Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554 www.istationnews.com
www.istationnews.com ews.com
สถานีนักลงทุน หนังสือพิมพ์ดิจิตอลรายวัน เพื่อการลงทุน
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
News Station
www.istationnews.co 5
www.istationnews.com ews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.istationnews.com
www.
www.istationnews.co
www.istationnews.com
www.
ROBINS เพิ่มเป้าขายปีนี้เป็น 18% จากเดิม 15%
กำ �ไรโตตามรายได้ เล็ ง เพิ ม ่ เฮาส์ แ บรนด์ ห นุ น กำ � ไร ROBINS ปรับเพิม่ เป้ายอดขายปีนใี้ หม่เป็น 18% จากเดิม 15% ส่วนกำ�ไรโตตาม รายได้ เล็งเพิ่มสัดส่วนเฮาส์แบรนด์เป็น 10% ในปีหน้า เหตุมาร์จิ้นสูง 30 - 40% ระบุ ครึ่งหลังปีนี้ จะเพิ่มอีก 4 แบรนด์ ตั้งเป้าขยายสาขาครึ่งปีหลังอีก 2 สาขา พร้อมตั้งเป้า เพิ่มอีก 20 สาขาใน 5 ปี รับยังไม่มีการเซ็นสัญญาระยะยาวที่ดินโรบินสัน รัชดาฯ ที่จะหมดสัญญาปีหน้า แต่ระยะสั้นต้องเจรจาก่อน ยิ้มได้อานิสงส์นโยบายรัฐขึ้นค่าแรง ต่อหน้า 3 กระตุ้นอำ�นาจซื้อลูกค้าเพิ่ม ระบุผลกระทบต้นทุนพนักงานแค่เล็กน้อย กวา่ จะมาเป็นเสือ
7 8 9
ยูเรก้าเฮดจ์เผยจำ�นวนเปิด เฮดจ์ฟันด์ในเอเชียวูบ 45% พาณิชย์เผยส่งออกก.ค. 54 โต 38.3% แตะ 2.15 หมื่นล.$ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ TMI เตรียมทยอยปรับราคาสินค้าอีก 1 - 2 ครั้ง เฉลี่ย 5% พร้อมคงเป้ารายได้-กำ�ไรโต 20%
Dynamic Station BANPU.. ยังมี Upside
10
Lifestyle Station ซักยีนส์ไม่ให้ซีดจาง
13
มองหุ้นจากเซียน
ซื้อเมื่ออ่อน : สื่อสาร - อสังหาฯ 14
Data Station
MFEC เผยงานเข้าเพียบ
หนุนรายได้เข้าเป้า 3.5 พันล.
ต่อหน้า 4
ไร้รายการพิเศษ SF เสียวปีนี้รายได้จืด ต่อหน้า 4
SET News เฟ้นแนวคิด
“เล็ก สิขรวิทย”
ยอดที่ปรึกษาทางการเงินแห่ง เอเซีย พลัส
ตอนที่ 14
ต‡อหนˆา 12
ปันผลระหว่างกาล 54 KBANK 0.50 บ. BAY 0.35 บ. CK 0.10 บ. ต่อหน้า 8
อุ่นใจไปกับ
BLA
ต่อหน้า 6 www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
ROBINS เพิ่ม (ต่อจากหน้า 1)
นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ บมจ. ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน (ROBINS) กล่าวว่า บริษัทฯ ได้ปรับเพิ่มเป้า หมายยอดขายในปี นี้ ขึ้ น เป็ นโต 18% จากเดิ ม ที่ ตั้ ง เป้ าไว้ เ ติ บโต 15% จากปีก่อน เป็นไปตามยอด ขายที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะภาย หลังจากการเปิดสาขาใหม่ในช่วง ทีผ่ า่ นมา ขณะเดียวกันในช่วงครึง่ ปี แ รกสั ด ส่ ว นยอดขายในสาขา เขตกรุ ง เทพฯ เพิ่ ม มากขึ้ น จาก ก ลุ่ ม นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ น แ ถ บ ตะวันออกกลาง ซึ่งถือว่าเป็นยอด ขายที่เพิ่มเติมจากปกติที่ยอดขาย หลักจะเกิดขึ้นจากสาขาในต่าง จังหวัด พ ร้ อ ม กั น นี้ ค า ด ว่ า การเติบโตของกำ�ไรในปีนจี้ ะขยาย ตัวดีขึ้นไปในทิศทางเดียวกับราย ได้ทปี่ รับตัวขึน้ อย่างแน่นอน แม้วา่ ในครึ่งปีแรกของปีนี้ก�ำ ไรจะลดลง มาอยู่ที่ 774.10 ล้านบาท ลดลง จากปีก่อน เพราะในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ มีการบันทึกกำ�ไรพิเศษ ทำ�ให้ฐานกำ�ไรอยู่ในระดับสูง สำ�หรับอัตรากำ�ไรขั้นต้น ในครึ่ ง ปี ที่ ผ่ า นมาเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 24.3% จากการบริหารในด้านการ ขายที่ ดี ขึ้ น อี ก ทั้ ง ยอดขายของ เฮาส์แบรนด์เพิ่มขึ้นทำ�ให้บริษัทฯ มีมาร์จิ้นในระดับสูง และทำ �ให้ อั ต รากำ � ไรขั้ น ต้ น ดั ง กล่ า วสู ง เกินกว่าที่บริษัทฯ ตั้งเป้าหมายไว้ โดยในสิ้ น ปี นี้ บ ริ ษั ท ฯ พยายาม รักษาระดับอัตรากำ�ไรขั้นต้นดัง กล่าวไว้ให้ได้ ในช่ ว งที่ เ หลื อ ของปี นี้ บ ริ ษั ท ฯ มี แ ผ น โ ร ด โ ช ว์ อีกประมาณ 2 - 3 ครั้ง โดยจะ เดินทางในช่วงเดือนส.ค. - ก.ย. 54 ที่ ป ระเทศสิ ง คโปร์ แ ละฮ่ อ งกง รวมทั้งอยู่ระหว่างการศึกษาการ เดินทางไปยังประเทศในแถบยุโรป ในช่วงปลายปีนี้ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาได้รบั ผลตอบรั บ และความสนใจจาก นักลงทุนเพิ่มขึ้น คาดว่าเกิดจาก
News Station
การรายงานผลประกอบการและ แผนการลงทุ น ที่ มี ค วามชั ด เจน อี ก ทั้ ง ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ประเทศไทยมีความน่าสนใจ ทั้ ง นี้ ในปี ห น้ า บริ ษั ท ฯ ตั้ ง เป้ า เพิ่ ม สั ด ส่ ว นยอดขายของ เฮาส์แบรนด์เป็น 10% จากปัจจุบนั
ค รึ่ ง ห ลั ง ปี นี้ บ ริ ษั ท ฯ เตรียมเปิดสาขาเพิ่มอีก 2 สาขา ในจั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก 1 สาขา คาดเปิดใช้บริการได้ในเดือนต.ค.นี้ และสาขาพระราม 9 เปิดให้บริการ เดือนพ.ย.นี้ ภายหลังจาก Q2/54 ได้เปิดสาขาใหม่ที่จังหวัดเชียงราย
ที่ ย อดขายของเฮาส์ แ บรนด์ อ ยู่ ที่ ประมาณ 7% ของยอดขายทัง้ หมด เนื่องจากบริษัทฯ เห็นว่าการขาย สิ น ค้ า ประเภทนี้ มี ม าร์ จิ้ น ที่ สู ง ถึ ง 30 - 40% ซึ่งสูงกว่าสินค้าที่รับมา จากซัพพลายเออร์ ซึง่ จะมีมาร์จนิ้ อ ยู่ที่ประมาณ 20 - 30% เท่ า นั้ น ทั้งนี้ในช่วงครึ่งปีหลังบริษัทฯ คาด ว่าจะเพิ่มแบรนด์ในสินค้าดังกล่าว อีกประมาณ 4 แบรนด์
ซึ่งทำ�ให้ปัจจุบันบริษัทฯ มีสาขา รวม 23 สาขา และจะเพิ่มขึ้นเป็น 25 สาขาในสิ้นปีนี้ ขณะที่แผนการเปิดสาขา ใหม่ ใ นปี 55 จะเปิ ด เพิ่ ม อี ก 5 สาขา ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรีใน Q1/55 สาขาบางนาเปิด Q2/55 สาขาบางแค Q2/55 สาขาจังหวัด สุ ร าษฎร์ ธ านี เ ปิ ด Q3/55 และ สาขาจังหวัดกาญจนบุรเี ปิด Q4/55
ซึ่งจะทำ�ให้ปี 55 มีสาขาเพิ่มขึ้น เป็ น 30 สาขา อย่ า งไรก็ ต าม ถื อ ว่ า เป็ น ไปตามแผนการเปิ ด สาขาทีบ่ ริษทั ฯ วางไว้ในช่วง 5 ปี ข้างหน้า จำ�นวน 20 สาขานับจาก ปี 55 ที่ต้องการเปิดสาขาเพิ่มอีก 3 - 5 สาขาต่ อ ปี ในพื้ น ที่ 20 จังหวัด สำ�หรับงบลงทุนในการ เปิ ด สาขาจะอยู่ ที่ ป ระมาณ 500 - 700 ล้านบาท ซึ่งงบลงทุน ในปี นี้ แ ละปี 55 รวมกั น อยู่ ที่ ป ร ะ ม า ณ 4 พั น ล้ า น บ า ท โดยบริษัทฯ ไม่จำ�เป็นต้องพึ่งพา เงินกู้ เนื่องจากปัจจุบันมีกระแส เงินสดอยูท่ ปี่ ระมาณ 2 พันล้านบาท ซึ่ ง มั่ นใจว่ า เพี ย งพอต่ อ การเปิ ด สาขาได้อีก 2 - 3 ปีต่อจากนี้ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ มี แผนการปรับปรุงสาขาเดิมอีก 4 แห่ง ได้แก่ สาขาภูเก็ตคาดว่าจะ ปรับปรุงเสร็จสิ้น Q4/54 สาขา เชี ย งใหม่ รั ง สิ ต และอุ ด รธานี คาดว่ า จะปรั บ ปรุ ง เสร็ จในช่ ว ง Q2/55 กรณี ที่ ส าขาโรบิ น สั น รัชดาภิเษก จะหมดสัญญาในการ ใช้พื้นที่ในปี 55 เบื้องต้นบริษัทฯ จะไม่ มี ก ารต่ อ สั ญ ญาระยะยาว เพื่ อ ขอเช่ า พื้ น ที่ ดั ง กล่ า ว แต่ ใ น ระยะสั้นอาจต้องมีการหารือกับ เจ้ า ของพื้ น ที่ เ พิ่ ม เติ ม ซึ่ ง อยู่ ระหว่างการเจรจารายละเอียด ด้านนโยบายการปรับขึ้น ค่าแรงขัน้ ต่�ำ ของรัฐบาล 300 บาท ต่ อ วั น และการปรั บ ขึ้ น รายได้ ปริญญาตรี ที่ 15,000 บาท ว่า ถื อ เป็ น โอกาสที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ มากกว่ า ผลกระทบในเชิ ง ของ ต้นทุนพนักงาน เนื่องจากหากมี การปรับขึ้นรายได้ของประชาชน จะทำ�ให้อำ�นาจในการจับจ่ายซื้อ สินค้าเพิ่มสูงขึ้น
www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554 หน้า 4 บริ ษั ท ฯ มี ร ายได้ ร วมใน 60% จะรอรับรูใ้ นครึง่ ปีหลัง ซึง่ เป้าหมาย MFEC GROUP ทีท่ �ำ ให้การดำ�เนินงาน MFEC เผย (ต่อจากหน้า 1)
นายศิ ริ วั ฒ น์ วงศ์ จ ารุ ก ร กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ บมจ. เอ็ม เอฟ อี ซี (MFEC) เปิดเผยว่า ปีนี้ MFEC Group จะผลักดันรายได้ ให้เติบโตตามเป้าหมายที่ 3,500 ล้าน บาทได้ สำ � เร็ จ เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ มี ง านในมื อ ที่ ร อรั บ รู้ เ ป็ น รายได้ (Backlog) อยู่ที่ 2,000 ล้าน บาท โดยจะรั บ รู้ เ ป็ น รายได้ ใ นปี นี้ 70 - 80% ส่วนที่เหลือจะรับรู้รายได้ ในปีถัดไป ขณะเดียวกันยังเดินหน้า เข้าประมูลงานทั้งภาครัฐและเอกชน อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยขณะนี้ เ ตรี ย ม ประมู ล งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ มู ล ค่ า อี ก ประมาณ 800 ล้ านบาท และใน อนาคตมีโอกาสที่บริษัทฯ จะรับงาน ในภาครั ฐ บาลเพิ่ ม ขึ้ น หลั ง จากที่ รัฐบาลใหม่มีนโยบายสนับสนุนการ พัฒนาด้านไอทีอย่างชัดเจน จากปัจจุบนั บริษทั ฯ รับงานภาครัฐบาลสัดส่วน 30% และรับงานภาคเอกชนสัดส่วน 70%
Q2/54 จำ � นวน 1,077 ล้ า นบาท รายได้ทั้งปีที่วางไว้ 3.5 พันล้านบาท มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นและรองรับ เพิม่ ขึน้ 545 ล้านบาท หรือ 103%YoY ยังไม่ได้ปรับเปลี่ยน และคาดว่าทำ�ได้ งานได้กว้างขวางขึ้น” นายศิริวัฒน์ มีกำ�ไรสุทธิ 61 ล้านบาท หรือหุ้นละ ตามที่วางไว้ จากความแข็งแกร่งของ กล่าว 0.22 บาท เพิ่มขึ้น 41 ล้านบาท หรือ 199%YoY โดยผลประกอบการงวด 6 เดือนแรกของปี 54 บริษัทฯ มีรายได้ 1,826 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 563 ล้านบาท หรือ 44.57%YoY มีกำ�ไรสุทธิ 82 ล้าน บาท หรื อ หุ้ น ละ 0.29 บาท เพิ่ ม ขึ้ น 40 ล้านบาท หรือ 96%YoY สำ � หรั บ ปั จ จั ย ที่ ทำ � ให้ ผ ล ประกอบการเพิ่มขึ้นดังกล่าว เป็นผล มาจากการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ ดำ�เนินงานและการส่งมอบงานได้ดขี นึ้ ทำ �ให้ รั บ รู้ ร ายได้ เ ต็ ม ที่ ทั้ ง จากงาน ปัจจุบัน และงานที่ชะลอการส่งมอบ มาจากช่วงไตรมาส1 ที่ผ่านมา “ผลประกอบการครึ่งปีแรก ที่ผ่านมาของบริษัทฯ ถือว่าน่าพอใจ ซึ่งตามปกติผลประกอบการครึ่งปีแรก คิดเป็น 40% ของรายได้รวม ขณะที่
ไร้รายการ (ต่อจากหน้า 1) นางสาวพรรณรวี เอื้ออารี ผู้ อำ � นวยการฝ่ า ยการเงิ น บมจ. สยามฟิ ว เจอร์ ดี เ วลอปเมนท์ (SF) เปิดเผยว่า แนวโน้มรายได้รวมของบ ริษัทฯ ในปีนี้จะใกล้เคียงหรือลดลง จากปี ก่ อ นเล็ ก น้ อ ยที่ มี ร ายได้ ร วม 2,138 ล้ า นบาท เนื่ อ งจากในปี นี้ บริษัทฯ ไม่มีการบันทึกรายได้พิเศษ จากการขายสิ น ทรั พ ย์ เ ข้ า กองทุ น เ ห มื อ น กั บ ปี 5 3 ที่ บ ริ ษั ท ฯ ขายสินทรัพย์โครงการรัชโยธินเข้า ก อ ง ทุ น ร ว ม สิ ท ธิ ก า ร เ ช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ มเจอร์ ซี นี เ พล็ ก ซ์ ไลฟ์สไตล์ หรือ MJLF เมื่อปลายปีที่ ผ่านมา ซึ่งได้บันทึกรายได้พิเศษจาก การขายสินทรัพย์ดังกล่าวประมาณ 600 - 700 ล้านบาท ขณะที่ ป ระเมิ น ว่ า รายได้ จากการดำ�เนินงาน ซึ่งเป็นรายได้ หลั ก จากค่ า เช่ า พื้ น ที่ ข องบริ ษั ท ฯ ในปีนี้จะดีกว่าปีก่อนที่มีรายได้กว่า 1.3 พันล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ จะมีการปรับค่าเช่าตามสัญญาทีห่ มด อายุประมาณ 5% ตามอายุสัญญาที่ ทยอยครบ 3 ปี และเป็นการปรับขึ้น ค่ า เช่ า ตามราคาตลาดโดยรวม
โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีอัตราการให้เช่า พื้ น ที่ อ ยู่ ที่ ป ระมาณ 97 - 98% ของพื้นที่ให้เช่ารวม สำ � หรั บ รายได้ ร วมของ บริษัทฯ ในช่วงครึ่งปีหลังจะปรับตัวดี ขึ้นจากในช่วงครึ่งปีแรกที่มีรายได้รวม ที่ 777 ล้านบาท เนื่องจากในช่วงครึ่ง ปีหลังบริษัทฯ จะเริ่มทยอยรับรู้รายได้ จากค่าเช่า หลังเตรียมเปิดศูนย์การค้า แห่ งใหม่ คื อ Nawamin Festival Walk ในเดือนก.ย. 54 ซึ่งมีพื้นที่ให้ เช่า 8,000 ตารางเมตร โดยจะรับรูร้ าย ได้ 4 ล้านบาทต่อเดือน อีกทั้งยังเริ่ม รับรู้รายได้จากโครงการ IKEA Store ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ใ ห้ เ ช่ า ประมาณ 40,000 ตารางเมตร ทีจ่ ะเปิดในวันที่ 3 พ.ย.นี้ ทั้ ง นี้ ภ ายในสิ้ น ปี นี้ บ ริ ษั ท ฯ จะมี พื้ น ที่ ใ ห้ เ ช่ า เพิ่ ม เป็ น 271,795 ตารางเมตร นอกจากนี้ ต ามแผน บริษัทฯ จะเปิดโครงการเมกะบางนา ในส่วนของศูนย์การค้าในช่วง Q2/55 หรือประมาณเดือน พ.ค. ซึ่งจะมีพื้นที่ ให้เช่าเพิ่มอีก 1.4 แสนตารางเมตร โดยขณะนี้บริษัทฯ มีอัตราการให้เช่า พืน้ ทีใ่ นสัดส่วน 84% ของพืน้ ทีเ่ ช่ารวม และอัตราค่าเช่าของโครงการดังกล่าว ถื อ ว่ า สู ง กว่ า ของอั ต ราค่ า เช่ า เฉลี่ ย
ของบริษัทฯ แต่ไม่สามารถเปิดเผย ข้อมูลได้ โดยโครงการเมกะ บางนา คาดว่าจะเริ่มรับรู้รายได้ในปีหน้าใน สัดส่วนมากกว่า 50% จากรายได้ที่ คาดว่ า จะรั บ รู้ เ ต็ ม ปี ป ระมาณ 1.5 พันล้านบาท ซึง่ จะสามารถรับรูร้ ายได้ เต็มปีตั้งแต่ 56 - 57 หลั ง จากเปิ ด โครงการ ดังกล่าวจะส่งผลให้ในปีหน้าบริษัทฯ มี พื้ น ที่ ใ ห้ เ ช่ า รวมเพิ่ ม เป็ น 411,795 ตารางเมตร โดยบริษทั ฯ จะใช้งบลงทุน ในปีนี้จำ�นวน 130 ล้านบาท เพื่อใช้ ก่อสร้างศูนย์การค้าใหม่ 1 แห่ง คือ Nawamin Festival Walk ซึ่งมีมูลค่า ลงทุนรวม 240 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม งบลงทุนดังกล่าวรวมงบทีใ่ ช้ส�ำ หรับการ เช่าที่ดิน ซึ่งใช้ไปแล้วในปี 53
นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง อยู่ ระหว่ า งการเจรจากั บ เจ้ า ของที่ ดิ น จำ�นวน 5 - 6 แห่ง ทีต่ อ้ งการจะลงทุน เปิดศูนย์การค้า โดยบริษทั ฯ จะเข้าไป เป็นผูร้ บั จ้างบริหารโครงการ ซึง่ ถือเป็น ธุรกิจใหม่ที่บริษัทฯ ไม่เคยทำ�มาก่อน คาดว่าจะได้ข้อสรุปภายในปีนี้จำ�นวน 1 แ ห่ ง แ ล ะ ปั จ จุ บั น บ ริ ษั ท ฯ อยู่ ร ะหว่ างขั้ นตอนการสำ �รวจทำ �เล ความเหมาะสมของพื้นที่ อย่ า งไรก็ ดี ใ นช่ ว งระยะ 2 - 3 ปีข้างหน้า บริษัทฯ ยังไม่มีแผน เพิ่มทุน เนื่องจากไม่มีความจำ�เป็น ต้องการใช้เงิน เพื่อใช้ลงทุน ประกอบ กับต้องการเห็นผลลัพธ์จากการลงทุน ในโครงการเมกะ บางนา ซึ่ ง เป็ น โครงการขนาดใหญ่ก่อน www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
ยูเรก้าเฮดจ์เผยจำ�นวน เปิดเฮดจ์ฟันด์ในเอเชียวูบ 45% รายงานข่าวต่างประเทศระบุวา่ ยูเรก้าเฮดจ์เปิดเผยว่า จำ�นวนการเปิดกองทุนประกันความเสี่ยง หรือ เฮดจ์ฟันด์ ในภูมภิ าคเอเชียครึง่ ปีแรกปีนลี้ ดลง 45% หลังภาวะการลงทุนใน ตลาดเงินตลาดทุน และตลาดสินค้าโภคภัณฑ์มีความผันผวน โดยในช่วงดังกล่าวมีกองทุนเฮดจ์ฟนั ด์เปิดใหม่จ�ำ นวน 60 ราย ซึ่งมีการเปิดในสิงคโปร์ 14 แห่ง และเปิดในฮ่อง 11 แห่ง ขณะที่จำ�นวนเฮดจ์ฟันด์ในปีนี้อยู่ที่ 109 แห่ง และในปีที่ผ่านมา อยู่ที่ 169 แห่ง “ในช่วงที่ภาวะการลงทุนมีความผันผวนอย่างมาก นักลงทุนจึงเลือกทีจ่ ะลงทุนในกองทุนขนาดใหญ่ทมี่ ปี ระสบการณ์ ยาวนานแทนกองทุนเปิดใหม่ ทำ�ให้จ�ำ นวนเฮดจ์ฟนั ด์เปิดลดลง” นายแฟรงค์ โบรชิน กรรมการผู้จัดการที่สโตนวอเตอร์แคปิตอล กล่าว ทั้งนี้ ในช่วง 6 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีเอ็มเอสซีไอเอเชีย แปซิฟิกปรับลดลง 2% หลังจากปรับเพิ่มขึ้น 14% ในปีที่ผ่านมา
วงการคาด“เบอร์นันกี”จะไม่ส่งซิกออก QE3 ส่อสร้างความผิดหวังทั้งโลก
รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า นักวิเคราะห์คาด “เบน เบอร์นนั กี” อาจทำ�นักลงทุนในตลาดเงินตลาดทุนผิดหวัง เนื่องจากคาดว่า จะไม่มีการส่งสัญญาณเกี่ยวกับการออก มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจครั้งใหม่ หรือ QE3 เพราะในขณะนี้ อัตราเงินเฟ้อในสหรัฐฯ ยังคงเพิ่มขึ้น ขณะที่เศรษฐกิจยังคง ขยายตัว ดังสะท้อนในตัวเลขยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนที่ออกมา สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ นายโรแบร์โต้ เพอร์ลีกรรมการผู้จัดการที่อินเตอร์ เนชัน่ แนลสเตรติจแี อนด์อนิ เวสท์เมนท์กรุป๊ ในวอชิงตันกล่าวว่า ราคาน้�ำ มันเบนซินทีเ่ พิม่ ขึน้ 33% ในปีนยี้ งั คงทำ�ให้อตั ราเงินเฟ้อ อยูใ่ นระดับทีส่ งู และแนวโน้มการเพิม่ ขึน้ ของอัตราเงินยังคงอยู่ สูงกว่ากรอบเป้าหมายของธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือ เฟด ขณะทีด่ ชั นีอตุ สาหกรรมเขตชิคาโก้ของสหรัฐฯ เดือนกรกฎาคม เพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ งเป็นเดือนที่ 3 ทำ�ให้เชือ่ ว่า เฟดไม่มคี วามจำ�เป็น จะต้องออกมาตรการ QE3 โดยในวันศุกร์นี้นายเบอร์นันกีมีกำ�หนดการแสดง สุ น ทรพจน์ เ กี่ ย วกั บ มุ ม มองต่ อ แนวโน้ ม เศรษฐกิ จ สหรั ฐ ฯ ในระยะสั้นและระยะยาวที่เมืองแคนซัสซิตี้
AFET
“หากหลุด 135 จะเป็นขาลง” นายชัยวัฒน์ เหมือนมี นักวิเคราะห์ บริษทั ดีเอส ฟิวเจอร์ส จำ�กัด (DSF) RSS3 - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 217 สัญญา สถานะคงค้าง 2,390 สัญญา - ปิด 139.25 บ./ก.ก. เพิม่ ขึน้ 0.25 บาท (สัญญาส่งมอบเดือนมี.ค. 55) ปัจจัยบวก - นลท.คาดเฟดออก QE3 ศุกร์น้ี - เงินเยนเริม่ อ่อนค่า ปัจจัยลบ - ทองลงหนัก - ยางไทยยังแพงนลท.หันไปนำ�เข้ายางจากทีอ่ น่ื - หากหลุด 135 บ./ก.ก. เส้นเทคนิคจะเป็นขาลง กลยุทธ์ - เก็งกำ�ไร (สัญญาส่งมอบเดือนมี.ค. 55) - แนวรับ 135 บ./ก.ก. ถัดไป 130 บ./ก.ก. - แนวต้าน 145 บ./ก.ก.
หน้า 5
นายเคธ เฮ็มเบรอดีตนักวิเคราะห์ของเฟดกล่าวว่า สถานการณ์ในขณะนี้กับในปีที่ผ่านมา ซึ่งมีการประกาศใช้ มาตรการ QE2 นั้นแตกต่างกัน จึงไม่เชื่อว่า เฟดจะส่งสัญญาณ เกี่ยวกับการใช้มาตรการเดิมอีก นอกจากนี้ นายเฮ็มเบร กล่าวว่า ความเสี่ยงที่ เศรษฐกิจสหรัฐฯ จะเผชิญภาวะเงินฝืดมีอยู่ต่ำ� เนื่องจากดัชนี ราคาผูบ้ ริโภคพืน้ ฐานไม่รวมราคาอาหารและน้�ำ มันเพิม่ ขึน้ 1.8% ในช่วง 12 เดือนสิ้นสุดเดือนกรกฎาคม
ราคาบ้านในสหรัฐฯเดือนมิ.ย.เพิ่มขึ้น 0.9% มากสุดนับแต่ก.ย. 2005 รายงานข่าวต่างประเทศระบุว่า บรรษัทเงินทุนเพื่อ การเคหะแห่งรัฐบาลกลางสหรัฐฯเปิดเผยว่า ราคาทีอ่ ยูอ่ าศัยใน สหรัฐฯ เดือนมิถุนายนเพิ่มขึ้น 0.9% จากเดือนก่อนหน้า โดย เป็นการเพิ่มขึ้นมากที่สุดนับแต่เดือนกันยายนปี 2005 อย่ า งไรก็ ต าม ราคาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ส หรั ฐ ฯ รวมทุกประเภทในไตรมาส 2 ปีนี้ลดลง 5.9% และเป็นการ ลดลงมากที่สุดนับแต่ปี 2009 ทัง้ นี้ ตัวเลขทีอ่ อกมาไม่สอดคล้องกันดังกล่าวแสดง ให้เห็นว่า ตลาดอสังหาริมทรัพย์สหรัฐฯ ยังคงไม่ฟนื้ ตัวดีขนึ้ อย่าง ชัดเจน
TFEX
“เฟดอาจไม่ออกนโยบายกระตุ้นศก.” นายศราวุธ เตโชชวลิต ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายธุรกิจตราสารอนุพนั ธ์ บล.ซิกโก้ (SSEC) SET50 Futures - วานนีม้ ปี ริมาณการซือ้ ขาย 19,012 สัญญา สถานะคงค้าง 34,553 สัญญา - ปิด 700.90 จุด ลดลง 21.50 จุด (สัญญา S50U11 ก.ย. 54) ปัจจัยลบ - หุน้ ทรุดหนัก หลังมีกระแสเฟดจะไม่กระตุน้ ศก. - GDP ไทยเหลือขยายตัวเพียง 3.5 - 4.0% - ต่างชาติยงั ขายในหุน้ และอนุพนั ธ์ไทยต่อเนือ่ ง - เส้นเทคนิคยังกดดัน - เศรษฐกิจโลกยังไม่มสี ญั ญาณฟืน้ - ต่างชาติขายสุทธิในหุน้ 2,038.97 ล้านบาท กลยุทธ์ - เก็งกำ�ไร (สัญญา S50U11 ก.ย. 54) - แนวรับ 700 จุด - แนวต้าน 718 จุด - SET50 ประเมินแนวรับ 706 จุด แนวต้าน 724 จุด www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
หน้า 6
อุ่นใจไปกับ BLA
ในสถานการณ์ ที่ ดั ช นี หุ้ นไทยโดยรวมไม่ น่ าไว้ ใ จเป็ น ที่ สุ ด บนกระดานก็ยงั มี BLA หุน้ ประกันชัน้ ดีทพี่ อจะลอยเนิบๆ ทวนกระแสได้ (บ้าง) นีข่ นาดตกฤกษ์ระยะแนวเครือ่ งหมาย XD นะเนีย่ ระดับราคาทีเ่ คลือ่ นไหว วานนี้ก็ยังดูเข้มแข็งผิดแปลกจากบรรดาหุ้นอื่นๅ ที่ประกาศปันผลในช่วง เวลาไล่เลี่ยกันที่พากันแดงไม่ฟื้นเสียเป็นส่วนใหญ่ สำ�หรับการเคลือ่ นไหวของหุน้ ประกันตัวนี้ วานนีน้ บั ว่าร่าเริงใช้ได้ อีกทั้งวันก่อนๆ ก็ขยับช้าๆ อย่างมั่นคงส่วนวอลุ่มก็ยังคงมากมายอย่าง ไม่น่าเป็นห่วง ช่วงสิบกว่าวันวันทำ�การก่อนหน้าที่มีอาการกระชากแรง ก็มิได้เห็นแรงเทขายอย่างน่ากลัวตามไล่หลังมาแต่อย่างใด ขณะที่นักวิเคราะห์ลักทรัพย์จาก บล.ฟินันเซีย ไซรัส ประเมิน เส้นเทคนิคไว้ว่า BLA ปรับตัวขึ้นมาพอสมควรแล้ว ระยะสั้นให้ระวัง แรงขาย หากจะซื้อให้รอให้ราคาหุ้นอ่อนตัวลงใกล้แนวรับที่ 55.00 บาทก่อน โดยมีแนวต้านอยู่ที่ 60.00 บาท
ข้อมูลเกี่ยวกับราคาหุ้น ณ สิ้นวันที่ 25/08/54
Symbol Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg
BLA 57.50 0.25 0.44 57.50 59.25 56.75 57.25 58.42
AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.)
5,007,800 292,577 4.28 17.11 5.46 0.38 1.05 3.36 69,000
ภาพรวมข้อมูลผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 10/05/54
1. 2. 3. 4. 5.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ MITSUBISHI UFJ GLOBAL CUSTODY S.A. บริษัท วัฒนโสภณพนิช จำ�กัด ธนาคาร กรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
จำ�นวนหุ้น
(%)
292,883,000
24.41 13.29 7.74 6.19 5.30
159,525,000 92,873,200 74,273,818 63,575,000
วันทำ�การซื้อขายที่ผ่านมาพบหุ้นซื้อ - ขาย ที่ระดับราคา 58.75 บาทหนาแน่นสุด www.istationnews.com
News Station
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
พาณิชย์เผยส่งออกก.ค. 54 โต 38.3% แตะ 2.15 หมื่นล.$ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ นาย ยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า การส่ ง ออกในเดื อ นก.ค. 54 มีมูลค่า 2.15 หมื่นล้านดอลลาร์ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ โดยการ ส่ ง ออกขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น 38.3% เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น และเพิ่มขึ้นจากเดือนมิถุ น ายนที่ ขยายตัว 16.8% ซึ่งถือเป็นการส่ง ออกที่เติบโตต่อเนื่องติดต่อกัน 22 เดือน โดยสินค้าส่งออกที่สำ�คัญ อาทิ สิ น ค้ า กลุ่ ม เกษตร และ อุตสาหกรรมเกษตร ขยายตัวถึง 53.5% โดยเฉพาะข้าว ขยายเครือ่ ง อิเล็กทรอนิกส์ 15.6% เครื่องใช้ ไฟฟ้า 12.3% ยานยนต์ อุปกรณ์ 1 5 . 6 % แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ เม็ ด พลาสติ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ 30.1% สิ่งทอ 9.3% วัสดุก่อสร้าง 21.1% อัญมณี และเครื่องประดับ โดยเฉพาะทองคำ � ที่ ก ารส่ ง ออก ขยายตัว 3,919% ส่วนสินค้าส่งออกที่ลดลง ในเดือนก.ค. ได้แก่ เฟอร์นิเจอร์ และชิ้นส่วนในภาพรวม ที่ลดลง 3.2% สินค้าที่ส่งออกลดลงได้แก่ เฟอร์นิเจอร์ไม้ 10.4% โดยตลาด ที่ ส่ ง ออกลดลงได้ แ ก่ สหรั ฐ ฯ เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนไม้ ในประเทศและมีราคาสูง ส่วนของ เล่นส่งออกลดลง 10.2% โดยตลาด ที่ส่งออกลดลงได้แก่ สหรัฐฯ และ ญี่ ปุ่ น เนื่ อ งจากปั ญ หาการ ขาดแคลนวัตถุดิบ สำ � หรั บ ตลาดส่ ง ออก ในเดื อ นก.ค. ขยายตั ว ทุ ก กลุ่ ม ตลาด โดยตลาดหลั ก อาทิ ในยุ โ รป ญี่ ปุ่ น และอเมริ ก า การส่งออกยังขยายตัวในอัตราที่สูง โดยขยายตัวในภาพรวม 21.4% ซึ่งสวนกับทิศทางการชะลอตัวของ เศรษฐกิจโลก แสดงให้เห็นว่าความ ต้ อ งการสิ น ค้ า จากไทยยั ง อยู่ ใ น เกณฑ์ดี ขณะที่ตลาดศักยภาพสูง
โดยเฉพาะจี น ฮ่ อ งกง อาเซี ยน อินเดีย และไต้หวัน การส่งออก ขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ในภาพรวมถึ ง 47.0% และตลาดศั ก ยภาพรอง โดยเฉพาะในรัสเซีย และแอฟริกา
โดยการนำ � เข้ าในเดื อ น ก.ค. มี มู ล ค่ า 1.87 หมื่ น ล้ า น ดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวเพิ่มขึ้น 13.5% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ลดลงจากเดือนมิถนุ ายน ทีข่ ยาย
ขยายตัวเพิ่มขึ้นถึง 128.7% และ 47.6% ตามลำ�ดับ ด้ า น ก า ร ส่ ง อ อ ก ใ น 7 เดือนปี 54 (ม.ค. - ก.ค.) มี มูลค่า 1.36 แสนล้านดอลลาร์ขยาย ตัวเพิ่มขึ้น 25.7% เมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้หากคิดใน รู ป เงิ น บาทการส่ ง ออกในช่ ว ง 7 เดือนมีมลู ค่า 4.11 ล้านล้านบาท หรือ 16.9% จากช่วงเดียวกันปีกอ่ น
ตัว 26.1% โดยสินค้านำ�เข้าที่ขยาย ตัวเพิม่ ขึน้ ได้แก่ สินค้าทุนขยายตัว 18.3% สิ น ค้ า เชื้ อ เพลิ ง ขยายตั ว 60.7% สินค้าอุปโภคบริโภคขยายตัว 22.8% ส่ ว นสิ น ค้ า ที่ นำ� เข้ า ลดลง ได้แก่ สินค้าวัตถุดิบกึ่งสำ�เร็จรูป ลดลง 3.7% สิ น ค้ า ยานพาหนะ และอุปกรณ์การขนส่งลดลง 2.1% อาวุธยุทธปัจจัย และสินค้าอื่นๆ ลดลง 19.3%
สำ � หรั บ การนำ � เข้ า ช่ ว ง 7 เดือนปี 2554 มีมลู ค่า 1.30 แสน ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวเพิม่ ขึน้ 26.1% เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีก่อน ทั้งนี้เมื่อคิดในรูปเงินบาท การนำ�เข้าเดือนก.ค. มีมูลค่า 3.97 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 17.3% นอกจากนี้ ในเดือน ก.ค. 54 ประเทศไทยเกินดุลการค้า 2.79 พันล้านดอลลาร์ ส่วนช่วง 7 เดือน (ม.ค. - ก.ค. 54) ไทยยังคงได้ ดุลการค้า 6.24 พันล้านดอลลาร์ ทั้ ง นี้ กระทรวงพาณิ ช ย์ ยังคงเป้าหมายการส่งออกในปี 54 ขยายตั ว 15% ทั้ ง นี้ ก ระทรวง พาณิ ช ย์ จะเน้ น ด้ า นการสร้ า ง เสถียรภาพความมั่นคงจากการส่ง ออก เพื่อให้มีผลต่อเศรษฐกิจโดย รวมมากกว่าในเชิงมูลค่า ซึ่งถือเป็น นโยบายของรั ฐ บาลที่ ต้ อ งการให้ เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง เพิ่ ม การบริ โ ภคภายในให้ ม ากขึ้ น อย่างไรก็ตามในส่วนของภาคการ ส่งออกก็ยังเน้นดูแล เนื่องจากเมื่อ การส่งออกดีจะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจ ภายในประเทศด้วย อย่างไรก็ตามในระยะยาว ยั ง จำ � เป็ น ต้ อ งลดการพึ่ ง พาการ ส่งออก เนื่องจากเศรษฐกิจโลกยังมี ความผั น ผวน อย่ า งไรก็ ต าม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ จะมีการแถลงทิศทางเกีย่ วกับการค้า อีกครั้งในช่วงหลังจากนี้ ขณะที่ ทิ ศ ทางในช่ ว ง ที่เหลือของปีคาดว่าตลาดในสหรัฐฯ สินค้าส่งออกหลายรายการ จะอยู่ ในภาวะติดลบ อาทิ เฟอร์นิเจอร์ ของเล่น รวมถึงสินค้าเครือ่ งใช้ไฟฟ้า อย่างไรก็ตามกระทรวงพาณิชย์จะ ติ ด ตามสถานการณ์ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด ส่วนแนวโน้มตลาดส่งออกที่อยู่ใน เกณฑ์ดี คือ ตลาดรัสเซีย www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
KBANK ปันผลระหว่างกาล 0.50 บ./หุ้น จ่าย 22 ก.ย. รายงานข่าวจาก ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) เปิ ด เผยว่ า ที่ ป ระชุ ม คณะ กรรมการบริษทั 25 ส.ค. 54 ได้มมี ติอนุมตั ิ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาลจากผลการ ดำ�เนินงานงวด 6 เดือนแรกปี 54 ในอัตรา หุน้ ละ 0.50 บาท เป็นเงิน 1,196,630,096.50 บาท กำ�หนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับ เงินปันผลในวันที่ 8 ก.ย. 54 รวบรวม รายชื่ อโดยวิ ธี ปิ ด สมุ ด ทะเบี ย นในวั น ที่ 9 ก.ย. 54 และกำ�หนดจ่ายเงินปันผลให้แก่ ผู้ถือหุ้นในวันที่ 22 ก.ย. 54 วันที่ไม่ได้รับ สิทธิปันผล (XD) 6 ก.ย. 54 ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลในอัตรา ดังกล่าวข้างต้นเป็นอัตราที่คณะกรรมการ ธนาคารพิจารณาเห็นว่าเหมาะสม ซึ่งคิด เป็น 9.85% ของกำ�ไรสุทธิงวด 6 เดือนแรก ปี 54
BAY ปันผลระหว่างกาล 0.35 บ./หุ้น จ่าย 22 ก.ย. นางเจนิส แร แวน เอ็กเคอเรน ประธานคณะเจ้าหน้าทีด่ า้ นการเงิน ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา (BAY) เปิดเผยว่า ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท 24 ส.ค. 54 ได้มีมติ อนุมัติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผล การดำ�เนินงานงวด 6 เดือนแรกปี 54 ให้แก่ผถู้ อื หุน้ สามัญจำ�นวน 6,074,143,747 หุน้ ในอัตราหุ้นละ 0.35 บาท กำ�หนดรายชื่อ ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิรับเงินปันผลระหว่างกาล (Record Date) ในวันพฤหัสบดีที่ 8 ก.ย. 54 และรวบรวมรายชื่อตามมาตรา 225 ของ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ตลาดหลักทรัพย์ โดยวิธีปิดสมุดทะเบียน พักการโอนหุน้ (Closing Date) ในวันศุกร์ ที่ 9 ก.ย. 54 วันที่ไม่ได้รับสิทธิปันผล(XD) วันที ่ 6 ก.ย. 54 และกำ�หนดจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลประจำ�ปี 54 ในวันที่ 22 ก.ย. 54
News Station
หน้า 8
CK ปันผลระหว่างกาล 0.10 บ./หุ้น จ่าย 23 ก.ย. รายงานข่าวจาก บมจ.ช.การช่าง (CK) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท 25 ส.ค. 54 ได้มีมติอนุมัติจ่าย เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการดำ�เนินงาน งวด 6 เดือนแรกปี 54 ในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท สำ � หรั บ ผู้ ถื อ หุ้ น จำ � นวน 1,652,585,336 หุ้น รวมเป็นเงินปันผลจ่าย ทั้งสิ้น 165,258,533.60 บาท กำ�หนดราย ชื่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ รั บ เงิ น ปั น ผลในวั น ที่ 8 ก.ย. 54 (Record Date) และให้รวบรวม รายชือ่ ตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยวิธีปิด สมุ ด ทะเบี ย นพั ก การโอนหุ้ น ในวั น ที่ 9 ก.ย. 54 วันที่ไม่ได้รับสิทธิปันผล (XD) 6 ก.ย. 54 และกำ�หนดจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ ถือหุ้นในวันที่ 23 ก.ย. 54
TMI เตรียมทยอยปรับราคาสินค้าอีก 1 - 2 ครั้ง เฉลี่ย 5% พร้อมคงเป้ารายได้-กำ�ไรโต 20% นายธี ร ะชั ย ประสิ ท ธิ์ รั ต นพร กรรมการผู้ จั ด การ บมจ.ธี ร ะมงคล อุตสาหกรรม (TMI) เปิดเผยว่า บริษัทฯ อยูร่ ะหว่างการเพิม่ ประสิทธิภาพด้านการบ ริหารสต็อกสินค้าโดยการคาดคะเนปริมาณ การผลิตให้ใกล้เคียงกับยอดขายที่เพิ่มขึ้น รวมถึงปริมาณการจัดเก็บวัตถุดบิ และสินค้า
ประเภทซื้อมาขายไปโดยใช้ข้อมูลในอดีต เป็นเครือ่ งมือพิจารณาประกอบ เพือ่ ไม่เกิด ต้นทุนที่สูงและรองรับการขยายงานของ บริษัทฯที่จะเพิ่มไลน์สินค้าใหม่ๆ มากขึ้น ในอนาคต ทัง้ นี้ ช่วงทีเ่ หลือของปี 54 บริษทั ฯ จะทยอยปรับราคาขายสินค้าขึ้นอีก 1 - 2
ครั้งเฉลี่ย 5% หลังไตรมาสสองได้ตรึงราคา ไว้ คาดว่าจะช่วยให้ผลประกอบการครึ่งปี หลังออกมาดีกว่าครึ่งปีแรกที่มีรายได้รวม 167.92 ล้านบาทและกำ�ไรสุทธิ 10.29 ล้าน บาท และยั ง คงเป้ า รายได้ เ ติ บโต 20% ส่วนกำ�ไรสุทธิเติบโตไปในระดับเดียวกับรายได้
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
ตามรอย IPO
Gold Trend คนดังกับการลงทุน
Dynamic Station
หน้า 9
ประสบการณ์จากรายย่อย วัดอุณหภูมหิ นุ้ ร้อน
BANPU.. ยังมี Upside BANPU ... เจอแรงขายของต่างชาติ ฉุดราคาหลุดระดับ 600 บาท 4 วันทำ�การ ร่วงกว่า 12% แต่วงการออกโรง เชียร์ซอื้ มองผลงาน ครึง่ ปีหลังสดใส จากกำ�ลังการผลิต และราคาถ่านหิน ที่เพิ่มขึ้นแถมราคาหุ้นปัจจุบันนับว่าเป็นของถูก มี Upside จากราคาพื้นฐาน สั ป ดาห์ นี้ ข อแวะเวี ย นมาเยี่ ย ม ชมหุ้น บมจ.บ้านปู (BANPU) หลังราคา หุ้นร่วงรูด 4 วันทำ�การจนหลุดระดับ 600 บาท จากระดับวันที่ 18 ส.ค. อยู่ที่ 680 บาท แตะระดับต่ำ�สุดวันที่ 24 ส.ค.อยู่ที่ 594 บาท ซึ่งถือเป็นระดับต่ำ �สุดปีกว่า ราคาลดลง 86 บาท หรือคิดเป็น 12.64% งานนี้ ว งการมองว่ า BANPU น่าจะเจอผลกระทบจากกรณีที่นักลงทุน ต่างชาติเทกระจาดหุน้ ไทย หลังเครดิตสวิส ออกมาเตือนว่า หุ้นไทยแพงเกินไปแล้ว ข ณ ะ ที่ หั น ม า ด้ า น บ ริ ษั ท ก่ อ นหน้ า นี้ “ชนิ น ทร์ ว่ อ งกุ ศ ลกิ จ ” ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร BANPU คาดว่า รายได้ปนี มี้ ากกว่า 9 หมืน่ ลบ. พร้อมมอง ผลงานครึ่งปีหลังดีกว่าครึ่งแรก หลังผลิต ถ่านหินมากขึน้ ระบุราคาถ่านหินเฉลีย่ ปีนี้ มากกว่า 95 เหรียญ/ตัน พร้อมปรับงบ ลงทุน 5 ปีข้างหน้า (54-58) ในอินโดฯ เพิ่มเป็น 750 ล้านเหรียญ จากเดิม 644 ล้านเหรียญ ขณะทีช่ ว่ งปลาย Q3/54 หรือ ต้น Q4/54 เตรียมออกหุน้ กูว้ งเงิน 1 หมืน่ ลบ. ขาย นลท.ในประเทศ นำ�เงินไปใช้ หนี้ แถมแว่ ว ข่ า วว่ า เตรี ย มชงบอร์ ด พิจารณาจ่ายเงินปันผลงวดกลางปีเร็วๆ นี้ ขณะที่ ฝ่ า ยวิ จั ย หลายสำ � นั ก ต่างออกโรงเชียร์ซื้อ อาทิ บล.เกียรตินาคิน มองว่าคงมุมมองทีเ่ ป็นบวกต่อผลประกอบ การ H2/54 จาก (1) กำ� ลั ง การผลิ ต
ถ่านหินที่เพิ่มขึ้นจากจีน และอินโดนีเซีย (2) ราคาขายถ่านหินของบริษัทเพิ่มขึ้น สวนทางราคาถ่ า นหิ น ในตลาดโลก จากการสั ญ ญาขายในช่ ว งต้ น ปี 2554 ที่มีระดับราคาสูงกว่าปัจจุบัน เป็นปัจจัย บวกต่อผลประกอบการ BANPU ราคาหุ้นมี PER ที่ต่ำ�กว่าธุรกิจ ถ่านหินในภูมิภาค โดยปัจจุบัน BANPU มี PER อยู่ 9.8 เท่ า เที ย บกั บ ธุ ร กิ จ ถ่านหินในภูมิภาคที่มี PER เฉลี่ยอยู่ที่ 10.8 เท่า ขณะที่ราคาถ่านหินมีความ สัมพันธ์กับราคาหุ้นมากถึง 77% ทำ�ให้ มองว่าหากราคาถ่านหิน มีแนวโน้มทรงตัว ในระดับสูงต่อเนื่องถึงปลายปี จะส่งผล เชิงบวกต่อระดับราคาหุ้น BANPU ทำ�ให้ ยังคงแนะนำ� “ซือ้ ” ด้วยมูลค่าทีเ่ หมาะสม 920 บาท ด้านบล.กสิกรไทย มองว่าราคา หุน้ BANPU ขณะนีล้ ดลงมากแล้ว ทำ�ให้ ราคามี upside จากราคาพื้นฐานที่ 888 บาท เช่นเดียวกับ บล.ทรีนีตี้ ที่มองว่า นักลงทุนต่างชาติขายหุ้น BANPU จน เกือบต่ำ�สุดแล้ว ทำ�ให้การถือครองหุ้น BANPU ของต่างชาติ ได้ลดระดับมาเข้า ใกล้ชว่ งซับไพร์มแล้ว โดยปัจจุบนั รอเวลา ที่นักลงทุนต่างชาติจะกลับเข้ามาซื้อ เมื่อ เปลีย่ นทิศทางการกลับมาเพิม่ น้ำ�หนักการ ลงทุนในสินค้าโภคภัณฑ์ แต่คงไม่ใช่ใน ระยะเวลา 1 - 2 วันนี้
... นาทีนี้ BANPU ถือว่าราคาถูก แถวๆ 600 - 610มี Upside เมื่อเทียบกับ ราคาเป้ า หมายที่ โ บรกฯหลายค่ า ยมอง หากผู้ ส นใจเก็ บ สะสม.... แต่ อ ย่ า ลื ม ว่ า การลงทุนย่อมมีความเสี่ยงงงงนะจ๊ะ
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
Lifestyle Station
ซักยีนส์ไม่ให้ซีดจาง
by Jackal_XIII
ใครที่มีปัญหาเวลาซักกางเกงยีนส์แล้วสีกางเกงเกิดซีดจาง วันนี้เรามีวิธีซักกางเกงยีนส์ไม่ให้ซีดจางมาบอก... วิธีซัก คือ กลับด้านในกางเกงยีนส์ออกก่อน แล้วค่อยใส่เครื่องซักผ้า ถ้าต้องการให้สีซีดลงอย่างเป็นธรรมชาติให้ ซักที่อุณหภูมิ 60 องศาฟาเรนไฮต์ ถ้าต้องการคงความเข้มของสียีนส์ไว้ ให้ซักในอุณหภูมิ 40 องศาฟาเรนไฮต์ หรือซักด้วยน้ำ�เย็น การใส่ถุงตาข่ายและเลือกรอบซักแบบนุ่มนวลที่สุด ก็จะช่วยถนอมยีนส์และคงคาแร็กเตอร์ เช่น ริ้ว ลายเส้น และรอยขาดไว้ได้ดี เมื่อซักเสร็จ ให้กลับเอาด้านนอกออกมา สะบัดกางเกงให้เข้ารูป แล้วตาก ให้ แ ห้ งโดยการแขวน อย่ าใส่ เ ครื่ อ งอบผ้ า เด็ ด ขาด เพราะจะทำ �ให้ สี ซี ด จาง และที่สำ�คัญหากซักยีนส์สีเข้มเป็นครั้งแรก ควรซักเพียงตัวเดียวเพื่อความแน่ใจว่า สีไม่ตกไปใส่ตัวอื่น รู้อย่างนี้แล้ว ถ้าจะซักยีนส์ครั้งหน้าก็ลองนำ�วิธีที่แนะนำ�ไปปฏิบัติตามกันได้ เพื่อสีของกางเกงยีนส์จะได้ไม่ซีดจาง
Photo Release
UAC แสดงความยินดี รมช.คลัง
นายกิตติ ชีวะเกตุ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการ บมจ.ยูนิเวอร์แซล แอดซอร์บเบ้นท์ แอนด์ เคมิคัลส์ (UAC) เข้าพบนายบุญทรง เตริยาภิรมย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงการคลัง พร้อมมอบกระเช้าดอกไม้เพื่อแสดงความยินดีในโอกาสเข้ารับตำ�แหน่งในทีม เศรษฐกิจของรัฐบาล
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
Lifestyle Station
มุมการตลาด “ไคร่า” คอลเลคชั่นใหม่!! บริษัท ไคร่า โมด จำ�กัด ผู้ผลิตและจัดจำ�หน่ายชุดชั้นในแบรนด์ “ไคร่ า ” เปิ ด ตั ว ชุ ด ชั้ นในคอลเลคชั่ นใหม่ “ไคร่ า เซ็ ก ซี่ ควี น บาย อั้ม - พัชราภา” (Kyra’s Sexy Queen by Aum Patcharapa) ชุดชั้นใน ดีไซน์เซ็กซี่ 4 สไตล์ตามแบบฉบับเซ็กซี่ควีน อั้ม - พัชราภา ไชยเชื้อ ที่ทางไคร่าเชิญมารับหน้าที่ Co-Designer ร่วมออกแบบเป็นครั้งแรก ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมแกรนด์ มิลเลนเนียม สุขุมวิท มั่นใจโดน ใจสาวทุกคนทุกคัพแน่นอน
มุมประกัน กรุงศรีจับมือ อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี.-ไทยประกันชีวิต ผนึกความแข็งแกร่งรุกธุรกิจประกันชีวิตผ่านสาขา นายมาร์ค อาร์โนลด์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา นายสตีเฟ่น แอปเปิ้ลยาร์ด กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. อยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกันชีวิต (เอเอซีพี) และนายไชย ไชยวรรณ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยประกันชีวิต จำ�กัด ร่วมลงนามเป็นพันธมิตรทางธุรกิจแบงก์แอสชัวรันส์ โดยการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตของเอเอซีพี และไทยประกันชีวิต ขายผ่านเครือข่ายสาขาของธนาคารกรุงศรีอยุธยาจำ�นวน 587 สาขาทั่วประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ย. 54 เป็นต้นไป การผนึกกำ�ลังทางธุรกิจในครั้งนี้ เป็นการผสานจุดแข็งด้านบริการและช่องทางจำ�หน่ายและเครือข่ายของธนาคารเชื่อมโยงเข้ากับ ความเชี่ยวชาญด้านธุรกิจประกันภัยของเอเอซีพี และไทยประกันชีวิต โดยความร่วมมือดังกล่าวจะสามารถตอบสนองความต้องการ ด้านผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตของลูกค้าทุกกลุ่มอย่างทั่วถึง
CYBER ก้าวสู่ธุรกิจใหม่ยึดหัวหาดรายแรกของไทย ชนินทร์เดช วานิชวงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.ไซเบอร์ แพลนเน็ต อินเตอร์แอคทีฟ (CYBER) (ที่ 3 จากขวา) ถ่ายภาพร่วมกับ สุเทพ ยืนยงค์วิทยากุล ประธานกรรมการบริหาร และผู้บริหาร บริษัท นู ไลฟ์ อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จำ�กัด ประกาศความร่วมมือ ทางธุรกิจร่วมกัน โดย CYBER จะผลิตแท็บเล็ตให้สมาชิกของนูไลฟ์ ซึ่งมี ความโดดเด่นอยู่ที่ซอฟท์แวร์ซึ่งสร้างเป็น Social network ภายในกลุ่ม ธุรกิจ ให้เชื่อมต่อกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังสามารถสั่งซื้อสินค้า ผ่านเครื่องแท็บเล็ตได้เลย และมีคอนเทนต์ช่วยเสริมความรู้หลากหลาย ระบุเป็นก้าวใหม่ในการทำ�ธุรกิจของ CYBER อนาคตจะเป็นธุรกิจตัวใหม่ที่ ทำ�รายได้หลักให้บริษัท วางแผนจะยึดหัวหาดเป็นเจ้าแรกๆ ของไทย
www.istationnews.com
Professional Station
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
กว่ า จะมาเป ็ น เสื อ ตอนที่ 14
เฟ้นแนวคิด
“เล็ก สิขรวิทย”
ยอดที่ปรึกษาทางการเงินแห่ง
เอเซีย พลัส
ถามว่าใกล้ถงึ เวลาเกษียนตนเองหรือยัง “เล็ก สิขรวิทย” บอก กับเราว่า... “จริงๆ ผมจะบอกน้องๆ เสมอว่า หากใครพร้อมที่จะ เข้ามารับหน้าทีข่ องผม ก็ยนิ ดีทจี่ ะถอยให้ เพราะอายุเราก็ไม่ใช่นอ้ ยแล้ว แต่จนถึงวันนี้มันก็ยังไม่ถึงจุดนั้นเสียที ก็ยังรออยู่ เพราะหากจะมี ใครมาแทนทีต่ อ้ งทำ�ให้ดไี ด้เท่ากับทีผ่ มได้ท�ำ ไว้ หรือดีกว่าผมไปเลย ยิ่งดี เพื่อประโยชน์อันสูงสุดต่อองค์กร ผมไม่ใช่คนที่ยึดติดกับเก้าอี้ หรือตำ�แหน่งใดๆ บางคนอาจจะ บอกว่ า กว่ า เราจะก้ า วมาจนถึ ง ตรงนี้ ไ ด้ ต้ อ งทำ � อะไรมากมาย
“เล็ก สิขรวิทย” จะให้ใครมาเอาที่ของเราไปง่ายๆ ได้อย่างไร อันนี้ผมว่ามันไม่ ถูกต้อง จริงๆ ถ้าสังเกตให้ดี ผมทำ�งานที่นี่ เวลาทำ�งานอะไรไป ก็มักจะไม่ค่อยไปเคลมชื่อสักเท่าไหร่ ให้ ดร.ก้องเกียรติ รับตรง นั้นไป เพราะมันดีต่อบริษัท ชื่อของเขามันประจักษ์อยู่กับคนใน วงการนี้อยู่แล้ว นั่นมันยิ่งทำ�ให้เพิ่มความเชื่อมั่นและความน่า เชื่อถือของบริษัทเข้าไปอีก ผมเป็นคนทีท่ �ำ งานหวังผลสำ�เร็จทีต่ วั งานมากกว่า ถ้าเรา เจ๋งจริงคนก็จะรูจ้ ากงานทีเ่ ราทำ�ๆ ไปทัง้ หมดนัน่ เอง ส่วนตัวผมเอง ในงานตรงนี้ ผ มก็ ถื อ ว่ า มาได้ ไ กลสุ ด ๆ แล้ ว ที่ เ หลื อ ก็ อ ยาก จะดันน้องๆ ให้ประสบความสำ�เร็จบ้าง” เคส IPO ที่สำ�คัญที่สุดที่เคยทำ�มา ? “สำ�หรับผม ทุกเคสสำ�คัญหมด...”
อ่านต่อฉบับหน้า
www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
คาดตลาดหุน้ ไทยวันนีอ้ าจอ่อนตัวลง หากนั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ยั ง ขายสุ ท ธิ เช่นวานนี้ ขณะที่นักลงทุนส่วนใหญ่ยังรอ ดู ผ ลประชุ ม ของธนา คารกลา งสหรั ฐ ฯ (เฟด) ในคืนวันศุกร์ว่าจะออกมาเป็น อย่ า งไร รวมถึ ง รอปั จ จั ย บวกใหม่ ๆ กระตุ้ น ตลาด ประเมิ น แนวต้ า นที่ 1,050 จุด แนวรับ 1,020 จุด กลยุทธ์ แนะซื้อเมื่ออ่อนตัว เช่น กลุ่มสื่อสาร และกลุ่มอสังหาริมทรัพย์
หน้า 13
หุ้นไทยวันนี้มีโอกาสรีบาวน์ หลังจาก 6 วันทำ�การก่อนหน้านี้ ดัชนีฯ ปรับลดลงอย่าง ต่อเนือ่ งรวมกวา่ 60 จุด ซึง่ อาจสะทอ้ นให้มแี รง ซือ้ กลับเข้ามาวันนี้ แต่ยงั ต้องติดตามปัจจัยหลัก จากต่างประเทศ โดยเฉพาะกรณีธนาคารกลาง สหรัฐฯ (เฟด) จะประชมุ วันศุกร์นี้ เพือ่ พิจารณา หาแนวทางการกระตุ้นเศรษฐกิจของสหรัฐฯ กลยุทธ์การลงทุน แนะนำ�เก็งกำ�ไรในสัดส่วน 50% ของพอร์ตการลงทุน และถือเงินสด 50% โดยประเมินแนวรับไว้ที่ 1,020 - 1,010 จุด ส่วนแนวต้าน 1,037-1,042 จุด
www.istationnews.com
Data Station
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงห�คม 2554
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 25 สิงห�คม 2554
Stock Exchange of Thailand [SET] [Day]
TRADING BY INVESTOR TYPE
Type
Institute
Proprietary
Foreign Local
Buy
Sell
Net
5,385.67 16.20% 3,449.46 10.37% 6,316.14 18.99% 18,103.32 54.44%
3,307.58 9.95% 4,333.17 13.03% 8,355.11 25.12% 17,258.72 51.90%
2,078.09 -883.71 -2,038.97 844.6
Last Update
25/08/11
Index
Last
SET SET 50 SET 100 MAI SET Value MAI Value Last Updated
1,025.00 711.48 1,551.42 288.64
25/08/2011
Chg
%Chg
-21.43 -14.22 -33.3 -10.21 (Mil. ฿) (Mil. ฿)
-2.05 -1.96 -2.1 -3.42 33,254.58 565.13
17:01:48
AGRO A dv ance 14% D ecline 73%
-0.99
No C hange 13%
TECH
0 -1
CONSUMP
-2
-3.85
-3
-1.96
SERVICE
-4
-1.43 -1.48
FINCIAL
-5
-4.75 A dv ance 9% D ecline 73%
No C hange 18%
-1.69
RESOURC
-2.15
INDUS
PROPCON www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงห�คม 2554
หน้� 15
ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 25 สิงหห�คม 2554
PTT
( Day )
: PTT 1,600,000 1,400,000
Price & Fundamental Symbol PTT
Last 309.00 Chg -6.00 %Chg -1.90 Open 318.00 High 318.00 Low 309.00 Prev 315.00 Avg 313.97 AccVol 6,851,000 AccVal(K฿) 2,151,036 2.87 %Fluct P/E 7.98 P/BV 1.68 DPS(Baht) 5.50 Yield(%) 3.24 EPS(Baht) 38.70 MktCap(Mil.) 882,004 Broker Target Update UOBKHST 457.00 24/8/2011 หลัTRINITY กทรัพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็410.00 นต์การเปลีย่ 23/8/2011 นแปลง ของราคาเพิ ส่ ดุ และมีมลู 23/8/2011 ค่าการ KTZ ม่ ขึน้ มากที 430.00
ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
1,200,000
Vol.
1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 318.00
317.00
316.00
315.00
Price
314.00
313.00
312.00
311.00
310.00
309.00
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงห�คม 2554
หน้� 16
Top MostActive Gainer ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 25 สิงหห�คม 2554
GLOBAL
( Day )
Volume Analysis
: GLOBAL
Price & Fundamental Symbol GLOBAL
Last Chg %Chg Open High Low Prev Avg AccVol AccVal(K฿) %Fluct P/E P/BV DPS(Baht) Yield(%) EPS(Baht) MktCap(Mil.) Broker TNS KTZ KIMENG
9.90 0.45 4.76 9.45 10.00 9.40 9.45 9.84 10,993,400 108,230 6.10
38.08 3.49 0.06 0.39 0.26 14,256 Target Update 12.00 25/8/2011 9.10 2/8/2011 6.53 2/8/2011
2,500,000 2,000,000
Vol.
1,500,000 1,000,000 500,000
10.00
9.95
9.90
9.85
9.80
Price
9.75
9.70
9.65
9.60
9.55
9.50
9.45
9.40
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงห�คม 2554
Top MostActive Compare AVG Vol5 ข้อมูล ณ สิ้นวันที่ 25 สิงห�คม 2554
KK
( Day )
Volume Analysis
: KK
Price & Fundamental Symbol KK
Last 33.50 Chg 0.25 %Chg 0.75 Open 33.50 High 33.75 Low 33.25 Prev 33.25 Avg 33.50 AccVol 10,186,300 AccVal(K฿) 341,263 1.49 %Fluct P/E 8.09 P/BV 0.94 DPS(Baht) 1.40 Yield(%) 6.84 EPS(Baht) 4.14 MktCap(Mil.) 21,250 Broker Target Update KTZ 39.00 23/8/2011 KS 42.00 หลักทรัพย์ทม่ี เี ปอร์เซ็นต์การเปลีย่ 17/8/2011 นแปลง BLS ม่ ขึน้ มากที42.00 ของราคาเพิ ส่ ดุ และมีมลู 16/8/2011 ค่าการ
ซือ้ ขายเฉลีย่ 5 วัน มากว่า 10 ล้านบาท ของวันที่ 26-01-2010
12,000,000 10,000,000
Vol.
8,000,000 6,000,000 4,000,000 2,000,000
Price
33.75
33.50
33.25
0
ATO/C Volume Sell Volume Buy Volume
หมายเหตุ www.istationnews.com
Investor Station ฉบับที่ 680 ประจำ�วันศุกร์ ที่ 26 สิงหาคม 2554
คำ�คมการลงทุน
หน้า 18
ผูจ้ ดั ทำ� บริษทั ออนไลน์แอสเซ็ท จำ�กัด
“......นกกระจอกไหนจะรู้ ซึ้ ง ถึ ง อุ ด มการณ์ อันยิ่งใหญ่ของพญาอินทรี......” Anonymous
466 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 --คณะทีป่ รึกษา-พรเลิศ เตชะรัตโนภาส ดวงสุรยี ์ วายุบตุ ร์ --บรรณาธิการ-เอกอนันต์ เสรีรตั นะชัย --กองบรรณาธิการ และฝ่ายสนับสนุน--ข่าวต่างประเทศ วรเชษฐ์ พันธ์ภวู งศ์ -ข่าวตลาดเงิน ตลาดทุน ศราพงค์ นันติวงค์ พิมพ์รภัส ศิรไิ พรวัน ศุภวรรณ วราภรณ์ -ข่าวตลาดอนุพนั ธ์ สุรเมธี มณีสโุ ข --ฝ่ายศิลปกรรม-ยุภาจิตร์ วัชระธัญเจริญ ประกาศิต คุณครอง วีระชัย ปัตลา ภูวนาท สุขเกษม อัษฎา วรรณธนาสิน
สนใจติดต่อโฆษณา วีรตรี ศิรสิ มบัติ (ฝ่ายการตลาด) Tel : 0-2541-4011 Fax : 0-2541-4017 Mobile: 084-939-8881
weeratree@efinancethai.com
www.istationnews.com