Prabot watpraluang edit58 10 9

Page 1

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่ น จังหวัดแพร่ นันทิกานต์ ฉาไธสง



พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ นันทิกานต์ ฉาไธสง



พระบฏ เป็ นผืนผ้าขนาดยาวที่เขียนภาพพระพุทธเจ้า พุทธประวัติ หรื อ ทศชาติ ชาดก แขวนหรื อห้อยอยูภ่ ายในอุโบสถ วิหาร หรื อศาลาการเปรี ยญ l และเพื่อ การ ประดับตกแต่งอาคารศาสนสถาน บ้างก็ใช้บูชาการไหว้แทนองค์พระ ปฏิมา แต่ส่วนล่างของผืนผ้ามักมีคำ� เขียนอุทิศ บอกชื่อผูส้ ร้างและวันเดือนปี ไว้ ด้วย ดังที่กล่าวมาแล้วว่า พระบฏในพื้นที่แถบนี้มีหน้าที่ใช้สอยร่ วมกับพิธีเทศ มหาชาติ โดยมีวตั ถุประสงค์ให้พระบฏนี้แสดงเรื่ องราวต่างๆ ที่เทศน์เป็ น รู ปธรรม เป็ นนิทรรศการเพื่อที่วา่ ชาวบ้านที่มาฟังเทศน์จะเกิดความเข้าใจ และ สามารถจดจ�ำเรื่ องราวได้ง่ายขึ้นอันจะส่ งผลให้สามารถรับรู ้ถึงค�ำสัง่ สอนที่ แฝงมากับเรื่ องราว อีกทั้งจิตรกรรมผืนผ้าพระบฏยังใช้แขวน ประดับในงาน พิธีกรรมทางศาสนา รวมทั้งงานมงคลและงานอวมงคลเพื่อเป็ นพุทธบูชา สร้างกุศลให้แก่ตนเอง และอุทิศส่ วนกุศลให้แก่ผทู ้ ี่ล่วงลับไปแล้ว หรื ออาจใช้ เพื่อการสะเดาะเคราะห์ ใช้ประดับอาคารศาสนาสถาน และบูชาผีสางเทวดา พระบฏส่ วนใหญ่ในล้านนานั้นที่พบมักจะนิยมเขียนเรื่ องพระเวสสันดร หรื อที่เรารู ้จกั กันทัว่ ไปว่า “ มหาชาติ ”

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 3


รู ปแบบของพระบฏ สามารถแบ่งได้เป็ น 5 ประเภท 1. ผืนผ้าขนาดยาว เขียนภาพลงเต็มทั้งผืน เป็ นภาพพระพุทธเจ้ายืนหรื อ ภาพพระพุทธเจ้ายืนภายในซุม้ พร้อมด้วยอัครสาวกซ้าย – ขวา 2. ผืนผ้าขนาดยาว แบ่งภาพออกเป็ น 2 ส่ วน ส่ วนแรกเป็ นพระพุทธเจ้า ยืนพระองค์เดียว หรื อขนาบข้างด้วยพระอัครสาวก และส่ วนที่สองเขียนภาพ เล่าเรื่ องในพุทธประวัติ หรื อพระมาลัย หรื อทศชาติ 3. ผืนผ้าขนาดยาว มีองค์ประกอบ 3 ส่ วน คือตรงกลางเป็ นพระพุทธเจ้า ยืนพระองค์เดียว หรื อขนาบข้างด้วยพระอัครสาวกที่ช่วงบนและช่วงล่างเขียน ภาพเล่าเรื่ องเกี่ยวกับสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ เช่น พุทธประวัติตอนพระพุทธเจ้า เสด็จโปรดพระพุทธมารดา หรื อพระมาลัยไปนมัสการพระจุฬามณี เจดีย ์ 4. ผืนผ้าขนาดยาว เขียนภาพเล่าเรื่ องเต็มทั้งเรื่ อง คือพระพุทธประวัติ พระมาลัย ทศชาติชาดก เวสสันดรชาดก รอยพระพุทธบาตร ฯลฯ 5. ผืนผ้าขนาดเล็กลง ประมาณ 50 X 70 เซนติเมตร หรื อ 50 X 50 เซนติเมตร เขียนภาพเล่าเรื่ องเป็ นตอนๆ ในพุทธประวัติ ชาดก หรื อชาดก ลงบนผืนผ้าที่นิยมกันมาก คือ เวสสันดรชาดก ทั้ง 13 กัณฑ์ เขียนเล่าเรื่ อง เป็ นตอนๆบนผืนผ้าแต่ละผืนซึ่งบางทีเรี ยกว่า ‘‘ ผ้าพระเวส ’’

4 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


บุญพระเวส ส�ำเนียงชาวอีสานจะอ่านว่า “ บุญผะเหวด ” หรื อ พระเวสสันดร เป็ น ประเพณี ที่ยดึ ถือปฏิบตั ิสืบมาตามคติความเชื่อของชาวอีสานที่วา่ หากผูใ้ ดได้ ฟังเทศน์เรื่ องพระเวสสันดรจบทั้ง 13 กัณฑ์ภายในการเทศน์ครั้งเดียวภายใน วันเดียวจะได้เกิดร่ วมชาติภพกับพระศรี อริ ยเมตไตย โดยบุญผะเหวดนี้จะท�ำ ติดต่อกัน 3 วัน วันแรกเป็ นวันเตรี ยมในวันแรกนี้ชาวบ้านจะช่วยกันจัดเตรี ยม สถานที่ ตกแต่งศาลาการเปรี ยญ วันที่สองเป็ นวันโฮมเป็ นวันเฉลิมฉลองพระ เวสสันดร ชาวบ้านรวมทั้งพระภิกษุสงฆ์จากหมู่บา้ นใกล้เคียงจะมาร่ วมพิธีมีท้ งั การจัดขบวนแห่เครื่ องไทยทานฟังเทศน์และแห่พระเวสเป็ นการแห่พระเวส สันดรเข้าสู่ เมือง เมื่อถึงเวลาค�่ำจะมีเทศน์เรื่ องพระมาลัยในเรื่ องพระมาลัยนี้จะ แสดงให้เห็นถึงที่มาของประเพณี บุญพระเวส ส่ วน -วันที่สามเป็ นงานบุญพิธี เป็ นวันที่มีเทศน์เวสสันดรชาดก ชาวบ้านจะร่ วมกันตักบาตรข้าวพันก้อนพิธี จะมีไปจนค�่ำชาวบ้านจะแห่แหนฟ้อนร�ำตั้งขบวนเรี ยงรายน�ำกัณฑ์เทศน์ กัณฑ์จอบ กัณฑ์หลอน มาถวายพระ พระสงฆ์จะเทศน์เรื่ องเวสสันดรชาดกจน จบ และเทศน์อานิสงส์อีกกัณฑ์หนึ่งจึงเสร็ จพิธี

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 5


ความงามของภาพพระบฏ วัดพระหลวง พระบฏของวัดพระหลวงนั้นเป็ นงานช่างโบราณที่มีแบบแผนของตนเอง มีการวางแผน และการจัดล�ำดับในการวาด มีโครงสี ที่เป็ นโครงสี ที่แปลกตาคือ สี ดำ� และสี ชมพูสะท้อนแสง ในทางความงามสี ชมพูไม่มีปรากฏที่ไหนมาก่อน ในการเขียนภาพพระบฏ เป็ นการวาดรู ปที่สอดแทรกวิถีชีวติ ของคนล้านนา บวกกับความเป็ นพื้นถิ่นของดินแดนล้านนาไว้ในภาพพระบฏ ซึ่งเมื่อชาดกอยู่ ที่ไหนด้วยบริ บทต่างๆ ชาดกก็จะมีความเป็ นพื้นถิ่นที่แตกต่างกันไป ด้วยจิตนา การของช่างผูว้ าดนั้นเอง ช่างได้รับอิทธิพลต่างๆ ไม่วา่ เป็ นสี ที่สดใสของพม่า และการวาดงานสถาปัตยกรรมคล้ายภาคกลางด้วย บวกกับจิตนาการของช่าง จึงเกิดมาเป็ นพระบฏของวัดพระหลวง

6 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


พระบฏนี้มีความพิเศษตรงที่มีการเขียนกัณฑ์กมุ ารด้วยกันถึง 2 ผืน จะแยก ตอนที่ชูชกไปขอสองกุมารเขียนเป็ นหนึ่งผืน อีกผืนจะเป็ นตอนพระเวสสันดร ไปตามสองกุมารจากสระบัวมาให้ชูชก ส่ วนกัณฑ์มหาพนปกติจะนิยมเขียนให้ ชูชกนอนอยูบ่ นต้นไม้ แต่ที่วดั พระหลวงนี้มีการเขียนให้ชูชกนอนอยูบ่ ริ เวณ กลางป่ าบนชะง่อนผา น่าจะมาจากการตีความของช่างบวกกับจิตนาการใส่ ลง ไปในพระบฏ และที่น่าสนใจคือไม่มีการเขียนกัณฑ์สกั กบรรพ ไม่ทราบเหมือนกันว่ามาจากสาเหตุใด และในกัณฑ์หิมพานต์มีการเขียนเป็ น จ�ำนวน 1 ผืนครึ่ ง อีกครึ่ งหนึ่งนั้นหยิบยกไปเขียนในทานกัณฑ์ อีกทั้งการใช้สี คู่ตรงข้ามอย่างเช่นสี แดงอมส้มตัดกับสี น้ ำ� เงิน ท�ำให้งานดูเด่นขึ้นมา มีสีใหม่ เพิม่ เข้ามาอีกสี หนึ่งคือสี ชมพูสะท้อนแสง ไม่มีหลักฐานชี้แน่ชดั ว่ามีการได้รับ มาอย่างไรแต่สนั นิษฐานว่าน่าจะมาจากประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ สถูป และเจดีย ์ ของพม่าที่ปรากฏอยูใ่ นพระบฏของวัดพระหลวงแห่งนี้ อีกทั้งยังได้รับอิทธิพล ภาคกลางในด้านรู ปแบบทางสถาปั ตยกรรม จึงได้นำ� มาลองเขียน ซึ่งมันเกิดผล ดีดว้ ยคือท�ำให้งานดูเด่นมาก และแปลกตาซึ่งสิ่ งเหล่านี้ไม่เคยปรากฏมาก่อน จึงเป็ นเรื่ องที่น่าแปลกและน่าศึกษาค้นคว้าต่อไป วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ แห่งนี้มีพระบฏที่ทำ� ขึ้นจะท�ำเกี่ยวกับเรื่ องพระเวสสันดรทั้งหมด 13 กัณฑ์ รวมกับพระมาลัยอีก 2 ผืนรวมทั้งหมดจ�ำนวน 15 ผืน พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 7


กัณฑ์ที่ 1 : มาลัยต้น

8 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม ภาพกลุ่มแรก : จะอยูบ่ ริ เวณมุมด้านขวาล่าง มีลกั ษณะเป็ นทรงกลมล้อม ด้วยรู ปทรงที่คล้ายกับกลีบดอกบัว ซึ่งเป็ นตอนก่อนที่ชายยากจนจะถวาย ดอกบัวแก่พะมาลัย จึงสันนิษฐานได้วา่ ชายยากจนลงไปเก็บดอกบัวในสระบัว แล้วจึงน�ำมาถวาย ช่างนั้นได้มีการใช้รูปแบบของกลุ่มภาพเป็ นเชิงสัญลักษณ์ จะเห็นว่าบริ เวณสระน�้ำจะเป็ นวงกลมล้อมรอบด้วยลายที่คล้ายกับกลีบบัว ภาพกลุ่มที่สอง : จะอยูบ่ ริ เวณมุมด้านซ้ายล่าง จะเป็ นตอนที่ฝ่ายชาย ยากจนก�ำลังถวายดอกบัวแก่พระมาลัย สังเกตจากมีภาพผูช้ ายก�ำลังยกมือไหว้ ตัวละครที่แต่งกายคล้ายพระนัง่ อยูบ่ นโขดหิ น ในมือถือดอกบัวอยูแ่ สดงว่า วาดตอนที่ถวายดอกบัวไปแล้ว ภาพกลุ่มที่สาม : จะเป็ นภาพครึ่ งบนของพระบฏ ในมือด้านขวาของ พระมาลัยได้ถือดอกบัวอยู่ จึงท�ำให้คิดได้วา่ ได้รับดอกบัวที่ชายยากจนถวาย แก่พระมาลัยแล้ว จากนั้นพระมาลัยก็จะน�ำดอกบัวไปบูชาพระเจดียจ์ ุฬามณี บนสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์

ภาพบุคคลส� ำคัญของตอนมาลัยต้ น ตัวละครที่มีลกั ษณะการแต่งกายคล้ายกับพระสงฆ์นุ่งจีวรถือตาลปั ตร คือ พระมาลัย ส่ วนตัวละครอีกคนหนึ่ง เมื่อสังเกตแล้วจะรู ้เลยว่าเป็ นชาวบ้าน ล้านนา เพราะลักษณะของเด่นของผูช้ ายในล้านนาที่นิยมสักขา เพราะมีความ คิดที่วา่ ผูห้ ญิงจะเมินผูช้ ายไม่สกั ที่ขา เพราะถือว่าเป็ นคนขี้ขลาด พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 9


การล�ำดับภาพ พระบฏผืนนี้มีการเล่าเรื่ องจากขวาไปซ้าย เริ่ มเรื่ องจากขวาล่างไปซ้ายล่าง แล้วก็เล่าเรื่ องไปด้านบน ข้อสังเกตคือมีการวาดภาพเล่าเรื่ องแค่ครึ่ งผืนบริ เวณ ด้านล่าง ส่ วนด้านบนจะมีการปล่อยเป็ นพื้นที่วา่ ง แต่จะมีการระบายเป็ นชั้นสี การแบ่งกลุ่มภาพนั้นช่างจะใช้การตัดกันของพื้นที่ และรู ปทรงของมันเอง เช่น การวาดก้อนหิ น หน้าผา ของท้องฟ้า เป็ นแค่เส้นหยัก บ้างก็ใช้เป็ นเส้นคลื่นที่ มีลกั ษณะแบนๆ แทนการใช้เส้นสิ นเทาแบ่งภาพออกเป็ นตอนๆ รวมถึงการใช้ สี ของผืนนี้มีลกั ษณะเด่นอยูท่ ี่พ้ืนสี ค่อนข้างแปลก คือมีการลงสี เป็ นระนาบใน แนวนอนสลับชั้นสี ที่ต่างกัน ซึ่งดูแปลกตาสวยไปอีกแบบ 10 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : จะอยูบ่ ริ เวณด้านล่างของพระบฏ จะมีการวาด เป็ นฉากธรรมชาติ โดยที่วาดต้นไม้ ท้องฟ้า แล้ววาดพระมาลัยลอยจากพื้นดิน จะสื่ อว่าพระมาลัยก�ำลังลอยอยู่ แสดงถึงเหตุการณ์ที่อยูใ่ นระหว่างการเดินทาง ไปสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ เพื่อน�ำดอกบัวไปบูชาพระเจดียจ์ ุฬามณี แบบที่ 2 พื้นที่วา่ ง : จะอยูบ่ ริ เวณด้านบน แทนที่จะปล่อยเป็ นที่วา่ งปล่อย หรื อไม่กว็ าดฉากเป็ นฉากธรรมชาติ กลับมีการระบายสี เป็ นแนวระนาบสี น่าจะ เป็ นความชอบส่ วนตัวของช่างที่เขียนพระบฏผืนนี้โดยเฉพาะ เนื่องจากสี ที่ใช้ ระบายฉากหลังนั้นมีหลายสี คือ สี แดง สี เหลือง สี พ้ืนของผ้า และสี น้ ำ� เงิน สิ่ งเหล่านี้มีความแปลกตาแต่มนั เป็ นการใช้สีที่ลงตัวแสดงให้เห็นชัดเจน ว่าช่างนั้นมีทกั ษะชั้นสู งเรื่ องสี เป็ นอย่างมากเลยทีเดียวเนื่องจากมีการน�ำเอาสี มาระบายตัดกันเป็ นระนาบตัดกันอย่าเชี่ยวชาญ พร้อมทั้งเกิดความพอดีในตัวสี ที่เหมาะสมกับงานพระบฏผืนนี้

บริบททางสั งคม

ชาวบ้านสมัยก่อนนิยมใช้ดอกบัวในการกราบไหว้สกั การบูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ดอกบัวนั้นเราใช้บูชาพระกันมานานแล้ว เพราะถือว่าเป็ นดอกไม้สำ� หรับ พระพุทธศาสนา จากภาพพระบฏที่มีการวาดชาวบ้านลงไปเก็บดอกบัวใน สระน�้ำนั้น คิดว่าน่าจะมาจากการที่เมื่อก่อนนั้นมีสระน�้ำอยูค่ ่อนข้างเยอะท�ำให้ มีพ้ืนที่ให้ดอกบัวงอกขึ้นมาเป็ นจ�ำนวนมาก จึงสันนิษฐานว่า ชาวบ้านสามารถ เก็บมาถวายสิ่ งที่ตนบูชาได้ง่าย มีจำ� นวนมาก และสามารถงอกเงยขึ้นมาได้เอง โดยที่ไม่ตอ้ งปลูกหรื อลงทุนอะไรให้เปลืองทรัพย์สิน อีกอย่างคือไม่จำ� เป็ น ต้องใช้เวลาในการปลูกด้วย บัวที่ข้ ึนง่ายโตไว ส่ งผลให้ในปั จจุบนั ยังคงปรากฏ การใช้ดอกบัวเป็ นดอกไม้สำ� หรับการกราบไหว้สกั การะบูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 11


กัณฑ์ที่ 2 : ทศพร

12 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพสมมาตร คือเป็ นการแสดงภาพทั้งหมดโดยรวม ภายในบรรยากาศเดียวกัน ในปริ มาตรที่เท่ากัน ภาพนี้จะเห็นได้วา่ มีปราสาท ตั้งอยูก่ ลางภาพ พื้นที่รอบข้างซ้ายขวามีองค์รวมที่เท่าๆกัน ไม่วา่ จะเป็ นต้นไม้ ซ้ายขวาเหมือนกัน การวางตัวละครก็วางข้างละ 2 ตัว ตรงกลางอีก 1 ตัว ท�ำให้ ภาพมีน้ ำ� หนักเท่ากัน

การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องแบบการจัดเป็ นการล�ำดับภาพเป็ นฉากเดียว ไม่ได้มีการ แบ่งแยกออกเป็ นกลุ่มๆ เพราะมีเหตุการณ์เดียว คือในภาพนี้จะแสดงถึงตอนที่ พระอินทร์ประสาทพรแก่พระนางผุสดี ก่อนที่จะจุติลงมาเป็ นพระมารดาของ พระเวสสันดร แต่ปางก่อนนั้นผุสดีเทวีเสวยชาติเป็ นอัครมเหสี ของพระอินทร์ เมื่อสิ้ นพระชนมายุจึงขอกัณฑ์ทศพรจากพระอินทร์ 10 ประการ ทั้งยังเคยโปรย ผงจันทร์แดงถวายพระวิปัสสี พทุ ธเจ้า และอธิษฐานให้ได้เกิดเป็ นพระมารดา ของพระพุทธเจ้าด้วยพร 10 ประการ

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 13


บริบททางสั งคม จะเห็นในเรื่ องของชนชั้น มีการให้ความส�ำคัญกับฐานะ ตั้งแต่เทวดา กษัตริ ย ์ ชนชั้นกลาง ชาวบ้าน สังเกตจากการที่ให้พระอินทร์นงั่ อยูส่ ู งที่สุด รองลงมาเป็ นพระชายาของพระอินทร์ และนางผุสดี ท้ายสุ ดเป็ นนางสนม ที่จะนัง่ ต�่ำที่สุด เพราะมีฐานะต�่ำที่สุดในสังคม ปั จจุบนั ก็มีการให้ความส�ำคัญ อาทิ คนสามัญธรรมดาเคารพกษัตริ ย ์ และจะนัง่ ต�่ำกว่ากษัตริ ยเ์ สมอ

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ ทศพร ในภาพนี้จดั ให้ตวั ละครหลักอยูก่ ลางภาพ เป็ นตัวละครที่สีกายสี เขียว คือพระอินทร์กำ� ลังอยูใ่ นท่าประทานพร ก�ำลังประทานพรให้แก่ตวั ลนครที่ พนมมือน้อมรับพร สังเกตจากที่แต่งกายด้วยเครื่ องทรงคาดการณ์ได้วา่ เป็ น นางผุสดี ส่ วนตัวละครนัง่ ติดกับพระอินทร์นนั่ คือชายาของพระอินทร์ และ ตัวละครที่ประกบซ้ายขวาของภาพที่นง่ั ต�่ำสุ ด ห่มสไบลายดอกพาดไหล่ จะเป็ นเหล่านางสนม

พระอินทร์

นางผุสดี

14 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่

นางสนม และชายาของพระอินทร์


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้อยูบ่ ริ เวณด้านข้างปราสาท ในแนวระนาบ 2 ฝั่ง แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : ในตอนนี้ได้กล่าวถึงพระอินทร์ประสาทพร แก่พระนางผุสดี ก่อนที่จะจุติลงมาเป็ นพระมารดาของพระเวสสันดร ดังนั้น ฉากจึงต้องเป็ นการวาดเกี่ยวกับสวรรค์ สถาปัตยกรรมที่อยูก่ ลางภาพเด่นสง่า เป็ นจุดเด่น สันนิษฐานได้วา่ เป็ นวิมานชื่อเวชยันตปราสาท จากพระบฏผืนนี้ มีรูปแบบของวิมานคล้ายคลึงกับปราสาทพระราชวังของภาคกลาง ที่จะนิยม เป็ นปราสาทสามเหลี่ยมซ้อนชั้นกันอยูจ่ ากฝี มือช่างหลวงที่ถูกลดทอนรู ปทรง แต่ยงั ดูออกว่าได้รับอิทธิพลภาคกลางมาปรับใช้จากฝี มือของช่างพื้นบ้าน มีความเหมือนกับจิตรกรรมฝาผนังที่วดั พุทไธสวรรย์ จ. พระนครศรี อยุธยา ในปั จจุบนั แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : จะอยูบ่ ริ เวณด้านบน ช่างได้มีการลงสี เป็ นแนวระนาบ ด้วยพื้นและสี พ้ืน ได้แก่ น�้ำเงิน เหลือง เขียว สี แดงอมส้ม ไม่ทราบชัดว่าสี หมด หรื อช่างจงใจจะสร้างงานให้มีหลายสี จึงได้มีการแบ่งเป็ นชั้นในแนวระนาบ เพื่อระบายสี สดลงไป

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 15


กัณฑ์ที่ 3 : หิ มพานต์

16 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพสมมาตรกันในแนวตั้ง คือให้สมมาตรกัน ทั้งครึ่ งบน และครึ่ งล่างของภาพ ส่ วนบนจะเป็ นแค่ฉากประกอบเนื้อเรื่ อง จะเป็ นฉากเมือง ที่มีกำ� แพงล้อมรอบ ส่ วนล่างมีการวางตัวละครหนาแน่น เพื่อให้สมส่ วนกับภาพทางด้านบนที่มีเมืองหนาแน่นเช่นกัน

การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องแบบการจัดเป็ นการล�ำดับภาพเป็ นฉากเดียว ไม่ได้มีการ แบ่งแยกออกเป็ นกลุ่มภาพ โดยจะวาดฉากทางด้านบนเป็ นเมืองสี วริ ัฐนครซึ่ง ปกครองโดยพระเจ้าสัญชัย ( บิดาของพระเวสสันดร ) ภาพส่ วนล่างแสดงตอน พระเวสสันดรทรงพระราชทานช้างปัจจัยนาค แก่พราหมณ์ โดยผูท้ ี่มาขอเป็ น พราหมณ์ ที่ถูกส่ งมาจากพระเจ้ากาลิงคะ มีการจัดภาพตัวละครที่ดำ� เนินเรื่ องอยู่ ด้านล่าง

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 17


ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ หิมพานต์ ตัวละครที่เป็ นเด่นที่สุดของภาพ คือตัวที่แต่งกายสวมเครื่ องทรงคล้าย กษัตริ ย ์ กายสี เนื้อผุดผ่องนัน่ คือพระเวสสันดร ที่กำ� ลังหลัง่ น�้ำใส่ มือของ ตัวละครที่กายสี ดำ� ๆมอๆ นุ่งผ้าขาวห่มขาวบางจนแทบมองไม่เห็น ตัวละคร พวกนี้เป็ นพราหมณ์ การหลัง่ น�้ำเป็ นสัญลักษณ์แทนการให้ และช้างที่เอางวง คล้องแขนของพระเวสสันดรนั้นแสดงว่าพระเวสสันดรเป็ นเจ้าของช้าง มีชื่อเรี ยกว่า ช้างปั จจัยนาค เป็ นช้างคู่บา้ นคู่เมืองเพราะสมัยก่อนจะนิยมเอา ช้างเผือกที่ดูสง่าราศีมาเป็ นช้างคู่บา้ นคู่เมือง

18 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้อยูบ่ ริ เวณด้านหลังของปราสาท เรี ยงกันในแนวระนาบ 5 ต้น และมีการวาดโขดหิ นด้านล่างของผ้าผืนนี้ แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะสังเกตเห็นได้วา่ มีปราสาทอยู่ คือเมืองสี วริ ัฐ นคร โครงสร้างหน้าจัว่ เป็ นทรงสามเหลี่ยมซ้อนชั้น คาดว่าน่าจะได้รับอิทธิพล ของภาคกลางเข้ามาแต่ช่างพื้นบ้านไม่ได้มีความรู ้มากพอเทียบเท่ากับช่างหลวง จึงมีการดัดแปลงลดทอนรู ปทรงออกมา แต่ยงั คงสามารถแสดงออกได้วา่ เป็ น ปราสาทของเมืองสี วริ ัฐนคร แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : อยูบ่ ริ เวณส่ วนครึ่ งล่างของพระบฏผืนนี้ มีการใช้ สี แดงระบายเป็ นฉากหลังเพื่อที่อยากจะเน้นว่าพื้นที่บริ เวณนั้นต้องมีความ ส�ำคัญ คือมีตวั ละครก�ำลังด�ำเนินเรื่ องอยู่ พระบฏผืนนี้จะมีแค่ตวั ละครหลัก ได้แก่ พราหมณ์ 7 คน พระเวสสันดร และช้างปัจจัยนาค มุมขวาล่างมีโขดหิ น แทรกขึ้นมา ช่างจะไม่วาดฉากที่เป็ นธรรมชาติ หรื อสถาปั ตยกรรมซ้อนทับ ด้านหลังเนื่องจากอยากให้พ้ืนที่ส่วนนี้เด่นจึงมีการลงแค่สีพ้ืน คือสี แดงอมส้ม และมีการใช้เส้นอิสระแบ่งฉาก ( ถ้าตัดแบบสามเหลี่ยม หรื อแบบริ บบิ้นจะเป็ น ลักษณะของเส้นสิ นเทาภาคกลาง ) พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 19


กัณฑ์ที่ 4 : ทานกัณฑ์

20 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพสมมาตรกันในแนวตั้ง คือให้สมมาตรกัน ทั้งครึ่ งบน และครึ่ งล่างของภาพ ส่ วนบนจะเป็ นฉากที่พระเวสสันดร นางผุสดี พากัณหา ( ธิดา ) ชาลี ( โอรส ) ออกจากวังมุ่งหน้าไปในป่ า มีการจัดกลุ่มภาพ แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม ั หา กลุ่มแรก : แสดงถึงตอนที่พระเวสสันดร พระนางมัทรี และชาลีกณ ก�ำลังนัง่ ราชรถเข้าป่ าไปยังเขาวงกต จะอยูบ่ ริ เวณกลางภาพเยื้องไปทางด้านบน กลุ่มที่สอง : แสดงถึงตอนที่พระเวสสันดรพระราชทานช้าง ม้า รถม้า ทาสา - ทาสี โคนม นางสนม และอาภรณ์ อย่างละ 700 ( แต่ในที่น้ ีวาดเป็ น กวางสี่ ตวั )

การล�ำดับภาพ ภาพนี้มีการเล่าเรื่ องจากด้านบนลงไปด้านล่าง มีการด�ำเนินเรื่ องในแนว ระนาบครึ่ งบนเป็ นฉากที่พระเวสสันดร พระนางมัทรี และสองกุมาร เดินทาง ออกจากวังเข้าไปในป่ า ส่ วนครึ่ งล่างเป็ นเหตุการณ์หลังจากที่ท้ งั 4 คน เดินทาง ออกจากวังมาสักพัก ก็มีชาวบ้านมาขอม้าที่ใช้สำ� หรับลากราชรถไป

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 21


ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ ทาน ตัวละครที่บ่งบอกถึงตอนกัณฑ์ทาน คือตัวที่มีการให้เกิดขึ้น ในภาพนี้ จะเป็ นพระเวสสันดรพระราชทานช้าง ม้า รถม้า ทาสา - ทาสี เพราะจะเป็ น ฉากที่พระเวสสันดรจะให้สิ่งของเหล่านี้แก่ผทู ้ ี่มาขอ ถ้าสังเกตเห็นว่ามีส่ิ งของ มากมายแสดงว่านัน่ คือกัณฑ์ทาน

บริบททางสั งคม จากภาพมีการใช้ราชรถในการสัญจร นัน่ ก็หมายถึงว่ามีการสร้างพาหนะ ในการเดินทางขนของขนส่ งต่างๆ และมีการใช้สตั ว์ลากพาหนะคือพวก ช้าง ม้า เป็ นต้น ส่ งผลให้ในยุคต่อมาเริ่ มมีการใช้เกวียน ซึ่งเป็ นที่นิยมมากในชนบท เนื่องจากสภาพการเดินทางค่อนข้างล�ำบากจ�ำต้องใช้พาหนะช่วยในการสัญจร ส่ วนสังคมเมืองนั้นมีการพัฒนามาเป็ นรถยนต์ในปั จจุบนั นี้

22 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 2 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้เป็ นพุม่ หนาติดกัน แสดงถึง อยูใ่ นป่ าที่มีตน้ ไม้ใหญ่จึงวาดต้นไม้แต่พมุ่ ไม้ติดกัน ฉากหลังของต้นไม้น้ นั ได้มีการระบายสี ดำ� เพื่อเน้นต้นไม้เพิ่มขึ้นมาอีกระดับนึง มีการวาดโขดหิ น และหน้าผาแทนการใช้เส้นสิ นเทาในการแบ่งฉากแต่ละตอน แบบที่ 2 พื้นที่วา่ ง : บริ เวณที่เป็ นกลุ่มภาพหลักของผ้าผืนนี้คือกลุ่มที่เป็ น ตอนพระเวสสันดร พระนางมัทรี และสองกุมาร ก�ำลังนัง่ ราชรถที่ลากด้วย กวาง 4 ตัว พื้นที่ดา้ นหลังจะไม่มีการวาดลายอะไรลงไป ช่างจะใช้สีพ้ืนของผ้า ในการท�ำฉากหลังส�ำหรับกลุ่มภาพนี้ แล้วมีกรอบ ( เส้นสิ นเทา ) เป็ นเส้นแบบ อิสระ หรื อเส้นคลื่นที่ตดั ด้วยสี ดำ� โฉบด้วยสี น้ ำ� เงิน

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 23


กัณฑ์ที่ 5 : วนปเวศน์

24 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มแรก : เป็ นภาพที่อยูบ่ ริ เวณมุมซ้ายล่าง ซึ่งเป็ นตอนที่พระเวสสันดร พระราชทานรถแก่ผมู ้ าขอ จะเห็นได้วา่ พระเวสสันดรมีการหลัง่ น�้ำใส่ มือของ ชาวบ้านที่มาขอ นัน่ เป็ นสัญลักษณ์แทนการให้ แสดงถึงพระเวสสันดรได้ยก ราชรถให้แก่ชาวบ้านที่มาขอ กลุ่มที่สอง : เป็ นตอนต่อจากกลุ่มแรก ภาพนี้จะอยูบ่ ริ เวณมุมล่างขวา แสดงถึงการที่ชาวบ้านที่มาขอนั้นได้แบกเอาราชรถไป กลุ่มที่สาม : อยูบ่ ริ เวณด้านบนเป็ นตอนที่พระเวสสันดร พระนางมัทรี และสองกุมาร เสด็จถึงเขาวงกตในป่ าหิ มพานต์ และพักอาศัยอยูใ่ นอาศรมซึ่ง พระอินทร์มาเนรมิตไว้ให้ จากภาพคือก�ำลังจะเข้าไปพักในอาศรม

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ วนปเวศน์ ในภาพนี้เป็ นฉากที่กล่าวถึงการเดินทางของพระเวสสันดร ดังนั้นตัวละคร ที่ปรากฏอยูใ่ นภาพด้านบน 4 ตัวนั้นคือพระเวสสันดร นางมัทรี และสองกุมาร แต่พระบฏผืนนี้มีความพิเศษเนื่องจากมีการวาดต่อจากกัณฑ์ทานเลยมายังผืนนี้ อีกครึ่ งผืนบริ เวณด้านล่างของพระบฏ เป็ นฉากที่พระเวสสันดรยกให้ราชรถแก่ ชาวบ้านที่มาขอ

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 25


การล�ำดับภาพ ภาพนี้มีการล�ำดับภาพแบบเล่าเรื่ องจากด้านล่าง ขึ้นมาด้านบน เพราะมี ความพิเศษตรงที่จะมี 2 กัณฑ์ในผืนเดียว การที่ภาพนี้มีการเล่าเรื่ องจากด้านล่าง ขึ้นมาด้านบนนั้น เนื่องจากตอนล่างเป็ นตอนพระเวสสันดรทรงพระราชทาน รถแก่ผมู ้ าขอ แสดงเหตุการณ์ต้ งั แต่พระเวสสันดรหลัง่ น�้ำให้ผมู ้ าขอ ถัดไปก็ เป็ นภาพผูม้ าขอลากราชรถไป เป็ นเนื้อเรื่ องที่อยูใ่ นกัณฑ์ทาน เท่ากับว่ามี กัณฑ์ทานทั้งหมด 1 ผืนครึ่ ง น�ำมาวาดผืนนี้ในส่ วนด้านล่างในกัณฑ์วนปเวศน์ ส่ วนกัณฑ์วนปเวศน์กม็ ีแค่ครึ่ งผืนคือฉากที่พระเวสสันดร พระนางมัทรี และ สองกุมาร เดินทางถึงอาศรมเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้วส่ วนด้านบน 26 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้และโขดหิ น บริ เวณรอบอาศรม ของพระเวสสันดร แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะเห็นว่ามีส่ิ งปลูกสร้างอยูก่ ลางป่ า คืออาศรม คล้ายกับปราสาทแต่มีแค่สามเหลี่ยมหน้าจัว่ และมีกำ� แพงล้อมรอบอยู่ แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : พื้นที่ส่วนที่มีพระเวสสันดรปรากฏอยูน่ ้ นั จะมีการ ระบายฉากหลังด้วยสี แดงอมส้ม เป็ นการเน้นว่าพื้นที่น้ นั ตอนนั้นมีความส�ำคัญ ส่ วนพื้นที่ที่เป็ นชายยากจนแบกราชรถจะมีการระบายพื้นหลังเป็ นสี เหลืองอ่อน เพื่อไม่ให้เด่นกว่ากัน

บริบททางสั งคม การเลี้ยงลูกของคนสมัยก่อน มีการ ผูกผ้ากับล�ำตัว แล้วเอาลูกใส่ ไว้ตรงที่ ผูกผ้า หรื อเราจะเรี ยกอีกอย่างว่าการ กระเตงลูกนัน่ เอง ปั จจุบนั ก็ไม่ได้ทิ้ง บริ บทแบบนี้ไปไหน ยังคงมีให้เห็นและ ท�ำกันอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะเวลาที่จะ พาลูกออกไปข้างนอก แล้วขี้เกียจแบก ก็จะจับให้นอนอยูใ่ นผ้าที่ผกู ไว้กบั ล�ำตัว ผูกด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลังก็ได้ท้ งั สิ้ น และยังมีการพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์ ส�ำเร็ จรู ปที่ใช้สำ� หรับเอาลูกไปใส่ หอ้ ยไว้โดยเฉพาะ อีกทั้งยังมีช่องส�ำหรับใส่ ของจ�ำเป็ นส�ำหรับเด็ก สิ่ งใหม่ๆ ล้วนได้รับแรงบันดาลใจมาจากคนสมัยก่อน

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 27


กัณฑ์ที่ 6 : ชูชก

28 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มแรก : เป็ นภาพที่อยูบ่ ริ เวณซ้ายล่าง เป็ นตอนที่นางอมิตตาและชูชก ก�ำลังจะเดินทางกลับบ้าน กลุ่มที่สอง : ทางด้านขวาล่างนั้นจะเป็ นฉากที่ต่อกันจากกลุ่มภาพซ้ายล่าง เป็ นตอนชูชกและนางอมิตตาแบกของ นางอมิตตาได้คุยกันภายในบ้าน เรื่ องที่ จะให้ชูชกไปขอสองกุมาร จากพระเวสสันดรมาเป็ นทาสรับใช้ กลุ่มที่สาม : เป็ นภาพที่อยูบ่ ริ เวณส่ วนบน ซึ่งเป็ นตอนที่ชูชกเดินทางไป สื บข่าวในแคว้นสี วรี าษฎร์ เดินทางไปเขาวงกตจนพบสุ นขั ของพรานเจตบุตร ผูค้ อยเฝ้าอารักขาอยูป่ ากทางเข้าป่ าหิ มพานต์ ฝูงสุ นขั ไล่กดั ชูชกจนชูชกวิง่ หนี ขึ้นไปหลบบนต้นไม้

บริบททางสั งคม ชีวติ ความเป็ นอยูข่ องคนสมัยก่อนนั้นอยูก่ นั อย่างเรี ยบง่าย นิยมสร้างบ้าน จากไม้ มีชานบ้านเล็กน้อย อีกทั้งยังนิยมใต้ถุนสู ง เป็ นบ้าน 2 ชั้น บริ บททาง สังคมที่พบเห็นอีกอย่าง คือการสู บยาสู บ ก็ยงั เป็ นที่นิยมมาก ในปั จจุบนั ได้มี การพัฒนา และมีวธิ ีการเรี ยกที่แตกต่างกันเพราะมีหลายแบบ อาทิ สู บบุหรี่ สู บซิการ์ เป็ นต้น

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 29


การล�ำดับภาพ มีการล�ำดับภาพจากภาพครึ่ งล่าง เล่าเรื่ องจากซ้ายล่าง ไปขวาล่าง แล้วต่อไปทางด้านบนครึ่ งผืนพระบฏ มีลกั ษณะการเล่าเรื่ องเป็ นรู ปสามเปลี่ยม

30 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ ชูชก ภาพนี้มีแต่ตวั ละครหลักที่ใช้ดำ� เนินเรื่ อง ได้แก่ 1.ชูชก : เป็ นผูช้ ายแต่งกายคล้ายชาวบ้าน นุ่งกางเกงขาสั้น ไม่สวมเสื้ อ สวมหมวกลักษณะคล้ายงอบในปั จจุบนั และถือไม้เท้า สี ตวั มีการระบายสี เทา แสดงออกถึงผิวที่ไม่ได้รับการดูแล กลุ่มคนพวกที่ทำ� งานหนักตากแดดตากลม 2.นางอมิตตา : หญิงสาวชาวบ้าน เกล้ามวยผม นุ่งซิ่น เป็ นภรรยาชูชก 3.พรานเจตบุตร : สังเกตได้จากการที่ถือหน้าไม้ สวมเสื้ อแขนกระบอก คอจีน นุ่งกางเกงและมีการสักลายที่ขาแบบฉบับของผูช้ ายล้านนา

ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้เล็กน้อย และโขดหิ น เป็ นฉากที่ แสดงให้เห็นว่าอยูใ่ นป่ า ในส่ วนของครึ่ งผืนด้านบน แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะเห็นได้วา่ มีส่ิ งปลูกสร้างอยูบ่ ริ เวณมุมขวาล่าง เป็ นบ้านคล้ายกับบ้านของคนล้านนาที่จะนิยมสร้างบ้าน 2 ชั้น ใต้ถุนสู ง และมี ชานบ้านยืน่ ออกมาเล็กน้อย แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : พื้นที่ส่วนที่มีนางอมิตตาและชูชก บริ เวณมุมซ้ายล่าง ปรากฏอยูน่ ้ นั จะมีการระบายพื้นหลังเป็ นสี แดงอมส้ม เป็ นการเน้นว่าเป็ นตอน ส�ำคัญ มีตวั ละครส�ำคัญด�ำเนินเรื่ องอยู่ พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 31


กัณฑ์ที่ 7 : จุลพน

32 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก : เป็ นภาพที่อยูบ่ ริ เวณส่ วนล่าง ซึ่งเป็ นตอนที่พรานเจตบุตร หลงเชื่อค�ำโกหกของชูชก จึงบอกทางและมอบเสบียงทางให้อีกด้วย กลุ่มที่สอง : เป็ นภาพที่อยูบ่ ริ เวณส่ วนบน ซึ่งเป็ นตอนที่ชูชกหลอกลวง พรานเจตบุตรให้บอกทางไปเขาวงกต โดยอ้างว่าตนเป็ นราชทูตของพระเจ้า สัญชัยก�ำลังจะเข้าไปเชิญพระเวสสันดรกลับเมือง เพราะพระเจ้าสัญชัยทรง อภัยโทษให้แล้ว

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ จุลพน ตัวละครที่เป็ นจุดสังเกตของกัณฑ์จุลพน คือ ชูชก นายพราน และสุ นขั เพราะจะมีฉากที่ชูชกโดนสุ นขั ไล่จนหนีข้ ึนต้นไม้ แต่ในฉากนี้เป็ นตอนต่อ หลังจากตอนที่ชูชกลงมาจากต้นไม้แล้ว

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 33


การล�ำดับภาพ มีการล�ำดับภาพจากภาพครึ่ งล่างขึ้นไปทางด้านบน แบ่งเป็ นภาพ 2 ส่ วน อย่างละครึ่ งภาพ ภาพล่างจะเป็ นฉากที่ชูชกก�ำลังหลอกให้พรานเจตบุตรชี้ทาง ไปในเขาวงกต ส่ วนภาพครึ่ งบนเป็ นฉากที่พรานเจตบุตรให้บอกทางไปใน เขาวงกตเป็ นบริ เวณที่พระเวสสันดรอาศัยอยู่

34 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้ สัตว์ป่า และโขดหิ น แซมอยู่ ระหว่างข้างทางเดินในป่ า แบบที่ 2 พื้นที่วา่ ง : จะสังเกตได้วา่ พื้นที่ส่วนที่มีพรานเจตบุตรอยูก่ บั ชูชก ปรากฏอยูน่ ้ นั จะมีการระบายพื้นหลังเป็ นสี แดงอมส้ม เป็ นการเน้นว่าเป็ นตอน ที่สำ� คัญ เป็ นพื้นที่หลักในการน�ำสายตาให้มองจุดนั้นก่อน ส่ วนด้านบนที่เป็ น ที่วา่ งนั้น แทนที่จะระบายสี ฟ้าเพื่อให้รู้วา่ คือท้องฟ้า ช่างกลับระบายสี พ้ืนใน แนวระนาบในแนวนอนด้วยกัน 3 สี ได้แก่ สี เหลือง สี แดง และสี ดำ� เส้นสิ นเทาจะมีการวาดก้อนหิ นระบายสี ขา้ งในสี เข้ม บริ เวณขอบมีการ ระบายสี อ่อนตัดขอบด้วยสี ดำ� ข้างๆกันมีการวาดก้อนหิ นระบายสี ดำ� ขอบสี เนื้อ ตัดเส้นด�ำเช่นกันกั้นอยูร่ ะหว่างฉากทั้งสองฉาก

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 35


กัณฑ์ที่ 8 : มหาพน

36 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ พระบฏผืนนี้เป็ นตอนที่เฒ่าชูชกก็ซ่อนตัวบนชะง่อนผา ด้วยคิดว่าต้องรอ ช่วงเช้าเพื่อให้พระนางมัทรี ออกไปหาผลไม้ ถ้าหากไปของสองกุมารตอนที่ พระนางอยูค่ งไม่ยอมยกสองกุมารให้แน่ การจัดองค์ประกอบมีการจัดให้ ตัวละครหลักอยูก่ ่ ึงกลาง เยื้องไปทางด้านซ้าย บริ เวณโดยรอบแสดงให้เห็นถึง บรรยากาศป่ า

การล�ำดับภาพ

มีการเล่าเรื่ องเป็ นฉากเดียว มีตวั ละครด�ำเนินเรื่ องตัวเดียว

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ มหาพน ภาพนี้มีตวั ละครอยูป่ ระเภทเดียว คือตัวละครหลัก ได้แก่ ชูชก แต่งกาย คล้ายชาวบ้าน นุ่งกางเกงขาสั้น ไม่สวมเสื้ อ มีหมวก ( ลักษณะคล้ายงอบใน ปั จจุบนั ) สะพายย่าม และถือไม้เท้า สี ตวั มีการระบายด้วยสี เทา เป็ นกลุ่มคน พวกที่ทำ� งานหนักตากแดดตากลม อยูใ่ นอิริยาบทที่นอนอยูบ่ นชะง่อนผา

ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยูแ่ บบเดียว คือ ฉากธรรมชาติ มีการวาด ต้นไม้และโขดหิ นขึ้นรกมาก มีการวาดสระบัว และวาดดอกไม้ตามชะง่อนผา คาดว่าผืนนี้น่าจะเป็ นการท�ำขึ้นมาใหม่ มีการวาดและลงสี เสมือนจริ ง รวมถึง รู ปทรงเหมือนจริ ง ไม่มีการลดทอนรู ปทรงแม้แต่นอ้ ย พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 37


กัณฑ์ที่ 9 : กุมาร

38 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ ในภาพส่ วนนี้น้ นั มีความช�ำรุ ดเล็กน้อย ขอบด้านบนมีความเลือนลาง ได้กล่าวถึงชูชกทูลขอสองกุมารจากพระเวสสันดร มีการจัดองค์ประกอบภาพ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก : แสดงตอนที่ชูชกทูลขอสองกุมารจากพระเวสสันดรเพื่อเอาไป เป็ นทาสรับใช้นางอมิตตาผูเ้ ป็ นภรรยาของชูชก กลุ่มที่สอง : แสดงถึงตอนที่พระเวสสันดรพาชูชกไปหาสองกุมารเพราะ สองกุมารก�ำลังไปหลบชูชกไม่อยากไปเป็ นทาส และด้วยความไม่อยากจาก พระเวสสันดรและพระนางมัทรี ไป

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ กมุ าร ภาพนี้มีตวั ละครอยูป่ ระเภทเดียว คือตัวละครหลัก ได้แก่ ผูช้ ายชาวบ้าน ตัวด�ำ สะพายย่าม คือชูชก และตัวละครที่แต่งกายคล้ายฤาษี คือพระเวสสันดร การที่ชูชกยกมือไหว้พระเวสสันดรนั้น เป็ นการขอสองกุมารไปเป็ นทาส

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 39


การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องจากด้านล่างขึ้นไปหาด้านบน ครึ่ งล่างจะเป็ นตอนที่ชูชก ไปทูลขอสองกุมาร ครึ่ งบนจะตัดฉากไปเป็ นตอนที่พระเวสสันดรเดินน�ำหน้า ชูชกจะพาไปหาสองกุมาร เพราะสองกุมารแอบชูชกอยู่

40 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้ ล�ำธารหลังอาศรม และโขดหิ น หลากสี อาทิ สี น้ ำ� เงิน สี ม่วงอ่อน สี สม้ สี เขียว สี เนื้อ เป็ นต้น แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะสังเกตเห็นได้วา่ มีส่ิ งปลูกสร้างอยูบ่ ริ เวณ มุมขวาล่าง เป็ นบ้านคล้ายกับบ้านของคนล้านนา มีชานบ้านยืน่ ออกมาเล็กน้อย แต่เป็ นอาศรมของพระเวสสันดร แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : พื้นที่ส่วนที่มีพระเวสสันดรปรากฏอยูน่ ้ นั จะมีการ ระบายพื้นหลังเป็ นสี แดงอมส้ม เป็ นการเน้นว่าเป็ นตอนที่สำ� คัญ ส่ วนฉากหลัง ของชูชกนั้นมีการระบายเป็ นสี เปลือกมังคุด เพื่อไม่ให้สีพ้ืนกลังเด่นมากไปกว่า พื้นหลังของพระเวสสันดร ด้านบนสุ ดนั้นก็มีการระบายสี พ้ืนในแนวระนาบ

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 41


กัณฑ์ที่ 10 : กุมาร

42 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดเป็ นกลุ่มภาพแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มแรก : อยูบ่ ริ เวณด้านตรงกลางเยื้องไปทางขวา แสดงถึงตอนที่ พระเวสสันดรไปเรี ยกสองกุมารที่หลบหนีชูชกอยูใ่ นสระบัวให้ข้ ึนมา กลุ่มที่สอง : อยูบ่ ริ เวณด้านมุมซ้ายล่าง แสดงถึงตอนที่พระเวสสันดร หลัง่ น�้ำพระราชทานสองกุมารให้แก่ชูชก กลุ่มที่สาม : อยูบ่ ริ เวณด้านบน แสดงถึงตอนที่ชกได้ใช้เถาวัลย์มดั ข้อมือ ของสองกุมาร ลากจูงพาออกไป สองกุมารขัดขืน ก็ใช้ไม้โบยตีสองกุมาร

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ กมุ าร ตัวละครหลักของพระบฏผืนนี้ ได้แก่ ตัวละครที่เป็ นเด็ก 2 คน หลบอยูใ่ น สระน�้ำที่เต็มไปด้วยดอกบัว เด็ก 2 คนนี้คือสองกุมารที่ใช้ใบบัวปิ ดหัวหลบอยู่ มีฉากที่พระเวสสันดรไปเรี ยกสองกุมาร จะเน้นไปที่ชูชกจับสองกุมารมัดมือ และกระชากลากไปยังบ้านของชูชก

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 43


การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องจากรู ปตรงกลางเยื้องไปทางขวา เป็ นตอนพระเวสสันดร ไปตามสองกุมารที่หลบชูชกอยูใ่ นสระบัว ต่อที่มุมซ้ายล่างเป็ นฉากที่พระเวส สันดรหลัง่ น�้ำยกสองกุมารให้แก่ชูชก และจบที่ภาพด้านบนเป็ นเหตุการณ์ที่ ชูชกเอาเถาวัลย์มดั มือสองกุมารแล้วพาลากกลับบ้านของชูชก

44 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดโขดหิ น และสระบัว แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะสังเกตเห็นได้วา่ มีส่ิ งปลูกสร้างอยูบ่ ริ เวณ มุมซ้ายล่าง เป็ นบ้านคล้ายกับบ้านคนล้านนา แต่เป็ นอาศรมของพระเวสสันดร แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : จะสังเกตได้วา่ พื้นที่ส่วนที่มีพระเวสสันดรหลัง่ น�้ำ พระราชทานสองกุมารปรากฏอยูน่ ้ นั จะมีการระบายพื้นหลังเป็ นสี แดงอมส้ม เป็ นการเน้นว่าเป็ นตอนที่สำ� คัญ ส่ วนฉากที่ชูชกลากสองกุมารมีการระบาย ฉากหลังเป็ นสี น้ ำ� เงิน

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 45


กัณฑ์ที่ 11 : มัทรี

46 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดเป็ นกลุ่มภาพแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่ม กลุ่มแรก : แสดงตอนที่พระนางมัทรี เสด็จไปหาผลไม้ในป่ า กลุ่มที่สอง : แสดงตอนที่พระนางมัทรี เสด็จกลับอาศรม แต่มีเทวดาแปลง กายเป็ นเสื อนอนขวางทางไว้ ท�ำให้พระนางมัทรี ติดอยูใ่ นป่ าจนมืดค�่ำ กลุ่มที่สาม : แสดงตอนที่พระนางมัทรี รีบเสด็จกลับอาศรม กลุ่มที่สี่ : แสดงตอนที่พระนางมัทรี รีบเสด็จกลับอาศรมแล้วก็ไม่พบ สองกุมาร พระนางจึงออกตามหาและกลับมาสิ้ นสติต่อเบื้องพระพักตร์

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ มทั รี ตัวละครที่สำ� คัญที่ทำ� ให้รู้วา่ เป็ นกัณฑ์มทั รี คือ พระนางมัทรี และเทวดา ที่แปลงกายเป็ นเสื อ สังเกตได้ชดั เจนจากด้านบนซ้ายของพระบฏผืนนี้

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 47


การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องจากรู ปที่อยูบ่ ริ เวณขวาบน ถัดไปที่มุมซ้ายบน มาซ้ายล่าง และขวาล่างตามล�ำดับ จะเห็นได้วา่ มีการล�ำดับภาพเป็ นรู ปทรงของสี่ เหลี่ยม ต่างจากภาพอื่นที่เรี ยงจากล่างขึ้นบน หรื อบนลงล่าง อีกทั้งยังมีการวาดออกมา มากที่สุดถึง 4 เหตุการณ์ดว้ ยกัน

48 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้ และโขดหิ น เป็ นฉากในป่ า แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะสังเกตเห็นได้วา่ มีส่ิ งปลูกสร้างอยูบ่ ริ เวณ มุมซ้ายล่าง เป็ นบ้านคล้ายกับบ้านของคนล้านนา หน้าจัว่ ทรงสามเหลี่ยม มีชานบ้าน แต่เป็ นอาศรมของพระเวสสันดร แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : พื้นที่ส่วนที่มีตวั ละครหลักปรากฏอยูน่ ้ นั จะมีการ ระบายพื้นหลังเป็ นเน้นให้เด่นชัด ในที่น้ ีมีการระบายสี ชมพูสะท้อนแสง และ สี น้ ำ� ตาลอมเหลืองอ่อนๆ บางจุดก็ไม่ลงสี แต่จะปล่อยเป็ นสี ของผ้าไปเลย

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 49


กัณฑ์ที่ 12 : มหาราช

50 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ ในภาพส่ วนนี้ค่อนข้างสมบูรณ์ มีแค่ความเลือนรางด้านบนเล็กน้อย มีการ จัดกลุ่มภาพออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก : อยูบ่ ริ เวณตรงกลางเยื้องไปทางขวา แสดงตอนที่พระเจ้าสัญชัย ได้ไถ่สองกุมารจากชูชก และพระราชทานอาหารเลี้ยงชูชกมากมาย แสดงภาพ ที่นางสนมก�ำลังหุงหาอาหารให้แก่ชูชก และ และคอยรับใช้ชูกชกปรนนิบตั ิ เป็ นอย่างดี กลุ่มที่สาม : อยูบ่ ริ เวณตรงกลางเยื้องไปทางซ้ายลงไปด้านล่าง แสดงถึง ตอนที่พระเจ้าสัญชัยจัดงานศพให้ชูชก เนื่องจากชูชกกินอาหารมากเกินไป จนอาหารไม่ยอ่ ยและถึงแก่กรรมในที่สุด มีการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา อาทิ การสวดหน้าศพ ( ปลงศพ ) การเผาศพบนกองฟื นแบบโบราณ เป็ นต้น

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ มหาราช ตัวละครที่สำ� คัญที่ทำ� ให้รู้วา่ เป็ นกัณฑ์มหาราช คือ ชูชกกินอาหาร ซึ่งภาพ มุมขวาบนปรากฏภาพชูชกก�ำลังกินอาหารจ�ำนวนมาก มุมซ้ายล่างก็มีงานศพ ชูชก เพราะมีภาพชูชกนอนอยูบ่ นกองฝื น สาเหตุที่ตายมาจากกินอาหารจ�ำนวน ที่เยอะเกินไปจนท้องแตกตาย

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 51


การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องจากรู ปที่อยูบ่ ริ เวณตรงกลางครึ่ งบนของภาพเป็ นตอนที่ ชูชกก�ำลังกินอาหาร ต่อไปมุมขวาล่างเป็ นนางสนมก�ำลังหุงหาอาหารให้แก่ ชูชก ส่ วนมุมซ้ายล่างเป็ นเหตุการณ์หลังจากที่ชูชกกินอาหารเยอะเกินไป จนท้องแตกตาย จะเห็นว่ามีพิธีกรรมเผาศพแบบโบราณอยู่

52 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 2 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้ประกอบฉากในพระราชวัง แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะสังเกตเห็นได้วา่ มีส่ิ งปลูกสร้างอยูบ่ ริ เวณ มุมขวาบน เป็ นปราสาทซ้อน 2 ชั้น คล้ายกับบ้านของคนล้านนา หน้าจัว่ ทรง สามเหลี่ยม วังของพระเจ้าสัญชัยที่ให้ชูชกพักอาศัยชัว่ คราว อีกทั้งยังได้รับ อิทธิพลพม่าเข้ามาด้วย โดนสังเกตจากสถาปั ตยกรรมที่เผาศพมีความใกล้เคียง กับสถูปของประเทศพม่าอย่างมาก

บริบททางสั งคม จะเห็นได้วา่ มีวฒั นธรรมและประเพณี เกิดขึ้นคือ การสวดหน้าศพ ในทาง ภาคเหนือนั้นจะเรี ยกว่า การปลงศพ เป็ นการการฌาปนกิจและจัดการเผาศพ ปั จจุบนั ก็ยงั ท�ำกันอยูแ่ ต่จะไม่ใช่การก่อฟื นแล้วเผา แต่จะเป็ นการสร้างเมรุ เพื่อ น�ำศพเข้าไปเผาให้เป็ นที่เป็ นทางเสี ยมากกว่า

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 53


กัณฑ์ที่ 13 : ฉกษัตริ ย ์

54 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มแรก : จะอยูบ่ ริ เวณมุมล่างซ้าย แสดงถึงตอนที่พระเจ้าสัญชัย พระนาง ผุสดี และสองกุมารเสด็จไปทูลเชิญพระเวสสันดร พระนางมัทรี กลับพระนคร กลุ่มที่สอง : จะอยูบ่ ริ เวณกลางภาพด้านซ้าย แสดงถึงตอนที่พระเจ้าสัญชัย เป็ นผูน้ ำ� ทัพไปตามพระเวสสันดรด้วยพระองค์เอง กลุ่มที่สาม : จะอยูบ่ ริ เวณด้านบนฝั่งซ้าย แสดงถึงตอนที่พระเจ้าสัญชัย ไปเจอพระเวสสันดร และพระนางมัทรี พร้อมกับจะพากลับวัง

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ ฉกษัตริย์ ตัวละครหลักของตอนนี้คือพระเจ้าสัญชัย ( กษัตริ ยเ์ มืองสี พี ) ทรงก�ำลัง เดินทางมาตามพระเวสสันดร และพระนางมัทรี กลับวัง จะสังเกตเห็นว่ามี ตัวละครที่แต่งกายทรงเครื่ องเยอะๆ ตัวนั้นคือกษัตริ ย ์ ตัวละครที่สวมเสื้ อแขน กระบอกนั้นคือข้าราชบริ พาล พลทหาร และตัวละครที่ไม่ไม่ใส่ เสื้ อผ้า คือ ชาวบ้าน

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 55


การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องจากด้านล่างไล่ข้ ึนข้างบนตามล�ำดับ เรี ยงขึ้นไปด้านบน ในแนวตั้งจากภาพล่างสุ ดที่เป็ นกองก�ำลังทหารก�ำลังเ ตรี ยมตัวเดินทาง ถัดไป ด้านบนเป็ นการเคลื่อนขบวนทหารไปในป่ า ถัดไปด้านบนอีกจะเป็ นฉากที่เจอ กับพระเวสสันดร และพระนางมัทรี

56 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : มีการวาดต้นไม้ และก้อนหิ น ประกอบฉากเพื่อ แสดงให้เห็นว่าเดินทางอยูใ่ นป่ า แบบที่ 2 สถาปัตยกรรม : จะสังเกตเห็นได้วา่ มีส่ิ งปลูกสร้างอยูบ่ ริ เวณ มุมขวาล่าง คล้ายกับบ้านของคนล้านนา 2 ชั้น ใต้ถุนสู งและโล่ง หน้าจัว่ ทรง สามเหลี่ยม คืออาศรมของพระเวสสันดร แบบที่ 3 พื้นที่วา่ ง : จะสังเกตได้วา่ พื้นที่ส่วนที่มีพระเวสสันดร และ พระเจ้าสัญชัยปรากฏอยูจ่ ะมีการระบายฉากด้วยสี ชมพูสะท้อนแสง เป็ นการ เน้นว่าเป็ นตอนที่สำ� คัญ

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 57


กัณฑ์ที่ 14 : นครกัณฑ์

58 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ

การจัดองค์ ประกอบภาพ

มีการจัดองค์ประกอบภาพโดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มแรก : แสดงถึง ตอนที่พระเวสสันดรทรงลาผนวช ทรงสัง่ ลาอาศรม รับเครื่ องทรงกษัตริ ย ์ แล้วเสด็จกลับไปครองเมืองสี พีโดยนัง่ ช้างทรง กลุ่มที่สอง : แสดงถึงขบวนเสด็จที่เดินตามหลังพระเวสสันดร เป็ นขบวน ทหารที่กำ� ลังเดินทางกลับเมือง กลุ่มที่สาม : ชาวบ้านเฉลิมฉลองร่ วมยินดีที่พระเวสสันดรทรงกลับมา ปกครองเมืองโดยมีการแสดงฟ้อนร�ำ เล่นดนตรี แบบงานรื่ นเริ งทัว่ ไป

การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องที่แตกต่างจากภาพอื่นโดยสิ้ นเชิง เพราะเป็ นภาพที่ วาดในแนวระนาบแนวนอนที่มีความต่อเนื่องกันไล่ต้ งั แต่ดา้ นบนลงมาด้านล่าง

ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังที่เป็ นระนาบสี โดยที่จะเน้นแต่ตวั ละคร เพราะภาพนี้ตวั ละครเยอะมาก ถ้าเกิดใส่ ฉากหลังเข้าไปอาจจะดูรกเกินไป

ภาพบุคคลส� ำคัญของกัณฑ์ นคร ตัวละครที่บ่งบอกว่าเป็ นกัณฑ์นคร จะมีตวั ละครผูช้ ายที่แต่งกายเป็ น กษัตริ ย ์ 2 ตัว คือพระเจ้าสัญชัย และพระเวสสันดร ตัวที่แต่งกายสี ทองแสดงถึง ยศฐาบรรดาศักดิ์ที่สูงกว่าอีกตัวหนึ่ง นัน่ หมายถึงพระเจ้าสัญชัยนัง่ ช้างทรงเดิน น�ำหน้าพระเวสสันดร และพระนางผุสดีตามล�ำดับ พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 59


กัณฑ์ที่ 15 : มาลัยปลาย

60 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


วิเคราะห์ ภาพพระบฏ การจัดองค์ ประกอบภาพ มีการจัดองค์ประกอบภาพแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ภาพกลุ่มแรก : จะอยูบ่ ริ เวณกึ่งกลางของภาพจุดเด่นเป็ นเจดียจ์ ุฬามณี และ ปราสาท เป็ นการจ�ำลองบรรยากาศบนสวรรค์ เยื้องไปทางซ้ายจะเห็นเป็ นตุง ภาพกลุ่มที่สอง : จะอยูด่ า้ นล่าง เป็ นชาวบ้านที่กำ� ลังน�ำดอกไม้มากราบ ไหว้เจดียจ์ ุฬามณี

การล�ำดับภาพ มีการด�ำเนินเรื่ องแบบการจัดเป็ นการล�ำดับภาพเป็ นฉากเดียว ไม่ได้มีการ แบ่งแยกออกเป็ นกลุ่มๆ คือช่างจะวาดภาพโดยรวมโดยจะเห็นหลายๆสิ่ งที่อยู่ ในเหตุการณ์เดียวกันแต่จะพุง่ จุดรวมสายตาอยูต่ รงกลางภาพ ในภาพนี้จะแสดง ถึงตอนที่พระมาลัยนมัสการกราบไหว้พระธาตุเกศาแก้วจุฬามณี และได้พดู คุย กับพระอินทร์ และพระศรี อริ ยเมตไตรยบนสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์บริ เวณโดยรอบ พระธาตุน้ นั จะเห็นได้วา่ มีผคู ้ นพากันห้อมล้อมกราบไหว้อยู่ ทั้งหมดนี้เป็ น เหตุการณ์ที่สอดคล้องกัน

พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 61


บริบททางสั งคม มีการปรากฏภาพการแขวนตุงในพระบฏ ผืนนี้อยูบ่ ริ เวณด้านซ้าย ในล้านนานั้นยังคงมี ประเพณี การแขวนตุงให้เห็นกันในปัจจุบนั การที่ น�ำตุงไชยมาปั กนั้นเพื่อเป็ นการอุทิศส่ วนบุญส่ วน กุศลไปให้ญาติพี่นอ้ งรวมถึงผูท้ ี่ล่วงลับไปแล้ว นอกจากปั กไว้บริ เวณสองข้างทางเข้าวัดแล้วยังมี การประดับประดาไว้รอบศาลาธรรมที่มีพิธีกรรม ทางพุทธศาสนา เช่น งานเฉลิมฉลอง ถาวรวัตถุ ของวัดวาอารามในงานปอยหลวง ประเพณี ยเี่ ป็ ง งานตั้งธรรมหลวง ( ฟังเทศน์มหาชาติ ) เป็ นต้น เพื่อบูชาพระรัตนตรัย ถือว่าได้บุญกุศลอย่างแรง เป็ นสิ ริมงคลแก่ตนเอง และครอบครัว ซึ่งคติความเชื่อ ของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่าสื บต่อกันมา กล่าวว่าใครได้ทานตุงไชยนี้เมื่อตายไปจะได้ไป ไหว้พระเกศแก้วจุฬามณี บนสรวงสวรรค์ แม้วา่ ตกนรกชายตุงนี้จะไปกวัดแกว่งให้ดวงวิญญาณ ได้เกาะขึ้นพ้นจากขุมนรก

62 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


ภาพบุคคลส� ำคัญของตอนมาลัยปลาย ตัวละครที่นุ่งจีวรดูคล้ายว่าเป็ นพระสงฆ์น้ นั คือพระมาลัย ตัวละครที่มี สี เขียวนัน่ คือพระอินทร์ และอีกตัวหนึ่งที่มีตวั สี ขาวตีความได้วา่ เป็ นพระศรี อาริ ยเมตไตรย เพราะเนื้อหาในตอนพระมาลัยปลาย กล่าวถึงการเดินทางไป สวรรค์ของพระมาลัยเถระโดยที่จะเอาดอกบัวที่รับมาจากชายยากจนมา นมัสการกราบไหว้พระธาตุเกศาแก้วจุฬามณี ได้สนทนากับพระอินทร์ และได้ ถามพระอินทร์ถึงเรื่ องการประกอบกรรมดี การสนทนานั้นมีพระศรี อริ ยเมต ไตรยร่ วมสนทนาด้วยว่าผูท้ ี่จะเกิดในยุคของพระศรี อริ ยเมตไตรยนั้นต้องได้ ท�ำบุญฟังเทศน์มหาชาติ 1,000 จบ ได้ท้ งั 13 กัณฑ์ ( ต้องฟังมหาชาติเวสสันดร ชาดกนับแต่ตน้ จนจบในวันหนึ่งคืนหนึ่ง )

ฉากหลัง พระบฏผืนนี้มีการวาดฉากหลังอยู่ 3 แบบ แบบที่ 1 ฉากธรรมชาติ : อยูบ่ ริ เวณด้านบน ซึ่งในตอนนี้เป็ นเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นในสวรรค์ คาดว่าน่าจะวาดต้นไม้บนสวรรค์ แบบที่ 2 พื้นที่วา่ ง : จะอยูบ่ ริ เวณด้านบนสุ ด ช่างได้มีการลงสี พ้ืนด้วยสี น�้ำเงินสันนิษฐานว่าน่าจะแสดงถึงบรรยากาศว่าอยูบ่ นสวรรค์ เหมือนกับว่า วิมารนั้นลอยอยูบ่ นสวรรค์ แบบที่ 3 สถาปัตยกรรม : พระบฏผืนนี้กล่าวถึงพระมาลัยขึ้นไปกราบไหว้ พระธาตุเกศาแก้วจุฬามณี จะเป็ นอย่างอื่นไปไม่ได้นอกเสี ยจากพระธาตุเกศา แก้วจุฬามณี เนื่องจากมีขนาดใหญ่มากเป็ นจุดเด่นของภาพ จะอยูต่ รงกลางแต่ เยื้องไปทางด้านซ้ายเล็กน้อย โครงสร้างของงานสถาปัตยกรรมนี้มีความคล้าย กับเจดียช์ เวดากอง ประเทศพม่าในปัจจุบนั มาก ในช่วงสมัยนั้นเริ่ มมีการติดต่อ ศิลปวัฒนธรรมจึงส่ งผลให้ได้รับอิทธิพลพม่าเข้ามา พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 63


หมายเหตุ : กัณฑ์ที่ 12 แท้จริ งนั้นต้องเป็ น กัณฑ์สกั กบรรพ เป็ นตอนที่ พระอินทร์กลัวว่าถ้ามีคนมาขอพระนางมัทรี พระเวสสันดรก็คงจะบริ จาค เป็ นทาน พระอินทร์ไม่อยากให้นางมัทรี ตกไปเป็ นภรรยาของผูอ้ ื่น จึงได้ แปลงกายเป็ นพราหมณ์ชรามาทูลขอพระนางมัทรี เมื่อพระเวสสันดรมอบให้ ก็ไม่เอาไป ได้ถวายคืนแก่พระเวสสันดร โดยห้ามพระองค์ประทานนางแก่ ผูใ้ ดอีก ก่อนจากไปพระอินทร์ได้ประทานพรให้พระเวสสันดร 8 ประการ แล้วพราหมณ์ชราก็คืนร่ างเป็ นพระอินทร์เหาะขึ้นฟ้าจากไป เป็ นตอนต่อจาก กัณฑ์มทั รี หลังจากที่พระนางมัทรี รู้เรื่ องที่พระเวสสันดรได้ยกกุมารทั้ง 2 คน ให้แก่ชูชก พระนางมัทรี กเ็ ป็ นลมสลบไป ถัดมาจะเป็ นกัณฑ์สกั กบรรพ กัณฑ์มหาราช กัณฑ์ฉกษัตริ ย ์ และนครกัณฑ์ ที่วดั พระหลวงไม่มีการเขียน กัณฑ์สกั กบรรพ แต่เวสสันดรก็ยงั คงครบ 13 ผืน เนื่องจากมีการเขียน กัณฑ์กมุ ารด้วยกัน 2 ผืนแทนกัณฑ์สกั กบรรพนัน่ เอง

64 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


อานิสงส์ การฟังเทศน์ มหาชาติชาดกทั้ง 13 กัณฑ์ 1. กัณฑ์ทศพร : จะมีรูปร่ างที่งดงาม มีความประพฤติดีกิริยาเรี ยบร้อย 2. กัณฑ์หิมพานต์ : ได้ส่ิ งที่ปรารถนาทุกประการ ถึงตายแล้วจะได้เกิดใน สุ คติโลกสวรรค์ มีสมบัติให้ใช้มากมาย มีบริ วารแวดล้อมคอยปรนนิบตั ิ ถ้าหาก ลงมาเกิดจะเกิดในตระกูลขัติยะมหาราช หรื อตระกูลพราหมณ์ที่มีท้ งั ทรัพย์สิน และบริ วารมาก 3. ทานกัณฑ์ : จะบริ บูรณ์ดว้ ยแก้วแหวนเงินทอง ทาส และสัตว์ 2 / 4 เท้า ถ้าตายไปจะได้เกิดในฉกาพจรสวรรค์ มีนางอัปสรแวดล้อมมากมาย เสวยสุ ข ในปราสาทแก้ว 4. กัณฑ์วนปเวศน์ : จะได้รับความสุ ขทั้งโลกนี้ และโลกหน้าจะได้เป็ น บรมกษัตริ ยใ์ นชมพูทวีป เฉลียวฉลาด 5. กัณฑ์ชูชก : จะได้เกิดในตระกูลกษัตริ ย ์ มีสมบัติอนั งดงามมากกว่า คนทั้งหลาย เจรจาปราศรัยไพเราะ ถ้าจะได้สามี ภรรยา และบุตร ธิดา ก็ลว้ นแต่ มีรูปทรงงดงาม 6. กัณฑ์จุลพน : จะเกิดในปรภพไหนๆก็จะมีท้ งั สมบัติ บริ วาร และมี สวนดอกไม้หอม มีสระโบกขรณี เต็มไปด้วยดอกบัว ตายไปจะได้ใช้สมบัติ ในโลกหน้าสื บต่อไป พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่ 65


7. กัณฑ์มหาพน : จะได้เกิดเป็ นกษัตริ ย ์ มีสมบัตรมากมาย อีกทั้งยังมี ชื่อเสี ยงเลื่องลือไกล 8. กัณฑ์กมุ าร : จะได้เกิดในฉกามาพจรสวรรค์ ในสมัยที่พระศรี อาริ ย เมตไตรยมาอุบตั ิกจ็ ะได้พบศาสนาของพระองค์ ตลอดจนได้ฟังธรรมเทศนา ของพระองค์แล้วบรรลุพระอรหัน 9. กัณฑ์มทั รี : ในโลกหน้าจะเกิดเป็ นคนที่มีสมบัติเยอะแยะมากมาย อายุยนื ยาว รู ปโฉมงดงาม จะไปที่ไหนก็มีแต่ความสุ ข 10. กัณฑ์สกั กบรรพ : จะเจริ ญด้วยลาภยศ ตลอดจนจตุรพิธทั้ง 4 คืออายุ วรรณะ สุ ขะ พละตลอดกาล 11. กัณฑ์มหาราช : เกิดเป็ นมนุษย์จะได้เป็ นกษัตริ ยไ์ ปใช้สมบัติ 12. กัณฑ์ฉกษัตริ ย ์ : จะได้เป็ นผูเ้ จริ ญด้วยพร 4 ประการ คืออายุ วรรณะ สุ ขะ พละ ทุกชาติ 13. นครกัณฑ์ : จะได้เป็ นผูบ้ ริ บูรณ์ดว้ ยวงคณาญาติ ทาสา - ทาสี ธิดา สามี หรื อ บิดามารดา เป็ นต้น อยูพ่ ร้อมหน้ากันด้วยความผาสุ ก

66 พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่น จังหวัดแพร่


พระบฏ วัดพระหลวง อ�ำเภอสู งเม่ น จังหวัดแพร่ ภาพและเนื้อเรื่ อง : นันทิกานต์ ฉาไธสง 550310099 สงวนลิขสิ ทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2558 จัดพิมพ์โดย : ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรู ปเล่มโดย นันทิกานต์ ฉาไธสง ฟอนท์ : Angsana New 16 pt. หนังสื อเล่มนี้เป็ นผลงานทางวิชาการจัดท�ำขึ้นเพื่อส่ งเสริ ม และต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาวิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


การศึกษารู ปแบบทางศิลปกรรมของภาพเขียนตุงค่าววัดพระหลวงนั้น เพื่อการเก็บรักษา อนุรักษ์ความงามทางศิลปะเพื่อตระหนักถึงคุณค่าความงาม ที่ถือได้วา่ เป็ นมรดกจากบรรพบุรุษ ทุกคนควรให้ความสนับสนุนเพื่อให้เกิด จิตส�ำนึกรักหวงแหนภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมที่เหลืออยู่ ซึ่งเป็ นงาน จิตรกรรมที่ถ่ายทอดจากคนรุ่ นหลังฝากถึงคนในปั จจุบนั


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.