ทัศนมิติกับการออกแบบภายใน

Page 1

ทัศนมิติ กับการ ออกแบบภายใน โดย อ.ณัฐรฐนนท ทองสุทธิพีรภาส สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร


ทัศนะ + มิติ + ออกแบบภายใน เกี่ยวของกันอยางไร


การรับรูของมนุษย

การมองเห็น

Visual sense

30 % Other sense

สัมผัส กลิ่น เสียง


ปจจัยที่มีผลตอการรับรูทางสายตา กายภาพ

มนุษย


ปจจัยที่มีผลตอการรับรูทางสายตา กายภาพ

มนุษย


ปจจัยที่มีผลตอการรับรูทางสายตา

มนุษย

มองเห็นอะไร ?


ปจจัยที่มีผลตอการรับรูทางสายตา ความสามารถในการมองเห็น

การแปลความหมายจากการมอง


วัฒนธรรม เวลา

สังคม

ประสบการณ

ชุดความคิด

มานพ สุวรรณปนฑะ

การแปลความหมายจากการมอง


0 องศา Horizon line (เสนระดับสายตา)

ความสามารถในการมองเห็น


60

องศา

ลานสายตา

ความสามารถในการมองเห็น


ระยะที่สามารถแยกแยะสามมิติได

3.00

ม.

๐๐

ระยะไกลตา หรือ จุดไกลสุด (Far Point) เปนระยะอนันต ระยะที่สามารถรับรูพื้นผิวและมี ปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมไดดี

7.00

ม.

ความสามารถในการมองเห็น

ระยะใกลสุด

25

ซม.


ปจจัยที่มีผลตอการรับรูทางสายตา กายภาพ

มนุษย


ปจจัยที่มีผลตอการรับรูทางสายตา สายตารับรูที่วางได (Visual Space)

เราสามารถออกแบบได

นักออกแบบจะตองอานมิติใหเห็นได


INTERIOR DESIGN

แบงแยกวิชาออกจากกัน

LANDSCAPE DESIGN

ARCHITECTURE

URBAN PLANNING


SPACE DESIGN ออกแบบที่วาง


1.20-3.60 m

พื้นที่ทางสังคม (Social Zone)

ระยะใกลชิด (Intimate Zone)

3.60-7.60 m

พื้นที่สาธารณะ (Public Zone)

0.45-1.20 m

พื้นที่สวนบุคคล (Personal Space)

SPACE


0.45-1.20 m

พื้นที่สวนบุคคล (Personal Space)

3.60-7.60 m

พื้นที่สาธารณะ (Public Zone)

1.20-3.60 m

พื้นที่ทางสังคม (Social Zone)

ระยะใกลชิด (Intimate Zone)

SPACE


2.00 m

ประตู (Door)

1.80 m 1.60 m 1.50 m

ระดับสูงสุดของชั้นวางของ (Hign shelf) ระดับสายตา (Horizon line)

1.20 m 0.90 m 0.75 m

สวิตชไฟฟา (Switch) ขอบระเบียง (Table)

0.45 m 0.40 m

เกาอี้ (Chair) โตะกลาง (Coffee Table)

0.17-0.20 m *มาตรฐานความสูงทั่วไป

ชั้นหนังสือ (Bookshelf)

โตะ (Table)

บันได (Stair)

SPACE


SPACE

0.45-3.60 m พื้นที่ปฏิสัมพันธกัน (Communication)

ทางสัญจร (Circulation)

รักษาระยะหาง Communication Space

พื้นที่สวนบุคคล (Personal Space), พื้นที่ทางสังคม (Social Zone), พื้นที่สาธารณะ (Public Zone)


SPACE

SCALE Visual Scale Perspective


SPACE

SCALE Shock space

การออกแบบพื้นที่ทําใหตกตะลึง และประหลาดใจ


SPACE

Panic space

การออกแบบพื้นที่ทําใหรูสึกกลัว ตื่นตระหนก

?

?

มนุษยกลัวในสิ่งที่ตนไมรู


SPACE Speed & Slow

Visual Rhythm

การออกแบบพื้นที่ตองคํานึงถึงเวลาในการใชพื้นที่ มีเวลาเก็บเกี่ยวประสบการณ

เดิน

5

กม./ชม.

วิ่ง

10

กม./ชม.

หากเร็วกวานี้เราจะไมใสใจรายละเอียดของพื้นที่


Slow การออกแบบทางสัญจรที่มีการกีดขวาง ทางลาด หรือพื้นผิวที่ตางกันจะชวยชะลอความเร็วในการเดินได

SPACE Surface

เดินชมนิทรรศการ

0-5

กม./ชม.


SPACE Speed

พื้นที่ที่ตองการใหเดินผานไปเร็วๆ ตองออกแบบใหทางกวาง เรียบ เปนแนวราบ ไมมีการเปลี่ยนวัสดุ พื้นผิว


SPACE

Spatial relationship (ความสัมพันธเชิงพื้นที่) Space within a space (พื้นที่วางในพื้นที่วาง) Adjacent space (พื้นที่ติดกัน) Space linked by a common space (พื้นที่เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่) Interlocking space (การประสานการของพื้นที่)


Openings (ชองเปด)

SPACE


Openings (ชองเปด)

SPACE


Openings (ชองเปด)

SPACE


Openings (ชองเปด)

SPACE


SPACE

Openings (ชองเปด)


Openings in space-defining elements

SPACE


Entrance

ทางเขาตองเหมาะกับที่วาง ทั้งภายนอก ภายใน คํานึงถึงบริบท

SPACE


Base plane - พื้นที่ราบไปกับพื้น

Elevated base plane – พื้นที่ยกขึ้น (ต่ํากวาศรีษะ)

Depressed base plane – พื้นที่กดต่ําลง

Overhead plane – พื้นที่สูงกวาศรีษะ

SPACE


รอบรู รูลึก เปนตัวเอง แตกตาง เขาใจมนุษย มีผลงาน


เอกสารอางอิง Ching, Francis D.K. ARCHITECTURE Form, Space, and Order. New York : John Wilry & Sons, Inc., 1996. Ching, Francis D.K. Interior Design Illustrated. New York : John Wilry & Sons, Inc., 2004. Panero, Julius, Zelnik, Martin. Human dimension & interior space. New York : Whitney Library of Design, 1979. ญาน เกฮล. เมืองมีชีวิต การใชพื้นที่สาธารณะ. แปลโดย ภคนันท เสนาขันธ รุงแสง. กรุงเทพฯ : ลายเสน, 2556. ทิพยสุดา ปทุมานนท. จิตวิทยาสถาปตยกรรม มนุษย ปฏิสันถาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547. ทิพยสุดา ปทุมานนท. จิตวิทยาสถาปตยกรรมสวัสดี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2549. นนทิชา ถาวรไพบูลย. “กรอบอางอิงการรับรูทางสายตา.” วารสารกิจกรรมบําบัด 17, 3 (กันยายน– ธันวาคม 2555) : 25-29.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.