STRAYCAT SHELTER - NAKORNPATHOM

Page 1

ใบรบรองวทยานพนธ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวทยาลยขอนแกน หลกสตร สถาปตยกรรมศาสตรบณฑต สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ชอวทยานพนธ โครงการศูนย์พักพิงแมวจร จังหวัดนครปฐม ชอผจดทาวทยานพนธ นางสาวธัญรดี ไตรศิริพานิช ได้พิจารณาเห็นชอบโดยคณะกรรมการการสอบวิทยานิพนธ์ ................................................................................... อาจารย์ที่ปรึกษา ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจวรรณ์ ทัศนลีลพร ) ..................................................................................... อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สิทธา กองสาสนะ ) คณะกรรมการสอบวทยานพนธ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตั้งสกุล 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รท. อรรถ ชมาฤกษ์ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ยงสวสด ไชยะกล 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรสวสด พรยะศรทธา 3 รองศาสตราจารย์ อธิป อุทัยวัฒนานนท์ 9. อาจารย์ นรากร พุทธโฆษ์ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนีย์ จิรัณธนัฐ 10 อาจารย์ รุ่งจิต จารุพงษ์ทวิช 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิธิวดี ทองป้อง 11 อาจารย์ อานัติ วัฒเนสก์ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สิทธา กองสาสนะ 12 อาจารย์ ดารารัตน์ คาเชียงตา ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการรับรองแล้ว เมื่อวันที่ ................................................................ ( รองศาสตราจารย์ ดร.ชูพงษ์ ทองคาสมุทร ) คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ ลขสทธของคณะสถาปตยกรรมศาสตร
ก ชอวทยานพนธ โครงการศูนย์พักพิงแมวจร จังหวัดนครปฐม ชอผจดทาวทยานพนธ นางสาวธัญรดี ไตรศิริพานิช อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจวรรณ์ ทัศนลีลพร สาขาวชา สถาปัตยกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 บทคดยอ โครงการศูนย์พักพิงแมวจร จังหวัดนครปฐม เป็นโครงการของเอกชน โดยจุดประสงค์หลักของโครงการคือ การช่วยเหลือแมวจรจัดในสังคมเมือง ทั้งแมวปกติและแมวป่วย พิการ ดุ หรืออื่นๆ ให้มีสภาพการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มี อาหารการกินที่ดี ถูกสุขลักษณะ มีที่อยู่ที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการอยู่อาศัยของแมว เพื่อให้แมวมีสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตที่ดีเมื่ออยู่ในโครงการ และได้สร้างกิจกรรมการท่องเที่ยวในรูปแบบของจิตอาสา เพื่อให้คนได้เรียนรู้วิธีการ ดูแลแมวอย่างถูกต้อง เช่น การอาบน้า การให้อาหาร การฝึกแมว และรูปแบบของศูนย์การเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมต่างๆ เช่น ส่วน workshop ทาผลิตภัณฑ์ต่างๆสาหรับแมว พื้นที่ทาอาหารบาร์ฟ (อาหารสดสาหรับแมว) พื้นที่ Exhibition พื้นที่สัมมนา พื้นที่ห้องสมุด พื้นที่สวนแมวที่จะให้คนและแมวได้ลองเล่นด้วยกัน เป็นต้น
ข กตตกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์เป็นอย่างดีด้วยความช่วยเหลือ และการให้คาปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา ได้แก่ ผศ.เบญจวรรณ์ ทัศนลีลพร ผศ.สิทธา กองสาสนะ และคณะอาจารย์ที่เป็นคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุก ท่าน ที่ได้ให้คาแนะนาในเรื่องความรู้เทคนิคขั้นตอนการศึกษาในรายวิชาวิทยานิพนธ์ การออกแบบที่ถูกต้องตาม หลักการการออกแบบสถาปัตยกรรมและการนาเสนอผลงานการออกแบบที่น่าสนใจ ตลอดจนการนาเสนอแบบทาง สถาปัตยกรรมที่ถูกต้อง การตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ของงานทุกอย่าง รวมถึงวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ขอขอบพระคุณมูลนิธิอนุรักษ์ช้างและสิ่งแวดล้อม อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ , ศูนย์พักพิงสุนัขนครชัย บุรินทร์ , Café แมว Catster by kingdom of tiger , Paws Bangkok , พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้มิวเซียมสยาม และ โรงพยาบาลสัตว์มหาวิทยาลัยขอนแก่น อันเป็นหน่วยงานสาคัญที่กรุณาอนุเคราะห์ข้อมูลและองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อ ใช้อ้างอิงและศึกษาในการทาวิทยานิพนธ์จนประสบผลสาเร็จ ขอขอบคุณคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อันเป็นสถานศึกษาที่ช่วยประสิทธิประสาท วิชาความรู้ ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกท่านที่ได้ให้ การสั่งสอนรายวิชาที่เป็นพื้นฐานในการศึกษาและออกแบบงานทางสถาปัตยกรรม ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นอันเป็น ประโยชน์ต่อการทาวิทยานิพนธ์ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่และบุคลากรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ทุกท่านที่ได้ให้ความ ช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ ขอบคุณเพื่อนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกคนที่ได้ให้คาแนะนา ช่วยเหลือและเป็น กาลังใจที่ดีในการศึกษาตลอดมา ขอขอบคุณปะป๊าและม๊า ที่สนับสนุนด้านการเงินและเป็นกาลังใจมาตลอด ขอบคุณ เฟรมโม่ ที่คอยช่วยเหลือ และเป็นกาลังใจในการทางาน ขอบคุณสตุ๊ดการ์ด แต๋ว และแมวทุกตัว ที่เป็นแรงบันดาลใจ ในการเรียน รวมถึงการทาวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ และขอขอบคุณน้องคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ น้องอ้อม น้องพราว น้อง นุ่มนิ่ม สาย 19 ต้นฝ้าย ขิม ฟิว น้องจ๊ะจ๋า น้องมยุ พี่ปริญ Art ED ที่ช่วยทาแบบจาลองโครงการ และขอขอบคุณพี่ๆ ศิษย์เก่าที่ เป็นแรงบันดาลใจ ตลอดจนการช่วยเหลือในการทาวิทยานิพนธ์ และสุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆ พลอยกัล ฟร้องกี้ อิง บิ๊ก ต้น หนอน ที่ได้ช่วยสนับสนุนผลักดันให้กาลังใจและร่วมทุกข์ร่วมสุขตลอดการทาวิทยานิพนธ์ สุดท้ายผลประโยชน์ทั้งปวงที่เกิดขึ้นจากการศึกษาวิทยานิพนธ์นี้ ขอมอบแด่บิดามารดาที่เคารพยิ่ง และ หากมีข้อบกพร่องด้วยประการใด ๆ ผู้วิจัยขอน้อมรับไวด้วยความขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง ธัญรดี ไตรศิริพานิช

2.1.1

9

2.1.2 พฤติกรรมแมว 12 2.1.3 ศึกษาแนวทางการออกแบบ 13

2.2 ตัวอย่างโครงการและกรณีศึกษา 14

2.2.1 กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงการ 1 1.2 วัตถุประสงค์ 3 1.3 ขอบเขต ขนาด และที่ตั้งโครงการ 3 1.4 ที่ตั้งโครงการ 7 1.5 ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ 7 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 8 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และกรณีศึกษา 9 2.1 การศึกษาการออกแบบพื้นที่องค์ประกอบโครงการ 9
แนวคิดเกี่ยวกับแมวจรจัดในประเทศไทย
14 2.2.2 กรณีศึกษาที่คล้ายกัน 17 2.3 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 21 2.2.2 เกณฑ์การพิจารณาเลือกที่ตั้งโครงการ 18 2.3 การบริหารโครงการ 20 บทที่ 3 รายละเอียดและการวิเคราะห์โครงการ 23 3.1 ผู้ใช้โครงการ 23 3.1.1 ผู้ให้บริการ 23 3.1.2 ผู้ใช้บริการ 25 3.2 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ 26 3.2.1 การเลือกที่ตั้งโครงการระดับย่าน ( Site Location ) 26 3.2.2 เกณฑ์การเลือกพิจารณาที่ตั้งโครงการ 29 3.2.3 การวิเคราะห์ที่ตั้งโดยละเอียด 31 3.3 การบริหารและการจัดการโครงการ 34 3.3.1 ผังองค์กร 34 3.3.2 งบประมาณและที่มางบประมาณ 35 3.3.3 ค่าใช้จ่ายของโครงการในขั้นตอนเบื้องต้น 35
สารบญ (ตอ) หน้า 3.4 กฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับโครงการ 40 3.5 สรุปโครงการ 41 3.5.1 พื้นที่ใช้สอย 41 3.5.2 ศักยภาพของที่ตั้ง 46 บทที่ 4 การออกแบบทางสถาปัตยกรรม 47 4.1 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในการใช้งานและส่วนประกอบต่างๆภายในโครงการ 47 4.2 แนวความคิดในการออกแบบ 50 4.2.1 แบบร่างครั้งที่ 1 53 4.3.2 แบบร่างครั้งที่ 2 66 4.3.3 แบบร่างครั้งที่ 3 80 บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะโครงการ 109 5.1 สรุปโครงการ 109 บรรณานุกรม 111 ภาคผนวก 112 ประวัติผู้เขียน 113
1 บทที่ 1 บทนา หวขอวทยานพนธ ชื่อภาษาไทย ศูนย์พักพิงแมวจร ชื่อภาษาอังกฤษ Stary Cat Shelter 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงการ
2 ปัจจุบันประเทศไทย มีแมวจรจัดเป็นจานวนมาก จากการสารวจประชากรแมวจรจัดปี 2559 ของกรมปศุ สัตว์พบว่า ประเทศไทยมีแมวทั้งหมดประมา 3 ล้านตัว แบ่งเป็นแมวเพศผู้มีเจ้าของ 1,293,921 ตัว เพศเมียมี เจ้าของ 1,247,088 ตัว และเป็นแมวจรจัดถึง 474,142 ตัว เพศผู้ไม่มีเจ้าของ 198,018 ตัว เพศเมียไม่มี เจ้าของ 276,124 ตัว และมีแนวโน้มว่าจะมีมากขึ้นอีก เพราะแมว ไม่ได้รับการทาหมัน แมวโดยปกติจะสามารถตั้ง ท้องได้เมื่ออายุ 4 เดือนขึ้นไป ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 2 เดือน และในแต่ละคอกจะมีลูก 3 4 ตัว ทาให้ในปีหนึ่งแมว 1 ตัว สามารถตั้งท้องได้ 4 5 รอบ และมีการคาดการณ์กันไว้ว่าหากปล่อยแมวจรตัวเมีย 1 ตัวโดยที่ไม่ทาหมันเป็น เวลา 7 ปีจะมีจานวนประชากรแมวเพิ่มถึง 420,000 ตัว ซึ่งเพิ่มมากจากแม่แมวและลูกแมวนั่นเอง โดยเฉพาะในตัวเมือง แมวจรจัดเป็นแมวที่ไม่มีเจ้าของ อาจเกิดจากการถูกทอดทิ้ง พลัดหลงกับเจ้าของ หรือการแพร่พันธุ์ของแมวจรด้วยกันเอง ซึ่งไม่สามารถควบคุมปริมาณแมวจรจัดได้ อีกทั้งความมักง่ายของมนุษย์ที่ ไม่มีความรับผิดชอบต่อชีวิตของแมวที่เลี้ยงดู จึงปล่อยปละละเลยและทอดทิ้งแมวในที่สุด จึงทาให้เกิดปัญหาตามมา แมวจรจัดส่วนใหญ่มักจะอยู่ในที่ที่พวกมันจะสามารถหาอาหารได้ง่าย คือในเมือง ตามสถานที่ที่เป็นร้านอาหา ร ตลาด พื้นที่สาธารณะที่มีผู้คน เพราะคนส่วนใหญ่มักให้อาหารด้วยความน่าสงสาร ปัญหาที่พบในปัจจุบัน คือจานวน แมวจรจัดเพิ่มมากขึ้น เป็นปัญหากับสังคมเพราะแมวไม่ได้รับการดูแล อาจเป็นอันตรายหากถูกกัด และส่งกลิ่น รบกวน สร้างความสกปรกให้กับพื้นที่ บางแห่งมีจานวนแมวจรมากก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง และการที่แมววิ่งไป มา ก็อาจเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ปัญหาเหล่นี้ทาให้ผู้ใจดีที่เป็นคนรักแมวรวมตัวกันเพื่อก่อตั้งมูลนิธิ เพื่อช่วยเหลือแมวจรจัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยบุคคล หรือร่วมกันเป็นกลุ่มองค์กร ส่วนใหญ่ความช่วยเหลือเหล่านี้จะ สามารถสื่อสารกันผ่านอินเตอร์เน็ต โดยผู้พบเห็นจะนาแมวส่งโรงพยาบาลเพื่อข้ารักษา แต่ไม่สามารถให้แมวได้พัก อาศัยกับตัวเองได้ จึงจาเป็นต้องประกาศหาบ้านใหม่ให้ หรือท้ายที่สุดถ้าไม่มีคนรับเลี้ยง ก็ต้องปล่อยกลับแหล่งที่ แมวเคยอยู่อาศัยตามเดิม หรือในหลายๆที่ก็มีที่พักพิงแมวจร ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะเข้าไปช่วยบริจาคอาหารและยา เพื่อช่วยผู้รับผิดชอบสถานพักพิงนั้นให้เลี้ยงดูแมวต่อไป ซึ่งไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ดี เพราะสุดท้ายแมวจรก็ยังเพิ่มไม่ ขึ้นเรื่อย ๆ และบางสถานพักพิงยังมีคุณภาพการอยู่อาศัยที่ไม่ดีต่อทั้งคนและแมว ทั้งยังเป็นปัญหากับสภาพแวดล้อม อีกด้วย โครงการศูนย์พักพิงแมวจรจัด จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ผู้คนจะสามารถขอความช่วยเหลือได้ ซึ่งจะมีพื้นที่พัก พิงแมวจรจัดพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและแมวที่จะให้อาสาสมัคร และบุคคลภายนอก เข้ามาทากิจกรรมร่วมกันกับ แมวจรภายในโครงการได้ ส่วนดูแลรักษาพยาบาลสัตว์ ช่วยเหลือแมวจรที่ได้รับบาดเจ็บ เป็นโรค หรือพิการ และ กายภาพบาบัดแมวเพื่อฟื้นฟูแมว และมีส่วนที่เป็น exhibition ที่จะบอกเกี่ยวกับชีวิต ความเป็นอยู่ ที่มาของแมวจร และการแก้ไขปัญหาแมวจรจัด โดยจะเป็นส่วนสาคัญที่จะส่งเสริมการรับเลี้ยงแมวภายในโครงการมากขึ้น ประเทศ ไทยมีศูนย์พักพิงและรับเลี้ยงแมวอยู่มากมาย แต่ยังไม่มีศูนย์รับเลี้ยงที่มีมาตรฐานที่ดีและเข้มงวดเหมือนกับ ต่างประเทศ เพราะกระบวนการจัดการแตกต่างกัน รวมถึงแนวคิดในการรับเลี้ยงแมวก็ต่างกันอีกด้วย จึงจัดให้มีส่วน การรับเลี้ยงแมวขึ้น เพื่อให้มาตรฐานการเลี้ยงดีขึ้น โดยเริ่มจากตัวผู้เลี้ยงเป็นอันตับแรก จะมีส่วนที่แนะนาการเลี้ยง และดูแลแมวให้มีคุณภาพที่ดี เพื่อแก้ปัญหาการทอดทิ้งแมว หรือหากมี ก็เป็นเพียงศูนย์ที่มีขนาดเล็ก ไม่สามารถ ช่วยเหลือได้จานวนมาก อีกทั้งโครงการจะเป็นประโยชน์ให้กับเมือง คือการช่วยลดปัญหาแมวจรจัด โดยกลุ่ม
3 อาสาสมัครจะออกสารวจแมวจร และจัดการทาหมันเพื่อป้องกันการแพร่พันธุ์ และการมีศูนย์ดูแลแมวจรจัดที่ดีมี มาตรฐานจะสามารถช่วยให้ผู้คนสนใจที่จะเข้ามาช่วยเหลือและเห็นความสาคัญของแมวจรมากขึ้นด้วย 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อตอบสนองความต้องการช่วยเหลือแมวจรจัดของผู้คนในเมืองและเป็นสถานที่พักพิงแมวจร จัด 2) เพื่อช่วยเหลือแมวจรจัดในเมืองและรอบเมืองที่มีปัญหาถูกทอดทิ้ง บาดเจ็บ ดุร้าย หรือพิการ 3) เพื่อให้ผู้คนในเมืองที่รักแมว หรือสนใจในแมว เกิดความเข้าใจ และเข้าถึงปัญหาของแมวจร พร้อมทั้งเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องและยั่งยืน 4) เพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยว เกิดพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและแมวจรจัดในโครงการ ช่วยเพิ่ม โอกาสให้แมวได้รับการอุปการะมากขึ้น 1.2.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1) เพื่อศึกษาหลักการออกแบบและทฤษฎีการบริหารจัดการจากพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของแมว 2) เพื่อศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสัตว์และผู้ใช้อาคารที่เกี่ยวข้อง 1.3 ขอบเขต ขนาด และที่ตั้งโครงการ 1.3.1 ขอบเขตการศึกษา 1) ศึกษาศูนย์พักพิงแมว หรือสถานสงเคราะห์สัตว์ หรือ สถานที่ที่สามารถเป็นกรณีศึกษาและ กระบวนการจัดการของแต่ละหน่วยงาน 2) ศึกษาข้อมูลแมวจรจัดในประเทศไทย และพฤติกรรมแมวจรจัด 3) ศึกษาโรงพยาบาลสัตว์เล็ก กระบวนการจัดการ และงานระบบ 4) ศึกษาวิธีการนาเสนอส่วน exhibition การเล่าเรื่องราว และพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างคนกับแมว 1.3.2 องค์ประกอบของโครงการ 1.3.2.1 องค์ประกอบหลักโครงการ พื้นที่รวม 14,631 ตารางเมตร 1) สวนพกพงแมวจร เป็นโรงเรือน และพื้นที่เปิดโล่ง โดยจะเน้นความเป็นอยู่ที่ดีของแมว คานึงถึงพฤติกรรมของแมว เพื่อให้อยู่ได้อย่างเป็นธรรมชาติมากที่สุด ลดความเครียด และสร้าง
4 สุขภาวะที่ดีให้กับแมว ในส่วนพื้นที่พักพิงแมว จะมีผู้ดูแลประจาพื้นที่ และมีอาสาสมัครหรือผู้ เยี่ยมชม ที่จะเข้ามาช่วยงานต่าง ๆ ในโครงการ ส่วนพักพิงแมวจร ได้แก่ พื้นที่แมวทั่วไป ( แมวทั่วไปอายุตั้งแต่ 1 ปี 20 ปี ) แบ่งเป็น พื้นที่นอน พื้นที่กิน พื้นที่ขับถ่าย พื้นที่วิ่งเล่น สวน service ห้องพักพนักงานดูแลแมว ห้องน้า พื้นที่ซักล้าง ห้องเก็บอาหารแมว ทรายแมว ห้องเก็บของ ห้องอาบน้าแมว ห้องตัดขน เป่าขน รวมพื้นส่วนพักพิงแมวจรทั้งหมด 2,955 ตารางเมตร 2) สวนรกษาพยาบาลแมว เป็นคลินิกสัตว์เล็กสาหรับแมวจร ที่จะต้องตรวจก่อนเข้ามาอยู่ใน โครงการ ซึ่งจะรักษาพยาบาลแมวจรจัด ที่ป่วยเป็นโรค หรือพิการ ให้กลับมาเป็นปกติ เพื่อที่จะให้แมวมีสุขภาพ แข็งแรงและสามารถให้อุปการะเลี้ยง หรือทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับคน และแมวทุกตัวที่เข้ามาในโครงการ จะต้องทา หมันเพื่อควบคุมจานวนแมว จึงจาเป็นต้องมีส่วนรักษาพยาบาล ซึ่งจะมีทีมสัตวแพทย์ ทีมอาสาช่วยเหลือแมว หรือมี นักศึกษาจากคณะสัตวแพทย์เข้ามาช่วยงานในส่วนนี้ ส่วนประกอบของส่วนรักษาพยาบาลแมว ได้แก่ Reception และพื้นที่พักคอย เวชระเบียน 1 ห้อง ห้องเก็บยาและจ่ายยา 1 ห้อง พื้นที่แรกรับและห้องสังเกตอาการ 1 ห้อง พื้นที่ Grooming อาบน้า ตัดขน เป่าขน 1 ห้อง ห้องตรวจรักษา 3 ห้อง ห้องตรวจรักษาฉุกเฉิน 1 ห้อง Lab 1 ห้อง ห้องเก็บถังออกซิเจน 1 ห้อง ห้องเตรียมอุปกรณ์ 1 ห้อง ห้อง X Ray 1 ห้อง
5 ห้องอัลตราซาวน์ 1 ห้อง ห้องกายภาพบาบัด 1 ห้อง ห้องธาราบาบัด 1 ห้อง ห้องพักพนักงาน 1 ห้อง ห้องพักสัตวแพทย์ 1 ห้อง ห้องพักสัตวแพทย์ฝึกหัด 1 ห้อง ห้องนอนสัตวแพทย์ 1 ห้อง ห้องซักรีด และพื้นที่ซักล้าง 1 ห้อง ห้องผ่าตัด ชันสูตรซากแมว 1 ห้อง เตาเผา ส่วนที่พักแมวไม่ปกติ ( แมวที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ หรือต้องควบคุมเป็นพิเศษ ) แบ่งเป็น พื้นที่พักแมวพฤติกรรมดุร้าย ( ทั้งหมด 10 ตัว ) จานวน 10 คอก พื้นที่พักแม่แมวและอนุบาลลูกแมว ( ทั้งหมด 50 ตัว ) จานวน 10 คอก พื้นที่พักแมวป่วยไม่ติดเชื้อ ( ทั้งหมด 10 ตัว ) จานวน 10 คอก พื้นที่พักแมวป่วยติดเชื้อ ( ทั้งหมด 20 ตัว ) จานวน 20 คอก พื้นที่แมวบาดเจ็บ พิการ ( ทั้งหมด 10 ตัว ) จานวน 10 คอก 3) สวนพนทปฏสมพนธระหวางคนและแมว โดยจะแบ่งเป็นส่วนที่เป็น exhibition จะเป็นพื้นที่ ให้ความรู้ เกี่ยวกับที่มาที่ไปของแมวจร ชีวิตความเป็นอยู่ของแมวจร และ สร้างความตระหนักถึงปัญหาแมวจรใน ชุมชน เพื่อนาไปสู่วิธีการเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาแมวจร วิธีการดูแลแมวจรอย่างถูกต้อง และส่วนพื้นที่ กิจกรรมระหว่างคนและแมว เป็นพื้นที่ให้อาสาสมัคร ผู้เยี่ยมชม นักท่องเที่ยว ที่เข้ามาภายในโครงการ ทากิจกรรม ต่าง ๆ ร่วมกันกับแมว ที่มีลักษณะทางร่างกายและจิตใจที่พร้อมจะเล่นกับผู้คนแล้ว เช่น พื้นที่วิ่งเล่น นั่งเล่นกับแมว พื้นที่ทดลองเลี้ยงแมว พื้นที่ทาอาหารให้แมว และอื่น ๆ ส่วนประกอบส่วนพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและแมว ได้แก่ ร้านขายของที่ระลึก Cat Shop พื้นที่สัมมนา ให้ความรู้เกี่ยวกับแมว พื้นที่ workshop ครัว workshop พื้นที่ทาอาหารให้แมว ส่วนร้านอาหารและ café แมว ห้องสมุด ลานจัดกิจกรรม (Event) ที่เกี่ยวกับแมว ส่วนแสดง exhibition ห้องควบคุม
6 พื้นที่สวน รวมพื้นที่ส่วนปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและแมว 2,228 ตารางเมตร 1.3.2.2 องค์ประกอบรองโครงการ พื้นที่รวม 7,256 ตารางเมตร 1) สวนบรหารโครงการ เป็นสานักงานโครงการบริหารจัดการภายในโครงการ เรื่อง การทา ประวัติแมวจรจัด การประชาสัมพันธ์การรับเลี้ยง การรับบริจาคต่าง ๆ และให้ข้อมูลกับผู้มาเยี่ยมชม หรือ อาสาสมัคร ส่วนประกอบของส่วนบริหารโครงการ ได้แก่ ส่วนต้อนรับโครงการ สานักงานโครงการ ส่วนติดต่อรับเลี้ยงแมว Studio ผลิตสื่อโฆษณาแมว ส่วนแนะนาอาสาสมัครและผู้เยี่ยมชม รวมพื้นที่ส่วนบริหารโครงการทั้งหมด 1,370 ตารางเมตร 2) สวนสนบสนนโครงการ เป็นส่วนส่งเสริมของโครงการเพื่อรองรับผู้ใช้โครงการ ได้แก่ ห้องพักรับรองผู้บริหาร ห้องพักพนักงาน ห้องพักอาสาสมัคร ห้องน้าอาสาสมัครชาย ห้องน้าอาสาสมัครหญิง โรงอาหาร ห้องสมุด เตาเผาซากสัตว์ สวนงานระบบอาคาร พื้นที่งานระบบอาคาร โรงปุ๋ย พื้นที่จอดรถ รวมพื้นที่สนับสนุนโครงการ ทั้งหมด 5,886 ตารางเมตร รวมพื้นที่องค์ประกอบรองโครงการทั้งหมด 7,256 ตารางเมตร รวมพื้นที่ใช้สอยของโครงการ รวมพื้นที่โล่งร้อยละ 85 รวมพื้นที่โครงการทั้งหมด 14,631 ตารางเมตร คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 9 144 ไร่
7 1.4 ที่ตั้งโครงการ จากการวิเคราะห์ระดับภาคของประเทศไทย ภาคกลางมีปัญหาแมวจรเพิ่มขึ้นอย่างมาก เนื่องจากมีจานวน ประชากร ที่เข้ามาทางานอาศัยอยู่มาก โดยเฉพาะในเมืองหลวง กรุงเทพมหานคร และจังหวัดปริมณฑล ทาให้มีการ ขยายตัวด้านที่อยู่อาศัยมากขึ้น มีจานวนประชากรที่เลี้ยงแมวมากขึ้น โอกาสของการทอดทิ้งหรือการเลี้ยงดูที่ไม่มี การป้องกันการขยายพันธุ์ของแมว ทาให้เกิดแมวจรจัดมากขึ้น ซึ่งมีหน่วยงานที่เข้ามาดูแลเรื่องนี้อยู่แล้ว แต่อาจะไม่ เพียงพอ หรือบางที่ อาจมีสภาพการเป็นอยู่ไม่ดีเท่าที่ควร หน่วยงานที่รองรับช่วยเหลือปัจจุบัน เช่น ศูนย์พักพิงสุนัข จรจัดประเวศ, Paws Bangkok สุขุมวิท 93, มูลนิธิบ้านสงเคราะห์สัตว์พิการ จ.นนทบุรี , Catster จ.สมุทรปราการ ภาคกลางจึงเป็นพื้นที่ที่ควรมีการรองรับและแก้ไขปัญหาแมวจรจัด จังหวัดในภาคกลาง ที่มีแมวจรจัดมากเป็นอันดับหนึ่ง คือ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคียงที่มีแมวจร จัดมาก คือ จังหวัดนครปฐม และจังหวัดนนทบุรี จากการศึกษาเบื้องต้น จังหวัดนครปฐมมีความเป็นพื้นที่ชานเมือง ซึ่งมีทั้งความเป็นเมืองและพื้นที่ชนบทอีกทั้งจังหวัดนครปฐม ยังมีมหาวิทยาลัยมหิดลที่มีคณะสัตวแพทย์ และ โรงพยาบาลสัตว์ ซึ่งทาให้สะดวกต่อการทางานร่วมกันในส่วนของคณะสัตวแพทย์จากมหาวิทยาลัย กับทางศูนย์พัก พิงแมวจรจัด ที่ตั้งโครงการที่มีความน่าจะเป็นไปได้คือ บริเวณถนนเส้น 4006 ซึ่งเป็นถนนที่ใช้ในการเดินทางระหว่างตัว เมืองกรุงเทพและต่างจังหวัด โดยตาแหน่งที่ตั้งโครงการ จะมีข้อกาหนด คือ ต้องการพื้นที่ที่อยู่ชานเมือง จ. กรุงเทพมหานคร หรือ จ.ใกล้เคียง ห่างจากชุมชนแออัด จึงพิจารณาเลือกที่ดินจากเกณฑ์ ดังนี้ มีการเข้าถึงสะดวก ศักยภาพที่ดินเหมาะสมกับโครงการ ( รูปร่างของที่ดิน ระดับที่ดิน ลักษณะที่ดินเดิม ) มีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ดี มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ไม่มีความเป็นเมืองมากนัก แต่ยังมีความเป็นเมืองอยู่ เนื่องจากแมวจรที่อยู่ในเมือง มีความ เป็นอยู่ในชีวิตเมืองมานาน หากเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมโดยสิ้นเชิง เช่น อยู่ในพื้นที่ป่า ไม่มีผู้คน ก็อาจทาให้แมว ไม่ชินกับสภาพแวดล้อมได้ 1.5 ขนตอนและวธการดาเนนการ 1.5.1 ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยรวมและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.5.2 ขั้นตอนการสารวจสภาพความเป็นจริง สถานที่เกี่ยวข้องและเป็นกรณีศึกษาของโครงการ 1.5.3 ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล คัดกรอง และวิเคราะห์ข้อมูล 1.5.4 ขั้นตอนการสรุปโครงการ ความต้องการ พื้นที่ใช้สอย และผู้ใช้อาคาร 1.5.5 ขั้นตอนวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ประโยชน์และความสัมพันธ์โครงการกับที่ตั้ง 1.5.6 ขั้นตอนการนาเสนอแนวคิดในการออกแบบโครงการ
8 1.6 ประโยชนทคดวาจะไดรบ 1.6.1 ประโยชน์ของโครงการ 1) เป็นศูนย์ช่วยเหลือแมวจรจัด ที่ผู้คนสามารถร้องขอให้เข้าช่วยเหลือได้ทันที 2) เป็นสถานพยาบาลสัตว์ สามารถรักษาโรค และช่วยชีวิตแมวจรจัดได้ในกรณีฉุกเฉิน 3) ส่งเสริมให้ผู้คนเห็นความสาคัญของแมว ไม่ทอดทิ้งแมว 4) เป็นสถานพักพิงแมวจร ช่วยลดปริมาณแมวจร และยังบาบัด ฟื้นฟู แมวให้สามารถรับเลี้ยง ได้ใหม่ 5) เป็นสถานที่ท่องเที่ยวให้กับชุมชน 1.6.2 ประโยชน์ของการศึกษาโครงการ 1) ได้เรียนรู้และเข้าใจการออกแบบสถาปัตยกรรมสาหรับสัตว์ พื้นที่การใช้งานเกี่ยวข้อง ระหว่างคนกับแมว 2) ได้เรียนรู้และเข้าใจการออกแบบวิศวกรรมงานระบบที่เกี่ยวกับโรงพยาบาลสัตว์ 3) ได้เรียนรู้การออกแบบอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4) สามารถส่งเสริมการช่วยเหลือแมวจรได้อย่างถูกวิธี
9 บทที่ 2 แนวคด ทฤษฎ และกรณีศึกษา โครงการศูนย์พักพิงแมวจร เป็นการออกแบบอาคารที่มีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้งาน ของคนและ แมว ซึ่งมีทั้งส่วนที่มีลักษณะทางกายภาพแตกต่างกัน และมีพื้นที่ที่จาเป็นต้องใช้ร่วมกัน ดังนั้นการออกแบบ โครงการ จึงจาเป็นต้องศึกษาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อประกอบการออกแบบโครงการ และเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหา ดังนี้ 2.1 หลกการ แนวคด ทฤษฎทเกยวของ 2.2 กรณีศึกษา 2.1 การศึกษาการออกแบบพื้นที่องค์ประกอบโครงการ 2 1 1 แนวคดเกยวกบแมวจรจดในประเทศไทย บทความวเคราะหเกยวกบปญหาแมวจรจดในไทย ปัญหาแมวจร เกิดจากการที่มีการเพิ่มของจานวนประชากรแมวมากเกินไป (OVER POPULATION) ซึ่งสาเหตุใหญ่ ๆ มาจาก การขาดความรับผิดชอบของเจ้าของสัตว์ การขาดความรับผิดชอบของผู้เพาะพันธุ์สัตว์ การขาดความรับผิดชอบของผู้เพาะพันธุ์และสมาคมที่เกี่ยวข้องกับพันธุ์สัตว์ การขาดความรับผิดชอบของสัตวแพทย์ การขาดความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐ ผลกระทบตอคน สตว และสงแวดลอม เป็นพาหะสาคัญนาโรคพิษสุนัขบ้า และโรคสัตว์ติดคนอื่น ๆ มลพิษทางอากาศ กลิ่นจากมูลสัตว์ และปัสสาวะ มลภาวะจากเสียง จากการกัดกัน เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุทางการจราจร จากการที่แมววิ่งตัดหน้ารถ เป็นอันตรายต่อนก กระต่าย หรือสัตว์เล็กอื่นๆ ผลกระทบตอแมว เสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บบนถนน เสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บโดยเจ้าของฟาร์ม ปศุสัตว์ ติดหมัด หรือ เป็นโรคติดต่อต่าง ๆ เช่น โรคหัดแมว หวัดแมว ซึ่งส่งผลต่อชีวิต ภาวะขาดอาหาร (ทุพโภชนา) มีนิสัยดุร้าย ถูกทาลาย โดยผู้มีอานาจหน้าที่ อย่างไรก็ตาม มีปัจจัยที่เอื้ออานวยให้แมวจรจัดมีการดารงชีวิตอยู่ได้ เพราะแมวจรมักอยู่ในพื้นที่ชุมชน และมีคนให้อาหารอยู่เป็นประจา อีกทั้ง แมวจรยังมีทักษะในการหลบหลีกอันตราย และป้องกันตัวได้ประมาณหนึ่ง
10 วธทจะควบคมจานวนแมวใหไดผลทควรพจารณา คือ เข้มงวดในการเคลื่อนย้ายสัตว์ ควบคุมการผสมพันธุ์ เช่น การออกตระเวนทาหมันแมวตามพื้นที่ชุมชนต่าง ๆ ของมูลนิธิหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควบคุมแหล่งที่อาศัย เช่น บ้านคน มูลนิธิ ศูนย์พักพิง โดยในแต่ละหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ก็จะมีเงื่อนไข และวิธีในการรับแมวจรเข้าไปยังศูนย์พักพิงที่แตกต่างกัน ไป
11
12 โดยมี 3 องค์กรสาคัญที่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา คือ ภาครัฐ ( เทศบาล กรมปศุสัตว์ ) และเอกชน ( มูลนิธิช่วยเหลือแมว เช่น Paws Bangkok ) และควรแก้ปัญหาที่รากเหง้าของสาเหตุ คือ การเพิ่มของจานวนประชากรแมวมากเกินไป (OVER POPULATION) การขาดความรับผิดชอบของเจ้าของ โดยมีมาตรการสาคัญ 4 ประการ (THE KEY PRINCIPLE OF STRAY CONTROL) คือ การออกกฎหมายในระดับประเทศหรือท้องถิ่น การจดทะเบียนแมวเพื่อควบคุมแมวมีเจ้าของ การฉีดวัคซีน การทาหมัน การให้ความรู้เพื่อให้เจ้าของสัตว์เกิดความรับผิดชอบ และให้ประชาชนช่วยกันดูแล สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเห็นถึงประโยชน์ของการทาหมัน 2.1.2 พฤตกรรมแมว โดยธรรมชาติ แมวเป็นสัตว์ที่รักความเป็นอิสระ มีความเป็นตัวเองสูง เคลื่อนไหวรวดเร็ว มักไป ตามสถานที่ต่าง ๆ ตามต้องการ บางครั้งผู้เลี้ยงอาจเข้าใจผิดและคิดว่า การเลี้ยงแมวไม่จาเป็นต้องดูแลเอา ใจใส่มาก เพียงให้อาหารดูแลสุขภาพรักษาความสะอาดก็เพียงพอแล้ว แต่ในความเป็นจริง นอกจากแมว เป็นสัตว์ที่รักอิสระและชอบประจบเจ้าของแล้ว แมวยังต้องการให้เจ้าของเอาใจ ให้ความอบอุ่นและเล่นด้วย เสมอ พฤตกรรมของแมวและลกษณะนสยแบบแมว การเลี้ยงแมวอาจแตกต่างจากการเลี้ยงสุนัข ถึงแม้จะเป็นสัตว์เลี้ยงที่ขี้อ้อนช่างประจบและชอบที่ จะเข้ามาคลอเคลียเจ้าของ แต่ก็มีความเป็นตัวเองสูงมีความคิดอิสระควบคุมได้ยาก และลักษณะนิสัยแมว แต่ละตัวก็มีความแตกต่างกัน การเลี้ยงดูให้แมวมีสุขภาพดีสามารถฝึกและป้องกันแก้ไขพฤติกรรมแมวที่ เป็นปัญหาได้ ผู้เลี้ยงต้องเรียนรู้ศึกษานิสัยโดยธรรมชาติของแมว เพื่อสร้างความสมดุลและเลี้ยงดูให้เป็นไป ตามธรรมชาติของแมวแต่ละตัว พฤตกรรมแมวทผเลยงควรร 1.การหยานมของลกแมว โดยปกติลูกแมวจะเริ่มหย่านมเมื่ออายุได้ 4 5 สัปดาห์ และจะเลิกกินนมแม่อย่างเด็ดขาด ในสัปดาห์ที่ 7 และในช่วงที่ลูกแมวหย่านมแม่ใหม่ๆลูกแมวอาจมีพฤติกรรมดื้อซุกซนชอบดูดหรือ กัดแทะสิ่งของให้เกิดความเสียหายได้
13 2.การฝกนสยแมว แมวเป็นสัตว์เลือดอุ่น มีหูที่ไวต่อเสียงและมีจมูกที่ไวต่อกลิ่น แมวเป็นสัตว์ที่มีความ คล่องตัวสูงเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว การฝึกนิสัยแมวให้อยู่ในกรอบ เช่น การกิน การนอน หรือการ ขับถ่ายจึงต้องฝึกตั้งแต่ยังเป็นลูกแมวเล็ก ๆ เช่น การนาทรายใส่ถาดหรือภาชนะให้ลูกแมว ขับถ่าย การให้อาหารเป็นเวลาและให้บริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นประจา การนาลูกบอลเล็ก ๆหรือ สิ่งของที่เหมาะสมให้ลูกแมวเล่น ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าวและป้องกันการเล่นทาลายข้าวของให้ เสียหายได้ 3. การเลนหยอกลอเพอสรางความคนเคย แมวมีสัญชาตญาณของสัตว์ป่า ถึงแม้จะมีความคุ้นเคยและชอบประจบคลอเคลียเจ้าของ แต่ก็ยังมีนิสัยหวาดระแวง การให้ความอบอุ่นโดยการลูบขนหรือการนาแมวมานอนบนตัก ช่วยให้ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับแมวพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นได้ 4. เรยนรลกษณะพฤตกรรมของแมว แมวเป็นสัตว์กินเนื้อที่มีสัญชาตญาณการเป็นนักล่า ดังนั้นการเลี้ยงหรือการศึกษา ลักษณะพฤติกรรมแมว นอกจากช่วยคลายเหงาทาให้รู้สึกสนุกเพลิดเพลินได้แล้ว ยังช่วยให้ผู้ เลี้ยงปลอดภัยจากอันตรายที่อาจเกิดจากสัตว์มีพิษอื่น ๆโดยการศึกษาลักษณะพฤติกรรมแมวได้ อีกด้วย การนาแมวหรือสัตว์เลี้ยงอื่น ๆมาเลี้ยง นอกจากช่วยทาให้ผู้เลี้ยงรู้สึกสนุกเพลิดเพลินมี และเพื่อนช่วยคลายเหงาแล้ว หากเรียนรู้และศึกษาพฤติกรรมต่างๆ ของสัตว์เลี้ยงเหล่านั้นได้ อย่างเข้าใจ นอกจากอยู่ร่วมกันได้อย่างเป็นสุขแล้วการมีสัตว์เลี้ยงไว้ในบ้านยังมีประโยชน์ในด้าน อื่นๆ อีกด้วย 2.1.3 ศึกษาแนวทางการออกแบบ พื้นที่โครงการพื้นที่เลี้ยงแมวควรมีการระบายน้าที่ดี มีการป้องกันแดด ลม ฝน ความหนาว และ ความร้อนได้และยังมีพื้นที่เปิดและปิด เพื่อให้แมวรู้สึกปลอดภัยเมื่ออยู่ในพื้นที่ปิด พอดีตัวแมว และรู้สึกสนุก เป็นอิสระเมื่ออยู่ในพื้นที่เปิด บริเวณรอบอาคารมีต้นไม้ใหญ่เพื่อให้ร่มเงาช่วยลดอุณหภูมิกันแดดและกันฝน อาคารหรือสถานที่เลี้ยงแมวควรอยู่ห่างจากชุมชนประมาณหนึ่ง เพื่อไม่ให้กลิ่นและเสียงรบกวน อาคารหรือสถานที่เลี้ยง สามารถแบ่งออกเป็นส่วนปฏิบัติงานและส่วนพักพิงแมว วัสดุภายในและภายนอกอาคาร ทางเดิน ควรมีทั้งทางเดินคนและทางเดินแมวโดยทางเดินแมวจะ มี ระดับที่สูง ต่าต่างกันไป เพื่อให้เข้ากับพฤติกรรมของแมว วัสดุพื้นและผนังที่ใช้ควรเป็นวัสดุที่สามารถทาความสะอาดได้ง่าย
14 ประตูของทางเดินควรเป็นประตู 2 ชั้นเพื่อป้องกันเสียง และระบบสาธารณูปโภคควรติดตั้งอยู่ นอกอาคาร ประตูของสวนพักพิงแมวควรเป็นบานสวิงควรมีขนาดบานประตูตั้งแต่ 1 2 เมตร เปิดแล้วปิดได้ เอง วัสดุง่ายต่อการทาความสะอาดและมีความทนทาน พื้นควรใช้วัสดุที่เรียบ กันน้า น้าไม่ซึม ไม่ลื่น วัสดุที่มีประสิทธิภาพเช่นกระเบื้องเทอรัสโซ คอนกรีตแบบเรีย การระบายอากาศ ควรมีการระบายอากาศที่ดี เพื่อป้องกันกลิ่นอับและการสะสมของเชื้อแบคทีเรีย ในอากาศ ควรมีอุณหภูมิที่เหมาะสมโดยอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 65 ถึง 85 F ความชื้นที่เหมาะสม อยู่ที่ 70 เปอร์เซ็นต์ 2.2 ตวอยางโครงการและกรณีศึกษา 2.2.1 กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโครงการ มลนธอนรกษชางและสงแวดลอม อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
15 มีการจัดพื้นที่ภายในให้เหมาะสมกับรูปแบบการเป็นอยู่ของแมว ได้แก่ พื้นที่วิ่งเล่นตามกาแพง ต่างๆ พื้นที่ทานอาหาร พื้นที่ดื่มน้า พื้นที่ขับถ่าย และพื้นที่นอน และรูปแบบของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง คนที่มาเล่นกับแมว โดยจะมีกฎในการเล่นกับแมวในร้าน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในพฤติกรรมแมว ไม่โดน แมวทาร้าย และไม่ทาร้ายแมว มูลนธเพอสนขในซอย Soi Dog Thailand และ ศนยพกพงสนขนครชยบรนทร ลักษณะกิจกรรมภายในโครงการ มีพื้นที่ให้คนและสัตว์ ใช้เวลาร่วมกัน พื้นที่ศาลาพักผ่อนของ สุนัขในแต่ละกรงและจัดพื้นที่ภายในโครงการให้สัตว์พื้นที่ที่ผ่อนคลาย มีต้นไม้สอดแทรก Material ในการก่อสร้างส่วนพักพิงสุนัข จะใช้เป็นวัสดุธรรมชาติ เช่น ไม้ เพื่อให้สามารถระบาย อากาศได้ดี ไม่เก็บความร้อน ให้สุนัขไม่เกิดฮีทสโตรค และรู้สึกสบายเมื่ออยู่ในพื้นที่นี้
16 ผังอาคารศูนย์พักพิงสุนัขชัยบุริทร์ อกแบบให้ทุก ส่วนเชื่อมกัน เดินเป็นเส้นทางเดียวในการเข้าชมพื้นที่ โครงการ โดยจะมีพื้นที่สาหรับให้คนได้เห็นสุนัขอยู่ในกรง ขนาดใหญ่ มีพื้นที่วิ่งเล่น และมีความสุข และหากสนใจ สุนัขตัวไหน สุนัขจะถูกเจ้าหน้าที่นาออกมาบริเวณลานฝึก สุนัข เพื่อให้ผู้ที่สนใจและสุนัขได้ลองทากิจกรรมร่วมกัน
17 ศึกษาสภาพแวดล้อมจากกรณตวอยาง 2.2.2 กรณีศึกษาที่คล้ายกัน Vet 4 animal hospital และโรงพยาบาลสตวมหาวทยาลยขอนแกน ศึกษา mood ของอาคาร และฟังก์ชั่นของโรงพยาบาลสัตว์ การใช้แสงธรรมชาติและแสง ประดิษฐ์ในโรงพยาบาลและ ศึกษาห้องพักและการดูแล ของแมวที่ป่วย บาดเจ็บ พิการ
18 พพธภณฑมวเซยมสยาม รูปแบบของ Exhibition มีทั้งแบบ Indoor และ Outdoor โดยจะจัดในช่วงเย็น ถึงดึก มีกิจกรรมต่างๆสาหรับ คนและแมว เช่น งานประกวดแมว งานวิ่งแข่งแมว มีพื้นที่ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับแมวผ่านการเล่นกิจกรรมต่างๆ การทา workshop เป็นของเล่นแมว ผ้าพันคอแมว เป็นต้น และยังเป็นพื้นที่สาหรับคนและแมวได้มาพบปะกัน แลกเปลี่ยน ความรู้ ความน่ารักของแมวอีกด้วย
19
20
21 2.3 แนวคดและทฤษฎทเกยวของ แนวคดทเกยวของ เนื้อหา การนามาใช้ในงาน ออกแบบ ก า ร อ อ ก แ บ บ ท อ ย อาศัยแมวจร จานวนแมวที่สามารถรองรับได้ในโครงการ ออกแบบพื้นที่ให้เข้ากับพฤติกรรมการอยู่ อาศัยของแมว ออกแบบพื้นที่สาหรับแมวแต่ละประเภท ออกแบบขนาดพื้นที่พักพิงแมว จรโดยอ้างอิงจากจานวนแมวใน โครงการ ออกแบบพื้นที่พักพิงแมวจรใน ส่วนต่าง ๆ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ ชุมชนโดยรอบ ออกแบบพื้นที่พักพิงแมวจร ให้ เหมาะสมกับแมวแต่ละลักษณะ ประเภท วธการจดการแมวจร จัด ขั้นตอนการจัดการแมวจรตั้งแต่วิธีการนาเข้า มา การตรวจโรค การฉีดวัคซีน การทาหมัน การรอพักฟื้น การรอคนอุปถัมภ์ และอื่น ๆ วิธีการสร้างคุณค่าให้แมวระหว่างอาศัยอยู่ใน โครงการ ออกแบบฟังก์ชัน รูปแบบ ขนาด พื้นที่ในการจัดการแมวจรก่อนเข้า สู่โครงการ และขณะอยู่ในโครงการ ได้แก่ พื้นที่ส่วนคลินิก พื้นที่พัก ฟื้น ออกแบบพื้นที่ให้คนและแมวใช้ ร่วมกัน เช่น พื้นที่วิ่งเล่น พื้นที่ให้ อาหาร พฤตกรรมของแมวจร การเคลื่อนไหว และ ลักษณะการอยู่อาศัย ของแมว นามาออกแบบพื้นที่ ความสูง ของขอบเขต เพื่อไม่ให้แมวออก นอกโครงการ นามาออกแบบพื้นที่การใช้งาน พื้นที่พักผ่อนของแมว การจัด Landscape การออกแบบสวน ในแบบต่าง ๆ พืชที่มีความเกี่ยวข้องกับแมว เช่น หญ้าแมว กัญชาแมว ต้นข้าวสาลี ต้นไผ่เงิน สะระแหน่ ข้าวโอ๊ต Whole wheat ฯลฯ น ามาออกแบบในส่วนของ Landscape เพื่อนาผลผลิตมาใช้ กับแมวในโครงการได้ รูปแบบของไม้แต่ละประเภท ทา ให้เกิด space ที่หลากหลาย การศกษาแนวคดและ รูปแบบ เกี่ยวกับการ จดนทรรศการ ประเภทของนิทรรศการ ทฤษฎีออกแบบนิทรรศการ รูปแบบของนิทรรศการที่ เหมาะสมกับโครงการ การสร้างพื้นที่ที่ให้เกิดการ เชื่อมโยงของเนื้อหากับผู้เข้าชม
22 การออกแบบที่แตก ต่างไม่ ธรรมดาไม่ซ้าซากโดยใช้หลักการ ของศิลปะการออกแบบ เพื่อให้ ผู้ชมได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ แ น ว ค ด แ ล ะ ท ฤ ษ ฎ เกี่ยวกับ การออกแบบพื้นที่ เรียนรู้เกี่ยวกับแมว รูปแบบการเรียนรู้ นามาออกแบบกิจกรรม ระหว่าง คนกับแมว เพื่อน าไปสู่การ ออกแบบพื้นที่ที่เหมาะสมในแต่ละ กิจกรรม
23 บทที่ 3 รายละเอยดและการวเคราะหโครงการ โครงการศูนย์พักพิงแมวจร เป็นโครงการที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความช่วยเหลือแมวจรจัดของผู้คนที่รัก แมว และเพื่อแก้ไขปัญหา ลดจานวนแมวจรที่อยู่ในชุมชน และอาจสร้างปัญหาในบางครั้ง เพื่อให้แมวมีสถานที่อยู่เป็น หลักแหล่ง มีชีวิตการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จึงจาเป็นต้องมีศูนย์พักพิงนี้เกิดขึ้น ซึ่งศูนย์พักพิงนี้ จะ สามารถจัดการระบบความเป็นอยู่ของแมวให้ดีขึ้น และมีสถานพยาบาลสัตว์ เพื่อรักษาแมวป่วย ได้รับบาดเจ็บ ประสบอุบัติเหตุ หรือทุกข์ทรมานจากการละเมิด ได้มีสภาพร่างกาย และจิตใจที่ดีขึ้น และ ส่วนศูนย์พักพิงมีเป้าหมาย คือ การเป็นอยู่ของแมวทุกตัวต้องมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีระบบการจัดการเรื่องสิ่งปฏิกูล และคานึงถึงผลกระ ทบของ สภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นส่วนสาคัญที่จะทาให้ทั้งคนดูแลและแมวในศูนย์มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นด้วย 3.1 ผู้ใช้โครงการ 3.1.1 ผใหบรการ เจ้าหน้าที่ส่วนดูแลศูนย์พักพิง เจ้าหน้าที่ส่วนรักษาพยาบาล เจ้าหน้าที่ส่วนพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและแมว แบ่งเป็น เจ้าหน้าที่ส่วนดูแลส่วน exhibition เจ้าหน้าที่ส่วนร้านอาหารและ cafe เจ้าหน้าที่ส่วนบริหารโครงการ ผู้ให้บริการ จานวน พื้นที่ทางาน/รับผิดชอบ หน้าที่ เจ้าหน้าที่ส่วนดูแลศูนย์พักพิง 1 เจ้าหน้าที่ดูแลแมว 5 ศูนย์พักพิง ดูแลแมวในแต่ละส่วนที่ได้ รับผิดชอบ ทาความสะอาดกรง ให้อารแมว อาบน้าให้แมว 2 เจ้าหน้าที่ฝึกสอนแมว 2 ศูนย์พักพิง ฝึกสอนแมว เล่นกับแมว ให้แมว มีลักษณะที่พร้อมต่อการมีบ้าน ใหม่ 3 เจ้าหน้าที่ดูแลอาสาสมัครและ ผู้เยี่ยมชม 2 ศูนย์พักพิง พาเยี่ยมชมศูนย์พักพิง ให้ความรู้ นาอาสาสมัครทากิจกรรมร่วมกับ แมว (เล่นกับแมว ทาความคุ้นเคย ) พนักงานส่วนพื้นที่ปฏิสัมพันธ์
24 4 พนักงานร้านอาหาร และ cafe 2 ร้านอาหารและคาเฟ่ ให้บริการอาหารและเครื่องดื่มแก่ ลูกค้าที่เข้ามาในโครงการ 5 พนักงานร้าน Pets shop 2 Pet shop ให้คาแนะนาสินค้า และแนะนา กิจกรรม Workshop เกี่ยวกับ สินค้า Handmade ในโครงการ เจ้าหน้าที่ส่วนรักษาพยาบาล 6 เจ้าหน้าที่แผนกเวชระเบียน 1 สถานพยาบาลสัตว์ บันทึกข้อมูล ประวัติการรักษา 7 เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน 2 สถานพยาบาลสัตว์ คิดค่าพยาบาล ทาบัญชีรายรับรายจ่าย 8 เจ้าหน้าที่จ่ายยา 1 สถานพยาบาลสัตว์ จ่ายยาให้ผู้รับรักษา จ่ายยาให้ แผนกต่าง ๆ 9 สัตวแพทย์ 3 สถานพยาบาลสัตว์ รักษา วินิจฉัยโรค 10 ผู้ช่วยสัตวแพทย์ 3 สถานพยาบาลสัตว์ ช่วยรักษาพยาบาล 11 เจ้าหน้าที่กายภาพบาบัดแมว 1 สถานพยาบาลสัตว์ ทากายภาพบาบัดแมว เจ้าหน้าที่ส่วนบริหารโครงการ 12 ผู้อานวยการศูนย์พักพิงแมว 1 สานักงาน บริหารโครงการ 13 รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร 1 สานักงาน บริหารโครงการ รองผู้อานวยการฝ่ายบริการ 1 สานักงาน บริหารส่วนรักษาพยาบาล 14 เลขานุการ 2 สานักงาน แจ้งความคืบหน้าการบริหาร โครงการและส่วนรักษาพยาบาล ดาเนินการงานเอกสาร รวบรวม เอกสารต้อนรับผู้มาติดต่อ 15 เจ้าหน้าที่แผนกธุรการ 2 สานักงาน ดาเนินงานเอกสาร ,ขึ้นทะเบียน แมว 16 เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน 1 สานักงาน 17 เจ้าหน้าที่ฝ่ายรับเลี้ยงแมว ประชาสัมพันธ์ 2 สานักงาน, ศูนย์พักพิง แมว จัดการงานขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ยง ต้อนรับผู้มาติดต่อ 18 พนักงานฝ่ายทาสื่อโฆษณา และ โปรโมตแมว 3 สานักงาน จัดทาสื่อโฆษณาต่าง ๆ และโปร โมตแมวในโครงการให้ได้บ้าน ใหม่ 19 เจ้าหน้าที่ฝ่ายภูมิทัศน์ อาคาร สถานที่ และซ่อมบารุง 2 สานักงาน, ศูนย์พักพิง แมว ดูแลงานระบบอาคาร ซ่อมบารุง ดูแลความเรียบร้อยสถานที่ 20 พนักงานทาความสะอาด 3 สานักงาน ทาความสะอาด 21 พนักงานรักษาความปลอดภัย 2 สานักงาน, ศูนย์พักพิง แมว สถานพยาบาล รักษาความปลอดภัยในโครงการ รวมจานวนผู้ให้บริการทั้งหมด 47 คน
25 3.1.2 ผู้ใช้บรการ แมวจรจดทถกชวยเหลอ ได้แก่ แมวจรจัด ไม่มีเจ้าของ แมวที่ประสบอุบัติเหตุ ป่วย พิการ ชรา ถูก ทอดทิ้ง หรือไม่สามารถดูแลตัวเองได้ ซึ่งทางศูนย์ไม่มีนโยบายจะจับแมวจรที่มีสุขภาพดีมีคนให้อาหารอยู่แล้ว มาเลี้ยงไว้ในศูนย์พักพิง เพราะแมวจรมีจานวนมากเกินกว่าที่ศูนย์จะดูแลและทั้งหมด จึงจาเป็นต้องช่วยเหลือ แมวที่มีปัญหาจริงๆ เท่านั้น แต่ศูนย์จะมีนโยบายออกตระเวนทาหมันแมวจรจัดในแต่ละพื้นที่ เพื่อช่วยลดการ แพร่พันธุ์แมวจรจัดที่มากเกินไป ผู้เยี่ยมชมและอาสาสมัคร • ผู้เยี่ยมชม ( Visitor ) คือ ผู้ที่แวะเวียนมาเยี่ยมชมโครงการในระยะเวลาสั้นๆหรือ 1 2 วัน มาใช้พื้นที่ ในส่วนร้านอาหารและคาเฟ่ เล่นกับแมว ให้อาหาร บริจาคอาหาร ยา ของเล่น หรือ ของสมทบทุน • อาสาสมัคร ( Volunteers ) คือ ผู้ที่มีจิตอาสามาช่วยดูแลแมวในศูนย์ ช่วยทาความสะอาดพื้นที่ ให้ อาหารพาแมวเดินเล่น ออกกาลังกาย หรือเล่นให้ความคุ้นเคยกับแมว เป็นต้น
26 3.2 วเคราะหที่ตั้งโครงการ 3 2 1 การเลอกทตงโครงการระดบยาน ( Site Location )
27 จากปัญหาแมวจรจัดในพื้นที่ชุมชนเมือง ประเทศไทย พบว่า จังหวัดที่มีจานวนแมวจรเยอะที่สุด คือ จังหวัด กรุงเทพมหานคร จากสถิติ ที่ได้จากการสารวจโดยสานักงานปศุสัตว์เขต 1 พบว่า จานวนแมวจรจัด ปี 2559 ใน กรุงเทพมหานครมีแมวที่ไม่มีเจ้าของ ตัวผู้ 39,176 ตัว / ตัวเมีย 50,093 ตัว รวม 89,269 ตัว โดยมีหน่วยงานหลักที่ เข้ามาช่วยเหลือ คือ เช่น ศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดประเวศ กรุงเทพ และส่งต่อไปยัง ศูนย์พักพิงสุนัขจรจัดทัพทัน ตาบล โคกหม้อ อาเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งมีทั้งสุนัขและแมว โดยสภาพแวดล้อมภายในศูนย์ มักลักษณะการเป็นอยู่ ของแมวที่อยู่ในกรงตลอดเวลา ไม่สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้ที่มาเยี่ยมชมได้ และยังลาบากในการขนส่งที่มีระยะไกล ส่วนทางหน่วยงานเอกชนและมูลนิธิต่าง ๆ ที่เข้ามาช่วยเหลือเรื่องแมวจรจัดและแมวพิการ เนื่องจากศูนย์มีขนาดเล็ก อาจไม่สามารถรับหรือดูแลแมวจรได้มากพอต่อจานวนแมวจรที่มีอยู่ในพื้นที่ ทาให้ยังมีแมวจรในสังคมอีกมากที่รอ การอุปการะและช่วยเหลือ
28 ในปัจจุบัน ยังไม่มีศูนย์พักพิงแมวจร หรือพื้นที่ช่วยเหลือดูแลแมวจรจัดที่ดี ที่มีขนาดใหญ่มากเพียงพอต่อ จานวนแมวจร และวิธีการเลี้ยงแมวแบบระบบกึ่งเปิดกึ่งปิด หรือระบบเปิด คือให้แมวสามารถออกไปเดินเล่นบริเวณ แถวบ้าน แล้วกลับมากินข้าวและนอนที่บ้าน การเลี้ยงแบบนี้ทาให้แมวมีการแพร่พันธุ์อยู่ตลอดเวลา ไม่มีการควบคุม และการทาหมันแมว ทาให้เกิดปัญหาแมวจรจัดตามมา และการอยู่ในพื้นที่ที่เป็นเมือง ทาให้คนมีความเครียด การ เลี้ยงแมวเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยบรรเทาความเครียดให้กับคนในเมืองได้เป็นอย่างดี จึงมีแนวโน้มในการเลี้ยงสัตว์ที่เพิ่มขึ้น ทาให้แนวโน้มของปัญหาแมวจรจัดมีมากขึ้นตามอีกด้วย จากการวิเคราะห์สภาพปัญหา จังหวัดในภาคกลางที่มีโอกาสที่จะสนับสนุนความเป็นไปได้ของโครงการ คือ จังหวัดนครปฐม นนทบุรี และกรุงเทพมหานครในเขตชานเมือง ซึ่งเป็นจังหวัดปริมณฑลและพื้นที่ชานเมือง และมีการ ขยายตัวของเมืองที่ไม่มากเท่าในตัวเมืองกรุงเทพมหานคร เหตุผลที่ไม่เลือกพื้นที่ในตัวเมืองกรุงเทพมหานคร ที่มี ปัญหาแมวจรอยู่มาก เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของตัวเมือง ทาให้เดินทางลาบากเนื่องจากการจราจร ติดขัด ในการเลือกที่ตั้งโครงการนี้ ต้องการความเป็นธรรมชาติ อยู่ห่างจากพื้นที่ชุมชนหนาแน่น เนื่องจากตัว โครงการอาจมีกลิ่นและเสียงรบกวนผู้ที่อยู่อาศัยใกล้เคียง พื้นที่ชานเมืองในแถบจังหวัดปริมณฑลที่มีจานวนแมวจร เยอะรองลงมา คือ นนทบุรี นครปฐม และกรุงเทพมหานคร จึงเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุด
29 เกณฑทใชในการประเมน คา น้าหนัก นครปฐม นนทบุรี กรุงเทพ ( เขตลาดกระบัง ) ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน ความตองการหนวยงานทจะเขาไป ชวยเหลอแมวจร 5 4.5 22.5 4.5 22.5 3 15 พื้นที่มีความเป็นชานเมือง มีพื้นที่ ธรรมชาต 3 5 15 5 15 5 15 ความพร้อมด้านสาธารณูปโภค และสาธารณูปการสาหรับโครงการ 5 4 20 4 20 4 20 มีการเดนทางที่สะดวก 3 4.5 13.5 4 12 4 12 ปัญหาแมวจรจัดในพื้นที่ของสังคม เมือง 3 4.5 13.5 4.5 13.5 5 15 รวม 84.5 83 77 จากตาราง จังหวัดนครปฐมมีความเป็นไปได้มากที่สุดในเกณฑ์ที่ใช้ประเมิน จึงมีความเหมาะสมที่ จะตั้งโครงการ ซึ่งก็คือ จังหวัดนครปฐม ยังไม่มีหน่วยงานที่เข้ามาช่วยเหลือเรื่องแมวจรจัด และยังมีพื้นที่ที่เป็นชาน เมือง มีพื้นที่ดินที่เหมาะสมกับการตั้งโครงการ คือ มีความเป็นธรรมชาติ และมีความเป็นเมืองที่ไม่หนาแน่นอยู่ด้วย มีสาธารณูปโภคต่าง ๆ มีการเดินทางที่สะดวก 3 2 2 เกณฑการเลอกพจารณาทตงโครงการ ที่ตั้งโครงการที่น่าจะเป็นไปได้ คือ ย่านที่ตั้งโครงการในจังหวัดนครปฐมเลือกเป็นพื้นที่ที่เป็น รอยต่อระหว่าง 3 จังหวัด คือ จังหวัดนครปฐม นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีปัจจัยสนับสนุนโครงการหลาย อย่าง เช่น อยู่ไม่ห่างจากชุมชนมากเกินไป มีสาธารณูปโภค ( ประปา ไฟฟ้า ฯลฯ ) มีการเข้าถึงสะดวก มีสถานที่ ท่องเที่ยวใกล้กับบริเวณโครงการ มีหน่วยงานที่เกี่ยวกับการใช้งานของโครงการรองรับ เช่น คณะสัตวแพทย์ของ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลสัตว์ จึงเลือกบริเวณเขตพื้นที่ตาบลงิ้วราย อาเภอนครชัยศรี นครปฐม ถนนเส้น 4006 ซึ่งเป็นถนนเชื่อมต่อไปยัง ถนนพุทธมณฑลสาย 4 เชื่อมต่อไปยังกรุงเทพ และนครปฐม และเชื่อมต่อไปยัง ถนน 3004 เพื่อไปจังหวัดนนทบุรี จึงพิจารณาเลือกที่ดินจากเกณฑ์ ดังนี้ มีการเข้าถึงสะดวก อยู่ในพื้นที่ที่คนสัญจรหลายช่วงเวลา ศักยภาพของที่ดินเหมาะสมกับโครงการ ( รูปร่างของที่ดิน ระดับดิน ลักษณะที่ดินเดิม ) มีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ดี มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
30 ไซต์ในจังหวัดนครปฐมที่เลือก ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างจากตัวเมืองไม่มาก แต่มีความเป็นธรรมชาติ เพื่อไม่ให้ กลิ่นและเสียงรบกวนพื้นที่ข้างเคียง และยังมีความเป็นชุมชนอยู่
31 3.2.3 การวเคราะหทตงโดยละเอยด
32 Site ตั้งอยู่ที่ตาบลงิ้วราย อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยอยู่ใกล้กันกับโรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อสะดวกต่อการทางานร่วมกันในส่วนของคลินิครักษาแมวและบุคลากรทางการแพทย์ บริเวณ ถนนเส้น 4006 เป็นเส้นทางผ่านของ museum ต่างๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ภาพยนตร์ไทย โดยโปรแกรมของโครงการ ศูนย์พักพิงแมวจร ถูกออกแบบให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสาหรับคนรักแมว และให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับแมวด้วย จึง เป็นประโยชน์ต่อผู้คนที่มาท่องเที่ยวบริเวณเส้นทางนี้ ลักษณะของ site สภาพ site เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีต้นไม้ปกคลุม ฝั่งทิศเหนือติดกับทางรถไฟ ทิศใต้ติดกับถนนใหญ่ เส้นหลัก สามารถเกินทางมาได้สะดวก ฝั่งทิศตะวันออกติดกับพื้นที่ทางการเกษตร และฝั่งทิศตะวันตกติดกับคลองกว้าง 4 เมตร และถนน กว้าง 3 เมตร
33 ลักษณะของ site เป็นที่ราบลุ่ม มีต้นไม้ใหญ่รอบๆบริเวณ site ต้นไม้ขนาดกลาง และพุ่มไม้ทั่ว site
34 3 3 การบรหารและการจัดการโครงการ 3.3.1 ผังองค์กร

50,000.00 400,000.00

800.00 80,000.00 320,000.00 3,840,000.00

2,000.00 670.00 20,000.00 240,000.00

1,500.00 300,000.00 70,000.00 840,000.00

100.00 300.00 20,000.00 500,000.00 6,000,000.00

500.00 15,000.00 120,000.00 1,440,000.00

50.00

0.00 2,500.00 62,500 750,000.00

17,910,000.00

35 3.3.2 งบประมาณและที่มางบประมาณ งบประมาณการซื้อที่ดินและการก่อสร้างภาครัฐมีส่วนสนับสนุนงบประมาณให้ ส่วนงบประมาณ การ บริหารโครงการเป็นของภาคเอกชน ซึ่งจะได้มาจากการบริจาค และการบริหารจัดการของส่วนพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ รายได้ของโครงการ รายได้ของโครงการ คน/วัน ราคา/ หน่วย บาท/วัน บาท/เดือน บาท/ปี คอร์สสัมมนา On site 50.00 1,000.00
4,800,000.00 คอร์สสัมมนา Online 100.00
ค่าเช่าพื้นที่ส่วน retail 10.00
การจัด event ( 2 ครั้ง/เดือน ) 200.00
ร้านอาหารและของที่ระลึก
คอร์ส workshop ( 2 ครั้ง/ อาทิตย์) 30.00
ค่าชมพื้นที่สวนแมวจร
5
รวมรายได้
3.3.3 คาใชจายของโครงการในขนตอนเบองตน 1) คาใชจายในการกอสราง ราคา/หน่วย (ตร.ม.) องค์ประกอบหลักโครงการ จานวน ขนาด (ตร. ม.) รวม (ตร.ม) ราคา/หน่วย รวมเป็นเงิน (บาท) องค์ประกอบหลักของโครงการ ส่วนพักพิงแมวจร พื้นแมวทั่วไป ( 900 ตัว ) พื้นที่นอน 36 12 432 4,000 1,728,000 พื้นที่กิน 6 74 444 2,000 888,000 พื้นที่ขับถ่าย 24 3.75 90 3,000 270,000 พื้นที่วิ่งเล่น 6 380 2280 3,000 6,840,000 พื้นที่แมวดุร้าย ( 10 ตัว ) 1 41 41 2,000 82,000 พื้นที่แม่แมวและลูกแมว ( 50 ตัว ) 2 20 40 5,000 200,000 พื้นที่แมวป่วย ไม่ติดเชื้อ ( 10 ตัว ) 1 20 20 3,000 60,000 พื้นที่แมวป่วยติดเชื้อ ( 20 ตัว ) 1 20 20 3,000 60,000

20 6,000 30,000

400 2,000 800,000

60 60 10,000 600,000

120 120 10,000 1,200,000

18 72 10,000 720,000

20 20 10,000 200,000

20 20 10,000 20,000

200 10,000 2,000,000

36 10,000 360,000

74 10,000 740,000

12,000 240,000

20 12,000 240,000

15,000 675,000

10,000 140,000

10,000 70,000

10,000 120,000

10,000 160,000

1 5 5 12,000 60,000

1 5 5 12,000 60,000

10,000 300,000

12,000 384,000

15,000 300,000

12 12,000 144,000

12 10,000 120,000

10,000 200,000

10,000 180,000

10,000 320,000

10,000 300,000

20 15,000 300,000

10,000 600,000

36 พื้นที่แมวพิการ ( 10 ตัว ) 1 20
สุสานแมว 1 400
โถงรวมพนักงานดูแลประจา 1
ห้องเก็บอาหารแมว ห้องเก็บของ 1
ห้องอาบน้า ตัดขน เป่าขน 4
ห้องน้าพนักงานชาย 1
ห้องน้าพนักงานหญิง 1
สวนแมว 1 200
ห้องพักพนักงาน 1 36
ห้องเก็บอุปกรณ์ 1 74
ห้องน้าชาย 1 20 20
ห้องน้าหญิง 1 20
รวมค่าก่อสร้างส่วนพักพิง 17,278,000 ส่วนรักษาพยาบาล แผนกเวชระเบียน โถงต้อนรับ 1 45 45
ติดต่อ สอบถาม / เวชระเบียน 1 14 14
พื้นที่เก็บเอกสาร 1 7 7
ห้องจ่ายยา 1 12 12
ห้องธุรการการเงิน 1 16 16
ห้องน้าชาย
ห้องน้าหญิง
แผนกอายุรกรรม โถงพักคอยห้องตรวจ 1 30 30
ห้องตรวจโรคทั่วไป 4 8 8
ห้องอาบน้า ตัดขนแมว 1 20 20
ห้องทาความสะอาดเครื่องมือ 1 12
ห้องพักขยะ 1 12
ห้องทาความสะอาดผ้า 1 20 20
แผนกส่วนฉุกเฉิน พื้นที่พักแมวช่วยเหลือ 1 18 18
ห้องพักสังเกตอาการแมว 1 32 32
ห้องทาแผล 1 30 30
พื้นที่เตรียมรักษา / LAB 1 20
ห้องดูแลแมวป่วย 1 60 60
แผนกหน่วยกายภาพบาบัด

6

12,000 720,000

10,000 600,000

40,000 720,000

40,000 580,000

12 15,000 180,000

12 10,000 120,000

10 10,000 100,000

10,000 150,000

40 10,000 400,000

1,000,000

12,000

800 15,000 12,000,000

100 100 20,000 2,000,000

100 100 15,000 1,500,000

128 15,000 1,920,000

200 10,000 2,000,000

400 400 12,000 4,800,000

70 140 12,000 1,680,000

30 12,000 360,000

12,000 360,000

300 5,000 1

500,000

10,000 2,400,000

10,000 4,200,000

1,800,000

2,880,000

12,000 1,800,000

12,000

37 พื้นที่ธาราบาบัด 1 60
0
พื้นที่ทากายภาพบาบัด 1 60 60
แผนกวินิจฉัยทางการแพทย์ ห้อง Ultrasound 1 18 18
ห้อง X ray 1 15 15
ห้องควบคุม 2 6
ห้องเก็บยา 1 12
ห้องเย็นเก็บซาก 1 10
ห้องพักผ่อนสัตว์แพทย์หรือ เจ้าหน้าที่ 1 15 15
ห้องนอนสัตว์แพทย์ 2 20
ห้องนอนสัตว์แพทย์ฝึกหัด 5 20 100 10,000
ห้องน้าชาย 1 5 5
60,000 ห้องน้าหญิง 1 5 5 12,000 60,000 รวมค่าก่อสร้างส่วนรักษาพยาบาล 9,123,000 ส่วนพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและแมว ส่วนแสดง Exhibition 1 800
ห้องควบคุมส่วน Exhibition 1
พื้นที่สัมมนา 1
พื้นที่ workshop 2 64
ครัว พื้นที่ทาอาหารให้แมว 1 200
พื้นที่สวน 1
ร้านอาหาร และ café 2
Cat shop 1 30
ร้านขายของที่ระลึก 1 30 30
ลานจัดกิจกรรม 1 300
,
รวมค่าก่อสร้าง 41,243,000 ส่วนบริหารโครงการ สานักงาน 1 240 240
ส่วนติดต่อรับเลี้ยงแมว 1 420 420
ห้องรับรองผู้อุปการะแมว 1 50 50 10,000 500,000 ส่วนอาสาสมัครและผู้เยี่ยมชม 1 180 180 10,000
ห้องประชุม / สัมมนา 1 240 240 12,000
พื้นที่ให้ความรู้เกี่ยวกับแมว 1 150 150
Studio ผลิตสื่อโฆษณาแมว 1 50 50
600,000 ห้องน้าชาย 1 20 20 12,000 240,000

12,000 240,000

144 15,000 2,160,000

552 10,000 5,520,000

320 9,000 2,880,000

30 12,000 360,000

30 12,000 360,000

150 15,000 2,250,000

200 15,000 3,000,000

100 7,000 700,000

2,500 10,875,000

5,000 50,000

12,000

15,000

15,000 15,000

60,000

38 ห้องน้าหญิง 1 20 20
รวมค่าก่อสร้างส่วนบริหารโครงการ 14,160,000 ส่วนสนับสนุนโครงการ ห้องรับรองผู้อานวยการ 4 36
ห้องพักพนักงาน 23 24
ห้องพักอาสาสมัคร 20 16
ห้องน้าอาสาสมัครชาย 1 30
ห้องน้าอาสาสมัครหญิง 1 30
โรงอาหาร 1 150
พื้นที่งานระบบอาคาร 1 200
โรงปุ๋ย 1 100
ที่จอดรถ 55 คัน 1 4,350 4,350
เตาเผาซากสัตว์ 1 10 10
รวมค่าก่อสร้างส่วนสนับสนุนโครงการ 28,205,000 รวมค่าก่อสร้างทั้งหมด 106,009,000 2) ราคาทดน พื้นที่ใช้สอยโครงการ 14,631 ตารางเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 9.144 ไร่ อ้างอิงราคาที่ดินจากการสารวจราคาที่ดินในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง ในปัจจุบัน ราคาที่ดิน ประมาณ 600,000 บาทต่อไร่ ราคาที่ดินของโครงการจะประมาณได้ เท่ากับ 5,486,400 บาท 3) เงนเดอนบคลากร ลาดับ ตาแหน่ง จานวน (คน) เงินเดือน (บาท/ เดือน) เงินเดือนรวม (บาท) 1 เจ้าหน้าที่ดูแลแมว 5 15,000 75,000 2 เจ้าหน้าที่ฝึกสอนแมว 2 18,000 36,000 3 เจ้าหน้าที่ดูแลอาสาสมัครและผู้เยี่ยมชม 2 15,000 30,000 4 พนักงานร้านอาหาร และ cafe 2
24,000 5 พนักงานร้าน Pets shop 2 12,000 24,000 6 เจ้าหน้าที่แผนกเวชระเบียน 1 15,000
7 เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน 3 15,000 45,000 8 เจ้าหน้าที่จ่ายยา 1
9 สัตวแพทย์ 3 20,000
10 ผู้ช่วยสัตวแพทย์ 3 18,000 54,000

18,000 18,000

38,000 38,000

1 25,000 25,000

1 25,000 25,000

2 18,000 36,000

2 18,000 36,000

2 15,000 30,000

17,000 51,000

15,000

9,000

39 11 เจ้าหน้าที่กายภาพบาบัดแมว 1
12 ผู้อานวยการศูนย์พักพิงแมว 1
13 รองผู้อานวยการฝ่ายบริหาร
14 รองผู้อานวยการฝ่ายบริการ
15 เลขานุการ
16 เจ้าหน้าที่แผนกธุรการ
18 เจ้าหน้าที่ฝ่ายรับเลี้ยงแมว ประชาสัมพันธ์
19 พนักงานฝ่ายทาสื่อโฆษณา และ โปรโมต แมว 3
20 เจ้าหน้าที่ฝ่ายภูมิทัศน์ อาคาร สถานที่ และ ซ่อมบารุง 2
30,000 21 พนักงานทาความสะอาด 3
27,000 22 พนักงานรักษาความปลอดภัย 2 10,000 20,000 รวม 47 714,000 สรปคาใชจายกอนเรมโครงการ ค่าก่อสร้างอาคาร 106,009,000 บาท ค่าที่ดิน 10,400,000 บาท เงินเดือนบุคลากร 714,000 บาท รวมมูลค่า 117,123,000 บาท
40 3.4 กฎหมายและเทศบญญตทเกยวของเฉพาะกบโครงการ กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับตัวโครงการและงานสถาปัตยกรรม

24 3.75 90

พื้นที่วิ่งเล่น 6 380 2,280

พื้นที่แมวดุร้าย ( 10 ตัว ) 1 41 41

พื้นที่แม่แมวและลูกแมว ( 50 ตัว ) 2 20 40

พื้นที่แมวป่วย ไม่ติดเชื้อ ( 10 ตัว ) 1 20 20

พื้นที่แมวป่วยติดเชื้อ ( 20 ตัว ) 1 20 20

( 10 ตัว ) 1 20 20

1 400 400

1 60 60

120 120

18 72

41 3.5 สรุปโครงการ 3.5.1 พื้นที่ใช้สอย รายละเอียด จำนวน ขนาด (ตร.ม.) รวม (ตร.ม) องค์ประกอบหลักของโครงการ ส่วนพักพิงแมวจร พื้นแมวทั่วไป ( 900 ตัว ) พื้นที่นอน 36 12 432 พื้นที่กิน 6 74 444 พื้นที่ขับถ่าย
พื้นที่แมวพิการ
สุสานแมว
โถงรวมพนักงานดูแลประจำ
ห้องเก็บอาหารแมว ห้องเก็บของ 1
ห้องอาบน้ำ ตัดขน เป่าขน 4
ห้องน้ำพนักงานชาย 1 20 20 ห้องน้ำพนักงานหญิง 1 20 20 สวนแมว 1 200 200 ห้องพักพนักงาน 1 36 36 ห้องเก็บอุปกรณ์ 1 74 74 ห้องน้ำชาย 1 20 20 ห้องน้ำหญิง 1 20 20 รวม 4,429 ส่วนรักษาพยาบาล แผนกเวชระเบียน โถงต้อนรับ 1 45 45

1

1 12 12

1 12 12

1 20 20

1 18 18

1 32 32

1 30 30

/ LAB 1 20 20

1 60 60

60

42 ติดต่อ สอบถาม / เวชระเบียน 1 14 14 พื้นที่เก็บเอกสาร 1 7 7 ห้องจ่ายยา 1 12 12 ห้องธุรการการเงิน 1 16 16 ห้องน้ำชาย 1 5 5 ห้องน้ำหญิง 1 5 5 แผนกอายุรกรรม โถงพักคอยห้องตรวจ 1 30 30 ห้องตรวจโรคทั่วไป 4 8 8 ห้องอาบน้ำ ตัดขนแมว
20 20 ห้องทำความสะอาดเครื่องมือ
ห้องพักขยะ
ห้องทำความสะอาดผ้า
แผนกส่วนฉุกเฉิน พื้นที่พักแมวช่วยเหลือ
ห้องพักสังเกตอาการแมว
ห้องทำแผล
พื้นที่เตรียมรักษา
ห้องดูแลแมวป่วย
แผนกหน่วยกายภาพบำบัด พื้นที่ธาราบำบัด 1 60 60 พื้นที่ทำกายภาพบำบัด 1 60
แผนกวินิจฉัยทางการแพทย์ ห้อง Ultrasound 1 18 18 ห้อง X ray 1 15 15 ห้องควบคุม 2 6 12 ห้องเก็บยา 1 12 12 ห้องเย็นเก็บซาก 1 10 10 ห้องพักผ่อนสัตว์แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ 1 15 15 ห้องนอนสัตว์แพทย์ 2 20 40 ห้องนอนสัตว์แพทย์ฝึกหัด 5 20 100

420

240

43 ห้องน้ำชาย 1 5 5 ห้องน้ำหญิง 1 5 5 รวม 718 ส่วนพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและแมว ส่วนแสดง Exhibition 1 800 800 ห้องควบคุมส่วน Exhibition 1 100 100 พื้นที่สัมมนา 1 100 100 พื้นที่ workshop 2 64 128 ครัว พื้นที่ทำอาหารให้แมว 1 200 200 พื้นที่สวน 1 400 400 ร้านอาหาร และ café 2 70 140 Cat shop 1 30 30 ร้านขายของที่ระลึก 1 30 30 ลานจัดกิจกรรม 1 300 300 รวม 2,228 ส่วนบริหารโครงการ สำนักงาน 1 240 240 ส่วนติดต่อรับเลี้ยงแมว 1 420
ห้องรับรองผู้อุปการะแมว 1 50 50 ส่วนอาสาสมัครและผู้เยี่ยมชม 1 180 180 ห้องประชุม / สัมมนา 1 240
พื้นที่ให้ความรู้เกี่ยวกับแมว 1 150 150 Studio ผลิตสื่อโฆษณาแมว 1 50 50 ห้องน้ำชาย 1 20 20 ห้องน้ำหญิง 1 20 20 รวม 1,370 ส่วนสนับสนุนโครงการ ห้องรับรองผู้อำนวยการ 4 36 144 ห้องพักพนักงาน 23 24 552 ห้องพักอาสาสมัคร 20 16 320 ห้องน้ำอาสาสมัครชาย 1 30 30
44 ห้องน้ำอาสาสมัครหญิง 1 30 30 โรงอาหาร 1 150 150 พื้นที่งานระบบอาคาร 1 200 200 โรงปุ๋ย 1 100 100 ที่จอดรถ 55 คัน 1 4,310 4,310 เตาเผาซากสัตว์ 1 10 10 ห้องสมุด 1 40 40 รวม 5,886 รวมทั้งหมด 14,631 การเปรียบเทียบพื้นที่ใช้สอย แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบพื้นที่ใช้สอยภายในโครงการ : พื้นที่/หน่วย (ตร. ม.)
45
46 3.5.2 ศักยภาพของที่ตั้ง ลาดับการเข้าถึงตามความสะดวกในการเข้าถึงตัวโครงการ ใช้คลองข้างโครงการ และบ่อน้าในโครงการ เป็นตัวเชื่อมในเรื่อง view และเป็น buffer ในส่วนที่ต้องการความ Private
47 บทที่ 4 การออกแบบทางสถาปัตยกรรม 4.1 การวเคราะหความสมพนธในการใชงานและสวนประกอบตางๆภายในโครงการ การวิเคราะห์โครงการและกิจกรรมภายในโครงการ กิจกรรมต่างๆในโครงการ
48 คอร์สสัมมนาในการเลี้ยงแมว เป็นคอร์สเรียนออนไลน์โดยผู้เชี่ยวชาญด้านแมวไทยที่จะสอนตั้งแต่ ขั้นตอนการนาแมวมาเลี้ยงตั้งแต่วันแรก การเลือกเลี้ยงแมวที่เหมาะสมกับเรา (แมวขนสั้นขนยาว) งบประมาณค่าใช้จ่าย และการเลือกอุปกรณ์ที่จาเป็น เข้าใจพฤติกรรม นิสัยของแมว และวิธีการเลี้ยงที่ถูกต้อง อาหารการกินที่เหมาะสมในแต่ละวัย จะทาอย่างไรเมื่อแมวไม่สบายกันนะ สายพันธุ์แมวไทยและการส่งแมวเข้าประกวด อื่นๆ หรือถ้าหากเข้ามาในโครงการ จะสามารถลองเลี้ยงกับแมวในโครงการได้ เพื่อให้เกิดความพร้อมก่อนการ อุปการะแมว หรือเลี้ยงแมวของตนเองอย่างมีความเข้าใจมากขึ้น ไม่ให้เกิดปัญหาแมวจรตามมาในอนาคต ขนตอนในการจดการแมวเมออยในโครงการ
49 การวเคราะหโครงการและกจกรรมภายในโครงการ
50 4 2 แนวความคดในการออกแบบ ใช้รูปแบบการเคลื่อนไหวของแมว และพฤติกรรมของแมวเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ โดยแมวจะมี การเคลื่อนไหวที่รวดเร็ว ไม่แน่นอน มักเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง ซึ่งสังเกตได้จากการกระโดด ตัวแมวมีสภาพร่างกาย ทางกายภาพที่ยืดหยุ่น ทาให้สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระตามใจคิด จึงนามาออกแบบอาคารในรูปแบบของเส้น โค้ง การเล่นระดับต่างๆของช่องเปิดและพื้นในแต่ละชั้น รูปแบบในการเปิดของช่องเปิดมีความหลากหลายเพื่อเพิ่ม ความน่าสนใจให้กับผู้ใช้งานและพื้นที่โครงการถูกออกแบบให้กลืนไปกับธรรมชาติ
51 การวางผังพื้นที่ใช้สอยภายในโครงการลงในพื้นที่จริง
52 พื้นที่ในการใช้งานถูกแบ่งตามลาดับการเข้าถึงตัวโครงการ ฝั่งติดถนนใหญ่ สามารถเข้าถึงได้สะดวกที่สุด จึงออกแบบให้เป็นพื้นที่ Public บริเวณตรงกลาง เข้าถึงได้ปานกลาง และด้านหลังเข้าถึงได้ยากที่สุดเป็น พื้นที่ Private
53 4.2.1 แบบรางครงท 1
54
55
56
57 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ส่วน Exhibition ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ส่วนพื้นที่สัมมนา / ลาน Event
58
59 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ CLINIC ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ CLINIC : ส่วนสระว่ายน้าแมว ธาราบาบัด
60
61 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วนบ้านแมว
62 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วน Service ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วนสวนแมว
63
64 แบบจาลองครั้งที่ 1 ( Model )
65 VDO ตัวอย่าง MOOD โครงการ ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาแบบครั้งที่ 1 ภาพรวมโครงการ คอนเสปควรชัดเจน การโค้งของงาน ควรมีเหตุผล มากกว่าการออกแบบมาจากอุ้งเท้าแมว ใช้พื้นที่ให้คุ้มค่ากว่านี้ พื้นที่ระหว่างอาคารควรถูกใช้ประโยชน์ และทาให้เป็นสัดส่วน ออกแบบรูปด้านอาคารเพิ่มเติม คิด Land scape ให้เยอะกว่านี้ ควรระบุชนิดต้นไม้ในโครงการ พื้นที่ Interactive จัดสรรพื้นที่ Plaza แบ่ง Zone ให้ชัดเจน จัดพื้นที่ตรงกลางให้ดีขึ้น ใช้ berm ดิน บ่อน้าให้เป็นส่วนหนึ่งของอาคาร Clinic ควรออกแบบจาก function follow form บางส่วนของอาคารอาจไม่ต้องเป็น form โค้ง เพื่อตอบ Function เพิ่มห้องขยะติดเชื้อ detail ภายในห้อง Shelter คิด Landscape ใส่ต้นไม้ใหญ่ให้แมวปีนเยอะกว่านี้ จัดพื้นที่ต่างๆให้แมวให้น่าสนใจ แต่ละ cell มี ขนาดรูปแบบที่หลากลายมากขึ้น หลังคาบ้านแมวควรมีการกันแดดกันฝนมากกว่านี้
66 4 2 2 แบบรางครงท 2
67
68
69 ทัศนียภาพโดยรวมโครงการ และ บริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์
70 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ส่วน Exhibition และ Roof garden ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ส่วนร้านอาหารและห้องสมุด ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ส่วน ร้านอาหาร
71
72 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ CLINIC : ส่วนทางเข้าด้านหน้า ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่สานักงาน : ส่วนกรงแมวและ Studio
73
74
75 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วนบ้านแมว ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วนสวนแมว สาหรับให้คนเข้ามานั่งเล่นกับแมว
76 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วนสวนแมว บริเวณหลังคาสาหรับให้แมวเดินเล่น
77 แบบจาลองครั้งที่ 2 ( Model )
78 แบบจาลองขยายบ้านแมว
79 ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาแบบครั้งที่ 2 ภาพรวมโครงการ แก้ไขทางเดินรถ / ทางเดินคน ที่จอดรถ drop off ให้ชัดเจน ทางเดินหลัก ให้มีหลังคาคลุม Landscape Softscape hardscape ควรแบ่งให้ชัดเจน แก้ลักษระ Berm เดินให้เหมาะสม (โค้ง/ตรง) คลองในโครงการ บ่อน้า มีระบบอย่างไร พื้นที่ปฏสมพนธ เพิ่มพื้นที่ service ใส่ประตูหน้าต่าง ขยายทางเข้าหลัก ด้านหน้า ใส่ราวกันตกบริเวณ Roof garden Clinic แสดงงานระบบ ออกแบบทางเดินเข้าอาคารให้ชัดเจน Shelter ออกแบบและแสดงส่วน Service อาบน้า ตัดขน เก็บอาหาร นั่งพัก นั่งเล่นของพนักงาน เพิ่มหลังคาที่เชื่อมกับส่วน clinic แก้บ้านพักอาสาสมัครเป็นสี่เหลี่ยมเพื่อให้สอดคล้องกับ form ของ cat shelter
80 4 2 3 แบบรางครงท 3
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93 ทัศนียภาพโดยรวมของโครงการ
94 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ลานทางเข้า
95 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ส่วน Ramp Roof Garden ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ลาน Event / Retail
Plaza Event – Retail shop
96
ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : พื้นที่นั่งเล่น Retail Shop

Workshop space

Restaurant and Cat cafe
97
98 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ปฏิสัมพันธ์ : ส่วนร้านอาหารและสะพานเชื่อมไปยังสวนแมว
Cat Garden
99
Cat Garden
100 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วนสวนแมว
101 Cat House ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วนบ้านแมว
Cat Grooming
102
ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่พักพิงแมว : ส่วน Service พื้นที่อาบน้า ตัดขน เป่าขนแมว
103 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ CLINIC
104 ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่ CLINIC : ส่วนที่พักแมวดุ ทัศนียภาพบริเวณสานักงาน ส่วน Studio ผลิตสื่อแมว

Interaction Space

105 แบบจาลองครั้งที่ ( Model )
Cat Clinic Cat Shelter ( Cats House)
106
107 แบบจาลองขยายบ้านแมว
108 VDO บรรยากาศโครงการ VDO ภายในโครงการ มุมมองแมว ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาแบบครั้งที่ 3 ภาพรวมโครงการ พื้นที่ Open space เยอะ เหมาะกันแมวจริงหรือไม่ Program โครงการ ส่วน commercial ในการ run โครงการ ควรมีให้มากกว่านี้ เพื่อให้ โครงการไปต่อได้ มากกว่าแค่การรับบริจาค ที่จอดรถมีการกระจายมากเกินไป ควรมีการจัดกลุ่มกันเพื่อการใช้งานที่ดีขึ้น Shelter ช่องแสง sky light อาจไม่ต้องใหญ่มาก เพราะจะทาให้แมวร้อน ควรแสดง detail รั้ว เรื่องความสูง และลักษณะพิเศษของรั้วที่จะไม่ให้มวปีนออกไปข้าง นอกได้
109 บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะโครงการ 5.1 สรุปโครงการ โครงการศูนย์พักพิงแมวจร เป็นโครงการที่ต้องการแก้ไขปัญหาแมวจรจัดในสังคมเมือง โดยเจ้าหน้าที่ใน โครงการหรืออาสาสมัครจะเป็นคนนาแมวจรที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือต้องการได้รับการดูแล มาที่ศูนย์พักพิง แมวจร เพื่อให้มีสภาพการเป็นอยู่ที่ดีขึ้นทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ โดยจะนาไปไว้ที่ห้องแรกรับ และสังเกตอาการ ว่า แมวจรที่รับเข้ามา มีโรคหรือความผิดปกติหรือไม่ มีลักษณะทางร่างกายและจิตใจเป็นอย่างไร มีความหวาดกลัว หรือไม่ หากสภาพร่างกายและจิตใจยังไม่ค่อยดี จากการถูกทาร้ายต่างๆในสังคมภายนอก จะถูกจัดไว้ในกลุ่มแมวไม่ ปกติ ในส่วนของคลินิกแมว หรือถ้าหากสภาพร่างกายและจิตใจเป็นปกติดี สามารถให้คนจับ หรือวิ่งเล่นได้จะจัดอยู่ ในกลุ่มแมวปกติ ในส่วนของพื้นที่พักพิงแมวโดยมีการจัดสรรพื้นที่ ตามลักษณะของพฤติกรรมแมว เช่น แมวชอบวิ่ง เล่นชอบปีนปายตามผนัง กาแพง เพื่อเป็นการออกกาลังกาย และสร้างความสุขให้กับแมว และอยู่ในสภาพแวดล้อม ที่เต็มไปด้วยต้นไม้ ธรรมชาติ พืชสมุนไพรที่ดีต่อแมว เพื่อให้แมวรู้สึกผ่อนคลาย มีความสุขในขณะที่อยู่ในโครงการ ส่วนพื้นที่เรียนรู้พฤติกรรมแมว Exhibition Workshop ร้านอาหาร ห้องสมุด ส่วนให้ความรู้ต่างๆ สาหรับผู้ ที่ต้องการรู้จักแมวมากขึ้น การเลี้ยง การดูแลในรูปแบบต่างๆ เช่น การเลือกอาหารให้เหมาะสมกับแมวแต่ละชนิด การทาอาหารบาร์ฟ (อาหารสด) ให้แมว การฝึกแมวให้มีทักษะต่างๆ เช่น กระโดด ขอมือ หรือเดินโดยใส่สายจูง ซึ่ง ถ้าหากคนที่เข้ามาในโครงการ เข้าใจ และรู้ถึงการเลี้ยงแมวที่ถูกวิธี ก็จะช่วยลดปัญหาการทอดทิ้งแมวได้ และเป็น ส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาแมวจรจัดในสังคม หรือถ้าหากคนที่เข้ามาในกลุ่มนักท่องเที่ยว สนใจที่จะอุปการะแมว สามารถติดต่อรับเลี้ยงแมว โดยผู้ที่สนใจจะรับเลี้ยง สามารถเดินทางมาติดต่อที่ห้องรับรอง เพื่อขอดูแมวในโครงการ ได้โดยตรงในส่วนของสวนแมวตรงกลางของพื้นที่พักพิงแมว หรือดูผ่านหน้าเว็ปของโครงการ โดยมีทีม studio ซึ่งจะ ถ่ายทาภาพ และคลิปแมวในโครงการให้ชมผ่านทางหน้าเว็ปเพื่อให้สะดวกต่อการเลือกแมว และเพิ่มโอกาสในการ ได้รับอุปการะให้กับแมวในโครงการ ซึ่งหากแมวในโครงการได้รับอุปการะ ก็จะสามารถรับแมวจรจากข้างนอกมา เพิ่มได้ เป็นการช่วยแก้ไขปัญหาแมวจรและสร้างความสุข ให้กับผู้ที่สนใจเลี้ยงแมวด้วย ส่วนรักษาพยาบาล เป็นคลินิกในการรักษาเบื้องต้นให้กับแมวในโครงการ และเป็นส่วนพักพิงของแมวไม่ ปกติ ( แมวที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ) เช่น แม่แมวและลูกแมว แมวพิการ แมวป่วย แมวดุ โดยจะเจ้าหน้าที่ ซึ่ง เป็นสัตวแพทย์ และผู้ช่วยสัตวแพทย์ ดูแลแมวที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ ตลอด 24 ชั่วโมง และมีการทากายภาพ และธาราบาบัด ช่วยให้แมวที่พิการ สามารถเดิน หรือวิ่งได้ในอนาคต พื้นที่สาหรับแมวดุ จะมีผู้ที่เชี่ยวชาญในการ ดูแลแมว ได้เล่น และสร้างบรรยากาศที่ดีให้กับแมว เพื่อให้แมวรู้สึกผ่อนคลาย และไม่ดุได้ในอนาคต เพื่อให้แมวใน โครงการ มีสภาพร่างกาย และจิตใจที่ดีขึ้น พร้อมในการได้รับอุปการะต่อไป
110 ข้อเสนอแนะ รูปแบบของอาคารยังไม่ชัดเจน ยังลง Detail ได้มากกว่านี้ ยังสามารถออกออกแบบตัวงานสถาปัตยกรรมให้รู้สึกถึงแมวได้มากกว่านี้ การนาเสนอแบบจาลอง หรือการแสดงแบบยังขาดหายในบางส่วน เช่น Detail ของกรงแมว ในส่วน พื้นที่พักพิง ส่วนของคลินิก ควรจะออกแบบให้มีฟังก์ชันที่ครอบคลุมมากกว่านี้ ส่วนพื้นที่ Shop Workshop ยังสามารถถ่ายทอดเป็นพื้นที่การใช้งาน และให้เกิดความน่าสนใจได้ มากกว่านี้ เพื่อเป็นรายได้ให้กับโครงการด้วย

http://https://www.cattrips.com/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%

http://shorturl.asia/BCt7j

111 บรรณานุกรม กรมปศุสัตว์ . (2562). ฐานข้อมูลเพื่อการขึ้นทะเบียนสุนัข แมว. ค้นจาก http://164.115.40.46/petregister ไทยรัฐออนไลน์. (2558). เปิดวิธีจับ! เผยชีวิตหมา แมวในกรงทอง กทม.. ค้นจาก http://https://www.thairath.co.th/content/477410 มั่งมี . (2653). ความแตกต่างระหว่างแมวไทย กับแมวสายพันธุ์ต่างประเทศ. ค้นจาก
มั่งมี . (2653). พฤติกรรมและลักษณะนิสัยแบบแมวๆ. ค้นจาก
วิศิษฏ์ มณีศรี. (2559). ปัญหาสุนัขและแมวจรจัด. ค้นจาก http://https://sites.google.com/site/wisitkamin/payha sunakh crcad ศูนย์สารวจความคิดเห็นบ้านสมเด็จโพลล์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา . (2562). ผลสารวจ คนกทม. 76.1% สุนัข แมวจรจัด เป็นปัญหาสังคมที่ต้องเร่งแก้ไข. ค้นจาก http://https://www.thairath.co.th/news/local/1555731
112 ภาคผนวก ความแตกตางระหวางแมวไทย กบแมวสายพนธตางประเทศ ลกษณะนสยโดยทวไปของแมวไทย แมวพันธุ์ไทยมีอุปนิสัยที่ฉลาด รักบ้าน รักเจ้าของ เป็นตัวของตัวเอง รู้จักประจบ แต่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ ค่อยนิยมเลี้ยง ต่างจากแมวไทยในต่างประเทศที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากและยังยกย่องให้แมวไทยเป็นพันธุ์ที่มี ความมหัศจรรย์กว่าแมวพันธุ์ใดๆ ลักษณะทั่วไปของแมวไทยจะมีขนสั้นแน่น ซึ่งเป็นไปตามลักษณะภูมิอากาศในถิ่น กาเนิดของสายพันธุ์ การกินอยู่หรืออาหารของแมวไทยกินง่าย เช่น ข้าวคลุกปลาทู เป็นอาหารที่แมวไทยโปรดปราน ส่วนอาหารเม็ดหากฝึกให้ลูกแมวกินตั้งแต่ยังเล็กๆก็จะยอมกินอาหารเม็ด เช่นเดียวกับแมวสายพันธุ์อื่นๆ ลกษณะนสยของแมวสายพนธตางประเทศ สายพันธุ์แมวต่างประเทศคนไทยนิยมเลี้ยงมีหลายชนิด การเลี้ยงดูจึงขึ้นอยู่กับแมวสายพันธุ์นั้นๆ เช่น แมว พันธุ์เปอร์เซียจะมีนิสัยอ่อนโยน ร่าเริง ซุกซน ขี้ประจบประแจง ชอบเข้าหาคน อาหารแมวสายพันธุ์ต่างประเทศ ควรเป็นอาหารเม็ดที่ให้พลังงานและสารอาหารที่ครบถ้วนในแต่ละวัน ข้อแตกต่างระหว่างแมวสายพันธุ์ต่างประเทศกับแมวไทยเห็นได้อย่างชัดเจนก็คือการเลี้ยงดู แมวสายพันธุ์ ต่างประเทศจะต้องดูแลและเลี้ยงดูเอาใจใส่เป็นพิเศษ ไม่ควรปล่อยให้อยู่ในที่ที่มีอากาศร้อนเกินไป เพราะนอกจากมี ขนยาวด้วยแล้ว ยังไม่สามารถทนความร้อนได้เท่ากับแมวพันธุ์พื้นบ้านของไทยเราที่ขนสั้นกว่าและทนร้อนได้ดีกว่า ด้วย นอกจากแมวไทยและแมวสายพันธุ์ต่างประเทศจะมีลักษณะนิสัยบางอย่างที่แตกต่างกัน รวมถึงการเลี้ยงดู ที่ต้องดูเอาใจใส่แตกต่างกันแล้ว การเลี้ยงแมวสายพันธุ์จากต่างประเทศยังมีค่าใช้จ่ายมากกว่า เริ่มจากราคาลูกแมว อายุ 2 เดือนราคาอาจเริ่มที่ 3,500 10,000 บาท ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ซึ่งแตกต่างจากการเลี้ยงแมวไทยที่ลูกแมวราคา ไม่แพงหรืออาจไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆนอกจากค่าฉีดวัคซีนหรือค่ารักษาเมื่อมีอาการเจ็บป่วย ดังนั้นการเลี้ยงดูแมวเหมียวไว้เป็นเพื่อนเล่นหรือเป็นเพื่อนแก้เหงา นอกจากเลือกแมวสายพันธุ์ที่ตนเองชื่น ชอบแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงความพร้อมทั้งเวลาและงบประมาณในการเลี้ยงดู สภาพแวดล้อมและพื้นที่ที่เหมาะสม สาหรับการนาแมวมาเลี้ยงเป็นส่วนประกอบด้วย
113 ประวตผเขยน ประวตสวนตว นางสาวธัญรดี ไตรศิริพานิช ( จิ๊บแมว ) รหัสนักศึกษา 593200019 0 เกิดเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2540 ภูมิลาเนา บ้านเลขที่ 4 ถนนอุบลกิจ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 เบอร์โทร : 086-4657119 E mail : tthanradee@kkumail.com การศึกษา ประถม โรงเรียนฮั้วเฉียวกงฮัก อุบล มัธยมต้น มัธยมปลาย โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.