PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY นางสาวสุภาพร ชูสุทธิ์ สถ.3/2 เลขที่ 32 รหัสนักศึกษา 116411001103-1
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 01 PROJECT DETAIL
ห้องสมุดประชาชน การพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งความรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมทักษะการเข้าถึงแหล่ง สารสนเทศของผู้รับบริการ
เป้าหมาย เพื่อให้มีบริการห้องสมุดอย่างทั่วถึง มีทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายรูปแบบ เพื่อ สร้างสังคมแห่งความรู้และการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการอ่าน การเรียนรู้ และนำความรู้มาใช้ ประโยชน์ และเป็นศูนย์รวมของกิจกรรมด้านวัฒนธรรมของท้องถิ่น เป็นแหล่งส่งเสริมให้ ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ พื้นที่ห้องสมุดตั้งอยู่บริเวณศูนย์กลางของชุมชน สามารถรับบริการทุกกลุ่มเป้าหมายและการ ขยายพื้นที่ในอนาคต
อาคารขนาดใหญ่ประเภทอาคารเพื่อการศึกษา อาคารทางวัฒนธรรม ขนาดพื้นที่อาคารไม่น้อยกว่า 2,000 และไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ที่ตั้งโครงการไม่เกิน 2 ไร่
Table Content page
บทนำ ที่มาความสำคัญ วัตถุประสงค์โครงการ Site Analysis User Analysis Area Requirement Case Study Building System Law Concept Draft Final Presentation
01-03 04-07 08 09-15 16-23 24 25-31 32-33 34-36 37
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 02 PROJECT DETAIL
ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ และหาความรู้ด้วยตัวเองโดยในแต่ละจังหวัดได้มีการจัดตั้งหอสมุดชุมชนภายในจังหวัดขึ้น เช่นเดียวกันในจังหวัดปทุมธานี การตั้งพื้นที่หอสมุดชุมชนจังหวัดปทุมธานีเพื่อ ส่งเสริมพื้นที่การเรียนรู้ตลอดชีวิตภายในชุมชน ให้เกิดการรวมตัวกันทางสังคม ของคนในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง แต่ปัจจุบันพื้นที่ห้องสมุดชุมชนภายในจังหวัดนั้นไม่สามารถครอบคลุมพื้นที่การใช้ งานของคนในแต่ละพื้นที่มากนัก บางชุมชนยังไม่มีแหล่งเรียนรู้ หาความรู้ด้วยตัวเอง ดังนั้นจึงเกิดโครงการห้องสมุดชุมชน โดยจัดตั้งอยู่ในใจกลางชุมชนที่เป็นแหล่งรวมตัวกัน เพื่อการเข้าถึงที่ง่ายและใกล้กับพื้นที่พักอาศัยของคน
ความสำคัญของหอสมุดชุมชน เพื่อส่งเสริมการอ่าน การเรียนรู้ ค้นคว้าด้วยตัวเอง และให้ประชาชนในพื้นที่ได้เข้าใจถิ่นที่อยู่ของตนเองมาขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในชุมชนใกล้เคียง ทุกเพศทุกวัย
วัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชากร
เพื่อจัดทั้งศูนย์การเรียนรู้ เกี่ยวกับความเป็นมา ประเพณี และเรียนรู้การทำสินค้า OTOP ประจำจังหวัด
1,250,000
แหล่งเรียนรู้ภายในจังหวัดปทุมธานี -อนุสรณ์สถานแห่งชาติ -พิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ -องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ -พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า -พิพิธภัณฑ์บัว มทร.ธัญบุรี -ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ท้องฟ้าจำลอง -หออัครศิลปิน -พิพิธภัณฑ์โชคชัยรังสิต
เศรษฐกิจ
1,000,000
750,000
53%
70% 500,000
พื้นที่ทำการเกษตร
นิคมอุตสาหกรรม
250,000
0
25502554
25552559
25602564
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 03 PROJECT DETAIL
แผนที่เขตเทศบาล
เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล
แผนที่อำเภอ 1.เมืองปทุมธานี 2.คลองหลวง 3.ธัญบุรี 4.หนองเสือ
ประเภทของที่ดินภายในจังหวัด
5.ลาดหลุมแก้ว 6.ลำลูกกา 7.สามโคก เขตพื้นที่รอบนอกจังหวัด
-อำเภอลาดบัวหลวง -อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ดินประเภทชุมชน -อำเภอบางประอิน ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า -อำเภอวังน้อย ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ -อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม -อำเภอบ้านนา ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม -อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา -อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา -เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา -เขตคลองสามวา -เขตสายไหม -เขตดอนเมือง -อำเภอปากเกร็ด -อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี -อำเภอไทรน้อย
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 04 SITE ANALYSIS
SITE LOCATION
ขอบเขตของชุมชน
SITE ตั้งอยู่ในชุมชนซอยวัดประยูรธรรมราม ซอยพหลโยธิน 83 เพื่อให้ คนในชุมชนได้ใช้หอสมุด หาความรู้ เพราะในชุมชนไม่มีแหล่งเรียนรู้สำหรับ คนในพื้นที่ และพื้นที่บริเวณท้ายชุมชน เป็นพื้นที่ที่คนในชุมชน เข้ามารวมตัว กันมากที่สุด เช่นการทำกิจกรรมทางศาสนา และการรวมตัวทำกิจกรรม
SITE
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 05 SITE ANALYSIS
LINKAGE&SUROUNDING
พื้นที่ส่วนบุคคล
พื้นที่ว่าง
สถานที่ใกล้เคียง พื้นที่เคียงกับชุมชน บริเวณด้านหน้าโครงการตรงข้ามกับวัดประยูรธรรมราม ที่เป็นพื้นที่ จัดกิจกรรมหลักของชุมชน เช่น กิจกรรมทางศาสนา ลาดกว้างสำหรับวิ่งเล่นของเด็กๆในชุมชน และพื้นที่ เขตการเลือกตั้ง พื้นที่ด้านซ้ายติดกับพื้นที่ส่วนบุคคล และพื้นที่ด้านหลังของโครงการติดกับพื้นที่ว่าง สภาพแวดล้อมโดยรอบ อยู่ใกล้กับพื้นที่วัดซึ่งเป็นพื้นที่ร่วมตัวกันทำกิจกรรมภายในชุมชนเป็นส่วนใหญ่ ส่วนทางด้านหลังติดกับพื้นที่ว่าง และใกล้กับพื้นที่อยู่อาศัย และพื้นที่ข้างวัดเป็นสถานีอนามัย
TRANSPORTATION&ACCESS
สามแยก เส้นทางเชื่อมต่อพื้นที่ชุมชน วัด และที่ตั้งโครงการ
วัด
พื้นที่พักอาศัยชุมชน
สถานีอนามัย
LOCATION
วัดประยูรธรรมราม ซอยพหลโยธิน 83 ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 06 SITE ANALYSIS
พื้นที่ส่วนบุคคลข้างเคียง มีแหล่งน้ำและต้นไม้จำนวนมาก เป็นมุมมองที่ดีของโครงการ
พื้นที่ว่างเปล่า สามารถขยายโครงการได้ในอนาคต
SITE หน้าโครงการตรงข้ามกับวัด ชั้นสองสองตัวอาคารสามารถ มองเห็นหลังคาวัด และอาคารของวัด
พื้นที่ชุมชน ตัว site โครงการตั้งอยู่ใกล้หัวมุม ที่เป็นมุมมองสามารถเชื้อเชิญเข้าสู่โครงการ
APPROACH มุมมองจากด้านนอก site
มุมซ้ายด้านหน้าของ SITE
มุมมองจากด้านใน site
มุมด้านหน้าของ SITE
มุมขวาด้านหน้าของ SITE
มุมด้านหลังของ SITE
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 07 SITE ANALYSIS
ACCESS
Public routes
VIEWS
Public views out
Private routes
Private view in
SITE
SITE
SUN PATHS
WIND PATTERNS
WINTER
RAINY
SUMMER
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 08 USER ANALYSIS
LOCAL ACTIVITY
USER TYPE
RIDE A BICYCLE
CHILD
RUNING
TEEN&ADULT
PRAYING AT TEMPLE
ELDER
CHILD 6-12 YEARS
TEEN&ADULT 30-50 YEARS
ELDER 50+ YEARS
Program
Program
Program
library สำหรับเด็กอายุ 6-12
library เรื่องออกกำลังกาย
จัดนิทรรศการ โดยใช้การปั่นจักรยานเพื่อเป็นการเริ่มต้น
การฟังบรรยายให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย
ขับเคลื่อนสื่อการเรียนรู้
เครื่องเล่นออกกำลังกายแบบ outdoor เพื่อให้เห็นความ สัมพันธ์ของคน ง่ายต่อการเข้าถึงแบบทุกเพศทุกวัย
library เครื่องเสียง แบบอ่านให้ฟังสำหรับผู้สูงอายุบาง คนที่อ่านหนังสือไม่ออก work shop สานกระเป๋า เพื่อส่งเสริม local activity
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 09 AREA REQUIREMENT รายละเอียดโครงการ : พื้นที่อาคารไม่น้อยกว่า 2,000 ตารางเมตร และไม่เกิน 5,000 ตารางเมตร ความสูง 23 เมตร และที่ตั้งโครงการไม่เกิน 2 ไร่ (3,200 ตารางเมตร) องค์ประกอบหลักของโครงการ พื้นที่ห้องสมุดและส่งเสริมการเรียนรู้ 50 % พื้นที่ห้องสมุด - แหล่งรวบรวมหนังสือ แผ่นเพลงเก่า และสื่อให้ความรู้แบบแผ่นเสียง พื้นที่ออกกำลังกายเพื่อการเรียนรู้ กึ่ง outdoor พื้นที่จัดนิทรรศการ พื้นที่การเรียนรู้และให้ความรู้ 10 % พื้นที่การเรียนรู้จากการฟังบรรยาย (Lecture room) รองรับได้ 30 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อง ห้องประชุมสัมมนา (Seminar room) รองรับได้ 20 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อว ห้องประชุมสัมมนา (Seminar room) รองรับได้ 10 ที่นั่ง จำนวน 2 ห้อว ห้องประชุมสัมมนา (Seminar room) รองรับได้ 6 ที่นั่ง จำนวน 3 ห้อว ห้องประชุมสัมมนา (Seminar room) รองรับได้ 100 ที่นั่ง จำนวน 1 ห้อว พื้นที่การเรียนรู้ปฎิบัติการ (Work shop) 15 % พื้นที่ work shop สานกระเป๋า พื้นที่สร้างสรรค์โดยนักศึกษา 15 % พื้นที่ฉายหนังกลางแปลง - ให้คนในชุมชนได้เข้าถึงความบันเทิง และได้พบปะกันมากขึ้น พื้นที่ส่วนสำนักงาน (Administrator) 5 % พื้นที่สำหรับเจ้าหน้าที่โครงการ จำนวน 10 คน พื้นที่ส่วนบริการ (Service) 5 % ห้องเก็บอุปกรณ์ เก็บของ ห้องระบบรักษาความปลอดภัย ห้องระบบต่างๆ เช่น ห้องควบคุมไฟในอาคาร ห้อง Pump ห้องแม่บ้าน ห้องเจ้าหน้าที่ดูแลอาคาร ห้องน้ำ พื้นที่จอดรถยนต์ และมอเตอร์ไซต์
PRIVACY ANALYSIS TENTATIVE PROGRAM PUBLIC lobby parking ลานอเนกประสงค์ outdoor
SEMI PRIVATE ห้องน้ำ Seminar room
SEMI PUBLIC work shop Lecture room โรงหนังกลางแปลง พื้นที่ห้องสมุด พื้นที่จัดนิทรรศการ
SERVICE ห้องเก็บอุปกรณ์ เก็บของ ห้องระบบต่างๆ เช่น ห้องควบคุมไฟในอาคาร ห้องแม่บ้าน ห้องเจ้าหน้าที่ดูแลอาคาร ห้องน้ำ
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 10 AREA REQUIREMENT
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 11 AREA REQUIREMENT
ความต้องการพื้นที่ และปริมาณผู้ใช้ ช่วงเวลาทำการ 9.00 - 19.00 = 10 ชั่วโมง/วัน คนใช้บริการ 500 คน/วัน 1.ห้องสมุด จากผู้ใช้บริการทั้งหมด คิดเป็น 20 % ของผู้ใช้ต่อวัน จะได้จำนวนผู้ใช้บริการ = 500x20/100 = 100 คน พื้นที่อ่านหนังสือ 1 ที่นั่ง ใช้พื้นที่ 1.00x2.42 = 2.42 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่อ่านหนังสือ/คน = 2.42x100 = 242 ตร.ม. x2(พื้นที่อุปกรณ์ที่ใช้ภายใน Area) = 484 ตร.ม. x 30% = 145.2 ตร.ม. = 484 + 145.2 = 659.20 ตร.ม.
2.หนังกลางแปลง รองรับ = 40 คน / 1 ที่นั่ง ใช้พื้นที่ = 1.10 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่นั่ง/คน = 1.10x40 = 44 ตร.ม. x2(พื้นที่อุปกรณ์ที่ใช้ภายใน Area) = 88 ตร.ม. x 30% = 26.4 ตร.ม. = 88+26.4 = 114.4 ตร.ม.
3.พื้นที่จัดนิทรรศการ รองรับ = 100 คน / 1 คนยืน ใช้พื้นที่ = 0.80x0.80 = 0.64 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่/คน = 0.64x100 = 64 ตร.ม. x2(พื้นที่อุปกรณ์ที่ใช้ภายใน Area) = 128 ตร.ม. x 30% = 38.40 ตร.ม. = 128 + 38.40 = 166.40 ตร.ม.
4. Lecture room รองรับ = 30 คน / 1 ที่นั่ง ใช้พื้นที่ = 1.50 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่/คน = 1.5x30 = 45 ตร.ม. x 2 ห้อง = 90 ตร.ม.
5. Seminar room รองรับ = 20 คน = 45 ตร.ม. รองรับ = 10 คน = 15 ตร.ม. x 2 = 30 ตร.ม. รองรับ = 6 คน = 12 ตร.ม. x 3 = 36 ตร.ม. รองรับ = 100 คน = 120 ตร.ม.
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 12 AREA REQUIREMENT
ความต้องการพื้นที่ และปริมาณผู้ใช้ 6. Work shop
9. Service
รองรับ = 30 คน / 1 ที่นั่ง ใช้พื้นที่ = 2.42 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่/คน = 2.42x30 = 72.60 ตร.ม. x2(พื้นที่อุปกรณ์ที่ใช้ภายใน Area) = 145.20 ตร.ม. x30% = 43.56 ตร.ม. = 145.20 + 43.56 = 188.76 ตร.ม.
ห้องเก็บของและเก็บอุปกรณ์ = 15% ของพื้นที่ work shop = 188.76x15/100 = 28.31 ตร.ม.
7.ลานอเนกประสงค์
ห้องน้ำ 2 ห้อง(ชาย-หญิง) = 6X4 = 24 ตร.ม. X2 = 48 ตร.ม.
รองรับ = 60 คน / 1 คนยืน ใช้พื้นที่ = 0.64 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่/คน = 0.64x60 = 38.4 ตร.ม. x2(พื้นที่อุปกรณ์ที่ใช้ภายใน Area) = 76.8 ตร.ม. x30% = 23.04 ตร.ม. = 76.8 + 23.04 = 99.84 ตร.ม.
8.พื้นที่สำนักงาน LOBBY สามารถคิดพื้นที่จากจำนวนผู้ใช้โครงการและระยะเวลาการใช้งานดังนี้ ผู้ใช้ 500 คน/วัน จะได้ปริมาณเฉลี่ยของผู้ใช้ 500/10 = 50 คน 1 ที่พื้นที่ยืนใช้พื้นที่ = 0.60 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่ของ lobby = 0.60x50 = 30 ตร.ม. x 30% = 9 ตร.ม. = 30 + 9 = 39 ตร.ม. OFFICE ADMINISTRATOR รองรับ = 10 คน / 1 ที่นั่ง ใช้พื้นที่ = 4 ตร.ม. ดังนั้น พื้นที่สำนักงาน = 4x10 = 40 ตร.ม.
พื้นที่ในโครงการทั้งหมด(ไม่รวมพื้นที่จอดรถ) = 1,707.91 ตร.ม. x 30%(พื้นที่สัญจรภายในโครงการ) = 512.373 ตร.ม. ดังนั้นพื้นที่ภายในโครงการรวมทั้งหมด = 1,707.91 + 512.373 = 2,220.283 ตร.ม.
ห้องงานระบบ = 12 ตร.ม.
CCTV = 12 ตร.ม. MAID ROOM = 3X2 = 6 ตร.ม. MDB = 3X4 = 12 ตร.ม.
10.Parking พื้นที่ 120 ตารางเมตร / 1 คัน พื้นที่โครงการทั้งหมด = 2,220 ตร.ม. พื้นที่จอดรถ 1 คัน = 2.40x5.00 = 12 ตร.ม./คัน ดังนั้นพื้นที่จอดรถในโครงการคิดเป็น 2,220 ตร.ม. /120 ตร.ม./คัน จะสามารถจอดได้ 18 คัน ดังนั้น พื้นที่จอดรถ = 12 ตร.ม/คัน x 18 คัน = 216 ตร.ม.
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 13 AREA REQUIREMENT
สรุปพื้นที่ใช้สอยในโครงการ รายละเอียด
รองรับจำนวนผู้ใช้(คน)
จำนวนห้อง
พื้นที่ต่อห้อง (ตร.ม.)
พื้นที่รวม (ตร.ม.)
ห้องสมุด
100
1
660
660
โรงหนังกลางแปลง
40
1
115
115
พื้นที่จัดนิทรรศการ
100
1
167
167
Lecture room
30
2
45
90
100
1
120
120
20
1
45
45
10
2
15
30
6
3
12
36
30
1
189
189
Seminar room
Work shop
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 14 AREA REQUIREMENT
สรุปพื้นที่ใช้สอยในโครงการ รายละเอียด
รองรับจำนวนผู้ใช้(คน)
จำนวนห้อง
พื้นที่ต่อห้อง (ตร.ม.)
พื้นที่รวม (ตร.ม.)
ลานอเนกประสงค์
60
1
100
100
Lobby
50
1
40
40
office administrator
10
1
40
40
ห้องเก็บของและเก็บอุปกรณ์
-
1
29
29
ห้องน้ำ
-
2
24
48
ห้องงานระบบ
-
1
12
12
MDB
-
1
12
12
CCTV
-
1
12
12
Maid Room
-
1
6
6
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 15 AREA REQUIREMENT
รายละเอียด
รองรับจำนวนผู้ใช้(คน)
จำนวนห้อง
พื้นที่ต่อห้อง (ตร.ม.)
พื้นที่รวม (ตร.ม.)
รวมพื้นที่
1,707.91
พื้นที่สัญจร 30%
512.373
พื้นที่รวม + พื้นที่สัญจร 30%
2,220
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 16 CASE STUDY
Terrace
Children’s playground Grand auditorium
MOUNTAIN HOUSE IN MIST Jinhua, China APPOINTMENT : 2018 COMPLETION : 2018
square Reception center
AREA : 156 SQ.M. ARCHITECTS : SHULIN ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT OWNER : HONGFU TOURISM GROUP CO.LTD
archdaily.com
Ancient trees
พื้นที่ตั้งโครงการ - โครงการตั้งอยู่ใจกลางชุมชน เป็นพื้นที่ศูนย์รวมของผู้คนในพื้นที่ที่มารวมตัวกัน ใกล้กับสนามเด็ก เล่น หอประชุม จุดบริการชุมชน
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 17 CASE STUDY
บ้านหลังคาไม้
ยกตัวอาคารให้เป็นใต้ถุนสูง เพื่อเป็นพื้นที่กิจกรรม และเชื่อมต่อพื้นที่ด้านบน
เจาะพื้นที่เพื่อกักเก็บน้ำฝน
เพิ่มบันได เพื่อเชื่อมต่อพื้นที่ที่ระดับสูงกว่า
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 18 CASE STUDY
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 19 CASE STUDY
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 20 CASE STUDY
HANNAE FOREST OF WISDOM Nowon-Gu, South Korea APPOINTMENT : 2017 COMPLETION : 2017 ARCHITECTS : UNSANGDONG ARCHITECTS
archdaily.com
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 21 CASE STUDY
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 22 CASE STUDY
OPEN AIR LIBRARY Magdeburg, Germany APPOINTMENT : 2005 COMPLETION : 2009 AREA : 488 SQ.M. ARCHITECTS : KORO ARCHITEKTEN Section
Back side Elevation
archdaily.com
Front Elevation
Left side Elevation
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 23 CASE STUDY
stage
city shelf seating terrace
tree grove
youth corner
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 24 BUILDING SYSTEM
1.ระบบไฟฟ้า (Electrical Systems) -ระบบไฟแสงสว่าง (light and receptacle system) -ห้อง RMU. (Ring Main Unit) รับไฟฟ้าจากนอกอาคาร -ห้อง MDB (Main Distribution Board) -ตู้ DB. (Distribution Board) 2.ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ (Heating, Ventilation and Air Conditioning; HVAC System) -ระบบทำความเย็น (Air Conditioning System) -ระบบเครื่องปรับอากาศแบบรวมศูนย์ระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air Cooled Water Chiller) 3.ระบบสุขาภิบาล (Sanitary System) และระบบท่อภายในอาคาร (Plumbing System) -ระบบจ่ายน้ำดีหรือประปา (Water Supply System) -ระบบบำบัดน้ำเสีย (Wastewater Supply System) -ระบบน้ำโสโครก (Wastewater Drainage System) -ระบบระบายน้ำทิ้ง (Drainage System) 4.ระบบขนส่งภายในอาคาร (Transportation System) -ระบบลิฟต์ (Elevator) ระบบไฮดรอลิค 5.ระบบป้องกันอัคคีภัยและดับเพลิง (Fire Alarm and Protection System) -ระบบสัญญาณเตือนไฟไหม้ (Fire Alarm) 6.ระบบรักษาความปลอดภัย (Security System) -ระบบกล้องทีวีวงจรปิด (Closed Circuit TV; CCTV)
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 25 LAW กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 พ.ศ. 2543 ประเภทอาคาร ข้อ 1 “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้ประโยชน์ในการชุมชุมคนได้ทั่วไป เพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการ พาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศุนย์การค้า สถานบริการ ท่า อากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น “อาคารขนาดใหญ่” หมายความว่า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตรขึ้นไป และมี พื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ด่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด พื้นที่ภายในอาคาร ข้อ 21 ช่องทางเดินในอาคาร สาธารณะ กว้าง 1.50 เมตร
≥ 1.50 เมตร
บันได ข้อ 24 อาคารสาธารณะ อาคารที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิ ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอย่างน้อยสองบันได และ แต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร บันไดต้องมีลูกตั้งไม่เกิน 18 เซนติเมตร ลูกนอนไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร ข้อ 25 บันไดตามข้อ 24 จะต้องมีระยะห่างไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุดบนพื้นชั้นนั้น
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 26 LAW กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 พ.ศ. 2543 บันไดหนีไฟ ข้อ 27 อาคารสูงตั้งแต่สี่ชั้นขึ้นไปและสูงไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารที่สูงสามชั้นและมีดาดฟ้าเหนือชั้นที่สามที่มีพื้นที่เกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบันไดของอาคารตามปกติแล้ว ต้องมีบันไดหนีไฟที่ทำด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อยหนึ่งแห่ง และต้องมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนั้นได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง ข้อ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร ข้อ 32 พื้นหน้าบันไดหนีไฟต้องกว้างไม่น้อยกว่าความกว้างของบันไดและอีกด้านนึงกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 27 LAW กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 พ.ศ. 2543 ที่ว่างภายนอกอาคาร ข้อ 33 อาคารสาธารณะ ต้องมีที่ว่างไม่น้อยกว่า 10 ใน 100 ส่วน ของพื้นที่ชั้นใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุดของอาคาร แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 41 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 3 เมตร ถ้าถนนสาธารณะมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 6 เมตร
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 28 LAW กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 พ.ศ. 2543 แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 50 ผนังของอาคารที่มีหน้าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรือช่องแสง หรือระเบียงของอาคารต้องมีระยะห่างจากแนวเขตที่ดิน ดังนี้ 1. อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรือระเบียงต้องอยู่ห่างเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 2 เมตร 2. อาคารที่มีความสูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังหรือระเบียงต้องอยู่ห่างเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 3 เมตร
อาคารสูงไม่เกิน 15 เมตร ไม่มีช่องเปิด ระยะร่นอย่างน้อย 0.5 เมตร แต่หาก เพื่อนบ้านเซ็นยินยอมสามารถสร้างชิดเขตที่ดินได้
อาคารสูง 15-23 เมตร ไม่มีช่องเปิด ระยะร่นอย่างน้อย 0.5 เมตร
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 29 LAW กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2517 จำนวนที่จอดรถ ข้อ 3 ในเขตเทศบาลทุกแห่งหรือในเขตท้องถิ่นที่ที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479 ใช้บังคับ -อาคารขนาดใหญ่ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่อาคาร 240 ตารางเมตร ข้อ 8 ทางเข้าออกของรถยนต์ต้องกว้างไม่น้อยกว่า 6 เมตร
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 30 LAW กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือผู้ทุพพลภาพ และคนชรา ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2564 ข้อ 3 อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา -อาคารที่ให้บริการสาธารณะ ข้อ 8 ทางลาดให้มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ - มีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ในกรณีเป็นทางลาดแบบสองทางสวนกันให้มีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร - มีพื้นที่หน้าทางลาดเป็นที่ว่างยาวไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร - มีความลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีความยาวช่วงละไม่เกิน 6 เมตร ในกรณีที่ทางลาดยาวเกิน 6 เมตร ต้องจัดให้มีชานพักยาวไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร คั่นระหว่างแต่ละช่วงของ ทางลาด
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 31 LAW กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือผู้ทุพพลภาพ และคนชรา ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2564 ข้อ 10 ลิฟต์ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ - ขนาดของห้องลิฟต์ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.6 เมตร ยาวไม่น้อยกว่า 1.4 เมตร สูงไม่น้อยกว่า 2.3 เมตร และมีช่องกระจกใสนิรภัยที่สามารถมองเห็นระหว่างภายนอกและภายในได้ - ช่องประตูลิฟต์ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ข้อ 12 ที่จอดรถ - จำนวนที่จอดรถไม่เกิน 25 คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คัน - จำนวนที่จอดรถตั้งแต่ 26 คัน แต่ไม่เกิน 50 คัน ให้มีที่จอดรถไม่น้อยกว่า 2 คัน ข้อ 14 ที่จอดรถต้องกว้างไม่น้อยกว่า 2.4 เมตร และยาวไม่น้อยกว่า 6 เมตร และจัดให้มีที่ว่างด้าน ข้างที่จอดรถกว้างไม่น้อยกว่า 1 เมตร ตลอดความยาวของที่จอดรถ
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 32 CONCEPT
CONCEPT TIME
ความสัมพันธ์ของ “คน” และ “เวลา” ใช้แสงและเงา เป็นเครื่องมือในการบอกเวลา ผ่าน space ภายใน เพื่อให้ user ที่ใช้อาคารเข้าใจเวลา เมื่อเข้ามาใช้งานในพื้นที่
activity loop
แสงที่ส่องเข้ามาในอาคารในแต่ละห้อง ทำให้ user ที่ทำกิจกรรมภายในอาคารมองเห็น เวลาจากแสงแดดที่ส่องเข้ามาในพื้นที่ light
มีคอร์ดหลายจุดภายในอาคาร เพื่อให้ user ที่กำลังใช้งานรับรู้เวลาผ่านแสงและเงาที่เข้า มากลางคอร์ด
กิจกรรมที่เกิดขึ้น แบบเวลา ที่มีความเคลื่อนไหว และลื่นไหล มีการใช้งานวนกันแบบเวลา activity loop
A
B -แบ่งการใช้สอยของอาคารเป็นสองส่วน -มีแสงเข้าพื้นที่ระหว่างคอร์ด -ข้อเสีย พื้นที่ด้านในรับแสงไม่ทั่งถึง
-มีคอร์ดเป็นพื้นที่ในการเชื่อมพื้นที่ในอาคารเพิ่ม และเป็นเครื่องมือในการบอกเวลามากขึ้น -แต่ละพื้นที่การใช้งานได้รับแสงมากขึ้น -กลุ่มอาคารแยกตัวกันแบ่งเป็นโซนโดยใช้คอร์ด เป็นตัวกั้น
C
D บิดตัวอาคารเพื่อได้รับแสงมากขึ้น และเปิดรับมุมมองเข้าสู่ตัวอาคาร -มีคอร์ดเป็นตัวเชื่อมพื้นที่รับแสง และการใช้งาน มากขึ้น มีการกระจายตัวของอาคารในแนวราบ -ด้านหน้าอาคารเป็นชั้นเดียวทำให้ด้านหลังได้รับ แสงมากขึ้น
A
B
C
PUBLIC
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 33 lobby CONCEPT parking ลานอเนกประสงค์ outdoor
SEMI PUBLIC
work shop Lecture room โรงหนังกลางแปลง พื้นที่ห้องสมุด พื้นที่จัดนิทรรศการ
SEMI PRIVATE
ห้องน้ำ Seminar room
SERVICE
ห้องเก็บอุปกรณ์ เก็บของ ห้องระบบต่างๆ เช่น ห้องควบคุมไฟในอาคาร ห้องแม่บ้าน ห้องเจ้าหน้าที่ดูแลอาคาร ห้องน้ำ
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 34 DRAFT
WEEK 1
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 35 DRAFT
WEEK 2
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 36 DRAFT
WEEK 3
PATHUMTHANI PUBLIC LIBRARY - 37 FINAL PRESENTATION