Investor_station 05 ก.ย. 2554

Page 1

Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554 www.istationnews.com

www.istationnews.com ews.com

สถานีนักลงทุน หนังสือพิมพ์ดิจิตอลรายวัน เพื่อการลงทุน

www.istationnews.com

www.istationnews.com

www.

ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

News Station

www.istationnews.co

8

ยูบีเอส หั่นประมาณการดัชนี MSCI ตลาดหุ้นเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นลง ธปท.ชี้แรงกดดันเงินเฟ้อ ยังมีอยู่จากต้นทุนผลิต CYBER คาดรายได้ปี 55 ก้าวกระโดด

www.

9

Dynamic Station

SGP ไม่หวัน่ ดีมานด์หด

10

5

www.istationnews.com ews.com

www.istationnews.com

www.istationnews.com

www.istationnews.com

www.

www.istationnews.co

www.istationnews.com

ชี้รัฐบาลลอยตัว LPG กระทบ

ผู้บริหาร SGP ยอมรับหากรัฐบาลลอยตัว LPG ระยะแรกทำ�ดีมานด์หด หลังราคาขยับขึ้น แต่ระยะยาวเชื่อความต้องการใช้ยังพุ่ง ลั่นยังเดินหน้าเปิดปั๊ม LPG ปีนี้อีก 5 แห่ง-ปีหน้าอีก 10 แห่ง ระบุไม่หวั่นรัฐบาลลอยตัว เหตุปริมาณการใช้ยังโต-ถูกกว่า น้ำ�มัน ต่อหน้า 3

IR Society

7

กิมเอ็งฯ เตรียมเข็น “ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์” เทรดต้นปี 55

Lifestyle Station ผู้มีปัญญาเป็นผู้สูงสุด

13

มองหุ้นจากเซียน SET…ยังไม่อะไรน่าวิตก

14

Data Station

NMG เผยกำ�ไรปีนโี้ ตตามรายได้ที่ 10 - 15%

OFM มั่นใจรายได้ปีนี้โต 25%

แย้มยักษ์ใหญ่เทรดดิ้ง 4 - 5 รายรุมจีบ

ต่อหน้า 3

ต่อหน้า 4

SET News ตอนที่ 1

“จิตรลดา จริยวิทยานนท์”

ต่อหน้า 12

เผยกลยุทธ์งานนักลงทุนสัมพันธ์

L&E

บอร์ด SVI อนุมัติโครงการ ซื้อหุ้นคืน 55 ล้านหุ้น ต่อหน้า 8

PHOL

เก็งกำ�ไรกรอบ 4.40 - 4.80 บ. ต่อหน้า 6 www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

SGP ไม่หวั่น (ต่อจากหน้า 1)

นายภู ว ดล วสุ ธ าร ผู้ จั ด การฝ่ า ยนั ก ลงทุ น สัมพันธ์ บริษัท สยามแก๊ส แอนด์ ปิโตรเคมีคัลส์ (SGP) เปิ ด เผยว่ า หากรั ฐ บาล ดำ � เนิ น มาตรการ ลอยตั ว ราคาก๊าซ LPG ตามทีร่ ะบุไว้ นั้น ยอมรับว่าในระยะแรก จะส่งผลกระทบต่อดีมานด์ การใช้ ก๊ า ซ LPG ของ บริษัทฯ และภาพรวมให้ลด ลง หลังจากทีร่ าคาขายขยับ สูงขึ้น ส่วนในระยะยาวคาด ว่ า ความต้ อ งการใช้ LPG ยังอยู่ในระดับที่ดีและสูงขึ้น ต่อเนื่อง แม้หลังการลอยตัว ดังกล่าวราคาขาย เมือ่ เทียบ กั บ น้ำ � มั น เ ต า ที่ ใ ช้ เ ป็ น พลั ง งานเชื้ อ เพลิ งในภาค อุ ต สาหกรรมจะยั ง มี ร าคา ขายที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น จากค่ า เชื้อเพลิงพลังงานความร้อน ที่ เ ท่ า กั น ขณะที่ LPG ถือเป็นพลังงานสะอาดหาก เที ย บกั บ การใช้ น้ำ � มั น เตา ที่จะปล่อยมลพิษ หลังการ เผาไหม้ ประกอบกับในบาง อุตสาหกรรมจำ�เป็นต้องใช้ NMG เผย (ต่อจากหน้า 1)

LPG เพียงอย่างเดียว ซึ่งการ เปลี่ยนแปลงเครื่องจักรที่ใช้ LPG กลับไปใช้น�้ำ มันเตาของ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ยั งไม่ คุ้ ม ค่ า เพี ย งพอในการ ล ง ทุ น โ ด ย ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า

News Station อุ ต สาหกรรมมี สั ด ส่ ว นกว่ า นายภู ว ดล กล่ า วต่ อ ว่ า 10% ของยอดขายรวม แม้ รั ฐ บาลจะมี น โยบาย บริษทั ฯ และการใช้ภาคเรือน ลอยตั ว ราคาก๊ า ซ LPG เป็ น กลุ่ ม ลู ก ค้ า หลั ก ของ แต่บริษัทฯ ยังคง แผนเปิด บริ ษั ท ฯ ซึ่ ง มี สั ด ส่ ว นกว่ า สถานี บ ริ ก ารก๊ า ซ LPG 6 0 % ยั ง เ ติ บ โ ต ไ ด้ ดี ในช่ ว งที่ เ หลื อ ของปี นี้ อี ก จำ�นวน 4 - 5 แห่ง ส่วนใน ปี ห น้ า บริ ษั ท ฯ มี แ ผนเปิ ด สถานี ใ ห้ บ ริ ก ารก๊ า ซ LPG อีกจำ�นวน 10 แห่งโดยจะใช้ เงินลงทุนต่อสถานี 1 แห่ง ราว 15 ล้านบาท ซึ่งไม่รวม งบลงทุนที่ดิน เนื่องจากเชื่อ ว่าปริมาณการใช้ก๊าซ LPG ภาคขนส่งยังมีอัตราการใช้ เติบโตได้ดตี อ่ เนือ่ ง นอกจาก นี้ ภ ายหลั ง จากที่ เ กิ ด การ ลอยตัวก๊าซ LPG ราคาขาย จะยั ง ถู ก กว่ า เมื่ อ เที ย บกั บ ราคาน้ำ�มัน

นายธนะชัย สันติชยั กูล กั บ ร า ย ไ ด้ ที่ ค า ด โ ต โฆษณาได้ชะลอตัวลงในช่วง รองประธานกรรมการ และ 10 - 15% โดยมองว่ารายได้ ไตรมาส 2 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็น ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และกำ �ไรในครึ่ ง ปี ห ลั ง จะดี ผ ล จ า ก ค ว า ม กั ง ว ล ต่ อ บมจ.เนชั่ น บรอดแคสติ้ ง กว่าช่วงครึ่งปีแรก เนื่องจาก เหตุ ก ารณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหวใน ค อ ร์ ป อ เ ร ชั่ น ( N M G ) จะมีเม็ดเงินโฆษณาไหลเข้า ประเทศญี่ปุ่น เปิดเผยว่า คาดกำ�ไรสุทธิใน มามาก โดยเฉพาะในช่ ว ง อย่างไรก็ตาม มองว่า ปีนี้ จะเติบโตในทิศทางเดียว Q4/54 หลั ง จากเม็ ด เงิ น โดยรวมการใช้ เ ม็ ด เงิ น

โฆษณายั ง อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี ต า ม ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง เศรษฐกิจ ซึ่งมีการใช้จ่ายใน ป ร ะ เ ท ศ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ประกอบกับมีมาตรการภาค รัฐออกมากระตุ้นการใช้จ่าย เช่น โครงการบ้านหลังแรก ต่อหน้า 4 www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

NMG เผย (ต่อจากหน้า 3)

ร ถ ย น ต์ คั น แ ร ก ร ว ม ถึ ง มี ก า ร ล ง ทุ นใ น โครงสร้ า งพื้ น ฐาน เช่ น ร ถไ ฟ ฟ้ า ซึ่ ง จ ะ ทำ �ใ ห้ คอนโดมิเนียมแนวรถไฟฟ้า ขายดี ภาคธนาคารก็มีการ เติบโตดี ซึง่ ในช่วงครึง่ ปีแรก เม็ดเงินโฆษณาในสือ่ สิง่ พิมพ์ ของตลาดโตราว 2 - 3% ขณะทีส่ อื่ สิง่ พิมพ์ของ NMG เม็ดเงินโฆษณาโต 7 - 8% สูงกว่าตลาด ส่วนทั้งกลุ่ม เม็ดเงินโฆษณาโต 10% OFM มั่นใจ (ต่อจากหน้า 1)

นายวรวุ ฒิ อุ่ น ใจ กรรมการผู้ จั ด การ บมจ. ออฟฟิศเมท (OFM) เปิดเผยว่า บริษัทฯ คาดรายได้รวมในปี นี้จะเติบโต 25% จากปีก่อน โดยแนวโน้มรายได้และกำ�ไร ในครึ่ ง ปี ห ลั ง จะดี ก ว่ า ครึ่ ง ปีแรกสังเกตได้จากตัวยอด ขายของบริษัทฯ เป็นขาขึ้น และทำ�นิวไฮ อย่างต่อเนื่อง เห็นได้จากไตรมาส 2 ทีผ่ า่ น มาผลประกอบการเป็ นไป ตามที่คาด ดังนั้นจึงคาดว่า อัตราการทำ�กำ�ไรสุทธิทั้งปี จะสูงกว่า 4.1% เพราะต้นทุ นบริษัทฯ เริ่มนิ่งแล้ว หลัง จากปลายปีที่แล้วบริษัทฯรับ พนักงานใหม่เข้ามา และอยู่ ใ น ช่ ว ง ข อ ง ก า ร ฝึ ก ฝ น จึงทำ�ให้ตน้ ทุนค่าแรงเพิม่ ขึน้ แต่ ข ณะนี้ พ นั ก งานเริ่ ม มี ทั ก ษะในการขาย ทำ � ให้

News Station

หน้า 4

สำ � หรั บ การลงทุ น ของบริษทั ฯ มีไม่มาก มีเพียง เนชั่น ทีวี ที่ลงทุนด้านผลิต รายการ และบมจ.เนชั่ น อินเตอร์เนชัน่ แนล เอ็ดดูเทน เมนท์ (NINE) ในเรือ่ งการซือ้ ลิขสิทธิ์ ขณะที่ NMG ก็มี การปรับปรุงด้านเทคโนโลยี

บริ ษั ท ฯ เริ่ ม มี ย อดขาย ที่ดีขึ้น นอกจากนี้ยังคาดว่า อั ต ราการทำ � กำ � ไรสุ ท ธิ ใ น ไตรมาส 3 จะดีกว่าไตรมาส 2 ซึ่งอยู่ที่ 4.1% เนื่องจาก ไตรมาส 3 เป็นช่วงไฮซีซั่น และยอดขายของบริ ษั ท ฯ ทำ�นิวไฮทุกไตรมาส ในขณะ อยู่ ร ะหว่ า งศึ ก ษาแนวทาง หลายแห่ง 4 - 5 แห่ง ที่เข้า ทีต่ น้ ทุนคงที่ ดังนัน้ กำ�ไรก็จะ การแก้ ปั ญ หาเรื่ อ งสภาพ มาเจรจากับบริษทั ฯ ซึง่ รวมถึง ดี ขึ้ น แม้ ว่ า ในไตรมาส 3 คล่องหรือ ฟรีโฟลท ซึ่งมีได้ บริ ษั ท แกรมมี่ เนื่ อ งจาก บริษทั ฯ จะไม่มรี ายได้จากค่า หลายแนวทางไม่ ว่ า จะ บริ ษั ท เหล่ า นี้ ม องว่ า OFM สื่อโฆษณาเข้ามา แต่ยืนยัน เป็นการจ่ายหุ้นปันผล หรือ มีอนาคตที่จะขยายธุรกิจได้ ว่ า กำ � ไรไม่ ไ ด้ ล ดลง ทั้ ง นี้ การจ่ายเป็นเงินสด แต่นา่ จะ อีกมากหากเข้ามาจับมือเป็น สาเหตุ ห ลั ก มาจาก Call ยังไม่มีข้อสรุปในระยะเวลา พั น ธมิ ต รในช่ ว งนี้ ก็ ถื อ เป็ น C e n t e r ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ อันสั้น ขณะเดียวกันบริษัทฯ จังหวะทีด่ ใี นการร่วมมือกันที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ก็วางแผนที่จะบุกตลาดต่าง จะขยายขอบเขตสินค้าและ พนักงานมีทักษะในการขาย ประเทศ ซึ่ ง การไปขยาย บริ ก ารให้ ก ว้ า งขึ้ น รวมถึ ง มากขึ้น หลังจากที่บริษัทฯ ตลาดต่างประเทศนี้ บริษทั ฯ ขยายตลาดไปต่างประเทศ ได้ ฝึ ก ฝนมาเป็ น อย่ า งดี จะไปในลักษณะการจับมือ ด้วย พาร์ ต เนอร์ ใ นประเทศ เมื่อปลายที่แล้ว ปั จ จุ บั น บ ริ ษั ท ฯ ซึ่งขณะนี้มีบริษัทขนาดใหญ่

www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

นอกจากนีย้ งั คาดว่า ในการประชุมคณะกรรมการตลาดเสรี ธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือ เฟดวันที่ 20 กันยายนนี้ จะไม่มีการออก มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเชิงปริมาณครั้งใหม่ หรือ Q3 แต่อย่างใด

นครเซี่ยงไฮ้เตรียมขยายพื้นที่สำ�รองวัตถุดิบอุตฯ หวังปั้นเป็นศูนย์กลางการค้า Commodity

ยูบีเอส หั่นประมาณการดัชนี MSCI ตลาดหุ้นเอเชียไม่รวมญี่ปุ่นลง

รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า นครเซี่ยงไฮ้เตรียมขยาย ขีดความสามารถในการสำ�รองวัตถุดบิ สินค้าอุตสาหกรรมเช่น ทองแดง อลูมเิ นียม และแร่เหล็กตามแผนพัฒนาเป็นศูนย์กลางการซือ้ ขายสินค้า โภคภัณฑ์หมวดวัตถุดิบอุตสาหกรรม “การขยายปริมาณสำ�รองวัตถุดบิ สินค้าอุตสาหกรรม และ การขยายปริมาณการซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ที่ตลาดเซี่ยงไฮ้จะทำ�ให้ เซี่ ย งไฮ้ มี อิ ท ธพลต่ อ ทิ ศ ทางราคาสิ น ค้ าโภคภั ณ ฑ์ ใ นตลาดโลก” นายหวาง ซินหลิงรองประธานสำ�นักงานการค้าเสรีนครเซี่ยงไฮ้กล่าว โดยการขยายขีดความสามารถในการสำ�รองสินค้าโภคภัณฑ์ หมวดวัตถุดบิ ดังกล่าวจะส่งผลดีตอ่ ผูน้ �ำ เข้าของจีน ซึง่ จะช่วยลดต้นทุน ในการสำ�รองวัตถุดบิ เนือ่ งจากจีนเป็นประเทศทีม่ คี วามต้องการวัตถุดบิ อุตสาหกรรมมากที่สุดในโลกจึงมีปริมาณการนำ�เข้าที่สูง ทัง้ นี้ การขยายพืน้ ทีก่ ารสำ�รองสินค้าโภคภัณฑ์ในเซีย่ งไฮ้ จะเกิดขึน้ เขตการค้าเสรีโดยจะเพิม่ เนือ้ ทีจ่ าก 200,000 ตารางเมตรเป็น 250,000 ตารางเมตรในปีหน้า

รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ ยูบเี อสเอจีปรับลดประมาณ การดัชนีเอ็มเอสซีไอภูมิภาคเอเชีย ไม่รวมญี่ปุ่น ในปี 2011 ลดลงมา อยู่ที่ 580 จุดจาก 670 จุดที่ประมาณการไว้ครั้งก่อน หลังคาดการณ์ว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจะชะลอลง ขณะที่การดำ�เนินนโยบาย การเงินอย่างเคร่งครัดในภูมภิ าคเอเชียจะยังดำ�เนินต่อไปเพือ่ แก้ปญั หา เงินเฟ้อ “เราคาดว่าตัวเลขเศรษฐกิจยังคงออกมาไม่ดี ขณะที่ ธนาคารกลางยังคงไม่ผ่อนคลายความเคร่งครัดในการดำ�เนินนโยบาย การเงินเพื่อแก้ปัญหาเงินเฟ้อ แต่คาดว่า ตัวเลขเศรษฐกิจจะเริ่มดี ขึ้นบ้างในไตรมาสสุดท้ายปีนี้” นายไนเอล แมคเลียด และนายเอแคช ราวัต นักวิเคราะห์ที่ยูบีเอสระบุในบทวิเคราะห์ อย่างไรก็ตาม ยูบีเอสคาดว่า จีน และอินเดียจะได้รับ ประโยชน์จากการชะลอลงของเศรษฐกิจโลก เนื่องจากจะเป็นปัจจัยที่ ช่วยให้แรงกดดันเงินเฟ้อลดลง

AFET “เก็งกำ�ไร”

นางสาวสุรรี ตั น์ ขุนทองจันทร์ นักวิเคราะห์ บริษทั แอ็กโกร์ว เอ็นเตอร์ไพร์ส จำ�กัด (AGE) RSS3 - วันศุกร์ทผ่ี า่ นมามีปริมาณการซือ้ ขาย 320 สัญญา สถานะคงค้าง 2,587 สัญญา - ปิด 144.25 บ./ก.ก. เพิม่ ขึน้ 0.15 บาท (สัญญาส่งมอบเดือนเม.ย. 55) ปัจจัยบวก - ฝนตกทางใต้เหลือเพียง 30% ของพืน้ ที่ ปัจจัยลบ - ยอดขายรถญีป่ นุ่ เดือนก.ย.ลง 25% - เงินเยนแข็งค่า - การเมืองในญีป่ นุ่ ร้อน ทำ�ตลาดทุนทรุด - น้�ำ มันยังแกว่งตัวในกรอบ 80 - 90 เหรียญ - เทคนิคยังเป็นสัญญาณขาย กลยุทธ์ - เก็งกำ�ไร (สัญญาส่งมอบเดือนเม.ย. 55) - แนวรับ 142.10 บ./ก.ก. - แนวต้าน 146.50 บ./ก.ก.

หน้า 5

อีซีบีจี้อิตาลีลดการขาดดุลงบฯอย่างเคร่งครัด รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ นายฌอง-คลอด์ ทริเชท ประธานธนาคารกลางยุโรป หรือ อีซบี เี รียกร้องให้อติ าลีดำ�เนินการ อย่างเคร่งครัดในการลดการขาดดุลงบประมาณฯ และตระหนักถึง ปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะ นายทริเชทระบุวา่ มาตรการลดการขาดดุลงบประมาณ ทีจ่ ะผ่านรัฐสภาอิตาลี และการขึน้ ภาษีเป็นมาตรการทีม่ คี วามสำ�คัญ อย่างยิ่งยวด ทั้งนี้ มาตรการดังกล่าวยังคงอยู่ระหว่างการแปรญัตติ ในรัฐสภา หลังนายกรัฐมนตรีอิตาลีตัดสินใจยกเลิกแผนเพิ่มภาษี ในการจัดเก็บผู้มีรายได้สูง

TFEX

“PTTEP เตรียมเพิ่มทุนกดดันตลาด”

นายพงศ์ภัทร สิริพิพัฒน์ ผู้ช่วยผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ เคจีไอ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) KGI SET50 Futures - วันศุกร์ทผ่ี า่ นมามีปริมาณการซือ้ ขาย 18,659 สัญญา สถานะคงค้าง 36,140 สัญญา - ปิด 736.50 จุด ลดลง 3.40 จุด (สัญญา S50U11 ก.ย. 54) ปัจจัยบวก - นโยบายกระตุน้ ศก.จากรัฐบาลช่วยพยุงตลาด - ลุน้ ถ้อยแถลง โอบามาวันที่ 8 ก.ย. ออกมาในเชิงบวก ปัจจัยลบ - PTTEP เตรียมเพิม่ ทุน - หุน้ ยุโรปร่วงหนัก - ต่างชาติขายสุทธิในหุน้ 1599.86 ล้านบาท กลยุทธ์ - เปิดสถานะขายหากหลุด 730 จุด (สัญญา S50U11 ก.ย. 54) - แนวรับ 717 จุด - SET50 ประเมินแนวรับ 722 จุด แนวต้าน 745 จุด

www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

หน้า 6

PHOL เก็งกำ�ไรกรอบ 4.40 - 4.80 บ. สัปดาห์ก่อนโชว์ผลงานได้น่าชื่นชมยิ่งนัก 5 วันทำ�การ มีติดลบไปเพียงวันเดียว ที่เหลืออยู่ในขาบวก โดยปิดตลาดศุกร์ ที่ผ่านมาระดับ 4.56 บาท เพิ่มขึ้น 0.16 บาท หรือ 3.64% มูลค่า การซื้อขาย 9.43 ล้านบาท นั ก วิ เ คราะห์ บล.ฟิ นั น เซี ย ไซรั ส ประเมิ น ว่ า PHOL อยู่ในช่วงรีบาวน์ขึ้นมา มีแนวต้านอยู่ที่ 4.80 บาท ส่วนแนวรับอยู่ที่ 4.40 บาท และเป็นจุดตัดขาดทุน กลยุทธ์ แนะนำ�นักลงทุนที่สนใจ ซื้อขายในกรอบแนวรับแนวต้านดังกล่าว

ข้อมูลเกี่ยวกับราคาหุ้น ณ สิ้นวันที่ 02/09/54

Symbol Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg

PHOL 4.56 0.16 3.64 4.40 4.66 4.40 4.40 4.57

AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.)

2,062,200 9,432 5.69 15.20 2.22 0.10 5.68 0.30 616

ภาพรวมข้อมูลผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 24/08/54

1. 2. 3. 4. 5.

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ น.ส.ธัญธิดา หวังธำ�รง นายชวลิต หวังธำ�รง นายธันยา หวังธำ�รง นางอนัญญา จารุตั้งตรง นางอนัญญา จารุตั้งตรง

จำ�นวนหุ้น

(%)

27,389,600 15,214,125 13,500,000 8,632,264 7,060,236

20.29 11.27 10.00 6.39 5.23

วันทำ�การซื้อขายที่ผ่านมาพบหุ้นซื้อ - ขาย ที่ระดับราคา 4.60 บาทหนาแน่นสุด www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

กรุงไทยลิสซิ่งรับสินเชื่อรถยนต์ปีนี้ต่ำ�เป้า น า ย ภิ ญ ญ า วั ฒ น์ 3 เดือนที่ผ่านมา หลังจากเริ่มเข้า จั น ทรกานตานนท์ กรรมการ สู่ ต ลาดดั ง กล่ า วมากขึ้ น ขณะที่ ผู้จัดการ บริษัท เคทีบี ลีสซิ่ง จำ�กัด สั ด ส่ ว นรถยนต์ มื อ หนึ่ ง มี สั ด ส่ ว น ในเครื อ ธนาคารกรุ งไทย จำ � กั ด 90% ของพอร์ตรวม (มหาชน) (KTB) เปิดเผยว่า การ เติ บโตของสิ น เชื่ อ รถยนต์ ใ นปี นี้ ไ ม่ สามารถขยายตัวได้ตามเป้าหมายที่ วางไว้ 20% เนื่องจากในช่วงไตรมาส 2/54 มีปญั หาในการส่งมอบรถยนต์ที่ มีจำ�นวนไม่เพียงพอต่อความต้องการ ทำ �ให้ ก ารเติ บโตชะลอลง อี ก ทั้ ง ในช่วงครึ่งปีแรกมียอดการชำ�ระสิน เชื่อคืนจำ�นวนมาก ทำ�ให้เมือ่ คำ�นวณ การเติบโตของสินเชือ่ สุทธิแล้วมีอตั รา การเติบโตเพียง 3% ในปัจจุบนั ขณะ ที่หากพิจารณาจากอัตราการเติบโต เฉพาะของสิ น เชื่ อ รถยนต์ ใ หม่ นั้ น มีการเติบโตได้ถึง 20%แล้ว อย่างไรก็ตาม คาดว่าในช่วง ทีเ่ หลือของปีอตั ราการส่งมอบรถยนต์ จะเพิ่มขึ้นอย่างมาก ตามการฟื้นตัว ของอุตสาหกรรมรถยนต์ จะส่งผลให้ สินเชื่อรถยนต์ในสิ้นปีนี้เติบโตได้ที่ 10 - 15% ซึ่งแม้ว่าจะต่ำ�กว่าเป้า หมาย แต่ธนาคารยังไม่มีการปรับลด เป้าหมายแต่อย่างใด ขณะเดี ย วกั น ธนาคาร อยูร่ ะหว่างขยายสัดส่วนของพอร์ตสิน เ ชื่ อ ร ถ ย น ต์ มื อ ส อ ง เ พิ่ ม ขึ้ น จากปัจจุบนั อยูท่ ี่ 10% ของพอร์ตรวม ซึ่ ง ถื อ ว่ า ได้ รั บ การตอบรั บ ที่ ดี จ าก ลู ก ค้ า มากขึ้ น ตลอดระยะเวลา

บีโอไอระบุต่างชาติยังมั่นใจลงทุนในไทย น า ง อ ร ร ช ก า สี บุ ญ เ รื อ ง เลขาธิการ สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยผลสำ�รวจความ เชื่อมั่นนักลงทุนต่างชาติ พบว่า นักลงทุน ต่างชาติทั้ง 404 บริษัทที่ทำ�การสำ�รวจ

ในรอบนี้ไม่มีแผนถอนการลงทุนออกจาก ไทยในช่วงปี 54 - 55 ขณะที่นักลงทุนต่าง ชาติ 49.8% ของจำ�นวนบริษัทที่สำ�รวจ ทัง้ หมด ยังวางแผนรักษาระดับการลงทุนใน ไทยเท่ากับปัจจุบัน ส่วนนักลงทุนต่างชาติ 46.8% มีเป้าหมายขยายกิจการเพิม่ ขึ้น โดยมองว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุน มากที่ สุ ด คื อ เสถี ย รภาพทางการเมื อ ง ของไทย และภาวะเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ นักลงทุนต่างชาติ ในกลุ่มที่มีแผนขยายกิจการ สามารถแบ่ง เป็น 2 กลุม่ คือมีแผนขยายกิจการเล็กน้อย ซึ่งมีสัดส่วน 29% และมีแผนขยายกิจการ อย่างมากอีก 17.8% เช่น กลุม่ อุตสาหกรรม บริการ อุตสาหกรรมโลหะ เคมีภัณฑ์ และ อิเล็ทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม มีกลุม่ นักลงทุน 3.4% มีแผนลดขนาดการลงทุนลง ซึ่งส่วน ใหญ่เป็นกลุ่มกิจการในอุตสาหกรรมเบา เช่น สิ่งทอ เครื่องประดับ และเครื่องหนัง “ปัจจัยทีน่ กั ลงทุนต่างชาติมองว่า เป็นส่วนสำ�คัญในการตัดสินใจเข้ามาลงทุน ในไทย คือ การให้สทิ ธิประโยชน์ของบีโอไอ และมาตรการสนับสนุนอื่นๆ ของภาครัฐ รวมถึงความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน และการมีแรงงานฝีมือเพียงพอ ตลอดจน อัตราค่าจ้างแรงงานที่เหมาะสม และมี อุตสาหกรรมชิ้นส่วน และอุตสาหกรรม สนับสนุนที่เข้มแข็ง ส่วนปัจจัยที่นักลงทุน มองว่าส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุน มากทีส่ ดุ ได้แก่เสถียรภาพทางการเมืองของ ไทย และสภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย”

ธปท.ชี้แรงกดดันเงินเฟ้อยังมีอยู่จากต้นทุนผลิต น า ย เ ม ธี สุ ภ า พ ง ษ์ การคาดการณ์เงินเฟ้อในอนาคต สำ � หรั บ ตั ว เลขเงิ น เฟ้ อ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายเศรษฐกิจ ในเดื อ น ส.ค. ทีก่ ระทรวงพาณิชย์ ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไท ย(ธปท.) เปิดเผยว่า ขณะนี้แรง แถลงเมื่อวานนี้ ออกมาใกล้เคียง กดดันด้านเงินเฟ้อยังคงมีอยู่จาก กับที่ ธปท.คาดการณ์ไว้ โดยเมื่อ การส่งผ่านต้นทุนของผู้ผลิตสินค้า วานนี้ (2 ก.ย.) กระทรวงพาณิชย์ ไปยังผู้บริโภค และคาดว่านโยบาย แถลง ตั ว เลขเงิ น เฟ้ อ เพิ่ ม ขึ้ น การปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ� และเงิน 4.29% จากช่ ว งเดี ย วกั น ปี ก่ อ น เดือนผูจ้ บปริญญาตรี น่าจะมีผลต่อ ส่ ว นดั ช นี ร าคาผู้ บ ริ โ ภคพื้ น ฐาน

(Core CPI) ซึ่ ง ไม่ ร วมหมวด อาหารสดและพลังงานใน ส.ค.เพิม่ ขึน้ 2.85% จากช่วงเดียวกันปีกอ่ น อย่ า งไรก็ ดี กระทรวง พาณิชย์ ยังคงคาดการณ์เงินเฟ้อ ในปี 2554 อยูใ่ นกรอบ 3.2 - 3.7% โดยเชื่อจากนี้เงินเฟ้อจะเริ่มลดลง จากการปรับลดราคาน้ำ�มันของ รัฐบาล ส่งผลให้ตน้ ทุนราคาสินค้า

แ ล ะ ก า ร ข น ส่ ง ป รั บ ตั ว ล ด ล ง เช่นเดียวกัน โดยประเมินว่าราคา น้ำ � มั นในขณะนี้ ไ ด้ ป รั บ ตั ว ลดลง 11.55% ส่งผลให้ช่วยลดแรงกดดัน เงินเฟ้อ 0.934% ซึ่งช่วงไตรมาส 4 คาดว่าเงินเฟ้อจะอยูท่ ี่ 3.6% ขณะที่ เงินเฟ้อพื้นฐานทั้งปีนี้ยังอยู่ในกรอบ เป้าหมายที่ 0.5 - 3% www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

บอร์ด SVI อนุมัติโครงการ ซื้อหุ้นคืน 55 ล้านหุ้น วงเงิน 275ลบ. นางพิศมัย สายบัว ผู้อ�ำ นวยการ ฝ่ายบัญชีและการเงิน บมจ.เอสวีไอ (SVI) แจ้งว่า ทีป่ ระชุมคณะกรรมการครัง้ ที่ 4/54 เมื่อวันที่ 2 ก.ย.54 ได้อนุมัติโครงการซื้อ หุ้นคืนเพื่อบริหารการเงิน ในวงเงิน 275 ล้านบาท คิดเป็นจำ�นวนหุ้นที่จะซื้อคืน ไม่เกิน 55 ล้านหุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 1 บาท จำ�นวนหุ้นที่จะซื้อคืน คิดเป็น 2.82% ข อ ง หุ้ น ที่ จำ � ห น่ า ยได้ แ ล้ ว ทั้ ง หมด โดยเป็นการซือ้ หุน้ คืนในตลาดหลักทรัพย์ฯ กำ � หนดระยะเวลาซื้ อ หุ้ น คื น ตั้ ง แต่ 17 ก.ย. 55 - 16 มี.ค. 58 หลักเกณฑ์ในการกำ�หนดราคาหุน้ ที่จะซื้อคืน โดยนำ�ราคาหุ้นเฉลี่ยย้อนหลัง 30 วันก่อนบริษทั ฯ จะทำ�การเปิดเผยข้อมูล ประกอบการพิ จ ารณากำ � หนดราคาหุ้ น ด้วยราคาซือ้ คืนไม่เกินกว่า 115% ของราคา ปิดของหุ้นเฉลี่ย 5 วันทำ�การซื้อขายก่อน

หน้าวันทำ�รายการซื้อหุ้นคืน ทั้งนี้ราคาหุ้น เฉลี่ยย้อนหลัง 30 วัน ตั้งแต่ 21 ก.ค. 1 ก.ย. 54 อยู่ที่ 4.61 บาท/หุ้น สำ�หรับเหตุผลการซื้อหุ้นคืน เพื่อ บริหารสภาพคล่องส่วนเกินของบริษัทให้ เกิดประโยชน์สูงสุด และเพื่อเพิ่มอัตราผล ตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) รวมถึง เพิ่มอัตรากำ�ไรต่อหุ้น (EPS) ARIP ลงทุน 40% “สแพลช อินเตอร์แอ็คทีฟ” ขยายธุรกิจด้าน TV Media รายงานข่าวจาก บมจ.เออาร์ไอพี (ARIP) แจ้งว่า บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญา ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เข้าร่วมลงทุนในบริษทั สแพลช อินเตอร์แอ็คทีฟ จำ�กัด ในการดำ�เนินธุรกิจ ด้านสื่อรายการโทรทัศน์ และขยายช่อง ทางการตลาดให้ครบวงจรมากขึ้น ปัจจุบันบริษัท สแพลช อินเตอร์ แอ็คทีฟ จำ�กัด มีทุนจดทะเบียน 16 ล้าน บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ 3,200,000 หุน้

News Station

หน้า 8

มูลค่าหุ้นละ 5 บาท โดย ARIP ถือหุ้นใน สัดส่วน 40% คิดเป็นหุ้นสามัญ 1,280,000 หุ้น จำ�นวนเงินลงทุน 6,400,000 บาท อนึง่ บริษทั สแพลช อินเตอร์แอ็คทีฟ จำ�กัด เป็นบริษัทที่ประกอบกิจการรับผลิต รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ รายการเคเบิล้ ทีวี ปัจจุบันเป็นเจ้าของรายการโทรทัศน์ และออกอากาศรายการทางสถานีโทรทัศน์ กองทัพบกช่อง 5 จำ�นวน 2 รายการ คือ รายการทางด้านไอที Cyber City และ รายการ Lighthouse Family ไลฟ์สไตล์ สำ�หรับคนยุคใหม่ ทัง้ นี้ การร่วมลงทุนในครัง้ นี้ เป็นการ ลงทุนที่สอดคล้องกับนโยบายของบริษัท ในการขยายธุรกิจทางด้านสื่อวิทยุโทรทัศน์

CYBER คาดรายได้ปี 55 ก้าวกระโดด นายชนินทร์เดช วานิชวงศ์ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.ไซเบอร์แพลนเน็ต อินเตอร์แอคทีฟ (CYBER) คาดว่า รายได้ ในปี 55 จะเติบโตก้าวกระโดด จากปี 54 ที่คาดว่า อาจจะน้อยกว่าหรือใกล้เคียง รายได้ ใ นปี 53 ที่ 90 กว่ า ล้ า นบาท หลังบริษัทฯ เข้าทำ �ธุรกิจผลิตแท็บเล็ต ซึ่ ง มี ต้ น ทุ น ต่ำ � กว่ า เกมส์ ที่ มี ต้ น ทุ น เฉลี่ ย 30 - 40% ประกอบกับธุรกิจเกมส์อยู่ใน ภาวะหดตัว หลังลูกค้ายุโรปและอเมริกา จากปัญหาเศรษฐกิจและความสนใจใน

เกมนินเทนโดลดลง โดยหันมาสนใจพวก ไอโฟนมากกว่า ซึ่งลูกค้าจากอเมริกามี สัดส่วน 70 - 80% จากปัจจัยดังกล่าวทำ�ให้บริษัทฯ หันมาเจาะตลาดในประเทศมากขึน้ และเน้น ผลิตแท็บเล็ตเข้าไปในธุรกิจขายตรงมากขึน้ โดยจะส่งผลต่อสัดส่วนรายได้ในปีหน้าเพิม่ ขึน้ เป็น 60% เกมส์ 20% โรงเรียน 20 - 30% นอกจากรายได้ทเี่ ติบโตยังสนับสนุนให้ก�ำ ไร ในปีหน้าเติบโตเพิ่มขึ้นด้วย ล่ า สุ ด บริ ษั ท ฯ ได้ เ ป็ น ผู้ ผ ลิ ต

แท็บเล็ต ให้สมาชิกนูไลฟ์ โดยตั้งเป้ายอด แทปเล็ต 1 หมืน่ เครือ่ ง/ปี จากสมาชิกนูไลฟ์ 1 แสนคน โดยทั้งโครงการมีสัญญาขาย ทั้งหมด 140 ล้านบาท เริ่มส่งมอบแท็บเล็ต ปลายเดือนต.ค.นี้เป็นต้นไป และรายได้จะ เข้ามาในไตรมาส 4/54 บางส่วน และจะ เข้าเต็มปีในปีหน้า

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

ตามรอย IPO

Gold Trend คนดังกับการลงทุน

Dynamic Station

หน้า 9

ประสบการณ์จากรายย่อย วัดอุณหภูมหิ นุ้ ร้อน

กิมเอ็งฯ เตรียมเข็น “ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์” เทรดต้นปี 55 บล.กิมเอ็งฯ สวมบทป๋าดัน เตรียมเข็นไอพีโอ “ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์” เข้าเทรดบนกระดานหุ้นต้นปี 2555 หลังคาด 2 - 3 เดือนจากนี้ยื่นให้ไฟลิ่ง ก.ล.ต. พิจารณา หวังนำ�เงินที่ได้ไปขยายพื้นที่ให้บริการ ศูนย์การแพทย์แบบองค์รวม และเวชศาสตร์การกีฬา รองรับการเปิดเสรีทางการค้า และบริการภายใต้ ข้อตกลงของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เบื้องต้นเสนอขายหุ้นไอพีโอ 25% ของทุนจดทะเบียน 535 ล้านบาท ระบุปัจจุบัน “กลุ่ม รศ.ดร.นพ.วิชัย วนดุรงค์วรรณ” ถือหุ้นใหญ่สัดส่วน 70% นายมนตรี ศรไพศาล ประธาน เ จ้ า ห น้ า ที่ บ ริ ห า ร บ ล . กิ ม เ อ็ ง (ประเทศไทย) ในฐานะที่ ป รึ ก ษาทาง การเงิน บริษัท ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์ จำ�กัด (มหาชน) เปิดเผยถึงความคืบหน้าการเข้า ซื้ อ ข า ยใ น ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) ว่าประมาณ 2 - 3 เดือนจากนี้ เตรียมยื่นแบบรายการแสดง ข้ อ มู ล (ไฟลิ่ ง ) เพื่ อ เสนอขายหุ้ น ของ บริ ษั ท ฯ ต่ อ สำ � นั ก งานคณะกรรมการ กำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) ก่อนจะเข้าเสนอขายหุ้นและเข้า ระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ภายในต้นปี หน้า โดยเบื้องต้นคาดว่าจะเสนอขายหุ้น IPO ในสัดส่วน 25% ของทุนจดทะเบียน จำ�นวน 535 ล้านบาท ซึ่งผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ ปั จ จุ บั น ของบริ ษั ท ฯ คื อ กลุ่ ม รศ.ดร.นพ.วิชัย วนดุรงค์วรรณ ถือหุ้นใน สัดส่วน 70% ขณะทีส่ ถาบันการเงินถือหุน้ 5% และทีเ่ หลือเป็นผูบ้ ริหารรวมทัง้ แพทย์ ทั้ ง นี้ ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารทาง การแพทย์ เ ป็ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ติ บ โตอย่ า ง สม่ำ�เสมอและมั่นคง แม้ในช่วงเศรษฐกิจ ชะลอตัว โดยในช่วงทีผ่ า่ นมาการประกอบ ธุ ร กิ จใ ห้ บ ริ ก า ร ท า ง แ พ ท ย์ มี ก า ร เปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ ง และมีการปรับ กลยุทธ์ให้สอดคล้องกับภาวะการแข่งขัน ที่รุนแรงขึ้น โดยในส่วนของธนาคารยังมี การขยายสาขาในรูปแบบคลินกิ ควบรวม

กิ จ การและทำ � กิ จ กรรมทางการตลาด เพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการค้า และ บริ ก ารภายใต้ ข้ อ ตกลงของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ด้าน รศ.ดร.นพ.วิชยั วนดุรงค์วรรณ ประธานกรรมการ บริษทั ศรีวชิ ยั เวชวิวฒั น์ จำ�กัด (มหาชน) กล่าวว่า เงินที่ได้จาก การระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ฯ บริษทั ฯ จะนำ �ไปขยายพื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารศู น ย์ ก าร แพทย์แบบองค์รวม และเวชศาสตร์การ กีฬา ซึง่ คาดว่าจะใช้เงินลงทุน 300 - 400 ล้านบาท ซึ่งเงินลงทุนจำ�นวนนี้ส่วนหนึ่ง มาจากกระแสเงินสดทีม่ อี ยูใ่ นมือประมาณ 100 - 200 ล้ า นบาท โดยการลงทุ น ดังกล่าวของบริษทั ฯ เป็นการรองรับความ สามารถแข่งขันการเปิดเสรีทางการค้า และบริการภายใต้ขอ้ ตกลงของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน สำ�หรับผลประกอบการปี 2554 คาดรายได้ของบริษัทฯ อยู่ที่ 1,500 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ที่มีรายได้ 960 ล้านบาท ส่วนในปี 2555 หลังจากลงทุน ในการขยายพืน้ ทีใ่ ห้บริการศูนย์การแพทย์ แบบองค์ ร วม และการลงทุ น ด้ า น เวชศาสตร์การกีฬา จะช่วยผลักดันให้ราย ได้ของบริษัทฯ ขยายตัว 20-30% อนึ่ ง บริ ษั ท ฯ อยู่ ใ นเครื อ โรงพยาบาลวิชัยเวช อินเตอร์เนชั่นแนล ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย โรงพยาบาลวิ ชั ย เวช

อินเตอร์เนชั่นแนล อ้อมน้อย, โรงพยาบาล วิ ชั ย เวช อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล หนองแขม, โรงพยาบาลวิ ชั ย เวช อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล สมุทรสาคร ซึ่งเครือโรงพยาบาลได้ปรับโฉม จากกลุ่มโรงพยาบาลศรีวิชัย

www.istationnews.com


Lifestyle Station

Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

ผู้มีปัญญาเป็นผู้สูงสุด

by Jackal_XIII

ศีลเท่านั้นเป็นเลิศในโลกนี้ ส่วนผู้มีปัญญาเป็นผู้สูงสุด “ทุกข์” เป็นสิ่งไม่พึงปรารถนาสูงสุด “ปัญญา” เท่านั้นจะทำ�ให้บรรลุความปรารถนาสูงสุด นั้นได้ “ปัญญาจึงเป็นสิ่งสูงสุด ผู้มีปัญญาจึงเป็นผู้สูงสุด” และ “ศีลเท่านั้นที่เป็นฐานแห่งปัญญา” ต้องตามพระพุทธภาษิตมีความว่า “ศีลเท่านั้นเป็นเลิศในโลกนี้ ส่วนผู้มีปัญญาเป็นผู้สูงสุด” เมื่อสิ่งที่เอาชนะได้ยากที่สุดคือ “ทุกข์” ปัญญาอันเป็นยอดของฐานคือศีลที่บริสุทธิ์มั่นคง ยัง สามารถเอาชนะได้ พระพุทธภาษิตจึงกล่าวด้วยว่า “ความชนะในหมูม่ นุษย์และ เทวดา ย่อมมีเพราะศีลและปัญญา” ------สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก--------

Photo Release

MFEC จับมือ McAfee นำ�ทีมนักกอล์ฟดวลวงสวิงการกุศล นายอดิเรก ปฎิทัศน์(แถวหลังที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.เอ็ม เอฟ อี ซี (MFEC) และ นายกิตติพงศ์ ทุมนัส (กลางแถวหลัง) ผู้จัดการ McAfee ประจำ � ประเทศไทย พร้ อ มลู ก ค้ า และ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ถ่ า ยภาพเป็ น ที่ ร ะลึ ก ร่ ว มกั น ภายหลังการร่วมแข่งขันกอล์ฟการกุศล “McAfee and MFEC Golf Charity Vol.1 ” ที่จัดขึ้นเพื่อเชื่อม ความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กร และรายได้ส่วนหนึ่งนำ� ไปสมทบทุนมอบให้แก่องค์กรการกุศล โดยงานดัง กล่าวจัดขึ้นที่สนามกอล์ฟ “Riverdale Golf Club” จังหวัด ปทุมธานี

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

Lifestyle Station

มุมการตลาด อเมริกัน สแตนดาร์ด เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ เอาใจทุกไลฟ์สไตล์ของการใช้ชีวิต มร.เคร็ ก เม็ ก เคคเคิ ร์ น (กลาง) กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท อเมริ กั น สแตนดาร์ ด บี แ อนด์ เค (ประเทศไทย) จำ � กั ด (มหาชน) ผู้นำ�ธุรกิจด้านสุขภัณฑ์สำ�หรับห้องน้ำ�ระดับโลกภายใต้แบรนด์อเมริกัน สแตนดาร์ด เปิดตัวคอลเล็กชั่นใหม่ ยูดีเอส คอลเล็คชั่น (UDS: Your Design Solutions) โดยมีชุดสุขภัณฑ์ โนบิเล่ และ ลาวิต้า ซึ่งถือเป็น 2 ใน 6 ของเทรนด์การออกแบบของโลกปีล่าสุด พร้อมด้วยคอลเล็คชั่นอื่นๆ ตอบสนองไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคทุกระดับ เพื่อการสร้างสรรค์ห้องน้ำ� ในฝันให้เป็นจริง

มุมประกัน 2 ตัวแทนไทยพาณิชย์ประกันชีวิต คว้ารางวัล “ตัวแทนคุณภาพดีเด่น ประกันชีวิตคุณภาพดีเด่น ประจำ�ปี 53 ซึ่งจัดขึ้นโดยสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ณ ตึกสันติไมตรี ทำ�เนียบรัฐบาล โดยนางสาวณัฐชานันท์ นันทพงศ์โภคิน ได้ รั บ รางวั ล ติ ด ต่ อ กั น 3 ปี ซ้ อ น ส่ ว นนางสาวรั ก ษิ ณ า เนยพลั บ ได้รับรางวัลติดต่อกันเป็นปีที่ 2

KIAT ปันน้ำ�ใจ มอบถุงยังชีพช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย นายสุรเชษฐ์ นัยนภาเลิศ (ที่ 4จากขวา) รองกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ บมจ.เกียรติธนาขนส่ง (KIAT) และ ธชา ธรรมเกษม (ที่ 1 จากซ้าย) ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล พร้อมด้วยพนักงาน บริษัทฯ ถ่ายภาพเป็นที่ระลึกร่วมกันในโอกาสร่วมกับ บมจ.ปตท. (PTT) มอบถุงยังชีพและเรือไฟเบอร์กลาส ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยที่อำ�เภอ บางระกำ� จังหวัดพิษณุโลก

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

IR Society

จิตรลดา จริยวิทยานนท์ เผยกลยุทธ์งานนักลงทุนสัมพันธ์

L&E ...

ตอนที่1

งานนักลงทุนสัมพันธ์ปั้นมากับมือ เดิมเริ่มจากการเข้ามาเป็นเลขาประธานกรรมการบริหาร L&E ต่อมา ได้รับมอบหมายดูแลงานนำ�ข้อมูลภายในองค์กรเผยแพร่ให้ผู้ลงทุนรับทราบ จวบจนปัจจุบันทำ�ทั้งหน้าที่เลขาประธานกรรมการบริหาร และผู้ประสานงาน นักลงทุนสัมพันธ์ร่วม 6 ปีแล้ว....... ซึ่งโดยปกติงานนักลงทุนสัมพันธ์เราจะมีการ วางแผนประจำ�ทุกปี การพบนักลงทุนของบริษัทฯ จะเป็นลักษณะการประชุม ผู้ถือหุ้น และการอัพเดทข้อมูลใหม่ๆ อาทิ การเปิดให้เยี่ยมชมโรงงาน และการ เยี่ยมชมโชว์รูมเปิดใหม่

สร้างภาพลักษณ์ งานด้านนี้เป็นเหมือนการเสริมสร้างภาพลักษณ์ให้กับองค์กร ซึง่ ถือเป็นการสร้างความพึงพอใจของผูท้ เี่ กีย่ วข้อง หรือ Stake Holder ให้มีความพึงพอใจในบริษัทฯ และรับทราบข้อมูลเดียวกัน เนื่องจาก บางครั้งผู้ลงทุนอาจจะมองเราในมุมหนึ่ง แต่เราอาจยืนอยู่ในอีก มุ ม หนึ่ ง ซึ่ ง ตรงนี้ ง านนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ จ ะเป็ น ตั ว กลางที่ จ ะ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่ถูกต้องให้ทั้งสองฝ่ายมีความเข้าใจในทิศทาง เดียวกัน และส่งผลให้หุ้นของบริษัทฯ เป็นหุ้นที่มีความน่าเชื่อถือ และมีนักลงทุนให้ความสนใจลงทุนระยะยาว ผสานศาสตร์หลายแขนง กลยุทธ์ที่ใช้ในการทำ�งานต้องผสมผสานระหว่างศาสตร์ หลายแขนงเข้าด้วยกัน ซึ่งต้องรู้แบบสหวิทยาการ ไม่ว่าจะเป็นด้าน การตลาด, บริหาร,ประชาสัมพันธ์,การเงินและบัญชี ซึ่งเราต้องมอง ตัวเองยังบกพร่อง เรายังขาดอยู่ และหมั่นไปศึกษาในด้านนั้นเพื่อเติม เต็มในสิ่งที่เราไม่รู้ให้ได้มากที่สุด

......อ่านต่อฉบับหน้า....

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

มองหุ้นจากเซียน

หน้า 13

เกี ยรติก้อง เดโช Vice President CIMBS

SET…ยังไม่อะไรน่าวิตก ก า ร เ ข้ า ซื้ อ ข อ ง นั ก ล ง ทุ น ต่างประเทศ ในตลาดหุ้นเอเชีย ในช่วงที่ ผ่านมา นอกเหนือจากมองว่าเศรษฐกิจใน โซนนี้จะยังขยายตัวรวมทั้งกำ�ไรสุทธิต่อหุ้น ของแต่ละตลาดยังไปได้ หากเรานำ�แนวคิด ดังกล่าวมาเปรียบเทียบกัน ในแง่ของผล ตอบแทนจากตลาดหรือ Earning Yield (1/PE) ของตลาดหุ้นในเอเชียไม่รวมญี่ปุ่น เที ย บกั บ ของอั ต ราผลตอบแทนพั น ธบั ต ร 10 ปีของสหรัฐ หรือ Earning yield gap ปัจจุบันส่วนต่างดังกล่าวเริ่มปรับตัวสูงขึ้น เรื่ อ ยๆ หากไม่ ร วมตอนเกิ ด เหตุ ก ารณ์ Sub Prime ในสหรัฐปี 2008 - 2009 ก็จะ พบว่ า อั ต ราส่ ว นต่ า งในปั จ จุ บั น สู ง ที่ สุ ด ในรอบ 15 ปี Earning Yield Gap ทีก่ ว้างออกไป กำ�ลังบอกว่า อัตราผลตอบแทนของตลาดหุน้ ในเอเชีย กำ�ลังดี (จากเศรษฐกิจ/กำ�ไรของ ตลาดยังดี) ในขณะที่อัตราผลตอบแทนจาก พันธบัตร 10 ปีสหรัฐ เริม่ ลด (จากมีเงินไหล เข้าไปพัก เพราะกลัวว่าเศรษฐกิจสหรัฐจะ เข้าสู่ภาวะถดถอย)

หากดูในตลาดหุ้นไทย เราเปรียบ เทียบอัตราผลตอบแทนจากเงินปันผลของ ตลาด (Dividend yield) เทียบกับอัตราผล ตอบแทนจากพันธบัตร 10 ปีของสหรัฐ พบ ว่าจะคล้ายๆกัน คือ ตอนนีผ้ ลตอบแทนจาก เงินปันผลของตลาดหุน้ ไทย กำ�ลังเพิม่ (จาก ตลาดหุ้ น ลงและมี ก ารจ่ า ยปั น ผลเพิ่ ม ขึ้ น (Payout Ratio) จากการที่กำ�ไรเพิ่มขึ้น) ส่ ว นผลตอบแทนจากพั น ธบั ต ร 10 ปี ยังทรงตัวในระดับต่�ำ คือประมาณ 2% ต้นๆ ซึง่ ยังมองกันว่าจะยังทรงตัวในระดับนีต้ อ่ ไป อีกพักใหญ่ เนื่องจากนักลงทุนยังไม่มั่นใจ กับเศรษฐกิจสหรัฐ ส่วนต่าง Yield gap ของทั้ง 2 ในขณะนี้ ยังเป็นบวก ซึ่งเมื่อมองจากอดีต จะพบว่า มีส่วนอย่างมากที่ทำ�ให้ดัชนี SET ปรั บ ตั ว ขึ้ น และจะขึ้ น มากกว่ าในช่ ว งที่ ส่วนต่างดังกล่าวติดลบ (2002 - 2007) นอกจากการประเมินเรื่องผลตอบแทนแล้ว เรามองว่าในขณะนี้ ตลาดหุ้นในเอเชียรวม ทัง้ ไทย กำ�ลัง จะมีเม็ดเงินไหลเข้า รอบใหม่ เนื่องจาก 1. แรงหนุนจากผลดำ�เนินงานที่

ยังเติบโต (EPS Growth) โดยค่า Earning revision ratio 3 เดือนของไทยสูงทีใ่ นเอเชีย 2. เศรษฐกิจยังขยายตัวได้สูงกว่าในยุโรป และสหรัฐ และ 3. บางประเทศยังมีนโยบาย กระตุ้นเศรษฐกิจภายใน ในอาทิตย์นี้ เหตุการณ์ทตี่ อ้ งจับตา มองคือ 1. การแถลงนโยบายเศรษฐกิจของ ประธานาธิบดีสหรัฐ เรือ่ งกระตุน้ การจ้างงาน และการแถลงนโยบายเศรษฐกิ จ ของไทย 2. ตัวเลขเงินเฟ้อในจีน และ 3. การประชุม ธนาคารกลางกลุ่มยูโร (ECB) ส่วนปัจจัย กดดันตลาดยังคงเป็นเรื่องความกังวลเรื่อง PTTEP จะเพิ่มทุน ซึ่งประเด็นยังต้องรอให้ ทาง PTTEP ประกาศหรือแถลงออกมา ในอาทิตย์นี้ เรามองว่า ดัชนี SET จะเคลื่อนไหวในทิศทางที่ดีขึ้น หลังจากที่มี การปรั บ ฐานไปในอาทิ ต ย์ ที่ ผ่ า นมา จากปัจจัยหนุนของ ทิศทางตลาดหุ้นในต่าง ประเทศ โดยเรามองว่าจะขึ้นไปในระดับ 1,090 และ 1,100 จุด

www.istationnews.com


Data Station

Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันย�ยน 2554

ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 2 กันย�ยน 2554

Stock Exchange of Thailand [SET] [Day]

TRADING BY INVESTOR TYPE

Type

Institute

Proprietary

Foreign Local

Buy

Sell

Net

1,901.11 8.64% 2,691.97 12.23% 4,356.50 19.80% 13,052.63 59.32%

2,842.13 12.92% 2,953.56 13.42% 5,952.36 27.05% 10,254.16 46.61%

-941.02

Last Update

-261.59 -1,595.86 2,798.47 02/09/11

Index

Last

SET SET 50 SET 100 MAI SET Value MAI Value Last Updated

1,065.18 742.3 1,617.88 298.18

02/09/2011

Chg

%Chg

-3.95 -3.95 -7.74 3.64 (Mil. ฿) (Mil. ฿)

-0.37 -0.53 -0.48 1.24 22,002.21 671.63

17:01:53

AGRO 2 A dv ance 36%

D ecline 35%

1.58

1.5

TECH

No C hange 29%

1 0.5

CONSUMP 0.25 -0.24

0 -0.5

0.05

SERVICE

No C hange 35%

A dv ance 38%

FINCIAL

-1.5

-1.17 D ecline 27%

-0.24

-1

-0.65 -1.13

RESOURC

INDUS

PROPCON

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันย�ยน 2554

หน้� 15

ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 2 กันยย�ยน 2554

PTT

( Day )

: PTT 1,800,000 1,600,000

Price & Fundamental Symbol PTT

Last 328.00 Chg -2.00 %Chg -0.61 Open 332.00 High 332.00 Low 325.00 Prev 330.00 Avg 328.01 AccVol 4,764,500 AccVal(K฿) 1,562,826 2.13 %Fluct P/E 8.48 P/BV 1.78 DPS(Baht) 6.00 Yield(%) 3.10 EPS(Baht) 38.69 MktCap(Mil.) 936,237 Broker Target Update KS 439.00 31/8/2011 หลักทรั พย์ทม่ี เี ปอร์เซ็442.00 นต์การเปลีย่ 31/8/2011 นแปลง CGS ของราคาเพิ ส่ ดุ และมีมลู 30/8/2011 ค่าการ KTZ ม่ ขึน้ มากที 337.00

ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010

1,400,000 1,200,000

Vol.

1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 332.00

331.00

330.00

Price

329.00

328.00

327.00

326.00

325.00

0

ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันย�ยน 2554

หน้� 16

Top MostActive Gainer ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 2 กันยย�ยน 2554

PT

( Day )

Price & Fundamental Symbol PT

Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.) Broker

3.70 0.38 11.45 3.34 3.94 3.32 3.32 3.67 85,933,800 315,775 16.89

6.27 2.20 0.10 4.52 0.59 525 Target Update No Comment

Volume Analysis

: PT

10,000,000 9,000,000 8,000,000 7,000,000

Vol.

6,000,000 5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 3.94 3.92 3.90 3.88 3.86 3.84 3.82 3.80 3.78 3.76 3.74 3.72 3.70 3.68 3.66 3.64 3.62 3.60 3.58 3.56 3.54 3.52 3.50 3.48 3.46 3.44 3.42 3.40 3.38 3.36 3.34 3.32

0

Price

ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันย�ยน 2554

Top MostActive Compare AVG Vol5 ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 2 กันย�ยน 2554

EARTH

( Day )

Price & Fundamental Symbol EARTH

Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.) Broker

Volume Analysis

: EARTH

14,000,000 12,000,000

4.78 0.46 10.65 4.40 4.78 4.36 4.32 4.62 101,028,600 466,835 9.09

47.80 21.73 N/A N/A 0.10 10,625 Target Update No Comment

หลักทรัพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็นต์การเปลีย่ นแปลง ของราคาเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ และมีมลู ค่าการ ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010

10,000,000

Vol.

8,000,000 6,000,000 4,000,000 2,000,000

ATO/C Volume 4.78

4.76

4.74

4.72

4.70

4.68

4.66

4.64

4.62

Price

4.60

4.58

4.56

4.54

4.52

4.50

4.48

4.46

4.44

4.42

4.40

4.38

4.36

0

Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 686 ประจำ�วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2554

คำ�คมการลงทุน

หน้า 18

ผูจ้ ดั ทำ� บริษทั ออนไลน์แอสเซ็ท จำ�กัด

“ซื้อถัวคือชีวิต ซื้อแล้วติดคือกำ�ลังใจ” Anonymous

466 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 --คณะทีป่ รึกษา-พรเลิศ เตชะรัตโนภาส ดวงสุรยี ์ วายุบตุ ร์ --บรรณาธิการ-เอกอนันต์ เสรีรตั นะชัย --กองบรรณาธิการ และฝ่ายสนับสนุน--ข่าวต่างประเทศ วรเชษฐ์ พันธ์ภวู งศ์ -ข่าวตลาดเงิน ตลาดทุน ศราพงค์ นันติวงค์ พิมพ์รภัส ศิรไิ พรวัน ศุภวรรณ วราภรณ์ -ข่าวตลาดอนุพนั ธ์ สุรเมธี มณีสโุ ข --ฝ่ายศิลปกรรม-ยุภาจิตร์ วัชระธัญเจริญ ประกาศิต คุณครอง วีระชัย ปัตลา ภูวนาท สุขเกษม อัษฎา วรรณธนาสิน

สนใจติดต่อโฆษณา วีรตรี ศิรสิ มบัติ (ฝ่ายการตลาด) Tel : 0-2541-4011 Fax : 0-2541-4017 Mobile: 084-939-8881

weeratree@efinancethai.com

www.istationnews.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.