Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554 www.istationnews.com
www.istationnews.com ews.com
สถานีนักลงทุน หนังสือพิมพ์ดิจิตอลรายวัน เพื่อการลงทุน
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
News Station
www.istationnews.co
8
มาตรการกระตุ้นศก.จากเฟด จะหนุนจีดีพีสหรัฐฯโต 0.2% - 0.4% ปีหน้า พาณิชย์เพิ่มเป้าส่งออกปีนี้โต 20% CMO เผยตุนงานกว่า 600 ล.
9
Dynamic Station
5
www.istationnews.com ews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
www.istationnews.co
www.istationnews.com
www.
ฝนตก-น้�ำ ท่วม กดผลงานครึง่ ปีหลัง
DRT กัดฟันคาดกำ�ไร 54 ทรงตัวได้ แม้โดนคุมราคาสินค้า
DRT ยั ง มั่ นใจยอดขายปี นี้ โ ตตามเป้ า 10% คาดกำ �ไรทรงตั ว จากปี ก่ อ น แม้ Q3 - Q4 /54 ผลงานส่อชะลอลงจากผลกระทบน้ำ�ท่วม-รัฐสั่งคุมราคา พร้อมเตรียม เปิดเดินเครื่องสายการผลิต ที่ 10 หนุนกำ�ลังการผลิตรวม Q2/55 เป็น 7.52 แสนตัน ประกาศผนึกกำ�ลังพันธมิตร “แฮดเลย์” ลุยระบบผนังสำ�เร็จรูป “ไดมอนด์วอลล์” ชูไฟเบอร์ ซีเมนต์บอร์ดก่อผนังแทนอิฐดักเทรนด์ก่อสร้างอาคารสูง ต่อหน้า 3
IR Society
7
AS...หุ้นเกมส์มีอนาคต 10
Lifestyle Station ทำ�ไมดินสอมีตัว H กับตัว B
13
มองหุ้นจากเซียน เลือกหุ้นพื้นฐานดีมีปันผล
14
Data Station
LL ประกาศเพิ่มทุน-แจกวอร์แรนต์ ต่อหน้า 3
LALIN เตรียมเปิดอีก 2 โครงการ 1.5 พันล.ปีนี้ ต่อหน้า 4
SET News ตอนที่2
“ภูวดล วสุธาร” กระบอกเสียง
ต่อหน้า 12
SGP
“จรัมพร” เชื่อบจ.ไทยแข็งแกร่ง ไม่ห่วง SET ร่วง ตามภูมิภาค ต่อหน้า 8
GFPT
เป้าหมายปี 55 ที่ 16 บาท ต่อหน้า 6 www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554 ฝนตก-น้ำ�ท่วม (ต่อจากหน้า 1) อยากให้รัฐบาลช่วยเหลือผู้ประกอบ
News Station
นายสาทิ ต ย์ สุ ด บรรทั ด รองกรรมการผู้จัดการสายการขาย และการตลาด บมจ.กระเบื้ อ ง หลังคาตราเพชร (DRT) เปิดเผยว่า บริษทั ฯยังคงมัน่ ใจยอดขายรวมในปีนี้ จะเติบโตได้ตามเป้าที่วางไว้ที่ 10% คิดเป็นมูลค่า 3.6 พันล้านบาท จาก ปี ก่ อ นที่ ทำ � ได้ 3.3 พั น ล้ า นบาท โดยในช่วงครึ่งปีแรกบริษัทฯ มียอด ขายแล้ว 1.9 พันล้านบาท ขณะที่ กำ �ไรคาดว่ า จะทรงตั ว จากปี ก่ อ น เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯจะต้ อ งจ่ า ยภาษี นิติบุคคลในปีนี้ 30% รวมทั้งยังต้อง เผชิญกับราคาต้นทุนวัตถุดบิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ แต่ ไ ม่ ส ามารถปรั บ ราคาขายได้ เนื่องจากรัฐขอความร่วมมือในการ ควบคุมสินค้าบางประเภท อีกทั้งใน ไตรมาส 3/54 บริษทั ฯยังคงเผชิญกับ ปัญหาตามฤดูกาล คือสถานการณ์ฝน ตกและน้�ำ ท่วม ส่งผลให้ยอดขายตาม ร้านค้าลดลงมากกว่า 5% เนื่องจาก ลูกค้าไม่สามารถออกมาซื้อสินค้าได้ ตั้งแต่เดือนสิงหาคมเป็นต้นมา ขณะทีแ่ นวโน้มในไตรมาส 4 โดยปกติ ย อดขายจะเพิ่ ม ขึ้ น จาก ไตรมาส 3 แต่ในสถานการณ์ยอมรับว่า ประเมินสถานการณ์ได้ยาก เนือ่ งจาก ขึ้นอยู่กับการลดลงของน้ำ�ที่ท่วมเป็น สำ�คัญ อย่างไรก็ตามแนวโน้มราคา วั ส ดุ ก่ อ สร้ า งอาจจะชะลอตั ว ลง ฤดูกาลฝนและภาวะน้ำ�ท่วมดังกล่าว ทำ � ให้ รั ฐ ขอความร่ ว มมื อ ในการ ค ว บ คุ ม สิ น ค้ า บ า ง ป ร ะ เ ภ ท โดยประเมินว่าราคาสินค้าจะชะลอตัว ลงประมาณ 3 - 5% แม้ ว่ า ภาวะ ต้นทุนของสินค้าบางประเภทได้ปรับ เพิ่ ม ขึ้ นในช่ ว งที่ ผ่ า นมา ดั ง นั้ น จึ ง
การของบริษัทจดทะเบียน โดยเร่งให้ เกิดความชัดเจนในด้านนโยบายลด ภาษีนิติบุคคลเหลือ 23% ทัง้ นีป้ จั จุบนั บริษทั ฯมีสดั ส่วน ยอดขายแบ่งเป็นหลังคา 80% ผนัง 20% โดยตั้งเป้าว่าในอีก 3 - 5 ปีข้างหน้า สัดส่วนดังกล่าวจะเปลี่ยนแปลงเป็น หลังคา 60% และผนัง 40%
สำ�หรับส่วนแบ่งการตลาด ปัจจุบันบริษัทฯอยู่ที่ 18 - 20% ทว่า หากมีการเพิ่มเติมกำ�ลังการผลิตใน ส่วนของไฟเบอร์ซีเมนต์ เชื่อว่าจะส่ง ผลบวกให้ ส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาด เพิ่มขึ้นได้ในอนาคต นอกจากนี้ กำ � ลั ง การผลิ ต รวมของบริษัทฯอยู่ที่ 6.8 แสนตัน ซึ่ง บริษัทฯกำ�ลังอยู่ระหว่างการดำ�เนิน
LL ประกาศ (ต่อจากหน้า 1)
จำ�นวน 235 ล้านบาท มูลค่าที่ตรา ไว้หุ้นละ 1 บาท จากนั้นให้เพิ่มทุน จดทะเบี ย นเป็ น 3,340 ล้ า นบาท โดยการออกหุ้นสามัญจำ�นวน 2,560 ล้ า นหุ้ น พร้ อ มอนุ มั ติ ใ ห้ อ อกใบ สำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของบริษทั ฯ จำ�นวน 780 ล้านหน่วย เพื่ อ เป็ น สิ่ ง ตอบแทนและเป็ น การ จู งใจในการจองซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของ
บริษทั ฯ ซึง่ จะจัดสรรใบสำ�คัญแสดง สิทธิฯ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม โดยไม่คิด มูลค่า ในอัตราส่วนหุน้ สามัญทีไ่ ด้รบั จัดสรรจากการจองซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุ น 1 หุ้ น ต่ อ 1 หน่ ว ยใบสำ � คั ญ แสดงสิทธิฯ โดยราคาการใช้สิทธิ อยู่ที่ 1 บาทต่อหุ้น สำ�หรับหุ้นเพิ่มทุนจำ�นวน 2,560 ล้านหุ้น บริษัทฯ ได้กำ�หนด
นายวั น ชั ย ศุ ภ พยั ค ฆ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.ลิฟวิง่ แลนด์ แคปปิ ต อล (LL) เปิ ด เผยว่ า ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/54 ได้มีมติอนุมัติให้ลดทุนจดทะเบียน ของบริษัทจากเดิม 1,015 ล้านบาท เป็น 780 ล้านบาท โดยยกเลิกหุ้น สามั ญ ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ อ อกจำ � หน่ า ย
งานก่อสร้างสายงานการผลิตที่ 10% ซึ่งจะช่วยเพิ่มกำ�ลังการผลิตขึ้นอีก 7.2 หมื่นตัน โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จ ในช่ ว งไตรมาส 2/55 ซึ่ ง จะทำ �ให้ กำ�ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ เป็น 7.52 แสนตัน อนึ่งวานนี้ DRT ประกาศ ความร่วมกับพันธมิตรอย่างบริษัท แฮดเลย์ ผูผ้ ลิตสินค้าจากเหล็กรีดเย็น สั ญ ชาติ อั ง กฤษ พั ฒ นาระบบ ผนั ง สำ � เร็ จ รู ป ภายใต้ แ บรนด์ “ไดมอนด์วอลล์” ซึ่งเป็นนวัตกรรม การก่ อ สร้ า งรู ป แบบใหม่ ที่ นำ � เอา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฟเบอร์ ซี เ มนต์ บ อร์ ด แบรนด์ไดมอนด์บอร์ดของตราเพชร มาประกอบกับอุปกรณ์ติดตั้งโครง ผนังทีไ่ ด้รบั การออกแบบจากแฮดเลย์ เพื่อก่อสร้างผนังทึบภายในอาคารสูง ที่ มี พื้ น ที่ ผ นั ง ภายในจำ � นวนมาก ซึ่งสามารถทดแทนการก่ออิฐฉาบปูน ในรู ป แบบเดิ ม ๆ ที่ ป ระสบปั ญ หา ความยุ่ ง ยากในการก่ อ สร้ า ง และ เสียเวลาเก็บงาน รวมถึงใช้จ�ำ นวนคน งานในการก่อสร้างจำ�นวนมาก “เรามั่ นใจว่ า ระบบผนั ง สำ�เร็จรูปไดมอนด์วอลล์ จะเข้ามา ทดแทนการก่ อ สร้ า งผนั ง ภายใน อาคารสูงที่มีพื้นที่ผนังอาคารจำ�นวน มาก และต้องการความรวดเร็วในการ ก่อสร้าง เช่น โครงการคอนโดมิเนียม ซึ่ ง จะส่ ง ผลดี ต่ อ ยอดขายในกลุ่ ม ผลิตภัณฑ์ไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ดของ บริษัทฯ ที่ขณะนี้เราได้เตรียมกำ�ลัง ผลิตไฟเบอร์ซีเมนต์ในสายการผลิต NT-10 ทีม่ กี �ำ ลังการผลิตถึง 72,000 ตัน ไว้รองรับกับความต้องการสินค้าแล้ว” นายสาธิต กล่าว จัดสรรหุน้ จำ�นวนไม่เกิน 780 ล้านหุน้ ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น เดิ ม ของบริ ษั ท ฯ ในอัตราจัดสรร 1 หุน้ เดิมต่อ 1 หุน้ ใหม่ โดยเศษของหุน้ ให้ปดั ทิง้ และกำ�หนด ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ ราคา 0.25 บาท โดยกำ�หนดให้วัน ที่ 29 ก.ย. 54 เป็ น วั น กำ � หนด ร า ย ชื่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ ใ น การจองซื้อและได้รับการจัดสรร ต่อหน้า 4 www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
LL ประกาศ (ต่อจากหน้า 3)
หุ้นสามัญเพิ่มทุน และให้ รวบรวมรายชื่ อ ตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 โดยวิธี ปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นใน วันที่ 30 ก.ย. 54 และจัดสรรหุ้น จำ�นวนไม่เกิน 780 ล้านหุน้ รองรับ การใช้ สิ ท ธิ ต ามใบสำ � คั ญ แสดง สิทธิฯ ที่ออกและเสนอขายให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ที่ใช้สิทธิ จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน พร้อมกันนี้ได้จัดสรรหุ้น สามัญเพิ่มทุนจำ�นวนไม่เกิน 1,000 ล้านหุ้น ให้แก่นักลงทุนที่มีลักษณะ เฉพาะเจาะจง และ/หรือ นักลงทุน ประเภทสถาบัน และมอบอำ�นาจให้ คณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ มีอ�ำ นาจในการดำ�เนินการพิจารณา จั ด สรรและเสนอขายตามที่ เ ห็ น สมควร โดยการกำ�หนดราคาเสนอ ขายหุ้นให้แก่นักลงทุนที่มีลักษณะ เฉพาะเจาะจงครัง้ นี้ ราคาเสนอขาย หุ้นดังกล่าวจะไม่ต่ำ�กว่า 90% ของ ราคาตลาด คำ�นวณโดยอ้างอิงกับ LALIN (ต่อจากหน้า 1)
นายชู รั ช ฏ์ ชาครกุ ล ผู้จัดการฝ่ายการตลาด 2 บมจ. ลลิ ล พร๊ อ พเพอร์ ตี้ (LALIN) เปิดเผยว่า ในช่วงที่เหลือของปีนี้ จะเปิดโครงการใหม่ 2 โครงการ เป็นบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียม มูลค่ารวม 1.5 พันล้านบาท แบ่ง เป็ น โครงการคอนโดมิ เ นี ย ม ประมาณ 500 ล้ า นบาท และ โครงการบ้ า นเดี่ ย ว ประมาณ 800 - 1,000 ล้านบาท คาดว่าจะ เปิดตัวโครงการคอนโดมิเนียมได้ ในงานมหกรรมบ้ า น และ คอนโดฯ ในสัปดาห์หน้า
News Station
หน้า 4
ราคาปิดถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้น บริ ษั ท ฯ ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ร วม 14 วั น ก่ อ นวั น ที่ เ สนอขาย และ ไม่ ต่ำ � กว่ า ราคาที่ เ สนอขายให้ แ ก่ ผู้ถือหุ้นเดิมข้างต้น “จากการที่ผู้ถือหุ้นลงมติ อนุมัติแผนเพิ่มทุนครั้งนี้ สะท้อนถึง ความเข้ าใจที่ มี ต่ อ บริ ษั ท เพื่ อให้ ธุรกิจเดินหน้าต่อไปได้อย่างคล่องตัว เนื่องจากการเพิ่มทุนในครั้งนี้จะมี ส่วนเสริมสร้างให้ LL มีความมั่นคง แข็งแรง และเพิ่มศักยภาพในการ ลงทุนในโครงการใหม่ๆ เงินที่ได้รับ ในครั้ ง นี้ จ ะนำ �ไปใช้ เ ป็ น เงิ น ทุนหมุนเวียนส่วนหนึ่ง และอีกส่วน หนึ่งจะนำ�ไปลงทุนโครงการใหม่ ซึ่ง จะมีมูลค่าโครงการประมาณ 1,800 ล้านบาทภายในระยะเวลา 2 ปี” นายวันชัย กล่าว
สำ�หรับมาตรการภาครัฐ” บ้านหลังแรก” เชื่อว่าจะส่งผลดี ต่ อ บริ ษั ท ฯ เนื่ อ งจากโครงการ ประมาณ 80 - 90% ของบริษัทฯ มีราคาไม่เกิน 5 ล้านบาท และ มาตรการดังกล่าวมีอายุถึงสิ้นปี 55 ฉะนัน้ การผลักดันแรงซือ้ น่าจะ ค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไป เมื่ อ เที ย บกั บ นโยบายเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ก่อนหน้านี้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ คาดว่า ปี นี้ จ ะมี ร ายได้ 2 พั น ล้ า นบาท โดยรายได้สดั ส่วนถึง 50% มาจาก โครงการที่ ใ ช้ แ บรนด์ Lanceo
และ Lio จะเป็นแบรนด์ทมี่ รี ายได้ เติ บโตอย่ า งมี นั ย สำ � คั ญ ซึ่ งใน ปีหน้าคาดว่าสัดส่วนรายได้จาก 2 แบรนด์ ดั ง กล่ า วจะเพิ่ ม เป็ น ประมาณ 60% ที่ ปั จ จุ บั น มี โครงการอยู่รวมกัน 10 โครงการ ราคาต่อยูนิตไม่เกิน 4 ล้านบาท โดยแบรนด์ Lanceo และ Lio จะจับกลุ่มเป้าหมายอายุระหว่าง 25 - 38 ปี ทั้งนี้ โครงการ Lanceo รามคำ � แหง-วงแหวน มี จำ� นวน 214 ยู นิ ต มู ล ค่ า โครงการ 800 ล้านบาท บริษัทฯ ได้เปิดตัว
มาประมาณ 1 เดือน มียอดขาย แล้ว 50 - 60% ของเฟสแรกที่มี 100 ยูนิต ซึ่งคาดว่าทั้งโครงการ จะขายได้หมดภายใน 2 ปี ส่ ว นการปรั บ ราคาขาย ที่ผ่านมาได้ปรับตามต้นทุนวัสดุ ก่อสร้าง เฉลี่ย 5 - 8% ซึ่งแต่ละ โครงการปรับขึ้นไม่เท่ากัน
www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554 นโยบายที่ระดับ 0% - 0.25% จนถึงกลางปี 2013 ซึ่งยังไม่ส่งผลดี ต่อเศรษฐกิจเท่าที่ควรจนต้องมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม ดังกล่าว มาตรการกระตุ้นศก.จากเฟด ทั้งนี้ ภายหลังมีการประกาศมาตรการดังกล่าว อัตรา จะหนุนจีดีพีสหรัฐฯโต 0.2% - 0.4% ปีหน้า ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯระยะ 30 ปีลดลงมาอยู่ที่ระดับ รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า นักเศรษฐศาสตร์คาด ต่ำ�กว่า 3% เป็นครั้งแรกนับแต่ปี 2009 และที่ดัชนีตลาดหุ้นสหรัฐฯ การณ์วา่ มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจครัง้ ใหม่ของธนาคารกลางสหรัฐฯ ลดลงมากที่สุดในรอบ 1 เดือน หรือ เฟดจะส่งผลให้เศรษฐกิจสหรัฐฯขยายตัวได้ราว 0.2% - 0.4% ไอเอ็มเอฟจี้ภาคสถาบันการเงินยุโรปเพิ่มทุน ในปี 2012 นายคีธ เฮ็มเบรอดีตนักวิจัยที่เฟดสาขามินีอาโพลิส หวั่นพังจากการถือครองพันธบัตร กล่าวว่า แม้มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของเฟดทีป่ ระกาศออกมาจะ รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า กองทุนการเงินระหว่าง เสีย่ งต่อการทำ�ให้แรงกดดันเงินเฟ้อเพิม่ ขึน้ แต่เฟดไม่มที างเลือกอืน่ ประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟเตือนว่า วิกฤตหนีย้ โุ รปทำ�ให้ภาคสถาบันการ นอกจากต้องดำ�เนินมาตรการบางอย่างเพื่อกระตุ้นการฟื้นตัวของ เงินยุโรปเผชิญความเสี่ยงจากการถือครองตราสารหนี้ภาครัฐมูลค่า เศรษฐกิจ 300 พันล้านยูโร (410 พันล้านดอลลาร์ พร้อมกับเรียกร้องให้มีการ “ผมคิดว่า เฟดค่อนข้างถูกกดดันพอสมควรในขณะนี้ เพิม่ ทุนในภาคการเงินยุโรปเพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั นักลงทุน และ เฟดมีเพียงทางสองทางคือไม่ท�ำ อะไรเลยกับดำ�เนินการบางอย่างเช่น เพื่อกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อ ดังที่ได้ประกาศออกมา” นายเฮ็มเบรกล่าว นอกจากนี้ ไอเอ็มเอฟเตือนว่า ความไม่เป็นอันหนึ่ง เฟดได้ประกาศมาตรการซือ้ หลักทรัพย์ทมี่ กี �ำ หนดไถ่ถอน อันเดียวกันทางการเมืองในยุโรป และความล่าช้าในการตัดสินใจ 6 - 30 ปีขึ้นไป โดยจะเริ่มซื้อจนถึงเดือนมิถุนายนปีหน้าและจะออก เกีย่ วกับการแก้ปญั หาวิกฤตหนีเ้ ป็นเสีย่ งทีจ่ ะทำ�ให้เกิดการผิดนัดชำ�ระ พันธบัตรกำ�หนดไถ่ถอน 3 ปีหรือน้อยกว่าสามปีในจำ�นวนที่เท่ากับ หนี้โดยรัฐบาล การซื้อหลักทรัพย์ดังกล่าวเพื่อกดดันให้อัตราดอกเบี้ยระยะยาวใน “ภาคสถาบันการเงินในยุโรปกำ�ลังเผชิญความท้าทายในด้าน สหรัฐฯอยู่ในระดับต่ำ� และเพื่อลดความเสี่ยงในการที่เศรษฐกิจจะ การเข้าถึงแหล่งเงินทุน เนือ่ งจากนักลงทุนมีความกังวลว่า สถาบันการเงิน เผชิญภาวะถดถอย ในยุโรปอาจขาดทุนจากการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลยุโรป และต้องพึ่งพา ขณะทีก่ อ่ นหน้านีเ้ ฟดได้ประกาศว่า จะคงอัตราดอกเบีย้ สภาพคล่องจากธนาคารกลางยุโรป” ในรายงานของไอเอ็มเอฟระบุ
AFET
“ความต้องการหดตามเศรษฐกิจ”
นายชัยวัฒน์ เหมือนมี นักวิเคราะห์ บริษทั ดีเอส ฟิวเจอร์ส จำ�กัด (DSF) RSS3 - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 959 สัญญา สถานะคงค้าง 2,379 สัญญา - ปิด 138.35 บ./ก.ก. ลดลง 4.15 บาท (สัญญาส่งมอบเดือนเม.ย. 55) ปัจจัยบวก - ฝนตกทางใต้ฝง่ั อันดามันมากขึน้ ปัจจัยลบ - เส้นเทคนิคเป็นขาลงหลังหลุด 140 บ./ก.ก. - ความต้องการยางจากตปท.ชะลอตัวตามเศรษฐกิจ - เงินดอลล์แข็งค่ากดดันราคาโภคภัณฑ์ - นลท.ผิดหวังแผนกระตุน้ ศก.ของเฟด กลยุทธ์ - เก็งกำ�ไรฝัง่ ขาย (สัญญาส่งมอบเดือนเม.ย. 55) - แนวรับ 140 บ./ก.ก. - แนวต้าน 135 และ 130 บ./ก.ก.
หน้า 5
“มีธนาคารจำ�นวนมากในยุโรปจำ�เป็นต้องเพิ่มทุนเพื่อคง ความเชื่อมั่นของนักลงทุน รวมถึงผู้ฝากเงิน หากไม่มีฐานเงินทุนที่ เข้มแข็ง ปัญหาการเข้าถึงแหล่งเงินทุนจะเป็นปัจจัยกดดันเสถียรภาพ ของภาคธนาคารยุโรป ซึ่งนั่นจะส่งผลกดดันเป็นทอดต่อไปยังภาค เศรษฐกิจจริง” ไอเอ็มเอฟระบุ
นักวิเคราะห์คาดราคาแร่เหล็ก มีแนวโน้มหดติดต่อจนถึงปี 2015 รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ นักวิเคราะห์คาดราคาแร่เหล็ก ในตลาดโลกมีแนวโน้มลดลงติดต่อกัน 4 ปีจนถึงปี 2015 โดยจะเป็นการ ลดลงยาวนานที่สุดนับแต่ปี 1982 หลังปริมาณอุปทานเพิ่มขึ้นสูงกว่าความ ต้องการจากการขยายกำ�ลังการผลิตของเหมืองแร่เหล็กทั่วโลก โดยนักวิเคราะห์ที่สำ�รวจความเห็นโดยบลูมเบิร์กส่วนใหญ่คาดว่า ราคาแร่เหล็กอาจลดลง 29% มาอยู่ที่ 123 ดอลลาร์/ตันในปี 2015 จาก 173 ดอลลาร์/ตัน ซึ่งเป็นระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ในปีนี้ โกลด์แมนแซคส์คาดว่า ปริมาณแร่เหล็กเพื่อการส่งออกจะ เพิ่มขึ้น 53% ในปี 2015 ขณะที่ความต้องการใช้แร่เหล็กในจีนมีแนวโน้ม ลดลง ขณะทีส่ �ำ นักเศรษฐกิจพลังงานและทรัพยากรแห่งออสเตรเลีย คาดว่า ปริมาณการค้าแร่เหล็กในตลาดโลกปีนี้จะเพิ่มขึ้น 8% มาอยู่ที่ 1.2 พันล้านตัน โดยจีนจะยังคงเป็นประเทศที่มีความต้องการใช้แร่เหล็กมาก ที่สุด
TFEX “ลงต่อ”
นักวิเคราะห์ บล.กรุงศรีอยุธยา (AYS) SET50 Futures - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 29,991 สัญญา สถานะคงค้าง 40,952 สัญญา - ปิด 683.00 จุด ลดลง 32.70 จุด (สัญญา S50U11 ก.ย. 54) ปัจจัยลบ - เฟดใช้แผน Operation Twist แทน QE3 - หุน้ ทัว่ โลกทรุดหนัก หลังผิดหวังแผนกระตุน้ ศก.เฟด - มูดส้ี ล์ ดอันดับแบงก์สหรัฐฯ - หุน้ ไทยหลุด 1,000 จุด - ต่างชาติขายสุทธิในหุน้ 2700.53 ล้านบาท กลยุทธ์ - เปิดสถานะขาย (สัญญา S50U11 ก.ย. 54) - แนวรับ 648 จุด - แนวต้าน 698 - 700 จุด - SET50 ประเมินแนวรับ 650 จุด แนวต้าน 700 - 702 จุด www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
หน้า 6
GFPT เป้าหมายปี 55 ที่ 16 บาท
บล.ยูไนเต็ด (ประเทศไทย) แนะนำ�ซื้อ GFPT ราคาเป้าหมายปี 55 ที่ 16.00 บาท จากพื้นฐานที่ยังแข็งแกร่ง ภาพรวมการดำ�เนินงานในเดือนก.ค.-ส.ค.54 ยังเติบโตต่อเนื่อง แม้ ในช่วงกลางปีทผี่ า่ นมา ปริมาณไก่ไทยทีอ่ อกสูต่ ลาดจะเพิม่ สูงขึน้ ค่อนข้างมากและกดดันราคา ขายไก่หน้าฟาร์มเดือน ก.ค. - ส.ค. 54 เฉลี่ยปรับตัวลงมากกว่า -22% จากค่าเฉลี่ยใน Q2/54 เหลือ 40.9 บาทต่อก.ก. อย่างไรก็ตาม ณ ระดับราคาดังกล่าวก็ยังคงสูงกว่า Q3/53 ถึง 13% ท่ามกลางต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ไม่แตกต่างจากกันมากนัก จึงประเมินสภาวะธุรกิจขาย ชิ้นส่วนไก่ในประเทศยังคงสดใสกว่าช่วง Q353 ประมาณการผลการดำ�เนินงาน Q3/54 จะออกมาดีที่สุดในรอบปีที่ราว 400 - 425 ล้านบาท (+8-14%YoY) ส่วน Q4/54 แม้จะผ่านพ้นช่วง High season ของธุรกิจขายอาหาร สัตว์ไปแล้ว แต่ด้วยคาดมีแรงหนุนทั้งจากคำ�สั่งซื้อไก่ส่งออกจากฝั่งสหภาพยุโรปที่เพิ่มขึ้นและ ปัจจัยบวกของ GFN ที่จะเริ่มเข้าสู่จุดคุ้มทุน ดังนั้นจึงเชื่อมั่นผลการดำ�เนินงานใน Q4/54 จะ ยังดีกว่า Q4/53 ที่มีกำ�ไร 219 ล้านบาทได้และยังคงประมาณการกำ�ไรปี 54 ที่ 1,347 ล้านบาท (+16%YoY) อีกทั้งปี 55 ที่จะเริ่มรับรู้ผลการดำ�เนินงานของ GFN ที่พลิกเป็นบวกได้ จากในปี 54 ที่จะขาดทุนราว 150 - 200 ล้านบาท รวมถึงผลบวกของการรับรู้รายได้จากการ ขายไก่เป็นให้ GFN แบบ Cost Plus ในอัตรากว่า 0.1 ล้านตัวต่อวันเต็มปี ประเมินว่าเป็นแรง ขับเคลื่อนที่สำ�คัญให้กำ�ไรสุทธิปี 55 เติบโตได้กว่า 24%YoY เป็น 1,675 ล้านบาท
ข้อมูลเกี่ยวกับราคาหุ้น ณ สิ้นวันที่ 22/09/54
Symbol Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg
GFPT 9.35 -0.35 -3.61 9.65 9.70 9.25 9.70 9.37
AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.)
2,680,200 25,112 4.80 9.74 2.20 0.30 3.09 0.96 11,723
ภาพรวมข้อมูลผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 08/04/54
วันทำ�การซื้อขายที่ผ่านมาพบหุ้นซื้อ - ขาย ที่ระดับราคา 9.35 บาทหนาแน่นสุด
1. 2. 3. 4. 5.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายวิรัช ศิริมงคลเกษม NICHIREI FOODS INC. นายอนุชา กิจธนามงคลชัย
จำ�นวนหุ้น
(%)
222,795,100 220,000,000 180,000,000 56,716,050 51,510,000
17.77 17.55 14.36 4.52 4.11
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
News Station
พาณิชย์เพิ่มเป้าส่งออกปีนี้โต 20% นายยรรยง พวงราช เดียวกันปีก่อน ส่วนการส่งออกใน เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันปีก่อน ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ช่วง 8 เดือนปี 2554 (ม.ค. - ส.ค.) 26.41% ทั้งนี้เมื่อคิดเป็นรูปเงิน กระทรวงพาณิ ช ย์ ป รั บ เป้ า มีมูลค่า 1.58 แสนล้านดอลลาร์ บาทมีมูลค่า 4.75 ล้านล้านบาท การส่งออกในปี 54 เพิ่มเป็นโต 20% จากเดิมที่คาดการณ์ไว้โต 15% มีมลู ค่าส่งออกทัง้ ปีประมาณ 2.34 แสนล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยประเทศไทยจะเน้ น เพิ่ ม ศักยภาพในการส่งออกในตลาด อาเซียนให้มากขึ้น และถือว่าเป็น โอกาสดีที่สินค้าเกษตรหลายชนิด มีแนวโน้มปรับตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง “แม้แนวโน้มการส่งออก ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีจะไม่ เติบโตโดดเด่น แต่ก็เชื่อว่าภาพ รวมการส่งออกทั้งปีจะโตได้ 20% เนื่ อ งจากการส่ ง ออกในช่ ว ง 8 เดือนปี 54 (ม.ค. - ส.ค.) มีมูลค่า 1.58 แสนล้านดอลลาร์ เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันปีก่อน 26.41%” นายยรรยง กล่าว สำ�หรับตัวเลขการส่งออก ของไทยในเดื อ น ส.ค. 54 โต 31.1% ลดลงเมื่อเทียบจาก เดือนก่อนที่ โต 38.3% อย่างไร ก็ตามมูลค่าการส่งออกในเดือน ส.ค.อยูท่ ี่ 2.15 หมืน่ ล้านดอลลาร์ สหรัฐ ถือว่าเป็นระดับทีส่ งู สุดเป็น ประวัติการณ์ เมื่อเทียบกับช่วง
กิตติรัตน์ยันรัฐรับมือศก.โลกไหวไม่ฉุดส่งออก นายกิตติรตั น์ ณ ระนอง รองนายกรั ฐ มนตรี และรมว. พาณิชย์ เปิดเผยว่า รัฐบาลพร้อม รับมือผลกระทบจากการชะลอตัว ของเศรษฐกิ จโลกอย่ า งดี ที่ สุ ด และเชื่ อ ว่ า ในระยะสั้ น ปั ญ หา เศรษฐกิ จ ทั้ ง ทางฝั่ ง สหรั ฐ และ ยุ โ รป จะยั งไม่ ก ระทบต่ อ การ ส่งออกของไทย เนื่องจากสินค้า ส่งออกของไทย เป็นกลุ่มสินค้าที่ จำ � เป็ น สำ � หรั บ ผู้ บ ริ โ ภค ขณะ
เดี ย วกั น รั ฐ บาลชุ ด นี้ ต้ อ งการ เปลี่ยนการพึ่งพาการส่งออก ซึ่ง อยูท่ ปี่ ระมาณ 70% ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ(จี ดี พี ) มา เป็ น การพึ่ ง พาการบริ โ ภคใน ประเทศ รวมทัง้ ต้องการเน้นการก ระจายรายได้ มากกว่าการเติบโต ทางเศรษฐกิ จ โดยคาดว่ าใน 2 - 3 ปีข้างหน้า จะปรับสมดุล เศรษฐกิจตามแนวทางดังกล่าวได้ “นโยบายการเงิ น ของ
ประเทศตะวันตกส่วนใหญ่ จะใช้ มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ หรือ QE ซึง่ มีผลทำ�ให้ปริมาณเงิน เพิม่ ขึน้ แต่กจ็ ะเกิดภาวะราคาเฟ้อ” คือต้องใช้เงินจำ�นวนมากขึน้ ในการ ซื้อสินค้า ซึ่งไทยคงต้องตั้งรับให้ดี ในเรื่ อ งการนำ � เข้ า และส่ ง ออก” นายกิตติรัตน์ กล่าว ส่ ว นปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ นใน ยุโรป เขามองว่า เป็นเพราะใช้เงิน สกุ ล เดี ย วกั น จึ ง ไม่ ส ามารถ
หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น 17.5% จากช่ ว ง เดียวกันปีก่อน ส่วนตัวเลขการนำ�เข้าใน เดือนส.ค.54 โต 44.0% เพิ่มขึ้น จากเดื อ น ก.ค. ที่ โ ต 13.5% โดยมีมลู ค่าการนำ�เข้าในเดือนส.ค. ที่ 2.27 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ส่งผลให้ดลุ การค้าของไทยในเดือน ส . ค . 5 4 ข า ด ดุ ล ก า ร ค้ า 1.20 พันล้านดอลลาร์ นับตั้งแต่ เดือนเม.ย. ทีข่ าดดุลการค้า 796.5 ล้านดอลล์ โดยการนำ�เข้าขยายตัว ทุกหมวดสินค้า โดยเฉพาะสินค้า ทุน ที่การนำ�เข้ามีมูลค่า 5.94 พั น ล้ า นดอลลาร์ หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น 37.6% จากช่ ว งเดี ย วกั น ปี ก่ อ น และสินค้าเชื้อเพลิง มูลค่าการนำ� เข้ า 4.89 พั น ล้ า นดอลลาร์ เพิ่มขึ้น 77.5% “สาเหตุ ที่ ใ นเดื อ นส.ค. การนำ�เข้าเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากไทย นำ�เข้าสินค้าทุนและวัตถุดบิ เป็นหลัก โดยเฉพาะน้ำ�มันดิบ และทองคำ� ดังนั้นจึงไม่ควรวิตกกังวล เพราะ สินค้าทุนที่มีการนำ�เข้ามากดังกล่าว จะช่วยเพิม่ ศักยภาพของประเทศไทย ทัง้ นี้ ควรมองเรือ่ งของการขยายการ ค้าดีกว่า” นายยรรยง กล่าว แก้ ปั ญ หาทั้ ง หมดได้ ด้ ว ยตั ว เอง แต่ ต้ อ งใช้ นโยบายการคลั ง รวม เพื่ อ แก้ ปั ญ หาซึ่ ง ถ้ า แก้ ไ ขได้ เ ร็ ว ไทยก็จะได้รบั ผลกระทบไม่มากนัก ทั้ ง นี้ รมว.พาณิ ช ย์ ยังคาดก่อนหน้านัน้ ว่า การส่งออก ของไทยจะขยายตัวมากกว่า 15% ในปีนี้ และอีก 15% ในปีหน้า
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
“จรัมพร” เชื่อบจ.ไทยแข็งแกร่ง ไม่ห่วง SET ร่วงตามภูมิภาค นายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการ และผู้ จั ด การ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) เปิดเผยว่า ตลาดหุน้ ไทย ปรับลดลงค่อนข้างมากวานนี้ เป็นไปตาม ทิศทางตลาดต่างประเทศที่ปรับลงแรงหลัง จากธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ไม่ได้ออก มาตรการผ่ อ นคลายเชิ ง ปริ ม าณรอบใหม่ (QE3) ตามที่ตลาดคาดหวังไว้ จึงกระทบต่อ ตลาดหุ้ น ทั่ วโลก รวมทั้ ง ตลาดหุ้ น ไทย เนื่องจากบรรดานักลงทุนต่างชาติขายหุ้น ในมือต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม มองว่าปัจจัยดังกล่าว ไม่ใช่เรื่องที่น่ากังวลมากนัก เพราะปัจจัยพื้น ฐานทางเศรษฐกิจของประเทศยังอยูใ่ นเกณฑ์ ที่ดี มาตรการภาครัฐที่ออกมาก็กระตุ้นและ
สร้างบรรยากาศในการลงทุนดีชึ้น ขณะที่ บริษัทจดทะเบียนไทยก็มีความแข็งแกร่งจาก บทเรียนที่ผ่านมาในอดีตทำ�ให้สามารถรองรับ ผลกระทบต่างๆ ได้ดีขึ้น ซึ่งน่าจะเป็นโอกาส ในการลงทุ น เพื่ อ สร้ า งผลตอบแทนที่ ดี ไ ด้ แต่ ก็ แ นะติ ด ตามสถานการณ์ ต่ า งประเทศ ใกล้ชิด “ทีต่ ลาดหุน้ ร่วงวานนีผ้ มมองว่าไม่นา่ กังวล ผลกระทบคงมี แต่ไม่มาก ส่วน Fund flow จะออกมากแค่ไหนคงต้องดูภาพใหญ่ แต่ที่ผ่านมาก็เห็นการคลื่อนย้ายเม็ดเงินจาก ตลาดหุ้นไปพันธบัตรค่อนข้างมาก ตอนนี้ยัง ไม่จ�ำ เป็นต้องทำ�อะไร เพราะยังไม่ถงึ จุด และ ก็เชือ่ ว่าบจ.ไม่นา่ จะได้รบั ผลกระทบจากความ ผันผวนดังกล่าว เนือ่ งจากมีบทเรียนและมีการ บริหารธุรกิจทีด่ คี งปรับตัวได้ และผลประกอบการ บจ.ที่ผ่านมาก็เติบโต” นายจรัมพร กล่าว
News Station
หน้า 8
BJC ตั้งบริษัทใหม่ในเกาะฮ่องกงรองรับทำ� ธุรกิจผลิต-เทรดดิ้ง รายงานข่าวจาก บมจ.เบอร์ลี่ ยุค เกอร์(BJC) เปิดเผยว่า บริษัทฯ ได้จัดตั้ง บริษัทใหม่ในเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ได้แก่ บีเจไอเอ็มเค คัมปะนี ลิมิเต็ด เมื่อวันที่ 29 ส.ค.เพือ่ ทำ�ธุรกิจค้าขาย นำ�เข้า ส่งออก ผลิต และกระจายสินค้า ทุนจดทะเบียน 10,000 เหรียญฮ่องกง หรือประมาณ 38,747 บาท แบ่งเป็นหุน้ สามัญ จำ�นวน 10,000 หุน้ มูลค่า หุ้นละ 1 เหรียญฮ่องกง ทัง้ นี้ บริษทั บีเจซี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ BJC ถือหุ้นอยู่ 100% ได้เข้าถือหุ้นใน 75% ในบีเจไอเอ็มเค คัมปะนี ลิมเิ ต็ด คิดเป็นมูลค่า 7,500 เหรียญ ฮ่องกง หรือประมาณ 29,060.25 บาท โดยใช้ แหล่งเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท
CMO เผยตุนงานกว่า 600 ล. มั่นใจรายได้ปีนี้เข้าเป้าแตะ 1 พันล. นายเสริมคุณ คุณาวงศ์ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.ซีเอ็ม ออร์กาไนเซอร์ (CMO) เปิดเผยว่า คาดรายได้ในปีนจี้ ะทำ�ได้ ประมาณ 1,000 ล้านบาทขยายตัว 20% เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น เนือ่ งจากในช่วงครึง่ ปีหลัง ธุ ร กิ จ อี เ วนต์ เ ติ บโตได้ ดี จ ากสถานการณ์ การเมืองในประเทศไม่มีความรุนแรงและมี เสถียรภาพมากขึน้ โดยปัจจุบนั บริษทั ฯ มีงาน
ทีเ่ ซ็นสัญญาแล้ว (backlog) ทัง้ สิน้ 600 ล้าน บาท จะทยอยรับรู้รายได้เต็ม 100% ในปีนี้ โดยมีงานขนาดใหญ่ อาทิ งานบีโอไอแฟร์ 2011 ปลายปีนมี้ มี ลู ค่างานประมาณ 280 ล้าน บาท ขณะทีป่ นี บี้ ริษทั ฯ ได้ตงั้ งบลงทุน 60 กว่าล้านบาทสำ�หรับให้ บริษทั พีเอ็ม เซ็นเตอร์ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ CMO ถือหุ้น 99.99%
ซื้ออุปกรณ์ในการจัดอีเวนต์เพื่อให้เช่า ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ยื่นประมูลงานเพิ่ม อีกมูลค่า 300 ล้านบาท ซึง่ จะทยอยรูผ้ ลได้ใน ช่วงปลายปีนี้จนถึงต้นปี 55 แต่ยังไม่สามารถ ระบุได้วา่ จะรับงานได้ในสัดส่วนเท่าไร ขณะที่ งบลงทุนปี 55 ยังไม่ได้สรุปเพราะยังไม่ได้ กำ�หนดแผนงานอย่างเป็นทางการในปีหน้า
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
ตามรอย IPO
Gold Trend คนดังกับการลงทุน
Dynamic Station
หน้า 9
ประสบการณ์จากรายย่อย วัดอุณหภูมหิ นุ้ ร้อน
AS...หุ้นเกมส์มีอนาคต AS หุ้นเกมส์ที่มีอนาคต ระบุครึ่งปีหลังรุกเปิดเกมใหม่ - แผนซื้อกิจการ คาดได้ข้อสรุป 2 - 3 ราย หวังช่วย ให้กำ�ไรสุทธิโตไม่น้อยกว่า 10% ปรับเพิ่มกำ�ไรปีนี้เป็น 327.10 ล้านบาท ส่วนปี 55 ตลาดอินโดฯจะเป็นตัวสร้างการ เติบโตหลัก คาดกำ�ไรสุทธิที่ 406.09 ล้านให้ราคาพื้นฐานเป็นปี 55 ที่ 18 บาท อิง P/E 14 เท่า ตามการเติบโตที่สูงขึ้น หุ้นสัปดาห์นี้ที่เต็มไปด้วย สีแดง ครองตลาด จากความผิ ด หวั ง ต่ อ ผล ประชุมเฟด หันมามองหุ้นอย่าง บริษัท เอเชี ย ซอฟท์ คอร์ ป อเรชั่ น จำ � กั ด (มหาชน) (AS) ผู้ให้บริการด้านความ บั น เทิ ง ออนไลน์ ประเภทต่ า งๆ โดย ปั จ จุ บั น เป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารเกมออนไลน์ (Online Game Operator) ชั้นนำ�ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องจากการตรวจสอบความ เคลื่อนไหวราคาหุ้นในช่วงรอบสัปดาห์ ยังมีทิศทางขาขึ้น จากระดับต่ำ�สุดวันที่ 19 ก.ย.อยู่ที่ 12.30 บาท ทะยานสูงสุด วานนี้ (22 ก.ย.) ที่ 13.90 บาท เพิ่มขึ้น 1.6 บาท 13.0% ประกอบกับก่อนหน้านี้บิ๊ก AS คาดกำ�ไรปีนี้โตกว่า 20% หลังมองรายได้ โตเข้าเป้า 20% เหตุมาร์จิ้นสูง-เล็งเปิด เกมใหม่ 9 เกม ขณะที่ควักงบ 300 ลบ. ใช้ใน M&A ราว 2 - 3 บริษัท คาดได้ ข้อสรุปใน 1 - 2 เดือนนี้ พร้อมประกาศ ขึ้นแท่นอันดับ 1 ในวงการอินเทอร์เน็ต แถมเล็งเพิ่มสัดส่วนตลาด ตปท.ปีหน้า เป็น 50% จากปีนี้อยู่ที่ 40% - ขยายฐาน เกมออนไลน์ ในตลาดอินโดฯ-เวียดนามฟิลิปปินส์ และล่าสุด “เอ แคปปิตอล” บริ ษั ท ย่ อ ย ซื้ อ หุ้ น “ไซเบอร์ เ กมส์ คอร์ปอเรชัน่ ” หวังต่อยอดธุรกิจให้บริการ เกมผ่ า นระบบสื่ อ สาร-เครื อ ข่ า ยทาง อินเทอร์เน็ต ด้านบล.ฟิลลิป (ประเทศไทย) คาดว่าครึง่ ปีหลังจะรุกเปิดเกมมากขึน้ และ จะได้ข้อสรุปแผนการซื้อกิจการ ปีนี้จะมี
การเปิดเกมใหม่มากสุดตัง้ แต่ตงั้ บริษทั มา โดยจะเปิด 16 เกม ทั้งในไทย มาเลเซีย และสิ ง คโปร์ ซึ่ ง หากรวมที่ จ ะเปิ ด ที่ อินโดนีเซียอีก 2 เกม ก็จะเป็น 18 เกม โดยครึ่งปีแรกเปิด เกมไปแล้ว 7 เกม แบ่ ง เป็ น ในประเทศ 6 เกม และ ต่างประเทศ 1 เกม ขณะที่ ครึง่ ปีหลังจะ เปิดในไทย อีก 7 เกม และต่างประเทศ 4 เกม การเปิดเกมในไทยถึง 13 เกม ก็เพือ่ ทีจ่ ะเพิม่ ส่วนแบ่งตลาด กระจายเกม ไปในทุกกลุ่มลูกค้า โดยเฉพาะกลุ่มที่ยัง เป็นจุดอ่อน และสกัดกันคู่แข่ง นอกจาก นี้ยังมีแผนสร้างการ เติบโตด้วยการเข้าซือ้ กิจการ โดยในเดือน มี.ค. เข้าถือหุน้ ในไทยแวร์ คอมมิวนิเคชัน่ เจ้าของเว็บไซต์ “Thaiware” เพือ่ เพิม่ รายได้ จากโฆษณาทางเว็บไซต์ และโอกาสใน ธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้องในอนาคต และยังมี การเจรจาอยู่ ห ลายรายในธุ ร กิ จ เกม ออนไลน์ทั้งในและ ต่างประเทศ รวมไป ถึงธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งทีจ่ ะสร้างรายได้ให้กบั บริษัท คาดจะสามารถได้ข้อสรุป 2 - 3 รายในครึง่ ปีหลังนี้ โดยเงินลงทุนทีค่ าดว่า จะใช้อยู่ระหว่าง 300 - 400 ล้านบาท และคาดหวังการ เข้าซื้อกิจการจะช่วยให้ กำ�ไรสุทธิโตไม่น้อยกว่า 10% อย่ า งไรก็ ต ามยั ง คงคาดการณ์ รายได้ในปี 2554 ที่ 1,765.76 ล้านบาท แต่การที่บริษัทยังสามารถควบคุมค่าใช้ จ่ า ยไว้ ไ ด้ ดี จึ ง ปรั บ เพิ่ ม กำ �ไรสุ ท ธิ จ าก 317.55 ล้านบาท เป็น 327.10 ล้านบาท และในปี 55 ตลาดอินโดนีเซียจะเป็น ตัวสร้างการเติบโตหลัก แม้จะยังไม่รวม
แผนการเข้าซื้อกิจการ โดย คาดรายได้รวมอยู่ ที่ 2,145.17 ล้านบาท และกำ�ไรสุทธิที่ 406.09 ล้านบาท ทางฝ่ายปรับราคาพื้นฐานเป็นปี 55 ที่ 18 บาท อิง P/E 14 เท่า ตามการเติบโต ที่สูงขึ้น ยังคงแนะนำ� “ซื้อ” อย่างไรก็ตามนาทีนี้ ตลาดหุน้ สวมเสือ้ แดงทัง้ กระดาน ดังนัน้ การลงทุนจึงมีความเสีย่ ง ก่ อ นตั ด สิ น ใจลงทุ น ดู ห น้ า หลั ง ให้ ดี ก่ อ น เจ็บตัวนะจ๊ะ....
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
Lifestyle Station
ดินสอทำ�ไมมีตัว H กับตัว B
by Jackal_XIII
หลายคนคงจะรู้กันอยู่แล้วว่าไส้ของดินสอนั้นทำ�มาจากแกรไฟต์ แต่ถ้าลงลึกไปในรายละเอียดแล้ว แกรไฟต์ไม่ใช่ส่วนผสมเดียวของไส้ดินสอ แต่ยังมีผงดินเหนียวและน้ำ�รวมอยู่ด้วย หรือถ้าเป็นดินสอสีก็จะมี เม็ดสีเป็นอีกส่วนผสมหนึ่ง ซึ่งส่วนของแกรไฟต์และดินเหนียวที่ใช้มีความสำ�คัญกับคุณภาพของดินสอที่ได้ กล่าวคือ ยิ่งผสมดินเหนียวมากขึ้นเท่าไร ไส้ดินสอที่ได้ก็จะแข็งขึ้นและสีอ่อนลงเท่านั้น ส่วนสัญลักษณ์ 2B ที่พวกเราคุ้นเคยกันนั้น เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพของดินสอตามระบบแบบยุโรป ซึ่งจะวัดระดับของไส้ดินสอตาม H (Hardness) คือ ความแข็ง และ B (Blackness) คือ ความดำ� รวมทั้ง F (Fine point) คือ ความละเอียดของเนื้อ มาตรฐานดินสอ ที่ใช้เขียนกันทั่วไปอยู่ในระดับ HB ส่วนดินสอสำ�หรับระบายกระดาษคอมพิวเตอร์ ต้องใช้ความเข้มระดับ 2B ขึ้นไป ทั้งนี้ ดินสอที่ผลิตอยู่ในท้องตลาด มีตั้งแต่ 9H ซึ่งมีไส้ดินสอที่แข็งที่สุดแต่ให้สีอ่อนที่สุด ไล่ไปที่ 8H, 7H, 6H, 5H, 4H, 3H, 2H, H, F และ HB ซึ่งเป็นดินสอระดับมาตรฐานสำ�หรับงานเขียน ไปจนถึงระดับ B, 2B, 3B, 4B, 5B, 6B, 7B, 8B และ 9B ซึ่งเป็นดินสอที่มีไส้อ่อน ที่สุดแต่ก็สีดำ�ที่สุด สรุป ได้ว่า ดินสอที่มีตัว H มากจะยิ่งให้สีอ่อนลงเรื่อยๆ ในทางตรงข้าม ดินสอที่มีตัว B มาก จะยิง่ มีสเี ข้มมากขึน้ เรือ่ ยๆ โดยดินสอทีม่ คี วามเข้มมากจะใช้ในการแรเงา ส่วนดินสอทีม่ คี วามเข้มน้อยจะใช้ ในการร่างภาพ นอกจากเกณฑ์การวัดระดับไส้ดนิ สอตามระบบยุโรปแล้ว ยัง มีระบบตัวเลขทีใ่ ช้กนั ในอเมริกา โดย ดินสอเบอร์ 1 = B, ดินสอเบอร์ 2 = HB, ดินสอเบอร์ 2 1/2 = F, ดินสอเบอร์ 3 = H และดินสอเบอร์ 4 = 2H อีกตัวเลขทีเ่ ราคุน้ เคยอีกแบบคือตัวเลขกำ�กับขนาดของ ไส้ดนิ สอทีใ่ ช้กบั ดินสอกด ได้แก่ 0.3, 0.5, 0.7, 0.9, 1.0 และ 1.5 ทั้งหมดมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรและเป็นตัวระบุความหนาของไส้ดินสอ
Photo Release
บจ.ไทยพร้อมสู่การแข่งขันระดับภูมิภาค จรัมพร โชติกเสถียร กรรมการ และผู้ จั ด การ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย พร้ อ มผู้ บ ริ ห ารบริ ษั ท จดทะเบียนกว่า 40 บริษัท ร่วมแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการเสริม ศักยภาพบริษัทจดทะเบียนให้พร้อมสำ�หรับ การแข่งขันในระดับภูมิภาค ในงาน TOP EXECUTIVES’ NETWORKING 2011: ENHANCING COMPETITIVENESS เมื่อ 16 - 17 ก.ย. 54 ที่ผ่านมา ณ โรงแรม ฮอลิเดย์อินน์ พัทยา
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
มุมการตลาด
Lifestyle Station
“ตราเพชร” ผนึก “แฮดเลย์” ลุยระบบผนังสำ�เร็จรูป “ไดมอนด์วอลล์”
บมจ.ผลิตภัณฑ์ตราเพชร (DRT) ผู้ผลิตและจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์ ระบบหลังคา ไม้สังเคราะห์ พื้นไม้ลามิเนต แผ่นบอร์ด ยิปซัม และบริการ หลังการขาย ภายใต้แบรนด์ “ตราเพชร” ร่วมกับพันธมิตร บริษัท แฮดเลย์ ผู้ผลิตสินค้าจากเหล็กรีดเย็นสัญชาติอังกฤษ พัฒนาระบบผนังสำ�เร็จรูปภายใต้ แบรนด์ “ไดมอนด์วอลล์” ซึ่งเป็นนวัตกรรมการก่อสร้างรูปแบบใหม่ ที่นำ�เอา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฟเบอร์ ซี เ มนต์ บ อร์ ด แบรนด์ ไ ดมอนด์ บ อร์ ด ของตราเพชร มาประกอบกั บ อุ ป กรณ์ ติ ด ตั้ งโครงผนั ง ที่ ไ ด้ รั บ การออกแบบจากแฮดเลย์ เพื่ อ ก่ อ สร้ า งผนั ง ทึ บ ภายในอาคารสู ง ที่ มี พื้ น ที่ ผ นั ง ภายในจำ � นวนมาก ซึ่งสามารถทดแทนการก่ออิฐฉาบปูนในรูปแบบเดิมๆ ที่ประสบปัญหาความยุ่ง ยากในการก่อสร้างและเสียเวลาเก็บงาน รวมถึงใช้จำ�นวนคนงานในการก่อสร้าง จำ�นวนมาก จุดเด่นระบบผนังสำ�เร็จรูป “ไดมอนด์วอลล์” เป็นการออกแบบอุปกรณ์ติดตั้งโครงผนังอาคารด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่มีความแม่นยำ� และผลิตภัณฑ์ ไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ดภายใต้แบรนด์ไดมอนด์บอร์ดที่มีมาตรฐานการผลิตที่มีคุณภาพจากโรงงาน ที่สามารถออกแบบแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ดให้มีระดับความสูง และความหนาได้ตามความการ เพื่อนำ�ไปใช้ในการก่อสร้างผนังภายในอาคาร และสามารถรองรับการเดินระบบน้ำ�และระบบไฟของอาคาร เพื่อให้ช่างผู้รับเหมา สามารถดำ�เนินการก่อสร้างได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงจากปัจจัยด้านต้นทุนค่าแรงและการขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมการก่อสร้างได้
มุมประกัน
เครือธ.กรุงเทพ ร่วมงานสัปดาห์ประกันภัย 54 นำ�เสนอผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ เพื่อลูกค้าทุกกลุ่ม
นายชัย โสภณพนิช ประธานกรรมการและกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (กลาง) บริ ษั ท กรุ ง เทพประกั น ภั ย จำ � กั ด (มหาชน) นางกั ล ยา ม้ า มณี ที่ปรึกษา (ซ้าย) บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) และนางพจณี คงคาลัย เจ้าหน้าที่บริหารระดับ Senior Vice President สายงานลูกค้าบุคคล นครหลวง (ขวา) ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) พร้อมคณะผู้บริหารจาก ทั้ง 3 องค์กร ร่วมเปิดบูธและถ่ายภาพที่ระลึกบริเวณด้านหน้าบูธเครือธนาคาร กรุงเทพ ในงานสัปดาห์ประกันภัย 54 ภายใต้การนำ�เสนอด้วยแนวคิด “อุ่นใจ ไปกั บ หลากหลายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ารเงิ น เพื่ อ ความมั่ น คงในชี วิ ต ” โดยธนาคาร กรุงเทพและบริษัทในเครือนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ทางการเงินเพื่อความมั่นคงในชีวิต ที่ช่วยเสริมความอุ่นใจให้ลูกค้าได้รับทราบถึงสิทธิประโยชน์ ทั้งด้านการออมเงิน ในระยะยาว บริการประกันชีวิตที่สร้างหลักประกันที่มั่นคงให้กับครอบครัว ผลประโยชน์ทางด้านภาษี และอัตราผลตอบแทนที่แตกต่างกันไปในกรมธรรม์แต่ละประเภท นับเป็นการผนึกกำ�ลังครั้งสำ�คัญของเครือธนาคาร กรุงเทพในการนำ�เสนอบริการที่เกี่ยวข้องกับประกันถึงกลุ่มลูกค้าโดยตรง
SYNEX จัดสัมมนา “มันส์สุดขีด กรี๊ดไปกับ DIY” สุพันธุ์ มงคลสุธี (ที่ 3 จากขวา) ประธานกรรมการและประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.ซินเน็ค (ประเทศไทย) (SYNEX) พร้อมด้วย สุวรรณี ลี่ (ที่ 2 จากขวา) รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์และสื่อสาร การตลาดของบริษัทฯ และตัวแทนจากบริษัทคู่ค้าไอทีชั้นนำ� ถ่ายภาพเป็นที่ ระลึกร่วมกัน ในโอกาสเปิดงานสัมมนา “มันส์สุดขีด กรี๊ดไปกับ DIY” ที่จัดขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ พร้อมการแนะนำ�สินค้าและเทคโนโลยี ใหม่ล่าสุดจากแบรนด์ชั้นนำ� อาทิ ASUS, Nvidia, Kingston และ WD ให้กับ ตัวแทนจำ�หน่ายสินค้าไอทีของบริษัทฯ ณ สตูดิโอรายการแบไต๋ไฮเทค ชั้น 4 ศูนย์การค้าดิจิตอลเกตเวย์ สยามสแควร์ โดยมี พงศ์สุข หิรัญพฤกษ์ (ขวาสุด) เป็นพิธีกรในงานสัมมนา www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
IR Society
ภูวดล วสุธาร
กระบอกเสียง
SGP
การเรียนรู้คือกลยุทธ์สำ�หรับมือใหม่ ตัวผมยังถือว่าเป็นมือใหม่หดั ขับสำ�หรับงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ แต่ สิ่ ง ที่ ทำ �ให้ ผ มประสบความสำ � เร็ จในวิ ช าชี พ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ หรื อ IR เป็นเรื่องของการเรียนรู้ทุกด้าน อาทิ ด้านบริหารจัดการ, ด้านการวิเคราะห์ ข้ อ มู ล และสิ่ ง สำ � คั ญ คื อ การเรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ งานด้ า นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ให้มากที่สุด เพื่อเพิ่มพูนความรู้และสะสมเทคนิคต่างๆ ให้ได้มากที่สุด
ตอนที่2
กระจายข่าวสารตามรอย IR รุ่นพี่ สำ�หรับการกระจายข่าวสารไปยังนักลงทุน อันที่จริงมีรุ่นพี่ที่อยู่ใน วิชาชีพ IR หลายท่านได้เน้นย้ำ�สู่รุ่นน้องถึงการนำ�เสนอข้อมูลที่ตรงไปตรงมา
และอยู่บนความจริง ซึ่งผมเองก็ยึดหลักนั้นปฏิบัติมาโดยตลอด เพราะข้อมูลที่เรานำ�เสนอออกไป จะเป็นตัวสร้างความเชื่อมั่น ให้กับนักวิเคราะห์และนักลงทุน วางแผนประชาสัมพันธ์เพื่อการพัฒนา ปกติบริษัทฯ จะจัดพบนักลงทุนเป็นประจำ�ทุกไตรมาส ในงาน Opportunity Day ที่จัดร่วมกับตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารและข้อมูลการดำ�เนิน ธุรกิจต่างๆ ให้นกั ลงทุนได้รบั ทราบ นอกเหนือจากนี้ เป็นเรือ่ งของ โรดโชว์ที่บริษัทฯ ดำ�เนินการเป็นครั้งแรก ในช่วงไตรมาส 3/2553 หลังจากที่บริษัทฯ เข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อปี 2548 ส่วนใหญ่ จะเป็นโรดโชว์ภายในประเทศ สำ�หรับต่างประเทศก็จะมีแถบ ประเทศเพื่อนบ้าน อย่างสิงคโปร์ ผลตอบรับจากนักลงทุนถือว่า อยูใ่ นเกณฑ์ทดี่ ี และถือเป็นกระจกสะท้อนเพือ่ ให้เรากลับมาพัฒนา ความรู้ต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น
......อ่านต่อฉบับหน้า.....
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
แนวโน้ ม ตลาดหุ้ น ไทยวั น นี้ มีโอกาสรีบาวน์ หลังวานนี้ดัชนีฯ ปรับตัว ลงแรง แต่ อ าจจะเป็ น การรี บ าวน์ ในช่ ว งสั้ น เพราะทิ ศ ทางตลา ดหุ้ น ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกประเทศ โดยเฉพาะปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มถดถอย รวมถึงปัญหาหนี้ของ ยุโรป ถือเป็นปัจจัยที่กดดันตลาดฯ ทั้งนี้ จากดัชนีฯ ลดลงต่ำ�กว่าระดับ 1,000 จุด ส่งผลให้มแี นวรับถัดไปอยูท่ ี่ 990 จุด และ 980 จุด โดยหากหลุดแนวรับดังกล่าว อาจจะทำ�ให้ทิศทางตลาดหุ้นมีมุมมอง ไม่ดีนัก
ดั ช นี ต ลาดหุ้ นไทยวั น นี้ ท รงตั ว โดยมี โ อกาสรี บ าวน์ ไ ด้ ใ นสั ป ดาห์ ห น้ า จาก Window Dressing ซึ่งต้องจับตา ว่าเป็นช่วงไหนของสัปดาห์ เนื่องจาก ถื อ เป็ น จั ง หวะเหมาะกั บ การเก็ ง กำ �ไร โดยวานนี้ ต ลาดหุ้ น ต่ำ � สุ ดในรอบเกื อ บ ครึ่งปี จากเดือน มี.ค.ที่ผ่านมาดัชนีฯ ปรั บ ลดลงที่ 984.55 จุ ด หลั ง เกิ ด เหตุการณ์สึนามิในญี่ปุ่น แต่ประเด็นที่มี ผลกระทบช่วงนี้มาจากสหรัฐฯ และยุโรป หลังผลการประชุมธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ไม่ มี ก ารออกมาตรการ QE3 ส่งผลให้นักลงทุนผิดหวัง
หน้า 13
บรรยากาศลงทุนช่วงนี้ ดัชนีฯ เคลื่ อ นไหวผั น ผวน กลยุ ท ธ์ ก ารลงทุ น แนะนำ�ให้ขายตามแนวต้านที่ 998 - 1,011 จุด ส่วนแนวรับให้ไว้ที่ 985 - 973 จุด สำ�หรับนักลงทุนทีล่ งทุนในช่วงนี้ ควรเลือก หุ้นพื้นฐานดี และมีปันผล โดยหุ้นเด่น แนะนำ�กลุ่มสื่อสาร
www.istationnews.com
Data Station
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันย�ยน 2554
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 22 กันย�ยน 2554
Stock Exchange of Thailand [SET] [Day]
TRADING BY INVESTOR TYPE
Type
Institute
Proprietary
Foreign Local
Buy
Sell
Net
2,998.34 9.23% 4,895.81 15.07% 5,083.38 15.65% 19,503.80 60.05%
2,904.66 8.94% 5,964.34 18.36% 7,783.91 23.96% 15,828.41 48.73%
93.68 -1,068.53 -2,700.53 3,675.39
Last Update
A dv ance 6%
No C hange 5%
22/09/11
Index
Last
SET SET 50 SET 100 MAI SET Value MAI Value Last Updated
990.59 689.1 1,498.20 273.76
Chg
%Chg
-39 -27.98 -62.54 -11.53 (Mil. ฿) (Mil. ฿)
22/9/2011
-3.79 -3.9 -4.01 -4.04 32,481.33 497.01
17:01:55
AGRO 0
-1.66
-1
TECH
D ecline 89%
-3.05
-2 -3 -4
CONSUMP -4.1
-5 -6
-2.93
-3.76
-7
SERVICE
FINCIAL
-8
-7.74 A dv ance 13%
D ecline 74%
No C hange 13%
-3.68
-3.42
RESOURC
INDUS
PROPCON www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันย�ยน 2554
หน้� 15
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 22 กันยย�ยน 2554
PTT
( Day )
: PTT 2,000,000 1,800,000
Price & Fundamental Symbol PTT
Last 302.00 Chg -10.00 %Chg -3.21 Open 307.00 High 307.00 Low 301.00 Prev 312.00 Avg 303.60 AccVol 6,197,700 AccVal(K฿) 1,881,651 1.98 %Fluct P/E 7.80 P/BV 1.64 DPS(Baht) 6.00 Yield(%) 3.27 EPS(Baht) 38.71 MktCap(Mil.) 862,024 Broker Target Update PST 396.00 21/9/2011 หลักSCBS ทรัพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็465.00 นต์การเปลีย่ นแปลง 19/9/2011 ของราคาเพิ ส่ ดุ และมีมลู 15/9/2011 ค่าการ KTZ ม่ ขึน้ มากที337.00
ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
1,600,000 1,400,000
Vol.
1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 307.00
306.00
Price
305.00
304.00
303.00
302.00
301.00
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันย�ยน 2554
หน้� 16
Top MostActive Gainer ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 22 กันยย�ยน 2554
TOG
( Day )
Volume Analysis
: TOG
Price & Fundamental Symbol TOG
Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.) Broker KKS CGS
3.28 0.06 1.86 3.20 3.32 3.20 3.22 3.26 7,481,000 24,394 3.68
11.31 0.96 0.05 7.74 0.29 1,545 Target Update 4.38 6/9/2011 3.60 31/8/2011
2,500,000 2,000,000
Vol.
1,500,000 1,000,000 500,000
3.32
3.30
Price
3.28
3.26
3.24
3.22
3.20
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันย�ยน 2554
Top MostActive Compare AVG Vol5 ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 22 กันย�ยน 2554
JAS
( Day )
Volume Analysis
: JAS
60,000,000 50,000,000
Price & Fundamental Symbol JAS
Last 1.75 Chg -0.31 %Chg -15.05 Open 1.98 High 1.98 Low 1.73 Prev 2.06 Avg 1.87 AccVol 574,327,100 AccVal(K฿) 1,075,754 13.37 %Fluct P/E 17.50 P/BV 1.90 DPS(Baht) 0.02 Yield(%) 0.97 EPS(Baht) 0.10 MktCap(Mil.) 12,677 Broker Target Update TNS 2.90 14/9/2011 KIMENG 3.92 7/9/2011 หลักทรั พ ย์ ท ม ่ ี เ ี ปอร์ เ ซ็ น ต์ ก ารเปลี ย ่ นแปลง ASP 3.60 2/9/2011
ของราคาเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ และมีมลู ค่าการ ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
Vol.
40,000,000 30,000,000 20,000,000 10,000,000
ATO/C Volume 1.98
1.97
1.96
1.95
1.94
1.93
1.92
1.91
1.90
1.89
Price
1.88
1.87
1.86
1.85
1.84
1.83
1.82
1.80
1.79
1.78
1.77
1.76
1.75
1.74
1.73
0
Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 700 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 23 กันยายน 2554
คำ�คมการลงทุน “จงคิดไว้เสมอในตลาดหุ้น คุณไม่ได้เก่งเลย เพราะคนที่คิดว่าตัวเองเก่งมันหายไปจากตลาดแล้ว” Anonymous
หน้า 18
ผูจ้ ดั ทำ� บริษทั ออนไลน์แอสเซ็ท จำ�กัด
466 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 --คณะทีป่ รึกษา-พรเลิศ เตชะรัตโนภาส ดวงสุรยี ์ วายุบตุ ร์ --บรรณาธิการ-เอกอนันต์ เสรีรตั นะชัย --กองบรรณาธิการ และฝ่ายสนับสนุน--ข่าวต่างประเทศ วรเชษฐ์ พันธ์ภวู งศ์ -ข่าวตลาดเงิน ตลาดทุน ศราพงค์ นันติวงค์ พิมพ์รภัส ศิรไิ พรวัน ศุภวรรณ วราภรณ์ -ข่าวตลาดอนุพนั ธ์ สุรเมธี มณีสโุ ข --ฝ่ายศิลปกรรม-ยุภาจิตร์ วัชระธัญเจริญ ประกาศิต คุณครอง วีระชัย ปัตลา ภูวนาท สุขเกษม อัษฎา วรรณธนาสิน
สนใจติดต่อโฆษณา วีรตรี ศิรสิ มบัติ (ฝ่ายการตลาด) Tel : 0-2541-4011 Fax : 0-2541-4017 Mobile: 084-939-8881
weeratree@efinancethai.com
www.istationnews.com