รายงานการออกแบบฟอนต์ชุดใหม่

Page 1


รายงาน เรือ่ งการออกแบบฟ้อนต์ไทย-อังกฤษจากโปรแกรมFont creator รายวิชา การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ (ARTD2304) กลุ่มเรียน 102

เสนอ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร

จัดทาโดย นางสาว จริยา เตราชูสงค์ รหัส 5411301590 สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์)

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

รายงาน


คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชา การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์(ARTD2304) รายงามเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวมความรู้ความเข้าใจและวิธีการทาเกี่ยวกับการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Font creator โปรแกรมที่ใช้สาหรับสร้างชุดฟ้อนต์เป็นของตัวเอง เพื่อฝึกฝนการพัฒนาการทาชุด ฟ้อนต์ตัวอักษร และยังมีชุดฟ้อนต์เป็นของตัวเองไว้ใช้อีกด้วย

จัดทาโดย นางสาว จริยา เตราชูสงค์


สารบัญ

เรื่อง

หน้า

กระบวนการทางาน

1-3

Do Did Done

4-19

บรรณานุกรม


1

กระบวนการทางาน 1.Goal เป้าหมาย เป้าหมายของการทาชุดฟ้อนต์นี้คือ เพือ่ ฝึกฝนทักษะในวิชา ออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ (ARTD2304) และ พัฒนาการใช้โปรแกรม Font creator ในการสร้างชุดฟ้อนต์ของตัวเองเพื่อออกแบบและแก้ไขได้โดยมี วัตถุประสงค์หลักคือให้ใช้เป็นฟ้อนต์ของตัวเองทั้งภาษาไทย-ภาษาอังกฤษ-ตัวเลข-เครื่องหมายวรรคตอน สัญลักษณ์ เพื่อใช้เป็นตัวอักษรในการทาการ์ดอวยพรและสื่อสิ่งพิมพ์ชนิดต่างๆหรือใช้ในงานออกแบบงานต่างๆ สืบไป

2.Tools เครื่องมือหลัก

ภาพที1่ : แสดง เทมเพลตที่เป็น Grid สาหรับการเขียนฟ้อนต์ตัวเอง ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556


2

ภาพที2่ : แสดง ปากกาดาหัวสักหลาดในการเขียนฟ้อนต์ของตัวเองในเทมเพลต ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556

ภาพที3่ : แสดง เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราใช้โปรแกรมต่างๆในการสร้างฟ้อนต์ลายมือของ เรา ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556

ภาพที4่ : แสดง เครื่องสแกน เพื่อใช้ในการสแกนเทมเพลตฟ้อนต์ลายมือของเราเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556


3

ภาพที5่ : แสดง โปรแกรม Font creator เพื่อใช้ในการสร้างชุดฟ้อนต์ลายมือของตัวเอง ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556

ภาพที6่ : แสดง โปรแกรม photoshop เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสร้างฟ้อนต์ลายมือของเรา ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556


4

3.Do Did Done -Do....มีขั้นตอนและหลักฐานแสดง ขั้นตอนการออกแบบฟ้อนต์ของตัวเองภาษาไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Font creator ขั้นตอนที่ 1 ดาวว์โหลดเทมเพลตที่เป็น Grid สาหรับเขียนฟ้อนต์ ของเราเองก่อน

ภาพที1่ : แสดง เทมเพลตที่เป็น Grid สาหรับเขียนฟ้อนต์ ของตัวเอง ที่มา:https://docs.google.com/viewer?a=v&pid=sites&srcid=ZGVmYXVsdGRvbWFpbnxhcnRpMjMwNXxneDo0OTM5MDA zZWFlNTAxMjc ,2556


5

ขั้นตอนที่ 2 สแกนภาพเทมเพลตที่เขียนด้วยลายมือของเราเองลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เรียบร้อย

ภาพที่2: แสดงหน้าเทมเพลตฟ้อนต์ ของตัวเอง ที่มา: จริยา เตราชูสงค์,2556


6

ภาพที่3: แสดงหน้าเทมเพลตฟ้อนต์ ของตัวเอง ที่มา: จริยา เตราชูสงค์,2556


7

ขั้นตอนที3่

เปิดโปรแกรม

Font creator แล้วทาตามภาพ

ภาพที่4: แสดงการเปิดไฟล์ฟ้อนต์ ที่มา: จริยา เตราชูสงค์,2556

ขั้นตอนที4่ เลือกไปที่ฟ้อนต์ที่เราจะใช่เป็นแพทเทิร์น ในที่นี้เลือกไปที่ CRU-Jariya-Hand-Written-Regular แล้วกด OK

ภาพที่5: แสดงการเลือกฟ้อนต์ที่เราจะใช่เป็นแพทเทิร์น ที่มา: จริยา เตราชูสงค์,2556


8

ขั้นตอนที5่ หลังจากเลือกฟ้อนต์ที่เราจะใช่เป็นแพทเทิร์นเรียบร้อยแล้วก็จะได้แบบนี้

ภาพที6่ : แสดงการเลือกฟ้อนต์ที่เราจะใช่เป็นแพทเทิร์นเรียบร้อยแล้ว ที่มา: จริยา เตราชูสงค์,2556

ขั้นตอนที6่ หลังจากนั้นเรามาSaveAs..กันก่อนทาตอนภาพได้เลย

ภาพที7่ : แสดงการ Save As.. หลังจากที่เลือกแพทเทิร์นเรียบร้อยแล้ว ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556


9

ขั้นตอนที7่ หลังจากที่เรากด SaveAs..แล้ว เราก้อจะได้ภาพดังนี้ และเราก็ตั้งชื่อไฟล์ จาก CRU-Jariya-Hand-Written-Regular เป็นชื่อของเราแทนคือ CRU-Jariya

ภาพที8่ : แสดง การตั้งชื่อไฟล์จาก CRU-Jariya-Hand-Written-Regular เป็นชื่อของเราแทนคือ CRU-Jariya ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556

ขั้นตอนที8่ หลังจากนั้นคลิกตัวอักษรที่เราจะทามาหนึ่งตัว ดังภาพ

ภาพที9่ : แสดง การเลือกตัวอักษรที่เราจะทามาหนึ่งตัวอักษร ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556


10

ขั้นตอนที9่ หลังจากเลือกตัวอักษรมาหนึ่งตัวแล้ว ให้เปิดโปรแกรม photoshopแล้วเปิดไฟล์ ฟ้อนต์ลายมือของเราเองที่สแกนไว้ ดังภาพ

ภาพที1่ 0 : แสดงหลังจากเลือกตัวอักษรมาหนึ่งตัวแล้ว ให้เปิดโปรแกรม photoshop แล้วเปิดไฟล์ ฟ้อนต์ของเราเองที่สแกนไว้ ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556

ขั้นตอนที1่ 0 จากนั้นเลือกเครื่องมือ MagicWard ในโปรแกรม photoshop แล้วนาเครื่องมือ Magic Ward ไปคลิกที่ตัวอักษรที่เราจะใช้และมันจะขึ้นเป็นเส้นปะ ดังภาพ

ภาพที1่ 1 : แสดง เครื่องมือ Magic Ward ในโปรแกรม photoshop แล้วนาเครื่องมือ Magic Ward ไปคลิกที่ตัวอักษรที่ เราจะใช้และมันจะขึ้นเป็นเส้นปะ ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556


11

ขั้นตอนที1่ 1 หลังจากที่ตัวอักษรขึ้นเส้นปะแล้วให้เรากดคลิกขวาcut หรือctrl+xจะได้ดังภาพ

ภาพที1่ 2 : แสดง หลังจากที่ตัวอักษรขึ้นเส้นปะแล้วให้เรากดคลิกขวาcut หรือctrl+x ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556

ขั้นตอนที1่ 2 มาที่โปรแกรม Fontcreator แล้วคลิกขวา past หรือctrl+v ก็จะได้ฟ้อนต์ ของเรามาแล้ว ดังภาพ

ภาพที1่ 3 : แสดง ในโปรแกรม Font creator แล้วคลิกขวา past หรือ ctrl+v ก็จะได้ฟ้อนต์ของเรา ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556


12

ขั้นตอนที1่ 3 หลังจากนั้นขยายฟ้อนต์ของเราให้เท่ากับฟ้อนต์ที่เราใช้เป็นแพทเทิร์น และดัดฟ้อนต์ของเราให้ เรียบร้อย ทาจนคบทุกตัวอักษร หลังจากนั้นให้ทดสอบฟ้อนต์ของเราโดยกดที่ F5 เพื่อทดสอบฟ้อนต์ของเรา ทุกตัวและดูระยะห่างระหว่างตัวอักษรทุกตัวด้วย ดังภาพ

ภาพที1่ 4 : แสดง การขยายฟ้อนต์ของเราให้เท่ากับฟ้อนต์ที่เราใช้เป็นแพทเทิร์นและ ทาการดัดฟ้อนต์ของตัวเองให้เรียบร้อย ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556

ขั้นตอนที1่ 4 จากนั้นคลิกที่ฟ้อนท์ต้นแบบ เพื่อที่จะทาการเปลี่ยนข้อมูลชื่อฟ้อนท์เป็นของเราเอง ไปที่เมนู Tools>AutoNaming... ดังภาพ

ภาพที1่ 5 : แสดง การเปลี่ยนข้อมูลชื่อฟ้อนท์เป็นของเราเอง โดยไปที่เมนู Tools > Auto Naming.. ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556


13

ขั้นตอนที1่ 5 หลังจากนั้นตั้งชื่อเป็น CRU-Jariya ฟ้อนต์ และกด Nextดังภาพ

ภาพที1่ 6: แสดง การตั้งชื่อเป็น CRU- Jariya ฟ้อนท์ และกด Next ทีม่ า: จริยา เตราชูสงค์,2556


14

-Did.. ผลที่ได้รับจาก ฟ้อนต์ของเรา ภาษาไทย-อังกฤษ จากโปรแกรม Fontcreator


15


16

Done.. การนาชุดฟ้อนต์ไปทดสอบ-สร้าง-ประยุกต์-ใช้ประโยชน์ คือ นามาติดตั้งเพื่อใช้เป็นแบบพิมพ์ในรายงาน ของวิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

ข้อมูลแบบตัวพิมพ์ ( Font Information) ชื่อแบบตัวพิมพ์ (Typeface/Font Name) ชื่อ CRU-Jariya ประเภทของไฟล์ตัวพิมพ์ Open Type Layout, True Type Outlines ออกแบบโดย นางสาว จริยา เตราชูสงค์ รหัสนักศึกษา 5411301590 วิชา การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุ่มเรียน 102 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร

ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwxyz!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;'

ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึอูอิอีอึอือ่อ้อ๊อ๋อ์อาเแโใไ?

ข้อความสาหรับการทดสอบการพิมพ์รับคาสั่งพิมพ์ และเพื่อแสดงตาแหน่งการพิมพ์รูป อักขระที่ออกแบบ-จัดช่องว่าง ช่องไฟระหว่างรูปอักขระและระหว่างคา ทั้งภาษาอังกฤษ กับภาษาไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts compo sing a complete character set of as ingle size and style of a particular typeface. For example,the comple te set of all the charac ters for “9-point Bulmer” I s called a font, and the “10-point Bulmer”would be another separate font, but part of the same font family, whereas “ 9-point Bulmer bold face”would be another font in a different font family of the same typeface. One in dividual f ont character might be re ferred to as a “piece of font”or a “piece of type”. Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, al t hough t hey had clearly un der stood different meanings be fore the advent of digital typogra phy and de sktop publi shing. ในทางวงการพิมพ์นั้นกล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์เนื้อหา ที่มี ขนาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์เนื้อหาที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ มี ชื่อแบบตัวอักษรชุดนี้ว่า CRU-Jariya ที่ประกอบด้วยรูปอักขระ (Glyphs) ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Sign sand Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ


17

คากลอนไทยสาหรับใช้พิมพ์ทดสอบผลการออกแบบ แสดงโครงสร้างของตัวอักษร การจัดระดับตาแหน่ง รูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เครื่องหมายวรรคตอน การจัดระยะช่องไฟรอบรูปอักขระหรือฟ้อนต์ส่วน ภาษาไทย ที่สร้าง บันทึก ติดตั้ง และหรือทดสอบในโปรแกรมฟ้อนต์ครีเอเตอร์และัหรือด้วยโปรแกรมประยุกต์ อื่นๆในระบบ เขามักใช้คากลอนนี้ ให้นักศึกษาคัดลอกไปวาง เปลี่ยนเป็นฟ้อนต์ที่เราทา ตรวจสอบระยะช่องไฟกั้น หน้า-หลัง การประสมคาตาแหน่งสระและวรรณยุกต?ว่าตรงตาแหน่งตามหลักไวยกรณ์ของไทยหรือใหม่และ บันทึกเป็นหลักฐานแสดงในรายงาน ภาษาอังกฤษให้ตรวจสอบดูด้วยตาเองว่าระยะเป็นอย่างไร แล้วไปแก้ไขใน ตารางฟ้อนต์ และทดสอบใหม่ ซ้าๆ จนแน่ใจว่าเป็นระยะและตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว

คากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษร ตาแหน่งพิมพ์ผสมคาไทย "เป็นมนุษย์สุดประเสริฐเลิศคุณค่า กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ อย่าล้างผลาญ ฤๅเข่นฆ่าบีฑาใคร ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัด ฮึดฮัดด่า หัดอภัยเหมือนกีฬา อัชฌาสัย ปฏิบัติประพฤติกฎ กาหนดใจ พูดจาให้จ๊ะๆจ๋า น่าฟังเอยฯ"

คาที่ควรนามาทดสอบคือ วิญูชน ภูปเตมี กตัญญู เกลื่อน เกลื้อน โหมโรง กระโปรง น้าใจ


18

การนาฟ้อนต์ของเรามาติดตั้งใน control Pane > Fonts เพื่อใช้เป็นแบบพิมพ์ในรายงานของวิชาออกแบบ ตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ในโปรแกรมสร้างเอกสารต่างๆเช่น Microsoft Word

ภาพที1่ 7: แสดงการนาฟ้อนต์ของเราเองไปติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556

ภาพที1่ 8: แสดงการนาฟ้อนต์ของเราเองมาใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556


19

ภาพที1่ 9 : แสดง การนาชุดฟ้อนต์ ไปทดสอบ-สร้าง-ประยุกต์และใช้ประโยชน์ ที่มา:จริยา เตราชูสงค์,2556


บรรณานุกรม ที่มา: -http://www.high-logic.com/font-editor/fontcreator/tutorials.html (หน้าเว็บไซต์โปรแกรมออกแบบสร้างฟ้อนต์ด้วย Font Creator และการดาวน์โหลดโปรแกรม Font Creator) -http://typefacesdesign.blogspot.com/2012/12/fontlab5-user-manual.html (คู่มือการใช้โปรแกรม Font Creator ที่ใช้สาหรับการออกแบบชุดตัวอักษรและตัวพิมพ์ และสร้างไฟล์) -www.google.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.