Investor_station 22 ธ.ค. 2554

Page 1

Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554 www.istationnews.com

www.istationnews.com ews.com

สถานีนักลงทุน หนังสือพิมพ์ดิจิตอลรายวัน เพื่อการลงทุน

www.istationnews.com

www.istationnews.com

www.

ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

News Station

www.istationnews.co 5

www.istationnews.com ews.com

www.istationnews.com

www.istationnews.com

www.istationnews.com

www.

www.istationnews.co

www.istationnews.com

www.

TRUE คุยรายได้ปนี ดี้ เี กินเป้าหมาย

รับ 55 ขาดทุนต่อ หวังทรูมฟ ู เอชดัน 56 พลิกกำ�ไร TRUE คาดปีหน้ายังขาดทุน แต่เชื่อปี 56 พลิกมีกำ�ไร หลังเตรียมทุ่ม 2 - 2.3 หมื่นล้านบาท ลงทุนโครงข่าย 3G ที่จะเปิดประมูลในปีหน้า และเตรียมทดลอง 4G เชื่อดันผลงานแจ่มแน่ ตั้งเป้ารายได้ปี 55 โตตัวเลขหลักเดียวใกล้เคียง GDP ที่มองโต 4 - 5% ส่วนปีนรี้ ายได้เกินเป้า แย้มปีหน้าอาจออกหุน้ กูร้ ะยะสัน้ ประมาณ 6 เดือนเพือ่ ใช้เป็น ทุนหมุนเวียนในธุรกิจมือถือ ต่อหน้า 3

กว่าจะมาเป็นเสือ

7

R&I ลดเครดิตญี่ปุ่นลงสู่ AA+ จาก AAA เหตุหนี้สินยังสูง กิตติรัตน์ย้ำ�ธปท.ต้องลดดบ.อีก เพื่อกระตุ้นศก.

8

CHOW ชงบอร์ดปันผล ก.พ. 55

9

Dynamic Station แนวคิดเกี่ยวกับไอพีโอ

10

Lifestyle Station ดูแลให้บาดแผลหายเร็ว

13

มองหุ้นจากเซียน เขียวต่อ

14

Data Station

TTW วางงบลงทุนปีหน้ากว่า 7 พันล. เน้นธุรกิจไฟฟ้า, คาดรายได้โต 15%

ต่อหน้า 3

บอร์ด TUF ไฟเขียวเทนเดอร์หนุ้ PPC ต่อหน้า 4

SET News

เจาะลึก อนาวิล

จิรธรรมศิริ ซีอีโอดาวรุ่งแห่ง CHOW ตอนที่ 3

ต‡อหนˆา 12

BIGC เลื่อนประชุมผถห. อนุมัติแผนเพิ่มทุน ต่อหน้า 8

WORK

ราคาเป้าหมาย 16.50 บาท ต่อหน้า 6 www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 742 ประจำ�วันพุธ ที่ 23 พฤศจิกายน 2554

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

News Station

TRUE คาด (ต่อจากหน้า 1)

อี ก ทั้ ง ยั ง คาดว่ า การดำ � เนิ น งาน ตรวจสอบสัญญาของ Hutch จะ สะท้อนถึงความถูกต้องของสัญญา ที่มีอยู่แล้ว และคาดหวังว่าหน่วย งานที่ กำ � กั บ ดู แ ลจะสามารถให้ ทิศทางที่ชัดเจนกรณีสัมปทานของ ผู้ ป ระกอบการต่ า งๆ ที่ กำ � ลั ง จะ หมดอายุลง

ขณะเดี ย วกั น ในปี ห น้ า บริษัทฯ มีแนวโน้มที่จะเริ่มทดลอง ร ะ บ บ 4 G บ น ค ลื่ น 1 8 0 0 เมกะเฮิรตซ์ โดยจะเป็นการทดลอง รูปแบบใดนั้น ต้องขึ้นอยู่กับการ พิจารณาของ กสทช.ก่อน ซึ่งอาจ จะเป็นไปในทิศทางของการทดลอง ระบบและในเชิงเทคนิคในเบื้องต้น

ด้านแนวโน้มรายได้ของ ธุ ร กิ จ กลุ่ ม ทรู ใ นปี นี้ จ ะสามารถ เติบโตถึงเป้าหมายทีว่ างไว้ โดยใน ช่ ว งต้ น ปี ที่ ผ่ า นมาคาดว่ า การ เติ บโตจะอยู่ ใ นเลขหลั ก เดี ย วที่ อยู่ ใ นระดั บ ต่ำ � แต่ จ ากการ ดำ�เนินงานที่ผ่านมาเชื่อว่าในสิ้นปี นีร้ ายได้จะสามารถเติบโตในระดับ ตั ว เลขหลั ก เดี ย วในระดั บ สู ง ขณะทีก่ ารตัง้ เป้าหมายรายได้ในปี หน้ า จะยั ง คงคาดว่ า เพิ่ ม ขึ้ นใน ระดับตัวเลขหลักเดียว โดยอาจมี อัตราการเติบโตใกล้เคียงกับอัตรา การขยายตั ว ของเศรษฐกิ จไทย หรื อ จี ดี พี ที่ค าดว่ าจะเติ บโตได้ 4 - 5% ในปี 55 ส่วนธุรกิจ True Move H จะสามารถเข้าใกล้จุดคุ้มทุนได้ใน ปีหน้า โดยต้องมีลูกค้ามากกว่า 4 ล้ า นราย ซึ่ ง ปั จ จุ บั น อยู่ ที่ ประมาณ 7 - 8 แสนราย ซึ่ ง ต่ำ � กว่ า เป้ า หมายในปี นี้ ที่ เ ดิ ม คาดไว้ ว่ า จะอยู่ ที่ 1 ล้ า นราย โดยเกิดจากผลกระทบในช่วงภาวะ น้ำ�ท่วม จึงทำ�ให้ไม่สามารถออก แคมเปญกระตุ้นลูกค้าได้ นอกจากนี้ ในปี ห น้ า บริ ษั ท ฯ มี โ อกาสที่ จ ะออกหุ้ น กู้ ระยะสั้น อายุ 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี โดยมูลค่าไม่มากนัก เพื่อใช้ เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำ�เนิน ธุรกิจประเภทเครือ่ งมือสือ่ สาร แต่ อย่ า งไรก็ ต ามยั ง ไม่ มี ก ารเริ่ ม ดำ � เนิ น การดั ง กล่ า วหรื อ เตรี ย ม วางแผนแต่อย่างใด เป็นเพียงแนว ความคิดเท่านั้น

TTW (ต่อจากหน้า 1)

ทั้งนี้ บริษัทฯ อยู่ระหว่าง การพิ จ ารณาดี ล เกี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ไฟฟ้า 6 ดีล คาดว่าจะได้ข้อยุติ อย่างน้อย 3 ดีลใน Q1/55 คาดจะ ใช้เงินลงทุน 4 - 5 พันล้านบาท ได้แก่ การเข้าซือ้ หุน้ ในบริษทั ซี เค พาวเวอร์ จำ�กัด และ Q2/55 คาด จะปิดดีลได้อีก 3 โครงการ ใช้เงิน ลงทุน 2.5 พันล้านบาท บริษัทฯ จะเน้นเข้าลงทุนพลังงานสะอาด

ขณะที่ ตั้ ง เป้ า ในปี 55 รายได้เติบโต 15% จากปีนี้ที่คาด จะมี ร ายได้ 4,650 ล้ า นบาท ตามปริมาณขายน้ำ�ประปา และ ราคาขายที่ น่ า จะปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ส่ ว นรายได้ อื่ น ที่ ไ ม่ ใ ช่ ธุ ร กิ จ น้ำ�ประปาจะเพิ่มเป็น 35% ของ รายได้รวม จากปีนที้ มี่ สี ดั ส่วนเพียง 4% โดยคาดว่าบริษทั จะเริม่ รับรูร้ าย ได้ จ ากบริ ษั ท ซี เค พาวเวอร์

ในปีหน้าจำ�นวน 190 ล้านบาท สำ�หรับปี 54 คาดกำ�ไร สุ ท ธิ น่ า จ ะ ม า ก ก ว่ า ปี ก่ อ น ซึ่ ง บริ ษั ท รั บ ผลกระทบน้ำ � ท่ ว ม เพียงเล็กน้อยเท่านั้น บริ ษั ท ฯ มี แ ผนขยาย กำ�ลังการผลิตที่โรงงานปทุมธานี เพิ่ ม เป็ น 4.5 แสน ลบ.ม/วั น จากปั จ จุ บั น ผลิ ต ที่ 3.8 แสน ลบ.ม./วัน

นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริหาร บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) เปิดเผยว่า ผลการดำ � เนิ น งานโดยรวมในปี หน้ า คาดว่ า อาจจะยั งไม่ มี กำ �ไร เนื่องจากยังจะต้องมีการลงทุนใน ระบบ 3G ค่อนข้างสูง แต่จากนัน้ ในปีถัดไป หรือปี 56 คาดว่าจะ สามารถพลิกเป็นกำ�ไรได้ หากผล การดำ�เนินงานในปี 55 ทุกอย่าง เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งนี้ในปีหน้าบริษัทฯ ได้ เตรียมเม็ดเงินลงทุนไว้ที่ 2 - 2.3 หมืน่ ล้านบาท โดยไม่จ�ำ เป็นต้องกู้ เงินเพิ่ม เนื่องจากยังคงมีวงเงินกู้ เดิมที่ 4.9 หมื่นล้านบาท ซึ่งส่วน หนึ่งจะถูกนำ�ไปลงทุนในพันธบัตร และอีกส่วนหนึ่งจะนำ�มาลงทุนดัง กล่าว อีกทั้งบริษัทฯ ยังมีเงินสด จากการดำ�เนินงานทีเ่ พียงพอ เงิน ลงทุนดังกล่าว ส่วนใหญ่จะถูกนำ� ไปลงทุนเรื่องโครงข่าย 3G ให้มี ความครอบคลุมในทุกพื้นที่มาก ที่สุดในจำ�นวนมากกว่า 1.5 หมื่น ล้านบาท และที่เหลือจะใช้ในการ ขยายบรอดแบนด์ เ น็ ต เวิ ร์ ก ทั่ ว ประเทศ ขณะที่ ม องว่ าในปี ห น้ า ภายหลังจากทีม่ กี ารจัดตัง้ กสทช. จะทำ�ให้สามารถเพิ่มความชัดเจน ของกฎระเบี ย บต่ า งๆ ของ โทรคมนาคมได้มากขึน้ ซึง่ คาดว่า จะมี ก ารประมู ล ออกใบอนุ ญ าต 3G ได้ในปี 55 แต่ยังไม่สามารถ คาดได้ว่าจะเกิดขึ้นในไตรมาสใด น า ย ส มโ พ ธิ ศ รี ภู มิ กรรมการผู้จัดการ บมจ.น้ำ�ประปา ไทย (TTW) เปิ ด เผยว่ า บริษัทฯ ตัง้ งบลงทุน 7 พันล้านบาทในปี 55 โดยเน้ น การลงทุ น ธุ ร กิ จ ไฟฟ้ า (บริษัทฯ ตั้งงบ 5 ปี (ปี 55 - 59) จำ�นวน 1.9 หมื่นล้านบาท มุ่งการ ลงทุนในธุรกิจพลังงานสะอาดทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ)

ต่อหน้า 4 www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

TTW (ต่อจากหน้า 3)

ขณะที่โรงงานนครปฐมสมุทรสาคร อยู่ระหว่างศึกษาการ เพิ่มกำ�ลังการผลิตจากปัจจุบันที่มี อยู่ 4.4 แสน ลบ.ม./วัน นอกจากนี้ คณะกรรมการ บริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติออกหุ้นกู้ จำ�นวน 3,500 ล้านบาท คาดว่า จะออกต้นเดือน ก.พ. 55 กำ�หนด อายุให้ยาวขึ้นเป็น 7 ปี และ 10 ปี จากเดิม 3 - 5 - 7 ปี โดยหุ้น กูเ้ ดิม 3,500 ล้านบาทจะครบอายุ ไถ่ถอนในช่วงปลายเดือน ก.พ. ขณะเดี ย วกั น บริ ษั ท ฯ จะไม่เพิ่มทุนและจะพยายามจ่าย ปั น ผลให้ ผู้ ถื อ หุ้ น สม่ำ � เสมอ

News Station

หน้า 4

สำ � หรั บ ผลประกอบการปี 55 ถึงแม้บริษทั จะต้องเสียภาษี เพราะ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี ข อง มาตรการส่งเสริมการลงทุน (BOI) สำ � หรั บ กำ � ลั ง การผลิ ต 3 แสน ลบ.ม./วั น แรก จะสิ้ น สุ ด ตั้ ง แต่ เดือน ก.ค. 55 เป็นต้นไป แต่ก็ยัง เชื่อว่าผลประกอบการจะเป็นบวก ได้จากปริมาณการใช้น้ำ�ที่เพิ่มขึ้น และบริษัทฯ ยังมีแผนปรับขึ้นค่า บริการน้ำ�ประปาอีก 3.5 - 4.0% เริ่มในวันที่ 1 ม.ค. 55

บอร์ด TUF (ต่อจากหน้า 1)

รายงานข่าวจาก บมจ. ไทยยู เ นี่ ย น โฟรเซ่ น โปรดั ก ส์ (TUF) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะ กรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 7/54 วันที่ 21 ธ.ค. 54 มีมติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ ทำ � คำ � เสนอซื้ อ หุ้ น ทั้ ง หมดของ บมจ.แพ็คฟู้ด (PPC) โดยความ สมั ค รใจ (Voluntary Tender Offer) จากผู้ถือหุ้น PPC ทุกราย ซึ่งการซื้อหุ้นดังกล่าวอยู่ภายใต้ บั ง คั บ ของเงื่ อ นไขบั ง คั บ ก่ อ น ตามที่ระบุในสัญญาที่เกี่ยวข้อง ทั้ ง นี้ การซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของ PPC ดังกล่าวเป็นการได้มา ซึ่งสินทรัพย์ ตามประกาศคณะ กรรมการกำ�กับตลาดทุนที่ ทจ. 20/2551 เรื่องหลักเกณฑ์ในการ ทำ�รายการที่มีนัยสำ�คัญที่เข้าข่าย เป็นการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่ง ทรั พ ย์ สิ น และประกาศคณะ กรรมการตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เรื่ อ งการเปิ ด เผย ข้ อ มู ล และการปฏิ บั ติ ก ารของ บริษทั จดทะเบียนในการได้มาหรือ จำ � หน่ า ยไปซึ่ ง สิ น ทรั พ ย์ พ.ศ. 2547 รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม

(ประกาศเรื่องการได้มาจำ�หน่าย ไป) และเมื่อคิดคำ�นวณขนาดของ รายการกรณี ไ ด้ ม าซึ่ ง หุ้ น สามั ญ ทั้งหมดของ PPC ขนาดรายการ คาดว่าจะมีมลู ค่าต่�ำ กว่า 15% ของ สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ ณ วันที่ 30 ก.ย. 54 จึงไม่ตอ้ งขอความเห็น ชอบจากผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท ฯ ในการเข้าซื้อหุ้นสามัญของ PPC ดังกล่าว ขณะที่ ร ายงานข่ า วจาก PPC ระบุวา่ ได้รบั แจ้งจากผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ คือ กลุ่มอารีเจริญเลิศ และ/ หรือ กลุม่ กนกวัฒนาวรรณ จำ�นวน 9 รายว่าได้เข้าทำ�สัญญาซือ้ ขายหุน้ กับ TUF เมื่อวันที่ 21 ธ.ค. 54 ที่ จะขายหุ้นให้แก่ TUF จำ�นวนไม่ เกิน 40% หรือคิดเป็นไม่เกิน 12 ล้านหุน้ ของหุน้ สามัญทีจ่ ำ�หน่ายได้ ทั้งหมดของบริษัทฯ การขายหุน้ ของผูถ้ อื หุน้ 9 รายดังกล่าวให้แก่ TUF อยู่ภายใต้ เงื่ อ นไขบั ง คั บ ก่ อ นที่ สำ � คั ญ ตาม สัญญาซื้อขายหุ้น ดังต่อไปนี้ คือ ผลการตรวจสอบสถานะกิ จ การ (Due Diligence) เป็นที่พอใจของ

TUF, งบดุลและบัญชีของบริษัทฯ ก.ย. 54 จากการสอบทานของผู้ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 54 ได้รับอนุมัติ ตรวจสอบบัญชี 28.77 บาทต่อหุน้ ) เมือ่ เงือ่ นไขบังคับก่อนเป็น จากคณะกรรมการของบริษัทและ ได้ รั บ การตรวจสอบจากผู้ ส อบ ผลสำ�เร็จ TUF จะดำ�เนินการทำ�คำ� บัญชี ภายในวันที่ 29 ก.พ. 55 เสนอซือ้ หลักทรัพย์ตามหลักเกณฑ์ เพื่ อ TUF ได้ ต รวจทาน และ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยผู้ถือหุ้น 9 ราย บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ มติ จ ากที่ ป ระชุ ม ดังกล่าวจะขายให้แก่ TUF ภายใน ผู้ถือหุ้นอนุมัติให้ดำ�เนินการตาม ระยะเวลาของการทำ�คำ�เสนอซื้อ สัญญาซื้อขายหุ้นและดำ�เนินการ หลักทรัพย์ดงั กล่าว และเมือ่ การซือ้ ขายหุ้ น เป็ น ผลสำ � เร็ จ แล้ ว จะมี ใดที่เกี่ยวข้อง สำ � ห รั บ ร า ค า หุ้ น ที่ ตั ว แทนของ TUF เข้ า ร่ ว มเป็ น ผู้ถือหุ้น 9 รายดังกล่าวจะขายให้ กรรมการในคณะกรรมการของ แก่ TUF จะใช้ราคาตามมูลค่าบัญชี บริ ษั ท ฯ ด้ ว ยการบริ ห ารจั ด การ ปรากฎตามงบการเงินของบริษัทฯ บริษัทฯ อยู่ภายใต้การดำ�เนินการ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 54 ที่ตรวจสอบ ของคณะผู้ บ ริ ห ารปั จ จุ บั น ของ แล้ วโดยผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ บริษัทฯ (ราคามูลค่าตามบัญชี ณ.วันที่ 30

www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

R&I ลดเครดิตญี่ปุ่นลงสู่ AA+ จาก AAA เหตุหนี้สินยังสูง

รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ เรทติง้ แอนด์ อินเวสเมนต์ อินฟอร์เมชั่น อิงค์ (R&I) ซึ่งเป็นบริษัท จัดอันดับความน่าเชื่อถือของญี่ปุ่น ได้ประกาศลด อันดับความน่าเชือ่ ถือพันธบัตรรัฐบาลญีป่ นุ่ ลงสูร่ ะดับ AA+ จาก AAA ซึ่งทำ�ให้ R&I กลายเป็นสถาบัน จัดอันดับรายแรกที่ปรับลดความน่าเชื่อถือของญี่ปุ่น R&I ระบุว่า สาเหตุที่ทำ�ให้ R&I ปรับลด อันดับความน่าเชื่อถือของญี่ปุ่นในครั้งนี้ เนื่องจาก แผนการขึน้ ภาษีอปุ โภคบริโภคไม่สามารถทำ�ให้สดั ส่วน หนี้ต่อตัวเลขจีดีพีของรัฐบาลปรับตัวลดลงได้ ซึ่ง ปัจจุบนั สัดส่วนหนีต้ อ่ จีดพี ขี องญีป่ นุ่ อยูใ่ นระดับสูงสุด เมือ่ เทียบกับประเทศอืน่ ๆในกลุม่ ประเทศอุตสาหกรรม อย่างไรก็ดี R&I ยังคงแนวโน้มอันดับความ น่าเชื่อถือของญี่ปุ่นไว้ที่ “มีเสถียรภาพ”

จากปีก่อนเนื่องจากโรงงานส่วนใหญ่ขาดศักยภาพ การแข่งขันในตลาด

จีนเผยผลผลิตมูลค่าเพิ่มภาคอุตฯ อาจลดลงต่อในปีหน้า

รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า นายฮวง หลีปิน เจ้าหน้าที่ประจำ�กระทรวงอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศของจีน กล่าวว่า อัตราการขยายตัวของผลผลิต มูลค่าเพิ่มภาคอุตสาหกรรมลดลงในไตรมาส 4 และ อาจจะชะลอตัวอยู่ในเกณฑ์ปานกลางต่อไปอีกในปีหน้า อัตราการขยายตัวผลผลิตโรงงานลดลง 12.4% ในเดือนพ.ย.จาก 13.2% ในเดือนต.ค. ขณะที่อัตราการ ขยายตัวของกำ�ไรภาคอุตสาหกรรมลดลง 25.3% ในช่วง 10 เดือนแรกของปีนี้ จาก 34.3% ในเดือนม.ค.และก.พ. “ภาควัตถุดบิ และสินค้าผูบ้ ริโภคยังคงทรงตัว ขณะที่ยังมีความแตกต่างในการขยายตัวของภาคการ ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนอุตสาหกรรมการผลิต เครื่องมือและอุปกรณ์เผชิญกับการชะลอตัวครั้งใหญ่” นายฮวงกล่าว ในช่วง 10 เดือนแรกของปีนี้ การขาดทุนของ บริษัทขนาดใหญ่ในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 57.7%

AFET “พักฐาน”

เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์ บริษทั พัฒนาเกษตรล่วงหน้า จำ�กัด (PAF) RSS3 - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 514 สัญญา สถานะคงค้าง, สัญญา - ปิด 113.80 บ./ก.ก. เพิม่ ขึน้ 2.70 บาท (สัญญาส่งมอบเดือนก.ค. 55) ปัจจัยบวก - เส้นเทคนิคยังแกร่งเหนือ 110 บ./ก.ก. - ผูค้ า้ เร่งสต็อกยางก่อนปีใหม่ - เงินบาทอ่อนค่าเมือ่ เทียบกับเงินเยน ปัจจัยลบ - พักฐานระยะสัน้ - ศก.ยุโรปยังคลุมเครือ กลยุทธ์ - ซือ้ หากยืน 110 บ./ก.ก. (สัญญาส่งมอบเดือนก.ค. 55) - แนวรับ 110บ./ก.ก. - แนวต้าน 115 บ./ก.ก.

หน้า 5

ธ.กลางญี่ปุ่นเตือนการฟื้นศก.ชะงัก หลังเยนแข็งค่า-วิกฤตหนี้ยุโรป

รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า ธนาคาร กลางญี่ปุ่นได้ปรับเพิ่มการเตือนเรื่องความเสี่ยงที่จะ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ โดยเผยว่า การฟื้นตัวของ เศรษฐกิจนัน้ หยุดชะงัก ท่ามกลางผลกระทบจากการ แข็งค่าของเงินเยน และการขยายตัวทีช่ ะลอตัวลงของ เศรษฐกิจโลกช่วงวิกฤตหนี้ยุโรป ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้เผยแพร่แถลงการณ์ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเตือนเรื่องสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจภายหลังการประชุมบอร์ด ซึ่งที่ประชุมได้มี มติคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับ 0 - 0.1% รวมทั้งคง โครงการซื้อสินทรัพย์ไว้ เพื่อกระตุ้นการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ โดยที่คณะกรรมการบริหารธนาคาร กลางญี่ปุ่นทั้ง 9 รายนั้น มีมติเป็นเอกฉันท์

TFEX

“เทคนิคขยับกรอบแคบ - เก็งกำ�ไร”

เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยวิเคราะห์ บล.กรุงศรีอยุธยา SET50 Futures - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 9,894 สัญญา สถานะคงค้าง 29,923 สัญญา - ปิด 727.20 จุด ลดลง 0.10 จุด (สัญญา SZ5011 ธ.ค. 54) ปัจจัยบวก - ผลตอบรับพันธบัตรสเปนดีเกินคาด - ตัวเลขศก.สหรัฐฯ ออกมาดี - LTF & RMF ลุยหุน้ ปลายปี - ต่างชาติซอ้ื สุทธิหนุ้ ไทย 852.87 ล้านบาท ปัจจัยลบ - เทคนิคขยับในกรอบ กลยุทธ - เก็งกำ�ไร (สัญญา S50Z11 ธ.ค. 54) - แนวรับ 720 จุด - แนวต้าน 727 จุด ถัดไป 733 จุด - SET50 ประเมินแนวรับ 730 จุด แนวต้าน 738 จุด

www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

หน้า 6

WORK ราคาเป้าหมาย 16.50 บาท บล.ฟินันเซีย ไซรัส ระบุในบทวิเคราะห์ว่า มีมุมมองบวกต่อ WORK หลังผ่านจุดต่ำ�สุดใน 4Q11 ที่คาดขาดทุนระดับ 11 ล้านบาท ผลกระทบของ อุบัติภัยน้ำ�ท่วม โดยคาดผลการดำ�เนินงานตั้งแต่ 1Q12 จะค่อยๆ ฟื้นตัว ตามภาพรวมตลาดโฆษณารวม การปรับขึ้นค่าโฆษณาบางรายการตั้งแต่ต้น ปี และรายได้จากการจัดงาน Events เพิ่มขึ้น โดยรวมทั้งปี 2012 ประมาณ การกำ�ไรเป็น 347 ล้านบาท โตต่อเนื่อง 21%YoY (จากคาดปี 2011 กำ�ไร 288 ล้านบาท +54% YoY EPS +23%YpY) ให้ราคาเป้าหมาย 16.50 บาท แนะนำ�ซื้อ ทั้งนี้อิง PE เป้าหมาย 12 เท่า ราคาหุ้นปัจจุบัน คิดเป็น P/E เพียง 8.9 เท่า ต่ำ�สุดในกลุ่ม Media และคาดปันผลค่อนข้างดี ระดับ 7.5 - 8% (จาก Payout Ratio ที่ 80%) โดยคาดจ่ายปันผลงวด 2H11 หุ้นละ 0.32 บาท (หลังปันผลระหว่างกาลไป แล้วหุ้นละ 0.60 บาท) ที่ราคาปัจจุบัน คิดเป็น Dividend yield ~2.6%

ข้อมูลเกี่ยวกับราคาหุ้น ณ สิ้นวันที่ 21/12/54

Symbol Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg

WORK 12.50 0.20 1.63 12.40 12.60 12.40 12.30 12.49

AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.)

157,100 1,962 1.60 8.87 2.74 0.60 3.70 1.41 3,128

ภาพรวมข้อมูลผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 03/10/54

1. 2. 3. 4. 5.

วันทำ�การซื้อขายที่ผ่านมาพบหุ้นซื้อ - ขาย ที่ระดับราคา 12.50 บาทหนาแน่นสุด

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นายปัญญา นิรันดร์กุล นายประภาส ชลศรานนท์

นางศรีสุดา พานา บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด นายแพทย์ประจวบ คุณทรงเกียรติ

จำ�นวนหุ้น

(%)

92,913,500 92,706,250 7,342,875 5,695,725 2,490,950

37.13 37.05 2.93 2.28 1.00

www.istationnews.com


News Station

Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

กิตติรัตน์ย้ำ�ธปท.ต้องลดดบ.อีกเพื่อกระตุ้นศก. นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ย กั บ ธ น า ค า ร แ ห่ ง ประเทศไทย (ธปท.) และคณะ กรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ที่ พิ จ ารณาปรั บ ลดอั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายลงเพี ย ง 0.25% ในการ ประชุมครั้งที่ผ่านมา เพราะถือว่าไม่ สอดคล้ อ งกั บ ภาวะเศรษฐกิ จ ใน ปัจจุบันที่ประเทศเกิดปัญหาอุทกภัย ขั้นรุนแรง ดังนั้นรัฐบาลจึงอยากเห็น การฟืน้ ฟูของประเทศ โดยเฉพาะการ ลดต้นทุนให้กบั ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี และประชาชนผู้ มี ร ายได้ น้ อ ย นอกจากนี้ ประเทศไทยอยู่ระหว่าง ช่วงของการปรับเปลี่ยน ซึ่งจะต้องมี ต้นทุนที่สูงขึ้น ดังนั้นการลดอัตรา ดอกเบีย้ ลงถือว่าเป็นการช่วยลดภาระ ในเรื่องของต้นทุนได้ในระดับหนึ่ง

ทั้งนี้เชื่อว่าภาวะเงินเฟ้อยัง ไม่ใช่ประเด็นหลักทีจ่ ะนำ�มาพิจารณา ในขณะนี้ โดยนโยบายของรัฐบาล อยากเห็นผู้ที่มีรายได้น้อยมีอำ�นาจ การซื้อที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นนโยบายของ รั ฐ บาลต้ อ งมี ก ารปรั บ เพิ่ ม ค่ า จ้ า ง

แรงงานขั้นต่ำ�เป็น 300 บาท และเชื่อว่า จะไม่ส่งผลไปจนเกิดปัญหาเงินเฟ้อ เพราะเม็ดเงินดังกล่าวแรงงานคงจะ ไม่นำ�มาเก็งกำ�ไรจนส่งผลให้อุปสงค์ ปรับตัวเพิ่มขึ้น “การประชุม กนง.ครัง้ ถัดไป

TDRI คาดธปท.

ของภาวะฟองสบู่ ภายหลั ง จากที่ ข ณ ะ นี้ ร า ค า อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ในประเทศจี น ได้ ป รั บ ตั ว ลดลง ค่อนข้างมาก จากก่อนหน้านี้ที่ราคา ปรับเพิม่ ขึน้ ไปสูงทำ�ให้เป็นสัญญาณที่ อาจจะเป็ น ปั จ จั ย เสี่ ย งต่ อ ภาพรวม เศรษฐกิ จโลกและในประเทศไทย ในระยะต่อไป” ดร.สมชัย กล่าว

คลายนโยบายการเงิน

ครึ่งหลังปี 55 ด ร . ส ม ชั ย จิ ต สุ ช น ผู้ อำ � น ว ย ก า ร ด้ า น ก า ร พั ฒ น า อย่ า งทั่ ว ถึ ง สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาประเทศไทย (TDRI) เปิดเผยว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จะใช้นโยบายการเงินแบบ ผ่ อ นคลายอย่ า งจริ ง จั ง ตั้ ง แต่ ช่ ว ง ครึ่ ง ปี ห ลั ง ปี 2555 เป็ น ต้ น ไป เนื่ อ งจากประเมิ น ว่ า การจั บ จ่ า ย ใช้สอยจะเริ่มส่งสัญญาณชะลอตัว หลังจากที่ในช่วงครึ่งปีแรกจะมีการ จับจ่ายใช้สอยอย่างสูง เพือ่ ฟืน้ ฟูจาก วิกฤตอุทกภัยในช่วงทีผ่ า่ นมา โดยใน เบื้องต้นประเมินว่าคณะกรรมการ นโยบายการเงิน (กนง.) จะพิจารณา

ผมจะนั่งจดจ่อกับมติกนง.ที่ออกมา โดยอยากเห็ น การปรั บ ลดดอกเบี้ ย นโยบายลงอีก เพราะประเทศไทยได้ เข้าสู่การปรับเปลี่ยนทำ�ให้มีต้นทุนที่ สู ง ขึ้ น โดยยื น ยั น ว่ า ไม่ ไ ด้ มี ก าร แทรกแซงการทำ � งานของธปท. แต่ เ ป็ น การแสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ สาธารณชน และอยากเห็นการแสดง ความคิ ด เห็ น ของทุ ก ภาคส่ ว นที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การพิ จ ารณาอั ต รา ดอกเบี้ ย ออกมาเผยแพร่ ใ ห้ แ ก่ สาธารณชนได้รับทราบต่อไป ซึ่งจะ เป็ นพระคุ ณ อย่า งยิ่ ง หากธปท.และ ธนาคารพาณิ ช ย์ ไ ด้ ป รั บ ลดอั ต รา ดอกเบี้ ย ลง จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ เศรษฐกิจของประเทศในอนาคต และ จะเป็นการช่วยกระตุ้นการขยายตัว ของเศรษฐกิจได้ในระยะสั้นภายหลัง จ า ก ป ร ะ เ ท ศไ ด้ เ กิ ด อุ ท ก ภั ย ” นายกิตติรัตน์ กล่าว

ปรับลดอัตราดอกเบีย้ ไปจนถึงปี 2555 เพราะคาดว่าอัตราเงินเฟ้อยังคงไม่นา่ กังวลเท่าที่ควร นอกจากนี้ แ นวโน้ ม ของ เศรษฐกิจไทยในปีหน้า คาดว่าจะมี โอกาสเติบโตได้ 4 - 5% ตามที่ สำ�นักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและ

สังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ประมาณการไว้ เพราะได้รับปัจจัยสนับสนุนจากงบ ประมาณการเบิกจ่ายฟื้นฟูของภาค รัฐบาล และสัญญาณการค่อยๆฟืน้ ตัว ของเศรษฐกิจประเทศสหรัฐฯ “ แ ต่ ต้ อ ง ร ะ มั ด ร ะ วั ง เศรษฐกิจจีนที่ยังคงมีปัญหาในเรื่อง

ดร.สมชัย กล่าวต่อถึงกรณี การปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ�ของรัฐบาล 300 บาทต่อวัน ในช่วงเมษายนว่า เห็นด้วยกับนโยบายของรัฐบาลที่จะมี การปรั บ เพิ่ ม ค่ า แรงขั้ น ต่ำ � แต่ ใ น สภาวะที่ผู้ประกอบการประสบปัญหา น้ำ�ท่วมควรจะปรับขึ้นค่าแรงแบบขั้น บันไดและควรทีจ่ ะต้องมีมาตรการเข้า มาเสริ ม เพื่ อ แบ่ ง เบาภาระของ ผู้ ป ระกอบการในเรื่ อ งต้ น ทุ น ของ ค่าจ้างแรงงานด้วย www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

BIGC เลื่อนประชุมผถห.อนุมัติแผนเพิ่มทุน นางสาวรำ � ภา คำ � หอมรื่ น รอง ประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน บมจ.บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (BIGC) เปิดเผยว่า บริษัทฯ ได้พิจารณาถึงช่วงเวลาที่เหมาะสมสำ�หรับ การดำ�เนินการการเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ตามที่ ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครั้งที่ 5/54 เมื่อ 19 ต.ค. 54 รวมถึงวันที่ สะดวกและเหมาะสมสำ�หรับการจัดประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 2/54 เพื่อให้บริษัทฯ สามารถดำ � เนิ น การตามแผนการเพิ่ ม ทุ น ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับทั้งบริษัทฯ และ ผู้ถือหุ้น หลังจากได้พิจารณาถึงสถานการณ์ พิ เ ศษอั น เป็ น ผลจากภาวะน้ำ � ท่ ว มใน ประเทศไทยและผลกระทบต่างๆ รวมทั้ง บริษัทฯ เห็นว่าการดำ�เนินการตามแผนการ เพิ่มทุนในช่วงสิ้นปี จะไม่เป็นผลประโยชน์ สูงสุดทั้งต่อบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น ดังนั้นจึง เป็ น การไม่ เ หมาะสมที่ จ ะดำ � เนิ น การ จัดประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ แผนการเพิ่มทุนภายในปีนี้ ส่วนสัญญาเงินกูท้ บี่ ริษทั ฯ กูย้ มื เงินมา

สำ�หรับการเข้าซื้อหุ้นของ บริษัท เซ็นคาร์ จำ�กัด ซึง่ จะครบกำ�หนดชำ�ระในเดือนม.ค. 55 นัน้ บริษทั ฯ มีสทิ ธิในการขอขยายระยะเวลาชำ�ระหนี้ ดังกล่าวออกไปได้อกี 6 เดือนโดยไม่มเี บีย้ ปรับ สำ � หรั บ ช่ ว งระยะเวลาที่ เ หมาะสม สำ�หรับแผนการเพิ่มทุน และ วัน เวลา และ สถานที่ที่สะดวกและเหมาะสมสำ �หรับการ จัดประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นคราวถัดไปรวมถึง วั น กำ � หนดรายชื่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า ร่ ว ม ประชุมและใช้สิทธิออกเสียงในการประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้นจะถูกกำ�หนดในการประชุม คณะกรรมการบริษัทคราวถัดไป ซึ่งจะจัด ขึ้นในปี 55 LANNA คาดใช้ 100 ล.ดอลล์ปดิ ดีลซือ้ เหมืองฯ นายสี ห ศั ก ดิ์ อารี ร าชการั ณ ย์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บมจ.ลานนารี ซอร์สเซส (LANNA) เปิดเผยว่า บริษทั ฯ คาด การเจรจาเข้าซื้อเหมืองถ่านหินในอินโดนีเซีย จะมีความชัดเจนในช่วง Q1/55 โดยเหมือง ดังกล่าวเป็นเหมืองขนาดใหญ่ ซึ่งประเมิน ปริมาณสำ�รองราว 200 - 300 ล้านตัน ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ มี แ ผนจะเข้ า พบ

News Station

หน้า 8

ผูบ้ ริหารเหมืองเพือ่ เจรจาในช่วงต้นเดือน ม.ค. 55 หลังจากมีความชัดเจนแล้วก็จะเข้าทำ� สั ญญาจะซื้อจะขาย หลังจากนั้นจะมีการ ตรวจสอบข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก และคาดว่ า ภายใน Q4/55 จะสามารถปิ ด ดี ล นี้ ไ ด้ โดยจะได้ สั ม ปทานการทำ � เหมื อ งเป็ น เวลา 30 ปี ในเบือ้ งต้นคาดว่าจะใช้เงินลงทุนในการเข้าซือ้ เหมืองดังกล่าวสูงกว่า 100 ล้านดอลลาร์ อย่างไรก็ตาม เท่าที่สำ�รวจข้อมูลใน ด้านต่าง ๆ ของเหมืองแห่งนี้ พบว่ายังมี ปัญหาด้านโลจิสติกส์ในการขนย้ายถ่านหิน ออกจากเหมือง และปัญหาการเมืองระหว่าง รัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิน่ ซึง่ เป็นเจ้าของ เหมืองมานาน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังอยู่ระหว่าง ขั้นตอนการเจรจาเข้าซื้อเหมืองขนาดเล็กอีก ประมาณ 2 - 3 แห่ง โดยปัจจุบนั LANNA มี 2 เหมือง ได้แก่ เหมือง LHI มีอายุสัมปทาน เหลือ 19 ปี และเหมือง SGP มีอายุสมั ปทาน เหลือ 28 ปี

CHOW ชงบอร์ดปันผล ก.พ. 55 นายอนาวิล จิรธรรมศิริ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ (CHOW) เปิดเผยว่า ในเดือนก.พ. 55 อาจจะ มี ก ารนำ � เสนอในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ บริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาจ่ายปันผลงวดปี 54 ซึง่ ถื อ เป็ น ครั้ ง แรกในรอบ 8 ปี ที่ บ ริ ษั ท ฯ

จ่ายเงินปันผล โดยนโยบายจ่ายไม่น้อยกว่า 40% ของกำ�ไรสุทธิ “8 ปีที่ผ่านมาบริษัทฯ ไม่ได้จ่าย ปันผล เนือ่ งจากมีการลงทุนค่อนข้างมาก แต่ ปีหน้าเป็นต้นไปเป็นช่วงเวลาของการเก็บเกีย่ ว ผลกำ�ไรจากการลงทุน ซึง่ จากการระดมทุนใน

ครัง้ นี้ จะทำ�ให้บริษทั ฯ มีความสามารถในการ ทำ�กำ�ไรเพิม่ ขึน้ เพราะต้นทุนทางการเงินลดลง ในขณะที่ปริมาณการขายมีมากขึ้น” นาย อนาวิล กล่าว

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

ตามรอย IPO

Gold Trend คนดังกับการลงทุน

Dynamic Station ประสบการณ์จากรายย่อย วัดอุณหภูมหิ นุ้ ร้อน

ประสบการณ์ จาก

รายย่อย

แนวคิดเกี่ยวกับไอพีโอ

ต้องยอมรับว่า ในรอบ 2 - 3 ปีที่ผ่านมานี้ บรรดาหุ้นไอพีโอส่วนใหญ่ต่างได้รับกระแสชื่นชมจากผู้ลงทุน เป็นอย่างมาก อันเนื่องมาจากมีน้อยเท่าน้อยตัวที่ทำ�ให้ผู้จองผิดหวัง กว่าครึ่งสามารถปรับตัวบวกได้น้ำ�ได้เนื้อ หลายตัววิ่งก้าวกระโดดสูง ส่วนบางตัวที่เปิดแล้วเฉื่อยๆ สุดท้ายภายในไม่กี่วันก็สามารถฮึดสร้างผลตอบแทน ก้อนใหญ่ได้ ทว่าจากการสอบถามในมุมมอง ของผู้ลงทุนส่วนใหญ่นั้น เกือบทั้งหมด ต่างมองว่า สาเหตุของการปรับเพิม่ ขึน้ สูง ในเวลาอันรวดเร็วเกิดจากการตั้งราคา จองซื้อโดยมีส่วนลดจากมูลค่าหุ้นที่ควร จะเป็ น อยู่ในระดับหนึ่ง และนั้นส่งผล สะท้อนให้นกั ลงทุนทีต่ อ้ งการลงทุนจริงๆ จังๆ ต้องการถือระยะยาว ไม่ค่อยกล้า เข้ามาเก็บหุ้นในระยะแรกๆ ด้วยเกรงว่า เกมราคาจะทำ�ให้ผู้ที่เข้าตามมาทีหลัง ตกเป็นเหยื่อ ส่วนในฝัง่ ผูท้ สี่ ามารถจองหุน้ ได้ไม่ ว่าจะเป็นหุ้นตัวไหนก็ตาม มักมีอุดมคติ ในเชิงต้องการลดความเสี่ยงหากวันแรก ราคาหุ้นไอพีโอเปิดบวกรุนแรง แล้วก็มัก จะไม่ค่อยกล้ากลับไปเก็บหากในวันต่อๆ ไปราคามันค่อยๆ ย่อตัวลง เมื่อเป็นเช่น นีจ้ งึ ไม่แปลกที่ หุน้ ดีๆ หลายตัว ทีแ่ ม้จะ ผลประกอบการดี ราคาไม่ได้แพงเกินพืน้ ฐาน จะมีอันต้องหมดค่ากระแสความ นิยมภายในระยะเวลาไม่กี่สัปดาห์ อีกทั้ง

ในอีกไม่นานช้าก็จะมีไอพีโอดีๆ ตัว รายย่อยให้เข้าสู้เนื้อแท้ของคำ�ว่าการลงทุนได้ ใหม่ๆ มานำ�เสนอตัวกันมาอยูเ่ นืองๆ อย่างอุน่ ใจขึ้นกว่าปัจจุบัน ภาพทั้งหมดของการซื้อไอพี โอของรายย่อย โดยส่วนใหญ่จึงไม่ พ้นเป็นการเก็งกำ�ไรโดยอาศัยความ ผันผวนสูงมากกว่า จะประเมินราคา ที่ เ หมาะสมแล้ ว จึ ง เลื อ กลงทุ น อย่างไรก็ดหี ากจะพิจารณาในอีกด้าน การที่นักลงทุนเป็นเยี่ยงนี้มันไม่ใช่ เรือ่ งผิดอะไร แต่จะดีกว่าไหมถ้าหลัง จากไอพีโอแล้ว การนำ�เสนอข้อมูลตัว บริ ษั ท จะยั ง คงมี ม ากมายเฉกเช่ น เดียวกับช่วงโหมโรงระยะเข้าตลาด อีกทั้งการมีบทวิเคราะห์คุณภาพมา สนับสนุนมากๆ ก็ย่อมจะช่วยให้เกิด การลงทุ น โดยแท้ จ ริ ง คื อ ลงทุ น ระยะยาวกันมากขึ้นได้ มิใช่เป็นการ ตี หั ว เข้ า บ้ า น ฟั น กำ �ไรชั่ ว พริ บ ตา เสร็จสมได้เสียพอมันมือก็ตจี ากไปหา น้องใหม่ๆ รายต่อไปอย่างไม่รจู้ บ..... เพื่อพัฒนาคุณภาพการเล่นหุ้นของ

.....จบ.....

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

Lifestyle Station

ดูแลให้บาดแผลหายเร็ว

by Jackal_XIII

การปฏิบัติเมื่อเกิดบาดแผล - แผลข่วน แผลถลอก หรือแผลแยกของผิวหนังที่ไม่ลึก จะมีเลือดออกเล็กน้อยและหยุดเองได้ แผลพวกนี้ ไม่ค่อยมีอันตราย ให้ทำ�ความสะอาดบาดแผล โดยใส่ยาฆ่าเชื้อ เช่น เบตาดีน ไม่จำ�เป็นต้องปิดแผล แผลจะ หายเอง - แผลฉีกขาด เป็นแผลที่เกิดจากแรงกระแทก หากเป็นวัสดุที่ไม่มีคม แผลมักฉีกขาดขอบกระรุ่งกระริ่ง แผลชนิดนี้เนื้อเยื่อถูกทำ�ลายและมีโอกาสติดเชื้อมาก ควรทำ�ความสะอาดบาดแผลให้สะอาด ถ้าบาดแผลลึกมาก ควรนำ�ส่งโรงพยาบาล เพราะผู้ป่วยอาจได้รับอันตรายจากการติดเชื้อโรคได้

การทำ�ความสะอาดบาดแผล - ล้างมือให้สะอาดก่อนทำ�แผล เพื่อช่วยลดจำ�นวนเชื้อโรคที่มือ - ล้างบาดแผลด้วยน้ำ�สะอาด ซับให้แห้งด้วยผ้าสะอาด - ใช้สำ�ลีสะอาดชุบน้ำ�ยาแอลกอฮอล์เช็ดรอบๆ แผลโดยเช็ดจากข้างในวนมาข้างนอกทางเดียว ไม่ต้องเช็ดลงบนแผล - ใส่ยาฆ่าเชื้อโรค เช่น เบตาดีน ลงบนแผล เพื่อไม่ให้เกิดการติดเชื้อ - ปิดแผลด้วยพลาสเตอร์ หรือผ้ากอซ ไม่ใช้สำ�ลีปิดแผล เพราะเมื่อแผลแห้งแล้วจะติดกับสำ�ลี ทำ�ให้ดึงออกยาก เกิดความเจ็บปวดและอาจทำ�ให้เลือดไหลได้อีก - ทำ�ความสะอาดแผลเป็นประจำ�ทุกวัน - หลีกเลี่ยงไม่ให้แผลสกปรก หรือเปียกน้ำ� เพราะอาจทำ�ให้แผลเกิดการอักเสบ เป็นหนอง หรือ หายช้า - สังเกตอาการอักเสบของบาดแผล เช่น บวม แดง ร้อน สีผิวของบาดแผลเปลี่ยนไป มีหนอง ควรรีบไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อรักษาต่อไป - ปรึกษาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อประเมินว่า จำ�เป็นต้องรับวัคซีนป้องกันบาดทะยักหรือไม่

Photo Release

STAR จัดทัพสินค้าสุขภัณฑ์ ลดราคาช่วยผู้ประสบภัยหลังน้ำ�ลด บมจ.สตาร์ ซานิทารีแวร์ (STAR) ผู้ผลิตและจัดจำ�หน่าย สุ ข ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภาพมาตรฐานโลก ภายใต้ ชื่ อ Star จั ด ทั พ สิ น ค้ า สุขภัณฑ์หลายรายการ อาทิ โถสุขภัณฑ์ อ่างล้างมือ และก๊อกน้ำ� จัดจำ�หน่ายในราคาลดพิเศษเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยหลังน้ำ�ลด ในงานมหกรรม “กู้ง่าย ซ่อมได้” ณ ชั้น 4 เอ็มซีซี ฮอลล์ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

มุมการตลาด

Lifestyle Station

ไอที ซิตี้ เคาะสิ้นปีนี้เปิดแน่!ร้าน isociety ประเดิม 2 แห่งเซ็นทรัล พระราม 9 และเซ็นทรัลเวิลด์

ไอที ซิตี้ เคาะสิ้นปีนี้เปิดแน่ ช้อปร้านค้าของคนไอทีระดับพรีเมี่ยม isociety ทั้ ง 2 สาขาฉลองคริ ส ต์ ม าส ประเดิ ม ที่ แ รกวั น เสาร์ ที่ 24 ธ.ค.นี้ ณ เซ็นทรัล พระรามเก้า และวันอาทิตย์ที่ 25 ธ.ค. 54 ณ เซ็นทรัลเวิลด์ มั่นใจ ตลาดไฮเอนด์มีโอกาสเติบโตสูง และมั่นใจ isociety จะมาเป็นส่วนเติมเต็ม ช่องว่างทางการตลาดไอทีของไอทีซิตี้ isociety จะถูกจัดแบ่งเป็น 3 โซน ประกอบด้วย 1. โซนคอมพิวติ้ง 2. โซนดิจิตอล อิมเมจจิ้ง และ 3. โซนโมบิลิตี้ง แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน โดยสินค้า ภายในร้าน จะเน้นสินค้าประเภทไฮเอนด์ จากแบรนด์ชั้นนำ� หรือสินค้าไอที ที่เพิ่ง เปิดตัวในต่างประเทศ นอกจากนี้จะมีผู้เชี่ยวชาญคอยแนะนำ�โปรดักส์ใหม่ต่างๆ และมุมเฉพาะของแบรนด์ดัง อาทิ แอปเปิ้ล, แคนนอน และ ซัมซุง อีกด้วย

มุมประกัน อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. จัดไทยแลนด์ เอนิเมชั่น คอนเทสต์ 2011 หัวข้อ “คนรุ่นใหม่หัวใจรักโลก” บมจ. อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี.ประกันชีวิต ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และมูลนิธิ 5 ธันวา มหาราช จัดงานประกาศผลรางวัลชนะเลิศ โครงการ “ไทยแลนด์ เอนิเมชั่น คอนเทสต์ 2011 โดย อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี.” หัวข้อ “คนรุ่นใหม่หัวใจรัก โลก” ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ชู 20 ผลงานจากผู้เข้าแข่งขันกว่า 1,600 คน โดยประกาศผลการตัดสินเมื่อวันที่ 13 ธ.ค.ที่ผ่านมา ปรากฎว่ามหาวิทยาลัยศิลปากร และ โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ สามารถสร้างชื่อเสียงให้สถาบัน โดยคว้ารางวัลชนะเลิศประเภทอุดมศึกษาและมัธยมศึกษาไปครอง อย่างสมศักดิ์ศรี

KTC จับมือพันธมิตร เดินหน้า 2 กิจกรรมฟื้นฟูใจผู้ประสบภัย

นางสาวเจนจิ ต ลั ด พลี (แถวหลั ง -กลาง) ผู้ อำ � นวยการ สายงานการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวและสันทนาการ บมจ.บัตรกรุงไทย (KTC) นายอลิญชย์ กิตติกรเจริญ (แถวหลัง-กลางซ้าย) เจ้าของร้านดอกไม้ โคลส ทู เนเจอร์ (Close to Nature) และนางสาวอุสริญญา กิตติกร เจริญ (แถวหลัง-กลางขวา) ผู้บริหารบริษัท มิวสิค เพอร์สูท จำ�กัด ร่วมกัน จัดกิจกรรมเวิร์คช้อปจัดดอกไม้และดนตรีบำ�บัด “ดอกไม้ ดนตรีเติมสีสัน สร้างสุขทุกวัน” เพื่อร่วมฟื้นฟูจิตใจให้กับผู้ประสบภัย ณ ลุมพินีสถาน และศูนย์พักพิงกระจายความช่วยเหลือและรับบริจาค เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

Professional Station กว่ า จะมาเป ็ น เสื อ

เจาะลึก อนาวิล

ตอนที่ 3

จิรธรรมศิริ ซีอีโอดาวรุ่งแห่ง CHOW

หลังจากเริ่มศึกษาธุรกิจเหล็กได้ราว 2 ปี จน พ.ศ. 2546 ก็ ตั้ ง กิ จ การธุ ร กิ จ เหล็ ก ขึ้ น มาในชื่ อ บริ ษั ท เชาว์ สตี ล อิ น ดั ส ทรี้ โดยได้เริ่มดำ�เนินการผลิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ซึ่งปลายปีนั้นก็เริ่มมี รายได้เข้ามาได้ทันที เพราะเป็นสินค้าที่ตลาดมีความต้องการอยู่แล้ว เป็นสินค้าทดแทนการนำ�เข้าการทำ�ตลาดจึงเป็นเรื่องง่าย “ธุรกิจเดิมทีท่ �ำ อยูค่ อื ผลิตและส่งออกเสือ้ ไหมพรมสำ�เร็จรูป ณ ขณะนั้นรายได้ทั้งหมดพึ่งพิงต่างประเทศ แม้ผลประกอบการ จะดีมาก โตต่อเนื่องจนมีคนงานของตัวเองมากเกือบ 4 พันคน ถือได้ว่าเป็นรายใหญ่ของประเทศ ทว่าในใจก็กงั วลอยูเ่ สมอ เกรงว่า

“อนาวิล จิรธรรมศิริ” หากวันใดวันหนึ่งตลาดต่างประเทศมีปัญหา ผลกระทบในทาง ลบจะเกิ ด ขึ้ น เต็ ม ๆ จึ ง ได้ พ ยายามมองหาศึ ก ษาธุ ร กิ จ อื่ น ๆ ที่ไม่อิงกับต่างประเทศ จนกระทัง่ มาเจอธุรกิจเหล็กพบว่าใช้เครือ่ งจักรเป็นหลัก ใช้แรงงานคนน้อยกว่าอุตสาหกรรมสิง่ ทอมาก จึงได้รว่ มกับกลุม่ ผูบ้ ริหารบริษทั ผมเริม่ ศึกษาตลาด รวมถึงประเมินทุกๆ ด้านใน ธุรกิจเหล็กอย่างจริงจัง และจากข้อมูลที่ได้ก็พบว่า เหล็ก เป็น สินค้าที่ประเทศไทยนำ�เข้าสุทธิมาตลอด มีความต้องการใช้ใน ประเทศมากแม้กระทั่งในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำ�กุ้ง ผลการศึ ก ษาทำ � ให้ เ ราเห็ น โอกาสและอนาคตของ ธุรกิจนีเ้ ป็นอย่างมาก เพราะ 1. ไม้ตอ้ งพึง่ พิงตลาดต่างประเทศ 2.ไม่ต้องใช้แรงงานเยอะ 3. มูลค่าทางการตลาดสูง ส่วนการทีบ่ ริษทั ของเราเลือกจับ Billet (เหล็กแท่งยาว) เพราะมันเป็นสินค้าประเภทวัตถุดิบ เราหลอมและขายวัตถุดิบ ไม่ ไ ด้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า สำ � เร็ จ รู ป มั น สามารถเอาไปแปรรู ป ต่ อ ได้ หลากหลายกว่ า ไม่ ไ ด้ ยึ ด ติ ด กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ตั ว ใดตั ว หนึ่ ง โรงงานอุตสาหกรรมหลายๆ โรงงานจึงสามารถเอาไปใช้ได้...”

........ อ่านต่อฉบับหน้า ........

www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

ประเมิ น ทิ ศ ทางดั ช นี ฯ วั น นี้ มี โอกาสปรบั ตัวเพิม่ ขึน้ และคาดวา่ จะมีแรง ซื้อกลับเข้ามา หลังตลาดหุ้นสหรัฐฯ และ ยุ โ รปเริ่ ม คลายคว ามกั ง วล กลยุ ท ธ์ แนะนำ � เก็ ง กำ � ไรในหุ้ น กลุ่ ม ธนาคาร พลังงาน และอสังหาริมทรัพย์ ให้แนวรับ อยู่ที่ 1,040 จุด แนวต้าน 1,055 จุด

แนวโน้ ม หุ้ น ไทยวั น นี้ ค าดว่ า ปรับตัวเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากได้รบั ปัจจัยบวก ต่ า งประเทศ หลั ง การประมู ล ขาย พันธบัตรรัฐบาลสเปนประสบความสำ�เร็จ ดัชนีความเชื่อมั่นของเยอรมนีออกมาดี และตั ว เลขสร้ า งบ้ า นใหม่ ข องสหรั ฐ ฯ ปรั บ ตั ว เพิ่ ม ขึ้ น สู ง สุ ด ในรอบ 1 ปี จึงเเนะนำ�เก็งกำ�ไรหุ้นพื้นฐานดี มองเเนวรับที่ 1,040 - 1,035 จุด ส่วนเเนวต้านที่ 1,050 - 1,065 จุด

หน้า 13

ทิ ศ ทางดั ช นี ฯ วั น นี้ มี โ อกาส ปรับขึ้นไปทดสอบแนวต้าน ที่ 1,050 จุด ได้ช่วงแรก จากการที่ตัวเลขเศรษฐกิจ สหรัฐฯ และเยอรมนีออกมาดี อีกทั้งมีแรง ซื้อจากกองทุน LTF และ RMF สนับสนุน ตลาด หุ้ น แต่ ทั้ ง นี้ มองว่ า ดั ช นี ฯ ไม่สามารถผา่ นระดับแนวต้านดังกล่าวไปได้ เนื่องจากถูกแรงขายทำ�กำ�ไรออกมา และ ให้แนวรับอยู่ที่ 1,035 จุด

www.istationnews.com


Data Station

Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันว�คม 2554

ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 21 ธันว�คม 2554

Stock Exchange of Thailand [SET] [Day]

TRADING BY INVESTOR TYPE

Type

Institute

Proprietary

Foreign Local

Buy

Sell

Net

2,575.98 11.63% 3,362.60 15.19% 5,414.62 24.45% 10,790.54 48.73%

1,826.74 8.25% 2,910.50 13.14% 4,562.44 20.60% 12,844.06 58.00%

749.24 452.1 852.18 -2,053.52

Last Update

21/12/11

Index

Last

SET SET 50 SET 100 MAI SET Value MAI Value Last Updated

1,043.75 734.22 1,592.14 269.45

21/12/2011

Chg

%Chg

10.46 8.96 18.19 0.14 (Mil. ฿) (Mil. ฿)

1.01 1.24 1.16 0.05 22,143.74 2,031.89

17:01:46

AGRO D ecline 27% No C hange 29%

2 A dv ance 44%

TECH

0.66

1.5

CONSUMP

1

0.39

0.5 -0.34

0.83

SERVICE

1.05

0

FINCIAL

-0.5

1.21 D ecline 28% No C hange 29%

0.68

A dv ance 43%

RESOURC

INDUS

1.97

PROPCON www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันว�คม 2554

หน้� 15

ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 21 ธันวว�คม 2554

PTTGC

( Day )

: PTTGC 7,000,000

Price & Fundamental Symbol PTTGC

Last 62.75 Chg 1.50 %Chg 2.45 Open 62.25 High 63.50 Low 62.25 Prev 61.25 Avg 62.86 AccVol 18,432,200 AccVal(K฿) 1,158,660 1.99 %Fluct P/E 10.22 P/BV 1.20 DPS(Baht) N/A Yield(%) N/A EPS(Baht) 6.14 MktCap(Mil.) 282,759 Broker Target Update KGI 75.00 21/12/2011 หลักทรัTNS พย์ทม่ี เี ปอร์เซ็น54.00 ต์การเปลีย่ นแปลง 19/12/2011 ของราคาเพิ ส่ ดุ และมีมลู 16/12/2011 ค่าการ PST ม่ ขึน้ มากที86.00

ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010

6,000,000 5,000,000

Vol.

4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 63.50

63.25

Price

63.00

62.75

62.50

62.25

0

ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันว�คม 2554

หน้� 16

Top MostActive Gainer ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 21 ธันว�คม 2554

KAMART

( Day )

Price & Fundamental Symbol KAMART

Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.) Broker

3.64 0.38 11.66 3.28 3.68 3.26 3.26 3.52 112,528,700 396,603 11.93

36.40 5.28 N/A N/A 0.10 2,184 Target Update No Comment

Volume Analysis

: KAMART

14,000,000 12,000,000 10,000,000

Vol.

8,000,000 6,000,000 4,000,000 2,000,000 3.68 3.66 3.64 3.62 3.60 3.58 3.56 3.54 3.52 3.50 3.48 3.46 3.44 3.42 3.40 3.38 3.36 3.34 3.32 3.30 3.28 3.26

0

Price

ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันว�คม 2554

Top MostActive Compare AVG Vol5 ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 21 ธันว�คม 2554

QTC

( Day )

Price & Fundamental Symbol QTC

Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.) Broker

Volume Analysis

: QTC

9,000,000 8,000,000

3.18 0.12 3.92 3.08 3.34 3.08 3.06 3.23 48,627,700 156,979 8.05

17.67 1.98 N/A N/A 0.18 636 Target Update No Comment

หลักทรัพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็นต์การเปลีย่ นแปลง ของราคาเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ และมีมลู ค่าการ ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010

7,000,000 6,000,000

Vol.

5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000

ATO/C Volume 3.34

3.32

3.30

3.28

3.26

Price

3.24

3.22

3.20

3.18

3.16

3.14

3.12

3.10

3.08

0

Sell Volume Buy Volume

หมายเหตุ www.istationnews.com


Investor Station ฉบับที่ 761 ประจำ�วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธันวาคม 2554

คำ�คมการลงทุน

ผูจ้ ดั ทำ�

ในเรื่องของการพิจารณา ความดีความชอบผมจะฟัง เสียงตอบรับจากลูกค้าเป็นหลักว่าลูกน้องแต่ละคนทำ�งานลงไป แล้วลูกค้าพอใจแค่ไหนอย่างไร ผมจะไม่เชื่อหัวหน้าอย่างเดียว เพราะถ้าเกิดหัวหน้าบางคนไม่ชอบลูกน้องอาจเกิดกรณีหัวหน้า แกล้งลูกน้องได้

หน้า 18

ประกิต อภิสารธนรักษ์

บริษทั ออนไลน์แอสเซ็ท จำ�กัด

466 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 --คณะทีป่ รึกษา-พรเลิศ เตชะรัตโนภาส ดวงสุรยี ์ วายุบตุ ร์ --บรรณาธิการ-เอกอนันต์ เสรีรตั นะชัย --กองบรรณาธิการ และฝ่ายสนับสนุน--ข่าวต่างประเทศ วรเชษฐ์ พันธ์ภวู งศ์ -ข่าวตลาดเงิน ตลาดทุน ศราพงค์ นันติวงค์ พิมพ์รภัส ศิรไิ พรวัน ศุภวรรณ วราภรณ์ -ข่าวตลาดอนุพนั ธ์ สุรเมธี มณีสโุ ข --ฝ่ายศิลปกรรม-ยุภาจิตร์ วัชระธัญเจริญ ประกาศิต คุณครอง วีระชัย ปัตลา ภูวนาท สุขเกษม อัษฎา วรรณธนาสิน

สนใจติดต่อโฆษณา วีรตรี ศิรสิ มบัติ (ฝ่ายการตลาด) Tel : 0-2541-4011 Fax : 0-2541-4017 Mobile: 084-939-8881

weeratree@efinancethai.com

www.istationnews.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.