รวมพลคนข่าวเกษตร 15 ปี

Page 1

ศไท ย

สื่อ

ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง ป

ทิศทางเกษตรไทย

ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

จัดทำโดย สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย








ศไท ย

สื่อ

ระเท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

หนังสือที่ระลึก 15 ป รวมพลคนขาวเกษตร ทิศทางเกษตรไทยในเวทีประชาคม เศรษฐกิจอาเซี่ยน ( AEC ) คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ รศ.วุฒิชัย กปลกาญจน, สุราษฎร ทองมาก, อนันต ดาโลดม, พรศักดิ์ พงศาปาน ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ดลมนัส กาเจ, สาโรจน บุญแสง ปญญา เจริญวงศ, ถวิล สุวรรณมณี, อภิชาต ศรีสะอาด, สุวรรณา บุญกล่ำ ชาติชาย ศิริพัฒน, ประเวศน แสงเพชร, ศุภชัย นิลวานิช บรรณาธิการ มนตรี ตรีชารี ผูชวยบรรณาธิการ หนึ่งฤทัย แพรสีทอง, สุธิพงศ ถิ่นเขานอย, กรวัฒน วีนิล, นันทนภัส ราชเจริญ กองบรรณาธิการ สุกัญญา ขำขาว, อัมพร สิทธิผา, ถวัลย ไชยรัตน, อมรรัตน ไกรเดช, ธนสิทธิ์ เหลาประเสริฐ, ชรินทร นิลพงษ, จตุพล ยอดวงศพะเนา, ดนัย ไกรอักษร, พลอยปภัส วิรยิ ะธาดาศักดิ์ ฝายการตลาด - โฆษณา ผูจัดการฝาย ทิพยวรรณ ซำซูดิน ฝายโฆษณา อุดม ดนตรี บริษัทยกระดับ จำกัด ประสานงาน พิชญา พงศาวกุล, วัฒนรินทร สุขีวัย กราฟฟคดีไซส บ.อินโนเวชั่น มีเดีย กรุป จำกัด เจาของ สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2940-5425-6 โทรสาร 0-2940-5426 ดำเนินการผลิตโดย กองบรรณาธิการ นิตยสาร “เกษตรโฟกัส” สำนักพิมพ นีออนบุคมีเดีย 8/35 หมูบานอมรพันธนคร 8 สวนสยาม 9 (แยก 3) ถ.เสรีไทย แขวง/เขตคันนายาว กทม. 10230 โ ทร. 0-2517-7265-6 , 0-2919-9224 แฟกซ 0-2517-7266

บทบรรณาธิการ

หนังสือ 15 ป รวมพลคนขาวเกษตร ภายใต แนวคิด “ทิศทางเกษตรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย่ น (AEC) เปนหนังสือทีต่ อ งรวมพลังกายพลังใจ ของกรรมการและคณะอนุกรรมการ สมาคมฯ ทำงาน กันอยางขะมักเขมน เสียสละกำลังกายและกำลังใจ ทุมเทใหกันอยางหนัก จนเปนที่มาของหนังสือที่ระลึก เลมหนาทีม่ ากดวยเนือ้ หาสาระทีค่ วรคาแกการเก็บสะสม เบือ้ งหลังความสำเร็จ มาจากมติของทีป่ ระชุม คณะกรรมการทีม่ อบหมายใหผมรับผิดชอบเปนหัวหนาทีม ดำเนินการจัดทำหนังสือทีร่ ะลึกของงานครบรอบ 15 ป สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ลำพังผม เองคงไมสามารถทำงานใหญขนาดนี้ใหสำเร็จลงได ถาหากไมมีคณะกรรมการที่เสียสละเวลามาชวยงาน กันอยางแข็งขัน ทั้งงานกองบรรณาธิการและงาน โฆษณา แขงกับเวลาที่ใชเตรียมงานไมมากนัก แตคำวา สามัคคีคือพลัง ยังใชไดดีเสมอ จน ทำใหหนังสือที่ระลึกเลมนี้สำเร็จออกมาเปนรูปเลม สวยงาม ที่บรรจุสาระการเกษตรที่เกี่ยวของกับองค ความรูข องเกษตรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปนการรวมสาระดานการเกษตรที่เกี่ยวของกับ AEC จากภาครัฐและเอกชนไวในเลม นับเปนการรวบรวม สาระของการเกษตรไทยกับ AEC ที่สมบูรณที่สุดใน ตอนนี้ ความสำเร็จครั้งนี้จะเกิดขึ้นมิไดหากไมไดรับ ความรวมมือกับคณะกรรมการ, คณะอนุกรรมการ, ที่ปรึกษาของสมาคมฯ และผูใหการสนับสนุนทั้งจาก ภาครัฐและเอกชน จนเปนหนังสือเลมหนาที่มากดวย สาระความรูบรรจุไวเต็มเลม ในฐานะตัวแทนคณะ ผูจัดทำ ขอขอบคุณทุกภาคสวนที่ใหการสนับสนุน และขอเสนอแนะดีๆ จนทำใหหนังสือเลมนี้สำเร็จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค ก ารจั ด ทำและขอขอบคุ ณ มา ณ โอกาสนี้ ดวยรักและจริงใจ มนตรี ตรีชารี



Contents 14 18 22 23 24

จากใจนายกสมาคม นายดลมนัส กาเจ ทำเนียบกรรมการสมาคมฯ สาร ปติพงศ พึ่งบุญ ณ อยุธยา สาร วุฒิชัย กปลกาญจน สาร ศ.ระพี สาคริก

58 59 60 61 62

จากใจกรรมการสมาคม อภิชาติ ศรีสอาด จากใจกรรมการสมาคม ชาติชาย ศิริพัฒน จากใจกรรมการสมาคม มนตรี ตรีชารี จากใจกรรมการสมาคม สุวรรณา บุญกล่ำ จากใจกรรมการสมาคม จิราพร มวงงาม

26 27 28 29

สาร อนันต ดาโลดม สาร เปลงศักดิ์ ประกาศเภสัช สาร จักรกฤษ เพิ่มพูน สาร กอเขต จันทเลิศลักษณ

63 64 65 66

จากใจกรรมการสมาคม พลอยปภัส วิริยะธาดาศักดิ์ จากใจกรรมการสมาคม อัมพร สิทธิผา จากใจกรรมการสมาคม ถวัลย ไชยรัตน จากใจกรรมการสมาคม อมรรัตน ไกรเดช

34 คำนิยม สุราษฎร ทองมาก

67 จากใจกรรมการสมาคม กรวัฒน วีนิล

35 คำนิยม พรศักดิ์ พงศาปาน

68 จากใจกรรมการสมาคม ชรินทร นิลพงษ

37 คำนิยม ปญญา เจริญวงศ

69 จากใจกรรมการสมาคม จตุพล ยอดวงศพะเนา

38 คำนิยม ถวิล สุวรรณมณี

70 จากใจกรรมการสมาคม ธนสิทธิ์ เหลาประเสิรฐ

39 คำนิยม สาโรช บุญแสง

71 จากใจกรรมการสมาคม ดนัย ไกรอักษร



Contents 40 47 80 84 88

ประวัติความเปนมาของสมาคมฯ ระเบียบขอบังคับสมาคม ธุรกิจเกษตรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ทิศทางเกษตรไทย ในยุคเขาสู AEC ความสำเร็จของการเกษตรไทยเมื่อกาวเขาสู AEC

92 มิติใหมของการเกษตรไทย : บทบาทของหุนสวนรวมพัฒนา 96 แนวทางการใชประโยชนจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมในการพัฒนาการเกษตร 106 การเตรียมความพรอมสินคาเกษตรยางพาราของประเทศไทยในการกาว เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ป ๒๕๕๘ 114 มันสำปะหลังในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 116 น้ำตาลไทยหลังประชาคมอาเซี่ยน 122 พันธุขาวลูกผสม: ทางเลือกของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิต 124 การผลิตไมประดับใหสอดรับการคาเสรี 126 โอกาสการขยายตลาดไกเนื้อ ภายใต AEC 130 สรุปสถานการณการคาสินคาประมงระหวางไทยกับกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ป 2556 135 ผลกระทบจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตอการประมงไทย 146 มุมมองสยามคูโบตากับการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 152 ขอดี - ขอเสีย ที่ควรรู เมื่อเขาสู AEC 158 การใชปุยเคมีที่ถูกตองและเหมาะสม’ หนทางการอยูรอดของเกษตรกรไทยในยุค AEC




จากวันนั้นถึงวันนี้ก็ 11 ปแลวนะ!

เปนเวลา 11 ปแหงการทุมเทในการทำงานในฐานะเปนกรรมการตั้งแตปแรก ที่กอดคอกับ คณะกรรมการคนอื่นๆและบรรดาสมาชิก ดวยจิตใจอันแนวแนวา ชมรมสื่อมวลชนแหงประเทศไทยตอง ยกฐานะเปนสมาคม เพื่อเปนพึงของเกษตรกร ดวยการทำหนาที่เปนสื่อกลางในการเผยแพรขาวสารดาน การเกษตร การประมง ปศุสตั ว สัตวเลีย้ ง และการทำมาหากิน ใหปถุ ชุ นทีส่ นใจไดรบั ทราบ ผานกิจกรรม ตางๆ ทั้งที่เผยแพรผานสื่อตนสังกัดของสมาชิก ผานเวทีสัมมนา และนำพาไปดูงานตามสถานที่ตางๆ รวมถึงการปกปองผลประโยชนภาคการเกษตรของประเทศดวย หากยอนไปจากทีม่ สี อ่ื มวลชนอาวุโสสายเกษตร ทีเ่ ริม่ กอตัวเปนกลุม เล็กๆ 4 ป กอนทีผ่ มจะเขาไปมี สวนรวมเมือ่ 11 ปทผ่ี า นมา ถือวาการรวมพลของคนขาวเกษตรมาถึงปน้ี ก็ 15 ปแลวครับ เปนเวลา 15 ป แหงการพัฒนาการขึ้นมาเรื่อยๆ จากกลุมคนคิดเพียง 3 คน "คุณปญญา เจริญวงศ แหงไทยรัฐ คุณถวิล สุวรรณมณี จากวิทยุ มก. คุณเกียรติพันธ จันทราปตย รายการเกษตร ชอง 5 สมัยนั้น" มาเปนชมรม และสมาคม ซึ่งมีสมาชิกสามัญที่เปนสื่อมวลชนสายเกษตรแขนงตางๆกวา 200 ราย และทำใหสังคม ภายนอกเริ่มรูจัก"สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย" มากขึ้นในวันนี้ เพื่อเปนเกียรติประวัติใหกับผูที่กอตั้งรมชมสื่อมวชลนเกษตรแหงประเทศไทยและผูที่สานตอจนยก ฐานะใหเปนสมาคมที่เปนนิติบุคคลถูกตองตามกฏหมาย ทางสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ไดจดั ทำหนังสือ "15 ปรวมพลคนขาวเกษตร" และจัดงาน "15 ปรวมพลคนขาวเกษตร" ณ อาคารจักรพันธ เพ็ญศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ ในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 ในนามนายกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ขอขอบคุณพันธมิตรที่ใหการสนับสนุน ในการจัดทำหนังสือที่ระลึก"15 ปรวมพลคนขาวเกษตร" จนลุลวงไปดวยดี

นายดลมนัส กาเจ นายกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย หนังสือพิมพ คม ชัด ลึก



“พัฒนาระบบบริหารจัดการดานการเงินการบัญชี ของสหกรณและกลุมเกษตรกรใหเขมแข็ง โปรงใส กาวไกลดวยไอที นำบัญชีสูเกษตรกร”

“กาวไปดวยกัน กาวไปอยางรูทัน ดวยการใชบัญชี สรางความพอเพียง

กรมการตรวจบัญชี www.cad.go.th 12 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 ศูนยบริการประชาชน (CallCenter) 0 2628 5240-59 ตอ 2108


สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย คณะกรรมการบริหาร ประจำป 2557-2558

ดลมนัส กาเจ นายกสมาคม นสพ.คมชัดลึก

อภิชาติ ศรีสอาด

ชาติชาย ศิริพัฒน

มนตรี ตรีชารี

นิตยสารไมลองไมรู

นสพ.ไทยรัฐ

นิตยสารชุมทางอาชีพ นิตยสารเกษตรโฟกัส

อุปนายก

อุปนายก

อุปนายก

สุวรรณา บุญกล่ำ

จิราพร มวงงาม

TNN24

TV3 ขาวเกษตร

เลขาธิการ

รองเลขาธิการ

ประธานทีป่ รึกษา อ.ชัยวัฒน ศีตะจิตต คณะทีป่ รึกษาสมาคม คุณสาโรช บุญแสง (นสพ.แนวหนา) คุณปญญา เจริญวงศ (นสพ.ไทยรัฐ), คุณประเวศ แสงเพชร (เทคโนโลยีชาวบาน (มติชน) ) คุณสุราษฎร ทองมาก (นิตยสารไมลองไมรู), คุณพรศักดิ์ พงศาปาน (เทคโนโลยีชาวบาน (มติชน)), คุณถวิล สุวรรณมณี (สถานีวิทยุ มก.) คุณเกียรติพันธ จันทราปตย (นิตยสารไมลองไมรู), คุณธนันท ทยานุกุล (ชองทางทำมาหากิน),

18

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


พลอยปภัส วิริยะธาดาศักดิ์

อัมพร สิทธิผา

ถวัลย ไชยรัตน

นิตยสารกุงไทย

TNN24

MCOT. อ.ส.ม.ท.

เหรัญญิก

นายทะเบียน

ประชาสัมพันธ

อมรรัตน ไกรเดช

กรวัฒน วีนิล

ชรินทร นิลพงษ

นสพ.แนวหนา

นพส.พิมพไทย

ชองทางทำมาหากิน

จตุพล ยอดวงศพะเนา

ธนสิทธิ์ เหลาประเสิรฐ

ดนัย ไกรอักษร

หนังสือพิมพสยามทองถิ่น

เทคโนโลยีชาวบาน (มติชน)

TV7

รองประชาสัมพันธ

สวัสดิการ

สาราณียกร

กิจกรรมพิเศษ

ปฎิคม

กรรมการ

คุณศุภชัย นิลวานิช (สำนักพิมพไทยรวย), คุณธีระพงษ พุกกะจันทร (รายการเดลินิวสชวนชิม), คุณหนึง่ ฤทัย แพรสีทอง (รักษเกษตร), คุณคมสัน ทิพยจกั ษุรตั น (รายการเกษตรอาสา), คุณนิพนธ มุย เรืองศรี (CP กลุม พืช), คุณคำรณ บริสุทธิ์ (ไอซา), คุณสุรัตน อัตตะ (นสพ.คมชัดลึก), คุณไชยรัตน สมฉุน (นสพ.ไทยรัฐ), คุณนิกร จันพรม (นสพ.คมชัดลึก) 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

19


ศไท ย

สื่อ

ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก



สารแสดงความยินดี ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญของประเทศประกอบอาชีพการเกษตร มีทั้งสาขาพืช สาขาสัตว และสาขาประมงเปนอาชีพหลัก สรางรายไดความมั่นคงทางดานอาหาร และ พลังงานของประเทศตอเนื่องยาวนานดวยวิถีชีวิตของเกษตรกรผูรูจักเรียนรูพัฒนาตนเอง เกิดภูมิปญญา สามารถถายทอดทางวิชาการ นำไปปฏิบัติไดดีมีประสิทธิผล เขาใจ เขาถึงลึกซึ้งในภาคปฏิบัติ สามารถ ลดตนทุน เพิ่มผลผลิต และพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร เสริมสรางวิถีเกษตรกรรมใหสืบทอดตอไปอยาง ยั่งยืน ซึ่งปจจุบันเกษตรกรสามารถรับรูขอมูลขาวสารผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ องคความรูที่หลาก หลายผสมผสานภูมิปญญาถายทอดผานสื่อมวลชน โดยเฉพาะสื่อมวลชนเกษตรนับเปนความสำคัญยิ่งตอ วงการเกษตรประเทศไทย ในนามของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ผมขอแสดงความยินดีและขอชืน่ ชมในการดำเนินกิจกรรม ของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ที่ไดจัดทำหนังสือที่ระลึก และจัดงานฉลองครบรอบ “15 ป.รวมพลคนขาวเกษตร.” เพื่อเปนสื่อกลางในการถายทอดความรู ขอมูลขาวสาร ความเคลื่อนไหวในแวด วงเกษตรทุกภาคสวน ถายทอดสูเกษตรกรและประชาชนผูสนใจทุกระดับไดรับรูขอมูลขาวสารที่เปนกลาง ถูกตอง เที่ยงตรง ทันตอสถานการณ ในโอกาสอันเปนมงคลนี้ผมขอใหขวัญและกำลังใจแด คณะกรรมการบริหารสมาคมสื่อมวลชน เกษตรแหงประเทศไทย ประสบความสำเร็จสมเจตนารมณ ความมุงหวังตามวัตถุประสงคทุกประการ

นายปติพงศ พึ่งบุญ ณ อยุธยา รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ


สารแสดงความยินดี ผมรูสึกเปนเกียรติที่สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ขอใหเขียนสารแสดงความยินดี ในวาระที่สมาคมฯ กอตั้งรวม “15 ป รวมพลคนขาวเกษตร” สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ดวยความยินดีอยางยิ่ง ดวยประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญของประเทศประกอบอาชีพเกษตรกรรม สรางรายไดหลักใหกับประเทศมาอยางตอเนื่องยาวนานไดรับการถายทอดความรูทางวิชาการจากสถาบัน ทางวิชาการ องคความรูหลากหลายสามารถนำไปปฎิบัติไดทำใหผูประกอบอาชีพทางการเกษตร มีความ เจริญกาวทันเทคโนโลยีทางการเกษตรนำมาใช จึงลดตนทุนเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสราง วิถีเกษตรกรรมใหดำรงยืนหยัดยั่งยืนตลอดมา โดยขอมูลขาวสาร ผลงานวิจัยทางวิชาการจากนักวิชาการ นักวิทยาศาสตรการเกษตร ผสมผสานภูมิปญญาผานสื่อมวลชนสายเกษตรสาขาตางๆ นับวันยิ่งมีความ สำคัญ และมีบทบาทตอเกษตรกร และประชาชนผูสนใจมากยิ่งขึ้น เปนการกระตุนภาคการเกษตรใหมี ความเข็มแข็งสอดคลองรองรับกับยุคของการแขงขันเสรีทไ่ี ทยกำลังกาวสู AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเชียน ในป พ.ศ. 2558 ในนามของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรผมขอแสดงความยินดีและชื่นชมในการดำเนินกิจกรรม ของสมาคมฯจนถึ ง วาระครบ 15 ป รวมพลคนข า วเกษตร และขอขอบพระคุ ณ นายกฯ สมาชิ ก ผูสื่อขาวขององคกรสื่อทุกทานที่ไดกรุณา ใหความรวมมือเสนอขาวสาร ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรดวยดีเสมอมา สงผลใหความรูเทคโนโลยีถูกถายทอดออกไปสูเกษตรกร และประชาชน นำไปใชประกอบอาชีพยกระดับคุณภาพชีวิตพัฒนาเศรษฐกิจของชาติเปนไปดวยดี ขออวยพรใหคณะกรรมการบริหาร นำพาสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยไปสูความ เจริญรุงเรื่องประสบแตความสุข ความสำเร็จสมเจตนารมณ ตามวัตถุประสงคทุกประการ

รองศาสตราจารย วุฒิชัย กปลกาญจน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


สารแสดงความยินดี ผมไดทราบวาคุณดลมนัสไดรับเลือกตั้งใหดำรงตำแหนงนายกสมาคมนักขาวการเกษตร ผมขอ แสดงความยินดีดวยความจริงใจ ผมขอฝากหนึ่งประเด็นไวดวย ผมไดยินคนพูดกันเสมือนคนบาจี้ พูดถึงเรื่องการสงออก ทั้งๆ ที่ เกษตรกรตกทุกขไดยาก ทำไมไมทำใหคนของเรามีชีวิตที่ดีในระดับหนึ่งแลวคอยคิดเรื่องสงออก ในสหรัฐอเมริกานัน้ ผมไปดูการทำนาตัง้ แตป พ.ศ. 2519 ในชวงนัน้ สหรัฐอเมริกาปลูกขาวสองประเภท ประเภทแรกไดแกขา วเมล็ดสัน้ (Japonic type) ทีเ่ รียกวาขาวญีป่ นุ เปนขาวทีต่ น ตัง้ แข็งเหมาะกับใชรถเกีย่ ว และกินปุยจุดวย ที่วากินปุยจุเพราะเมื่อยิ่งไดปุยมาก มันก็จะใหผลผลิตมาก อีกประเภทคือขาวเมล็ดยาว (Indica type) เปนขาวชนิดเดียวกับที่คนไทยปลูกมาชานาน ขาวเมล็ดยาวมีลักษณะสำคัญอยางหนึ่ง คือ เมื่อใสปุยมากตนจะลม (Lodging) ขาวเมล็ดยาวเหมาะกับการเกี่ยวดวยมือ ชาวนาจะใชไมนาบใหมันลม เพื่อจะไดเกี่ยวสะดวกโดยไมตองกมหลัง ขาวเมล็ดสัน้ ปลูกทางใตของสหรัฐอเมริกาตัง้ แตมลรัฐเทกซัส หลุยสเซียนา อารคนั ซอ และมิสซิสซิปป สวนขาวเมล็ดยาวปลูกทางตะวันตก ในมลรัฐแคลิฟอรเนีย ชาวนาอเมริกาปลูกขาวอยางสบายโดยไมตอง ลงไปกินไปนอนเหมือนชาวนาไทย พอจะใสปุยก็โทรไปบอกบริษัท แลวเอาธงไปปกไวหัวแปลงทายแปลง เครื่องบินก็จะเอาปุยมาลงแลวเก็บเงินภายหลัง ดูแลวไมยากลำบากเหมือนชาวนาไทย ผมคิดวาความยากลำบากอยูค กู บั มนุษย ถามนุษยนยิ มความยากลำบากก็จะเปนคนดี ทำงานอยาง มีความสุขโดยไมหยิบหยง คุณคาของชาวนาไทยจึงมีคามากกวาชาวนาฝรั่ง ขอใหคุนชินกับความยาก ลำบากก็จะเปนคนดีได


ผมอายุมากแลวแตยังคลุกคลีกับชาวนาชาวไร เพราะพวกเขาสอนใหผมทำงานแบบไมหยิบหยง การทำงานในนาในไรนน้ั ผมเห็นรอยเทาทีฝ่ ากไว ซึง่ รอยเทาทีฝ่ ากไว เปนรอยเทาของคนดี คนทีใ่ สรองเทา มักหลงลืมตน เพราะทำไปก็เสียผูเ สียคนไปเปลาๆ สูอ ยูอ ยางรูค ณุ คาของตัวเองไมดกี วาหรือ ผมอยูเ กษตรฯ แมเปนอธิการผมก็ทำแบบนี้ ถาผูใ หญไมทำจะใหเด็กทำไดอยางไร มัวแตคดิ วาอยากเปนนานาชาติ ตองทำ ใหเขารักเคารพ ไมใชจะเอาพูดแตภาษาเขา ขืนทำไปแตแคนั้นเขาจะไมชอบหนา เพราะมัวแตพูดเรื่อง ไมเปนเรื่อง ผมเคยเปนที่ปรึกษาทบวงมหาวิทยาลัย ตั้งแตมหาวิทยาลัยตางๆ ยังอยู ผมเห็นมหาวิทยาลัย แหงหนึ่งอยากเปนนานาชาติ ขอเสนอใหมีการสอนภาษาตางๆ มากมาย ผมรอดูอยูวาแทนที่จะเปน นานาชาติกลับกลายเปนทาสตางชาติ เกษตรศาสตรไมใชปาดงดอนเหมือนในอดีต เพราะเกษตรศาสตรจะนำสังคมเขาไปสูคนสวนใหญ แตผูบริหารขึ้นไปอยูที่สูงแลวลงไมเปนผมไมไดอยากเปนผูบริหารแตเพราะเหตุวาในชวงนั้น มีเหตุการณ เกิดขึ้นแกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จนผมตองถูกขอรองใหไปรับงานทั้งๆ ที่ไมมีความตองการอยาก ขึ้นไปทำหรือไปอยูที่สูง ผมไดรับทุนร็อกกี้เฟลเลอร แตผมไมไดไป เพราะการนำเอาความรูจากเมืองฝรั่ง สูไมไดที่จะทำงานใหกับแผนดินอยางเต็มภาคภูมิ ไหนๆ จะปฏิรูปการศึกษากันแลวนาจะปฏิรูปใจตนเอง เสียกอน ไมเชนกันจะถอยหลังกลับเหมือนในอดีต คนเราทำอะไรก็พูดกันติดปากวาตองสงขายเมืองนอก ไมพูดวาจะใหแผนดินหรือใหคนในประเทศ อยูด กี นิ ดีเสียกอน เหลือคอยสงขาย มีใครคิดแบบนีบ้ างไหมหรือลืมกันหมด ผมเปนเด็กดือ้ เด็กดือ้ ทีซ่ อ่ื สัตย สุจริตและไมยอมเด็กตามกนคนอื่น ขอใหคนที่ปฏิบัติไดมีความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไปนะครับ ศ.ระพี สาคริก 4 ตุลาคม 2557


สารแสดงความยินดี

สมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย ขอแสดงความยินดีในโอกาสทีส่ มาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย มีอายุครบ 15 ป ในป พ.ศ. 2557 สมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย เปนองคกรวิชาชีพทางการเกษตร ที่มีความใกลชิด และมีความ สัมพันธอันดีกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยมาโดยตลอด รวมทั้ง กระผมเองที่ไดมีสวนสนับ สนุนในการกอตั้งชมรมสื่อมวลชนเกษตร มาตั้งแตป พ.ศ. 2540 เพราะมีความใกลชิด ทั้งในฐานะที่เปน ผูใหขาวทางดานการเกษตรของหนวยงานที่ผมไดปฏิบัติหนาที่อยู ไดรับความกรุณาและความรวมมือเปน อยางดีจากนักขาวสายเกษตร ตลอดระยะเวลาทีร่ บั ราชการในกรมสงเสริมการเกษตรและกรมวิชาการเกษตร จึงมีความยินดีเมื่อนักขาวสายเกษตรไดรวมตัวกันกอตั้งเปนชมรมสื่อมวลชนเกษตร โดยมีสำนักงานอยูที่ อาคารสารนิเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และตอมาไดจดทะเบียนเปนสมาคมสื่อมวลชนเกษตร แหงประเทศไทย ซึ่งนายกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ไดใหเกียรติรับเปนคณะกรรมการ ที่ปรึกษาของสมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย ทุกคน ทำใหองคกรทั้งสองมีความใกลชิด มีความสัมพันธ ที่ดีกันมาโดยตลอด ตลอดระยะเวลา 15 ปที่ผานมาที่สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ไดดำเนินกิจการเพื่อ เปนประโยชนในการนำเสนอขาวสารทางดานการเกษตร เสนอขอคิดเห็น หรือขอมูล รวมทั้งปญหาของ พีน่ อ งเกษตรกรตอสาธารณชน สมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย ใครขอถือโอกาสอันเปนมงคลนี้ ขออวยพร ใหกิจการและการดำเนินงานของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย มีความเจริญกาวหนา ประสบ ความสำเร็จ ใหเปนศูนยรวมของนักขาวสายเกษตร สรางสวัสดิการเพื่อชวยเหลือมวลสมาชิกตลอดจน ครอบครัวในยามทีม่ ปี ญ หา นำเสนอขาวทีเ่ ปนประโยชนในการพัฒนาการเกษตร ชวยเหลือพีน่ อ งเกษตรกร ใหมชี วี ติ และฐานะความเปนอยูท ด่ี ขี น้ึ ลดความเลือ่ มล้ำทางดานเศรษฐกิจ และสังคมเพือ่ ใหพน่ี อ งเกษตรกร ไทยไดมีฐานะที่เทาเทียมกับบุคคลในสังคมอื่นๆ ของประเทศไทย บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงคของ การจัดตั้งสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ตลอดไป

(อนันต ดาโลดม) นายกสมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย


สารแสดงความยินดี สมาคมการคาปุยและธุรกิจการเกษตรไทย ขอแสดงความยินดี แดสมาคมสื่อมวลชนเกษตรเนื่องในวาระครบรอบ ๑๕ ป “สือ่ มวลชนในสายขาวเกษตรมีความสำคัญอยางยิง่ ยวด เพราะเปนผูท ถ่ี า ยทอดความรู และเผยแพร ขอมูลขาวสารใหกับประชาชนในดานการเกษตร ทั้งขอมูลทางดานวิชาการ เทคโนโลยี ขาวสารเกี่ยวกับ วงการเกษตร ใหกับเกษตรกรที่เปนอาชีพหลักสวนใหญของประเทศ ดังนั้นสื่อตองมีความเปนธรรม มีจรรยาบรรณ มองผลประโยชนของประเทศชาติเปนหลักสำคัญ ผมหวังเปนอยางยิ่งวาสื่อมวลชนทางดานการเกษตร จะชวยกันนำพาเกษตรกรไทยใหมีความรูและนำ ความรูนั้นไปใชพัฒนาอาชีพของตน เพื่อความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ ในโอกาสนี้ กระผมและสมาชิก สมาคมการคาปุยและธุรกิจการเกษตรไทย ขอเปนหนึ่งกำลังใจ ใหทุกทานในการทำหนาที่ของทานอยางดียิ่ง ขอใหสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลกและคุณพระรัตนตรัย ไดโปรดประธานพรใหทานนายกสมาคมสื่อมวลชนเกษตร และคณะกรรมการและสื่อมวลชนเกษตร ประสบความสุข ความเจริญ สุขภาพพลามัยแข็งแรงตลอดไป”

นายเปลงศักดิ์ ประกาศเภสัช นายกสมาคมการคาปุยและธุรกิจการเกษตรไทย


สารแสดงความยินดี กาวเล็กๆ สูกาวที่ยิ่งใหญ

หากจำแนกประเภทของขาว เราอาจพบวาขาวการเกษตร หรือขาวที่เกี่ยวของกับการเกษตร บน พื้นที่สื่อ มีสัดสวนนอยมากเมื่อเทียบกับขาวประเภทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม อาชญากรรม รวมทั้งขาว กีฬาและบันเทิง ที่อยูในความสนใจของมนุษย หากแตในฐานะประเทศเกษตรกรรม บทบาทและความ สำคัญของขาวการเกษตร ทั้งในสิ่งพิมพ สื่อกระจายเสียง และโทรทัศน นอยมาก ดังนั้น เมื่อผูสื่อขาว กลุม หนึง่ รวมตัวกันในนามสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย จึงเปนเรือ่ งนายินดีและควรสนับสนุน อยางยิ่ง ไมเพียงการรายงานความเคลื่อนไหวของแวดวงการเกษตร ทั้งในรูปของขาว บทความ สารคดี หากองคกรสื่อดานเกษตรองคกรนี้ยังจัดใหมีกิจกรรมที่หลากหลาย ในการใหความรูกับประชาชน เปด พื้นที่ใหทุกภาคสวนเขามารวม ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งในการสรางการรับรูของสังคมเกี่ยวกับการเกษตร ซึ่งใน วงการสื่อมวลชน โดยเฉพาะในสื่อกระแสหลักไมไดใหความสำคัญมากนัก เปนการทำหนาที่สื่อมวลชน ที่ดีในการสะทอนปรากฎการณใหญของสังคมไทย ที่เคยถูกจัดไวอันดับทายๆ ในการพิจารณาคัดเลือก ขาวเสนอตอสาธารณะ ในนามของประธานสภาการหนังสือพิมพแหงชาติ ผมขอแสดงความชืน่ ชม สมาคมสือ่ มวลชนเกษตร แหงประเทศไทย ทีย่ นื หยัดแนวทางในการนำเสนอขาว ทีก่ ลาวไดวา เปนขาวทีถ่ กู ลืม ใหสงั คมไดตระหนัก ถึงความสำคัญ จากกาวเล็กๆในการรวมตัวกันของผูสื่อขาวเกษตร ที่เชื่อมั่นในแนวทางการเสนอขาว ที่ ไมจำเปนตองใหญโต เกี่ยวพันกับเรื่องระดับชาติ ไมจำเปนตองหวือหวา นาสนใจ หากแตหนักแนน และ ซื่อตรงในหลักการและเปาหมาย จนถึงวันนี้ 15 ป แลว และเสนทางนี้จะยาวไกลไปสมดั่งความมุงหมาย ของพวกเราทุกคน

จักรกฤษ เพิ่มพูล ประธานสภาการหนังสือพิมพแหงชาติ


สารแสดงความยินดี เนื่องในโอกาสที่สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยกอตั้งมา ครบ 15 ป ผมขอแสดงความ ยินดีที่องคกรสื่อมวลชนซึ่งทำหนาที่เพื่อพี่นองเกษตรกรมายาวนานเติบโตอยางยั่งยืนและมั่นคง ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ขาวสารดานการเกษตรจึงเปนสิ่งสำคัญ ขอมูลความ เคลื่อนไหว ความรู ภูมิปญญาดานการเกษตรจะไมสามารถไปถึงเกษตรกรอยางทั่วถึงหากไมมีสื่อมวลชน ที่ทำหนาที่นี้อยางจริงจัง 15 ปที่ผานมาสื่อมวลชนดานการเกษตรทำหนาที่ของตนอยางแข็งขันสรางประโยชนใหกับแวดวง เกษตรกรรมมากมาย ถือเปนความภาคภูมิใจที่ นักขาวเกษตรมุงมั่นและสืบทอด การทำหนาที่นี้ไดเปน อยางดี เชนเดียวกับสมาคมสื่อมวลชนเกษตรที่กอตั้งและเจริญเติบโตเปนลำดับมาจนถึงปที่ 15 โดยมี กิจกรรมทีเ่ สริมสรางความเขมแข็งในฐานะสือ่ กลางแหงขอมูล ความรู ความเคลือ่ นไหวดานการเกษตรตลอดมา ดวยความมุงมั่นในภารกิจสำคัญและผลงานที่ผานมา ผมเชื่อมั่นอยางยิ่งวาสมาคมสื่อมวลชน เกษตรแหงประเทศไทยจักเจริญกาวหนาและยั่งยืนสืบไป

ขอแสดงความนับถือ (กอเขต จันทเลิศลักษณ) ประธานสภาวิชาชีพขาววิทยุและโทรทัศนไทย


คณะนวัตกรรมการจัดการเกษตรสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน ขอแสดงความยินดีครบรอบ 15 ป สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย


สื่อ

ศไท ย

ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก แปซ�ฟค

เมล็ดพันธุ

แปซ�ฟค

เมล็ดพันธุ


สื่อ

ศไท ย ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก



คำนิยม “สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย” ไดเกิดขึน้ ดำรงอยูแ ละเติบโตมาจนมีอายุได 15 ปแลว นับเปนเรือ่ งทีน่ า ชืน่ ชมยินดีอยางยิง่ โดยเฉพาะกับตัวผมเองทีไ่ ดเคยบริหารสมาคมฯ นีร้ ว มกับคณะกรรมการ อีกหลายทานอยูวาระหนึ่ง ซึ่งขณะนั้นสมาคมฯยังมีฐานะเปนเพียงชมรมของผูสื่อขาวสายเกษตรเล็กๆ แหงหนึ่งเทานั้นเอง แตการเจริญกาวหนาจนทำใหชมรมฯเล็กๆนี้ ซึ่งในชวงนั้นใชชื่อวา “ชมรมสื่อมวลชนเกษตรแหง ประเทศไทย” ไดพัฒนามาเปน “สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย” ในเวลาตอมาก็อาศัยการ รวมแรงรวมใจของคณะผูบริหารชมรมฯที่รับผิดชอบอยูในเวลานั้น พยายามเดินเรื่องผลักดัน ตอหนวย งานราชการทีร่ บั ผิดชอบเพือ่ เปลีย่ นสถานะของ “ชมรม” อันเปนองคกรทีไ่ มมกี ฎหมายรองรับใหเปน “สมาคม” จนในที่สุดความพยายามเปนผลสำเร็จ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยไดรับจดทะเบียน ใหเปน “สมาคม” ที่ถูกตองตามกฎหมายไดในที่สุด ซึ่งนี่คือผลสามัคคีของหมูคณะโดยแท สมาคมสื่อมวลชนเกษตรตางประเทศไทย ภายใตการบริหารของคณะกรรมการแตละสมัย นับวา ตางก็ไดสรางสรรคผลงานในดานตางๆ ใหแกสมาคมฯ อยางเต็มความสามารถ จนเปนที่ประจักษของ สังคมโดยรวม ทำใหสมาคมฯ ไดรับการสนับสนุนชวยเหลือทั้งจากภาครัฐ และภาคเอกชนอยางดียิ่ง ในวาระการจัดงานฉลองครบรอบ 15 ป ของสมาคมฯ ผมขออนุญาตอำนวยพรใหสมาคม สื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยมีความเจริญกาวหนายิ่งๆ ขึ้นไป เปนที่ยอมรับและยกยองนับถือ ของสังคมโดยทั่วไป และไดรับการสนับสนุนค้ำจุนจากทุกภาคสวนอยาง แข็งขันตลอดไป

นายสุราษฎร ทองมาก อดีตประธานชมรมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย


คำนิยม

เกษตรไทยตองเปนที่ 1 ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติมาตัง้ แตป 2504 ตัง้ แตแผน 1 จนถึงแผน 11 ทุกแผนไดเนนทีจ่ ะแกไขปญหาความยากจน แตถงึ วันนีค้ นก็ยงั ยากจนอยู และนับวันจะยิง่ ยากจน ความรวย กับความจนเหลือ่ มล้ำกันมาก…เพราะเราไมไดพฒั นาตามแนวทางของเราทีเ่ ราถนัด…เมือ่ ไมถนัดก็เดินตาม คนอื่น สุดทายเดินตามเขาไมทัน ก็ลาหลังเทานั้นเอง ผมวาประเทศไทยของเรายังโชคดี… เรามีเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชดำริขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งยึดความพอดี พอประมาณ และ มีภมู คิ มุ กัน …เปนหลักคิดทีจ่ ะทำใหคนไทยอยูอ ยางพอดี ไมเบียดบังตนเอง ไมเบียดบังคนอืน่ และไมเบียด บังธรรมชาติจนเกินควร ซึ่งเปนแนวทางที่นาจะเหมาะกับประเทศไทยเรามากที่สุด อยางเรื่องเกษตรและ อาหาร “ในน้ำมีปลา ในนามีขา ว” คนไทยเราสัง่ สมภูมปิ ญ ญามาหลายชัว่ อายุคน….ทำอยางไรจึงจะพัฒนา ตอยอดเปนอาชีพ สรางรายไดเขาสูป ระเทศ…โดยทีค่ นสวนใหญไดประโยชนและจะตองใหทกุ คนมีสว นรวม ถาทำไดคือความสำเร็จของการพัฒนา ยกตัวอยาง ในเรื่องอาหารการกิน ใหเริ่มตั้งตนตั้งแตชาวบาน เอา งายๆ ทุกหมูบานทุกตำบลมีการประกวดสุดยอดฝมืออาหารทองถิ่นไทย หรือมีนโยบายวาเราคนไทยจะ ตองมีอาหารประจำตัว หมายความวาทุกคนจะตองสามารถทำอาหารอรอยอยางนอย 1 รายการ ใหเปน คานิยมวาไมเสียชาติเกิด…และคำวา “ครัวโลก” ก็จะไมไกลเกินจริง หากคนไทยทุกคนรับรูรวมกัน และ มองเห็นไปในทิศทางเดียวกัน ที่ผมพูดอยางนี้ ไมไดหมายความวาจะคัดคานการพัฒนาตามแนวทางทฤษฎีทันสมัย ที่ผูมีอำนาจ ของบานเราหลายยุคหลายสมัยเดินตามจนสุดซอย เพื่อหวังผลตัวเลขอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แตอยากใหหันมามองภาคเกตรแบบใสใจเอาจริงเอาจังสักนิด ไมใชวาแกไขปญหากันที่ปลายเหตุ หรือ เอาใจกันแบบถูกๆผิดๆ ไมไดคิดคำนึงถึงผลที่จะตามมา อยางเรื่องจำนำขาวที่เกิดปญหาเรื้อรัง จนขาว ของไทยราคาตกต่ำ แทนทีจ่ ะมุง ไปพัฒนาคุณภาพขาว หรือยางพาราก็ทำทาวาจะจนตรอกและงัดเอานโยบาย อุดหนุนราคาหรือพยุงราคามาใชกนั อีกแลว ผมวาถาเรามีการวางแผนพัฒนากันอยางเปนระบบและเดินไป ตามแผนที่เราวางไว ไมออกนอกลูนอกทางใหเสียเวลา ปานนี้ประเทศไทยของเราร่ำรวยกันไปแลว แตนี่ เราคงเห็นวามันจะพัฒนาชาหรืออยางไรไมทราบ เนนแตการแกไขปญหาเฉพาะหนา ทำงานแบบฉาบฉวย มองแตผลประโยชนเฉพาะกลุม ไมไดมองผลประโยชนของประเทศชาติที่แทจริง


ในฐานะที่ผมเองเปนสวนหนึ่งของสื่อมวลชนเกษตร มองวาเราสามารถพัฒนาประเทศของเราให เปนมหาอำนาจทางการเกษตรและอาหารไดไมยาก หากทุกคนรวมมือรวมใจกันเห็นความสำคัญของภาค เกษตรกรรม ซึง่ ถือเปนหัวใจของประเทศ นำความรูท ง้ั หลายมาประยุกตใช และบูรณาการใหเกิดนวัตกรรม (Innovation) ทางการเกษตร ตั้งแตการผลิต การแปรรูป และการคา ดวยการผสมผสานภูมิปญญา และ ความรูท างดานเทคโนโลยีใหมๆเขาดวยกัน หากทำไดกจ็ ะสามารถนำพาประเทศสูม หาอำนาจได สิง่ สำคัญ ทีส่ ดุ ในแนวทางนี้ คนไทยของเรามีความถนัด และเกิดผลประโยชนรว มกวาแนวทางอืน่ ใด เพราะเปนอาชีพ ดัง้ เดิมของคนไทยสวนใหญ ซึง่ การพัฒนาประเทศหรือปฏิรปู ประเทศทีเ่ รากำลังเรียกรองเวลานี้ หากไมกมุ หัวใจหรือพืน้ ฐานการพัฒนาอาชีพของชุมชนแลว ก็ยากทีจ่ ะปฏิรปู สังคมของประเทศไทยไดสำเร็จ อยาลืมวา หากเราทำใหเศรฐกิจของชุมชนเขมแข็งไดแลว ก็จะแกไขปญหาอื่นๆไดอีกมากมาย หัวใจของการพัฒนา จึงอยูตรงนี้ ในโอกาสที่สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ครบรอบ 15 ป กาวขึ้นสูปที่ 16 ผมจึง อยากใหสื่อมวลชนเกษตร โดยเฉพาะนองๆที่เปนสื่อรุนใหม มองไปขางหนาดวยความหวังในหัวใจวา ประเทศไทยของเรานัน้ สามารถพัฒนาเปนประเทศมหาอำนาจทางการเกษตรและอาหารได ขอเพียงพวกเรา รวมมือรวมใจกันเดินไปใหถงึ จุดหมายนัน้ ดวยการทำหนาทีส่ อ่ื มวลเกษตรอยางเต็มความรูเ ต็มความสามารถ และภาคภูมิใจรวมกัน “ประเทศไทยจะเปนมหาอำนาจทางการเกษตรและอาหารไดอยางแนนอน” …ผมเชือ่ มัน่ เชนนัน้ จริงๆ

พรศักดิ์ พงศาปาน (ลุงพร) อดีตนายกสมาคมกอตั้งสมาคมสื่อมวลชนเกษตรฯ


คำนิยม ทศวรรษครึง่

ถาเปนวิถีแหงชีวิตก็อยูในวัยเจริญพันธุเปลี่ยนจากเขาสูการเปนนายหรือนาง (สาว) เฉกเดียวกับ ณ วันนีท้ ่ี “สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย” ไดยา งกาวเขาสูค วามเจริญรุง เรือง รูปธรรมทีม่ องเห็น ในชวงเวลาอันนอยนิดจากกิ่งไมกี่แขนงของคนมีอาชีพทำขาวเกษตรไดรวมกลุมกันปกหลักฝงรากกระทั่ง แตกหนอเจริญเติบโตเปนลำเปนกอยืนเดนเปนทรัพยากรสังคมที่สามารถนำชิ้นสวนไปใชประโยชนได อยางคุม คา สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย….ปจจุบันมีสมาชิกอยูในทุกสื่ออาชีพผนึกกำลังกันอยาง หนาแนน โดยมีคณะกรรมการบริหารที่เขมแข็ง มีการประสานรับชวงงานกันอยางตอเนื่อง จากรุนสูรุน จึงสงผลใหองคกรรุดหนาไปดวยดี และรวดเร็ว ตลอดเวลาทุกยางกาว….สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรฯ ไดจดั กิจกรรมทัง่ ในดานวิชาการและปฏิบตั กิ าร ในภาคเกษตรกรรมบริการแกสังคมมิไดหยุดหยอน โดยมิไดคำนึงถึงความยากลำบาก เพื่อใหเกษตรกรได นำความรูแ ละประสบการณไปประกอบอาชีพ…..อันเปนฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ ความสำเร็จทีเ่ กิดขึน้ อันมากจากกิจกรรมสมาคมฯ ในแตละโครงการ สวนหนึง่ หรือเบือ้ งงหลังเกิดขึน้ จากแรงกระตุนของนายกสมาคมฯ คนแรก (พรศักดิ์ พงศาปาน) ที่ฝากฝงสมาชิก….ในการ “…เสียสละ สรางสรรค สามัคคี…” ซึ่งผมเชื่ออยางนั้น และอยากใหสมาชิกทั้งหลายไดยึดถือปฏิบัติ เพื่อใหลำตน สือ่ มวลชนเกษตร เติบโต แผกา น แผใบ คลุมปกคนทำขาวเกษตรทัง้ หลายใหรม รืน่ เปนสุข 15 ป …..เปนเพียงกาวสัน้ ๆ เปนมาตรบงวา “สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย” จะตอง เขาสูค วามรุง โรจนในอีกชวงไมนานนัก….และขอใหวนั นัน้ มาถึง ทายสุด….ผมขอใหสิ่งศักดิ์สิทธิ์แหงศาสนที่สมาชิกศรัทธาเลื่อมใส จงบันดาลใหทุกทานประสบแต ความสุข ความเจริญ มีพลังสืบสานสมาคมฯ ของเราให….ยัง่ ยืนอยางยาวนาน…..!!!

ปญญา เจริญวงศ อดีตนายกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย หนังสือพิมพไทยรัฐ


คำนิยม

ผานมากี่สมัยสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ยังมุงมั่น สรางสรรค ดวยอุดมการณงานสื่อ

นับตั้งแตเริ่มตนของการรวมตัวของสื่อมวลชนสายเกษตร ตั้งแตเปนชมรมสื่อมวลชนเกษตรแหง ประเทศไทย ชื่อยอวา “สกท.” ยอเหมือน สมาคม จากกลุมเล็ก ๆ 4-5 คน จนถึงวันที่จดทะเบียนเปนสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหง ประเทศไทย ทำใหมีสมาชิก ทุกคนมีความภูมิใจ ดีใจ เปนอยางยิ่ง ผมกับ คุณพรศักดิ์ พงศาปาน (ลุงพร) เดินทางไป รับเอกสารจดทะเบียนอนุมัติที่กรมการปกครองแถวนางเลิ้ง ผมโทรศัพทเรียกอาจารยสุราษฎร ทองมาก(ปาสุราษฎร) อดีตประธานชมรมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย วาไดรับทะเบียนสมาคมเรียบรอยแลว ชื่อเต็มๆ ตามตองการ สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย “ปา”สงเสียงสวนกลับมาวา โอโห มีคำวา “แหงประเทศไทย” ดวยหรือ ผมดีใจ จริงๆ เพราะเราสงชื่อไป สองชื่อคือ สมาคมสื่อมวลชนเกษตรไทย และสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย “ปา พูดตอคำวา แหงประเทศไทย ขอยากมากแสดงใหเห็นวาคณะผูพิจารณาใหความสำคัญอยางเขาถึง เขาใจ ผมรูสึกภูมิใจและดีใจไมนอยกวามวลสมาชิกทั้งหลายที่ไดรวมกันทุมเทรวมลุนใหไดมาในที่สุด เราทำไดประสบ ความสำเร็จอยางลนเหลือ สมาคมนี้เปนองคกรขับเคลื่อนสำคัญในการทำกิจกรรม ถายทอด ขาวสาร บริการวิชาการ สรางสรรค สังคม สงเสริมความรูสูเกษตรกร เมื่อภาคเกษตรมีปญหา องคกรนี้ รวมกันขับเคลื่อนเพื่อหาทางออกของ ปญญา ดวยวิธีการบริการวิชาการ จัดประชุม สัมมนาทางวิชาการ ระดมสมองของผูรู คนหาความจริงเสนอตอสังคม บางครั้งยังจัดฝกอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นใหแกเกษตรกร และประชาชนผูสนใจนำความรูไปประกอบอาชีพเสริม บางก็เปนอาชีพหลัก สงผลใหคุณภาพชีวิต ดีขึ้นจนอยูดี กินดี มีความสุข บนกิจกรรมนำประชาชนไปศึกษาดูงานเกษตร สัมผัสเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จทั้งในประเทศและตางประเทศ ทัศนศึกษาหาความรูที่หลากหลายนำมาใชประโยชน พัฒนาสงเสริมภาคการเกษตร ใหมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพใหเปนที่ยอมรับภาคการเกษตรใหมีประสิทธิภาพ และมี คุณภาพใหเปนที่ยอมรับของสังคมไทยถึงประชาคมโลก สมาคมสื่อมวลชนเกษตร ยังทำหนาที่เปรียบเสมือนสถาบันเพราะยังทำหนาที่จัดฝกอบรมหลักสูตรการเขียนขาว การจับประเด็นขาวใหแกเจาหนาที่ฝายประชาสัมพันธขององคกรทั้งภาครัฐและเอกชนจน ไดรับความสนใจตอบรับตอ เนื่องดวยดีเสมอมา เหตุผลที่ผมบอกวา ภาคภูมิใจเปนสิ่งที่สมเหตุสมผลแลว ตลอดระยะเวลาที่ผานมา สมาคมไดกาวเดินอยางมี จังหวะจะโคน สรางผลงานไวอยางมากมาย มีประโยชนคณูปการตอสังคมภาคการเกษตรและผมเชือ่ วาอนาคตสมาคมสือ่ มวลชน เกษตรแหงประเทศไทย จะเจริญเติบโตอยางมีคุณภาพและมีผลงานอยางมีคุณคาเปนที่พึ่งของประชาคมการเกษตรใหได ภาคภูมิใจอีกตอไป ในโอกาสที่สมาคมสื่อมวลชน กาวเขาสูปที่ 8 และ 15 ป การรวมพลคนขาวเกษตร ผมใครขอแสดงความยินดี และชื่นชมในการดำเนินกิจการ ของสมาคมเพื่อเปนสื่อกลางในการถายทอดขอมูลขาวสาร ดานการเกษตรทุกสาขา และ ขออำนวยพรใหมีความเจริญ รุงเรือง มีความกาวหนา สรางสรรค เครือขาย พันธมิตรไดอยางกวางขวาง ทั้งในระดับ ประเทศและนานาชาติ ขอจงยึดมั่นในจริยธรรม อุดมการณ เพื่อพัฒนาภาคการเกษตรประเทศไทยสืบไป นายถวิล สุวรรณมณี อดีตนายสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย และที่ปรึกษา สถานีวิทยุ มก.


คำนิยม สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย มีวัตถุประสงคที่ชัดเจนเพื่อสงเสริมใหมีการรวมมือชวย เหลือระหวางสมาชิกสมาคม รวมทั้งสงเสริมใหผูทำหนาที่สื่อมวลชนเกษตร ไดแลกเปลี่ยนความรูขอมูล ขาวสารประสบการณ แนวคิด และรวมกันพัฒนาวิชาชีพ ใหกาวหนาทันเหตุการณและเกิดประสิทธิภาพ ในการเผยแพรความรู และขอมูลขาวสารดานการเกษตรทีก่ อ ใหเกิดประโยชนแกเกษตรกรและการเกษตรกรรม ของประเทศ และสงเสริมใหสื่อมวลชนเกษตรมีบทบาทในการชวยเหลือสนับสนุนการพัฒนาการเกษตร แบบยั่งยืน โดยยังคงอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหอยูในสภาพที่เหมาะสมไวได ซึ่งวัตถุ ประสงคทก่ี ลาวขางตน ผมในฐานะนายกสมาคมฯ คนที่ ๔ ดำรงตำแหนงระหวางป ๒๕๕๕ ถึง ๒๕๕๗ ตระหนักถึงความสำคัญของภารกิจขางตน ไดดำเนินการทุกวิธกี ารในการทีจ่ ากพัฒนาความรู ความสามารถ ของนักขาวในแวดวงสื่อมวลชนเกษตร ใหมีความรูความสามารถเทาทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง อยูตลอดเวลา โดยไดจัดใหมีการอบรมสัมมนา เชิญวิทยากรที่เกี่ยวของมาใหความรูกับนักขาว ตลอด จนบุคคลภายนอก เชนเกษตรกร และผูที่สนใจอยูเสมอ เพื่อใหสามารถพัฒนาอาชีพเกษตรใหเกิดความ ยั่งยืน ขณะเดียวกันหัวใจในการที่จะทำใหสมาคมฯ เดินตอไปอยางมั่นคง คือ การรวมใจของสมาชิก นักขาว เจาหนาทีป่ ระจำกรมฯ ตาง ของกระทรวงเกษตร และ สหกรณ ใหเกิดความสามัคคีเปนหนึง่ เดียว ทำงานรวมกันอยางพี่นอง ดังนั้นทุกเทศกาลทางสมาคม ฯ จะจัดใหมีงานรื่นเริง พบปะ สังสรรค เพื่อทำ ความรูจักกันใหมากขึ้น ซึ่งถือวาทุกงานไดผลตอบรับดีมาก จนมีเสียงเรียกรองใหมีการจัดงานสังสรรค อยูเสมอ นอกจากนี้งานที่ผมในฐานะนายกฯ ใหความสำคัญและไมเคยนิ่งนอนใจที่จะยื่นมือไปแบง เบาภาระ คือการหาทุน เพือ่ มอบเปนทุนการศึกษาใหกบั บุตร ธิดา ของสมาชิกสมาคมฯ ทุนละ ๕๐๐๐ บาท จำนวน ๕๐ ทุน ซึ่งตั้งแตจัดงานมาปแรกจนถึงเมื่อปที่ผานมาจำนวนสมาชิกฯ ที่ยื่นขอทุนมีจำนวนมาก ขึ้นทุกป งานทั้งหมดที่ผมไดดำเนินการในฐานะนายกฯ ตลอดระยะเวลา ๒ ปที่ผานมา คิดวานาจะเปน สวนหนึง่ ในการชวยกันสรางรากฐานใหสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยไดเปนทีพ่ ง่ึ ใหกบั เกษตรกรไทย ซึ่งถือเปนกระดูกสันหลังของชาติ ขณะเดียวกัน คิดวางานหลายโครงการยังไดสรางรอยยิ้ม และ แบงปน รอยยิ้มใหกับเพื่อนสมาชิกสมาคม ฯ ใหมีกำลังใจในการสรางสรรคผลงานที่ดีสูสังคมตอไป สาโรช บุญแสง อดีตนายสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย หนังสือพิมพแนวหนา


วัน เดือน ป ที่เปนอดีตและปจจุบัน

ของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย (พ.ศ.2541-2554) อดีตการเกิดขึน้ ดำรงอยู และดำเนินมาจวบจนปจจุบนั ของสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย สามารถ ยอนรอยถอยหลังกลับไปถึงป พ.ศ.2541 ตั้งแตเริ่มตั้งไขกอหวอดเปนชมรมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย กอนจะ เปลี่ยนแปลงสถานภาพเปนสมาคมฯในภายหลังโนนแหละครับ…นับถึงปจจุบันนี้กลางป พ.ศ. 2554 ก็เปนชวงเวลายาว นานรวม 13 ปแลว อดีตมีไวใหจดจำและระลึกถึงใชหรือไม? ถาอยางนัน้ เรายอนดูประวัตคิ วามเปนมาจากสถานภาพชมรมฯ ทีไ่ มมี กฎหมายรองรับสูค วามเปนสมาคมฯทีก่ ฎหมายรองรับ เปนนิตบิ คุ คลอยางสัน้ ๆพอไดขอ ใหญใจความทีเ่ ปนหัวใจสำคัญๆ สักหนอยเปนไร? อนามธรรมของชมรมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ตนป พ.ศ.2541 ผูสื่อขาวสายเกษตร 3 คน หนึ่งนั้นคือ นายปญญา เจริญวงศ หัวหนาขาวเกษตร นสพ.ไทยรัฐยักษสเี ขียวรายวัน หนึง่ นัน้ คือนายถวิล สุวรรณมณี แหงสถานีวทิ ยุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร(สถานีวทิ ยุ มก.) อีกหนึง่ ทีเ่ ปนคนทีส่ ามคือ นายเกียรติพนั ธ จันทราปตยนกั จัดรายการสถานีโทรทัศนชอ ง 5 หลังจากพูดคุยมีความเห็น สอดคลองกันวา ผูส อ่ื ขาวสายอืน่ ๆเขาตางมีชมรม มีสมาคมเปนทีพ่ บปะสนทนา ทำกิจกรรมตางๆ ทีเ่ ปนประโยชน ตอสังคมกันทัง้ นัน้ แลว ทำไมผูส อ่ื ขาวสายเกษตรของเราจึงไมคดิ ตัง้ ชมรมฯของตัวเองขึน้ มามัง่ ? รูปธรรมของชมรมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ในทีส่ ดุ กระแสการกอตัง้ ชมรมฯถูกจุดติด วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2541 ผูส อ่ื ขาวสายเกษตรกลุม หนึง่ จึงนัดปรึกษา หารือกันอยางเปนกิจจะลักษณะที่รานอาหารบัว สาขาเกษตร เวลา 17.30 น.ผูเขารวมกอตั้งมีดังตอไปนี้ 1.นายเปรมปรี ณ สงขลา (ชื่อในขณะนั้น) วารสารเคหการเกษตร 2.นายไตรรัตน สุนทรประภัสสร นสพ.เดลินิวส (ถึงแกกรรมแลว) 3.นายปญญา เจริญวงศ นสพ.ไทยรัฐ 4.นายถวิล สุวรรณมณี สถานีวิทยุ มก. 5.นายเกียรติพันธ จันทราปตย บิ๊กบอสครีเอชั่น โทรทัศนชอง 5 6.นางสาวปวีณา รัตนา นสพ.ไทยรัฐ

40

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ในทีส่ ดุ ของการประชุมไดมมี ติตง้ั ชมรมของผูส อ่ื ขาวสายเกษตรโดยมีชอ่ื วา “ชมรมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย” มีชอ่ื ภาษาอังกฤษวา “Agricultural Mass Media Forum of Thailand” โดยกำหนดโลโก(LOGO) เครือ่ งหมายของชมรมฯ ดังนี้ สีเหลือง = การกระจายความรู การเผยแพร สีน้ำเงิน = สื่อมวลชน ตนพืช = เกษตร มือ = เกษตรกร ประธานและเลขาธิการชมรมฯ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2541 มีการนัดประชุมนอกรอบที่รานอาหารบัว สาขาเกษตรเชนเคย มีจำนวนแนวรวม เพือ่ จัดตัง้ ชมรมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยเพิม่ เปน 8 คน ทีป่ ระชุมไดผลสรุปวาใครควรจะเปนประธาน ใครควรจะ เปนเลขาธิการ คือ 1.นายไตรรัตน สุนทรประภัสสร เปนประธานชมรมฯ (นสพ.เดลินิวส) 2.นายปญญา เจริญวงศ เปนเลขาธิการ (นสพ.ไทยรัฐ) เมื่อตกลงปลงใจกันดังนี้แลว ในชั้นแรกก็ตองหาที่ตั้งสำนักงานติดตอชั่วคราวกอน นายเปรมปรี ณ สงขลา ไดเสนอใหใชสำนักงานของ หจก.มิตรเกษตรการตลาดและโฆษณา หรือสำนักงานวารสารเคหการเกษตร เลขที่ 19/27 ถนนงามวงศวาน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ นอกจากนั้นแลวนายเปรมปรี ณ สงขลา ยังไดเสนอทดรองจายเงินเดือนแก พนักงานหนึ่งเดียวของชมรมฯคือนางสาวพิชญา พงศาวกุล ไปพลางๆกอนในขณะที่ชมรมฯยังไมมีรายไดใดๆ

นายไตรรัตน สุนทรประภัสสร ประธานชมรมฯ (นสพ.เดลินวิ ส) 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

41


ที่ทำการชั่วคราว เนื่องจากนายถวิล สุวรรณมณี ผูรวมจุดประกายการกอตั้งชมรมฯมาแตแรกแลวเปนบุคลากรของสถานีวิทยุ มก. ดังนัน้ จึงไดขออนุญาตตอ รศ.ธัชชัย แสงสิงแกว ผูอ ำนวยการสำนักสงเสริมและฝกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (ในขณะนัน้ ) ซึง่ เปนตนสังกัดของสถานีวทิ ยุ มก.ขอใชสถานีวทิ ยุ มก.เปนทีท่ ำการชัว่ คราวของชมรมฯ ซึง่ ดร.ธีระ สูตะบุตร อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร(ในขณะนั้น)ไดอนุมัติตามหนังสือนำเสนอของ รศ.ธัชชัย แสงสิงแกว เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2541 ที่ทำการกึ่งถาวร ดวยความกรุณาของอาจารยชัยวัฒน ศีตะจิตต ผูชวยอธิการบดีฯประธานคณะกรรมการประชาสัมพันธ มก. ไดชี้แนะแนวทางใหผูบริหารชมรมฯขออนุญาตทานอธิการบดีฯ(ดร.ธีระ สูตะบุตร/ในเวลานั้น)ใชสถานที่(หองวาง) ของอาคารสารนิเทศ 50 ป ชั้น 1 ตรงขามกับสำนักประชาสัมพันธ มก.เปนที่ทำงานของชมรมฯ ดังนัน้ ในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2541 นายปญญา เจริญวงศ เลขาธิการชมรมฯไดทำหนังสือถึง ดร.ธีระ สูตะบุตร อธิการบดีฯขออนุญาตใชหองวางดังกลาวเปนที่ทำการของชมรมฯ ตอมา รศ.วินิจ วีรยางกูร รองอธิการบดีฝายทรัพยากรบุคคล ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ทำหนังสือที่ ทม 0401.01/12901 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2541 อนุญาตใหใชหองวางตามที่ขอ เปนที่ทำการของชมรมฯได ตามระยะเวลาที่ชมรมฯมีความจำเปน แตตองไมเกินวาระการดำรงตำแหนงของอธิการบดี (ดร.ธีระ สูตะบุตร) ซึ่งจะครบวาระในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เลือกตั้งประธานชมรมฯอยางเปนทางการ นับแตป 2541 เปนตนมา จนถึงตนป 2546 รวมเวลารวม 5 ปที่ชมรมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยถูกขับ เคลื่อนโดยคณะกรรมการที่ไดมาจากการแตงตั้ง ยังไมมีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารอยางเปนทางการเลย ยังไมมี การผลัดใบแมแตครั้งเดียว….วางั้นเถอะ ภาพลักษณจึงขาดความเขมขลัง ไมเปนประชาธิปไตยเต็มใบ ดูไปคลายๆ เปนเผด็จการของหมูคณะเพียงไมกี่คน ทวาการบริหารจัดการชมรมฯดวยคนเพียงไมกค่ี นนีแ่ หละ สามารถหารายไดใชคนื นายเปรมปรี ณ สงขลา และ เก็บหอมรอมริบเปนเงินออมทรัพยฝากไวกับธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนจำนวนเงิน รวม 500,000 บาท ซึ่งไดมอบใหคณะกรรมการบริหารชมรมฯที่ไดมาจากการเลือกตั้งไดใชสอยเปนทุนรอนอยางสบาย มือตอไป กลางเดือนมีนาคม 2546นั้นเองที่ชมรมฯไดจัดใหมีการประชุมใหญสามัญประจำปและจัดใหมีการเลือกตั้ง ประธานชมรมฯและกรรมการบริหารชุดใหม ซึ่งปรากฏวาที่ประชุมใหญไดลงมติเลือกนายพีรศิษฐ สมแกว สังกัดหนา เกษตร นสพ.เดลินิวส เปนประธาน และนายพีรศิษฐ สมแกว ไดทำการคัดเลือกกรรมการบริหารชมรมฯรวม 15 คน ตามขอบังคับของชมรมฯเพื่อรวมมือรวมใจกันบริหารชมรมฯใหมีความเจริญกาวหนาสืบไป

42

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


รักษาการประธานชมรมฯคนที่ 3 นายพีรศิษฐ สมแกว ดำรงตำแหนงประธานชมรมฯ และดำเนินนโยบายบริหารชมรมฯอยูเพียง 6 เดือนเทานั้น ก็ขอลาออกจากตำแหนง นายสุราษฎร ทองมากในฐานะรองประธานฯคนที่ 1 จึงถูกเลื่อนขึ้นมาเปนรักษาการประธาน ชมรมฯคนที่ 3 ตามขอบังคับของชมรมฯ ในวาระที่ดำรงตำแหนงรักษาการชมรมฯของนายสุราษฎร ทองมากนี้เอง ไดมีความพยายามที่จะดำเนินการ ขอจัดตั้งเปนสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยตามแนวทางที่นายพีรศิษฐ สมแกวเคยวางไว แตจนหมดวาระ การดำรงตำแหนงของนายสุราษฎร ทองมากก็ไมมีความคืบหนาเรื่องจัดตั้งสมาคมฯมากนัก ประธานชมรมคนที่ 4 และนายกสมาคมฯคนแรก วันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2548 ชมรมฯไดจัดใหมีการ ประชุมใหญสามัญประจำป 2548 ขึ้น ณ หองกำพล อดุลวิทย ชัน้ 2 อาคารสารนิเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทัง้ นี้ เนือ่ งจากนายสุราษฎร ทองมากอยูใ นตำแหนงรักษาการประธาน ชมฯคนที่ 3 เกินระยะเวลาตามขอบังคับของชมรมฯ จำเปนตอง มีการเลือกตัง้ ประธานและคณะกรรมการบริหาร ชมรมฯชุดใหม ในทีส่ ดุ ทีป่ ระชุมมีมติเลือกนายพรศักดิ์ พงศาปานสังกัด เครือนสพ.มติชน เปนประธานชมรมฯคนที่ 4 ทำการ คัดเลือก กรรมการบริหารชมรมตามจำนวนที่ขอบังคับชมรมฯกำหนดไว นายสุราษฎร ทองมาก เพื่อบริหารจัดการชมรมฯตอไป รักษาการประธาน ชมรมฯคนที่ 3 สมัยที่นายพรศักดิ์ พงศาปาน ดำรงตำแหนงประธาน ชมรมฯนีเ้ อง การเคลือ่ นไหวเพือ่ ขอจัดตัง้ เปนสมาคมสือ่ มวลชน เกษตรแหงประเทศไทยจึงไดดำเนินการอยางจริงจังจนมีความ กาวหนาไปตามลำดับขั้นตอน ในที่สุด วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2550 อธิบดีกรมการ ปกครอง ในฐานะนายทะเบี ย นสมาคมกรุ ง เทพมหานครก็ อนุมัติใหจัดตั้งสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยได โดยคำสั่งดังกลาวทำให นายพรศักดิ์ พงศาปาน ดำรง ตำแหนงนายกสมาคมฯโดยอัตโนมัติ รวมทั้งคณะกรรมการ บริหารทีม่ รี ายชือ่ ตามคำขอจัดตัง้ จำนวน 13 คนดวย นายพรศักดิ์ พงศาปาน จึงนับเปนนายกสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย คนแรก

นายพรศักดิ์ พงศาปาน นายกสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยคนแรก 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

43


นายกสมาคมฯคนที่ 2 หลังจากที่ นายพรศักดิ์ พงศาปาน ดำรงตำแหนงนายก สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยจนครบวาระ 2 ปแลว ทางสมาคมฯไดจัดใหมีการประชุมใหญสามัญประจำปเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ พ.ศ.2551 เวลา 13.00 น. ณ หองกำพล อดุลวิทย อาคารสารนิเทศ 50 ปชั้น 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเพื่อทำการ เลือกตั้งนายกสมาคมฯ และ กรรมการบริหารชุดใหม ปรากฏวา นายปญญา เจริญวงศ สังกัดนสพ.ไทยรัฐ ไดรับ การเลือกตั้งเปนนายกสมาคมฯโดยไรคูแขงขัน ทามกลางการแสดง ความยินดีของบริษัทฯ หางราน และบุคคลตางๆเปนจำนวนมาก นายปญญา เจริญวงศ กับกรรมการบริหารของสมาคมฯ ไดสรางความเจริญกาวหนา สรางชื่อเสียงและหนาตา ของสมาคม สือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยใหเปนทีร่ จู กั กันโดยทัว่ ไปในสังคม สือ่ สารมวลชน บริษทั หางราน และ บุคคลตางๆ ทัง้ นักวิชาการและ เกษตรกรไดจดั กิจกรรมอยางหลากหลายทีเ่ ปนประโยชนตอ วงการวิช าการดานการเกษตร และแกเกษตรกรโดยตรง

นายปญญา เจริญวงศ นายกสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยคนที่ 2

ผลงานสำคัญทีเ่ กีย่ วกับชือ่ เสียงของสมาคมฯก็คอื เมือ่ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.2552 ไดจดั งาน “เปดตัวสมาคม สื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย” ณ อาคารจักรพันธเพ็ญศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร นับเปนการจัดงานครั้ง ยิ่งใหญและสำคัญที่สุดเทาที่เคยมีมา ทั้งนี้ทางสมาคมฯไดรับเกียรติอยางสูงจาก ฯพณฯนายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มาเปนประธานและกลาวปาฐกถาพิเศษหัวขอเรื่อง “การเกษตรประเทศไทยในหัวใจนายกอภิสิทธิ์” นายกสมาคมฯคนที่ 3 เนื่องจากวาระการดำรงตำแหนงนายกสมาคมฯของนายปญญา เจริญวงศ สิ้นสุดลงจึงตองมีการเลือกตั้ง สรรหานายกสมาคมฯคนใหม ดังนั้นสมาคมฯจึงจัดใหมีการประชุมใหญสามัญประจำปพ.ศ.2552 ขึ้นในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2553 เวลา 13.00 น. ณ หองกำพล อดุลวิทย อาคารสารนิเทศ50 ป ชั้น 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปรากฏวานายปญญา เจริญวงศปฏิเสธที่จะสมัครรับเลือกตั้งเปนนายกสมาคมฯอีก 1 วาระ ที่ประชุมใหญ จึงไดเสนอชื่อ นายถวิล สุวรรณมณี อดีตเลขาธิการสมาคมฯ ขึ้นดำรงตำแหนงนายกสมาคมฯ ซึ่งไมมีผูเสนอชื่อบุคคล อื่นเขาแขงขัน ในที่สุด นายถวิล สุวรรณมณี จึงไดรับการเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญใหเปนนายกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหง ประเทศไทยคนที่ 3 คณะกรรมการบริหารสมาคมฯชุดของนายถวิล สุวรรณมณี ก็มีผลงานการบริหารจัดการสมาคมฯ ดานกิจกรรมตางๆที่เกี่ยวกับสังคมสวนรวมอยางขยันขันแข็งยิ่ง ทั้งการจัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการเรื่องสำคัญตางๆ ไมยิ่งหยอนไปกวากรรมการบริหารสมาคมฯชุดของนายปญญา เจริญวงศเลย

44

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


และที่นาจะเปนการวัดรอยเทากันก็คือ การจัดงานวัน ครบรอบ 4 ปยางกาวสูปที่ 5 ของสมาคมสื่อมวลชนเกษตร แหงประเทศไทย ในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2554 ชื่องานวา “12 ป รวมพลคนขาวเกษตร ครบรอบ 4 ปเขาสูปที่ 5 สกท.” ณ อาคารจักรพันธเพ็ญศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในงาน ครัง้ ยิง่ ใหญไมแพงานเปดตัวสมาคมฯในยุคนายปญญา เจริญวงศ นี้ ทางสมาคมฯ ไดทำหนังสือเชิญ ฯพณฯนายกรัฐมนตรี นางสาวยิง่ ลักษณ ชินวัตร เปนประธานเปดงาน และกลาวปาฐกถาพิเศษเรื่อง “การเกษตร ประเทศไทยในแนวนโยบายรัฐบาล” ก็ตองชวยลุนระทึกใจกันวา สมาคมสื่อมวลชนเกษตร แหงประเทศไทยยุคที่มีนายกสมาคมฯ ชื่อ นายถวิล สุวรรณมณี จะวัดรอยเทาอดีตนายกสมาคมฯที่ชื่อ นายปญญา เจริญวงศ ไดสำเร็จหรือไม?

นายถวิล สุวรรณมณ นายกสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยคนที่ 3

โดยงานในครั้งนี้ก็ได คุณธีระ วงษสมุทร รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ขณะนั้นมาเปนประธาน พรอมกันกับมวลหมูสมาชิกและผูมีอุปการะคุณมารวมงานอยางคับคั่ง ขณะเดียวกันก็ขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆ อันเปน ประโยชนตอพี่นองเกษตรกรไทยมากมายหลายกิจกรรม ไมวาจะเปนการสัมมนา การทัวรเกษตรทั้งในและตางประเทศ นายกสมาคมคนที่ 4 ตอมาเมื่อวาระของ คุณถวิล สุวรรณมณี สิ้นสุดลง สมาคมฯ จึงไดกำหนดการเลือกตั้งนายกฯ คนใหมขึ้น ในวันที่ 30 มีนาคม 2555 ณ หองกำพล อดุลวิทย อาคารสารนิเทศ 50 ป ชั้น 2 มทหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งใน การเสนอชื่อนายกฯ คนใหมในครั้งนี้ คุณถวิล สุวรรณมณี ไดถูกสมาชิกเสนอชื่อเขาชิงอีกครั้ง แตก็ตองขับเคี่ยวกับ ดาวรุงพุงแรง ณ ขณะนั้น ก็คือ คุณสาโรจน บุญแสง จากคายแนวหนา ซึ่งการแขงขันในครั้งนั้นเปนไปอยางสูสี ผลปรากฎวาคุณสาโรจน บุญแสง ชนะไปอยางเฉียดฉิวเพียง 1 คะแนน ทำใหคณุ สาโรจน บุญแสง ไดรบั ตำแหนง นายกสมาคมคนที่ 4 ซึ่งในสมัยของนายกสมาคมคนที่ 4 นี้ ก็เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรมสมาคมมากมายไมแพนายกฯ คนอื่นๆ โดยเฉพาะกับกิจกรรมระดมทุนใหกับสมาคม พรอมกับเปดโอกาสใหคนหนุมสาวไฟแรงเขามารวมทำงาน กับสมาคม

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

45


นายสาโรจน บญุแสง นายกสมาคมสอ่ืมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยคนท่ี 4

นายดลมนสั กาเจ นายกสมาคมสอ่ืมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยคนท่ี 5

นายกสมาคมฯ คนท่ี 5 และเนื่องมาจากการหมดวาระดำรงตำแหนงของ คุณสาโรจน บุญแสง สมาคมฯ ก็ไดจัดใหมีการเลือกตั้ง นายกสมาคมฯ คนใหม อีกครั้ง ในวันที่ 27 มีนาคม 2557 ณ สถานที่เดิม โดยการเลือกตั้งในครั้งนี้ ปรากฎวาเปน การเลือกตั้งที่ไมตองเปลืองบัตรเลือกตั้ง เนื่องจากมีผูเสนอชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งเปนนายกสมาคมฯ คนใหม 2 ทาน คอื คณุถวลิ สวุรรณมณี และ คณุดลมนสั กาเจ แหงหนงัสอืพมิพคมชดัลกึ แตปรากฏวา คณุถวลิ สวุรรณมณี ซง่ึเคย ดำรงตำแหนงนายกสมาคมฯ มาแลว 1 สมัย ปฏิเสธที่จะเขาแขงขัน จึงทำใหคุณดลมนัส ไดตำแหนงนายกสมาคม คนท่ี 5 ไปโดยปรยิาย ซง่ึในยคุของคณุดลมนสั กไ็ดดำเนนิงานมาแลวในระยะหนง่ึ และในงาน 15 ป รวมพลคนขาวเกษตร ในครง้ัน้ี กถ็อืเปนอกีงานใหญงานหนง่ึทน่ีายกฯ ดลมนสั จะพามวลสมาชกิผานนาวาไปไดอยางราบรน่ื และนค่ีอือกีหนง่ึหนาประวตัศิาสตรของสมาคมสอ่ืมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ทม่ีนีายกสมาคมฯ ทช่ีอ่ี ดลมนสั กาเจ เปนผขูบัเคลอ่ืนไปพรอมกบัคณะกรรมการ และมวลสมาชกิ

46

15 ป รวมพลคนเกษตร ทศิทางเกษตรกรไทยในเวทปีระชาคมเศรษฐกจิอาเซยีน AEC


ขอบังคับ สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย หมวดที่ 1

บทความ ขอ 1. ชื่อสมาคม สมาคมนี้มีชื่อวา “สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย” ใชชื่อยอวา “ ส.ก.ท.” เรียกชื่อภาษาอังกฤษ “Agricultural Mass Media Association of Thailand” ใชชื่อยอวา “AMMAT” ขอ 2. เครื่องหมายของสมาคม สมาคมใชเครื่องหมายรูปมือสีขาว ถือตนขาวอยูในกรอบสามเหลี่ยมพื้นสีเขียวลอมรอบดวยวงกลมสีเหลือง มีอักษร ส.ก.ท. อยูภายใน ขอ 3. ที่ตั้งสมาคม สำนักงานของสามคม ตั้งอยูที่เลขที่ 50 อาคารสารนิเทศ ชั้น 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

หมวดที่ 2

วัตถุประสงค ขอที่ 4 สมาคมนี้มีวัตถุประสงค 1 ) สรางความสัมพันธที่ดีระหวางสื่อมวลชนเกษตรแขนงตางๆ และสงเสริมใหมีการรวมมือชวยเหลือซึ่งกัน และกันใหมากขึ้นระหวางสมาชิก 2 ) สงเสริมใหผูทำหนาที่สื่อมวลชนเกษตรไดแลกเปลี่ยนความรู ขอมูลขาวสาร ประสบการณ แนวความคิด และรวมกันพัฒนารูปแบบ เทคนิคและวิธีการที่จะนำไปสูการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพใหกาวหนาทันเหตุการณ และเกิดประสิทธิภาพในการเผยแพรความรูและขอมูลขาวสารดานการเกษตรที่กอใหเกิดประโยชนแกเกษตรกร และ การเกษตรกรรมของประเทศ 3) สงเสริมใหสื่อมวลชนเกษตรมีบทบาทในการชวยเหลือสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน โดยยัง คงอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหอยูในสภาพที่เหมาะสมไวได 4) เปนศูนยกลางประชาสัมพันธนำเสนอขอมูลและขาวสาร โดยรวมมือกับภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อลด และยุติความชัดแยงในวงการผลิต การคาสินคาและผลิตภัณฑเกษตร ทั้งในและระหวางประเทศ ซึ่งกอประโยชนแก ความมั่นคงในการประกอบการทางการเกษตรกรรมทุกประเภท 5) พัฒนาและสงเสริมผูทำหนาที่สื่อมวลชนเกษตร ใหมีความรู ความสามารถ และจรรยาวิชาชีพ เพื่อใหมี ความมัน่ คงกาวหนาในสายงานอาชีพ ตลอดจนมีสวัสดิภาพทีด่ ี ซึง่ จะอำนวยประโยชนในการทำหนาทีส่ อ่ื มวลชนเกษตร ไดอยางสมบูรณ 6) ติดตอกับสมาคม มูลนิธิ สมาคม องคกร หรือสถาบันอืน่ ๆ ซึง่ วัตถุประสงคคลายคลึงกัน ทัง้ นีเ้ พือ่ ประโยชน แกการพัฒนาความมั่นคง ความกาวหนา และความผาสุกของเกษตรกร และอาชีพการเกษตรโดยรวม 7) ไมมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งโตะบิลเลียด และการพนันทุกชนิด 8) ไมมีวัตถุประสงคเกี่ยวกับผลประโยชนทางการเมือง 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

47


หมวดที่ 3

สมาชิกและสมาชิกภาพ ขอ 5. ประเภทสมาชิก สมาชิกแบงออกเปนสามประเภท และมีคุณสมบัติดังนี้ สมาชิกสามัญ ไดแก ผูป ระกอบอาชีพสือ่ มวลชนเกษตรเปนหลัก เชนวิทยุ หรือ โทรทัศนหรือสือ่ สิง่ พิมพเกีย่ วกับ การเกษตรและการสงเสริมอาชีพทีท่ ำหนาทีเ่ ผยแพรขา วสารผานสือ่ ในสังกัดทีย่ งั เปดกิจการอยู ซึง่ ไดยน่ื คำขอเปนสมาชิก สมาชิกวิสามัญ ไดแก บุคคลในวงการศึกษา ฝกอบรม และวิจยั ดานการเกษตร ผูป ระกอบการเกษตรทุกประเภท หรือ บุคคลผูทำหนาที่ประชาสัมพันธของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการเกษตร ทั้งภาครัฐ และเอกชน และยื่นขอเขาเปน สมาชิก สมาชิกกิตติมศักดิ์ ไดแก ผูทรงคุณวุฒิ องคกร สถาบัน และผูนั้น หรือองคการ สถาบันนั้นตอบรับเชิญ ขอ 6. การสมัครเขาเปนสมาชิก ผูแสดงความจำนงสมัครเขาเปนสมาชิก จะตองยื่นใบสมัครตอนายทะเบียนตามแบบที่คณะกรรมการกำหนด โดยมีสมาชิกรับรองอยางนอย 2 ราย เมื่อนายทะเบียนรับใบสมัครแลว ใหนำใบสมัครเสนอตอคณะกรรมการพิจารณา ในคราวการประชุมตอไป ขอ 7. การพิจารณาคำขอสมัครเขาเปนสมาชิก เมื่อคณะกรรมการไดลงมติใหรับผูสมัครเขาเปนสมาชิกสามัญแลว ใหเลขาธิการแจงไปยังผูสมัครใหนำเงินคา ลงทะเบียน และคาบำรุงสมาชิกมาชำระภายในกำหนด 30 วัน ขอ 8. วันเริ่มสมาชิกภาพ สมาชิกภาพเริ่มตั้งแตวันที่ผูสมัครไดชำระคาลงทะเบียนเขาเปนสมาชิก และคำบำรุงประจำปของสมาคมครบ ถวนแลว เลขาธิการจะไดนำชื่อสมาชิกใหม พรอมเลขประจำตัวสมาชิก ประกาศใหสมาชิกทราบเปนคราวๆ ไป ขอ 9. การขาดจากสมาชิกภาพ สมาชิกภาพจะสิ้นสุดลงในกรณีดังตอไปนี้ 1) ตาย/ หรือสิ้นสภาพนิติบุคคล 2) ลาออก 3) ลมละลาย 4) ตองคำพิพากษาถึงทีส่ ดุ ใหลงโทษจำคุก เวนแตเปนความผิดลหุโทษ หรือความผิดทีไ่ ดกระทำโดยประมาท 5) เปนบุคคลที่ศาลสั่งใหเปนผูไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ 6) คณะกรรมการการลงมติใหถอดถอนจากการเปนสมาชิก โดยคะแนนเสียงไมนอยกวา สามในสี่ของจำนวน กรรมการทั้งหมด ดวยเหตุใดเหตุหนึ่งดังตอไปนี้ (1) ประพฤติผิดศีลธรรมอันดี หรือผิดจรรยาวิชาชีพ หรือขากความความนิยมเชื่อถือจากสาธารณชน (2) ประพฤติตนหรือทำการใด ๆ อันอาจนำความเสื่อมเสีย มาสูชุมชน และ/หรือชื่อเสียงของประเทศอันเปนสวนรวม (3) กระทำการละเมิดขอบังคับของสมาคม หรือระเบียบ หรือคำสั่งที่คณะกรรมการไดกำหนดไว (4) ไมชำระเงินคาบำรุงประจำป หรือหนี้สินแกสมาคม เปนระยะเวลานานกวา 6 เดือน หรือหลังจากที่ไดรับหนังสือเตือนจากเจาหนาที่ผูไดรับมอบหมายจากสมาคมครบ 3 ครั้งแลว ขอ 10. ทะเบียนสมาชิก ใหนายทะเบียนจัดทำทะเบียนสมาชิกเก็บไว ณ สำนักงานของสมาคม โดยอยางนอยใหมีรายการดังตอไปนี้ (1) ชื่อ-สกุล ของบุคคล หรือชื่อขององคการสถาบัน ที่ใชเปนทางการ (2) ที่อยูหรือที่ตั้งสำนักงานที่สามารถติดตอไดทางไปรษณียหรือไปรษณียอีเล็คทรอนิกส (3) รายชื่อผูทำการแทนสมาชิกที่เปนองคการหรือสถาบัน

48

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


หมวดที่ 4 สิทธิและหนาที่ของสมาชิก ขอ 11. สิทธิของสมาชิกสามัญและสมาชิกวิสามัญ 1) ไดรับความชวยเหลือและการสงเคราะหในเรื่องที่อยูในวัตถุประสงคของสมาคมเทาที่จะอำนวยได 2) เสนอความคิดเห็นหรือไหคำแนะนำแกสมาคมหรือคณะกรรมการในเรือ่ งใดๆ ทีอ่ ยูใ นวัตถุประสงคของสมาคม เพื่อนำมาซึ่งความมั่นคงและเจริญรุงเรืองของสมาคม 3) มีสิทธิที่จะขอดูทะเบียนสมาชิก งบดุล บัญชีการเงิน หรือจะขอทราบเรื่องราว ใดๆ เกี่ยวกับงานในหนาที่ ของสมาคมได โดยยื่นขอซักถามมายังคณะกรรมการเปนลายลักษณอักษรแตคณะกรรมการทรงไวซึ่งสิทธิที่จะไมตอบ เมื่อเห็นวาเรื่องราวนั้นๆ หากเปดเผยไปแลวจะทำใหเกิดความเสียหายแกผูเกี่ยวของ หรือสาธารณชน 4) เขารวมประชุมอภิปรายแสดงความคิดเห็น ซักถามกรรมการ เสนอญัตติในการประชุมใหญสมาชิก 5) มีสิทธิรองตอสมาคมใหชวยเหลือ ในเมื่อเกิดความจำเปนบางประการ 6) มีสิทธิประดับเครื่องหมายของสมาคมไดในโอกาสอันควร 7) สมาชิกสามัญมีสทิ ธิในการออกเสียงลงคะแนนในทีป่ ระชุมใหญ สิทธิในการออกเสียงเลือกตัง้ กรรมการบริหาร และสิทธิไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการบริหารของสมาคม ขอ 12. หนาที่ของสมาชิก 1) ตองปฏิบัติตามขอบังคับของสมาคม มติที่ประชุมใหญ มติของคณะกรรมการ และหนาที่ที่ตนไดรับมอบ หมายจากสมาคมดวยความซื่อสัตยโดยเครงครัด 2) ดำรงรักษาเกียรติและผลประโยชนสวนไดเสียของสมาคม 3) สงเสริมและสนับสนุนกิจการของสมาคมใหมั่นคงและเจริญรุงเรือง มีความกาวหนาอยูเสมอ 4) ตองรักษาไวซึ่งความสามัคคีธรรมระหวางสมาชิก และรวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกันอยางเต็มกำลังความ สามารถตามโอกาสตางๆ 5) ชำระคาบำรุงใหแกสมาคมตามกำหนด สมาชิกทีต่ อ งออกจากสมาชิกดวยเหตุใดๆ ก็ตามตองชำระคาบำรุง และหนี้สินที่ยังคางอยูในขณะนั้นใหแกสมาคมใหเสร็จสิ้น 6) สมาชิกทีเ่ ปลีย่ นชือ่ ยายทีอ่ ยู ยายทีต่ ง้ั สำนักงานหรือเปลีย่ นแปลงผูแ ทนนิตบิ คุ คล จะตองแจงใหเลขาธิการ สมาคมทราบเปนลายลักษณอักษรภายในกำหนด เวลา 30 วันนับแตการเปลี่ยนแปลง

หมวดที่ 5 คาลงทะเบียนเขาเปนสมาชิก และคาบำรุงสมาคม ขอ 13. คาลงทะเบียนและคาบำรุง 1) สมาชิกสามัญ คาลงทะเบียนแรกเขา 100 บาท คาบำรุงรายป ๆ ละ 100 บาท 2) สมาชิกสามัญ คาลงทะเบียนแรกเขา 100 บาท คาบำรุงรายป ๆ ละ 100 บาท 3) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ไมตองชำระคาลงทะเบียน และคาบำรุงแตอยางใด

นายพรศักดิ์ พงศาปาน นายกสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยคนแรก 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

49


หมวดที่ 6 คณะกรรมการบริหาร ขอ 14. ใหมีคณะกรรมการบริหารสมาคมขึ้นคณะหนึ่ง จำนวนไมต่ำกวา 7 คน แตไมเกิน 15 คน ประกอบดวย นายก อุปนายก 1 อุปนายก 2 อุปนายก 3 เลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน ปฏิคม ประชาสัมพันธ และกรรมการกลาง ขอ 15. การไดมาซึ่งนายกสมาคม ใหมีการเลือกตั้งนายกสมาคมในวันประชุมใหญสามัญประจำป โดยใหสมาชิกสามัญผูที่อาวุโสที่สุดในที่ประชุม เปนนายกการเลือกตั้ง แลวใหสมาชิกที่ประชุมเสนอชื่อของสมาชิกสามัญที่อยูในที่ประชุมใหญ ที่ตนเห็นสมควรเปน นายกสมาคม และมีสมาชิกในที่ประชุมใหญรับรองไมนอยกวา 5 คน แลวใหสมาชิกดำเนินการออกเสียงเลือกตั้งดวย วิธีลงคะแนน ผูใดไดคะแนนสูงสุด ผูนั้นไดเปนนายกสมาคม ถาไดคะแนนเทากันใหนายกในที่ประชุมชี้ขาด ขอ 16. การจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร การไดมาซึ่งกรรมการ และการจัดตั้งกรรมการบริหารโดยใหสิทธิ์นายกสมาคม คัดสรรสมาชิกสามัญเปน คณะกรรมการบริหารสมาคมทัง้ ทีอ่ ยูใ นทีป่ ระชุมและไมเขาประชุมทัง้ นีต้ อ งไมตำ่ กวา 7 คนแตไมเกิน 15 คน และประกาศ ใหสมาชิกทราบโดยทั่วกันภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันเลือกตั้งนายกสมาคม ขอ17. คณะกรรมการบริหารอยูในตำแหนงวาระละ 2 ป เริ่มตนและสิ้นสุดในวันประชุมใหญสามัญประจำป ในระหวางที่กรรมการบริหารชุดใหมยังมิไดรับตำแหนง ใหคณะกรรมการบริหารชุดเดิมทำหนาที่บริหารกิจการไปพลางกอน แลวสงมอบงานใหคณะกรรมการบริหารชุดใหม ทั้งนี้ภายในเวลา 30 วัน นับแตวันไดรับเลือกนายกสมาคม ขอ 18. การพนจากตำแหนงกรรมการ กรรมการยอมพนจากตำแหนงในกรณีดังตอไปนี้ 1) ครบกำหนดออกตามวาระ 2) ตาย 3) ลาออก 4) ขาดจากสมาชิกภาพ 5) ขาดการประชุมคณะกรรมการบริหารเปนเวลาสามครั้งติดตอกัน โดยไมแจงเหตุขัดของใหนายก หรือเลขาธิการทราบ 6) ลมละลาย 7) ตองคำพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษจำคุก เวนแตความผิดเปนลหุโทษ หรือความผิดที่ไดกระทำโดย ประมาท 8) ถูกศาลสั่งใหเปนผูไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ 9) ที่ประชุมใหญมีมติใหถอดถอนดวยคะแนนเสียงสองในสามของสมาชิกที่ประชุม

50

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ขอ 19. กรณีที่กรรมการพนจากตำแหนงกรรมการกอนกำหนดออกตามวาระ คณะกรรมการอาจตั้งสมาชิกสามัญคนใดคนหนึ่งใหเปนกรรมการแทนไดจนครบวาระของผูที่ตนแทนนั้น กรณี คณะกรรมการพนจากตำแหนงทั้งคณะกอนครบกำหนดออกตามวาระ ใหคณะกรรมการซึ่งพนจากตำแหนงนั้นดำเนิน การจัดประชุมใหญ เพื่อเลือกตั้งกรรมการชุดใหม คณะกรรมการซึ่งไดรับการเลือกตั้งตามวรรคกอน อยูในตำแหนงได ตามวาระของคณะกรรมการซึ่งพนจากตำแหนงไป ขอ 20. คณะกรรมการบริหารมีอำนาจหนาที่ดังนี้ 1) บริหารกิจการใหเปนไปตามวัตถุประสงคและขอบังคับของสมาคม รวมทั้งมติของที่ประชุมใหญ 2) วางระเบียบตางๆ โดยไมขัดกับขอบังคับนี้ 3) แตงตั้งอนุกรรมการเพื่อดำเนินการอยางตอเนื่องอยางใดอยางหนึ่งของสมาคมที่เห็นสมควร 4) ชวยเหลือติดตอใหความสะดวกแกสมาชิกในการปฏิบตั หิ นาที่ และการใหสวัสดิการตามวัตถุประสงคของสมาคม 5) แตงตัง้ คณะกรรมการทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมการทีป่ รึกษา คณะกรรมการเฉพาะกิจ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่เรียกชื่ออยางอื่นตามความจำเปน เพื่อใหคำปรึกษาและเสนอนโยบายมาตรการ และแนวทางการ บริหารกิจกรรมใหเปนไปตามวัตถุประสงค รวมทั้งการแกปญหาตางๆ ใหบรรลุผลสำเร็จ ความเปนกรรมการดังกลาว ยอมสิ้นสุดลงเมื่อคณะกรรมการบริหารพนจากตำแหนง ขอ 21. คณะกรรมการบริหารแตละตำแหนงมีหนาที่ ดังนี้ 1) นายกสมาคม มีหนาที่อำนวยการบริหารกิจการของสมาคมใหเปนไปตามขอบังคับและวัตถุประสงคของ สมาคม เปนตัวแทนสมาคมในการติดตอกิจการงานกับองคการหรือบุคคลภายนอก เปนนายกการประชุมคณะกรรมการ บริหารและการประชุมใหญ รวมทั้งมีอำนาจหนาที่อื่นๆ ตามที่ระบุไวในขอบังคับนี้ 2) อุปนายก 1, 2, 3 ,มีหนาที่ชวยเหลือนายกสมาคมในกิจการทั้งปวง อันอยูในอำนาจหนาที่ของนายกสมาคม ทำหนาที่แทนนายกเมื่อไดรับมอบหมาย หรือเมื่อนายกไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได 3) เลขาธิการสมาคม มีหนาที่ตอบโตหนังสือ เก็บรักษาสรรพเอกสารและทรัพยสินตางๆ ของสมาคม เปน เลขานุการในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารและที่ประชุมใหญสามัญประจำป ติดตอกับสมาชิกและทำกิจการอยางอื่น ที่มิไดกำหนดไววาเปนหนาที่ของผูใดโดยเฉพาะ นอกจากนี้มีหนาที่ควบคุมดูแลจัดการกิจกรรมของสมาคม ควบคุม พนักงานเจาหนาที่ของสมาคม แตการรับบุคคลเขาทำงานหรือใหออกจากงาน เลขาธิการจะกระทำไดตอเมื่อไดรับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริหาร 4) เหรัญญิก มีหนาที่รับผิดชอบเรื่องการเงินและพัสดุของสมาคม ทำบัญชีการเงินและทะเบียนทรัพยสินตลอด จนเรียกเก็บเงินจากสมาชิกเมื่อถึงกำหนด ลงลายมือชื่อในเอกสารรับหรือจายเงินในกิจการของสมาคม เก็บรักษาและ จายพัสดุของสมาคม 5) ปฏิคม มีหนาที่ดูแลตอนรับและใหความสะดวกแกสมาชิกและผูมาเยี่ยมเยียนสมาคม จัดสถานที่ประชุม รับผิดชอบเรื่องการจัดเลี้ยงตามที่สมาคมกำหนดขึ้น และปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 6) ประชาสัมพันธ มีหนาทีเ่ ชิญชวนหาสมาชิก เผยแพรขา วสารเกีย่ วกับกิจการและผลงานดานตางๆ ของสมาคม สรางความเขาใจอันดีระหวางสมาชิกกับสมาคม และเสนอแนะแนวทางทีจ่ ะเสริมสรางความสัมพันธทด่ี ยี ง่ิ ขึน้ กับสมาชิก สมาคมและสาธารณชน 7) นายทะเบียน มีหนาที่เก็บรักษาทะเบียนสมาชิกของสมาคมใหตรงตามความเปนจริงและปจจุบันอยูเสมอ รวมทั้งปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

51


8) สวัสดิการ มีหนาที่ดูแลสวัสดิการของสมาชิก และปฏิบัติตามระเบียบวาดวยสวัสดิการของสมาคม 9) กรรมการกลาง มีหนาที่เขารวมประชุมแสดงความคิดเห็นในการประชุมของคณะกรรมการบริหารและชวย เหลือปฏิบัติงานตามที่นายกหรือที่ประชุมมอบหมาย รวมทั้งชวยเหลืองานตามความตองการและความจำเปนแหง กรณีตางๆ ขอ 22. การประชุมคณะกรรมการบริหาร การประชุมมี 2 ประเภท 1. การประชุมใหญสามัญประจำป 2. การประชุมวิสามัญสมาชิก การประชุมใหญสามัญประจำป หมายถึงการประชุมใหญ เพือ่ เลือกตัง้ คณะกรรมการและใหกระทำภาย ในเดือนมีนาคม ของทุกๆ ป การประชุมวิสามัญ หมายถึงการประชุมซึ่งคณะกรรมการหรือสมาชิกไมนอยกวา 2 ใน 5 ของสมาชิก ตามทะเบียนทำคำรอง ขอตอนายกสมาคมในกรณีทว่ี า นี้ ใหนายกสมาคมเรียกประชุมโดยดวน การประชุมใหญทกุ ครัง้ ตองมีสมาชิกเขารวมประชุมไมนอยกวา 1 ใน 4 จึงเปนองคประชุม ขอ 23. การบอกกลาวนัดประชุม ใหเลขาธิการแจงกำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบวาระการประชุม ใหคณะกรรมการบริหารทราบลวง หนาไมนอยกวา 7 วัน ยกเวนกรณีรีบดวน ขอ 24. องคประชุมในการประชุมของคณะกรรมการบริหาร การประชุมคณะกรรมการบริหารตองมีกรรมการรวมประชุมอยางนอยกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึง นับวาเปนองคประชุม กิจการอันพึงกระทำในการประชุมกรรมการ ไดแก กิจการอันเกีย่ วกับการปฏิบตั ภิ ารกิจทัว่ ไปของ สมาคม นอกเหนือจากกิจการที่จำเปนจะตองกระทำ โดยการประชุมใหญสามัญประจำป หรือการประชุมใหญวิสามัญ ขอ 25 มติของที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร ในการลงมติใดๆ ใหถอื เสียงขางมากเปนเกณฑ กรรมการคนหนึง่ มีเสียงหนึง่ เสียง หากมีเสียงเสมอกันใหนายก เปนผูชี้ขาด ในกรณีที่ที่ประชุมคณะกรรมการลงมติอันเปนการฝาฝนกฎหมายและหรือขอบังคับนี้ใหถือวามตินั้นใช บังคับได ขอ 26. นายกในที่ประชุม ใหนายกสมาคมเปนนายกในการประชุมคณะกรรมการบริหารและการประชุมใหญ ถานายกไมอยูหรือไมอาจ ปฏิบตั หิ นาทีไ่ ด ใหอปุ นายกผูอ าวุโสตามลำดับปฏิบตั หิ นาทีแ่ ทน ถาอุปนายไมอยูก ใ็ หเลขาธิการปฏิบตั หิ นาทีไ่ ด ถานายก สมาคม อุปนายกและเลขาธิการไมอยู หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหที่ประชุมเลือกกรรมการบริหารคนใดคนหนึ่งทำ หนาที่นายกการประชุมเฉพาะคราวนั้นๆ ขอ 27. ภายใตบังคับแหงความในหมวดนี้ ใหนำความในหมวดที่ 7 การประชุมใหญมาใชบังคับโดยอนุโลม

52

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


หมวดที่ 7

การประชุมใหญ ขอ 28. การประชุมใหญ ใหคณะกรรมการจัดใหมีการประชุมใหญสมาชิกอยางนอยปละครั้ง การประชุมเชนนี้เรียกวาการประชุมสามัญ เพื่อคณะกรรมการบริหารจะไดแถลงกิจการที่ไดดำเนินการมาในรอบปใหสมาชิกทราบ หรือเพื่อเลือกตั้งนายกสมาคม คนใหม ถาถึงวาระการประชุมใหญคราวอื่นนอกจากประชุมใหญตามวรรคกอน เรียกวาประชุมใหญวิสามัญ ขอ 29. การบอกกลาวนัดประชุม คณะกรรมการจะตองสงหนังสือบอกกลาวการประชุมใหญไปใหสมาชิกทราบ โดยสงทางไปรษณียลงทะเบียน ณ ทีอ่ ยูข องสมาชิกตามทีป่ รากฏอยูใ นทะเบียน หรือสงใหถงึ ตัวสมาชิกกอนวันประชุมใหญไมนอ ยกวา 14 วัน ในหนังสือ บอกกลาวใหระบุวัน เวลา สถานที่ และระเบียบวาระการประชุมอยางชัดเจนดวย ขอ 30. นายกในที่ประชุม ในการประชุมใหญ ใหนายกคณะกรรมการเปนนายกที่ประชุม ถานายกไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหรอง นายกผูอาวุโสตามลำดับปฏิบัติหนาที่แทน ถารองนายกไมอยูก็ใหเลขาธิการปฏิบัติหนาที่แทน ถาทั้งนายกสมาคม รองนายก และเลขาธิการไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหคณะกรรมการเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งที่มาประชุม ทำหนาที่นายกการประชุมเฉพาะคราวนั้น ขอ 31. กิจการอันตองกระทำในที่ประชุมใหญสามัญประจำปมีดังนี้ 1) รับรองรายงานการประชุมใหญคราวกอน 2) คณะกรรมการรายงานกิจการที่ไดกระทำในรอบปที่ผานมา 3) พิจารณางบดุล 4) แตงตั้งผูตรวจสอบบัญชี และกำหนดเงินคาปวยการ 5) ขอเสนอแนะของคณะกรรมการ (ถามี) 6) ขอเสนอแนะสมาชิก(ถามี) 7) เลือกตั้งคณะกรรมการตามขอ 20 เฉพาะในปที่กำหนดใหมีการเลือกตั้ง 8) เรื่องอื่นๆ (ถามี) ขอ 32. การจัดทำรายงานการประชุม รายงานการประชุมคณะกรรมการ การประชุมใหญ การประชุมสมาชิกอื่นๆ และการประชุมอนุกรรมการหรือ คณะทำงานที่เรียกชื่อเปนอยางอื่น ใหจดบันทึกไวทุกครั้ง และตองเสนอตอที่ประชุม เพื่อรับรองในคราวที่มีการประชุม ครัง้ ตอไป รายงานการประชุมทีผ่ า นการรับรองแลวจะตองจัดสงใหเลขาธิการสมาคมจัดเก็บรวบรวมไวเพือ่ สมาชิกผูส นใจ จะขอดูไดในวันเวลาทำการ นายพรศักดิ์ พงศาปาน นายกสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยคนแรก 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

53


หมวดที่ 8

การเงิน เงินทุนพิเศษ และการบัญชี ขอ 33. วันสิ้นสุดปทางบัญชี ใหถือเอาวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปเปนวันสิ้นสุดปทางบัญชีของสมาคม ขอ 34. การจัดงบดุล ใหคณะกรรมการบริหารจัดทำงบดุลปละหนึ่งครั้ง แลวสงใหผูตรวจสอบบัญชีอยางชาในวันที่ 15 มกราคมของ ทุกๆ ป ใหผูตรวจสอบบัญชีทำการตรวจสอบใหแลวเสร็จภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ หรือกอนวันประชุมใหญสามัญ ประจำปไมนอยกวาสามสิบวัน คณะกรรมการตองดำเนินการเสนองบดุลซึ่งผูตรวจสอบบัญชีไดรับรองแลวตอที่ประชุม ใหญสามัญ เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปทางบัญชีในการเสนองบดุล ใหคณะกรรมการ เสนอรายงานประจำปแสดงผลการดำเนินงานของสมาคมเสนอตอที่ประชุมใหญดวย ใหคณะกรรมการนำสงสำเนา งบดุล กับหนังสือบอกกลาวนัดประชุมใหญสามัญ และรายงานประจำปไปยังสมาชิกกอนประชุมใหญอยางนอย 14 วัน ขอ 35. อำนาจของผูตรวจสอบบัญชี ใหผูตรวจสอบบัญชีมีอำนาจเขาตรวจสอบบัญชีและเอกสารตางๆ เกี่ยวกับการเงินของสมาคมและใหมีสิทธิ สอบถามกรรมการและเจาหนาที่ของสมาคมทุกคน ที่มีสวนเกี่ยวของกับบัญชีและเอกสารนั้นๆ ในการนี้กรรมการและ เจาหนาที่จะตองชวยเหลือและใหความสะดวกทุกประการ เพื่อการตรวจสอบเชนวานั้น ขอ 36. ใหที่ประชุมใหญเปนผูแตงตั้งผูตรวจสอบบัญชี และใหผูตรวจสอบบัญชีอยูในตำแหนงคราวละ 1 ป ขอ 37. การเก็บรักษาสมุดบัญชีและเอกสารการเงิน สมุดบัญชีและเอกสารการเงินจะตองเก็บรักษาไว ณ สำนักงานของสมาคม และใหอยูในความดูแลรับผิดชอบ ของเหรัญญิก ขอ 38. การเงินของสมาคม เงินสดของสมาคมจะตองนำฝากไว ณ ธนาคารพาณิชยแหงใดแหงหนึ่งหรือสถาบันการเงินที่มีธนาคารพาณิชย เปนผูถือหุน ซึ่งตั้งอยูในเขตทองที่จังหวัดที่สมาคมตั้งอยู ในนามของสมาคมโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ หรือ คณะกรรมการ ใหมีเงินทดรองจายเกี่ยวกับกิจการของสมาคมในวงเงินไมเกิน 5,000 บาท (หาพันบาทถวน) ในการนี้ เหรัญญิกเปนผูรับผิดชอบและเก็บเงินรักษาตัวเงิน วงเงินทดรองจายอาจจะเปลี่ยนแปลงเพื่อความเหมาะสมแลวแต คณะกรรมการ การฝากและถอนเงินจากธนาคาร ใหนายกสมาคมหรือรองนายก หรือเลขาธิการหรือเหรัญญิกลงนาม รวมกันไมนอยกวา 2 คน

54

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ขอ 39. การจายเงินของสมาคม ใหนายกสมาคมมีอำนาจสั่งจายเงินเกี่ยวกับกิจการของสมาคมไดครั้งละไมเกิน 3,000 บาท (สามพันบาทถวน) ในการจายเงินครัง้ ละเกินกวา 3,000 บาท (สามพันบาทถวน) ใหกระทำโดยมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการ จำนวนเงินสามารถ เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม โดยการอนุมัติของคณะกรรมการ ในกรณีเรงดวนหรือเพื่อประโยชนของสมาคม ใหนายกมีอำนาจสัง่ จายเงิน 3,000 บาทไปกอนได แลวเสนอขอความเห็นชอบตอคณะกรรมการในการประชุมคราวถัดไป การจายเงินทุกครั้งจะตองมีหลักฐานเปนเอกสารโดยมีลายมือชื่ออนุมัติของนายกสมาคม หรือผูรักษาการแทน ให เหรัญญิกทำบัญชีแสดงฐานะการเงินประจำเดือนเสนอตอคณะกรรมการบริหารทุกเดือน ขอ 40. เงินทุนและเงินทุนพิเศษ เงินคาบำรุงสมาคม ทีเ่ ก็บจากสมาชิกสามัญและสมาชิกวิสามัญ ถือเปนเงินทุนสมาคมทีต่ อ งนำเขาบัญชีเงินฝาก ธนาคารพาณิชยแหงใดแหงหนึ่งในเขตทองที่จังหวัดสมาคมตั้งอยู และสามารถนำเพียงดอกผลมาใชไดเทานั้น สมาคม อาจหาเงินทุนพิเศษเพือ่ มาดำเนินกิจการและสงเสริมความกาวหนาของสมาคมได โดยการเชิญบุคคลภายนอกและสมาชิก รวมกันบริจาค หรือกระทำการอื่นใดตามที่คณะกรรมการเห็นสมควรและไมขัดตอกฎหมาย รวมทั้งไมมีผลทำใหการ ปฏิบัติหนาที่ของสมาคม และหรือของสื่อมวลชนเกษตรขาดความถูกตองเที่ยงธรรม

หมวดที่ 9 การแกไขขอบังคับ การเลิกสมาคม และการชำระบัญชี ขอ 41. การแกไขเปลี่ยนแปลง ตัดทอน หรือเพิ่มเติมขอบังคับจะกระทำไดก็แตโดยคณะกรรมการเปนผูเสนอหรือสมาชิกลงมติรวมกันไมต่ำกวาหนึ่งใน หาของจำนวนสมาชิกสามัญทั้งหมดเสนอญัตติขอแกไขเพิ่มเติมและที่ประชุมใหญมีมติใหแกไขเพิ่มเติมไดดวยคะแนน เสียงไมต่ำกวาครึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุมการเสนอขอแกไขขอบังคับไมวาจะมาจากฝายใด ใหเสนอราย ละเอียดการขอเปลี่ยนแปลงมาเปนลายลักษณอักษร ผานกรรมการบริหารเพื่อพิจารณาอนุมัติเสียชั้นหนึ่งกอนแลวจึงนำ เขาที่ประชุมใหญ โดยใหคณะกรรมการแจงใหสมาชิกทราบลวงหนาเปนลายลักษณอักษรพรอมกับหนังสือนัดประชุม กอนวันประชุมอยางนอย 14 วัน ขอ 42. การเลิกสมาคม สมาคมนี้ตั้งขึ้นโดยไมมีกำหนดเวลา 1) ที่ประชุมใหญมีมติใหเลิกดวยคะแนนเสียงเกิน 3 ใน 4 ของสมาชิกที่มาประชุม 2) ถูกทางราชการสั่งใหเลิก ขอ 43. หากสมาคมจะตองเลิกเพราะเหตุใดก็ตาม ใหที่ประชุมคราวนั้นลงมติเลือกตั้งกำหนดตัวผูชำระบัญชีดวยและ ใหคณะกรรมการชุดสุดทายเปนผูทำการ ชำระบัญชี เมื่อชำระบัญชีแลวจะมีทรัพยเหลืออยูเทาใดก็ตาม ใหโอนแกมูลนิธิมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ตามมติที่ ประชุมใหญ

สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

55




อีกกาวหนึ่งของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ที่มีสวนรวมในการพัฒนาขับเคลื่อน ภาคการเกษตรไทยใหไปในทิศทางทันโลกในยุค ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่กำลังจะเขามา มีบทบาทสำคัญตอพี่นองเกษตรกร หากนับถอยหลังจะเหลือเวลาอีกไมนานนัก และใกลตัวเขามาทุกขณะ กระบอกเสียงของพวกเราทุกๆสื่อจะเปนการเติมเต็มดานปญญาความรูทันตอโลกแหงการแขงขันดานการ เกษตรในภาพรวมโดยตรง รวมทั้งพัฒนาเศรษฐกิจรากหญา ไปสูรากแกวที่มั่นคงใหได เนื่องในโอกาสงานครบรอบ 15 ปของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ผมขอแสดงความ ยินดีที่สมาคมฯสามารถยืนหยัดยึดมั่นอุดมการณอันสูงสงกระทั่งบรรลุตามวัตถุประสงค สามารถเผยแพร ขาวสารและกิจกรรมอันเปนประโยชนตางๆสูสาธารณชนสูพี่นองเกษตรกรโดยตรง แบบอยางและแนวทาง ที่คณะกรรมการสมาคมฯรุนบุกเบิกขับเคลื่อนไวอนุชนรุนหลังจะไดสืบสานตามเจตนารมณตอไป ผมในนามอุปนายกสมาคมฯรูสึกปติยินดีเปนอยางยิ่งที่คณะกรรมการทุกๆ ยุคสมัยรวมแรงรวมใจ กันนำพาใหสมาคมฯมีศักยภาพที่แข็งแกรงขึ้นเปนที่รูจักอยางกวางขวาง สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆ เปนไปไดอยางคลองตัวตามวัตถุประสงค ดวยจิตคารวะ อภิชาติ ศรีสอาด อุปนายกสมาคมฯ นิตยสารไมลองไมรู


แมจะอยูในแวดวงคนทำขาวหนังสือพิมพมาเกือบ 3 ทศวรรษ แตสำหรับสังคมคนขาวเกษตร ถือไดวาเปนนองใหมในวงการ ที่ไดมีโอกาสรวมงานกับเพื่อนพองนองพี่ ทั้งในฐานะนักขาวเทาเปอนโคลน และกรรมการบริหารสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ดวยการขอรองแกมบังคับของ นายกฯ ดลมนัส กาเจ ถึงจะเปนงานใหมทไ่ี มคอ ยคุน เคย แตเมือ่ เหยียบยางเขามาในวงการ ดวยการตอนรับทีอ่ บอุน ทำให ไมรูสึกเลยวาเปนการเปลี่ยนภาระกิจงานใหม เพราะมุมมองของนักขาวก็คงเปนนักขาวอยู เหมือนเดิมจะ มีตา งกันเพียงแต จากอดีตทีเ่ คยทำงานมองภาพในมุมกวาง แบบมหภาคองครวมเปลีย่ นมาเปนมองแบบโฟกัส เฉพาะจุด ระดับจุลภาค เจาะลึกในรายละเอียดทีแ่ คบลงเทานัน้ เอง คนขาวคงยังเปนคนขาวอยูเ หมือนเดิม มิเปลีย่ นแปลง 15 ปรวมพลคนเกษตร…15 ปสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย คงจะเปนยางกาวสำคัญ ของการทำหนาที่สื่อ เปนกระบอกเสียงใหแกเกษตรกร หนวยงานราชการ และภาคเอกชนในธุรกิจเกี่ยว เนือ่ งเกษตร จะไดเขาใจซึง่ กันและกัน มองปญหาไปในทิศทางเดียวกัน และเดินไปดวยกัน เพือ่ ความมัน่ คง ของอาชีพเกษตรไทย ผูป อ นอาหารใหครัวโลก ทีต่ อ งปรับตัวใหเขากับกระแสพลวัตของสังคมโลก.

ชาติชาย ศิรพิ ฒั น อุปนายกสมาคมฯ หนังสือพิมพไทยรัฐ


15 ปแลวที่ไดเขารวมเปนสามชิกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ตั้งแตสมัยเปนชมรม สือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ทีม่ ี ดร.ไตรรัตน สุนทรประภัสร จาก หนังสือพิมพเดลินวิ ส เปนประธาน ชมรมฯ คนแรก จนถึงปจจุบันไดรับการจดทะเบียนเปนสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยอยาง เปนทางการ เมือ่ 7 ปทผ่ี า นมา และมี คุณดลมนัส กาเจ จากหนังสือพิมพ คม ชัด ลึก เปนนายกสมาคมฯ คนปจจุบัน ผมเห็นพัฒนาการของสมาคมฯ มาอยางตอเนื่อง นับวาเปนองคกรสื่อมวลชนเล็กๆ ที่มีกิจกรรม บริการสาธารณะทางดานขอมูลขาวสารดานการเกษตรและยังมีกิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนแวดวงการ เกษตรหลายดานไมวาจะเปนกิจกรรมเกษตรทัศนะศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ กิจกรรมฝกอบรม อาชีพ สัมมนาเชิงวิชาการและเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมถายทอดเทคนิคการเขียนขาวประชาสัมพันธใหกับ องคกรของภาครัฐและเอกชน รวมถึงกิจกรรมมอบทุนการศึกษาใหกับบุตร-ธิดา สมาชิกของสมาคมฯและ กิจกรรมอื่นๆ อีกมากมายที่ลวนแตเปนกิจกรรมเชิงสรางสรรค บริการสังคม เพื่อสมาชิกและเพื่อวงการ เกษตรไทย จึงเปนความภาคภูมิใจที่ไดเปนสวนหนึ่งของสมาคมฯ แมวาสื่อมวลชนสายเกษตรจะเปนองคกร สื่อมวลชนเล็กๆ แตไดทำกิจกรรมที่เปนประโยชนตอวงการไดอยางมากมายเกินตัว ตลอดระยะเวลาที่รวมเปนคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ มาตั้งแตมีประธานชมรมฯ 3 สมัย นายกสมาคมฯ 5 สมัยในปจจุบัน มันทำใหเวลาที่ใชไปไมสูญเปลา แตกลับเพิ่มพลังใหไดเดินหนาเพื่อ พัฒนาองคกร พัฒนาสังคมและพัฒนาวงการเกษตรอยางยั่งยืน ตลอดไป เหนือสิ่งอื่นใดคือเจตนาที่จะเปนฟนเฟองเล็กๆ รวมกับหลายๆฟนเฟองที่จะชวยเพิ่มพลังการขับ เคลือ่ นกิจกรรมของสมาคมฯ ใหกา วไปสูจ ดุ หมายเพือ่ คนขาวเกษตร เพือ่ สังคมและเพือ่ การเกษตรกรไทย… ดวยจิตคารวะ มนตรี ตรีชารี อุปนายกสมาคมฯ บรรณาธิการบริหารนิตยสรเกษตรโฟกัส/นิตยสารชุมทางอาชีพ


การเขามาเปนสวนหนึง่ ของสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ทัง้ ในฐานะทีป่ รึกษาสมาคมฯ และตอเนื่องมาถึงการไดรับความไววางใจใหทำหนาที่เลขาธิการสมาคมฯ นับจากยุคที่คุณสาโรช บุญแสง เปนนายกสมาคมฯ และมาถึงนายกสมาคมฯ คนปจจุบนั คือคุณดลมนัส กาเจ ถือเปนความภาคภูมิใจที่ไดรวมขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆ ที่เปนประโยชนตอพี่นองเกษตรกรและ ภาคการเกษตรทีเ่ ปนรากฐานสำคัญของประเทศและภาคภูมใิ จในความเปนสือ่ มวลชนทีไ่ มไดเพียงทำหนาที่ เสนอขอมูลขาวสารเทานัน้ แตการไดทำหนาทีต่ า งๆ ในสมาคมฯ ทำใหเราไดทำอะไรทีม่ ากกกวาสือ่ มวลชน โดยไมคำนึงถึงผลประโยชนและเวลาสวนตัวทีห่ ายไป สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทยจึงเปนทีท่ ำงานอีกแหงหนึง่ ของการทำงานสือ่ มวลชนทีม่ า เติมเต็มบางอยางในชีวติ ใหมคี วามเปนมนุษยทส่ี มบูรณมากยิง่ ขึน้ ดวยจิตคารวะ

สุวรรณา บุญกล่ำ เลขาธิการ สถานีโทรทัศน TNN24


ในฐานะนองใหม ที่เพิ่ง จะมีโอกาสเขามาทำงานในสายสื่อมวลชนเกษตร กอนอื่นตองบอกกอน เลยวา รูส กึ ดีใจและเปนเกียรติอยางมาก ทีไ่ ดเขามาเปนสวนหนึง่ ของสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย และตองขอขอบคุณคุณดลมนัส กาเจ นายกสมาคมฯ แมวาจะเปนชวงระยะเวลาไมนานแตก็รับรูไดถึง ความตัง้ ใจของกรรมการและสมาชิกทุกทาน ทีช่ ว ยกันผสานคนขาวเกษตร ใหเปนเอกภาพตามเจตนารมณ ของผูก อ ตัง้ ไมเพียงแตเปนการรวมพลพรรคพีน่ อ งในวงการ แตกจิ กรรมตางๆ ทีจ่ ดั ขึน้ ไมวา จะเปนงานสัมมนา หรือทริปเกษตร ลวนแลวแตเปนการแสดงออกถึงศักยภาพของคนขาวเกษตร ไมใชแคในฐานะสื่อมวลชน เทานั้น แตเปนผูที่มีบทบาทสำคัญในการขอมูลและความรูดานการเกษตรที่ถูกตองแกคนในสังคมอีกดวย ก็ถือวาเปนอีกบทบาทสำคัญ ที่คนขาวเกษตรจะสามารถทำใหสังคมเดินไปในทางที่พัฒนาได และเชื่อวา กาวตอไปในปที่ 16 ของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย จะเขมแข็งและอบอุนไปดวยพี่นองใน วงการมากยิง่ ขึน้ และยินดีทจ่ี ะใหความรวมมือกับสมาคมในการเผยแพรขา วสารทีเ่ ปนประโยชนตอ สาธารณะชน ตอไป

จิราพร มวงงาม รองเลขาธิการ โปรดิวเซอรเกษตรฮอตนิวส รายการเรื่องเดนเย็นนี้ สถานีโทรทัศนไทยทีวีสีชอง 3


ในโอกาสของการจัดงาน ครบรอบ 15 ป รวมพลคนขาวเกษตร ของสมาคมสื่อมวลชนเกษตร แหงประเทศไทย ในครั้งนี้ ดิฉันขอแสดงความยินดีและชื่นชมอยางยิ่ง กับสมาคมฯ ที่สามารถผลักดัน ใหเกิดกิจกรรมที่เปนประโยชนอยางมากกับสมาชิกที่เปนสื่อมวลชนดานการเกษตรทุกคนรวมถึงประโยชน ที่เกิดแกเกษตรกรทุกระดับในประเทศไทย ปจจุบันการประกอบอาชีพดานการเกษตร มีความยากลำบากมากขึ้น เนื่องจากมีทั้งปจจัยภาย นอกและปจจัยภายใน เขามาเกี่ยวของจำนวนมาก จึงทำใหเกษตรกรเกิดความสับสน ตองการผูชวยที่จะ มาใหขอ มูลขาวสาร และประสานงานระหวางองคกร ซึง่ คนทีท่ ำหนาทีน่ ไ้ี ดดที ส่ี ดุ นัน่ ก็คอื สมาชิกของสมาคม สื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยนั่นเอง ดังนัน้ สือ่ มวลชนสายเกษตรทุกทาน เปนผูท ม่ี คี วามสำคัญ และมีบทบาทในการชวยเหลือเกษตรกร ไดเปนอยางดี สื่อมวลชนสายเกษตรทุกคนจงภูมิใจในสิ่งที่ตัวเองไดกระทำ เพราะนอกจากจะทำหนาที่ เสมือนปดทองหลังพระแลว ยังไดสรางคน สรางบุคลากรรุนใหมๆ อีกมากมาย ขึ้นมาเปนกำลังสำคัญ ใหกบั วงการเกษตรของไทยไดอกี ดวย การใหความรู ขอมูล ขาวสาร การสงเสริมนิสติ นักศึกษา ใหตอ ยอด การเปนเกษตรกรในอนาคต เปนการสรางประโยชนใหกับวงการเกษตรของประเทศไทยอยางแทจริง ดิฉันรูสึกภูมิใจ ที่ไดเขามาเปนสวนหนึ่งของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ไดเขามา ทำหนาทีด่ แู ลบรรดาสือ่ มวลชนทีเ่ ปนสมาชิกของสมาคมฯ ดวยกัน และดูแลการจัดกิจกรรมดานการเกษตร ตางๆ ของสมาคมฯ รวมถึงเปนตัวแทนที่จะพิจารณาเสนอแนวความคิดใหกับวงการสัตวน้ำ โดยเฉพาะ วงการกุง ของไทย ซึง่ เปนอุตสาหกรรมทีท่ ำรายไดเขาประเทศนับแสนลานบาทตอป ดิฉนั จะมุง มัน่ ทำหนาที่ ของตนเองใหดีที่สุด เพื่อสมาคมฯ และเพื่อเกษตรกรทุกคนของประเทศนี้ ขอใหการจัดงานในครั้งนี้ประสบสัมฤทธิ์ผลตามความมุงหวัง ทั้งขอใหกิจการ และกิจกรรมอันใด ของบรรดาสมาชิกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย มีแตความสำเร็จและความเจริญรุงเรือง กาวหนาตลอดไป น.ส. พลอยปภัส วิริยะธาดาศักดิ์ เหรัญญิก หนังสือพิมพ กุงไทย


ดวยสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ไดเดินทางและดำรงตนในวิถีของคนขาวเกษตร มาครบ 15 ปเต็ม ในป 2557 นี้ หากเปนเวลาของคนเรา ก็กำลังอยูในชวงของการเติบใหญ และเปนวัย กำลังแสวงหาสิ่งตาง ๆ ที่ผานเขามาในชีวิต หากเปนหญิงก็อยูใ นวัยสะพรัง่ เมือ่ เปนชายก็กำลังกาวเขาสูค วามเปนหนุม เพือ่ เปนกำลังของสังคม ในวันขางหนา และอยูในชวงเก็บเกี่ยวประสบการณเพื่อดำรงตน ในฐานะคนขาวอยางมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี เต็มไปดวยถอยคำและน้ำหมึกเพื่อจรจารสูหมูมวลมิตรที่เปนทั้งผูอาน ผูชม และมิตรสหายรวมวิชาชีพ เดียวกัน 15 ป เปนเวลามากพอที่จะรวมตัว ตั้งหลัก วางรากฐาน เพื่อกอเกิดสิ่งใหมในอนาคต แต 15 ป ก็ยังเปนเวลาที่นอยนิดในมิติของผูใหที่มีตอสังคมและวงการเกษตร แตทั้งหมดก็หวังวาสังคมไทยใน ปจจุบนั และอนาคตจะมีองคความรูด า นเกษตรทีย่ ง่ั ยืนและเขาถึงแกนแทของเกษตรกรรม ทีบ่ รรพบุรษุ ของ แผนดินนี้ไดแผวถางความรกทึบแหงปญญา และทำใหเห็นมาแลววา วิถีเกษตร คือแกนแทของสังคมไทย ที่เต็มไปดวยความงาม ความเรียบงาย และความอยูรอด ฉะนั้นปณิธานอันแนวแน ในฐานะคนทำงานในปจจุบัน ก็พรอมที่จะเปนสวนหนึ่งของพลังเล็กๆ ในนามสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ไดกาวเดินไปบนเสนทางสายนี้ บนทางแหงเกษตรกรรม ที่ยั่งยืน มีความสุข และหลอเลี้ยงลูกหลานไทย จากรุนสูรุน สืบไป

อัมพร สิทธิผา นายทะเบียน สถานีโทรทัศน TNN24


ในวันแรกทีไ่ ดรบั ทาบทามจากนายกสมาคมฯ ใหรบั ตำแหนงประชาสัมพันธฯ ผมยังลังเลแบงรับ แบงสู เพราะกังวลวาอาจจะไมมเี วลาในการทุม เทใหกบั งานสมาคมฯ เนือ่ งจากภารกิจที่ บมจ.อสมท ทีส่ งั กัด อยู รัดตัวเอามากๆ เพราะทำหลายหนาทีเ่ หลือเกิน ทัง้ งานบริหาร งานจัดรายการวิทยุ การประสานงาน กับภายนอก และการดูแลครอบครัว แตทา นนายกสมาคมฯ ก็ปลอบใจวาไมเปนไร เราชวยกันเปนทีมเวิรค จึงตัดสินใจรับหนาทีน่ ้ี ผมจัดรายการเกษตรเพื่อคนเมืองที่สถานีวิทยุ FM 100.5 MHz ของ บมจ.อสมท ชื่อรายการวา "ติดดินกินได" กับทิดบวน บางปลามา หรือ ผศ.อดิศกั ดิ์ บวนกียาพันธ ศิษยเกามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มารวม 5 ป ทำใหไดซมึ ซับอาชีพเกษตรอยางตอเนือ่ ง ทัง้ ๆ ทีต่ วั เองก็เปนลูกเกษตรกร แตพอ แมกลับไมได สงเสริมใหลกู ๆ ไดยดึ อาชีพนีต้ อ จากบรรพบุรษุ เพราะคิดวาตองใชแรงงาน รายไดนอ ย ซึง่ ผมลองหันกลับ ไปดูเพือ่ นๆ สมัยเรียนทีย่ ดึ อาชีพเกษตร ขายแรงงาน เขาไมไดมฐี านะดีขน้ึ เลยจริงๆ ตรงขามกับเพือ่ น บางคนทีเ่ ปนพอคาคนกลางรับซือ้ พืชผลเกษตรเขามีฐานะดีขน้ึ ตามลำดับ หรือ บางคนทีข่ ายสิง่ ของเกีย่ วกับ เกษตรก็มฐี านะดี นัน่ แสดงวาอาชีพเกษตรยังสามารถทำรายไดดี อยูท ว่ี า จะเลือกทำในมิตไิ หน บทบาทของสือ่ มวลชนดานเกษตรในบานเรา ถูกรวมตัวกันเปนสมาคมฯ มาได 15 ป ถือวาแข็งแกรง มาก ขาวสารตางๆ ทีเ่ ผยแพรออกไปใหเปนความรูแ กผอู า น ผูช ม ผมเชือ่ วาไดสรางคุณประโยชนอยางมาก มายมหาศาลใหกบั คนทีท่ ำอาชีพเกษตร หรือผูท ช่ี น่ื ชอบดานนี้ ทีส่ ำคัญไดสรางสัมมาปญญาใหเกิดขึน้ เพือ่ ใหรเู ทาทันผูท ค่ี ดิ เอาแตประโยชน โดยไมคดิ ถึงอันตราย หรือ ผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับวงการเกษตรในบานเรา การเปดประชาคมอาเซีย่ นในปลายป 2558 สินคาเกษตรจะมีการแขงขันดานตนทุนมากขึน้ แตความ ไดเปรียบของประเทศไทยในหลายๆ ชนิดของผลิตผล โดยเฉพาะผลไม ยังถือวาเปนจุดแข็ง ดวยสภาพดิน ฟาอากาศทีเ่ อือ้ อำนวยดวยทะเลรอบดาน ทำใหมรี สชาดดี มีชอ่ื เสียงมานาน แมหลายประเทศจะพยายาม แขงขันเพือ่ ชิงตลาด แตกส็ เู ราไมได สิง่ เดียวทีส่ ำคัญเราจะตองรักษาใหได คือ คุณภาพ นีค่ อื ภารกิจอันยิง่ ใหญและนาภาคภูมใิ จของสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ทีจ่ ะชวยสราง อาชีพเกษตรในบานเราใหมน่ั คง แข็งแรง ในการเปดประชาคมอาเซีย่ น ตางคนตางทำคงไมไดแลว สมาคมฯ พรอมทีจ่ ะนำเสนอขอมูลทางวิชาการทีเ่ ปนประโยชน พรอมทีจ่ ะเชือ่ มองคความรูต า งๆ เขาดวยกัน พรอมที่ จะเผยแพรประชาสัมพันธผา นทุกๆ สือ่ ถวัลย ไชยรัตน ประชาสัมพันธ สถานีวทิ ยุ อสมท.


ปนี้ถือเปนปแรกที่ไดเขามาเปนสวนหนึ่งของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ในฐานะ รองประชาสัมพันธ ในยุคสมัยที่คุณดลมนัส กาเจ เปนนายกสมาคมฯ นับเปนเกียรติและเปนความภาคภูมิใจอยางยิ่งที่ไดรวมขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆ ของทางสมาคมฯ รวมถึงมีสวนรวมในการประชาสัมพันธกิจกรรมที่เปนประโยชนออกไปสูสาธารณชน โดยเฉพาะอยางยิ่ง พี่นองเกษตรกรไทย นอกจากนี้ ยังไดเรียนรูประสบการณใหมๆ จากการทำงานรวมกับกรรมการทุกทาน ซึ่งถือวาเปนสื่อมวลชนรุนพี่ผูมากประสบการณ และคร่ำหวอดอยูในวงการเกษตรมาอยางยาวนาน สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยจึงเปรียบเสมือนเปนโรงเรียนแหงหนึ่ง ที่ไมมีหลักสูตร ตายตัว แตสามารถเขามาเรียนรูไดอยางไมรูจบ

ดวยจิตคารวะ อมรรัตน ไกรเดช รองประชาสัมพันธ หนังสือพิมพแนวหนา


จากที่ไดเขามาคลุกคลีในวงการขาวกวา 10 ป แมจะเพิ่งกาวเขาในในวงการขาวเกษตรได 5-6 ป แตกต็ อ งยอมรับวา พีน่ อ งผูส อ่ื ขาว แหลงขาว ผูห ลักผูใ หญหลายทาน รวมถึงสวนทีเ่ กีย่ วของกับวงการเกษตร บานเรา ตางลวนมีใจทุม เทใหกบั การเกษตรอยางเปย มลน โดยเฉพาะเพือ่ นพีน่ อ งผูส อ่ื ขาวสายเกษตรดวยกัน ทุกคนตางมีนำ้ ใจ เอือ้ เฟอ เผือ่ แผ เรียกไดวา “ลุยไหน ลุยกัน” ตางจากผูสื่อขาวสายอื่นที่ผมเคยทำ ที่มักไมคอยมีใหเห็นนัก ซึ่งผมคิดวาผูสื่อขาวสายเกษตรนี้ “นาจะเปนผูส อ่ื ขาวสายเดียวทีก่ นิ งาย นอนงาย ค่ำไหนนอนนัน่ โดยทีไ่ มคอ ยปริปากบน” และในโอกาสกาวเขาสูป ท ่ี 16 ป ของการกอตัง้ ชมรมผูส อ่ื ขาวเกษตรฯ จนยกระดับขึน้ มาเปนสมาคม ในป 2557 นี้ ผมในฐานะทีเ่ ปนหนึง่ ในคณะกรรมการมาเปนสมัยที่ 2 หวังเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะไดเห็นความรวมแรง รวมใจของพีน่ อ งสือ่ มวลชน ในการรวมการนำเสนอขาวอันเปนสาระ แกพน่ี อ งเกษตรกรไทย อันเสมือนกระดูก สันหลังของชาติสบื ตอไป ทัง้ นี้ หากทีแ่ ลวมา สมาคมฯ สมาชิก รวมถึงเจาหนาที่ และคณะกรรมการทุกคน หากไดเคยมีการ กระทบกระทัง่ ทำผิด หรือขัดใจสวนทีเ่ กีย่ วของในการเกษตรบาง ก็ขอใหเขาใจวา “นีค่ อื หนาที่ คือวิชาชีพ ของสื่อมวลชน” หากผิดพลั้งหรือขัดอกขัดใจทานใดไปบางก็ตองขออภัยมา ณ ที่นี่ และขอใหปตอๆ ไป คือปแหงการคืนความสุขใหแกทา นทัง้ หลายตอไป จึงประกาศมาเพือ่ ทราบโดยทัว่ กัน กรวัฒน วีนลิ สาราณียกร หนังสือพิมพ พิมพไทย


สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย อีกความหวังของเกษตรกรไทย

เกษตรกรไทย อาชีพหลังสูฟาหนาสูดิน ผานมาหลายชั่วอายุคน แตเกษตรกรไทยก็ยังคงจนกรอบ ไสแหงติดกระดูกสันหลัง แถมดวยหนีส้ นิ ลนพนตัว ขาวการผูกคอตายของชาวนาบางคน ทำเอาผมน้ำตาซึม เกิดคำถามขึ้นในใจวา ทำไมชีวิตชาวนาไทยมันถึงไดรันทดเชนนี้ แลวจะมีใครที่จะยื่นมือมาชวยเยียวยา ชีวิตพวกเขาได!? เมื่อเพื่อนรวมอาชีพรวมตัวกันกอตั้งเปน ‘สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย’ ไดสำเร็จ ผมจึงมีความหวังอยูเ สมอวา กลุม เพือ่ นรวมอาชีพของเรานีแ่ หละ นาจะเปนอีกความหวังหนึง่ ของเกษตรกรไทย ไดบาง ไมมากก็นอย แมผมจะมีโอกาสเพียงนอยนิดที่จะมีสวนชวยผลักดันใหความหวังนั้นเปนจริง แตก็ รูส กึ ภาคภูมใิ จทีไ่ ดมสี ว นชวยใหเกิดแสงสวางทีป่ ลายอุโมงคอนั มืดมิดนัน้ ได แมเพียงนอยนิดแตกท็ ำใหรสู กึ อิ่มเอม วันนี้ ‘สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย’ กอตั้งมาจนไดนายกสมาคมฯมาแลวถึง 5 ทาน แตละทานก็ลว นมีวสิ ยั ทัศนและผลงานทีฝ่ ากเอาไวมากมาย และยังคงเปนอีกหนึง่ ความหวังใหเกษตรกรไทย ไดรูสึกอุนใจและมีกำลังใจดำรงชีวิตอยูบนโลกอันโหดรายนี้ไดอีกวันหนึ่ง แมเราจะเปนเพียงเฟองตัวเล็กๆ ในเครือ่ งจักรกลทีจ่ ะขับเคลือ่ นชักนำชีวติ เกษตรกรไทยใหมคี ณุ ภาพ ที่ดีขึ้น แตเรา ‘สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย’ และสมาชิกเพื่อนรวมอาชีพทุกคนก็พรอมที่ จะรวมพลังสรางงาน ใหความรู และรวมพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทยทุกคนใหกาวเดินไปบนหน ทางที่ดีขึ้นพรอมกันครับ ชรินทร นิลพงษ (กลิ้ง แมกลอง) ปฏิคม นิตยสารชองทางทำมาหากิน


ทำงานเพลินๆ โดยไมไดตง้ั ตัว ครบ15ปแลวหรือสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ผมทำงาน มากับหลายประธานชมรมและหลายนายกฯ ไมเคยหลุดจากการรวมรัฐบาลเลยตลอดระยะเวลาประมาณ 14-15ปมานี้ จนเพือ่ นๆ แซววาผมอยูพ รรคชาติไทย ของนายกรัฐมนตรีคนที2่ 1 นายบรรหาร ศิลปะอาชา ตองชีแ้ จงเพือ่ นๆวา ผมทำงานไดกบั ทุกคน ไมชอบเลนการเมือง ยินดีรว มมือรวมใจทำงานกับทุกๆ ทาน ไมวา ใครจะมาเปนรัฐบาลหรือนายกสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย การทำงานทีส่ มาคมสือ่ มวลชน เกษตรฯ คือการทำกุศล เสียสละเพือ่ พีน่ อ งเกษตรกร กระดูกสันหลังของชาติ เชือ่ มโยงขอมูลคนเมืองทีป่ ระกอบ อาชีพอืน่ ๆกับเกษตรกร สรางความสัมพันธทด่ี รี ะหวางบริษทั เอกชนกับหนวยงานภาครัฐ สรางความเขาใจ ระหวางคนของรัฐกับราษฎร ใหความรูก ารประชาสัมพันธกบั เจาหนาที่ กรม กอง ในกระทรวงเกษตร และ สหกรณ ซึง่ จะออกมาในรูปแบบของการอบรมการเขียนขาวประชาสัมพันธ บางครัง้ พีๆ่ นองๆ ในกรมกอง ของกระทรวงเกษตรฯเรียกอาจารยกย็ งั เขินๆ ความใฝฝน ของผมอยากใหเกษตรกรทุกทานพนจากความยากจน มีรถเกงขับเหมือนเกษตรกรในญีป่ นุ มีชีวิตความเปนอยูที่ดีทัดเทียมกับเกษตรกรในสหรัฐอเมริกา ลูกหลานเกษตรกรไทยมีการศึกษาในระดับ ปริญญาตรีหรือมากกวา เกษตรกรมีเงินใชจา ยและมีสภาพคลองเหมือนนายธนาคาร ไมอยากเห็นเกษตรกรผูกคอตาย เพราะไมไดเงินคาจำนำขาว ไมอยากเห็นใครเอาเปรียบเกษตรกร ไมอยากเห็นม็อบปดถนน เพราะราคาสินคาเกษตรตกต่ำ ไมอยากเห็นชาวไรชาวนาโดนหลอกใหใชปยุ ปลอม ผูบ ริหารสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย มีความตัง้ ใจจริงทีจ่ ะทำและแกปญ หาสิง่ เหลานี้ แตเราก็เปนสวนหนึ่งในสังคมที่ยังทำงานไมสำเร็จทั้งหมด มีอุปสรรคและปญหามากมายที่เราตองฟนฝา ถือวาเปนบททดสอบวัยรุน สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ทีอ่ ายุเพิง่ 15 หยกๆ 16 หยอนๆ แต ถึงจะเปนเพียงวัยรุน เราก็จะตอบแทนสังคม แผนดินไทย เกษตรกรไทย ใหสาสม อยางทีท่ กุ คนคาดหวัง สมาคมสือ่ มวลชนเกษตรฯเปรียบเสมือนเทียนเลมเล็กๆ ทีจ่ ะสาดสองแสงสวางแหงปญญา กวาง ไปในแผนดินอันไพศาล เพือ่ เกษตรกร เพือ่ พีน่ อ งรวมชาติใหมสี ติ ปญญา ตอสูก บั ภัยตางๆ ไมวา จะมา จากคนหรือธรรมชาติ จนสำเร็จลุลว ง ไมมหี นีส้ นิ มีชวี ติ ความเปนอยูท ด่ี ี เทานีก้ พ็ อใจแลวครับ ดวยความปรารถนาดี จตุพล ยอดวงศพะเนา สวัสดิการ หนังสือพิมพสยามทองถิน่


นับตัง้ แตกา วสูก ารเปนสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย บนรากฐานของความเปนน้ำหนึง่ ใจ เดียวกันของผูสื่อขาวสายเกษตร ที่ประกอบดวย หนังสือพิมพรายวัน นิตยสาร วิทยุและโทรทัศน โดย สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยไดแสดงใหเห็นถึงพลังอันยิ่งใหญของการเปนสื่อมวลชนคุณภาพ ที่มุงมั่นในการกอเกิดประโยชน พัฒนา ในทุกดานๆที่เกี่ยวของกับการเกษตรของประเทศ ภายใตกิจรรม ตางๆ ลวนแตมีประโยชนอยางตอเนื่องตลอดมา ภายใตการสนับสนุนจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ดังนั้นกาวตอไปบนบทบาทหนาที่ของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย จึงนับเปนอีกกาว ที่สำคัญของการมีสวนรวมในการพัฒนา เพื่ออนาคตของประเทศไทย ประเทศของเรา….

ธนสิทธิ์ เหลาประเสริฐ กรรมการ ฝายกิจกรรมพิเศษ นิตยสารเทคโนโลยีชาวบาน


เปนทีน่ า ยินดี กับสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ทีก่ า วยางมาถึงครบวาระ 15 ป ปจจุบนั เทคโนโลยีดานการเกษตรไดเปลี่ยนแปลงกาวหนาอยางไมหยุดยั้งไปตามยุคตามสมัย สื่อมวลชนเกษตร จึงตองตระหนักติดตามความเคลื่อนไหวในดานความรู และวิทยาการ ความกาวล้ำทันสมัย ทางดานการ เกษตรของสังคมโลกยุคใหม เพื่อเผยแพรไปยังเกษตรกรไดนำไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด งานครบรอบ 15 ป ของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย ในครั้งนี้ถือเปนกิจกรรมหนึ่งที่ ไดนำผูมีประสบการณ มีความรู ความสามารถในดานการเกษตร มาถายทอดเพื่อพัฒนาการเกษตรของ ประเทศไทย ใหกาวหนาและยั่งยืนตอไป ผมในนามกรรมการขอแสดงความยินดี และใหกำลังใจมายังคณะกรรมการจัดงานที่ไดทุมเท กำลังกาย กำลังใจ จนทำใหกิจกรรมของสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทยประสบความสำเร็จ ตามวัตถุประสงคทุกประการ

ดนัย ไกรอักษร กรรมการ สถานีโทรทัศน ชอง 7




­¤µ ¤°µ¦´ µ¡º Å ¥ (Thailand Crop Protection Association) Á¤ºÉ° ¦³¤µ 50 ¸ ¸É¨oª­µ¦Á ¤¸ µÎ ´ «´ ¦¼ ¡º Å oÁ¦·É ¤Á oµ¤µ¤¸ µ Ä µ¦°µ¦´ µ ¨· ¨ µ µ¦Á ¬ ¦Ä ¦³Á «Å ¥ à ¥Á¦·É ¤ µ µ¦ εÁ oµ­µ¦Á ¤¸Á ¬ ¦ ° ¦· ¬ ´ ­µ ¨Á¡¸¥ Ťn ¸É ¦· ¬ ´ Ä Áª¨µ n°¤µÁ¤ºÉ° ¦³Á «Å o¤¸ µ¦¡´ µÅ °¥nµ n°Á ºÉ° »¦ · µ oµ ­µ¦ ε ´ «´ ¦¼ ¡º Å o¤¸ µ¦ ¥µ¥ ´ª°¥nµ ¦ª Á¦Èª ¤¸ ¼ o ¦³ ° · µ¦ » ¦ · Á¡·É¤ ¹Ê Á È Îµ ª ¤µ ­¤µ ¤°µ¦´ µ¡º Å ¥Á¦·É ¤ o Ä ¸ 2552 Á¤ºÉ° ¨»n¤ ´ »¦ · ­µ¦Á ¤¸Á ¬ ¦Å oÁ®È ªµ¤ εÁ È ° µ¦¤¸­¤µ ¤Á È ´ªÂ ° £µ °» ­µ® ¦¦¤ ¸Ê ¹ Å o ¦n ª¤ ´ n° ´Ê ­¤µ ¤ ¼ o ¦³ ° »¦ · ­µ¦Á ¤¸ µÎ ´ «´ ¦¼ ¡º : ­ Thai Pesticide Association: TPA ) ¹Ê n°¤µÄ ª´ ¸É 9 ¤· » µ¥ 2538 ¹ Å oÁ ¨¸É¥ ºÉ °Á È ­¤µ ¤°µ¦´ µÅ ¥ Thai Crop Protection Association: TCPA ) Ä ¸ 2529 ­¤µ ¤°µ¦´ µ¡º Å ¥Å oÁ oµÁ È ­¤µ · ° ­£µ­¤µ ¤ ¼ o ¨· ­µ¦Á ¤¸Á ¬ ¦ µ µ µ · (CropLife International) ¹É ¦³ ° oª¥­¤µ · ¹É Á È ­¤µ ¤Á ¤¸Á ¬ ¦Ä ¦³Á « nµ Ç ªnµ 50 ¦³Á « ¨³Ä Áª¨µ n°¤µÁ È ­¤µ · CropLife Asia ¹É Á È ­Îµ ´ µ ­µ µÄ £¼¤·£µ Á°Á ¸¥Â ·¢· Ä ¸ 2534 ­¤µ ¤°µ¦´ µ¡º Å ¥Å o¦´ Á¨º° Ä®oÁ È ® ¹É Ä ­µ¤ ¦³Á « º° ´ªÁ ¤µ¨µ Á ¥µ ¨³ ¦³Á «Å ¥ Ä µ¦ ε Á · µ "à ¦ µ¦ ¦´ ¦» µ¦Ä o­µ¦ ε ´ «´ ¦¼ ¡º °¥nµ ¼ o° ¨³ ¨° £´¥ Safe Use Project) ¹É ­¤µ ¤Å o µÎ Á · µ n°Á ºÉ° °¥nµ Å o ¨ ¨° ¤µ ¹ ´ » ´ ­¤µ ¤°µ¦´ µ¡º Å ¥ ´ » ´ ¤¸­¤µ · ε ª 37 ¦· ¬ ´ εÁ · µ¦Ã ¥Å¤n®ª´ ¨ εŦ ¤¸ Á o µ ¦³­ r®¨´ Á¡ºÉ° ε ¨· £´ r°µ¦´ µ¡º ¸É ¸¤¸ ¦³­· ·£µ¡­¼n ¤º°Á ¬ ¦ ¦ ¡¦o°¤ ´Ê εÁ · µ¦ Ä µ¦ nµ¥ ° ªµ¤¦¼ o ¨³ª· ¸ µ¦Ä o­µ¦Á ¤¸°¥nµ ¼ o°  nÁ ¬ ¦ ¦ Á¡ºÉ° µ¦¡´ µ µ µ¦Á ¬ ¦ ¸É¥ ´É ¥º Ä ¦³Á «Å ¥ ---------------------------------



17 18 19 o ¥ |o¤ l¦ ¦ ¤l ï op i i i {Ö ¥ i r r } ¤ ï } i ¤i } l op

i 2015 l

{ -2 1 ¡ Ö¥ |o lÓ ¥ i r ¥ «l ¤ o o

Òo¤ Ó |Ó jÓ | ­ } | jÓ ¦ | | o | ­ Ö o Z r i ¨ Ó | | i¨ Ó

Â

¾

½G

e at

w

a

o yt

A

A SE

N

Ag

ric

u ult

ra

d l In

u

ɤ |

¡ }

¡Ò }

y str

~ ¤ |¤ ¬ ¤} ¨|Ó ¬ l { pp Ó ¦ Ö ¦ ¤ Ö ?HHGK?P GKN?AR AM RF www.thailandagriexpo.com

Organizers

Platinum Sponsor

ThailandAgriExpo

Silver Sponsor

Supporters

i

i

i ¤

}

s ¤

Ã


i {Ö¤

åěöĐĈèâĕĆ ĠìŇéĕè ÿĜňéĔ÷âĕĆăĕåğĎüĚĐ âĈĕè Ģøň ġúĆ åěöčĔèğĊĘąü ĎėþēüĔ÷ ÿĜňéĔ÷âĕĆăĕåĐĘčĕü øēĊĔüĐĐâ ġúĆ


ศไท ย

สื่อ

ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก


ทิศทางเกษตรไทย

ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

AEC


ธุรกิจเกษตรไทย

โดย : ธนินทร เจียรวนนท

ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) “ทำไมประเทศเหลานั้นปกปอง สินคาเกษตร? เพราะสินคาเกษตรเปนทรัพย สมบัติของชาติสำคัญยิ่งกวาทองคำเสียอีก หากปลอยใหทรัพยสมบัติของชาติราคาถูกลง ก็เทากับทำใหคนจนลง สินคาเกษตรมีราคา ขายเทาไรก็เทากับเราพิมพพันธบัตรออกมา ไดเทานั้นเพราะเปนสมบัติของชาติ” ปจจุบันโลกไรพรมแดน สนามรบไดกลายมาเปน สนามการคา อยางที่พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ อดีต นายกรัฐมนตรีเคยกลาวไว การกาว สูประชาคมเศรษฐกิจ อาเชียน(AEC) ในป 2015 จึงเปนโอกาสสำคัญ รัฐบาลควร สนับสนุนนักธุรกิจไทยทีม่ คี วามรูค วามสามารถไปลงทุนใน ตางประเทศ โดยเฉพาะในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมที่ยัง มีโอกาสสำหรับ นักลงทุนไทยอีกมาก

80

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

จากการติดตามขอมูลเรื่องเกษตรของประเทศ ในกลุมอาเซียน ประเทศไทยมีสินคาเกษตรที่โดดเดนไม เปนรองใคร ยกเวนมาเลเซียที่เหนือกวาใครในเรื่องปาลม แตวนั นีป้ ระเทศไทยไดมกี ารพัฒนาพันธุป าลม ซึง่ สามารถ แขงขันไดแลว และยังมีพันธุยางที่พัฒนากาวไกลเหนือ มาเลเซียจนพูดไดวาวันนี้ยางไทยเปนที่หนึ่งของโลก วันนี้นักลงทุนไทยตองหาขอมูลการลงทุนเกี่ยวกับ การเกษตรและสินคาเกษตรในอาเซียน 10 ประเทศ วาใน เแตละประเทศมีจุดเดน จุดดอยอยางไร ยกตัวอยาง ประเทศกัมพูชาผลิตขาวไดปละเปนลานตัน แตยังไมเคย ทำตลาดสงออกขาว จึงเปนโอกาสของผูสงออกขาวของ ไทย ที่จะซื้อขาวจากกัมพูชาและนำไปขายในตลาดโลก ทำใหกัมพูชามีเงินตรา เขาประเทศในขณะเดียวกันไทย ยังสามารถที่จะนำสินคาอื่นๆ ไปขายใหกับกัมพูชาไดอีก ไมวาจะเปนรถมอเตอรไซด รถยนต ฯลฯ


หรือแมแตญี่ปุน ซึ่งไดชื่อวาเปนประเทศที่ทำ เกษตรกรรม และปกปองสินคาเกษตรของตนเอง ทำให ชาวนาญี่ปุนรวยที่สุดในโลก ก็ยังมีโอกาส สำหรับสินคา เกษตรของไทยอีกมาก ไทยเจรจาเปดเสรีทาง การคา (FTA)กับญีป่ นุ สำเร็จ โดยไทยยอมยกเวนการเจรจาเรือ่ งขาว ญีป่ นุ ถือเปนประเทศทีใ่ หความสำคัญกับการเกษตร มาตั้งแตใน อดีตจนถึงปจจุบัน ทำไมชาวนาญี่ปุนรวย กวาชาวนาสหรัฐอเมริกาเสียอีก? เพราะตั้งแตสมัยโบราณ จักรพรรดิของญี่ปุนยกยองชาวนาวาเปนผูมีบุญ คุณตอ ประเทศชาติ สรางอาหารเลี้ยงคนทั้งประเทศ การเกษตร จึงเปนเหมือนมือซายของจักรพรรดิ สวนมือขวาของจักรพรรดิ ก็คือซามูไรซึ่งก็เปนทหารปกปองประเทศ ดวยนโยบายนี้ ที่มีแตมาโบราณจึงทำใหสินคา เกษตรของญี่ปุนแพงที่สุด ในโลก รายไดเกษตรกรญีป่ นุ จึงสูงทีส่ ดุ ในโลก ชาวนาญีป่ นุ เดินทางไปเที่ยวรอบโลก พักโรงแรมระดับ 5 ดาวก็เพราะ รัฐบาลญี่ปุนเขาใจดีวา “เกษตรกรเปนฐานของประเทศ” เหมือนเรา สรางบาน จะสรางตึกสูงกี่ชั้นก็ตาม ฐานราก ก็ตอ งแข็งแกรง ถาสรางตึกสูง 100 ชัน้ ก็ตอ งตอกเสาเข็ม 100 ชั้น ทั้งนี้เพราะญี่ปุนมีความเขาใจ ในเรื่องเกษตรวา เปนเสาหลักของชาติ ไมมีประเทศไหนที่ร่ำรวยแลวไม ปกปองราคาสินคาเกษตร วันนี้การเจรจา WTO คุยกันไม จบก็เพราะ ติดปญหาเรื่องการเกษตรประเทศที่เจริญแลว ที่ร่ำรวยแลว แมแตสหรัฐอเมริกา ซึ่งเหลือเกษตรกรเพียง 1% ของ ประชากรทั้งหมดก็ยังปกปองสินคาเกษตรของ ประเทศ

ทำไมประเทศเหลานัน้ ปกปองสินคาเกษตร? เพราะ สินคาเกษตร เปนทรัพยสมบัตขิ องชาติสำคัญยิง่ กวาทองคำ เสียอีก หากปลอยใหทรัพยสมบัติของชาติราคาถูกลงก็ เทากับทำใหคนจนลง สินคาเกษตรมีราคาขายเทาไรก็เทา กับเราพิมพพันธบัตรออกมาไดเทานั้นเพราะเปนสมบัติ ของชาติ สินคาเกษตรไมวา ขาว มัน ปาลม ออย หรือ อืน่ ๆ จัดเปน “น้ำมันบนดิน” ทีส่ ำคัญกวา “น้ำมันใตดนิ ” เพราะ “น้ำมันใตดนิ ” ใชกบั “เครือ่ งจักร” เทานัน้ แต “น้ำมันบนดิน” นอกจากใชไดกับ “เครื่องจักร แทนน้ำมัน” แลวยังเปน ”พลังงานเลี้ยงมนุษย” อีกดวย แลวทำไมคนที่ผลิตอาหาร ผลิตน้ำมันบนดินซึง่ ถือวาสำคัญทีส่ ดุ จึงยังมีฐานะยากจนอยู เมื่อยังไมมีอะไรมาทดแทนน้ำมันได ราคาน้ำมัน ก็ยงั คงขึน้ สูง ไปเรือ่ ยๆ แลวตอไปก็จะคอยๆ หมด แตนำ้ มัน บนดิน ปนี้ปลูกแลว ปหนาปลูกไดอีก รอบนี้เก็บเกี่ยวแลว รอบหนาเก็บเกีย่ วไดอกี สินคา เกษตรปหนึง่ เก็บไดถงึ 3 รอบ ในขณะที่น้ำมันใตดินใชแลวมีแตจะหมดไป รัฐบาลที่อยา ไปคิดควบคุมราคาสินคาเกษตร ตองชวยกันพัฒนาสินคา เกษตรใหมีประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิตราคาใหเปนไปตาม กลไกตลาดให เกษตรกรอยูไดอยางพอเพียง วันนี้คำวา “เพียงพอ” ถือวา “ยังไมพอ” ตอง “พอเพียง” รายได ตองพอเพียงรัฐบาลตองคิดวาจะทำ อยางไรใหคนยากจนในเมืองมีรายไดมากขึน้ ไมใชกดราคา สินคาเกษตรของคนจนในชนบทเพื่อมาอดหนุนคนจนใน เมือง ถาทำเชนนี้แลวประเทศไทยจะร่ำรวยไดอยางไร ใน เมื่อคนสวนใหญของประเทศยังยากจนอยู 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

81


ดังนัน้ เกษตรกรหากไมจำเปนอยาขายทีด่ นิ เพราะ ที่ดินมีคามากกวาบอน้ำมัน ตองพิจารณาดูวาพื้นที่ไหนที่ เหมาะสมกับการปลูกพืชอะไร ซึง่ วันนีย้ างมาเปนอันดับหนึง่ ยังไมเห็นวาจะมีอะไรมาทดแทนยางไดแลวทุกประเทศ ก็ใชรถยนต รถยนตคันหนึ่งมี 4 ลอ เมื่อใชไปแลวลอก็ สึกตองเปลี่ยนอีก ดังนั้นยางเทียมจะตองแพงขึ้นเรื่อยๆ ยางธรรมชาติจะตองมีบทบาทมากขึ้น ฉะนั้นเราตอง สงเสริมการปลูกยาง และตองมี โรงงานผลิตแปรรูปยาง เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับสินคารองลงมาคือ ปาลมน้ำมัน ใน ขณะทีอ่ อ ยไทยปลูกเปนอันดับทีส่ องของโลก ถาเราพัฒนา พันธุใ หดี เอาเทคโนโลยีเขาชวย ออยก็จะเปนพืชเศรษฐกิจ ที่สรางรายไดใหกับประเทศไทยไมแพยาง ปาลม แลวตอไปถานโยบายรัฐบาลถูกตอง รัฐบาลควรมี นโยบายปรับพื้นที่ทำนาในที่ระบบชลประทานไมดีและ ใหผลผลิตขาวต่ำมาปลูกพืชเศรษฐกิจ ชนิดอืน่ เชน ปาลม สงเสริมปลูกออย มันสำปะหลัง เพื่อผลิตเอธานอล ก็จะ เปนประโยชนกับประเทศ สวนพื้นที่ที่ปลูกขาวไดดีก็ทำ ระบบชลประทานใหสามารถปลูกขาวใหไดผลผลิตสูง ปลูกไดหลายรอบตอป ทำใหเราไดปริมาณขาวจำนวน เทาเดิม ไทยไมจำเปนตองเปนประเทศ ที่สงออกขาวเปน เบอร 1 ของโลก ประเทศไทยตองพัฒนาบทบาท ยกระดับ คุณภาพขาวพัฒนาพันธุใ หไดผลผลิตตอไรมากขึน้ แลวขาย แบบพรีเมี่ยมเพื่อเพิ่มมูลคาการขาย นอกจากนั้นไทยยัง สามารถซื้อขาวจากพมา เขมร ลาว เวียดนามสงออกไป ขายทั่วโลกได

82

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

การทำเกษตรสมัยใหม จำเปนตองสราง “เกษตรกร คนเกง” ใหเกิดขึ้นในแตละทองถิ่น และให “เกษตรกร คนเกง” ทำหนาทีเ่ ปน “ผูร บั เหมาเพาะปลูก” ซึง่ เชือ่ ไดเลย วาทุกหมูบานตองมี “เบอรหนึ่ง” ใหชาวนาเบอรหนึ่งที่มีความรูความสามารถมารับ เหมาปลูกขาวใหกับคนในหมูบาน ถาคนเดียวไมพอก็หา เบอรสอง โดยตองมีผสู นับสนุนเงินทุนสำหรับซือ้ เครือ่ งจักร กลการเกษตร เชน รถแทรกเตอร ตองลงทุน ซือ้ รถแทรกเตอร ทีท่ นั สมัยใหเหมาะสมกับพืน้ ที่ แลวใหเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย การทำเกษตรสมัยใหม มี 3 รูปแบบ แบบหนึ่ง คือ สรางคน เกงในหมูบานเปนผูรับเหมา อีกแบบหนึ่ง เปนรูปของสมาคม หรือสหกรณเปนผูน ำ อีกแบบหนึง่ คือ บริษัทเอกชนเปนผูนำ แตสุดทายผูรับเหมาก็ยังตองเปน เกษตรกรคนในทองถิ่น หากเห็นวารูปแบบไหนเปนประโยชนก็ทำรูปแบบ นั้นหรืออาจจะทำพรอมกัน 3 รูปแบบเลยก็ได การเลี้ยง สัตวอาจจะทำใน 2 รูปแบบ คือ สหกรณ หรือบริษทั เอกชน เปนผูนำรวมกับธนาคาร หรือ สหกรณ เปนผูนำรวมกับ ธนาคาร แตสหกรณตองมีเทคโนโลยีและมีตลาด ถาเพียง แตกเู งินแลวไมมตี ลาดก็ไมสำเร็จ ตองไปพัฒนาระบบของ สหกรณให เขมแข็ง เปนที่พึ่งของชุมชน การเพาะปลูกก็เชนเดียวกัน นักธุรกิจตองสนับสนุน เกษตรกรที่รับจางปลูกโดยการหาเมล็ดพันธุที่ดี แลวขาย ตรงแกเกษตรกรไมตองผานคนกลาง ปุยก็ไมตองผาน คนกลางและนอกจากรับจางปลูกแลว ก็ยังรับเก็บเกี่ยว ใหอีกดวย


นอกจากนี้ยังสามารถทำไดในอีกรูปแบบหนึ่ง คือ บริษทั เปนทีป่ รึกษาใหกบั เกษตรกร อยางในอเมริกาไมตอ ง มีนักธุรกิจมารับซื้อเพราะ ขายผลผลิตลวงหนาไปตลาด ชิคาโกแลวนำเงินมาลงทุน ธนาคารจะรูว า แตละปเกษตรกร ปลูกไดจริงเทาไหร ก็รับผลิตผลทางการเกษตรมาจำนำ แลวปลอยเงินกูใ หเมืองไทยควรอิงกับชิคาโคถายังเล็กใชรปู แบบสหกรณ หรือนักธุรกิจมารับซื้อในราคาประกันที่ เกษตรกรไดกำไรแนนอน ไมมีความเสี่ยงเสียหาย

ตอไปประเทศไทยตองแขงขันกับอาเซียนอีก 9 ประเทศ สำคัญที่สุดคือตองไปหาขอมูลนักธุรกิจที่ประสบ ความสำเร็จ เพราะถาไมมีขอมูลที่ถูกตองเราเสี่ยงเอง แต ถามีขอมูลที่ถูกตองเทากับใสแวนขยายเห็นชัดเลย ถนน ขางหนาจะเปนอยางไร แลวเราเลือกอะไรไดอยางถูกตอง ฉะนั้นตองใหความสำคัญกับขอมูลไปหาขอมูลวาประเทศ ไหนเปนอยางไร สิ่งใดที่ประเทศไทยเสียเปรียบ สิ่งใดที่ ประเทศไทยสูไ ด อะไรทีเ่ ราสูไ มไดอยาไปสู ไปซือ้ แลว เอา ไปขายยังดีกวา เราทำตัวเปนนักธุรกิจ วันเดียวกำไร เรา มีตลาดอยูไมตองกลัวใคร จากประสบการณการเขาไปลงทุนใน 15 ประเทศ ทั่วโลก แลวสวนใหญเปนประเทศกำลังพัฒนา เราตอง นำธุรกิจที่มีเทคโนโลยีธุรกิจที่ทันสมัยที่สุดเขาไปลงทุน แตกม็ ขี อ ควรระวังประการหนึง่ คือ ประเทศทีก่ ำลังพัฒนา จะยังมีความไมพรอมในหลายดาน ทัง้ เทคโนโลยีโลจิสติกส การตลาดในความสำเร็จของซี.พี.นั้น ถาเราจะไปลงทุน ในประเทศที่กำลังพัฒนาตองไปลงทุนเพื่อทำทุกอยางให พรอมโดยไมตองอาศัยคนอื่น มาชวยทำความพรอมให เพราะถารอไปก็อาจเสียเวลา ธุรกิจเกษตรในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ยังมีโอกาสอีกมาก เพียงแตนักลงทุนตองมีความ พรอมศึกษาความตองการตลาดที่สำคัญที่สุดคือตองเอา เทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดไปใช

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

83


รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ

โดย : รศ.ดร.พีรเดช ทองอำไพ

ผูอำนวยการสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร

ทิศทางเกษตรไทย ในยุคเขาสู AEC อีกไมนานเมืองไทยก็จะตองกาวเขาสูช ว งของการเปลีย่ นแปลงใหญอกี ครัง้ หนึง่ คือการเขาสูป ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ที่ไดมีความพยายามผลักดันกันมานาน และกำลังจะเกิดเปนจริงในอีกไมชา สิ่งที่หลายคนวิตกกังวลก็คือ ไทยจะเสียผลประโยชนหรือไดประโยชนอะไรบางจากมาตรการการเปดการคาเสรีเชนนี้ ความจริงแลวเมื่อมีการเปลี่ยน แปลงใดๆ ก็ตามยอมมีผูไดประโยชนและเสียประโยชน แตคงไมมีใครไดหรือเสียแตเพียงฝายเดียวลองทำความเขาใจ เกี่ยวกับการเกษตรของไทยเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบานในกลุมอาเซียน จะเห็นไดวาไทยเรามีทั้งขอไดเปรียบและ เสียเปรียบ แตเมือ่ ชัง่ น้ำหนักเปรียบเทียบแลว หากเราบริหารจัดการไดดี และใชความไดเปรียบทีม่ อี ยู ก็ยอ มจะสามารถ ตอสูและอยูรอดหรือสรางความไดเปรียบจากมาตรการดังกลาวได

84

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ความทีเ่ มืองไทยเปนประเทศเกษตรกรรมทีม่ คี วามกาวหนาคอนขางมาก จึงมีการใชทรัพยากรตางๆ ทัง้ ทีด่ นิ และ น้ำอยางเต็มที่ เพียงแตวา การใชดงั กลาวนัน้ มักพึง่ พิงธรรมชาติเปนหลัก โดยไมมกี ารจัดการทีด่ พี อทำใหทรัพยากรตางๆ เสือ่ มโทรมลง ไมวา จะเปนความอุดมสมบูรณของดิน ซึง่ ลดนอยถอยลงเนือ่ งจากการบำรุงรักษาไมถกู วิธี มีการใชปยุ เคมี มากเกินไปโดยไมใชปุยอินทรียเขารวม มีการใชน้ำอยางฟุมเฟอย แตไมมีการพัฒนาแหลงเก็บกักน้ำที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอ ใชสารกำจัดศัตรูพืชโดยขาดความรูความเขาใจ ผลก็คือเมื่อใชที่ดินปลูกพืชตอเนื่องยาวนานโดยขาดการบำรุง รักษาที่ดี จึงเกิดการสะสมสารพิษ และดินเสื่อมสภาพ ธาตุอาหารตางๆ ลดนอยลง จนกระทั่งการปลูกพืชตอๆ มา ไมคอ ยไดผลเทาทีค่ วร หากจะยกระดับผลผลิตก็จำเปนตองใชปยุ ในปริมาณทีม่ ากขึน้ รวมทัง้ ศัตรูพชื ก็ดอ้ื ยา จึงจำเปนตอง ใชยาทีแ่ รงและแพงขึน้ หรือปริมาณมากขึน้ ลวนแลวแตสง ผลถึงตนทุนการผลิตทัง้ สิน้ สิง่ นีแ้ ตกตางจากประเทศเพือ่ นบาน ของเรา ซึง่ จากเดิมทำการเกษตรแบบพอมีพอกิน ดังนัน้ ทรัพยากรตางๆ ทีเ่ กีย่ วของจึงคอนขางอุดมสมบูรณกวาของเรา ในปจจุบนั ดังนัน้ เมือ่ ทุนเดิมมีมาก การใชทรัพยากรเหลานัน้ ในการเกษตร จึงมีตน ทุนต่ำกวาเรา ขีดความสามารถใน การแขงขันของไทย จึงดอยกวาเมือ่ เทียบกับตนทุนทีจ่ ำเปนตองใสเขาไปเพือ่ ยกระดับความอุดมสมบูรณใหกลับมาดังเดิม

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

85


อยางไรก็ตาม ถึงแมเราจะเสียเปรียบในหลายเรือ่ ง แตวา เราก็มจี ดุ เดนและถือไดวา เปนโอกาสของประเทศไทย นัน่ คือเรือ่ งความสามารถของเกษตรกรไทย และความรูท างวิชาการทีค่ อ นขางกาวหนากวาหลายประเทศ รวมทัง้ นาความ เชือ่ ถือในคุณภาพของผลิตผลจากไทย ซึง่ ยังทำใหสนิ คาขายไดและเปนทีย่ อมรับในหลายประเทศ ความจริงประชากรของ ไทยมีอยูป ระมาณ 67 ลานคน หากมุง หวังใหกลุม คนไทยเปนลูกคาแตเพียงอยางเดียวคงไมได เพราะวากำลังการผลิต ของเรา ณ ขณะนีม้ มี ากเกินความตองการ และจำเปนตองสงออก เมือ่ มีการเปดประชาคมอาเซียนแลว กลุม ลูกคาจะ ขยายตัวเปน 580 ลานคน นัน่ ก็คอื ขนาดตลาดของเราจะใหญขน้ึ มากเกือบสิบเทา แสดงวาไทยเราก็มโี อกาสสงออกเพิม่ มากขึน้ แตทง้ั นีส้ ง่ิ ทีต่ อ งคำนึงถึงคือ ประเทศเพือ่ นบานเหลานีล้ ว นแลวแตมผี ลิตผลเกษตรเชนเดียวกับไทย ประกอบกับ ความทีม่ ขี อ ไดเปรียบในเรือ่ งของตนทุนการผลิตทีต่ ำ่ กวาเรา โอกาสการแขงขันของไทยในตลาดระดับนีจ้ งึ ดอยลง แตหาก เราสามารถผลิตอาหารทีม่ คี ณุ ภาพสูงโดยหาทางหลีกหนีจากตลาดทัว่ ไปเหลานี้ โอกาสของไทยก็จะมีมากขึน้ เพราะวา ผลิตผลจากประเทศไทยไดรบั การยอมรับในเรือ่ งของคุณภาพอยูแ ลว หากเราสามารถพัฒนาผลิตผลทัง้ หมดของเราเขาสู ตลาดคุณภาพสูงไดกจ็ ะชวยใหการขยายตลาดเกิดขึน้ ไดเชนกัน

การผลิตสินคาคุณภาพสูงสามารถทำไดหลายอยางหลายรูปแบบ เชนการทีผ่ ลิตผลเกษตรบางชนิดของเราไดรบั การยอมรับอยูแลว ดวยคุณภาพของตัวสินคาเองที่ยังไมมีใครเหมือน ยกตัวอยางเชนขาวหอมมะลิ ซึ่งนอกจากจะขาย อยูในตลาดระดับบนแลว ถึงแมประเทศเพื่อนบานเราจะเริ่มเขามาแขงขันในตลาดนี้เชนกัน แตวาการที่ขาวหอมมะลิ ของไทยไดรับการรับรองตามเกณฑสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ในที่นี้คือ “ขาวหอมมะลิทุงกุลารองไห” หมายความวาหาก ขาวหอมมะลิทผ่ี ลิตจากแหลงอืน่ ก็ไมสามารถใชชอ่ื นีเ้ รียกขานได เราก็ยงั ขายไดในราคาสูงอยู โดยไมตอ งไปแขงกับใคร ดังนั้นทางออกหนึ่งที่นาสนใจคือพยายามหาทางขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรสำหรับผลิตผลเกษตรบางชนิดที่เรามี ศักยภาพและมีความเปนไปไดในการขึ้นทะเบียน เพื่อสรางโอกาสในการแขงขันใหสูงขึ้น อีกทางเลือกหนึ่งในการสรางสินคาคุณภาพสูง ก็คือการพัฒนาสินคาใหมๆ ที่ตลาดตองการในขณะที่คนอื่นยัง ไมสามารถสรางขึ้นมาแขงไดทัน เชนตอนนี้เราก็ทราบกันดีอยูวาสังคมของโลกกำลังกาวเขาสูงสังคมผูสูงอายุความตอง การอาหารคุณภาพสูงก็จะมีมากขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ อาหารเพือ่ สุขภาพ แตวา การพัฒนาอาหารเหลานีจ้ ำเปนตองอาศัย ความรูจ ากการคนควาวิจยั หมายความวาหากประเทศไทยตองการจะหลีกหนีตลาดทัว่ ไปเพือ่ เขาสูต ลาดสินคาคุณภาพสูง ก็จำเปนตองรีบพัฒนาผลิตภัณฑจากสินคาเกษตรเหลานี้ใหได ตัวอยางของสินคาเกษตรประเภทนี้ก็ไดแกขาว ซึ่งแต เดิมนัน้ เราสีขา วจนขาวเหลือแตแปงแลวนำมาบริโภค แตในระยะหลังนีพ้ บวารำขาว ขาวทีม่ สี ดี ำ หรือแดง และขาวกลอง ลวนแลวแตมีคุณคาทางอาหารสูงและมีสารอาหารตางๆ ที่เปนประโยชนตอรางกายนอกเหนือจากแปง ดังนั้นจึงจะเห็น ไดวาชวงนี้มีการพัฒนาผลิตภัณฑตางๆ จากขาวมากขึ้น จนนำไปสูการทำเครื่องสำอาง การพัฒนาขาวเพื่อสุขภาพ และอนาคตก็คงนำไปสูการพัฒนาขาวไปเปนยา

86

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ผลิตผลเกษตรอีกหลายอยางทีเ่ ราคุน เคยกันในการใชบริโภคสด หากมีการวิจยั ตอไปก็จะพบชองทางใชประโยชน ไดมากมายขึน้ ยกตัวอยางเชนลำไย ซึง่ จากเดิมเราบริโภคลำไยสด ตอมามีการนำมาอบแหงสงออกไปขายทีป่ ระเทศจีน ซึง่ ตลาดนิยมมาก ทำใหมกี ารปลูกลำไยเพิม่ มากขึน้ สงผลใหเกิดปญหาเรือ่ งของราคาตกต่ำในบางชวง ในระยะหลังนี้ ก็มกี ารพัฒนาลำไยไปใชประโยชนอน่ื มากขึน้ เชนการพัฒนาสารสกัดจากลำไย ซึง่ นอกจากจะใหความหวานของน้ำตาล ลำไยแลว ยังมีสารอืน่ ทีเ่ ปนประโยชนตอ สุขภาพอยูใ นนัน้ ดวย หรือแมกระทัง่ นำสารสกัดดังกลาวมาแปรรูปเพิม่ มูลคาตอไป ใหไดเปนผลิตภัณฑเพือ่ สุขภาพชนิดอืน่ อีก เปนตน หากสามารถขยายตลาดผลิตภัณฑเหลานีไ้ ด ผลผลิตในประเทศก็จะถูก ใชเพือ่ การสรางมูลคาเพิม่ หรือแปรรูป และมีตลาดใหมรองรับ โดยไมตอ งไปแขงในตลาดผลิตผลสดและทำใหราคาตกต่ำ ลงอยางทีเ่ คยเปนอยู นอกจากการใหความสำคัญเรือ่ งของคุณภาพและการเพิม่ มูลคาเพือ่ สรางหรือรองรับตลาดระดับบนแลว สำหรับผลิต ผลเกษตรทั่วไปก็ควรไดรับการดูแลเชนกัน โดยการหาทางลดตนทุนการผลิตใหไดมากขึ้น ตนทุนอยางหนึ่งที่สำคัญคือ เรือ่ งของการขนสงและการจัดการโลจิสติกส ซึง่ คาบริหารจัดการสวนนีส้ ำหรับประเทศไทยสูงมากเมือ่ เทียบกับทีอ่ น่ื เปนเพราะ วาระบบการจัดการของเรายังไมดีพอ ประเทศไทยตองพยามยามใชประโยชนจากระบบคมนาคมทางบกที่มีอยูใหมี ประสิทธิภาพสูงทีส่ ดุ เชนทางรถยนตทเ่ี ชือ่ มตอประเทศตางๆ ในกลุม อาเซียน ซึง่ ขณะนีม้ คี วามพรอมพอสมควร อยางไรก็ตาม ผลิตผลเกษตรหลายชนิดไมสามารถเก็บไวไดนาน จึงอาจจำเปนตองขนสงทางอากาศ ดังนัน้ การใชประโยชนอยางระบบ การขนสงทางบกจึงยังไมเต็มประสิทธิภาพ สิง่ หนึง่ ทีจ่ ำเปนตองทำคือการพยายามยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลสดเหลานี้ ใหยนื ยาวทีส่ ดุ เพือ่ ทีจ่ ะใหขนสงไดทางบกแทนทีจ่ ะตองไปเสียคาขนสงทางอากาศ ซึง่ จะทำใหเราไมสามารถแขงขันกับ ประเทศอืน่ ได ดังนัน้ ควรตองใหความสำคัญกับการวิจยั ดานการจัดการหลังการเก็บเกีย่ วใหเปนจริงเปนจังมากขึน้

สิ่งที่สำคัญที่สุดอีกเรื่องหนึ่งก็คือตัวเกษตรกรเอง สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นในสังคมไทยคือขีดความสามารถในการรับ เทคโนโลยีของเกษตรกรไทยเรียกไดวา คอนขางนอย อาจเปนเพราะวาระบบการสงเสริมการเกษตรของเรายังมีประสิทธิภาพ ไมดีพอ หรืออาจเกิดจากการที่ภาครัฐไดดำเนินการหลายอยางในทิศทางที่บั่นทอนความเขมแข็งของสถาบันเกษตรกร จึงทำใหเกษตรกรไมสามารถพึ่งพาตนเองได มีตัวอยางหลายตัวอยางที่ชี้ใหเห็นวาการทำเกษตร ถาทำดวยความรู จะไมมคี ำวายากจน ดังนัน้ จะทำอยางไรจึงจะใหเกษตรกรทำการเกษตรดวยความรูแ ละใชเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม เพือ่ ทำให ตนทุนลดต่ำลง และผลผลิตสูงขึ้น หากสามารถแกไขที่จุดนี้ได ก็เชื่อไดวาประเทศไทยจะมีความไดเปรียบในการผลิต สินคาเกษตร เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบานของเรา 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

87


ความสำเร็จของการเกษตรไทย เมื่อกาวเขาสู AEC ประเทศไทยเราควรใหความสำคัญในประเด็นตอไปนี้ 1. พันธมิตรคือความสำเร็จ 2. สรางประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง 3. นวัตกรรม คือตัวกำหนดความสำเร็จตัง้ แตพนั ธุพ ชื และพันธุสัตว 4. เกษตรกร คือ CEO ของฟารม 5. บทบาทใหมของฟารมจากโอกาส ทางดานพลังงาน 6. ความสัมพันธระหวางฟารมกับตลาด มีความ ใกลชิดกันมากขึ้น 7. การเปลี่ยนรุนเกษตรกร ขาว ถือเปนพืชสำคัญของไทยเปนอาชีพหลัก ที่ใชพื้นที่กวา 50%ของพื้นที่การเพาะปลูกทั้งหมดคือ 150

88

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

นายมนตรี คงตระกูลเทียน คณบดี คณะนวัตกรรมการจัดการเกษตร สถาบันการจัดการปญญาภิวฒั น รองประธานกรรมการ กลุม ธุรกิจพืชครบวงจร เครือเจริญโภคภัณฑ

ลานไร โดยมีการปลูกขาวประมาณ 75 ลานไร ทั้งนาป และนาปรัง ขาวไทยถือเปนขาวคุณภาพ ไมวาจะเปน ขาวหอมมะลิ ขาวเหนียวและขาวขาว แตตนทุนการผลิต ขาวของไทยไมวาจะเปนราคาที่ดินหรือคาแรงงานไทยมี ตนทุนที่สูงกวาประเทศเพื่อนบาน เนื่องจากประเทศไทย มีการใชที่ดินและแรงงานไปในภาคอุตสาหกรรม และ ภาคบริการทีม่ กี ารขยายตัวขึน้ เปนอยางมาก ตามแนวทาง ของประเทศที่พัฒนามากขึ้น เชนเดียวกับประเทศไตหวัน เกาหลีและญี่ปุน ซึ่งประเทศเหลานี้ก็จำตองลดการปลูก ขาวลงมากอนไทย เนื่องจากตนทุนการผลิตสูขาว จาก ประเทศไทยไมได


วันนี้ ประเทศไทยของเราสำหรับการแขงขันกับ ประเทศเพือ่ นบานอยางเมียรมาร เวียดนาม ลาวและ กัมพูชา ยอมจะตองยอมรับวา เราควรลดพื้นที่ปลูกขาวขาวลง พรอมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตขาวในโซนนิง่ ทีก่ ระทรวง เกษตรไดศึกษามาวาเปนเขตที่เหมาะสม ทั้งดินน้ำและ สภาพอากาศ สวนที่เรามีความสามารถในเชิงการแปรรูป และการตลาด นักธุรกิจของไทยควรเปนพันธมิตรกับ นักธุรกิจของประเทศเพื่อนบานเพื่อเปนผูบริหารจัดการใน ขบวนการผลิตและการคาขาว โดยใชทฤษฎีประโยชน เชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) ในพื้นที่ ของเพื่อนบาน ก็เปนความรวมมือที่ดีของพวกเราชาว อาเซียนดวยกัน สวนพื้นที่บานเราจำเปนตองลดพื้นที่ปลูกขาวลง ทางหนึ่งที่เปนนวัตกรรมของเครือเจริญโภคภัณฑ ไดทำ การทดลองก็คอื โครงการศูนยเรียนรูเ กษตรทันสมัย ดำเนิน การอยูท ห่ ี มูบ า นเกษตรกรรมกำแพงเพชร อ.เมือง จ. กำแพงเพชร หลักการคือใชพน้ื ที่ 290 ไร โดยเนนการทำเกษตรผสมผสาน ตามแนวพระราชดำริขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั

เปนพืน้ ทีบ่ อ เลีย้ งปลาและกุง ขนาด 9 ไร รอบแปลงนาขาว 136 ไร เปนการเลีย้ งปลาและกุง ทีอ่ นุบาลมาจากบออนุบาล กอน 2 เดือน ขนาดของคันนาสูงกวาแปลงนาถึง 2 เมตร เพื่อจะใชน้ำกำจัดแมลงใหทวมตนขาวโดยไมตองใชยาฆา แมลง แมลงจะตายภายใน 1-2 ชัว่ โมง และกลายเปนอาหาร ใหกบั ปลาทีเ่ ลีย้ ง ขณะทีข่ า วทนน้ำทวมไดถงึ 8 ชัว่ โมงและ เมื่อเก็บเกี่ยวขาวแลวแปลงนาก็จะเปนที่เลี้ยงปลาและกุง ทั้งหมด เพราะเปนชวงที่ปลาและกุงเติบโต ตัวใหญขึ้นจึง ตองการพื้นที่ในการเลี้ยงมากขึ้น กุงจะอยูที่ผิวดิน สวน ปลาจะอยูในน้ำดานบน สำหรับคันนาจะมีขนาดกวาง 12 เมตร ตรงกลาง 6 เมตร เปนถนนเศรษฐกิจสำหรับลำเลียงปจจัยการผลิต เขาสูฟารม ในขณะเดียวกันก็ลำเลียงผลิตผลการเกษตร ออกจากฟารมไดโดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีพื้นที่คันนา อีกขางละ 3 เมตร เอาไวปลูกไมยืนตน ไดแก ตนปาลม น้ำมันและตนมะพราวจำนวน 2 แถว ระยะปลูกมะพราว ระหวางตน 6 เมตร สวนระยะปลูกปาลมน้ำมันระหวาง ตน 8 เมตร

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

89


ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ

การปลูกขาว อยูภายใตแนวคิดที่วาเราจะไดขาว อินทรียคุณภาพดี ที่ไมมีการใชสารเคมี การเลี้ยงปลาและ กุง ถือวาเปนผลิตผลที่ใหผลตอบแทนสูง และเปนอาหาร ที่ใหโปรตีนที่ทรงคุณคา สวนการปลูกมะพราวก็เพื่อขยาย ผลผลิตทดแทนการนำเขาจากอินโดนีเซียและฟลปิ ปนสเพือ่ เราจะมีมะพราวที่สดใหมสำหรับ ประกอบอาหารไทย ทั้งคาวและหวาน ซึ่งมะพราวถือเปนเสนหของอาหารไทย และไดมีการพิสูจนแลววาไขมันจากมะพราวให HDL ซึ่ง เปนไขมันดีตอรางกาย ปาลมน้ำมัน นอกจากแปรรูปเปนอาหารแลว ยัง สามารถนำไปใชประโยชนในเรื่องของพลังงานทดแทนคือ ไบโอดีเซล เนื่องจากประเทศไทยของเราจัดเปนผูผลิตผล ผลิตเกษตรและอาหารทีส่ ำคัญรายหนึง่ ของโลก ในป 2556 จะพบวามูลคาการสงออกสินคาเกษตรและอุตสาหกรรม เกษตรรวม 1,209 พันลานบาท คิดเปน 17.49 % ของมูลคา การสงออกทัง้ หมด แตในขณะเดียวกันไทยตองสูญเสียราย ไดจากการนำเขาเชือ้ เพลิงมากถึง 1,596 พันลานบาท ทัง้ ๆ ทีเ่ รามีศกั ยภาพสูงมากในการพัฒนาการผลิตน้ำมันเชือ้ เพลิง จากพืช โดยเราสามารถผลิตปาลมน้ำมัน, ออย, มันสำปะหลัง ทดแทนการปลูกขาวเพื่อเปนพลังงานทดแทนได

90

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

สรุปวา ตั้งแตนี้คนของอาเซียนจะตองไดรับการ ปลูกฝงใหเปนเกษตรกรรุนใหมที่มีนวัตกรรม และการ บริหารจัดการที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และเพิ่มมูลคาดวยการแปรรูปตลอดจนดำเนินการตลาด เปนภาพรวมของอาเซียนเอง จะทำใหอาเซียนกลายเปน ตลาดขนาดใหญ 600 ลานคน ถือเปนศักยภาพที่เพิ่มขึ้น ถึง 10 เทาหากเทียบกับประเทศไทย มีโอกาสที่เราจะมี อำนาจตอรองกับภูมิภาคอื่นไดมากขึ้นเปนพลังที่จะดึงดูด นักลงทุนจากภูมิภาคอื่นใหเขามาลงทุน ในขณะเดียวกัน ก็สรางสนามแขงขันใหเขมขนขึ้นอีกดวย ในฐานะของประเทศไทย เราตองสรางเกษตรกร พันธุใหมใหมีความสามารถในดานการเกษตร มีหลักใน การบริหารจัดการองคกร เพิ่มมูลคาผลิตและแปรรูปตาม ศักยภาพของตลาด ซึ่งคณะนวัตกรรมการจัดการเกษตร สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน ขอรวมฝกนักศึกษาทั้ง ภาคทฤษฎีและลงปฏิบัติงานจริง เพื่อตอบโจทยดังกลาว ในการกาวเขาสูอาเซียนตอไป


ศาสตราจารยพเิ ศษ ดร.สุทศั น ศรีวฒั นพงศ มูลนิธขิ า วไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

มิติใหมของการเกษตรไทย : บทบาทของหุนสวนรวมพัฒนา เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2557 มูลนิธิขาวไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ รวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ไดจัดสัมมนา พิเศษขาว เรื่อง “มองมิติใหมของการพัฒนาขาว และ ชาวนาไทย” มีนักวิชาการรวมอภิปรายสามทาน คือ 1) รศ. ดร.นิพนธ พัวพงศกร จากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย 2) คุณเอ็นนู ซื่อสุวรรณ จากสถาบันเพื่อ การพัฒนาการเกษตรและชนบท จำเนียร สาระนาค และ 3) รศ.สมพร อิศวิลานนท จากสถาบันคลังสมองแหงชาติ โดยมี รศ.ดร.จันทรจรัส เรี่ยวเดชะ จากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจยั เปนผูด ำเนินรายการ เนือ้ หาการสัมมนา ในวันนั้นมีประเด็นสำคัญที่เกี่ยวของกับแนวทางการปฏิรูป การเกษตรไทยในอนาคต แมวาสวนใหญจะเปนเรื่องของ

1

ขาวและชาวนา แตก็สามารถนำมาใชในการพัฒนาการ เกษตรไทยโดยรวมรายละเอียดของการอภิปรายสามารถ หาไดจากเว็บไซตของมูลนิธิขาวไทยฯwww.thairice.org/ html/foundation/pj_siminar.html ในที่นี้ขอสรุปสาระ สำคัญ ที่วิทยากรแตละทานนำเสนอ ดังนี้ คุณเอ็นนู เนนประเด็นปญหาและสาเหตุความลม เหลวของอาชีพการทำนาเปนหลัก รวมทัง้ แนวทางการแกไข ดังแผนภาพที่แนบ ความสำเร็จในการประกอบอาชีพควร ”ใชความรักและความรู” ตามแนวทาง พระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ลดการขอรั บ ความช ว ยเหลื อ จากรั ฐ และพึ ่ ง พาตนเอง คุณเอ็นนู ไดยกตัวอยางชาวนาทีป่ ระสบความสำเร็จ 2 ราย คือ นายชัยพร พรหมพันธุ กับนายสุภาพ โนรีวงศ ดังภาพที่ 1

1 : เอกสารเผยแพรในงาน “ 15 ป รวมพลคนขาวเกษตร” 5 พฤศจิกายน 2557 ณ.อาคารจักรพันธเพ็ญศิริ มก. 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

91


ภาพที่ 1 หลักคิด แนวปฏิบัติการทำนาของชาวนากาวหนา (เอ็นนู ซื่อสุวรรณ 2557)

ความเขาใจในเรือ่ งการปรับใชเทคโนโลยีการบำรุง ดินใหมีความอุดมสมบูรณโดยใชการเกษตรอินทรีย ทำให สามารถลดตนทุนการผลิตไดจากเดิมไรละหาพันกวาบาท เหลือเพียงสองพันกวาบาท ไดผลผลิตประมาณ 1000 กก. ตอไร อยางไรก็ตามจุดเนนอยูที่ขอเท็จจริงในความสำเร็จ หลังจากการใชปยุ เคมีมามากกวาสิบปนน้ั เกิดขึน้ จากความ มุง มัน่ ในการใชปยุ อินทรียส ะสมเปนเวลาติดตอกันสิบกวาป และทีส่ ำคัญอีกประการหนึง่ คือ เจาของนา เชน นายชัยพร

92

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

ทีม่ นี าประมาณ 100 ไรนน้ั ตัวเขาและภรรยาลงมือทำนาเอง ความสำเร็จของชาวนาขนาดกลางและขนาดเล็กก็มีเชน เดียวกัน คุณเอ็นนูไดยกตัวอยางการทำนา 36 ไร ของ นายมณี ชูตระกูล ชาวนาอำเภอเมืองอุทัยธานี ซึ่งใชหลัก การเกษตรทฤษฎีใหม และของนายประทีป กันหา ชาวนา จังหวัดนครสวรรค ซึ่งใชที่นา 10 ไรกวาทำนาตามหลัก แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการปฏิรูปเพื่อพัฒนา ชาวนาและขาวไทยรวมทัง้ บทบาทผูท เ่ี กีย่ วของ มีรายละเอียด ดังภาพที่ 2


ภาพที่ 2 แนวทางการปฏิรูปเพื่อพัฒนาชาวนาและขาวไทย (เอ็นนู ซื่อสุวรรณ 2557) ภาพที่ 2 แสดงใหเห็นระบบการทำนาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยมีความเชื่อมโยงระหวางชาวนารายยอย กับวิสาหกิจ ชุมชนชาวนาหรือสหกรณ ภาคเอกชน และภาควิชาการ สวนภาครัฐนัน้ ทำหนาทีเ่ ปนผูส นับสนุนเทานัน้ ความสำเร็จ จึงขึ้นอยูกับตัวชาวนาเองที่ตองเรียนรู ไมเฉพาะเรื่อง เทคโนโลยีการผลิตเทานั้น แตรวมทั้งการบริหารจัดการ ฟารม และการตลาด ตองแสวงหาความรูต ลอดเวลา โดย เฉพาะอยางยิ่งในภาวะที่มีสิ่งแวดลอม ฟาฝนแปรปรวน ดร.นิพนธ วิทยากรคนทีส่ อง ดูเหมือนจะมีแนวความคิดสอด คลองกับของคุณเอ็นนูในเรื่องการพึ่งพาตนเองของชาวนา ไดเนนย้ำวาที่ผานมา ชาวนา”ติดกับ”กับประชานิยม รอ รับการ”ชดเชย”ของรัฐมากไป ตอไปนีต้ อ งพยายามผลักดัน ใหขาวถอยหางจากการเปน”สินคาการเมือง” ขอกังวล มีดังนี้ 1. ราคาขาวในปจจุบันต่ำลง และมีแนวโนมจะ ต่ำลงอีก ทัง้ นีอ้ าจเปนเพราะขาวการระบายขาวคางสตอค ของรัฐที่ยังมีอยูมาก

2. ทำอยางไรที่จะใหนักการเมืองดำเนินนโยบาย ประชานิยมทีม่ คี วามรับผิดชอบตอประชาชน มีระบบความ ชวยเหลือขั้นต่ำ และทำใหขาวเปนสินคาการเมืองนอยลง 3. มีความเปนหวงวา ปจจุบันชาวนารอยละ 32 มีอายุเกิน 60 ป ในอีก 10 - 20 ป จะมีคนหนุม สาวทดแทน หรือไม 4. อนาคตของเกษตรกร 3 กลุม ดังตอไปนี้ จะเปน อยางไร 4.1 ชาวนาธุรกิจเงินลานที่มีอยู 0.9 ลานครัวเรือน ครอบครัวเหลานีอ้ ยูใ นกลุม ครัวเรือนรอยละ 30 ของคนรวย 4.2 เกษตรกรทางเลือกหรือเกษตรกรสีสัน มีอยู นอยกวา 1 หมื่นครัวเรือน ที่ปลูกขาวพันธุ เกษตรอินทรีย และเกษตรยั่งยืน 4.3 เกษตรบางเวลา มีอยู 3 ลานครัวเรือน ทำนา โดยเปนผูจ ดั การนา 1.7 - 2 ลานครัวเรือน และเปนเกษตรกร ยากจน 1 - 1.3 ลานครัวเรือน 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

93


แนวคิดมิติใหมของการพัฒนา มีดังนี้ 1. สลัดกับดัก “จำนำขาว/การชดเชย” โดยมี ระบบชวยเหลือขั้นต่ำที่เกิดจากฉันทามติของเกษตรกรเอง เพื่อไมใหนักการเมืองใชระบบประชานิยมเขาครอบงำ 2. ใหมรี ะบบการตลาดแขงขัน โดยเลิกวิธกี ารทีร่ ฐั เปนผูนำการพัฒนาดังที่ผานมา ในมิติใหมนั้นชาวนาและ พอคาตองเปนผูน ำการพัฒนา รัฐมีบทบาทหนาทีช่ ว ยสนับสนุน 3. รัฐตองทำกิจกรรมทีช่ าวนาและเอกชน ไมมปี ญ ญา ทำหรือไมมีแรงจูงใจ นั่นคือการลงทุนวิจัยที่เพียงพอและ เปลี่ยนวิธีการจัดการใหม ใหเปนการวิจัยที่ผูมีสวนไดเสีย มีสว นรวมรับผิดชอบและตัดสินใจ รัฐมีหนาทีป่ ระสานความ รวมมือระหวางฝายตางๆ และออกกฎหมายที่จำเปนเพื่อ กำกับดูแลพฤติกรรมของฝายตางๆ

รศ.สมพร วิทยากรทานสุดทายไดเพิม่ เติมประเด็น การคาขาว ซึ่งมีเรื่องนาสนใจ ที่เปนมิติใหมในการพัฒนา ขาวและชาวนาไทย โดยยอดังนี้ 1. การผลิตทีผ่ า นมาเนนการเพิม่ ผลผลิตตอไรและ ผลผลิตรวมของประเทศ ตอไปนี้ควรปรับเปลี่ยนการผลิต ใหมาก (mass) เปนการผลิตเพือ่ ปอนตลาดเฉพาะ (niche market) เสนทางการผลิตแบบนี้ มีแสดงไวในภาพที่ 3 เปนการเชือ่ มโยงผูผ ลิต (เกษตรกร) ซึง่ อยูต น น้ำกับกิจกรรม กลางน้ำทีท่ ำใหการผลิตเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และปลอดภัย ตอผูบริโภค นับเปนการรักษาไวซึ่งความสมดุลของสภาพ แวดลอมทางธรรมชาติและคุณภาพชีวิต

ภาพที่ 3 เสนทางการผลิตสำหรับตลาดเฉพาะ (Niche) (สมพร อิสวิลานนท 2557)

94

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


2. สรางความยั่งยืนและมั่นคงใหกับขาวและ ชาวนาไทย โดยการรวมกลุมของเกษตรกรรายยอย ทำให เกิดการสรางหวงโซคณุ คาในกระบวนการผลิตและการตลาด มีระบบการผลิต ระบบการแปรรูป ระบบการตลาด และ ระบบการบริโภคทีด่ แี ละมีประสิทธิภาพ โดยไดรบั การสนับ สนุนจากหนวยงานของรัฐ และองคกรเอกชน 3. พัฒนาหวงโซอุปทานสินคาขาว จากตนน้ำ (พันธุดี การบริหารจัดการดูแลการเพาะปลูก อาจเปน GAP หรืออินทรียและการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้ เพื่อใหไดตัว สินคาขาวที่มีคุณภาพฯ) กลางน้ำ (การรวมกลุมเกษตรกร สหกรณ ผูรวบรวมสินคาขาว การแปรรูป โรงสี ฯ) และ ปลายน้ำ ( ผูป ระกองการสงออก ผูค า สงและคาปลีกขาวสาร และหยง เปนตน) การพัฒนาดังกลาวเปนการกาวไปสู ยุคการคาเสรี ซึ่ง AEC ก็กำลังมา การพัฒนาตางๆ จะ สำเร็จไดดว ยการใชเทคโนโลยีกา วหนาและนวัตกรรมตางๆ

4. การพัฒนาหวงโซคุณคาขาว(ภาพที่ 4) ตั้งแต การผลิต ปจจัยการผลิต การดูแลหลังเก็บเกีย่ ว การแปรรูป และการคา มีการสงเสริมการใหสินเชื่อ และการจัดการ ทีด่ นิ ซึง่ ความสำเร็จขึน้ อยูก บั ความพรอมเพรียงของเกษตรกร ชุมชน เอกชน ภาครัฐและภาควิชาการ เมื่อมีการผลิตที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มีผลิตผลจากขาวพันธุจำเพาะ (เชน ไรซเบอรรี่ เปนตน) มีผลิตภัณฑโดดเดน มีมหาวิทยาลัย และธุรกิจเอกชนรวมมือ เรื่องการพัฒนาขาวและชานนาไทย ยังตองการ การปฏิรปู ผลจากการสัมมนาทีก่ ลาวถึงนี้ อาจเปนแนวทาง หนึง่ หากรวมกันคิด ชวยกันผลักดันในเรือ่ งตางๆทีว่ ทิ ยากร เสนอแนะไว ก็คงเกิดประโยชน ไมมากก็นอย ที่สำคัญ อาจนำไปประยุกตใชในการเกษตรอื่นๆดวย

ภาพที่ 4 รูปแบบการพัฒนาหวงโซคุณคาขาว (สมพร อิสวิลานนท 2557) 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

95


แนวทางการใชประโยชน จากเทคโนโลยีชีวภาพสมั ย ใหม ๑ ในการพัฒนาการเกษตร

๑. ความเปนมา การเพาะปลูกพืชเพื่อใหไดผลผลิตสูงและ มีคุณภาพ มี ๒ ปจจัยหลักที่จำเปนตองพิจารณา คือ ๑) พันธุพืช และ ๒) การจัดการการเพาะปลูก อยางไรก็ดี การใชพันธุพืชที่ดีที่ใหผลผลิตสูงและตานทานตอโรคและ แมลงศัตรู ที่สำคัญเปนสิ่งหนึ่งที่สรางความมั่นใจใหกับ เกษตรกรไดมากกวารอยละ ๕๐ วาจะไดรับผลผลิตจาก การเพาะปลูก ดังนั้นการปรับปรุงพันธุพืชจึงจัดวามีความ สำคัญอยางยิ่งตอการเพาะปลูก ปจจุบันจึงเห็นวามีหลาย หนวยงานทัง้ ภาครัฐ และเอกชน ไดใชงบประมาณจำนวน หนึ่งในการวิจัยและพัฒนาพันธุพืช โดยเฉพาะในกลุมพืช ที่จัดวาเปนพืชเศรษฐกิจ ของประเทศ เชน ขาว ออย มันสำปะหลัง ยางพารา ขาวโพดเลีย้ งสัตว ฯลฯ ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากการวิจัยและ พัฒนาพันธุพืชดังกลาว จะเห็น ไดจากในแปลงเพาะปลูกพืชของเกษตรกรเกือบรอยละ ๑๐๐ ใชพันธุพืชที่ไดรับการปรับ ปรุงพันธุมาแลวทั้งสิ้น ทำให ประเทศไทยยังมีผลผลิตของพืชเศรษฐกิจเพียงพอและมี เหลือพอในการสงออก การปรับปรุงพันธุพืชดวยวิธีการดั้งเดิม ยังมีขอ จำกัดในหลายประเด็น ที่สำคัญคือ การขาดพันธุกรรม หรือ พอแมพันธุที่มีลักษณะที่ตองการใชในการปรับปรุง พันธุ เชน ลักษณะทีต่ า นทานหนอนเจาะสมอของฝาย หรือ ลักษณะ ที่ตานทานโรคดางจุดวงแหวนที่เกิดจากเชื้อไวรัส ของมะละกอ เปนตน จึงทำใหไมสามารถพัฒนาพันธุให มีลกั ษณะ ทีต่ า นทานตอโรคและแมลงศัตรูดงั กลาวไดดว ย วิธกี ารปรับปรุงพันธุพ ชื แบบเดิมๆ ประกอบกับการเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็ว ของจำนวนประชากรโลก ซึ่งหมายถึงความ

96

โดย : ดร.นิพนธ เอี่ยมสุภาษิต

นายกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ

ตองการอาหารที่ไดจากพืชมีมากขึ้น รวมทั้งการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศที่ เกิดขึ้นเนื่องจากสภาวะเรือนกระจก สงผลใหการเพาะปลูกพืชไดรับผลกระทบ การกาวขาม ปญหาอุปสรรคดังกลาว จำเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองใชเทคโนโลยี ใหมๆ มาชวยในการปรับปรุงพันธุพืช ซึ่งในปจจุบันมีการ พัฒนาเทคโนโลยีที่เรียกวา เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม หรือ เทคโนโลยีดานพันธุวิศวกรรม และหลายประเทศได นำเทคโนโลยีดังกลาวมาใชในการ ปรับปรุงพันธุพืช เทคโนโลยีชวี ภาพสมัยใหม หรือ เทคโนโลยีดา นพันธุ วิศวกรรม ในเชิงวิชาการ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใชในการ ถายฝากยีนจากสิ่งมีชีวิตสายพันธุหนึ่ง ไปสูสิ่งมีชีวิตอีก สายพันธุหนึ่ง ทำใหสิ่งมีชีวิตที่ไดรับการถายฝากยีนดัง กลาว มีลักษณะที่ไมเคยมีมากอน ซึ่งเปนลักษณะที่ตอง การในการปรับปรุงพันธุ ยกตัวอยางเพื่อใหเกิดความเขา ใจที่ชัดขึ้น เชน การถายฝากยีนบีที ซึ่งเปนยีนที่ตานทาน ตอหนอนเจาะสมอในฝาย หรือยีนที่ตานทานตอหนอน เจาะลำตนใน ขาวโพด ที่ไดมาจากแบคทีเรียที่อาศัยอยู ในดิน ชื่อ Bacillus thuringiensis เขาไปในสารพันธุกรรม ของตนฝายหรือตน ขาวโพด จากนัน้ พัฒนาตอจนไดตน ฝาย ที่ตานทานตอหนอนเจาะสมอ หรือตนขาวโพดที่ตานทาน ตอหนอนเจาะลำตน และเรียกพืชดังกลาววา ฝาย/ขาวโพด เทคโนชีวภาพ หรือ ฝาย/ขาวโพดจีเอ็ม หรือ ฝาย/ขาวโพด ดัดแปลงพันธุกรรม ซึง่ มีความจำเพาะเจาะจงสูง (ตานทาน เฉพาะหนอนเจาะเทานั้น) เมื่อนำเมล็ดฝายหรือเมล็ดขาว โพดดังกลาวไปปลูก ประโยชนที่ไดรับนอกจากจะลดการ สูญเสียผลผลิตที่เกิดจากแมลงศัตรูดังกลาวแลวยังลดการ ใชสารกำจัดศัตรูพืช ซึ่งเปนผลดี

๑ : เอกสารเผยแพรในงาน “๑๕ ป รวมพลคนขาวเกษตร” ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ อาคารจักรพันธเพ็ญศิริ มก

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ทางสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ รวมทั้ง สมาคมวิชาชีพอืน่ ไดแก สมาคมเมล็ดพันธุแ หงประเทศไทย สมาคมการคาเมล็ดพันธุไ ทย สมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย สมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยทางอาหารแหงประเทศไทย และ ศูนยขอมูลเทคโนโลยีชีวภาพและความปลอดภัยทาง ชีวภาพ มีความเห็นรวมกันวา การใชประโยชน จากเทค โนโลยีชีวภาพสมัยใหมในการพัฒนาการเกษตร เปนเรื่อง ที่มีความสำคัญตอภาคการผลิตและตอภาคอุตสาหกรรม ซึง่ มีผลตอการเติบโตทางเศรษฐกิจ จึงสมควรนำเสนอแนว ทางการใชประโยชนจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมในการ พัฒนาการเกษตร เพื่อใหผูมีสวนเกี่ยวของไดรับทราบและ พิจารณาตามที่เห็นสมควรตอไป ๒. สาระสำคัญของเรื่อง ๒.๑ ปญหาทางดานการผลิตพืชยังคงมีอยูและ ตองการการแกไข ปญหาที่พบไดในการทำการเกษตร จำแนกได ๒ ประเด็น คือ ๑) เกิดจากสิ่งที่ไมมีชีวิต สวนใหญเกิด จากสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสมตอการทำการเกษตร เชน สภาวะแหงแลง น้ำทวม ดินเค็ม ดินกรด เปนตน ๒) เกิดจากสิ่งที่มีชีวิต สวนใหญเกิด จากสิ่งที่มีชีวิตที่ทำใหเกิดโรค แมลงที่เปนศัตรูพืช และ วัชพืช ปจจุบันผูผลิตนิยมใชสารเคมีในการปองกันกำจัด ซึ่งบอยครั้งพบวามีการใชสารเคมีเกินความจำเปน หรือ ใชไมถูกขอกำหนด นอกจากจะทำใหตนทุนการผลิตเพิ่ม มากขึ้นแลวยังสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งตัว เกษตรกรซึ่งเปนผูผลิตและอาจสงผลถึงผูบริโภคดวย แนวคิดในการแกไขปญหาดังกลาว ซึ่งมุงเนนไปที่ ตัวพืชเอง โดยการพัฒนาหรือปรับปรุงใหไดพันธุพืชที่ สามารถเจริญเติบโต และใหผลผลิตไดในสภาวะแวดลอม ที่ไมเหมาะสม (เชน พันธุขาวทนแลง) รวมทั้งตานทาน ตอการเขาทำลาย ของโรค (เชน พันธุขาวโพดตานทาน โรคราน้ำคาง) แมลงศัตรูพชื (เชน พันธุข า วตานทานเพลีย้

กระโดดสีน้ำตาล) และทนทานตอสารกำจัดวัชพืช ซึ่ง การพัฒนาในแนวทางนี้ ถือวาเปนการลงทุนที่จัดวาคุม เพราะเกษตรกรลงทุนเมล็ดพันธุ เพียงครั้งเดียวและเปน แบบเบ็ดเสร็จ ก็สามารถดูแลจนเก็บเกีย่ วผลผลิตได โดยไม ตองเสียคาใชจายในการใชวิธี ปองกันกำจัดวิธีอื่นๆทำให เสียคาใชจายนอยที่สุด แตไดผลตอบแทนสูงสุด ดังนั้น การปรับปรุงพันธุพืชเพื่อใหไดพืชพันธุใหม ที่มีลักษณะตรงตามความตองการ จึงเปนสิ่งที่เหมาะสม และสมควรดำเนินการมากที่สุด แตปญหาของการพัฒนา พันธุพืชดวยวิธีปกติ เพื่อใหไดลักษณะตามตองการ เชน ตานทานโรค หรือแมลงศัตรูพืช ตองมียีนควบคุม หาก ไมมียีนจากพืชชนิดเดียวกันก็ไมสามารถปรับปรุงใหเปน พืชพันธุ ใหมได ประกอบกับปจจุบันเกิดวิธีการที่เรียกวา เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม หรือพันธุวิศวกรรม ซึ่งชวย พัฒนาพืชให มีลักษณะที่ไมสามารถทำไดโดยวิธีปกติ ตัวอยางพืชที่ไดรับการพัฒนา ไดแก ขาวโพดบีทีตานทาน หนอนเจาะลำตน ฝายบีทีตานทานหนอนเจาะสมอฝาย ถั่วเหลืองทนทานสารกำจัดวัชพืชราวดอัพ ฯลฯ พันธุพืช เหลานีเ้ รียกโดยรวมวา “พืชเทคโนชีวภาพ” ซึง่ จะมีลกั ษณะ ตางๆ ที่ตานทานหรือทนทานแบบเฉพาะเจาะจง ทำให เกษตรกรสามารถลดตนทุน ในการผลิตพืชได ๒.๒ ความหมายของพืชเทคโนชีวภาพพืชเทคโน ชีวภาพ เปนชื่อใหมที่ใชเรียกแทนพืชดัดแปลงพันธุกรรม หรือพืชจีเอ็ม ทัง้ นีเ้ พือ่ ลดความสับสนและเพือ่ ใหเกิดความ เขาใจที่ดี ซึ่งหมายถึง พืชใดๆ ที่ไดรับการถายฝากสาร พันธุกรรม อันเกิดขึน้ ไดโดยวิธตี ดั ตอยีนหรือพันธุวศิ วกรรม (หรือเทคโนโลยีชวี ภาพสมัยใหม) เพือ่ ใหพชื นัน้ มีคณุ สมบัติ หรือลักษณะบางอยางแตกตางไปจากเดิมซึ่งเปนลักษณะ ที่ตองการ สวนสารพันธุกรรมที่ถายฝากนั้นอาจไดมาจาก สิง่ มีชวี ติ ทีม่ คี วามใกลชดิ หรือตางชนิดพันธุต วั อยางลักษณะ หรือคุณสมบัตทิ ต่ี า งไปจากเดิมทีต่ อ งการ เชน ตานทานโรค หรือตานทานแมลงศัตรู และทนทานตอสารเคมีกำจัดวัชพืช เปนตน 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

97


๒.๓ ความสำคัญของพืชเทคโนชีวภาพพืชที่ทำ การเพาะปลูกสวนใหญจะถูกใชเปนอาหารของมนุษย ทั้ง ทางตรง และทางออม ซึ่งเปนหนึ่งในปจจัย ๔ ที่จำเปน ตอการดำรงชีพ นอกจากนี้ยังถูกใชเปนวัตถุดิบ ในการผลิตที่อยู อาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค ซึ่งเปนอีก ๓ ปจจัย ที่เหลือ ชี้ใหเห็นวาการดำรงชีพอยูไดของมนุษยจะตองพึ่ง พาอาศัยพืช เปนหลัก ดังนั้นการพัฒนาพืชดวยเทคโนโลยี ชีวภาพสมัยใหมเพือ่ ตอบสนองตอปจจัยดังกลาวจึงมีความ จำเปน ซึ่งมีประเด็นที่แสดงใหเห็นถึงความสำคัญ หรือ ความจำเปนที่ตองใชพืชเทคโนชีวภาพ ดังนี้ • จำนวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น เดิมระหวางป ๒๓๔๗ - ๒๔๗๐ (๑๒๓ ป) ประชากรของโลกเพิ่มจาก ๑ พันลานคน เปน ๒ พันลานคน แตในชวงป ๒๕๓๐ ๒๕๔๒ (๑๒ ป) ประชากรเพิ่มจาก ๕ พันลานคน เปน ๖ พันลานคน จากขอมูลดังกลาว มีการประเมินวาในป ๒๕๙๓ ประชากรในโลกจะเพิม่ ขึน้ เปน ๙ - ๑๐ พันลานคน (United Nations Population Information Network, 2007) ดังนัน้ ความตองการอาหารจะเพิ่มมากขึ้นถึงอีก ๑ ใน ๓ ของ อาหารที่ผลิตไดในปจจุบัน • ประชากรที่ขาดอาหารยังมีอยู ในปจจุบันแมจะ ดูเหมือนวา อาหารทีผ่ ลิตไดจะเพียงพอทีจ่ ะเลีย้ งประชากร โลก แตในความเปนจริงยังพบวา ประชากรโลกอีกประมาณ ๘๒๖ ลานคน ยังไดรบั อาหารไมเพียงพอ โดยที่ ๗๙๒ ลานคน ยังอยูในประเทศที่กำลังพัฒนา และอีก ๓๔ ลานคน อยู ในประเทศที่พัฒนาแลว นอกจากนี้ มีขอมูลที่ชี้ใหเห็นวา ในทุกๆ นาทีของโลกทีก่ ำลังพัฒนา จะมีอยางนอย ๓๐ คน ที่ตองตายเพราะขาดอาหาร ในจำนวนนั้นครึ่งหนึ่งจะเปน เด็ก (Practical Action, 2007) มีหลายปจจัยที่สงผลให เกิดการขาดอาหารในประชากรเหลานั้น ปจจัยหนึ่งก็คือ ผลผลิต ทางการเกษตรที่ไดยังต่ำ โดยเฉพาะอยางยิ่งใน ประเทศที่กำลังพัฒนา • การผลิตอาหารสำหรับมนุษยมอี ตั ราเพิม่ ทีล่ ดลง ขอมูลจากองคการอาหารและการเกษตรไดชใ้ี หเห็นถึงสถานะ ของผลผลิตทางการเกษตรทั้งโลกวา อัตราการผลิตพืช

86

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

มะละกอจีเอ็มในแปลงทดลองทีป่ ระเทศฟลปิ น ส และสัตวในป ๒๕๔๑ มีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ รอยละ ๑.๑ และ เปนอัตราขยายตัวต่ำสุด และในป ๒๕๔๒ อัตราการขยาย ตัวลดลงเหลือเพียงรอยละ ๐.๙ ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ที่ เหมาะสม ตอการเกษตรไมสามารถขยายเพิ่มได และ สภาวะแวดลอมไมเอื้ออำนวยตอการผลิต • การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรอยูในอัตราที่ คงที่ การเปลี่ยนแปลงวิธีทำการเกษตรแบบดั้งเดิมมาเปน วิธีการทำการเกษตรแบบใหม ที่สำคัญคือ การใชพันธุพืช พันธุใ หม การใชเมล็ดพันธุพ ชื ทีม่ คี ณุ ภาพ การใชปยุ การใช แทรกเตอรในการเตรียมดิน แทนการใชแรงงานสัตว และ การใชสารเคมีปองกันกำจัดศัตรูพืช ในปจจุบันเทคโนโลยี ดังกลาว คงจะไมสามารถเพิ่มผลผลิตใหสูงไปกวานี้ไดอีก แตความตองการอาหารของมนุษยเพิม่ ขึน้ ซึง่ คาดวาจะตอง ผลิตอาหารเพิ่มขึ้นจากเดิมอีกอยางนอยรอยละ ๕๐ เพื่อ เลีย้ งประชากรโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ อีก ๒ พันลานคน ในป ๒๕๖๓ (FAO News Room, 2002)


สหรัฐอเมริกายังเปนผูน ำในการปลูกพืชเทคโนชีวภาพ ๒.๔ สถานการณการปลูกพืชเทคโนชีวภาพในเชิง การคาของโลก พืชเทคโนชีวภาพปลูกเปนการคาครั้งแรก อยางตอเนื่อง ดวยพื้นที่ปลูก ๔๓๘.๑ ลานไร ซึ่งมีการ ในป ๒๕๓๙ ในพื้นที่เพียง ๑๐.๖ ลานไร และมีพื้นที่ปลูก ยอมรับเฉลีย่ รอยละ ๙๐ ในทุกพืช และมีการปลูกขาวโพด เพิม่ ขึน้ ทุกป จนถึงป ๒๕๕๖ มีพน้ื ทีป่ ลูกพืชเทคโนชีวภาพ เทคโนชีวภาพที่ทนแลงพันธุแรก โดยเกษตรกรของสหรัฐ รวมทั้งหมด ๑,๐๙๓.๗ ลานไร ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกวา ๑๐๐ อเมริกา จำนวน ๒,๐๐๐ คน บนพื้นที่ ๓.๑๒๕ แสนไร เทาเมื่อเทียบกับพื้นที่ปลูกในป ๒๕๓๙ สะทอนใหเห็นถึง บราซิล เปนประเทศที่มีพื้นที่ปลูกพืชเทคโนชีวภาพมาก ความ เชื่อมั่นและความไวใจของเกษตรกรทั่วโลกเปน เปนลำดับที่ ๒ และเพิ่มตอเนื่องเปนปที่ ๕ โดยบราซิลมี จำนวนหลายลานคน ที่อยูในประเทศกำลังพัฒนาและ พื้นที่ปลูกพืชดังกลาวเพิ่มขึ้นมากกวาประเทศอื่นๆ คือ ประเทศอุตสาหกรรม อยางไรก็ดกี ารเพิม่ ขึน้ อยางมากของ เพิ่มขึ้นถึง รอยละ ๑๐ หรือเพิ่มขึ้น ๒๓.๑๒๕ ลานไรจาก พื้นที่ปลูกพืชเทคโนชีวภาพ ทำใหพืชเทคโนชีวภาพเปน ป ๒๕๕๕ เปนพื้นที่ปลูกทั้งหมด ๒๕๑.๘๗๕ ลานไรในป เทคโนโลยีดา นพันธุพ ชื ทีม่ กี ารยอมรับไดเร็วทีส่ ดุ ในขณะนี้ ๒๕๕๖ บราซิล ยังปลูกถั่วเหลืองที่รวมลักษณะทนทาน ดวยเหตุผลอยางเดียวก็คอื ประโยชนทไ่ี ดรบั สำหรับประเทศ สารกำจัดวัชพืชและตานทานแมลงศัตรูพันธุแรกในพื้นที่ ที่ปลูกพืชเทคโนชีวภาพ ในป ๒๕๕๖ มีจำนวนทั้งหมด ๑๓.๗๕ ลานไร รวมทั้ง ถั่วเทคโนชีวภาพที่ทนทานโรคที่ ๒๗ ประเทศ เปนประเทศกำลังพัฒนา ๑๙ ประเทศ เกิดจากเชื้อไวรัส ที่พัฒนาขึ้นมาไดเอง อารเจนตินายังคง ครองอันดับ ๓ ของประเทศ ทีม่ พี น้ื ทีป่ ลูกพืชเทคโนชีวภาพ และเปนประเทศอุตสาหกรรม ๘ ประเทศ (ภาพที่ ๑) ในป ๒๕๕๖ ประเทศกำลังพัฒนามีพื้นที่ปลูกพืช จำนวน ๑๕๒.๕ ลานไร อินเดีย ขยับมาอยูอันดับ ๔ ดวย เทคโนชีวภาพรอยละ ๕๔ (๕๘๗.๕ ลานไร) มากกวาพื้น พืน้ ทีป่ ลูกฝายบีที ๖๘.๗๕ ลานไร แทนแคนาดาทีต่ กไปอยู ที่ปลูก พืชดังกลาวของประเทศอุตสาหกรรมที่มีพื้นที่ปลูก ในอันดับ ๕ ดวยพื้นที่ปลูก ๖๗.๕ ลานไร คิดเปนรอยละ ๔๖ (๕๐๖.๒ ลานไร) (ภาพที่ ๒) ซึ่งเปน ความสำเร็จ จากความรวมมือที่ดีระหวางภาครัฐและภาค เอกชนในหลายๆ ประเทศ รวมทัง้ ใน บราซิล บังกลาเทศ และอินโดนีเชีย ในป ๒๕๕๖ มีเกษตรกรจำนวน ๑๘ ลานคนที่ ปลูกพืชเทคโนชีวภาพ เพิ่มขึ้นจากป ๒๕๕๕ จำนวน ๐.๗ ลานคน มากกวารอยละ ๙๐ หรือมากกวา ๑๖.๕ ลานคน เปนเกษตรกรยากจนและมีทรัพยากรจำกัดทีอ่ ยูใ นประเทศ กำลังพัฒนาและนับวาเปนเกษตรกรผูพัฒนาประสิทธิภาพ การผลิตที่นำไปสูความยั่งยืน และไดชวยปกปองพื้นที่ ปาไมและความ หลากหลายทางชีวภาพดวยการไมขยาย พื้นที่ปลูก ในป ๒๕๕๖ มีเกษตรกรรายยอยในประเทศจีน จำนวน ๗.๕ ลานคน และ ในอินเดีย ๗.๓ ลานคน เลือก ทีจ่ ะปลูกฝายบีที บนพืน้ ทีร่ วมทัง้ หมดมากกวา ๙๓.๗ ลานไร เนือ่ งจากไดรบั ประโยชน อยางมีนยั สำคัญ และมีเกษตรกร ภาพที� ๑ ประเทศ พื�นที�ปลูกและชนิดพืชเทคโนชีวภาพ/พืชจีเอ็ม ปี ๒๕๕๖ จาก ๒๗ ประเทศทัว� โลก ภาพที่ ๑ ประเทศ พืน้ ทีป่ ลูกและชนิดพืชเทคโนชีวภาพ/ รายยอยของฟลิปปนส ที่ไดรับประโยชนจากขาวโพด พืชจีเอ็ม ป ๒๕๕๖ จาก ๒๗ ประเทศทัว่ โลก เทคโนชีวภาพ 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

99


ที� ๑ ประเทศ พื�นที�ปลูกและชนิดพืชเทคโนชีวภาพ/พืชจีเอ็ม ปี ๒๕๕๖ จาก ๒๗ ประเทศทัว� ศัโลก ตรูพืชลง

ไดมากถึง ๔๙๗ ลานกิโลกรัมของเนื้อสาร ออกฤทธิ์(a.i.) และในป ๒๕๕๕ เพียงปเดียว สามารถลด การปลดปลอย กาซคารบอนไดออกไซด ไดถงึ ๒๖.๗ ลาน กิโลกรัม ซึง่ เทากับการเอารถออกจากถนนไดมากถึง ๑๑.๘ ลานคันใน ๑ ป ชวยอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ โดยลดการขยายพื้นที่ปลูกลงได ๗๖๘.๗๕ ลานไรจากป ๒๕๓๙ - ๒๕๕๕ และชวยบรรเทาความยากจนใหกับ เกษตรกรรายยอยไดมากกวา ๑๖.๕ ลานคน รวมทั้ง ครอบครัวของเกษตรกรคิดเปน จำนวนทั้งหมดมากกวา ๖๕ ลานคน ซึ่งบางกลุมของเกษตรกรเปนบุคคลที่จนที่สุด ในโลก ที� ๒ การเติบโตของพื�นที�ปลูกโดยรวม กลุ่มประเทศกําลังพัฒนาและกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม ตั�งแต่ปี อยางไรก็ตามแมวาพืชเทคโนชีวภาพจะเปนสิ่ง ๒๕๓๙ (1996) – ๒๕๕๖ (2013) ภาพที่ ๒ การเติบโตของพืน้ ทีป่ ลูกโดยรวม จำเปน แตไมใชยารักษาสารพัดโรค และตองมีการปฏิบัติ าวหน้าอย่างงต่ �องในทวีปแอฟริ กาในปี ๒๕๕๖ นอกจากประเทศแอฟริ กาใต้ กลุมีม ความก้ ประเทศกำลั พัอฒเนืนาและกลุ ม ประเทศอุ ตสาหกรรม ่ดี เชน มีการปลูกพืชหมุนเวียนและมีการ ปลูกพืชเทคโนชี ๑๐ ปี ประเทศเบอร์ ิน่า ฟาโซ และซูดานได้เพิ�มพื�นที�ปลูทางการเกษตรที กฝ้ ายบีทีสูง ตัง้ วแตภาพมามากกว่ ป ๒๕๓๙า(1996) - ๒๕๕๖ค(2013) บริหารจัดการความตานทานซึ่งเปนสิ่งที่ตองทำในพืชเทค อยละ ๕๐ และ ๓๐๐ ตามลําดับ มีความกาวหนาอยางตอเนื่องในทวีปแอฟริกาในป โนชีวภาพ เชนเดียวกับการปลูกดวยพืชปกติ ๕ ๒๕๕๖ นอกจากประเทศแอฟริ กาใต ที่ไดปลูกพืชเทคโน ๒.๕ คำสารภาพของนักตอตานดานสิ่งแวดลอม ชีวภาพ มามากกวา ๑๐ ป ประเทศเบอรคินา ฟาโซ และ เกี่ยวกับพืชเทคโนชีวภาพ Mark Lynas นักตอตานดาน ซูดานไดเพิ่มพื้นที่ปลูกฝายบีทีสูงถึงรอยละ ๕๐ และ ๓๐๐ สิ่งแวดลอมและนักเขียนชาวอังกฤษจากเดิมเปนผูรณรงค ตามลำดับ ในกลุมสหภาพยุโรปมี ๕ ประเทศ ที่ปลูกพืช เทคโนชีวภาพในป ๒๕๕๖ บนพื้นที่ปลูกทั้งหมด ๙.๒๕ ตอตานและทำลายพืชเทคโนชีวภาพ แตกลับมาสนับสนุน แสนไร เปนขาวโพดบีที เพิ่มขึ้นจากป ๒๕๕๕ คิดเปน เทคโนโลยีชีวภาพและกลาวขอโทษตอสังคม คำกลาวบาง รอยละ ๑๕ โดยสเปนยังเปนผูนำในกลุมสหภาพยุโรปที่ ประเด็น มีดังนี้ ปลูกขาวโพดบีทีดวยพื้นที่ปลูก ๘.๕๖ แสนไร เพิ่มขึ้นจาก “ผมเคยฟนธงวา เทคโนโลยีเมล็ดเปนหมัน (Terminator ป ๒๕๕๕ คิดเปนรอยละ ๑๘ Technology) นัน้ เปนการขโมยสิทธิของเกษตรกรทีจ่ ะเก็บ ในกลุมอาเซียน มีฟลิปปนสปลูกขาวโพดบีทีและ ขาวโพดทีท่ นทานไกลโฟเสทในอนาคตจะปลูกมะเขือมวงบีที เมล็ดพันธุไว กลับกลายเปนวา ไมเคยมีการนำเทคโนโลยี เมียนมาร ปลูกฝายบีที อินโดนีเซียปลูกออยทนแลง และ เมล็ดเปนหมันนั้นมาใช และเกษตรกรก็นิยมซื้อเมล็ดพันธุ ในอนาคตจะปลูกออยที่มีน้ำตาลสูง เวียดนาม ยังอยู ลูกผสมมาปลูกใหมทุกฤดู มานานมากแลว” ระหวาง การพิจารณาอนุญาตใหปลูกขาวโพดบีที และ “ผมเคยฟนธงวา ไมมีใครตองการปลูกพืชเทคโน ขาวโพดที่ทนทานไกลโฟเสท ชีวภาพ แตความจริงแลว ฝายบีทีนั้นถูกลักลอบนำเขาไป ประโยชนที่ไดจากการปลูกพืชเทคโนชีวภาพ เมื่อ พิจารณาในภาพรวมจากป ๒๕๓๙ - ๒๕๕๕ พืชเทคโน ปลูกในอินเดีย และถั่วเหลืองราวดอัพเรดดี้ ถูกแอบปลูก ชีวภาพ มีสว นชวยในเรือ่ งของความมัน่ คงทางอาหารความ ในบราซิลเพราะวาเกษตรกรปรารถนาทีจ่ ะปลูกเปนอยางยิง่ ” ยัง่ ยืนและการเปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดลอม/ภูมอิ ากาศ โดย “ผมเคยฟนธงวา พืชเทคโนชีวภาพเปนของอันตราย การเพิ่ม ผลผลิตพืชที่คิดเปนมูลคา ๓,๕๐๗ พันลานบาท กลับกลายเปนวา มีความปลอดภัยและแมนยำในการพัฒนา ชวยใหสง่ิ แวดลอมดีขน้ึ โดยลดการใชสารเคมีปอ งกันกำจัด ยิง่ กวาพืชทีป่ รับปรุงพันธุ ดวยวิธชี กั นำใหกลายพันธุเ สียอีก” 15 ป รวมพลคนเกษตร

100

ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ภาพที� ๒ การเติบโตของพื�นที�ปลูกโดยรวม กลุ่มประเทศกําลังพัฒนาและกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม ตั�งแต่ปี ๒๕๓๙ (1996) – ๒๕๕๖ (2013) วามก้าวหน้ กาในปี นอกจากประเทศแอฟริ “ดังนั้น นวัตกรรมทางการเกษตรที่เปนที่ตองการ ๒๕๓๔มีคจากนั ้นมีาอย่การางต่อสเนืง�องในทวี เสริมปสนัแอฟริบสนุ นให๒๕๕๖ มีการวิ จัย และ กาใต้ ที�ได้ปลูกพืชเทคโนชีวภาพมามากกว่า ๑๐ ปี ประเทศเบอร์ คิน่า ฟาโซ และซู ดานได้เพิ�มพื�นที�ปลูกฝ้ ายบีทีสูง อยางยิ่งนี้ จึงถูกรัดคอไวใหหายใจไมออกดวยกฎเกณฑ พัฒและนาด นพันาดัธุบวิศวกรรมมาโดยตลอด รวมทั้งมีการจัด ถึงร้อยละ ๕๐ ๓๐๐าตามลํ มากมาย ที่ไมอยูบนพื้นฐานของการประเมินความเสี่ยง ตั้งหนวยพันธุวิศวกรรมดาน ๕พืชขึ้นที่มหาวิทยาลัยเกษตร ทางวิทยาศาสตร ความเสี่ยงในวันนี้ไมใชเรื่องที่จะมีใคร ศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน บางคน ไดรับ อันตรายจากอาหารที่ทำมาจากพืชเทคโน สวทช. โดยศูนยพนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ ชีวภาพอีกตอไปแลว แตเปนเรื่องของคนหลายลานคนที่ แหงชาติ (ศช.) ไดดำเนินงานวิจัยและพัฒนาพืชเทคโน ไมมีอาหารจะกินเพียงพอ” ชีวภาพ มาตั้งแตป ๒๕๒๘ โดยรวมมือกับมหาวิทยาลัย “แตที่สำคัญเหนือสิ่งอื่นใด คือการที่เกษตรกรควร เกษตรศาสตร เชน การพัฒนาพันธุมะละกอที่ตานทาน ที่จะมีอิสระในการเลือกใชเทคโนโลยีที่ตองการจะใช ถา โรคใบดางจุด วงแหวน พันธุมะเขือเทศที่ตานทานโรค เห็นวาวิธีการเดิมๆ ที่เคยใชนั้นดีที่สุดแลว ก็มีสิทธิที่จะ ใบหงิกเหลือง และพันธุก ลวยไมทย่ี น่ื อายุการบานของดอก เลือกเชนนั้น” เปนตน ซึ่งงานวิจัย และพัฒนาดังกลาวยังอยูในระดับ ๒.๖ สถานการณการพัฒนาและการใชประโยชน ของการทดสอบในโรงเรือน จากพืชเทคโนชีวภาพในประเทศไทย ในป ๒๕๔๖ รัฐบาลไดมกี ารพัฒนานโยบายระดับชาติ ๑) การวิจยั และพัฒนา ประเทศไทยมีความตระหนัก ดานเทคโนโลยีชวี ภาพขึน้ เพือ่ ดำเนินการในชวง ป ๒๕๔๗ ในการใชประโยชนเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมเพื่อพัฒนา ๒๕๕๒ และมีการกำหนดกลยุทธรวมทัง้ แผนทีน่ ำทาง (Road การเกษตรมานานแลว รัฐบาลจึงไดมีการจัดตั้งศูนย Map) ขึน้ สำหรับกิจกรรมตางๆ รวมทัง้ เรือ่ งการ ใชเทคโน พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (ไบโอเทค) โลยีพันธุวิศวกรรม การพัฒนาบุคคลากร หองปฏิบัติการ ขึ้นในป ๒๕๒๖ และไดโอนยายเขาสังกัดในสำนักงาน และงบประมาณในการดำเนินงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช) ในป

แปลงทดลองสถาบันอีรี 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

101


๒) การทดสอบพืชเทคโนชีวภาพระดับภาคสนาม ที่ผานมา ประเทศไทยไดดำเนินการทดสอบภาคสนามพืช เทคโนชีวภาพเปนประเทศแรกในอาเซียนตั้งแตป ๒๕๓๘ พืชเทคโนชีวภาพที่ทำการทดสอบ เชน มะเขือเทศชะลอ การสุกงอม (Flavr Savr) ในป ๒๕๓๘ และ ฝายตานทาน หนอนเจาะสมอ (ฝาย บีที) ในป ๒๕๓๙ และ ๒๕๔๓ เปนตน และตอมาที่ประชุมคณะรัฐมนตรีไดมีมติ “หาม การทดสอบพืชเทคโนชีวภาพระดับภาคสนาม” ตามขอ เรียกรองของกลุม “สมัชชาคนจน” เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๔ แตสามารถดำเนินการทดสอบไดในโรงเรือนเทานัน้ ในระหวางป ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ เมือ่ มีรฐั บาลเฉพาะกาล หลังการปฏิวัติ คณะรัฐมนตรีในขณะนั้นเห็นชอบให ดำเนินการทดสอบภาคสนามได แตมีเงื่อนไขในประเด็น สำคัญ ดังนี้ ตองดำเนินการในสถานที่ราชการตองให ประชาคม ในทองถิ่นเห็นชอบในการทดสอบ ผานการ ทำประชาศึกษาหรือประชาพิจารณ พัฒนากฎหมายความ ปลอดภัยทาง ชีวภาพใหแลวเสร็จ และการทดสอบภาค สนามแตละครัง้ ตองไดรบั ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เปนกรณีๆ ไป ๒.๗ การประเมิ น ความปลอดภั ย ทางชี ว ภาพ พืชเทคโนชีวภาพทุกชนิดตองผานขั้นตอนการประเมิน ความปลอดภัย ทางชีวภาพ กอนการอนุญาตใหปลูกเพื่อ ใชประโยชนในเชิงการคา ทั้งนี้เพื่อยืนยันวาพืชเทคโน ชีวภาพดังกลาวมีความ ปลอดภัยไมแตกตางไปจากพืช ดั่งเดิมกอนไดรับการดัดแปลงพันธุกรรม ซึ่งเรียกกันใน เชิงวิชาการวาการประเมินความ เสี่ยง (risk assessment) โดยทำการประเมินผลกระทบที่อาจมีตอสิ่งแวดลอมและ สุขอนามัยมนุษย ตามหลักการและ วิธกี ารทางวิทยาศาสตร เปนการดำเนินการประเมินแบบทีละขัน้ ตอน (step-by-step) ตั้งแตระดับหองปฏิบัติการระดับ โรงเรือน และระดับ ภาคสนาม โดยมีหลักในการประเมิน ดังนี้ คือ อยูบนพื้น ฐานทางวิทยาศาสตร (science-based) อยูบนพื้นฐาน ของผลิตผล อยูบนพื้นฐานของการประเมินแบบเป น กรณีๆ ไป (case-by-case) อยูบนพื้นฐานการประเมิน เปนขั้นตอน (step-by-step) อยูบนพื้นฐานของความคุน เคย (familiarity) หรือความเทียบเทา (substantial equivalence) อยูบนพื้นฐานที่สาธารณชนไดมีสวนรวม

102

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

(public participation) และจากประวัติการบริโภคพืช เทคโนชีวภาพที่ไดรับ อนุญาตใหจำหนายในเชิงพาณิชย ในชวงเวลา ๑๘ ปที่ผานมา ยังไมปรากฏวามีรายงานการ เกิดผลกระทบตอสุขภาพ ของผูบ ริโภคแตอยางใด ซึง่ หนวย งานนานาชาติไดออกมายืนยันความปลอดภัยทางชีวภาพ ดานอาหาร เชน • ราชสมาคมของอังกฤษ (Royal Society) ในป ๒๕๔๖ รายงานวา พืชเทคโนชีวภาพ มีความปลอดภัย เทาเทียมกับพืชชนิดเดียวกันที่ไดจากการปรับปรุงพันธุแบ บดั้งเดิม และยังไมมีหลักฐานใดๆ ที่บงบอกวาอาหาร จากพืชเทคโนชีวภาพกอใหเกิดภูมิแพ • องคการอนามัยโลก (WHO) ในป ๒๕๔๗ ระบุ วา อาหารจากพืชเทคโนชีวภาพที่มีอยูในทองตลาดลวน ผาน กระบวนการประเมินความปลอดภัยมาแลวทั้งสิ้น จึงไมมคี วามนาจะเปนทีจ่ ะกอใหเกิดความเสีย่ งในการบริโภค ยิ่งไป กวานั้น ยังไมเคยมีรายงานผลกระทบตอสุขภาพที่ เปนผลมาจากการบริโภคอาหารจากพืชเทคโนชีวภาพใน ประชากร ของประเทศที่อนุญาตใหมีการใชพืชเหลานี้ • ศูนยนานาชาติเพื่อการคาและการพัฒนาอยาง ยัง่ ยืน (International Centre for Trade and Sustainable Development - ICTSD) ในป ๒๕๕๐ ระบุวา จากหลักฐาน ทางวิทยาศาสตรที่ปรากฏตั้งแตเริ่มมีการใชประโยชนจาก พืชเทคโนชีวภาพเชิงพาณิชยจนกระทั่งปจจุบัน บงชี้วาพืช เทคโนชีวภาพยังไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและตอ สุขอนามัย มนุษย ๒.๘ การกำกับดูแล ประเทศไทยไมอนุญาตให นำเขาพืชเทคโนชีวภาพ ยกเวนเพื่อการศึกษาทดลองโดย อาศัย กลไกการควบคุมของพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. ๒๕๐๗ (แกไขเพิม่ เติม พ.ศ. ๒๕๔๒) ซึง่ มีประกาศกระทรวง กำหนด ให พืชเทคโนชีวภาพ ๓๓ ชนิด (species) ๕๑ สกุล (genus) และ ๑ วงศ (family) เปนสิง่ ตองหามมิใหนำเขา ยกเวนขาวโพดและถัว่ เหลืองทีน่ ำเขามาเพือ่ เปน วัตถุดบิ ใน การผลิ ต เป น อาหารหรื อ เพื ่ อ ใช ใ นอุ ต สาหกรรม และสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) ออก ประกาศ กฎกระทรวงใหตดิ ฉลากสินคาทีม่ สี ว นผสมพืชเทคโนชีวภาพ ในสวนผสมหลัก (กำหนด threshold รอยละ ๕ ของแตละ สวนประกอบใน ๓ อันดับแรก) เพือ่ ใหขอ มูลแกผูบริโภค


ขาวโพดบีที มาตรการทีใ่ ชบงั คับขางตนอาศัยกลไกของกฎหมาย ที่มีอยูในปจจุบันซึ่งมิไดมีเจตนารมณเพื่อใชกำกับดูแลใน เรื่องความปลอดภัยทางชีวภาพโดยตรง ดังนั้น กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจึงไดจัดทำ “(ราง) พระราชบัญญัติความปลอดภัยทางชีวภาพเนื่องจากสิ่งมี ชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม พ.ศ. …. ” ที่สอดคลองกับ เจตนารมณ ของพิธีสารคารตาเฮนาฯ ซึ่งประเทศไทยได เขาเปนภาคี โดย ผานการอนุมตั หิ ลักการจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ขณะนี้ผานการ พิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแลวรอนำ เสนอใหคณะรัฐมนตรี พิจารณา ๒.๙ ความคิดเห็นจากนักวิชาการไทย ศาสตราจารย ดร.สุทศั น ศรีวฒั นพงศ (ทีป่ รึกษาสมาคมเทคโนโลยีชวี ภาพ สัมพันธ) ใหความคิดเห็นวา เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม หรือเทคโนโลยีดานพันธุวิศวกรรม เปนเทคโนโลยีที่มี ศักยภาพสูง ในการพัฒนาพันธุพืช และมีความกาวหนา ในงานวิจยั และพัฒนามาตามลำดับ เห็นควรทีจ่ ะสนับสนุน ใหเกษตรกรใชพืช เทคโนชีวภาพเปนพืชทางเลือกหนึ่ง ในการเพาะปลูก รวมทั้งใหยกเลิกเงื่อนไขที่เปนขอจำกัด ในการทำงานวิจัยและพัฒนา รองศาสตราจารย ดร. วิชัย โฆสิตรัตน (อาจารย ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน) กลาววา ในขณะ

ทีท่ ว่ั โลกสนใจทีจ่ ะพัฒนาพืชเทคโนชีวภาพทีม่ คี วามสำคัญ ทางเศรษฐกิจไมกี่ชนิด แตมีพืชอีกหลายชนิดที่มีความ สำคัญ ในประเทศไทย ถานักวิชาการชาวไทยไมทำแลว ใครจะทำ และชี้ใหเห็นวา แมแตประเทศเพื่อนบานอยาง เชน อินโดนีเซีย ก็ไดพัฒนาพันธุออยทนแลงจนเปนผล สำเร็จ รองศาสตราจารย ดร. เสริมสิริ (อาจารย ภาค วิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน) ใหขอคิดวา ดวย นโยบาย ที่ไมชัดเจน ทำใหไมมีหนวยงานใดใหการสนับ เงินทุน หรือใหก็เพียงเล็กนอยซึ่งไมเพียงพอตอการทำงาน วิจัยและ พัฒนาพันธุพืชเทคโนชีวภาพ ซึ่งกวาจะไดพันธุ พืชใหมๆ จะตองใชเวลาในการวิจยั และพัฒนาไมนอ ยกวา ๑๐ ป จึงเสนอ ใหภาครัฐสนับสนุนการวิจยั และพัฒนาพันธุ ในพืชที่เปนพืชหลักของประเทศ ๒.๑๐ ความคิดเห็นจากผูสื่อขาวเกษตร นายถวิล สุวรรณมณี อดีตนายกสมาคมผูส อ่ื ขาวเกษตรแหงประเทศไทย ใหความเห็นวา จากการติดตามขาวเรือ่ งของการใชประโยชน จากพืชเทคโนชีวภาพ ไมพบวามีรายงานใดๆ แสดงใหเห็น วามีผลกระทบทางลบตอมนุษยและ สิ่งแวดลอมประกอบ กับมีการนำเขาเมล็ดถั่วเหลืองและกากถั่วเหลืองที่เปนผล ผลิต จากพืชเทคโนชีวภาพเขาประเทศจำนวนมาก เพื่อ ใชเปนอาหารคนและอาหารสัตว และความพยายามที่จะ ผลักดันให ประเทศไทยเปนศูนยกลางเมล็ดพันธุ (Seed Hub) ดังนัน้ เรือ่ งของการใชประโยชนจากเทคโนโลยีชวี ภาพ ทางการเกษตร จะตองผลักดันใหเกิดขึ้นใหได นายประเวศ แสงเพชร นักเขียนอาวุโส เครือมติชน เสนอวา เพื่อใหเกิดเปนรูปธรรม ภาครัฐควรกำหนดหรือ เลือกพืชที่จะตองพัฒนาดวยเทคโนโลยีสมัยใหม รวมทั้ง กำหนดขอบเขตของพืน้ ทีท่ จ่ี ะสงเสริมใหปลูกพืชเทคโนชีวภาพ ๒.๑๑ ความคิดเห็นจากเกษตรกรไทย กำนันสนอง รัตนทอง ผูทรงคุณวุฒิสภาเกษตรกรแหงชาติ เกษตรกร จังหวัดนครสวรรค ไดแสดงความคิดเห็นวา ในงานวิจัย และพัฒนาพืชเทคโนชีวภาพ รวมถึงการใชประโยชนจาก พืชเทคโนชีวภาพของประเทศไทยยังลาหลัง ประเทศ เพื่อนบาน ไมมีความกาวหนา รัฐบาลควรที่จะผลักดัน ในเรื่องนี้อยางจริงจัง เพราะเปนประโยชนโดยตรงตอ 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

103


เกษตรกร ไมวา จะชวยลดตนทุนการผลิตรักษาสิง่ แวดลอม และลดการสูญเสียผลผลิตอันเกิดจากการทำลายของศัตรูพชื นายนิวตั ิ ปากวิเศษ เกษตรกรบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร ผูประสบปญหาจากโรคใบดางจุดวงแหวนในมะละกอ จน ตองลมเลิกการปลูก ใหความคิดเห็นวา เกษตรกรตองการ มะละกอเทคโนชีวภาพ โดยฝากถึงรัฐบาลวาขอใหมอง อนาคต ขางหนาประชากรเพิ่ม พื้นที่ทำการเกษตรลดลง ถาไมเอาเทคโนโลยีเขามาชวยในการเพิ่มการผลิตเพื่อให เพียงพอตอ ผูบริโภคอนาคตขางหนาก็จะลำบาก ๒.๑๒ ความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น ๑) ความสูญเสียโอกาสในการผลิตพืช เชน ใน กรณีของฝายที่ประสบปญหาจากหนอนเจาะสมอ ทำให พื้นที่ ปลูกลดลงเหลือเพียงประมาณไมเกิน ๒ หมื่นไร จากอดีตที่เคยมีพื้นที่ปลูกมากกวา ๑ ลานไร สงผลใหผล ผลิตที่ได ไมเพียงพอตอการใชภายในประเทศ ทำใหตอง

ขาวโพดบีทใี นหองแลปทีอ่ นิ โดนีเซีย

104

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

มีการนำเขาฝาย จนกลายเปนผูนำเขาฝายรายใหญอันดับ ๖ ของโลก นอกจากนี้ยังมีความสูญเสียที่เกิดกับ ขาวโพด ถั่วเหลือง และมะละกอ ซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของ ประเทศ ๒) ความสูญเสียโอกาสที่จะเปนผูนำในการผลิต เมล็ดพันธุ ประเทศไทยมีโอกาสสรางรายไดจากการสงออก และจำหนายเมล็ดพันธุในประเทศ คิดเปนมูลคาสูงถึง ๘.๙ พันลานบาทตอป สรางงานในประเทศที่ตองใช เกษตรกร ผูผลิตเมล็ดพันธุมากกวา ๓ หมื่นครัวเรือน และมีรายไดประมาณ ๓ พันลานบาทตอป ซึ่งถาไมสนับ สนุนการใช ประโยชนจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม โอกาสดังกลาวก็จะหมดไป ๓) ความสูญเสียบุคลากร โดยเฉพาะบุคลากรที่ ได ร ั บ การพั ฒ นาทางด า นเทคโนโลยี ช ี ว ภาพสมั ย ใหม เนื่องจากไมมีความกาวหนาในการทำงานวิจัย ๔) มีความเสียงทีจ่ ะสูญเสียตลาดและความสามารถ ในการแขงขันดานการเกษตรโดยเฉพาะกับอินโดนีเซีย ฟลปิ ปนสและเมียนมาร เนือ่ งจากประเทศเหลานีม้ กี ารพัฒนา การเกษตรโดยใชเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม ๓. แนวทางการใชประโยชนจากเทคโนโลยีชวี ภาพ สมัยใหมในการพัฒนาการเกษตร ภาครัฐควรดำเนินการ เพื่อแกปญหาผลกระทบทางเศรษฐกิจจากวิกฤติการเมือง ในประเทศ ดังนี้ ๑) จัดตั้งองคกรกลางระดับชาติ รวมทั้งตองมี คณะกรรมการกลางระดั บ ชาติ ที ่ ป ระกอบด ว ยผู  ท รง คุณวุฒิทั้ง จากภาครัฐและเอกชน เพื่อการบริหารจัดการ อยางครบถวน และทันสถานการณการเปลี่ยนแปลง โดย ครอบคลุมถึง การวิจยั และพัฒนา การประเมินความเสีย่ ง การปลดปลอยเพือ่ การคา การติดตามประเมินผล รวมถึง การกำกับดูแล และการแกไขปญหาทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต จากการใชเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม ๒) สนับสนุนและผลักดันงบประมาณใหทุกหนวย งานและองคกรที่เกี่ยวของ ดำเนินกิจกรรมเพื่อใหความรู และ สรางความตระหนักในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับเทคโนโลยีชวี ภาพ สมัยใหมและความปลอดภัยทางชีวภาพอยางตอเนื่อง


๓) สนับสนุนใหมีการเขาถึงและใชประโยชน เทคโนโลยีกา วหนาอยางครบถวน รวมทัง้ เทคโนโลยีชวี ภาพ สมัยใหม โดยการ ๓.๑) สงเสริมและสนับสนุนใหมีงานวิจัยและ พัฒนาพืชเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหมจนจบ ทุกขั้นตอน จนถึงขั้นตอนการทดสอบภาคสนาม ซึ่งเปน ขัน้ ตอนทีส่ ำคัญเพือ่ การประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ ดานอาหาร และ สิ่งแวดลอม ๓.๒) ใชเทคโนโลยีกา วหนาทีม่ อี ยู ในหลายๆ มิติ เชน - การใชเทคนิค Marker Assist Selection (MAS) ในการคัดเลือกพันธุพ ชื เพือ่ ใหมลี กั ษณะตามทีต่ อ งการ เชน ทนรอน ทนแลง ทนน้ำทวม ตานทานโรค เพิม่ ความ หวาน ฯลฯ ซึง่ จะชวยลดระยะเวลาในการพัฒนาพันธุพ ชื - การใชเทคนิคทางดานพันธุวิศวกรรม ในการพัฒนาพันธุพ ชื เพือ่ ใชเปนพืชพลังงาน เชน พันธุห ญา ที่มีลิกนิน (Lignin) ต่ำ - การใชเทคนิคทางดานพันธุวิศวกรรม ในการพัฒนาพันธุพ ชื เพือ่ ใชเปนเภสัชภัณฑ เชน ขาวสีทอง (ตานทานการขาดวิตามิน เอ แกปญหาโรคตาบอดใน เวลากลางคืน Night blindness) - การใชเทคนิคทางดานพันธุโมเลกุล ในการศึกษาจีโนม และการลำดับดีเอนเอของพืชเพื่อการ คนหายีนใหมๆ ที่ตองการแลวนำมาใชในการพัฒนาพันธุ พืชตอไป ๒) ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวของ อาทิ ยกเลิก มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เปนตน เพื่อสงเสริมใหเกิดการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ และเปดโอกาสใหเกษตรกรสามารถเขาถึงการใชประโยชน จากเทคโนโลยีอยางเหมาะสม ๓) เรงกระตุน ใหสงั คมไทยไดทำความเขาใจในราง พระราชบัญญัติความปลอดภัยทางชีวภาพ เนื่องจากสิ่งมี ชีวิต ดัดแปลงพันธุกรรม พ.ศ. …. ซึ่งขณะนี้ไดผานการ พิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแลว และ อยูระหวาง รอนำเสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาผลักดัน ในโอกาสตอไป

๔) ตองใหการสนับสนุนการทดสอบพืชเทคโน ชีวภาพในภาคสนาม เพื่อรวบรวมขอมูลที่จำเปน (ความ ปลอดภัย ทางดานอาหารและสิ่งแวดลอม) สำหรับการ พิจารณาแนวทางทีเ่ หมาะสมสำหรับ เกษตรกรไดใชประโยชน จากเทคโนโลยี ๕) ประกาศนโยบายในเรื่องนี้ใหชัดเจน วาใหมี การวิจัยและพัฒนาพืชเทคโนชีวภาพ เพื่อการพัฒนาการ เกษตรในประเทศไทย โดยมีการกำหนดพืชทีจ่ ะตองพัฒนา และกำหนดเขตพื้นที่เพื่อปลูกพืชดังกลาวในเชิงการคา ๖) กำหนดใหการใชประโยชนจากเทคโนโลยีชวี ภาพ สมัยใหมในการพัฒนาการเกษตร เปนวาระแหงชาติ และ ใหบรรจุอยูในแผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ ฉบับที่ ๑๒

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

105


การเตรียมความพรอม

สินคาเกษตรยางพาราของประเทศไทย ในการกาวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ป ๒๕๕๘

นายอุทัย สอนหลักทรัพย ประธานชุมนุมสหกรณเกษตรอุตสาหกรรมยางแหงประเทศไทย จำกัด

ยางพารานิยมปลูกในประเทศไทย ๖๓ จังหวัด เกษตรกรชาวสวนยางกวา ๑.๒ ลานครัวเรือน เกิดปญหา เพราะราคายางตกต่ำอยางตอเนื่องมาจากตนป ๒๕๕๔ จากที่เคยปรากฏวาราคายางแผนสูงถึง ๑๘o บาท/กก. ปจจุบนั วิกฤตราคายางลดลงอยางตอเนือ่ ง ราคายางแผนดิบ ที่ตลาดกลางหาดใหญเมื่อเดือนมกราคม ๒๕๕๖ อยูที่ ๘๗.๔๕ บาท/ กก. และลดลงอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน ราคายางลดต่ำกวาตนทุนการผลิต ซึ่งในเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๗ ลดลงเหลือ ๖๒.๗๕ บาท/กก. จนถึงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ ลดต่ำสุดเหลือ ๔๖.๗๘ บาท/กก. ทั้งๆ ทีต่ น ทุนการผลิตทีส่ ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรไดกำหนด ในป ๒๕๕๖ ไวที่ ๖๕.๒๕ บาท/กก. จึงทำใหเกษตรกรทั่ว ประเทศเดือดรอนมาก บางรายถึงกับหยุดกรีดยางหันไป ประกอบอาชีพอื่นๆ ซึ่งไดคาแรงขั้นต่ำ ๓oo บาท/วัน นอกจากนัน้ เกษตรกรบางรายตองประกอบอาชีพเสริมและ ถาจะโคนยางปลูกใหม ราคาไมยางก็ตกลงกวาครึง่ จึงทำ ใหเกิดปญหาแกเกษตรกรชาวสวนยางทั่วไปทั้งประเทศ

106

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

นอกจากนั้น ความเดือดรอนที่เกิดขึ้นมิใชเฉพาะ ในประเทศไทยประเทศเดียว เพราะผลผลิตยางในชาติ อาเซียน เชน อินโดนิเซีย มาเลเซีย เวียดนาม กัมพูชา พมา ลาว ฟลิปปนส เพิ่มมากขึ้น และมีตนทุนการผลิตถูกกวา ประเทศไทย (ยกเวนมาเลเซีย) เกษตรกรก็เดือดรอนเชนกัน โดยเฉพาะประเทศไทย ซึง่ มีตน ทุนการผลิตสูงกวาอีกหลาย ประเทศจึงทำความเดือนรอนใหแกเกษตรกรไทย นอกจาก นี้ สืบเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ทำใหความตองการ ใชยางชะลอตัวลงอุปสงค (Dmand) เพิ่มชากวาอุปทาน (Supply) ดังนั้นประเทศไทยควรจะเคลื่อนไหวโดยใชเวที อาเซียนใหเปนประโยชน เพราะปริมาณยางทีอ่ ยูใ นอาเซียน รวม ๘ ประเทศประมาณ ๘o% ของมวลรวมทั้งโลก รัฐบาลไทยควรที่จะมีการประสานหาแนวทางเพื่อรวมกัน กำหนดราคายางใหเปนราคาเดียวกันในอาเซียน นอกจาก นั้นถาราคายางตกต่ำกวาตนทุนการผลิตอยางปจจุบันก็ ใหแตละประเทศในอาเซียนเก็บยางไวประเทศละ ๑ - ๒ แสนตัน ยางก็จะไม over supply เมือ่ ราคายางเขาสูภ าวะ ปกติก็นำยางทยอยออกมาขาย ซึ่งจะเปนการรวมตัวเพื่อ การตอรองราคาในตลาดโลกโดยไมแพกลุม น้ำมันใน Opec.


จากการประมาณการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ไทยในป ๒๕๕๗ โดยสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สศช.) คาดการณไวที่รอยละ ๑.๕-๒.๕ และ หนวยงานของรัฐหลายหนวยคาดวาอาจขยายตัวเฉลี่ย ประมาณรอยละ ๒.๓ ขณะทีภ่ าคเอกชนโดยศูนยพยากรณ เศรษฐกิจหลายสำนักประเมินวาเศรษฐกิจอาจโตไดตำ่ กวา รอยละ ๑.๕-๒.๐ อยางไรก็ดี การดำเนินการของรัฐบาล ในการแกปญหาการเมืองในประเทศและมาตรการฟนฟู กระตุน เศรษฐกิจอาจสงผลทำใหการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในปนี้ดีกวาที่ไดมีการคาดการณไวกอนหนานี้ โดยสำนัก เศรษฐกิจการคลัง หรือ สศค. ประเมินวาเศรษฐกิจไทยป ๒๕๕๗ อาจขยายตัวไดถึงรอยละ ๓.๐ จึงมีความทาทาย ทั้งของประเทศและความสามารถของรัฐบาลที่จะเขามา บริหารจัดการเพือ่ ใหเศรษฐกิจมีการฟน ตัวไดเร็วชาเพียงใด ตองอาศัยความรวมมือกันทุกฝาย ซึง่ จากอดีตทีผ่ า นมาในป ๒๕๓๔ ประเทศมาเลเซีย ผลิตยางเปนอันดับหนึ่งของโลก หลังจากนั้นประเทศ มาเลเซียลดพื้นที่ปลูกยางโดยโคนยาง ปลูกปาลมน้ำมัน และหั น มาซื ้ อ วั ต ถุ ด ิ บ ยางพาราจากประเทศไทยและ ประเทศอินโดนีเซียเพื่อนำไปเพิ่มมูลคาเปนผลิตภัณฑ

อุตสาหกรรมการสงออก จนเปนทีร่ จู กั กันทัว่ โลก หลังจาก นั้นประเทศไทยก็เพิ่มจำนวนสวนยางพันธุดีมากขึ้นจน สามารถผลิตวัตถุดบิ ยางพาราเปนอันดับหนึง่ ของโลกจนถึง ปจจุบนั ซึง่ ทำความภาคภูมใิ จใหแกประเทศไทยมาโดยตลอด ซึ่งการสงออกยางธรรมชาติของไทยในป ๒๕๕๖ จำนวน ที่สงออก ๓,๖๖๔,๙๘๑ ตัน ซึ่งคิดเปนมูลคาเปนเงิน ๒๔๙,๒๘๙ ลานบาท และใชยางธรรมชาติทำผลิตภัณฑ ภายในประเทศจำนวน ๕๒๐,๖๒๘ ตัน คิดเปนมูลคา ๒๕๗,๒๐๔ ลานบาท ซึ่งถาเราเปรียบเทียบตัวเลขดูก็จะ เห็นไดชดั วาการนำวัตถุดบิ ยางธรรมชาติมาแปรรูปเพือ่ เพิม่ มูลคาเพียงรอยละ ๑๔ ของผลผลิตทั่วประเทศ จะนำราย ไดมาสูป ระเทศมากขึน้ นอกจากนัน้ ยังชวยคนไทยทีว่ า งงาน ใหมงี านทำขึน้ อีกในการทีไ่ ทยเปนผูผ ลิตยางเปนอันดับหนึง่ ของโลกแตเมื่อเปรียบเทียบรายไดเขาประเทศไดนอยกวา ผลิตภัณฑยาง ดังนั้นประเทศไทยเราควรเพิ่มมูลคายาง หรือหานักลงทุนมาทำผลิตภัณฑใหมากกวาปจจุบัน นอก จากนัน้ ในป ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะเขาสู AEC ดังนัน้ ควร นำยางรอบบานเราเขามาเพิม่ มูลคาเหมือนประเทศมาเลเซีย เมือ่ ป ๒๕๓๔ ก็จะเปนการสรางรายไดใหประเทศอยางมหาศาล 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

107


สถานการณยางพาราของอาเซียน

ภูมิภาคอาเซียนมีพื้นที่ปลูกยางและสงออกยาง พารามากทีส่ ดุ ในโลก โดยพืน้ ทีป่ ลูกยางของไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซียมีมากกวารอยละ ๖๕ และสามประเทศนี้ ผลิตยางในป พ.ศ. ๒๕๕๔ ประมาณ ๗.๔๓ ลานตัน หรือรอยละ ๖๘ จากผลผลิตทัว่ โลก ๑๐.๙๕ ลานตัน และ ในปจจุบนั ประเทศในอาเซียนมีการปลูกยางพารานอกจากไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซียแลวประเทศที่มีการปลูกยาง เพิ่มมากขึ้นคือ ประเทศเวียดนามซึ่งไดลงทุนปลูกยางใน พื ้ น ที ่ ข องประเทศพม า และลาวอี ก ด ว ยจึ ง ส ง ผลให เวียดนามเปนผูสงออกยางรายใหญอันดับ ๕ ของโลก (อันดับ ๔ ในอาเซียน) ถารวม ๘ ประเทศที่ปลูกยางใน อาเซียนจะมียางประมาณรอยละ ๘๐ ของการสงออกใน ตลาดโลก

ตารางที่ ๑ ขอมูลยางพาราของประเทศในกลุม AEC ป ๒๕๕๕ ประเทศ พื้นที่ปลูก (ลานไร) ไทย ๑๘.๗๖ อินโดนีเซีย ๒๑.๗๘ มาเลเซีย ๖.๓๘ เวียดนาม ๔.๕๓ เมียนมาร ๓.๓๙ กัมพูชา ๑.๓๓ ฟลิปปนส ๐.๘๖ ลาว ๑.๒๐ รวม ๕๘.๒๓

ผลผลิต (พันตัน) ๓,๗๗๘ ๓.๐๔๐ ๙๑๐ ๘๗๓ ๑๕๐ ๖๐ ๑๑๐ n.a ๘,๙๒๑

สงออก (พันตัน) ใชในประเทศ ๓,๑๒๑ ๕๐๕ ๒,๔๔๙ ๕๐๒ ๑,๒๕๗* ๔๕๒ ๑,๐๒๓ ๑๕๐ ๗๙ n.a ๕๕ n.a n.a n.a n.a n.a n.a n.a

สต็อก (พันตัน) ๕๑๖ ๑๔๓* ๑๔๓* ๑๒๒* n.a n.a n.a n.a n.a

แหลงที่มา : องคการศึกษาเรื่องยางระหวางประเทศ (International Rubber Study Group : IRSG);*=ป พ.ศ. ๒๕๕๔

108

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


สถานการณยางพาราของไทย

การผลิต การใช และการสงออก ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางพารา ๑๘.๗๖ ลานไร รองจากอินโดนีเซีย แตผลผลิตยางพาราของประเทศไทย ไดมากที่สุดในโลก ปละไมนอยกวา ๓ ลานตัน ปริมาณ การผลิตยางพาราเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งจาก ๓.๐๖ ลานตัน ในป พ.ศ. ๒๕๕๐ เพิม่ เปน ๓.๗๘ ลานตันในป พ.ศ. ๒๕๕๕ ประมาณรอยละ ๘๖ สงออกในรูปของวัตถุดบิ เปนยางแทง ยางแผนรมควัน น้ำยางขน ยางผสม ฯลฯ ไทยเปนประเทศทีใ่ ชยางมากเปนอันดับ ๕ ของโลก และเปนประเทศทีใ่ ชยางมากทีส่ ดุ ในกลุม ประเทศผูผ ลิตยาง โดยในป พ.ศ. ๒๕๕๖ ไทยใชยาง ๕๒๐,๖๒๘ ตัน ประเภท ของยางทีใ่ ชมากทีส่ ดุ ไดแก น้ำยางขน รองลงมาเปนยาง แทงและยางแผนรมควัน อุตสาหกรรมผลิตยางยานพาหนะ เปนอุตสาหกรรมทีใ่ ชยางมากทีส่ ดุ รองลงมาเปนถุงมือยาง ยางยืด ยางรถจักรยานยนต และยางรัดของ ฯลฯ ป พ.ศ. ๒๕๕๖ ไทยสงออก ๓.๖๖ ลานตัน เมือ่ เทียบ กับการสงออกในป พ.ศ. ๒๕๕๐ แลว เพิ่มขึ้นรอยละ ๑๖ ไทยสงยางออกคิดเปนรอยละ ๓๖ ของปริมาณยางสงออก ทั้งหมดของโลก ตลาดหลักที่สงออกไดแก จีน มาเลเซีย ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต ประเภทของยางที่สง ออกมากที่สุดคือ ยางแทง คิดเปนรอยละ ๔๔.๑ ยางแผน รมควัน รอยละ ๒๕.๓ น้ำยางขน รอยละ ๑๗.๖ และ ยางผสม รอยละ ๑๑.๕

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

109


การเตรียมความพรอมเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน

ขอไดเปรียบของประเทศไทยในกลุม ประเทศ AEC ๑) ไทยถือเปนศูนยกลางของกลุมประเทศ AEC เมื่อพิจารณาที่ตั้งทางภูมิศาสตร มีอาณาเขต ติดตอกับประเทศในกลุม AEC มากถึง ๘ ประเทศ ทั้ง พมา ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย อีกทั้งบาง สวนติดตอกับประเทศจีนซึ่งเปนประเทศผูใช ยางพารารายใหญที่สุดในโลก ถือวาไทยตั้งอยู ในชั ย ภู ม ิ ท ี ่ ด ี แ ละได เ ปรี ย บ มากในเรื ่ อ งของ Logistics และการเดินทางกับประเทศขางเคียง ๒) เปนแหลงวัตถุดบิ สำคัญทีม่ ผี ลผลิต เปนอันดับ ๑ ของโลก เหมาะแกการลงทุน ๓) แรงงานที่ใชทักษะ (Skill labor) ประเทศไทย มีสถาบันการศึกษาหลายแหงทีส่ อนและใหความรู ดานยางพาราตั้งแตระดับตนจนถึงปริญญาตรี เพียงแตรัฐตองเขาไปชวยสนับสนุนใหมากกวา ที่เปนอยูประเทศไทยก็จะไดมี ความไดเปรียบ ทางดานนี้มาก ๔) ความเปนมิตรของชนชาวไทยถือวา เปนขอ ไดเปรียบที่ทั่วโลกยอมรับ

110

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

ขอเสียเปรียบหรือจุดดอยของประเทศไทย ๑) กระบวนทัศนในเรื่องวิถีการผลิต (Mode of production) ยังคงเนนการเปน "ผูป ลูก" มากกวา "ผูผลิต" ผลผลิตที่ไดเปนการผลิตสินคาขั้นปฐม เพือ่ การสงออก มีโครงสรางระบบการผลิต การคา การตลาด การขอมูลขาวสารและระบบบริหาร จัดการภายใน กฎหมาย กฎ ระเบียบ รวมทั้ง ระบบเชือ่ มโยงระหวางประเทศยังคงตองบูรณาการ ใหเปนระเบียบกอนเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market & production base) ๒) นโยบายรัฐบาล โดยเฉพาะการเขามาแทรก แซงตลาดยางพาราโดยอาศัยขอมูลทีข่ าดเอกภาพ เนนการแกปญหาทางการเมืองเพียงอยางเดียว ดังนั้นเมื่อเปดเสรี ในกลุม AEC ป พ.ศ. ๒๕๕๘ จะมีปญ หามากหากไมปรับเปลี่ยนนโยบายเพราะ จะทำใหยางจากรอบๆ ประเทศเทศไทยทะลัก เขามาเต็มที่ ๓) กฎขอบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวของที่เปน ปญหาและอุปสรรค ๓.๑) พรบ. ควบคุมยาง พ.ศ. ๒๕๔๒ มีหลายบทบัญญัติที่เปนอุปสรรคในการ ที่จะเปดเสรีในเรื่องยางพารา โดยเฉพาะ การหามนำยางพาราจากตางประเทศ เขาไทย


๓.๒) กองทุนสงเคราะหการทำสวนยาง พ.ศ. ๒๕๐๓ การกำหนดเงินสงเคราะห (CESS) ในการสงยางออกนอกราชอาณาจักร ซึ่งตอนนี้สูงที่สุดในกลุม AEC จะทำให การปรับตัวทางธุรกิจเสียหาย อาจเปนเหตุ ใหผูประกอบการเคลื่อนยายฐานการผลิต ไปประเทศอื่นไดเพราะตนทุนการสงออก ประเทศไทยสูงกวา ๓.๓) กฎหมายสิ่งแวดลอมที่มีความเขม งวดยิ่งขึ้น และรัฐยังไมมีการเตรียมการ สงเสริมพื้นที่พิเศษในการลงทุนไปดวย ๓.๔) กฎหมายทางดานแรงงานและการ ปรับคาแรงขั้นต่ำ ๔) ระบบ Logistics กระบวนการในการดำเนินการ สงยางออกไปประเทศผูใชหรือที่พูดถึง Logistics ของประเทศไทย ยังมีตน ทุนทีส่ งู อยู ดังนัน้ จึงตอง รีบปรับตัวทาง ดานนี้ใหมากขึ้น โดยเนนระบบ รางควบคูไปกับถนนใหสอดคลองกันรวมถึงระบบ ศุลกากรและการอำนวยความสะดวกในการสงออก ใหมากขึน้ และบูรณาการทุก ภาคสวนทีเ่ กีย่ วของกัน

๕) ระบบการเก็บและอัตราภาษีสำหรับผูป ระกอบการ ควรตั้งทีมขึ้นมาเพื่อศึกษาระบบและอัตราภาษี ของประเทศในกลุม AEC โดยเฉพาะมาเลเซีย อินโดนีเซียและเวียดนาม เพื่อไมใหเกิดชองวาง กันมากเกี่ยวกับผลประโยชนที่ผูประกอบการจะ ไดรับ มิฉะนั้นผูลงทุนจะเคลื่อนยายไปประเทศ ที่ใหประโยชนมากกวา ๖) เพิ่มการลงทุนดานการผลิตผลิตภัณฑยาง สำเร็จรูปใหมากขึน้ โดยเพิม่ แรงจูงจากราคาวัตถุดบิ ที่ถูกกวา การมีแรงงานทักษะสูง (Skill Labor) และไดรับสิทธิประโยชนทางดานภาษีจากรัฐบาล

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

111


การเปดเสรีทางการคาในรูปของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

อุตสาหกรรมยางกำลังจะตองเผชิญกับการเปลีย่ น แปลงจากปจจัยภายนอกประเทศครั้งสำคัญอันไดแก การ เปดเสรีทางการคาในรูปของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในป พ.ศ. ๒๕๕๘ หรืออีก ๒ ปขางหนา โดยคาดหวังวาการจัดตั้งประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนนีจ้ ะทำใหภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาค อื่นๆ ได โดยทำใหอาเซียนเปนตลาดและฐานการผลิต เดียว (Single Market and Production Base) รวมทั้ง มีการเคลื่อนยายสินคาและบริการ ตลอดจนการลงทุน และแรงงานฝมอื โดยเสรี เพือ่ ผลประโยชนในอำนาจการตอ รองทางเศรษฐกิจ การสงออกและการนำเขาสินคาโดยมี เปาหมายใหบรรลุในป ๒๕๕๘ (ค.ศ. ๒๐๑๕) ดังนี้ ๑) สงเสริมใหอาเซียนเปนตลาดและฐานการผลิต เดียว มีการเคลื่อนยายสินคา ๒) บริการ การลงทุน แรงงานฝมอื และเงินทุนทีเ่ สรี ๓) สงเสริมขีดความสามารถ ในการแขงขันของ อาเซียน ๔) ลดชองวางการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิก ๕) สงเสริมการรวมตัวเขากับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน สำหรับอุตสาหกรรมยางพาราที่มีความสำคัญ ตอภาคเกษตรและการสงออกไทย อยูในกลุมของสินคา ที่ถูกเรงรัดใหเปนสินคานำรอง โดยมีประเทศมาเลเซียซึ่ง เปนผูผลิตและสงออกอันดับ ๓ ของโลกเปนผูรับผิดชอบ ในการจัดทำ Road Map สำหรับยางพาราแลว ถาการ เปดเสรีทางการผลิตและการคายางพาราโดยปราศจาก การเตรียมตัวที่เพียงพอยอมจะสงผลใหเกิดความเสียหาย ตอเศรษฐกิจของประเทศ อันจะมีผลกระทบตอการสราง รายไดเขาประเทศในรูปของเงินตราตางประเทศจาก อุตสาหกรรมนี้อยางตอเนื่อง รวมทั้งทำใหอุตสาหกรรม ยางที่อยูกับประเทศไทยมาเปนระยะเวลายาวนานไดรับ ความเสียหายและมีผลกระทบตอรายไดของผูที่อยูใน อุตสาหกรรมยางทั้งระบบ

112

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ทัง้ นีเ้ มือ่ มีการเปดเสรีทางการคาเพือ่ เขาสูป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ. ๒๕๕๘ แลว ผลผลิตยาง พาราของแตละประเทศจะไมไดหมายถึงผลผลิตของ ประเทศหนึ่งเทานั้น แตยังหมายถึงผลผลิตของอาเซียน ซึ่งจะมีบทบาทสำคัญในเวทีการคาระดับโลกดวย ดังนั้น เพื่อเปนการรองรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศไทยจึงจำเปนตองมีการปรับตัวทั้งระบบ ตั้งแต เกษตรกร ผูประกอบ รัฐบาล ระเบียบกฎเกณฑตางๆ ซึ ่ ง การปรั บ ตั ว นี ้ จ ำเป น ต อ งมี ก ารเตรี ย มความพร อ ม พัฒนามาตรการเชิงรุกเชิงรับ สามารถรักษาผลประโยชน ของยางพาราและอุตสาหกรรมยางพารา ใหมกี ารขับเคลือ่ น ไปทั้งระบบดวยความราบรื่น แนวทางการปรับตัวหลังเปดประชาคมอาเซียนของ ทุกภาคสวน ทั้งเกษตรกร ผูประกอบการภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม หนวยงานภาครัฐและเอกชน ควรเพิม่ ขีด ความสามารถดานการแขงขัน โดยแสวงหาขอไดเปรียบ และเรงขจัดขอเสียเปรียบของตนเอง ปรับพฤติกรรมการ

ผลิตใหสามารถแขงขันทางการคากับประเทศสมาชิกใน ประชาคมอาเซียนได พยายามรักษาคุณภาพมาตรฐาน สินคาใหดีอยูเสมอ เกษตรกรเองตองปรับแนวคิดปรับ พฤติกรรม ใสใจในการผลิตเพื่อใหไดสินคาที่มีคุณภาพ มากขึน้ ตลอดจนหาแนวทางลดตนการผลิตเพราะประเทศ สมาชิกอืน่ ๆ ทีเ่ ปนคูแ ขงทางการคา ไดแก พมา เวียดนาม มีคาจางแรงงานที่ต่ำกวาไทยมาก สินคาที่ผลิตไดจึงมี ตนทุนการผลิตที่ต่ำกวา หากเปดประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. ๒๕๕๘ สินคาจากประทศสมาชิกทั้งหมดจะทะลัก เขาภายในประเทศ พื้นที่การตลาดในประชาคมอาเซียน จะรองรับไดเพียงสินคาคุณภาพสูง หรือสินคาที่มีตนทุน การผลิตต่ำเทานัน้ ซึง่ สถานการณดงั กลาวจะสงผลกระทบ ทางลบตอภาคการผลิตเกษตรของไทย ดังนั้นจึงควรเปด โลกรับรูขาวสารที่เกี่ยวของกับสินคาเกษตรที่ตนเองกำลัง ผลิตอยูทั้งในระดับประเทศและระดับโลก เพื่อใหรูทัน สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป นำมาวิเคราะห และวาง แผนการผลิตใหตนเองไดรับประโยชนสูงสุด

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

113


มันสำปะหลัง

ในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

มันสำปะหลังมีถิ่นกำเนิดอยูในแถบอเมริกากลาง และอเมริกาใต แตเขาใจกันวามันสำปะหลังไดแพรหลาย จากอินโดนีเซียเขาสูภาคใตของประเทศไทยและเริ่มมี การปลูกเปนการคาตั้งแตกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ตอมา พืน้ ทีป่ ลูกไดขยายสูภ าคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนปจจุบันมีการปลูกมันสำปะหลังเปนการคาทั่วทุกภาค ของประเทศไทย ยกเวนภาคใต รวมแลวไมนอยกวา 40 จังหวัด คิดเปนพืน้ ทีป่ ลูกรวมแตละปประมาณ 7-8 ลานไร เนือ่ งจากมันสำปะหลังเปนพืชทีเ่ จริญเติบโตไดดใี นประเทศ ไทยมีความตานทานตอความแหงแลง ปลูกและดูแลรักษา งาย มีโรคและแมลงศัตรูรบกวนนอย มันสำปะหลังจึง กลายมาเปน “พืชมหัศจรรย” ทีเ่ กษตรกรไทยเกือบ 5 แสน ครัวเรือนมีสวนเกี่ยวของในการผลิตหัวสดรวม 26-30 ลานตันตอป

114

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

ดร.วิจารย สิมาฉายา

ปจจุบนั มันสำปะหลังเปนพืชอาหารและพืชพลังงาน ทีส่ ำคัญตอเศรษฐกิจของประเทศไทยและเปนสินคาสงออก 1 ใน 10 อันดับแรก ที่มีมูลคาสงออกแตละปประมาณ 80,000 ลานบาท จึงทำใหประเทศไทยครองตลาดการสง ออกผลิตภัณฑมันสำปะหลังสูตลาดโลกมากที่สุดมาอยาง ตอเนื่อง ป 2555 แปดประเทศในกลุมประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) สามารถผลิตมันสำปะหลังสดไดรวม 75 ลานตัน คิดเปนรอยละ 30 ของผลผลิตทัง้ โลก ประเทศไทย มีพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังมากที่สุด 8.5 ลานไร ผลิตหัวสด ไดประมาณ 30 ลานตัน รองลงมาคือ ประเทศอินโดนีเซีย มีพื้นที่ปลูก 7 ลานไร ผลิตได 24 ลานตัน สวนประเทศ ที่มีพื้นที่และผลผลิตหัวสดรวมรองลงมา ไดแก เวียดนาม กัมพูชา ฟลิปปนส ลาว เมียนมาร และมาเลเซีย


ในหวง 4-5 ปทผ่ี า นมา ไดมกี ารวิเคราะหศกั ยภาพ ในการแขงขันการผลิตมันสำปะหลังของประเทศในกลุม อาเซียนพบวา เวียดนามนาจะเปนประเทศที่มีศักยภาพ ในการผลิตโดยเฉพาะมันเสนสะอาด แตกม็ ขี อ จำกัดในการ ขยายพืน้ ทีป่ ลูกอินโดนีเซียยังมีความตองการภายในประเทศ สูง สวนกัมพูชานาจะเปนประเทศที่มีศักยภาพทั้งดานการ ผลิตมันเสนและแปงมันสำปะหลังสูงทีส่ ดุ เนือ่ งจากรัฐบาล สนับสนุนและสามารถสงมันเสนผานเวียดนามสูจีนได อยางสะดวก สวนผลกระทบของการเปดเสรีทางการคา ภายใตประชาคมอาเซียน (AEC) ที่มีตอมันสำปะหลัง ไทยอยางหลากหลาย แตเนื่องจากในกลุมอาเซียน ไทย เปน ประเทศที่ม ี ความสามารถในการผลิ ต ทั้งวัตถุด ิบ (หัวมันสด) และผลิตภัณฑมนั สำปะหลังตางๆ และมีศกั ยภาพ สูงในการสงออกผลิตภัณฑไดมากที่สุด จึงสรุปกันวาใน อนาคต 5-10 ปขา งหนาหลังการเปดเสรีทางการคาภายใต ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแลว ผลิตภัณฑมันสำปะหลัง ของไทยยังคงมีศักยภาพในการแขงขันสูง แตเพื่อรักษา ความสามารถในการแขงขัน จึงขอเสนอแนวทางใหแต ละฝายที่เกี่ยว ของนำไปปรับยุทธศาสตรดังนี้

1.2 การวิจัยและพัฒนาการเขตกรรมเพื่อเพิ่มผล ผลิตตอพื้นที่และลดตนทุนการปลูกบางประเทศ ในกลุม อาเซียน เชน ประเทศเวียดนาม และกัมพูชา อาจมีตน ทุนการผลิตหัวสดมันสำปะหลังต่ำกวาไทย ซึ่งอาจเปนเพราะมีการปลูกมันสำปะหลังในดิน เปดใหมมีการใชปจจัยการผลิตต่ำและคาแรงงาน ต่ำกวา ดังนั้นการพัฒนาเครื่องจักรเล็กเพื่อใหนำ มาใชในแปลงขนาดเล็ก ไดการใชปจจัยการผลิต เชน ปุยเคมีและปุยอินทรียใหถูกตอง เหมาะสม รวมถึงการอนุรกั ษดนิ ไวซง่ึ ความอุดสมบูรณ สำหรับ ปลูกมันสำปะหลังไดรบั การพัฒนาและนำมาปฏิบตั ิ อยางเรงดวน

1) การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอยางตอเนื่อง 1.1 การวิจัยและพัฒนาพันธุใหมที่ใหผลผลิตสูง ปริมาณแปงสูงรวมถึงมีความตานทานตอโรคและ แมลงศัตรูทส่ี ำคัญปจจุบนั ประเทศไทยมีมนั สำปะหลัง พันธุด หี ลากหลาย เชน พันธุเ กษตรศาสตร 50 ระยอง 5 หวยบง 60 หวยบง 80 ระยอง 90 เปนตน ที่ เกษตรกรสามารถเลือกนำไปปลูกใหเหมาะสมกับ พื้นที่ตนเองและบางพันธุ เชน เกษตรศาสตร 50 ก็ไดรับความนิยม ในกลุมประเทศอาเซียนบาง ประเทศ เชน อินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา ลาว และเมียนมาร

2) การถายทอดเทคโนโลยีการผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิตตอ พื้นที่และลดตนทุนการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกร อยางยั่งยืน ปจจุบันเปนที่ยอมรับวาการเพิ่มผลผลิตนั้น ไมไดเกิดจากการเปลี่ยนพันธุใหมปลูกเพียงอยางเดียว การเขตกรรมอื่นๆ และวิธีการจัดการผลิตใหถูกตองมี ประสิทธิภาพเปนเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งประเทศไทยมี ความพรอมมากกวาประเทศอื่นๆ ในกลุมอาเซียนดังนั้น การถายทอดเทคโนโลยี การผลิตและวิธีการจัดการ การ ผลิตเพื่อใหเกษตรกรพึงพาตนเองไดและสรางเครือขาย ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน จึงเปนสิ่งจำเปน และควรดำเนินการเร็วที่สุด 3) การพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยใหมีศักยภาพสูงขึ้น พรอมกับสงเสริมใหมกี ารสรางนักวิจยั รุน ใหมใหมกี ารพัฒนา องคความรูใหมอยางตอเนื่อง แนวทางการพั ฒ นาศั ก ยภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ มันสำปะหลังดังกลาวจะเปนสวนหนึ่งของบทพิสูจนในเวที ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึง่ รวมถึงประเทศไทย ทีม่ ศี กั ยภาพในการสงออกมันสำปะหลังเปนอันดับหนึง่ ของ โลกมาโดยตลอด ใหสามารถกาวเดินในทิศทางการพัฒนา อยางตอเนื่องและยั่งยืนในเวทีโลกตอไป 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

115


น้ำตาลไทยหลังประชาคมอาเซี่ยน น้ำตาลไทยหลังประชาคมอาเซี่ยน เปนคำถาม และมีการอภิปรายอยูมากมายในวงการน้ำตาล มีทั้งเปน บวกและเปนลบ โดยทั่วไปแลวมักจะมองเปนบวกมาก กวาเปนลบ แลวแตขอ มูลทีแ่ ตละฝายไดรบั มาจากแหลงขาว และนำเสนอตอประชาชน มุมมองของนักการตลาดที่ทำ การคามักจะบอกวาอนาคตคอนขางดี เพราะดูขอมูลที่ ประเทศไทยสงน้ำตาลออกไปในตลาดอาเซีย่ นกับความตอง การน้ำตาลของประเทศอาเซี่ยน และประเทศในอาเซี่ยน ก็เปนคูคาที่สำคัญของไทย ขอมูลทีส่ ำคัญทีห่ ลายๆ คนมองเห็นและเปนประเด็น พยากรณนั่นคือความตองการน้ำตาลในแตละประเทศ เมื่อไมมีสงครามและมีความเจริญหลั่งไหลเขามาจาก

116

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

นักลงทุนทัว่ โลกทีต่ อ งการเขามาในประเทศเหลานี้ ประกอบ กับทรัพยากรของประเทศเหลานี้ก็ปอนความตองการของ นักลงทุนทัว่ โลก หลากหลายประเทศในกลุม ก็เปนประเทศ เกิดใหม (หมายความวาเพิ่งเปดประเทศ) และทั้งหมดนี้ ยอมมีผลตอประเทศไทยไมมากก็นอย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในเรื่องของอุตสาหกรรมน้ำตาลของไทย ในเมื่อประเทศ ไทยเปนผูสงออกน้ำตาลเปนอันดับ 2 ของโลก และเปน ผูผ ลิตออยอันดับ 4 ของโลกเชนเดียวกัน นอกจากนีป้ ระเทศ ไทยยังมีบริษัทที่เปนยักษใหญอันดับตนๆของโลกอยูถึง 2 บริษัท คือ กลุมน้ำตาลมิตรผล และ กลุมน้ำตาลไทย รุงเรือง เปนตน


ดังนั้น สถานะของประเทศไทยจึงเปรียบเสมือน เปนประเทศผูน ำของกลุม อาเซีย่ น ในเรือ่ งของอุตสาหกรรม ในภูมิภาคนี้ ขณะเดียวกันประเทศในกลุมซึ่งมีภูมิอากาศ และสภาพแวดลอมใกลเคียงกับประเทศไทย ยอมตองการ ที่จะเปนประเทศผูสงออกน้ำตาล หรือตองการที่จะผลิต น้ำตาลใหพอเพียงกับการบริโภคภายในประเทศเชนกัน ทุกๆ ประเทศในภูมิภาคนี้จึงเขามาขอดูงานอุตสาหกรรม น้ำตาลของประเทศไทย เพื่อนำไปปรับใชในประเทศของ ตัวเอง

เมื่อเปนผูนำในอาเซี่ยน จุดออนของไทยก็คือ โรงงานในประเทศไทยใชกำลังการผลิตของตัวเองไดไมเต็ม ที่เพราะใชเวลาในการหีบออยเพียง 120 - 150 วันเทานั้น ในแปลงออยผลผลิตออยตอไรคอนขางต่ำ อายุการไวตอ สั้นเพียง 1 - 3 ป แปลงออยเปนแปลงขนาดเล็ก ทำให การใชเครือ่ งจักรกลเขาไปเก็บเกีย่ วออยทำไดยาก และงาน วิจัยและพัฒนายังมีนอย นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมี ตนทุนคาแรงงานที่เพิ่มขึ้นทุกๆ ป ทำใหความสามารถใน การแขงขันของประเทศไทยลดลง จึงเปนมุมมองทีป่ ระเทศไทย ตองปรับตัวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และใชเครื่อง จักรเขามาทดแทนแรงงานที่ขาดหายไป ทั้งในไรออยและ ในโรงงานน้ำตาล สวนงานวิจยั ทีจ่ ะตองพัฒนาทัง้ ในดานไร เพื่อเพิ่มผลผลิตตอไรใหไดมากที่สุดเทาที่จะทำได ไมใช เฉพาะการสรางพันธุออย แตตองทำทุกๆ หัวขอ เชน ดิน โรคและแมลงศัตรู การเขตกรรม ในสวนของโรงงานตอง เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดการใชพลังงานที่ฟุมเฟอย การขนสงออย การขนสงน้ำตาลที่มีประสิทธิภาพมากกวา ในปจจุบัน ในที่สุดดานผลพลอยไดของออยและน้ำตาล นอกเหนือจากพลังงานไฟฟา เอทานอล ปุย แลว ตองพิจารณา ถึง อาหารสัตว ยา และอืน่ ๆ เมือ่ การคาน้ำตาลหรือราคา น้ำตาลตกต่ำลงมา เพื่อเตรียมตัวสำหรับอนาคตที่จะเกิด อะไรก็ได ถาน้ำตาลคงคางจำนวนมาก หรือทุกๆ ประเทศ ในกลุม เริ่มชวยตัวเองไดแลว ซึ่งไมทราบวาจะเกิดเมื่อใด และงานวิจัยในออยและน้ำตาลตองเตรียมหาผลิตภัณฑ ใหมๆ ที่ทำมาจากน้ำตาล เชน แลคติกแอซิด

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

117


ประเทศไทยในปจจุบันที่มีผลผลิตออยไดมากกวา 100 ลานตันออย จะทำใหเรามีผลพลอยไดเปนพลังงาน ไฟฟา 10 ลานเมกะวัตต ไดเอทานอล 1,200 ลานลิตรและ ปุยมากกวา 4 ลานตัน นอกเหนือจากที่ไดน้ำตาล 10 ลานตันเพือ่ การสงออกและบริโภคภายในประเทศ กากออย ใชทำเชื้อเพลิงมากกวา 29 ลานตัน และกากน้ำตาล มากกวา 5 ลานลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในอาเซี่ยนพบวา ประเทศที่เปนคูคาของประเทศไทยไดพยายามปรับปรุง โรงงานน้ำตาลของตัวเองและสรางโรงงานน้ำตาลเกิดใหม ตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางยิง่ ประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม ฟลิปปนส กัมพูชา ลาว และเมียนมาร สวนประเทศ มาเลเซียนั้น เขาเนนที่ซื้อน้ำตาลดิบจากประเทศไทยและ ไปทำน้ำตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ ขายไปในตลาดโลกเปนตน

118

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

อินโดนีเซีย ถือไดวา เปนประเทศทีม่ ปี ระชากรมาก ที่สุดในภูมิภาคนี้ มีความตองการน้ำตาลเพื่อการบริโภค ถึงปละ 5 ลานตันน้ำตาล แตสามารถผลิตไดเองเพียง 3 ลานตัน จึงตองนำเขาน้ำตาลจากตางประเทศประเทศนี้ มีโรงงานทีเ่ ปนของรัฐและของเอกชน สิง่ ทาทายของประเทศ ก็คือ มีพื้นที่จำกัดในการปลูกออย และมีพืชแขงขัน เชน ปาลม มันสำปะหลัง ยางพารา โรงงานน้ำตาล เปนโรงงาน เกาแกที่มีมรดกตกทอดมาจากประเทศเจาอาณานิคมคือ เนเธอแลนด และเปนโรงงานที่ไมทันสมัย อุปสรรคสำคัญ ของประเทศก็คือ พื้นที่เปนเกาะ การคมนาคมไมสะดวก มีประมาณน้ำฝนตอปคอนขางสูง ประเทศไทยสงออก น้ำตาลไปอินโดนีเซียไมต่ำกวาปละ 1 ลานตันน้ำตาล ฟลิปปนส มีออยอยูในอันดับ 5 ของโลกมีน้ำตาล ที่ผลิตไดปละ 2.4 ลานตันน้ำตาล และสงออกน้ำตาลไป สหรัฐอเมริกาแตบริโภคในประเทศถึง 2.1 ลานตันน้ำตาล ทำใหฟล ปิ ปนสมกี ารสรางโรงงานน้ำตาลเพิม่ ขึน้ อุปสรรค สำคัญของประเทศนีก้ ค็ อื พายุทพ่ี ดั เขาหาในทุกป ปจจุบนั มีโรงงานน้ำตาลทรายขาว 14 โรงงาน มีโรงงานเอทานอล ผลิต 6 โรงงานและมีโรงงานไฟฟา 5 โรงงาน 200 เมกะวัตต ฟลิปปนสถือวาเมื่อประชาคมอาเซี่ยนเปดขึ้นมาจะทำให เปนโอกาสในการปรับปรุงโรงงานน้ำตาล และเปนโอกาส ของภาคเอกชนทีจ่ ะเขามาลงทุนในโรงงานน้ำตาล ขณะเดียว กันก็พยายามเพิ่มพื้นที่ปลูกออยของชาวไรใหมีขนาดใหญ เพิ่มขึ้น โดยการหาเงินทุนจากตางประเทศเขามาใหกูยืม ปจจุบันฟลิปปนสนำเขาน้ำตาลจากประเทศไทยไมต่ำกวา 100,000 ตันตอป เวียดนาม เปนประเทศเกิดใหมในเรื่องโรงงาน น้ ำ ตาล เวี ย ดนามนำเข า น้ ำ ตาลเพื ่ อ การบริ โ ภคใน ประเทศเพิ่มขึ้นในทุกๆ ป โดยเฉพาะจากประเทศไทย ประมาณ 250,000 ตันตอป ถึงแมวา จะมีออ ยถึง 19 ลานตัน ตอปและผลิตน้ำตาลได 1.5 ลานตันตอป มีโรงงานน้ำตาล จำนวน 37 โรงงาน และโรงงานทำน้ำตาลทรายขาว 5 โรงงาน บริโภคน้ำตาล 15.8 กิโลกรัมตอคนตอป อุปสรรคสำคัญ ของเวียดนามก็คือ สภาพดินที่เปนกรด และมีฝนตกชุก อากาศไมเปด ทำใหทั้งผลผลิตตอไรต่ำ และน้ำตาลตอ ตันออยก็ยงั ต่ำอีกดวย อยางไรก็ตาม เวียดนามก็ยงั มีการขยาย กำลังผลิตและสรางโรงงานน้ำตาลใหมเกิดขึน้ โดยมีนกั ลงทุน จากประเทศตางๆ เขาไปลงทุน ในอนาคตการนำเอา เทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ทันสมัยและพัฒนางานวิจัยจะ ทำใหอุตสาหกรรมน้ำตาลในเวียดนามดีขึ้นในที่สุด


เมียนมาร นโยบายของเมียนมารคอื ตองมีนำ้ ตาล ทีผ่ ลิตในประเทศใหพอเพียงกับการบริโภค ปรับปรุงโรงงาน น้ำตาลใหทนั สมัย โดยพยายามหานักลงทุนจากตางประเทศ ที่มีเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการ และเพิ่มพื้นที่การผลิต ออย พรอมๆ กับเพิ่มผลผลิตตอไรใหมากขึ้น โดยอาศัย การสงเสริมการปลูกออย ปรับปรุงระบบการขนสง เมียนมาร มีโรงงานน้ำตาลทีเ่ ปนของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และของภาคเอกชน ทัง้ หมด 22 โรงงาน มีปริมาณออยเขาหีบจำนวน 10 ลานตัน ออย เพิม่ ขึน้ ทุกๆ ป ผลิตน้ำตาลไดประมาณ 23,000 ตัน ตอป (พ.ศ.2553) โดยมีผลผลิตตอไรประมาณ 10 ตันตอไร น้ำตาลที่ใชบริโภคสวนหนึ่งนำเขามาจากประเทศอินเดีย เมื่อเมียนมารสามารถปรับปรุงประเทศไดแลว ก็จะเปน คูแ ขงทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ของไทย เพราะเมียนมารมพี น้ื ทีพ่ อเพียง มีดินที่ยังอุดมสมบูรณ รัฐใหการสนับสนุน ลาวและกัมพูชา เปนประเทศเกิดใหมหลังสงคราม อินโดจีน ปจจุบันมีนักลงทุนดานโรงงานน้ำตาลจาก ประเทศไทยและประเทศจีน โดยที่ทั้ง 2 ประเทศ ให สัมปทานระยะยาวกับผูล งทุน โดยมีขอ แมตอ งพัฒนาพืน้ ที่

และระบบขนสงดวย ปจจุบนั ประสบปญหาเรือ่ งโรคใบขาว ระบาดเหมือนกัน ปจจุบนั ลาวมีพน้ื ทีป่ ลูกออย 200,000 ไร ไดออยจำนวน 1,100,000 ตัน ไมมีตัวเลขนำเขาน้ำตาล จากประเทศชัดเจน กัมพูชามีพื้นที่ปลูกออย 160,000 ไร ไดออยจำนวน 550,000 ตัน นำน้ำตาลเขามาบริโภคใน ประเทศจากประเทศไทย จำนวน 400,000 ตันน้ำตาล ในระยะยาวกัมพูชาก็จะเปนอีกประเทศที่สามารถสงออก น้ำตาลได เมื่อมีแผนการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ำตาล มาเลเซีย มีโรงงานน้ำตาลอยูทางภาคเหนือของ ประเทศ จำนวน 3 โรงงาน และมีโรงงานผลิตน้ำตาล ทรายขาว จำนวน 2 โรงงาน บริโภคน้ำตาลจำนวน 50 กิโลกรัมตอคนตอป มาเลเซียใชวิธีซื้อน้ำตาลทรายดิบ จากประเทศไทยมาทำน้ำตาลทรายขาวพรอมสงออกน้ำตาล ทรายขาวไปตางประเทศ สิงคโปร และ บูรไน ไมมโี รงงานน้ำตาล โดยใชวธิ ี ซื้อน้ำตาลจากประเทศไทย ออสเตรเลีย หรือบางทีนำ น้ำตาลเขามาจากบราซิล เปนตน

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

119


120

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

121


ดร. เอนก ศิลปพันธุ บริษทั เจริญโภคพันธุเ มล็ดพันธุ จำกัด กลุม ธุรกิจพืชครบวงจร เครือเจริญโภคภัณฑ

พันธุขาวลูกผสม :

ทางเลือกของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิต ขาวเปนอาหารของคนมากกวาครึง่ หนึง่ ของประชากร โลกที่สวนใหญอยูในเอเชีย ถึงแมวาประเทศไทยจะเปนผู สงออกขาวอันดับตนๆ ของโลก แตปญ หาการผลิตขาวไทย นั้นจะเห็นวาต่ำที่สุดในกลุมประเทศผูผลิต หรือผูสงออก ขาวรายใหญของโลก เชน จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย มีตนทุนการผลิตสูงกวาประเทศคูแขงในการสงออก เชน อินเดีย เวียดนาม หรือเมียนมาร ดังนั้นแนวทางการเพิ่มผลผลิตขาว โดยการนำ เทคโนโลยีใหมๆ มาใช เชน การใชพันธุขาวลูกผสม นอก เหนือจากขาวพันธุดีจากภาครัฐ พันธุขาวลูกผสมนาจะ เปนทางเลือกใหมใหกับเกษตรกร และอาจจะเปนอีกหนึ่ง คำตอบในการเพิ่มผลผลิตขาวของประเทศได ดังที่จะได เห็นตัวอยางในประเทศจีน อินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟลปิ ปนส ทีม่ กี ารใชพนั ธุข า วลูกผสมเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะ ถาศึกษาการผลิตขาวในประเทศจีนที่มีประชากรกวา 1,400 ลานคน แตจนี ก็ยงั สามารถผลิตขาวในปริมาณมาก เพียงพอกับการบริโภคของประชากรได โดยทีจ่ นี มีผลผลิต ถึง 1,100 กก./ไร จากพื้นที่เก็บเกี่ยว 190 ลานไร ทั้งนี้ เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกขาวมีการใชพันธุขาวลูกผสมกวา

122

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

60% ของพืน้ ทีป่ ลูกทัง้ หมด ปจจุบนั มีพน้ื ทีป่ ลูกขาวลูกผสม พันธุใหมๆในกลุมที่เรียกวา Super Hybrid Rice ที่มีแนว โนมใหผลผลิตกวา 2,160 กก./ไร และในป พ.ศ. 2558 ไดมีการตั้งเปาหมายที่จะใหไดผลผลิตถึง 2,400 กก./ไร ขาวลูกผสม (Hybrid Rice) คือพันธุขาวที่ไดจาก การผสมพันธุร ะหวางขาวสายพันธุแ ท 2 สายพันธุ ทีม่ ฐี าน พันธุกรรมตางกัน โดยที่ลูกผสมแรก (F1) จะใหลักษณะ ทั้งทางดานปริมาณ และคุณภาพดีกวาพันธุพอและแม เมล็ดพันธุขาวลูกผสมที่นำไปใชปลูกจึงตองเปนเมล็ดพันธุ ที่ไดจากการผสมพันธุใหมๆ ขึ้นทุกครั้ง ถานำเมล็ดที่ได จากการปลูกพันธุลูกผสมเพื่อไปปลูกอีกครั้ง เมล็ดที่ไดก็ จะเปนรุน ที่ 2 จะไดผลผลิตลดลง 40 - 50% ตนไมแข็งแรง ไมสม่ำเสมอเหมือนตอนทีเ่ ปนพันธุล กู ผสม เนือ่ งจากไมได เกิดจากการผสมระหวางสายพันธุพอแมดังเดิม ดังนั้นจะ แตกตางจากการใชเมล็ดสายพันธุแท (Pure Line) ที่ได จากการผสมระหวางสายพันธุที่ตองการ แลวทำการคัด เลือกอีก 7-8 ชั่ว จนลักษณะที่ตองการไมเปลี่ยนแปลง สามารถเก็บพันธุไวใชตอได ถาไมมีพันธุอื่นมาปน


เนื่องจากขาวเปนพืชผสมตัวเอง การปรับปรุง พันธุข า วลูกผสมจึงตองทำใหสายพันธุแ มเปนหมัน ลักษณะ ความเปนหมันที่นิยมใชเกิดจากภายในสวนของเซลลและ สภาพแวดลอมทำใหเกิดความเปนหมันของสวนดอกตัวผู ในสายพันธุแม และสามารถทำการผสมขามระหวาง สายพันธุพอและแมได เมล็ดที่ไดจากการผสมเมื่อนำไป ปลูกก็จะไดขา วทีป่ กติ ไมมลี กั ษณะเปนหมันเหลืออยู เนือ่ ง จากสายพันธุพอมียีนพิเศษที่สามารถแกความเปนหมัน ทำใหลูกผสมมีดอกที่ผสมตัวเองไดเชน ขาวทั่วไป การปรับปรุงพันธุขาวลูกผสมในแตละพันธุอาจ จะตองใชเวลาในการคัดเลือกสายพันธุพอแม การทดสอบ ในระดับตางๆ การทดลองผลิต การขยายเมล็ดพันธุหลัก และเมล็ดพันธุคัดเปนเวลาไมต่ำกวา 10 ป ปจจุบันมีพันธุ ขาวลูกผสมทั้งจากภาครัฐ และภาคเอกชน เชน ซีพี 304 ซีพี 304 ซุปเปอร และกขผ 1 กขผ 2 จากกรมการขาว เทคโนโลยีขาวลูกผสมไดนำเอาหลักการความ แข็งแรงของลูกผสมทีด่ เี ดนกวาพันธุพ อ + แม ในดานตางๆ เชน 1. ผลผลิตสูงกวาพันธุทั่วไป 20 - 30% 2. ไมมีพันธุปน ระบบรากแข็งแรง แผกระจายดี 3. จำนวนเมล็ดตอรวงมีมากถึง 250 เมล็ด/รวง หากปลูกในฤดูกาลที่เหมาะสม 4. เปนการเพิม่ ผลผลิตขาว โดยไมตอ งขยายพืน้ ทีป่ ลูก 5. ลดการใชสารเคมี เพราะตานทานโรคและแมลง ศัตรูขาว 6. ประหยัดการใชนำ้ และเพิม่ รอบการปลูก เนือ่ ง จากมีอายุการเก็บเกี่ยวสั้นกวาพันธุทั่วไป

ปจจัยสำคัญที่จะตัดสินใจอนาคตของพันธุขาว ลูกผสมคือ ผลตอบแทนทีเ่ กษตรกรจะไดรบั เมือ่ นำพันธุข า ว ลูกผสมไปปลูกเปรียบเทียบกับพันธุขาวทั่วไป หนวยงาน อื่นๆ เชน ศูนยพันธุวิศวกรรมแหงชาติ และภาคเอกชน อีกหลายราย ก็ไดดำเนินการวิจยั เกีย่ วกับพันธุข า วลูกผสม ดังนั้นความกังวลที่เกิดขึ้นวาจะมีการผูกขาด คงจะไม สามารถเกิดขึ้นไดแนนอน พันธุขาวลูกผสมจึงเปนหนึ่งในความหลากหลาย ทางการเกษตร และเปนหนึง่ ในทางเลือกของเกษตรกรไทย โดยเฉพาะเกษตรกรในเขตชลประทานที่มีการจัดการที่ดี เปนอีกทางเลือกในการเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนการผลิต ใหกับการผลิตขาวของประเทศ เพื่อเปนการเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันของขาวไทยในตลาดโลกใหมผี ลผลิต สูงขึ้นทัดเทียมคูแขงในปลายป พ.ศ. 2558 ที่จะเขาสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) คูแขงในการผลิตขาว รายสำคัญคือ เวียดนาม อินโดนีเซีย เมียนมาร ประเทศ เหลานีไ้ ดมกี ารใชพนั ธุข า วลูกผสมอยางแพรหลาย มีผลผลิต ที่สูงกวา และตนทุนการผลิตที่ถูกกวา เมื่อเปรียบเทียบ กับการผลิตขาวของประเทศไทย อีกทั้งประเทศอินเดียซึ่ง เปนคูแขงรายสำคัญในการสงออกขาวนั้น ปจจุบันมีพื้นที่ ปลูกขาวลูกผสมราว 5% ของพืน้ ทีป่ ลูกขาวรวม 275 ลานไร ทางรัฐบาลมีเปาหมายเพิม่ ผลการปลูกขาวโดยทีจ่ ะเพิม่ พืน้ ทีข่ องการปลูกขาวลูกผสมเปน 15% ของพืน้ ทีป่ ลูกขาวของ ประเทศไทยในป พ.ศ. 2558 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

123


การผลิตไมประดับใหสอดรับการคาเสรี อุดม ฐิตวัฒนะสกุล

เตรียมตัวอยางไรถาตองขยับรัว้ ใหมขยายอาณาเขต พื้นที่กวางขึ้นผูคนมากขึ้น กำลังซื้อมากขึ้นแลวจะผลิต เทาเดิมไดอยางไร วันนีเ้ ราตองคิดวางแผนและตองเตรียม ตัวกับการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเปนกลุม ประชาคมทีม่ ปี ระชากร เพิม่ ขึน้ นับสิบเทา จากทีเ่ รามีอยูไ มเพียงแคนน้ั ถานับกำลัง การผลิตก็ยิ่งทวีมากขึ้นดวย เพราะไมเพียงตองแขงขันกัน แตในหมูบ า นไปตัง้ ตำบล วันนีเ้ ราตองพัฒนาคุณภาพสินคา ใหเปนทีย่ อมรับในระดับสากลยิง่ ๆ ขึน้ ไป ทัง้ ชนิด ปริมาณ มาตรฐานและความตอเนื่อง ผูบริโภคมีโอกาสที่จะเลือก ไดมากกวาเดิม เอาเฉพาะในกลุม อาเซียนทีม่ ภี มู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศใกลเคียงกัน มีทั้งภาษาวัฒนธรรม ขนบธรรม เนียมประเพณีที่คลายๆ กัน จึงมิใชเรื่องยากที่จะติดตอ สื่อสารสัมพันธ ทำความเขาใจทั้งทางดานการอยูอาศัย และการบริโภค สวนการคมนาคมมีทั้งการคาชายแดน เชื่อมโยงระบบการขนสงไดทั้งทางรถทางรางและ ทางเรือ ที่มีคาบริหารถูกอยูแลว ทั้งการเคลื่อนยายคนและ ขนสง สิ่งของจะมีทั้งการทองเที่ยว การทำธุรกิจที่ตองไปมาหา สูซึ่งกันและกัน เพิ่มปริมาณการจับจายใชสอยในภูมิภาค และถาวันที่มีแขกมาเยือนบานเรา เราคงตองเก็บกวาด ทำความสะอาดพอดูงาม ตบแตงอาคารสถานที่พอดูสวย ในยามปกติ หากมีงานรื่นเริงตามดวยเทศกาลงานตางๆ

124

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

ก็คงยิ่งตองแตงตัวพอสมควร แมแตสรางบานอาคารใหม ก็ตองตบแตงภูมิทัศนเสริมความสงางาม เมืองเราผลิต ผลิตไมดอกไม ประดับมายาวนาน นับหลายสิบปมโี อกาส รวบรวมและขยายพันธุ จนเกิดเปนอาชีพหลักและอาชีพ เสริมของหลายๆ คน ดวยเทคนิควิธีการที่ทันสมัยผสาน กับภูมิปญญา ทำใหเราสามารถพัฒนาพันธุไปพรอมๆ กันกับการทำปริมาณไดทุกกลุมชนิดพืชพรรณ แตปจจัย สำคัญบางประการ จนถึงทุกวันนี้เหมือนจะไปไมถึงไหน เปนเรื่องใดถามิใชเรื่องการคาเปนหลัก สินคาเกษตรหาก ใหพออยูได เมื่อเราผลิตก็ตองจำหนาย และหากยิ่งเหนือ กวาพออยูไดตองอยูดีโดยใชแคพอขายไดจะตองขายดี มีกำไร เก็บเงินไดไมถูกโกง ซึ่งกวาจะถึงตรงนี้ก็ตองยอน กลับไปถึงวัตถุดิบตนน้ำวาเราควรตองผลิตอะไร ผลิต ที่ไหน ผลิตอยางไร จำนวนมากนอยขนาดไหนแลวขาย ใหใคร ถึงการเก็บเงินอยางไร และเตรียมรับการเปลี่ยน แปลงอยางไรเมื่อตลาดเปลี่ยน ทั้งหมดคงจะหาคำตอบ แบบฟนธงเลยทีเดียวคงไมได เพราะผูบริโภคก็มักมีการ เปลี่ยนแปลงการใชเฉกเชนกับแฟชั่นที่ปรับเปลี่ยนหมุน เวียนอยูเสมอแตถึงกระนั้นก็มิไดหมาย ความวาจะหยุด เหมือนกับยกเบรกเกอรลงไป


การเปลี่ยนแปลงบางครั้งอาจจะเปลี่ยนทีละเล็ก ละนอย หรือบางครั้งอาจเปลี่ยนแบบกะทันหันก็สุดแลว แตกระแสนิยมอยางไมติดใบที่กระแสไมใหม ไมใบยาว ก็พยายามแทรกตัวสูคำสั่งซื้อเขามาอยางตอ เนื่องตลอด แตก็ไมไดหมายความวา ใบไมที่ไดใชอยูอยางเปนประจำ จะสะดุดหยุดลงไปเลย หากคงยังใชและใชอยางตอเนื่อง ตราบเทายังมีการจัดงานจัดดอกไมก็คงยังใชตามคำสั่ง ซื้ออยูตลอดไมวาฤดูกาลไหนก็ตาม ถาเปนตนประดับคงตองดูหลายๆ ทางเริ่มจาก เดินดูตามงานตางๆ ที่จัดกันอยางดาษดื่นทั่วทุกภูมิภาค ของประเทศไทยไมเวน แมงานวัดหรือในหางสรรพสินคา ทีม่ ที ง้ั การจัดประกวดหรือจัดจำหนาย ถากระแสการบริโภค ไมมาก็คงขายยาก พาลไมพอคาเชาที่แมมีที่ฟรีก็เปนการ เสียเวลาและมีคา ใชจา ยอืน่ ๆ เพียงขอเราเปนคนชางสังเกต เมื่อเดินเขาตลาดตนไมก็ใหดูวาคนที่เราเดินสวนหรือ เดินตามเขาซื้ออะไร ผูคากำลังสงตนอะไร ตรงนั้นก็อาจ ตอบโจทยกระแสไดในระดับหนึ่ง หรือถามองไกลไปกวา นั้นถึงงานตางประเทศอยางประเทศเพื่อนบานที่กำลังรวม เปนประชาคมแหงภูมิภาคอาเซียน ก็คงเตรียมตัวไมแพ บานเมืองเรา ทั้งดานงานภูมิทัศนงานจัดตบแตงตาม กำลังความสามารถไวรองรับ การเดินทางของแขกผูมา เยือนดวย การจัดตบแตงใหเหมาะสมสวยงาม การใชไม ประดับก็คงยิ่งมากขึ้น สอดคลองกับการเจริญเติบโตของ เมืองและประชากรใหสอดคลองกับงาน รวมถึงวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ดังนั้นทิศทางการการผลิตก็ ตองใหสอดคลองกับการบริโภค ซึ่งนับเปนเรื่องจำเปนอีก เรื่องหนึ่งมิไดยอหยอนกวาการผลิตใหสอดคลองกับแฟชั่น นิยมเลยทีเดียว โดยวันนี้เขามักจะเห็นชาวตางชาติ เขา มาเดินชมงานแสดงไมประดับใหญๆ อยางงานสวนหลวง ร.๙ หรือเดินตามตลาดขายตนไมขนาดใหญอยางสวน จตุจักร เลือกเก็บพันธุไมไปขายหรือแมไปปลูกและขยาย พันธุนั่นเองก็ตองเรียกวาเพื่อนรวมอาชีพเขาก็เตรียมตัว แลวเชนกัน ในขณะที่บางชวงบางเวลามีการพัฒนา และ ผลิตไมชนิดใหมๆ ที่ไดพันธุดีออกมาราคายังแพงลิบ และซื้อปริมาณมาก ยังไมไดนั่นก็คงเพราะของยังมีนอย และอาจมีความตองการของตลาดสูงอยู แตเมือ่ ใดทีส่ ามารถ ทำจำนวนที่พอมีปริมาณ หรือพืชชนิดนั้น สามารถขยาย พันธุดวยเทคนิควิธีการไมยุงยาก และมีตนทุนไมสูงจน เกินไปราคาตอตนจนถึงผูบริโภคคงไมสูงเกินจริงผิดไป จากกลไกลตลาด ก็จะขับเคลือ่ นทางการตลาดไปในทิศทาง ทีเ่ หมาะสม การคาชายแดนสูป ระเทศเพือ่ นบานจะสามารถ ขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นดวย จากกรณีที่ประเทศเพื่อนบานของ

เขา เขาตองเตรียมตัวเพือ่ จะตอนรับนักทองเทีย่ วทัง้ ภูมภิ าค และนอกภูมิภาค ที่จะหลั่งไหลเขามาพักอาศัย กิน เที่ยว จับจายใชสอย จากตนทุนทางทรัพยากรที่มีอยูทั้งโบราณ สถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ที่โดดเดนเปนเอกลักษณ รวมถึงสภาพแวดลอม ทาง ธรรมชาติที่จะสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวนักลงทุนเขามา ยังมหาภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประเทศไทยสามารถเปนได ทัง้ ผูผ ลิต ผูร วบรวมผลผลิตหรือรวมมือทางการคาทีม่ น่ั คง เพื่อผลผลิตที่ดีมีมาตรฐานตรง กับทิศทางความตองการ ของตลาด ซึ่งจะเปนการเพิ่มศักยภาพงานไมประดับที่ นับไดวาพื้นที่การผลิตแมจะนอยนิด เมื่อเทียบกับพืช เศรษฐกิจ ชนิดอื่นๆ ที่ใชพื้นที่มากมาย แตรายไดตอพื้น ที่ไมเทียบเคียงกันเลยและ ถายิ่งเปนไมประดับชนิดใหม หรือชนิดที่มีความตองการของตลาดสูงดวย แลวรายได และความภาคภูมิใจ มิไดดอยไปกวางานเกษตรชนิดอื่น วันนี้งานภาคการเกษตรเราหลายตอหลายฟารม มิไดเปนแค ความภาคภูมิใจของเขาเหลานั้น โดยลำพัง เทานั้นแลว หากจะเปนความภาคภูมิใจใหกับคนไทยทั้ง ประเทศ รวมถึงทั้งภูมิภาคที่เรากำลังจะเดินไปดวยกัน ภายใตคำวาเขตการคาเสรีอาเซียน 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

125


โอกาสการขยายตลาดไกเนื้อ ภายใต AEC บทความโดย กรมปศุสัตว

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปน 1 ใน 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน ซึ่งมีเปาหมายในการตลาดและฐาน การผลิตรวม การสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค และบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก อาเซียนมีความจำเปนตองเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจเพื่อเสริมสรางขีดความ สามารถในการแขงขันใหกับอาเซียนเอง และเพื่อสรางใหอาเซียนเปนศูนยกลางภายในภูมิภาค จึงกำหนดเปาหมายใน การเปดเสรีทั้งดานการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานที่มีทักษะ การรวมตัวของอาเซียนกอใหเกิดโอกาสในหลาย ๆ ดานในอาเซียนดวยกันเอง ซึง่ เปนไปตามแผนแมบทวาดวย การเชื่อมโยงอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity) ซึ่งเปนแผนเพิ่มประสิทธิภาพการเชื่อมโยงดานสินคา บริการ ทุน และแรงงานระหวางกัน ประกอบดวย การเชื่อมโยงกันทางกายภาพ (Physical Connectivity) ซึ่งเปนการ เชือ่ มโยงกันทางโครงสรางพืน้ ฐานโลจิสติกสในทุกมิตทิ ง้ั ในทางบก ระบบราง ทางน้ำ ทางอากาศ การเชือ่ มระบบสารสนเทศ และพลังงาน การเชื่อมโยงทางสถาบัน (Institutional Connectivity) ประกอบดวย การสรางมาตรฐาน กฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับ ใหสอดคลองกัน และการเชื่อมโยงกันในระดับประชาชน (People-to-People Connectivity) ทั้งในดานศาสนา วัฒนธรรม การศึกษา การทองเที่ยง สิ่งแวดลอม ความรวมมือของชุมชนและทองถิ่น

126

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


นอกจากนี้ การรวมตัวของอาเซียนยังกอใหเกิดโอกาสในเวทีโลกดวย เชน การบรรลุขอตกลงการคาเสรีกับ ประเทศจีน ญีป่ นุ และเกาหลีใต หรือ ASEAN+3 หรือ ASEAN+6 ทีป่ ระกอบดวยประเทศจีน ญีป่ นุ เกาหลีใต ออสเตรเลีย นิวซีแลนดและอินเดีย ทำใหกลุมมีขนาดใหญเปนครึ่งหนึ่งของโลกเมื่อวัดจากจำนวนประชากร หรือมีขนาดเศรษฐกิจ เกือบ 1 ใน 4 ของโลก การรวมตัวของอาเซียนกอใหเกิดโอกาสทางการคาสินคาปศุสัตวหลายตัว อาทิ สินคาเนื้อไก ซึ่งวิเคราะหโดย มาลิสา นวลเต็ม สำนักนโยบายและยุทธศาสตรสินคาเกษตร ระบุเปนรายประเทศดังนี้ ประเทศบรูไนมีขอ จำกัดทางการคาทีเ่ ครงครัดมากเกีย่ วกับขอบังคับในการนำเขาเนือ้ ไก ซึง่ จะตองเปนไกฮาลาล ทีผ่ ลิตถูกตองตามหลักศาสนาอิสลาม โดยโรงฆาชำแหละแตละราย ตองไดรบั การรับรองจากหนวยงานทางศาสนาอิสลาม ทัง้ ในประเทศผูผ ลิตและหนวยงานของบรูไน อีกทัง้ รัฐบาลบรูไนยังมีมาตรการปกปองอุตสาหกรรมการเลีย้ งไกในประเทศ โดยกำหนดใหผูนำเขารับซื้อไกจากฟารมในประเทศในสัดสวนที่รัฐบาลกำหนด การสรางโอกาสการคาสินคาไกเนื้อไทย ในบรูไน ควรจะเปนไปในลักษณะการเขาไปเจาะตลาดโดยการเขารวมงานแสดงสินคาและผลิตภัณฑฮาลาลที่บรูไน จัดขึ้นในแตละครั้ง ซึ่งจะเปนการสรางโอกาสใหกับผูประกอบการไทยในการสมัครรับบริการตรวจสอบมาตรฐานสินคา เพื่อใหไดรับการประทับตรา Brunei Premium Halal Brand เพื่อขยายตลาดสงออกไปยังบรูไนในอนาคต นอกจากนี้ รัฐบาลไทยควรสรางชองทางติดตอกับรัฐบาลบรูไน หรือบริษัทนำเขาทองถิ่นของบรูไน เพื่อใหการเปดตลาดเนื้อไกใน บรูไนทำไดงายขึ้นดวย

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

127


อุปสรรคของไกเนื้อไทยในฟลิปปนสเกิดจาก การนำสินคาไกเนื้อของฟลิปปนสมีความยุงยาก เนื่องจากความ เขมงวดในการตรวจรับรองมาตรฐานดานสุขอนามัย อีกทั้งรัฐบาลยังมีมาตรการปกปองสินคาเกษตรในประเทศให สามารถแขงขันทางดานราคากับสินคานำเขาจากตางประเทศอีกดวย ซึ่งฟลิปปนสเคยใชมาตรการหามนำเขาสินคา ไกสดแชเย็นแชแข็ง และไกแปรรูปจากไทย ตั้งแตป 2547 เนื่องจากปญหาโรคระบาดไขหวัดนก แตลาสุดฟลิปปนส ไดยกเลิกมาตรการดังกลาวแลว เมื่อ 15 สิงหาคม 2555 โอกาสการคาสินคาไกเนื้อไทยในฟลิปปนส ควรจะเปนไปใน ลักษณะของการเขาไปลงทุนทำธุรกิจไกเนื้อตั้งแตการเลี้ยง การชำแหละ ตลอดจนถึงการแปรรูป โดยสรางจุดเดนใน ลักษณะของการเลี้ยงไกเนื้อปลอดโรค ซึ่งขณะนี้บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จำกัด ไดเขาไปลงทุนในฟลิปปนสแลว ภายใตชื่อ “CPF Philippines Corporation”

128

ประเทศมาเลเซียไมอนุญาตใหรถบรรทุกสินคาของไทย (รถ 10ลอ ) เขาไปสงสินคาในมาเลเซีย โดยอางวารถ ไมไดมาตรฐานสากล ทำใหผูสงออกไกเนื้อของไทยตองขนถายสินคาขึ้นรถมาเลเซียที่บริเวณชายแดนกอใหเกิดความ ลาชาในการขนสงและมีตนทุนสูงขึ้น รวมทั้งการจดทะเบียนรับรองสินคาฮาลาลมีคาใชจายสูง จึงไมจูงใจในการรับ รองสินคาเปนฮาลาล ดังนั้นทิศทางในอนาคตของไกเนื้อไทยในมาเลเซีย ควรจะเปนไปในลักษณะของการเขาสูตลาด มาเลเซียในรูปแบบการลงทุนในอุตสาหกรรมไกเนื้อฮาลาล เพราะถึงแมวามาเลเซียจะขาดแคลนวัตถุดิบ แตก็สามารถ นำเขาวัตถุดิบตางๆ เชน กากถั่วเหลือง ฯลฯ โดยไมตองจายภาษี ทำใหตนทุนการผลิตต่ำ ชวยเพิ่มขีดความสามารถ ทางการแขงขันของอุตสาหกรรมไกเนื้อได อีกทั้งมาเลเซีย ยังมีโอกาสทางการตลาดอีกดวย เนื่องจากผูบริโภคมีความ เชื่อมั่นในคุณภาพของไกเนื้อไทย และการที่มาเลเซียขาดแคลนแรงงาน ก็เปนโอกาสของผูลงทุนไทยในการนำแรงงาน ที่มีความเชี่ยวชาญดานการปรับปรุงพันธุและขยายพันธุสัตวปกเขาไปทำงานในมาเลเซียได สำหรับปญหาที่มาเลเซีย ไมอนุญาตใหรถบรรทุกสินคาของไทยเขาไปสงสินคาในมาเลเซีย ควรมีการเจรจาใหมาเลเซีย ตระหนักถึงความสำคัญ ของแผนแมบทเกี่ยวกับการเชื่อมโยงกันของประชาคมอาเซียน ที่เนนการปรับกฎ ระเบียบเกี่ยวกับการเปดเสรี และ อำนวยความสะดวกทางการคา บริการ และการขนสง เพื่อกระตุนใหมาเลเซียยกเลิกกฎระเบียบดังกลาว 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


สิงคโปรมีการนำเขาไกแปรรูปจากไทยเปนอันดับ 1 และถือไดวาไกแปรรูปของไทยเปนสินคาที่มีศักยภาพใน ตลาดสิงคโปร โดย NTUC Fairprice ซุปเปอรมาเก็ตของสิงคโปรทม่ี เี ครือขายทัว่ เกาะ ตองการสินคาไกแปรรูปทีม่ คี ณุ ภาพ จากไทย เพือ่ ขายใหกบั ลูกคาตัง้ แตระดับสูงจนถึงระดับกลางอยางตอเนือ่ ง อยางไรก็ตาม ไกแปรรูปของไทยยังมีอปุ สรรค ที่วาสิงคโปรมีการนำเขาไกแปรรูปจากบริษัท CPF และ Golden Line เทานั้น เนื่องจากมีมาตรฐานและคุณภาพสอด คลองกับกฎระเบียบของสิงคโปร ซึ่งสิงคโปรมีกระบวนการนำเขาที่เขมงวดและจัดทำในระดับมาตรฐานของโลก หาก ไมสอดคลองกับกฎระเบียบ จะมีการสงกลับทันที ดังนัน้ ไทยควรรักษาคุณภาพการผลิตไกแปรรูปของไทยใหไดมาตรฐาน ของสิงคโปร อีกทัง้ ควรปรับปรุงมาตรฐานการผลิตของบริษทั อืน่ ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพเพือ่ ใหสามารถสงออกไปยังตลาดสิงคโปร ไดเชนกัน ประเทศไทยไมสามารถเปดตลาดเนือ้ ไกสดแชเย็นแชแข็งและไกมชี วี ติ ในอินโดนีเซียได เพราะปญหาการระบาด ของไขหวัดนก ตั้งแตป 2547 แตอยางไรก็ตาม อินโดนีเซียมีกฎหมายการลงทุนที่เอื้อประโยชนตอการเขาไปลงทุนใน อุตสาหกรรมการผลิตไกเนื้อ โดยกำหนดใหเปนบริษัทรวมทุนที่สามารถถือหุนไดสูงสุดรอยละ 95 แตตองใชแรงงาน อินโดนีเซียเทานัน้ อีกทัง้ ตลาดสินคาอาหารฮาลาลของอินโดนีเซียยังมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ จึงเปนโอกาสดีของผูป ระกอบ การไทยที่จะเขาไปรวมลงทุนกับผูประกอบการอินโดนีเซียในอุตสาหกรรมไกเนื้อแบบครบวงจร จากผลการวิเคราะหขางตน จะเห็นวา อนาคตของไกเนื้อไทยในกลุมอาเซียนจะมีทั้งการเขาไปลงทุนขยาย ฐานการผลิต การสงผูเชี่ยวชาญดานการผลิตเขาไปใหความชวยเหลือดานการผลิต และการเปนพันธมิตรทางการคา อีกทั้งยังมีบางประเทศที่ยังไมเปดตลาดไกเนื้อใหกับไทย ดังนั้นหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่เกี่ยวของ ควร รวมมือกันผลักดันการลงทุน และการสงออกไกเนือ้ ไปยังตลาดอาเซียนทีม่ ศี กั ยภาพ รวมถึงเจรจาเปดตลาด เพือ่ ผลักดัน การสงออกไกเนื้อไปยังประเทศที่ยังไมเปดตลาดใหกับไทย ชวยลดการพึ่งพาการสงออกไปยังตลาดหลักสำคัญอยาง EU และญี่ปุนได

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

129


สรุปสถานการณการคาสินคาประมง ระหวางไทยกับกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ป 2556 โดยกรมประมง

อาเซียนเปนคูคาสินคาประมงที่สำคัญของไทย โดยเฉพาะเปนแหลงนำเขาวัตถุดิบสัตวน้ำที่สำคัญอันดับหนึ่ง ของไทย โดยป 2556 ไทยมีมลู คาการคาสินคาประมงกับอาเซียนรวม 30,107.27 ลานบาท คิดเปนรอยละ 9.2 ของมูลคา การคาสินคาประมงระหวางประเทศทั้งหมดของไทย แบงเปนการสงออก 14,171.93 ลานบาท และการนำเขา 15,935.35 ลานบาท ไทยขาดดุลการคาสินคาประมงกับอาเซียนมูลคา 1,763.42 ลานบาท แผนภาพที่ 1 สัดสวนมูลคาการสงออกสินคาประมง ของไทย จำแนกตามตลาดสงออกสำคัญ

130

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

แผนภาพที่ 2 สัดสวนมูลคาการนำเขาสินคาประมง ของไทย จำแนกตามตลาดนำเขาสำคัญ


การสงออก

เมือ่ พิจารณาแนวโนมการสงออกสินคาประมงของไทยไปยังอาเซียนในชวงป 2551 - 2556 (ดังแผนภาพ ที่ 3) จะเห็นวาแนวโนมมูลคาการสงออกไปอาเซียนเพิ่มขึ้นโดยตลอด โดยเฉพาะในป 2553 ที่เพิ่มขึ้นสูงสุดรอยละ 24.7 จากปกอน สวนหนึ่งเปนผลจากการที่ประเทศสมาชิกอาเซียน ไดลดภาษีนำเขาสินคาประมงทุกรายการเหลือ รอยละ 0 ตั้งแต 1 มกราคม 2553 ยกเวนป 2556 ที่ไทยสงออกสินคาประมงไปอาเซียนลดลงรอยละ 0.53 จากปกอนการสงออก สินคาประมงไปอาเซียนในชวงป 2551 - 2556 เพิ่มขึ้นจาก 8,935.84 ลานบาท ในป 2551 เปน 14,171.99 ลานบาท ในป 2556 เฉลี่ยเพิ่มขึ้นรอยละ 9.98 ตอป ป 2556 ไทยสงออกสินคาประมง 288,883.56 ตัน มูลคา 14,171.93 ลานบาท ลดลงรอยละ 2.62 และ 0.36 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปกอน สินคาสงออกสำคัญ ไดแก กุงสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 10.46) ปลาสดแชเย็น แชแข็ง (รอยละ 9.15) ปลาทูนากระปอง (รอยละ 6.03) ปลาซารดีนสกระปอง (รอยละ 5.20) ผลิตภัณฑอาหารทะเล แปรรูป (รอยละ 8.88 ) ปลากระปองอื่นๆ (รอยละ 3.46) ปลาแหง (รอยละ 3.17) เนื้อปลาสดแชแย็นแชแข็ง (รอยละ 2.33) หมึกสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 2.26) เปนตน (ตารางที่ 1) แผนภาพที่ 3 แนวโนมการสงออกสินคาประมงของไทยไปกลุมประเทศอาเซียน ป 2551 - 2556

สินคาประมงที่ไทยสงออกไปอาเซียนลดลงในป 2556 ไดแก กุงสดแชเย็นแชแข็ง ปริมาณและมูลคาลดลง รอยละ 65.15 และ 54.70 ปลาสดแชเย็นแชแข็ง ปริมาณและมูลคาลดลงรอยละ 23.28 และ 31.82 ปลาแหง ปริมาณ และมูลคาลดลงรอยละ 42.70 และ 47.51 เปนตน ขณะที่สินคาประมงที่ไทยสงออกไปอาเซียนเพิ่มขึ้นในป 2556 ไดแก ปลาทูนากระปอง ปริมาณและมูลคาเพิ่มขึ้นรอยละ 11.10 และ 14.41 ปลาซารดีนสกระปอง ปริมาณและมูลคาเพิ่มขึ้น รอยละ 26.65 และ 12.13 ปลากระปองอื่นๆ ปริมาณและมูลคาเพิ่มขึ้นรอยละ 20.72 และ 51.97 เนื้อปลาสด แชเย็น แชแข็งอื่นๆ ปริมาณและมูลคาเพิ่มขึ้นรอยละ 27.13 และ 14.79 ผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป ปริมาณและมูลคาเพิ่ม ขึ้นรอยละ 36.95 และ 35.11 เมื่อเปรียบเทียบกับปกอน เปนตน การสงออกสินคาประมงของไทยไปอาเซียนในชวง 5 เดือนแรกของป 2557 ปริมาณการสงออก 121,064.34 ตัน ลดลงรอยละ 10.80 มูลคาการสงออก 6,399.76 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 2.32 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ป 2556 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

131


การนำเขา

อาเซียนเปนตลาดนำเขาสินคาประมงอันดับหนึง่ ของไทย โดยสวนใหญเปนการนำเขาวัตถุดบิ สัตวนำ้ โดยเฉพาะ สัตวน้ำสดแชเย็นแชแข็ง เมื่อพิจารณาแนวโนมการนำเขาสินคาประมงของไทยจากอาเซียนในชวงป 2551 - 2556 (ดัง แผนภาพที่ 4) จะเห็นวามูลคาการนำเขาจากอาเซียนลดลงในชวงป 2551 - 2553 หลังจากนั้นมูลคาการนำเขาเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในป 2555 ที่เพิ่มขึ้นรอยละ 27.73 จากปกอน เนื่องจากไทย มีการนำเขาปลาทูนาสดแชเย็นแชแข็งจากอาเซียน โดยเฉพาะจากอินโดนีเซียเพิ่มขึ้น ประกอบกับราคาวัตถุดิบทูนา ใน ขณะนัน้ เพิม่ สูงขึน้ มาก แตในป 2556 มูลคาการนำเขาสินคาประมงจากอาเซียนกลับลดลง อยางไรก็ตาม การนำเขา สินคาประมงจากอาเซียนในชวงป 2551 - 2556 เพิ่มขึ้นจาก 14,374.86 ลานบาท เปน 15,935.3 ลานบาท เฉลี 1 ่ยเพิ่ม ขึ้นรอยละ 3.18 ตอป ตารางที ่ 1 ่ปริ1 ปริ มาณและมู ออกสินคนาคประมงของไทยไปกลุ าประมงของไทยไปกลุ มประเทศอาเซี ยน -ป2556 2555 - 2556 ตารางที มาณและมูลลคคาการส การสงงออกสิ มประเทศอาเซี ยน ป 2555 ปริมาณ: ตัน, มูลคา: ลานบาท กลุม 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5

รายการ กุงสดแชเย็นแชแข็ง กุงแหง กุงตมสุกแชเย็น กุงกระปอง กุงปรุงแตงหรือทําไวไมใหเสีย รวมกุง 2.1 หมึกสดแชเย็นแชแข็ง 2.2 หมึกแหง 2.3 หมึกแปรรูปหรือปรุงแตง 2.4 หมึกรมควัน รวมหมึก 3.1 ปลาสดแชเย็นแชแข็ง(รวมตับ และไข) 3.2 เนื้อปลาสดแชเย็นแชแข็ง 3.3 ปลาแหง 3.4 ปลามีชีวิตและพันธุปลา รวมปลา 4.1 ทูนากระปอง 4.2 ซารดีนกระปอง 4.3 ปลากระปองอื่นๆ 4.4 ปูกระปอง 4.5 อาหารทะเลกระปองอื่นๆ (ไม รวมกุงและหมึก) รวมอาหารทะเลกระปอง 5 อาหารสุนัขและแมวกระปอง 6.1 ผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป (ไมรวมกุงและหมึก) 6.2 ผลิตภัณฑทูนาแปรรูป 6.3 ปูที่ปรุงแตงหรือทําไวไมใหเสีย 7 สินคาประมงอื่นๆ รวมสงออก

2555 ปริมาณ มูลคา 20,052.75 3,272.48 26.66 7.52 9.38 0.23 22.96 5.50 639.94 120.42 20,751.69 3,406.15 5,353.50 350.56 4.88 2.53 226.18 48.69 2.09 1.42 5,586.65 403.20 110,094.19 1,900.96

2556 ปริมาณ มูลคา 6,988.61 1,482.36 54.51 13.76 0.15 0.04 18.31 4.72 652.99 122.07 7,714.56 1,622.94 5,596.62 319.86 273.21 10.61 325.58 49.37 3.02 0.59 6,198.43 380.43 84,465.80 1,296.06

อัตราการเปลี่ยนแปลง ปริมาณ (%) มูลคา (%) -65.15 -54.70 104.45 82.90 -98.44 -82.27 -20.26 -14.27 2.04 1.37 -62.82 -52.35 4.54 -8.76 5,496.35 320.34 43.95 1.38 44.34 -58.29 10.95 -5.65 -23.28 -31.82

สัดสวน ป 2556 ปริมาณ (%) มูลคา (%) 2.42 10.46 0.02 0.10 0.00 0.00 0.01 0.03 0.23 0.86 2.67 11.45 1.94 2.26 0.09 0.07 0.11 0.35 0.00 0.00 2.15 2.68 29.24 9.15

2,519.55 38,299.00 850.11 151,762.85 4,885.08 7,968.37 4,518.06 213.86 3,511.92

288.00 856.83 108.85 3,154.65 746.66 656.69 322.54 62.41 366.56

3,203.18 21,944.21 477.45 110,090.64 5,427.14 10,091.80 5,454.06 347.52 1,359.13

330.59 449.71 87.77 2,164.14 854.29 736.38 490.16 70.08 186.12

27.13 -42.70 -43.84 -27.46 11.10 26.65 20.72 62.50 -61.30

14.79 -47.51 -19.37 -31.40 14.41 12.13 51.97 12.29 -49.22

1.11 7.60 0.17 38.11 1.88 3.49 1.89 0.12 0.47

2.33 3.17 0.62 15.27 6.03 5.20 3.46 0.49 1.31

21,097.29 2,444.56 10,264.43

2,154.86 117.80 930.91

22,679.64 2,854.58 14,056.69

2,337.03 143.06 1,257.80

7.50 16.77 36.95

8.45 21.45 35.11

7.85 0.99 4.87

16.49 1.01 8.88

191.55 356.18 84,186.99 296,642.18

15.33 29.76 4,010.83 14,223.48

253.39 381.93 124,653.70 288,883.56

25.26 30.91 6,210.37 14,171.93

32.29 7.23 48.07 -2.62

64.77 3.84 54.84 -0.36

0.09 0.13 43.15 100.00

0.18 0.22 43.82 100.00

าสินคาาสิประมงระหว างประเทศ กองประมงต างประเทศ กรมประมง างประเทศ กรมประมง ที่มาที่ม: ากลุ: กลุมมวิวิเเคราะห คราะหการคการค นคาประมงระหว างประเทศ กองประมงต ประมวลขอมูลจากกรมศุลกากร ประมวลขอมูลจากกรมศุลกากร

132

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

ป 2556 ไทยนําเขาสินคาประมงจากอาเซียน 383,645.31 ตัน 15,935.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 1


ป 2556 ไทยนำเขาสินคาประมงจากอาเซียน 383,645.31 ตัน 15,935.3 ลานบาท ลดลงรอยละ 9.43 และ 7.86 ตามลำดับ เมือ่ เปรียบเทียบกับปกอ น สินคานำเขาสำคัญ1 ไดแก ปลาสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 24.51) ซึง่ สวนใหญนำเขา จากอินโดนีเซียและพมา ปลาทูนาสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 27.35) เนื้อปลาสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 12.85) อาหาร ทะเลกระปอง (รอยละ 10.62) ผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป (รอยละ 8.43) หมึกแหง (รอยละ 7.37) และหมึกสดเแชแข็ง (รอยละ 2.39) เปนตน (ตารางที่ 2) 1

ตัวเลขในวงเล็บ คือ สัดสวนมูลคาการนำเขาสินคานัน้ จากอาเซียน เปรียบเทียบกับมูลคาการนำเขาสินคาประมง ทั้งหมดของไทยจากอาเซียน

แผนภาพที่ 4 แนวโนมการนำเขาสินคาประมงของไทยจากกลุมประเทศอาเซียน ป 2551 - 2556

สินคาประมงหลักๆ ที่ไทยนำเขาจากอาเซียนในป 2556 สวนใหญมีการนำเขาลดลง อาทิ ปลาสดแชเย็นแชแข็ง ปริมาณและมูลคาลดลงรอยละ 7.42 และ 6.54 ปลาทูนาสดแชเย็นแชแข็ง ปริมาณและมูลคาลดลงรอยละ 17.95 และ 25.48 หมึกสดแชเย็นแชแข็ง ปริมาณและมูลคาลดลงรอยละ 25.43 และ 21.75 ผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป ปริมาณและมูลคาลดลงรอยละ 16.38 และ 23.47 เปนตน ขณะทีส่ นิ คาประมงทีม่ กี ารนำเขาจากอาเซียนเพิม่ ขึน้ ในป 2556 ไดแก เนื้อปลาสดแชเย็นแชแข็ง ปริมาณและมูลคาการนำเขาเพิ่มขึ้นรอยละ 36.68 และ 24.06 อาหารทะเลกระปอง ปริมาณและมูลคาการนำเขาเพิ่มขึ้นรอยละ 29.02 และ 61.15 เมื่อเปรียบเทียบกับปกอน เปนตน การนำเขาสินคาประมงของไทยจากอาเซียนในชวง 5 เดือนแรกของป 2557 ปริมาณการนำเขา 164,066.20 ตัน ลดลงรอยละ 2.47 มูลคาการนำเขา 6,743.30 บาท ลดลงรอยละ 3.98 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

133


1

ตารางที าณและมูลคลาคการนํ าการนำเข คาประมงของไทยจากกลุ มประเทศอาเซี ป 2555 - 2556 ตารางที่ ่22 ปริ ปริมมาณและมู าเขาสินาคสิานประมงของไทยจากกลุ ม ประเทศอาเซี ยน ป 2555ยน- 2556

ปริมาณ: ตัน, มูลคา: ลานบาท

2555 กลุม 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3

รายการ กุงสดแชเย็นแชแข็ง กุงแหง กุงตมหรือนึ่ง กุงกระปอง กุงปรุงแตงหรือทําไวไมใหเสีย หมึกสดแชเย็นแชแข็ง หมึกแหง หมึกแปรรูปหรือปรุงแตง ปลาสดแชเย็นแชแข็ง(รวมตับและ 3.1 ไข) 3.2 เนื้อปลาสดแชเย็นแชแข็ง 3.3 ปลาแหง ใสเกลือ รมควัน 3.4 ปลามีชีวิตและพันธุปลา 3.5 ทูนาสดแชเย็นแชแข็ง 4 อาหารทะเลกระปอง(ไมรวมกุง) 5 อาหารสุนัขและแมวกระปอง 6 ผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป 7 หอยแครงสดแชเย็น 8 ปลาปน 9 สินคาประมงอื่นๆ รวมนําเขา

2556

ปริมาณ 575.32 4,367.21 4,747.57 22.72 6,715.69 9,094.57 5,899.47 93.56

มูลคา 106.88 30.06 32.83 5.00 36.34 487.35 1,139.37 23.17

ปริมาณ 966.91 7,571.71 781.30 11.07 2,828.17 6,781.50 5,660.23 129.94

มูลคา 181.18 53.67 5.20 2.32 16.63 381.36 1,175.03 37.62

231,019.02 21,271.59 3,032.45 814.03 89,621.86 10,758.62

4,178.30 1,649.96 78.34 85.88 5,848.30 1,049.99

213,867.24 29,074.06 2,565.64 947.88 73,536.67 13,880.97

3,905.10 2,047.01 89.76 77.14 4,358.17 1,692.09

9,885.08 7,117.49 13,050.50 5,514.25 423,601.02

1,755.97 86.91 319.56 379.69 17,293.91

8,265.98 5,947.15 4,900.00 5,928.88 383,645.31

1,343.81 70.58 107.57 391.10 15,935.35

อัตราการเปลี่ยนแปลง ปริมาณ (%) มูลคา (%) 68.06 69.51 73.38 78.54 -83.54 -84.17 -51.29 -53.66 -57.89 -54.23 -25.43 -21.75 -4.06 3.13 38.88 62.36 -7.42 36.68 -15.39 16.44 -17.95 29.02 -

-6.54 24.06 14.57 -10.17 -25.48 61.15 -

-16.38 -16.44 -62.45 7.52 -9.43

-23.47 -18.79 -66.34 3.01 -7.86

ที่มา : กลุมวิเคราะหการคาสินคาประมงระหวางประเทศ กองประมงตางประเทศ กรมประมง ประมวลขอมูลจากกรมศุลกากร

ที่มา : กลุมวิเคราะหการคาสินคาประมงระหวางประเทศ กองประมงตางประเทศ กรมประมง ประมวลขอมูลจากกรมศุลกากร ------------------------กองประมงตางประเทศ วันที่ 21 กรกฎาคม 2557

134

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

สัดสวนป 2556 ปริมาณ (%) มูลคา (%) 0.25 1.14 1.97 0.34 0.20 0.03 0.00 0.01 0.74 0.10 1.77 2.39 1.48 7.37 0.03 0.24 55.75 7.58 0.67 0.25 19.17 3.62 0.00 2.15 1.55 1.28 1.55 100.00

24.51 12.85 0.56 0.48 27.35 10.62 0.00 8.43 0.44 0.68 2.45 100.00


ผลกระทบจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ตอการประมงไทย

การจัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งประกอบไปดวย 3 ประชาคม คือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน สำหรับภาคการประมงของไทยเกี่ยว ของกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมากที่สุด เนื่องจาก จะตองมีการจัดทำมาตรฐานการเพาะเลีย้ งสัตวนำ้ ตามแนว ปฏิบัติที่ดีของอาเซียน (ASEAN Good Aquaculture Practice) การจัดทำคูมือการใชสารเคมีสำหรับการเพาะ เลีย้ งสัตวนำ้ ของอาเซียน การอำนวยความสะดวกทางการ คาโดยเฉพาะการปรับประสานมาตรการดานสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช การจัดทำขอตกลงการยอมรับรวมกันของ การตรวจสอบรับรองคุณภาพสินคาประมง

การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community หรือ AEC มีจดุ มุง หมายใหอาเซียน เปนตลาดและฐานการผลิตเดียว เสริมสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน การพัฒนาเศรษฐกิจ อยางเสมอภาค และการบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก เพื่อใหอาเซียนเปนศูนยกลาง ดึงดูดประเทศตางๆ ที่เขา มารวมมือทางการคาและเศรษฐกิจมากขึ้น

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

135


โอกาสของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตออุตสาหกรรม ประมงไทย อาเซียนเปนแหลงวัตถุดิบสัตวน้ำที่สำคัญของไทย โดยกองเรือประมงของไทยไดไปทำการประมงในนานน้ำ พมา และอินโดนีเซีย และสัตวน้ำที่จับไดกลับเขามาใน ประเทศเพื่อเปนวัตถุดิบปอนโรงงานแปรรูปสินคาประมง เพือ่ สงออก และไทยยังนำเขาปลาน้ำจืดจากกัมพูชาจำนวน มาก เพื่อนำมาบริโภคภายในประเทศ ดังนั้น อาเซียน จึงเปนคูคาสินคาประมงที่สำคัญของไทย ในป 2553 ไทย นำเขาสินคาประมงจากอาเซียน 11,755 ลานบาท คิดเปน รอยละ 17 ของมูลคาการนำเขาสินคาประมงทั้งหมดของ ไทย ในแงการสงออก อาเซียนเปนตลาดสงออกสินคา ประมงอันดับ 4 ของไทย รองจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สหภาพยุโรป และกลุมประเทศแอฟริกา โดยในป 2553 ไทยสงออกสินคาประมงไปอาเซียนมูลคา 11,950 ลานบาท คิดเปนรอยละ 5 ของมูลคาสงออกสินคาประมงทั้งหมด ของไทย

136

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

สินคาประมงสำคัญที่ไทยสงออกไปอาเซียน ในป 2553 ไดแก ปลาสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 13) อาหาร ทะเลกระปอง (รอยละ 12.4) กุง สดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 11.6) ปลาแหง (รอยละ 5.8) และอาหารทะเลแปรรูป (รอยละ 5.7) สำหรับสินคาประมงสำคัญที่ไทยนำเขาจาก อาเซียน ในป 2553 ไดแก ปลาสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 45) ปลาทูนา สดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 18.9) เนือ้ ปลาสด แชเย็นแชแข็ง (รอยละ 8) หมึกสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 6) หมึกแหง (รอยละ 5.6) อาหารทะเลแปรรูป (รอยละ 5.2) อาหารทะเลกระปอง (รอยละ 3.2) กุงสดแชเย็นแชแข็ง (รอยละ 1.2) เปนตน


1

จากผลการศึกษาของกรมเจรจาการคาระหวาง ประเทศพบวา การจัดตั้ง AEC จะสงผลกระทบเชิงบวก ทีเ่ ปนประโยชนตอ อุตสาหกรรมของไทยและคาดวาจะเปน ประโยชนตออุตสาหกรรมประมง ดังนี้ 1. ขยายการสงออกไปยังตลาดอาเซียนไดเพิ่มขึ้น เนื่องจากภาษีนำเขาของทุกประเทศจะหมดไปในป 2558 2. ขยายโอกาสการลงทุน โดยผูป ระกอบการประมง ประเภทตางๆ และผูเ พาะเลีย้ งสัตวนำ้ อาจแสวงหาโอกาส จากการเปดเสรีการลงทุนภายใตกรอบความตกลงการเปด เสรีการลงทุนอาเซียนทีช่ ดั เจนมากขึน้ เชน การไดรบั สิทธิ พิเศษและการอำนวยความสะดวกในการลงทุนกิจการ ประมงในประเทศสมาชิกอาเซียน 3. เสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของ ผูประกอบการในประเทศ จากการใชฐานการผลิตรวมกัน เพื่อลดตนทุนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพ เชน การนำ เขาวัตถุดิบราคาถูกลง การใชสิทธิภาษี GSP หากไทย ผลิตสินคาประมงในประเทศทีม่ รี ายไดประชาชาตินอ ยกวา เชน CMLV สินคาประมงสงไปสหภาพยุโรปจะไดสทิ ธิพเิ ศษ เสียภาษี GSP ต่ำกวาสินคาประมงที่ผลิตในประเทศไทย แตทั้งนี้ ตองพิจารณากฎแหลงกำเนิดสินคาของสินคา ชนิดนั้นๆ ควบคูไปดวย

4. การปรับปรุงโครงสรางพืน้ ฐาน ภายใตแผนแม บท วาดวยความเชือ่ มโยงระหวางกัน (ASEAN Connectivity) เชน โครงขายทางหลวงอาเซียน 23 เสนทาง 38,400 กิโลเมตร เสนทางรถไฟเชื่อมสิงคโปร-คุนหมิง ทางหลวงเชื่อมโยง กาญจนบุรีและทวาย (2020) ทาเรือน้ำลึกทวาย (2020) จะชวยสนับสนุนระบบการขนสง และลดตนทุนดานโลจิสติกส 5. ชวยใหแรงงานฝมือของไทยมีโอกาสเขาไป ทำงานในตลาดอาเซียนไดเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาความ ถนัดเฉพาะทางเพิ่มขึ้น เพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความ สามารถเฉพาะทาง ทั้งนี้ ตองมีการจัดทำการยอมรับรวม กันดานแรงงานฝมือ (MRA) ซึ่งขณะนี้อาเซียนไดลงนาม MRA สาขาแรงงานฝมอื แลว 7 สาขา คือ วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นักสำรวจ แพทย ทันตแพทย และนักบัญชี (สาขาที่เกี่ยวของกับภาคการประมงและมีโอกาสเขาไปทำ งานในตลาดอาเซียน เชน นักวิชาการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ ผูตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานฟารม ซึ่งในอนาคต อาจมีการเสนอใหจัดทำ MRA ในสาขาที่อาเซียนเห็นชอบ รวมกันได)

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

137


ผลกระทบทางลบและขอควรระวังจากการเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน แมวาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะมีแนวทาง การพัฒนาและเปาหมายเพือ่ ประโยชนโดยรวมของภูมภิ าค แตการทีป่ ระเทศสมาชิกยังคงเปนคูแ ขงทางการคามากกวา การเปนคูคา จึงทำใหการจัดตั้ง AEC อาจสงผลกระทบ ในทางลบตอภาคอุตสาหกรรมของไทยได 1. การนำเขาวัตถุดบิ สัตวนำ้ จะทำไดงา ยขึน้ ทำให เพิ่มความเสี่ยงตอการนำเขาวัตถุดิบที่คุณภาพต่ำ 2. การนำเขาปลาน้ำจืดจากประเทศเพือ่ นบานเขา มาบริโภคภายในประเทศจะมีมากขึ้น และอาจกระทบกับ ผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ำรายยอยของไทย 3. ประเทศสมาชิกอาเซียนอาจนำมาตรการดาน สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) และความปลอดภัย ดานอาหารมาใชเพิม่ ขึน้ เพือ่ ปกปองภาคการผลิตในประเทศ เชน การกำหนดชวงเวลาและดานนำเขาเฉพาะผลไม ประเทศอินโดนีเซีย การกำหนดใหมกี ารขออนุญาตนำเขา ทุกครั้ง 4. ในอนาคตแรงงานตางดาวภาคการประมงจะ กลับประเทศ ทำใหขาดแคลนแรงงาน

ศูนยวจิ ยั เศรษฐศาสตรประยุกต คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดวิเคราะหศักยภาพและ ความสามารถในการแขงขันเชิงเปรียบเทียบของประเทศ สมาชิก AEC สำหรับสินคาปลาทูนากระปอง พบวาไทยมี ศักยภาพในการแขงขันสูง แตมีปญหาดานวัตถุดิบและ มีปจจัยออนไหวสูง ผูวิจัยไดเสนอแนะมาตรการสำหรับ ภาครัฐ ที่ควรดำเนินการเพื่อรองรับ AEC โดยมาตรการ ที่จะมีประโยชนตอสินคาประมง ไดแก

มาตรการเชิงรุก

1. การสนับสนุนและสงเสริมดานการเงิน 2. การดำเนินมาตรการทางการทูตเชิงรุกเพือ่ สราง พันธมิตรระหวางรัฐบาล 3. การสนับสนุนดานการวิจัยและพัฒนา 4. การผลักดัน/สงเสริมการใชมาตรฐานรวมของ สินคาอาเซียน

มาตรการเชิงปองกัน

1. การติดตามนโยบายและมาตรการทางการคา และการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียน 2. การสรางฐานความรูดานการจัดการฟารมให แกเกษตรกร 3. การสราง/บังคับใชมาตรการ Safeguard ใน บางสินคา

มาตรการเชิงแกไข

1. การพัฒนาระบบโลจิสติกสและใหความรูดาน โลจิสติกสแกผูประกอบการ 2. การสรางมูลคาเพิม่ และพันธมิตรกับอุตสาหกรรม สนับสนุน 3. การบังคับใชมาตรการสุขอนามัยอยางเหมาะสม

มาตรการเชิงรับ

1. สงเสริมการพัฒนาฐานขอมูลเพือ่ สนับสนุนการ ผลิตและการตลาด 2. สรางเครือขายความรวมมือระหวางผูป ระกอบการ 3. สรางระบบตรวจสอบ มาตรฐานคุณภาพ และ ความปลอดภัยรวมกันในอาเซียน

138

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ติดตามขาวสารดานการเกษตรไดที่

www.thaiagrinews.net

สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย อาคารสารนิเทศ 50 ป ชั้น 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพมหานคร โทร. 02-940-5425-6 086 340 1713


ภาคเกษตรไทย อยูรอดอยางไร

และตองอยูอยางไรในภาพรวมเศรษฐกิจของอาเซียน? สุวรรณา บุญกล่ำ เลขาธิการสมาคมสือ่ มวลชนเกษตรแหงประเทศไทย

หากยึดติดกับภาพความสำเร็จเกาๆ วาภาคเกษตร ของไทยเหนือกวาประเทศเพือ่ นบานในภูมภิ าคอาเซียนหรือ มองแคเพียงการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC - ASEAN Economic Community ประเทศไทย จะไดประโยชนมากกวาเสียประโยชน คงตองกลับมาตัง้ โจทย กันใหม วาเราอยูตรงไหนกันแนในAEC นอกจากจุดออนดานภาษาและการสื่อสารภาษา อังกฤษ รวมทั้งภาษาจีนที่หลายประเทศในอาเซียนมีการ ใชกันเปนภาษาที่สองแลว สิ่งที่ยังเปนคำถามคือความ สามารถในการใชเทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่มมูลคาลด ความสูญเสียระหวางการขนสง เก็บรักษายืดอายุสินคา เกษตรของไทยก็ยงั มีลกั ษณะกระจุกตัวเฉพาะผูป ระกอบการ หรือไม ในขณะที่หลักการของAEC คือการมีตลาดและ ฐานการผลิตเดียวที่สามารถเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมอื โดยเสรี และการเคลือ่ นยายเงินทุน ที่เสรีมากขึ้น การใชวัตถุดิบจากแหลงเดียวกัน ซึ่งบาง ประเทศไมสามารถผลิตไดหรือผลิตไดไมพอ โดยเฉพาะ วัตถุดิบทางการเกษตรที่เปนทั้งอาหารและนำไปสูการแปร รูปเชิงอุตสาหกรรม ทามกลางโอกาสและผลประโยชนรวม การขยาย การคาและบริการ การสรางขีดความสามารถในการแขงขัน และการสรางอำนาจตอรองรวมกันทั้งภูมิภาคกับประเทศ นอกภูมิภาค ลวนเปนเงื่อนไขที่กอใหเกิดความไดเปรียบ เสียเปรียบ ปญหาและทางออกดวยกันทั้งสิ้น

140

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

นอกจากผูผลิต ผูประกอบการและนักลงทุนที่จะ ประโยชนหรือเสียประโยชนแลว ประชากรในภูมิภาคยัง อยูในภาวะที่ไมแตกตางกัน ภายใตโอกาสในการเลือกซื้อ สินคาและใชบริการที่มีคุณภาพและหลากหลายในราคาที่ เปนธรรมจากการแขงขันในตลาดเพิ่มมากขึ้น คำถามถึงภาคการเกษตรและสินคาการเกษตร ทีเ่ ปนทัง้ วัตถุดบิ และสินคาแปรรูป ทีต่ อ งไดรบั การทบทวน ครั้งใหญและตองใชงานวิจัยที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชน ในการสรางมูลคาเพิ่ม ทบทวนอะไร? ทบทวนวาประเทศไทยยังจะภาค ภูมใิ จกับการเปนแชมปสง ออกขาวของภูมภิ าคหรือของโลก อยูตอไปอีกหรือไม ทบทวนวาเราจะยังปลูกพืชเศรษฐกิจ โดยการขยายพืน้ ทีแ่ ละกอใหเกิดการบุกรุกทำลายทรัพยากร ปาไม หรือวาจะเลือกวิธเี พิม่ ผลผลิตตอพืน้ ที่ ตอตน ตอผล ดีกวาหรือไม และทบทวนวาจะผลิตอะไรใหรองรับความ ตองการของผูบ ริโภคทีม่ คี วามหลากหลายทัง้ รสนิยม พฤติกรรม ศาสนา ความเชื่อของประชากรในภูมิภาคอาเซียนที่ ปจจุบัน คือป 2557 มีจำนวนประมาณ 630 ลานคนหรือ ประมาณรอยละ 11 ของประชากรโลกที่มีจำนวนเกือบ 7,000 ลานคน แนนอนวาอาหารหลักของประชากรในภูมภิ าค คือขาวและทุกประเทศก็ผลิตขาวไดทั้งสงออกและบริโภค ในประเทศ แมบางประเทศจะผลิตขาวไมพอบริโภคตอง นำเขาจากประเทศใกลเคียง แตก็เปนปริมาณไมมากนัก และเวียดนามยังคงเปนผูสงออกขาวมากที่สุดไปยังหลาย ประเทศในอาเซียน


การแขงขันที่สูงขึ้น พืชเศรษฐกิจที่ปลูกคลายคลึง กันทัง้ ภูมภิ าคไมวา จะเปน ขาว ออย ยางพารา มันสำปะหลัง ขาวโพด และปาลมน้ำมัน ลวนแตมีผลกระทบซึ่งกันและ กันทั้งสิ้น ตนทุนต่ำ คุณภาพดี ผลผลิตตอไรสงู ตลาดตองการ เก็บรักษาไวไดนานและการขนสงที่รวดเร็ว ประหยัด คือ ปจจัยชี้ขาดความไดเปรียบของการสงออกผลผลิตทาง การเกษตร และแนนอนวาพืชที่ยังมีศักยภาพ และความ สามารถในการแขงขันของไทยคือออยและยางพารา ทั้ง ตนทุนและคุณภาพถือวามีโอกาสสูงที่จะครองตลาด สวนพืชที่ไดเปรียบและกำลังจะสูญเสียความได เปรียบในการแขงขัน คือขาวและมันสำปะหลัง ทำใหจำ เปนตองมีการนำงานวิจัยมาตอยอดพัฒนาทั้งสายพันธุ การเพิ่มผลผลิต คุณภาพของผลผลิต การสรางตลาด ผูบ ริโภคเฉพาะ (Niche Market) เชน ขาวอินทรีย (Organic) ขาวที่ผานการปฏิบัติการทางการเกษตรที่ดี (GAP) ขณะ ทีม่ นั สำปะหลังเองก็มที ง้ั โอกาสและศักยภาพในการแขงขัน ขึน้ อยูก บั การพัฒนาสายพันธุใ หม เพิม่ น้ำหนักและปริมาณ แปงใหสงู ขึน้ ซึง่ ตองอาศัยการวิจยั และพัฒนา (Research &Develop) เขามาชวยสนับสนุนอยางจริงจัง แลวพืชเกษตรที่ไทยเราเสียเปรียบในตลาดAECคืออะไร?

คำตอบชัดเจนคือขาวโพดเลี้ยงสัตวและปาลม น้ำมัน เนือ่ งจากประเทศในภูมภิ าคนีต้ า งสามารถปลูกและ ผลิตทั้งขาวโพดเลี้ยงสัตวและปาลมน้ำมันในตนทุนที่ต่ำ กวาและยังมีการนำเทคโนโลยีชวี ภาพดวยการทดสอบและ ทดลองปลูกขาวโพดตัดตอพันธุกรรม (GMO) เขามาใชใน พันธุขาวโพดเพื่อสรางพันธุตานทานโรคและหนอน ใหผล ผลิตสม่ำเสมอ คุณภาพเมล็ดสูงโดยเฉพาะในฟลิปปนส อินโดนีเซียและเวียดนาม ทีม่ กี ารสงเสริมการปลูกขาวโพด GMOแลวในระดับแปลงเกษตรกร

สวนปาลมน้ำมันก็เปนที่รับรูดีวาทั้งมาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลปิ ปนสและเวียดนามสามารถปลูกไดเชนกัน โดยประเทศทีป่ ลูกปาลมนำมันไดแก อินโดนีเซีย 50 ลานไร มาเลเซีย 35 ลานไร สวนประเทศไทย 5.5 ลานไร ปจจุบนั ภาครั ฐ ของไทยมี เ ป า หมายจะปลู กปาล ม ใหไดท ั้ง สิ้น 10 ลานไรภายในป 2572 จากพืน้ ทีม่ ศี กั ยภาพ ทัง้ สิน้ 20ลานไร ประเทศที่ผลิตและสงออกน้ำมันปาลมรายใหญ ที่สุดในโลกคือประเทศมาเลเซีย ผลิตเปนสัดสวนมากถึง รอยละ 47 ของการผลิดของโลกทีเดียว ขอมูลจากศูนยวจิ ยั กสิกรไทย ระบุวา การเพาะปลูก ปาลมน้ำมันของไทยยังคงไดปริมาณผลผลิตคอนขางต่ำ ประมาณ 14.47 ตัน/เฮกเตอร ในขณะที่อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย ไดผลผลิต ประมาณ 16.76 และ 21.90 ตัน/เฮกเตอร อัตราการใหนำ้ มันของผลผลิตปาลมน้ำมันของไทยประมาณ รอยละ 15.7 ในขณะที่อินโดนีเซียและมาเลเซีย มีอัตรา ที่สูงถึงรอยละ 22 และ 19.4 ตามลำดับ ศูนยวิจัยกสิกรไทยยังวิเคราะห สาเหตุสำคัญที่ ทำใหการผลิตปาลมน้ำมันของประเทศผูผลิตทั้งสองมี ศักยภาพการผลิตที่สูงกวาไทย มาจากทั้งสองมีพื้นที่การ เพาะปลูกปาลมที่มี ขนาดใหญ มีการปลูกปาลมน้ำมัน แบบครบวงจรทำใหสามารถวางแผนการผลิตและควบคุม ตนทุนการผลิตอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่ง มาเลเซีย ซึง่ มีศกั ยภาพการผลิตสูงสุด การเพาะปลูกปาลม น้ำมันสวนใหญเปนพื้นที่ของเกษตรกรรายใหญ (รอยละ 60) และผูผลิตปาลมในรูปแบบสหกรณหรือนิคมกวารอย ละ 30.5 สวนที่เหลือเพียงรอยละ 9.5 เปนเกษตรกรราย ยอย ที่ มีพื้นที่การเพาะปลูกประมาณ 250 ไรตอราย ซึ่งแตกตางกับเกษตรกรรายยอยของไทยที่มีจำนวนมาก ถึงรอยละ 60 และมีพื้นที่เพาะปลูกไมเกินรายละ 25 ไร นอกจากนี้ โรงสกัดและบีบน้ำมัน ของมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย เปนโรงงานขนาดใหญที่มีกำลังการผลิตมาก และยังมีการสกัดน้ำมันแยกระหวางเนื้อปาลมและเนื้อ ในเมล็ดปาลม (palm Kernel) ซึ่งจะชวยใหอัตราการให น้ำมันมีมากขึ้นกวาการสกัดรวมผลปาลมน้ำมันทั้งผล

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

141


แตเมื่อสรุปภาพรวมแลวจะเห็นวาภาคเกษตร สาขาพืช จะไดรับผลกระทบทั้งการเสียโอกาสทางการ แขงขันที่มากขึ้นเรื่อยและความสามารถหรือศักยภาพใน การแขงขันที่ตองเรงใชงานวิจัยพัฒนาเขามาสนับสนุน อยางเรงดวน มิฉะนั้นเกษตรกรรายยอยในทุกสาขาพืชจะ ไดรับผลกระทบมากที่สุด ดังนั้น เกษตรกรทุกระดับตองปรับตัวใหรูเทาทัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยการติดตามขอมูลการผลิต ของเกษตรกรในประเทศสมาชิก AEC และขาวสารการตลาด รวมทั้งพฤติกรรมผูบริโภคเพื่อนำมาพิจารณาการจัดการ ตนทุนการผลิต และเพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตและ คุณภาพสินคาที่มีมูลคาและคุณคาเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจำ เปนตองปรับตัวเขาสูระบบการรับรองมาตรฐานสินคาและ กระบวนการผลิต ตลอดจนการตรวจสอบยอนกลับเพื่อ สรางความเชือ่ มัน่ ของผูบ ริโภคทัง้ ในประเทศและตางประเทศ เนื่องจากแมวาการเปดเสรีทางการคาสินคาเกษตรกรและ อาหารนัน้ จะทำใหมกี ารลดอุปสรรคดานภาษี แตอปุ สรรค ที่ไมใชภาษีก็สามารถกำหนดได เชน เงื่อนไขดานสุข อนามัยพืชและสัตวทแ่ี ตละประเทศมีกฎระเบียบเพือ่ ปกปอง ผูบริโภคในประเทศของตน เปนตน

อยางไรก็ตาม นักธุรกิจภาคเกษตรกลางน้ำ และ ปลายน้ำ ตั้งแตโรงงานแปรรูปและผูสงออกที่มีการเตรียม ความพรอมจะไดรบั ประโยชนจาก AEC เนือ่ งจากสามารถ หาวัตถุดิบเกษตรที่มีตนทุนต่ำมาแปรรูปและจำหนายได งายขึน้ รวมทัง้ มีโอกาสสงออกมากขึน้ ดวยระบบโลจิสติกส ทีค่ ลองตัว ตลอดจนสามารถแสดงความเปนผูน ำดานอาหาร สูตลาดโลก หลายหนวยงานจึงพยายามเสนอยุทธศาสตร ของประเทศไทยสำหรับตลาด AEC และตลาดโลกดวย การประกาศตัวใหชัดเจน กำหนดเปาหมายและจุดยืน ใหชัดเจนวาประเทศไทยจะเปนอะไรในAEC ดวยขอเสนอ ดังนี้ 1.ประเทศไทยตองเปนผูน ำดานอาหารเพือ่ สุขภาพ เนือ่ งจากกลุม ผูบ ริโภคทีม่ กี ำลังซือ้ สูงมีความตองการสินคา คุณภาพ ปลอดภัยและดีตอสุขภาพ 2.ประเทศไทยตองเปนผูน ำดานผลิตภัณฑสมุนไพร เพือ่ อายุรเวชและความสวยงาม เพือ่ รองรับผลผลิตอินทรีย ผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัยสำหรับใหบริการกลุมผู บริโภคหรือลูกคาระดับกลางถึงสูงในภูมิภาคอาเซียน 3.ประเทศไทยตองประกาศตัวผูนำดาน พลังงาน ทดแทนเพื่อลดตนทุนดานพลังงานและเสริมสรางระบบ นิเวศที่ยั่งยืน ไมวาจะเปนการใชวัตถุดิบเหลือใชทางการ เกษตรเปนพลังงานชีวมวล การแปรรูปวัตถุดิบทางการ เกษตรที่มีคุณภาพต่ำเขาสูการเปนพืชพลังงาน 4.ประเทศไทยตองประกาศตัวเปนผูนำดาน การ ทองเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม เพื่อสรางรายไดเขา ประเทศโดยไมสูญเสียอัตลักษณและทรัพยากรธรรมชาติ ของประเทศอีกดว

นั่นคือโอกาสและยุทธศาสตรประเทศไทยในฐานะหนึ่งในประเทศผูนำในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการ ขับเคลื่อนภาคเกษตรตองไดรับการสนับสนุนดวยการวิจัยพัฒนา ตอยอด สรางนวัตกรรมดานการเกษตรใหมและใช เทคโนโลยีทกุ รูปแบบในการเพิม่ ผลผลิต เพิม่ คุณภาพ ลดตนทุน จัดการการขนสงทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สรางอำนาจตอรอง ทางการคาภาคเกษตรดวยสินคาที่มีคุณภาพเพื่อตอบสนองประชากรที่มีคุณภาพในภูมิภาคนี้ที่นับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดวยเชนกัน

142

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC



ถอดรหัส BQM 24/7

เสนทางอาหารปลอดภัยของเบทาโกร เครือเบทาโกร เปนกลุมบริษัทชั้นนำของประเทศ ที่ดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารครบวงจร ครอบคลุมตั้งแตอาหารสัตว ปศุสัตว ผลิตภัณฑเกี่ยวกับ สุขภาพสัตว และผลิตภัณฑอาหารคุณภาพเพื่อการสงออก และจำหนายในประเทศ ภายใตแนวคิด “เพือ่ คุณภาพชีวติ ” นับตั้งแตเริ่มกอตั้งมากวา 47 ป เครือเบทาโกร ใหความสำคัญ ในเรือ่ งนโยบายความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety) และคุณภาพ (Food Quality) มาอยาง ตอเนื่อง เพื่อมุงมั่นกาวเปนผูนำดานการผลิตอาหารที่มี คุณภาพสูงและปลอดภัยสำหรับผูบริโภค โดยนำระบบ

144

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

บริหาร คุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยระดับสากล มาประยุกตใชในกระบวนการผลิตและการจัดการทุกขัน้ ตอน อยางเครงครัด ยิง่ ไปกวานัน้ เครือเบทาโกรไดยกระดับการ ควบคุมใหเหนือมาตรฐานทัว่ ไปดวยระบบการจัดการคุณภาพ Betagro Quality Management 24/7 หรือ BQM 24/7 ซึง่ เปนระบบประกันคุณภาพสูงสุดทีส่ ามารถตรวจสอบและ ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารตลอด 24 ชั่วโมง 7 วัน ทั่วทั้งหวงโซการผลิต เพื่อใหมั่นใจวาทุกขั้น ตอนไดมาตรฐานดานคุณภาพและความปลอดภัยระดับสากล และสอดคลองกับความตองการของลูกคาอยางครบถวน


Betagro Quality Management 24/7 มี 5 องคประกอบหลัก คือ 1) ความปลอดภัยในอาหาร (Food Safety) เปน หัวใจสำคัญในการผลิตอาหาร ผลิตภัณฑอาหารของเครือ เบทาโกร จึงผานการตรวจสอบอยางละเอียดทุกขั้นตอน เพื่อใหแนใจวาปลอดภัยจากสารเคมีตกคาง สารปนเปอน จุลินทรียที่เปนอันตราย และสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ ที่อาจ เปนอันตรายตอสุขภาพของผูบริโภค 2) คุณภาพอาหาร (Food Quality) เครือเบทาโกร มุงมั่นผลิตอาหารที่มีคุณภาพสูงแกลูกคา ซึ่งเปนผลจาก การทุมเทวิจัยและพัฒนาอยางเขมขนและตอเนื่องโดยทีม ผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหแนใจวาผลิตภัณฑ และบริการ ของเบทาโกร ตรงกับความตองการของลูกคา 3) สวัสดิภาพสัตว (Animal Welfare) เครือเบทาโกร มีนโยบายสนับสนุน สงเสริมเรือ่ งสวัสดิภาพสัตว ดวยการริเริม่ หลากหลายโครงการที่ยกระดับมาตรฐานการเลี้ยงและการ ปฏิบัติตอสัตว อยางมีคุณธรรม ครอบคุลมทุกขั้นตอนใน การผลิต 4) บริการที่เปนเลิศ (Service Excellence) การ สรางความสัมพันธอันดีกับลูกคาเปนองคประกอบสำคัญ อยางมากในกลยุทธธุรกิจ ความสัมพันธระหวางเครือ เบทาโกรกับลูกคาจึงไมไดเปนเพียงแค “ผูข าย-ผูซ อ้ื ” แตเปน “หุนสวน” ผูซึ่งเบทาโกรมุงนำเสนอแตผลิตภัณฑ และ บริการที่ดีที่สุดเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น 5) ความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) เครือเบทาโกรตระหนักเสมอวา ความ รับผิดชอบตอสังคมเปนหัวใจของการดำเนินธุรกิจ ผลกระทบ ที่อาจเกิดกับสิ่งแวดลอมไดรับการจัดการเพื่อสรางความ ยั่งยืนของสิ่งแวดลอม ชุมชน และสังคม ผานกิจกรรม เพือ่ สังคมมุง ยกระดับคุณภาพชีวติ ของผูค นทีเ่ กีย่ วของอยาง ตอเนื่อง

Betagro Quality Management 24/7 ถือเปน แนวคิดในการควบคุมและจัดการคุณภาพทีม่ คี วามโดดเดน และแตกตางจากระบบอื่นตรงที่ มุงเนนการประเมินผล ตอเนื่องโดยใชการดำเนินงานที่เรียกวา ‘Surprise Audits’ ทัง้ ยังเนนการพัฒนาทักษะของพนักงานเพือ่ ใหบรรลุเปาหมาย ดานมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยในระดับที่สูงขึ้น ถือเปนนวัตกรรมที่ไมเพียงประกันไดวาระบบคุณภาพของ เบทาโกรผานมาตรฐานระดับนานาชาติอยางครบถวน แต ยังกาวล้ำอีกขั้นดวยการสรางมาตรฐานใหมสำหรับการจัด การคุณภาพและความปลอดภัยในอาหารอยางเต็มประสิทธิภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง 7 วัน และสะทอนใหเห็นถึงความมุงมั่น และความพยายามอยางไมหยุดยัง้ ในการพัฒนาไปสูม าตรฐาน คุณภาพและความปลอดภัยในอาหารระดับสูงสุด ครอบคลุม ทุกขัน้ ตอนในกระบวนการผลิตหรืออาจกลาวไดวา จากฟารม จนถึงโตะอาหารทุกวันและทุกเวลา 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

145


นายฮิโรชิ คาวาคามิ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทสยามคูโบตาคอรปอเรชั่น จำกัด 146

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


มุมมองสยามคูโบตา กับการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กวา 36 ปที่เอสซีจี และคูโบตา คอรปอเรชั่น (ประเทศญีป่ นุ ) ไดรว มกอตัง้ “บริษทั สยามคูโบตาคอรเรชัน่ จำกัด” ผลิตและจำหนายเครื่องจักรกลการเกษตรที่มี คุณภาพ เพือ่ เปนอุปกรณในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในประเทศไทย จนวันนี้สยามคูโบตาไดกาวขึ้นเปนผูนำ ในธุรกิจอุตสาหกรรมและเครือ่ งจักรกรการเกษตรในระดับ ภูมิภาค ที่ผานมา สยามคูโบตาไดมุงมั่นพัฒนาศักยภาพ ขององคกร ทั้งในดานการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑให ครอบคลุมทุกภาคการเกษตร โดยมุงเนนการผลิตเครื่อง จักรกลการเกษตรทีม่ คี ณุ ภาพ ดวยมาตรฐานประเทศญีป่ นุ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดานเครื่องจักรกล การเกษตรในระดับโลก โดยมุง เนนการลดตนทุน เพิม่ ผลผลิต ควบคูไปกับการพัฒนาดานการตลาด การสรางเครือขาย รวมถึงงานบริการใหแข็งแกรง ครอบคลุมทัง้ ในประเทศไทย และตางประเทศ นายฮิโรชิ คาวาคามิ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทสยามคูโบตาคอรปอเรชั่น จำกัด หัวเรือใหญของ สยามคูโบตา ไดกลาวถึงสถานการณเครือ่ งจักรกลการเกษตร โดยรวม ในป 2556 - 2557 นี้ “ดวยปจจัยทางดานเศรษฐกิจ การเมืองในชวงที่ผานมา สงผลใหผลประกอบการของ บริษทั ฯ ในชวงครึง่ ปแรกของป 2557 มีการปรับลดลงจาก ปกอนหนาประมาณ 10% แตบริษัทฯ ตองมีการจัดทำ promotion ตาง ๆ เพื่อกระตุนการขายและชวยเหลือ เกษตรกรที่ตองการเปนเจาของเครื่องจักรมากกวาปที่ ผานมาสำหรับยอดขายในตางประเทศ ผลประกอบการ ถือวามีการเติบโตอยางมาก เนื่องจากประเทศเพื่อนบาน กำลังอยูในชวงการพัฒนาปรับเปลี่ยนจาก การใชแรงงาน เปนเครื่องจักรกลการเกษตรมากขึ้น”

สยามคูโบตากระตุนยอดขาย ชวยเหลือเกษตรกร

นายฮิโรชิ คาวาคามิ เพิ่มเติมในเรื่องกิจกรรม สงเสริมการขาย อีกวา “ทีผ่ า นมาสยามคูโบตาทำการตลาด กับกลุม เกษตรกรทีเ่ ปนกลุม ลูกคาหลักอยางตอเนือ่ ง โดยนำ Total Process Solutions คือ ใหความรูดานเครื่องจักรกล การเกษตร ควบคูกับองคความรูดานเกษตรกรรม เพื่อ ชวยใหเกษตรกรลดตนทุน และเพิ่มผลผลิต ซึ่งชวยให เกษตรกรมีรายได เพือ่ ใชในการลงทุนมากขึน้ และยังขยาย ตลาดไปยังพืชอื่น ๆ เชน ออย มัน ปาลม และยางพารา ที่ยังมีการเติบโตของรายไดอยางตอเนื่อง เปนการขยาย ตลาดไปสูกลุมใหมๆ มากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีการออกโปรแกรมชวยเหลือเงินดาวน และสินเชื่อใหแกเกษตรกร รวมถึงรวมมือกับองคกรตางๆ เชน ธ.ก.ส. สนับสนุนใหเกษตรกรรวมกลุมกันเพื่อซื้อ เครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อใหเกษตรกรลดตนทุนใน การทำการเกษตรลง รวมถึงการออกสินคา ใหม เชน อุปกรณตอพวงตางๆ ที่ใชกับแทรกเตอรเพื่อสงเสริมให เกิดความคุมคาในการใชเครื่องจักรกลการเกษตรสูงสุด”

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

147


มุมมองสยามคูโบตาหลังเปด AEC ผูบ ริหารสยามคูโบตาพูดถึงวิสยั ทัศน และนโยบาย ของสยามคูโบตา หลังเปดเขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปหนาวา “สยามคูโบตาไดทำตลาดในภูมิภาคนี้มาเปน เวลานานกวาสิบปแลว สยามคูโบตามีรา นคาผูแ ทนจำหนาย และศูนยบริการเทคนิคกวา 180 แหงในหลายประเทศ เชน กัมพูชา ลาว พมา โดยสถานการณตลาดในตางประเทศ ทีส่ ยามคูโบตาดูแลอยูใ นขณะนี้ ไดแก กัมพูชา ลาว พมา ตลาดโตขึ้นมาก เนื่องจากเปนชวงที่เปลี่ยนจากการใช แรงงานมาใชเครือ่ งจักรกลการเกษตรทำใหมกี ารเติบโตถึง 33% โดยประเทศหลักทีม่ กี ารเติบโตมากคือ กัมพูชา (65% ของยอดขายตางประเทศ) ประกอบกับการเปดเขตประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558 จะสงผลใหเพิม่ การขยายตัว ในภาคเครื่องจักรกลการเกษตรมากยิ่งขึ้น ตามนโยบาย ดานเกษตรกรรมของแตละประเทศ ดังนี้

148

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

กัมพูชา จะเนนการเพิ่มพื้นที่ชลประทานเพื่อเพิ่ม การเพาะปลูกขาวใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งแตละปจะมีงบ 150 - 200 ลานดอลลาร ลาว มีการสงเสริมการใชเครื่องจักรกลเกษตรเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตขาว และเพิ่มการสงออกจาก 1.74 ลาน เปน 2.5 ลานตัน ภายในป 2015 พมา มีนโยบายสงเสริมการปลูกขาวเพือ่ การสงออก มากขึ้น ภายหลังจากที่มีการปดประเทศมานาน โดยตั้ง เปาจะเปน ผูสงออกเบอร 1 ภายในป 2017 ดวยปจจัยดังกลาว จึงทำใหสยามคูโบตาจัดตั้ง บริษัทขึ้นที่ประเทศลาวและประเทศกัมพูชา เนื่องจากทั้ง สองประเทศมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยสยามคูโบตา เปนผูถือหุน 100% ภายใตชื่อ • KUBOTA (Cambodia) Co., Ltd. (ตั้งอยูที่พนมเปญ) • KUBOTA Lao Sole Co., Ltd. (ตั้งอยูที่เวียงจันทน) โดยบริษทั ทีต่ ง้ั อยูใ นประเทศกัมพูชา และประเทศลาว มีหนาที่หลัก ดังนี้ 1.ขยายและพัฒนาเครือขายในการจัดจำหนาย เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาที่เพิ่มขึ้น โดยจะ เนนในการพัฒนาบุคลากรของผูแทนจำหนาย ใหมีความ สามารถในการดำเนินธุรกิจ และตอบสนองความพึงพอใจ ของลูกคาสูงสุด 2.สงเสริมการจัดทำกิจกรรมดานการตลาดและขาย ของผูแทนจำหนาย ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3.พัฒนาระบบการบริการหลังการขาย และอะไหล เพื่อใหลูกคา สามารถใชงานเครื่องจักรไดอยางตอเนื่อง และตอบสนองความตองการของผูบริโภคใหมากที่สุด


สิ่งสำคัญที่องคกรของเรายึดมั่นเสมอคือ การนำ เสนอสินคาและบริการที่มีคุณภาพ เรามีหนวยงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑของตัวเอง ซึ่งทำงานรวมกับคูโบตา คอรปอเรชัน่ (ประเทศญีป่ นุ ) กอนการวางจำหนายผลิตภัณฑ ใดๆ บริษทั ฯ จะมีการทำวิจยั ความตองการของลูกคากอน เสมอเพื่อพัฒนาสินคาใหเหมาะสมกับความตองการของ ลูกคาใหมากที่สุด” คุณฮิโรชิ คาวาคามิ กลาวย้ำ สำหรับแผนระยะยาว ในตลาดเพือ่ นบานเราพบวา ทุกประเทศไดเตรียมตัวรับการเปดตลาด AEC โดยเริ่มนำ เอาเครื่องจักรกลการเกษตรไปใชมากขึ้นเพื่อเพิ่มผลผลิต ซึ่งการรวมกลุม 10 ประเทศ ประชากร 600 ลานคน เปน โอกาสในการขยายตลาด โดยเฉพาะสินคาเกษตรจึงเปน โอกาสของบริษัทฯในการสนับสนุนการใชเทคโนโลยีเครื่อง จักรกลเพื่อเพิ่มผลผลิตกับประเทศสมาชิก สยามคูโบตาตั้งเปาเปนศูนยกลางการผลิตใน ทวีปเอเชีย และจะขยายไปสูภ มู ภิ าคอืน่ ๆ ตอไปในอนาคต ตลาดเครือ่ งจักรกลการเกษตรในภูมภิ าคนีเ้ ปนตลาดทีใ่ หญ

และมีโอกาสเติบโตไดอีกมาก จึงดึงดูดใหผูคาจากตาง ประเทศเขามาอยางมากมาย ทั้งนี้ไดมีการวางแผน และ ปรับกลยุทธเพือ่ ใหสอดคลองกับสถานการณปจ จุบนั ทำให สินคามีคุณภาพ และเพียงพอตอความตองการของตลาด ในภูมภิ าคอาเซียน และใหความสำคัญกับบริการหลังการขาย โดยมีศูนยอบรมมาตรฐานเพื่อจัดอบรมและใหความรู เจาหนาที่เพื่อยกระดับมาตรฐานในการใหบริการอีกดวย” ในโอกาสครบรอบ 15 ป ของสมาคมสื่อมวลชน เกษตรแหงประเทศไทย ผมขอแสดงความยินดี และขอ ขอบคุณสือ่ มวลชนทุกแขนง ทีม่ สี ว นสำคัญในการนำเสนอ ขาวสาร ความรู รวมทั้งวิวัฒนาการใหมๆ กับประชาชน โดยเฉพาะขาวสารและองคความรูในดานการเกษตร ที่จะ ชวยยกระดับศักยภาพของเกษตรกรไทยใหมีการพัฒนา กระบวนการผลิตและสรางความภาคภูมิใจใหแกลูกหลาน ดวยความมั่นคงทางรายได และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อยางยั่งยืน

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

149


'อีสท เวสท ซีด'

คุณวิชัย เหลาเจริญพรกุล รุกตลาดเมล็ดพันธุ ผูบริหารของบริษัท อีสท เวสท ซีด หนุนไทยเปนศูนยกลางตลาดเมล็ดพันธุเอเชีย หากพูดถึงบริษทั เมล็ดพันธุช น้ั นำของประเทศไทย แลวแนนอนวา ทุกคนตองนึกถึง บริษทั อีสท เวสท ซีด จำกัด เจาของเมล็ดพันธุตรา "ศรแดง" บริษัทเล็กๆ ที่กอตั้ง เมื่อประมาณป 2525 และมีการปรับปรุงกระบวนการผลิตเมล็ด ผลิตพันธุจนกลายเปนบริษัทชั้นนำอันดับตนๆ ของ โลกโดยเฉพาะในแถบทวีปเอเชีย ซึ่ง อีสท เวสท ซีด เล็งเห็นวา ประเทศในแถบเอเชียมีสภาพภูมิอากาศที่ เอื้ออำนวยตอการผลิตพืชผัก ผลไม จึงทำใหมีเกษตรกรมากเปนอับดับตนๆ ของโลก จึงไดขยายธุรกิจในแถบ เอเชียใหมากขึ้นเพื่อมุงสงเสริมใหเกษตรกรมีคุณภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีจากการใช เมล็ดพันธุที่ดี สงผลตอปริมาณ ผลผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น สรางรายไดเพิ่มขึ้น และสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับเกษตรกรไทย มายาวนานกวา 31 ป นอกจากการพัฒนาทัง้ ดานการผลิตและการตลาด อีสท เวสท ซีด… ผูนำในธุรกิจเมล็ดพันธุ ครองสวนแบง เมล็ดพันธุพืชเขตรอนแลว เมื่อเร็วๆ นี้ อีสท เวสท ซีด ตลาดกวา 38% มูลคากวา 800 ลานบาท คุณวิชัย เหลาเจริญพรกุล ผูบริหารของบริษัท รวมทำขอตกลงความรวมมือทางธุรกิจ กับกลุมบริษัท กลาววา อีสท เวสท ซีด เมล็ดพันธุตราศรแดงของเรา มอนซานโต ซึ่งเปนบริษัทมีความเชี่ยวชาญในดานเมล็ด ถือเปนผูนำอันดับตนๆในวงการเมล็ดพันธุที่ผลิตและจัด พันธุพืชเมืองหนาว เชน ผักสลัด ถั่วแขก มะเขือเทศและ จำหนายเมล็ดพันธุผักเขตรอนในภูมิภาคเอเชีย และถือ อื่น ๆ เพื่อเปนผูจำหนายเมล็ดพันธุผักสลัดและพืชเมือง เปนบริษัทแรกที่พัฒนาและจำหนายเมล็ดพันธุลูกผสม หนาวอื่นๆ ของ มอนซานโต ภายใตแบรนด ศรแดง ซึ่ง ซึ่งสรางชื่อเสียงของเราในฐานะผูผลิตเมล็ดพันธุที่ยอดเยี่ย จะทำให อีสท เวสท ซีด มีมูลคาทางการตลาดในธุรกิจ มแผกระจายไปทั่วเอเชีย และขามไปยังยุโรปและอเมริกา เมล็ดพันธุเพิ่มขึ้นและมีสวนแบงทางการตลาดที่สูงขึ้นอีก ซึ่งเราไดจัดหาเมล็ดพันธุคุณภาพใหแกผูผลิตผักเอเชียซึ่ง ดวย ตองการผักคุณภาพสูงสำหรับผลิตอาหาร โดยปที่ผานมา มูลคาการตลาดเมล็ดพันธุพืชผักของไทย มีมูลคารวมอยู มุง มัน่ พัฒนาสายพันธุใหมๆทีต่ อบโจทยความตองการของ ที่ประมาณ 2,000 ลานบาท มีบริษัทที่ทำธุรกิจในตลาดนี้ เกษตรกรทุกปี ตลอดระยะเวลาที่ผานมา อีสท เวสท ซีด ไมเคย ประมาณ 60-70 บริษัท อีสท เวสท ซีด มีสวนแบงตลาด อยูป ระมาณ 38 % หรือประมาณ 800 ลานบาท โดยอัตรา หยุดพัฒนา และเดินหนาเพื่อพัฒนาสายพันธุใหมๆ รวม การเติบโตของตลาดรวมเมล็ดพันธุใ นไทยจะอยูท ป่ี ระมาณ ทั้งเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุคุณภาพสูเกษตรกรไทย 10-15% ตอป ปที่ผานมาเราเองก็มีอัตราการเติบโตของ อยางตอเนื่อง คุณวิชัยกลาววา ปจจุบันบริษัทมีกำลังผลิต ตลาดเพิ่มขึ้นกวา 15% และปตอๆไปก็คาดวาจะมีอัตรา เมล็ดพันธุในไทยประมาณ 15,000 ตันตอป เมล็ดพันธุที่ การเติบโตไมต่ำกวา 10% โดยเมล็ดพันธุกวา 80% เรา มีมลู คาการจำหนายสูงก็จะอยูใ นกลุม ขาวโพด พริก แตงกวา จำหนายในประเทศ และมีการสงออกเพียง 20% เทานั้น มะเขือเทศ ผักบุง โดยบริษทั มีสถานีวจิ ยั และพัฒนาผลิตภัณฑ ซึ่งในสวนของตลาดสงออก 80% อยูในกลุมอาเซียน อีก ในประเทศหลักของภูมภิ าคเอเชีย ทัง้ ใน อินเดีย ฟลปิ ปนส อินโดนีเซีย และไทย โดยมีการกำหนดความเชี่ยวชาญ 20% เปนประเทศนอกกลุมอาเซียน

150

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ของพืชในแตละประเทศ ซึ่งในแตละปเราจะมีการแนะนำ พันธุใหมออกสูตลาดประมาณ 6-7 สายพันธุ สิ่งที่เปน ความทาทายของเราก็คือปญหาพื้นที่การผลิตลดนอยลง สภาพอากาศทีแ่ ปรปรวน และการระบาดของโรคและแมลง ซึ่งเปนโจทยสำคัญสูการพัฒนาสายพันธุของเรา ในชวง 2-3 ปที่ผานมาบานเราประสบภาวะภัยแลงสูง เราจึงมุง พัฒนาพันธุพืชที่ทนแลงเปนหลัก เปนตนวา เพชรมงกุฎ พันธุพ ริกทนแลงเปนอีกหนึง่ นวัตกรรมใหมของ อีสท เวสท ซีด ซึง่ เหมาะสำหรับการปลูกในพืน้ ทีท่ ย่ี งั ขาดระบบชลประทาน หรือแตงกวา ท็อปกรีนซึ่งเปนแตงกวาที่ขึ้นคางเกง เลื้อย ขึ้นพันหลักไดงาย จึงใหผลผลิตสูงและงายในการจัดการ และยังทนรอน ทนโรคไดดีอีกดวย นอกจากนี้เรายังมีแนวคิดการตลาดในการพัฒนา พันธุพ ชื ทีต่ อบโจทยของคนเมืองซึง่ เราจะเขามาทำตลาดใน สวนนีใ้ หมากขึน้ โดยพัฒนาพันธุพ ชื ทีม่ รี สชาติอรอย ขนาด ผลไมใหญจนเกินไป เหมาะสำหรับครอบครัวเล็กๆ ซึง่ ปลาย ปนี้เราจะมีเซอรไพรสใหกับคนเมืองดวย มะระรูปหัวใจ ที่มีความแปลกใหมดวยรูปราง ขนาดผลไมใหญ รสชาติ ไมขมมาก หรือฟกทองบัตเตอรนัทที่มีรูปรางแปลกตา ขนาดผลไมใหญ รสชาติอรอยเปนตน เดินหนาพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อนำมาซึ่งเมล็ดพันธุ คุณภาพดี นอกจากสายพันธุที่ดีแลว อีสท เวสท ซีด ยังให ความสำคัญกับคุณภาพของเมล็ดพันธุท ด่ี กี อ นปลอยถึงมือ เกษตรกรอีกดวย โดยเราใหความสำคัญกับ 3 สวนหลัก คือ 1.อัตราความงอกที่สูง 2.ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ โดยใชเทคนิคการตรวจวัดปริมาณคลอโรฟล และ 3. ความ บริสุทธิ์ของสายพันธุที่สูง โดยเริ่มตั้งแตความบริสุทธิ์ของ สายพันธุพอ-แมพันธุ ไมมีการปลอมแปลงของสายพันธุ ในแปลงปลูก ในสวนของขบวนการ process หรือขบวน การสุดทายกอนบรรจุหบี หอก็ตอ งไมมกี ารปลอมปนเชนกัน สิ่งเหลานี้เองที่นำมาสูการสรางความเชื่อมั่นของเกษตรกร ที่มีตอเมล็ดพันธุตราศรแดง มาอยางยาวนาน นอกจากนี้ อีสท เวสท ซีด ยังเปนผูนำในการนำ เทคโนโลยีใหมๆมาใชในขบวนการผลิตเมล็ดพันธุอีกดวย เปนตนวา การเคลือบเมล็ดพันธุ (seed coating) ซึ่งเรา เปนเพียงหนึ่งเดียวที่ใชเทคโนโลยีนี้ การเคลือบจะทำให สารเคมีที่เหมาะกับการงอกของเมล็ดอยูคงทนเหมือนเปน สวนหนึ่งของเมล็ด ขณะที่บริษัทอื่นจะใชวิธีการคลุกเมล็ด ซึ่งจะทำใหสารเคมีที่เกาะบนผิวของเมล็ดหลุดออกไดงาย ในขั้นตอนตางๆ ซึ่งจะสงผลตออัตราความงอกและความ แข็งแรงของเมล็ดพันธุไ ด โดยเมล็ดทีผ่ า นการเคลือบเมล็ด พันธุน จ้ี ะมีอตั ราความงอกสูง งอกเร็ว และมีความสม่ำเสมอ ของการงอกมากกวาเมล็ดปกติ ตนกลาจะมีความแข็งแรง สมบูรณ และทนทานมากกวา อีกทั้งชวยลดปญหาการ ฟกตัวของเมล็ดพันธุอีกดวย

สงเสริม สนับสนุนความรูแ ละเทคโนโลยีการผลิตสูเ กษตรกร ไมเพียงแตใหความสำคัญกับการพัฒนาเมล็ดพันธุ คุณภาพเทานั้น อีสท เวสท ซีด ยังใหความสำคัญกับการ เพิม่ ผลผลิตในแปลงปลูกดวยเทคโนโลยีทถ่ี กู ตองและเหมาะสม ของเกษตรกรอีกดวย โดยสรางทีมงาน crop support ซึ่ง เปนทีมงานที่จะเขาไปสนับสนุน ใหความรู ชวยเหลือ เกษตรกรเพื่อใหเกษตรกรประสบความสำเร็จในการเพาะ ปลูกโดยเฉพาะเกษตรกรมือใหมทย่ี งั ไมมคี วามชำนาญโดย เราจะทำงานรวมกับผูนำชุมชนและหนวยงานในพื้นที่เพื่อ เพิ่มคุณภาพชีวิตของเกษตรกรใหดีขึ้นซึ่งไมเกี่ยวกับธุรกิจ การคาแตอยางใด นั่นหมายถึงเกษตรกรที่ไมใชลูกคาหรือ ใชสินคาของ อีสท เวสท ซีด ก็ตาม ซึ่งถือเปนหนึ่งใน โครงการ CSR ของบริษัทเลยทีเดียว ตั้งเปาสูการเปนศูนยกลางเมล็ดพันธุของอาเซียน ป 2558 ที่จะเริ่มกาวสู AEC คุณวิชัยมองวา ไทย มีโอกาสสูงในตลาดเมล็ดพันธุ ดวยความไดเปรียบรอบดาน ทั้งสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการเปนแหลงผลิตเมล็ด พันธุพ ชื เขตรอน ความเชีย่ วชาญของเกษตรกรในการผลิต เมล็ดพันธุ รวมถึงมีโครงสรางพื้นฐานที่ดี ระบบการขนสง หรือโลจิติกสที่ไดเปรียบ ซึ่งที่ผานมาบริษัทไดมีการแสดง ออกถึงความพรอมทั้งดานการเปนผูนำดานเทคโนโลยีการ ผลิต การพัฒนาพันธุ เรามีขุมกำลังจากเกษตรกรที่เขา รวมเปนผูผลิตเมล็ดพันธุกวา 1,700 ราย ตลอดระยะเวลา ทีผ่ า นมาทิศทางของเราไมเคยเปลีย่ นแปลง เราตองการเปน ผูนำเมล็ดพันธุพืชเขตรอนของไทยรวมทั้งในภูมิภาคเอเชีย เราขยายธุรกิจรองรับการเติบโตทั้งการขยายโรงงานผลิต เมล็ดพันธุข องเราทีส่ พุ รรณบุรี ขยายฐานการผลิตเมล็ดพันธุ ทีเ่ ชียงใหมรวมทัง้ การขยายสวนของสำนักงานใหญทไ่ี ทรนอย แหงนี้ ขณะเดียวกัน อีสท เวสท ซีด ในฟลปิ ปนส อินโดนีเซีย และมาเลเซีย เราก็มีการขยายการลงทุนเชนเดียวกัน ซึ่ง พืชสายพันธุใหมๆเราจะไปผลิตในประเทศเพื่อนบานดวย ขอจำกัดในเรื่องของการคุมครองพันธุพืชในเมืองไทยที่ยัง ไมเขมแข็งนัก แตพนั ธุพ ชื เดิมๆ เรายังคงผลิตในประเทศไทย เพื่อสงไปยังตางประเทศ อยางไรก็ตามเรา เชื่อวาประเทศไทยมีศักยภาพ เพียงพอที่จะกาวไปสู การเปนศูนยกลางเมล็ดพันธุของ อาเซียนไดไมยาก หากรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนเรื่องนี้ อยางจริงจัง โดยเฉพาะในดานกฎหมายคุมครองพันธุ พืชของประเทศเราที่ยังไมเขมแข็งนัก ทำใหหลายบริษัท ไมกลาทุมทุนพัฒนาพันธุใหมๆ ซึ่งอาจทำใหมีการยาย ฐานการผลิตไปยังประเทศเพือ่ นบานบางสวน และทีผ่ า นมา เรารวมมือกับบริษัทเมล็ดพันธุตางๆเพื่อผลักดันเรื่องนี้กับ รัฐบาลมาโดยตลอดแตยังไมไดรับการตอบสนองเทาที่ควร อยางไรก็ตามเมื่อไมนานมานี้เราก็ไดจับมือกับบริษัทเมล็ด พันธุตางๆ เซ็น MOU กับภาครัฐที่จะรวมกันพัฒนาธุรกิจ เมล็ดพันธุเ พือ่ กาวสูก ารเปนศูนยกลางเมล็ดพันธุข องอาเซียน และเราก็หวังวารัฐบาลชุดปจจุบันจะทำใหเรากาวไปถึงจุด นั้นได ซึ่งภาคเอกชนอยางเราพรอมอยูแลว 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

151


ข้อดี-ข้อเสีย ทีค่ วรรู้ เมือ่ ก้าวสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย่ น ( AEC ) ǰ ëšćóĎéëċÜǰ"&$ǰ "4&"/ǰǰ&$0/0.*$ǰ$0..6/*5: ǰ ðøąßćÙöđýøþåÖĉÝĂćđàĊ÷îǰ îĆĚîĔÙøÝąøĎšïšćÜĕĀöüŠćǰ óĆîíÖĉÝ ĀøČĂđðŜćĀöć÷×ĂÜǰ"&$ǰîĆĚîÙČĂĂąĕøǰĒúąĒìšÝøĉÜĒúšüǰÖćøøüö êĆüÖĆî×ĂÜǰ "4&"/ǰ îĆĚîĔߊüŠćÝąöĊĒêŠđøČęĂÜ×ĂÜđýøþåÖĉÝđóĊ÷Ü Ă÷ŠćÜđéĊ÷üîąÝąïĂÖĔĀšǰ ǰ ÷ĆÜöĊĂĊÖÿĂÜđÿćĀúĆÖĀøČĂÿĂÜéšćîìĊę ìčÖÙîßîßćêĉĂćđàĊ÷îÝąêšĂÜøŠüöéšü÷ߊü÷ÖĆîðäĉïĆêĉêćöǰ ÙČĂǰ "14&ǰ "4&"/ǰ 10-*5*$"-ǰ 4&$63*5:ǰ $0..6/*5: ǰ ðøąßćÙöÖćøđöČĂÜĒúąÙüćööĆęîÙÜĂćđàĊ÷îǰ Ēúąǰ "4$$ǰ "4&"/ǰ40$*0 $6-563"-ǰ$0..6/*5: ǰðøąßćÙöÿĆÜÙö ĒúąüĆçîíøøöĂćđàĊ÷îìĊęđÖĊę÷üéĂÜĀîĂÜ÷čŠÜÖĆîǰ đóĊ÷ÜĒêŠóüÖ đøćßćüĂćđàĊ÷îîĆĚîĔĀšÙüćöÿĞćÙĆâĔîđøČęĂÜ×ĂÜǰ "&$ǰ ÖŠĂîđðŨî úĞćéĆïĒøÖÝċÜìĞćĔĀšóĊęîšĂÜðøąßćßîÙîĕì÷đøćÝąÙčšîßĉîÖĆïǰ ÙĞćüŠćǰ"&$ǰđÿĊ÷đðŨîÿŠüîĔĀâŠǰìĆĚÜÿćöđÿćĀúĆÖîĊĚßćüĂćđàĊ÷îÝą êšĂÜøŠüöéšü÷ߊü÷ÖĆîĔîÖćøìĊÝę ąñúĆÖéĆîĔĀšđÖĉé×ċîĚ đðŨîøĎðíøøö Ă÷ŠćÜìĊǰę ĶÖãïĆêøĂćđàĊ÷îķǰÖĞćĀîéĕüšǰîĆîę ÖĘÙĂČ ǰĶüĉÿ÷Ć ìĆýîŤđéĊ÷üǰǰ ĂĆêúĆÖþèŤđéĊ÷üǰĒúąðøąßćÙöđéĊ÷üķǰ ǰ "&$ǰ "4&"/ǰ&$0/0.*$ǰ$0..6/*5: ǰðøąßćÙö đýøþåÖĉÝĂćđàĊ÷îǰ îĆĚîöĊđðŜćĀöć÷ĒúąóĆîíÖĉÝĔĀšðøąđìý ÿöćßĉÖøüöêĆüÖĆîìćÜđýøþåÖĉÝǰ ÙČĂđîšîÿøšćÜêúćéĒúąåćîǰ ÖćøñúĉêøŠüöÖĆîǰ ĂĞ ćîü÷ÙüćöÿąéüÖĔîÖćøêĉéêŠĂÙšć×ć÷ øąĀüŠćÜÖĆîǰ öĊÖćøđÙúČęĂî÷šć÷ÿĉîÙšćǰ ïøĉÖćøǰ ÖćøúÜìčîĒúą

ðŜĂÜÖĆîÖĞćÝĆéĀîĂîĒúąĒöúÜ

152

øðúĂéÿćøóĉþǰđךćĒÿéÜÙüćö÷ĉîéĊ ÙčèöîêøĊǰïčâÝøĆÿǰðøąíćîßöøöđÖþê ČęĂöüúßîđÖþêøĒĀŠÜðøąđìýĕì÷ ÖĆïǰÙčèéúöîĆÿǰÖćđÝǰîć÷ÖÿöćÙöÿ

ïčÙúćÖøüĉßćßĊóêŠćÜėǰ Ă÷ŠćÜÿąéüÖöćÖ×ċĚîǰ øüöìĆĚÜöĊÖćøǰ ĕĀúđüĊ÷î×ĂÜđÜĉîìčîĂ÷ŠćÜđÿøĊǰ ĔĀšÙüćöÿĞćÙĆâÖĆïðøąđéĘîéšćî îē÷ïć÷ìĊęݹߊü÷ÿŠÜđÿøĉöÖćøøüöÖúčŠöìćÜđýøþåÖĉÝđóČęĂÿøšćÜ ×ĊéÙüćöÿćöćøëĔîÖćøĒ׊Ü×Ćî×ĂÜßćüĂćđàĊ÷îìĆĚÜĀöéǰĕöŠüŠć ÝąđðŨîǰ ĕì÷ǰ úćüǰ ÖĆöóĎßćǰ đöĊ÷îöćøŤǰ đüĊ÷éîćöǰ ôŗúĉððŗîÿŤǰ ĂĉîēéîĊđàĊ÷ǰ ïøĎĕîǰ ÿĉÜÙēðøŤǰ öĊÖćøóĆçîćìćÜéšćîđýøþåÖĉÝìĊę đÿöĂõćÙđìŠćđìĊ÷öÖĆîǰ ĕöŠöĊĔÙøĕéšđðøĊ÷ïđÿĊ÷đðøĊ÷ïǰ ߊü÷ÖĆî ïĎøèćÖćøĔĀšđךćÖĆïÿëćîÖćøèŤēúÖǰ đóČęĂĔĀšĂćđàĊ÷îđøćđÖĉé ÙüćöđÝøĉâöĆęÜÙÜĂ÷ŠćÜ÷ĆęÜ÷Čîǰ đóøćąÞąîĆĚîÖćøÙĉéĒêŠđóĊ÷Üǰ ĕ×üŠÙüšćǰ ÙšîĀćēĂÖćÿĒêŠđóĊ÷Üòść÷đéĊ÷üǰ đðŨîđøČęĂÜìĊęĕöŠïĆÜÙüø đðŨîĂ÷ŠćÜ÷ĉęÜìĊđéĊ÷üđßĊ÷üúŠąÙøĆï ǰ ÿŠüîđÿćĀúĆÖìĊÿę ĂÜîĆîĚ ǰÙČĂǰ"14&ǰ "4&"/ǰ10-*5*$"-ǰ 4&$63*5:ǰ $0..6/*5: ǰ ðøąßćÙöÖćøđöČĂÜĒúąÙüćö öĆęîÙÜĂćđàĊ÷îǰöĊđðŜćĀöć÷Ēúą óĆ î íÖĉ Ý ìĊę Ē ÷ÖĂĂÖĕðĂĊ Ö ìćÜ ĀîċęÜÙČĂǰđîšîĔîđøČęĂÜ×ĂÜÖćøĔĀš ðøąđìýÿöćßĉ Ö Ă÷Ď Š ø Š ü öÖĆ î Ă÷ŠćÜÿĆîêĉÿč×ǰ đÿøĉöÿøšćÜÙüćö öĆę î ÙÜǰ ĒúąöĊ ø ąïïĒÖš ĕ ×ǰ Ùüćö×Ć é Ē÷š Ü øąĀüŠ ć ÜÖĆ îǰ ðøĆïðøčÜïĞćøčÜéĉî

ñúĉêõĆèæŤðúĂéÿćøóĉþÝćÖǰĕì÷ÖøĊîǰĂąēÖø

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


öĊđÿëĊ÷øõćóĔîÖćøøŠüööČĂÖĆîðŜĂÜÖĆîõĆ÷ÙčÖÙćöÝćÖìčÖÿćøìĉý ìĊęÝąöćÿĎŠĂćđàĊ÷îĔîìčÖøĎðĒïïǰ ǰ ĒúąđÿćĀúĆÖìĊęÿćöÙČĂǰ "4$$ǰ "4&"/ǰ 40$*0 $6-563"-ǰ$0..6/*5: ǰðøąßćÙöÿĆÜÙöĒúąüĆçîíøøö ĂćđàĊ÷îǰ öĊõćøąĀîšćìĊęĔîÖćøìĊęÝąĔĀšĂćđàĊ÷îđðŨîðøąßćÙöìĊę öĊðøąßćßîđðŨîýĎî÷ŤÖúćÜǰĂ÷ĎŠĂćýĆ÷øŠüöÖĆîõć÷Ĕêšǰ ÖãǰÖêĉÖć ÿĆÜÙöĒúąüĆçîíøøöđéĊ÷üÖĆîǰ öĊÙüćöđĂČĚĂĂćìøǰ öĊÙüćöđðŨî đĂÖõćóĔîÖćøĒÖš ĕ×ðŦ â ĀćßĊ üĉ ê ÙüćöđðŨ î Ă÷Ď Š × ĂÜóĊę î š Ă Üǰ ßćüĂćđàĊ÷îĔĀšóšîÝćÖÙüćö÷ćÖÝîǰ ĂćßâćÖøøöìĆĚÜĔîĒúą êŠćÜðøąđìýǰöĊÿ×č õćóøąïïÿćíćøèÿč×ìĊéę ëĊ üš îĀîšćǰÖćøéĎĒú ߊü÷đĀúČĂÖĆîÝćÖõĆ÷íøøößćêĉĔîøĎðĒïïêŠćÜėǰ ǰ ìĆĚ Ü ǰ ǰ đÿćĀúĆ Ö îĊĚ ÙČ Ă ÙüćöÿöïĎ ø èŤ × ĂÜÖćøđðŨ îǰ ßćüĂćđàĊ÷îǰìĊęÝąêšĂÜðøĆïêĆüǰðøĆïĔÝǰĔßšÙüćöđðŨîöîčþ÷ßćêĉ ÙïĀćÿöćÙöǰ ēé÷ĕöŠĒïŠÜĒ÷Ößîßćêĉǰ ýćÿîćǰ ĔîìčÖøĎðĒïïǰ ÙČĂìčÖÙîÝąêšĂÜóøšĂöìĊęÝąêšĂÜđðŨîßćüĂćđàĊ÷îĕðéšü÷ÖĆîǰ ÞąîĆĚîðøąßćßîÙîĕì÷ĀîċęÜĔîĂćđàĊ÷îǰÝćÖđéĉöìĊęöĊðøąßćÖø đóĊ÷Üǰ ǰÖüŠćúšćîÙîÖĘÝąöĊđóČĂę îïšćîĒüąĕðöćĀćÿĎđŠ óĉöę đךćöć øüöđðŨîǰ ǰúšćîÙîǰóČĚîìĊęìøĆó÷ćÖøđóĉęö×ċĚîǰðøąßćÖøöćÖ ×ċîĚ ǰóøöĒéîĀéĀć÷ĕðǰēĂÖćÿĒúąĂčðÿøøÙÝċÜöĊđìŠćėÖĆîĒìï ÝąĒ÷ÖĕöŠĂĂÖǰïčÙÙúĔéìĊÿę ćöćøëðøĆïêĆüĕéšøüéđøĘüǰÖĘöēĊ ĂÖćÿ ìĊęÝąĕ×üŠÙüšćĀćēĂÖćÿĕéšđøĘüÖüŠćïčÙÙúĂČęîėǰ ǰ ëšćÝąöĂÜëċÜךĂéĊĔîÖćøøüöêĆüÖĆîđðŨîĂćđàĊ÷îĔî åćîąÙîĕì÷ǰ Ă÷ŠćÜîšĂ÷đøČęĂÜךĂÝĞćÖĆéĔîÖćøđéĉîìćÜøąĀüŠćÜ ðøąđìýĔîÖúčöŠ ĂćđàĊ÷îÖĘÝąúé×ĆîĚ êĂîúÜĕöŠ÷ÜŠč ÷ćÖǰǰ×îćéĒúą ēÙøÜÿøšćÜìćÜđýøþåÖĉÝĔĀâŠ×îċĚ ÿćöćøëìĊÝę ąìĞćöćĀćÖĉîđúĊ÷Ě Ü ðćÖđúĊĚ÷ÜìšĂÜĕéšöćÖ×ċĚîǰ öĊđöĘéđÜĉîúÜìčîÝćÖđóČęĂîÿöćßĉÖĔî ÖúčŠöĂćđàĊ÷îĒúąõć÷îĂÖÖúčŠöđךć öćĔîïšćîđøćǰ ĒúąđøćÖĘÿćöćøëǰ ìĊę Ý ą ĕ ð ú Ü ìč î Ĕ î ï š ć î đ× ć ĕ é ǰš đߊîđéĊ÷üÖĆîǰÖćøĒ׊Ü×ĆîìĊøę îč ĒøÜÝą đðúĊę ÷ îĒðúÜēÙøÜÿøš ć Ü×ĂÜ đýøþåÖĉ Ý ĕì÷ĔĀš Ö š ć üĕðÿĎ Š Ýč é ìĊę Ē×ĘÜĒÖøŠÜ×ĂÜðøąđìýǰ ĒúąõćÙ đýøþåÖĉÝìĊöę öĊ úĎ ÙŠćđóĉöę ÿĎÜ×ċîĚ ǰíčøÖĉÝ ðŜĂÜÖĆîÖĞćÝĆéđóúĊĚ÷ĒúąĒöúÜ

ìĊęÙćéüŠćÝąĕéšðøąē÷ßîŤöćÖìĊęÿčéÙČĂÖúčŠöĂčêÿćĀÖøøöìĊęĔßš đìÙēîēú÷Ċ×ĆĚîÿĎÜǰ ĒúąĂčêÿćĀÖøøöìĊęñúĉêÿĉîÙšćöĎúÙŠćđóĉęö ǰǰ õćÙïøĉÖćøǰÖĘÝąêšĂÜÙüćöđßĊ÷ę üßćâđðŨîóĉđýþĀøČĂÖćøïøĉĀćø ÝĆéÖćøìĊöę ðĊ øąÿĉìíĉõćóǰÙîĕì÷ĒúąđóČĂę îßćüĂćđàĊ÷îöĊēĂÖćÿ ĔîÖćø×÷ć÷ĒúąìĞćíčøÖĉÝǰđîČęĂÜÝćÖ×îćé×ĂÜêúćéìĊęĔĀâŠ×ċĚî Ĕßšðøąē÷ßîŤÝćÖÖćøðøąĀ÷ĆéÝćÖÖćø×÷ć÷×îćéÖćøñúĉêǰ ēĂÖćÿìĊęÝąĕéšïčÙúćÖøÙčèõćóÿĎÜöćøŠüöÜćîÝćÖÖćøđÙúČęĂî ÷šć÷ĒøÜÜćîüĉßćßĊóĂ÷ŠćÜđÿøĊöĊöćÖ×ċĚîǰ ēé÷đÞóćąǰ ǰ ĂćßĊóîĊĚǰ üĉ ý üÖøǰ Ēóì÷Ť ǰ ó÷ćïćúǰ ìĆ î êĒóì÷Ť ǰ ïĆ â ßĊ ǰ îĆ Ö ÿĞ ć øüÝǰ ÿëćðŦê÷ÖøøöǰĒúąÖćøìŠĂÜđìĊę÷üǰ ǰ ëšćóĎéëċÜךĂéĊĒúąĕöŠóĎéךĂđÿĊ÷àąïšćÜÖĘéĎÝąðøąöćì ĕðÿĆÖĀîŠĂ÷ǰ éšćîךĂđÿĊ÷×ĂÜÖćøøüöÖĆîđðŨîĂćđàĊ÷îÖĘöĊĔî úĆÖþèąìĊęǰ ÝąìĞćĔĀšöĊÖćøĒ׊Ü×ĆîìĊęøčîĒøÜöćÖ×ċĚîǰ ìčÖÙîêšĂÜ Ē׊Ü×ĆîÖĆïðøąđìýìĊęöĊìøĆó÷ćÖøÿöïĎøèŤĒúąöĊĒøÜÜćîøćÙć ëĎÖǰ ÿĉîÙšć×ĆĚîêšîìĊęöĊÖøąïüîÖćøñúĉêĕöŠ÷čŠÜ÷ćÖàĆïàšĂîÝąëĎÖ øčÖĕúŠéšü÷ÖćøĔßšêšîìčîìĊęêĞęćÖüŠćǰ àċęÜĂćÝÝąìĞćĔĀšðøąđìýìĊęöĊ êšîìčîÿĎÜǰ ÙŠćĒøÜǰ ðŦÝÝĆ÷Öćøñúĉê ǰ ÿĎâđÿĊ÷ÿŠüîĒïŠÜìćÜǰ Öćøêúćéǰ ĔĀšĒÖŠðøąđìýìĊęöĊĒøÜÜćîÙŠćÝšćÜêĞęćÖÖüŠćǰ ÖćøĔßš ĒøÜÜćîđóČęĂîïšćîÝĞćîüîöćÖÖĘöĊךĂđÿĊ÷đîČęĂÜéšü÷ÝąêšĂÜøĆïǰ ñĉéßĂïéĎĒúĔîđøČęĂÜÿüĆÿéĉõćóǰ ÿč×õćóĂîćöĆ÷×ĂÜĒøÜÜćî đĀúŠćîĆĚîéšü÷ǰñúÖøąìïêŠĂüĆçîíøøö×ĂÜĕì÷đøćĔîđ×êóČĚîìĊę ìĊęöĊĒøÜÜćîêŠćÜßćêĉđĀúŠćîĊĚĂ÷ĎŠđðŨîÝĞćîüîöćÖ öîêøĊǰïčâÝøĆÿ ßöøöđÖþêøðúĂéÿćøóĉþ ïøĉþĆìǰĕì÷ÖøĊîĂąēÖøǰÝĞćÖĆé ēìø ǰ

ñúĉêõĆèæŤðúĂéÿćøóĉþÝćÖǰĕì÷ÖøĊîǰĂąēÖø

ïĞćøčÜĒúąđøŠÜÖćøđÝøĉâđêĉïēê

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

153






สมาคมการคาปุยฯ ชี้

‘การใชปุยเคมีที่ถูกตองและเหมาะสม’

หนทางการอยูรอดของเกษตรกรไทยในยุค AEC โดยสมาคมปุย

หากพูดถึงการทำการเกษตรกรรมในยุคปจจุบนั ในมุมหนึง่ ของเคมีเกษตร ในขณะนีอ้ าจจะถูกมองวาเปนผูร า ย ในสายตาของคนทำเกษตรกรรม และบุคคลทั่วๆ ไปในบางกลุม แตในแงของการที่ประเทศไทยเปนประเทศผูผลิต สินคาเกษตรระดับแถวหนาของโลก คงตองยอมรับวาการลด ละ เลิก การใชปจจัยการผลิตจากเคมีเกษตรในระดับ อุตสาหกรรม หรือเชิงพาณิชยในการผลิตพืชคงจะเปนเรื่องที่เปนไปไดยาก ซึ่งในวันนี้ สมาคมการคาปุยและธุรกิจการ เกษตรไทย ชีใ้ หเห็นในอีกมุมหนึง่ วา ปจจัยการผลิตจำพวกเคมีเกษตรนัน้ มีประโยชนตอ พืชอยูแ ลว แตทง้ั นีค้ งขึน้ อยูก บั เกษตรกรผูใชวาจะใชใหเกิดประโยชนอยางไร นั่นหมายถึง “การใชอยางมีความเขาใจ ใชอยางถูกตองและเหมาะสม” จึงจะบังเกิดประโยชนตอพืชอยางแทจริง โดยไมทำราย ทำลาย สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ แตกอนที่จะพูดคุยกับแมทัพของสมาคมการคาปุยและธุรกิจการเกษตรไทย ขอเกริ่นนำถึงบทบาทของสมาคม ใหไดทราบกันกอน โดยแรกเริ่มสมาคมการคาปุยและธุรกิจการเกษตรไทย กอตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของผูประกอบการ คาปุยเคมี เมล็ดพันธุ และสารเคมีปราบศัตรูพืช เพื่อชวยแกไขปญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการขออนุญาตนำเขาปุยเคมี แต นอกเหนือจากอำนวยความสะดวกใหกับบริษัทที่เปนสมาชิกแลวสมาคมฯ ยังสงเสริมใหมีการคนควาวิจัยหาแนวทาง ความรูเกี่ยวกับการเกษตรแผนใหมตอภาคเกษตรกรรมไทยมาอยางตอเนื่อง ภายในแนวทางที่ยึดถือ “เกษตรกรจะตอง คงอยูคูประเทศไทย” เพราะถาเกษตรกรอยูดีกินดี สมาชิกของสมาคมฯ ก็สามารถดำเนินธุรกิจควบคูกันไป แนวโนมการใชปจจัยการผลิต “ปุยเคมี” ของไทย คุณเปลงศักดิ์ ประกาศเภสัช นายกสมาคมการคาปุยและธุรกิจการเกษตรไทย กลาววา แนวโนมธุรกิจเคมี เกษตรในประเทศไทยทั้งในแงของการผลิต การตลาดและการแขงขันในชวงครึ่งป 2557 ที่ผานมา ประเทศไทยมีอัตรา การขยายตัวภาคการเกษตรอยูที่รอยละ 0.8 และคาดวาตลอดทั้งปจะมีอัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 2.1-3.1 เฉพาะ สาขาพืชมีการขยายตัวรอยละ 1.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมา (ขอมูล : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร) แตปจจุบันหลายพื้นที่ของประเทศไทยตองประสบกับปญหาภัยแลง ทำใหขาดแคลนน้ำในการเพาะปลูก อันมีปจจัย ที่เกี่ยวของหลายปจจัย ซึ่งปญหาดังกลาวมีแนวโนมสงผลใหอัตราการขยายตัวของภาคเกษตรลดลงกวาที่คาดการณไว

158

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


โดยเฉพาะปุย เคมีทจ่ี ดั เปนปจจัยการผลิตทีส่ ำคัญของภาคเกษตรกรรม จากการสำรวจขอมูลในชวง 5 ปทผ่ี า นมา เกษตรกรไทยมีแนวโนมการใชเคมีเกษตรกลุมปุยเคมีเพิ่มมากขึ้น อันมาจากสิ่งจูงใจอาทิ ราคาผลผลิตที่สูงขึ้น และ นโยบายภาครัฐที่เขามาสนับสนุน ทำใหเกษตรกรมีอำนาจการซื้อเพิ่มขึ้น แตในปนี้ตั้งแตตนปมาจนถึงขณะนี้ ปริมาณ นำเขาเคมีเกษตรกลุมปุยเคมีนั้นนาจะลดลงถึงรอยละ 10 ซึ่งมีสาเหตุมาจากปจจัยดาน ราคาผลผลิตไมเปนที่จูงใจ และการลดมาตรการความชวยเหลือเกษตรกรจากภาครัฐจากหลายๆ โครงการ ประกอบกับปญหาภัยธรรมชาติ อยาง ภัยแลง น้ำทวม จึงทำใหการซื้อปจจัยการผลิตนั้นลดลง ทำใหความตองการใชปุยในปนี้อาจไมสูงเทากับปที่ผานๆ มา แนวโนมปริมาณความตองการใช และราคา “ปุยเคมี” ในปหนา เนือ่ งจากประเทศไทยไมสามารถผลิตแมปยุ เคมีใชเองได ฉะนัน้ ประเทศไทยก็ยงั คงตองพึง่ พิงการนำเขาแมปยุ เคมี จากตางประเทศเปนหลักตอไป ประกอบกับแทที่จริงแลวประเทศไทยมีการใชปุยเคมีในประเทศนอย เมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศผูผ ลิตสินคาเกษตร หรือถาเทียบกับความตองการใชปยุ เคมีของโลกหรือในกลุม ประเทศเพือ่ นบานอยางประเทศ เวียดนามที่มีการพัฒนาทางดานเกษตรกรรมอยางตอเนื่องทำใหมีศักยภาพทางการผลิตพืชอาหารที่สำคัญมากขึ้น ในระดับโลก ฉะนัน้ การจะคาดการณถงึ ปริมาณการใช และราคาเคมีเกษตรหรือปุย เคมีในอนาคตนัน้ คงตองขึน้ อยูก บั หลายๆ ปจจัยดังทีก่ ลาวมาแลว ซึง่ ลวนมีความเชือ่ มโยงกันอยางหลีกเลีย่ งไมได เนือ่ งจากโลกการคาเสรีในปจจุบนั ทำใหเศรษฐกิจ ของทุกภูมิภาคทั่วโลกผูกโยงเขาดวยกัน จากรายงานการคาดการณปริมาณ ความตองการใชเคมีเกษตรของโลกในรูป ธาตุอาหารโดย IFA (international Fertilizer Industry Association) ไดประมาณการใชปุยเคมีในรูปของธาตุอาหารในป 2014-2015 ไววา จะมีปริมาณความตองการปุย ไนโตรเจนจะเพิม่ ขึน้ รอยละ 1.9 ปุย ฟอสฟอรัส รอยละ 2.4 และโพแทสเซียม รอยละ 2.5 โดยปริมาณความตองการใชทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นรอยละ 2.1 ซึ่งจากความตองการใชปุยเคมีที่เพิ่มขึ้นของ โลกอาจ เปนปจจัยที่ทำใหราคาแมปุยเคมีเพิ่มสูงขึ้นไดเชนกัน แตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับปจจัยแวดลอมอื่นๆ ประกอบกัน โอกาสปุยไทยในประเทศเพื่อนบาน ดานการตลาด การขยายฐานการผลิต หลังเปด AEC คุณเปลงศักดิ์ กลาวอีกวา จากการที่ ประเทศไทยมีการนำเขาเคมีเกษตร จำพวก แมปุยเคมีถึงรอยละ 95 สงผลใหประเทศไทย มีบทบาทหลักในการเปนประเทศผูนำเขาโดย เคมีเกษตรทีน่ ำเขามาก็มาจากหลายแหลงดวย กัน สวนใหญนำเขามาจากประเทศในแถบ ตะวันออกกลาง ยุโรป และเอเชียบางประเทศ ไดแก ประเทศจีน เกาหลี สวนในกลุม ประเทศ อาเซียน ไทยมีกานำเขาปุย จากประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และ ฟลปิ ปนส เปนหลัก ซึง่ ประเทศ ในกลุมประเทศอาเซียนเหลานี้ตางก็ผลิตเพื่อ ใชและสงออก ซึ่งคาดวาในอนาคตประเทศ เหลานี้จะเพิ่มกำลังการผลิตให มากขึ้นเพื่อ ใชเองในประเทศและสงออก 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

159


สำหรับประเทศไทยเรานำเขาแมปยุ และนำมาผสมเปนสูตรเรียกวา ปุย เชิงประกอบ และปุย เชิงผสม จากนัน้ ก็ ใชในประเทศ และสงออกไปยังประเทศเพือ่ นบานใกลเคียงอยาง ประเทศลาว เมียนมาร มาเลเซีย และอีกหลายประเทศ กวาปละ 300,000 ตัน (ตัวเลขนี้เปนตัวเลขที่รวมการสงออกตามแนวตะเข็บชายแดนประเทศเพื่อนบานดวย) “อยางไรก็ตามสำหรับประเด็นการยายฐานการผลิตปุย เคมีในยังประเทศเพือ่ นบาน ก็ถอื เปนเรือ่ งในอนาคตอาจ มีความเปนไปไดอยางมาก ซึ่งหากประเทศไทยยังไมสามารถผลิตแมปุยเองได อาจจะมีผูประกอบการไทยเขาไปตั้ง โรงงานผลิตปุยในประเทศกลุมอาเซียนเนื่องจากมีวัตถุดิบเพื่อใชในการผลิต ตรงจุดนี้จึงอยากใหภาครัฐใหการสงเสริม สนับสนุนการนำทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชน และสรางมูลคาเพิ่มใหกับประเทศไทยมากกวา เนื่อง จากไทยเรามีแหลงแมปุยโพแทสเซียมที่มีคุณภาพและมีปริมาณมากในพื้นที่ภาคอีสาน แตก็ยังไมรับการสนับสนุนจาก ภาครัฐ ตรงนี้อาจทำใหประเทศตองเสียโอกาส ที่จะไดใชทรัพยากรในประเทศเพื่อการพึ่งพาตนเอง ลดการนำเขา แต สรางมูลคาเพิ่มการสงออกใหไดมากขึ้น” ทางสมาคมฯ มองวา “ถาเราสามารถใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากจะชวยลดการนำเขา แมปุยลงไดแลว เกษตรกรไทยก็จะไดใชปุยเคมีที่มีคุณภาพและราคาที่ถูกลงอีกดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคของการ คาเสรีที่มีการแขงขันกันสูง” การปรับตัวของเกษตรกรเกี่ยวกับการใชปุยเคมีในยุค AEC การเปด AEC ที่จะมาถึงเกษตรกรของไทยคงจะไดรับผลกระทบทั้งในดานการแขงขันที่รุนแรงขึ้น ตนทุนการ ผลิตที่ไทยเราสูงกวาหลายประเทศในกลุมอาเซียน ปญหาดานแรงงาน ดังนั้นเกษตรกรไทยและภาครัฐจำเปนตอง เตรียมตัวเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงไปพรอมๆ กัน โดยเฉพาะในภาคเกษตรกรรม ที่แมวาประเทศไทยจะมีตน ทุนการผลิตทีส่ งู การลดตนทุนเปนเพียงดานหนึง่ ในการเตรียมพรอมเทานัน้ แตกไ็ มใชคำตอบสุดทายเชนกัน เพราะถาจะ พูดถึงการแขงขันแลว คงตองหมายรวมไปถึงคุณภาพของผลผลิตดวย “แมวาปจจุบันราคาปจจัยการผลิตแทบทุกอยางจะยกขบวนกันถีบตัวสูงขึ้นเมื่อเทียบกับอดีตที่ผานมา จากจาก การลดตนทุนการผลิตแลว เกษตรกรควรจะมองเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตดวย โดยเกษตรกรจะตองใช ปจจัยการผลิตใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ใชปุยเคมีใหถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกเวลา และถูกวิธี เพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิต ที่ดีมีคุณภาพ ซึ่งปุยเคมีก็ยังคงเปนปจจัยสำคัญ และภาครัฐจะตองเขามามีบทบาทใหความรูความเขาใจกับเกษตรก รผูใช ในดานการใชที่ถูกวิธี ในปริมาณที่เหมาะสมกับพืชแตละชนิด ชวยสงเสริมสนับสนุนการผลิต การตลาด รวมถึง ดูแลกำหนดมาตรฐานสินคาเกษตรใหเปนที่ยอมรับในระดับนานาประเทศ รวมถึงใหความรูกับผูบริโภคซึ่งเปนปลาย ทางของตลาดเกี่ยวกับความเขาใจ การใชปุยเคมี สารเคมี ที่ถูกตองดวยเชนกัน ทั้งนี้ก็เพื่อใหสังคมไดเขาใจวาแทที่ จริงแลว ปุย เคมี สารเคมี ไมใชฆาตกรตัวจริง แตฆาตกรทีแ่ ทจริงก็คอื “ผูใ ช” และ “เจตนา” ของผูใ ชตา งหาก ถารูจ กั ใชอยางถูกวิธีและเหมาะสมอันตรายก็ไมย่ำกรายเขามาอยางแนนอน” จากบทสรุปที่ชี้ใหเห็นในอีกมุมหนึ่งของปุยเคมี และสารเคมี คงจะทำใหผูที่ไดมีโอกาสอานหนังสือเลมนี้ คงเขาใจถึงทุกสรรพสิ่งบนโลกใบนี้วา ไมมีอะไรดี และไมมีอะไรไมดี ทุกสิ่ง ทุกอยาง ขึ้นอยูกับ ‘เจตนา’ ใชหรือไม… ตรงนี้ขอฝากใหผูอานทุกทานนำไปพิจารณากันตอไป

160

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC



สื่อ

ศไท ย

ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก



สื่อ

ศไท ย ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก GRAND RUBBER CO.,LTD


สื่อ

ศไท ย

ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง ป

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก


สื่อ

ศไท ย ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก


ศไท ย

สื่อ

ร ะเ ท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก นายอุทัย สอนหลักทรัพย์ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ


ธ.ก.ส. เผยผลงาน ครึ่งปบัญชี 57 พรอมปูพรมเปดสาขา ใน กทม. เพื่อระดมเงิน พัฒนาภาคเกษตร

ธ.ก.ส. โชวผลงานในรอบ 6 เดือน จายสินเชือ่ กระตุน เศรษฐกิจในภาคชนบทเพิม่ จากตนปกวา 3.2 หมืน่ ลานบาท สงผลใหยอดสินเชือ่ ในภาพรวมเพิม่ ขึน้ กวา 1.7 ลานลานบาท มีเงินฝากรวมกวา 1.05 ลานลานบาท ปูพรมขยายสาขาครบ ทุกเขตใน กทม. หวังเชิญชวนชาวเมืองหลวงเขามาใชบริการเพือ่ รวมชวยเหลือเกษตรกรและรวมพัฒนาภาคเกษตรกรรม ฉลองกาวยางสูป ท ่ี 49 ดวยการออกผลิตภัณฑสนิ เชือ่ อุน ใจคนไกลบาน เพือ่ ลดปญหาการพึง่ พาเงินกูน อกระบบ การฝาก เงินแบบคุมครองชีวิตและออม100 ลุนโชค 10 ลานกับสลากออมทรัพยธ.ก.ส. นายลักษณ วจนานวัช ผูจัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) เผยผลการดำเนิน งาน ในปบัญชี 2557 ของ ธ.ก.ส. ในรอบ 6 เดือน (1 เมษายน- 30 กันยายน 2557) วา ไดจายสินเชื่อเพิ่มขึ้นจากตนปบัญชี 2557 จำนวน 32,017 ลานบาท ทำใหมียอดสินเชื่อรวมที่กระจายตัวลงสูภาคชนบทแลวทั้งสิ้น 1,002,647 ลานบาท นอกจากนี้ยังมีสินเชื่อที่เขาไปสนับสนุนโครงการตามนโยบายของรัฐบาลอีก 771,471 ลานบาท แบงเปนเงินทุนของ ธ.ก.ส. จำนวน 242,758 ลานบาท และเงินทุนทีก่ ระทรวงการคลังค้ำประกัน ซึง่ อยูน อกงบการเงินจำนวน 528,713 ลานบาท รวมเปนเงินใหสินเชื่อทั้งสิ้น 1,774,118 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากตนปรอยละ 8.38 โดยผานเครือขายสาขาที่ใหบริการ จำนวน 1,202 สาขา เกษตรกรทีไ่ ดรบั บริการรวม 7.5 ลานครัวเรือน ดานเงินฝากมียอดเงินฝากจำนวน 1,058,206 ลานบาท จำแนกเปน เงินฝากจากเกษตรกรและประชาชนทัว่ ไปจำนวน 699,331 ลานบาท เงินฝากนิตบิ คุ คลจำนวน 46,279 ลานบาท และเงินฝากราชการและรัฐวิสาหกิจจำนวน 312,596 ลานบาท จากผลการดำเนินงานดังกลาว ทำให ธ.ก.ส. มีสนิ ทรัพยรวม 1,248,522 ลานบาท หนีส้ นิ รวม 1,136,637 ลานบาท และสวนของผูถ อื หุน 111,915 ลานบาท โดยมีรายไดจากการดำเนินงานรวม 33,469 ลานบาท คาใชจา ยรวม 28,563 ลานบาท คงเหลือกำไรสุทธิ 4,902 ลานบาท ขณะที่ NPLs อยูที่รอยละ 4.61 ต่ำกวาชวงเดียวกันของปกอนซึ่งอยูที่รอยละ 5.6 ดานความสามารถในการทำกำไร ธ.ก.ส. บริหารสินทรัพยไดผลตอบแทน (ROA) รอยละ 0.76 ต่ำกวาชวงเดียวกันของ ปกอ นซึง่ อยูท ร่ี อ ยละ 0.89 โดยมีอตั ราสวนเงินกองทุนตอสินทรัพยเสีย่ งรอยละ 12.51 ซึง่ สูงกวาเกณฑมาตรฐานของ ธปท. และกฎกระทรวงวาดวยการดำรงเงินกองทุนตามกฎหมายที่กำหนดไวไมต่ำกวารอยละ 8.50

168

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


นายลักษณกลาวตอไปวา ธ.ก.ส.ไดรบั การจัดสรรเงินงบประมาณรายจายประจำป 2558 จำนวน 84,553 ลานบาท เพือ่ นำมาชำระคืนตนเงินและดอกเบีย้ จากการดำเนินโครงการรัฐบาล ประกอบดวย โครงการรับจำนำผลผลิตการเกษตร จำนวน 71,380 ลานบาท เปนตนเงินจำนวน 36,335 ลานบาท โครงการประกันรายได จำนวน 6,889 ลานบาท เปนตน เงินจำนวน 3,559 ลานบาท โครงการชวยเหลือเกษตรกรผูปลูกขาวปการผลิต 2557/58 จำนวน 2,132 ลานบาท และ โครงการอื่นๆ อีก 4 โครงการ จำนวน 4,152 ลานบาท โดยภาระหนี้ที่เหลือรัฐบาลจะจัดสรรใหในปตอๆ ไป ในโอกาสกาวสูป ท ่ี 49 ธ.ก.ส. ตัง้ เปาหมายเปดสาขาในเขตกรุงเทพมหานครใหครอบคลุมทัง้ 50 เขต จากปจจุบนั ที่มี 41 สาขา เพื่ออำนวยความสะดวกใหลูกคาและเปดโอกาสใหชาวเมืองหลวงรวมใชบริการและฝากเงินกับ ธ.ก.ส. ซึง่ การฝากเงินกับ ธ.ก.ส. นอกจากไดผลตอบแทนทีด่ แี ลว ยังมีสว นรวมในการเกือ้ กูลภาคเกษตรกรรมเพราะเงินทุกบาท ธ.ก.ส. จะนำไปเปนทุนสนับสนุนการประกอบอาชีพของเกษตรกร เพือ่ สรางรายไดและพัฒนาคุณภาพชีวติ รวมทัง้ พัฒนา เศรษฐกิจฐานรากที่สำคัญของประเทศ โดยเปดตัวผลิตภัณฑ “สลากออมทรัพย ธ.ก.ส.” ในราคาหนวยละ 100 บาท จำนวนทั้งหมด 60 หมวด ๆ 10 ลานหนวย ระยะเวลาการฝาก 3 ป ซึ่งเมื่อฝากครบกำหนด ผูฝากจะไดรับคืนตนเงิน พรอมดอกเบี้ยหนวยละ 2.50 บาท และระหวางที่ถือสลากยังไดสิทธิลุนรับรางวัลทุกวันที่ 16 ของเดือน รวม 36 ครั้ง โดยรางวัลที่ 1 มีมลู คาถึง 10 ลานบาท และรางวัลอืน่ ๆ อีก 267,040 รางวัล รวมมูลคาครัง้ ละ 107.75 ลานบาท พรอม โปรโมชั่นพิเศษ ลุนรับทองคำหนัก 10 บาท เดือนละ 3 รางวัล ในชวง 6 เดือนแรกของการรับฝาก คือ ตั้งแตเดือน พฤศจิกายน 2557 - เมษายน 2558 รวม 180 รางวัล เริม่ ออกรางวัลครัง้ แรกในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2557 นี้ ผลิตภัณฑ เงินฝากสงเคราะหชีวิต “ธ.ก.ส. เพิ่มรัก 12/10” ซึ่งเปนกรมธรรมออมทรัพยแบบไดรับเงินคืนเมื่อครบกำหนดสัญญา ระยะเวลาการสง 10 ป แตใหความคุม ครอง 12 ปโดยสามารถเลือกสงไดตามความสมัครใจ ขัน้ ต่ำเดือนละ 300 บาท หรือเพียงวันละ 10 บาท โดยคุม ครองชีวติ หรือทุพพลภาพสิน้ เชิงถาวรสูงสุด 200,000 บาท ชดเชยรายไดหากนอนรักษาตัว ในโรงพยาบาลสูงสุดวันละ 1,000 บาท นานถึง 30 วันตอปกรมธรรม เงินปลอบขวัญ 6 เทาของงวดเงินที่สงฝาก กรณี บุตรเสียชีวิต และเมื่อออมครบกำหนดไดสมนาคุณ 8 เทาของงวดเงินที่สงฝาก และผลิตภัณฑ “ธ.ก.ส. มอบรัก 1/1” ซึ่งเปนกรมธรรมคุมครองสินเชื่อ กรณีเสียชีวิตหรือทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวรแกเกษตรกรลูกคา ในอัตรา 365 บาทตอป หรือเพียงวันละบาทตอความคุมครอง 100,000 บาท วงเงินคุมครองสูงสุด 200,000 บาท ซึ่งเงินฝากดังกลาวชวยสราง หลักประกันที่มั่นคงตอชีวิต เปนการสรางฐานการออมอยางมีแบบแผนและเปนภูมิคุมกันใหกับตนเองและครอบครัว ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้เพื่อเปดโอกาสใหลูกหลานเกษตรกรที่ ทำงานในเมืองไดเขาถึงบริการทางการเงินที่คิดดอกเบี้ย ในอัตราที่เปนธรรมเปนการลดภาระและปองกันปญหา การไปพึ่งพาเงินกูนอกระบบ ธ.ก.ส. ไดออกผลิตภัณฑ “สินเชื่ออุนใจคนไกลบาน” โดยใหพอแมซึ่งเปนลูกคา ธ.ก.ส.ชวยรับรองใหกับบุตรที่จะขอกู หากไมมีหลักทรัพย ก็สามารถ ใชบุคคลค้ำประกัน ก็สามารถกูไดในวงเงินไม เกินรายละ 100,000 บาท อัตราดอกเบีย้ รอยละ 1 ตอเดือน โดยลูกคา สามารถติดตอและใชบริการที่หลากหลายจาก ธ.ก.ส. ผานสาขาทั่วประเทศและในเขตกรุงเทพมหานคร ที่พรอมเปด ใหบริการแลวทั้ง 41 สาขา สำนักประชาสัมพันธและสื่อสารองคกร โทร 02 558 6100 ตอ 6733, 6734 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

169


โดย : ชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ อธิบดีกรมการขาว

ทิศทางขาวไทยในประชาคมอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนนับไดวา เปนผูผ ลิตขาวรายใหญของโลก ๖ ประเทศ ไดแก ประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม ไทย ฟลิปปนส เมียนมาร และกัมพูชา มีผลผลิตรวม ๑๑๑.๖๙๑ ลานตันขาวสาร ในป ๒๕๕๕/๕๖ คิดเปนรอยละ ๒๓.๗๗ เมื่อเปรียบเทียบกับผลผลิตรวมของโลก สำหรับการสงออกประเทศสมาชิกอาเซียนก็ถือเปนผูสงออกขาวรายใหญของโลกเชนกัน ไดแก ไทย เวียดนาม เมียนมาร และกัมพูชา มีปริมาณการสงออกในป ๒๕๕๕/๕๖ จำนวน ๑๖.๑๒๕ ลานตันขาวสาร คิดเปนรอยละ ๔๒.๙๑ ของปริมาณสงออกขาวของโลก ๓๘.๓๒๗ ลานตันขาวสาร ดังนั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงมีความสำคัญในเรื่องการผลิตและการคาขาวของโลก เมื่อวิเคราะหศักยภาพ ของขาวไทยกอนเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะเห็นไดวาในปจจุบันขาวไทยมีทั้งขอดีและขอดอยที่นาสนใจ ดังนี้ ดานการผลิตขาว ไทยผลิตขาวไดดมี ากและมีเสถียรภาพสูง เนือ่ งจากสภาพ ภูมปิ ระเทศเอือ้ อำนวย มีความเสีย่ งจากภัยธรรมชาตินอ ย ผลผลิต ขาวมีความหลากหลายชนิด และคุณภาพดี แตมผี ลผลิตตอไรตำ่ ตนทุนการผลิตสูง โครงสรางพื้นฐานดานดินและน้ำยังไมพรอม ชาวนาและองคกรชาวนาไมเขมแข็ง ขาดการปฏิบัติที่ดี ดานการแปรรูปขาวและผลิตภัณฑ กระบวนการสีแปรสภาพขาวมีประสิทธิภาพสูง ในป ๒๕๒๔ มีโรงสี ๓๘,๖๒๑ แหง มีเทคโนโลยีการแปรรูปขาว ผลิต ภัณฑขา ว มีบรรจุภณั ฑทห่ี ลากหลายและมีคณุ ภาพแตการพัฒนา ผลิตภัณฑขาวขั้นสูงเพื่อสรางมูลคาเพิ่มยังมีนอย

170

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ดานการตลาด ขาวไทยเปนขาวคุณภาพดีทั้งขาวขาว และขาวหอมโดยเฉพาะขาวหอมมะลิ ปลอดจากการดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) ระบบและเครือขายการคาขาวมีความเขมแข็ง แตมีความไมแนนอนในการคาขาว เปลี่ยนแปลงนโยบาย การตลาดบอยครั้ง และขาดความตอเนื่อง การเตรียมความพรอมของขาวไทยดานการผลิตดานการตลาดทัง้ ในตลาดโลก และตลาดอาเซียน ไทยตองกำหนด แนวทางการพัฒนาและปฏิรูปขาวไทยสูอนาคตอยางยั่งยืน ดังนี้ ปฏิรูปนโยบายขาวของรัฐบาล กำหนดใหการพัฒนาขาวและชาวนาเปนวาระแหงชาติ ที่มีการกำหนดเปาหมาย แผนพัฒนา ชวงเวลา (ระยะสั้นระยะยาว) อยางชัดเจนและตอเนื่อง การจัดตั้งคณะกรรมการ บริหารขาวแหงชาติ มีองคประกอบจากภาคการผลิต ภาคการ ตลาด ชาวนา และผูทรงคุณวุฒิ ในสัดสวนที่เหมาะสม ปรับปรุงองคกรที่เกี่ยวของกับขาวใหเปนองคกรที่มี ศักยภาพ ทัง้ ดานวิจยั พัฒนา การผลิตและการตลาดทีม่ ลี กั ษณะ one stop service เพือ่ ใหมกี ารบูรณาการการทำงาน อยางเปน รูปธรรม และมีขีดความสามารถในการสงเสริม และสนับสนุน ชาวนาไดอยางทั่วถึงและรวดเร็ว อีกทั้งกำหนดใหจังหวัดและ องคกรปกครองสวนทองถิน่ มีภารกิจและรับผิดชอบในการบริหาร จัดการขาวในระดับพื้นที่ ปฏิรูปการวิจัยและพัฒนาขาว จัดตั้งสถาบันวิจัยขาวแหงชาติใหเปนศูนยกลางในการ บริหารจัดการวิจยั และพัฒนาขาวของประเทศ โดยจัดทำยุทธศาสตร การสรางโจทยวิจัย การบูรณาการงานวิจัยใหคลอบคลุมทุกมิติ อยางเปนเอกภาพ โดยสรางความพรอมขั้นสูงทั้งดานบทบาท หนาที่ งบประมาณ สถานที่ อุปกรณทท่ี นั สมัย มีนกั วิจยั เพียงพอ อีกทั้งมีการเสริมสรางแรงจูงใจใหแกนักวิจัย ปฏิรูปโครงสรางพื้นฐานและระบบขอมูล ขยายการพัฒนาแหลงน้ำทุกรูปแบบ ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญตามสภาพพื้นที่ปลูกขาวใหมีประสิทธิภาพ เพียงพอและทั่วถึง จัดระเบียบที่ดินเพื่อการทำนา ฟนฟูความอุดมสมบูรณของดิน และขยายพื้นที่จัดรูปที่ดินใหมากขึ้น ตลอดจนมีการปรับระดับพื้นที่นา (Land leveling) ใหราบเรียบสม่ำเสมอ ทำใหสามารถบริหารจัดการน้ำไดอยางมี ประสิทธิภาพ จัดตั้งศูนยขอมูลขาวอัจฉริยะใหเปนศูนยกลางขอมูลขาวทั้งหมด ทั้งภายในและตางประเทศ ใหมีมาตรฐาน มี ความแมนยำ และมีความเปนเอกภาพ เพื่อสามารถใหการสนับสนุนการตัดสินใจของทุกภาคสวนไดอยางรวดเร็ว 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

171


ปฏิรูปโครงสรางการผลิตขาว กำหนดเขตสงเสริมการผลิตขาว (Zoning) ทั้งเพื่อการคาและบริโภค ตามกลุมพันธุขาว รวมทั้งตลาดเฉพาะ (Niche Market) เชน ขาวอินทรีย ขาว GAP ขาว GI เปนตน พรอมสรางตลาดรองรับควบคูกันไป จึงจะชวยใหการ กำหนดเขตสงเสริมการผลิตขาวเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ กรณีพน้ื ทีไ่ มเหมาะสมปลูกขาว ๑๑.๒๒ ลานไร ควรเสนอ มาตรการทดแทนใหชาวนาเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น หรือทำอาชีพอื่นดวยความสมัครใจ สนับสนุนการจัดระบบการปลูกขาวอยางเขมงวดเพื่อฟนฟูความอุดมสมบูรณของดินและมีการบริหารจัดการน้ำ ทีด่ แี ละประหยัด โดยใหชาวนาปลูกขาวไมเกินปละ ๒ ครัง้ และปลูกขาวพรอมกันในพืน้ ทีบ่ ริเวณเดียวกัน ซึง่ ทางรัฐบาล จะตองสนับสนุนชวยเหลือใหมีการปลูกพืชหลังนา และปุยพืชสด สงเสริมใหชาวนาตองทำนาอยางประนีต โดยจัดใหมีการถายทอดความรู การประชาสัมพันธใหมีความเขาใจ อยางทัว่ ถึง ๓.๗ ลานครัวเรือน ถึงวิธกี ารใชเทคโนโลยี ปจจัยการผลิตอยางถูกตองเหมาะสมและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม มุงเนนการเพิ่มผลผลิตตอไร การลดตนทุนการผลิต การยกระดับคุณภาพผลผลิตขาวใหปลอดภัย

ปฏิรูปชาวนาและองคกรชาวนา การพัฒนาชาวนาเปนหัวใจสำคัญในการพัฒนาขาว โดยตองปลูกฝงจิตสำนึกใหชาวนารูจักพึ่งพาตนเอง พึ่งพาซึ่งกันและกันในระบบกลุมและองคกรตางๆ ดวยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางจริงจัง แทนที่จะรอคอยความ ชวยเหลือจากภาครัฐ นอกจากนั้นสนับสนุนการสรางชาวนารุนใหมโดยเริ่มตั้งแตการศึกษาของภาครัฐทุกระดับ เพื่อ แกปญหาขาดแคลนชาวนาในอนาคต และยกระดับการทำนาของประเทศ สงเสริมใหศูนยขาวชุมชนที่มีอยูประมาณ ๓,๐๐๐ ศูนย ซึ่งมีกระจายอยูตามหมูบานชาวนาทั่วประเทศ ใหมี ความเขมแข็งและเปนศูนยกลาง หรือเครือขายของชาวนาระดับพื้นที่ ซึ่งมีศักยภาพตั้งแตการบริหารจัดการปจจัย การผลิต เชน เมล็ดพันธุ ปุย สารเคมี การผลิตเมล็ดพันธุเพื่อแลกเปลี่ยนหรือจำหนายในชุมชน เปนศูนยรวมเครื่อง จักรกลการเกษตร การเผยแพรขอมูลขาวสารและองคความรูเรื่องขาว การมีโรงสีแปรสภาพขาวเพื่อบริโภคและ จำหนาย การสรางมูลคาเพิ่มโดยการแปรรูปสินคาขาว ตลอดจนการจัดทำบรรจุภัณฑและจำหนายสินคาขาว ซึ่งจะ ชวยเพิ่มรายไดและลดรายจายอันจะกอใหเกิดความยั่งยืนในการยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวนา

172

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


ปฏิรูประบบการจำหนายขาว สนับสนุนการสรางมูลคาเพิ่มขาว โดยการแปรรูปสินคาขาวทั้งที่เปนอาหารและไมใชอาหาร การบรรจุภัณฑ สงเสริมใหมีการสีแปรสภาพเปนขาวสารของชาวนาและองคกรชาวนา แทนการจำหนายขาวเปนขาวเปลือกเพราะจะ ชวยใหชาวนามีรายไดเพิ่มขึ้น โดยการสนับสนุนงบประมาณ และเครื่องมืออุปกรณจากภาครัฐ สงเสริมใหสหกรณการเกษตร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเปนองคกรหลักในการเชื่อมโยง ระหวางการผลิตและการจำหนายขาวของชาวนา เพราะชาวนาสวนใหญขาดความรูและประสบการณดานการตลาด ภาครัฐตองกำหนดกลไกในการกำกับดูแลผลประโยชนใหเกิดความเปนธรรมในการจำหนายขาวกับผูมีสวน ไดสวนเสียทั้งหมด (Benefit Sharing) ไดแก ชาวนา โรงสี ผูประกอบการขาวถุง ผูสงออกและผูบริโภค แนวทางปฏิรปู ขาวไทยสูอ นาคตอยางยัง่ ยืน เปนความทาทายของรัฐบาลทีจ่ ะตองขับเคลือ่ นการบริหารจัดการสินคา ขาวของประเทศใหหลุดพนจากปญหาเดิมๆ ที่สะสมมานาน เพื่อชาวนาไทยจะไดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีความมั่นคง ในอาชีพการทำนา และสรางความมั่นใจวาประเทศไทยจะเปนผูนำเรื่องขาวของโลกและประชาคมอาเซียนตลอดไป

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

173


๑๒ ป

สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) องคกรนำดานการมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารสูระดับสากล สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) จัดตั้งขึ้นในวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามกฎ กระทรวงแบงสวนราชการ สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. 2545 โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 ฉ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2543 เปนหนวยงานระดับกรม ภายใตกระทรวงเกษตรและสหกรณเพือ่ เปนศูนยกลางในการประสานงานและพัฒนามาตรฐาน สินคาเกษตรของประเทศใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล โดยรวมมือกับหนวยงานตางๆ ภายในกระทรวงเกษตร และ สหกรณ มุง การใหบริการแบบเบ็ดเสร็จในการนำเขาและสงออกสินคาเกษตร มีภารกิจเปนหนวยงานกลางดานมาตรฐาน สินคาเกษตรและอาหาร โดยกำหนด ตรวจสอบรับรอง ควบคุม และสงเสริมมาตรฐานสินคาเกษตร ตั้งแตระดับไรนา จนถึงผูบริโภค ตลอดจนการเจรจาแกไขปญหาทางการคาเชิงเทคนิค เพื่อปรับปรุงและยกระดับคุณภาพสินคาเกษตร และอาหารของไทยใหไดมาตรฐาน รวมทั้งเพื่อใหมีคุณภาพและความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล สามารถแขงขัน ไดในเวทีโลก

อำนาจหนาที่

1. ดำเนินการตามกฎหมายวาดวยมาตรฐานสินคาเกษตรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ 2. เสนอแนะนโยบาย แนวทาง และมาตรการในการกำหนด การตรวจสอบรับรองการควบคุม การสงเสริม และการพัฒนามาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารของประเทศ 3. กำหนดยุทธศาสตรดานความปลอดภัยสินคาเกษตรและอาหาร รวมทั้งกำกับดูแล เฝาระวัง และเตือนภัย 4. ประสานงาน กำหนดทาที และรวมเจรจาแกไขปญหาดานเทคนิค ดานมาตรการทีม่ ใิ ชภาษี และดานการกำหนด มาตรฐานระหวางประเทศ 5. เปนหนวยงานกลางในการประสานงานกับองคการมาตรฐานระหวางประเทศดานคุณภาพและความปลอดภัย ของสินคาเกษตรและอาหาร รวมทั้งการดำเนินการภายใตความตกลงวาดวยการบังคับ ใชมาตรการสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช และในสวนที่เกี่ยวของกับสินคาเกษตรและอาหาร ในความตกลงวาดวยอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา 6. เปนหนวยรับรองผูประกอบการตรวจสอบมาตรฐานดานสินคาเกษตรและอาหารของประเทศ 7. เปนศูนยกลางขอมูลสารสนเทศดานการมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร 8. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายกำหนดใหเปนอำนาจหนาที่ ของสำนักงานหรือตามทีร่ ฐั มนตรีหรือคณะรัฐมนตรี มอบหมาย

174

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


แผนการดำเนินงานในป 2558 ในป 2558 มกอช. ไดกำหนดทิศทางการดำเนินงานใหสอดรับกับนโยบาย ของกระทรวงเกษตรและสหกรณตลอด จนสถานการณทางการคาที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะการเปดตลาดเสรีภายใตกรอบความตกลงประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน โดยไดกำหนดแผนขับเคลือ่ นในการ พัฒนาและผลักดันมาตรฐานสินคาเกษตรของไทย ใหเกิดการยอมรับ ระดับสากล พัฒนาระบบการตรวจสอบรับรองและควบคุมกำกับ สินคาเกษตรใหเปนไปตามมาตรฐาน ปกปองและรักษา ผลประโยชนสนิ คาเกษตรและ อาหารของไทย โดยมีการบริหารองคกรตามหลักธรรมาภิบาล ดังนี้ 1. จัดทำมาตรฐานสินคาเกษตรเพิม่ เติมโดยปเปาหมาย ๒๒ เรือ่ ง ประกอบดวย มาตรฐานทัว่ ไป (สมัครใจ) ๑๘ เรือ่ ง แยกเปน มาตรฐานสินคา ๕ เรือ่ ง ไดแก มะละกอ ถัว่ ฝกยาว มันฝรัง่ เห็ดเข็มทอง และมะมวง มาตรฐาน ระบบการผลิต ๑๑ เรือ่ ง เชน GAP ฟารมไกพนั ธุ ฟารมเลีย้ งสัตวนำ้ จืด ฟารมสุกร ฟารมกวาง ฟารมเนือ้ เปด GMP : สถานอนุบาลกลาไม แนวทางปฏิบตั ิ : ฟารมเลีย้ งกุง ทะเล และหลักปฏิบตั กิ ระบวนการ รมผลไมสดดวยกาซซัลเฟอร ไดออกไซด มาตรฐานขอกำหนดทั่วไป ๓ เรื่อง เชน แนวทางการกำหนดและประยกตใชเกณฑจุลชีววิทยาเกี่ยวกับ อาหารและการชันสูตร โรคไอเอชเอชเอ็นวี ในกุง และจัดทำมาตรฐานบังคับ จำนวน ๔ เรือ่ ง อาทิ GMP สำหรับ ศูนยรวบรวมน้ำนมดิบ และ GAP สำหรับฟารมเพาะฟกลูกกุงทะเลปลอดโรคเปนตน 2. ขยายขอบขายการรับรองระบบงานดานการตรวจรับรองสินคาเกษตร และ อาหารสำหรับหนวยรับรอง (CB) และหนวยตรวจ (IB) ภาคเอกชน ตลอดจนตรวจ ประเมินและรับรองหนวยรับรองและหนวยตรวจตามมาตรฐานสากล 3. รวมเจรจาแกไขปญหาสงออกและเปดตลาดสินคาเกษตรและอาหาร 4. ควบคุมตรวจสอบและเฝาระวังมาตรฐานสินคาเกษตรและสรางเครือขาย เฝาระวังทั่วประเทศ

ศักดิ์ชัย ศรีบุญซื่อ เลขาธิการ สำนักงานมาตรฐาน สินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช)

ดุจเดือน ศศะนาวิน รองเลขาธิการ

พิศาล พงศาพิชณ รองเลขาธิการ 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

175


รวมกับองคการอุตสาหกรรมปาไมจัดคาราวานสัญจรในถิ่นทุรกันดาร ณ อำเภอทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี

เกษตรสัญจร อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา

176

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


เกษตรสัญจร จ.จันทบุรี ตราด

เกษตรสัญจรเชียงใหม

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

177


กิจกรรมการประชุมสามัญประจำป

178

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


กิจกรรมการประชุมสามัญประจำป1

1

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

179


กิจกรรมรดน้ำดำหัวอธิการ ม.เกษตรศาสตร และคณะที่ปรึกษาสมาคม

180

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


กิจกรรมการประชุมสามัญประจำป

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

181


สัมมนาเชิงปฏิบัติการ สุดยอดนวตกรรมผลิตมะนาวนอกฤดู และการขยายพันธุดวยใบ

182

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


1

แสดงยินดีนายก สงมอบงาน

การแสดงความยินดีในโอกาสตางๆ

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

183


อบรมหลักสูตร เทคนิคการเขียนขาว

184

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC



ทำเนียบสื่อสังกัดของสมาชิก สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย หนังสือพิมพ อาคารเนชั่นทาวเวอร ถนนบางนา-ตราด กิโลเมตรที่ 4.5 เขตบางนา กทม. โทร. 0-2338-3356-7

วิภาวดีรังสิต 7 จอมพล จตุจักร กทม. โทร 0-2272-1701-2 www.thairath.co.th

1858/51-62 อาคารเนชั่นทาวเวอร ชั้นที่ 12,13 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 10260 โทร. 0-2338-3645

12 ถนนเทศบาลนฤมาล หมูบาน ประชานิเวศน 1 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2580-0021

40/9 เทศบาลนิมิตใต ประชานิเวศน 1 ลาดยาว จตุจักร กทม. 10900 0-2954-3921-8 , 0-2954-4999

12 อาคาร 6 ถ.ราชดำเนิน เขตพระนคร กรุงเทพฯ www.siamrath.co.th

1 ซอยปลื้มมณี วิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 0-2513-0230-3 , 0-2513-3107 www.banmuang.co.th

96 หมูที่ 3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2973-5000 ตอ 416, 432

222/144 ถนนวิภาวดีรังสิต กทม. โทร. 0-2936-4222 www.bangkok-today.com

อาคารจุฑามาศ ชั้น 7 เลขที่ 89/169-170 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 www.thannews.th.com

1/4 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 www.dailynews.co.th

36/2-3,4 ม.4 ต.สันผีเสื้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม โทร. 0-5385-2719 nbncm@hotmail.com

186

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


นิตยสาร 21 ถนนเทศบาลนฤมาล แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทร. 0-2580-0021 , 0-2589-0020

19/27 ถนนงามวงศวาน ซ.งามวงศวาน 62 ลาดยาว จตุจักร กทม. 10900 โทร. 0-2579-9414, 0-2561-4517

27/44 ถ.เทศบาล 6 หมู 3 ต.บางโพธิ์เหนือ อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 12160 โทร. 0-2593-1481

81 หมู 4 ซ.เพชรเกษม 102/3 ถนนเพชรเกษม แขวงหลักสอง เขตบางแค กทม. โทร. 0-2809-4211-13

22 ซ.ชำนาญอักษร ถ.พหลโยธิน 9 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.

18 ซอยลาดปลาเคา 63 ถนนลาดปลาเคา แขวงอนุสาวรียชัย เขตบางเขน กทม. โทร. 0-2940-3855-6 www.satapornbooks.co.th

46/331 ต.บางคูรัด อ.บางบัวทอง นนทบุรี www.kasetchivapap.plazathai.com

8/35 หมูบานอมรพันธนคร 8 สวนสยาม9 (แยก 3) ถ.เสรีไทย แขวง/เขตคันนายาว กทม.10230 www.neonbookmedia.com

78/423-424 ซอยรามคำแหง 180 ถนนรามคำแหง เขตมีนบุรี กทม.

8/35 หมูบานอมรพันธนคร 8 สวนสยาม 9 (แยก 3) ถนนเสรีไทย แขวง/เขตคันนายาว กทม. โทร. 0-2517-7265-6 www.neonbookmedia.com

4/43 ซอยวัดเทวสุนทร ถ.งามวงศวาน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2580-9516 , 0-2580-7924

230/85 ซอยลาดพราว 1 แยก33 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท/โทรสาร 0-2938-5099

115/115 หมูบานเมืองประชา ซ.8 ต.บางคูวัด อ.เมือง จ.ปทุมธานี โทร. 0-2976-7275

101/128 หมู 10 หมูบานมัณฑนาราชพฤกษ ถ.ราชพฤกษ ต.บางกราง อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร./แฟกซ 0-2422-6346

34/338 ม.2 ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทร. 0-2592-2911

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

187


3003/3 ม.1 ซ.โปษยานนท ต.สำโรงเหนือ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ โทร. 0-2745-4934 , 08-5070-8661

112/844 การเคหะบางนา ถ.บางนา-ตราด ซ.บางนา 46 เขตบางนา กรุงเทพมหานคร

3003/3 ม.1 ซ.โปษยานนท ต.สำโรงเหนือ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ โทร. 0-2745-4934 , 08-5070-8661

1905 หมู 7 ซ.สุขุมวิท ต.สำโรงเหนือ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 102270 โทร. 0-2361-5936, 08-5074-5055

111/233 หมูบานอัมรินทรนิเวศน 3 ถนนสายไหม แขวง/เขตสายไหม กทม. โทร. 0-2990-3724 , 08-5955-5077

118/8 ม.6 ซ.สหกรณ 1 (แยกแจมเจริญ) ถ.ประดิษฐมนูธรรม แขวง/เขตลาดพราว กทม. กทม. โทร.08-7007-2712

วิทยุ 9 ซ.อารียสัมพันธ ถ.พระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400 โทร. 0-2618-2323-40 http;//www.prd.go.th

อาคารสถานีวิทยุ มก. ชั้น 2 50 พหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กทม. 10900 โทร. 0-2579-0113

63/1 ถนนพระราม 9 แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กทม.10310 www.mcot.net/ModerNineTV

188

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

2143/1 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2579-3927 , 0-2562-0165 E-mall; am1386news@doae.go.th


สถานีโทรทัศน 3199 อาคารมาลีนนททาวเวอร พระราม 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กทม. 10110 www.thaitv3.com

210 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400 www.tv5.co.th

998/1 ซอยรวมศิริมิตร พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 http;//ch7.com

63/1 ถนนพระราม 9 แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กทม. 10310 www.mcot.net/ModerNineTV

236 ถ.วิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กทม. http;//nbttv.prd.go.th

145 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทร. 0-2790-2000

อาคารทิปโก พระราม 6 พญาไท กทม. www.TNNThailand.com

333/3 หมูบานรัชดานิเวศน ซอย 19 ถนนประชาอุทิศ แขวงสามเสนนอก www.kantana.com

44 หมู 10 ถนนบางนา-ตราด กิโลเมตรที่ 4.5 เขตบางนา กทม. www.nationchannel.com

18 อาคารทรูทาวเวอร ถ.รัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กทม. 10310

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

189


รายชื่อสมาคมที่เกี่ยวของกับภาคการเกษตร สมาคมนิสิตเกามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2579-2419

สมาคมดินและปุยแหงประเทศไทย ตึกภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2940-6472

สมาคมการคาและธุรกิจการเกษตรไทย 106 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 โทร.0-2434-2403, 0-2448-7616

สมาคมพืชสวนแหงประเทศไทย 50 งามวงศวาน แขวง ลาดยาว เขต จตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2940-6578

สมาคมการคาปุยและธุรกิจการเกษตรไทย 106 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 โทร. 0-2448-7616

สมาคมอารักขาพืชไทย ชั้น 3 อาคารสมาคม นิสิตเกามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในพระบรมราชูปถัมป เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900 โทร. 0-2561-5431

สหกรณโคเนื้อพันธุกำแพงแสน ศูนยสาธิตการผลิตโคเนื้อครบวงจร (คาวบอยแลนด) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 034-281-683, 034-281-361

สมาคมการคาผูผลิตปุยไทย 50 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2940-5990

สมาคมการคาเมล็ดพันธุไทย หอง 732 ชั้น 7 อาคารสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑ อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2955-1710-1

สมาคมคนไทยธุรกิจเกษตร 99/22 หมู 12 ซอยคงเพิม่ พูล ถนนรามอินทรา14 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ โทร. 02-907-0154-5

สมาคมวิทยาการวัชพืชแหงประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โทร. 0-2579-0113, 0-2579-0840, 0-2579-0870

สมาคมไมดอกประดับแหงประเทศไทย 56/1 ซ.จัดสรรเอื้อวัฒนสกุล ถ.พัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

สมาคมผูสงออกดอกกลวยไมไทย 245/53 ซ.ยุทธศิลป แขวงบางยี่ขัน เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 0-2883-2158

สมาคมกีฏและสัตววิทยาแหงประเทศไทย 50 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจัตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2940-6996

สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพสัมพันธ 55/615 โครงการสุโขทัยอเวนิว ถ.บอนดสตีท ต.บางพูด อ.ปารเกร็ด จ.นนทบุรี โทร.0-2503-2054-5

สมาคมชาและกาแฟไทย 65/11 ซอยแจงวัฒนะ 1, ถนนแจงวัฒนะ, แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร, 10310 โทร.02-973-5090-5

สมาคมผูผ ลิตถุงมือยางแหงประเทศไทย 24 ซอยรามคำแหง 19 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร.0-2314-0783

สมาคมอาหารแชเยือกแข็ง 92/6 ชั้น 6 อาคารสาทรธานี 2 ถ. สาทรเหนือ เขตบงรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0235-5622-4, 636 9001-4

สมาคมการคาปจจัยการผลิตสัตวน้ำไทย 87/209 หมู 7 ซอย ชูชาติอนุสรณ ถนนติวานนท ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

สมาคมปรับปรุงพันธุ และขยายพันธุพืชแหงประเทศไทย อาคารสถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2562-0502

สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแหงประเทศไทย ตึกวิจัยเห็ด กรมวิชาการเกษตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2561-1473, 0-2579-0147

สมาคมดินและปุยแหงประเทศไทย ตึกภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2940-6472

สมาคมอนุรักษดินและน้ำแหงประเทศไทย กรมพัฒนาที่ดิน ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2561-0773

สมาคมผูสงออกขาวไทย 37 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทร. 0-2287-2674-7

190

15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC


รายชื่อสมาคมที่เกี่ยวของกับภาคการเกษตร สมาคมกุงไทย 193/43 อาคารเลครัชดาออฟฟส คอมเพล็กซ ชัน้ ที่ 12 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2661-8213-6

สมาคมยางพาราไทย 45-7 โชติวิทยะกุล 3 อำเภอ หาดใหญ จังหวัด สงขลา 90110 โทร. 074-429 -011

สมาคมชาวสวนมะมวง 56/1 หมูบานวังทับไทร หมู 1 ตำบลวังทับไทร อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร

สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 889 ไทยซีซีทาวเวอร ชั้น 17 หอง 170 ถ.สาทรใต ยานนาวา สาทร กทม. 10120 โทร. 0-2675-6263-4

สมาคมผูผลิตปลาปนไทย 621/5-6 ถนนเจริญราษฎร แขวงบางโคล เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2673-1193-4

สมาคมการประมงแหงประเทศไทย 96/67-68 หมู 9 ถนนพระราม 2 ซอย 30 แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทร. 0-2452-0571-2

สมาคมการประมงนอกนานน้ำไทย 96/67-68 หมู 9 ถนนพระราม 2 ซอย 30 แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทร. 0-2452-1264, 0-2840-2116-7

สมาคมคนเลี้ยงปลาสวยงามแหงประเทศไทย

สมาคมการคาเกษตรอินทรียไ ทย 126/106 อาคารไทยศรี ถนนกรุงธนบุรี แขวงบางลำภูลา ง เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทร. 0-2867-8777 ตอ 2165

สมาคมโคเนือ้ แหงประเทศไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทร. 034-281-683, 034-281-361

สมาคมผูเลี้ยงไกไข (ในพระบรมราชูปถัมภ) แหงประเทศไทย

สมาคมผูเ ลีย้ งสุกรแหงประเทศไทย 315/116 ฟอรจนู ทาวเวอร ซอย 19 สาธุประดิษฐ แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2674-1190

สมาคมไมประดับแหงประเทศไทย บานกามปู เลขที่ 5/6 ซ.สมาคมแพทย แขวงคลองกุม เขตบึงกุม กรุงเทพฯ โทร. 0-81809-1900, 0-86789-5888

ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ 111/65 ถนน พหลโยธิน แขวง อนุสาวรีย เขต บางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทร. 0-2986-1680

ชมรมนมสรางชาติ 801/368-369 หมู 8, ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี, 12130 โทร. 0-8996-83720

สมาคมโรงสีขาวไทย 81 ซ.เจริญกรุง 24 (ตรงขามเขตสัมพันธวงศ) แขวงตลาดนอย เขตสัมพันธวงศ กทม 10110 โทร. 0-2234-7289, 0-2234-7295

สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออกไทย 313 C.P. ทาวเวอรชั้น 22 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2638-2199

สมาคมสหพันธชาวสวนยางแหงประเทศไทย 005 ถนนราษฎรบำรุง 12 ตำบลเนินพระ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000 โทร. 038-611-246, 0-1300-5909

สมาคมธุรกิจไมยางพาราไทย 165 ถนนกาญจนวนิช ตำบลน้ำนอย อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 โทร. 074- 211-903

สมาคมน้ำยางขนไทย 45-47 ชั้น 3 ถนนโชติวิทยะกุล 3 ต.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.ฃสงขลา 90110 โทร. 074- 245-566

ชุมนุมสหกรณชาวสวนยางแหงประเทศไทย (ชสยท.) 17/1 ถนนกาญจนวนิช ตำบลบานพรุ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90250 โทร. 074-439-920-1

สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแหงประเทศไทย อาคาร 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ โทร. 0-2940-5425-6

สมาคมกลวยไมแหงประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ 6 ถ.พหลโยธิน ซอย 41 บางเขน กรุงเทพฯ 10900

สหกรณชมรมชาวสวนมะมวง จังหวัดฉะเชิงเทรา จำกัด 97/5 หมู 1 ตำบลเขาหินซอน อำเภอพนมสารคาม. จังหวัดฉะเชิงเทรา 24120 โทร. 038-502198 15 ป รวมพลคนเกษตร ทิศทางเกษตรกรไทยในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC

191



สื่อ

ศไท ย ร ะเท

สมาคม

มวล

ช น เ ก ษ ต ร แ ห่ง

ขอแสดงความยินดี

เนื่องในวาระครบรอบ 15 ปี สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ด้วยความปรารถนาดีจาก





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.