Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555 www.istationnews.com
www.istationnews.com ews.com
สถานีนักลงทุน หนังสือพิมพ์ดิจิตอลรายวัน เพื่อการลงทุน
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
News Station
www.istationnews.co
8
จีดีพีอินเดีย Q4/11 ขยายตัว ในอัตรา 6.1% ชะลอสุดรอบกว่า 2 ปี ธปท.เล็งปรับจีดีพีปีนี้ใหม่ หวังสอดคล้องกับศก.โลก COLOR กำ�ไรพุ่งเฉียด 40%
9
Dynamic Station
5
www.istationnews.com ews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
www.istationnews.co
www.istationnews.com
www.
HYDRO กอดคอพันธมิตรตะลุยงานน้�ำ อัดฉีดเพิ่มทุน 50% บ.ย่อย UAC ขยายฐานธุรกิจ
บอร์ด HYDRO อนุมัติลงทุนหุ้นสามัญเพิ่มทุนบริษัท ยูเอซี ยูทิลิตี้ส์ จำ�กัด ซึ่งเป็น บริษัทย่อย UAC โดยถือหุ้นในสัดส่วน 49.997% พร้อมตั้งเป้าหมายตะลุยหางานใหม่อย่าง ต่อเนื่อง ด้านผู้บริหารชี้เป็นความร่วมมือที่ลงตัว เพราะ HYDRO มีความชำ�นาญด้าน เทคโนโลยี ส่วน UAC มีกลุ่มลูกค้าที่มีศักยภาพสูงรออยู่ อนาคตเตรียมร่วมลงทุนอีก 1 โครงการเกี่ยวกับน้ำ� มูลค่า 150 - 200 ล้านบาท คาดได้ข้อสรุป Q2/55
7
ประเภทของการเปิดบัญชีซื้อขายหุ้น 10
Lifestyle Station ผลไม้เบต้าแคโรทีนสูง
13
มองหุ้นจากเซียน ผันผวนระหว่างวัน
14
Data Station
ต่อหน้า 3
กวา่ จะมาเป็นเสือ
EARTH กำ�ไรรอบปี 54 กระฉูด 458% ต่อหน้า 3
บอร์ด GUNKUL อนุมตั แิ จกหุน้ ปันผล 10:1 ต่อหน้า 4
SET News เจาะกลยุทธ์ บล.เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) ผ่านทัศนะ
“บุญพร บริบูรณ์ส่งศิลป์”
CEO สายงานธุรกิจหลักทรัพย์รายย่อย
ตอนที่ 4
ต‡อหนˆา 12
ผถห. IRPC ไฟเขียว อัปเปหิกรรมการ กลุ่ม “ประชัย เลี่ยวไพรัตน์” พ้น 5 บริษัทในเครือ ต่อหน้า 8
LH
ราคาพื้นฐาน 7.40 บาท ต่อหน้า 6 www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
HYDRO (ต่อจากหน้า 1)
น า ย ส ลิ บ สู ง ส ว่ า ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไฮโดรเท็ค จำ�กัด (มหาชน) หรือ HYDRO ผูน้ �ำ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง และรั บ จ้ า งบริ ห ารจั ด การงาน วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ระบบ ผลิตน้�ำ , ระบบบำ�บัดน้�ำ เสีย, ระบบ บำ�บัดน้ำ�เสียเพื่อนำ�กลับมาใช้ใหม่ หรือระบบรีไซเคิล, ระบบกำ�จัดขยะ และการแปรรูปวัสดุเหลือใช้ให้เป็น พลังงานทดแทน ซึง่ เป็นธุรกิจทีเ่ ป็น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เปิ ด เผยว่ า ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท (บอร์ด) เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2555 มีมติอนุมตั ลิ งทุนในหุน้ สามัญ เพิ่มทุนของบริษัท ยูเอซี ยูทิลิตี้ส์ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ยู นิ เ วอร์ แ ซล แอดซอร์ บ เบ้ น ท์ แอนด์ เคมิคัลส์ จำ�กัด (มหาชน) UAC โดยบริษัท ยูเอซี ยูทิลิตี้ส์ จำ�กัด มีทนุ จดทะเบียน 5 ล้านบาท และ HYDRO จะดำ�เนินการเข้าซื้อ หุ้นเพิ่มทุนอีกจำ�นวน 5 ล้านบาท ส่ ง ผลทำ �ให้ บ ริ ษั ท ดั ง กล่ า วมี ทุ น จดทะเบี ย นเป็ น 10 ล้ า นบาท โดย HYDRO มี สั ด ส่ ว นถื อ หุ้ น 49.997% โดยตลาดของทั้ ง UAC และ HYDRO จะไม่มีการซ้ำ�ซ้อนกัน เนื่องจากตลาดของ HYDRO เป็น ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ รั บ เหมาและการ ก่อสร้างในระบบน้ำ�ประปา ขณะที่ UAC จะเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ปิโตรเคมีและโรงกลั่น ดังนั้นจึงถือ เป็นการร่วมกันขยายตลาดให้มากขึน้ นอกจากนีท้ งั้ 2 บริษทั อยู่ ระหว่ า งการเจรจาร่ ว มกั น อี ก 1 โครงการ ซึง่ เป็นโครงการในลักษณะ เดี ย วกั น คาดได้ ข้ อ สรุ ป ภายใน ไตรมาส 2/55 โดยมี มู ล ค่ า การ ลงทุนใกล้เคียงกับโครงการแรกที่ 150 - 200 ล้านบาท และเชื่อว่าใน อนาคตจะมี โ ครงการที่ ร่ ว มกั น ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ เพิ่ ม เติ ม และขยาย ขอบเขตการลงทุนร่วมกันให้เพิ่ม มากขึ้นได้
News Station
“ในส่วนความร่วมมือครัง้ นี้ ผมมองว่าเป็นความร่วมมือที่ลงตัว โดย HYDRO ถือเป็นผู้นำ�ที่มีความ เชี่ยวชาญงานก่อสร้างวิศวกรรมสิ่ง แวดล้ อ มมานานกว่ า 30 ปี มี เทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัย ขณะที่ทาง UAC มีกลุ่มลูกค้าที่มี ศักยภาพสูง และช่วยเจาะตลาดใหม่ ที่ HYDRO ไม่สามารถเข้าไปรับงาน
ได้ ดังนั้นเชื่อว่าเมื่อร่วมมือกันแล้ว จะช่ ว ยกั น หางานและจะทำ � ให้ HYDRO โตได้เร็วกว่าเดิม” นายสลิบ กล่าว ด้ า นนายกิ ต ติ ชี ว ะเกตุ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวอร์ แซล แอดซอร์บเบ้นท์ แอนด์ เคมิคลั ส์ จำ�กัด (มหาชน) หรือ UAC กล่าวว่า
จากเดิมที่ บริษัท ยูเอซี ยูทิลิตีส์ จำ�กัด เป็นบริษัทย่อยที่ UAC ถือ หุ้น 99.99% โดยจะดำ�เนินธุรกิจ โครงการผลิตน้ำ�ใช้เพื่อจำ�หน่ายให้ แก่หน่วยงานภาครัฐ, เอกชนและ โรงงานอุตสาหกรรม แต่หลังจากที่ มีการร่วมมือกันทำ�ให้มกี ารถือหุน้ ใน สัดส่วนใกล้เคียงกัน ซึ่งการดำ�เนิน งานของ UAC จะดูแลรับผิดชอบใน การบริหารงาน และดูแลในส่วนของ เครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต ส่วนหนึ่ง รวมถึงการทำ�การตลาด จากช่องทางและความสัมพันธ์อันดี ต่อลูกค้าทัง้ ภาครัฐบาล และเอกชน ส่วนทางไฮโดรเท็คจะดูแลในส่วน ของการก่อสร้าง และติดตั้งระบบ ทั้งหมด “เรามองว่าธุรกิจผลิตน้ำ� เพื่อจำ�หน่ายเป็นอีกธุรกิจที่จะช่วย ต่อยอด และเพิ่มโอกาสให้มีรายได้ เพิ่มขึ้น นอกจากธุรกิจปัจจุบันใน ด้านธุรกิจเทรดดิ้ง และธุรกิจด้าน พลั ง งานทางเลื อ ก โดยเราได้ พันธมิตรทีด่ อี ย่างไฮโดรเท็ค ทีถ่ อื ว่า เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านระบบผลิตน้ำ� ขณะที่ UAC เองมีการติดต่อกับ ลูกค้าทัง้ ในภาครัฐ และเอกชนไม่วา่ จะเป็น ชุมชน นิคมอุตสาหกรรม ตลอดจนโรงงานขนาดใหญ่ ซึง่ ขณะนี้ มี ก ารเจรจากั บ ลู ก ค้ า ประมาณ 1 - 2 ราย ส่วนรายได้จะมาจาก การคิ ด ราคาน้ำ � เป็ น หน่ ว ยต่ อ ลูกบาศก์เมตร และเชื่อว่าการร่วม มือของทั้ง 2 บริษัทฯจะนำ�มาซึ่ง ความเติ บโตของ ยู เ อซี ยู ทิ ลิ ตี ส์ หรืออยูภ่ ายใต้ชอื่ ใหม่ ยูเอซี ไฮโดรเท็ค ได้ในอนาคต”นายกิตติ กล่าว
EARTH (ต่อจากหน้า 1)
เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันในปี ก่อนที่มีกำ�ไรสุทธิ 70.78 ล้านบาท สาเหตุที่ทำ�ให้ผลประกอบการของ EARTH ในรอบปี 2554 ที่ผ่านมา ขยายตัวอย่างโดดเด่น เป็นเพราะมี ปริมาณขายถ่านหินเพิ่มขึ้นโดยอยู่ที่ ระดับ 1.95 ล้านตัน จากปี 2553 ที่ มี ป ริ ม าณขายถ่ า นหิ น ที่ 6.96 แสนตัน ขณะเดียวกันในส่วนของ
ราคาขายก็เริม่ ขยับขึน้ ในช่วงปลายปี อีกด้วย จึงส่งผลให้รายได้รวมของ EARTH ในปีนี้ไต่ขึ้นมาแตะที่ระดับ 4,685.12 ล้านบาท คิดเป็นอัตราเพิม่ ขึ้ น ถึ ง ร้ อ ยละ166.92 เมื่ อ เปรี ย บ เที ย บจากปี 2553 ที่ มี ร ายได้ ร วม 1,755.24 ล้านบาท นอกจากนี้ในส่วน ของอัตรากำ�ไร ขัน้ ต้นก็ปรับตัวเพิม่ ขึ้นด้วยเช่นกัน
น า ย ข จ ร พ ง ศ์ คำ � ดี กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอ็นเนอร์ยี่ เอิ ร์ ธ จำ � กั ด (มหาชน) (EARTH) เปิ ด เผยถึ ง ผลประกอบการรอบปี 2554 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ว่า มีกำ�ไรสุทธิ 395.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 324.53 ล้านบาท หรือคิด เป็ น อั ต ราเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 458.50
ต่อหน้า 4 www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
News Station
หน้า 4
EARTH (ต่อจากหน้า 3)
โดยค่าเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา อยู่ที่ร้อยละ 16.79 จากปีก่อนหน้า อยู่ที่ร้อยละ 14.29 เขากล่าวต่อว่า การเป็น เจ้าของเหมืองทำ�ให้ EARTH ได้รับ ความไว้วางใจจากคูค่ า้ ทำ�ให้มคี �ำ สัง่ ซื้ อ เ พิ่ ม ขึ้ น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง โดยเฉพาะลูกค้าในต่างประเทศที่ ต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับการส่ง มอบถ่ า นหิ น ให้ ทั น เวลาและได้ มาตรฐานตามที่ต้องการอาทิลูกค้า จากประเทศจีน นอกจากนั้นในปี 2556 EARTH ยังได้เซ็นสัญญาทีจ่ ะ จัดส่งถ่านหินไป จำ�หน่ายให้กับโรง ไฟฟ้าในประเทศอินเดียภายในระยะ เวลา 3 ปี จำ�นวนรวม 8.5 ล้านตัน อีกด้วย ขณะเดียวกันราคาถ่านหิน ในตลาดโลก ราคาเริม่ ปรับตัวสูงขึน้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งนั บ ตั้ ง แต่ ป ลายปี 2554 จนกระทั่งถึงปัจจุบันทรงตัว อยู่ที่ระดับประมาณ 80 เหรียญต่อ บอร์ด (ต่อจากหน้า 1)
นางสาวโศภชา ดำ�รงปิย วุฒ ิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั กัน กุลเอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด (มหาชน) (GUNKUL) เปิดเผยว่า ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่1/2555 มีมติอนุมัติให้จ่ายปันผลประจำ�ปี สำ�หรับผลการดำ�เนินงานในส่วนที่ เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา ร้อยละ 30 โดยจ่ายจากกำ�ไรสุทธิ หลังหักเงินสำ�รองตามกฎหมายแล้ว ในรูปเงินสดอัตราหุ้นละ 0.10 บาท จำ�นวน 40,000,000 บาท และใน รูปหุ้นปันผลในอัตรา 10 หุ้น : 1 หุ้นปันผล รวมจำ�นวน 40,000,000 หุ้นเป็นเงิน 40,000,000 บาท ทัง้ นีไ้ ด้ก�ำ หนดรายชือ่ ผูถ้ อื หุ้น ที่มีสิทธิรับเงินปันผล ในวันที่ 20 เมษายน 2555 และให้รวบรวม รายชื่อตาม ม.225 ของ พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯ โดยวิธปี ดิ สมุดทะเบียน ในวันที่ 23 เมษายน 2555 วันที่ไม่ ได้ รั บ สิ ท ธิ ปั น ผล (XD) คื อ วั น ที่ 18 เมษายน 2555 และกำ � หนด
ตัน จึงเป็นปัจจัยบวกทีผ่ ลักดันให้ผล ประกอบการ “ขณะนี้ EARTH มีเหมือง 2 แห่ ง ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ซึ่งเหมืองที่มีดังกล่าวได้เซ็นสัญญา จำ�หน่ายถ่านหินให้กับโรงไฟฟ้าใน ประเทศจีนทัง้ หมดแล้ว ดังนัน้ หน้าที่ ของบริ ษั ท ต่ อไปจากนี้ คื อ การหา เหมืองแห่งใหม่เพิ่มเติมโดยเร็วที่สุด เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าทั้ง ในและนอกประเทศ สำ�หรับปี 2555 บริษัทมีเป้าหมายที่จะต้องดำ�เนิน การให้ได้คอื 1. การจำ�หน่ายถ่านหิน ให้ได้ถึง 3.2 ล้านตัน คิดเป็นอัตรา การเพิ่มขึ้นร้อยละ 70 จากปริมาณ การจั ด จำ � หน่ า ยในปี ที่ ผ่ า นมา 2. การลดอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนให้ อยู่ ใ นระดั บ ต่ำ � กว่ า 2 เท่ า และ 3. จะรักษาอัตราส่วนผลตอบแทน ต่อส่วนผู้ถือหุ้น หรือ ROE ให้ได้ มากกว่า 20%”นายขจรพงศ์ กล่าว จ่ายเงินปันผลในวันที่ 9 พฤษภาคม 2555 สำ�หรับ ผลการดำ�เนินงวด ประจำ � ปี 2554 สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัทฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ย โดยมี ผ ลกำ � ไรสุ ท ธิ จำ�นวน 89.52 ล้านบาท ลดลงจาก งวดเดียวกันกับปีก่อนที่มีผลกำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ จำ�นวน 123.17 ล้ า นบาท โดยเป็ น ผลมาจากผล ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่ เกิดขึ้นจริง อันเนื่องจากการนำ�เข้า สินค้าจากต่างประเทศจำ�นวน 62.90 ล้านบาท ซึง่ บริษทั ฯ ได้ท�ำ สัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพือ่ ป้องกันความเสี่ยงไว้ แต่ยังมิได้ปิด สถานะของสัญญา ณ วันที่สิ้นสุด ตามวันที่งบการเงิน ขณะเดี ย วกั น ยั ง มี ผ ล ปรากฏรายการตัดบัญชีก�ำ ไรระหว่าง กันของบริษัทฯ กับบริษัท จี-พาว เวอร์ ซอร์ ซ จำ � กั ด (บริ ษั ท ย่ อ ย) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำ�นวน 252 ล้านบาท เนื่อง
จากบริ ษั ท ฯ เป็ น คู่ สั ญ ญาในการ รับจ้างก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสง อาทิตย์ขนาด 26 เมกกะวัตต์ ให้กบั บริษัท จี-พาวเวอร์ ซอร์ซ จำ�กัด อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ มีนโยบายใน การจั ด หาผู้ ส นใจเข้ า ร่ ว มทุ นใน กิจการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการดังกล่าวในสัดส่วนไม่น้อย กว่ า ร้ อ ยละ 50 ทั้ ง นี้ ผ ลของ วิกฤตการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในเขต กรุงเทพฯและปริมณฑลยังผลให้การ จัดหาผู้ร่วมทุนในโครงการดังกล่าว ได้เลื่อนออก โดยคาดว่าจะเสร็จสิ้น ได้ภายในไตรมาส 1/2555 นี้ และ นอกเหนือจากรายการตัดบัญชีก�ำ ไร ระหว่ า งกั น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จำ � นวน 252 ล้านบาทซึ่งไม่สามารถบันทึกเป็น รายได้ในงบการเงินรวมแล้ว ภาระ ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เกิดขึ้นจาก
กำ�ไรระหว่างกันดังกล่าวซึ่งปรากฏ ในงบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555 จำ�นวน 75.60 ล้านบาทได้ส่งผล กระทบและถือเป็นค่าใช้จ่ายตามที่ ปรากฏในงบการเงินรวมทั้งจำ�นวน ด้วย อย่างไรก็ตามในปี 2555 บริษัทวางเป้าหมายเอาไว้ว่าธุรกิจ ของ GUNKUL ยังเดินหน้าเติบโต ต่อเนื่อง ซึ่งบริษัทยังมีแผนในการ ลงทุนด้านพลังงานทดแทนทัง้ ในและ ต่ า งประเทศ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง โครงการโรงไฟฟ้าจากพลังงานลมซึง่ บริษทั มีความสนใจและได้เริม่ ดำ�เนิน การเจรจาแล้ว ซึง่ บริษทั มีความคาด หวังจะสามารถบรรลุข้อตกลงได้ใน เร็วๆนี้
www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
จีดีพีอินเดีย Q4/11 ขยายตัวในอัตรา 6.1% ชะลอสุดรอบกว่า 2 ปี รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า สำ�นักงานสถิติแห่ง ชาติอินเดียเปิดเผยว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือ จีดีพีไตรมาส 4 ปี 2011 ขยายตัวในอัตรา 6.1% นับเป็นอัตราที่ ชะลอตัวมากที่สุดในรอบกว่า 2 ปี หลังความต้องการในประเทศ ชะลอลง และได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก “เป็นการยากที่เห็นการฟื้นตัวในระยะเวลาอันใกล้ เนื่องจากเศรษฐกิจอินเดียยังคงเผชิญแรงกดดันจากการขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยของธนาคารกลางอินเดีย ในแง่ของนโยบายการคลังของ รัฐบาลค่อนข้างทีจ่ ะทำ�งานเต็มทีแ่ ล้ว เหลือแต่ในฟากของนโยบาย การเงิน ซึ่งคาดว่า ธนาคารกลางอินเดียจะเริ่มลดอัตราดอกเบี้ย ในเดื อ นมี น าคม” นายโรเบิ ร์ ต พริ อ อร์ - ฟานเดสฟอร์ ด นักเศรษฐศาสตร์ที่เครดิตสวิสกรุ๊ปกล่าว ขณะทีอ่ ตั ราเงินเฟ้อของอินเดียเดือนมกราคมชะลอลง มาอยู่ที่ 6.55% ซึ่งเป็นระดับต่ำ�สุดในรอบ 26 ปี หลังจากอยู่ที่
ระดับเกินกว่า 9% ตลอดปี 2011 ทั้งนี้ เครดิตสวิสคาดว่า ธนาคารกลางอินเดียจะลด อัตราดอกเบี้ยในปีนี้ราว 1.75% จนถึงเดือนมกราคมปี 2013
ราคาบ้านใน 20 เมืองใหญ่ของสหรัฐฯ เดือนธ.ค.ดิ่ง 4% รายงานข่ า วต่ า งประเทศระบุ ว่ า ราคาบ้ า นใน 20 เมื อ งใหญ่ ข องสหรั ฐ ฯ เดื อ นธั น วาคมลดลงมากกว่ า ที่ ค าดการณ์ ไ ว้ ม าอยู่ ที่ ร ะดั บ ต่ำ � สุ ด นั บ แต่ ก ลางปี 2006 ส่งสัญญาณว่า การบังคับขายทอดตลาดบ้านที่เพิ่มขึ้นกดดัน การฟื้นตัวของตลาดอสังหาริมทรัพย์สหรัฐฯ โดยดัชนีเอสแอนด์พ/ี เคส-ชิลเลอร์ชวี้ ดั ราคาบ้านใน 20 เมืองใหญ่ของสหรัฐฯเดือนดังกล่าวลดลง 4% เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันปีก่อน หลังจากลดลง 3.9% ในเดือนก่อนหน้า “เรากำ�ลังเผชิญกับภาวะตลาดอสังหาริมทรัพย์ทยี่ งั คงซบเซา และความต้องการแท้จริงยังคงอยูใ่ นระดับต่ำ� เรายัง ไม่เห็นความมีเสถียรภาพในตลาดอสังหาริมทรัพย์เลยด้วยซ้ำ� หากพิ จ ารณาในแง่ ข องราคา” นายฌอน อิ ค รี โ มน่ า นั ก เศรษฐศาสตร์อาวุโสที่โฟร์แคสท์กล่าว
ทรอยก้าชมเปราะ การปฏิรูปเศรษฐกิจ ของโปรตุเกสคืบหน้าตามแผน รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า คณะผู้ตรวจสอบ ฐานะการคลังจากอียูและไอเอ็มเอฟ หรือ ทรอยก้าเปิดเผยว่า การปฏิรูปเศรษฐกิจของโปรตุเกสยังคงดำ�เนินไปตามแผนที่ วางไว้ แต่การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังคงเผชิญความเสี่ยง โดยทรอยก้าเปิดเผยภายหลังเสร็จสิน้ การตรวจสอบ ระหว่างวันที่ 15 - 27 กุมภาพันธ์นี้ว่า โปรตุเกสมีความคืบหน้า ในฟื้นฟูฐานะการคลังของประเทศ “นโยบายต่างๆได้รับการปฏิบัติตามแผน และ เศรษฐกิจเดินหน้าไปตามทีค่ าดการณ์ไว้ การปฏิรปู ภาคการเงิน และการพยายามลดภาระหนี้สาธารณะมีความคืบหน้าไป ขณะเดียวกันรัฐบาลมีมาตรการต่างๆทีท่ �ำ ให้แน่ใจว่า ภาคธุรกิจ จะมีเงินทุนเพียงพอ และจะทำ�ให้การขยายตัวของเศรษฐกิจ ดำ�เนินต่อไป” ในรายงานของทรอยก้าระบุ ทั้งนี้ การตรวจสอบดังกล่าวจะทำ�ให้การพิจารณา อนุมัติเงินกู้งวดใหม่ต่อโปรตุเกสเป็นไปโดยสะดวกยิ่งขึ้น
AFET
TFEX
“เริ่มไม่มั่นใจแผนหนุนราคายางรัฐฯ”
“ฝั่งซื้อทำ�กำ�ไร”
เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์ บริษทั พัฒนาเกษตรล่วงหน้า จำ�กัด (PAF) RSS3 - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 201 สัญญา สถานะคงค้าง 4,244 สัญญา - ปิด 130.95 บ./ก.ก. เพิม่ ขึน้ 0.45 บาท (สัญญาส่งมอบเดือนก.ย. 55) ปัจจัยบวก - ลุน้ ยาง TOCOM ยืน 340 เยน หนุนตลาด ปัจจัยลบ - นลท.เริม่ ไม่มน่ั ใจนโยบายรัฐฯ หลังใช้แผนกูเ้ งินแทนแทรกแซงราคายาง - ผูผ้ ลิตระบายของมากขึน้ - น้�ำ มันแพงตามแรงเก็งกำ�ไร มากกว่าอุปสงค์-อุปทาน - เงินบาทแข็งค่า กลยุทธ - รอขายทีแ่ นวต้าน (สัญญาส่งมอบเดือนก.ย. 55) - แนวรับ 127 บ./ก.ก. - แนวต้าน 132 บ./ก.ก.
หน้า 5
นางสาวมยุรี โชวิกรานต์ ผู้อำ�นวยการอาวุโสฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บมจ.หลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) หรือ MBKET SET50 Futures - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 19,298 สัญญา สถานะคงค้าง 31,095 สัญญา - ปิด 820.50 จุด เพิม่ ขึน้ 17.70 จุด (สัญญา SH5012 มี.ค. 55) ปัจจัยบวก - กลุม่ แบงก์ - สือ่ สารยังสดใส - คาดหวัง ECB ยอมปล่อยเงินกูเ้ ข้าระบบ - น้�ำ มันอยูใ่ นระดับสูง - เงินนอกยังไหลเข้าต่อเนือ่ ง - นักลงทุนต่างชาติซอ้ื สุทธิในหุน้ 3450.75 ลบ. กลยุทธ์ - ฝัง่ ซือ้ ทำ�กำ�ไร (สัญญา S50H12 มี.ค. 55) - แนวรับ 810 และ 800 จุด - แนวต้าน 820 และ 830 จุด www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
หน้า 6
LH ราคาพื้นฐาน 7.40 บาท บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส แนะนำ�ซื้อ LH ราคาพื้นฐาน 7.40 บาท หลังกำ�ไรสุทธิ ปี 54 ออกมา 5.6 พันล้านบาท เติบโตถึง 41%YoY แต่เป็นเพราะรายการพิเศษ ที่เกิดขึ้นครั้งเดียว คือ 1) การขายสินทรัพย์ได้กำ�ไรก่อนภาษี 2.9 พันล้านบาท แบ่งเป็นการขาย KH 2.8 พันล้านบาท และการลงทุนในอินโดนีเซียขาดทุน 275 ล้านบาท และ 2) กำ�ไร 136 ล้านบาท จากการเสนอขายหุ้น LH Bank ด้านงบดุล ปลายปี 54 อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุนเป็น 84% ถือว่าอยู่ใน เกณฑ์ที่หนี้ไม่สูงนัก อีกทั้งการที่บริษัทจะขาย เซอร์วิส อพาร์ทเม้นท์ 3 แห่งออกไป ยังกองทุนอสังหาริมทรัพย์จะเป็นแรงกระตุ้นราคาหุ้นได้ในอนาคต สินทรัพย์เหล่านี้ ได้แก่ Centerpoint ทองหล่อ (freehold), พร้อมพงษ์ (freehold) และ Vil a สาทร (Leasehold, 26 ปี) ในนาม “Land & Houses Freehold and Leasehold Property Fund” ในไตรมาส 1 ปีนี้ เพราะบริษัทจะสามารถบันทึกกำ�ไรจากการขาย สินทรัพย์ก้อนใหญ่ไปยังงบกำ�ไรขาดทุน และมีเงินสำ�หรับไปลงทุนขยายธุรกิจได้อีก ในอนาคตได้อีก สำ�หรับขนาดสินทรัพย์ของกองทุนนี้จะสูงเป็น 3.3 พันล้านบาท + และอัตราผลตอบแทนอยู่ที่ประมาณ 7% ซึ่งทั้ง LH และ GIC จะรับประกันอัตรา ผลตอบแทนขั้นต่ำ� เป็นเวลา 4 ปี สิ้นสุดปี 58
ข้อมูลเกี่ยวกับราคาหุ้น ณ สิ้นวันที่ 29/02/55
Symbol Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg
LH 6.90 0.15 2.22 6.75 6.90 6.75 6.75 6.85
AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.)
53,410,500 366,113 2.19 13.27 2.50 0.17 5.04 0.52 69,179
ภาพรวมข้อมูลผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 26/08/54
วันทำ�การซื้อขายที่ผ่านมาพบหุ้นซื้อ - ขาย ที่ระดับราคา 6.85 บาทหนาแน่นสุด
1. 2. 3. 4. 5.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด นายอนันต์ อัศวโภคิน GOVERNMENT OF SINGAPORE INVESTMENT CORPORATION C นายอนันต์ อัศวโภคิน บริษัท เมย์แลนด์ จำ�กัด
จำ�นวนหุ้น
(%)
1,916,724,750 19.12 1,503,050,340 14.99 1,372,188,861 13.69 879,589,283 563,574,391
8.77 5.62
www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
KBANK ออก K-Factoring เกินร้อยเป้า 3 พันลบ. น า ย พั ช ร ส ม ะ ล า ภ า รองกรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) เปิดเผยว่า ล่าสุดธนาคาร ได้ออกบริการสินเชื่อ เค แฟคเตอริ่ง เกินร้อย (K-Factoring More Than 100) ขึ้น เพื่อให้การสนับสนุนเงิน ทุ น หมุ น เวี ย นแก่ ผู้ ป ระกอบการ ทั้งก่อนและหลังการส่งมอบสินค้า/ บริการ ประกอบด้วยสินเชื่อหลังการ ส่งมอบสินค้า/บริการ เป็นวงเงินสิน เชื่อแฟคเตอริ่ง (K-Factoring) ที่ ลูกค้าสามารถใช้ใบแจ้งหนี้ที่มีเทอม การชำ � ระเงิ น เปลี่ ย นเป็ น เงิ น ทุนหมุนเวียนได้ทนั ทีดว้ ยวงเงินสูงสุด ถึง 90% ของมูลค่าใบแจ้งหนี้ สิ น เชื่ อ ก่ อ นการส่ ง มอบ สินค้า/บริการ (Pre-shipment Financing) เป็นวงเงินสินเชื่อเบิกเงิน เกิ น บั ญ ชี (O/D) เพื่ อ เป็ น เงิ น ทุนหมุนเวียนเสริมสภาพคล่องในการ จัดซือ้ วัตถุดบิ สำ�หรับผลิตสินค้า หรือ จั ด หาสิ น ค้ า สำ � เร็ จ รู ป เพื่ อ ส่ ง มอบ โดยผู้ประกอบการเอสเอ็มอีจะได้รับ
วงเงินสินเชื่อเบิกเกินบัญชี (O/D) สูงสุดถึง 20% ของวงเงินสินเชื่อแฟค เตอริ่ง หรือสูงสุดถึง 6 ล้านบาท ทั้งนี้ ตั้งเป้าวงเงินสินเชื่อ ดังกล่าวไว้ที่ 3,000 ล้านบาท ซึ่ง
สามารถรองรั บ ปริ ม าณธุ ร กิ จ ของ ลูกค้าได้ถงึ 6,000 ล้านบาท จากเป้า หมายปริมาณธุรกิจสินเชือ่ K-Factoring ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีในปีนี้ที่ 29,000 ล้านบาท โดยเพิ่มจากในปี
ธปท.เล็งปรับจีดีพีปีนี้ใหม่ หวังสอดคล้องกับศก.โลก น า ย เ ม ธี สุ ภ า พ ง ษ์ ผู้อำ�นวยการอาวุโ ส ฝ่ายนโยบาย เศรษฐกิจและการเงิน ธนาคารแห่ง ประเทศไทย(ธปท.) เปิ ด เผยว่ า ธปท.เตรี ย มพิ จ ารณาตั ว เลขการ เติบโตของเศรษฐกิจปี 2555 ใหม่ จากเดิมที่ประเมินไว้ที่ 4.9% โดย ต้องการที่จะให้สอดคล้องกับภาวะ เศรษฐกิจโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งปัจจุบันแม้ มีการแก้ไขปัญหาในภูมิภาคยุโรป แต่ถือว่าการแก้ไขดังกล่าวยังไม่ใช่ การแก้ไขที่เบ็ดเสร็จ ขณะเดียวกัน ต้องการปรับให้สอดคล้องกับการฟื้น ตัวของอุตสาหกรรมภายในประเทศ “ธปท.ยังคงประมาณการ ภาพรวมอุตสาหกรรมทัง้ ระบบจะเข้า สู่ภาวะปกติในช่วงไตรมาส 3/55
โดยแบ่งเป็นอุตสาหกรรมยานยนต์ใน ไตรมาส 2/55 เช่ น เดี ย วกั บ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ฟ ฟ้ า ข ณ ะ ที่ อุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ และ อุตสาหกรรมไอซี คาดว่าจะกลับสู่ ปกติในไตรมาส3/55 ส่วนรายได้ภาค เกษตรคาดว่าจะปรับขึน้ ได้ในไตรมาส 2/55 การบริ โ ภคคาดว่ า จะฟื้ น ตั ว ปลายไตรมาส 1/55 จนถึ ง ต้ น ไตรมาส 2/55 และการลงทุนคาดว่า จะฟื้นตัวได้ในไตรมาส 3/55” นาย เมธี กล่าว
นอกจากนี้ เขายังกล่าวถึง ราคาน้ำ�มันในตลาดโลกที่ปรับตัวเพิ่ม ขึ้นสูงว่า จากสมมติฐานที่ ธปท.เคย ใช้ในการพิจารณาอัตราดอกเบี้ยใน การประชุมของคณะกรรมการนโยบาย การเงิ น (กนง.) เชื่ อ ว่ า การ เปลีย่ นแปลงอาจมีผลต่ออัตราเงินเฟ้อ ซึ่ง ธปท.กำ�ลังติดตามอย่างใกล้ชิด ทั้ ง นี้ ปั จ จุ บั น ราคาเฉลี่ ย น้ำ � มั น ดิ บ ดู ไ บอยู่ ที่ 122 ดอลลาร์ สหรัฐ/บาร์เรล และราคาเฉลี่ยตั้งแต่ ต้นปีจนถึงปัจจุบนั อยูท่ ี่ 112 ดอลลาร์
2554 ที่มีประมาณ 16,000 ล้านบาท “สินเชื่อ เค แฟคเตอริ่ง เกินร้อย เป็นบริการทีใ่ ห้วงเงินสินเชือ่ ก่อนการส่งมอบสินค้า และสินเชื่อ หลังการส่งมอบสินค้า ครบวงจรทีส่ ดุ สำ � หรั บ ผู้ ป ระกอบการขนาดกลาง เนื่ อ งจากมี ค วามยื ด หยุ่ นในการใช้ วงเงิน และธนาคารฯ มีประวัตกิ ารใช้ สินเชื่อของคู่ค้ากว่า 60,000 ราย จึงสามารถพิจารณาอนุมัติสินเชื่อได้ รวดเร็ว โดยผู้ประกอบการจะได้รับ เงินภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งจะช่วยเพิ่ม เงินทุนหมุนเวียนให้ธุรกิจได้อย่างต่อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะผู้ ป ระกอบการ ในกลุม่ ยานยนต์และชิน้ ส่วนยานยนต์ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า อาหารเครื่ อ งดื่ ม ยา กระดาษและบรรจุภัณฑ์ ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิคส์ และการบริการ จัดหา งาน รักษาความปลอดภัย บันเทิง และนั น ทนาการ โดยที่ คู่ ค้ าได้ ทั้ ง เอกชนและราชการ” นายพั ช ระ กล่าว สหรัฐ/บาร์เรล ขณะที่ประมาณการที่ ธปท.ประเมินราคาน้ำ�มันดิบดูไบทั้งปี 2555 อยู่ที่ 103.3 ดอลลาร์สหรัฐ/ บาร์เรล โดยแบ่งเป็นครึ่งปีแรกเฉลี่ย อยู่ที่ 106.5 ดอลลารสหรัฐ/บาร์เรล และในครึ่ ง ปี ห ลั ง เฉลี่ ย อยู่ ที่ 100 ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล ดังนั้นในการ ประชุมกนง.ครั้งหน้า(21 มี.ค. 55) ธปท.จะใช้ ส มมติ ฐ านนี้ ใ นการ พิจารณา สำ � หรั บ ประเด็ น ภาวะ เศรษฐกิจในสหรัฐฯเมื่อเทียบกับการ ประชุมครั้งที่ผ่านมา พบว่าดีขึ้นจาก ช่วงก่อน และแม้วา่ ในช่วงปลายปีนจี้ ะ มี ก ารเลื อ กตั้ ง ประธานาธิ บ ดี ข อง สหรั ฐ ฯอาจไม่ มี ผ ลมากนั ก ต่ อ การ กระตุ้นเศรษฐกิจ เนื่องจากสหรัฐฯ ยังมีข้อจำ�กัดหลายประการ
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
ผถห. IRPC ไฟเขียวอัปเปหิกรรมการกลุ่ม “ประชัย เลี่ยวไพรัตน์” พ้น 5 บริษัทในเครือ นายชาญศิลป์ ตรีนชุ กร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัทน้ำ�มันไออาร์พีซี จำ�กัด และกรรมการผู้จัดการ บริษัทไทยเอบีเอส จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัท 2 แห่ง ใน จำ�นวน 5 บริษทั ในเครือของ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) หรือ IRPC กล่าวว่าในการประชุมวิสามัญ ครั้งที่ 1 ปี 2555 ของบริษัทน้ำ�มันไออาร์พีซี จำ�กัด, บริษัทไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด และบริษัทไทยเอบี เอส จำ�กัด ซึ่ง IRPC ได้สิทธิทางกฏหมายจัดการ ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อยุติปัญหาความสับสน เกี่ยวกับอำ�นาจการบริหารงานบริษัทในเครือของ IRPC ทั้ง 5 แห่ง เนือ่ งจากคำ�สัง่ นายทะเบียนหุน้ ส่วน บริษทั กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ อ้างคำ�สัง่ ศาลล้มละลายกลางได้เพิกถอนมติทปี่ ระชุม ผู้ถือหุ้นของบริษัทในเครือปี 2549 และปี 2552 มาเป็นเหตุในการแก้ไขทางทะเบียน ซึ่งส่งผลให้มี รายชื่อกลุ่มนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ กลับมาปรากฏ
ในกรรมการของบริษัทในเครือทั้ง 5 ซึ่งไม่ตรงกับ ข้อเท็จจริงและเจตนารมย์ของ IRPC ในฐานะผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ โดยปรากฎว่าที่ประชุมผู้ถือหุ้นวันนี้มีมติ ถอดถอนกรรมการบริษัทกลุ่มของนายประชัย เลี่ยว ไพรัตน์ ซึ่งจะทำ�ให้รายชื่อของกลุ่มบุคคลดังกล่าวไม่ ปรากฏในทะเบียนกรรมการของบริษัทในเครือ IRPC ทัง้ 3 บริษทั ซึง่ เป็นไปตามเจตนารมย์ของบริษทั IRPC ในฐานะผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่กว่า 99.99% ซึง่ มีสทิ ธิในการ บริหารงานของบริษัทโดยสมบูรณ์อย่างแท้จริง “IRPC ใคร่ขอความกรุณาจากท่านรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงพาณิชย์และ อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ กรุณาเร่งรัดการจดทะเบียนจัดทำ�หนังสือรับรองของ บริษัทในเครือ IRPC จำ�นวน 5 บริษัท เป็นรายชื่อ กรรมการและกรรมการผู้มีอำ�นาจลงชื่อผูกพันบริษัท ตามเจตนารมย์ของการประชุมผูถ้ อื หุน้ ในวันนีโ้ ดยด่วน เพื่อเป็นบรรทัดฐานที่ดีในเรื่องของการกำ�กับดูแล กิจการของบริษัทในประเทศไทย และจะสร้างความ เชื่อมั่นให้บรรยากาศการลงทุนในไทยเป็นไปอย่าง
News Station
หน้า 8
โปร่งใส ฉะนัน้ วันนีผ้ ถู้ อื หุน้ ก็มมี ติให้ถอดถอนกรรมการ กลุม่ คุณประชัย เลีย่ วไพรัตน์ พ้นจากบริษทั ในเครือ 5 แห่ง หลังสหภาพแรงงานร้องศาลปกครอง” นาย ชาญศิลป์ กล่าว อนึ่งจากกรณีดังกล่าวสืบเนื่องมาจากกรม พัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้ออกหนังสือ รับรองการจดทะเบียนบริษัทในเครือ IRPC ทั้ง 5 บริษทั ซึง่ บริษทั IRPC ถือหุน้ 99.99% โดยเพิม่ จำ�นวน กรรมการปรากฏรายชื่อเป็นบุคคลในตระกูลเลี่ยวไพ รัตน์กว่า 10 คน ซึ่งมีผลให้ได้เสียงข้างมากในบริษัท ในเครือ IRPC ทั้ง 5 บริษัท ดังนั้นบริษัททั้ง 5 และ สหภาพแรงงานในเครือ IRPC จึงได้ร้องขอความเป็น ธรรมต่อกระทรวงพาณิชย์ พร้อมทั้งร้องศาลปกครอง ให้คุ้มครองชั่วคราวในออกหนังสือการจดทะเบียน ดังกล่าว
COLOR กำ�ไรพุ่งเฉียด 40% นายขวั ญ ชั ย ณั ฏ ฐ์ เ ศรษฐ์ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั สาลี่ คัลเล่อร์ จำ�กัด (มหาชน) หรือ COLOR เปิดเผยถึงผลประกอบการงวดปี 2554 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัทและ บริษทั ย่อยมีก�ำ ไรสุทธิอยูท่ ี่ 19.86 ล้านบาท เพิม่ จาก งวดเดี ย วกั น ของปี ก่ อ นที่ มี กำ �ไรสุ ท ธิ อ ยู่ ที่ 14.34 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ถึง 38.49 % โดยสาเหตุที่ทำ�ให้ผลประกอบการงวดปี 2554 มีการ เติบโตอย่างมาก เนื่องจากรายได้จากการดำ�เนินงาน ทีเ่ พิม่ ขึน้ และสามารถบริหารต้นทุนในการผลิต และ การบริการจัดส่งสินค้า ตลอดจนค่าใช้จ่ายขายและ ค่าใช้จ่ายการบริหารที่ลดลงอย่างมีนัยยะ “การเติบโตของธุรกิจจากรายได้ในปี 2554 ถือว่าเป็นที่น่าพอใจและสอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้
ตั้งไว้ โดยส่วนหนึ่งเราได้รับอานิสงส์จากการฟื้นตัว ทางเศรษฐกิจในช่วงสามไตรมาสแรกของปี ทำ�ให้ ความต้องการในส่วนของอุตสาหกรรมอุปโภค-บริโภค ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจทีบ่ ริษทั ดำ�เนินการอยูป่ รับตัวดีขนึ้ มีกำ�ลังซื้อเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ขณะเดียวกันกำ�ไรที่ เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ผลลั พ ธ์ ที่ ไ ด้ จ ากการปรั บ เปลี่ ย น กระบวนการบริหารการผลิตและการขายทำ�ให้ได้ ต้นทุนเฉลีย่ ทีป่ รับตัวลดลงเมือ่ มีปริมาณผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ จึงเป็นผลการดำ�เนินงานในปีที่ผ่านมาออกมาอยู่ใน ทิศทางที่ดี ถึงแม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากสภาวะ ตลาดที่ทรุดลงจากอุทกภัยในช่วงไตรมาสที่4 ก็ตาม” พร้อมกันนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2555 อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลงวดประจำ�ปี 2554 สิน้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ให้กบั ผูถ้ อื หุน้
ในอัตราหุน้ ละ 0.10 บาท ซึง่ คิดเป็นสัดส่วน 73% ของ กำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินธุรกิจ โดยกำ�หนดวันประชุม สามัญผูถ้ ือหุน้ ไว้ เป็นวันที่ 24 เมษายน 2555 และให้ ผูถ้ อื หุน้ ทีจ่ ะมีชอื่ ปรากฏ ณ วันกำ�หนดรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ (Record Date) ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2555 เป็น ผู้มีสิทธิได้รับเงินปันผล และให้รวบรวมรายชื่อตาม มาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2551 โดยประกาศปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นใน วั น ที่ 14 พฤษภาคม 2555 และกำ � หนดวั น จ่า ย เงินปันผลในวันที่ 23 พฤษภาคม 2555
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
ตามรอย IPO
Gold Trend คนดังกับการลงทุน
Dynamic Station ประสบการณ์จากรายย่อย วัดอุณหภูมหิ นุ้ ร้อน
ประสบการณ์ จาก
รายย่อย
ประเภทของการเปิดบัญชีซื้อขายหุ้น
การเปิดบัญชีซื้อขายหุ้น โบรกเกอร์จะเป็นผู้ศึกษาข้อมูลของลูกค้า ทั้งในเรื่องของฐานะการเงินและ วัตถุประสงค์ในการลงทุน เพื่อที่จะกำ�หนดรูปแบบการเปิดบัญชีและให้คำ�แนะนำ�ในการลงทุนแก่ลูกค้าได้ อย่างเหมาะสม รายละเอียดของแต่ละบัญชี มีดังนี้ บัญชีเงินสด: เป็นบัญชีสำ�หรับลูกค้า ที่ต้องการชำ�ระเงินค่าซื้อขายหุ้นด้วยเงินสด แบบเต็มจำ�นวน ซึง่ ก่อนจะทำ�การซือ้ ขายลูกค้า ต้องวางหลักประกัน 15% ของวงเงินดังกล่าว ก่อน ซึ่งหลักประกันที่ว่านี้อาจเป็นเงินสดหรือ หลั ก ทรั พ ย์ ก็ ไ ด้ ถ้ า หลั ก ประกั น เป็ น เงิ น สด ลู ก ค้ า ก็ จ ะได้ รั บ ดอกเบี้ ย ฝากในส่ ว นนี้ ด้ ว ย บัญชีเงินสดนี้ จะเหมาะกับผู้ลงทุนที่มีรายได้ ประจำ�หรือมีความสามารถในการชำ�ระหนี้ดี พอควร บัญชี cash balance : เป็นบัญชีที่ ลูกค้านำ�เงินสดมาค้ำ�ประกันไว้กับโบรกเกอร์ ก่อนการซื้อขายหุ้น 100% โดยลูกค้าสามารถ ซื้ อ หุ้ นได้ ภ ายในวงเงิ น ที่ ฝ ากไว้ ล่ ว งหน้ า กั บ โบรกเกอร์ หากลูกค้าซื้อหุ้นไปจำ�นวนหนึ่ง โบรกเกอร์ก็จะตัดเงินในบัญชีลูกค้าออกไปเพื่อ ชำ�ระค่าซื้อ ซึ่งมีผลให้อำ�นาจการซื้อหุ้นของ ลูกค้าลดลงเท่ากับมูลค่าของหุน้ ทีซ่ อื้ ไป เงินสด ที่ลูกค้าฝากไว้กับโบรกเกอร์ก็จะได้รับดอกเบี้ย ฝากด้วยเช่นกัน บัญชีประเภทนี้เหมาะสำ�หรับ ผู้ ล งทุ น ที่ โ บรกเกอร์ ป ระเมิ น แล้ ว ว่า มี ค วาม
สามารถในการชำ�ระหนี้ไม่สูงนัก margin นี้ โบรกเกอร์จะเปิดให้สำ�หรับผู้ลงทุนที่มี บัญชี credit balance หรือที่ ความสามารถในการลงทุนและชำ�ระเงินดีพอควร เรี ย กว่ า บั ญ ชี margin : เป็ น บั ญ ชี ที่ มี จึงยอมปล่อยวงเงินกู้ให้ รูปแบบการให้กู้ยืมเงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์ ที่มา :http://www.sec.or.th ซึ่งลูกค้าต้องนำ�เงินสดหรือหลักทรัพย์มา วางเป็ น หลั ก ประกั น การชำ � ระหนี้ กั บ โบรกเกอร์กอ่ นซือ้ หลักทรัพย์ ตามสัดส่วน ที่ โ บรกเกอร์ กำ � หนด เช่ น หากกำ � หนด สั ด ส่ ว นที่ 50% ของวงเงิ น กู้ นั่ น ก็ คื อ ในการซื้อหุ้น 100 บาท ลูกค้าออกเงินตัว เอง 50 บาท ใช้เงินโบรกเกอร์ อีก 50 บาทเป็ น ต้ น โดยโบรกเกอร์ จ ะคำ � นวณ มูลค่าหลักประกันทุกวัน หากมูลค่าหลัก ประกันลดลงถึงระดับหนึง่ อาจถูกเรียกให้ นำ�มาวางเพิ่ ม เพื่ อ รั ก ษาสถานภาพทาง บัญชีไว้ แต่หากผู้ลงทุนไม่สามารถเพิ่ม หลักประกันได้ ก็อาจถูกบังคับขายหลัก ประกันหรือ force sale ได้ซงึ่ การซือ้ ขาย ในบัญชี margin นั้น ลูกค้าสามารถซื้อ ขายได้เฉพาะหุน้ ทีโ่ บรกเกอร์ก�ำ หนดให้ซอื้ ขายผ่านบัญชี marginได้เท่านั้น ซึ่งบัญชี
.....จบ..... www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
Lifestyle Station
ผลไม้เบต้าแคโรทีนสูง
by Jackal_XIII
ผลไม้ไทย 10 อันดับแรกที่มีเบต้าแคโรทีนสูง 1. มะม่วงน้ำ�ดอกไม้สุก 2. มะเขือเทศราชินี 3. มะละกอสุก 4. กล้วยไข่ 5. มะม่วงยายกล่ำ� 6. มะปรางหวาน 7. แคนตาลูปเนื้อเหลือง 8. มะยงชิด 9. มะม่วงเขียวเสวยสุก 10. สับปะรดภูเก็ต
เบต้าแคโรทีน เป็นสารตั้งต้นของ วิตามินเอ (โปรวิตามินเอ) มีบทบาทสำ�คัญในการรักษาสุขภาพ และเพิม่ ระบบภูมคิ มุ้ กันให้แข็งแรง ทัง้ นี้ โดยปกติร่างกายของมนุษย์เราสามารถเปลีย่ นบีตา-แคโรทีนไปเป็น วิตามินเอได้ตามปริมาณที่ร่างกายต้องการ นอกจากนี้ยังทำ�หน้าที่เสมือนเป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วย
Photo Release
คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี (กลาง) ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ผู้นำ�เข้าและจัดจำ�หน่ายสินค้าไอทีรายใหญ่ของประเทศไทย พร้อมด้วยคุณพุฒิพันธ์ เตยะราชกุล (ซ้าย) รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส สายงานอำ�นวยการ และคุณอนุชิต บุญญลักษม์ (ขวา) รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโสสายงานขายและการตลาด ร่วมกันถ่ายภาพเป็นที่ ระลึกในโอกาสนำ�เสนอข้อมูลผลประกอบการงวดปี 2554 ต่อนักลงทุน นักวิเคราะห์ และสือ่ มวลชน ในงาน Opportunity Day ทีต่ ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
Lifestyle Station
มุมการตลาด AIS ชวนอร่อยคลายร้อนที่ S&P พร้อมมอบส่วนลดสูงสุด 15% เอไอเอส ต้อนรับฤดูร้อนที่กำ�ลังจะมาถึง โดยจับมือกับ บริษัท เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จำ�กัด (มหาชน) ผู้นำ�ทางด้านธุรกิจร้านอาหารและเบเกอรี่ มายาวนานกว่า 39 ปี จัดแคมเปญพิเศษ “Simply Summer”ให้ลูกค้าเอไอเอส ได้ไปอิ่มอร่อยกับหลากหลายเมนูคลายร้อนด้วยส่วนลดสุดพิเศษ 15%
มุมประกัน เมืองไทยประกันภัย จัดการเสวนาเรื่อง “การบริหารเครดิตลูกหนี้อย่างไร ให้ยิ้มได้เมื่อภัยมา” บริษัท เมืองไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ได้กำ�หนดจัดการเสวนาเรื่อง “การบริหารเครดิตลูกหนี้อย่างไร ให้ยิ้มได้เมื่อภัยมา” ขึ้นในวันศุกร์ที่ 2 มีนาคม 2555 เวลา 13.00 - 16.30 น. ณ อาคารหอประชุมเมืองไทยประกันชีวิต โดยมีวัตถุประสงค์ให้ลูกค้าผู้ประกอบการ ธุรกิจผู้ผลิต ผู้ส่งออกสินค้า ได้รับความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลประโยชน์อันเกิดจากการบริหารจัดการเครดิตอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะทางร่วมแสดงมุมมอง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเชิงลึก ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการปรับ กลยุทธ์ของแต่ละบริษัท โดยได้รับเกียรตินักวิเคราะห์เศรษฐกิจชื่อดังของประเทศ อาทิ ผศ.ดร.ธรวรรธน์ พลวิชัย คุณวิรรณ ธาราหิรัญโชติ และ ดร.อริสา กำ�ธรเจริญ
นายศีลชัย เกียรติภาพันธ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ปิโก (ไทย แลนด์) จำ�กัด (มหาชน) (ขวาสุด) ชี้แจงทิศทางการดำ�เนินงานของบริษัทในปี 2555 ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 โดยบริษัท มุ่งเน้นการต่อยอด ธุรกิจหลักให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าพร้อมสร้างสรรค์คุณค่าร่วมกับ สังคมให้มากขึ้น สำ�หรับปี 2554 บริษัทมียอดขาย 1,362 ล้านบาท คิดเป็น ผลกำ�ไรสุทธิ 75 ล้านบาท เติบโต 52% เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 โดยที่ประชุม ได้มีการอนุมัติจ่ายปันผลในรูปของหุ้นปันผลและเงินสดเพิ่มเติมให้แก่ผู้ถือหุ้นของ บริษัท ในอัตรา 2 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปันผล
www.istationnews.com
Professional Station
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
กว่ า จะมาเป ็ น เสื อ ตอนที่ 4
เจาะกลยุทธ์ บล.เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) ผ่านทัศนะ
“บุญพร บริบูรณ์ส่งศิลป์”
CEO สายงานธุรกิจหลักทรัพย์รายย่อย
“บุญพร บริบูรณ์ส่งศิลป์”
บุญพร เล่าต่อไปว่า ขณะนี้บริษัทฯ กำ�ลังดำ�เนินการเตรียมเปิด สาขาเพิ่ ม ในอำ� เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ และเปิ ด เพิ่ ม ใน กรุงเทพฯ อีก 2 - 3 สาขาภายในปีนี้ เพื่อให้สามารถบริการนักลงทุน ได้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น รวมทั้งพัฒนาธุรกิจใหม่ โดยเพิ่มบริการด้าน Wealth Management Service ซึ่งเริ่มเปิดบริการตั้งแต่ Q4/54 ที่ผ่านมา เพื่อ ให้บริการที่ครอบคลุมตั้งแต่การวางแผนการลงทุน การซื้อขายผลิตภัณฑ์ ต่ า งๆ เพื่ อ ลงทุ น ตามที่ กำ � หนดไว้ ทั้ ง หุ้ น อนุ พั น ธ์ กองทุ น รวม ซึ่ ง ครอบคลุ ม ทั้ ง การซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ใ นประเทศ (On-shore)
และการซื้อขายหลักทรัพย์ในต่างประเทศ (Off-shore) พร้อมสรุป รายงานผลประกอบการให้นักลงทุนได้ทราบเป็นระยะๆ ด้านบริการซื้อขายหลักทรัพย์ในต่างประเทศ (Off Shore Trading) โดยการให้บริการซื้อขายหุ้นต่างประเทศครอบคลุม 4 ประเทศ ได้แก่ ฮ่องกง มาเลเซีย สิงคโปร์ และสหรัฐอเมริกา ซึ่งนัก ลงทุนสามารถเลือกซื้อขายหุ้นในต่างประเทศผ่านเจ้าหน้าที่การ ตลาดหรือผ่านระบบอินเทอร์เน็ตด้วยตนเอง ซึ่งคาดว่าจะสามารถ เปิดให้บริการภายใน Q2/55 “นอกจากนี้เรายังได้เสริมทัพสายงานธุรกิจหลักทรัพย์ รายย่อยให้แข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นโดยมี ดร.รินใจ ชาครพิพัฒน์, CFA เข้ามาดำ�รงตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการ เมื่อต้นเดือน ก.พ.ที่ผ่านมา เพื่อเตรียมความพร้อมผลักดันบริการด้าน Off Shore Trading และการเปิดการเชื่อมโยงตลาดหลักทรัพย์ อาเซียน (Asian Linkage) นับเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท ต่างๆ ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในแต่ละประเทศ โดยประเทศไทยมี อุตสาหกรรมทีน่ า่ สนใจหลายด้าน อาทิเช่น ด้านการค้าปลีก ด้าน อาหาร อุตสาหกรรม ตลอดจนการท่องเที่ยว ในทางตรงกันข้ามยังเป็นโอกาสที่นักลงทุนไทยจะแบ่ง เงินไปลงทุนในบริษัทที่น่าสนใจของภูมิภาค เช่น สิงคโปร์และ มาเลเซีย ซึ่งนับเป็นการเปิดทางเลือกและโอกาสในการลงทุน เพิ่ ม เติ ม ซึ่ ง กลุ่ ม เมย์ แ บงก์ ในฐานะของผู้ นำ � ในอาเซี ย น (ASEAN Power House) จะเกื้อหนุนและส่งเสริมให้บริษัทฯ เป็นผู้นำ�ในตลาดอาเซียนได้อย่างแน่นอน”
........ อ่านต่อฉบับหน้า ........ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
ประเมินทิศทางตลาดหุ้นไทยวันนี้มี โอกาสปรับตัวขึ้น หากการประชุมธนาคาร กลางยุโรป (อีซบี )ี มีมติปล่อยเงินกูเ้ พือ่ อัดฉีด สภาพคล่องให้กลุ่มธนาคารในประเทศยูโร โซนตามที่คาดการณ์ไว้ ซึ่งสะท้อนให้นัก ลงทุนคลายความกังวลกรณีปัญหาเศรษฐกิจ ยุโรป แต่ทั้งนี้ นักลงทุนควรระวังเเรงขาย ทำ�กำ�ไรระหว่างชั่วโมงซื้อขาย หลัง 2 วัน ที่ผ่านมาดัชนีฯ ปรับขึ้น กลยุทธ์เเนะนำ�ขาย ทำ�กำ�ไร ประเมินเเนวรับ 1,150 - 1,140 จุด เเละเเนวต้าน 1,160 - 1,165 จุด
ตลาดหุน้ ไทยวันนีม้ แี นวโน้มเป็นบวก แต่อาจผันผวนระหว่างวัน ประเมินแนวต้าน แรกที่ 1,158 - 1,162 จุด และหากผ่านได้ มีโอกาสปรับขึ้นไปทดสอบ 1,166 จุด ส่วน แนวรับแรกอยู่ที่ 1,155 จุด ขณะเดียวกัน หากหลุดแนวรับดังกล่าว มีโอกาสที่ดัชนีฯ ลดลงแตะ 1,150 จุดเช่นกัน กลยุทธ์แนะนำ� นักลงทุนที่ไม่มีหุ้นให้เลือกซื้อเป็นรายตัว หรือซื้อเก็งกำ�ไรในกลุ่มสื่อสารและอาหาร ส่วนนักลงทุนที่มีหุ้นอยู่แล้วให้ถือต่อเนื่อง หรื อ แบ่ ง ขายทำ � กำ �ไรบางส่ ว นเมื่ อ ดั ช นี ฯ ขึ้นแรง
หน้า 13
คาดว่าดัชนีฯ มีโอกาสปรบั ขึน้ ต่อได้อกี แต่ระหว่างวันอาจมีแรงขายทำ�กำ�ไร โดยดัชนีฯ มีแนวต้านที่ 1,175 จุด และ 1,180 จุด ซึ่งดัชนีฯ ช่วงที่ผ่านมาปรับขึ้น เพราะได้รับ ปัจจัยบวกจากมาตรการผ่อนคลายทางการ เงินทั้งจากจีนและสหรัฐฯ ขณะที่ไทยมีการ ปรั บ ลดดอก เบี้ ย ลง นอกจา กนี้ ตั ว เลข เศรษฐกิจสหรัฐฯที่มีแนวโน้มฟื้นตัว ก็เป็น ปัจจัยสนับสนุน รวมถึงการพยายามแก้ปญั หา หนี้ของประเทศในยุโรป ล้วนเป็นประเด็น กระตุ้นการลงทุน
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
Data Station
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีน�คม 2555
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 29 กุมภ�พันธ์ 2555
Stock Exchange of Thailand [SET] [Day]
TRADING BY INVESTOR TYPE
Type
Institute
Proprietary
Foreign Local
Buy
Sell
Net
2,275.48 6.30% 5,590.35 15.48% 10,611.37 29.39% 17,627.33 48.82%
4,069.88 11.27% 3,577.04 9.91% 7,160.62 19.83% 21,296.98 58.99%
-1,794.40 2,013.31 3,450.75 -3,669.65
Last Update
29/02/12
Index
Last
SET SET 50 SET 100 MAI SET Value MAI Value Last Updated
1,160.90 818.78 1,775.40 294.83
Chg 14.64 11.09 23.38 -1.32 (Mil. ฿) (Mil. ฿)
29/2/2012
%Chg 1.28 1.37 1.33 -0.45 36,104.53 769.88
17:01:47
AGRO 2.21 D ecline 29%
A dv ance 47%
No C hange 24%
2.5 2
TECH
1.5
CONSUMP 0.64
1
1.5
0.55
0.5
SERVICE
FINCIAL
0
0.76 D ecline 31%
1.64
0.55
A dv ance 31%
No C hange 38%
2
RESOURC
INDUS
PROPCON www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
หน้� 15
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีน�คม 2555
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 29 กุมภภ�พันธ์ 2555
IVL
( Day )
: IVL 16,000,000 14,000,000
Price & Fundamental Symbol IVL
Last 40.25 Chg 2.00 %Chg 5.23 Open 38.50 High 40.25 Low 38.25 Prev 38.25 Avg 39.43 AccVol 65,304,200 AccVal(K฿) 2,574,767 5.07 %Fluct P/E 12.46 P/BV 3.30 DPS(Baht) 0.50 Yield(%) 2.61 EPS(Baht) 3.23 MktCap(Mil.) 193,774 Broker Target Update ASP 46.65 28/2/2012 หลักทรัKKS พย์ทม่ี เี ปอร์เซ็น36.00 ต์การเปลีย่ นแปลง 24/2/2012 ของราคาเพิ ม่ ขึน้ มากที40.00 ส่ ดุ และมีมลู 23/2/2012 ค่าการ UOBKHST
ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
12,000,000
Vol.
10,000,000 8,000,000 6,000,000 4,000,000 2,000,000 40.25
40.00
39.75
Price
39.50
39.25
39.00
38.75
38.50
38.25
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
หน้� 16
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีน�คม 2555
Top MostActive Gainer ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 29 กุมภ�พันธ์ 2555
GLOBAL-W
( Day )
Price & Fundamental Symbol GLOBAL-W
Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.) Broker
4.12 0.62 17.71 3.62 4.16 3.62 3.50 3.91 57,124,000 223,166 13.81
41.20 1.35 0.06 0.31 0.10 5,974 Target Update No Comment
Volume Analysis
: GLOBAL-W
4,000,000 3,500,000 3,000,000
Vol.
2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 4.16 4.14 4.12 4.10 4.08 4.06 4.04 4.02 4.00 3.98 3.96 3.94 3.92 3.90 3.88 3.86 3.84 3.82 3.80 3.78 3.76 3.74 3.72 3.70 3.68 3.66 3.64 3.62
0
Price
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีน�คม 2555
Top MostActive Compare AVG Vol5 ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 29 กุมภ�พันธ์ 2555
SC
( Day )
Volume Analysis
: SC
5,000,000 4,500,000
Price & Fundamental Symbol SC
Last 15.20 Chg 0.60 %Chg 4.11 Open 14.70 High 15.30 Low 14.70 Prev 14.60 Avg 15.10 AccVol 16,526,500 AccVal(K฿) 249,593 3.97 %Fluct P/E 7.34 P/BV 1.08 DPS(Baht) 0.70 Yield(%) 4.74 EPS(Baht) 2.07 MktCap(Mil.) 9,988 Broker Target Update ASP 18.25 29/2/2012 DBSV 16.34 16/2/2012 หลักทรั พ ย์ ท ม ่ ี เ ี ปอร์ เ ซ็ น ต์ ก ารเปลี ย ่ นแปลง CGS 16.00 2/2/2012
ของราคาเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ และมีมลู ค่าการ ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
4,000,000 3,500,000
Vol.
3,000,000 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 15.30
15.20
Price
15.10
15.00
14.90
14.80
14.70
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 809
หน้า 18
ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 1 มีนาคม 2555
คำ�คมการลงทุน
ผูจ้ ดั ทำ� บริษทั ออนไลน์แอสเซ็ท จำ�กัด
ถ้าคุณอดทน เพื่อจะทำ�อะไรสักอย่างให้สำ�เร็จคุณจำ�เป็น อย่างมากที่จะต้องลงมือศึกษาเรื่องนั้นๆ อย่างเป็นจริงเป็นจัง แต่ถ้าคุณไม่อดทน โอกาสที่คุณจะผิดพลาดก็ย่อมมีสูงเช่นกัน
อนันต์ กาญจนพาสน์
466 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 --คณะทีป่ รึกษา-พรเลิศ เตชะรัตโนภาส ดวงสุรยี ์ วายุบตุ ร์ --บรรณาธิการ-เอกอนันต์ เสรีรตั นะชัย --กองบรรณาธิการ และฝ่ายสนับสนุน--ข่าวต่างประเทศ วรเชษฐ์ พันธ์ภวู งศ์ -ข่าวตลาดเงิน ตลาดทุน ศราพงค์ นันติวงค์ พิมพ์รภัส ศิรไิ พรวัน ศุภวรรณ วราภรณ์ -ข่าวตลาดอนุพนั ธ์ สุรเมธี มณีสโุ ข --ฝ่ายศิลปกรรม-ยุภาจิตร์ วัชระธัญเจริญ ประกาศิต คุณครอง วีระชัย ปัตลา ภูวนาท สุขเกษม อัษฎา วรรณธนาสิน
สนใจติดต่อโฆษณา วีรตรี ศิรสิ มบัติ (ฝ่ายการตลาด) Tel : 0-2541-4011 Fax : 0-2541-4017 Mobile: 084-939-8881
weeratree@efinancethai.com
www.istationnews.com