คู่มือ - ผู้ป่วยปลูกถ่ายไต

Page 1

คูม  อ ื

ผูป  ว ยปลูกถายไต โรงพยาบาลไทยนครินทร์

www.thainakarin.co.th Thainakarin Hospital @thainakarin

ชัน ้ G เปดใหบริการทุกวัน เวลา 7.30-20.30 น. ติดตอพยาบาลวิชาชีพ คุณนิรมล กองเพิม ่ พูล โทร. 094-823-5429


โรงพยาบาลไทยนครินทร ศูนยปลูกถายไต 345 ถนนเทพรัตน กม.3.5 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 02-3406499, 02-3612727


ไต คื​ืออะไร ?

ไต คื​ือ อวั​ัยวะรู​ูปคล้​้ายถั่�่วอยู่​่�นอกเยื่​่�อบุ​ุช่อ ่ งท้​้องบริ​ิเวณชาย โครงด้​้านหลั​ัง มี​ี 1 คู่​่�หรื​ือ 2 ข้​้าง คื​ือ ไตซ้​้ายและไตขวา

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 1


หน้​้าที่​่� ของไต

หน้​้าที่​่� ของไต คื​ื อ กรองเลื​ื อดเพื่� ่อผลิ​ิ ตน้ำำ� ปั​ัสสาวะกำำ�จั​ัดของเสี​ียจากกระบวนการเมตา บอลิ​ิซึมข ึ องร่​่างกาย รั​ักษาสมดุ​ุลของเกลื​ือแร่​่ รั​ักษาความสมดุ​ุลของกรด-ด่​่าง ช่​่วยรั​ักษา สมดุ​ุลของความดั​ันโลหิ​ิต ผลิ​ิตฮอร์​์โมนบาง ชนิ​ิด เป็​็นต้​้น

2 | คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต


ไตวาย เฉี​ียบพลั​ัน คื​ืออะไร ?

คื​ื อ มี​ี ปั​ั ส สาวะลดลงอย่​่าง รวดเร็​็วร่​่วมกับ ั อาการจากสาเหตุ​ุ ต่​่างๆ ถ้​้ารั​ักษาสาเหตุ​ุที่​่�ทำำ�ให้​้เกิ​ิด ไตวายเฉี​ียบพลั​ั นได้​้ แล้​้ ว ไตจะ สามารถกลั​ับมาทำำ�งานได้​้ปกติ​ิ

ไตวายเฉี​ียบพลั​ันเป็​็นภาวะที่​่�มี​ี การสู​ูญเสี​ียการทำำ�งานของไตที่​่� เกิ​ิ ดขึ้​้� น อย่​่างรวดเร็​็ ว สาเหตุ​ุ สำำ�คั​ั ญ เกิ​ิ ด ได้​้ จ ากหลายสาเหตุ​ุ เช่น ่ การติ​ิดเชื้​้�อ การได้​้รับ ั สารพิ​ิษ ผลข้​้าเคี​ียงจากการใช้​้ยา เป็​็นต้​้น อ า ก า รสำำ�คั​ั ญ ข อ ง ไ ต ว า ย เฉี​ียบพลั​ัน คื​ื อ มี​ี ปั​ั ส สาวะลดลงอย่​่าง รวดเร็​็ วร่​่วมกั​ั บสาเหตุ​ุ ต่​่ างๆ ถ้​้ า รั​ั ก ษาสาเหตุ​ุ ที่​่� ทำำ� ให้​้ เ กิ​ิ ด ไต ว า ย เ ฉี​ี ย บพลั​ั น ไ ด้​้ แ ล้​้ ว ไตจะสามารถกลั​ั บมาทำำ�งานได้​้ ปกติ​ิ

อาการ สำำ�คั​ัญ ของไตวายเฉี​ียบพลั​ัน

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 3


ไตวาย เรื้​้�อรั​ัง คื​ืออะไร ?

ไตวายเรื้​้�อรั​ัง เป็​็นภาวะที่​่�มีเี นื้​้� อไตถู​ูกทำำ�ลาย อย่​่างต่​่อเนื่​่� อ งเป็​็ น เวลานานจนกระทั่​่� ง ไตไม่​่ สามารถทำำ�หน้​้าที่​่�ได้​้ตามปกติ​ิ ซึ่​่�งจะมี​ีอาการดั​ัง ต่​่อไปนี้​้� เช่​่น คลื่​่� นไส้​้ อาเจี​ียน อ่​่อนเพลี​ีย เหนื่​่�อย ง่​่าย โลหิ​ิตจาง ปั​ัสสาวะออกน้​้อยลง รั​ับประทาน อาหารไม่​่ได้​้ บวมจนนอนราบไม่​่ได้​้เนื่​่� องจากน้ำำ� ท่​่วมปอด ซึ​ึมลง ชั​ัก หรื​ือรุ​ุนแรงจนกระทั่​่�งหมด สติ​ิ

4 | คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต


้ ่ ้ ง โรคเนือเยื อไตอั กเสบเรือรั

้ ง โรคกรวยไตอักเสบเรือรั

โรคเบาหวาน

โรคเก๊าท์

่ โรคเส้นเลือดฝอยทีไตอั กเสบ

เกิดจากโรคการสร้างภูมิต่อต้านตัวเอง หรือโรคลูปัส (SLE)

โรคความดั​ันโลหิ​ิตสู​ูง

โรคซี​ีสต์​์หรื​ือถุ​ุงน้ำำ�ในไต

โรคเส้​้นเลื​ือดแดงของไตตี​ีบ

โรคนิ่​่�วในไต

เกิ​ิดจากยาและผลข้​้างเคี​ียงของ ยาบางชนิ​ิด

ไตวายเรื้​้�อรั​ัง เกิ​ิดจากอะไรได้​้บ้​้าง

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 5


การรั​ักษา ไตวายเรื้​้�อรั​ัง

ในการรั​ั ก ษาไตวายเรื้​้� อรั​ั ง นั้​้� น เพื่� ่ อให้​้ ร่​่ างกาย สามารถขั​ับของเสี​ียได้​้ และดำำ�รงชี​ีวิ​ิตอย่​่างมี​ีความสุ​ุข ผู้​้�ที่​่� เ ป็​็ น ไ ต ว า ย เ รื้​้� อ รั​ั ง ก า รดู​ู แ ลรั​ั ก ษ า แ ล ะ ก า ร มี​ี กำำ�ลั​ั ง ใ จที่​่� ดี​ี รวมทั้​้� ง ก า ร เ รี​ี ย น รู้​้�วิ​ิ ธี​ี การดู​ูแลตนเองที่​่�ถูก ู ต้​้องนั้​้�นจะทำำ�ให้​้ผู้​้�ป่ว ่ ยมี​ีคุณ ุ ภาพ ชี​ีวิ​ิตที่​่� ดี​ี นอกจากนี้​้�แล้​้ วบุ​ุ คคลในครอบครั​ัวนั​ับว่​่ ามี​ี บทบาทที่​่� สำ�คั ำ ั ญ อย่​่างมากในการช่​่วยกั​ั น ดู​ู แ ลและ ให้​้กำำ�ลั​ังใจ

6 | คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต


การรั​ักษา ไตวายเรื้​้�อรั​ัง มี​ีอะไรบ้​้าง

ผู้​้�ป่​่วยไตวายเรื้​้�อรั​ังระยะท้​้ายทุ​ุกรายจะต้​้องได้​้รับ ั การรั​ักษาที่​่�เรี​ียกว่​่า การบำำ�บัดทด ั แทนไต มี​ี 3 วิ​ิธี​ี

การฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis)

การล้างไตท้างหน้าท้อง (Peritoneal Dialysis)

การปลูกถ่ายไต

(Kidney transplantation)

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 7


การผ่​่าตั​ัด ปลู​ูกถ่​่ายไต

8 | คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต


หมายถึ​ึง การผ่​่าตั​ัดนำ�ำ ไตที่​่�ดีแ ี ละเหมาะสมมาใส่​่ให้​้กับผู้​้�ป่ ั ว่ ย ที่​่� เ ป็​็ น โรคไตวายเรื้​้� อ รั​ั ง ระยะสุ​ุ ด ท้​้ า ย โดยไม่​่จำำ� เป็​็ น ต้​้ อ ง ผ่​่าตั​ัดนำ�ำ ไตเดิ​ิมของผู้​้�ป่​่วยออก ยกเว้​้นในบางกรณี​ีที่​่�จำำ�เป็​็น ต้​้องผ่​่าตั​ัดเอาไตเดิ​ิมออก

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 9


ไตที่​่�นำำ�มาปลู​ูกถ่​่าย

มาจากไหน? ไตที่​่�นำ�ม ำ าปลู​ูกถ่​่ายในประเทศไทย แบ่​่งออกเป็​็น 2 กลุ่​่�มใหญ่​่

1 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


1. ไตที่​่ม � าจากผู้​้บ � ริ​ิจาคที่​่มี​ี � ชีวิ ี ิต (Living Donor)

ผู้​้�บริ​ิ จ าคต้​้ อ งมี​ี คว ามสั​ั มพั​ั น ธ์​์ ท างสายเลื​ื อ ดคุ​ุ ณ สมบั​ั ติ​ิ

ผู้​้�บริ​ิจาคไตที่​่�มีชี ี วิ ี ิตในประเทศไทย • บิดา หรือมารดา บุตร หรือธิดา ตามธรรมชาติ พี่ น้องที่เกิด จากบิ​ิดามารดาเดี​ียวกั​ันที่​่�สามารถพิ​ิสูจน์ ู ไ์ ด้​้ทางกฎหมาย หรื​ือ ทางวิ​ิทยาศาสตร์​์การแพทย์​์ เช่​่น HLA และหรื​ือ DNA จากบิ​ิดา มารดา

• ลุง ป้า น้า อา หลาน (หมายถึงลูกของพี่หรือน้องที่มีความ สั​ัมพั​ันธ์​์ทางสายเลื​ือดเดี​ียวกั​ันหรื​ือครึ่​่�งหนึ่​่�ง) ลู​ูกพี่​่�ลู​ูกน้​้องใน ลำำ�ดั​ับแรก หรื​ือญาติ​ิที่​่�มี​ี ความสั​ัมพั​ันธ์​์ทางสายเลื​ือดครึ่​่�งหนึ่​่�ง เช่​่น พี่​่�น้​้องต่​่างบิ​ิดาหรื​ือมารดา ในกรณี​ีนี้​้�จะต้​้องมี​ีการพิ​ิสู​ูจน์​์ ว่​่า ผู้​้�บริ​ิจาคและผู้​้�รั​ับอวั​ัยวะมี​ี DNA และ/หรื​ือ HLA ที่​่�มีคว ี าม สั​ัมพัน ั ธ์​์กั​ัน

• ผู้บริจาคเป็นคู่สมรส โดยมีหลั กฐานการจดทะเบียนสมรส จนถึ​ึงวั​ันผ่​่าตั​ัดปลู​ูกถ่​่ายไตไม่​่น้​้อยกว่​่า 3 ปี​ี ยกเว้​้นกรณี​ีที่​่�มีบุ ี ุตร หรื​ือธิ​ิดาร่​่วมกั​ัน ซึ่​่�งหากมี​ีปั​ัญหาในการพิ​ิสู​ูจน์​์บุ​ุตรธิ​ิดา ให้​้ใช้​้ DNA และ/หรื​ือ HLA เป็​็นเครื่​่� องพิ​ิสูจน์ ู ์ 2. ไตที่​่ม � าจากผู้​้บ � ริ​ิจาคสมองตาย (Deceased Donor) ผู้​้�บริ​ิจาคสมองตาย(Brain Death Donor) หมายถึ​ึง ผู้​้�บริ​ิจาคที่​่� มี​ีแกนสมองถู​ูกทำำ�ลายจนสิ้​้น � สุ​ุดการทำำ�งานโดยสิ้​้น � เชิ​ิงตลอดไป ใน ทางการแพทย์​์จะถื​ือว่​่าผู้​้�ป่​่วยที่​่�มีภ ี าวะสมองตาย คื​ือ ผู้​้�ป่​่วยที่​่�เสี​ีย ชี​ีวิ​ิตแล้​้ว

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 11


อายุ​ุ ของผู้​้�ที่​่� จะบริ​ิจาคไต

ผู้​้�บริ​ิจาคต้​้องมี​ีอายุ​ุ 20 ปี​ี ขึ้​้�นไป จนถึ​ึง 65 ปี​ี และต้​้องมี​ีสุข ุ ภาพแข็​็งแรง

1 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


ผู้​้�บริ​ิจาคไตที่​่�มี​ีชี​ีวิ​ิตให้ไ้ ตแล้​้ว

มี​ีผลอะไรกั​ับ ร่​่างกายหรื​ือไม่​่ ? มนุ​ุษย์​์เรามี​ีไต 2 ข้​้าง การบริ​ิจาคไตให้​้ผู้​้�อื่​่�น ก็​็คื​ือการ ผ่​่าตั​ัดนำ�ำ ไต 1 ข้​้างออกมาให้​้กั​ับผู้​้�ป่ว ่ ยโรคไตวาย ถึ​ึงแม้​้ ผู้​้�บริ​ิจาคไตที่​่�มี​ีชี​ีวิ​ิตจะเหลื​ือไตเพี​ียง 1 ข้​้าง สามารถ ดำำ�เนิ​ินชี​ีวิ​ิตทำำ�งาน เล่​่นกี​ีฬา แต่​่งงานมี​ีครอบครั​ัวตั้​้�ง ครรภ์​์มี​ีบุ​ุตรและมี​ีอายุ​ุยื​ืนยาวเหมื​ือนคนปกติ​ิที่​่�มี​ีไต 2 ข้​้าง แต่​่ต้​้องดู​ูแลตั​ัวเองเป็​็นอย่​่างดี​ี และตรวจร่​่างกาย สม่ำำ�เสมอ

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 13


ผู้​้�ป่​่วยโรคไตวายเรื้​้�อรั​ังได้​้รั​ับ

การตรวจประเมิ​ิน ก่​่อนการปลู​ูกถ่​่ายไต ดั​ังนี้​้�คื​ือ

การตรวจเลื​ือด

ดู​ูการทำำ�งานของไต-ตั​ับ ความเข้​้มข้​้นของเลื​ือด ตรวจ หาไวรั​ัสตั​ับอั​ักเสบบี​ี ไวรั​ัสตั​ับอั​ักเสบซี​ี ซิ​ิฟิลิ ิ ิส ซี​ีเอ็​็มวี​ี ไวรั​ัส เอชไอวี​ี และหากผู้​้�ป่​่วยมี​ีภาวะตั​ับอั​ักเสบต้​้อง ได้​้รับ ั การตรวจรั​ักษากั​ับแพทย์​์ก่​่อนและผู้​้�ป่​่วยที่​่�ไม่​่มี​ี ภู​ูมิ​ิต้​้ านทานไวรั​ัส ตั​ั บอั​ั กเสบบี​ีจะต้​้ องได้​้ รั​ับการฉี​ีด วั​ัคซีน ี ก่​่อนทุ​ุกราย

การตรวจปั​ัสสาวะ

เพื่� อ ่ ดู​ูการทำำ�งานของไตและการติ​ิดเชื้​้�อเบื้​้� องต้​้น

1 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


การเอ็​็กซเรย์​์ปอด

เพื่� อ ่ ดู​ูลั​ักษณะของหั​ัวใจและปอด

การตรวจหั​ัวใจ

เริ่​่�มแรกจะมี​ีการตรวจคลื่​่� นหั​ัวใจ เพื่� ่อดู​ูการทำำ�งาน ของหั​ั ว ใจ หากมี​ี ข้​้ อ บ่​่งชี้​้� อ าจมี​ี ก ารตรวจ อั​ั ล ตรา ซาวนด์​์คลื่​่�นเสี​ียง และ/หรื​ือ วิ่​่�งสายพานเพื่​่�อดู​ูความ พร้​้ อ มของหั​ั ว ใจ หากมี​ี อ าการผิ​ิ ด ปกติ​ิ ต้​้ อ งมี​ี ก าร แก้​้ไขก่​่อนและได้​้รับคว ั ามเห็​็นชอบจากแพทย์​์หน่​่วย หั​ัวใจว่​่าสามารถผ่​่าตั​ัดปลู​ูกถ่​่ายไตได้​้

การตรวจเลื​ือด

เพื่� อ ่ เปรี​ียบเที​ียบเนื้​้� อเยื่​่�อ

การตรวจทางรั​ังสี​ีวิ​ิทยา เพื่� อ ่ ประเมิ​ินลั​ักษณะและการทำำ�งานของไต การตรวจสุ​ุขภาพฟั​ัน

โดยทั​ันตแพทย์​์ ซึ่​่�งถ้​้าหากผู้​้�ป่​่วยมี​ีปัญ ั หาสุ​ุขภาพฟั​ัน ต้​้องรี​ีบรัก ั ษาเพื่� อ ่ ป้​้องกั​ันการอั​ักเสบติ​ิดเชื้​้�อ คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 15


การปฏิ​ิบั​ัติ​ิตั​ัว ขณะรอรั​ับอวั​ัยวะไต จากผู้�บ ้ ริ​ิจาคอวั​ัยวะสมองตาย

1. ต้องส่งเลือดทุกเดือน หากขาดส่งเลือดท่านจะไม่มีสิทธิ์ได้รับการ จั​ัดสรรไตในเดื​ือนนั้​้�นจากศู​ูนย์​์รับบริ ั จ ิ าคอวั​ัยวะสภากาชาดไทย หลั​ักสำำ�คั​ัญ

• กรณีผู้ป่วยที่ฟอกเลือด เลือดที่สง่ ทุกเดือนต้องเป็นเลือดก่อนฟอก เลื​ือด ไม่​่ควรเจาะเลื​ือดข้​้างเดี​ียวกั​ับเส้​้นฟอกเลื​ือด

• กรณีผู้ป่วยล้ างไตทางช่องท้ อง เลื อดที่ ส่งทุกเดื อนสามารถเจาะ เลื​ือดได้​้ตามปกติ​ิ 1 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


วิ​ิธีก ี ารส่​่งเลื​ือด

• กรณีผป ู้ ว่ ยฟอกเลือดทีโ่ รงพยาบาลไทยนครินทร์ แผนกไตเทียม เป็​็นผู้​้�เจาะเลื​ือดส่​่งตรวจให้​้

• กรณีเจาะเลื อดมาจากศูนย์ฟอกเลื อดอื่ น หากเป็นเลื อดแดง สามารถเก็​็บในตู้​้�เย็​็นได้​้ และต้​้องนำำ�มาส่​่งภายใน 24 ชม. โดยไม่​่ ต้​้องแช่​่น้ำำ�แข็​็งไม่​่เขย่​่าหลอดเลื​ือด เพราะจะทำำ�ให้​้เม็​็ดเลื​ือดแดง แตก ทำำ� ให้​้ ไ ม่​่สามารถตรวจได้​้ นำำ�ม าส่​่งโรงพยาบาลไทย นคริ​ินทร์​์ หรื​ือให้​้ศูน ู ย์​์ฟอกเลื​ือดเป็​็นผู้​้�ดำำ�เนิ​ินการส่​่งตรวจให้​้ ส่​่ง ทางไปรษณี​ีย์​์ (EMS) กรณี​ีต่​่างจั​ังหวั​ัด ต้​้องเป็​็นเลื​ือดก่​่อนได้​้รับ ั การฟอกเลื​ือดหรื​ือภายหลั​ังการฟอกเลื​ือดเกิ​ิน 24 ชั่​่�วโมง โดย เจาะเลื​ือด 10 -15 ซี​ีซี​ี แล้​้วปั่​่�นแยกเอาแต่​่น้ำำ�เหลื​ืองบรรจุ​ุใส่​่ หลอดที่​่�จะส่​่ง ปิ​ิดจุ​ุกให้​้แน่​่น และใส่​่ซองกั​ันกระแทกก่​่อนบรรจุ​ุ ในกล่​่อง EMS ทุ​ุกครั้​้�ง ที่​่�อยู่​่�ในการส่​่ง

• ห้องปฏิบัติการร่วมกับองค์การอนามัยโลก (HLA LAB) อาคาร เฉลิ​ิมพระเกี​ียรติ​ิ ชั้​้�น 3 ศู​ูนย์​์บริจ ิ าคโลหิ​ิตแห่​่งชาติ​ิสภากาชาดไทย โทร 02-2564303-5 ต่​่อ 1311-2 แฟกซ์​์ 02-2556925

ข้​้อควรจำำ�

• การส่งเลือดต้องมีใบแบบฟอร์มการส่งเลือดทุกครั้ง

• หลอดเลือดที่สง่ ต้องติด ชื่อ-สกุล และ วันที่เจาะเลือด ทุกครั้ง คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 17


2. ต้องช�ำระค่าตรวจเลือด (PRA) ทุก 3-6 เดือน โดยช�ำระค่า ตรวจที่​่�โรงพยาบาลไทยนคริ​ินทร์​์ ในวั​ันที่​่�ส่​่งตรวจ หรื​ือที่​่� ศู​ูนย์​์ฟอกเลื​ือดอื่​่� นที่​่�ผู้​้�ป่ว ่ ยให้​้จั​ัดส่​่งให้​้ 3. มาตรวจตามนัด หากไม่สามารถมาได้ตามวันที่นด ั ให้โทรมา เลื่​่�อนนั​ัดตามใบนั​ัด หากท่​่านไม่​่ตรวจสุ​ุขภาพเลย จะมี​ีความ เสี่​่�ยงต่​่อการผ่​่าตั​ัดปลู​ูกถ่​่ายไตของตั​ัวท่​่านเอง เพราะแพทย์​์ ไม่​่ทราบว่​่าท่​่านมี​ีปั​ัญหาสุ​ุขภาพหรื​ือมี​ีความพร้​้อมในการ ผ่​่าตั​ัดหรื​ือไม่​่ 4. ต้ องมีการตรวจวั ดระดั บภูมิคุ้มกั นไวรัสตั บอั กเสบบีทุกปี และฉี​ีดกระตุ้​้�นภู​ูมิใิ นกรณี​ีที่​่�ไม่​่มี​ีภูมิ ู คุ้​้�มกั ิ ัน 5. ต้องนัดตรวจประเมินอัลตราซาวนด์ทุก 1 ปี 6. ต้องดูแลสุขภาพฟัน หากมีฟันผุต้องได้รับการรักษาก่อน เพราะอาจเกิ​ิดการติ​ิดเชื้​้�อได้​้ ควรพบทั​ันตแพทย์​์ทุก ุ 6 เดื​ือน

1 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


7. ดูแลตัวเองให้มคว ี ามพร้อมตลอดเวลา รักษาสุขภาพให้แข็ง แรงอยู่​่�เสมอไม่​่ไปสถานที่​่� ที่​่� เสี่​่�ยงต่​่อการติ​ิ ดเชื้​้�อโรคต่​่างๆ ควรรั​ับประทานอาหารที่​่�มี​ีประโยชน์​์ พั​ักผ่​่อนให้​้เพี​ียงพอ และออกกำำ�ลั​ังกายสม่ำำ�เสมอ 8. ควรเตรียมความพร้อมในการรับการติ ดต่อจากพยาบาล ประสานงานปลู​ูกถ่​่ายอวั​ั ยวะ ตลอด 24 ชั่​่�วโมง ห้​้ามปิ​ิด โทรศั​ัพท์​์ หากมี​ีการเปลี่​่�ยนแปลงเบอร์​์โทรต้​้องแจ้​้งพยาบาล ประสานงานปลู​ูกถ่​่ายอวั​ัยวะที่​่�หน่​่วยพยาบาลประสานงาน และบริ​ิการการปลู​ูกถ่​่ายอวั​ัยวะ โทรศั​ัพท์​์ 02- 3406499 หรื​ือ 02 – 3612727 ต่​่อศู​ูนย์​์ปลู​ูกถ่​่ายไต

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 19


เมื่​่�อถู​ูกโทรรายงาน ว่​่ามี​ีผู้​้�บริ​ิจาคไต หมายถึ​ึงอะไร

หมายถึ​ึ ง มี​ีผู้​้�บริ​ิจาคไตที่​่� มี​ีกรุ๊​๊�ปเลื​ื อดตรงกั​ั น หรื​ือกรุ๊​๊�ป เลื​ื อดที่​่� เข้​้ากั​ั นได้​้ โดยผ่​่านการตรวจความเข้​้ากั​ั นได้​้ ของ เนื้​้� อเยื่​่�อว่​่าเข้​้ากั​ันได้​้ในระดั​ับหนึ่​่�ง พยาบาลประสานงาน ปลู​ูกถ่​่ายอวั​ัยวะจะโทรแจ้​้งรายละเอี​ียดของผู้​้�บริ​ิจาคอวั​ัยวะ สมองตายหลั​ังจากนั้​้�นผู้​้�ป่​่วยจะทำำ�การตั​ัดสิ​ินใจรั​ับอวั​ัยวะ ไต ภายหลั​ังจากผู้​้�ป่​่วยตอบรั​ับทางศู​ูนย์​์รั​ับบริ​ิจาคอวั​ัยวะ สภากาชาดไทยจะทำำ�การตรวจในขั้​้�นที่​่� 2 ว่​่าเลื​ือดของผู้​้�ป่​่วย กั​ับผู้​้�บริจ ิ าคอวั​ัยวะสมองตายมี​ีปฏิ​ิกิริ​ิ ย ิ าการต่​่อต้​้านกั​ันหรื​ือ ไม่​่ ซึ่​่�งใช้​้ระยะเวลาประมาณ 6-8 ชั่​่�วโมงถึ​ึงจะทราบผล

2 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


ทำำ�อย่​่างไรเมื่​่�อถู​ูกเรี​ียก

มาปลู​ูกถ่​่ายไต • ต้องงดอาหารและน้�ำ อย่างน้อย 8 ชั่วโมง โดยพยาบาลประสาน งานปลู​ูกถ่​่ายอวั​ัยวะจะแจ้​้ง ให้​้ทราบว่​่าจะต้​้องเริ่​่ม � งดเวลาใด

• เตรียมความพร้อมในการเดินทาง เมื่อพยาบาลประสานงานปลูก ถ่​่ายอวั​ัยะโทรติ​ิดต่​่อสามารถเดิ​ินทางมาทั​ันที​ี

• น�ำยาทุกประเภทที่รบ ั ประทานมาด้วยทุกครัง้ ถ้ามีการรับประทาน ยาละลายลิ่​่ม � เลื​ือดให้​้แจ้​้งกั​ับพยาบาลประสานงานปลู​ูกถ่​่ายอวั​ัยวะ ด้​้วยทุ​ุกครั้​้�ง • แจ้งประวัติการรับเลือดให้พยาบาลประสานงานปลูกถ่ายอวัยวะ ทราบ • ควรท�ำการฟอกเลื อ ดรอไว้ ห ากท่านฟอกเลื อ ดมานานเกิ น 48 ชั่​่�วโมง ส่​่วนผู้​้�ป่​่วยที่​่�ล้​้างของเสี​ียผ่​่านทางหน้​้าท้​้องให้​้เตรี​ียมน้ำำ�ยา และอุ​ุปกรณ์​์ทุก ุ อย่​่างมาโรงพยาบาลด้​้วย

• ให้มาติดต่อที่หน่วยพยาบาลประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ 023406499, 02-3612727 เพื่​่�อเจาะเลื​ือด ตรวจคลื่​่� นหั​ัวใจ เอกซ์​์เรย์​์ ปอด สำำ�หรั​ับการประเมิ​ินความพร้​้อมก่​่อนผ่​่าตั​ัดและตรวจร่​่างกาย เบื้​้� องต้​้นโดยแพทย์​์ • เมื่อศูนย์รับบริจาคอวั ยวะสภากาชาดไทยแจ้ งผลการจั ดสรรไต พยาบาลประสานงานปลู​ูกถ่​่ายอวั​ัยวะจะโทรแจ้​้งผลให้​้ผู้​้�ป่​่วยรั​ับ ทราบ เพื่​่�อดำำ�เนิ​ินการนอนโรงพยาบาลและเตรี​ียมตั​ัวผ่​่าตั​ัดเป็​็น ลำำ�ดั​ับต่​่อไป คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 21


การดู​ูแลผู้​้�ป่​่วย ที่​่�ได้​้รั​ับการปลูก ู ถ่​่ายไต

ผู้​้�ป่​่วยหลั​ังการปลู​ูกถ่​่ายไตขณะอยู่​่�ในโรงพยาบาล จำำ�เป็​็น ต้​้องเข้​้ารั​ับการรั​ักษาในหอผู้​้�ป่​่วยหนั​ัก (ICU) เป็​็นเวลา 2-3 วั​ัน หรื​ือจนกว่​่าอาการคงที่​่� หลั​ังจากนั้​้�นย้​้ายไปพั​ักรั​ักษา ต่​่อที่​่�หอผู้​้�ป่​่วยในชั้​้�น 5 (Ward 5) ให้​้บริก ิ ารตามมาตรฐาน วิ​ิชาชี​ีพโดยยึ​ึดผู้​้�รับบริ ั ก ิ ารเป็​็นศู​ูนย์​์กลาง

2 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


ข้​้อพึ​ึงปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ในการนอนรั​ับการรั​ักษา สำำ�หรั​ับผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต • ให้ญาติเข้าเยี่ยมได้ไม่เกิน 2 คน และไม่ส่งเสียงดัง รบกวนผู้​้�ป่​่วย • สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา • งดน�ำ ดอกไม้ ส ด ผลไม้ ส ด และอาหารมาเยี่ย ม ผู้​้�ป่​่วย • ห้ า ม น�ำ อ า ห า ร แ ล ะ น้�ำดื่มทุ ก ช นิ ด เ ข้ า ม า รั​ับประทานในห้​้องผู้​้�ป่​่วย • เพื่อป้องกั นการติ ดเชื้อ ก่อน-หลั งเข้าห้องผู้ป่วย กรุ​ุณาล้​้างมื​ือทุ​ุกครั้​้�ง • ผู้ท่ม ี ีไข้ เป็นหวัด ไอ น้�ำมูก เจ็บคอ หรือผู้ท่ีสงสัย เป็​็นโรคติ​ิดต่​่อเกี่​่�ยวกั​ับทางเดิ​ินหายใจ หรื​ือผู้​้�ใกล้​้ชิด ิ กั​ั บผู้​้�ป่​่ ว ยที่​่� เ ป็​็ น ไข้​้ อี​ี สุ​ุ ก อี​ี ใ สในระยะ 3 สั​ั ป ดาห์​์ ก่​่อนหน้​้า หรื​ือท้​้องเสี​ีย กรุ​ุณางดเยี่​่�ยม • ผู้ ป่ ว ยกรุ ณ างดออกจากห้ อ งพั ก ยกเว้ น แพทย์ มี​ีคำำ�สั่​่�งให้​้ตรวจพิ​ิเศษนอกห้​้อง

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 23


การปฏิ​ิบัติ ั ิตั​ัวสำำ�หรั​ับ

ผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต เมื่​่�อกลั​ับบ้​้าน

• การติดเชื้อหลังการปลูกถ่ายไต เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้ บ่​่อย เนื่​่�องจากผู้​้�ป่​่วยจำำ�เป็​็นต้​้องได้​้รับ ั ยากดภู​ูมิต้ ิ ้านทาน เพื่​่�อ ป้​้องกั​ันภาวะสลั​ัดไต ดั​ังนั้​้�นการรั​ับประทานยากดภู​ูมิต้ ิ ้านทาน อย่​่างถู​ูกต้​้องเหมาะสมตามแพทย์​์สั่​่�งจำำ�เป็​็นมากเพื่� ่อป้​้องกั​ัน ภาวะสลั​ัดไต • ผู้ป่วยต้องไม่ปรับยาเอง รับประทานยาตามแพทย์ส่ังอย่าง เคร่​่งครั​ัด ดั​ังนั้​้�นผู้​้�ป่​่วยหลั​ังปลู​ูกถ่​่ายไตต้​้องมี​ีความรู้​้�ในการเฝ้​้า ระวั​ังและป้​้องกั​ันการติ​ิดเชื้​้�อที่​่�อาจเกิ​ิดขึ้​้�น • การวัดอุณหภูมร่ิ างกายด้วยตัวเอง โดยกอ ่ นกลับบา้ นพยาบาล จะสอนวิ​ิธีก ี ารวั​ัด พร้​้อมทั้​้�งการแปลผลให้​้กั​ับผู้​้�ป่ว ่ ย 2 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


• รู ปภาพ (ถ่ายรู ปหน้าห้อง W5 และ ICU)

• การดูแลเรื่องความสะอาด ทั้งด้านร่างกาย สิ่งแวดล้อมและอาหาร พร้​้อมทั้​้�งหลี​ีกเลี่​่�ยงการอยู่​่�ใกล้​้ชิดผู้​้�ที่​่ ิ ไ� ม่​่สบายที่​่�สามารถติ​ิดต่​่อได้​้จาก ทางเดิ​ินหายใจ หรื​ือสั​ัมผัส ั ผู้​้�ที่​่�เป็​็นหวั​ัด วั​ัณโรค หลี​ีกเลี่​่�ยงการใกล้​้ชิด ิ สั​ัตว์​์เลี้​้�ยงโดยตรง • ถ้าหากเกิดอาการเหล่านีเ้ ช่น มีไข้ ท้องเสีย ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะ ออกลดลง บวมตามตั​ัว มื​ือ เท้​้า เป็​็นต้​้น ต้​้องมาพบแพทย์​์ทัน ั ที​ีเพราะ ถ้​้าหากไม่​่ได้​้รับ ั การรั​ักษาอย่​่างทั​ันท่​่วงที​ีก็​็อาจเป็​็นสาเหตุ​ุทำำ�ให้​้ต้​้อง สู​ูญเสี​ียไตหรื​ือสู​ูญเสี​ียชี​ีวิ​ิตตามมาได้​้ • ควรระวังการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ โดยผู้หญิงท�ำความสะอาด บริ​ิเวณอวั​ัยวะสื​ืบพัน ั ธุ์​์�ทุ​ุกครั้​้�งหลั​ังขั​ับถ่​่าย ผู้​้�ชายให้​้ทำำ�ความสะอาด บริ​ิเวณหนั​ังหุ้​้�มปลายอวั​ัยวะเพศเสมอ • ห้ามกลั้นปัสสาวะ ควรปัสสาวะก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ • ต้องท�ำความสะอาดทุกครั้งหลังร่วมเพศ • ดื่มน้�ำอย่างน้อยวันละ 1-2 ลิตร/วัน • หมั่นล้างมือบ่อยๆ • ไม่ควรจั บต้ องดิ นในช่วง 6 เดื อนแรกหลั งผ่าตั ด หลั งจากนั้นถ้ า ทำำ�งานคลุ​ุกคลี​ีกั​ับดิ​ินควรใส่​่ถุ​ุงมื​ือยาง • สังเกตความผิดปกติท่ีอาจเกิดข้น ึ เช่น มีไข้ มีเชื้อราเกิดข้น ึ ที่ผว ิ หนัง หรื​ือในปาก ให้​้รีบม ี าพบแพทย์​์ทั​ันที​ี คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 25


การเฝ้​้าสั​ังเกต

ภาวะสลั​ัดไต ภาวะสลั​ัดไต เป็​็นภาวะที่​่�ระบบภู​ูมิ​ิคุ้​้�มกั​ันของผู้​้�ป่​่วย ไม่​่สามารถรั​ับไตใหม่​่ได้​้ โดยร่​่างกายมี​ีการสร้​้างเคมี​ี ขึ้​้�นมา เพื่� อ ่ ที่​่�จะย่​่อยสลายไตใหม่​่

2 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


อาการของผู้​้�ป่​่วย ที่​่�เกิ​ิดภาวการณ์​์สลั​ัดไต

• • • • •

มีไข้ อ่อนเพลีย มีอาการเจ็บปวดบริเวณไตที่ใส่เข้าไปใหม่ ปัสสาวะน้อยลง ตัวบวม น้�ำหนักตัวเพิ่มข้น ึ ความดันโลหิตสูง ตรวจพบค่าของเสียในเลือดสูงขึ้น และการทำำ�งานของไตลดลง

****หากมี​ีอาการเหล่​่านี้​้�ต้​้องรี​ีบมาพบแพทย์​์ทั​ันที​ี *****

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 27


การรั​ับประทาน อาหาร/น้ำำ��

• ควรรับประทานอาหารที่มโี ปรตีนเพียงพอ จ�ำพวกไข่ เนื้อสัตว์ และเนื้​้� อปลา • นมและผลิตภัณฑ์ ที่ผา่ นการฆ่าเชื้อแบบ Sterilize หรือ UHT ดื่​่�มนมพร่​่องมั​ันเนยแทน หลี​ีกเลี่​่�ยงผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์พวกโยเกิ​ิร์ต ์ นม เปรี้​้�ยว ไอศครี​ีม • ผัก ต้องรับประทานผักที่ปรุงสุก หลีกเลี่ยงผักสด ผักโรย ผัก สลั​ัด ผั​ักดอง ส้​้มตำำ� • ผลไม้ ทานผลไม้ ท่ี ผ่ า นความร้ อ น ผลไม้ ล อยแก้ ว ผลไม้ กระป๋​๋องที่​่�ผ่​่านการรั​ับรองมาตรฐาน เลื​ือกผลไม้​้สดที่​่�ต้​้องปอก เปลื​ือก และล้​้างให้​้สะอาด หลี​ีกเลี่​่�ยงผลไม้​้สดที่​่�ปอกเปลื​ือกแล้​้ว ผลไม้​้อิ่​่�ม/ดอง น้ำำ�ผลไม้​้ปั่​่�น/คั้​้�นสด • งดอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง เช่น กล้วย ส้ม มะละกอ เป็นต้น และ งดการรั​ับประทาน (Grapefruit) ส้​้มโอ ทั​ับทิ​ิม • ควรงดหรือหลีกเลี่ยงไข่แดง เครื่องในสัตว์ เนื้อติดมัน หอย นางรม ปลาหมึ​ึก กุ้​้�ง • หลี ก เลี่ ย งน้�ำมั น ที่มี ก รดไขมั น อิ่ม ตั ว สู ง เช่น กะทิ น้�ำมั น มะพร้​้าว 2 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


• อาหารต้องปรุงสุกด้วยความร้อน โดยการ ต้ม ผัด นึ่ง ตุ๋น อบ แทนการปิ้​้�ง ย่​่าง ทอด ยำำ� ลาบ • ดื่มน้�ำต้มสุก หรือน้�ำที่บรรจุขวดผ่านการฆ่าเชื้อที่ได้รับรอง มาตรฐาน หลี​ีกเลี่​่�ยงน้ำำ�ดื่​่�มจากถั​ังหรื​ือขวดที่​่�เปิ​ิดทิ้​้�งไว้​้ น้ำำ�แข็​็ง รวมถึ​ึงเครื่​่� องดื่​่�มที่​่�ใส่​่น้ำำ�แข็​็ง • งดดื่มเครื่องดื่มท่ม ี ีแอลกอฮอล์ เพราะจะมีผลต่อการดูดซึม ของยาได้​้ • งดสูบบุหรี่

การออกกำำ�ลั​ังกาย

ผู้​้�ป่​่วยสามารถออกกํ​ําลั​ังกาย ได้​้ พ อสมควร ไม่​่หั​ั ก โหมมาก จนเกิ​ิ นกํ​ํ าลั​ั ง เช่​่ น การเดิ​ิ น การวิ่​่� ง เหยาะ ควรหลี​ี ก เลี่​่� ย ง กี​ี ฬาที่​่� มี​ีโอกาสเกิ​ิ ดการกระทบ กระแทกรุ​ุ นแรงบริ​ิเวณไตใหม่​่ ได้​้แก่​่ กี​ีฬาที่​่�มี​ีลั​ักษณะการเล่​่น ที่​่� ป ะทะกั​ั น (contact sport) เช่​่ น ฟุ​ุ ต บอล บาสเกตบอล เป็​็นต้​้น

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 29


ข้​้อควรปฏิ​ิบั​ัติ​ิสำำ�คั​ัญ

• หลังปลูกถ่ายไตใน 1-2 สัปดาห์ ควรยืน เดิน รอบๆเตียง • 2-4 สัปดาห์ หลังการปลูกถ่ายไต เดินรอบๆบ้านวันละ 3-4 ครั้​้�งๆ ละประมาณ 15 นาที​ี และเพิ่​่ม � เป็​็นเดิ​ินเร็​็วๆ จนเหงื่​่�อออก ครั้​้�งละ 15-30 นาที​ี วั​ันละ1-2 ครั้​้�ง • 2-3 เดือนแรก ผู้ป่วยไม่ควรยกของหนักเกิน 10 กิโลกรัม • พักผ่อนอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง /วัน • หลีกเลี่ยงการเข้าที่ชุมชน ในช่วง 6 เดือนแรก • กิจกรรมการออกก�ำลังกายที่เหมาะสม ได้แก่ การเดิน การแกว่ง แขน-ขา การรำ��มวยจี​ีน การเต้​้นแอโรบิ​ิกเบาๆ

3 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


• กิจกรรมการออกก�ำลังกายที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ กิจกรรมที่ต้องมี การกระแทกอย่​่างรุ​ุนแรง เช่น ่ ชกมวย ฟุ​ุตบอล รั​ักบี้​้� ยู​ูโด มวยปล้ำำ� หรื​ือกี​ีฬาอื่​่�นๆที่​่�ต้​้องมี​ีการปะทะ ชนกั​ัน • กิจกรรมที่ไม่ควรท�ำ เช่น การยกของหนัก การออกแรงเบ่ง การ ดึ​ึง การเข็​็น การแบกหาม เพราะจะมี​ีผลทำำ�ให้​้หลอดเลื​ือดหดตั​ัว เพิ่​่ม � การทำำ�งานของหั​ัวใจและความดั​ันโลหิ​ิตสู​ูงขึ้​้�น ซึ่​่�งจะส่​่งผลให้​้ ไตเสื่​่�อมตามมา • ถ้าจ�ำเป็นต้องสัมผัสดิน หรือท�ำสวน ควรสวมถุงมือยางและใช้ผา้ ปิ​ิดปากและจมู​ูก เพื่� อ ่ ป้​้องกั​ันการติ​ิดเชื้​้�อ

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 31


การปรั​ับกิ​ิจกรรมในสั​ังคม

ผู้​้�ป่​่วยที่​่�ได้​้รับ ั การปลู​ูกถ่​่ายไต จำำ�เป็​็นต้​้องได้​้รับ ั การตรวจการทำำ�งานของไตใหม่​่ การปรั​ับขนาดยากดภู​ูมิต้ ิ า้ นทานให้​้อยู่​่�ระดั​ับที่​่เ� หมาะสม และการตรวจค้​้นภาวะ แทรกซ้​้อนต่​่างๆ ระยะเวลาที่​่�ต้​้องมาพบแพทย์​์มีดั ี ังนี้​้� 1 เดื​ือนแรก 2 – 3 เดื​ือน 4 – 12 เดื​ือน ปี​ีที่​่� 2 ปี​ีที่​่� 3 เป็​็นต้​้นไป

: พบแพทย์​์สัป ั ดาห์​์ละครั้​้�ง : พบแพทย์​์ทุก ุ 2 สั​ัปดาห์​์ : พบแพทย์​์เดื​ือนละครั้​้�ง : พบแพทย์​์ทุก ุ 1 – 2 เดื​ือน : พบแพทย์​์ทุก ุ 2 - 3 เดื​ือน

ควรมาตรวจตามแพทย์​์นัดทุ ั ก ุ ครั้​้�ง และหากไม่​่สบายควรปรึ​ึกษาแพทย์​์ ไม่​่ซื้​้� อ ยารั​ับประทานเอง การมาตรวจตามแพทย์​์นัด ั เพื่​่�อ

ตรวจการทำำ�งานของไต (BUN, Creatinine)

ตรวจเลื​ือดดู​ูความเข้​้มข้​้น ของเม็​็ดเลื​ือดแดง เม็​็ดเลื​ือดขาว และเกล็​็ดเลื​ือด 3 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต

ตรวจปั​ัสสาวะดู​ูสิ่​่ง� ผิ​ิดปกติ​ิ เม็​็ดเลื​ือดขาว เม็​็ดเลื​ือดแดง ไข่​่ขาว เชื้​้�อโรค

ตรวจระดั​ับน้ำ�ำ ตาลในเลื​ือด เพื่� อ ่ ตรวจหาและควบคุ​ุมเบาหวาน


ตรวจวั​ัดระดั​ับยากดภู​ูมิต้ ิ ้านทาน เพื่� อ ่ ปรั​ับระดั​ับยาให้​้เหมาะสม

ตรวจหาระดั​ับไขมั​ันในเลื​ือด และการทำำ�งานของตั​ับ

ข้​้อควรปฏิ​ิบั​ัติ​ิ ในวั​ันนั​ัดตรวจกั​ับแพทย์​์

1. งดอาหารหลั งเที่ ยงคื น ยกเว้ นดื่มน้�ำเปล่าได้ เนื่องจาก ผู้​้�ป่​่วยต้​้องได้​้รับ ั การตรวจเลื​ือดในตอนเช้​้า

2. ผู้ ป่ ว ยจะต้ อ งได้ รั บ การเจาะเลื อ ด เพื่ อหาระดั บ ยากด ภู​ูมิต้ ิ ้านทาน

3. ต้องเจาะเลือดก่อนรับประทานยากดภูมิต้านทาน 4. น�ำยาที่รับประทานทั้งหมดมาด้วย

5. น�ำใบบันทึกปริมาณน้�ำดื่ม ปัสสาวะ ความดันโลหิต น้�ำหนัก

ตั​ัว และอุ​ุณหภู​ูมิร่​่ิ างกายมาด้​้วย บั​ันทึ​ึกข้​้อคำำ�ถามที่​่�สงสั​ัย และนำำ�มาถามแพทย์​์หรื​ือพยาบาลในวั​ันนั​ัดตรวจ

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 33


การมี​ีเพศสั​ัมพั​ันธ์​์ และการมี​ีบุ​ุตร

1. สามารถมีเพศสัมพันธ์หลังการปลูกถ่ายไตไปแล้ว 1 เดือน และเมื่​่�อแผลผ่​่าตั​ัดแห้​้งสนิ​ิทไม่​่มี​ีภาวะแทรกซ้​้อน 2. ในผูป ้ ว ่ ยหญิง ควรมีการคุมก�ำเนิดอย่างน้อย 1 ปี โดยให้สามี สวมใส่​่ถุ​ุงยางอนามั​ัย ไม่​่รั​ับประทานยาคุ​ุมกำำ�เนิ​ิด เนื่​่� องจาก มี​ีผลข้​้างเคี​ี ยง หรื​ือภาวะแทรกซ้​้อนได้​้ และไม่​่ควรใส่​่ห่​่วง อนามั​ัยเพราะเสี่​่�ยงต่​่อการติ​ิดเชื้​้�ออุ้​้�งเชิ​ิงกรานได้​้ง่​่าย 3. ผู้ ป่ ว ยหญิ ง ที่ อ ยู่ ใ นวั ย เจริ ญ พั น ธุ์ ส ามารถตั้ ง ครรภ์ แ ละให้ กำำ�เนิ​ิดบุ​ุตรได้​้ โดยต้​้องได้​้รั​ับการดู​ูแลเป็​็นพิ​ิเศษ ทั้​้�งจากสู​ูติ​ิ นรี​ีแพทย์​์ และแพทย์​์ผู้​้�ปลู​ูกถ่​่ายไต

3 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


การบั​ันทึ​ึกสมุ​ุดสุ​ุขภาพ 1. วัดไข้วันละ 2 ครัง้ หลังตื่นนอน และก่อนเข้านอน หาก อุ​ุ ณ หภู​ู มิ​ิ ที่​่� วั​ั ด ได้​้ ม ากกว่​่าหรื​ื อ เท่​่ากั​ั บ 37.5 องศา เซลเซี​ียส แสดงถึ​ึงการมี​ีไข้​้ 2. ชั่งน้�ำหนักวันละ 1 ครั้งหลังตื่นนอน 3. บันทึกปริมาณน้�ำดื่ม และปัสสาวะในช่วง 1 – 3 เดือน แรก หลั​ังการปลู​ูกถ่​่ายไต 4. วัดความดันโลหิตวันละ 2 ครั้ง

อาการสำำ�คั​ัญ

ที่​่�ต้​้องพบแพทย์​์ก่​่อนนั​ัด 1. มีไข้ 2. ปัสสาวะออกน้อยลง หรือไม่ออก ปัสสาวะแสบขัด หรื​ือขุ่​่�นมี​ีลั​ักษณะของไข่​่ขาวในปั​ัสสาวะ 3. บวม 4. ความดันโลหิตสูงขึ้น 5. มีลักษณะแผลเริ่มข้น ึ เป็นตุ่มน้�ำใส 6. มีอาการเจ็บ บวม แดง บริเวณที่ใส่ไตใหม่ 7. ท้องเสีย

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 35


ถาม - ตอบ ข้​้อข้​้องใจ ปั​ัญหาการปลูก ู ถ่า่ ยไต

ถาม : ตอบ :

สาเหตุ​ุที่พ ่� บบ่​่อยที่​่สุ � ด ุ ที่​่ทำ � ำ�ให้​้เกิ​ิดโรคไตวายเรื้​้�อรั​ังในประเทศไทยคื​ือ โรคเบาหวาน และความดั​ันโลหิ​ิตสู​ูง

ถาม : ตอบ :

โรคไตวายเรื้​้�อรั​ังมี​ีอาการอย่​่างได้​้บ้​้าง? อ่​่อนเพลี​ีย เบื่​่� ออาหาร คลื่​่� นไส้​้อาเจี​ียน ซึ​ึมลง คั​ันตามร่​่างกาย ปั​ัสสาวะบ่​่อย ตอนกลางคื​ืน ตั​ัวบวม

ถาม : ตอบ :

การรั​ักษาโรคไตวายเรื้​้�อรั​ังระยะสุ​ุดท้​้าย มี​ีกี่​่วิ � ิธี?ี 3 วิ​ิ ธี​ี 1.การฟอกเลื​ื อ ดด้​้ ว ยเครื่​่� อ งไตเที​ี ย ม 2.การล้​้ า งไตททางช่​่ อ งท้​้ อ ง 3.การผ่​่าตั​ัดปลู​ูกถ่​่ายไต

ถาม : ตอบ :

การรอปลูก ู ถ่​่ายไต รอนานหรื​ือไม่​่ นานแค่​่ไหน? ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับว่​่าจะได้​้ไตจากผู้​้�บริ​ิจาคที่​่�มีชี ี วิ ี ิต หรื​ือเสี​ียชี​ีวิ​ิต ถ้​้าเป็​็นผู้​้�บริ​ิจาคที่​่�มี​ี ชี​ีวิ​ิต สามารถกำำ�หนดการรั​ับการผ่​่าตั​ัดได้​้เมื่​่�อประเมิ​ินทั้​้�งผู้​้�บริ​ิจาคและผู้​้�รั​ับ ไต โดยปกติ​ิจะใช้​้เวลาประเมิ​ินประมาณ 8 สั​ัปดาห์​์ สำำ�หรั​ับการรอผู้​้�บริ​ิจาค ที่​่�เสี​ียชี​ีวิ​ิตนั้​้�น ขึ้​้�นอยู่​่�กั​ับเนื้​้� อเยื่​่�อของผู้​้�บริ​ิจาคว่​่าจะเหมื​ือนกั​ับเนื้​้� อเยื่​่�อของ ผู้​้�รอปลู​ูกถ่​่ายไตแค่​่ไหน

ถาม : ตอบ :

ญาติ​ิบริ​ิจาคได้​้หรื​ือไม่​่ ได้​้ เช่น ่ บิ​ิดา มารดา พี่​่� น้​้อง ลู​ูก หลาน ลุ​ุง ป้​้า น้​้า อา หรื​ือสามี​ี / ภรรยา ที่​่� จดทะเบี​ียนกั​ันอย่​่างน้​้อย 3 ปี​ี หรื​ือมี​ีบุ​ุตรด้​้วยกั​ันอย่​่างน้​้อย 1 คน และต้​้อง เป็​็นคนที่​่�มีสุ ี ข ุ ภาพร่​่างกายที่​่�สมบู​ูรณ์​์ แข็​็งแรง ที่​่�สามารถเป็​็นผู้​้�บริ​ิจาคได้​้

3 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต


ถาม : ตอบ :

ไตผู้​้ที่ � เ่� สี​ียชีวิ ี ิตแล้​้วได้​้มาอย่​่างไร เมื่​่�อมี​ีผู้​้�เสี​ียชี​ีวิ​ิตและญาติ​ิแสดงความจำำ�นงบริ​ิจาคอวั​ัยวะ โดยโรงพยาบาล ที่​่�รั​ับผู้​้�ป่​่วยไว้​้จะติ​ิดต่​่อกั​ับศู​ูนย์​์รั​ับบริ​ิจาคอวั​ัยวะสภากาชาดไทย ในการ ดำำ�เนิ​ินการจั​ัดสรรอวั​ัยวะให้​้แก่​่ผู้​้�ป่​่วยที่​่�รอคิ​ิวอยู่​่�ตามโรงพยาบาลต่​่างๆ

ถาม : ตอบ :

ศั​ัลยแพทย์​์จะนำำ�ไตใหม่​่มาปลูก ู ถ่​่ายไว้​้ที่​่ตำ � ำ�แหน่​่งใด ไตใหม่​่ที่​่�นำ�ม ำ าปลู​ูกถ่​่ายจะนำำ�มาวางไว้​้ที่​่�บริเิ วณอุ้​้�งเชิ​ิงกรานข้​้างใดข้​้างหนึ่​่�ง ซึ่​่�งอยู่​่�นอกช่​่องท้​้อง(ดั​ังรู​ู ป)ไตเก่​่าของผู้​้�ป่​่วยจำำ�เป็​็นต้​้องผ่​่าตั​ัดนำ�ำ ออกด้​้วย หรื​ือไม่​่ ไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องผ่​่าตั​ัดนำ�ำ ไตเก่​่าออก หากไม่​่มี​ีโรคแทรกซ้​้อนที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นกั​ับไต เก่​่าเช่น ่ ก้​้อนเนื้​้� อที่​่�สงสั​ัยมะเร็​็ง นิ่​่วที่​่ � �ก่​่อให้​้เกิ​ิดการติ​ิดเชื้​้�อทางเดิ​ินปั​ัสสาวะ ถุ​ุงน้ำำ�ที่​่�ไตขนาดใหญ่​่ทำำ�ให้​้ไม่​่สามารถวางไตใหม่​่ได้​้ เป็​็นต้​้น

ถาม : ตอบ :

การผ่​่าตั​ัดปลูก ู ถ่​่ายไตต้​้องนอนโรงพยาบาลกี่​่วั � ัน ประมาณ 2 – 3 สั​ัปดาห์​์ หากไม่​่มี​ีภาวะแทรกซ้​้อนใดๆ

ถาม : ตอบ :

หลั​ังปลูก ู ถ่​่ายไตจะสามารถออกกำำ�ลั​ังกายได้​้หรื​ือไม่​่ ได้​้แน่​่นนอน ตามข้​้อปฏิ​ิบัติ ั ิดั​ังนี้​้� คื​ือ ภายหลั​ังการปลู​ูกถ่​่ายไตและออกจาก โรงพยาบาลแล้​้วในสั​ัปดาห์​์แรกสามารถที่​่�จะออกกำำ�ลั​ังกายโดยการเดิ​ินได้​้ ประมาณ 10 นาที​ีต่​่อวั​ัน จากนั้​้�นสามารถเพิ่​่มร � ะยะเวลาการเดิ​ินเรื่​่�อยๆได้​้ แต่​่ไม่​่สามารถออกกำำ�ลั​ังกายอย่​่างหนั​ักได้​้ เช่​่น ยกน้ำำ�หนั​ัก วิ่​่� งจ๊​๊อกกิ้​้� ง ตี​ี เทนนิ​ิส ฟุ​ุตบอล เป็​็นต้​้น และควรรอเวลาอย่​่างน้​้อย 2 เดื​ือนหลั​ังการปลู​ูก ถ่​่ายไตจึ​ึงจะสามารถออกกำำ�ลั​ังกายได้​้เต็​็มที่​่�ตามปกติ​ิ

ถาม : ตอบ :

ผู้​้�ป่​่วยที่​่ไ� ด้​้รั​ับการปลู​ูกถ่​่ายไตไม่​่จำำ�เป็​็นต้​้องรั​ับประทานยาแล้​้วได้​้หรื​ือ ไม่​่ ผู้​้�ป่​่วยที่​่�ได้​้รับ ั การปลู​ูกถ่​่ายไต จำำ�เป็​็นต้​้องรั​ับประทานยากดภู​ูมิไิ ปตลอดชี​ีวิต ิ เพื่� อ ่ ป้​้องกั​ันภาวะสลั​ัดไต

ถาม : ตอบ :

ถ้​้าลื​ืมรั​ับประทานยากดภู​ูมิ​ิควรทำำ�อย่​่างไร ให้​้รั​ับประทานยาทั​ันที​ีที่​่�นึ​ึกได้​้ แต่​่ถ้​้าจวนจะถึ​ึงเวลาของยาเม็​็ดต่​่อไปก็​็ให้​้ ข้​้ามยาเม็​็ดที่​่�ลื​ืมไปเลย

ถาม : ตอบ :

ยากดภู​ูมิ​ิควรรั​ับประทานก่​่อนหรื​ือหลั​ังอาหาร การรั​ับประทานยากดภู​ูมิ​ิควรรั​ับประทานยาตรงเวลาห่​่างกั​ัน 12 ชั่​่�วโมง เป็​็นเวลาเดี​ียวกั​ันในทุ​ุกๆ วั​ันแนะนำำ�รับ ั ประทานขณะท้​้องว่​่างก่​่อนอาหาร 1 ชั่​่�วโมง หรื​ือหลั​ังอาหาร 2 ชั่​่�วโมง

คู่​่�มื​ือผู้​้�ป่​่วยปลู​ูกถ่​่ายไต | 37


ที่​่�อยู่​่�และเบอร์​์โทรติ​ิดต่​่อที่​่� สำำ�คั​ัญ โรงพยาบาลไทยนคริ​ินทร์​์ ศู​ูนย์​์ปลูก ู ถ่​่ายไต 345 ถนนเทพรั​ัตน กม.3.5 แขวงบางนา เขตบางนา กรุ​ุงเทพฯ 10260 โทร. 02-3406499, 02-3612727 ต่​่อ พยาบาลประสานงานปลู​ูกถ่​่ายอวั​ัยวะ คุ​ุณนิ​ิฤมล , คุ​ุณสุ​ุทั​ัศนี​ีย์​์ แผนกไตเที​ียม, แผนกศั​ัลยกรรม แผนกอายุ​ุรกรรม, แผนกหอผู้​้�ป่​่วยหนั​ัก (ICU) แผนกหอผู้​้�ป่​่วยในชั้​้�น 5 , แผนกห้​้องปฏิ​ิบัติ ั ิการชั้​้�น 4

3 | คู่มม�ืออผู้ปป�่ววยปลูกกถ่าายไต




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.