Portfolio: Jewerly and Gold Book Design

Page 1

ตั้งเฮงหลี ห า ง เ พ ช ร ท อ ง

พิเศษ! คูมือทองเที่ยวพิษณุโลกในเลม Plus! Phitsanulok Travel Guide


สืบสานตำนานชางตีทองพิษณุโลกเมืองลูกหลวง

Inherited a goldsmith’s legend of Phitsanulok

ตั้งเฮงหลี ห า ง เ พ ช ร ท อ ง www.thlgem.com

รับทำเครื่องประดับตามสั่งทุกชนิด Pre Order Jewelry & Gold


คำขวัญประจำบริษัท ตั้งเฮงหลี เอเชีย จำกัด พระพุทธชินราช พิมพนางพญา พระราชวังจันทน นเรศวรมหาราช เมืองพิษณุโลก ศิลปทั้งปวง เราหลานเหลน ทำดวยใจ เราทำงาน พัฒนางาน งานหัตถศิลป ทั้งผลงาน

งามเลิศ พระแมบดินทร ถิ่นกำเนิด ผูสรรสราง สองแคว ชางตีทอง องคนเรศ รักงานศิลป ดวยใจซื่อ ใหแจมจรัส มุงไปหา ที่เกิดใหม

วิจิตรศิลป บรรจงสราง เกิดสรรพางค กอบกูไทย เมืองลูกหลวง ยังผองใส สืบทอดไว ถิ่นโบราณ ถือความสัตย ดั่งคำขาน จินตนาการ ทันสมัยเอย


คุณจุมพฎ ลิขิตวัฒนไพศาล

หางเพชรทองตั้งเฮงหลี กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ.๒๕๒๓ โดย คุณจุมพฎ ลิขิตวัฒนไพศาล (L.Likhitwatthanaphaisan) ตอมาจดทะเบียนเปน บริษัทเมื่อป พ.ศ.๒๕๓๘ ดวยทุน จด ทะเบียน 1 ลานบาท และชะลอตัวลงเมือ่ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในป พ.ศ.๒๕๔๐ แตกิจการก็ยังคงดำเนินตอไปได ปจจุบันหางเพชรทองตั้งเฮงหลี เอเชีย จำกัด มีทุน จดทะเบียน 8 ลานกวาบาท และรวมมีทรัพยสิน 25 ลานบาท หางเพชรทองตั้งเฮงหลี รับทำเครื่องประดับตามสั่ง ทุกชนิด ไมวาจะเปน สรอยคอเพชรแท กำไลเพชรแท แหวน เพชรแท พระเลี่ยมทองเพชรแท เซียนนำโชค เครื่องประดับอื่นๆ โดยเนนสินคาจดสิทธิบตั ร ดวยความคิดสรางสรรคของคุณจุมพฎ ไดกอ เกิดเครือ่ งประดับทีม่ คี วามแปลกใหม สวยงาม ทีไ่ ดรบั การจ ดสิทธิบัตรจำนวนหลายชิ้นดวยกัน ตามแนวความคิดที่วา “จะสรางสิ่งที่คนอื่นคิดไมถึง” จึงไดขึ้นชื่อวาเปน “มหัศจรรย ตั้งเฮงหลี” ทัง้ นีบ้ ริษทั มีเปาหมายทีจ่ ะเปนบริษทั มหาชนตอไป


บริษัท ตั้งเฮงหลี เอเชีย จำกัด ติดธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย (สาขาพิษณุโลก) สี่แยกบานแขก ๖๗/๑๖ ถนนเอกาทศรฐ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โทร. ๐๕๕-๒๒๕๐๗๑, ๐๕๕-๒๒๕๐๗๓, ๐๘๑-๖๐๔๐๖๗๕, ๐๘๑-๒๘๔๘๖๕๖ แฟกซ ๐๕๕-๒๔๓๙๙๕ ตั้งเฮงหลี จิวเวอรรี่&โกลด (โรงแรมอมรินทรลากูน) ล็อบบี้ หนาหองอาหาร ลากูนา ตั้งเฮงหลี จิวเวอรรี่&โกลด (โรงแรมลีลาวดี)


จุดยืนของบริษทั ในการดำเนินธุรกิจคือ ซือ่ สัตย กตัญู และมีคณ ุ ธรรม ปรัชญาและแนวคิด

ของคุณจุมพฎ ลิขิตวัฒนไพศาล ผูก อ ตัง้ บริษทั ตัง้ เฮงหลี เอเชีย จำกัด

ใบไมไหวไพรพฤกยอมมีเหตุผล ทีมงานซือ่ ตรงหรือไมดทู เ่ี นือ้ งาน วันๆ ผานไป พิสจูุ นไดถงึ ผลงาน ไมมงี านก็ไมไดพสิ จู นผลงาน วันนีต้ อ งไดมากกวา เมือ่ วานเพียงไดทำ ประสบการณคอื ของจริงทีผ่ า นมา ทฤษฎี คือความเขาใจ กินใหหนัก นอนใหอม่ิ เทีย่ วใหสนุก งานเราทุม เท

หิว เหนือ่ ย งวง ผิดหวัง เจ็บปวด เฉยไว เดีย๋ วดีเอง ไมหวิ ไมกน ิ ไมเหนือ่ ย ไมหยุด ไมงว ง ไมนอน รวยแนๆ


บรรยากาศการทำงานของชางทอง กวาจะกลายมาเปนเครื่องประดับที่ป ราณ

ีตสวยงาม


ถาม-ตอบขอสงสัยกับหางเพชรทองตั้งเฮงหลี TUNG HENG LEE Q&A

Q: สินคาซื้อแลวสามารถขายคืนไดหรือไม? A: สินคาทีซ่ อ้ื จากทางรานเพชรทอง ตัง้ เฮงหลี ทุกสาขาทางรานยินดี รับซือ้ คืนทุกชิน้ โดยจะดูตามสภาพและราคาตลาด Q: สินคาของหางเพชรทอง ตั้งเฮงหลี มีความแตกตางโดดเดนแตกตาง จากรานอื่นๆ อยางไรบาง? A: บริษัทเราผลิตสินคาเอง และเปนสินคาทำมือมากไปดวยคุณภาพ โดยปกติจะผลิตรุนละ ๑ ชิ้นเทานั้น หรือผลิตลายที่ไมเหมือนกัน งานจึงมีความเปนเอกลักษณ Q: พระเครื่องเปนพระแทหรือไม? A: เปนพระที่ผานการเขาพิธีแลวทั้งหมด แลวแตรุนพิธี Q: นาิกาของทางรานมีลักษณะพิเศษอยางไร? A: สามารถเปลีย่ นเรือนใหมได เพราะทัง้ เรือนคือครอบเปนกรอบถอดเปลีย่ น หรือสามารถทำเปนเครื่องประดับอื่นๆ ไดโดยไมเสียคาใชจายใดๆ Q: มีการรับประกันสินคาหรือไม? A: สินคาทุกชิน้ มีการออกใบรับั ประกันใหและซอมลางฟรีตลอดอายุการใชงาน


Products

หางเพชรทอง ตั้งเฮงหลี



นาิกา (Watches)


นาิกา (Watches)


พระเครื่อง (Small Buddha Images)


กำไลขอมือ (Bracelets)



จี้ (Pendants)


มีการออกใบรับประกันสินคา


สินคาอื่นๆ

สินคาที่โดดเดน แปลกตา ซึ่งออกแบบโดยหางเพชร ทองตั้งเฮงหลี ไดรับการจดสิทธิบัตรแลวหลายชิ้น


ทำจากทองคำแท และเพชรแท

รูปลักษณสินคามีความโดดเดน เปนเอกลักษณ


ตางหู (Earrings)



แหวน (Rings)


เที่ยวเมืองพิษณุโลก

Phitsanulok Tra v e l G u i d e สนับสนุนโดย หางเพชรทอง ตั้งเฮงหลี

TUNG HENG LEE ASIA CO.,LTD.


ขอมูลทั่วไปจังหวัดพิษณุโลก พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นกำเนิดพระนเรศวร สองฝงนานลวนเรือนแพ หวานฉ่ำแทกลวยตาก ถ้ำและน้ำตกหลากตระการตา พิษณุโลก เปนเมืองใหญในเขตภาคเหนือตอนลาง มากมีไปดวย แหลงประวัตศิ าสตร วัฒนธรรมและธรรมชาติของสายน้ำและปาเขาทีส่ วยงาม นาทองเที่ยว อยูหางจากกรุงเทพมหานครประมาณ ๓๗๗ กิโลเมตร จังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ ๑๐,๘๑๕ ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาและที่ราบสลับปาไมทางดานตะวันออก นอกนั้น เปนที่ราบลุมอยูโดยทั่วไป มีแมน้ำสำคัญคือ แมน้ำนานซึ่งไหลผานบริเวณ ตัวเมือง แบงการปกครองออกเปน ๙ อำเภอคือ อำเภอเมือง อำเภอวังทอง อำเภอพรหมพิราม อำเภอบางระกำ อำเภอบางกระทุม อำเภอนครไทย อำเภอวัดโบสถ อำเภอชาติตระการ และอำเภอเนินมะปราง ประชากร ณ พ.ศ. 2551 รวมทั้งสิ้น 841,914 คน ดานอาชีพ ประชา ชนซึ่งอาศัยอยูในเขตจังหวัดพิษณุโลกสวนใหญประกอบอาชีพทางดานเกษต รกรรม การทำนานับเปนอาชีพหลักและพืชไรจะเปนรายไดอันดับสอง อาณาเขต ทิศเหนือ ติดตอกับจังหวัดอุตรดิตถ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศใต ติดตอกับจังหวัดพิจิตร ทิศตะวันออก ติดตอกับจังหวัดเพชรบูรณ และจังหวัดเลย ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดกำแพงเพชร ๑


ภาพพิษณุโลกในอดีต


เหตุการณไฟไหมเมืองพิษณุโลก พ.ศ.๒๕๐๐ ๓


ประวัติศาสตรเมืองพิษณุโลก หลักฐานการสรางเมืองพิษณุโลกมีมาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๑๕ สมัยขอมมีอำนาจปกครองแถบนี้ แตเดิมมีชอ่ื เรียกวา “เมืองสองแคว” เนือ่ ง จากเมืองตั้งอยูระหวางแมน้ำนาน และแมน้ำแควนอย หรือบริเวณที่ตั้งของ วัดจุฬามณีในปจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๙๐๐ สมเด็จพระมหาธรรมราชา ลิไทแหงกรุงสุโขทัย ไดโปรดเกลาฯ ใหยายเมืองมาตั้งอยู ณ ตัวเมืองปจจุบัน โดยมีฐานะเปนเมืองลูกหลวง สมัยอยุธยา เมืองพิษณุโลกทวีความสำคัญมากขึ้น เพราะเปนเมือง กึง่ กลางระหวางกรุงศรีอยุธยาและอาณาจักรฝายเหนือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถทรงปฏิรูปการปกครองและไดเสด็จมาประทับที่เมืองนี้ตั้งแต พ.ศ. ๒๐๐๖ จนสิ้นรัชกาลใน พ.ศ. ๒๐๓๑ ชวงนั้นพิษณุโลกเปนราชธานีแทน กรุงศรีอยุธยานานถึง ๒๕ ป หลังรัชสมัยของพระองค พิษณุโลกมีฐานะเปน เมืองลูกหลวง ถือเปนเมืองหนาดานสำคัญที่จะสกัดกั้นกองทัพพมา เมือ่ ครัง้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชดำรงฐานะพระมหาอุปราชครอง เมืองพิษณุโลก ขณะนั้นไทยตกเปนเมืองขึ้นของพมา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดทรงรวบรวมชายฉกรรจชาวพิษณุโลกกอบกูอิสรภาพชาติไทยได ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ สมัยกรุงธนบุรี พิษณุโลกเปนสถานทีต่ ง้ั มัน่ รับศึกพมา เมือ่ ครัง้ กองทัพ ของอะแซหวุนกี้มาตีเมืองพิษณุโลก ใน พ.ศ. ๒๓๑๘ อะแซหวุนกี้ตองเผชิญ การตอสูอยางทรหดกับเจาพระยาจักรี และเจาพระยาสุรสีหถึงขนาดตองขอ ดูตัว และไดทำนายเจาพระยาจักรีวาตอไปจะไดเปนกษัตริย ในสมัยรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกได ทรงดำริใหรอ้ื กำแพงเมืองพิษณุโลกเพือ่ ไมใหขา ศึกใชเปนทีม่ น่ั ครัน้ พ.ศ. ๒๔๓๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั โปรดเกลาฯ ใหยกฐานะเมืองพิษณุโลก ขึ้นเปนมณฑลเรียกวา มณฑลพิษณุโลก ตอมาเมื่อยกเลิกการปกครองแบบ มณฑลแลว พิษณุโลกจึงมีฐานะเปนจังหวัดเรื่อยมาจนปจจุบัน


วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดใหญ) พระประธานองคใหญทป่ี ระดิษฐานในวิหารคือ “พระพุทธชินราช” ชาวเมืองพิษณุโลก นิยมเรียกกันวา “หลวงพอใหญ” วัดใหญนบั เปนพระอารามหลวงทีส่ ำคัญของจังหวัด สรางขึน้ พรอมกับการสรางเมืองเมือ่ พ.ศ. ๑๙๐๐ ภายในวัดมีโบราณสถานโบราณ วัตถุลำ้ คามากมาย อาทิ พระพุทธชินราช เปนพระพุทธรูปปางมารวิชยั ขนาดใหญ ไดรบั การกลาวขานวา เปนพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธลักษณะงดงามทีส่ ดุ ในประเทศ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) โปรดใหสรางขึน้ พรอมกับพระพุทธชินสีหแ ละพระศรีศาสดา บานประตูประดับมุก ทีท่ างเขาพระวิหารดานหนา สรางขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๒๙๙ เปน ฝมอื ชางหลวงสมัยอยุธยาตอนปลาย ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจาอยูห วั บรมโกศ พระเหลือ พระยาลิไท รับสัง่ ใหชา งนำเศษทองสัมฤทธิท์ เ่ี หลือจากการสรางพระพุทธ ชินราช พระพุทธชินสีห และพระศรีศาสดา มารวมกันหลอพระพุทธรูปปางมารวิชยั ขนาดเล็ก และพระสาวกยืนอีก ๒ องค วิหารพระเจาเขานิพพาน หรือ วิหารแกลบ หรือ วิหารหลวงสามพีน่ อ ง ตัง้ อยูท าง ดานใตของพระวิหารพระศรีศาสดาราม ภายในวิหารมีพระพุทธรูปนัง่ ขนาดใหญ บริเวณกลางพระวิหารมี “หีบปางพระเจาเขานิพพาน” พระอัฏฐารส เปนพระพุทธรูปยืนปางหามญาติดานหลังพระวิหาร สูง ๑๘ ศอก สรางในสมัยเดียวกับพระพุทธชินราช ราว พ.ศ. ๑๘๐๐ เดิมประดิษฐานอยูใ นวิหาร ใหญแตวหิ ารไดพงั ไปจนหมด เหลือเพียงเสาทีก่ อ ดวยศิลาแลงขนาดใหญ ๓-๔ ตน เรียกวา “เนินวิหารเกาหอง” อยูด า นหลังวิหารพระพุทธชินราช พระปรางคประธาน ศิลปสมัยอยุธยาตอนตน ฐานเหลีย่ มยอมุมไมยส่ี บิ เดิมเปนเจดีย ทรงพุม ขาวบิณฑแบบสุโขทัยแท ตอมาถูกแปลงใหเปนพระปรางคในสมัยอยุธยา วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร เปดทุกวัน เวลา ๖.๓๐-๑๘.๐๐ น. สวนพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติพระพุทธชินราช ในวัดเปดวันพุธ-วันอาทิตย เวลา ๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ปดวันจันทร วันอังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ www.thailandmuseum.com ๕


พระพุทธศรีศาสดา

พระพุทธชินสีห ๖


พิพิธภัณฑพื้นบานจาทวี

(จาสิบเอกทวี-พิมพ บูรณเขตต) เลขที่ ๒๖/๑๓๘ ถนนวิสทุ ธิกษัตริย ในตัวเมืองพิษณุโลก เปนที่เก็บรวบรวมขาวของเครื่องใชพื้นบาน ซึ่งเปน เครื่องมือทำมาหากินของชาวบานในอดีต ตั้งแตชิ้นเล็กๆ จนถึงชิ้นใหญ เชน เครือ่ งจักสาน เครือ่ งปน ดินเผา เครือ่ งใชในครัวเรือน เครือ่ งใชในการประกอบ อาชีพ เชน เครือ่ งวิดน้ำดวยมือ เครือ่ งสีขา ว เครือ่ งมือดักจับสัตว รวมกันแลว นับหมื่นชิ้น จนไดรับการยอมรับวาเปนขุมทรัพยทางประวัติศาสตรและ ภูมปิ ญ  ญาไทย และไดรบั รางวัลยอดเยีย่ มอุตสาหกรรมทองเทีย่ วไทยประเภท หนวยงานสงเสริมและพัฒนาการทองเทีย่ ว เมือ่ พ.ศ.๒๕๔๑ เปดใหเขาชมทุกวัน เวนวันจันทร ตั้งแตเวลา ๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๗๔๙, ๐ ๕๕๒๕ ๘๗๑๕, ๐ ๕๕๓๐ ๑๖๖๘ อัตราคาเขาชม ผูใหญ ๕๐ บาท เด็ก ๒๐ บาท พระภิกษุ นักบวช ไมเสียคาเขาชม ชาวตางชาติ ๑๐๐ บาท ตรงขามกับพิพธิ ภัณฑ เปนโรงหลอพระบูรณะไทย ติดตอเขาชมการ หลอพระลวงหนา โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๗๑๕ ๗


ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

เปนศาลาทรงไทยโบราณตรีมขุ พระรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขนาดเทาองคจริง ประทับนัง่ พระหัตถทรงพระสุวรรณภิงคาร หลัง่ น้ำในพระอิรยิ าบถประกาศอิสรภาพทีเ่ มืองแครง สรางโดยกรมศิลปากร เสร็จเมือ่ พ.ศ. ๒๔๐๔ มีการจัดงานสักการะพระบรมรูปในวันที่ ๒๕ มกราคม ของทุกป ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตัง้ อยูใ นโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม (ปจจุบนั ไดทำการรือ้ ถอนโรงเรียนไปแลว) ซึง่ ตัง้ อยูต ดิ กับเสาหลักเมือง อยูถ ดั เขาไปตามถนนเลียบแมนำ้ แตเดิมบริเวณโรงเรียนเคยเปนพระราชวังจันทนมากอน เมือ่ เดือนมีนาคม ๒๕๓๕ กรมศิลปากรไดขดุ คนพบแนวเขตพระราชฐาน พระราชวังจันทน สถานทีพ่ ระราชสมภพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึง่ นับวาเปนการขุดคนทางโบราณคดี และทางประวัตศิ าสตรครัง้ สำคัญของจังหวัด


วัดราชนางพญา ตัง้ อยูบ ริเวณเดียวกับวัดราชบูรณะ ถัดไปทางทิศตะวันออก มีลกั ษณะสถาปตยกรรมสมัยเดียวกับวัดราชบูรณะ ตางกันทีว่ ดั นางพญาไมมพี ระอุโบสถมีแตวหิ าร วัดนีม้ ชี อ่ื เสียงในดานพระเครือ่ ง เรียกวา “พระนางพญา” ซึง่ เลาลือกันถึงความศักดิส์ ทิ ธิ์ ปจจุบนั หาไดยากมาก มีกแ็ ตทไ่ี ดสรางจำลองขึน้ ภายหลัง มีการพบกรุพระเครือ่ งครัง้ แรกใน พ.ศ. ๒๔๔๔ และครัง้ หลังเมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๗


วัดราชบูรณะ

ตัง้ อยูร มิ แมนำ้ นานฝง ตะวันออก ทางใตของวัดพระศรีมหาธาตุ พระอุโบสถมีลกั ษณะพิเศษคือ ทีช่ ายคาตกแตงดวยนาค ๓ เศียร มีลกั ษณะออนชอยงดงาม พระประธานเปนศิลปะสมัยสุโขทัย สันนิษฐานไดวา วัดนีน้ า จะสรางในสมัยสุโขทัย และไดรบั การบูรณะครัง้ แรก ในสมัยพระยาลิไทจึงกลายเปนทีม่ าของชือ่ วัดในปจจุบนั ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถเปนรูปรามเกียรติ์ วาดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ สันนิษฐานวาเปนฝมอื ชางพืน้ บาน วัดราชบูรณะตัง้ อยูท ถ่ี นนสิงหวัฒน บริเวณสะพานนเรศวร ตรงขามกับวัดนางพญา

ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถ

๑๐


วัดจุฬามณี

ใบเสมาที่ยังหลงเหลืออยู

วัดจุฬามณี ตัง้ อยูร มิ แมนำ้ นานฝง ตะวันออก หางจากตัวเมืองพิษณุโลก ไปทางใตตามถนนบรมไตรโลกนารถ ประมาณ ๕ กิโลเมตร เปนโบราณสถาน ที่มีมากอนสมัยสุโขทัย เคยเปนที่ตั้งของเมืองสองแควเกา สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถทรงสรางพระวิหารและเสด็จออกผนวชทีว่ ดั นี้ เมือ่ พ.ศ. ๒๐๐๗ เปนเวลา ๘ เดือน ๑๕ วัน โดยมีขา ราชบริพาร ออกบวชตามเสด็จถึง ๒,๓๔๘ รูป มีโบราณสถานสำคัญคือ ปรางคแบบขอมขนาดยอม สมัยทีย่ งั สมบูรณ อยูมีกำแพงแกวลอมรอบ ใกลเคียงกันมีมณฑปพระพุทธบาทจำลองซึ่งสมเด็จพระนารายณมหาราชไดโปรดใหสรางขึน้ แผนจารึกหนามณฑปมีใจความสรุปไดวา เมื่อ พ.ศ. ๒๒๒๑ สมเด็จพระนารายณมหาราชทรงมีพระบรมราชโองการใหใชผา ทาบรอยพระพุทธบาท สลักลงบนแผนหิน พระราชทานไวเปนที่กราบไหวของ ฝูงชน

๑๑


สวนนกไทยศึกษา ตั้งอยูตรงขามพิพิธภัณฑพื้นบานจาทวี (ทางเขาเดียวกับโรงหลอพระ) เปนแหลงอนุรกั ษเรียนรูน กทีพ่ บในเมืองไทย บางชนิดเปนนกหายากใกลสญ ู พันธุ และบางชนิดไดสญ ู พันธุไ ปแลว เชน นกเปลาหนาแดง นกเงือกชนหินเปนตัวเดียว ในประเทศไทยที่จัดใหชม นอกจากนี้ยังไดรวบรวมนกในวรรณคดีไทย อาทิ นกขมิ้น นกโพระดก นกกาเหวา นกสาลิกาเขียว และนกขุนแผน เพื่อจัดแสดงให ไดมีโอกาสสัมผัสตัวตนแทนการจินตนาการตามคำบอกเลาจากหนังสือ และยังมี นกไทยอีกนับรอยชนิดที่จัดใหชมและศึกษาอยางใกลชิด นกบางชนิดสามารถ เลียนเสียงมนุษย สรางความสนุกสนานใหกับผูชมทุกครั้งที่ไดพบเห็นดวยการสง เสียงทักทายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไดแก นกแกว นกการะเวก นกอีก หลายๆ ชนิดมีเสียงรองเปนทำนองเพลงไพเราะจับใจ เชน นกกระรางคอดำ นกกระรางหัวหงอก นกกางเขนดง เปนตน เปดใหเขาชมทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๗.๐๐ น. คาเขาชม ผูใ หญ ๕๐ บาท เด็ก ๒๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๕๔๐

๑๒


วัดราชคีรีหิรัญยาราม

วัดราชคีรหี ริ ญ ั ยาราม หรือวัดพระพุทธบาทเขาสมอแคลง หรือทีเ่ รียก สั้นๆ วา วัดเขาสมอแคลงนี้ ตั้งอยูบนเขาสมอแคลง บานสมอแคลง เดินทาง จากตัวเมืองพิษณุโลกไปตามทางหมายเลข ๑๒ (เส้นทางสายพิษณุโลกหล่มสัก) ประมาณ ๑๔ กิโลเมตร (ก่อนถึงอำเภอวังทอง ๓ กิโลเมตร) มี ทางแยกซายไปอีก ๕๐๐ เมตร บนเขาสมอแคลงมีสระน้ำเรียกวา สระสองพีน่ อ ง มีนำ้ ตลอดป เดิมเปน วัดรางและมีพระสงฆมาจำพรรษา เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๖ ในบริเวณวัดมีรอยพระพุทธบาท จำลอง และบนเขาดานตะวันตกของวัดมีรอยพระบาทตะแคงอยูก บั หนาผา ซึง่ จะ มีงานนมัสการพระพุทธบาทในกลางเดือน ๓ เปนประจำทุกป เมื่อประมาณตนป พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดมีการอัญเชิญพระโพธิสัตวกวนอิม ซึง่ แกะสลักจากหินทะเลสาบหยกขาวจากเมืองหางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน เปนปางพิเศษไดรบั อนุมตั ใิ หสรางโดยรัฐบาลจีนโดยใชตน แบบจากวัดเจาแมกวนอิม เมืองหางโจว มาประดิษฐาน ณ วัดแหงนี้ ศาลเจาเหงเจีย ซึง่ ชาวไทยเชือ้ สายจีนกราบไหวทำบุญเปนประจำ และ ถัดจากศาลเจาเหงเจียขึ้นไปอีกจะเปนจุดชมวิวสูงสุดของเขาแหงนี้ เปนที่ตั้ง ของพระมหาธาตุเจดียศรีบวรชินรัตน บรรจุพระบรมสารีริกธาตุสวนพระนลาฏ (กระดูกหนาผาก) ของพระพุทธเจา เจดียม ลี กั ษณะเปนทรงพุม ขาวบิณฑ ทีฐ่ าน ประดิษฐานพระพุทธลีลามหาธรรมราชาลิไททั้ง ๔ ดาน


น้ำตกปอย และ สวนปาเขากระยาง ตั้งอยูระหวางหลักกิโลเมตรที่ ๕๙-๖๐ ทางหลวงหมายเลข ๑๒ มีทางแยกไปน้ำตกปอยอีก ๒ กิโลเมตร ซึง่ ตัง้ อยูบ ริเวณสวนปาเขากระยาง ในความดูแลขององคการอุตสาหกรรมปาไมเปนน้ำตกที่มีทัศนียภาพ สวยงาม สภาพโดยรอบรมรืน่ เหมาะเปนทีพ่ กั ผอนหยอนใจ และในบริเวณ สวนปายังมีเสนทางศึกษาธรรมชาติสำหรับผูที่สนใจ และมีบริการบานพัก สำหรับประชาชนทั่วไป โทร. ๐ ๑๖๐๔ ๔๒๐๗

น้ำตกปอย

น้ำตกแกงโสภา

น้ำตกแกงโสภา เสนทางพิษณุโลก-หลมสัก บริเวณกิโลเมตรที่ ๗๑-๗๒ มีทางแยก เขาไป ๒ กิโลเมตร เปนน้ำตกขนาดใหญ สภาพโดยรอบรมรืน่ ตอนบนเปน แผนหินเรียบ สวนตอนลางเปนโขดหินใหญ ในฤดูน้ำหลากสายน้ำจะไหล เชี่ยวกราก ในฤดูแลงน้ำนอยแลเห็นน้ำตกไหลลดหลั่นเปนชั้นตาง ๆ ๓ ชั้น คาธรรมเนียมเขาชม ชาวไทย ๒๐ บาท ชาวตางชาติ ๒๐๐ บาท เด็กไมเสีย คาธรรมเนียม เปดเวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. ๑๔


อุทยานแหงชาติทุงแสลงหลวง มีพน้ื ที่ ๗๘๙,๐๐๐ ไร ในทองที่จังหวัดพิษณุโลกและ เพชรบูรณ สภาพภูมปิ ระเทศเปน ภูเขานอยใหญสลับซับซอน เปน ตนน้ำลำธารหลายสายที่ไหลลง สูแ มนำ้ นาน ทีท่ ำการอุทยานฯ ตั้งอยูกิโลเมตรที่ ๘๐ เสนทาง สายพิษณุโลก-หลมสัก นักท อ งเที่ ย วสามารถขอข อ มู ล เดินทางศึกษาธรรมชาติ รวมทัง้ ใชบริการทีพ่ กั และกางเต็นทพกั แรมได แหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานฯ ไดแก น้ำตกตาง ๆ บนเสนทางสาย พิษณุโลก-หลมสัก เชน น้ำตกแกงโสภา เปนตน สวนพืน้ ทีท่ างดานตะวันออกและ ตอนกลางของอุทยานฯ ในอำเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ เปนบริเวณปาสนและ ทุง หญาสะวันนา ไดแก ทุง แสลงหลวง ทุง พญา ทุง โนนสน ซึง่ นักทองเทีย่ วนิยม ไปเดินปาและกางเต็นทพักแรม สามารถติดตอไดที่หนวยพิทักษอุทยานฯ สล.๘ (หนวยฯ หนองแมนา) การเดินทางไปหนวยฯ หนองแมนา รถสวนบุคคล จากบานแคมปสน กิโลเมตรที่ ๑๐๐ เสนทางพิษณุโลก-หลมสัก แยกไปตามทาง ๒๑๙๖ ทางไป เขาคอ จนถึงตลาดพัฒนา เลีย้ วขวาเขาทาง ๒๓๒๕ จนถึงบานทานตะวัน มีทาง ไปหนวยจัดการอุทยานฯ (หนองแมนา) อีก ๓ กิโลเมตร รวมระยะทางจาก บานแคมปสน ๓๕ กิโลเมตร รถโดยสาร จากสถานีขนสงพิษณุโลกโดยสารรถประจำทางสายพิษณุโลกหลมสัก ลงรถที่บานแคมปสน กิโลเมตรที่ ๑๐๐ จากนั้น จางเหมารถสองแถวที่ ปากทางแคมปสนไปยังหนวยฯหนองแมนา หรือเชารถสองแถวจากบริษัทรถเชา ในพิษณุโลกไปยังหนวยฯ หนองแมนาเลยก็ได สอบถามรายละเอียดไดที่ทำการ อุทยานแหงชาติทงุ แสลงหลวง โทร. ๐ ๕๕๒๖ ๘๐๑๙


เขตหามลาสัตวปาถ้ำผาทาพล ตั้งอยูในอำเภอเนินมะปราง เปนเขาหินปูนอยูในมหายุคพาลีโอซีน (Palaeocene) และอยูใ นยุคยอยคารบอนิเฟอรัส (Carboniferus) มีอายุ ราว ๓๖๐-๒๘๖ ลานปมาแลว เปนภูเขาหินปูนลูกโต หนาผาสูงชัน มีลกั ษณะ คลายรูปเกือกมา หินปูนบริเวณนีส้ ว นมากเกิดจากการทับถมของเปลือกหอย พลับพลึงทะเล หรือปะการัง มีการตกตะกอนทางเคมีอยูน อ ยมาก บริเวณนีเ้ คย เปนทะเลมากอน ยอดสูงสุด ๒๓๖ เมตร มีหนาผาสูงชันเวาแหวง อันเกิดจาก การกัดเซาะของน้ำฝนนับหลายลานป เกิดเปนถ้ำตาง ๆ มากมายทัว่ บริเวณถ้ำ ทีน่ า สนใจ ไดแก ถ้ำนเรศวร ถ้ำเรือ ถ้ำผาแดง ถ้ำลอด หากตองการพักคางแรมหรือทัศนศึกษาเปนหมูค ณะติดตอลวงหนาไดท่ี สำนักงานเขตหามลาสัตวปา ถ้ำผาทาพล หมู ๖ ตำบลบานมุง อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก ๖๕๑๙๐ โทร.๐ ๑๖๐๔ ๐๘๔๓, ๐ ๙๙๖๔ ๒๒๔๙

๑๖


อุทยานแหงชาติแกงเจ็ดแคว

อุทยานแหงชาติแกงเจ็ดแคว ครอบคลุมพื้นที่ปาเขาในเขต ๔ อำเภอ ของพิษณุโลก คือ วังทอง วัดโบสถ นครไทย และชาติตระการ เปนแหลงตนน้ำ หลายสายที่ไหลลงสูลำน้ำแควนอย แหลงทองเที่ยวที่นาสนใจในเขตอุทยานฯ คือ น้ำตกแกงเจ็ดแคว อันเปนทีร่ วมของธารน้ำสายยอย ๆ จำนวน ๗ สาย เปน ลานหินกวางประมาณ ๒๐๐ ม. อยูกลางลำน้ำแควนอย มีสันดอนเปนพื้นที่ปา อยูตรงกลางทำใหลำน้ำแควนอยแยกออกเปน ๗ สาย สันดอนกลางน้ำมีพื้นที่ ประมาณ ๕๐ ไร สามารถจัดเปนพืน้ ทีต่ ง้ั แคมปพกั แรม มีนำ้ ไหลตลอดป การเดินทาง จากพิษณุโลก ใชเสนทางพิษณุโลก-หลมสัก ๖ กิโลเมตร แยกซายไปอำเภอวัดโบสถ ทางหลวงหมายเลข ๑๑ ประมาณ ๒๕ กิโลเมตร กอนขึน้ สะพานขามแมนำ้ แควนอย มีทางแยกขวาเขาทางหลวงหมายเลข ๑๒๒๐ ไปบานนาขามอีก ๑๕ กิโลเมตร และแยกขวาตอไปอีก ๙ กิโลเมตร ถึงอุทยานฯ

๑๗


เขตหามลาสัตวปาเขานอย-เขาประดู เขานอย-เขาประดู มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางระหวาง ๑๐๐-๕๐๐ เมตร ประกอบดวยปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และทุงหญา มีความหลากหลายทางด้านพืชพรรณ มีดอกไม้ตามฤดูกาลที่สวยงามคือ ดอกกระเจียวและกลวยไม นอกจากนี้ยังเปนแหลงคนพบปูพันธุใหม ที่เรียกวา ปูแปง หรือ ปูสองแคว ซึ่งพบเฉพาะในฤดูฝน เหมาะแกการทองเที่ยวทัศนศึกษา เชิงนิเวศ ระหวางเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม ผูสนใจเดินเทาตามเสนทางศึกษา ธรรมชาติที่ทางเขตฯ ไดทำไวหรือติดตอพักแรม สามารถติดตอเจาหนาที่ที่สำนัก งานเขตไดโดยตรงหรือติดตอลวงหนา ที่สำนักงานเขตหามลาสัตวปาเขานอยเขาประดู่ หมู่ ๒ ตำบลบ้านยาง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ๖๕๐๐๐ โทร. ๐ ๗๑๙๘ ๗๙๘๗

๑๘


อุทยานแหงชาติน้ำตกชาติตระการ อุทยานแหงชาติน้ำตกชาติตระการ มีชื่อเรียกตามชาวบานวา น้ำตก ปากรอง ตั้งอยูที่บานปากรอง ตำบลชาติตระการ อำเภอชาติตระการ ห่า งจากตั ว จั ง หวั ด ประมาณ ๑๔๕ กิโลเมตร น้ำตก ชาติตระการเปนน้ำตกที่สวยงาม มากในจังหวัดพิษณุโลก มี ๗ ชั้น แตละชั้นมีความงดงามตางกัน ออกไป และตั้งชื่อตามนามธิดา ทาวสามลในวรรณคดีไทยเรื่อง สังขทอง นอกจากนี้ในบริเวณอุทยานแหงชาติน้ำตกชาติตระการยังมีสถานที่ นาสนใจอื่น ๆ ไดแก ผาแดง-มีลักษณะเปนหนาผาชันมีหินทรายสีแดง น้ำตกนาจาน-มีทั้งหมด ๗ ชั้น ตองมีเจาหนาที่นำทาง ผากระดาน-ซึ่งเปนภาพแกะสลักของมนุษยหินยุคโบราณ ถ้ำน้ำมุด-เปนถ้ำที่เกิดจากน้ำตกนาจานชั้นขางบน แยกออกเปน ๓ สาย ถ้ำกา-มนุษยยคุ โบราณ ไดแกะสลักบนแผนหินขนาดใหญ อายุกวา ๗,๐๐๐ ป อุทยานฯ มีบ้านพักบริการนักท่องเที่ยว สามารถนำเต็นท์มา กางเองได ติดตอไดที่กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื เขตบางเขน กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๒๕๖๒ ๐๗๖๐ www.dnp.go.th หรือที่อุทยานฯ ไดโดยตรง โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๗๐๒๘ ๑๙


อุทยานแหงชาติภูสอยดาว

อุทยานแหงชาติภูสอยดาว ครอบคลุมพื้นที่อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ ลักษณะภูมิประเทศ เปนภูเขาสูงตามแนวชายแดนไทย-ลาว บริเวณที่สูงที่สุดคือ ยอดภูสอยดาว สูงถึง ๒,๑๐๒ เมตร อากาศหนาวเย็นเกือบตลอดทั้งป สภาพปาสวนใหญยังอุดมสมบูรณ มีทุงหญาขนาดใหญ ในพื้นที่ที่ เคยเปนที่ทำกินของชาวเขาเผามง แหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานฯไดแก ปาสน ทุงดอกไม หนาผาจุดชมวิว น้ำตกสายทิพย และน้ำตกภูสอยดาว พืน้ ทีป่ า สนสามใบ เหมาะแกการมาเทีย่ วชมในเดือนสิงหาคม-กันยายน เนื่องจากจะพบเห็นทะเลหมอกและดอกไมตาง ๆ โดยเฉพาะดอกหงอนนาคขึ้น อยูทั่วไป และกลวยไมปาตามคาคบไมใหญ ระยะทางเดินทางจากเชิงเขา ๖.๕ กิโลเมตร บางชวงเปนเสนทางชัน ใชเวลาประมาณ ๔-๕ ชั่วโมง มีสถานที่กาง เต็นทและหองสุขาบริการ บริเวณที่ทำการอุทยานฯ มีบานพักรับรอง ๓ หลัง ติดตอลวงหนา โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๙๒๓๔ หรือ www.dnp.go.th ที่อุทยานแหงชาติภูสอยดาว ตำบลหวยมุน อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ ๕๓๑๑๐ การพักคางแรมบนลานสน ตองนำเต็นทมาเอง และติดตอลูกหาบได ที่ศูนยบริการนักทองเที่ยว

๒๐


อุทยานแหงชาติแภูหินรองกลา อุทยานแหงชาติภหู นิ รองกลา ตัง้ อยูบ นรอยตอของสามจังหวัดคือ พิษณุโลก เพชรบูรณ และเลย มียอดเขาสูง ๑,๖๑๗ เมตร มีทวิ ทัศนสวยงาม ปกคลุมดวย ปาเต็งรัง ปาดิบเขา และปาสนเขา มีสนสองใบและสนสามใบขึน้ ปะปนกัน และพบ กลวยไมดอกไมปา หลายชนิดขึน้ อยูต ามลานหิน ภูหนิ รองกลาเคยเปนศูนยกลางทีต่ ง้ั ฐานทีม่ น่ั การเผยแพรลทั ธิคอมมิวนิสต ทีใ่ หญและสำคัญทีส่ ดุ ของภาคเหนือ ซึง่ เปนศูนยกลางแพรกระจายลัทธิคอมมิวนิสต ไปสูเ ขาคอ ภูขดั และภูเมีย่ ง จนเกิดเปนปญหาความมัน่ คงทางการเมือง เมือ่ เหตุการณ สงบลงในปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดมีการตัดเสนทางผานใจกลาง ภูหินรองกลาและจัดตั้งเปนอุทยานแหงชาติขึ้น จนกลายมาเปนแหลงทองเที่ยว สำคัญแหงหนึง่ ของภาคเหนือตอนลางในปจจุบนั สถานทีน่ า สนใจในอุทยานฯ ไดแก พิพธิ ภัณฑ ทางเดินโลกทีส่ าม โรงเรียน การเมือง การทหาร น้ำตกรมเกลา-ภราดร ลานหินแตก ผาชูธง น้ำตกศรีพชั รินทร ผาชูธงอยูไ มไกลจากลานหินปุม มากนัก เดินลัดเลาะไปตามเสนทางเดิน เลียบผาไปประมาณ 500 เมตร ก็ถงึ ณ ผาชูธงแหงนี้ สามารถมองทัศนียภาพได กวางไกลเกือบรอบดาน มีชะงอนผาสูงเดนและเสาธงปกอยู ในอดีต พคท. ใชเปน ทีช่ ธู งคอนเคียวทุกครัง้ เมือ่ รบชนะฝายรัฐบาล ทีพ่ กั ของอุทยานมีทง้ั แบบเต็นทและบานพัก ติดตอสอบถามไดทก่ี รมอุทยา นแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื โทร. ๐ ๒๕๖๒ ๐๗๖๐ หรือwww.dnp.go.th หรือ อุทยานแหงชาติภหู นิ รองกลา โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๓๕๒๗

ลานหินปุม ผาชูธง

๒๑


จาการบุญ จานกรอง พระเจาศรีธรรมไตรปฏก มีพระราชโองการตรัสสัง่ จานกรอง จาการบุญ ใหทำเปนพอคาเกวียนไปดวยคนละ ๕๐๐ เลม เต็มไปดวยทุนทรัพยทั้งหลาย จานกรอง จาการบุญ มาถึงเมืองนานแลวก็เมืองลิหลม พักพลไหวพระบาทธาตุ พระพุทธเจาแลวจึงขามแมน้ำตรอมตนิม แลวขามแมน้ำแกวนอย แลวจึงถึง บานพราหมณ ทีพ่ ระพุทธเจาไปบิณฑบาตบานพราหมณขา งตะวันออก ๑๕๐ เรือน ขางตะวันตก ๑๐๐ เรือน จานกรอง จาการบุญ คิดกันวา พระเจาศรีธรรมไตรปฎก ใชเรามาที่นี้ ฐานที่นี้ก็เปนอันราบคาบนักหนาทั้งสองฟาก มีบานพราหมณก็อยู ทั้งสองฟาก มาเราจะสรางเมืองถวายแกเจาเราเถิด ครั้นเจาทั้งสองคิดกันแลว จานกรองจึงใหพอ คาเกวียน ๕๐๐ เลมขามไปขางตะวันตก ก็ตง้ั ทับประกับเกวียน ไวแลว จึงทำสารบาญชีชะพอพราหมณและไพรของตนรวมกันเปนคน ๑๐๐๐ ทำอิฐ จาการบุญทำบาญชีชะพอพราหมณและไพรของตน รวมกันเปน ๑๐๐๐ เทากัน ทำอิฐไดเปนอันมาก แลวจึงใหหาชะพอพราหมณ อันเปนผูเฒาผูแกตาม ไสยศาสตร สมเด็จพระเจาศรีธรรมไตรปฎก จึงใหทาวพระยาทั้งหลาย และ เจาไกรสรราช เจาชาติสาคร ตามเสด็จ เขาไปในเมือง แลวจึงใหชื่อเมือง จึงมี พระราชโองการตรัสถามชะพอพราหมณ วาเราจะใหชื่อเมืองใดดี พราหมณาจารย จึงกราบทูลตอบพระราชโองการวา พระองค เจามาถึงวันนี้ในยามพิษณุ พระองคไดชื่อ เมืองตามคำพรามหณวา เมืองพิษณุโลก ถาจะวาตามพระพุทธเจามาบิณฑบาต ก็ชื่อวาโอฆบุรีตะวันออก ตะวันตกชื่อ จันทรบูร

๒๒


เรือนแพ จังหวัดพิษณุโลกเปนที่ทราบโดยทั่วไปวาเปนเมืองที่มีบานเรือนแพ เปนสัญลักษณ แตในปจจุบันบานเรือนแพบริเวณริมน้ำนานในตัวเมืองไดมี การเปลี่ยนแปลงทั้งทางดานภูมิทัศนและมลภาวะทางน้ำ บริเวณริมน้ำนานที่มี แมน้ำสองสายไหลมาบรรจบกัน ซึ่งมีทั้งประวัติศาสตรแหลงการคาและ ความสมบูรณทางดานระบบนิเวศริมน้ำ จึงเหมาะสมสำหรับใหเปนสถานที่ พักผอนทองเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ำและเยี่ยมชมวิถีชุมชนดั่งเดิม แหลงเรียนรู ทางธรรมชาติที่ยังคงหลงเหลืออยูรวมทั้งการอนุรักษเรือนแพอันเปนสัญลักษณ ของจังหวัดพิษณุโลก ไวพรอมกับการอนุรักษรักษาระบบนิเวศของลำน้ำให คงอยูยั่งยืนภายใตการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม ที่กาวอยางรวดเร็ว ในปจจุบัน

๒๓


อุทยานแหงชาติภูสอยดาว

อุทยานแหงชาติภูสอยดาว ครอบคลุมพื้นที่อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ ลักษณะภูมิประเทศ เปนภูเขาสูงตามแนวชายแดนไทย-ลาว บริเวณที่สูงที่สุดคือ ยอดภูสอยดาว สูงถึง ๒,๑๐๒ เมตร อากาศหนาวเย็นเกือบตลอดทั้งป สภาพปาสวนใหญยังอุดมสมบูรณ มีทุงหญาขนาดใหญ ในพื้นที่ที่ เคยเปนที่ทำกินของชาวเขาเผามง แหลงทองเที่ยวในเขตอุทยานฯไดแก ปาสน ทุงดอกไม หนาผาจุดชมวิว น้ำตกสายทิพย และน้ำตกภูสอยดาว พืน้ ทีป่ า สนสามใบ เหมาะแกการมาเทีย่ วชมในเดือนสิงหาคม-กันยายน เนื่องจากจะพบเห็นทะเลหมอกและดอกไมตาง ๆ โดยเฉพาะดอกหงอนนาคขึ้น อยูทั่วไป และกลวยไมปาตามคาคบไมใหญ ระยะทางเดินทางจากเชิงเขา ๖.๕ กิโลเมตร บางชวงเปนเสนทางชัน ใชเวลาประมาณ ๔-๕ ชั่วโมง มีสถานที่กาง เต็นทและหองสุขาบริการ บริเวณที่ทำการอุทยานฯ มีบานพักรับรอง ๓ หลัง ติดตอลวงหนา โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๙๒๓๔ หรือ www.dnp.go.th ที่อุทยานแหงชาติภูสอยดาว ตำบลหวยมุน อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ ๕๓๑๑๐ การพักคางแรมบนลานสน ตองนำเต็นทมาเอง และติดตอลูกหาบได ที่ศูนยบริการนักทองเที่ยว

๒๔


เทศกาลงานประเพณี ประเพณีการแขงเรือยาวชิงถวยพระราชทาน การแข ง เรื อ ยาวเป น สั ญ ลั ก ษณ อ ย า งหนึ่ ง ของจั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ที่ไดยึดถือมาเปนเวลาชานานจนกระทั่งปจจุบัน งานแขงเรือยาวประเพณีฯ จัดประมาณเดือนกันยายนของทุกป มีพธิ ที อดผาปาเรือยาว พิธเี ปลีย่ นผาหม องคพระพุทธชินราช ในงานมีการประกวดขบวนเรือ การแขงขันเรือยาว ประเพณี และมีการประดับขบวนเรือตาง ๆ สวยงามนาชม จัดบริเวณแมนำ้ นาน หนาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ ประเพณีปกธงนครไทย เปนประเพณีดั้งเดิมของชาวอำเภอนครไทย โดยมีความเชื่อวา อำเภอนครไทยคือ เมืองบางยาง ในอดีตซึ่งพอขุนบางกลางหาวใชเปนที่ รวบรวมไพรพลเพื่อขับไลขอม ในการตอสูครั้งนั้น พอขุนบางกลางหาวไดรับ ชัยชนะ จึงทรงเอาผาคาดเอวผูกปลายไมไวบนยอดเขาชางลวงเพือ่ เปนอนุรณ แหงชัยชนะ ชาวนครไทยจึงไดยึดถือเปนประเพณีปฏิบัติในวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๒ ของทุกป โดยจะรวมกันทอผืนธงผาฝาย และนำไปยังเขาชางลวง เพื่อปกธงชัย โดยมีพระสงฆรวมเจริญชัยมงคลคาถา กิจกรรมในงาน ไดแก การประกวดแหธง การแขงขันผูพิชิตเขาชางลวง และการประกวดธิดาปกธง งานมหกรรมอาหารและสินคาของที่ระลึกจังหวัดพิษณุโลก จัดขึ้นเปนประจำทุกปในเดือนเมษายนและธันวาคมของทุกป โดย เทศบาลนครพิษณุโลก รวมกับการทองเที่ยวแหงประเทศไทย สำนักงาน ภาคเหนือ เขต ๓ จัดรวบรวมรานอาหาร และรานจำหนายของที่ระลึกที่มี คุณภาพและมีช่อื เสียงมารวมออกรานในบริเวณสวนสาธารณะริมแมน้ำนาน มีผูสนใจเดินทางมารวมชิมอาหารพื้นเมือง และซื้อหาสินคาที่ระลึกเปน จำนวนมาก ๒๕


กิจกรรมที่นาสนใจ สามลอทัวร จัดขึ้นเพื่อพานักทองเที่ยวชมชีวิตยามราตรีของชาวเมืองพิษณุโลก บนเสนทางตาง ๆ ในเขตตัวเมือง เชน ยานตลาดอาหาร ผัก ผลไม ยานธุรกิจ สำคัญ ๆ ซึ่งมีเอกลักษณเฉพาะตัวที่นาสนใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งตลาดอาหาร นานาชนิดบริเวณริมแมนำ้ นาน ถนนพุทธบูชา มีใหเลือกมากมาย นักทองเทีย่ ว สามารถใชบริการสามลอทัวรไดจากโรงแรมชั้นหนึ่งทุกแหงในจังหวัด พิษณุโลก

ลองแกงเรือยาง กิจกรรมทองเที่ยวเชิงผจญภัยที่ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยว เปนอยางมาก ลำน้ำเข็ก เปนลำน้ำที่ไมใหญนัก แตมีเกาะแกงมากมายตลอด ลำน้ำอันคดเคี้ยวไปมา และลดหลั่นเปนขั้น มีชั้นตาง ๆ เปนระยะ ชวงเวลาที่ นิยมลองแกงอยูระหวางเดือนมิถุนายน-ตุลาคมซึ่งมีปริมาณน้ำมากระดับน้ำ สูง และกระแสน้ำก็รุนแรงตามไปดวย การลองเริ่มจากบานปากยาง ตำบล ทรัพยไพรวัลย ถึงน้ำตกแกงซอง ระยะทางประมาณ ๘ กิโลเมตร ใชเวลาราว ๒ ชั่วโมงครึ่ง ความยากในการลองตั้งแตระดับ ๑-๕ กอนลองแกงทุกครั้งจะ มีการสาธิตซักซอมวิธปี ฏิบตั ริ ะหวางลองแกงจากผูช ำนาญเพือ่ ความปลอดภัย สามารถติดตอไดที่รีสอรทบนเสนทางพิษณุโลก-หลมสัก หรือบริษัทนำเที่ยว และผูประกอบการลองแกง

๒๖


จักรยานทองเที่ยว จังหวัดพิษณุโลก มีเสนทางทีต่ ดั ผานธรรมชาติทส่ี วยงามมากมาย บางแหงเหมาะแกการทองเที่ยวโดยจักรยานเสือภูเขา โดยเฉพาะที่อุทยาน แหงชาติทุงแสลงหลวง มีเสนทางผจญภัยที่สนุกสนาน ตองปนเขา ลงทาง ดิง่ และผานสภาพปาหลายหลาก นักทองเทีย่ วสามารถใชบริการเชาจักรยาน ที่หนวยฯ หนองแมนา อุทยานแหงชาติทุงแสลงหลวง

รถรางทองเที่ยว ชมเมืองพิษณุโลก โดยมีวทิ ยากรบรรยายใหความรูส ถานทีส่ ำคัญ ทางประวัติศาสตรของพิษณุโลกคือ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ผาน พิพิธภัณฑชาวแพ พระยาจักรีฯ ผานหอนาิกา สะพานเอกาทศรฐ ตะแรง แกง กำแพงเมือง คูเมือง วัดวิหารทอง ศาลสมเด็จฯ พระราชวังจันทรและ ศาลหลักเมือง เปนตน ใชเวลาประมาณ ๔๐ นาที ขึ้นรถรางไดที่วัดใหญ อัตราคาบริการ ผูใหญ ๓๐ บาท เด็ก ๒๐ บาท ติดตอรายละเอียดไดที่ บริษัท พิษณุโลกบริการ “รถเมลบานเรา” โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๒๒๕๘, ๐ ๕๕๒๘ ๔๑๔๔

สนามกอลฟ สนามกอลฟดงภูเกิด ภายในหนวยบัญชาการชวยรบที่ ๓ (บชร.๓) คายสมเด็จพระเอกาทศรฐ สนามขนาด ๑๘ หลุม เปดบริการทุกวัน เวลา ๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๕๐๔๖-๕๑ ตอ ๔๐๙๙ หรือ ๐ ๕๕๒๕ ๑๕๓๑ วอเตอรแลนด กอลฟ รีสอรท แอนด สปา ๔๒/๒ ม. ๓ ต. ศรีภิรมย อ. พรหมพิราม เปดบริการทุกวัน โทร ๐ ๕๕๒๑ ๙๐๖๙, ๐ ๕๕๒๐ ๐๙๙๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๐๙๔๔ ๒๗


สถานที่พักอำเภอเมือง โกลเดน แกรนด ๖๖ ถ.ธรรมบูชา โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๐๒๓๔-๗ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๐๘๘๗ ราคา ๕๙๐-๒,๒๐๐ บาท

คาซา ฮอลิเดย

๓๐๕/๒ ถ.พิชยั สงคราม โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๔๓๔๐-๒ / ๐ ๕๕๓๐ ๔๓๔๐-๒ ตอ ๙ ราคา ๓๕๐-๖๐๐ บาท

ชางเผือก

๖๓/๒๘ ถ.เอกาทศรฐ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๕๕๘, ๐ ๕๕๒๕ ๒๘๙๙, ๐ ๕๕๓๐ ๔๘๓๖-๙ ราคา ๒๐๐-๓๐๐ บาท

ท็อป แลนด

๖๘/๓๓ ถ.เอกาทศรฐ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๗๘๐๐-๘ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๗๘๑๕, ๐ ๕๕๒๔ ๕๓๙๕ กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๒๒๑๕ ๖๑๐๘, ๐ ๒๒๑๕ ๐๕๗๕ โทรสาร ๐ ๒๒๑๕ ๐๕๑๑ ราคา ๑,๒๐๐-๓๕,๐๐๐ บาท

ทอแสง การเดน

๒๑๙ ม.๓ ต.ทาโพธิ์ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๔๔๔๔, ๐ ๕๕๒๖ ๐๘๘๙-๙๒ โทรสาร ๐ ๕๕๒๖ ๐๙๙๙ ราคา ๓๕๐-๗๕๐ บาท

เทพนคร ๔๓/๑ ถ. ศรีธรรมไตรปฎก โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๔๐๗๐-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๔๐๗๕ ราคา ๕๐๐-๑,๕๐๐ บาท

นานเจา ๒๔๒ ถ. บรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๒๕๑๐-๔, ๐ ๕๕๒๔ ๔๗๐๒-๕ ราคา ๕๕๐-๑,๘๐๐ บาท

บานคลอง รีสอรท ๒๓๔/๓-๔ ม.๒ ถ.สิงหวัฒน โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๒๐๐๔-๖, ๐ ๕๕๒๔ ๘๘๘๐ ราคา ๓๔๐-๓๗๐ บาท

บานพักเยาวชนนานาชาติ พิษณุโลก

๓๘ ถ.สนามบิน โทร.๐ ๕๕๒๔ ๒๐๖๐ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๐๘๖๔ กรุงเทพฯ ๐ ๒๖๒๘ ๗๔๑๓-๕ ราคา ๑๒๐–๔๐๐ บาท

ปานสมบัติ ๔/๑ ถ. ไสฤๅไท โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๑๗๙ ราคา ๑๐๐–๒๕๐ บาท

พิษณุโลก

๙๐ ถ.นเรศวร โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๔๒๕, ๐ ๕๕๒๕ ๘๙๔๔, ๐ ๕๕๒๔ ๗๙๙๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๕ ๑๖๖๖ ราคา ๑๘๐–๓๕๐ บาท

พิษณุโลกธานี

๓๙ ถ.สนามบิน โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๑๐๖๕-๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๑๐๗๑ ราคา ๙๘๐–๔,๐๐๐ บาท


เพชรไพลิน

๔/๘ ถ.อาทิตยวงศ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๘๔๔, ๐ ๕๕๒๑ ๙๔๓๓-๔, ๐ ๕๕๒๒ ๐๒๓๗ ราคา ๓๐๐-๔๕๐ บาท

ไพลิน

๓๘ ถ.บรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๒๔๑๑-๕, ๐ ๕๕๒๒ ๕๒๒๘-๓๕ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๕๒๓๗ กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๒๒๑๕ ๕๖๔๐ ราคา ๘๐๐-๓,๐๐๐ บาท

ภูเกิด

๓๔๒/๒ ม.๗ ต.สมอแข โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๖๐๐, ๐ ๕๕๑๙ ๙๒๘๘ จำนวน ๔๒ หอง ราคา ๓๘๐-๖๐๐ บาท

รอยัล เพลส ๒๙๐/๗๗ ถ.พิชัยสงคราม โทร. ๐ ๕๕๓๗ ๗๙๔๐ ราคา ๔๕๐ บาท

รัตนา ปารค ๙๙๙/๕๙ ถ.มิตรภาพ โทร. ๐ ๕๕๓๗ ๘๒๓๔-๕, ๐ ๕๕๒๔ ๔๕๒๒-๔, ๐ ๕๕๒๔ ๘๗๖๕ ราคา ๓๙๐-๗๙๐ บาท

ราชพฤกษ

๙๙/๙ ถ. พระองคดำ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๓๓๔๘-๕๐ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๒๗๓๗ ราคา ๕๐๐-๒,๕๐๐ บาท หองพัก เกสตเฮาส โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๒๐๓ ราคา ๒๐๐–๓๐๐ บาท

ราชวงศ

๗๑๔ ถ.มิตรภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๕๖๙, ๐ ๕๕๒๒ ๐๓๗๗, ๐ ๕๕๒๔ ๑๑๙๗ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๐๓๗๖ ราคา ๒๕๐-๔๕๐ บาท ลาวดีปารค แอนด โฮเต็ล ๒๒๗/๑๖๒ ถ.บรมไตรโลกนารถ อ.เมือง ราคา ๙๐๐ บาท

ลาพาโลมา ๑๐๓/๘ ถ.ศรีธรรมไตรปฎก โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๗๙๓๐-๖ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๗๙๓๕ ราคา ๘๔๐-๒,๕๐๐ บาท

ลิไท เกสตเฮาส

๗๓/๑-๕ อาคารลิไท ถนนพญาลิไท โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๖๒๖-๙, ๐ ๕๕๒๑ ๙๕๔๖ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๙๖๒๗ ตอ ๕๐๐ ราคา ๒๐๐–๔๖๐ บาท

วังแกว ๙ ถ.เทพารักษ ต.ขันเมือง โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๕๕๘๑-๘ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๕๕๘๙ ราคา ๔๕๐–๗๙๐ บาท

ศิวะเทพ

๑๑๐/๒๑ ถ.เอกาทศรฐ โทร.๐ ๕๕๒๔ ๔๙๓๓-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๙๑๔๘ ราคา ๑๕๐-๓๕๐ บาท

สมัยนิยม

๑๗๕ ถ.เอกาทศรฐ โทร.๐ ๕๕๒๔ ๗๕๒๗, ๐ ๕๕๒๕ ๘๕๗๕ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๗๕๒๘ ราคา ๒๘๐-๓๘๐ บาท

อมรินทรลากูน

๕๒/๒๙๙ ถ. พระองคขาว โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๐๙๙๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๐๙๔๔ กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๒๖๖๘ ๔๒๗๗ ราคา ๑,๒๐๐-๘,๐๐๐ บาท


สถานที่พักอำเภอวังทอง เดอะ ฮิลล รีสอรท กม.๔๔ ถ.พิษณุโลก-หลมสัก ๔๒/๕ ม.๙ ต.แกงโสภา โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๐๕๘-๙ ราคา ๔๐๐-๑,๒๐๐ บาท

ทรัพยไพรวัลย แกรนด โฮเต็ล แอนด รีสอรท

๑/๗๙ ม.๒ ถ. พิษณุโลก-หลมสัก กม. ๕๓ ต.แกงโสภา โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๒๙๓ กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๒๒๓๖ ๒๗๑๑-๒, ๐ ๒๒๖๖ ๕๔๖๑-๒ โทรสาร ๐ ๒๒๓๖ ๒๗๑๕, ๐ ๒๒๓๘ ๓๐๐๘ ราคา ๑,๘๕๐–๓,๘๔๐ บาท

ธารวังทอง รีสอรท

สามแยกทางเขาบานใหม-รมเกลา ๒๖๑ ม.๗ ต.วังนกแอน ถ.พิษณุโลก-หลมสัก โทร. ๐ ๕๕๒๖ ๘๑๒๓, ๐ ๕๕๓๘ ๔๒๒๒ โทรสาร ๐ ๕๕๒๖ ๘๑๒๔ ราคา ๕๐๐-๖,๐๐๐ บาท

บานเคียงน้ำแกงซอง ติดน้ำตกแกงซอง ๔๒/๓ ม.๙ ต.แกงโสภา โทร.๐ ๕๕๒๙ ๓๔๔๑ ราคา ๖๐๐-๑,๐๐๐ บาท

บานเคียงปอย กม.๖๕ ริมน้ำตกปอย ๕/๑ ม.๑ ต.แกงโสภา โทร. ๐ ๑๖๗๔ ๔๐๗๕ ราคา ๓๐๐-๖๐๐ บาท

บานพักน้ำตกหลังสวน ๑ หมู ๘ ถ. พิษณุโลก-หลมสัก ต.แกงโสภา (กม.๕๑-๕๒) โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๓๓๘ ราคา ๔๐๐ บาท

บานพักสวนปาเขากระยาง

ทางเขาน้ำตกปอย กม.๖๕ ถ.พิษณุโลก-หลมสัก โทร. ๐ ๑๖๐๔ ๔๒๐๗ บานพัก ราคา ๘๕๐-๓,๐๐๐ บาท เต็นท ๗๐ บาท

บานริมแกง

กม.๔๙ ถ. พิษณุโลก-หลมสัก ๒๙๓ ม.๙ ต. แกงโสภา โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๒๙๗ ราคา ๓๐๐-๑,๕๐๐ บาท

บานสวนวังนกแอน รีสอรท ต.วังนกแอน โทร. ๐ ๑๕๓๓ ๖๔๘๘, ๐ ๙๘๘๐ ๐๐๐๔ ราคา ๘๐๐-๒,๕๐๐

เรน ฟอเรสท รีสอรท

กม.๔๔ ถ.พิษณุโลก-หลมสัก ๔๒ ม.๙ ต. แกงโสภา โทร.๐ ๕๕๒๙ ๓๐๘๕-๖ โทรสาร ๐ ๕๕๒๙ ๓๐๘๖ ราคา ๑,๔๐๐-๔,๘๐๐ บาท

วนธารา เฮลท รีสอรท แอนด สปา

กม.๔๖ ถ.พิษณุโลก-หลมสักโทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๔๑๑-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๒๙ ๓๔๑๕ กรุงเทพฯ โทร.๐ ๒๓๑๘ ๘๘๙๕-๖ ราคา ๑,๖๐๐-๓,๘๐๐ บาท ๓๐


รานอาหารอำเภอเมือง กุกเอียง ๓๙/๑๓ ถ.สนามบิน โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๑๒๐๙, ๐ ๕๕๒๕ ๑๗๖๐ (อาหารไทย จีน เปด ๑๖.๐๐-๒๒.๐๐ น.) ขาวแกงชาววัง ๒๔๕/๖๗ ถ.บรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๖๕๗๓, ๐ ๕๕๒๑ ๗๖๐๕ ครัวนานน้ำ ถ.วังจันทร โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๖๔๐๔, ๐ ๕๕๒๓ ๐๔๔๔ (เปด ๑๗.๐๐-๒๒.๐๐ น.) ตั้งหลัก ถ.เอกาทศรฐ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๔๒๔๕ (เปด ๑๗.๐๐-๒๒.๐๐ น.) ทรีเฮาส ๔๘ ถ.สนามบิน โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๕๘๗-๘ (อาหารตามสั่ง เปด ๑๐.๐๐-๐๑.๐๐) ทิพยรส ๙๑-๑๑/๑ ถ. ไสฤๅไท โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๒๐๐ (เปด ๗.๐๐–๒๑.๓๐ น.) น้ำฟา ๗๙/๑๖ ถ.ศรีธรรมไตรปฎก โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๕๑๘๙ (มังสวิรัติ เปด ๖.๓๐-๑๔.๐๐ น.) บานคุณพอ ๔-๔/๑ ถ.เจาพระยาพิษณุโลก โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๑๕๗๔ (อาหารไทย เปด ๑๑.๐๐-๒๓.๐๐ น.) บานเพื่อนพี่ ถ.สิงหวัฒน โทร ๐ ๕๕๒๔ ๘๘๖๖ (เปด ๑๗.๐ๆ-๒๔.๐๐) บานสุวรรณ ๑๗๑/๕ ซ. เย็นจิต ถ. สิงหวัฒน โทร ๐ ๕๕๒๔ ๖๓๔๓ บานไม ๙๓/๓๐ ถ.อูทอง โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๕๔๘ (อาหารไทย เปด ๑๑.๐๐-๒๓.๐๐ น.) ใบมุสลิม ๔๙/๒ ถ.พระองคดำ โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๒๙๗๑ (อาหารมุสลิม เปด ๗.๐๐-๑๙.๐๐ น.) ผักบุงเหิรฟา (ริมน้ำนาน) ถ.พุทธบูชา โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๙๘๓๒ (เปด ๑๗.๐๐–๒๔.๐๐ น.) ผักบุงเหิรฟา ถ.พระองคดำ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๑๓๔๘ (เปด ๘.๐๐-๐๔.๐๐ น.)


พังกี่ขาวมันไก ๒๙๘/๘๐ ถ.พญาเสือ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๔๒๗๕, ๐ ๕๕๒๕ ๘๘๔๓ (ขาวมันไก เปด ๘.๐๐–๑๔.๐๐ น.)

เพื่อนเจ ๕๕/๙ ถ.ศรีธรรมไตรปฎก โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๐๙๘ (อาหารเจ เปด ๘.๐๐-๒๐.๓๐ น.) แพอาหารฟาไทย ๖๐ ถ.วังจันทร โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๒๗๔๓, ๐ ๕๕๒๑ ๕๖๗๔ (เปด ๑๑.๐๐-๒๓.๐๐ น.) แพอาหารสองแคว ๒๑ ถ.วังจันทร โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๒๑๖๗ (เปด ๑๑.๐๐-๒๓.๐๐ น.) ภัตตาคาร ส.เลิศรส ๔/๕ ถ.อาทิตย โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๔๔๒ (อาหารไทย จีน เปด ๘.๐๐-๒๒.๐๐ น.) มังคละ โรงแรมไพลิน โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๒๔๑๑-๕ (เปด ๖.๐๐–๐๑.๐๐ น.) ไมแบบ ๑๐๗/๙ ถ. สิงหวัฒน โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๗๖๐๓ (เปด ๗.๐๐-๑๕.๐๐ น.) เรือนลีลาวดี ๒๘๓/๓๗ ถ. มิตรภาพ (ตรงขามวิทยาลัยพิษณุโลก) โทร ๐ ๕๕๒๑ ๔๖๖๔ เวียตนาม ๕/๙ ถ.พระองคดำ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๐๖๕ (เปด ๑๐.๐๐-๑๔.๐๐ น., ๑๖.๐๐-๒๐.๐๐ น.) สวนอาหารฟาไทยฟารม กม. ๑๐ ถ.พิษณุโลก-นครสวรรค โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๖๕๐๘-๙ (อาหารไทย จีน ๑๐.๐๐– ๒๒.๐๐ น.) เสาวรสโภชนา ๒๑/๓๙ ถ.สนามบิน โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๐๙๔๒ (อาหารตามสั่ง) หวองริมนาน ๒๐๑/๑ ถ.บางพยอม โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๐๒๒๒ (ปลาแมน้ำ เปด ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.) อาซอเลิศรส ๑๐๙/๙ ถ.ธรรมบูชา ซ.๒๕ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๔๘๓๕ (เปด ๘.๓๐-๑๕.๓๐ น.) ฮาลาลฟูด ตรงขามมัสยิดปากีสถาน โทร. ๐ ๙๔๖๐ ๖๓๙๗ (อาหารมุสลิม เปด ๗.๓๐-๒๑.๐๐ น.) อีสานลอนดอน ถ. เอกาทศรฐ (ทางไปสนามกีฬากลาง) โทร ๐ ๖๙๒๕ ๑๓๒๘ ๓๒


รานอาหารอำเภอนครไทย ดวงใจ ภูหินรองกลา ๑๗๒ ม.๗ ถ. อุดรดำริห อ. นครไทย โทร. ๐ ๑๖๗๕ ๑๕๗๘ (สมตำ อาหารตามสั่ง) รังทอง ภูหินรองกลา ต. เนินเพิ่ม อ. นครไทย โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๕๑๐-๓ (สมตำ อาหารตามสั่ง เปด ๐๗.๐๐-๒๐.๐๐)

รานอาหารอำเภอวังทอง บานสวนวังนกแอน รีสอรท ต.วังนกแอน โทร. ๐ ๑๕๓๓ ๖๔๘๘, ๐ ๙๘๘๐ ๐๐๐๔

รานอาหารบนเสนทางสายพิษณุโลก-หลมสัก กาแฟสดจาทวี ถิ่นไทย นิตยา บานแสงตะวัน ริมแกง

กม. ๔๕ โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๒๗๑ (เปด ๗.๐๐–๒๑.๐๐ น.) ลานลั่นทม กม. ๔๒ (เปด ๗.๐๐–๒๑.๐๐ น.) กม.๔๕ โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๒๑๒ (เปด ๑๐.๐๐–๒๑.๐๐ น.) กม. ๒๘ โทร. ๐ ๕๕๓๑ ๘๒๘๕ ( เปด ๑๐.๐๐–๒๒.๐๐ น.) กม. ๔๕ โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๗๗๐ (เปด ๑๐.๐๐–๒๐.๐๐ น.)

๓๓


หมายเลขโทรศัพทสำคัญ ประชาสัมพันธจังหวัด สำนักงานจังหวัด ที่วาการอำเภอเมือง โรงพยาบาลพุทธชินราช โรงพยาบาลพิษณุเวช โรงพยาบาลรวมแพทย โรงพยาบาลรัตนเวช โรงพยาบาลอินเตอรเวชการ สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมือง ตำรวจทางหลวง ตำรวจทองเที่ยวพิษณุโลก กรมอุตุนิยมวิทยา สอบถามหมายเลขโทรศัพท ศูนยการทองเที่ยว

โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๑๓๙๔ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๕๕๙ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๐๐๗, ๐ ๕๕๒๔ ๕๑๓๖

โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๘๔๒-๔ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๙๔๑ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๓๐๙–๑๐ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๐๘๒๐–๑ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๘๗๗๗, ๐ ๕๕๒๑ ๗๘๐๐ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๗๗๗, ๐ ๕๕๒๒ ๕๔๙๑

โทร. ๑๑๙๓ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๕๓๕๗-๘, ๑๑๕๕ โทร. ๑๑๘๒ โทร. ๑๑๓๓ โทร ๐ ๕๕๒๕ ๙๖๓๔-๕

แหลงที่มาของขอมูล: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) (http://thai.tourismthailand.org) ๓๔


ออกแบบและพิมพที่: บริษัท โฟกัส พริ้นติ้ง จำกัด โทร 055-225037, 055-219783-4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.