ASEAN Guide
page1
Education
page2
การศึกษาในอาเซียน
บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) ประเทศบรูไนดารุสซาลามไม่มีการศึกษาภาคบังคับ แต่การศึกษาเป็นสากล และจัดให้ฟรีสำ�หรับประชาชนทั่วไป การศึกษาแบ่งออกเป็นระดับก่อนประถมศึกษา 1 ปี ระดับประถมศึกษา 6 ปี ระดับมัธยมศึกษา 7-8 ปี ซึ่งแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น 3 ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2-3 ปี และระดับเตรียมอุดมศึกษา 2 ปี และระดับมหาวิทยาลัย 3-4 ปี
page3 มหาวิทยาลัยในสิงคโปร์มี 3 แห่ง คือ
สาธารณรัฐสิงคโปร์
(The Republic of Singapore) ระบบการศึ ก ษาของสิ ง คโปร์ แ บ่ ง ออกเป็ น ระดั บ ประถม 6 ปี ระดับมัธยมศึกษา 4 ปี ซึ่งรวมแล้วเป็นการ ศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 10 ปี แต่ผู้ที่จะเข้าศึกษาในระดับ มหาวิทยาลัยจะต้องศึกษาขั้นเตรียมมหาวิทยาลัยอีก 2 ปี การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษา ควบคู่กันไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และเลือก เรียนภาษาแม่ (Mother Tongue) อีก 1 ภาษา คือ จีน (แมนดาริน) มาเลย์ หรือทมิฬ (อินเดีย)
Nanyang Technological University
รัฐบาลสิงคโปร์ให้ความสำ�คัญกับการศึกษามาก โดยถือว่าประชาชนเป็นทรัพยากรที่สำ�คัญ และมีค่าที่สุด ของประเทศ ในการนี้ รัฐบาลได้ให้การอุดหนุนด้านการ ศึกษาจนเสมือนกับเป็นการศึกษาแบบให้เปล่า โรงเรียนใน ระดับประถม และมัธยมล้วนเป็นโรงเรียนของรัฐบาลหรือกึ่ง รัฐบาล สถานศึกษาของเอกชนในสิงคโปร์ มีเฉพาะในระดับ อนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น
National University of Singapore (NUS)
Singapore Management University(SMU)
โดยมหาวิทยาลัย NUS จะให้การศึกษาครอบคลุม เกือบทุกสาขาวิชา ทั้งแพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ กฎหมาย ศิลปะศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม และการบริหารธุรกิจ ส่วนมหาวิทยาลัย Nanyang จะ เน้นการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ รวมทั้ง วิทยาศาสตร์ประยุกต์ และสาขาธุรกิจ และการบัญชี สำ�หรับ มหาวิทยาลัย SMU จะเน้นเรื่องธุรกิจการจัดการ
page4 • ระดับก่อนประถมศึกษา
• ระดับปริญญาตรี เด็กทุกคนต้องเข้าศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา 1 การศึกษาระดับปริญญาตรีจะจัดให้กับเด็กที่มีผล
ปี เมื่ออายุ 5 ปี หลังจากนั้นจึงเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษา การศึกษาดี มีศักยภาพในการศึกษาต่อได้ หรือศึกษาใน สาขาที่เป็นความต้องการของประเทศ ซึ่งมีทั้งมหาวิทยาลัย • ระดับประถมศึกษา สถาบันอาชีวะ และเทคนิคต่าง ๆ วิทยาลัยต่าง ๆ โรงเรียนเอกชน (Non-Government Schools) การศึกษาระดับประถมศึกษาแบ่งออกเป็นสองระดับ โรงเรียนเอกชนมีบทบาทในการช่วยแบ่งเบาภาระการ คือ ระดับประถมต้น 3 ปี และประถมปลาย 2-3 ปี หลัง จากจบการศึกษาระดับประถมศึกษา 6 ปี นักเรียนจะต้อง จัดการศึกษาของรัฐบาลโดยโรงเรียนเอกชนที่ขึ้นทะเบียน เข้ารับการทดสอบข้อสอบกลาง (PCE : Primary Certifi- กับกระทรวงศึกษาธิการมี 5 ประเภท ได้แก่ โรงเรียนภาค cate of Examination) ซึ่งการศึกษาในระดับนี้มีจุดประสงค์ บังคับตามปกติ(ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับมัธยมศึกษา) เพื่อปูพื้นฐานด้านการเขียน การอ่าน และการคำ�นวณให้แก่ โรงเรียนกวดวิชา โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียน นักเรียน เพื่อจะได้นำ�ความรู้เหล่านี้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง สอนดนตรี โรงเรียนสอนตัดเสื้อ การศึกษา และการฝึกหัดด้านอาชีวะและเทคนิค กรมการศึกษาด้านเทคนิค (Department of Tech• ระดับมัธยมศึกษา nical Education – DTE) เป็นผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการ การศึกษาระดับมัธยมศึกษารวมใช้เวลา 7-8 ปี ศึกษา และการฝึกหัดด้านอาชีวะและเทคนิค (Technical and (มัธยมศึกษา 1-5 และ เตรียมอุดมศึกษา 2 ปี) Vocational Education and Training) และโปรแกรมเกี่ยว กับการศึกษาต่อ (Continuing Education-CE) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระบบการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2528 กำ�หนด ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีระยะเวลา 3 ปี หลังมัธยมศึกษา ให้ใช้ภาษาอังกฤษ และภาษามาเลย์ในการสอนตั้งแต่ระดับ ตอนต้นแล้ว นักเรียนจะต้องทดสอบ BJCE (Brunei Junอนุบาลจนถึงประถมศึกษาปีที่ 3 ครูจะสอนทุกวิชาด้วย ior Certificate of Education) จึงสามารถเรียนต่อระดับ ภาษามาเลย์ ยกเว้นวิชาภาษาอังกฤษซึ่งใช้ภาษาอังกฤษใน มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเลือกเรียนวิชาด้านช่าง และ การสอน สำ�หรับระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไป โรงเรียน เทคนิคพืน้ ฐานทีส่ ถาบันการศึกษาทางเทคนิคและอาชีวศึกษา จะใช้ทั้งภาษามาเลย์ และภาษาอังกฤษในการสอน โดยภาษา มาเลย์ใช้สำ�หรับสอนวิชาเกี่ยวกับมาเลย์ ความรู้เกี่ยวกับ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศาสนาอิสลาม พลศึกษา ศิลปะและการช่าง และวิชาหน้าที่ มีระยะเวลา 2-3 ปี นักเรียนจะเลือกเรียนสายศิลป์ สายวิทย์ พลเมือง ส่วนภาษาอังกฤษใช้ในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ หรือสายอาชีพ ตามแต่ผลการสอบ BJCE หลักจากเรียน คณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว (ระดับ 5) เด็กต้อง เป็นต้น สอบข้อสอบ Brunei-Cambridge General Certificate of Education : BCGCE “O” level หรือสำ�เร็จการ ศึกษาระดับ 6 เด็กต้องสอบข้อสอบ Brunei-Cambridge General Certificate of Education : BCGCE “A” level แล้วจึงจะมีสิทธิ์เรียนต่อระดับเตรียมอุดมศึกษา - ระดับเตรียมอุดมศึกษา มีระยะเวลา 2 ปี
page5 • นโยบาย/จุดเน้นด้านการศึกษา
นอกจากนี้ บรูไน ดารุสซาลาม ยังให้ความสำ�คัญต่อการ ดำ�เนินงานในเรื่องต่างๆ ดังนี้ - การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการจัดการศึกษา ในโรงเรียน วิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษา - การพัฒนาหลักสูตร การศึกษาที่ตอบสนอง ความต้องการของผู้เรียนและสังคมในปัจจุบัน และอนาคต - การพัฒนาโรงเรียน เช่น การปรับปรุงสภาพ แวดล้อมในการจัดการเรียน การสอน เช่น การใช้คอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ในชั้น เรียน - การพัฒนาผู้นำ�นักเรียน
กระทรวงศึกษาธิการบรูไนดารุสซาลาม ได้จัดทำ� แผนยุทธศาสตร์ 2007 – 2012 และการจัดทำ�วิสัยทัศน์ ด้านการศึกษาของบรูไนดารุสซาลาม 2035 โดยได้ให้ความ สำ�คัญต่อการสร้างสังคมบนพื้นฐานแห่งทักษะ และความ รอบรู้ภายใต้ระบบการศึกษา “world class education system” ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยให้การศึกษา เป็นหนึ่งใน 8 ยุทธศาสตร์ที่สำ�คัญของประเทศ พร้อม ทั้งได้ใช้เงินกองทุนพัฒนาใน การลงทุนการศึกษาในอัตรา ร้อยละ 8.7 รวมทั้งการพัฒนาด้านโครงสร้าง ICT ระบบการศึ ก ษาของบรู ไ นดารุ ส ซาลามมุ่ ง ตอบ สนองความต้องการของศตวรรษที่ 21 โดยเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้ มีโอกาสเลือกเรียนสาขาวิชาการต่างๆในระดับ อุดมศึกษา ที่มีเป้าหมายในการสร้างสรรค์สันติภาพและ ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมิภาค บรูไน ดารุสซาลาม ให้ความสนใจในการพัฒนาความร่วมมือทางการศึกษา ความรุ่งเรืองของชาติ ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาแห่งชาติของบรูไนดารุส ระดับต่างๆ ดังนี้ ซาลามเน้นในเรื่องต่างๆ ดังนี้ ระดับการอุดมศึกษา - การลงทุนทางการศึกษาสำ�หรับเด็กปฐมวัย - ความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา - การนำ�แนวปฏิบัติที่ดีจากนานาชาติมาใช้ในการ - การพัฒนาสถาบันนานาชาติ จัดการเรียนการสอนของประเทศ - การส่งเสริมโครงการ Twining Schools - การพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา - การแลกเปลี่ยนนักเรียนและบุคลากร อุดมศึกษา และอาชีวศึกษาเพื่อตอบสนอง ความต้องการของตลาดธุรกิจและอุตสาหกรรม - การส่งเสริมสมรรถนะในการใช้ ICT สำ�หรับผู ้ ระดับการอาชีวศึกษา - การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา เรียน ครู บุคลากรการศึกษา รวมทั้งการ - การฝึกปฏิบัติงานของนักเรียนและ บุคลากรใน การบูรณาการ เรื่อง ICT ในหลักสูตร ภาคอุตสาหกรรม ของโรงเรียน - การสร้างนวัตกรรม - การดำ�เนินโครงการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู ้ ตลอดชีวิต และเปิดโอกาสให้สามารถศึกษาต่อได้ใน ระดับการศึกษาพื้นฐาน - การพัฒนาเยาวชนให้มีพื้นความรู้ที่แข็งแกร่งใน ระดับอุดมศึกษา ด้านภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ - การส่งเสริมการวิจัย การพัฒนาและนวัตกรรม การคิดคำ�นวณ การรังสรรค์นวัตกรรม และการ ทั้งจากงบประมาณภาครัฐ เอกชน และความร่วม เรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์ มือกับต่างประเทศ - การบูรณาการการสอนด้าน IT ในหลักสูตร - การส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยการใช้ ต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ
page6 • นโยบาย/จุดเน้นด้านการศึกษา
ราชอาณาจักรกัมพูชา ได้จัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ การศึ ก ษาและโครงการส่ ง เสริ ม สาขาการศึ ก ษา20062010 เพื่อสนองตอบแผนยุทธศาสตร์ชาติของกัมพูชา ระหว่างปี 2006-2010 ในการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน และเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษกัมพูชา โดยได้มีการ ดำ�เนินการต่างๆ จากหน่วยงานทั้งในระดับชาติและระหว่าง ประเทศ
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) • การศึกษาของกัมพูชา
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจสังคม นำ�ไปสู่การปฏิรูปด้านการศึกษาของกัมพูชาก่อนปี พ.ศ. 2518 ประเทศไทยยึดระบบการศึกษาแบบฝรั่งเศษซึ่งให้ มีการศึกษาภาคบังคับ 13 ปี (6+4+2+1) ภายหลังปี พ.ศ. 2522 กระทรวงศึกษาฯใช้ระบบการศึกษาแบบ 10 ปี (4+3+3) และต่อมาได้ขยายเป็นแบบ 11 ปี และใช้สืบ เนื่องจากปี พ.ศ.2529 ถึง 2539 กระทรวงศึกษาฯ ยังคงดำ�เนินการพัฒนาระบบ การศึกษา มีการปฎิรูปหลักสูตร มีการพัฒนาตำ�ราเรียน ใหม่และนำ�เทคนิคการสอนใหม่ๆ มาให้กับครูเพื่อเตรียม สำ�หรับการนำ�ระบบการศึกษาแบบ 12 ปีมาใช้ (6+3+3) ในปีการศึกษา 2539 – 2540 โดยระบบใหม่นี้ จะแบ่ง เป็นการศึกษาก่อนประถมศึกษา 3 ปี ประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และระดับอุดมศึกษา 4 – 7 ปี ส่วนการจัดการศึกษาด้าน อาชีวะและเทคนิคจัดให้ตั้งแต่ 1 ปี ไปจนถึง 3 – 5 ปีการ จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษานี้ บางสถาบันการศึกษาอยู่ ภายใต้การกำ�กับดูแลของกระทรวงเกษตรสาธารณสุขหรือ แรงงาน การจัดการศึกษานอกระบบจะเน้นการฝึกทักษะ ให้ กับประชาชน
• ยุทธศาสตร์การศึกษาของกัมพูชา
ยุทธศาสตร์กัมพูชาในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ให้ ความสำ � คั ญ ต่ อ การจั ด การศึ ก ษาอย่ า งเสมอภาคและมี ประสิทธิภาพแก่เด็กกัมพูชาให้เป็นนักเรียนที่ดี เยาวชนที่ดี และประชาชนที่ดี เพื่อช่วยส่งเสริมการพัฒนาด้านสังคม เศรษฐกิจของประเทศ นโยบายสำ�คัญได้แก่ • การให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาด้วยการสร้าง โรงเรียนให้อยู่ใกล้บ้านนักเรียน การจัดงบประมาณ ดำ�เนินการที่พอเพียง การจัดครู และการสร้างหอพักให้ นักเรียน โดยเฉพาะเด็กผู้หญิง • การปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพการศึกษา ด้วยการเพิ่มอุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด หัองปฏิบัติการ การปฏิรูปหลักสูตร การเพิ่มชั่วโมงการ เรียน และการให้ทุนการศึกษาแก่เด็กยากจน • การพัฒนาสถาบันการศึกษาและการเสริมสร้าง ศักยภาพบุคลากรการศึกษาด้วย การพัฒนา กระบวนการทำ�งาน ปรับปรุงกฏหมาย และฝึกอบรมเจ้าหน้าที่การศึกษาทุกระดับเกี่ยวกับ ทักษะด้านเทคนิค
page7 แผนปฏิบัติการด้านการศึกษา ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 การให้เด็กทุกคนได้รับบริการการ ศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ การให้บริการการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสถาบันและการเสริม สร้างศักยภาพการกระจายอำ�นาจ นอกจากนี้ ปัจจุบัน ราชอาณาจักรกัมพูขาได้ดำ�เนินความ ร่วมมือกับเครือข่าย AUN ในโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษา ปัจจุบันมีสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐจำ�นวน 33 แห่ง และเอกชนจำ�นวน 43 ่ แห่ง มีนักศึกษาลงทะเบียนจำ�นวน 168,000 คน
• ความร่วมมือด้านการศึกษาในภูมิภาค
ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก รัฐบาลกัมพูชาและหุ้นส่วนองค์การระหว่างประเทศ ประกอบ ด้วย ยูนิเซฟ ยูเนสโก และไจก้า ประเทศญี่ปุ่น
กั ม พู ช าให้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาความร่ ว มมื อ ใน ภูมิภาค ดังนี้ 1. การฝึกอบรมครูเพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยว กับประชาคมอาเซียนและการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาในภูมิภาค 2. การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษาเพื่อสร้าง กำ�ลังคนให้มีศักยภาพการแข่งขันในภูมิภาค 3. การพัฒนาด้านอุดมศึกษา (การประกันคุณภาพ และระบบการถ่ายโอนหน่วยกิต กรอบคุณวุฒิ
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
ระบบการการศึ ก ษาในโรงเรี ย นประกอบ ด้วยระดับการศึกษาขั้นต่างๆ ดังนี้คือ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน การศึกษาชั้นมัธยมและการศึกษาระดับ สูง นอกเหนือจากระดับการศึกษาดังกล่าวข้างต้น แล้ว ยังมีการศึกษาก่อนวัยเรียนเพื่อเตรียมความ พร้อมของเด็กด้วย การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามเกณฑ์จะใช้เวลา 9 ปีโดยเรียนชั้นประถมศึกษา 6 ปีและชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น 3 ปี มีเป้าหมายเพื่อจัดหาทักษะพื้นฐานใน การพัฒนาตนเองในฐานะที่เป็นปัจเจกชน สมาชิกใน สังคม ประชากรในประเทศและโลก เท่าๆ กับที่เตรียม ก้าวเข้าสู่การศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนประถมศึกษาจะกำ�หนดโครงการการ ศึกษาเป็นเวลา 6 ปีซึ่งโรงเรียนจะมีลักษณะแตกต่างกัน 2 แบบ คือ โรงเรียนประถมศึกษาแบบทั่วไป (general primary school) และโรงเรียนประถมศึกษาพิเศษสำ�หรับเด็ก พิการ (special primary school for handicapped children) สำ�หรับโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจะกำ�หนดการ เรียนเป็นเวลา 3 ปีและมีลักษณะแบบเดียวกับของโรงเรียน ระดับประถมศึกษาคือ มีโรงเรียนแบบทั่วไปและโรงเรียนพิเศษ สำ�หรับเด็กพิการ
page8 โรงเรียนมัธยมศึกษา รับผู้จบการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้เวลาเรียน 3 ปี โดยมีรูปแบบของ การจัดการศึกษาหลายแบบ เช่น แบบสามัญทั่วไป แบบ สามัญวิชาชีพ แบบสามัญทางศาสนา แบบสามัญบริการ และแบบการศึกษาพิเศษ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา มีดังนี้คือ 1.พัฒนาความรู้แก่นักเรียนให้ได้ศึกษาต่อเนื่อง ไปถึงขั้นสูง และเพื่อพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์ แขนงต่างๆ 2.พัฒนาความสามารถของนักเรียนในฐานะเป็น สมาชิกของสังคม ให้มีปฏิสัมพันธ์ต่อ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาทั่วไปหลักสูตรประกอบ ด้วยโครงการวิชาการสอนทั่วไปและการสอนเฉพาะวิชา เพื่อ เตรี ย มความรู้ แ ละพั ฒ นาทั ก ษะสำ �หรั บ การศึ ก ษาในระดั บ อุดมศึกษาต่อไป การศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาทางวิ ช าชี พ เหมาะ สำ�หรับผู้ต้องการเข้าสู่วิชาชีพ สามารถแยกการศึกษานี้ ออกเป็น 6 กลุ่มในสาขาวิชาชีพต่างๆ ดังนี้คือ • เกษตรกรรมและการป่าไม้ • เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม • ธุรกิจและการจัดการ • ความเป็นอยู่ของชุมชน • การท่องเที่ยว • ศิลปะหัตถกรรม
• การศึกษาระดับมัธยมศึกษาด้านศาสนา เป็ น การจั ด การศึ ก ษาด้ า นศาสนาโดยเฉพาะการ ศึกษาระดับมัธยมศึกษาแบบบริการ เป็นการจัดการศึกษา เพื่ อ เตรี ย มความรู้ ค วามสามารถสำ � หรั บ ผู้ ที่ จ ะเข้ า เป็ น พนักงานหรือข้าราชการ
• การศึกษาระดับมัธยมศึกษาพิเศษ
เป็นการจัดการศึกษาสำ�หรับนักเรียนที่พิการทาง ร่างกายและ/หรือจิตใจ
• การศึกษาระดับสูง หรืออุดมศึกษา
อุดมศึกษา เป็นการขยายไปจากการศึกษาระดับ มัธยมศึกษา ระดับปริญญาตรีใช้เวลาเรียน 3-4 ปี ปริญญาโท 2 ปี และปริญญาเอก 3 ปี สถาบันที่ให้การ ศึกษาระดับสูงนี้มีลักษณะเป็นสถาบันวิชาการ โพลีเทคนิค สถาบันการศึกษาและมหาวิทยาลัย
page9 นับตั้งแต่ลาวได้เปลี่ยนการปกครองเมื่อปีค.ศ.1975 (พ.ศ. 2528) เป็นต้นมา ลาวได้ใช้ระบบการศึกษาเป็นแบบ 11 ปี คือระบบ 5 :3 :3 ดังนี้
• ประถมศึกษา
สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic of Lao PDR) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) เป็นประเทศที่อยู่ในวงล้อม ของ 5 ประเทศ คือ เวียดนาม กัมพูชา ไทย พม่า และ จีน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล พื้นที่ประเทศทั้งหมด 236,800 ตารางกิโลเมตร ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขาและที่ราบสูง ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาราชการ เมืองหลวงชื่อเวียงจันทน์ (Vientiane) ปกครองในระบบสังคมนิยม การจัดการศึกษา ของลาวเริ่มด้วยการศึกษาในระดับอนุบาลและก่อนวัยเรียน โรงเรียนอนุบาลในประเทศลาวจะมีทั้งโรงเรียนที่เป็นของ รัฐบาลและเอกชน เปิดรับนักเรียนตั้งแต่อายุ 3-6 ปี ใช้เวลา เรียน 3 ปี แบ่งเป็นชั้นอนุบาล 1-3 เมื่อจบชั้น อนุบาลแล้ว จะเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาต่อไป
ใช้เวลาในการศึกษา 5 ปี เด็กจะเริ่มเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี การศึกษาในระดับนี้คือเป็นการศึกษาภาคบังคับ เด็กทุกคน ต้องจบการศึกษาในระดับนี้ แต่ในทางปฏิบัติการศึกษาภาค บังคับจะมีผลดีแต่เฉพาะเด็กในเมืองใหญ่เท่านั้น เนื่องจาก ลาวมีพื้นที่ประเทศกว้างขวางและประชากรกระจายกันอยู่
• มัธยมศึกษาตอนต้น ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี และในอนาคตจะให้เด็กได้เรียนภาษา อังกฤษเพิ่มมากขึ้น
• มัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี การศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบ 5 -3 -3 นี้อยู่ในความดูแลและ รับผิดชอบของกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
•อุ ด มศึ ก ษาหรื อ การศึ ก ษาชั้ น สู ง รวมถึ ง การ ศึกษาด้านเทคนิค สถาบันการศึกษาชั้นสูงหรือ มหาวิทยาลัย ซึ่งอยู่ในความดูแลและรับผิดชอบของกรม อาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้น การศึกษาเฉพาะทางซึ่งอยู่ในความดูแลของกระทรวงอื่น โดยเมื่อเด็กจบการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาแล้ว จะมีการคัดเลือกนักเรียนเพื่อเสนอกระทรวงศึกษาธิการให้ เด็กได้เข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ได้แก่
• สายอาชีพ ใช้เวลาศึกษา 3 ปี ในวิทยาลัยเทคนิคต่างๆ เช่น ทางด้าน ไฟฟ้า ก่อสร้าง บัญชี ป่าไม้ เป็นต้น
page10 ระบบการจัดการศึกษาของมาเลเซีย (National Education System) เป็นระบบ 6:3:2 คือ
มาเลเซีย (Malaysia) ระบบการบริ ห ารการศึ ก ษาของประเทศ มาเลเซี ย อยู่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของกระทรวง ศึกษาธิการ แบ่งระดับการบริหารเป็น 5 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับรัฐ ระดับอำ�เภอ ระดับ กลุ่มโรงเรียนและระดับโรงเรียน การบริหารการ ศึกษาระดับชาติอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล กลาง ( Federal Government) การศึกษาทุก ประเภททุกระดับอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของ กระทรวงศึกษาธิการเพียงกระทรวงเดียว ยกเว้น การศึ ก ษาที่ มี ลั ก ษณะเป็ น การศึ ก ษานอกระบบ (Non-formal Education) จะมีกรมจากกระทรวง อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ เช่น กรมแรงงาน กรมเกษตร เป็นต้น
- ระดับประถมศึกษา หลักสูตร 6 ปีการ ศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตร 3 ปี การศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตร 2 ปีการศึกษา - ระดับเตรียมอุดมศึกษา หลักสูตร 1 หรือ 2 ปีการศึกษา - ระดับอุดมศึกษา หลักสูตรเฉลี่ยประมาณ3 ปี ครึ่งถึง 4 ปีการศึกษา และแบ่งการศึกษาออกเป็น 5 ระดับดังนี้ 1.การศึกษาระดับประถมศึกษา (Pre-school Edu cation) 2.การศึกษาระดับประถมศึกษา (Primary Educa tion) 3.การศึกษาระดับมัธยมศึกษา (Secondary Edu cation) 4.การศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษาหรือเตรียม อุดมศึกษา (Post-secondary Education) 5.การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Higher Education) สถานศึกษาที่ทำ�หน้าที่จัดการศึกษาระดับต่าง ๆ นั้น แบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. สถานศึกษาของรัฐบาล (Government Edu cation Institutions) 2.สถานศึกษาในอุปถัมภ์ของรัฐบาล (Govern ment-aided Educational Institutions) 3.สถานศึกษาเอกชน (Private Educational Insti tutes)
page11
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) ระบบการศึกษาของประเทศฟิลิปปินส์มีทั้งแบบ
ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยการศึกษาแบบที่เป็น ทางการนั้นมีลำ�ดับขั้นตอนของการเรียนอยู่สามระดับนั่น คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาและระดับอุดมศึกษา ในระดับประถมศึกษาระดับประถมศึกษานั้นจะใช้เวลาศึกษา ภาคบังคับหกปีที่โรงเรียนของรัฐบาลหรือเจ็ดปีในโรงเรียน ของเอกชนนอกเหนือจากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยซึ่ง นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ โดยการศึกษาระดับนี้รวมไป ถึงการเรียนชั้นอนุบาลและอาจเป็นหลักสูตรเตรียมประถม ศึกษาก็ได้ นักเรียนที่มีอายุระหว่างสามหรือสี่ปีจะเข้าเรียน ในสถานรั บ เลี้ ย งเด็ ก ก่ อ นวั ย เรี ย นจนกระทั่ ง มี อ ายุ ค รบ 5-6 ปี จึงจะเลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่ง การศึกษา ระดับมัธยมศึกษาใช้เวลาสี่ปีโดยนักเรียนต้องเรียนจบชั้น ประถมศึกษาตอนปลายก่อน นักเรียนส่วนใหญ่ที่เรียนชั้น มัธยมศึกษาจะมีอายุ 12 ปีและเรียนจบเมื่ออายุ 15 ปี ส่วน ระดับอุดมศึกษานั้น นักเรียนส่วนใหญ่จะมีอายุประมาณ 16 ปี การศึกษาระดับนี้แบ่งเป็นระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกในหลากหลายสาขาวิชา
นอกจากนั้น การศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษายังรวมไป ถึงหลักสูตรอาชีวศึกษาแบบสองหรือสามปีที่อาจไม่มีการ มอบปริญญาก็ได้ ระบบการศึกษาในประเทศฟิลิปปินส์ใกล้ เคียงกับระบบการศึกษาแบบเป็นทางการของสหรัฐอเมริกา ในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย มักจะได้รับอิทธิพลจากประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือ เนเธอร์แลนด์ การศึกษาแบบไม่เป็นทางการซึ่งรวมถึงการ รับความรู้นอกโรงเรียนนั้นมีวัตถุประสงค์หลักสำ�หรับผู้ เรียนกลุ่มเฉพาะ เช่น เยาวชนหรือผู้ใหญ่ที่ไม่สามารถเข้า เรียนต่อที่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยได้ ตัวอย่างได้แก่ หลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือซึ่งบูรณาการ การเขียนและการอ่านเบื้องต้นเข้ากับทักษะในชีวิตประจำ�วัน หน้าที่ในการบริหาร ควบคุม และดำ�เนินการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (ระดับประถมและมัธยมศึกษา)
นั้นจะเป็นของแผนกการศึกษา วัฒนธรรมและกีฬา ในขณะที่ คณะกรรมาธิการการอุดมศึกษาจะรับผิดชอบเกี่ยวกับการ ศึกษาระดับสูง ส่วนการศึกษาด้านเทคนิคหลังมัธยมศึกษา นั้นจะดำ�เนินการโดยเจ้าหน้าที่ด้านการพัฒนาทักษะและการ ศึกษาด้านเทคนิคซึ่งยังมีหน้าที่ปฐมนิเทศ ให้การฝึกอบรม และการพัฒนาด้านทักษะอาชีพแก่เยาวชนที่ไม่ได้เข้าเรียนใน โรงเรียนและผู้ใหญ่ที่ว่างงาน นอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ ใช้การเรียนการสอนแบบทวิภาษา บางวิชาจะส่วนเป็นภาษา อังกฤษ ส่วนวิชาอื่นๆ จะสอนเป็นภาษาฟิลิปปินส์
page12 เมื่อจบหลักสูตรจะมีการสอบ โดยหลักสูตรพิเศษ วิทยาลัยเทคนิค (Polytechnic) ของสิงคโปร์มี 4 และหลักสูตรเร่งรัดจะต้องผ่านประกาศนียบัตร GCB แห่งได้แก่
Singapore Polytechnic. Ngee Ann Polytechnic. Temasek Polytechnic. Nanyang Polytechnic. ส่วนวิทยาลัยผลิตครูของสิงคโปร์มีอยู่เพียงแห่งเดียว คือ National Institute of Education นอกจากนี้ ยัง มี Institute of Technical Education : ITE เป็นสถาบัน ที่จัดการศึกษาสำ�หรับผู้ต้องการทักษะทางช่างและช่างผี มือผู้ปกครองนักเรียนของสิงคโปร์จะส่งบุตรหลานเข้ารับ การเตรียมความพร้อมในโรงเรียนเมื่อเด็กมีอายุ ได้ 2 ขวบ ครึ่ง เมื่อเด็กอายุได้ 6 ขวบก็จะเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา ปีที่ 1 ระดับประถมศึกษาของสิงคโปร์แบ่งออกเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ป.1-ป.4 เรียกว่า Foundation Stage และ ป. 5-ป.6 เรียกว่า Orientation Stage ชั้นประถมต้นจะเรียน 3 วิชาหลัก คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาแม่ และคณิตศาสตร์ นอกจากนั้น จะมีวิชาดนตรี ศิลปหัตถกรรม หน้าที่พลเมือง สุขศึกษา สังคม และพลศึกษา แต่ในช่วงประถมปลาย หรือ Orientation Stage นั้น นักเรียนจะถูกแยกออกเป็น 3 กลุ่มทางภาษา คือ EM 1. EM 2. และ EM 3. การแยก นักเรียนเข้ากลุ่มทางภาษานั้น ขึ้นอยู่กับความสามารถทาง ภาษาของแต่ละคน เมื่อจบ ป.6 แล้วจะมีการสอบที่เรียกว่า Primary School Leaving Examination (PSLE) เพื่อที่ จะเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาต่อไป ผลการเข้าสอบมี ส่วนสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา การศึกษาในระดับมัธยมศึกษานั้น จะมี 3 หลักสูตร ให้เลือกตามความสามารถ และความสนใจ โดยใช้เวลา 4-5 ปี หลักสูตรในระดับมัธยมศึกษา ได้แก่ หลักสูตรพิเศษ (Special Course) หลักสูตรเร่งรัด (Express Course) หลักสูตรปกติ (Normal Course)
(General Certificate of Education) ในระดับ “O” Level ส่วนหลักสูตรปกติจะต้องผ่าน GCB “N” Level แต่ถ้า ต้องศึกษาต่อในระดับเตรียมอุดมศึกษา ก็ต้องสอบให้ผ่าน GCB “O” Level เช่นเดียวกัน เมื่อจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว ผู้ที่สนใจ เรียนสายวิชาชีพเทคนิค หรืออาชีวศึกษา ก็สามารถ แยกไปเรียนตามสถาบันต่างๆ ได้ ส่วนผู้ที่จะเรียนต่อใน มหาวิทยาลัยก็จะเข้าศึกษาต่อใน Junior College อีก 2 ปี เมื่อจบแล้วจะต้องสอบ GCE “A” Level เพื่อนำ�ผล คะแนนไปตัดสินการเข้าเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัย ผู้ที่เข้า มหาวิทยาลัยไม่ได้ก็อาจศึกษาในสายอาชีพ หรือหางานทำ� ต่อไป ปีการศึกษาของสิงคโปร์จะแบ่งออกเป็น 4 ภาค เรียน ภาคเรียนละ 10 สัปดาห์ เริ่มเปิดการศึกษาตั้งแต่วันที่ 2 มกราคมของทุกปี ช่วงระหว่างภาคเรียนที่ 1 กับที่ 2 และ ที่ 3 กับที่ 4 จะมีการหยุด 1 สัปดาห์ ระหว่างภาคเรียนที่ 2 กับที่ 3 หยุด 4 สัปดาห์ และมีช่วงหยุด 6 สัปดาห์ เมื่อสิ้น สุดปีการศึกษา
page13 (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความ ยืดหยุ่นในการกำ�หนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการ ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่ง เป็นเงื่อนไขสำ�คัญของการสำ�เร็จการศึกษา โดยเนื้อหา และหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ ปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม (3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้ เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความ พร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่ง หรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้ เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำ�หนดไว้ในพระ รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึก ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม อาชีพ หรือจากประสบการณ์การทำ�งานการสอน และจะส่ง (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา เสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษา ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3นอกจากนั้นระบบการ ขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา ศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การ 1.การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่ง ศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน การจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะ จัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับ และประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กำ�หนด ไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจาก การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการ การศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ ในกฎกระทรวง การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียง ศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่ วิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอน กำ�หนดในกฎกระทรวง ที่ภาษาอังกฤษใช้คำ�ว่า “Modes of learning” ฉะนั้น แนวทางใหม่คือสถานศึกษาสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และ การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่ง ให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ โดยพระราช เป็นสามระดับ บัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่าการจัดการศึกษา การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการ มีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ ศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 – 6 ปี และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน (1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำ�หนดจุด 6 ปี มุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำ�เร็จ
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
page14 การศึกษาระดับมัธยมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้ เวลาเรียน 3 ปี - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติ ใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภท ดังนี้
ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษา ต่อในระดับอุดมศึกษา
ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะใน การประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อ ไป
การศึกษาระดับอุดมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ำ�กว่าปริญญา และระดับปริญญา การใช้คำ�ว่า “อุดมศึกษา” แทน คำ�ว่า “การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย” ก็เพื่อจะให้ ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรือ อนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้น พื้นฐานแล้วทั้งนี้การศึกษาภาคบังคับจำ�นวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่ สอบได้ ชั้ น ปี ที่ เ ก้ า ของการศึ ก ษาภาคบั ง คั บ หลั ก เกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กำ�หนดใน กฎกระทรวงการศึกษาภาคบังคับนั้นต่างจากการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่บังคับ ให้ประชาชนต้องเข้าเรียนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียน ถือเป็นหน้าที่ของพลเมืองตามมาตรา 69 ของ รัฐธรรมนูญ
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) ปั จ จุ บั น เวี ย ดนามแบ่ ง ลั ก ษณะของการจั ด การ ศึกษาไว้ 5 ลักษณะ คือ
1. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา (Pre-School Education)ประกอบด้วยการเลี้ยงดูเด็ก สำ�หรับ เด็กอายุ 6 เดือนถึง 3 ปี และอนุบาลสำ�หรับเด็ก อายุ 3-5 ปี 2. การศึกษาสามัญ (5 - 4 – 3) • ระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคบังคับ 5 ปี ชั้น 1-5 • ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คือชั้น 6-9 • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือชั้น 10-12 3. การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีพ มีเทียบเคียงทั้ง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย 4.การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นระดับ อนุปริญญา (Associate degree) และระดับปริญญา 5.การศึกษาต่อเนื่องเป็นการศึกษาสำ�หรับ ประชาชนที่พลาดโอกาสการศึกษาในระบบสายสามัญ และสายอาชีพ
page15 การศึกษาสามัญ 12 ปี (General Education) ของ เวียดนามนั้นเวียดนามมีวัตถุประสงค์ที่จะ ให้ประชาชนได้มี วิญญาณในความเป็นสังคมนิยม มีเอกลักษณ์ประจำ�ชาติ และมีความสามารถในด้านอาชีพนอดีตการศึกษาสามัญ ของเวียดนามมีเพียง 10 ปีเท่านั้น และไม่มีอนุบาลศึกษามา ก่อนจนถึงปีการศึกษา 2532 - 2533 จึงมีการศึกษาถึง ชั้นปีที่ 9 ทั้งประเทศ ซึ่งได้เรียกการศึกษาสามัญ 9 ปี ดัง กล่าวนี้ว่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Basic Education) และ เมื่อได้ขยายไปถึงปีที่ 12 แล้วจึงได้เรียกการศึกษาสามัญ 3 ปีสุดท้ายว่า มัธยมชั้นสูง (Upper Secondary School) ปี 2535-2536 ระบบการศึกษาสามัญในเวียดนามจึง กลายเป็นระบบ 12 ชั้นเรียนทั้งประเทศ โดยเด็กที่เข้าเรียนใน ชั้นปีที่ 1 จะมีอายุย่างเข้าปีที่ 6เมื่อเวียดนามได้ใช้ระบบการ ศึกษาเป็น 12 ปีแล้ว จำ�นวนนักเรียนในทุกระดับชั้นยังมี น้อย ดังนั้นปี 2534 สภาแห่งชาติของเวียดนามจึงได้ออก กฎหมายการกระจายการศึกษาระดับประถมศึกษา (Law of Universal Primary Education) ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับ แรกว่าด้วยการศึกษาของเวียดนาม
สหภาพพม่า (Union of Myanmar)
ระบบการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารของพม่ า เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการบริ ห ารการศึ ก ษาของ ประเทศ ใช้ระบบการศึกษาเป็นระบบ 5 :4 : 2 ดังนี้ • ประถมศึกษา 5 ปี (อนุบาล 1 ปี และประถม 4 ปี) • มัธยมศึกษาตอนต้น 4 ปี • มัธยมศึกษาตอนปลาย 2 ปี และอาชีวศึกษา 1- 3 ปี อุดมศึกษา 4 -6 ปี กรมการศึกษาพื้นฐานของพม่า เป็นหน่วยงานที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการวางนโยบายและบริหารการศึกษา ระดับก่อนประถมศึกษามัธยมศึกษา รวมทั้งการฝึกหัด ครู แต่เดิมนั้นเป็นระบบบริหารซึ่งรวมอำ�นาจไว้ที่ศูนย์กลาง ต่อมาได้มีการกระจายอำ�นาจการบริหารออกไปสู่ระดับรัฐ และหัวเมืองต่าง ๆ โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษานั้น ๆ เป็น ผู้ควบคุมดูแลและประสานงาน รัฐเป็นผู้สนับสนุนด้านงบ ประมาณของทุ ก โรงเรี ย นโดยนั ก เรี ย นจะเสี ย ค่าเล่าเรียน เฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเท่านั้น การจัดการ ศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของพม่ า นั้ น พม่ า พยายามที่ จ ะจั ด ให้ ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศแต่ยังมีปัญหาที่ไม่สามารถ จัดหาอาคารสถานที่วัสดุ และอุปกรณ์ให้กับโรงเรียนในบาง
page16 ท้องที่ได้รัฐบาลพม่าได้ตั้งเป้าหมายที่จะให้มีโรงเรียนอย่าง น้ อ ยหนึ่ ง แห่ ง ในทุ ก หมู่ บ้ า นกรมการเทคโนโลยี ก ษตร และอาชี ว ศึ ก ษาเป็ น หน่ ว ยงานที่ ดู แ ลจั ด การศึ ก ษาด้ า น เกษตรกรรมพณิชยกรรม วิศวกรรมเครื่องกล การ ประมง คหกรรมและการฝึกหัดครู ทางด้านช่างเทคนิการ เรียน-การสอนมีทั้งเต็มเวลาและนอกเวลา มีทั้งหลักสูตร ระยะยาวและระยะสั้นเพื่อรองรับความต้องการของตลาด แรงงานในสภาพเศรษฐกิ จ และสั ง คมของพม่ า ที่ กำ � ลั ง เปลี่ยนแปลง กรมอุดมศึกษา ทำ�หน้าที่วางแผนนโยบาย และดำ�เนินการด้านอุดมศึกษาของประเทศจัดการศึกษาใน รูปแบบของมหาวิทยาลัยใน3เมืองสำ�คัญคือมหาวิทยาลัย Yangon Mandalay และ Manlamyine นอกจากนี้ยังมี สถาบันเทคโนโลยีที่จัดการศึกษาวิชาชีพระดับสูงที่ใช้เวลาใน การศึกษา 4-6 ปี ตามลักษณะวิชาอีกด้วย
แหล่งอ้างอิง http://hilight.kapook.com/view/67028 http://www.bic.moe.go.th http://web62.sskru.ac.th