (มหาชน) บริษัท อินโดรามา ปิ โตร เคม จํากัด บริษัท เจเอสอาร์ บีเอสที อิลาสโตเมอร์ จํากัด (JBE) เครือ � งแต่งกาย – มัดย ้อม
6.
ต. มาบตาพุ ที่ออยูงระยอง ่ 53/1 5. วิสาหกิจชุมชนสกรีนเสือ � ผ ้าชุมชน 8/1 หมู่ ต.ห ้วยโป่ ง อ.เมื จ. ถ. - เสริ บริม ษสุ ั ทวฯรรณ กรุงเทพ ซินธิตก ิ ส์ ด อ. เมือง ตลาดห ้วยโป่ ง ระยอง โทรศั พ ท์ 0876581991 จํ า กั ด (BST) จ. ระยอง โทรศั พ ท์ 09 1775 สาหกิ มชนมาบตาพุดดลิ ตเติ(สมาชิ วิ6. วิ สาหกิ จชุจมชุชนมาบตาพุ ล � กผู ้มี53/1 ถ.เสริมสุวรรณ ต.มาบตาพุ ด อ. -7261 บริษัท เหล็กสยามยามา อํานาจแทนวิสาหกิจ - บริษัท วีนไิ ทย จํากัด เมอเมตคอสเมติ กส์ ง จ.ระยอง โตะ จํากัด (SYS) ปรุงแต่ง) โทรศั พ ท์(มหาชน) (VNT) ้มเมืีอำาอนาจแทน ลิตเติ้ลเมอเมตคอสเมติ กส์ ชุมชน: ผูนางโฉมศรี คุ ณ กมลวรรณ ล า - ผู บริ ษา ั ทนาคศิ อินโดรามา เวน 0917757261 (สมาชิ ก ้มี อ ํ นาจแทน บริ ษัท ลินเด ้ (ประเทศ ส:าหกิ ชุมางพั ชนฒนา ผลิตภัณวิฑ์ (อยูร่ จ ะหว่ เจอร์ส จํากัด (มหาชน) ผลิตภัณฑ์วิ ) สาหกิจชุมชน: สกรีนเสื อ � า) ศิล ผลิตภัณฑ์ผ ้ามัดย ้อม
คุณกมลวรรณ - บริษัท อินนาค โดรามา โพลีเอ ไทย) จํากัด (มหาชน) (Linde) บริษัท แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จํากัด ผลิตภัณฑ์) (ALT) อิลาสโตเมอร์ จํากัด (JBE) เซรัมสั บปะรด - บริษัท เซออน เคมิคัลส์ งกาย – มัดย ้อม หน่วสบู ่กล ้วยหอม ยงาน/ - บริษัทเครื เหล็อ� งแต่ กสยามยามาโตะ จำา(ไทยแลนด์ กัด (SYS) ) จํากัด สบู่เต.มาบตาพุ ส ่ ลีบ 53/1 ถ.เสริ รรณ เหล็กสยามยามา จำากั(ZEON) บริษมสุัทวฯ พี ้ยั งปะรด-ด อ.บริษ-ทั ลิบรินษเด้ั ท (ประเทศไทย) ด (มหาชน)
ผลิตภัณฑ์
สเตอร์ อินดัสตรีส � ์ จํากัด • สบู่เหลวสั บปะรด (มหาชน) • สบู่ก- ล้วบริ ยหอม ษัท อินโดรามา ปิ โตร ผลิตภัณฑ์: (อยู•ร่ ะหว่ า งพั ฒ นา เคม จํากัด สบู่ส- ับปะรด บริษัท เจเอสอาร์ บีเอสที
6. วิสาหกิจชุมชนมาบตาพุด ลิตเติล � เมอเมตคอสเมติกส์
7.
โตะ จํากัด (SYS) (Linde) - บริษัท ลินเด ้ (ประเทศ เครือ � งสํ าอางค์-สบูน ่ ํ�าหมัก ไทย)ลิจํคาวิกัด ด (ประเทศไทย) (มหาชน) - บริษทั แอร์ จำากัด (ALT) (Linde) บริอ.เมื ษัท แอร์ - บรินษ-พระ ัท เซออน เคมิ ควิัลดส์ (ไทยแลนด์ ากัด คมอุตสาหกรรม 85 หมูท ่ ี� 2 ตําบลเนิ อ งลิคจ. - สํ านั) กจำงานนิ วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่างพัฒนา (ประเทศไทย) จํากัด (ZEON) 21000โทรศั พท์ (ALT) มาบตาพุด (สนพ.) ป่ าชุมชนตําบลเนินพระ ผลิตภัณฑ์ระยอง )
7. วิสาหกิจชุมชนแปรรูป ผลิตภัณฑ์ป่าชุมชน 7. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ ตำป่ าาชุบลเนิ พระนพระ มชนตํน าบลเนิ
เมือง จ.ระยอง โทรศัพท์ 0917757261 (สมาชิกผู ้มีอาํ นาจแทน วิสาหกิจชุมชน: คุณกมลวรรณ นาค ศิลา)
เซรัมสั0623788823... บปะรด - กบริ (สมาชิ ผูษ้มีั ทอเซออน าํ นาจเคมิคัลส์สบู่กล ้วยหอม (ไทยแลนด์) จํากัด ทํ า การแทนวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน: คุ ณ สบูส ่ บ ั ปะรด (ZEON)
สํ านั กงานนิคมอุตสาหกรรม
าเนินงานกลุ่มมาบตา 85 หมู่ที่ 2 ตำาบลเนินพระ อ. เมือร่งวมดํ จ. ระยอง สมบูรณ์สุทัศน์ พู ล นิ น ) พุ ด (สตอ.) 21000 โทรศั พท์ 06 2378 8823 เครือ � งสํ าอางค์-สบูน ่ ํ�าหมัก - สํ านั กงานท่าเรือ ผู้มผลิ ีอำาตนาจแทน ภัณ ฑ์:อ.เมื (อยูร่ จ.ะหว่ สมบูา- งพั รณ์สํฒ สานัุทนา น์ พูคลมอุนิตนสาหกรรม อุตสาหกรรมมาบตาพุด 85 หมูท ่ ี� 2 ตําบลเนิ นพระ กัศ งานนิ วิสผลิ าหกิตจภัชุณ ชน) องคุณ ระยอง 21000โทรศั พมท์ มาบตาพุด (สนพ.) ฑ์ (สทร.) 0623788823... (สมาชิกผู ้มีอาํ นาจ - สํ านั กงานนิคมอุตสาหกรรม สาหกิ นํจ�าชุชะมวงพร ้อมดืม � ร่วมดําเนินงานกลุ่มมาบตา - สมาคมเพือ � นชุมชน (CPA) ้ ทําการแทนวิ ม ชน: คุ ณ ผลิตภัณฑ์ นำาชะมวงพร้อมดื่ม
ที่อยู่
สมบูรณ์สุทัศน์ พูลนิน)
ผลิตภัณฑ์: (อยูร่ ะหว่างพัฒนา ผลิตภัณฑ์) นํ�าชะมวงพร ้อมดืม �
หน่วยงาน/ บริษัทฯ พี่เลี้ยง
-
พุด (สตอ.) สํ านั กงานท่าเรือ อุตสาหกรรมมาบตาพุด (สทร.) สมาคมเพือ � นชุมชน (CPA)
เครือ � งดืม �
เครือ งดืม � - สำานักงานนิคมอุ ต� สาหกรรมมาบตาพุ ด (สนพ.) - สำานักงานนิคมอุตสาหกรรมร่วมดำาเนินงาน กลุ่มมาบตาพุด (สตอ.) - สำานักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด (สทร.) - สมาคมเพื่อนชุมชน (CPA)
Page 6 of 6
Page 6 of 6
ธรรมศาสตร์โมเดล โชว์เคส สิบปี สิบกรณีศึกษา ดวงใจ หล่อธนวณิชย์
50 | Thammasat Model:
บ้านปากานต์ (PAKARN HOUSE)
วิสาหกิจชุมชนบ้านปากานต์ จังหวัดราชบุรี
ผู้นำ�ชุมชน คุณกานต์สินี จิตพนมกาญจน์ ที่ตั้ง วิสาหกิจชุมชนบ้านปากานต์ ตำ�บลจอมบึง อำ�เภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
วิสาหกิจชุมชนบ้านปากานต์ มีจุดเริ่มต้นจากคุณกานต์สินี จิตพนม กานต์ ลาออกจากงานประจำ�ของโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง เมื่อปี 2540 เนือ่ งจากปัญหาด้านสุขภาพของคุณกานต์สนิ แี ละคนในครอบครัว ทำ�ให้ตอ้ ง แสวงหาการดูแลสุขภาพด้วยการใช้ภมู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ โดยเน้นความประหยัด เรียบง่าย และพึ่งพาตนเองได้ ประกอบกับมีความชอบทำ�อาหารอยู่แล้ว จึง เริ่มหันมาสนใจการทำ�อาหารเพื่อสุขภาพรับประทานเอง การเริ่มต้นรวมกลุ่มของชุมชนเพื่อแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ เกิดขึ้น เมื่อคุณกานต์สินี ได้ชวนเพื่อนและคนที่สนใจในการแปรรูปอาหารเข้าร่วม กลุ่ม ประกอบด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน (อสม.) เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ผู้สูงอายุ แม่บ้าน และเยาวชนจำ�นวน 30 คน และมีการระดม ทุนคนละ 1,000 บาท แต่สดุ ท้ายจำ�นวนสมาชิกลดน้อยลงเหลือเพียง 10 คน ในปี 2557 ทางชุมชนได้ตั้งวิสาหกิจชุมชนบ้านปากานต์ มีสมาชิก ทั้งหมด 10 คน โดยคุณกานต์สินีเป็นผู้นำ�ชุมชน เนื่องจากตัวเธอเองมีความ ต้องการทีจ่ ะขอความช่วยเหลือจากทางรัฐบาล แต่ไม่สามารถดำ�เนินการด้วย ตัวคนเดียวได้ จึงจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน หลังจากนั้นได้รับความสนับสนุนจาก หน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้ความรู้ และนำ�มาปรับใช้กบั ผลิตภัณฑ์ของตน ได้แก่ กะหรี่ปั๊บไส้เห็ด น้ำ�สลัดเพื่อสุขภาพ และอาหารเพื่อสุขภาพอื่นๆ แต่ความรู้ที่ได้จากหน่วยงานภาครัฐก็ยังไม่เพียงพอที่จะปรับ เพื่อทำ� กลยุทธ์ทางการตลาด หรือหาช่องทางการจัดจำ�หน่ายด้วยตนเอง อีกทั้ง สินค้าที่ผลิต ยังไม่ตอบสนองความต้องการของตลาด ทำ�ให้รายได้ต่ำ�และ
Method for Sustainable Community-Business Development | 51
ขาดทุนในทีส่ ดุ นับเป็นเหตุการณ์ทบี่ นั่ ทอนกำ�ลังใจชุมชนอย่างมาก จนอยาก จะเลิกดำ�เนินการ
ธรรมศาสตร์โมเดล
ในปลายปี 2557 ธนาคารออมสินเป็นผู้ติดต่อวิสาหกิจชุมชนบ้าน ปากานต์ ให้เข้าร่วมโครงการธรรมศาสตร์โมเดล ประกอบกับระหว่างนั้น สำ�นักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี มีโครงการอาหารแปรรูปเพือ่ สุขภาพ ทีจ่ ดั ขึน้ เพื่อให้ชุมชนเข้าร่วมแข่งขันการแปรรูปอาหารจากข้าว ทางชุมชนจึงปรึกษา กับนักศึกษาว่า ควรจะเข้าร่วมหรือไม่ เมื่อปรึกษากันแล้วเห็นว่าควรจะเข้า ร่วมแข่งขัน โดยนักศึกษาจะช่วยเหลือในการคิดผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจาก ข้าว รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของชุมชนอีกด้วย กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักศึกษากับชุมชน ก่อให้เกิดการ พัฒนาและช่วยเหลือ วิสาหกิจชุมชนบ้านปากานต์ ในหลายด้าน อาทิ คิดค้น ผลิตภัณฑ์ใหม่ “คุกกี้ข้าวไรซ์เบอร์รี่” ออกแบบบรรจุภัณฑ์และฉลากสินค้า ใหม่ให้กับผลิตภัณฑ์น้ำ�สลัดโดยออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้มีลักษณะเป็นขวด ใสมีฝาปิดสนิท ส่วนฉลากสินค้าออกแบบให้เรียบง่ายแต่ดูดีและได้ปรับเป็น ชื่อภาษาอังกฤษว่า Salad Cream ภายใต้ชื่อ PAKARN HOUSE ซึ่งเป็น ชื่อของชุมชน พร้อมทั้งยังสอนชุมชนให้เรียนรู้การเพาะเห็ดเพื่อลดต้นทุน ช่วยกันทำ�ก้อนเชื้อเห็ด การผลิต จากเดิมที่ซื้อวัตถุดิบจากภายนอกเข้ามา
52 | Thammasat Model:
นักศึกษายังได้สอนการเขียน โครงการเพื่อยื่นของบประมาณ จากหน่วยงานของรัฐบาล ทำ�ให้คณ ุ กานต์สนิ เี ข้าใจถึงกระบวนการ และ มีความมัน่ ใจในการเขียนมากขึน้ ซึง่ โครงการทีเ่ ขียนในระหว่างทีน่ กั ศึกษา เข้ามานัน้ คือโครงการต่อเติมอาคาร เพือ่ เสริมสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน ซึง่ ได้นำ�มาสร้างโรงผลิตสินค้าอาหาร แปรรูปเพื่อสุขภาพ ระบบบัญชี เป็นอีกสิ่งสำ�คัญ ในการดำ�เนินงานธุรกิจ นักศึกษาได้ สอนการบันทึกบัญชีอย่างง่าย และ ออกแบบการจดบันทึกรายการสั่ง ซื้อ เพื่อให้ชุมชนได้ทราบถึงต้นทุน ในการผลิตที่ถูกต้อง รับรู้กำ�ไรที่แท้จริง และทำ�ให้การวางแผนการผลิตมี ที่ปรึกษาลงพื้นที่ประเมินผลงาน ระบบมากยิ่งขึ้น ในส่วนของการหาช่องทางการจัดจำ�หน่ายใหม่นั้น นักศึกษาได้พาคุณ กานต์สนิ ี พร้อมทัง้ ผลิตภัณฑ์ตวั อย่าง ไปติดต่อตามร้านขายอาหารเพือ่ สุขภาพ ต่างๆ ภายในจังหวัดราชบุรี เพือ่ ขอนำ�สินค้าไปวางขาย ทำ�ให้ทางกลุม่ วิสาหกิจ บ้านปากานต์มีช่องทางในการกระจายสินค้ามากขึ้น
การดำ�เนินการในปัจจุบัน
กลุม่ สมาชิกของวิสาหกิจบ้านปากานต์ยงั คงดำ�เนินการต่อมาจนถึงปัจจุบนั โดยได้นำ�ความรู้ ประสบการณ์ในขณะทีน่ กั ศึกษาลงชุมชนมาประยุกต์และมี การพัฒนาเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ด้าน ดังนี้ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในส่วนของกะหรีป่ บั๊ ไส้เห็ด ได้นำ�ความรูแ้ ละ ประสบการณ์ จากการทำ�คุกกี้ข้าวไรซ์เบอร์รี่มาประยุกต์ โดยมีการปลูกข้าว ไรซ์เบอร์รี่เองภายในชุมชน เพื่อลดปริมาณการใช้แป้งสาลี ช่วยให้ลดต้นทุน วัตถุดิบ และสามารถควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบ พร้อมทั้งมีการปรับบรรจุ ภัณฑ์ให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม จากทีเ่ คยใช้บรรจุภณ ั ฑ์แบบพลาสติกได้ปรับ มาใช้เป็นกล่องกระดาษโดยยังคงใช้สติกเกอร์ฉลากสินค้าทีน่ กั ศึกษาออกแบบ ให้ ส่วนน้ำ�สลัดที่นักศึกษาได้เข้าไปปรับปรุงด้านบรรจุภัณฑ์ท�ำ ให้สินค้ามี ภาพลักษณ์ที่ดีและทันสมัย ชุมชนยังคงใช้บรรจุภัณฑ์แบบเดิมจนถึงปัจจุบัน นอกจากนีท้ างชุมชนยังเพิม่ สินค้าให้มคี วามหลากหลายขึน้ โดยสินค้าที่ ผลิตเพิม่ เข้ามา ได้แก่ ขนมปังจากข้าวไรซ์เบอร์รี่ ขนมปังจากฟักทอง ซาลาเปา และยังรับทำ� snack box อีกด้วย
Method for Sustainable Community-Business Development | 53
้ สลัด ็กเกจนำ� ัณฑ์ พ แ บ ั ร ป นาผลิตภ และพัฒ
ด้านช่องทางจัดจำ�หน่าย แม้ปัจจุบันจะไม่ได้วางจำ�หน่ายในร้านที่ นักศึกษาเข้าไปติดต่อไว้ แต่ชมุ ชนได้เรียนรูว้ ธิ แี ละขัน้ ตอนการติดต่อ ประกอบ กับใน ปี 2557 ทางชุมชนเข้าร่วมโครงการตลาดเกษตรสีเขียว และได้รับคัด เลือกเป็นตัวแทนของอำ�เภอจอมบึง ซึ่งเป็นหนึ่งในสิบอำ�เภอของราชบุรี ให้ เข้าไปจำ�หน่ายสินค้า ในตลาดเกษตรกรจังหวัดราชบุรี มีทั้งหมด 34 ชุมชน ที่ได้รับเลือก การเข้าร่วมโครงการตลาดเกษตรสีเขียวทำ�ให้วิสาหกิจชุมชนแปรรูป อาหารเพือ่ สุขภาพตำ�บลจอมบึงได้มาเรียนรูด้ า้ นการตลาดและมีชอ่ งทางการ จำ�หน่ายสินค้า ส่งผลให้กลุ่มเกิดการปรับเปลีย่ นการผลิตสินค้า ให้มีคุณภาพ มีมาตรฐานความปลอดภัย และได้รับการพัฒนาที่ตรงกับความต้องการของ ผู้บริโภค ด้านการบริหารจัดการ ชุมชนยังคงยึดหลักไม่ก่อหนี้ ยอมที่จะเติบโต ช้าๆ ตามกำ�ลังที่มีอยู่ จึงเลือกการเขียนโครงการ เพื่อของบประมาณจากรัฐ แทนการกูย้ มื เงิน ในส่วนของเงินทีน่ �ำ มาใช้ภายในชุมชน ได้มาจากกำ�ไรในการ ดำ�เนินงาน โดยกำ�ไรร้อยละ 40 แบ่งให้สมาชิกในรูปแบบของค่าจ้าง ส่วนอีก พัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 60 นำ�ไปเป็นกองทุนเพื่อซื้อวัตถุดิบ วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ โดยรับ ซื้อวัตถุดิบจากสมาชิกในราคาที่สูงกว่าตลาด ปัจจุบนั ชุมชนมีรายได้จากการจำ�หน่ายสินค้าทีต่ ลาดเกษตรกรประมาณ 2,000-10,000 บาทต่อวัน และชุมชนมีรายได้ในแต่ละสัปดาห์รวมแล้วประมาณ 18,000 บาท โดยในจำ�นวนนี้ เป็นกำ�ไรร้อยละ 50 ด้านสถานที่ผลิต มีการเพิ่มเครื่องจักรซึ่งมาจากเงินของกลุ่มรวมกับ เงินที่เขียนโครงการ เพื่อขอการสนับสนุนจากภาครัฐ ทำ�ให้ชุมชนสามารถ ผลิตผลิตภัณฑ์ได้รวดเร็ว และมีมาตรฐานมากขึ้น ด้านระบบบัญชี ยังคงมีการบันทึกบัญชีในลักษณะของรายรับ-รายจ่าย ตามรูปแบบที่นักศึกษาได้สอนการบันทึกบัญชีอย่างง่าย โดยจะทำ�บัญชี 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ด้านความร่วมมือภายในชุมชน มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 14 คน และมี การแตกสาขาการผลิตออกไป จากเดิมมีเพียงการผลิตเพื่อแปรรูป ทุกวันนี้ มีสมาชิกในกลุ่ม ที่แตกสาขาในการผลิตเห็ดอย่างเดียว และยัง ขยายไปทำ�เล้าเห็ดที่บ้านของตน ในส่วนของการพัฒนาและต่อยอดในอนาคตนั้น ชุมชน มีความตั้งใจที่จะพัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับอาหาร แปรรูป เพื่อให้ผู้สนใจได้เห็นต้นแบบของการแปรรูปที่สมบูรณ์ แบบ และเป็นไปตามมาตรฐานของ อย. ปัจจุบันทั้งสินค้าและ โรงเรือนผลิตสินค้ายังไม่ได้รับมาตรฐาน อย. แต่ชุมชนตั้งใจว่า จะดำ�เนินการทุกอย่างให้เสร็จสิ้นภายในปี 2561 นี้
54 | Thammasat Model:
คาสซีย์ชิปส์ (Cassy Chips)
ผู้นำ�ชุมชน ที่ตั้ง
คุณทองเจือ ภู่ห้อย วิสาหกิจชุมชนศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตร (ศพก.) บ้านฉาง เลขที่ 131/3 หมู่ที่ 4 ตำ�บลบ้านฉาง อำ�เภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
ศูนย์เรียนรูก้ ารเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) บ้านฉาง เป็นชุมชนที่ปลูกมันสำ�ปะหลังมาเป็นเวลากว่า 50 ปี ผลผลิตส่วนใหญ่ของ เกษตรกรขายให้แก่โรงงาน มักจะประสบปัญหาวงจรราคาพืชผลเกษตร ตกต่ำ� ชะตาชีวิตขึ้นอยู่กับฝนฟ้าอากาศ ในช่วงก่อนที่ธรรมศาสตร์โมเดล จะเข้ามา ชุมชนยังไม่เคยมีการรวมกลุ่มนำ�มันสำ�ปะหลังมาแปรรูปหรือทำ� ผลิตภัณฑ์อื่นใดเลย ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยองได้เข้ามาจุดประกายสาธิตให้ชุมชน คิดค้นมัน สำ�ปะหลังแปรรูป โดยนำ�มันสำ�ปะหลัง “พันธุร์ ะยอง 2” มาทดลองทำ�เป็นของ ทานเล่น แต่มนั พันธุน์ หี้ ายากและราคาแพง อย่างไรก็ตาม ความคิดทีจ่ ะเริม่ ทำ� มันสำ�ปะหลังแปรรูปเริ่มก่อตัวขึ้นในชุมชนแล้ว เพียงแต่จะเดินต่อไปอย่างไร
ธรรมศาสตร์โมเดล
การพบกันของนักศึกษาคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ กับชาวไร่มันสำ�ปะหลังในวิสาหกิจชุมชนศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) บ้านฉาง เมือ่ ปี 2560 ได้กอ่ ให้เกิด การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ จากวัตถุดิบดั้งเดิมที่ชาวบ้านคุ้นเคย เปลี่ยน “มัน 5 นาที” ราคา 10 บาทต่อกิโลกรัม เป็น คาสซีย์ชิปส์ (Cassy Chips) มันทอด รสสมุนไพรและพริกเผา ซองละ 35 บาท สร้างมูลค่าเพิ่ม 11 เท่า และสร้าง กำ�ไร 54% จากยอดขาย โครงการนีม้ เี ป้าหมายเพือ่ ช่วยเกษตรกรให้หลุดพ้นจากวงจรราคาพืชผล
Method for Sustainable Community-Business Development | 55
ชาวไร่มันสำ�ปะหลังเอาชนะราคา พืชผลตกต�่ำ ได้ดว้ ยการร่วมมือกับนักศึกษา ค้นหาชนิดมันที่เหมาะสมมาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัตถุดิบที่ตนคุ้นเคย
เกษตรตกต่ำ� โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่สำ�คัญของศตวรรษที่ 21 คือ “การ สร้างนวัตกรรมจากการเรียนรูแ้ บบทดลอง (Innovation from Experimental Learning)” ซึ่งบางครั้งก็เรียกง่ายๆ ว่า Trial & Error หรือกระบวนการลอง ผิดลองถูกนั่นเอง ทดลองทอดมันในรูปแบบต่างๆ กลุ่มนักศึกษาได้ร่วมมือกับชาวบ้าน ตั้งแต่กระบวนการเลือกพันธุ์มัน จนตัดสินใจเลือกใช้มันพันธุ์ห้านาที ฝาน เป็นแผ่นบางทอดกรอบแทนมันพันธ์ุอื่น สำ�ปะหลังทีจ่ ะนำ�มาใช้แปรรูป โดยได้ทดลองนำ�มันสำ�ปะหลังพันธุต์ า่ งๆ เช่น พันธุ์ระยอง 2 พิรุณ 2 มันเทศ มันเหลือง และมันห้านาที มาทดลองเพื่อหา พันธุ์ที่เหมาะสมที่สุด หลังจากได้ทดลองทอด ชิม และหั่นในรูปแบบต่างๆ ทั้งแบบลูกเต๋า แบบแท่งหนา แบบแท่งบาง พบว่า มันแต่ละพันธุ์มีความแตกต่างกันในเรื่อง ปริมาณแป้งในมัน ทำ�ให้เวลาหั่นแล้วทอด หากหั่นรูปแบบต่างกันจะอร่อย ต่างกัน เช่น มันพันธุ์ห้านาที หากฝานเป็นแผ่นบางแล้วนำ�ไปทอดจะอร่อย กว่าพันธุ์ระยอง 2 ส่วนพันธุ์ระยอง 2 หากหั่นแบบแท่งเหมือนเฟรนช์ฟราย จะให้รสชาติหวานกว่ามันพันธุ์ห้านาที ทั้งนี้ หากใช้พันธุ์ระยอง 2 ทำ�เป็น ผลิตภัณฑ์ขายในรูปแบบเฟรนช์ฟราย อายุของสินค้าจะสั้นมาก เนื่องจาก ความชื้นในเนื้อมันมีมากกว่า จึงตัดสินใจเลือกใช้มันพันธุ์ห้านาที ฝานเป็น แผ่นบางทอดกรอบแทน การคิดค้นรสชาติ ได้ทดลองใช้ผงปรุงรสกว่า 20 ชนิด พบว่าผงปรุงรส มีรสชาติธรรมดาเกินไป มีเนือ้ สัมผัสทีแ่ ห้งและไม่เพิม่ มูลค่าให้กบั สินค้าเท่าที่ ควร นักศึกษาได้ลองหาสูตรการปรุงจากวัตถุดิบที่หาได้ทั่วไป จึงได้พบสูตร การปรุงรสจากศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง ทางนักศึกษาและชุมชนได้พัฒนาสูตร การปรุงรสต่อยอดขึ้นไปอีก จนกระทั่งได้มันห้านาทีรสสมุนไพรที่มีความ หอมกลิ่นสมุนไพร และมันห้านาทีรสพริกเผาที่มีความเผ็ด หวานกลมกล่อม
56 | Thammasat Model:
นอกจากนี้ยังได้รับความช่วยเหลือจากนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะอุตสาหกรรม บริการ เอกการจัดการครัว และศิลปะการประกอบอาหาร วิทยาลัยดุสติ ธานี ในเรื่องการคิดค้นรสชาติใหม่ สำ�หรับใช้ในอนาคตอีกด้วย กระบวนการทดลองยังได้รวมไปถึงการค้นหาอุณหภูมทิ เี่ หมาะสมในการ ทำ�มันให้สุก จนพบว่าอุณหภูมิ 190-210 องศาเซลเซียส จึงจะได้มันที่กรอบ ฟู สีเหลืองทองน่ารับประทาน ทดลองวิธีลดกลิ่นหืน ลดน้ำ�มันหลังการทอด ด้วยตู้อบลมร้อน 12 ชั้นที่อุณหภูมิ 125-135 องศาเซลเซียสเพื่อให้มีความ กรอบนาน และสามารถลดเวลาในการผลิตลงไปได้เกือบ 3 ชั่วโมง ทดลอง บรรจุภัณฑ์รูปแบบใหม่ โลโก้ใหม่ จนได้ซองใหม่ไฉไลเช่นในปัจจุบัน นอกจากเรียนรูผ้ า่ นการลงมือทำ�แล้ว นักศึกษายังต้องเรียนรูท้ จี่ ะขวนขวาย ขอความร่วมมือและความช่วยเหลือจากหน่วยงานและผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าเขาเหล่านั้นจะอยู่ที่ใด โดยได้เรียนรู้เรื่องประเภทมันจากผู้ เชี่ยวชาญด้านพืชของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตลอดจนยื่นตรวจปริมาณ ไซยาไนด์ในมันทอดโดยได้ส่งสินค้าไปยังบริษัท Overseas Merchandise Inspection Co.,Ltd (OMIC) ซึ่งเป็นบริษัทรับตรวจวิเคราะห์คุณภาพสินค้า อาหารและการเกษตร โดยผลการตรวจพบว่า Cassy Chips มันห้านาทีทอด กรอบ 1 ถุง มีระดับไซยาไนด์ 2.9 มิลลิกรัม แสดงว่ามีความปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคเพราะมีระดับไซยาไนด์ที่ต่ำ�กว่าระดับที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย นักศึกษายังได้ตดิ ต่อขอความช่วยเหลือในการออกแบบเครือ่ งสไลด์มนั โดยวิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุดเพื่อให้ผลิตได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้นโดยแต่ละชิ้น มีขนาดเดียวกัน พร้อมทั้งยังติดต่อเครื่องซีลไนโตรเจนจากบริษัท บางกอก อินดัสเทรียลแก๊ส จำ�กัด (BIG) ซึง่ เป็นหนึง่ ในบริษทั พีเ่ ลีย้ งของโครงการนีร้ ว่ ม กับ Dow Chemical (Thailand) เพื่อนำ�มายืดอายุสินค้าจาก 2 สัปดาห์เป็น 6 เดือน โดยชุมชนผ่านการฝึกอบรมการใช้งานเรียบร้อย นักศึกษาออกตระเวนหาร้านค้า ต่างๆ ในจังหวัดระยอง ติดต่อขอวาง ผลิตภัณฑ์คาสซีย์ชิปส์ เพื่อเป็นการเพิ่ม ช่องทางจำ�หน่าย
Method for Sustainable Community-Business Development | 57
ก่อนทีจ่ ะจบโครงการ นักศึกษายังได้จดั เตรียมแนวทางในการยืน่ ขอเลข ผลิตภัณฑ์คาสซีย์ชิปส์ก่อน (ซ้าย) และหลัง (ขวา) จดแจ้ง อย. ซึ่งเป็นอีกก้าวสำ�คัญที่จะทำ�ให้ชุมชนสามารถขยายตลาด และ
พัฒนาต่อยอดเพื่อเดินหน้าต่อได้ด้วยตนเอง ทีส่ �ำ คัญมากอีกเรือ่ งหนึง่ คือการช่วยเพิม่ ความโปร่งใสในการบริหารงาน ภายในกลุม่ ด้วยการช่วยวางระบบบัญชีเพือ่ ให้คดิ ต้นทุนได้อย่างถูกต้อง ครบ ถ้วน และสามารถจ่ายเงินปันผลให้สมาชิกได้อย่างมีหลักการ และเหมาะสม ซึ่งเป็นปัจจัยสำ�คัญอันจะทำ�ให้การรวมกลุ่มดำ�เนินการต่อไปได้อย่างยั่งยืน คาสซีย์ชิปส์ ตั้งราคาจำ�หน่ายในราคาซองละ 35 บาท พร้อมทั้งมี โปรโมชั่น 3 ซอง 100 เพื่อกระตุ้นยอดขาย หลังจากเริ่มต้นนำ�ระบบบัญชี มาใช้ครั้งแรกเมื่อ 29 มีนาคม 2561 ทำ�ให้ทราบต้นทุนการผลิตและรายได้ จากการขายทีเ่ กิดขึน้ อย่างชัดเจน สรุปว่ารายได้จากการขายทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด เท่ากับ 24,222 บาท เป็นต้นทุนการผลิต 11,133.87 บาท คิดเป็นร้อยละ 46 จากรายได้ และคิดเป็นกำ�ไรร้อยละ 54 ทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ นัน้ คือสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ใน 1 ภาคการศึกษา หรือเพียง 4 เดือน เท่านั้น แม้เป็นระยะเวลาสั้นๆ แต่เป็นช่วงเวลาที่ชุมชนมีความประทับใจใน การทำ�งานร่วมกับนักศึกษาถึงกับออกปากชมว่า “น้องๆ มีความตัง้ ใจมาก จนไม่คดิ ว่านีค่ อื หนึง่ ในหลักสูตรของการเรียน น้องๆ มาด้วยจิตใจที่อยากจะดูแลชุมชนทางบ้านฉางจริงๆ ... เอาเข้าจริงๆ แล้ววิสาหกิจนี่เริ่มจากศูนย์ด้วยซ้ำ� การที่มีน้ำ�ใจต่อกัน และตอบแทนกัน มัน ได้ความรูส้ กึ ทีด่ มี ากๆ เลย คือช่วยเหลือกันโดยไม่ได้คดิ ถึงผลประโยชน์ อันนี้ เป็นสายสัมพันธ์ของมิตร มิตรภาพที่ทุกคนอยากได้”
58 | Thammasat Model:
“ไรซ์มี” (RICE ME) หอมเฮิร์บ (Horm Herb)
วิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก
ผู้นำ�ชุมชน คุณสำ�ราญ ทิพย์บรรพต ที่ตั้ง ชุมชนเกาะกก ซอยเนินพระ 2 ถนนกรอกยายชา ตำ�บลเนินพระ อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
วิสาหกิจชุมชนเกาะกก เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มแม่บ้าน ที่เป็น ภรรยาของพนักงานโรงงานในมาบตาพุด เช่น ปตท. วินิไท ที่ย้ายตามสามี มาอยูร่ ะยอง ตัง้ แต่ในราวปี 2535 ช่วงเริม่ ต้นของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ซึ่งเป็นช่วงที่ “ระยองบูม” คนกลุ่มนี้กลายเป็นประชากรแฝงที่อพยพเข้ามา พร้อมกับความเจริญเติบโตของอุตสาหกรรม ในขณะที่ชาวชุมชนดั้งเดิมเคยประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่ปัจจุบัน กลับเหลือเกษตรกรในพื้นที่เพียงคนเดียว คือ ลุงสนม นายกองค์การบริหาร ส่วนตำ�บล ที่ยังคงทำ�นาปุ๋ยอินทรีย์ ก่อนนักศึกษาธรรมศาสตร์เข้าไป กลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพ ชุมชนเกาะกก มีผลิตภัณฑ์หลัก 2 ชนิด คือ ข้าวไรซ์เบอร์รี่แพ็กถุงขายเป็น กิโลกรัม กับ ลูกประคบสมุนไพรสด ทีช่ มุ ชนผลิตส่งจำ�หน่ายตามโรงพยาบาล ทั่วไป และสวนสมุนไพรสมเด็จพระเทพฯ มาบข่า จังหวัดระยอง
ธรรมศาสตร์โมเดล
วิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจ ชุมชน เมื่อปี 2558 และเข้าร่วมโครงการธรรมศาสตร์โมเดล ในปีเดียวกัน คุณสำ�ราญ ทิพย์บรรพต เป็นพนักงาน ปตท. ที่ขณะนี้เป็นตัวแทนของ ปตท. ทำ�งานด้าน CSR เต็มตัว และดำ�รงตำ�แหน่งประธานวิสาหกิจชุมชน ส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก อีกด้วย ส่วนรองประธานวิสาหกิจคือ “ป้าตุ่ม” อำ�ไพ วันดอนแดง วัย 55 ปี รับหน้าที่ทำ�บัญชีวิสาหกิจ
Method for Sustainable Community-Business Development | 59
สมาคมเพื่อนชุมชนเป็นตัวหลักที่ดึงธรรมศาสตร์โมเดลเข้ามาร่วม โครงการ โดยมีบริษัท ผาแดงอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท บางกอก อินดัสเทรียลแก๊ส จำ�กัด เป็นบริษัทพี่เลี้ยง เมื่อนักศึกษาได้ลงพื้นที่ไปร่วมเรียนรู้และร่วมวิเคราะห์ปัญหา พบว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก เป็นวิสาหกิจใหม่ ยังไม่มี ประสบการณ์ในการบริหาร ไม่มีนักบัญชี บุคลากรยังไม่มีความพร้อมและ ความเข้าใจเท่าที่ควร ส่วนนักศึกษาเองก็ไม่มีพื้นฐาน ด้านการทำ�อาหารและ ผลิตภัณฑ์ชุมชน เรื่องงบประมาณในการดำ�เนินกิจกรรมยังขาดความชัดเจน ทำ�ให้ขาดความคล่องตัวในการดำ�เนินงาน การแก้ไขปัญหา จึงเริม่ จากการประชุมชีแ้ จงแนวทางในการบริหารงาน วิสาหกิจชุมชน มอบหมายหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามความถนัดของแต่ละคน พร้อมทัง้ รับฟังปัญหาและช่วยกันแก้ไขปรับปรุง อีกทัง้ ยังได้ปรึกษาผูเ้ ชีย่ วชาญ ในด้านต่างๆ เท่าที่สามารถทำ�ได้และนำ�คำ�แนะนำ� มาใช้ประโยชน์ได้เต็มที่
ไรซ์มี เป็นแบรนด์ที่นักศึกษาช่วย คิดค้นและต่อยอดจากการขายข้าวสุขภาพ ทัว่ ไป ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ของกินเล่นที่ อร่อยและมีประโยชน์ แพ็กในซองแยกทีด่ ู สะอาดและสอดคล้องกับวิถชี วี ติ คนรุน่ ใหม่
60 | Thammasat Model:
ส่วนสุดท้ายที่มีความสำ�คัญไม่น้อยคือ การได้รับความสนับสนุนงบ ประมาณ จากผู้ประกอบการที่มีงบประมาณด้าน CSR ทำ�ให้เกิดความคล่อง ตัวในการดำ�เนินกิจกรรม ทำ�ให้ชุมชนมีความพร้อมที่จะสำ�รองจ่ายล่วงหน้า ไปก่อนได้ คณะนักศึกษาและคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน ได้รว่ มกันระดมความ คิดช่วยกันค้นหาแนวทาง หาข้อมูลและวิธีการต่างๆ จากสถาบันที่เชี่ยวชาญ เพื่อที่จะเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน และตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภคได้อย่างทั่วถึง ได้ลองผิดลองถูกกันพอสมควร จนสามารถสร้างเป็น ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ข้าวไรซ์เบอร์รี่สแนกบาร์ผสมผลไม้และธัญพืช โดยใช้ ชือ่ ทางการค้าว่า “ไรซ์ม”ี (RICE ME) ตอบโจทย์คนรักสุขภาพและเป็นขนม ทานเล่นยามว่าง ที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัยในยุคปัจจุบัน หลังจากการเปิดตัวแนะนำ�สินค้าได้ไม่นาน สามารถสร้างกระแสตอบ รับในกลุม่ ลูกค้าวัยทำ�งานได้เป็นอย่างดี และเป็นสินค้าทีส่ ามารถทำ�ยอดขาย เพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว “ไรซ์มี” ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการประกวดหมู่บ้านปรับเปลี่ยน พฤติกรรมด้านสุขภาพ และมีนวัตกรรมท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ จากสาธารณสุข จังหวัดระยอง อีกทัง้ ยังทำ�ให้ชมุ ชนเกาะกกได้โควต้าไปแข่งขันประกวดหมูบ่ า้ นระดับ ประเทศในกลางปี 2560 และผลงานระดับภูมภิ าค (ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ) จัดโดยมูลนิธเิ พือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ที่ อยุธยา ซิตี้พาร์ค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไรซ์มี สร้างผลงาน ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ 1 จากการประกวดของฝากประจำ�จังหวัดที่ผลิตจาก ข้าวไรซ์เบอร์รี่ และได้โควต้าเข้าไปแข่งขันระดับประเทศ เมื่อ 29 กรกฎาคม 2559 ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ส่วนลูกประคบสมุนไพรสดนัน้ ได้มกี ารปรับปรุงผลิตภัณฑ์เป็นลูกประคบ แบบแห้ง แบรนด์ “หอมเฮิรบ์ ” (Horm Herb) โดยใช้แนวคิดเดียวกัน คือ ตอบโจทย์ด้านสุขภาพเป็นหลัก ในการผลิตลูกประคบแบบแห้ง ได้นำ�ส่วน ผสมของสมุนไพรท้องถิน่ ผสมผสานกับนวัตกรรมห่อหุม้ ไมโครแคปซูล ทำ�ให้ เกิดผลิตภัณฑ์ตน้ แบบทีใ่ ช้ชอื่ ทางการค้าว่า “หอมเฮิรบ์ ” ตลาดให้การตอบรับ ดีมาก ไม่แพ้ผลิตภัณฑ์ “ไรซ์มี” โดยได้รับรางวัล โครงการประกวดหมู่บ้าน ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมด้านสุขภาพ และมีนวัตกรรมท้องถิน่ เพือ่ สุขภาพอีกด้วย
การทำ�งานในปัจจุบัน
คณะกรรมการชุมชน และสมาชิกวิสาหกิจ ขณะนี้มีสมาชิก 30 คน มี แกนหลักที่ทำ�งาน 10 คน ความเปลี่ยนแปลงของวิสาหกิจชุมชนเกาะกก หลังจากส่งมอบ โครงการ ไรซ์มี และ หอมเฮิร์บ พบว่า ไรซ์มีสร้างรายได้ให้ชุมชนถึงเดือนละ
Method for Sustainable Community-Business Development | 61
หอมเฮิรบ์ จากเดิมทีเ่ ป็นลูกประคบ แบบสด ได้นำ�ส่วนผสมของสมุนไพร ท้องถิ่นผสมผสานกับนวัตกรรมห่อหุ้ม ไมโครแคปซูล เกิดผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ เป็นลูกประคบแบบแห้ง ใช้ชื่อทางการ ค้าว่า “หอมเฮิรบ์ ” ตลาดให้การตอบรับดี มาก ได้รบั รางวัล โครงการประกวดหมูบ่ า้ น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพและ มีนวัตกรรมท้องถิ่นเพื่อสุขภาพอีกด้วย
2,000 บาทต่อคนต่อเดือน เป็นรายได้เสริมให้แม่บ้าน ที่สามีทำ�งานโรงงาน วิสาหกิจฯ สามารถผลิตไรซ์มีได้ถึง 3,000 กว่าชิ้นต่อเดือน โดยเป็นการผลิต ตามสัง่ แต่จะมีสำ�รองไว้ 400-500 ชิน้ มีการจ่ายปันผลให้คนในกลุม่ ทีถ่ อื หุน้ 18-19 คน (ถือหุ้นละ 10 บาท) พนักงานที่ผลิตมีโบนัส สัดส่วนการขายไรซ์ มีมากกว่า หอมเฮิร์บ ซึ่งขายได้ 7-8 ชิ้นต่อเดือน พร้อมกันนี้ยังมีรายได้จาก การที่มีคณะมาดูงานอีกด้วย ปัจจุบนั หอมเฮิรบ์ ยังได้รบั ความสนใจจาก ธนาคารเพือ่ การเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร เพือ่ นำ�ไปเป็นสินค้าโปรโมตช่วยเกษตรกรของธนาคารซึง่ กำ�ลังคุยในรายละเอียดต่างๆ และคาดว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีอนาคต ไกลเช่นกัน มีข้อสังเกตว่า การที่วิสาหกิจเติบโตเร็วมาก เป็นเพราะคุณสำ�ราญ ผู้นำ�ชุมชนมีความรู้ ขยัน เก่งในโซเชียล นอกจากนี้ยังมีบทบาทของผู้ให้การ สนับสนุนอย่าง SCG และ ปตท. ที่เข้ามามีบทบาทเป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนา ด้านต่างๆ รวมถึงสมาคมเพื่อนชุมชนที่เข้ามาเป็นที่ปรึกษาชุมชน
62 | Thammasat Model:
แตนบาติก (TAN TIE DYE)
วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก จังหวัด ระยอง
ผู้นำ�ชุมชน คุณไพลิน โด่งดัง (พี่แตน) ประธานกลุ่มวิสาหกิจ ที่ตั้ง เลขที่ 155 หมู่ 5 ตำ�บลบ้านฉาง อำ�เภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
กลุม่ วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก เริม่ ต้นจากแนวคิดของประธานวิสาหกิจฯ คุณไพลิน โด่งดัง (พี่แตน) เรียนจบทางด้านศิลปะ และเคยเป็นครูสอนวิชา ศิลปะ เริ่มแรกได้ทำ�ผ้าบาติกจำ�หน่ายในชุมชน แต่มีความคิดว่าผ้าบาติก เป็นสิ่งที่ทำ�ได้ยาก ต้องทำ�สิ่งที่สมาชิกสามารถทำ�ร่วมกันและสร้างรายได้ให้ กับชุมชน จึงได้ริเริ่มทำ�ผ้ามัดย้อมขึ้น เมื่อสมาชิกเพิ่มขึ้นจึงจดทะเบียนเป็น วิสาหกิจชุมชนในปี 2551 วิสาหกิจชุมชนฯ มีสมาชิกทั้งหมด 15 คน โดยมีผลิตภัณฑ์หลัก คือ เสือ้ ผ้ามัดย้อมและผ้าบาติก อีกทัง้ ยังมีผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ เช่น กระเป๋า หมวก ผ้า พันคอ ปลอกหุม้ หมอน และของตกแต่ง ฯลฯ ภายใต้ชอื่ แบรนด์สนิ ค้า “แตน บาติก” ซึ่งจัดจำ�หน่ายบริเวณหน้าร้าน การดำ�เนินงานก่อนหน้าเข้าร่วมธรรมศาสตร์โมเดล พบว่า ลูกค้า เป้าหมายมีขนาดเล็กเป็นเพียงคนในชุมชน ส่วนผลิตภัณฑ์มีคุณภาพดี แต่มี ความหลากหลายเกินไป ทำ�ให้กระบวนการจัดการเกิดความซับซ้อน นอกจาก นี้บรรจุภัณฑ์ และแบรนด์สินค้า ยังไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้า ราคา อยู่ในระดับปานกลางถึงสูง อันเนื่องมาจากการบริหารต้นทุนทำ�ได้ไม่ดี และ ยังขาดการประชาสัมพันธ์ในด้านช่องทางการจัดจำ�หน่าย ส่วนกระบวนการ ผลิต ยังขาดมาตรฐานที่ชัดเจน ไม่เป็นระบบ ทำ�ให้เกิดความไม่แน่นอนใน เรือ่ งระยะเวลาในการได้รบั สินค้า ยากต่อการควบคุมการผลิต ด้านการจัดการ บัญชี พบว่าไม่มีการทำ�บัญชีบันทึกรายรับรายจ่ายโดยละเอียด และไม่มีการ ก่อนนักศึกษาเข้าไปสีย้อมวาง แบ่งแยกต้นทุนในแต่ละผลิตภัณฑ์ จึงไม่ทราบต้นทุนและกำ�ไรที่แท้จริงของ ไม่เป็นระเบียบ เสียเวลาในการหา
Method for Sustainable Community-Business Development | 63
สินค้าแต่ละประเภท ทำ�ให้เกิดปัญหาในการตั้งราคาสินค้าตามมา
ธรรมศาสตร์โมเดล
สิง่ ทีน่ กั ศึกษาเข้าไปแนะนำ�และใช้ความรู้ เริม่ ตัง้ แต่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยกลุ่มนักศึกษาได้เข้าไปจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์ มีการแบ่งเป็นแต่ละประเภท แต่ละคอลเล็กชั่น ทำ�รหัสสินค้าอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ลูกค้าสั่งสินค้าได้ สะดวกมากขึ้น ทำ�แค็ตตาล็อก และลดการผลิตสินค้าบางประเภทที่ขาดทุน แล้วหันมาเน้นผลิตสินค้าที่เป็นที่นิยมและได้กำ�ไรสูงอย่างเสื้อมัดย้อม มี การแนะนำ�ลวดลาย และเทคนิคการย้อมใหม่ๆ ที่ตรงตามสมัยนิยม และที่ สำ�คัญคือการสร้างแบรนด์ใหม่ ภายใต้ชื่อ “TAN TIE DYE” โดยสร้าง แบรนด์และเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์ว่าเป็นผลิตภัณฑ์จากจังหวัดระยอง แปะรายชือ่ สีดงู า่ ยหยิบใช้สะดวก เชื่อมโยงคอลเล็กชั่นเสื้อผ้ากับสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดระยอง รวมทั้ง ออกแบบแบรนด์สินค้า และบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย ตรงตามความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย ด้านกระบวนการผลิตนั้น นักศึกษาเข้าไปปรับปรุงกระบวนการผลิต ตั้งแต่การจัดสถานที่ผลิต ให้สะดวกต่อการใช้งาน เปลี่ยนอุปกรณ์การผลิต ใหม่ให้ใช้งานได้ง่าย สะอาด และถูกหลักอนามัย จัดทำ�ที่เก็บสต็อกเสื้อ และ สีให้เป็นระเบียบ มีการวางแผน และเตรียมอุปกรณ์การผลิต ให้พร้อมต่อการ ใช้งาน จัดทำ�คู่มือการผลิต และพัฒนาอัตราส่วนการใช้สีมัดย้อม เพื่อให้การ ผลิตเป็นระบบมากขึ้น ช่วยลดของเสีย ต้นทุน และเวลาในการผลิต ด้านช่องทางการจัดจำ�หน่าย มีการปรับปรุงหน้าร้านทีจ่ งั หวัดระยองให้ สวยงาม เป็นระเบียบ และน่าเข้าชม ประกอบกับเปิดร้านค้าออนไลน์ โดยเปิด เพจ Facebook และ Instagram ภายใต้ชอื่ “TAN TIE DYE” ทำ�ให้มยี อดขาย ทางออนไลน์เพิม่ ขึน้ พร้อมกันนีไ้ ด้แนะนำ�วิธกี ารขายสินค้าออนไลน์ให้สมาชิก ในชุมชน มีการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น และจัดโปรโมชั่นต่างๆ ส่วนการจัดทำ�บัญชีนนั้ นักศึกษาได้แนะนำ�สมาชิกให้หนั มาบันทึกบัญชี คำ�นวณต้นทุนต่อหน่วย ของสินค้าแต่ละประเภท ทำ�ให้สามารถลด และควบคุม ต้นทุนได้ดขี นึ้ ทำ�ให้ตงั้ ราคาได้อย่างเหมาะสม นำ�ไปสูก่ �ำ ไรทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างยัง่ ยืน
การดำ�เนินการในปัจจุบัน
ในปัจจุบันแตนบาติกได้ใช้สีครามเป็นสีหลักของผลิตภัณฑ์ เนื่องจาก ในปี 2559 ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จสวรรคต ความต้องการผ้ามัดย้อมที่ เป็นสีสันลดลงประมาณ 1 ปี จึงต้องเปลี่ยนมาใช้สีครามซึ่งเป็นสีกลางๆ และ เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยได้เรียนรู้การทำ�สีคราม จากธรรมชาติเพิ่มเติม ที่จังหวัดแพร่ และจังหวัดสกลนคร ด้วยความสนับสนุนการดูงานจากบริษัท จัดวางสียอ้ มให้เป็นระเบียบ หยิบ พี่เลี้ยง คือ บริษัท ดาวเคมิคอลประเทศไทย จำ�กัด ซึ่งชุมชนได้นำ�ความรู้ที่ ใช้สะดวก ประหยัดเวลา ได้มาพัฒนาและต่อยอดผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ และทดลองนำ�น้ำ�ทะเลมาใช้กับผ้า
64 | Thammasat Model:
ย้อมครามแทนการใช้เกลือ ทำ�ให้สตี ดิ ทนนานขึน้ อีกทัง้ ยังเพิม่ ความพิเศษด้วย พี่แตนกับผลิตภัณฑ์แตนบาติก สารกันแดด มีสีสันสวยงาม ให้เลือก หลากหลายด้วยสีธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น มังคุดและมะหาด นับว่าสีคราม เป็นสีที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการ แข่งขันให้กับแตนบาติก ส่วนแบรนด์สินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่นักศึกษาเคยเข้ามาออกแบบ ยัง คงใช้รูปแบบเดิม แต่ปรับปรุงถุงใส่สินค้าโดยใช้เศษผ้าเหลือใช้จากการตัด เย็บเสื้อผ้ามาทำ�ถุง ด้านช่องทางหลักในการจำ�หน่าย ยังคงเป็นหน้าร้านที่ อ. บ้านฉาง แต่ในช่องทางออนไลน์ จากเดิมที่เคยใช้เพจ Facebook เป็นช่องทางในการ ประชาสัมพันธ์ และจำ�หน่าย ปัจจุบนั เพจ Facebook ทำ�หน้าทีป่ ระชาสัมพันธ์ เพียงอย่างเดียว ไม่รบั คำ�สัง่ ซือ้ นอกจากนีย้ งั จำ�หน่ายสินค้าตามงานต่างๆ ทัง้ ในจังหวัดระยองและต่างจังหวัด ผลิตภัณฑ์ของแตนบาติกยังได้รับความสนใจจากบริษัทที่มีชื่อเสียงให้ นำ�สินค้าเข้าไปวางจำ�หน่าย ทัง้ นีด้ ว้ ยความช่วยเหลือจากบริษทั ดาวเคมิคอล ประเทศไทย จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทพี่เลี้ยงได้ทำ�บันทึกช่วยจำ� (MOU) ร่วมกับ บริษัทในเครือเซ็นทรัลกรุ๊ป เพื่อนำ�ผลิตภัณฑ์ของแตนบาติกไปจำ�หน่าย ใน แผนกสินค้าและของตกแต่งภายในบ้าน ของไทวัสดุ โดยเซ็นทรัลกรุป๊ ให้ความ ช่วยเหลือ เรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ ด้านสถานที่ผลิต ยังคงดำ�เนินกระบวนการผลิตภายในร้านให้เป็นไป ตามหลักการ 5 ส (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย) ซึ่งเป็น แนวทางทีใ่ ช้ในการปรับปรุงการทำ�งาน และรักษาสิง่ แวดล้อม ในทีท่ �ำ งานให้ ดีขึ้น เพื่อให้เกิดความสะอาดเรียบร้อยในสถานที่ทำ�งาน ด้านการจัดทำ�บัญชี ยังคงใช้การทำ�บัญชีทนี่ กั ศึกษาได้เข้ามาให้ความรู้ มีการบันทึกรายรับรายจ่าย ของผลิตภัณฑ์ในแต่ละประเภทแยกจากกัน หลัง จากนัน้ จะส่งข้อมูลให้กบั บริษทั เอสซีจี เพือ่ นำ�ไปช่วยจัดทำ�บัญชี นอกจากนี้ ยังได้ไปอบรมเพิ่มเติม เรื่องการจัดทำ�บัญชีในวิสาหกิจชุมชนอีกด้วย
Method for Sustainable Community-Business Development | 65
ด้านความร่วมมือภายในชุมชน เกิดความร่วมมือกันในกระบวนการ ผลิต โดยพี่แตนจะเป็นผู้ออกแบบแพตเทิร์น และส่งต่อให้สมาชิกในชุมชนที่ มีฝีมือด้านการตัดเย็บ รวมไปถึงขั้นตอนในการย้อมสี ทำ�ให้เกิดการจ้างงาน ภายในชุมชน แม้ว่าไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกวิสาหกิจก็ตาม ขณะนีว้ สิ าหกิจฯ ยังไม่มกี ารจ่ายเงินปันผล แต่สมาชิกปรึกษากันว่าจะ จ่ายค่าตอบแทนตามครั้งที่ทำ�งาน และนำ�รายได้หลังหักค่าใช้จ่ายที่เป็นต้น ทุนในการผลิต ไปเป็นค่าใช้จ่ายในการพาสมาชิก ไปศึกษาดูงาน และค่าเดิน ทางในการไปจำ�หน่ายสินค้าในต่างจังหวัด รวมถึงค่าใช้จ่ายในการพาสมาชิก ไปท่องเที่ยวตามวันหยุดเทศกาล มีการวางแผนว่าในปี 2562 จะเริ่มจำ�หน่ายหุ้นให้สมาชิกในวิสาหกิจ จำ�นวนหุ้นละ 1,000 บาท เนื่องจากที่ผ่านมาได้ชำ�ระเงินกู้จากธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในการลุงทุนธุรกิจแตนบาติก ครบจำ�นวน จึงสามารถนำ�กำ�ไรหลังจากหักค่าใช้จา่ ย มาเป็นเงินปันผลให้กบั สมาชิกวิสาหกิจ แต่ต้องรอช่วงปลายปีให้ทางบริษัท เอสซีจีที่กำ�ลังจัดทำ�เรื่องบัญชีให้ จึงจะ สามารถทราบกำ�ไรได้อย่างแท้จริง ซึ่งปัจจุบันแตนบาติกมีก�ำ ไรหลังจากหัก ค่าใช้จ่ายคร่าวๆ ประมาณ 100,000-150,000 บาทต่อเดือน ด้านความร่วมมือกับองค์กรภายนอก นอกเหนือจากความช่วยเหลือ ของสมาคมเพื่อนชุมชน บริษัทพี่เลี้ยง ที่เข้ามาช่วยเหลือธุรกิจของวิสาหกิจ ทำ�เพจเฟซบุ๊กแนะนำ�สินค้าแตนบาติก แล้ว แตนบาติกยังคงติดต่อกับหน่วยงานภายนอกได้ดว้ ยตัวเอง หากต้องการ ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ จากหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญ โดยค้นหา ข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ต แตนบาติก ยังได้รบั ความร่วมมือจากหน่วยงานวัฒนธรรมจังหวัดระยอง ในการออกแบบลวดลายหงส์เหิน วาดบนผืนผ้า ซึ่งเป็นลวดลายจากหน้าบัน ของโบสถ์วัดลุ่ม เป็นอัตลักษณ์ประจำ�จังหวัดระยอง ทำ�ให้ผ้าย้อมครามของ แตนบาติกสวยงามและมีเอกลักษณ์แตกต่าง โดยในปี 2560 ผ้าคลุมไหล่มัด ย้อมลายหงส์เหิน ได้รางวัลชนะเลิศการประกวดออกแบบผลิตภัณฑ์วฒ ั นธรรม ไทย (CPOT- Cultural Product of Thailand) จังหวัดระยอง และได้รับ เครื่องหมาย CPOT ซึ่งเป็นการรับรองคุณภาพสินค้าวัฒนธรรมไทย โดย กระทรวงวัฒนธรรม รวมทั้งเข้าร่วมโครงการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชนสำ�หรับ ผูป้ ระกอบการรุน่ ใหม่และการประกวด MOST’s Innovation OTOP Award 2017 หรือ OTOP IGNIT เป็นโครงการของกระทรวงวิทยาศาสตร์ ร่วมมือ กับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และบริษัท สยามพิวรรธน์ จำ�กัด แตนบาติกยังได้เปิดวิสาหกิจชุมชนที่ใช้เป็นหน้าร้านในการจำ�หน่าย สินค้า เป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ และให้คำ�ปรึกษาในการทำ�ผ้ามัดย้อม สำ�หรับผูท้ สี่ นใจ หรือหน่วยงานต่างๆ ทีต่ อ้ งการพาคณะมาศึกษาดูงานอีกด้วย
66 | Thammasat Model:
จาก “ซอลท์ ครับ” (Salt *crub) สู่ “Ladyai Herbs Salt”
วิสาหกิจชุมชนเกลือสมุนไพรลาดใหญ่
ผู้นำ�ชุมชน คุณจิราพร จันทร์คง (ผู้ใหญ่บ้าน) ที่ตั้ง ศูนย์เรียนรู้เกลือสมุนไพร หมู่ 4 ตำ�บลลาดใหญ่ อำ�เภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
ชาวบ้านในตำ�บลลาดใหญ่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำ�นาเกลือ โดย ทำ�ได้เพียงแค่ช่วงหน้าแล้ง ตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนเมษายน ในช่วงหน้า ฝนไม่สามารถทำ�นาเกลือได้ ทีผ่ า่ นมาเมือ่ ราวปี 2546-2547 มีการรวมกลุม่ สมาชิกกันประมาณ 10 คน เพือ่ ขายดอกเกลือ ซึง่ เป็นผลึกเกลือทีเ่ กาะตัวเป็นแพลอยอยูบ่ นผิวน�้ำ ดอก เกลือทีข่ ายนัน้ ราคากิโลกรัมละ 10 กว่าบาท เป็นการรับเกลือจากคนในชุมชน แล้วนำ�ไปขายต่อ แบบถุงละ 1 กิโลกรัม และมีการสนับสนุนจากหน่วยงาน รัฐให้ทำ�เป็นแบบกล่อง กล่องละครึ่งกิโลกรัม จำ�หน่ายในราคา 10-12 บาท เมือ่ กล่องแบบเดิมหมดลงและต้องติดต่อทำ�กล่องเอง ทำ�ให้ทราบว่าต้นทุนค่า กล่องสูงถึงใบละ 15 บาท จึงทำ�ขายได้เพียง 1 ปีก็ล้มเลิกไป และทางกลุ่ม ชาวบ้านไม่มกี ารบันทึกบัญชี เพราะในการดำ�เนินงานเป็นการจ่ายเงินไปตาม สัดส่วนของที่ได้รับ พูดง่ายๆ คือระบบ “ของมา-เงินไป”
ธรรมศาสตร์โมเดล
นักศึกษาคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ได้เข้ามาดูงานและศึกษา ขั้นตอนการทำ�นาเกลือพบว่า ดอกเกลือยังเป็นสินค้าที่มีมูลค่า แต่ไม่มีใคร นิยมเก็บมาขาย หรือเพิม่ มูลค่าให้แก่ดอกเกลือ จึงตัดสินใจทีจ่ ะเพิม่ มูลค่าด้วย การทำ�เกลือขัดผิวจำ�หน่าย ซึง่ ความคิดนีม้ สี ว่ นมาจากการแนะนำ�โดยผูใ้ หญ่บา้ น ให้ไปดูงานที่หมู่ 1 ตำ�บลบางแก้ว ซึ่งมีการทำ�เกลือขัดผิวจำ�หน่ายอยู่ก่อน หลังจากดูงานจึงตัดสินใจพัฒนาผลิตภัณฑ์ดอกเกลือขัดผิว โดยนักศึกษาค้นหา
Method for Sustainable Community-Business Development | 67
การทำ�งานร่วมกันระหว่างนักศึกษา วิธที �ำ สูตรเกลือขัดผิวต่างๆ จากอินเทอร์เน็ต จากการสอบถามความเห็น และ กับชาวบ้าน ข้อเสนอแนะจากผู้ที่มีประสบการณ์ จนเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ “ซอลท์ ครับ”
(Salt *crub ) ในช่วงเริ่มต้นกลุ่มนั้น เกิดจากการรวมกลุ่มคนในชุมชนที่มีอาชีพ ทำ�นาเกลือ ชุมชนใกล้เคียงและกลุ่มผู้สูงอายุ มาเรียนรู้ร่วมกันประมาณ 20-30 คน ซึ่งในเวลาต่อมาเหลือคนที่ทำ�ต่อแค่คนที่ทำ�อาชีพนาเกลือเท่านั้น สำ�หรับการทำ�งานร่วมกันระหว่างนักศึกษาธรรมศาสตร์กบั กลุม่ วิสาหกิจ ชุมชนเกลือสมุนไพรลาดใหญ่ มีการทำ�งานร่วมกัน 2 รุน่ ในปี 2555 และ 2556 นักศึกษารุ่นแรกได้ศึกษาสูตรเกลือขัดผิว นำ�มาสอนและทดลองทำ� ร่วมกับคนในชุมชน จากการลองผิดลองถูกจนได้เป็นผลิตภัณฑ์เกลือขัดผิว แบบแห้ง ออกมา 3 สูตร ได้แก่ สูตรขมิ้น สูตรนมและสูตรทานาคา ภายใต้ ชื่อ “Salt *crub” นักศึกษารุ่นสองเข้ามาพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายมาก ยิ่งขึ้น โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น 3 ชนิด ได้แก่ สบู่เกลือ สครับเกลือ ชนิดเหลว และเกลือแช่เท้า รวมทั้งสร้างและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน นาเกลือลาดใหญ่ เป็นขั้นตอนต่อจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ชุมชน สามารถสร้างรายได้เพิม่ เติม อีกทัง้ เผยแพร่ความรูแ้ ละวัฒนธรรมวิถชี วี ติ ของ ชาวนาเกลือให้เป็นที่รู้จัก นักศึกษาทั้งสองรุ่นได้เข้ามาให้ความรู้ทางธุรกิจ ตั้งแต่การสอนวิธีท�ำ สบู่สูตรขมิ้น การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ การจัดทำ�ระบบบัญชี การคิดต้นทุนและการกำ�หนดราคาขาย ช่องทางการจัดจำ�หน่ายให้กบั ชุมชน เน้นไปที่กลุ่มลูกค้าที่เป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นหลัก เช่น อัมพวา ซึ่งจำ�หน่ายที่ร้านภัทรพัฒน์ ของศูนย์ชัยพัฒนา รวม ถึงการนำ�สินค้าไปจำ�หน่าย เพื่อนำ�เงินมาเป็นทุนให้แก่กลุ่มชาวบ้าน พร้อม ทั้งยังช่วยหาแหล่งวัตถุดิบและจัดซื้อวัตถุดิบให้ในระหว่างที่นักศึกษาเข้ามา พัฒนา โดยแนะนำ�แหล่งซื้อวัตถุดิบที่บริเวณหลานหลวง กรุงเทพมหานคร
68 | Thammasat Model:
การดำ�เนินการในปัจจุบัน
ปัจจุบันทางชุมชนยังคงดำ�เนินกิจการอยู่ และมีผลิตภัณฑ์จำ�นวน มาก ซึ่งทางกลุ่มได้จดทะเบียนเป็น “วิสาหกิจชุมชนเกลือสมุนไพรลาดใหญ่ จ. สมุทรสงคราม” ในปี 2556 นอกจากนัน้ ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ วิสาหกิจฯ ยัง ได้จดทะเบียนเป็นโอทอปอีกด้วย ความก้าวหน้าที่เกิดขึ้นสามารถพิจารณา เป็นด้านต่างๆ ได้ดังนี้ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีการเพิ่ม เกลือขัดผิว สูตรใบบัวบกขึ้นมา เนือ่ งจากประมาณ 3-4 ปีทแี่ ล้วทางพัฒนาชุมชนได้พาไปอบรมทีเ่ มืองทองธานี และวิทยากรได้แนะนำ�ให้ลองทำ�สูตรใบบัวบก เพราะเป็นที่นิยมของชาว ต่างชาติ ทำ�ให้ทางกลุ่มวิสาหกิจฯ พัฒนาสูตรขึ้นมาใหม่ จากนั้น ในปี 2558 ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์เพิ่มเป็นเกลือขัดหน้าสูตรขมิ้น และสูตรใบบัวบก โดยการปัน่ ดอกเกลือให้ละเอียดเป็นผงมากขึน้ แต่ประสบ แผนผังการทำ�งานของ Ladyai Sustainable Model ปัญหาว่าการใช้เครือ่ งปัน่ ทัว่ ไป เมือ่ ใช้ได้สกั ระยะหนึง่ เครือ่ งชำ�รุดต้องซือ้ เครือ่ ง ใหม่ และยังไม่สามารถหาเครื่องที่ทนทานในการปั่นดอกเกลือให้ละเอียดได้ นอกจากนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เข้ามาสอนการทำ�เกลือแช่เท้า ช่วยทำ�การตลาดและนำ�ดอกเกลือไปบรรจุขวดขนาดเล็กเพือ่ ขายเป็นทีร่ ะลึก ทำ�ให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ เกลือแช่เท้า ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์อยูภ่ ายใต้แบรนด์ “Ladyai Herbs Salt” และขอ หมายเลขจดแจ้งทัง้ หมดแล้ว แต่ไม่ผา่ น 1 ผลิตภัณฑ์ คือ เกลือขัดผิว สูตรขมิน้ เนื่องจากตรวจพบจุลินทรีย์ ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ กลุ่มวิสาหกิจฯ มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์มาเป็นระยะๆ รวมทั้งกำ�ลัง พิจารณาดัดแปลงตราสินค้า จากเดิมที่นักศึกษารุ่นแรกออกแบบให้นั้น ทางกลุม่ วิสาหกิจฯ รูส้ กึ ว่าดูยากและซับซ้อนเกินไป จึงต้องการดัดแปลงตราสินค้า ซึง่ ในปี 2560 มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ได้เข้ามาออกแบบตราสินค้าให้ใหม่ และ เปลี่ยนบรรจุภัณฑ์จากขวดเป็นแบบกระปุก ซึ่งทางกลุ่มยังไม่ได้ใช้ เนื่องจาก ก่อนหน้านีผ้ วู้ า่ ราชการจังหวัดสมุทรสงคราม มีนโยบายให้สนิ ค้าชุมชนของดีของ จังหวัดใช้ตราสินค้าร่วมกัน จึงเปลีย่ นตราสินค้าและสติกเกอร์ใหม่ให้ดหู รูหรา ภายใต้แบรนด์ “Beautiful Sea Salt” ซึง่ แบรนด์นไี้ ม่ให้ใช้ในนามกลุม่ เพราะ มีความประสงค์ให้สินค้าชนิดเดียวกันของจังหวัดอยู่ภายใต้แบรนด์เดียวกัน แบรนด์ที่จังหวัดตั้งขึ้น เพิ่งมาเริ่มใช้ในปี 2561 ทางกลุ่มวิสาหกิจฯ ตัดสินใจ ว่าหากหมดล็อตการผลิตนี้จะใช้ตราสินค้าใหม่ตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย สวนดุสิต พร้อมทั้งจะเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ใหม่ให้ดูสวยงามมากขึ้น ด้านช่องทางการจัดจำ�หน่าย ปัจจุบนั ยังวางจำ�หน่ายทีศ่ นู ย์ชยั พัฒนา ร้านภัทรพัฒน์ ในอัมพวา และ ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ วิสาหกิจฯ ยังผ่านเกณฑ์ทจี่ ะนำ�ไปขายทัว่ ประเทศได้ ซึง่ จะ วางขายภายใต้แบรนด์ของมูลนิธชิ ยั พัฒนา โดยมีชอื่ กลุม่ เป็นผูผ้ ลิต และยังได้
Method for Sustainable Community-Business Development | 69
รับการติดต่อให้นำ�ไปวางจำ�หน่ายในปั๊ม ปตท. ภายในจังหวัดสมุทรสงคราม และที่ศูนย์การเรียนรู้บางแก้ว นอกจากนี้ ยังมีการขายผ่านทาง Facebook Fanpage “Ladyai Herb Salt” และมีการออกบูธขายตามงานต่างๆ ที่ติดต่อผ่านทางพัฒนาชุมชน แต่ประสบปัญหาในการที่จะจัดสมาชิกเดินสายไปออกบูธตามต่างจังหวัด อย่างไรก็ตาม การเข้ามาของโอทอปนวัตวิถีชุมชนท่องเที่ยว ช่วยตอบโจทย์ เรื่องการขาดบุคลากรเดินสายจำ�หน่ายสินค้าได้ เนื่องจากเป็นโครงการที่ดึง ให้นกั ท่องเทีย่ วเข้ามาในชุมชน เปิดโอกาสให้คนข้างนอกเข้ามาดูงานในชุมชน และซื้อของกลับไปเอง ด้านระบบบัญชี การบันทึกบัญชีตามแบบที่นักศึกษาแนะนำ�ไว้ ไม่ได้ทำ�อย่างต่อเนื่อง “จากดอกเกลือกิโลกรัมละ 10 เพราะผู้ที่รับหน้าที่นี้ไม่ค่อยมีเวลาว่างจึงเพียงแต่บันทึกรายรับและรายจ่าย บาท สู่ผลิตภัณฑ์กิโลกรัมละ 650 บาท” ธรรมดา และในปี 2560 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้เข้ามาช่วยสอนการทำ� บัญชี คล้ายกับสิ่งที่นักศึกษาเคยสอน เป็นการนำ�ข้อมูลของชุมชนรวมเป็น เล่มเดียว หลังจากไม่ได้ทำ�อยู่ระยะหนึ่ง ด้านการบริหารบุคคล สมาชิกของกลุม่ วิสาหกิจฯ ในขณะนีม้ ที งั้ หมด 30 คน แต่ยงั ไม่ได้มกี าร แบ่งปันผลให้แก่กลุ่ม ในภาพรวมยังมีการบริหารงานอย่างง่ายๆ โดยสมาชิก ทีม่ าช่วยงานจะได้คา่ ตอบแทนเป็นค่าจ้าง เช่น เมือ่ มีคณะมาดูงาน ผูท้ มี่ าช่วย งานจะได้รับค่าจ้างประมาณคนละ 100-200 บาทขึ้นอยู่กับเงินที่ได้จากการ มาดูงาน ส่วนคนทีม่ าช่วยในการผลิตได้รบั ค่าแรงเป็นรายชัว่ โมง ทำ�ให้ระบบ การจ้างงานยังยืดหยุ่นอยู่ แต่กำ�ลังจะปรับปรุงให้เป็นระบบมากขึ้น ส่วนราย ได้หลังหักค่าใช้จ่ายอยู่ที่ประมาณ 3,000-4,000 บาทต่อเดือน ด้านสถานที่ผลิต กลุ่มวิสาหกิจฯ มีความตั้งใจที่จะให้ผลิตภัณฑ์ของตนได้รับหมายเลข จดแจ้งจากสาธารณสุข และเพื่อให้ได้ “ดาว” อันเป็นการรับรองให้ได้ ออกงานโอทอปที่เมืองทองธานี ทำ�ให้ต้องมีสถานที่ผลิตที่ได้มาตรฐาน ในปี 2558 จึงของบประมาณจากกรมการปกครอง เพื่อสร้างอาคาร แต่ประสบ ปัญหาว่าอาคารที่ก่อสร้างเสร็จแล้วนั้น ไม่เป็นไปตามแบบแปลนที่ทางกลุ่ม วิสาหกิจแจ้งไว้ ดังนัน้ ในปี 2559 จึงต้องนำ�งบของกองทุนหมูบ่ า้ นมาปรับปรุง อาคารในส่วนของห้องสำ�หรับการผลิต และของบประมาณจากองค์การ บริหารส่วนตำ�บล (อบต.) มาตกแต่งเพิ่มเติมเพื่อให้สถานที่เหมาะสมต่อการ ดูงาน รวมงบในการสร้างประมาณ 1,200,000 บาท ซึง่ ปัจจุบนั มีความพร้อม ทัง้ สถานทีผ่ ลิต ห้องผลิตและห้องเก็บอุปกรณ์ ส่วนบริเวณโถงด้านหน้าจัดให้ เป็นศูนย์เรียนรู้สมุนไพร
70 | Thammasat Model:
“แกะกินกล้วย”
วิสาหกิจชุมชนผลิตกล้วยตากอำ�เภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี
ผู้นำ�ชุมชน คุณอติกนั ต์ มงคลธนทรัพย์ (คุณโอ๋) ประธานกลุม่ วิสาหกิจ หมู่ 8 ที่ตั้ง หมู่ 8 ตำ�บลปากช่อง อำ�เภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
ชาวบ้านในพื้นที่ตำ�บลปากช่อง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักด้วยการ ทําไร่อ้อยและรับจ้างตัดอ้อย ทําให้มีรายได้จากฤดูตัดอ้อยเพียงปีละครั้ง คือ ช่วงเดือนธันวาคม-มีนาคมของทุกปี ชาวบ้านส่วนหนึง่ นัน้ เป็นสมาชิกวิสาหกิจ ชุมชนเห็ดและผักปลอดสารพิษสู่ชีวิตพอเพียง ซึ่งคุณอติกันต์ มงคลทรัพย์ ก็เป็นหนึง่ ในสมาชิกวิสาหกิจชุมชนนีด้ ว้ ย โดยหนึง่ ในผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ ชุมชนนี้ คือ กล้วยตากมงคล คุณอติกนั ท์เป็นผูร้ บั ผิดชอบในผลิตภัณฑ์เกีย่ วกับกล้วยตาก ทีแ่ ต่เดิมทํา เป็นเพียงงานอดิเรก โดยบรรจุกล้วยตากใส่ถงุ พลาสติกใสมัดหนังยางจำ�หน่าย ในราคาขีดละ 10 บาท และวางจำ�หน่ายเพียงที่เดียว คือ ตลาดนัดหน้าโรง พยาบาลโพธาราม สัปดาห์หนึ่งขายเพียง 2 วัน รายได้เฉลี่ยประมาณสัปดาห์ ละ 600 บาท ส่งผลให้สำ�นักงานเกษตรอำ�เภอจอมบึงและสำ�นักงานพัฒนา ชุมชนอำ�เภอจอมบึง มีความประสงค์ที่จะให้ผลิตภัณฑ์กล้วยตากแยกกลุ่ม ย่อยออกมาเพื่อความชัดเจนและสะดวกต่อการเข้าไปสนับสนุน ในปี 2557 สำ�นักงานพลังงานจังหวัดราชบุรีได้มาสนับสนุนอุปกรณ์ การทำ�กล้วยตาก อย่างตูอ้ บพลังงานแสงอาทิตย์ ประกอบกับธนาคารออมสิน เข้ามาจัดองค์ความรู้ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และได้เชิญรองศาสตราจารย์ ดร. พิภพ อุดร และรองศาสตราจารย์วิทยา ด่านธำ�รงกูล จากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มาเป็นวิทยากรอบรมเกีย่ วกับการตลาดและบรรจุภณ ั ฑ์ รวมทัง้ ได้ ให้อาจารย์ลองชิมผลิตภัณฑ์ ซึง่ ได้รบั คำ�แนะนำ�ว่าผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวสามารถ พัฒนาไปต่อได้ และได้เชิญไปนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ให้แก่นกั ศึกษามหาวิทยาลัย
Method for Sustainable Community-Business Development | 71
ธรรมศาสตร์ในปีเดียวกัน จึงเกิดการเรียนรูจ้ ากชุมชนและแบ่งปันความรูค้ วาม ชำ�นาญที่แต่ละฝ่ายมี ก่อให้เกิดการตอบโจทย์ของทั้งสองฝ่าย
ธรรมศาสตร์โมเดล
หลังจากที่นักศึกษาเข้าไปสำ�รวจพื้นที่จึงพบปัญหาของชุมชนคือ มี สถานที่ขายน้อยเกินไป บรรจุภัณฑ์ไม่น่าดึงดูด และตั้งราคาโดยไม่ได้คำ�นึง ถึงต้นทุน เนื่องจากไม่มีการบันทึกบัญชีรายรับรายจ่ายที่แยกออกจากบัญชี ครอบครัว ทำ�ให้รายได้ไม่เพียงพอและไม่คุ้มทุน รวมถึงกระบวนการผลิต ภายในยังไม่เป็นระบบ บางครั้งไม่สามารถผลิตได้เพราะขาดวัตถุดิบ และ ไม่มีแรงงานเพียงพอ อีกทั้งยังไม่มีการรวมกลุ่มชุมชนที่แข็งแกร่งถึงแม้จะมี การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนก็ตาม คุณอติกันต์เล่าให้ฟังว่าการรวมกลุ่มนั้นทำ�ได้ยากมาก เนื่องจากคนใน ชุมชนไม่เห็นประโยชน์ของการรวมกลุ่ม และผลประโยชน์จากการผลิตและ ขายกล้วยตาก นักศึกษาร่วมมือกับชุมชนเพือ่ แก้ไขปัญหา โดยเริม่ จากการจดบันทึกบัญชี รายรับรายจ่าย บัญชีลกู ค้าและวัตถุดบิ ทีแ่ ยกออกจากบัญชีครอบครัว รวมถึง พัฒนาบรรจุภัณฑ์แบบใหม่เพื่อจับกลุ่มลูกค้านักท่องเที่ยวในอำ�เภอสวนผึ้ง ที่มีกำ�ลังซื้อมากกว่าและนิยมซื้อของฝาก เกิดเป็นแบรนด์ “แกะกินกล้วย” แล้วนำ�ไปวางขายในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในอำ�เภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี พร้อมกับการพัฒนากระบวนการผลิตภายในให้มีวัตถุดิบและแรงงานที่เพียง พอต่อความต้องการผลิต โดยการร่วมมือกันวางแผนการผลิตในแต่ละวันตาม ความต้องการของลูกค้า และนำ�พันธุก์ ล้วยไปขายให้คนในชุมชนปลูกในบ้าน ของตน แล้วนำ�มาขายคืนให้กบั ชุมชนเพือ่ ผลิตเป็นกล้วยตากต่อไป รวมถึงจ้าง งานคนในชุมชนให้มาช่วยผลิต ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีการรวมกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ ที่สุดหลังจากที่ชุมชนพยายามรวมกลุ่มมาหลายรูปแบบ ประธานวิสาหกิจชุมชน ตัวแทน ชาวบ้าน และนักศึกษา ถ่ายภาพหมู่ร่วม กันทีห่ น้าตูอ้ บพลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ ได้ รับความสนับสนุนจาก สำ�นักงานพลังงาน จังหวัดราชบุรี ผลิตภัณฑ์แกะกินกล้วย ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสินค้าโอทอป จังหวัดราชบุรี ในปี 2558
72 | Thammasat Model:
ผลลัพธ์ของโครงการทีไ่ ด้คอื ในระหว่างทีน่ กั ศึกษาได้เข้ามาแลกเปลีย่ น ความรู้ระหว่างกัน ทางชุมชนได้จดทะเบียนจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนผลิตกล้วย ตากในปลายปี 2557 ชุมชนสามารถผลิตกล้วยตากได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า รวมถึงมีบรรจุภณ ั ฑ์ใหม่ทตี่ อบโจทย์ ของลูกค้าและมีสถานที่ขายเพิ่มขึ้นจากเดิม 1 แห่ง เป็น 5 แห่งตามสถาน ที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในจังหวัดราชบุรี ทำ�ให้มีรายได้เพิ่มขึ้นกว่า 800% เป็น 21,870 บาทต่อเดือน และมีผู้มีส่วนร่วมในการรวมกลุ่มถึง 11 คน ซึ่งแต่ละ คนมีรายได้เสริมในเดือนที่ไม่ใช่ฤดูปลูกอ้อยเพิ่มขึ้นกว่า 1,000 บาทต่อเดือน รวมถึงการรวมกลุ่มชุมชนแข็งแกร่งมากขึ้น เพราะทุกคนเห็นประโยชน์และ รายได้ที่ตนเองจะได้รับ
การดำ�เนินการในปัจจุบัน
ในปี 2558 หลังจากที่นักศึกษาได้ออกมาไม่นานนัก ผลิตภัณฑ์แกะกิน กล้วยได้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็นสินค้าโอทอปของจังหวัดราชบุรี และได้ด�ำ เนิน ธุรกิจตามที่นักศึกษาได้วางไว้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยชาวบ้านยังคงทำ�ไร่ อ้อยเป็นอาชีพหลัก เสริมกับธุรกิจผลิตภัณฑ์แกะกินกล้วยที่เป็นธุรกิจรายได้ เสริม ซึ่งทางชุมชนมีความพึงพอใจต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน ด้านการบริหารจัดการ เนื่องจากในช่วงเดือนตุลาคม-มีนาคม เป็นช่วงที่สภาพอากาศปลอด โปร่ง ทำ�ให้สามารถผลิตกล้วยตากได้ในปริมาณมาก ดังนั้นในช่วงก่อนเดือน ตุลาคม ชุมชนจึงมีการเตรียมวัตถุดิบ ซึ่งสามารถหาได้ในชุมชน โดยมีการ วางแผนการผลิตตามฤดูกาล กล่าวคือในช่วงฤดูฝนจะมีการผลิตน้อยเนือ่ งจาก มีความเสี่ยงที่ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในขั้นตอนการผลิตจะได้รับความเสียหาย และ จะผลิตปริมาณมากในช่วงปลายปี หรือช่วงเดือนตุลาคม-มีนาคม ลูกค้าประจำ�ของผลิตภัณฑ์แกะกินกล้วยในปัจจุบนั มีประมาณ 20 ราย นัน้ มักจะมีการสัง่ ซือ้ สินค้าล่วงหน้า ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นลูกค้าจากการทำ�โฆษณา ตามตามบูธขายสินค้าในสมัยทีน่ กั ศึกษาเข้ามาแลกเปลีย่ นความรู้ ตลอดจนถึง ลูกค้าจากแฟนเพจ เฟซบุ๊ก ลูกค้าจากโครงการพระราชดำ�ริเขาชะงุ้มซึ่งเป็น หนึง่ ในช่องทางหลักในการจัดจำ�หน่าย ลูกค้าพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตทีม่ า จากการบอกต่อปากต่อปาก โดยทางคุณอติกันต์มักจะมีการโทรศัพท์ไปหา ลูกค้าเก่าเพือ่ แจ้งถึงความพร้อมจำ�หน่ายของสินค้า รวมถึงจัดโปรโมชัน่ ส่งฟรี ให้แก่ลูกค้าซึ่งถือเป็นราคาขายส่ง นอกจากนี้พี่สาวของคุณอติกันต์ที่ทำ�งาน อยูใ่ นธนาคารไทยพาณิชย์ มักจะมีการบอกแบบปากต่อปากเช่นเดียวกันโดย มีการจัดโปรโมชั่นขายส่งให้แก่พนักงานภายในธนาคาร ปัจจุบันยังมีการขายผลิตภัณฑ์ในราคาเท่าเดิม คือกล่องละ 35 บาท แต่มกี ารลดต้นทุนบรรจุภณ ั ฑ์โดยการสัง่ ซือ้ บรรจุภณ ั ฑ์ในปริมาณมากขึน้ เพือ่ ลดต้นทุนต่อหน่วยลดลงไป 3 บาท จากเดิมที่เคยสั่งบรรจุภัณฑ์ 1,000 ใบ
Method for Sustainable Community-Business Development | 73
จากผลิตภัณฑ์ “กล้วยตากมงคล” ใส่ถงุ พลาสติกมัดหนังยาง ขายในตลาดนัด หน้าโรงพยาบาลโพธาราม เพียงแห่งเดียว นักศึกษาเข้าไปพัฒนาสูแ่ บรนด์ “แกะกิน กล้วย” นำ�ไปวางขายตามสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ต่างๆ ใน อ. สวนผึ้ง จ. ราชบุรี
ในราคาใบละ 11 บาท ปัจจุบันมีการสั่งซื้อบรรจุภัณฑ์ในปริมาณ 2,000 ใบ ในราคา 8 บาท ต่อใบ ส่งผลให้กำ�ไรเพิม่ ขึน้ โดยรายได้ปจั จุบนั นับแต่ปี 2558 ค่อนข้างคงทีอ่ ยูท่ ปี่ ระมาณ 200,000 บาทต่อปี แต่ในช่วงปี 2560-2561 นัน้ มียอดรายได้ที่ตกลงมาเล็กน้อย แต่ถือว่ายังมีกำ�ไรพอสมควรจากข้อจำ�กัด ในด้านสภาพอากาศที่แปรปรวน ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการจัดจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์แกะกินกล้วยยังคงใช้บรรจุภณ ั ฑ์เดิมทีน่ กั ศึกษาเป็นผูพ้ ฒ ั นา ออกแบบให้และยังไม่มีสินค้าใหม่เพิ่มเติม ส่วนช่องทางการขายนัน้ มีการวางจำ�หน่ายทีโ่ ครงการพระราชดำ�ริเขา ชะงุ้มเป็นหลัก และมีการส่งสินค้าทางไปรษณีย์ผ่านทาง เคอรี่ เอ็กซ์เพรส (Kerry Express Thailand) จากการสั่งซื้อทางเฟซบุ๊ก โทรศัพท์ และทาง แอปพลิเคชั่นไลน์ ซึ่งจะเป็นลูกค้าเจ้าเก่าหรือลูกค้าประจำ�ที่รู้จักผลิตภัณฑ์ จากโครงการพระราชดำ�ริเขาชะงุม้ โดยช่วงนีจ้ ะเน้นจำ�หน่ายทางเฟซบุก๊ มาก ขึน้ จากลูกค้าประจำ� ทำ�ให้มกี ารลดปริมาณการขายทีโ่ ครงการพระราชดำ�ริเขา ชะงุม้ เพือ่ ตอบสนองลูกค้ากลุม่ ดังกล่าว นอกจากนีท้ างวิสาหกิจชุมชนยังมีการ ฝากขายผลิตภัณฑ์แกะกินกล้วยที่กลุ่มคนพิการ อำ�เภอเมือง จังหวัดราชบุรี ด้านสถานที่ผลิต สถานทีผ่ ลิตปัจจุบนั เป็นโรงเรือนตูต้ ากพลังงานแสงอาทิตย์แบบปิด ช่วย ควบคุมเรื่องความสะอาด ปราศจากฝุ่นและแมลงรบกวน แต่ในขั้นตอนก่อน หน้านัน้ อันได้แก่ กระบวนการล้างทำ�ความสะอาดกล้วยและการปลอกกล้วย รวมถึงกระบวนการหลังจากเสร็จสิน้ ขัน้ ตอนการตากกล้วยนัน้ ยังไม่มกี ารแยก โรงเรือนอย่างชัดเจน ยังดำ�เนินการภายในบ้านเรือนเป็นหลัก ด้านการจัดการบัญชี การบันทึกบัญชีในปี 2558-2559 ใช้วธิ กี ารลงข้อมูลในโปรแกรม Excel ซึ่งมีการแบ่งแยกประเภทต้นทุน รายรับและรายจ่ายอย่างชัดเจน ต่อมาในปี 2560 มีการเปลีย่ นรูปแบบการจดบันทึกรายละเอียดรายการทีเ่ กิดรายรับและ รายจ่ายในสมุดแทน เนือ่ งจากมีความสะดวกรวดเร็วในการจดบันทึกมากกว่า ด้านความร่วมมือภายในชุมชน สมาชิกวิสาหกิจชุมชนผลิตกล้วยตากในปัจุบันยังมีสมาชิกจำ�นวน 16 คนเท่าเดิม เหมือนเมือ่ แรกตัง้ ซึง่ สมาชิกวิสาหกิจจะมีหน้าทีต่ งั้ แต่ปลูกวัตถุดบิ ไปจนถึงการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ โดยนอกจากสมาชิกวิสาหกิจชุมชนแล้ว ยัง มีชาวบ้านที่ไม่ได้เป็นสมาชิกแต่ทำ�หน้าที่ในการปลูกกล้วยเป็นวัตถุดิบและ ส่งวัตถุดบิ ให้กบั ทางวิสาหกิจชุมชนทีม่ จี �ำ นวนเพิม่ ขึน้ มาจากเดิม ซึง่ ทางวิสาหกิจ ชุมชนจะรับซื้อวัตถุดิบ ทั้งจากสมาชิกและชาวบ้านทั่วไปในราคาที่สูงกว่า ราคาตลาด โดยในช่วงฤดูฝนจะรับซือ้ วัตถุดบิ น้อยลงเพือ่ ลดปริมาณการผลิต
74 | Thammasat Model:
ขนมเปี๊ยะ 8 เซียน
ผู้นำ�ชุมชน คุณลาวรรณ์ ยั่งยืน ที่ตั้ง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเนินพยอม กลุ่มแม่บ้านทิวลิป ซอย 3 หมูบ่ า้ นทิวลิป ถนนเนินพยอม อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
กลุม่ แม่บา้ นทิวลิปเป็นหนึง่ ในกลุม่ วิสาหกิจชุมชนเนินพยอม ซึง่ เกิดจาก การรวมตัวกันของกลุม่ แม่บา้ นทีม่ เี วลาว่างจากการทำ�งานบ้าน โดยจัดตัง้ เป็น วิสาหกิจชุมชนตั้งแต่ปี 2558 มีสมาชิกหลักจำ�นวน 8 คน โดยมีคุณลาวรรณ์ ยั่งยืน เป็นประธานกลุ่มฯ วิสาหกิจชุมชนนีใ้ ช้บริเวณท้ายซอยทีอ่ ยูอ่ าศัยเป็นสถานทีใ่ นการรวมตัว และผลิตขนมเปี๊ยะ โดยได้รับการสนับสนุนจากบริษัท SCG ในด้านการขาย การดูแลสิ่งแวดล้อม และการปรับปรุงสถานที่ผลิตให้ได้มาตรฐาน สินค้าของกลุ่มแม่บ้านทิวลิปมีหลากหลาย หนึ่งในนั้นได้แก่ ขนมเปี๊ยะ ชาววัง ซึ่งเป็นสูตรที่ได้รับมาจากบรรพบุรุษ โดยมีทั้งหมด 4 ไส้ ได้แก่ ไส้ถั่ว พี่ลาวรรณ์ เปี๊ยะ 8 เซียน ไส้ถั่วไข่เค็ม ไส้หมูแดง ไส้กะหรี่ไก่ ที่ได้รับความนิยมที่สุดคือไส้หมูแดง จุดเด่นของสินค้าคือมีแป้งบาง เนื้อไส้เยอะและไม่ใช้วัตถุกันเสีย ช่อง ทางการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ และลูกค้ารายหลักๆ ได้แก่ บริษทั ในนิคมอุตสาหกรรม ผูค้ นในนิคมอุตสาหกรรมในละแวกใกล้เคียง โรงแรมในจังหวัดระยอง เป็นต้น ในปัจจุบันรูปแบบการผลิตเป็นแบบ made-to-order (ผลิตเมื่อได้รับคำ�สั่ง ซื้อจากลูกค้าเท่านั้น) โดยลูกค้าจะต้องสั่งล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน อย่างไรก็ตาม ทางชุมชนยังมีปัญหาที่ต้องการการแก้ไขและพัฒนา หลายด้าน อาทิ ปัญหาด้านผลิตภัณฑ์ ชื่อผลิตภัณฑ์ ตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ ขาด ความเป็นเอกลักษณ์ และไม่ดึงดูดลูกค้า สินค้าไม่มีการรับรองจากมาตรฐาน การรับรองใดๆ เช่น อย. หรือ มผช.
Method for Sustainable Community-Business Development | 75
ปัญหาด้านช่องทางการจัดจำ�หน่ายและการตลาด มีช่องทางการจัด จำ�หน่ายไม่มาก และจำ�นวนการสัง่ ซือ้ ไม่คงที่ อีกทัง้ ยังขาดความรูใ้ นด้านการ ทำ�การตลาด เช่นการสื่อสารกับลูกค้า หรือการใช้โซเชียลมีเดีย ปัญหาด้านการผลิต ไม่มแี หล่งจัดซือ้ วัตถุดบิ ทีช่ ดั เจน ทำ�ให้ตน้ ทุนและ คุณภาพของวัตถุดิบไม่คงที่ วิสาหกิจฯ ยังไม่มกี ารวางแผนการปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ไม่มกี าร คำ�นวณต้นทุนสินค้าที่ชัดเจน และไม่มีการจัดทำ�บัญชีรายรับรายจ่าย
ธรรมศาสตร์โมเดล
“ถูกหลอกมาไหว้พระที่วัดพระแก้วและให้เอาผลิตภัณฑ์ชุมชนมาด้วย แล้วให้นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ให้น้องๆ ธรรมศาสตร์ ตอนนั้นชุมชนมีรายได้จาก การทำ�ขนมเปี๊ยะเดือนละ 1,500 บาท ถ้าได้เดือนละ 2,500 บาท ก็หรูละ ธรรมศาสตร์ถามชุมชนว่าอยากได้อะไร พี่วันและอ้อ บอกว่า อยากมีรายได้ เดือนละหนึ่งหมื่น” ลาวรรณ์ ยัง่ ยืน ประธานกลุม่ วิสาหกิจชุมชนเนินพยอม เล่าถึงทีม่ าของ การเข้าร่วมธรรมศาสตร์โมเดล เมื่อปี 2558 เป็นวิสาหกิจรุ่นแรกของจังหวัด ระยองที่เข้าร่วมโครงการนี้ ในการทำ�งานร่วมกันระหว่างนักศึกษากับวิสาหกิจชุมชนเนินพยอม ทัง้ สองฝ่ายมีความเห็นพ้องต้องกันว่า วัตถุประสงค์ของโครงการจะเป็นไปเพือ่ - เพิ่มรายได้ของวิสาหกิจชุมชนให้มั่นคงและยั่งยืน - ให้วิสาหกิจชุมชนนั้นมีระบบการจัดการที่ดี และสามารถดำ�รงอยู่ ได้ด้วยตัวเองในอนาคต - ส่งเสริมการจัดทำ�บัญชีอย่างถูกต้องและให้ชุมชนตระหนักถึง ความสำ�คัญของการทำ�บัญชี - ให้กลุ่มแม่บ้านที่ว่างจากการทำ�งานบ้านสามารถทำ�สิ่งที่ตนเองรัก อย่างมีความสุขและสามารถก่อให้เกิดรายได้มาแบ่งเบาภาระ ครอบครัว รวมถึงชุมชน หลังจากนักศึกษาสำ�รวจและเก็บข้อมูลโดยการเข้าสัมภาษณ์วิสาหกิจ ร่วมกันออกแบบแพ็กเกจ ชุมชนและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง สอบถามความต้องการของชุมชนและวิเคราะห์ ปัญหาวิสาหกิจแล้ว ได้เสนอวิธีการแก้ไขและพัฒนา โดยเริม่ จากพัฒนาสูตรสินค้าให้ตรงความต้องการของลูกค้า ให้ความรู้ ด้านการทำ�ให้สนิ ค้ามีอายุนานขึน้ มีการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ คี วามสวยงาม และสร้างมูลค่าให้สินค้า นักศึกษาเข้าไปช่วยขยายช่องทางการจัดจำ�หน่าย เพิ่ม พร้อมทั้งยังสร้างแบรนด์ “ขนมเปี๊ยะ 8 เซียน” ให้เป็นที่รู้จักผ่านการ ประชาสัมพันธ์ช่องทางต่างๆ โดยชื่อแบรนด์นี้มีที่มาจากจำ�นวนสมาชิกของ วิสาหกิจที่มีอยู่ 8 คน และนักศึกษาในกลุ่มที่มี 8 คนเช่นกัน ด้านระบบบัญชีและการบริหารการเงิน นักศึกษาได้ออกแบบระบบการ
76 | Thammasat Model:
บันทึกบัญชี การคำ�นวณต้นทุนทีแ่ ท้จริง เพือ่ ให้วสิ าหกิจตัดสินใจผลิต จำ�หน่าย (ซ้าย) แพ็กเกจเดิม (ขวา) แพ็กเกจใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วางระบบการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น พร้อมกันนีย้ งั ผลักดันสินค้าให้ได้รบั มาตรฐาน อย. โดยทำ�ร่วมกับบริษทั SCG มีการติดตามและประเมินผลการดำ�เนินงานและปรับปรุง แก้ไขให้เป็น ไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ตัวชี้วัดผลการดำ�เนินงานหลัก (Key Performance Indicator) ที่ใช้ วัดผลในวันสิ้นสุดโครงการเมื่อ 31 พฤษภาคม 2558 พบว่า • กำ�ไรเพิ่มจาก 10,000 บาทต่อเดือน เป็น 50,000 บาทต่อเดือน ตามความต้องการของวิสาหกิจ • ขยายช่องทางการจัดจำ�หน่ายได้ 3 ช่องทาง ได้แก่ ขายส่ง Catering และตัวแทนจำ�หน่าย • สร้างความตระหนักรู้ในตราสินค้า โดยมียอดไลก์ในเพจเฟซบุ๊ก อย่างน้อย 5,000 ไลก์
การดำ�เนินงานในปัจจุบัน
หลังจากนักศึกษาร่วมทำ�งานกับชุมชนในปี 2558 แล้ว “ขนมเปีย๊ ะ8 เซียน” เป็นทีร่ จู้ กั ของคนในเขตมาบตาพุด-บ้านฉางมากขึน้ ด้วยการออกงานโอทอป งานอีเวนต์ต่างๆ ด้านผลิตภัณฑ์ ในปี 2559 บริษัท SCG หนึ่งในบริษัทพี่เลี้ยงได้ดำ�เนิน การสร้างโรงเรือน และขอเลขทะเบียน อย. ความช่วยเหลือจากบริษัท SCG ยังมีมายังต่อเนื่อง เช่น สนับสนุนให้ ชุมชนไปเรียนรู้แผนธุรกิจ สนับสนุนให้เรียนการจัดหน้าร้านที่กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม และอบรมการพูดการขายสินค้าที่ กฟผ. จัด เรียกว่า ที่ไหนมี เรียนฟรี ก็ไปเรียน ทำ�ให้ชุมชนได้รับแรงบันดาลใจในการทำ�งาน
Method for Sustainable Community-Business Development | 77
ปี 2560 บริษทั SCG สนับสนุนชุมชนให้พฒ ั นาไส้หมูชะมวงโดยปรึกษา สร้างเฟซบุ๊กแฟนเพจช่องทาง ขายออนไลน์ กับสาขาวิศวกรรมอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง และทดลองแช่แข็งที่ลาดกระบัง เพื่อยืดอายุการเก็บได้ถึงหนึ่ง ปี และเมื่อต้องการจะรับประทาน เพียงแค่น�ำ เข้าเตาไมโครเวฟ 3 นาที ก็ รับประทานได้ ประมาณเดือนละครั้งที่ SCG จะพาคณะดูงาน CSR มาดูงานที่ชุมชน มีทั้งแขกจากต่างประเทศ และนิสิตนักศึกษาในประเทศ ปัจจุบัน มีการปรับราคาขายขนมเปี๊ยะจากเดิม 6 บาท เป็นราคาชิ้น ละ 8 บาท ชุมชนมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 20,000 บาท ยอดขายรวมเดือนละ 80,000 บาท ขณะนี้สมาชิกเหลือ 4 คน เนื่องจากสมาชิกของวิสาหกิจบาง คนออกไปทำ�แบรนด์เอง
78 | Thammasat Model:
วิสาหกิจชุมชนโคกพลวง จ. บุรีรัมย์
ผู้นำ�ชุมชน คุณสามัญ โล่ห์ทอง ที่ตั้งชุมชน เลขที่ 76 หมูท่ ี่ 9 ตำ�บลหนองโบสถ์ อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรรี มั ย์ (เป็นทีอ่ ยูต่ ามการจดทะเบียนของวิสาหกิจชุมชนกลุม่ ปุย๋ อินทรีย์ ชีวภาพบ้านโคกพลวง แต่ชมุ ชนมีการจดตัง้ หลายวิสาหกิจภายใน ชุมชน)
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
ชุมชนโคกพลวงเป็นชุมชนที่มีปัญหาน้ำ�และดินไม่ดี ทำ�ให้ไม่สามารถ ทำ�การเกษตรได้ ชาวบ้านไม่มีงานทำ� มีปัญหาหนี้สิน จึงทำ�ให้คนหนุ่มสาว รุ่นใหม่ต้องทิ้งบ้านเกิดเพื่อไปหางานทำ�ในเมืองหรือในกรุงเทพฯ ทางชุมชน ได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาชุมชนร่วมกับธรรมศาสตร์จากการแนะนำ�ของศูนย์ ซีเบิร์ด (ศูนย์พัฒนาชนบทผสมผสานนางรอง) ซึ่งคุณมีชัย วีระไวทยะ จัดตั้ง ขึ้น เพื่อช่วยเหลือและให้การสนับสนุนชุมชนต่างๆ
ธรรมศาสตร์โมเดล
ชุมชนโคกพลวง เป็นพื้นที่แรกๆ ที่ธรรมศาสตร์โมเดลเข้าไปในช่วง ปี 2551-2553 ในตอนที่นักศึกษาเข้าไปนั้นยังเป็นชุมชนเล็กๆ มีเพียง 86 ครัวเรือน ประสบปัญหาความแห้งแล้ง ไม่เกิดช่องทางสร้างรายได้ คนใน ชุมชนไม่มีงานทำ� นักศึกษาจึงเข้าไปริเริ่มการทำ�ปุ๋ยอินทรีย์ โดยสนับสนุน เครื่องอัดเม็ดปุ๋ยให้แก่ชุมชน รวมถึงการริเริ่มการเก็บค่าหุ้นโดยในครั้งแรก รวมหุ้นได้ 5,500 บาท และขยายเป็น 11,000 บาทในปีที่สอง ชุมชนและนักศึกษายังได้ร่วมกันเพาะกล้าไม้ ซึ่งเป็นสิ่งที่สอดรับกับ โครงการพัฒนาหมู่บ้านของศูนย์ซีเบิร์ด ที่จะสนับสนุนให้ชุมชนมีการปลูก ต้นไม้ใหม่ โดยให้เงินสนับสนุนต้นละ 80 บาท ซึง่ จากการทำ�โครงการนีท้ �ำ ให้ ชุมชนสามารถมีเงินออม และเงินสนับสนุนกล้าไม้รวมกันประมาณ 3 ล้าน บาท เก็บเข้าในกองทุนหมู่บ้าน นอกจากนี้ยังมีกลุ่มนักศึกษาอีกกลุ่มหนึ่งที่ได้เข้าไปสอนการทำ�ระบบ
Method for Sustainable Community-Business Development | 79
บัญชีให้แก่ร้านค้าชุมชนอีกด้วย
การดำ�เนินการในปัจจุบัน
ปัจจุบนั ชุมชนโคกพลวงมีการพัฒนาไปมาก ผูใ้ หญ่บา้ นบอกว่า “เพราะ การเข้ามาของนักศึกษาทำ�ให้ชมุ ชนเกิดการตืน่ ตัว ความตัง้ ใจของนักศึกษาใน การช่วยเหลือชุมชนในด้านต่างๆ เป็นสิง่ ทีก่ ระตุน้ ให้ชมุ ชนรูส้ กึ ว่าต้องพัฒนา ตัวเองเพื่อบ้านเกิดของตัวเองบ้าง” จากแต่ก่อนตอนเริ่มทำ�ปุ๋ยมีการผลิตเพียง 2-3 ตันต่อครั้ง ปัจจุบัน ผลิตได้ 20-30 ตันต่อครั้ง โดยจะผลิตปีละประมาณ 2 ครั้งในช่วงก่อนปลูก ข้าว ปลูกมัน แต่เนื่องจากทำ�ในปริมาณที่มากขึ้น จึงขายในคราวละปริมาณ มากๆ และเปลีย่ นการขายปุย๋ มาเป็นรูปแบบไม่อดั เม็ดเพราะสะดวกมากกว่า หนึง่ ในเหตุผลทีท่ �ำ ให้กลุม่ สามารถมีก�ำ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ ได้เป็นเพราะ การสนับสนุนจากปศุสัตว์ที่ได้ให้วัวควายแก่ครัวเรือนที่ผ่านตามเกณฑ์ครัว เรือนละ 5 ตัว เมื่อมีการผสมพันธุ์ตกลูกออกมาจะคืนกลับเพียงแค่ 5 ตัว (ตัวเมีย) ที่เหลือนอกจากนั้น จะตกเป็นของชาวบ้าน ทำ�ให้มีวัวควายเพิ่ม ขึ้นในชุมชนจำ�นวนมาก นอกจากนี้ทางกลุ่มยังได้รับการสนับสนุนเรื่องสูตร การทำ�ปุ๋ยจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆ อีกด้วย เช่น กรมพัฒนาที่ดิน เกษตร อำ�เภอ ศูนย์ซีเบิร์ด โครงการคอนราด โดยองค์กรเหล่านี้ได้เข้ามาให้การ โครงการเพาะกล้าไม้ บ้านโคกพลวง สนับสนุนทางชุมชนเอง
80 | Thammasat Model:
จากการริเริม่ โครงการเพาะกล้าไม้ในหมูบ่ า้ นประกอบกับโครงการถนน เรือนเพาะกล้าไม้บ้านโคกพลวง น�้ำ เดิน (ได้รบั การสนับสนุนจากรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ในการรับเป็น เจ้าภาพโครงการ) ทำ�ให้หมูบ่ า้ นมีความอุดมสมบูรณ์มากขึน้ มีน�้ำ ใช้ตลอดทัง้ ปี ชุมชนจึงต่อยอด ด้วยการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ การแปรรูป กล้วย รวมถึงสร้างศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์พพิ ธิ ภัณฑ์น�้ำ ตามแนวพระราชดำ�ริ ซึง่ ตามความเป็นจริงแล้ว ชุมชนไม่มพี นื้ ทีส่ าธารณะ แต่ดว้ ยได้รบั การบริจาคพืน้ ที่ จากคนในชุมชนจึงทำ�ให้สามารถตัง้ ศูนย์การเรียนรูไ้ ด้ โดยศูนย์การเรียนรูน้ จี้ ะ ให้ความรู้ในด้านการจัดการหมู่บ้านและการบริหารน้ำ�ในชุมชน ในปี พ.ศ. 2554-2555 ชุมชนได้เริม่ การสนับสนุนให้คนในชุมชนทำ�การ เกษตรทฤษฏีใหม่และเกษตรแบบผสมผสานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีศนู ย์การ เรียนรู้เพิ่มผลผลิตสินค้าทางการเกษตร (ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2558) ซึ่งได้รับการ สนับสนุนจากกรมการเกษตร ในการพาคนมาอบรมดูงาน ทำ�ให้ชมุ ชนมีรายได้ จากค่าสถานที่และค่าวิทยากร ทางด้านร้านค้าชุมชนที่นักศึกษาได้ไปสอนการทำ�บัญชี ปัจจุบันมียอด ขายที่ดี มีการปันผล ในส่วนของบัญชีกลับมาใช้การทำ�มือแบบเดิม ไม่ได้ใช้ โปรแกรมตามที่นักศึกษาได้สอนไว้เพราะง่ายและเข้าใจมากกว่า แต่ยังคงใช้ ระบบ Excel ร่วมด้วยในการทำ�บัญชี ด้านการบริหารจัดการ ภายในชุมชนโคกพลวงมีการรวมกลุ่มกันหลากหลายกลุ่มได้แก่ กลุ่ม บริหารจัดการน้ำ� กลุ่มศูนย์การเรียนรู้ กลุ่มปุ๋ย กลุ่มกล้วย กลุ่มข้าวอินทรีย์ กลุ่มข้าวฮาง เป็นต้น โดยสมาชิกหนึ่งคนสามารถอยู่ได้หลายกลุ่ม ชุมชนโคกพลวงมีการจัดตั้งวิสาหกิจขึ้นภายในชุมชน 4 วิสาหกิจด้วย
Method for Sustainable Community-Business Development | 81
โรงปุ๋ยบ้านโคกพลวง กัน ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพบ้านโคกพลวง ในปี 2554
วิสาหกิจชุมชนกลุม่ สหกรณ์รา้ นค้าชุมชนโคกพลวง กลุม่ ธนาคารพัฒนาหมูบ่ า้ น กลุ่มโคกระบือ ในปี 2558 “เศรษฐกิจของหมู่บ้านพุ่งเร็วมาก” ผู้ใหญ่บ้านบอก และอธิบายต่อไป ด้วยว่า มีการจ้างงานสมาชิกมาช่วยทำ�ปุ๋ยโดยทางชุมชนสามารถได้ค่าแรงที่ ถูกลง แต่จะชดเชยให้ผ่านการมีสิทธิซื้อปุ๋ยในราคาที่ถูกกว่าคนอื่น หรือการ จ้างงานแปรรูปสินค้าเกษตรของทางกลุ่มต่างๆ จากการสร้างงานและรายได้ ภายในชุมชน ทำ�ให้ลดปัญหาหนีส้ นิ ลงได้ คนหนุม่ สาวทีต่ อ้ งออกไปหางานทำ� ได้กลับมาทำ�มาหากินทีบ่ า้ นเกิด ชุมชนขยายตัวจากเดิม 86 ครัวเรือน มาเป็น 152 ครัวเรือนในปัจจุบัน ด้านความร่วมมือภายในชุมชน จากการลงพื้นที่สัมภาษณ์พบว่าชุมชนมีการรวมตัวที่เข้มแข็ง มีการ ทำ�กิจกรรมร่วมกัน มีความร่วมมือของคนในชุมชนสูง ได้รับการสนับสนุน จาก กองทุนหมู่บ้าน สถาบันการเงินชุมชน ธนาคารพัฒนาหมู่บ้าน กลุ่มปุ๋ย อินทรีย์ โรงสีชุมชนและร้านค้าชุมชน ด้านความร่วมมือกับองค์กรภายนอก ชุมชนได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภายนอกจำ�นวนมาก เช่น กรม พัฒนาที่ดิน เกษตรอำ�เภอ และศูนย์ซีเบิร์ด เป็นต้น ซึ่งชุมชนได้ให้ความร่วม มือกับองค์กรภายนอกเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม วิสาหกิจชุมชนมีอุปสรรคบางประการ กล่าวคือต้องการ หาตลาดเพิม่ ขึน้ ในการกระจายสินค้า เช่น ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ กล้วยทีผ่ า่ น อย. แล้ว มีแบรนด์เรียบร้อยแล้วแต่ยังขาดด้านช่องทางการจำ�หน่าย
82 | Thammasat Model:
โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดบ้านโคกตาอิ่ม จ. บุรีรัมย์
ผู้นำ�ชุมชน คุณอุทัย ม่านทอง ผู้ใหญ่บ้าน ที่ตั้ง บ้านโคกตาอิ่ม หมู่ที่ 11 ตำ�บลถนนหัก อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
บ้านโคกตาอิม่ เป็นหมูบ่ า้ นขนาดเล็กมีจ�ำ นวน 98 ครัวเรือน และมีสมาชิก ทัง้ หมด 298 คน แบ่งเป็นคุม้ ทัง้ หมด 3 คุม้ และมีหวั หน้าคุม้ คอยดูแล ภายใน หมูบ่ า้ นมีการรวมกลุม่ ทีเ่ ข้มแข็งและอยูก่ นั แบบพีน่ อ้ ง ทำ�ให้บา้ นโคกตาอิม่ ได้ เป็นหมูบ่ า้ นต้นแบบของพัฒนาชุมชนและหมูบ่ า้ นต้นแบบของธนาคารเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ด้วยความทีช่ าวบ้านส่วนใหญ่ทำ�อาชีพเกษตรกร จึงรวมตัวกันตั้งกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดขึ้นในปี 2552 และได้จดทะเบียนเป็น วิสาหกิจชุมชนในเดือนเมษายนปีเดียวกัน
ธรรมศาสตร์โมเดล
จากการลงพื้นที่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในระหว่างทำ� โครงการธรรมศาสตร์โมเดล นักศึกษาและชาวบ้านได้ร่วมมือกันทำ�งานเกิด เป็นผลงานทั้งทางด้านสิ่งก่อสร้าง และการแบ่งปันความรู้ ในด้านสิง่ ก่อสร้างนัน้ นักศึกษาและชาวบ้านโคกตาอิม่ ร่วมกันก่อสร้างและ ต่อเติมศูนย์เพาะปัญญา ธนาคารหมูบ่ า้ นและห้องสร้างอาชีพ โดยต่อเติมและ จัดสรรพื้นที่อาคารให้เป็นสัดส่วนมากยิ่งขึ้น เช่น การทำ�ฝ้าเพดาน ทาสี และ ปูกระเบือ้ ง นอกจากนัน้ ได้มจี ดั ทำ�มุมอ่านหนังสือโดยสนับสนุนตูห้ นังสือและ หนังสือจำ�นวนมาก พร้อมกับสนับสนุนคอมพิวเตอร์ให้อีก 5 ชุด มีการจัดทำ�ชั้นตากปุ๋ยเนื่องจากทางบ้านโคกตาอิ่มมีพื้นที่จำ�กัดในการ ตากปุ๋ย นักศึกษาจึงเสนอและจัดทำ�ชั้นตากปุ๋ย 5 ชั้นเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการ ตากปุย๋ ให้มมี ากขึน้ พร้อมกันนีย้ งั ได้มกี ารสร้างโรงเพาะเห็ดนางฟ้า เพือ่ สร้าง
Method for Sustainable Community-Business Development | 83
ผู้ใหญ่บ้านอุทัย (ซ้ายมือ) กับ รายได้เพิ่มเติมให้แก่หมู่บ้าน ผู้แทนคณะกรรมการหมู่บ้านโคกตาอิ่ม ในด้านการแบ่งปันความรู้นั้น นักศึกษาได้เข้าไปสอนการจัดทำ�ระบบ เจ้าหน้าที่ศูนย์ซีเบิร์ด กับทีมสำ�รวจจาก คณะพาณิชย์ฯ (ภาพถ่ายเมื่อกรกฎาคม บัญชี เนื่องจากระบบบัญชีที่ทางบ้านโคกตาอิ่มทำ�อยู่นั้น ยังไม่เป็นระบบ มากนัก นักศึกษาจึงเข้ามาช่วยสอนและแบ่งหมวดหมู่ให้ชัดเจน เพื่อให้ง่าย 2561)
แก่การตรวจสอบ ซึ่งเป็นระบบบัญชีที่ง่ายต่อคณะกรรมการในการทำ�บัญชี
การดำ�เนินการในปัจจุบัน
ปัจจุบันบ้านโคกตาอิ่มยังดำ�เนินการผลิตปุ๋ยอัดเม็ดอยู่ ซึ่งมีความ ก้าวหน้าและพัฒนาไปในทิศทางที่ดี พร้อมยังทำ�ระบบบัญชีตามรูปแบบที่ นักศึกษาสอนเหมือนเดิม นอกจากนั้นบ้านโคกตาอิ่มและผู้ใหญ่บ้านยังได้รับ รางวัลจำ�นวนมาก ดังนี้ ปี 2558 ได้รบั รางวัลหมูบ่ า้ นดีเด่นในโครงการ “บ้านสวย เมืองสุข” ซึง่ ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับอำ�เภอและระดับจังหวัด และรางวัลชมเชยระดับ เขตนครชัยบุรี
84 | Thammasat Model:
(ซ้าย) ศูนย์สาธิตการตลาดบ้าน ปี 2559 ได้เป็นหมู่บ้านต้นกล้า กองทุนแม่ของแผ่นดิน ซึ่งได้รับเงิน พระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 โคกตาอิ่ม (ขวา) แผ่นป้ายศูนย์เพาะ ปัญญา สร้างอาชีพ เพื่อนำ�มาใช้ประโยชน์ในหมู่บ้าน ปี 2559 ผู้ใหญ่บ้านอุทัย ม่านทอง ได้รับรางวัลผู้ใหญ่แหนบทองคำ� ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในปี 2554 มีศูนย์วิจัยจากกรุงเทพมหานครมาให้ความรู้ จึงทำ�ให้บ้าน โคกตาอิม่ ได้เปลีย่ นจากการทำ�ปุย๋ อินทรียอ์ ดั เม็ดเป็นปุย๋ อินทรียเ์ ชิงเคมีอดั เม็ด แทน โดยมีส่วนผสมของเคมี 20 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากการใช้เพียงปุ๋ยอินทรีย์ อย่างเดียว ทำ�ให้พืชมีธาตุอาหารไม่เพียงพอ สำ�หรับโรงเพาะเห็ดนั้น ทำ�ได้อยู่ประมาณ 2 ปี เนื่องจากปีที่ 3 มี งบประมาณเข้ามาในบ้านโคกตาอิม่ จึงรือ้ โรงเห็ดแล้วเปลีย่ นไปทำ�โรงปุย๋ แทน ด้านการบริหารจัดการ การรวมกลุม่ ของบ้านโคกตาอิม่ นัน้ จะมีการจัดตัง้ ประธาน คณะกรรมการ และเหรัญญิกเป็นลำ�ดับขั้นอย่างชัดเจน ใน 1 ปี จะมีการผลิตแค่ 3 เดือน ใน ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถงึ เดือนเมษายน ซึง่ ชาวบ้านทีเ่ ข้ามาผลิตปุย๋ จะได้คา่ แรง ถุงละ 45 บาท ทำ�ให้ชาวบ้านมีงานทำ� ไม่ต้องออกไปหางานที่อื่น และพบ ว่าชาวบ้านมีค่าแรงไม่ต่ำ�กว่า 100,000 บาทต่อปี โดยบ้านโคกตาอิ่มมีกำ�ลัง ผลิตปุ๋ยประมาณ 60-70 ตันต่อปี ทำ�ให้มีเงินเข้าหมู่บ้านประมาณ 300,000400,000 บาทต่อปี
Method for Sustainable Community-Business Development | 85
ด้านสถานที่ผลิต ปี 2555 ได้เงินสนับสนุนจากรัฐบาล ตำ�บลละ 1,000,000 บาท ซึ่งจะ ให้เฉพาะวิสาหกิจชุมชนเท่านั้น ทำ�ให้บ้านโคกตาอิ่มซึ่งเป็นวิสาหกิจชุมชน เดียวในตำ�บลถนนหักได้รับเงินสนันบสนุนเพียงหมู่บ้านเดียว จึงนำ�เงินมา พัฒนาและต่อเติมโรงปุ๋ยให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและซื้อเครื่องมือในการผลิตเพิ่ม ด้านช่องทางการจัดจำ�หน่าย จากเดิมทีเ่ น้นขายปุย๋ อัดเม็ดให้คนในหมูบ่ า้ นเป็นหลัก ปัจจุบนั ได้มกี าร ขยายการขายไปทีไ่ ร่มนั และไร่ออ้ ย ซึง่ จำ�หน่ายครัง้ ละ 50-100 กระสอบ และ ยังมีการขายส่งไปยังจังหวัดอื่นๆ เช่น จังหวัดระยอง อีกด้วย ด้านความร่วมมือภายในชุมชน ทางบ้านโคกตาอิ่มนั้นให้ชาวบ้านในชุมชนเข้ามารับจ้างผลิตปุ๋ยกับ วิสาหกิจในช่วงเดือนผลิตปุ๋ย ในอัตราเหมาถุงละ 45 บาท เพื่อให้ชาวบ้าน มีงานทำ�และสร้างรายได้ให้แก่ตนเองไม่ต้องออกไปหางานทำ�ต่างหมู่บ้าน ด้านความร่วมมือกับองค์กรภายนอก บ้านโคกตาอิ่มมีโครงการที่ร่วมมือกับองค์กรภายนอก เป็นลำ�ดับดังนี้ โครงการปุ๋ยขี้ไก่ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรโดยองค์การบริหารส่วน จังหวัดบุรีรัมย์ (อบจ.) ในปี 2555-2558 ซึ่งเป็นปุ๋ยฟรีที่นำ�มาให้ชาวบ้านใช้ ทำ�ให้ชาวบ้านซื้อปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดลดลงเพราะชาวบ้านเปลี่ยนไปใช้ปุ๋ยขี้ไก่ นักศึกษายังอยู่ในใจชุมชนบ้านโคกตาอิ่ม ฟรี ซึง่ ไม่ได้มผี ลกระทบกับทางบ้านโคกตาอิม่ เนือ่ งจากเป็นปุย๋ คนละสูตรกัน และปุย๋ อินทรียเ์ ชิงเคมีอดั เม็ดของทางบ้านโคกตาอิม่ ตรงกับนโยบายรัฐบาลใน ด้านการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตอีกด้วย โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อของรัฐบาลในปี 2560 ได้งบประมาณ 5,000,000 บาท แบ่งเป็นเทศบาล 2,500,000 บาท และตำ�บล 2,500,000 บาท โดยแต่ละหมู่บ้านจะได้หมู่บ้านละประมาณ 190,000 บาท จำ�นวน 13 หมู่บ้าน ซึ่งทางผู้ใหญ่บ้านโคกตาอิ่มได้เสนอให้ทุกหมู่บ้านผลิตปุ๋ยอัด เม็ดเชิงเคมีและมีการรวมกลุ่มและคณะกรรมการเหมือนกับบ้านโคกตาอิ่ม ทำ�ให้ทกุ หมูบ่ า้ นผลิตปุย๋ ได้ปลี ะ 300 ถุงเพือ่ ให้มรี ายได้ในหมูบ่ า้ น นอกจากนัน้ ยังมีการสอนการทำ�บัญชีให้แก่หมูบ่ า้ นทีม่ ศี กั ยภาพอีกด้วย เนือ่ งจากผูใ้ หญ่บา้ น เห็นว่าโคกตาอิม่ ทำ�แล้วเกิดประโยชน์ จึงอยากให้หมูบ่ า้ นอืน่ เติบโตเหมือนกัน การทีน่ กั ศึกษาเข้ามาพัฒนาและช่วยเหลือบ้านโคกตาอิม่ นัน้ สร้างความ ภูมใิ จและประทับใจให้แก่ชาวบ้านเป็นอย่างมาก ผูใ้ หญ่บา้ นและตัวแทนคณะ กรรมการกล่าวว่า “นักศึกษาเป็นกันเอง กินง่าย อยูง่ า่ ย เอ็นดูนกั ศึกษาเหมือนลูก นักศึกษา ได้เข้ามาช่วยเหลือและแนะนำ�ชาวบ้านอย่างดี ต่างคนต่างเรียนรู้ซึ่งกันและ กัน และนักศึกษาเข้ามาในฤดูเกี่ยวข้าว พอชาวบ้านไปเกี่ยวข้าว นักศึกษาก็ ไปช่วยชาวบ้านขนข้าวที่เกี่ยวแล้วอีกด้วย”
86 | Thammasat Model:
บายขนิษฐา (by KANITTHA)
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากฟักข้าวเกษตรพัฒนา
ผู้นำ�ชุมชน คุณขนิษฐา พินิจกุล ที่ตั้งชุมชน 31/7 หมู่ 3 ตำ�บลมหาสวัสดิ์ อำ�เภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
ก่อนธรรมศาสตร์โมเดล
บริเวณคลองมหาสวัสดิ์ อ. พุทธมณฑล จ. นครปฐม เป็นพื้นที่ที่เคย ประสบภัยพิบตั นิ �้ำ ท่วมใหญ่ เมือ่ ปี 2554 คุณขนิษฐา พินจิ กุล ผูน้ ำ�ชุมชนเล่า ว่า หลังเหตุการณ์นนั้ ได้เริม่ หันมาปลูกฟักข้าวในปี 2555 และพัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูปขึ้นในปี 2556 โดยเริ่มต้นจากการทำ�น้ำ�ฟักข้าว ต่อมามีกลุ่มคนเข้ามาดูงานและแนะนำ�ให้แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อย่าง อื่น โดยมีอาจารย์จากมหาวิทยาลัยมหิดล ช่วยติดต่อครูจากวิทยาลัยในวัง (กศน.) ให้เข้ามาสอน ทางกลุ่มชาวบ้านได้เรียนรู้การแปรรูปจากอาจารย์ ขนิษฐา ชัยชาญกุล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำ�แพงแสน ที่มาสอนการ ทำ�เครื่องดื่ม อาหารและขนมต่างๆ และมีอาจารย์ท่านอื่นสอนทำ�สบู่ โลชั่น ชุมชนบ้านฟักข้าวจึงมีผลิตภัณฑ์เพิม่ ขึน้ ได้แก่ น�้ำ ฟักข้าว น�้ำ อัญชันมะพร้าว อ่อน สบู่ฟักข้าว คุกกี้ฟักข้าว โลชั่นฟักข้าวและหมี่กรอบฟักข้าว
ธรรมศาสตร์โมเดล
นักศึกษาคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้ามาเรียนรู้ร่วมกับชุมชน เมื่อปี 2559 โดยได้นำ�ความรู้ในเชิงพาณิชย์มาใช้ กับชุมชนในหลายด้าน ทั้งการปรับเปลี่ยนสูตรของน้ำ�ฟักข้าวและสบู่ พัฒนา บรรจุภณ ั ฑ์ ตลอดจนถึงตัง้ ชือ่ แบรนด์ บายขนิษฐา (by KANITTHA) กล่าว โดยสรุปคือ “รีแบรนดิ้ง” สินค้าให้ดูทันสมัยมากขึ้น ในด้านการปรับเปลี่ยนสูตรของน้ำ�ฟักข้าว ได้ปรับสูตรให้ลดความ หวานลง และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ น�้ำ อัญชันมะพร้าวอ่อน มีการเปลีย่ นบรรจุ
Method for Sustainable Community-Business Development | 87
ภัณฑ์เป็นขวดพลาสติกใสขนาด 250 มิลลิลิตร จากเดิมที่เป็นขวดพลาสติก ขุน่ จำ�หน่ายในราคา 25 บาท พร้อมทัง้ ตัง้ ชือ่ แบรนด์ by KANITTHA เปลีย่ น ฉลากสินค้าใหม่ ให้ดมู คี วามโดดเด่นและอ่านง่าย โดยมีชอื่ ผลิตภัณฑ์ทงั้ ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ ระบุสว่ นประกอบ ชือ่ สารทีม่ คี ณ ุ ประโยชน์ วันหมดอายุ ระบุที่อยู่และเบอร์โทรติดต่อชุมชนลงบนฉลากผลิตภัณฑ์ สำ�หรับสบูฟ่ กั ข้าว ได้มกี ารปรับเปลีย่ นสูตรโดยเพิม่ เนือ้ เยือ่ ฟักข้าวให้มี มากขึ้น เพือ่ ให้สบู่มีสีเข้มขึ้น เพิ่มความสวยงาม และปรับขนาดเพิ่มเป็น 120 ั ฑ์ใหม่โดย ผลิตภัณฑ์ที่นักศึกษาพัฒนาขึ้น กรัม ราคาก้อนละ 129 บาท การปรับเปลีย่ นยังรวมไปถึงบรรจุภณ ใช้การหุ้มด้วยพลาสติกใสแล้วคาดด้วยฉลากที่บอกรายละเอียด ได้แก่ ชื่อ ผลิตภัณฑ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตั้งชื่อแบรนด์ by KANITTHA แจ้ง รายละเอียดส่วนประกอบ สรรพคุณของสินค้า วิธใี ช้ ทีอ่ ยูแ่ ละเบอร์โทรติดต่อ ด้านการเพิ่มช่องทางการจัดจำ�หน่าย จากเดิมขายที่บ้านฟักข้าว ซึ่ง ตั้งอยู่ภายในชุมชนเพียงอย่างเดียว นักศึกษาได้เพิ่มช่องทางอื่นเพื่อให้เข้าถึง กลุ่มลูกค้ามากขึ้น ดังนี้ - ขายผ่านเฟซบุ๊ก แฟนเพจโดยจะขายเฉพาะสบู่ฟักข้าวเท่านั้น - การฝากขายตามร้านต่างๆ ได้แก่ ร้านล้านจานอร่อยและร้านรวงข้าว - การเช่าพื้นที่ขาย ได้แก่ อาคารเพลินจิตเซ็นเตอร์ อาคารสินธรและ ตลาดปลาวาฬ - การออกบูธขายสินค้า - เปิดรับตัวแทนจำ�หน่ายน้ำ�ฟักข้าวและน้ำ�อัญชันผ่านทางเฟซบุ๊ก ในการนำ�สินค้าที่นักศึกษาพัฒนาออกไปขายตามสถานที่ต่างๆ นั้น นักศึกษาได้ลงไปขายเองซึง่ ทางคุณขนิษฐา ชมเชยนักศึกษาว่ามีความสามารถ (ซ้ า ย) ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนก่ อ น นักศึกษาเข้าไป (ขวา) ผลิตภัณฑ์ที่ ในการใช้ภาษา กล้าที่จะขาย พูดจาฉะฉาน เข้าใจง่าย ทำ�ให้สามารถสื่อสาร กับนักท่องเที่ยวได้ง่าย อีกทั้งยังมีสินค้าให้ลูกค้าทดลองชิมอีกด้วย นักศึกษาพัฒนาขึ้น
88 | Thammasat Model:
นักศึกษาจัดทำ�เฟซบุ๊ก แฟนเพจ อีกด้านหนึง่ ทีส่ �ำ คัญไม่แพ้กบั การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการวางจำ�หน่าย เพิ ม ่ ช่ อ งทางขาย คือ เรือ่ งการจัดทำ�ระบบบัญชี ซึง่ ในช่วงก่อนเริม่ โครงการนัน้ ทางชุมชนไม่มี การบันทึกข้อมูลเกีย่ วกับต้นทุนและรายได้ทชี่ ดั เจน นักศึกษาจึงได้เข้าไปสอน การจดบันทึกลงสมุดบัญชี โดยแยกประเภทบัญชีรายรับ รายจ่าย และบัญชี คุมสินค้าคงเหลือ เพื่อให้ทราบจำ�นวนสินค้าคงเหลือ
การดำ�เนินการในปัจจุบัน
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากฟักข้าวเกษตรพัฒนา ยังคง ดำ�เนินการอยู่และเติบโตไปได้ด้วยดี มีนักท่องเที่ยวและองค์กรต่างๆ เข้ามา ดูงานเป็นจำ�นวนมาก และในปี 2560 เข้าร่วมเป็นหนึ่งในเส้นทางท่องเที่ยว ของคลองมหาสวัสดิ์ ได้รับค่าเที่ยวชมอีกด้วย บ้านฟักข้าวได้ถูกจัดให้อยู่ในโปรแกรมการท่องเที่ยวของชุมชนบ้าน ศาลาดิน ที่ได้เป็นต้นแบบของหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industry Village: CIV) นอกจากนั้นบ้านฟักข้าวยังมีชื่อเสียงอย่างมาก ได้ รับความสนใจจากสื่อมวลชนเข้ามาบันทึกเทปโทรทัศน์หลายรายการ ออก อากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3, 5, 7, 9, 20, 34 และช่อง ThaiPBS ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์ได้เพิม่ บรรจุภณ ั ฑ์น�้ำ ฟักข้าว และน้ำ�อัญชันมะพร้าวอ่อนขวดเล็กซึ่งเป็นแบบใหม่ โดยจำ�หน่ายน้ำ�ฟักข้าว ในราคา 15 บาท และจำ�หน่ายน้ำ�อัญชันมะพร้าวอ่อนในราคา 10 บาท โดย ขวดใหญ่แบบทีน่ กั ศึกษาออกแบบให้จะขายเมือ่ ไปออกงานภายนอกและขาย ให้แก่คนที่จะนำ�ไปออกงาน ส่วนขวดเล็กแบบใหม่จะขายให้แก่นักท่องเที่ยว
Method for Sustainable Community-Business Development | 89
อาจารย์ประจำ�วิชาและธนาคาร ที่มาดูงาน เพราะสะดวกต่อการพกพา ออมสิน ลงพื้นที่ทดสอบชุมชนเพื่อให้ ด้านระบบบัญชี ปัจจุบันทางบ้านฟักข้าวยังทำ�ระบบบัญชีที่นักศึกษา มั่นใจว่าชุมชนสามารถดำ�เนินการต่อไป สอนให้อยู่ หลังจากนักศึกษาส่งมอบโครงการ
ด้านสถานที่ผลิต ยังคงผลิตสินค้าภายในครัวเรือน ทุกผลิตภัณฑ์ ซึ่ง กำ�ลังจะปรับปรุง แยกสัดส่วนการผลิตระหว่างอาหารและเคมีภัณฑ์ โดยนำ� ห้องว่างในบ้านมาทำ�เป็นห้องสำ�หรับผลิตสบู่ เพื่อให้ขอหมายเลขจดแจ้งได้ ตามคำ�แนะนำ�ของกระทรวงสาธารณสุข ด้านความร่วมมือภายในชุมชน ในปี 2560 บ้านฟักข้าวได้อยู่ใน เส้นทางท่องเทีย่ วของคลองมหาสวัสดิ์ ซึง่ ทางบ้านฟักข้าว มักจะให้น�้ำ ฟักข้าว และสบูเ่ พือ่ ตอบแทนน�้ำ ใจของคนขับเรืออยูเ่ สมอ นอกจากนีท้ างบ้านฟักข้าว ยังรับซื้อฟักข้าวจากชาวบ้านในชุมชนอีกด้วย ด้านความร่วมมือกับองค์กรภายนอก มีองค์กรภายนอกเข้ามาสนับสนุน และดูงานเป็นจำ�นวนมาก เช่น เป็นแหล่งดูงานของเทศบาลชุมชน องค์การ บริหารส่วนตำ�บล (อบต.) และองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) จากจังหวัด ต่างๆ ให้ความร่วมมือกับนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรองของรัฐบาล ทำ�ให้มีนักท่องเที่ยวมากขึ้นและรายได้ดีขึ้น วิสาหกิจชุมชนกลุม่ แปรรูปผลิตภัณฑ์จากฟักข้าวเกษตรพัฒนา ยังเปิด รับความช่วยเหลือจากมหาวิทยาลัยอืน่ ๆ เข้ามาช่วยสนับสนุนการทำ�งานของ บ้านฟักข้าวอยู่เสมอ ได้แก่ นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล ช่วยออกแบบ บรรจุภัณฑ์ คุกกี้ฟักข้าว นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มาช่วยทำ�ป้ายประขาสัมพันธ์ เป็นต้น
ภาคผนวก
1. โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดบ้านโคกสะอาด จ. บุรีรัมย์ 2. โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดบ้านโคกตาอิ่ม จ. บุรีรัมย์ 3. โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดและศูนย์เพาะกล้าไม้บ้านโคกพลวง จ. บุรีรัมย์
ชื่อโครงการ
4. โครงการพัฒนาอาชีพกลุ่มสตรี ตะกร้าสานพลาสติก จ. นครปฐม 5. โครงการศูนย์วิจัยการใช้ราบิวเวอร์เรีย ปากเกร็ด จ. นนทบุรี 6. โครงการพัฒนาศักยภาพคนพิการ IL พุทธมณฑล ของใช้ทั่วไป 7. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน ชุมชนอับดุลเลาะห์ กรุงเทพฯ (เสื้อผ้า กระเป๋า ปุ๋ย ฯลฯ) 8. โครงการพัฒนากระเป๋าสานพลาสติกชุมชนจอมบึง จ. ราชบุรี 21 รายการ 9. วิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก ไรซ์มี หอมเฮิร์บ จ. ระยอง คิดเป็น 18.75% 10. วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก ผ้ามัดย้อม จ. ระยอง 11. กลุ่มหัตถกรรมชุมชนตำาบลพงตึก กระเป๋าวาลา จ. กาญจนบุรี 12. วิสาหกิจชุมชน Eco-Sala ชุมชนมาบชลูด-ชากกลาง เฟอร์นเิ จอร์ไม้ จ. ระยอง 13. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาชีพตัดเย็บชุมชนบ้านบน ตัดเย็บเสื้อโปโล จ. ระยอง 14. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน สกรีนเสือ้ ผ้าชุมชนตลาดห้วยโป่ง จังหวัดระยอง 15. โครงการพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์จากผ้าชุมชนมาบชลูด 16. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาชีพสหกรณ์ศิลปะประดิษฐ์ เกาะเกร็ด 17. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มชุมชนมาบข่ามาบใน ดอกไม้ประดิษฐ์ผ้าใยบัว จ. ระยอง
ประเภทสินค้า/บริการ ปุ๋ยอัดเม็ด ปุ๋ยอัดเม็ด ปุ๋ยอัดเม็ด และ เพาะกล้าไม้ (และ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ร้านค้าชุมชน) กระเป๋าสาน ปุ๋ยจากราบิวเวอร์เรีย ผลิตภัณฑ์เดคูพาจ กระเป๋าสาน กระเป๋าสาน หมอนรองคอ (และ snack bar) ผ้ามัดย้อม ผ้าบาติก กระเป๋าสาน เฟอร์นิเจอร์ เสื้อโปโล ผ้ามัดย้อมและบาติก กระเป๋าและผลิตภัณฑ์จากผ้า ชุดระบายสีผ้าบาติก ดอกไม้ประดิษฐ์
สินค้า/บริการของชุมชน
โครงการดำาเนินการตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 - 2560 (เฉพาะชุมชนที่ทีมวิจัยติดต่อได้)
1 1 1 1 1 1 2 1 1 1 2 2 1 1
1 1 2
จำานวนสินค้า/ บริการ
21
รวมจำานวน สินค้า/บริการ ในแต่ละประเภท
Method for Sustainable Community-Business Development | 91
ของใช้เครื่องสำาอาง (ยาสระผม โลชั่น สบู่ ฯลฯ) มี 19 รายการ คิดเป็น 16.96%
ประเภทสินค้า/บริการ
9. โครงการวิสาหกิจชุมชนปากช่อง จ. ราชบุรี
8. การพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจฟาร์มแพะชุมชนดารุ้ลอิบาดะห์
6. โครงการพัฒนา วสช. มาบตาพุด ลิตเติ้ลเมอเมตคอสเมติกส์ 7. กลุ่มแม่บ้านชุมชนพัฒนาบ่อนไก่
1. โครงการเกลือสครับ จ. สมุทรสาคร 2. โครงการพัฒนาชุมชนเกลือลาดใหญ่อย่างยั่งยืน อ. เมือง จ. สมุทรสาคร 3. วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรเทวินทร์ เครื่องสำาอาง จ. ระยอง 4. กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากฟักข้าวเกษตรพัฒนา น้ำาฟักข้าว สบู่ฟักข้าว จ. นครปฐม 5. โครงการ “กลุ่มวิสาหกิจชุมชนรักษ์คุ้งบางกะเจ้า” (ภาคส่วนผลิตภัณฑ์)
ชื่อโครงการ
2
สบู่ สครับ (และน้ำาวุ้นลูกจากใบเตย น้ำาพิลังกาสา) สบู่เหลวและสบู่ก้อนจากผลไม้ท้องถิ่น แชมพูมะกรูดใบย่านาง ครีมนวดผมน้ำามันมะพร้าว สบู่สมุนไพรน้ำาผึ้งขมิ้น เซรั่มบำารุงผมผสมน้ำามันมะกอก ผลิตภัณฑ์โลชั่น สบู่ จากนมแพะ (และการท่องเที่ยว) สบู่ & แชมพูทิพวรรณ (และเห็ดเคี้ยวเพลิน)
2
2
2 4
2 2 2 1
เกลือสครับผิวสูตรต่างๆ/สบู่ เกลือสครับผิวสูตรต่างๆ/สบู่ ครีมมะหาดและโลชั่นอื่นๆ สบู่ (และน้ำาฟักข้าว น้ำาอัญชัน)
สินค้า/บริการของชุมชน
จำานวนสินค้า/ บริการ
19
รวมจำานวน สินค้า/บริการ ในแต่ละประเภท 92 | Thammasat Model:
ของกิน เครื่องดื่ม มี 46 รายการ คิดเป็น 41.07 %
ประเภทสินค้า/บริการ
สินค้า/บริการของชุมชน
1. โครงการข้าวไท ชาวนากลุ่มรวมขวัญ จ. สุพรรณบุรี ขายข้าวสาร 2. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดหนองหว้า บ้านช่อง พนมสารคาม เห็ดแปรรูป จ. ฉะเชิงเทรา 3. โครงการวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดหนองหว้า จ. ฉะเชิงเทรา เห็ดแปรรูป 4. โครงการกลุ่มแม่บ้านตำาบลบางนางลี่ จ. สมุทรสาคร เห็ดแปรรูป 5. โครงการพัฒนาระบบบัญชีและสร้างรายได้จากท้องถิ่น รร. วัดเกาะแก้ว ขนมแปรรูปจากแสม ลำาแพน จ. เพชรบุรี 6. โครงการโรงเรียนต้นแบบบ้านท่ามะขาม จ. ราชบุรี ผักไฮโดรโปนิกส์ 7. โครงการเห็ดนางฟ้าสร้างอาชีพ กรุงเทพฯ น้ำาพริกและข้าวเกรียบเห็ด 8. โครงการแปรรูปมะพร้าวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กรุงเทพฯ น้ำามะพร้าวสกัดเย็นและมะพร้าวแก้ว 9. โครงการพัฒนาชุมชนไทรน้อย บ้านทรงสเปน จ. อยุธยา กล้วยตาก/กล้วยอบแผ่น (และโฮมสเตย์) 10. โครงการวิสาหกิจชุมชนปากช่อง จ. ราชบุรี เห็ดเคีย้ วเพลิน (และสบู่ & แชมพูทพิ วรรณ) 11. โครงการพัฒนาชุมชนผลิตกล้วยตาก แกะกินกล้วย จ. ราชบุรี แกะกินกล้วย อาหารแปรรูปเพื่อสุขภาพ 12. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพตำาบล จอมบึง จ. ราชบุรี 13. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปกล้วยมาบชลูด กล้วยฉาบ กล้วยกวน จ. ระยอง กล้วยหอมแผ่น 14. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านทิวลิปเนินพยอม ขนมเปี๊ยะ 8 เซียน จ. ระยอง ขนมเปี๊ยะ 8 เซียน
ชื่อโครงการ
1 1
1 2 2 2 1 1 1
1 1 1
1 1
จำานวนสินค้า/ บริการ
46
รวมจำานวน สินค้า/บริการ ในแต่ละประเภท
ประเภทสินค้า/บริการ 1 1 1 1 1 1 2 2 1 2 2 1 2 1 1
สินค้า/บริการของชุมชน เห็ดสด ผลไม้แปรรูป ขนมเปี๊ยะ ข้าวสารถุงและแปรรูป ข้าวตัง น้ำาพริกเผาปลากระสูบ น้ำาสำารอง และ กะปิคั่ว น้ำาพริกและไข่เค็ม ผักไฮโดรโปนิกส์แปรรูป น้ำาพริกเผาสามรส น้ำาพริกเผากากหมู น้ำาฟักข้าว น้ำาอัญชัน (และสบู่) snack bar (และหมอนรองคอ) มันสำาปะหลังทอดกรอบปรุงรส แหนมหมู น้ำาชะมวง
ชื่อโครงการ
15. วิสาหกิจชุมชนเกษตรคลองทราย เห็ด จ. ระยอง 16. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสร้างอาชีพชุมชนบ้านพลง แปรรูปผลไม้ จ. ระยอง 17. กลุ่มขนมบ้านทุ่งนา ขนมเปี๊ยะกลมกลม จ. กาญจนบุรี 18. กลุ่มอาชีพแปรรูปข้าวสาร จ. กาญจนบุรี 19. กลุ่มแม่บ้านเกษตรมหาสวัสดิ์ ข้าวตัง จ. นครปฐม 20. กลุ่มแม่บ้านบ้านท่ากระดาน น้ำาพริกปลากระสูบครัวกำานัน จ. กาญจนบุรี 21. วิสาหกิจชุมชนหนองสนม น้ำาสำารอง กะปิคั่ว จ. ระยอง 22. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสะพานหิน พริกแกงป่า ไข่เค็ม จ. ระยอง 23. วิสาหกิจชุมชนบ้านฉางไฮโดรฟาร์ม ผักสลัด ผักไฮโดรโปนิกส์ จ. ระยอง 24. วิสาหกิจชุมชนหัวน้ำาตกพัฒนา น้ำาพริกกากหมู จ. ระยอง 25. กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากฟักข้าวเกษตรพัฒนา น้ำาฟักข้าว สบู่ฟักข้าว จ. นครปฐม 26. วิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก ไรซ์มี หอมเฮิร์บ จ. ระยอง 27. โครงการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านฉาง จ. ระยอง 28. วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารวัดกรอกยายชา 29. โครงการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์ น้ำาชะมวงป่าชุมชน ตำาบลเนินพระ จังหวัดระยอง
จำานวนสินค้า/ บริการ
รวมจำานวน สินค้า/บริการ ในแต่ละประเภท
94 | Thammasat Model:
การบริการ มี 19 รายการ คิดเป็น 16.96 %
ประเภทสินค้า/บริการ ไอติมโบราณ (และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร) น้ำาพริกหมูชะมวง คุกกี้กล้วย ไอศกรีมผลไม้ เผือกฉาบ กล้วยตากเคลือบช็อกโกแลต น้ำาวุ้นลูกจากใบเตย น้ำาพิลังกาสา (และ สบู่ สครับ) ร้านค้าชุมชน ศูนย์สาธิตทางการตลาด ร้านค้าชุมชน ร้านค้าชุมชน ศูนย์การเรียนรู้ ห้องสมุดของเล่นประจำาหมู่บ้าน ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน โฮมสเตย์ ฝาก-ให้กู้เงิน และบริการเพาะปลูกข้าว บริการตัดเย็บ จำาหน่ายสินค้ามือสอง ร้านค้า สินค้ามือสอง
30. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตลาดน้ำาคลองลัดมะยม
1. ร้านค้าชุมชนและศูนย์สาธิตร้านค้าบ้านหนองมะมา จ. บุรีรัมย์ 2. ร้านค้าชุมชนบ้านไร่โคก จ. บุรีรัมย์ 3. กลุ่มเกษตรกรบ้านหนองทองลิ่ม 4. ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนครบวงจรบ้านสระขาม จ. บุรีรัมย์ 5. ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนครบวงจรบ้านไทยทอง จ. บุรีรัมย์ 6. ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนหมู่บ้านไทยทอง จ. บุรีรัมย์ 7. โครงการแสนตอ กรุงเทพฯ 8. โครงการพัฒนาศูนย์ส่งเสริมและผลิตข้าวชุมชนบ้านรางไม้แดง จ. ราชบุรี 9. โครงการพัฒนาธุรกิจชุมชนกลุ่มสตรีตัดเย็บ บ้านนายาว จ. นนทบุรี 10. โครงการพัฒนาธุรกิจ Ray’s Secondhand Shop จ. ชลบุรี 11. โครงการพัฒนามูลนิธิพระมหาไถ่ (เรย์ปันกัน) จ. ชลบุรี
33. โครงการ “กลุ่มวิสาหกิจชุมชนรักษ์คุ้งบางกะเจ้า” (ภาคส่วนผลิตภัณฑ์)
31. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเขาไผ่ จังหวัดระยอง 32. โครงการพัฒนากลุ่มแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรนิมิตใหม่
สินค้า/บริการของชุมชน
ชื่อโครงการ
2 1 1 1 1 1 1 2 1 1 1
2
1 5
1
จำานวนสินค้า/ บริการ
19
รวมจำานวน สินค้า/บริการ ในแต่ละประเภท
Method for Sustainable Community-Business Development | 95
อื่นๆ 7 รายการ คิดเป็น 6.25%
ประเภทสินค้า/บริการ
รวมทั้งหมด
3. โครงการมูลนิธิบ้านสร้างสรรค์เด็ก จ. ปทุมธานี 4. โครงการต้นกล้า สะตือเอน จ. อยุธยา 5. โครงการ Training course Ray’s Secondhand Shop จ. ชลบุรี 6. ข้าวธรรมธรรมศาสตร์ จ. ปทุมธานี
1. โครงการแก้ปัญหาภาระหนี้สินชุมชน บ้านสะตือเอน จ. อยุธยา 2. โครงการสอนคนไข้โรคจิตทุเลาที่สถานสงเคราะห์บ้านกึ่งวิถี จ. ปทุมธานี
15. บ้านโนนศรีสุข
14. บ้านหนองยาง
12. โครงการพัฒนาชุมชนไทรน้อย บ้านทรงสเปน จ. อยุธยา 13. โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดและศูนย์เพาะกล้าไม้บ้านโคกพลวง จ. บุรีรัมย์
ชื่อโครงการ
โครงการเกษตร ธนาคารขยะ ธนาคารความดี จัดคอร์สอบรมหลักสูตรต่างๆ แก่ผู้พิการ กล่องข้าวธรรมศาสตร์
ธนาคารขยะ ภาพนูนต่ำานูนสูง
โฮมสเตย์ (และกล้วยตาก/กล้วยอบแผ่น) ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ร้านค้าชุมชน (และปุ๋ยอัดเม็ด และ เพาะกล้าไม้) สอนระบบบัญชีร้านค้าชุมชน/ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
สินค้า/บริการของชุมชน
112
1 1 1 2
1 1
1
2
1 2
จำานวนสินค้า/ บริการ
112
7
รวมจำานวน สินค้า/บริการ ในแต่ละประเภท
96 | Thammasat Model:
โครงการ sife มี 16 โครงการ
ติดต่อไม่ได้ มี 4 สินค้า/บริการ
1. โครงการต้นแบบบ้านกระเบื้องใหญ่รวมใจชุมชน จ. นครราชสีมา 2. โครงการเกษตรยั่งยืนโรงเรียนบ้านคลองบางกระจัน จ. นครปฐม 3. วิสาหกิจชุมชนวัดกลางคลองสาม 4. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนวัดทองสัมฤทธิอ์ ย่างยัง่ ยืน กรุงเทพฯ 1. KSL ริเวอร์แคว กาญจนบุรี 2. โฮมสเตย์ บ้านปราสาท 3. ไก่เคยู เบตง กำาแพงเพชร 4. ข้าวไทย สุพรรณบุรี (ปี 2553) 5. คู่มือการทำาบัญชี สมุทรปราการ 6. คู่มือบัญชีเบื้องต้น ชัยภูมิ 7. ชุมชนเกษตรอินทรีย์ ราชบุรี 8. พัฒนาโรงเรียนวัดหัวหิน ราชบุรี 9. พัฒนาผลิตภัณฑ์ 5 จังหวัด 10. หมู่บ้านโคกพลวง สะเดา 11. หมู่บ้านโคกพลวง หนองโบสถ์ 12. หมู่บ้านไทยทอง บุรีรัมย์ 13. หมู่บ้านขาม ชัยภูมิ 14. หมู่บ้านหนองบัวโคก ชัยภูมิ 15. หมู่บ้านหนองมะมา บุรีรัมย์ 16. หมู่บ้านหนองยาง บุรีรัมย์
Method for Sustainable Community-Business Development | 97
ขอขอบคุณ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการในช่วง 10 ปี (ปีการศึกษา 2551-2560) วรัมพา เตมัยสมิธิ (อ. ดร.) กฤษณ์ ปัทมะโรจน์ (อ.) วรรณี เตโชโยธิน (ผศ. ดร.) จตุพร ตังคธัช (อ.) สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล (อ. ดร.) ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ (ผศ. ดร.) สฤณี อาชวานันทกุล ปาริฉัตร จันโทริ (ผศ.) สุทธิกร กิ่งแก้ว (อ. ดร.) พิภพ อุดร (รศ. ดร.) เอกจิตต์ จึงเจริญ (รศ. ดร.) พัฒน์ธนะ บุญชู (ผศ. ดร.) อรุณี ตันวิสุทธิ์ (อ. ดร.) ภัทราพร แย้มละออ (อ.) อบรม เชาวน์เลิศ (ผศ.) มณฑล สรไกรกิติกูล (อ. ดร.) เจ้าหน้าที่โครงการหลักสูตรควบตรี-โท ทางการบัญชีและบริหารธุรกิจ ชุติมา สิงห์รอด ธันยธร เจี่ยสินเจริญ เทพบดี สัมพันธ์ แพรวพรรณ เลิศบรรลือชัย องค์กรเครือข่าย หน่วยงานสนับสนุน ธนาคารออมสิน สมาคมเพื่อนชุมชน (CPA) ศูนย์พัฒนาชนบทผสมผสานนางรอง (ซีเบิร์ด) จังหวัดบุรีรัมย์ รายนามนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา 10 โชว์เคส (showcases) 1. วิสาหกิจชุมชนส่งเสริมอาชีพชุมชนเกาะกก ไรซ์มี หอมเฮิร์บ จ. ระยอง นักศึกษา นางสาวนิศรา ฟั่นบุญตัน นางสาวกัญญาณัฐ รังสิยเวคิน นางสาวญาณิศา สุจารีย์ นายกนกพล บุญเสริม นายชนาธิป ทรัพย์พจน์ นางสาวธัญธร อ่อนอำ�ไพ นางสาวนันทนัช วิรุฬห์ชีว นางสาวจีรนันท์ กุลจิตติอนุรักษ์ นางสาวกนกวรรณ บุญมีลาภ นางสาววิชาวีร์ เจตะสานนท์ นางสาวนิศรา ฝั้นบุญตัน นางสาวมติมนต์ แจ่มอารทรา อาจารย์ที่ปรึกษา สุทธิกร กิ่งแก้ว (อ. ดร.) 2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านทิวลิปเนินพยอม ขนมเปี๊ยะ 8 เซียน จ. ระยอง นักศึกษา นายกฤตริณ ตริณตระกูล นายพาทิศ วรวัฒน์ นายวริทธิ์ธร ธนวณิชย์กุล นายก้องภพ จุลเจริญ นายณัฐนนท์ กลิ่นโสภณ นายพีรธัช โชติขจรเกียรติ นายธนภัทร ตั้งจิตรชอบ นายภาณุวัส ชวนสมบูรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษา สุทธิกร กิ่งแก้ว (อ. ดร.)
Method for Sustainable Community-Business Development | 99
3. โครงการพัฒนาชุมชนผลิตกล้วยตาก แกะกินกล้วย จ. ราชบุรี นักศึกษา นายภัทรกฤช สัยงาม นางสาววรัญญา สิทธิสมเรือง นางสาวจีระภา สุวรรณโณ นางสาวณัทชิสา เหลืองสุรงค์ นางสาวเอกณัฏฐ์ เหลืองสุรงค์ นายอาภากร วนเศรษฐ นางสาวสุพัตรา กุลปิยะวาจา นางสาวกฤตโสภา ทิพย์ปัญญาวงศ์ อาจารย์ที่ปรึกษา สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล (อ. ดร.)
นางสาวหทัยรัจน์ จรัสวสันต์ นางสาวเขมจิรา ชื่อเจริญสุข นางสาวสขิลา บุณยรัตพันธุ์ นางสาวนันทนัช อัญชลีพรสันต์ นางสาวณัฐณิชา ตระการวิจิตร นางสาวภัคศรัณย์ จิตพัฒนไพบูลย์ นางสาวภาวิณี ถุงเป้า
4. โครงการพัฒนาชุมชนเกลือลาดใหญ่อย่างยั่งยืน อ. เมือง จ. สมุทรสงคราม นักศึกษาในปี 2555 นางสาวลลิตา เลิศเศรษฐวณิช นายศุภวิชญ์ ยอดน้ำ�คำ� นางสาวญาณินท์ ปั้นม่วง นายศาศวัต มาศสุพงศ์ นางสาวดวงพร จันทร์เสงี่ยม นางสาวศีดา ยืนยง นางสาวกิรณา จินตโกวิท นายวศิน นามสุบิน นางสาวเมทิกา ชาติน้ำ�เพ็ชร นางสาวปาริชาต อัศวพงศ์ไพบูลย์ นางสาวพัสสมน อภิปวินท์วงศา นางสาวสัตตกมล ตันติวังไพศาล นักศึกษาในปี 2556 ไม่พบข้อมูล อาจารย์ที่ปรึกษาในปี 2555 ดวงใจ หล่อธนวณิชย์ (ผศ. ดร.) อาจารย์ที่ปรึกษาในปี 2556 พิภพ อุดร (รศ. ดร.) 5. วิสาหกิจชุมชนแตนบาติก ผ้ามัดย้อม จ. ระยอง นักศึกษา นางสาวพริญาณ์ เฉิน นางสาวนิชาภัทร วรากมนชัยเดช นางสาวบงกชรัตน์ ดวงฉวี นางสาวณัฎฐา สงวนพงษ์ อาจารย์ที่ปรึกษา อรุณี ตันวิสุทธิ์ (อ. ดร.)
นายชุติภาส อุดมสุด นางสาวอารียา ประยงค์เพชร นางสาววาริน ชีวกนิษฐ์
6. โครงการพัฒนากลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากฟักข้าว สาขาพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม นักศึกษา นายพีรณัฐ ยิ่งเจริญพาสุข นางสาวกัลยกร แฉล้มเขตต์ นางสาวณัฐวดี ภาวนาวิวัฒน์ นายธนัท วรชิติสรรค์ นายภาณุวัฒน์ สังขรัตน์ นางสาวนาถชาดา วิมาลา
100 | Thammasat Model:
นางสาวแสงระวี วิวัฒนเสถียรสินธุ์ นายโชติกรณ์ กุลโชติ นางสาวพรชนก ต่อเอกบัณฑิต อาจารย์ที่ปรึกษา สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล (อ. ดร.)
นายธนภัทร จูฑะพุทธิ นางสาววรพร กวีกาญจนกุล
7. โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดและศูนย์เพาะกล้าไม้บ้านโคกพลวง จ. บุรีรัมย์ นักศึกษา ไม่พบข้อมูล อาจารย์ที่ปรึกษา พิภพ อุดร (รศ.ดร.) และ วรรณี เตโชโยธิน (ผศ. ดร.) 8. โรงปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดบ้านโคกตาอิ่ม จ. บุรีรัมย์ นักศึกษา ไม่พบข้อมูล อาจารย์ที่ปรึกษา พิภพ อุดร (รศ. ดร.) และ วรรณี เตโชโยธิน (ผศ. ดร.) 9. โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพตำ�บลจอมบึง จ. ราชบุรี นักศึกษา นายวีรพงศ์ วัฏฏะวรเวช นางสาวพรอาภา พุทธพิทักษ์ นายคุณานนต์ พีรพรวิพุธ นายเศก เลิศศรีสันทัด นายธนภัทร บุศราทิศ นายณรงค์ชัย จาตุรันต์ นายกรวิชญ์ สุชฎาพงศ์ นายนันพิชา จูงศิริวัฒน์ นายทักษกร เลิศบุญสุภา นายกิตติพศ วาจาขจรฤทธิ์ นางสาวศิรักษ์ สุขวิบูลย์ นายธนบูรณ์ แก้วงาม นางสาวณภัทร เอี่ยมวชิรสกุล นายปพนธ์ สิริโชติกุล นางสาวณัฐณิชา ฟูเฟื่องสมบัติ อาจารย์ที่ปรึกษา พัฒน์ธนะ บุญชู (ผศ. ดร.) 10. โครงการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านฉาง จ. ระยอง นักศึกษา นายอภิสิทธิ์ ฐิติเจริญศักดิ์ นางสาวเอื้อกานต์ จารุศิริ นางสาวชนม์นิภา ขัดขจร นางสาวภาวินี ธิถา นายธนธรณ์ สีหะวงษ์ อาจารย์ที่ปรึกษา จตุพร ตังคธัช (อ.) ทีมจัดทำ�คลิปธรรมศาสตร์โมเดล ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ และทีมงาน
นายศตวุฒิ หนองหารพิทักษ์ นางสาววรรณรดา พวงมาลัย นางสาวพิชชา ฉัตรชัยพลรัตน์ นางสาววรรณิดา รุ่งวารินทร์