Portfolio 2016 jirapat chanphichai

Page 1

Portfolio

Jirapat Chanphichai

Faculty of Architecture, Silpakorn University


RESUME NAME

JIRAPAT CHANPHICHAI (JACKY)

BIRTHDAY

24-01-1993

EDUCATION

FACULTY OF ARCHITECTURE, SILPAKORN UNIVERSITY GPA: 3.23 + 1999-2011

ADDRESS 130 CHAROENNAKORN10, CHAROENNAKORN RD., KLONGSAN BANGKOK 10600 CONTACT TEL: 086-777-5595 EMAIL: JACKY.KML1257@GMAIL.COM LINE: JACKYKML FB: JACKY CHANPHICHAI

+ 2011-2016

ASSUMPTION COLLEGE +2008 EXCHANGE PROGRAM FENNVILLE HIGH SCHOOL, USA SKILL

+AUTOCAD +3DS MAXS +SKETCHUP +V-RAY FOR 3DSMAX/SKETCHUP +ADOBE PHOTOSHOP +ADOBE ILLUSTATOR +ADOBE INDESIGN +MICROSOFT OFFICE

WORKSHOP/ COMPETITION

+2015 AMBIVALENT ADAPTATION, SILPAKORN UNIVERSITY +2015 INTERNSHIP AT SOMDOON ARCHITECT +2014 SIMULTANIOUS MODERINTY, KRVIA, MUMBAI, INDIA +2014 WON CONSOLATION PRIZE AT B-1 COMPETION 2014 +2013 WON CONSOLATION PRIZE AT NHA COMPETIOTION


01 Rehabilitating for Public Use

02 New Canal Community

03 B1: 21st Century Museum

04 The First Apartmet

05 Talung Museum

06 New NHA Community

CONTENTS


01 Rehabilitating for Public Use Architectureal thesis, 2015 Type: Pubic space Advisor: Asst. Prof. Supicha Tovivich พื้นที่สาธารณะ ถือว่าเป็นพื้นที่ ที่รองรับชีวิตสังคม ของคนในเมืองที่ดีที่สุด ปล่อยให้คนทั่วไปได้เข้าถึง สร้างความมีชีวิตชีวาของเมือง ซึ่งถือได้ว่ามีความ สำ�คัญอย่างมากต่อผู้คนในเมือง แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นกับ หลายๆเมืองในปัจจุบันเฉกเช่นกรุงเทพมหานคร คือ การเกิดขยายตัวอย่างหนาแน่น ทำ�ให้สัดส่วนของพื้นที่ สาธารณะน้อยมากหากเทียบกับการขยายตัว และการมี พื้นที่สาธารณะขนาดใหญ่กำ�ลังน้อยลงทุกที จนทำ�ให้ไม่ เพียงพอต่อการรองรับการใช้งานของคนในเมือง และ นอกจากนี้การขยายตัวของเมืองอย่างไม่เป็นระบบนี้เอง ได้สร้างพื้นที่ร้างที่ไม่ได้ถูกใช้งานหรือพื้นที่ที่ไม่ได้ถูกใช้ ประโยชน์มากมายในเมือง ซึ่งถือเป็นการเสียประโยชน์ ของเนื้อเมือง ดังนั้นจึงเกิดเป็นที่มาของโครงการที่จะทดลองเพื่อหา แนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะจากพื้นที่ที่ไม่เกิด ประโยชน์เหล่านี้ ให้เกิดเป็นพื้นที่สาธารณะรูปแบบใหม่ๆ ที่มีขนาดโครงการไม่ใหญ่มากนัก แต่ตอบโจทย์กับความ ต้องการของคนเมืองได้



สำหรับพื้นที่ ที่ใช้ในการศึกษาคือบริเวณช่วงบางรักจนถึง เขตยานนาวา โดยกระบวนการศึกษาเริ่มจากการสำรวจ หาพื้นที่เก่า ตามเงื่อนไขที่ได้วางเอาไว้และได้ทำการจำแนก ประเภทของพื้นที่เก่า ในส่วนของโปรแกรมนั้นได้วิเคราะห์จากพื้นที่ที่เข้าข่าย สุดท้าย6แห่ง โดยพิจารณาจากศักยภาพในการพัฒนาโค รงการและกลุ่มผู้ใช้งานในบริเวณโดยรอบ และได้คัดเลือก จนเหลือ3 โครงการสุดท้ายที่จะได้นำไปกำหนดวัตถุประสงค์ ของพื้นที่สาธารณะเพื่อต่อยอดในการออกแบบต่อไป



ground floor plan

elevation 1

second floor plan elevation 2


Program01: Neighborhood Hub

circulation diagram

spatial organization

section A-A

section B-B

โครงการนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ คื อ เป็ น พื้นที่พบปะใหม่ระหว่างคนใน ชุมชนย่าน สี่พระยา และนักท่องเที่ยวที่เป็น backpacker โดยที่วัตถัประสงคในเชิงของ พื้ น ที่ ส าธารณธ์ ข องโครงการคื อ พื้ น ที่ เปลี่ยนถ่าย กล่าวคือเป็นพื้นที่สำหรับให้ คนเข้ามาในโครงการเพื่อที่จะไปยังจุดหมา ยอื่นๆต่อไป แนวคิดของโครงการนี้คือการมอง กลุ่มก้องฟังก์ชันของtourist center และพื้นที่ชุมชนเป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ที่มี จุดที่มาบรรจบกัน โดยศึกษาจากระบบ การ จัดการพื้นที่รูปแบบต่างของพิพิธภ�ณฑ์และ สามารถสรุ ป แบบของความสั ม พั น ธ์ ต าม ไดอะแกรมที่ปรากฏทางด้านซ้าย


ground floor plan

second floor plan

third floor plan


Program02: StudentCo-working Space

section A-A

section B-B

elevation 1

elevation 2

สำ�หรับโครงการนี้มีวัตถุประสงค์คือความเป็นจุดมุ่งหมาย และนอกจาก นี้ด้วยกายภาพของอาคารที่แปลกแยกและไม่เข้ากับบริบท โดยใช้การ ออกแบบ Landscapeที่ทำ�หน้าที่เชื่อมต่อพื้นที่เปิดโล่งรอบโครงการเชื่อ มต่อกับอาคารและแม่น้ำ�เจ้าพระยา พื้นที่ภายในอาคารคือพื้นที่ Co-working Space และห้องสมุดสำ�หรับนักเรียนและบุคคลทั่วไป โดยภายในจะ สร้างพื้นที่ออกเป็นกระเปาะเล็กๆ ในรูปแบบที่ต่างกัน เพื่อที่จะสร้างสร้าง ความเป็นส่วนตัวที่ต่างกันเพื่อรองรับกลุ่มผู้ใช้งานที่ต่างกัน


Mall Configuration diagram

section A-A

section C-C

elevation 1

ground floor plan

Flowing Diagram

section B-B


Program03: Linkage Shopping Center ด้วยกายภาพของพื้นที่ ที่มีลักษณะ เป็นพื้นที่ เปิดโล่งที่ถูกตัดขาดออกจากกันด้วยถนนที่ มีความเร็ว และเป็นพื้นที่ใต้ทางพิเศษศรีรัช ทำให้แสงที่ลงมามีปริมาณที่น้อยได้กลายมา กำหนดวัตถุประสงด์ของพื้นที่สาธารณะคือ การเชื่อมต่อ ทั้งสองฟากเข้าด้วยกัน โดยโปรแกรมคือShopping Center โดย เป็นร้านค้าย่อยๆและได้ประกอบการศึกษาการ วางตัวของ configurationของห้างสรรพ สินค้ามาเป็นตัวแปรในการออกแบบ คือศึกษา การวางตัวระหว่างretail และ magnet อัน ได้แก่ศูนย์อาหารและซูเปอร์มาเก็ต ตัวแปรของการออกแบบคือลักษณะflowของ คนที่จะไหลเชื่อมต่อกันทั้งสองข้างโดยศึกษา จากกายภาพของพื้นที่โดยรอบ


02 New Canel Community

Architectural Design8, 2015 5th year studio Type: Masterplan, Housing and Media complex Advisor: Asst. Prof. Apiradee Kasemsook Tanicha Niyomwan โจทย์ของโปรเจคในสตูดิโอนี้คือ การสร้าง สถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กับชุมชนเมือง เพื่อใช้เป็นฐาน ในการจัดทำ�รายละเอียดโครงการ (Programme) การ ออกแบบสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม ของชุมชนเมืองด้านกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยเน้น การศึกษาปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาของชุมชนเมือง และรวมไปถึง กระบวนการออกแบบ ในลักษณะที่ มีความสัมพันธ์กันระหว่างการวิเคราะห์และ การ สร้างสรรค์งานออกแบบ โดยแสดงแนวคิดและวิธีการ ปฏิบัติให้ปรากฏอย่างเด่นชัด ฝึกปฏิบัติการออกแบบ ผังแม่บทและการออกแบบสถาปัตยกรรม เพื่อพัฒนา ทางด้านกายภาพของชุมชนเมืองและสร้างคุณภาพชีวิต ที่ ดีขึ้นของผู้คนที่อยู่ในชุมชนเมือง



โปรเจคนี้เริ่มตั้งแต่ลงพื้นที่เพื่อศึกษา ที่ตั้งโครงการในแง่ความสัมพันธ์ใน หลายๆด้านที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ ชุมชนเมือง ธรรมชาติ และวิถีชีวิต เพื่อที่จะสร้างวิสัยทัศน์ที่เหมาะสม ให้แก่ชุมชนไปในอนาคตข้างหน้าโดย กระบวนการออกแบบเริ่มตั้งแต่การ วางผังแม่บทให้สอดคล้องกับวิศัย ทัศน์ที่ได้ตั้งเอาไว้ ซึ่งในที่นี้คือ ”การสร้างชุมชนริมน้ำ�ใหม่” กล่าวคือการฟื้นคืนความสำ�คัญให้แก่ คลอง ในชุมชนบางยี่ขัน ทั้งเชิงการ ศึกษาหาความรู้ระบบนิเวศน์ วิถีชีวิต ชุมชน การพักผ่อนหย่อนใจ รวมไป ถึงในแง่ของการท่องเที่ยวที่จะเกิดขึ้น มาในอนาคต นอกจากนี้สมาชิกในกลุ่ม จะได้รับมอบ หมายให้ออกแบบสถาปัตยกรรม ที่ จะมาเป็นองค์ประกอบของชุมชน ทั้ง ที่เป็นอาคารสาธารณะ อาคารเชิง พาณิชย์ และอาคารพักอาศัย โดยข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ ออกแบบอาคาร2แห่งด้วยกัน ซึ่งที่ตั้ง ในผังแม่บทนั้น คือจุดที่ไฮไลท์สีแดงใบ ผังบริเวณด้ายล่าง



02-1 Neighborhood Housing

Type: Housing เป็นโครงการที่ออกแบบเพื่อเป็นที่พัก อาศัยสำ�หรับกลุ่มคนอยู่ใหม่ที่คาดว่าจะ Area: 8,480sq.m. FAR 1:2.81 เข้ามาภายใน โครงการ โดยคาดว่าจะเป็นกลุ่มของ คน ทำ�งาน และวัยรุ่นเป็นหลัก โดยแนวคิดคือการเอาคลองเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของพื้นที่ส่วนกลาง โดยให้ยทุก ยูนิตมีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของคลอง

elevation 1

section A-A

elevation 2

section B-B

second floor plan

ground floor plan

third floor plan

forth floor plan


02-2 Central Co-working Space Type: Cow-working Space Area: 2,000sq.m. FAR 1:1.2

โครงการนี้เป็นพื้นที่รองรับกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่จะเข้ามา ในพื้นที่ โดยติดกับถนนที่สามารถเชื่อมต่อไปยังถนน ใหญ่ได้ โดยฟังก์ชั้นในโครงการมีตั้งแต่พื้นที่ทำ�งาน ห้องประชุม รวมไปถึงลานแสดงกลางแจ้งที่สามารถ เชื่อมต่อและนอกจากนี้ทุกส่วนของโครงการสามารถ เปิดมุมมองสู่คลองได้

ground floor plan

elevation 1

elevation 2

elevation 3

elevation 4

section A-A

section B-B

second floor plan


03 B1 : 21st Century Museum Honorary Mention Award B1 Competition 2014 Type: Museum Area : 6,700 sq.m.

โปรเจคนี้เกิดขึ้นจากการประกวดแบบของ B-1 competition 2014 ในหัวข้อพิพิธภัณฑ์สำ�หรับ ศตวรรษที่21 และต้องเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ลอยน�้ำ จากโจทย์นี้ทำ�ให้เราได้ตีความถึงการใช้พิพิทธพัณฑ์ซึ่ง จะส่งผลถึงวิถีชีวิตของคนไทยศตวรรตที่21 โดยเลือกที่ตั้งที่ท่าเรือสาทร ซึ่งเป็นท่าเรือที่มีความ พลุกพล่านเพราะเป็นพื้นที่ๆมีการขนส่งสาธารณะหลาก หลาย และใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่บริเวณนี้มาเป็น โจทย์สำ�คัญและนำ�มาซึ่งงานออกแบบที่จะช่วยแก้ไข ปัญหาเหล่านี้และสามารถสร้างพิพิธภัณฑ์ใหม่ให้แก่ คนในพื้นที่ด้วยเช่นกัน ซึ่งจากที่กล่าวมานั้น โครงการนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่ นอกจะทำ�หน้าที่เป็นพิพิธภัณฑืในศตวรรษที่ 21แล้ว ยังวีวัตถุประสงค์อีกประการคือการเป็นพื้นที่ ที่รองรับ วิถีชีวิตของผู้คนในเมืองกรุงเทพมหานคร ทั้งในยุค ปัจจุบันและในอนาคตต่อไป



ในส่วนของตัวพิพิธภัณฑ์ได้มีการจัดพื้น ให้แก่นิทรรศการสองแบบคือ นิทรรศการประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และนิทรรศการเทคโนโลยี ซึ่งมองว่าลักษณะการใช้พื้นที่ๆต่างกัน ซึ้งจะเป็นทั้งลักษณะของนิทรรศการที่มี ทางสัญจรเป็นเส้นตรงและนิทรรศการที่ มีพื้นที่อิสระ นำ�มาซึ่งก่อเกิดเป็นรูปร่างของอาคาร



04 The First Apartment Under Construction Project Type: Housing Area : 2,000 sq.m.

โครงการนี้เป็นออกแบบอพาร์ตเมนท์ที่ตั้งอยู่บริเวณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยโจทย์ที่ได้รับมาคือ การออกแบบFacade อาคารใหม่ทั้งหมด รวมไปถึง ออกแบบภายใน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือนักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยาชภัฏสวนสุนันทา นครปฐม โดยได้มีส่วนร่วมตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบรวมไปถึง การเขียนแบบก่อสร้าง เลือกวัสดุและสเปค รวมทั้งได้ ได้มีส่วนร่วมกับการลงพื้นที่ก่อสร้างอีกด้วย



interior perspective

front elevation building B

back elevation

schematic isometric

front elevation building C

side elevation



05 Talung Museum

Architect Assistant at ADLAB (2014) Type: Folk Museum Area : 520 sq.m. โปรเจคนี้มีการได้ร่วมงานกับบริษัท ADLAB ลงไปสำ�รวจ พื้นที่ วัดยาง ณ รังสี, ต.ตะลุง, จ.ลพบุรี โดยที่ความ ต้องการของคนในพื้นที่คือ ต้องการที่จะสร้างพิพิธพัณฑ์ พื้นบ้าน เพื่อสืบทอดวิถีชีวิตพื้นบ้านของคนในชุมชน โดยวัสดุที่เลือกใช้ ใช้เป็นผนังคอนกรีตเสริมเหล็กเป็น โครงสร้างรับหลังคาและ อิฐศิลาแลงเป็นหลัก เนื่องจากเป็น วัสดท้องถิ่นเพื่อลดต้นทุนการก่อสร้าง ภายในมีการแบ่งการใช้งานออกเป็นส่วนๆแต่ยังคงทำ�งาน ร่วมกับพื้นที่แสดงนิทรรศการภายนอกซึ่งต้องการให้เป็น พื้นที่ยิดหยุ่นรวมตัวของคนในชุมชนอีกด้วย


layout

ground floor plan

cross section

elevation 1

longitudinal section

elevation 2


06 New NHA VILLEGE

Honorary Mention Award NHA Competition 2013 Type: Masterplanning, Housing, Public Space Area : 160,000 sq.m. โปรเจคนี้เป็นงานประกวดแบบที่จัดโดยการเคหะแห่งชาติ ซึ่ง โจทย์ได้แก่ การออกแบบบ้านและชุมชนสำหรับคนที่มีราย ได้ระดับกลางจนถึงล่าง โดยตัวโครงการจะต้องประกอบไป ด้วยบ้านเดี่ยวกว่า 400ยูนิต และส่วนบริการสาธารณะอื่นๆ ซึ่งแนวความคิดหลักของงานนี้คือต้องการจะให้เกิดพื้นที่สี เขียวภายในโครงการมากที่สุด โดยจะมีพื้นที่สาธารณะตรง กลางเชื่อมตั้งแต่เหนือจรดใต้ของโครงการของโครงการและ สร้างทามงจักรยานเชื่อมเข้าหากัน และเข้าหาพื้นที่ส่วนกลาง และสร้างให้เกิดสวนของแต่ละบ้านมีขนาดที่ใหญ่เพื่อที่จะได้ เกิดการใช้งานที่ดี แนวความคิดของบ้านในโครงการต้องการให้แต่ละบลอค เกิด การแชร์พื้นที่สวนกันเพื่อให้ได้พื้นที่ขนาดใหญ่ขึ้นในแต่ละบ้าน และสร้างความไหลลื่นของการใช้งานในสวนนั้นๆ จึงเกิดเป็น บ้านที่มีสองชนิดด้วยกัน ตามที่เห็นด้านบน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.