Proceeding of NEC 2012

Page 1



สารบัญ หน้า

1. โครงการการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง 2555

1

2. กาหนดการ

3

3. บทความโดยวิทยากร An Introduction to the ASEAN Cyber Univ. Project Professor Dr.Goo Soon Kwon

17

Open Education and e-Learning, its potential in future Prof. Yoshimi Fukuhara

18

การเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ผ่านวัฒนธรรมล้านนา เพื่อการบูรณาการอาเซียน Contributing to ASEAN Integration with Online Learning of English through Lanna Culture รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง

20

Session

4. บทความวิชาการ การศึกษาความต้องการจาเป็นด้านความสามารถไอซีทีสาหรับบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา Needs Analysis of ICT Literacy for University in Yala Rajabhat University นิมารูนี หะยีวาเงาะ, ณมน จีรังสุวรรณ

B1_1

24

ประสิทธิภาพของการฝึกอบรมออนไลน์ด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ The Effectiveness of e-Training in Information Technology Security จิระ จิตสุภา, ปรัชญนันท์ นิลสุข, พัลลภ พิริยะสุรวงศ์

B1_2

31


Session B1_3

หน้า 37

การพัฒนาระบบไอซีทีเพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้รายวิชาความรู้ เบื้องต้นทางวิชาชีพวิศวกรรม Development of an ICT System for Facilitating Knowledge Management Model Lesson on the Topic of an Engineering Fundamentals พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ, ชุมพล อัครพงษ์

B1_4

45

สิ่งพิมพ์ดิจิทัลสาหรับผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต Digital Publishing for Net-Generation Learners จินตวีร์ คล้ายสังข์

B1_5

53

การศึกษาสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิตเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน The performance of computer and communications technology undergraduate students for Blended learning model ธีรวดี ถังคบุตร

B1_6

63

สู่ความเป็นเลิศในการจัดการศึกษาออนไลน์: ผลสารวจความพึงพอใจที่มีต่อ การให้บริการระบบ e-Learning (ยุคใหม่) ของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Towards the e-Learning Excellence: Instructors’ satisfaction of the new e-Learning system at Sripatum University, Thailand ณิชชา ชานิยนต์, นิพาดา ไตรรัตน์, วรสรวง ดวงจินดา

B1_7

68

มุมมองของผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงในโปรแกรมอีเลิร์นนิง เพื่อการ ส่งเสริมการนาการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงไปใช้ในระดับอุดมศึกษา Perspective of Change Facilitators in e-Learning Program for Promoting e-Learning Implementation in Higher Education เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์, ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

B1_8

73

การพัฒนาตัวบ่งชี้รวมความสาเร็จในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของนักเรียนมัธยมศึกษา ช่อบุญ จิรานุภาพ, ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ


Session B1_9

หน้า 81

ประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ สาธารณะและเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว e-Learning Management Experience in Using Public Computer and Private Computer วรรณา ตรีวิทยรัตน์, พิชิต ตรีวิทยรัตน์

C1_1

88

การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ออนไลน์ออดิโอ สตรีมมิ่ง A Study of Achievement in English Pronunciation Learning through Online Audio Streaming พูลสุข กรรณาริก, ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์

C1_2

93

การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง Design of a Learning Activities via m-learning Based on Connectivism Approach using Knowledge Review in Physical Environment นาวิน คงรักษา, ปณิตา วรรณพิรุณ

C1_3

101

นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ One Stop e-Learning Management Innovation พิชิต ตรีวิทยรัตน์, วรรณา ตรีวิทยรัตน์

C1_4

110

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยี ก้อนเมฆ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ด้านการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ The Learning Activities Integration with Knowledge Management through the Cloud Computing to Encourage Analytic Thinking in Computer Programming ดวงกมล โพธิ์นาค, ธนยศ สิริโชดก

C1_5

114

การศึกษานอกสถานที่เสมือนจริงด้วยเว็บ 3.0 เพื่อส่งเสริมความเข้าใจใน วัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน Virtual Fieldtrip with Web 3.0 to Enhance the Cultural Understanding of ASEAN Member Countries ปาริฉัตร ละครเขต, พิมพ์พักตร์ จุลนวล, พิสิฐ แย้มนุ่น


Session C1_6

หน้า 123

การออกแบบเว็บไซต์และบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับ อีเลิร์นนิงในอาเซียน: กรอบวัฒนธรรมที่ควรคานึงถึง Proper Design of Website and Electronic Courseware for eLearning in ASEAN : Cultural framework for Consideration จินตวีร์ คล้ายสังข์

C1_7

131

การพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อการเรียน การสอน สาหรับโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอร์ไทย (Facebook) Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project ชนากานต์ ปิ่นวิเศษ, ปณิตา วรรณพิรุณ, ณมน จีรังสุวรรณ

C1_8

140

การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ธีรวดี ถังคบุตร

C1_9

147

การใช้กระบวนการเขียนบล็อกแบบร่วมมือกันในวิชาภาษาอังกฤษ: พัฒนา ทัศนคติ คุณภาพ และ ปริมาณงานเขียน Application of a Collaborative Blogging in EFL Classroom: Improving Attitude, Quality and Quantity in Writing ดารารัตน์ คาภูแสน

B2_1

152

รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วย โครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students ปณิตา วรรณพิรุณ, วีระ สุภะ

B2_2

161

ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning ปรัชญนันท์ นิลสุข, ปณิตา วรรณพิรุณ

B2_3

170

รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Model of Collaborative Learning Using Learning Activity Management System ณมน จีรังสุวรรณ, ธนยศ สิรโิ ชดก


Session B2_4

หน้า 177

A Study of Factors that Influence Students’ Intention to Enroll in an Online IELTS Course ธันย์ชนก หล่อวิริยะนันท์

B2_5

188

การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education ปณิตา วรรณพิรุณ, โอภาส เกาไศยาภรณ์

B2_6

196

พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะ ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ The Social Network Usage behavior of Undergraduate Students in Faculty of Education, Government University อรุณรัตน์ ศรีชูศิลป์, อนิรุทธ์ สติมั่น

B2_7

204

การจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิด โดยใช้แผนผังมโนทัศน์ พัฒนาการเรียนรู้เตรียมสู่ประชาคมอาเซียน สาหรับ นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ The Development of Instructional Management through Social Online Media in ICT Activities Entitled “Using Search Engine to Enhance Thinking through Concept Map” Learning to prepare for the ASEAN Community for The Second Class Students at Watbost School อาทิตติยา ป้อมทอง, สุรพล บุญลือ, สรัญญา เชื้อทอง

B2_8

212

การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ของนิสิตสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ Development of Activities by Using Social Media and ProblemBased Learning to Enhance The Geometer’s Sketchpad Program Learning Ability of Teaching Mathematics Students ชนิศวรา เลิศอมรพงษ์


Session C2_1

หน้า 219

แนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดยใช้การเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติที่ ส่งเสริมทักษะการนาเสนอเป็นภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 The Guideline of e-Learning Activities using Task-Based Learning to Enhance Presentation Skills in English of Twelfth Grade Students กุลพร พูลสวัสดิ์

C2_2

226

การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการ เรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environment to Develop Problem-solving Skills นพดล ผู้มีจรรยา, ปณิตา วรรณพิรุณ

C2_3

235

การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน การเรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อ พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Development Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to Enhance Knowledge Sharing Process ทัศนีย์ รอดมั่นคง, ปณิตา วรรณพิรุณ

C2_4

243

การส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการกากับตนเองในการเรียน ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในการเรียนแบบผสมผสาน นุชจรี บุญเกต, ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

C2_5

251

ผลของการใช้บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students น้าหน่​่ง ทรัพย์สิน, ปณิตา วรรณพิรุณ, พัลลภ พิริยะสุรวงศ์


Session C2_6

หน้า 260

แนวทางการติดต่อสื่อสารผ่านอีเลิร์นนิง: การตระหนักถึงความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน Guideline of Communication through e-Learning: Cultural Difference Awareness of ASEAN Member countries จิรวัฒน์ วัฒนาพงษ์ศิริ, ศศิธร ลิจันทร์พร, สุนัชชา ศุภธรรมวิทย์

C2_7

265

แนมโน้มการใช้โออีอาร์ : แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดในกลุ่ม ประชาคมอาเซียน Tendency of OER Use: Open Educational Resources in ASEAN Community สุกานดา จงเสริมตระกูล, จิรภา อรรถพร

C2_8

272

การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ อีเลิร์นนิ่งกับการเสริมสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ของประชาคมอาเซียน:นโยบายและกระบวนการ E-learning to Enhance the Collaborative Learning of an ASEAN Community: Policy and Process สมนัฎฐา ภาควิหก

C2_9

280

ผลการเรียนด้วยเกมคอมพิวเตอร์แบบเล่นตามบทบาทและการสอนแบบ สตอรีไลน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ The effects of learning by Using Role-Playing Computer Games and Storyline Teaching Method of MathayomSuksa 3 Students Towards Learning Achievement and Analytical Thinking Ability นวัช ปานสุวรรณ, อนิรุทธิ์ สติมั่น

5. คณะกรรมการพิจารณาคุณภาพและคัดเลือกบทความ

286



การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง National e-Learning Conference Integrating ASEAN Online learning: Policy and Process บูรณาการการเรียนรู้ออนไลน์ประชาคมอาเชี่ยน: นโยบายและกระบวนการ ของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ประจาปี 2555 ระหว่างวันที่ 14-15 สิงหาคม 2555 หลักการ และเหตุผล การจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง ถือเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่สาคัญในปัจจุบัน การนา อีเลิ ร์น นิงมาใช้ในการจัดการศึกษาในรู ปแบบและระดับที่เหมาะสมจะช่วยเพิ่มคุณภาพการศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาอีเลิร์นนิงครอบคลุมทั้งแนวกว้างและแนวลึก ซึ่งครอบคลุม ตั้งแต่ นโยบายและยุทธศาสตร์ขององค์กรการศึกษาในการบูรณาการอีเลิร์นนิงเข้าสู่วิถีการจัดการเรียนการสอน การประกันคุณภาพการศึกษาอีเลิร์นนิง การบริหารโครงการอีเลิร์นนิง การบริหารศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อการให้บริการ การออกแบบและผลิตอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ เทคนิคและวิธีการสอนและการประเมินผลใน ระบบอีเลิร์นนิง ฯลฯ ในปัจจุบันเทคโนโลยี แนวคิด และนวัตรกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วในทุกด้าน มีการประชุมสัมมนาวิชาการนานาชาติด้านการจัดการเรียน การสอนอีเลิร์นนิงเกิดขึ้นทุกประเทศทั่วโลก ตามที่โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย มีพันธกิจในการเผยแพร่ความรู้ด้านอีเลิร์นนิง จาก แหล่ งความรู้ จ ากทั้ง ภายในและต่า งประเทศเพื่อให้ เ กิดการพั ฒ นาในการใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเ ทศ เพื่ อจั ด การศึกษาอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพในสถาบันการศึกษาไทย การจัดสัมมนาวิชาการระดับชาติประจาปีที่ ผ่านมาได้รับความร่วมมือจากสถาบันการศึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะทางอีเลิร์นนิง ทั้งในและต่างประเทศ มา เผยแพร่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หลักการ วิธีปฏิบัติผลสัมฤทธิ์ และแนวทางปรับปรุงและมีการพัฒนาใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อจัดการศึกษาอย่างก้าวกระโดดมาตามลาดับ มีผู้มาร่วมประชุมวิชาการนับเป็นพันคน ตลอดมา ตลอดจนมีการขยายความร่วมมือไปถึงการวิจัยด้านวิชาการอีเลิร์นนิง ร่วมกันอย่างกว้างขวางด้วย ดังนั้น เพื่อให้ เกิดความต่อเนื่องในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และวิจัยพัฒนาด้าน e-Learning ต่อไป จึงเห็นควรขออนุมัติให้มีการ จัดประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง National e-Learning Conference Integrating ASEAN Online learning: Policy and Process บูรณาการการเรียนรู้ออนไลน์ประชาคมอาเชี่ยน: นโยบายและกระบวนการ ของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ประจาปี 2555 วัตถุประสงค์ 1) เพื่ อ ให้ ส ถาบั น การศึ ก ษาไทยและผู้ เ กี่ ย วข้ อ งได้ รั บ ความรู้ ด้ า นอี เ ลิ ร์ น นิ ง ที่ ทั น สมั ย จาก ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งในและต่างประเทศ 2) เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ นั ก วิ ช าการไทยและนั ก ศึ ก ษาได้ มี เ วที เผยแพร่ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ด้านอีเลิร์นนิง ที่ครอบคลุม ทั้งการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเทคนิคการจัดการเรียนการสอน วิธีการประเมินผล ฯลฯ และงานวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างกว้างขวาง 1


3) เพื่ อ สร้ า งให้ ส านั กงานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาเป็น ศู น ย์ก ลางประสานความร่ว มมื อ ระหว่างมหาวิทยาลัยด้านอีเลิร์นนิง ผ่านทางโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย การดาเนินการ โครงการมหาวิทยาลั ย ไซเบอร์ไทยร่ว มมือกับสถาบันอุดมศึกษาไทย และต่างประเทศ จัดเชิญ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิที่เหมาะสมและจัดเชิญ ผู้เกี่ยวข้องซึ่งเป็นนักวิชาการ ผู้ปฏิบัติจากองค์กรการศึกษามาร่วม ประชุม ระยะเวลา

ในระหว่างวันที่ 14-15 สิงหาคม 2555 ณ อิมแพค เมืองทองธานี

ผู้รับผิดชอบโครงการ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประโยชน์ที่จะได้รับ 1) สถาบันการศึกษาไทยและผู้เกี่ยวข้องได้รับความรู้ด้านอีเลิร์นนิง ที่ทันสมัยจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง ในและต่างประเทศ 2) นักวิชาการไทยและนักศึกษาได้มีเวที เผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านอีเลิร์นนิง ที่ครอบคลุม ทั้งการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเทคนิคการจัดการเรี ยนการสอนวิธีการประเมินผล ฯลฯ และงานวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างกว้างขวาง 3) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คงความเป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยด้านอีเลิร์นนิง ผ่านทางโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ------------------------------------

2


กำหนดกำร กำรประชุมวิชำกำรระดับชำติด้ำนอีเลิร์นนิง National e-Learning Conference Integrating ASEAN Online learning: Policy and Process บูรณำกำรกำรเรียนรู้ออนไลน์ประชำคมอำเซียน: นโยบำยและกระบวนกำร ของโครงกำรมหำวิทยำลัยไซเบอร์ไทย ประจำปี 2555 วันที่ 14-15 สิงหำคม 2555 ณ อำคำร 9 อิมแพค เมืองทองธำนี 14 สิงหำคม 2555 Main Session Venue: Sapphire 101-104 8.30 - 9.30 น. 9.30 - 9.45 น. 9.45 - 10.15 น.

ลงทะเบียน พิธีเปิด กล่ำวเปิดงำนโดย รองศำสตรำจำรย์กำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา บรรยำยพิเศษ เรื่อง นโยบำยและกระบวนกำรกำรเรียนรู้ออนไลน์สู่ประชำคมอำเซียน รองศาสตราจารย์กาจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

10.15 - 10.45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

10.45 - 11.30 น.

11.30 - 12.15 น.

Keynote Speaker 1 An Introduction to the ASEAN Cyber Univ. Project Professor Dr.Goo Soon Kwon Director/ASEAN Cyber University, Republic of Korea Keynote Speaker 2 Open Education and e-Learning, its potential in future Prof. Yoshimi Fukuhara Directors of Japan e-Learning Consortium Meiji University, Japan

12.15 – 13.30 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

3


Day 1: Breakout Sessions Session A1: Google และ MERLOT Venue: Sapphire Room 105 13.30 - 15.00 น.

Google Apps for Education สู่โลกแห่งกำรศึกษำยุคใหม่ สู่ควำมสำเร็จของอุดมศึกษำไทย และ ASEAN online Learning อย่ำงมั่นคง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์วรสรวง ดวงจินดา ผู้อานวยการสานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม คุณจารุณี สินชัยโรจน์กุล CRM Charity Foundation

15.00 - 15.30 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

15.30 - 17.00 น.

MERLOT แหล่งสื่อกำรเรียนกำรสอนคุณภำพในโลกออนไลน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุชยั ธีระเรืองไชยศรี โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4


Session B1: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 106 Chairperson: ดร.จารุวรรณ กฤตย์ประชา 13.30 - 13.50 น.

13.50 - 14.10 น.

14.10 - 14.30 น.

14.30 - 14.50 น.

กำรศึกษำควำมต้องกำรจำเป็นด้ำนควำมสำมำรถไอซีทีสำหรับบุคลำกร มหำวิทยำลัยรำชภัฏยะลำ Needs Analysis of ICT Literacy for University in Yala Rajabhat University นิมารูนี หะยีวาเงาะ ณมน จีรังสุวรรณ ประสิทธิภำพของกำรฝึกอบรมออนไลน์ด้ำนควำมมั่นคงปลอดภัยทำง เทคโนโลยีสำรสนเทศ The Effectiveness of e-Training in Information Technology Security จิระ จิตสุภา ปรัชญนันท์ นิลสุข พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ กำรพัฒนำตัวบ่งชี้รวมควำมสำเร็จในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและ กำรสื่อสำรในกำรเรียนกำรสอนเพื่อเสริมสร้ำงทักษะกำรรู้เทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำรของนักเรียนมัธยมศึกษำ ช่อบุญ จิรานุภาพ ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ กำรพัฒนำระบบไอซีทีเพื่อสนับสนุนกำรจัดกำรควำมรู้รำยวิชำควำมรู้ เบื้องต้นทำงวิชำชีพวิศวกรรม Development of an ICT System for Facilitating Knowledge Management Model Lesson on the Topic of an Engineering Fundamentals พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ ชุมพล อัครพงษ์

14.50 - 15.20 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

15.20 - 15.40 น.

สิ่งพิมพ์ดิจิทัลสำหรับผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต Digital Publishing for Net-Generation Learners จินตวีร์ คล้ายสังข์ กำรศึกษำสมรรถนะกำรใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีกำรสื่อสำรของนักศึกษำ ปริญญำบัณฑิตเพื่อพัฒนำรูปแบบกำรเรียนกำรสอนแบบผสมผสำน The performance of computer and communications technology undergraduate students for Blended learning model ธีรวดี ถังคบุตร

15.40 - 16.00 น.

5

B1_1

B1_2

B1_3

B1_4

B1_5 B1_6


16.00 - 16.20 น.

16.20 - 16.40 น.

16.40 - 17.00 น.

สู่ควำมเป็นเลิศในกำรจัดกำรศึกษำออนไลน์: ผลสำรวจควำมพึงพอใจที่มีต่อ กำรให้บริกำรระบบ e-Learning (ยุคใหม่) ของบุคลำกรสำยวิชำกำร มหำวิทยำลัยศรีปทุม Towards the e-Learning Excellence: Instructors’ satisfaction of the new e-Learning system at Sripatum University, Thailand ณิชชา ชานิยนต์ นิพาดา ไตรรัตน์ วรสรวง ดวงจินดา มุ มมองของผู้สนั บสนุน กำรเปลี่ยนแปลงในโปรแกรมอี เ ลิร์ น นิง เพื่อ กำรส่งเสริ ม กำรนำกำรเรี ย นกำรสอนแบบอีเ ลิร์ น นิงไปใช้ใ น ระดั บ อุด มศึก ษำ Perspective of Change Facilitators in e-Learning Program for Promoting e-Learning Implementation in Higher Education เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ กำรศึกษำนอกสถำนที่เสมือนจริงด้วยเว็บ 3.0 เพื่อส่งเสริมควำมเข้ำใจใน วัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอำเซียน Virtual Fieldtrip with Web 3.0 to Enhance the Cultural Understanding of ASEAN Member Countries ปาริฉัตร ละครเขต พิมพ์พักตร์ จุลนวล พิสิฐ แย้มนุ่น

6

B1_7

B1_8

B1_9


Session C1: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 107 Chairperson: อาจารย์ ดร.นามนต์ เรืองฤทธิ์ 13.30 - 13.50 น.

13.50 - 14.10 น.

14.10 - 14.30 น.

14.30 - 14.50 น.

ประสบกำรณ์กำรจัดกำรเรียนกำรสอนอีเลิร์นนิง โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ สำธำรณะและเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว e-Learning Management Experience in Using Public Computer and Private Computer วรรณา ตรีวิทยรัตน์ พิชิต ตรีวิทยรัตน์ กำรศึกษำผลสัมฤทธิ์กำรเรียนออกเสียงภำษำอังกฤษโดยใช้ออนไลน์ออดิโอ สตรีมมิ่ง A Study of Achievement in English Pronunciation Learning through Online Audio Streaming พูลสุข กรรณาริก ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์ กำรออกแบบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ผ่ำนเอ็มเลิร์นนิงตำมแนวทฤษฎี กำรเชื่อมต่อด้วยวิธีกำรปริทัศน์ควำมรู้จำกสภำพแวดล้อมจริง Design of a Learning Activities via m-learning Based on Connectivism Approach using Knowledge Review in Physical Environment นาวิน คงรักษา ปณิตา วรรณพิรุณ นวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนกำรสอนอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ One Stop e-Learning Management Innovation พิชิต ตรีวิทยรัตน์ วรรณา ตรีวิทยรัตน์

14.50 - 15.20 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

15.20 - 15.40 น.

กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้บูรณำกำรกับกำรจัดกำรควำมรู้บนฐำนเทคโนโลยี ก้อนเมฆ เพื่อส่งเสริมทักษะกำรคิดวิเครำะห์ด้ำนกำรเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ The Learning Activities Integration with Knowledge Management through the Cloud Computing to Encourage Analytic Thinking in Computer Programming ดวงกมล โพธิ์นาค ธนยศ สิริโชดก

7

C1_1

C1_2

C1_3

C1_4

C1_5


15.40 - 16.00 น.

16.00 - 16.20 น.

16.20 - 16.40 น.

16.40 - 17.00 น.

รูปแบบกำรเรียนกำรสอนแบบร่วมมือด้วยระบบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ Model of Collaborative Learning Using Learning Activity Management System ณมน จีรังสุวรรณ ธนยศ สิริโชดก กำรออกแบบเว็ บไซต์แ ละบทเรี ยนอิเ ล็กทรอนิ ก ส์ที่เ หมำะสมสำหรั บ อีเ ลิร์ น นิงในอำเซียน: กรอบวั ฒนธรรมที่ค วรคำนึงถึ ง Proper Design of Website and Electronic Courseware for e-Learning in ASEAN : Cultural framework for Consideration จินตวีร์ คล้ายสังข์ กำรพัฒนำสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ำยสังคมออนไลน์ เพื่อกำรเรียน กำรสอน สำหรับโครงกำรมหำวิทยำลัยไซเบอร์ไทย (Facebook) Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project ชนากานต์ ปิ่นวิเศษ ปณิตา วรรณพิรุณ ณมน จีรังสุวรรณ กำรพัฒนำรูปแบบกำรนิเทศทำงไกลสำหรับนิสิตฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพ ธีรวดี ถังคบุตร

8

C1_6

C1_7

C1_8

C1_9


15 สิงหำคม 2555 Main Session: Sapphire 101-104 8.30 - 9.30 น. 9.30 - 10.15 น.

ลงทะเบียน Keynote Speaker 3 Integrating ASEAN Online learning: Policy and Process Wither ASEAN online learning Enabling and Leap frogging ASEAN online Learning Professor Dato' Dr Ansary Ahmed President CEO Asia e University (AeU), Malaysia

10.15 - 10.45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

10.45 - 11.30 น.

Keynote Speaker 4 กำรเรียนภำษำอังกฤษออนไลน์ ผ่ำนวัฒนธรรมล้ำนนำ เพื่อกำรบูรณำกำรอำเซียน Contributing to ASEAN Integration with Online Learning of English through Lanna Culture รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ผู้อานวยการสานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Keynote Speaker 5 โอกำสแห่งกำรเรียนรู้แบบไร้พรมแดน CloudComputing and Online Services ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

11.30 - 12.15 น.

12.15 - 13.30 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

9


Day 2: Breakout Sessions Session A2: Moodle Venue: Sapphire Room 105 13.30 - 15.00 น.

Highlight Moodle2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุชยั ธีระเรืองไชยศรี รองผู้อานวยการโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย อาจารย์วรสรวง ดวงจินดา ผู้อานวยการสานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

15.00 - 15.30 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

15.30 - 17.00 น.

Highlight Moodle2 (ต่อ) อาจารย์วรสรวง ดวงจินดา ผู้อานวยการสานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุชยั ธีระเรืองไชยศรี รองผู้อานวยการโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

10


Session B2: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 106 Chairperson: อาจารย์ ดร.พรสุข ตันตระรุ่งโรจน์ 13.30 - 13.50 น.

13.50 - 14.10 น.

14.10 - 14.30 น.

14.30 - 14.50 น.

กำรใช้กระบวนกำรเขียนบล็อกแบบร่วมมือกันในวิชำภำษำอังกฤษ: พัฒนำ ทัศนคติ คุณภำพ และ ปริมำณงำนเขียน Application of a Collaborative Blogging in EFL Classroom: Improving Attitude, Quality and Quantity in Writing ดารารัตน์ คาภูแสน รูปแบบกำรเรียนรู้ร่วมกันผ่ำนสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนกำรเรียนด้วย โครงงำนนิเทศศำสตร์สำหรับนักศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำ Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students ปณิตา วรรณพิรุณ วีระ สุภะ ผลกำรบูรณำกำรกำรเรียนรู้ด้วยเครือข่ำยสังคมกับ e-Learning Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning ปรัชญนันท์ นิลสุข ปณิตา วรรณพิรุณ กำรพัฒนำกิจกรรมกำรเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมและปัญหำเป็นฐำนเพื่อส่งเสริม ควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ของนิสิตสำขำวิชำกำรสอนคณิตศำสตร์ Development of Activities by Using Social Media and ProblemBased Learning to Enhance The Geometer’s Sketchpad Program Learning Ability of Teaching Mathematics Students ชนิศวรา เลิศอมรพงษ์

14.50 - 15.20 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

15.20 - 15.40 น.

A Study of Factors that Influence Students’ Intention to Enroll in an Online IELTS Course ธันย์ชนก หล่อวิริยะนันท์ กำรพัฒนำรูปแบบเครือข่ำยสังคมเชิงเสมือนเพื่อกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สำหรับกำรศึกษำพหุวัฒนธรรม Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education ปณิตา วรรณพิรุณ โอภาส เกาไศยาภรณ์

15.40 - 16.00 น.

11

B2_1

B2_2

B2_3

B2_4

B2_5 B2_6


16.00 - 16.20 น.

16.20 - 16.40 น.

พฤติกรรมกำรใช้เครือข่ำยสังคมออนไลน์ ของนักศึกษำปริญญำบัณฑิต คณะครุศำสตร์ ศึกษำศำสตร์ ในมหำวิทยำลัยของรัฐ The Social Network Usage behavior of Undergraduate Students in Faculty of Education, Government University อรุณรัตน์ ศรีชูศิลป์ อนิรุทธ์ สติมั่น กำรจัดกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเครือข่ำยสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนำ ผู้เรียนด้ำน ICT เรื่อง กำรสืบค้นผ่ำน Search engine เพื่อส่งเสริมกำรคิด โดยใช้แผนผังมโนทัศน์ พัฒนำกำรเรียนรู้เตรียมสู่ประชำคมอำเซียน สำหรับ นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ The Development of Instructional Management through Social Online Media in ICT Activities Entitled “Using Search Engine to Enhance Thinking through Concept Map” Learning to prepare for the ASEAN Community for The Second Class Students at Watbost School อาทิตติยา ป้อมทอง สุรพล บุญลือ สรัญญา เชื้อทอง

12

B2_7

B2_8


Session C2: Paper Presentation Venue: Sapphire Room 107 Chairperson: อาจารย์ ดร.ธีรวดี ถังคบุตร 13.30 - 13.50 น.

13.50 - 14.10 น.

14.10 - 14.30 น.

14.30 - 14.50 น.

ผลของกำรใช้บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ สำหรับนักศึกษำระดับบัณฑิตศึกษำ Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students น้าหนึ่ง ทรัพย์สิน ปณิตา วรรณพิรุณ พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ แนวทำงกำรจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดยใช้กำรเรียนรู้แบบเน้นงำนปฏิบัติที่ ส่งเสริมทักษะกำรนำเสนอเป็นภำษำอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 The Guideline of e-Learning Activities using Task-Based Learning to Enhance Presentation Skills in English of Twelfth Grade Students กุลพร พูลสวัสดิ์ กำรออกแบบกิจกรรมกำรเรียนรู้โดยใช้ปัญหำเป็นหลักในสภำพแวดล้อม กำรเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อพัฒนำทักษะกำรแก้ปัญหำ Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environment to Develop Problem-solving Skills นพดล ผู้มีจรรยา ปณิตา วรรณพิรุณ กำรพัฒนำรูปแบบกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน กำรเรียนรู้แบบร่วมกันตำมแนวกำรจัดกำรเรียนรู้แบบลดภำระทำงปัญญำ เพื่อพัฒนำกระบวนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Development Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to Enhance Knowledge Sharing Process ทัศนีย์ รอดมั่นคง ปณิตา วรรณพิรุณ

14.50 - 15.20 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

15.20 - 15.40 น.

กำรส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนและทักษะกำรกำกับตนเองในกำรเรียน ของนักศึกษำระดับปริญญำบัณฑิตในกำรเรียนแบบผสมผสำน นุชจรี บุญเกต ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 13

C2_1

C2_2

C2_3

C2_4

C2_5


15.40 - 16.00 น.

16.00 - 16.20 น.

16.20 - 16.40 น.

16.40 - 17.00 น.

ผลกำรเรียนด้วยเกมคอมพิวเตอร์แบบเล่นตำมบทบำทและกำรสอนแบบ สตอรีไลน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน และควำมสำมำรถทำงกำรคิดวิเครำะห์ The effects of learning by Using Role-Playing Computer Games and Storyline Teaching Method of MathayomSuksa 3 Students Towards Learning Achievement and Analytical Thinking Ability นวัช ปานสุวรรณ อนิรุทธิ์ สติมั่น แนวทำงกำรติดต่อสื่อสำรผ่ำนอีเลิร์นนิง : กำรตระหนักถึงควำมแตกต่ำง ทำงวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอำเซียน Guideline of Communication through e-Learning: Cultural Difference Awareness of ASEAN Member countries จิรวัฒน์ วัฒนาพงษ์ศิริ ศศิธร ลิจันทร์พร สุนัชชา ศุภธรรมวิทย์ แนมโน้มกำรใช้โ ออี อำร์ : แหล่ง ทรั พ ยำกรด้ำ นกำรศึ กษำแบบเปิดใน กลุ่ม ประชำคมอำเซียน Tendency of OER Use: Open Educational Resources in ASEAN Community สุกานดา จงเสริมตระกูล จิรภา อรรถพร กำรเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ อีเลิร์นนิ่งกับกำรเสริมสร้ำงกำรเรียนรู้ร่วมกัน ของประชำคมอำเซียน:นโยบำยและกระบวนกำร E-learning to Enhance the Collaborative Learning of an ASEAN Community: Policy and Process สมนัฎฐา ภาควิหก

14

C2_6

C2_7

C2_8

C2_9


บทความโดยวิทยากร



An Implication of ASEAN Cyber University Project: An Innovative and Participatory Initiative of Academic Exchange through E-Learning

Goo Soon KWON, Ph. D. Secretary of the ACU Project Steering Committee (Assistant Professor at Seoul Cyber University) Email: jeremy-kwon@iscu.ac.kr /jeremy-kwon@hotmail.com

Abstract The ASEAN Cyber University (ACU) Project aims at promoting an inclusive environment of higher education and exploring an efficient platform which facilitates academic exchange among tertiary education institutes through e-learning in the ASEAN region. Proposed by Dr. Surin Pitsuwan, former Secretary General of the ASEAN in 2009, the ACU Project became substantiated in a series of consultation of various stakeholders from education authorities and academia in the region, and comprehensive need assessment in 2011. Taking differentiated ICT environment and the extent of institutionalization of e-learning among Member States of the ASEAN into consideration, the ACU Project is adapted a linear developmental strategy: Preparation, Build up, Implementation, Expansion, and Establishment. Furthermore, the Project is mainly divided into three core sectors – credit transfer system among participating institutions, common curriculum and relevant e-learning content development, and international cooperation. So far, Korea Telecom, implementing partner – Korea Telecom has completed the field assessment and building up of e-learning facilities in Cambodia, Laos, Myanmar and Vietnam which indicates in a moderate progress. Year 2012 falls under ‘Implementation Phase’ that concentrates on developing an initial credit transfer system and content development, implemented by Seoul Cyber University. Viewed by the above initiative, the first and foremost implication of the ACU project demonstrates a new and innovative approach of academic integration by e-learning in that it will play a complementary role in expanding a scale of credit exchange scheme – such as ASEAN Credit Transfer System (ACTS) and conventional research information service system (RISS) in a more efficient manner. The second is to achieve sustainable education for everyone on the ground that the Project may contribute to widen a window of educational opportunities to the hopefuls of higher education who have been neglected in the region. The third is to represent a model of ICT for Development (ICT4D) in an education sector. Finally, the Project shows a participatory framework of both bilateral and multilateral cooperation of higher education between R.O.K. and member states of the ASEAN.

17


Open Education and e-Learning, its potential in future Yoshimi Fukuhara Secretary General, JOCW Professor, Meiji University

Historically

most

influenced

project

concerning

open

education

must

be

OpenCourseWare. OpenCourseWare was proposed by MIT in 2001 and launched its web site with five hundred courses in 2003. MIT have paid much effort not only for moving forward their own OCW activity but also for fostering OCW to many institutions all over the world since 2004. Global OCW have grown rapidly under the OpenCourseWare Consortium who has been launched as internal organization of MIT OCW at first and then established as a non-profit independent organization since 2008 and nowadays more than two hundred and eighty organizations joined the consortium from all over the world and approximately twenty-two thousand courses have been published totally. In 2002 UNESCO held the meeting named “2002 Forum on the Impact of OpenCourseWare for Higher Education in Developing Countries “ in Paris greatly inspired by MIT OCW. Since that time UNESCO has strongly promoted OER activity to foster mainly education in developing countries under support from William & Flora Hewlett Foundation. Consequently dozens of OER projects have been launched in various countries not only in higher education fields but also in K-12 education. Currently some new challenges have been started in various countries to advance OCW and OER. One of them is regarding creating learners community to share opinions and QA among users who are learning same course. At first OCW provided only course materials with no support from anyone and so far most of self-learners it was hard to keep their learning motivations. In case of MIT they proclaims that MIT OCW does not provide access to MIT faculty. That message has two aspects; one means condition for users and the other means no additional task for faculty members in order to gain their approval and support. MIT has not changed their policy not to provide access to the faculty but recently one venture company named Open Study who launched from Georgia Institute of Technology, provides learning community feature through the internet and embedded those features into each course page of MIT OCW web site. Due to these services learners can communicate with other learners who are learning same course on the internet. The other challenge is to give certificates to learners who completed the course to admire their

18


learning achievement in order to encourage learners. There are some projects aiming similar effect like P2P University and OER University. Recently innovative online learning projects have been launched from MIT and Stanford University. Those new projects are called MOOCs (Massive Online Open Courses). In 2012 MIT announced MITx, which provides online learning including assignments and exams. In MITx learners who complete whole courses and pass exams can get certificates from MITx. MIT announced that they allows other major universities to use their platform freely and they extended MITx to edX firstly making joint press release with Harvard University and secondly UC Berkeley announced to join edX. One of the emerging regions on Open Education is undoubtedly Asia. Among OCW community we have had an international conference named AROOC, Asia Regional OpenCourseWare and Open Education Conference. The first conference, AROOC2009 was held in Seoul, Korea hosted by Korea University and KOCWC. The second AROOC 2010 was in Taipei, hosted by National Chao Tung University, and then we hosted AROOC2011 in Tokyo. AROOC2012 will be held in Bangkok on coming January. In near future Open Education might be the global educational infrastructure for life-long education. And actually anyone can learn high quality university level subject of any discipline from anywhere and can get certificate. That means real knowledge society.

19


การเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ ผ่านวัฒนธรรมล้านนา เพื่อการบูรณาการอาเซียน Contributing to ASEAN Integration with Online Learning of English through Lanna Culture

รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง Assoc.Prof. Thanomporn Laohajaratsang, Ph.D.

สำนักบริกำรเทคโนโลยีสำรสนเทศ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ thanompo.l@cmu.ac.th

Abstract At present, Thailand is in preparation for the ASEAN Economic Community (AEC) in 2015. One of the important approaches to ensure its smooth transition into such integration is to improve English competency especially for expressing eloquently one’s thoughts as well as to learn about one’s own history and culture as well as one’s neighbors'. As the first provincial university located in the northern Thailand, Chiang Mai University (CMU) recognizes the importance of English self-improvement for Thai people especially those residing in the upper northern area. Therefore, online learning of English system through Lanna culture was developed in order to support ASEAN integration and, at the same time, to provide learners with knowledge of local history, society, tradition and culture of Lanna and its neighbors. This presentation will demonstrate an integration of technology to support selfdevelopment of English competency with online learning of English system through Lanna culture. This is to indicate an importance of using technology to self-improve English skills to better prepare an effective process of transition into ASEAN Economic Community integration. Keywords: ASEAN Integration, Online English Learning System, Lanna Culture

20


บทคัดย่อ ในขณะนี้

ประเทศไทยกำลังอยู่ในช่วงกำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อก้ำวเข้ำสู่กำรเป็นประชำคม

เศรษฐกิจ ASEAN ในปีพ.ศ. 2558 หนึ่งในวิธีกำรเตรียมควำมพร้อมที่สำคัญมำกประกำรหนึ่ง ได้แก่ กำร พัฒนำศักยภำพของตนเองด้ำนภำษำอังกฤษ ให้สำมำรถสื่อสำรได้เป็นอย่ำงดี รวมทั้งกำรเรียนรู้เกี่ยวกับ ประวัติศำสตร์และวัฒนธรรมของตนเองและประเทศสมำชิก มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ในฐำนะสถำบันกำรศึกษำท้องถิ่นแห่งแรกของประเทศไทย เห็นควำมสำคัญ ในกำรส่งเสริมกำรพัฒนำทักษะด้ำนภำษำอังกฤษด้วยตนเองของประชำชน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งที่อำศัยอยู่ใน ภำคเหนือตอนบน จึงได้พัฒนำระบบกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษด้วยตนเองออนไลน์ ผ่ำนวัฒนธรรมล้ำนนำ ทั้งนี้ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกำรสนับสนุนกำรบูรณำกำรอำเซี่ยน พร้อมไปกับกำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนเอง รวมทั้งของประเทศเพื่อนบ้ำน ซึ่งเป็นสมำชิกของอำเซี่ยน ด้วย ในกำรนำเสนอครั้งนี้

จะสำธิตให้เห็นถึงกำรบูรณำกำรเทคโนโลยีมำใช้ในกำรส่งเสริมกำรพัฒนำ

ศักยภำพด้ำนภำษำอังกฤษ ในลักษณะของ กำรเรียนด้วยระบบกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษออนไลน์ ผ่ำน วัฒนธรรมล้ำนนำ ซึ่งกำรนำเสนอนี้จะชี้ให้เห็นถึง ควำมสำคัญของกำรนำเทคโนโลยีมำใช้เพื่อพัฒนำทักษะ ภำษำอังกฤษด้วยตนเอง ทั้งนี้เพื่อสร้ำงควำมพร้อมในกำรก้ำวสู่ประชำคมอำเซียนอย่ำงมีประสิทธิภำพ คาสาคัญ: กำรบูรณำกำรอำเซี่ยน กำรเรียนภำษำอังกฤษออนไลน์ วัฒนธรรมล้ำนนำ

21


บทความวิชาการ



การศึกษาความต้องการจาเป็นด้านความสามารถไอซีที สาหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา Needs Analysis of ICT Literacy for University in Yala Rajabhat University นิมารูนี หะยีวาเงาะ1, ณมน จีรังสุวรรณ2 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (Nikma.bizcomp@gmail.com) 2

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (Namon9@hotmail.com)

ABSTRACT This research aims to investigate needs analysis of ICT literacy for university supporting staffs in Yala Rajabhat University. The sample in this study consisted of 66 academic supporting staff divided into 5 groups: 6 government officials, 21 university employees, 6 government employees, 10 full time employees, and 23 contracted employees to complete the dual response format questionnaires. The research statistics included mean, SD, and modified priority needs index. It was found that the needs of the supporting staffs in Yala Rajabhat University included 3 areas: knowledge, skill, and attributes. In overall, they reported the highest needs on skills (mean = 1.36), followed by attributes (mean = 1.14), and knowledge on ICT (mean = 1.15). The results revealed that the ICT literacy of the academic supporting staffs needed to be developed urgently according to Rut's principle (Rut Thanadirek, 2550). This can be done by encouraging them to read journals related to ICT to develop their knowledge and working skills (mean = 1.59). Other needed skills included the network application and calculation software (mean = 1.52) and the ICT proficiency on effective processing (mean = 1.45).

โดยกลุ่ ม ตั ว อย่ า งในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น บุ ค ลากรสาย สนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จานวน 66 คน ซึ่ง แบ่งเป็นข้าราชการ 6 คน พนักงานมหาวิทยาลัย 21 คน พนักงานราชการ 6 คน ลูกจ้างประจา 10 คน และ พนักงานสัญญาจ้าง 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามแบบตอบสนองคู่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คือค่าเฉลี่ย ของค่าดัชนีจัดเรียงลาดับความต้องการ จาเป็นแบบปรับปรุง (สุวิมล,2550) ผลการวิจัยพบว่าความ ต้องการจาเป็นของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลามีความต้องการจาเป็น 3 ด้าน คือ ความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติ โดยในภาพรวมบุคลากรฝ่ายสนับสนุนของ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีความต้องการจาเป็นด้านทักษะ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 1.36 รองลงมาคือความ ต้องการจาเป็นด้านคุ ณสมบัติ ค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 1.42 และความต้องการจาเป็นด้านความรู้ ค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 1.15 และผลการวิจัยพบว่าสถานะความสามารถด้านไอซีที ของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาอยู่ใน สถานะ เร่ ง รี่ แ ก้ไ ข ตามแนวคิ ด ของรั ฐ (รั ฐ ธนาดิ เ รก, 2550) ท าให้ ท ราบว่ า บุ ค ลากรฝ่ า ยสนั บ สนุ น ขอ ง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาควรเร่งส่งเสริมความสามารถด้าน ทักษะมากที่ สุด โดยการส่ง เริ ม ให้ บุ คลากรอ่ านหนัง สื อ วารสารที่เกี่ยวข้องกับไอซีทีเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ สาหรับการปฏิบัติงาน ค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 1.59 และพัฒนา ทักษะในการประยุกต์ใช้แอปพลิเคชั่นบนเครือข่ายและยะ ประยุ กต์ใช้ งานโปรแกรมด้ านงานคานวณ ค่ าเฉลี่ ย ( )

Keywords: Needs Analysis, Capability , Development, ICT Literacy, Gap analysist

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจาเป็น ความสามารถไอซีทีสาหรับบุคลากรในมหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลา 1

อาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2

24


เท่ากับ 1.52 และพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านการ ประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 1.45

ความรู้เกี่ยวกับโอกาสและทางเลือกของเทคโนโลยีที่มีอยู่ หลากหลายด้ว และปัญหาขาดแคลนผู้มีความสามารถ ทางด้านไอซีทีโดยเฉพาะ ทั้งนี้เนื่องจากบุคลากรด้านไอที ในภาครัฐมักจะมีผลตอบแทนต่าเมื่อเทียบกับการทางานใน ภาคเอกชน ไม่มีระดับการพัฒนาทางสายงาน ซึ่งภาครัฐ แก้ปัญหาด้วยการอบรมพัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ให้ไปทางาน ด้ า นไอซี ที ซึ่ ง พบว่ า ปั ญ หานี้ ยั ง ไม่ มี ห น่ ว ยงานในการ จัดการด้านหลักสูต รการเรียนการสอนสาหรับข้าราชการ เหล่านี้และยังไม่มีมาตรการจูงใจที่เหมาะสม ซึ่งปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้เป็นอุปสรรคที่สาคัญทาให้การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศในภาครัฐไม่ก้าวหน้าไปเท่าที่ควร (สานักงาน เลขานุการคณะกรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ , 2545) จากนโยบายที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น จะเห็ น ว่ า เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมีความสาคัญในการดาเนิงานข องสถาบันอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาได้ให้ ความส าคั ญ กั บ การพั ฒ นาทั ก ษะทางด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารแก่ บุ ค ลากร ในแต่ ล ะปี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาต้องสูญเสียงบประมาณและเวลา ในการพัฒนาบุคลากรเป็นจานวนมากแต่ก็พบว่าทักษะทาง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ได้พัฒ นาให้แ ก่ บุคลากรนั้นไม่สามารถนาไปปรับปรุงกระบวนการทางาน ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อมหาวิทยาลัยยราช ภั ฏ ยะลาได้ ถึ ง แม้ ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ยะลาจะ ดาเนินการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารด้วยการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่องแล้วก็ตาม ดังนั้นผู้วิจัยจึงเห็นว่าการดาเนินการพัฒนาความสามารถ ด้านไอซีทีแก่บุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานั้นต้อง มีกระบวนการศึกษาความต้องการจาเป็นเพื่อให้ทราบความ ต้องการและความจาเป็นของความสามารถไอซีที่ที่แท้จริง ซึ่ ง เป็ นการ ตอ บ สน อง ต่ อ การแ ข่ งขั นแ ละ พั ฒ น า ประสิ ทธิภาพในการทางานเพื่ อให้ เกิด ผลลัพ ทธ์ที่ คุ้มค่ า ที่ สุด แก่ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ยะลา โดยการศึ กษาความ ต้องการจาเป็นความสามารถด้านไอซีทีซึ่งได้มีนักวิชาการ หลายท่านได้กล่าวถึงวิธีการศึกษาความต้องการจาเป็ นว่า ความต้องการจาเป็นเป็นความขัดแย้งระหว่างสิ่งที่เป็นอยู่ ในปัจจุบันและสิ่งที่ปรารถนาจะให้เกิดขึ้นหรือต้องการให้ เกิดขึ้น (Kaufman & English,1979) และความต้องการ

คำสำคัญ: ความต้องการจาเป็น, การพัฒนาความสามารถ, ความสามารถไอซีที, การวิเคราะห์ช่องว่าง

1) บทนำ บุคลากรถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญในการกาหนดความสาเร็จ และความมีประสิทธิภาพขององค์การในยุคปัจจุบัน ส่งผล ให้บุคลากรต้องมีศักยภาพและสมรรถนะในการทางานสูง และมีความตื่นตัวต่อการปรับสภาพการทางานให้ก้าวหน้า ตามเทคนิคและการบริหารสมัยใหม่ (ปรัชญนันท์ นิลสุข และวรัท พฤกษากุลนัน ท์ , 2551) ดังนั้นจึ งเห็นได้ว่า ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและบุคลากรถือเป็นปัจจัย สาคัญในการกาหนดความสาเร็จและความมีประสิทธิภาพ ขององค์ ก าร เนื่ อ งจากเทคโนโลยี ส ารสนเทศถื อ เป็ น เครื่องมือสาคัญในการถ่ายโอนและส่งผ่านข้อมูลข่าวสาร โดยมี บุ ค ลากรเป็ น เสมื อ นฟั น เฟื อ งที่ ค อยขั บ เคลื่ อ นให้ เครื่ อ งมื อ นั้ น ด าเนิ น การได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลแก่ อ งค์ ก าร ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ใน ยุทธศาสตร์ที่ 2 คือ พัฒนาทุนมนุษย์ที่มีความสามารถใน การสร้างสรรค์และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มี วิจารณญาณและรู้เท่าทัน รวมถึงพัฒนาบุคลากร ICT ที่มี ความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญระดับมาตรฐานสากล (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2554) มี กาลังคนที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการพัฒนาและใช้ ICT อย่างมีประสิทธิภาพในปริมาณเพียงพอที่จะรองรับ การพั ฒ นาประเทศในยุ ค เศรษฐกิ จ ฐานบริ ก ารและฐาน ความคิดสร้างสรรค์ ทั้งบุคลากร ICT และบุคลากรในทุก สาขาอาชี พ มาตรการการพั ฒนาความรู้ด้ าน ICT แก่ แรงงานและบุคคลทั่วไป ให้มีการอบรมทักษะในการใช้ ICT รวมถึงการพัฒนาและประยุกต์ใช้สื่อ ICT เพื่อการ เรียนรู้ให้กับบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยให้ 25


จาเป็นเป็นความแตกต่างหรือช่องว่าง (gap) ระหว่างสิ่งที่ เป็นอยู่ หรือสภาพที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและสิ่งที่ควรจะเป็น (Witkin and Altschuld, 1995) และนักวิชาการไทยได้ กล่าวว่า ความต้องการจาเป็นเป็นความแตกต่างระหว่างสิ่ง ที่มุ่งหวังหรือสิ่งที่ต้องการกับสิ่งที่เป็นจริงในปัจจุบัน โดย ความแตกต่ า งที่ เ กิ ด ขึ้ น จะบอกถึ ง สภาพปั ญ หาที่ มี อ ยู่ (สุวิมล ว่องวานิช, 2538) ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษา ความต้องการจาเป็นโดยมุ่งหาช่องว่างของสภาพที่เป็นจริง กับสภาพที่คาดหวังด้านความสามารถไอซีทีของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาภายใต้มิติดังต่อไปนี้ มิติที่ 1 มิติ ทางด้านความรู้ ซึ่งเป็นความเข้าใจและรับรู้ในประโยชน์ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารในการ ปฏิบัติงาน มิติที่ 2 มิติทางด้านทักษะ และมิติที่ 3 ด้าน คุณสมบัติซึ่งเป็นมิติที่เป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของการ แสดงออกในการใช้ไอซีที

จากกรอบแนวคิดดั งกล่าวประกอบด้ วย 3 องค์ประกอบ หลั ก คื อ ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คล ความสามารถไอซี ที ข อง บุคลากร และความต้องการจาเป็นด้านความสามารถไอซี ทีของบุคลากร โดยมีรายละเอียดแต่ละองค์ประกอบดังนี้ 3.1) ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คล คื อ ปั จ จั ย ที่ อ ยู่ ใ นตั ว บุ ค คลที่ ก่อ ให้ เ กิด ความสามารถด้ านไอซี ที ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย ความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติ 3.1.1 ความรู้ (knowledge) หมายถึง ความรู้ที่บุคคลากรได้ เรียนรู้มา ข้อมูล ข่าวสาร ความเข้าใจของบุคคลากรที่ใช้ ไอซีทีในการปฏิบัติงาน 3.1.2 ทักษะ (Skill) หมายถึง ความสามารถในการใช้ไอซี ทีในการปฏิบัติงาน 3.1.3 คุ ณสมบั ติ (Attribute) หมายถึ ง คุ ณลั กษณะส่ วน บุ ค คลซึ่ ง เป็ น ตั วก าหนดพฤติ กรรมการใช้ ไ อซี ที ใ นการ ปฏิบัติงาน 3.2) ช่ อ งว่ า งของความสามารถด้ า นไอซี ที คื อ ความ แตกต่ างของสภาพที่ เ ป็ น จริ ง และสภาพที่ ค าดหวั ง ของ บุคลากรด้านความสามารถไอซีที 3.3) ความต้องการจาเป็นด้านความสามารถไอซีทีของ บุคลากร คือ ความสามารถที่จาเป็นทางด้านไอซีที 3 ด้าน ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ช่องว่างจากสภาพที่เป็นจริง และ สภาพที่คาดหวัง

2) วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการจาเป็นความสามารถไอซีทีสาหรับ บุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

3) กรอบแนวคิดกำรวิจัย สภาพที่เป็นจริง ความสามารถ ไอซีทีของ บุคลากร ปัจจัยส่วนบุคคล

ช่องว่าง (GAP)

ความสามารถ ไอซีทีของ บุคลากร

4) วิธีดำเนินกำรวิจัย 4.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการศึกษาความ ต้องการจาเป็น และเกี่ยวกับความสามารถด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ 4.2) พัฒนาเครื่องมือวิจัย คือแบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ตอน 4.2.1 ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามมาตรา ส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามแบบของลิ เคิรท์ (Likert Scale) 4.2.2 ตอนที่ 2 ประเมินสภาพที่เป็นจริงและสภาพทีค่ าดหวัง ด้านความสามารถไอซีทีสาหรับบุคลากรในมหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลา 4.2.3 ตอนที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ความต้องการ จาเป็นด้าน ความสามารถไอซี ทีของบุคลากร

สภาพที่คาดหวัง รูปที่ 1: กรอบแนวคิดของการศึกษาความต้องการจาเป็น ความสามารถด้านไอซีทีของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา 26


- สภาพปัจจุบันปานกลาง/น้อย และสภาพที่คาดหวังปาน กลำง/น้อย หมายถึง ปัจจัยภายในบุคคลไม่มีความพร้อม และไม่มีความต้องการที่จะพัฒนา เป็นสถานะที่ ใส่ใจไว้ บ้าง

5) เก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ 5.1) ประชากร คือ บุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลา จานวน 183 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 13 คน พนักงานมหาวิทยาลัย 54 คน พนักงานราชการ 13 คน ลูกจ้างประจา 24 คน พนักงานสัญญาจ้าง 56 คน 5.2) กลุ่มตัวอย่าง จานวน 66 คน คัดเลือกจากประชากร โดยใช้วิธี Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

7) ผลกำรวิจัย การศึกษาความต้อ งการจ าเป็ น ความสามารถไอซีที ข อง บุ ค ลากรมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ยะลา น าเสนอข้ อ มู ล ดั ง รายละเอียดต่อไปนี้ สถานภาพทั่ ว ไปของผู้ ต อบแบบสอบถาม ผู้ ต อบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น พนักงานสัญญาจ้าง คิดเป็ น ร้อยละ 34.8 รองลงมาคือพนักงานมหาวิทยาลัย คิดเป็น ร้อยละ 33.3 ลูกจ้ างประจาร้อยละ 13.6 ข้าราชการและ พนักงานราชการมีจานวนเท่ากันคือร้อยละ 9.1 ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 69.7 และเพศชาย ร้อยละ 30.3 ช่วงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 31-35 ปี ร้อยละ 31.8 รองลงมาคือช่วงอายุ 25-30 ปี ร้อยละ 27.3 และช่วงอายุ 36-40 ปี ร้ อ ยละ 25.8 ระดั บการศึ กษาของผู้ต อบ แบบสอบถามโดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 62.1 รองลงมาคือระดับการศึกษาต่ากว่าปริญญาตรี ร้อยละ 31.8 และระดับปริญญาโท ร้อยละ 6.1 และผลการศึกษา ความต้องการจาเป็นด้านความสามารถไอซีทีของบุคลากร แสดงดังตารางที่ 1

6) วิเครำะห์ข้อมูล การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาความต้ อ งการจ าเป็ น ความสามารถด้านไอซีทีในแต่ละองค์ประกอบใช้วิธีการ ดังนี้ 6.1) หาค่าเฉลี่ย (X) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จัดลาดับ ความสาคัญของค่าดัชนีจัดเรียงลาดับความต้องการจาเป็น แบบปรับปรุง ตามสถิติดังนี้ (สุวิมล,2550) ค่า PNI modified = (I-D)/D เมื่อ I = ความรู้/ทักษะที่คาดหวัง D = ความรู้/ทักษะที่มีในปัจจุบัน ค่า PNI = (I-D) x I เมื่อ I = ความรู้/ทักษะที่คาดหวัง D = ความรู้/ทักษะที่มีในปัจจุบัน 6.2) นาค่าเฉลี่ยความจาเป็นมาวิเคราะห์เปรียบเทียบสถานะ ความสามารถ โดยนาวิธีการวิเคราะห์องค์การ (รัฐ ธนาดิ เรก, 2550) โดยให้ค่าน้าหนัก ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 5.00 หมายถึง มาก และค่าเฉลี่ย 1.00 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง –น้อย ซึ่งมีคาอธิบายการวิเคราะห์ดังนี้ สภาพปั จ จุ บั น มาก และสภาพที่ ค าดหวั ง มาก หมายถึ ง ปัจจัยภายในบุคคลมีความพร้อมและสอดคล้องกับความ ต้องการที่จะพัฒนา เป็นสถานะที่ รักษาไว้/จุดแข็ง - สภาพปัจจุบันมาก และสภาพที่คาดหวัง ปานกลาง /น้อย หมายถึง ปัจจัยภายในบุคคลมีความพร้อมแต่ยังไม่มีความ ต้องการท่ะจพัฒนาเป็นสถานะที่ คิดวิธีสร้างต่อไป - สภาพปัจจุบัน ปานกลาง/น้อย และสภาพที่คาดหวังมาก หมายถึง ปัจจัยภายในบุคคลไม่มีความพร้อม แต่ต้องการที่ จะพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น เป็นสถานะที่ เร่งรี่แก้ไข

สภำพปัจจุบัน

ค่ำเฉลี่ยใน ระดับมำก 3.51-5.00

ค่ำเฉลี่ยในระดับ ปำนกลำง/น้อย 1.00 – 3.50

ค่ำเฉลี่ยในระดับ มำก 3.51-5.00

ทักษะ =4.22 คุณสมบัติ =4.03 ความรู้ =3.78

ทักษะ =2.86 คุณสมบัติ =2.63 ความรู้ =2.61

ค่ำเฉลี่ยในระดับ ปำนกลำง/น้อย 1.00 – 3.50

-

-

สภาพทีค่ าดหวัง

ตารางที่ 1 แสดงสภาพปัจจุบันและสภาพที่คาดหวังของ บุคคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 27


ความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติ มีคา่ เฉลี่ย ( ) เท่ากับ 2.86, 2.61 และ 2.63 ตามลาดับ และสภาพที่คาดหวัง ด้านความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติ มีค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 3.78, 4.22 และ 4.03 ตามลาดับ

จากตารางที่ 1 พบว่า ความต้องการจาเป็นด้าน ความสามารถไอซีทีของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อยู่ในสถานะ เร่งรี่แก้ไข เนื่องจาก สภาพปัจจุบันด้าน

ตำรำงที่ 2 แสดงความต้องการจาเป็นด้านความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติ ประเด็น

สภาพที่เป็นจริง สภาพที่คาดหวัง

ด้ำนควำมรู้ วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของไอซีทีในการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานได้ ทราบแผนยุทธศาสตร์หรือนโยบายไอซีทีของหน่วยงานท่าน วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ประเมินผลสารสนเทศที่มาจากแหล่งข้อมูลทางดิจติ อล ต่าง ๆ ด้ำนทักษะ ประยุกต์ใช้แอปพลิเคชั่นบนเครือข่ายในการปฏิบัติงานได้ เช่น Google app สามารถสร้างชุมชนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติงานได้ สามารถใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านการประมวลผลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ด้ำนคุณสมบัติ อ่านหนังสือ วารสารที่เกี่ยวข้องกับไอซีทีเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะสาหรับ การปฏิบัตงิ านอยู่เสมอ ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ช่วยส่งเสริมการปฏิบัตงิ านอยู่เสมอ ตั้งกระทู้และตอบกระทู้ทเี่ กี่ยวข้องกับไอซีทีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ช่องว่าง

2.61 2.52

3.94 3.83

1.33 1.32

2.61

3.89

1.29

2.41

3.92

1.52

2.70

4.03

1.33

2.58

4.00

1.42

2.50

4.09

1.59

2.59 2.55

4.02 4.00

1.42 1.45

ตารางที่ 2 แสดงความต้องการจาเป็นด้านความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติ เปรียบเทียบ ประเมินผลสารสนเทศที่มาจากแหล่งข้อมูลทาง จากตารางที่ 2 ช่ องว่ าง (gap) หรื อความแตกต่ างที่ เกิด ขึ้ น ดิจิตอลต่าง ๆ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.29 ระหว่างสภาพที่เป็นจริงกับสภาพที่คาดหวังด้านความรู้ ทักษะ ด้ า นทั ก ษะ อั น ดั บ ที่ ห นึ่ ง ทั ก ษะในการใช้ โ ปรแกรม และคุ ณสมบั ติ ผู้ ต อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เ ห็ น ว่ า ความ คอมพิวเตอร์ด้านงานคานวณและทักษะในการประยุกต์ใช้แอป ต้ อ งการจ าเป็ น ด้ า นความสามารถไอซี ที ข องบุ ค ลากร พลิ ชั่ น บนเครื อ ข่ า ยในการปฏิ บั ติ ง านได้ มี ค่ า เฉลี่ ย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาทั้งสามด้าน มีความต้องการจาเป็นแต่ เท่ า กั บ 1.52 อั น ดั บ ที่ ส อง ทั ก ษะในการใช้ ง านโปรแกรม ละด้านใน 3 อันดับแรกดังนี้ ด้านความรู้ อันดับที่หนึ่ง ความรู้ คอมพิวเตอร์ด้านการประมวลผล มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.42 ในการวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของไอซีทีในการปฏิบัตงิ านของ และอันดับที่สาม ทักษะในการสร้างชุมชนบนเครือข่ายสังคม หน่วยงาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.33 อันดับที่สอง ความรู้ ออนไลน์ เ พื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ เกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์หรือนโยบายไอซีทีของหน่วยงาน มี ปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.33 ด้านคุณสมบัติ อันดับ ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ 1.32 และอั น ดั บ ที่ สาม วิ เ คราะห์ ที่หนึ่ง อ่านหนังสือ วารสารที่เกี่ยวข้อ งกับไอซีที เพื่อพัฒนา 28


ความรู้ แ ละทั ก ษะส าหรั บ การปฏิ บั ติ ง านอยู่ เ สมอมี ค่ า เฉลี่ ย เท่ากับ 1.59 อันดับที่สอง ตั้งกระทู้และตอบกระทู้ที่ เกี่ยวข้องกับไอซีทีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีค่าเฉลี่ย เท่ ากับ 1.45 และอั น ดั บ ที่ สามมี สองประเด็ น คื อ ติ ด ตาม ข่าวสารเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ช่วยส่งเสริมการปฏิบัติงานอยู่ เสมอและค้นคว้าข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับวิธีการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นขณะใช้ไอซีที มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.42

วิ เ คราะห์ จุ ด แข็ ง จุ ด อ่ อ นของไอซี ที ใ นการปฏิ บั ติ ง านของ หน่วยงาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.33 และความรู้เกี่ยวกับ แผนยุทธศาสตร์หรือนโยบายไอซีทีของหน่วยงาน มีค่าเฉลี่ย เท่ า กั บ 1.32 สั ง เกตเห็ น ได้ ว่ า ทั้ ง สองประเด็ น มี ความสาคัญเพราะการวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนและการรับทราบ นโยบายของหน่วยงานนั้นจะช่วยให้บุคลากรมหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลาทราบบทบาทของตนเองและทิศทางการดาเนินงานใน การใช้ ไ อซี ที ข องหน่ ว ยงานส่ ง ผลให้ เ กิ ด การบู ร ณาการกั น ระหว่ า งนโยบายของหน่ ว ยงานกั บ การพั ฒ นาความรู้ ความสามารถด้านไอซีทีของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ซึ่งสอดคล้ องกับแผนแม่บ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2550-2554 ในยุ ท ธศาสตร์ ก ารผลิ ต และเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพทรั พ ยากร บุ ค คลด้ า นไอซี ที ที่ เ น้ น การพั ฒ นาให้ ข้ า ราชการมี ค วามรู้ ความสามารถและพั ฒ นาทั ก ษะในการใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้ มีประสิทธิภาพ ซึ่งยุทธศาสตร์ดังกล่าวล้วนมีจุดมุ่งหมายที่จะ พัฒนาข้าราชการให้มีศักยภาพและสมรรถภาพในการทางาน สู ง ขึ้ น โดยหน่ ว ยงานจะต้ อ งจั ด สภาพแวดล้ อ ม ทรั พ ยากร เทคโนโลยี แ ละระบบจูง ใจที่ สนับ สนุน ให้บุ ค ลากรเกิดการ พัฒนาสมรรถภาพที่อยู่บนพื้นฐานของการปฏิบัติงานที่จะต้อง ขั บ เ ค ลื่ อ น วิ สั ย ทั ศ น์ แ ล ะ พั น ธ กิ จ ข อ ง อ ง ค์ ก า ร (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านทั กษะพบว่า บุคลากรมหาวิทยาลัย ราชภัฏ ยะลามี ความต้อ งการจ าเป็นในการใช้ งานโปรแกรม คอมพิ วเตอร์ ด้านงานค านวณและทั กษะในการประยุ กต์ ใ ช้ แอปพลิเคชั่นบนเครือข่ายในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.52 และมีความต้องการจาเป็นด้านทักษะการใช้งาน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ด้านเอกสารน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.05 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัก ยะลานั้ น มี ก ารจั ด การข้ อ มู ล พื้ น ฐานโดยการจั ด ท า จั ด เก็ บ รวบรวม ค้นคืน โดยใช้โปรแกรมด้านงานเอกสารและมีความ เชี่ ยวชาญในการใช้ โปรแกรมด้ านงานเอกสารจึ งไม่มี ความ ต้องการจาเป็นดังกล่าว ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของสุมิตร (สุ มิตร ดิษยกาญจน์, 2546) กล่าวว่าในองค์กรส่วนใหญ่มีการนา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลพื้นฐาน เช่น การจัดทาเอกสารทั่ว ๆ การจัดเก็บเอกสาร รวมถึงสืบค้นและ

6) อภิปรำยผล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการจาเป็น 3 ด้าน คือ ความรู้ ทั กษะและคุ ณสมบั ติ ค วามสามารถด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลาอยู่ ใ นสถานะเร่ง รี่แ ก้ไข ซึ่ ง หมายถึง การที่ปั จ จัย ในตั ว บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาไม่มีความพร้อมแต่มีความ ต้องการที่จะพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น แสดงให้เห็นว่า บุคลากรของ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ยะลาเห็ น ความส าคั ญ ของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แต่บุคลากรมหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลายังขาดความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติ ดังนั้นองค์กรจึง ต้องใช้กลยุทธ์ในการพัฒนาบุคลากร ซึ่ งสอดคล้องกับแนวคิด ของจั น ทิ ม า (จั น ทิ ม า แสงเลิ ศ อุ ทั ย . 2550) ที่ ก ล่ า วว่ า เทคโนโลยี สารสนเทศใช่ วยให้ กระบวนการจั ด การความรู้ เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้การแสวงหาความรู้ กระจาย ความรู้ ถ่ายทอดความรู้ สามารถดาเนิน การได้รวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ องค์การต่าง ๆ จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการนา เทคโนโลยีมาใช้ในองค์การได้ เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมือ ดังนั้นความสาเร็จขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ขององค์กรและบุคลากร และสอดคล้องกับงานวิจัย เรื่อง ปัญหาและความต้องการใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศของบุ ค ลากรในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เอกชน เขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งผลการวิจัยพบว่า บุคลากรใน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเขตกรุงเทพมหานครมีปัญหาการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับปานกลาง และมีปัญหาด้าน ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากที่สุด รองลงมาคือ การ ยอมรับเทคโนโลยีใหม่ ๆ (นพวรรณ คงเทพ, 2549) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความรู้พบว่า บุคลากรมหาวิทยาลัย ราชภั ฏ ยะลา มี ค วามต้ อ งการจ าเป็ น เกี่ ย วกับ ความรู้ ใ นการ 29


เรียกใช้ข้อมูล ไม่ค่อยมีการนาเทคโนโลยี มใช้ในการจัดการ หรือบูรณาการข้อมูล จึงทาให้ขาดความรู้ความเข้าใจและความ ชานาญในการจัดการข้อมูลด้านอื่น ๆ ผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ด้ า นคุ ณ สมบั ติ พบว่ า บุ ค ลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีความต้องการจาเป็นในการพัฒนา ความรู้และทักษะด้วยการอ่านหนังสือ วารสารที่เกี่ยวข้องกับ ไอซีทีเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะสาหรับการปฏิบัติงานอยู่ เสมอมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.59 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ของณรงค์วิทย์ (ณรงค์วิทย์, 2549) กล่าวว่า การพัฒนาคนใน อนาคตจะเปลี่ยนจากพัฒนาความรู้ ทักษะและพฤติกรรมไปสู่ การพั ฒ นาทั ศ นคติ แรงจู ง ใจและอุ ป นิ สั ย เพื่ อ ให้ ค นค้ น หา ความรู้และพัฒนาทักษะด้วยตนเอง จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผลดังกล่าวทาให้ทราบ ว่าบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏะลามีความต้องการจาเป็นด้าน ความสามารถไอซีทีในด้าน ความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติเพื่อ พัฒนาตนเองและพัฒนาองค์การให้มุ่งสู่องค์การคุณภาพที่มี ความพร้อมสู่ยุคที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็น เครื่ อ งมื อ และมี บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถในการควบคุ ม บริ ห าร จั ด การ พั ฒ นา ประยุ กต์ ใ ช้ ไ อซี ที ใ นการขั บ เคลื่ อ น ต่อไป

(ICT)สาหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. ปริญญา นิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิจัยและ พัฒนาหลักสูตร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒประสานมิตร. นพวรรณ คงเทพ. (2549). ปัญหาและความ ต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเขต กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต(การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์). มหาวิทยาลัยรามคาแหง ปรัชญนันท์ นิลสุข และวรัท พฤกษากุลนันท์ (2551). เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถของ บุคลากรในองค์การ. วารสารครุศาสตร์ อุตสาหกรรม ปีที่ 3(2) กรกฎาคม – ธันวาคม 2551 รัฐ ธนาดิเรก. (2550). การจัดการเพื่อนายุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ. เอกสาร ประกอบการอบรมนักปกครองระดับสูง. (หน้า 27-28). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยมหาดไทย สุมิตร ดิษยกาญจน์. (2546). การพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ สานักงานตรวจคนเข้าเมือง. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. วิทยาลัยนวัตกรรม อุดมศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุวิมล ว่องวานิช (2538) ความรู้ชายแดนด้านการ ประเมินผลการศึกษา, วารสารวิธีวิทยาการวิจัย. สานักงานเลานุการคณะกรมการเทคโนโลยี สารสนเทศแห่งชาติ (2545). ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็คทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ 2544-2553 ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ Kaufman & English (1979). Needs Assessment : Concept and Application. Englewood Cliff, NJ : Educational Technology Publications. Witkin and Altschuld (1995). Planning and Conducting Needs Assessments. A Pactical Guide. California.

เอกสำรอ้ำงอ้ำง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (25 54). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554 – 2563 ของ ประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). แผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2550-2554. สืบค้นข้อมูล 11 มีนาคม 2555, เข้าถึงได้จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/ detail.php?NewsID=815&Key=news19 จันทิมา แสงเลิศอุทัย. (2550). การพัฒนา หลักสูตรเสริมเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 30


ประสิทธิภาพของการฝึกอบรมออนไลน์ ด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ The Effectiveness of e-Training in Information Technology Security จิระ จิตสุภา 1, ปรัชญนันท์ นิลสุข 2, พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ 2 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (jirajitsupa@gmail.com) 2

สาขาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (prachyanunn@kmutnb.ac.th, pls@kmutnb.ac.th)

มาก และ 4) หาประสิ ทธิ ภาพของเว็ บฝึ กอบรมด้ านความ มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศจากผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม จานวน 30 คน พบว่า เว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคง ปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 80.73/81.33

ABSTRACT This research aimed to investigate the effectiveness of e-Training in Information Technology Security which included 1) Content analysis of e-Training by 6 experts specializing in Information Technology Security. 2) PreTraining and post-Training tests by 76 students who were studying Information Technology Security. 3) Evaluation of e-Training in Information Technology Security by 5 experts who are specialized subjects in Information Technology Security was every good and 4) Assessment of the effectiveness of e-Training in Information Technology Security by 30 trainees. The study had discovered that the effectiveness of e-Training in Information Technology Security was 80.73/81.33.

คาส าคัญ : ประสิ ท ธิภาพการฝึ กอบรมออนไลน์ , เว็ บ ฝึกอบรม, การฝึกอบรมออนไลน์, ความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ

1) บทนา

Keywords : e-Training Effectiveness, Web Based Training, e-Training, Information Technology Security

ความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ น ความสาคั ญระดับชาติและนานาชาติ เนื่องจากการด าเนิ น ธุรกิจ อุตสาหกรรม และการศึกษา ในปัจจุบันไม่ได้เกิดขึ้น ในระดับ ท้ องถิ่น อีกต่ อไปแต่ เป็ นการท าธุ รกรรมข้ามชาติ ทาให้เทคโนโลยีสารสนเทศมีความจาเป็นทั้งเพื่อสนับสนุน การด าเนิ น ธุ ร กิจ และการด าเนิ น ธุ ร กิจ โดยใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศเองก็ ต าม เช่ น เมื่ อ ข้ อ มู ล ส าคั ญ ทางธุ ร กิ จ ถู ก ส่ ง ผ่ านไปมาบนระบบเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ สิ่ ง สาคั ญ ที่ จะต้องคานึงถึง คือความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล (ธวัชชัย ชมศิริ, 2553) กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารให้ ความสาคัญอย่างยิ่งกับความมั่นคงปลอดภัย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ จึ ง กาหนดให้ มี การพั ฒ นาบุ ค ลากรด้ านความ มั่นคงปลอดภั ยทางเทคโนโลยี สารสนเทศเป็น หนึ่ งในห้ า ยุทธศาสตร์หลักที่จะต้องดาเนินการอย่างเร่งด่วน เพื่อเป็น การเตรียมความพร้อมและเสริมความแข็งแกร่งของประเทศ

บทคัดย่อ การวิจัยครั้ งนี้มีวัตถุป ระสงค์ เพื่ อหาประสิ ทธิภาพของ เว็บฝึกอบรมด้านความมั่น คงปลอดภัยทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วย 1) ประเมินคุณภาพเนื้อหา เว็บฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยี ส ารสนเทศ จ านวน 6 ท่ า น 2) ทดลองใช้ ข้ อ สอบส าหรั บ เป็ น ข้ อ สอบก่ อ นฝึ ก อบรมและหลั ง ฝึกอบรมโดยนักศึกษาที่ผ่านการเรียนด้านความมั่นคง ปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จานวน 76 คน 3) การประเมินเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยีสารสนเทศโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกอบรม ออนไลน์ จานวน 5 ท่าน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ 31


ไทยด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการสร้างความตระหนักและการฝึกอบรมด้านความ มั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศจึ ง เป็ น ปฏิบัติการเร่งด่วนของแผนแม่บทความมั่นคงปลอดภัย ด้านไอซีทีแห่งชาติ ที่จาเป็นต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนใน การดาเนินการสร้างความตระหนักและฝึกอบรม เพื่อให้ บุคลากรสามารถบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในและนอกองค์กรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพราะการฝึกอบรมเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถในการทางานและ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ของ บุคลากรได้ (เพ็ชรี รูปะวิเชตร์, 2554) วิธีสร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดี และมีทักษะด้านความมั่นคงปลอดภัย มีหลายวิธีด้วยกัน แต่วิธีที่ดีที่สุดในการสร้างและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคือ การฝึ กอบรม เนื่ อ งจากการฝึ กอบรมเป็ น โปรแกรม การศึ ก ษาที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบหลั ก ของความมั่ น คง ปลอดภัย (Fumy and Sauerbrey, 2006) กระทรวงไอซีที กล่ า วถึ ง การฝึ ก อบรมด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทาง เทคโนโลยี สารสนเทศว่าเป็ นกลไกหลักในการพัฒนา บุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการ บริหารจัดการด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ข้อมูลจากการวิจัยยังชี้ให้เห็นถึงความจาเป็น ของการฝึ ก อบรมด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทาง เทคโนโลยีสารสนเทศว่ามีความสาคัญมากที่สุด และเป็น ที่ต้องการฝึกอบรมมากที่สุด ด้วยเช่นกัน (Dark, 2001) ในขณะที่การจัดการศึกษา การถ่ายทอดความรู้ และการ ฝึกอบรมมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น โดยผ่านทางระบบการฝึกอบรมออนไลน์ ซึ่งเป็นลักษณะ การเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่น ลดค่าใช้จ่าย มีความอิสระ จากเวลา และสถานที่ อ ย่ า งมาก (Kavathatzopoulos, 2003; Jokela and Karlsudd, 2007) ทั้งสามารถนาไปใช้ ในการฝึกอบรมได้อีกหลายครั้ง โดยไม่จาเป็นต้องพึ่งพา สถานที่หรือวิทยากรแต่อย่างใด เนื้อหาในการฝึกอบรมก็ มีปริมาณที่เหมาะสมตรงตามขอบเขตการอบรมและไม่ เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์จัดการอบรม สามารถ ประเมิ น ผลผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ กอบรมได้ อ ย่ า งชั ด เจนเป็ น ระบบ (ปรัชญนันท์ นิลสุข, 2554) นอกจากนี้การเรียนรู้

โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นฐานยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ เรียนรู้อีกด้วย (Jalal and Zeb, 2008) การเรียนรู้ผ่านการฝึกอบรมออนไลน์ เป็นรูปแบบที่เหมาะ สาหรับ การเรี ย นการสอนที่ มีผู้ สอนเป็ นเพี ย งผู้ ค อยชี้ แ นะ หรือแนะนาและช่วยเหลือผู้เรียน แทนการที่ผู้สอนจะเป็น ผู้นาและผู้เรียนเป็นผู้ตามแต่เพีย งฝ่ายเดียว (Jokela and Karlsudd, 2007) และสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 11 ที่ ยึ ด คนเป็ น ศู น ย์ กลางของการ พัฒนาเพื่อการพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่ า งยั่ ง ยื น เนื่ อ งจากการฝึ ก อบรมออนไลน์ เ ป็ น การ จั ด รู ป แบบของการให้ ค วามรู้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านหรื อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการทางาน (ปรัชญนันท์ นิลสุข, 2554) โดย การน าเสนอด้ ว ยตั ว อั ก ษร ภาพนิ่ ง ผสมผสานกั บ การใช้ ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยีของ เว็บในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีระบบ การจัดการคอร์สในการบริหารจัดการ (ถนอมพร เลาหจรัส แสง, 2545) แต่อย่างไรก็ตามการใช้เว็บในการฝึกอบรมต้อง คานึงถึงคุณลักษณะของเว็บเป็นสาคัญ เมื่อการอบรมนั้นไม่ จาเป็ นต้ องเดิน ทางไปอบรมในห้อ งฝึกอบรม แต่ เป็ นการ ฝึ ก อบรมโดยการสื่ อ สารทางไกล จะท าอย่ า งไรให้ ก าร ฝึกอบรมโดยเว็บมีคุณภาพ และประสิทธิภาพเท่าเทียมหรือ ดีกว่ าการฝึ กอบรมในห้ องฝึ กอบรม (ปรั ชญนั น ท์ นิ ล สุ ข , 2554) การฝึ ก อบรมที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเป็ น ที่ ต้ อ งการของ องค์กรจานวนมาก นักออกแบบการฝึกอบรมมีความพยายาม ที่จะออกแบบการฝึ กอบรมออนไลน์เ พื่อตอบสนองความ ต้องการเหล่านั้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ง่ายในการจะทาเช่นนั้นได้ เพราะการออกแบบการฝึ ก อบรมออนไลน์ ใ ห้ ป ระสบ ความสาเร็จมี ความสัมพันธ์กัน ทั้งศาสตร์และศิลป์ รวมถึง ทฤษฎีด้านการเรียนการสอนและการฝึ กอบรม และเข้าใจ องค์ ค วามรู้ แ ละหรื อ ทั กษะการสอนเป็ น อย่ างดี เนื่ อ งจาก บทเรีย นแต่ล ะบทเรี ย นมี ค วามเป็ นเอกลักษณะเฉพาะ แต่ อย่างไรก็ตามถ้านักออกแบบการฝึกอบรมลงมือทาทุกอย่าง ตามขั้ น ตอนอย่ า งถู ก ต้ อ งแล้ ว ผลลั พ ธ์ ที่ ต ามมาก็ คื อ การ ฝึกอบรมออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพ (Steen, 2008) งานวิ จั ย ชิ้ น นี้ จึ ง มุ่ ง หวั ง ที่ จ ะออกแบบ พั ฒ นา และหา ประสิทธิภาพของเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นบน MOODLE ซึ่งเป็น Open source software สาหรับการบริหารการสอนและการ 32


ฝึกอบรม เนื่องจาก MOODLE ช่วยสร้างประสบการณ์ เชิงบวกให้กับผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น และเป็นการเพิ่มความ ตั้งใจในการเรี ยนรู้ สิ่ง ใหม่ ๆ อย่างมีป ระสิ ทธิ ภาพและ ประสิทธิผล (Wattakiecharoen and Nilsook, 2012)โดยมี ขั้ น ตอนการหาประสิ ท ธิ ภ าพประกอบด้ ว ย 1) การ ประเมิ น คุ ณ ภาพเนื้ อ หาส าหรั บ เว็ บ ฝึ ก อบรมจาก ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ 2) ทดลองใช้ข้ อ สอบสาหรั บเป็ น ข้อ สอบ ก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรมโดยนักศึกษาที่ ผ่ า นการฝึ ก อบรมด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ 3) การประเมินเว็บฝึกอบรมด้าน ความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศโดย ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการฝึ ก อบรมออนไลน์ และ 4) หา ประสิทธิภาพของเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศจากผู้เข้ารับการฝึกอบรมตาม เกณฑ์ที่กาหนด

(กานดา พูนลาภทวี, 2539)

4) วิธีดาเนินการวิจัย การหาประสิทธิภาพของการฝึกอบรมออนไลน์ด้านความ มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย 4.1) ประเมินคุณภาพเนื้อหาด้วยแบบประเมินคุณภาพเนื้อหา สาหรับการฝึกอบรมออนไลน์ด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องของ เนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 2 ท่าน ประกอบด้วยรายการ ประเมินความคิดเห็น จานวน 10 รายการ โดยผู้เชี่ยวชาญด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและความมั่นคงปลอดภัย จานวน 6 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้อ งโดยพิจารณาระดั บความ คิดเห็นของแต่ละรายการ ดังนี้ ให้คะแนน +1 สาหรับรายการ ที่มีความเหมาะสม, ให้คะแนน 0 สาหรับรายการประเมินที่ ไม่แน่ใจ และให้คะแนน -1 สาหรับรายการที่แน่ใจว่าไม่ เหมาะสม 4.2) พัฒ นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการ ฝึกอบรมให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์และเนื้อหา เป็นข้อสอบ แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 79 ข้อ นาแบบทดสอบที่ สร้างขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 2 ท่าน พิจารณาความถูกต้อง ความครอบคลุ ม และความเหมาะสมแล้ วน ามาปรั บ ปรุ ง แก้ไข นาแบบทดสอบไปทดสอบกับนักศึกษาที่เคยเรียนด้าน ความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาแล้ ว จานวน 76 คน นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อหาค่าความ ยากง่ า ย ค่ า อ านาจจ าแนก และค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของ แบบทดสอบด้วยวิธีแบบคูเดอร์-ริชาดสัน (KR-20) คัดเลือก ข้อสอบที่ผ่านเกณฑ์จานวน 60 ข้อ 4.3) ประเมิน เว็บฝึ กอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยี สารสนเทศโดยผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการฝึ ก อบรม ออนไลน์ จานวน 5 คน ด้ วยแบบประเมิ น การฝึ กอบรม ออนไลน์ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ทั้งหมด 5 ตอน ประกอบด้วย การออกแบบเว็บ ฝึกอบรม จานวน 5 ข้ อ การจัด วางรูป แบบเว็บฝึ กอบรม จานวน 4 ข้อ ความเหมาะสมของเว็บฝึกอบรม จานวน 4 ข้อ การปฏิสัมพันธ์ของเว็บฝึกอบรม จานวน 2 ข้อ และการใช้ งานเว็บฝึกอบรม จานวน 5 ข้อ รวมทั้งหมด 20 ข้อ โดยเป็น แบบมาตรวัด 5 ระดับ กาหนดให้ 5 หมายถึง เหมาะสมมาก ที่สุด 4 หมายถึง เหมาะสมมาก 3 หมายถึง เหมาะสมปาน

2) วัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่ อ หาประสิ ท ธิ ภาพของการฝึ ก อบรมออนไลน์ ด้ า น ความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

3) ขอบเขตการวิจัย กลุ่มตัวอย่างและประชากร ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการหาประสิ ท ธิ ภ าพการฝึ ก อบรม ออนไลน์ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ สวนดุ สิต ชั้ น ปี ที่ 4 ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2555 จานวน 193 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพการฝึกอบรม ออนไลน์ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ สวนดุ สิต ชั้ น ปี ที่ 4 ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2555 จานวน 45 คน โดยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง 33


กลาง 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย และ 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด โดยแบบประเมินดังกล่าวได้ผ่านการ ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของเนื้ อ หาจากผู้ เ ชี่ ย วชาญ จานวน 2 ท่าน 4.4) หาประสิทธิภาพของเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคง ปลอดภั ยทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ตามเกณฑ์ 80/80 โดย 80 ตัวแรก เป็นค่าเฉลี่ยผลการเรียนรู้ของผู้ฝึกอบรม ระหว่างฝึกอบรมจากเว็บฝึกอบรม และ 80 ตัวหลัง เป็น ค่าเฉลี่ยผลการเรียนรู้ของผู้ฝึกอบรมหลังฝึกอบรมเสร็จ มีกระบวนการออกแบบ พัฒนา นาไปใช้ และประเมินผล บนระบบบริ ห ารการฝึ ก อบรมของ MOODLE บน พื้ น ฐานของกลยุ ท ธ์ การฝึ ก อบรมออนไลน์ ด้ านความ มั่ น ค ง ป ล อ ด ภั ย ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ 6 องค์ ป ระกอบ ได้ แ ก่ การวางแผนการฝึ ก อบรม การ วิเคราะห์การฝึกอบรม การออกแบบการฝึกอบรม การ พัฒนาการฝึกอบรม การฝึกอบรมโดยการแสดงบทบาท สมมุ ติ และการประเมิ น ผลการฝึ ก อบรม (Jitsupa, Nilsook and Piriyasurawong, 2012) และผ่านการ ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบระบบฝึกอบรมและ เทคนิ ค จานวน 5 ท่าน ทดสอบประสิท ธิภาพของเว็ บ ฝึ ก อบรมด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศกับกลุ่ มตั วอย่ าง จานวน 45 คน แบ่ง การ ทดลองเป็น 3 ครั้ง ดังนี้ 4.4.1) ทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 3 คน เพื่อทดสอบ คุณภาพเบื้องต้น ด้านความเข้าใจด้านเนื้อหาการฝึกอบรม การสื่อความหมาย วิธีนาเสนอ และขั้นตอนการฝึกอบรม โดยการสั ง เกตและสั ม ภาษณ์ แล้ ว น าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม า ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของเว็บฝึกอบรมเพื่อเตรียมใช้ ในการทดลองครั้งต่อไป 4.1.2) ทดลองกับ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 12 คน เพื่อหา แนวโน้มของประสิทธิภาพของการฝึกอบรมออนไลน์ ด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ ตรวจสอบหาข้ อ บกพร่ อ งในด้ า นต่ างๆ จากนั้ น น ามา ปรับปรุงแก้ไขเพื่อใช้ทดลองในขั้นต่อไป 4.1.3) ทดลองกั บ กลุ่ ม ตั วอย่ า ง จ านวน 30 คน เพื่ อ วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของการฝึกอบรมออนไลน์ด้าน ความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่สร้าง ขึ้นตามเกณฑ์ที่กาหนด

5) ผลการวิจัย ประสิท ธิ ภาพของการฝึกอบรมออนไลน์ ด้านความมั่ น คง ปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีผลการวิจัยดังนี้ 5.1) ผลการประเมินคุณภาพเนื้อหาด้านความมั่นคงปลอดภัย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศโดยผู้เชี่ยวชาญ แสดงดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1: ผลการประเมินคุณภาพเนื้อหาด้านความ มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รายการประเมินเนื้อหา เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์ ความถูกต้องของเนื้อหา การแบ่งเนื้อหามีความเหมาะสม ความเหมาะสมในการจัดลาดับเนื้อหา ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา ความชัดเจนของภาพและตารางประกอบ มีความยากง่ายเหมาะสมกับผู้ฝึกอบรม เข้าใจง่ายเหมาะสมที่จะศึกษาด้วยตนเอง ทันสมัย น่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาชัดเจน แบบฝึกหัดหลังบทเรียนมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยรวม

IOC

1.00 1.00 1.00 0.67 0.67 0.67 0.83 0.67 0.67 0.83 0.80

ความหมาย เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

จากตารางที่ 1: ผลการประเมินคุณภาพเนื้อหาด้านความ มั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยี ส ารสนเทศจากผู้ เ ชี่ ย วชาญ จานวน 6 ท่าน พบว่า เนื้อหาด้านความมั่นคงปลอดภัยทาง เทคโนโลยี ส ารสนเทศมี คุ ณ ภาพเหมาะสมส าหรั บ การ ฝึกอบรมออนไลน์ด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยมีค่าเฉลี่ยรวมทุกรายการประเมินเท่ากับ 0.80 5.2) ผลการพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลัง การฝึกอบรมมีค่าความยากง่ายอยู่ในช่วง 0.37 – 0.75 ค่า อานาจจาแนกอยู่ในช่วง 0.24 – 0.55 และค่าความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบเท่ากับ 0.93 5.3) ผลการประเมินเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศโดยผู้เชี่ยวชาญ แสดงดังตารางที่ 2

34


ตารางที่ 2: ผลการประเมินเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคง ปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รายการประเมิน

M

SD

การออกแบบการฝึกอบรม การจัดวางรูปแบบของเว็บ ความเหมาะสมของเว็บ การปฏิสัมพันธ์ การใช้งาน ค่าเฉลี่ยรวม

4.24 4.00 4.45 4.40 4.24 4.25

0.44 0.32 0.51 0.52 0.44 0.46

ความ เหมาะสม มาก มาก มาก มาก มาก มาก

รูปที่ 3: หน้าบทเรียนเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคง ปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

จากตารางที่ 2: ผลการประเมินเว็บฝึกอบรมด้านความ มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศจากผู้เชี่ยวชาญ พบว่ า คุ ณ ภาพเว็ บ ฝึ ก อบรมด้ า นการออกแบบการ ฝึกอบรม ด้านการจัดวางรูปแบบเว็บ ด้านความเหมาะสม ของเว็บ ด้านการปฏิสัมพันธ์ และด้านการใช้งาน มีความ เหมาะสมในระดับมาก

5.4) ผลการวิเคราะห์และหาประสิทธิภาพของเว็บฝึกอบรม ด้านความมั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยี สารสนเทศ พบว่า คะแนนระหว่างฝึกอบรมจากเว็บฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ยโดยรวม อยู่ที่ 48.47 คิดเป็นร้อยละ 80.78 คะแนนหลังฝึกอบรมจาก เว็ บ ฝึ กอบรมมี ค่าเฉลี่ ยโดยรวมอยู่ ที่ 48.80 คิ ด เป็น ร้ อ ยละ 81.33 แสดงว่ าเว็ บฝึ กอบรมมี ประสิ ท ธิภาพ 80.73/81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหด

6) สรุปผล การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการฝึกอบรมจะเป็นเทคโนโลยีเพื่อ การฝึกอบรมในอนาคต (ปณิตา วรรณพิรุณ และ ปรัชญนันท์ นิลสุข, 2554) มีองค์กรเป็นจานวนมากที่ใช้ความสามารถ ของระบบบริหารจัดการการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ หรือ LMS จาก Open source software (Nordin, Ibrahim, Hamzah, Embi, and Din, 2012) มาเพิ่มขีดความสามารถใน การท างานของบุ ค ลากรผ่ า นการฝึ ก อบรม เรี ย กว่ า เว็ บ ฝึกอบรม หรือการฝึกอบรมออนไลน์ เนื่องจากช่วยให้การ ออกแบบ พั ฒนาและประเมิ นผลการฝึกอบรมออนไลน์ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลการวิจัยครั้งนี้มีความเหมาะสมอย่างยิ่งสาหรับนาไปใช้ใน การฝึ ก อบรมออนไลน์ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทาง เทคโนโลยี ส ารสนเทศ เนื่ อ งจากพบว่ า ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพเนื้ อ หาด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศมีคุณภาพเหมาะสมสาหรับการฝึกอบรมออนไลน์ ด้านความมั่น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ การ

รูปที่ 1: หน้าลงทะเบียนเข้าสู่เว็บฝึกอบรมด้านความ มั่นคงปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

รูปที่ 2: หน้าหลักเว็บฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 35


พั ฒ นาแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ก่ อ นและหลั ง การ ฝึกอบรมมีค่าความยากง่ายอยู่ในช่วง 0.37 – 0.75 ค่า อานาจจาแนกอยู่ในช่วง 0.24 – 0.55 และค่าความเชื่อมั่น ของแบบทดสอบเท่ า กั บ 0.93 ผลการประเมิ น เว็ บ ฝึ ก อบรมด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยี สารสนเทศด้านการออกแบบการฝึกอบรม ด้ านการจัด วางรู ปแบบเว็บ ด้ านความเหมาะสมของเว็บ ด้านการ ปฏิ สัม พั น ธ์ และด้ านการใช้ ง าน มี ค วามเหมาะสมใน ระดับมาก และเว็บ ฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภั ย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพ 80.73/81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้

Information Assurance and Security, Purdue University. Fumy, W., & Sauerbrey J. (2006). Enterprise Security, IT Security Solution: Concepts,Practical Experiences, Technologies. Erlangen : Publics Corporate Publishing, Germany. Jalal, M. (2008). Security Enhancement for e-Learning Portal. IJCSNS International Journal of Computer Science and Network Security. 8, 41-45. Jitsupa, J., Nilsook, P., & Piriyasurawong, P. (2012). The Strategy for e-Training in Information Technology Security. Proceedings of the 4th TCU International e-Learning Conference, 292-297. Bangkok, Thailand. Jokela P., Karlsudd P. (2007). Learning with Security. Journal of Information Technology Education. 6, 292-309. Kavathatzopoulos I. (2003). The Use of Information and Communication Technology in the Training for Ethical Competence in Business. Journal of Business Ethics. 48, 43–51. Nordin, N., Ibrahim, S., Hamzah, M., Embi, M., & Din, R. (2012). Leveraging open source software in the education management and leadership training. TOJET: The Turkish Online Journal of Education Technology. 11, 3, 215-221. Steen, L. N. (2008). Effective e-Learning design. MERLOT Journal of Online and Teaching. 4, 4, 526-532. Wattakiecharoen, J., & Nilsook, P. (2012). Development of online instruction media an administration systems based on MOODLE program on learning behaviors of Ph.D. students. Proceedings of the 4th TCU International e-Learning Conference, 192196. Bangkok, Thailand.

7) เอกสารอ้างอิง กานดา พูนลาภทวี. (2539). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียน การสอน. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. ธวัชชัย ชมศิริ. (2553). Computer and Network Security. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น. ปณิตา วรรณพิรุณ และ ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2554). ผล การฝึกอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุน วิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ. การประชุมวิชาการ ระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง 2554. กรุงเทพฯ. หน้า 277-284. ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2554). เทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผลิตตาราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ. เพ็ชรี รูปะวิเชตร์. (2554). เทคนิคการจัดฝึกอบรมและ การประชุม. กรุงเทพฯ : ดวงกมลพับลิชชิ่ง. Dark, M. (2001). Information Security Training Needs Assessment Study. CERIAS Tech Report 2001-101. West Lafayette: Center for Education and Research 36


การพัฒนาตัวบ่งชี้รวมความสาเร็จการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการเรียนการสอนเพือ่ เสริมสร้างทักษะการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของนักเรียนมัธยมศึกษา Full Paper Format for the National e-Learning Conference 2012 ดร.ช่อบุญ จิรานุภาพ1, ผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ2 1 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (chorboont@hotmail.com) 2

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Keywords: Education indicators, ICT use in teaching and learning

ABSTRACT The purposes of this research were to develop the composite indicators of success in ICT use in teaching and learning for promoting ICT literacy skills of secondary school students and to test the goodness of fit between the developed measurement model and the empirical data. The informants comprised 11 highly qualified experts, 541 administrators and teachers in secondary schools, and 2,199 grade 9 students from 55 schools in 4 regions areas the country. The research tools were the questionnaires. Data were analyzed by SPSS for basic data analysis and LISREL 8.7 for confirmatory factor analysis and secondary order confirmatory factor analyses. The research results were as follows: 1) The confirmatory factor analysis results indicated that all 43 single indicators are indicators of success in ICT use in teaching and learning for promoting ICT literacy skills of secondary school students having significant factor loading at .01 level. The composites indicators consisted of 4 factors each of which were 10 indicators of context factor, 13 indicators of input factor, 15 indicators of process factor and 5 indicators of outcome factor. 2) The results of second order confirmatory factor analysis to validate the composite indicator model for the success of ICT use in teaching and learning for promoting ICT literacy skills of secondary school students were revealed that the model was fit to the empirical data (2=22.45, df=21, p=.373, GFI=.992, AGFI=.976, RMR=.005). The factor loadings of 11 single indicators were positive, ranging in size from .605 - .897. The highest factor loading indicators was the student's ability to work creatively with the use of information technology and communications. The factor loadings of the 4 factors were positive, ranging in size from .727 – 1.111 arranging in consecutive order as input (1.111) process (1.006) context (0.847) and outcome (0.727) respectively.

บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ พั ฒ นาตั ว บ่ ง ชี้ ร วม ความส าเร็ จ ในการใช้ ไ อซี ที ใ นการเรี ย นการสอนเพื่ อ เสริมสร้างทักษะการรู้ไอซีทีของนักเรียนมัธยมศึกษาและเพื่อ ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดที่พัฒนาขึ้นกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 11 คน และ กลุ่มผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียน มั ธ ยมศึ กษา จ านวน 541 คน และ นั กเรี ย นในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 จ านวน 2,199 คน จาก 55 โรงเรี ย น กระจายใน 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมู ลโดยใช้โปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และการใช้โปรแกรม LISREL 8.7 ในการวิเคราะห์องค์เชิงยืนยัน และองค์ประกอบ เชิงยืนยันอันดับที่สอง ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่า ตัวบ่งชี้ เดี่ยวทั้งหมด 43 ตัวบ่งชี้ เป็นตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการใช้ ไอซีทีในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้ ไอซีที ของนักเรียนมัธยมศึกษา มีนัยสาคัญที่ระดับ .01 ตัวบ่งชี้รวม ครอบคลุมองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ ด้านบริบท จานวน 10 ตัว ตัวบ่งชี้ด้านปัจจัยนาเข้า จานวน 13 ตัว ตัวบ่งชี้ด้านกระบวนการ จานวน 15 ตัว และตัวบ่งชี้ด้าน ผลลัพธ์ จานวน 5 ตัว 37


2. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง เพื่อตรวจสอบความตรงโมเดลตัวบ่งชี้รวมความสาเร็จ การใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะ การรู้ไอซีที ของนักเรียนมัธยมศึกษา แสดงว่า โมเดลมี ความสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ (2 = 22.45, df=21, p=.373, GFI=.992, AGFI=.976, RMR=.005) น้าหนักองค์ประกอบของตัวบ่งชี้เดี่ยวทั้ง 11 ตัว มีค่าเป็น บวก มีขนาดตั้งแต่ .605 - .897 องค์ประกอบย่อยที่มีค่า น้าหนั กองค์ ป ระกอบมากที่ สุด คื อ ความสามารถของ นักเรียนในการสร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยการใช้ ไอซีทีส่วน น้ าห นั ก อ ง ค์ ป ร ะ กอ บ ข อ ง อ ง ค์ ป ร ะ กอ บ ย่ อ ย 4 องค์ประกอบมีค่าเป็นบวก และมีขนาดตั้ งแต่ .727 – 1.111 เรียงลาดับความสาคัญจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้าน ปั จ จั ย น าเข้ า (1.111) ด้ า นกระบวนการ (1.006) ด้ า น บริบท (0.847) และด้านผลผลิต (0.727) ตามลาดับ

ความสะดวกในด้านการบริ หารและการจัด การ ทาให้เกิด ความคล่องตัวในการพัฒนาในทิศทางที่สอดคล้องกัน การใช้ไอซีที ที่มีประสิทธิภาพจาเป็นต้องอาศัยทักษะต่างๆ เป็นเครื่องมือช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และมีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากสารสนเทศ มี ก า ร เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ แ ล ะ แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นเครื่องมือใน การจั ด เก็บ และค้ น คื น สารสนเทศมี ค วามสะดวกรวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น ดั ง นั้ น ผู้ รู้ ส ารสนเทศจึ ง ต้ อ งตระหนั ก ว่ า เมื่ อ ใด จ าเป็ น ต้ อ งใช้ สารสนเทศ ค้ น หา ประเมิ น และใช้ สื่ อ สาร สนเทศที่ต้องการเพื่อแก้ปัญหาหรือเพื่อการตัดสิน เนื่องจาก ความเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี แ ละสารสนเทศมี อ ยู่ ตลอดเวลา ซึ่งสารสนเทศที่เข้ามาสู่บุคคลในรูปแบบต่างๆ นั้นเป็นสารสนเทศที่ผ่านการกลั่นกรองและไม่ได้กลั่นกรอง จึงทาให้นักเรียนต้องพิจารณาเลือกสารสนเทศให้เหมาะสม กับความต้องการของตนเอง งานวิจัยเกี่ยวกับ ไอซีที นี้เกี่ยวข้องกับคา 3 คา ได้แก่ ไอซีที การใช้ไอซีที และการรู้ไอซีที ระหว่างการรู้ไอซีทีและการใช้ ไอซีทีนั้น การใช้ไอซทีทีน่าจะเป็นสิ่งที่สาคัญ เพราะบางคน อาจจะใช้โดยไม่รู้ ก็ได้ จึงทาให้การใช้ไอซีทีมีความสาคัญ มาก เพราะการใช้ น่ า จะท าให้ เ กิ ด การรู้ และได้ มี ก าร ศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การใช้ ไ อซี ที ไ ว้ อ ย่ า งกว้ า งขวางและ หลากหลาย ดังนั้นเมื่อต้องการรู้ผลของการใช้ไอซีทีว่ามีผล อย่างไร จึงทาให้ต้องมีการวัดการใช้ไอซีที ซึ่งการวัดการใช้ นั้นมีสิ่งที่ต้องคานึงถึง คือ ตัวบ่งชี้การใช้ และเครื่องมือวัด แต่งานวิจัยในประเทศไทยยังไม่มีการพัฒนาตัวบ่งชี้การใช้ ไอซีทีผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาในประเด็นนี้ เพื่อประโยชน์ ในการเปรียบเทียบและรายงานความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ และเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทางการ ดาเนินงานของนานาประเทศ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาและ พั ฒ นาตั ว บ่ ง ชี้ ก ารใช้ ไ อซี ที เ พื่ อ การศึ ก ษาในบริ บ ทที่ เหมาะสมสาหรับ ประเทศไทย ตามหลั กวิชาแนวทางการ พั ฒ นาตั ว บ่ ง ชี้ มี ก ารด าเนิ ง านที่ ส าคั ญ 3 ชั้ น ตอน คื อ 1) กาหนดกรอบแนวคิดการพัฒนาตัวบ่งชี้จากการสังเคราะห์ องค์ประกอบและตัวแปรการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอน เพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้ ไอซีที ของนักเรียน จากเอกสาร วรรณกรรม งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และความคิ ด เห็ น ของ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ

คาสาคัญ: ตัวบ่งชี้การศึกษา, การใช้ไอซีทีในการเรียน การสอน

1) บทนา ใ น ยุ ค เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร (information and communication technology) เรียกโดย ย่ อ ว่ า ไอซี ที (ICT) ซึ่ ง วั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ์ ด้ า นดิ จิ ทั ล กลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะเป็น การเรียนรู้ การทางาน แม้กระทั่งความบันเทิง ก่อให้เกิด ผลกระทบของการเปลี่ยนผ่านจากการสื่อสารทางเดียว เป็นหลายมิติ ผู้ใช้กลายมาเป็นผู้มีส่วนร่วมในการสื่อสาร ข้อมูล เป็นผู้ส่งสารมากกว่าจะเป็นเพียงผู้รับสารเท่านั้น ในโลกยุคดิจิทัลภารกิจหนึ่งที่สาคัญของหน่วยงานหลั ก ด้านการศึกษาของชาติ คือ การปรับปรุงความสามารถ ด้ า นการเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย นผ่ า นวิ ธี ก ารใช้ สื่ อ ดิ จิ ทั ล (Hsiang-jen Meng, 2011) ประเทศไทยได้มีการเตรียมพร้อมเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โดย มีการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมอื่นๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนา โดยเฉพาะ ไอซีทีที่มีผลต่อภาคธุรกิจ สังคม และการศึกษา ซึ่งเน้น 38


การใช้ไอซีที เพื่อการศึกษา 2) สร้างตัวบ่งชี้รวมการใช้ ไอซี ที ใ นการเรียนการสอนเพื่อเสริ มสร้ างทักษะการรู้ ไอซีทีของนักเรียน โดยการกาหนดวิธีการรวมตัวแปรที่ เกี่ยวข้องจานวนหนึ่งเข้าด้วยกัน แล้วทาการถ่วงน้าหนัก และค านวณหาค่ าตั วบ่ ง ชี้ ร วมออกมา เพื่ อ ให้ สามารถ อธิ บ ายลั กษณะหรื อ สถานการณ์ ของการใช้ ไ อซีที เ พื่ อ การศึกษาที่มีประสิทธิภาพได้ดีกว่าการใช้ตัวแปรเพียงตัว เดียว (Johnstone, 1981; นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2545) ซึ่ง อธิบายเพียงบางส่วนของสภาพการใช้เทคโนโลยีเท่านั้น และ 3) ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลการ วัดของตัวบ่งชี้โดยการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนเพื่อ เสริ ม สร้ า งทั ก ษะการรู้ ไ อซี ที ข องนั ก เรี ย นโดยการ ตรวจสอบความสอดคล้ อ งของโมเดลกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจักษ์ ผลของการศึกษาคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อ สถาบันการศึกษาในการนาตัวบ่งชี้รวมนี้ไปใช้บ่งบอกถึง ประสิทธิภาพการใช้ ไอซีที เพื่อการศึกษาว่าเป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ ควรปรับปรุง/พัฒนาด้านใด และ สามารถนาตัวบ่งชี้ดังกล่าวไปใช้เพื่อการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ การวางแผนการบริหารงานและติดตามผล การด าเนิ น งานของการใช้ ไ อซี ที เ พื่ อ การศึ ก ษาที่ มี ประสิทธิภาพต่อไป

ความสาเร็จการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้าง ทั กษะการรู้ ไ อซี ที ข องนั กเรี ย นมั ธยมศึ กษาที่ ผู้ วิจั ย พั ฒ นา ขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยครอบคลุมองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน คือ ด้านบริบท (context) ด้านปัจจัยนาเข้า (input) ด้าน กระบวนการ (process) และด้านผลลัพธ์ (outcome) ผู้วิจัยนากรอบแนวคิดในการวิจัยที่ได้นาเสนอไว้ในบทที่ 2 มาเป็นกรอบในการพัฒนาตัวบ่งชี้ความสาเร็จการใช้ ไอซีที ในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้ ไอซีที ของ นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา ซึ่ ง ตั ว บ่ ง ชี้ ใ นเบื้ อ งต้ น นั้ น ผู้ วิ จั ย ได้ ท าการศึ กษาและสั ง เคราะห์ จ ากเอกสารทางวิ ชาการและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยได้ตัวบ่งชี้จานวนทั้งสิ้น 65 ตัวบ่งชี้ จากนั้น จึงนากรอบแนวคิดที่ได้ในเบื้องต้นมาเป็นกรอบใน การพิ จ ารณาคั ด เลื อ กความเหมาะสมของตั ว บ่ ง ชี้ โ ดย ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งพบว่ามีตัวบ่งชี้ที่ผ่านเกณฑ์ในการพิจารณา และการปรับปรุงแก้ไขทั้งสิ้น 43 ตัวบ่งชี้ จากนั้นผู้วิจัยนาตัว บ่ ง ชี้ ที่ ผ่ า นการคั ด เลื อ กความเหมาะสมดั ง กล่ า วไปสร้ า ง แบบสอบถามสาหรับผู้บริการ ครูผู้สอน และนักเรียน เพื่อ พัฒนาโมเดลตัวบ่งชี้ความสาเร็จการใช้ไอซีทีในการเรียนการ สอนเพื่ อ เสริ ม สร้ า งทั ก ษะการรู้ ไอซี ที ข องนั ก เรี ย น มัธยมศึกษา

4) กลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ โรงเรียนที่เปิดสอนระดับ มัธยมศึกษาทั่วประเทศ ปีการศึกษา 2554 จ านวน 11,358 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการเรียน การสอนโดยใช้ ไ อซี ที จ านวน 11 คน และกลุ่ ม ผู้ บ ริ ห าร ครู ผู้ ส อน และนั ก เรี ย นในโรงเรี ย นสั ง กั ด ส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดองค์กรปกครอง ส่วนท้ อ งถิ่ น และสั ง กัด สานั กงานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การศึกษาเอกชน จานวน 2,741 คน จากโรงเรียนที่เป็นกลุ่ม ตัวอย่างจานวน 55 โรงเรียนกระจายใน 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ การเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งออกเป็ น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อคัดเลือก ตัวบ่งชี้เดี่ยวความสาเร็จในการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอน เพื่อ เสริม สร้างทั กษะการรู้ ไอซีที ของนักเรี ยนมั ธยมศึ กษา โดยใช้แบบสอบถาม ระยะที่ 2 เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างผู้ บริหาร ครูผู้สอน และนักเรียนระดับชั้น

2) วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 2.1 เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้รวมความสาเร็จการใช้ ไอซีทีใน การเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้ ไอซีทีของ นักเรียนมัธยมศึกษา 2.2 เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัด ความส าเร็ จ การใช้ ไ อซี ที ใ นการเรี ย นการสอนเพื่ อ เสริมสร้างทักษะการรู้ไอซีทีของนักเรียนมัธยมศึกษากับ ข้อมูลเชิงประจักษ์

3) วิธีดาเนินการ การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) โดยวั ตถุ ประสงค์เพื่ อพั ฒนาโมเดลตัวบ่ง ชี้ ความส าเร็ จ การใช้ ไ อซี ที ใ นการเรี ย นการสอนเพื่ อ เสริ ม สร้ างทั กษะการรู้ ไ อซีที ข องนั กเรี ยนมั ธยมศึ กษา และเพื่ อตรวจสอบความสอดคล้ องของโมเดลตัวบ่ง ชี้ 39


มัธยมศึกษาปีที่3 เพื่อประเมินความสาเร็จในการใช้ไอซีที ในการเรีย นการสอนเพื่อ เสริมสร้างทักษะการรู้ ไ อซี ที ของนักเรียนมัธยมศึกษา ตามตัวบ่งชี้ที่ผ่านการพิจารณา มาแล้วในระยะที่ 1 เพื่อนาผลที่ได้มาพัฒนาตัวบ่งชี้รวม ความส าเร็ จ การใช้ ไ อซี ที ใ นการเรี ย นการสอนเพื่ อ เสริ ม สร้ างทั กษะการรู้ ไ อซีที ข องนั กเรี ยนมั ธยมศึ กษา ต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม ซึ่งแบ่ง ออกเป็ น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็ นข้อคาถามเกี่ยวกับ ข้ อ มู ล พื้ น ฐานของผู้ ต อบแบบสอบถาม เป็ น แบบ ตรวจสอบรายการ (checklist) ตอนที่ 2 เป็นข้อคาถาม เกี่ยวกับความสาเร็จในการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอน เพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้ไอซีทีของนักเรียนมัธยมศึกษา มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า (rating scale) 4 ระดับ จานวน 62 ข้อ ซึ่งแบบสอบถามนี้ได้ผ่านการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา (content validity) ความเหมาะสม และความชั ด เจนของการใช้ ภ าษาจากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จานวน 4 ท่าน มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .979

จากองค์ประกอบหลักในแต่ละด้านมีองค์ประกอบย่อย 11 องค์ประกอบ และ 43 ตัวบ่งชี้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) ด้ านบริ บ ท (context) มี อ งค์ ป ระกอบย่ อ ย จ านวน 3 องค์ประกอบ 10 ตัวบ่งชี้ 2) ด้านปัจจัยนาเข้า (input) มีองค์ประกอบย่อย จานวน 3 องค์ประกอบ 13ตัวบ่งชี้ 3) ด้านกระบวนการ (process) มีองค์ประกอบย่อย จานวน 3 องค์ประกอบ15 ตัวบ่งชี้ 4) ด้านผลลัพธ์ (outcome) มีองค์ประกอบย่อย จานวน 2 องค์ประกอบ 5 ตัวบ่งชี้ 5.2) ผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลการวัดตัวบ่งชี้รวม ความสาเร็จการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้าง ทักษะการรู้ไอซีทีของนักเรียนมัธยมศึกษา ผลการพิจารณาความสัมพันธ์ของสเกลองค์ประกอบย่อยทั้ง 11 ตั ว พบว่ า องค์ ป ระกอบย่ อ ยหรื อ ตั ว บ่ ง ชี้ ใ หม่ ทุ ก ตั ว มี ความสั ม พั น ธ์ กั น อย่ า งมี นั ย ส าคั ญ (p<.01) ทุ ก ค่ า มี ค่ า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ตั้งแต่ .342 ถึง .739โดยคู่ตัวบ่งชี้ที่มี ความสัมพันธ์กันมากที่สุด คือ สมรรถนะการใช้ไอซีทีของ นักเรียน (PROFIC) และความสามารถในการสร้างสรรค์ ชิ้นงานด้วยไอซีที ของนักเรียน (CREATE) มีค่า Bartlett’s test of Sphericity มีค่าเท่ากับ 3535.507 (p<.000) แสดงว่า เมทริ กซ์ สหสั มพั นธ์ ร ะหว่างตัวบ่ง ชี้แ ตกต่ างจากเมทริ กซ์ เอกลักษณ์อย่างมีนัยสาคัญ ค่าดัชนีไกเซอร์-ไมเยอร์-ออลคิน (Kaiser-Meyer-Olkin Measures of Sampling Adequacy) มี ค่ า เท่ า กั บ .923 แสดงว่ า ตั ว บ่ ง ชี้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น มาก พอที่จะนามาวิเคราะห์องค์ประกอบได้ 5.2) ผลการวิเคราะห์เพื่อตรวจสอบความตรงของตัวบ่งชี้รวม ความสาเร็จการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้าง ทักษะการรู้ ไอซีที ของนักเรียนมัธยมศึกษา พบว่า โมเดลมี ความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณา จากค่าไค-สแควร์ (Chi-square) มีค่าเท่ากับ 22.45 ซึ่งมีค่า ความน่าจะเป็นเท่ากับ .373 ที่องศาอิสระเท่ากับ 21(df = 21) นั่คือ ค่าไคสแควร์แตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสาคัญ แสดง ว่ า ยอมรั บ สมมติ ฐ านหลั ก ที่ ว่ า โมเดลการวิ จั ย มี ค วาม สอดคล้องกลมกลื นกับข้อมู ลเชิ งประจักษ์ โดยค่าดั ชนีวัด ระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.99 และค่าดัชนีวัดระดับ ความกลมกลืนที่ปรับแก้แกล้ว (AGFI) เท่ากับ .98 และค่า ดัชนีรากของกาลังสองเฉลี่ยของเศษ (RMR) เท่ากับ .0051 ซึ่ง

5) สรุปผลการวิจัย 5.1) ผลการพิ จ ารณาความเหมาะสมของตั ว บ่ ง ชี้ จ าก ผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ตัวบ่งชี้ที่ผ่านเกณฑ์ในการพิจารณา และผ่านการแก้ไขปรับปรุงรวมทั้งสิ้น 43 ตัว ครอบคลุม องค์ประกอบหลัก 4 ด้าน คือ 1) ด้านบริบท (context) มี องค์ประกอบย่อย จานวน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ นโยบาย และแผนด้านไอซี ที สมรรถนะ/วิสัย ทัศน์ ของผู้บริ หาร และการสนับสนุนด้านการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอน 2) ด้านปัจจัยนาเข้า (input) มีองค์ประกอบย่อย จานวน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานด้านระบบการ ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบการบริหารและ หลั ก สู ต รที่ บู ร ณาการไอซี ที 3)ด้ า นกระบวนการ (process) มีองค์ประกอบย่อย จานวน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การใช้ไอซีทีของผู้บริหารการใช้ไอซีทีของครูและ การใช้ไอซีทีของนักเรียน และ 4) ด้านผลลัพธ์ (outcome) มี อ งค์ ป ระกอบย่ อ ย จ านวน 2 องค์ ป ระกอบ ได้ แ ก่ สมรรถนะของนักเรียนในการใช้ไอซีทีและความสามารถ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยการใช้ไอซีที

40


มี ค่ าเข้ าใกล้ ศู น ย์ แสดงว่ าโมเดลมี ค วามกลมกลื น กั บ ข้อมูลเชิงประจักษ์ เมื่ อ พิ จ ารณาผลการวิ เ คราะห์ อ งค์ ป ระกอบเชิ ง ยื น ยั น อันดับที่หนึ่ง ค่าน้าหนักองค์ประกอบของตัวบ่งชี้ทั้ง 11 ตัว มีค่าเป็นบวก โดยมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุก ตัว และมีขนาตตั้งแต่ 0.60 ถึง 0.90 แสดงว่าตัวบ่งชี้ทั้ง 11 ตัว เป็นตัวบ่งชี้ความสาเร็จการใช้ไอซีทีในการเรียนการ สอนเพื่ อ เสริ ม สร้ า งทั ก ษะการรู้ ไ อซี ที ข องนั ก เรี ย น มัธยมศึกษา เรียงลาดับจากค่าน้าหนักองค์ประกอบมาก ไปน้อย ได้แก่ ความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ด้วยการใช้ไอซีที (CREATE) สมรรถนะของนักเรียนใน การใช้ไอซีที (PROFIC)การสนับสนุนด้านการใช้ไอซีที ในการเรียนการสอน (ADMISUP) การใช้ไอซีทีของครู (TEACHER) สมรรถนะ/วิ สั ย ทั ศ น์ ข องผู้ บ ริ ห าร (VISION) นโยบายและแผนไอซีทีในการเรียนการสอน (POLICY) การใช้ไอซีทีของผู้บริหาร (ADMIN) การใช้ ไอซีทีของนักเรียน (STUDENT) โครงสร้างพื้นฐานด้าน ระบบการให้ บ ริ ก าร ไอซี ที ใ นการเรี ย นการสอน (ITSERV) โครงสร้างพื้นฐานด้านระบบการบริหารด้าน ไอซีที และหลักสูตรที่บูรณาการไอซีที ในการเรียนการ สอน (CURRI) สาหรับผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่ สอง พบว่ า ค่ า น้ าหนั ก องค์ ป ระกอบของตั ว บ่ ง ชี้ ร วม ความส าเร็ จ การใช้ ไ อซี ที ใ นการเรี ย นการสอนเพื่ อ เสริมสร้างทักษะการรู้ไอซีทีของนักเรียนมัธยมศึกษา ทั้ง 4 ด้าน มีค่าเป็นบวกมีขนาดตั้งแต่ 0.727 ถึง 1.111 และมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกด้าน เรียงลาดับจากค่า น้าหนักองค์ประกอบมากไปน้อย ได้แก่ ด้านปัจจัยนาเข้า ด้ า นกระบวนการ ด้ า นบริ บ ท และด้ า นผลลั พ ธ์ มี ค่ า น้าหนักองค์ประกอบ 1.111 1.006 0.847 และ 0.727 ตามล าดั บ จากน้ าหนั ก ดั ง กล่ า วแสดงว่ า ตั ว บ่ ง ชี้ ร วม ความส าเร็ จ การใช้ ไ อซี ที ใ นการเรี ย นการสอนเพื่ อ เสริมสร้างทักษะการรู้ไอซีทีของนักเรียนมัธยมศึกษาเกิด จากองค์ประกอบด้านปัจจัยนาเข้า ด้านกระบวนการ ด้าน บริ บ ท และด้ า นผลลั พ ธ์ ซึ่ ง องค์ ป ระกอบในแต่ ล ะ องค์ประกอบมีความแปรผันร่วมกับองค์ประกอบตัวบ่งชี้ รวมความสาเร็จการใช้ ไอซีที ในการเรียนการสอนเพื่อ เสริ ม สร้ างทั กษะการรู้ ไ อซีที ข องนั กเรี ยนมั ธยมศึ กษา

ร้อยละ 123.50 ร้ อยละ 101.10 ร้ อยละ 71.80 และร้อ ยละ 52.80สามารถเขี ย นสเ กลองค์ ป ระกอบตั ว บ่ ง ชี้ ร วม ความสาเร็จการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้าง ทักษะการรู้ไอซีทีของนักเรียนมัธยมศึกษา

6) อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 6.1) องค์ประกอบหลักด้านปัจจัยนาเข้ามีความค่าน้าหนั ก ความสาคัญมากที่สุดซึ่งสอดคล้องกับกรอบการดาเนินงาน ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559) ที่จะเร่งรัด พัฒนาเครือ ข่ายและเชื่ อมโยงระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนการสอน ที่เข้าถึงง่าย ประหยัด และสะดวกต่อการใช้สาหรับผู้เรียนและประชาชน ทั่วไป รวมถึงการส่งเสริมสนับสนุนอย่างจริงจังในการนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมาใช้ในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพการสอนของครู โดยพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและใช้สื่อ เทคโนโลยี ใ นการเรี ย นการสอน และถึ ง แม้ ว่ า น้ าหนั ก ความสาคัญของแต่ละองค์ประกอบแต่ละด้านจะไม่เท่ากัน แต่น้าหนักองค์ประกอบก็มีความใกล้เคียงกัน และแตกต่าง กั น ไม่ ม ากนั ก แสดงให้ เ ห็ น ว่ า องค์ ป ระกอบต่ า งๆ มี ความส าคั ญ ร่ ว มกั น ในการบ่ ง ชี้ ค วามส าเร็ จ ในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนการสอน เพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้เ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อ สารของนักเรี ยนร่วมกัน ดั งนั้ นควรให้ ความสาคัญ กั บ องค์ประกอบทุกด้าน ไม่ควรให้ความสาคัญด้านใดด้านหนึ่ง แต่การนาตัวบ่งชี้ดังกล่าวมาใช้ทั้ง 43 ตัวบ่งชี้ อาจจะเป็นเรื่อง ที่ทาได้ยากและอาจจะไม่ประสบความสาเร็จ จึงควรเลือกตัว บ่งชี้ที่มี ค่าน้าหนักสู งในแต่ละองค์ประกอบมาดาเนินการ โดยแบ่ งการด าเนิน งานออกเป็ น 3 ระยะ คื อ ระยะที่ห นึ่ ง ดาเนินการเกี่ยวกับตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐาน การให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ เรี ย นการสอน กาหนดให้ โ รงเรี ย นจั ด ท าแผนด้ านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนการสอน พร้อมรายละเอียดโครงการและกิจกรรม และจัดทาหลักสูตร แกนกลางที่บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการเรียนการสอน ระยะที่สอง ดาเนินงานด้านตัวบ่งชี้ที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ได้แก่ สร้างความตระหนักให้ครูและ ผู้บริหารเห็นความสาคัญของการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการ 41


เรียนการสอน สร้างเครือ ข่ายความร่วมมือภายในกลุ่ ม โรงเรียนหรือกลุ่มจังหวัดเพื่อจัดทาหลักสูตรที่บูรณาการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนการ สอน พั ฒ นาครู ใ ห้ สามารถสร้ างและพั ฒ นาเนื้ อ หาสื่ อ ดิจิทัล ปรับบทบาทของครูจากผู้สอนมาเป็นผู้แนะนาและ กระตุ้ น ให้ นั กเรี ย นสามารถเสาะแสวงหาความรู้ ด้ ว ย ตนเอง ระยะที่สาม คือ เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการกาหนดเนื้อหา หรือพัฒนาสื่อการเรียนรู้ร่วมกับครู พั ฒ นาระบบการติ ด ตามประเมิ น ผลที่ ส อดคล้ อ งกั บ กระบวนการเรี ย นการสอนที่ บู ร ณาการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร พัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้ เทคโนโลยีสารสนเทสและการสื่อสารในการเรียนรู้อย่าง มีคุณธรรมและจริยธรรม 6.2) เมื่อนาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมาจัดทา scatter diagramเพื่อ ใช้ ใ นการจั ดกลุ่ ม โรงเรี ย น เพื่ อ ดู ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาและความเท่ าเทียมด้าน การใช้ ไอซี ทีใ นโรงเรี ย น จาแนกตาม 4 องค์ป ระกอบ โดยพิจารณาจากจุดตัดของคะแนนเฉลี่ ย (X = 2.6) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.5)โดยใช้ ภาพรวม โรงเรียน (N =55)ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็น 4 ประเภทคือ 1) กลุ่มโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนการสอนอยู่ใ น ระดับดี (X > 2.6) และมีความเท่าเทียมภายในโรงเรียน ใกล้ เ คี ย งกั น (S.D.< 0.5) 2) กลุ่ ม โรงเรี ย นที่ มี ประสิทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี (X > 2.6) และ มีความเท่าเทียมภายในโรงเรียนแตกต่างกัน (S.D. > 0.5) 3) กลุ่มโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนการสอนอยู่ใ น ระดับ พอใจ (X < 2.6)และมี ค วามเท่ าเที ยมภายใน โรงเรียนใกล้เคียงกัน (S.D. < 0.5) 4) กลุ่มโรงเรียนที่มี ประสิทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใจ (X < 2.6) และมีความเท่าเทียมภายในโรงเรียนแตกต่างกัน (S.D. > 0.5) จากแนวคิดของการแบ่งกลุ่มโรงเรียนนี้ สามารถนามาใช้ ประโยชน์ ใ นการจั ด กิจ กรรม หรื อ จั ด ท านโยบายเพื่ อ ส่งเสริมศักยภาพให้โรงเรียนสามารถดาเนินการในแต่ละ

องค์ประกอบ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนที่มีอยู่ เช่น โรงเรี ย นที่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม ที่ 1 คื อ กลุ่ ม ที่ มี ค่ า เฉลี่ ย สู ง ใน องค์ ป ระกอบหลั ก ด้ า นบริ บ ท แต่ เ มื่ อ พิ จ ารณาจาก องค์ประกอบด้านอื่น อาจถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 หรื อ กลุ่ ม ที่ 4 ขึ้ น อยู่ กั บ การปฏิ บั ติ ต ามตั ว บ่ ง ชี้ ข องแต่ ล ะ โรงเรียน ดั ง นั้ น ในการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ โ รงเรี ย นแต่ ล ะ โรงเรี ย นมี ค วามเสมอภาคและมาตรฐานใกล้ เ คี ย งกัน นั้ น อาจจะไม่สามารถทาพร้อมกันภายในปีเดียวได้ แต่สามารถดู ได้จากองค์ประกอบแต่ละด้านว่าควรสนับสนุนโรงเรียนใน ด้ า นใดบ้ า ง เช่ น โรงเรี ย นที่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม ที่ 4 ของแต่ ล ะ องค์ประกอบ ควรได้รับการสนับสนุนก่อน ซึ่งใน 1 โรงไม่ จาเป็น ต้ อ งส่ ง เสริ ม ครบทั้ ง 4 องค์ ป ระกอบพร้ อ มๆ กัน กล่าวคือ ในแต่ละปีโรงเรียนได้รับการจัดสรรงบประมาณ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ด้ า นการใช้ ไ อซี ที ใ นการเรี ย นการสอน ซึ่ ง โรงเรี ย นสามารถน าข้ อ มู ล จากการจั ด กลุ่ ม โรงเรี ย นมา พิจารณาว่าควรจะพัฒนาโรงเรียนในด้านใดเป็นอันดับแรก 6.3) ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้ คือ 6.3.1 ควรมี การกาหนดนโยบายของการจัด การศึกษาเพื่ อ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ เรียนการสอนอย่างชัดเจนตั้งแต่ระดับชาติ ระดับกระทรวง เพื่ อ ให้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ และให้ โ รงเรี ย นตระหนั ก ถึ ง ความ จ าเป็ น ของการเตรี ย มผู้ เ รี ย นให้ มี ทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ ให้ ส ามารถน าไปพั ฒ นา ตนเอง และใช้ในการเรียนแสวงหาความรู้ต่อไป 6.3.2 หน่วยงานต้นสังกัดหรือเขตพื้นที่การศึกษาสามารถนา ตัวบ่งชี้ทั้ง 43 ตัว มาใช้ในการประเมินผลและติดตามการ ด าเนิ น งานของโรงเรี ย น ซึ่ ง สามารถแบ่ ง การพั ฒ นาและ สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม ได้ ต ามกลุ่ มโรงเรี ย นเช่ น โรงเรี ย นที่ มี ปัจจัยนาเข้าด้านโครงสร้างพื้นฐานต่า ก็ส่งเสริมในด้านปัจจัย นาเข้า หรือโรงเรียนที่มีปัญหาในเรื่องกระบวนการเรียนการ สอนด้วยเทคโนโลยีต่า ก็ควรได้รับการพัฒนาในด้านนี้ให้มี ประสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น หรื อ คั ด เลื อ กโรงเรี ย นโดยใช้ เ กณฑ์ เหล่านี้ในการประเมิน เพื่อสร้างเป็นแบบอย่างให้โรงเรียนได้ มีแนวทางในการพัฒนาต่อไป 6.3.3 ควรกระตุ้นให้ผู้บริหารและครูพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่ม สมรรถนะด้ า นการใช้ สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสารในการเรี ยนการสอน และปรับ เปลี่ ยนบทบาทจาก 42


ผู้สอน มาเป็นผู้ให้คาปรึกษาในการเรียนรู้ของนักเรียน เนื่องจากในปัจจุบันกระบวนการเรียนรู้สาคัญกว่าความรู้ เพราะนักเรียนแต่ละคนจะต้องมีวิธีการเรียนรู้ (learning how to learn) และรูปแบบการเรียนรู้ (learning style) ต่ า งกั น ในการเสาะแสวงหาความรู้ ต ามแนวทางที่ เหมาะสมกับตนเอง

นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู. วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2546). การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศและแผลการเตรียมรับของ ผู้บริหารโรงเรียนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของ ไทย ระหว่างปี พ.ศ.2545-2554. วิทยานิพนธ์ปริญญา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2555). เอกสารคาสอนวิชา 2726207เทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7) เอกสารอ้างอิง นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2538). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิง เส้น (LISREL).กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2541). สถิติการศึกษาและแนวโน้ม. เอกสารประกอบการสอนวิชาสถิติการศึกษาและ แนวโน้ม. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาวิจัย การศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรลสถิติวิเคราะห์ สาหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2545). การพัฒนาตัวบ่งชี้สาหรับการ ประเมินคุณภาพการบริหารและการจัดการเขต พื้นที่การศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ธารอักษร. นงลักษณ์ วิรัชชัย. (มปป.). การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง ปริมาณ: สถิติบรรยายและสถิติพาราเมตริก. ประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยหลักสูตรและการ เรียนการสอน. บัณฑิตศึกษา สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. (2551).การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. ปทีป เมธาคุณวุฒิ. (2545).การเรียนการสอนโดยใช้ กระบวนการวิจัย.ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ). การเรียนการสอนที่มีการวิจัยเป็น ฐาน. ศูนย์ตาราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประกอบ กรณีกิจ. (2550).การพัฒนารูปแบบแฟ้มสะสม งานอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การประเมินตนเองเพื่อ ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนิสิต

Barak, M. and Shachar, A. (2008). Projects in Technology Education and Fostering Learning: The potential and its realization.Journal of Science Education Technology. Publish online: March 6, 2008 California Emerging Technology Fund. California ICT Digital Literacy Assessments and Curriculum Framework. [Online] (2008). Available from: http://www.ictliteracy.info /rf.pdf/California%20ICT%20Assessments%2 0and%20Curriculum%20Framework.pdf. [2010, May 13]. Cliff Liao. CAI/CAL and Students' Achievement in Taiwan: A Meta-analysis. [Online] (2004). Available from: http://www.iste.org/content/navigationMenu/R esearch/NECC_ Research _ Paper_Archives /NECC_2004/Liao-Yuen-Kuang-NECC04.pdf. [2010, May 12] Communication Statistics Unit Institute for Statistics. ICTs and Education Indicators: (Suggested core indicators based on meta-analysis of selected International School Surveys). [Online] (2006). Available from: http://www.itu.int/ITU-D/ict/partnership /material/ICT_Education_Paper_Nov_2006.pd f. [2010, May 13]. Downes, T. (2003).Preservice teacher training and teacher professional development in the use of ICTs in the teaching of mathematics and science in participating SEAMEO countries.University of Western Sdyney. Educational Testing Service. Digital Transformation A Framework for ICT Literacy. [Online] (2002). Available from: http://www1.est.org/Media/Tests/information_ and_Communi cation_Technology_Literacy/ictreport.pdf. [2010, May 13]. ETS (2002).Digital transformation: A framework for ICT literacy. A report of International Informationand Communication Literacy Panel. USA: Educational Testing Service. 43


ETS (2003).Succeeding in the 21st century. What higher education must do to address the gap in informationand communication technology proficiencies.Assessing literacy for today and tomorrow. USA:Educational Testing Service. European Commission. Study on Indicators of ICT in Primary and Secondary Education (IIPSE). [Online] (2009). Available from http://ec.europa.eu/education/moreinformation/doc/ictindicsum_en.pdf. [2010, May 13]. Forster, P. A., Dawson, V. M., & Reid, D. (2005).Measuring preparedness to teach with ICT.AustralasianJournal of Educational Technology, 21(1), 1–18. Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., Anderson, R.E. & Andersen, R.E. (2010).Multivariate data analysis. 7th ed. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education, Inc. Holford, J. and Nicholls, G., (2001). The school in the age of learning. In: JARVIS, P., ed., The Age of Learning: Education and the knowledge society London: Kogan Page. 134-146 Johnstone J.N. (1981). Indicators of Education Systems. London: Ancher Press. Jonassen, D. & Reeves, T. (1996).Learning with technology: Using computers as cognitive tools. In D. Jonassen (Ed.), Handbook of Research Educational on Educational Communications and Technology (pp 693719). New York: Macmillan. Joreskog, K. and Sorbom D.(1996). Lisrel 8: User’s reference Guide. Chicago: Scientific Software International, Inc. Meng Hsiang-jen (2011) Rural teachers’ acceptance of interactive white board-based ICT in Taiwan.Global Journal of Engineering Education.Vol.13 November. Michko, G.M. (2008). Meta-Analysis of Effectiveness of Technology Use in Undergraduate Engineering Education.38th ASEE/IEEE Frontiers in Education Conference. Saratoga Springs, NY. O’Connor B. et al. (2002).Digital Transformation – A Framework for ICT Literacy.Educational Testing Service.online at http://www.ets.org/research/ictliteracy. Oliver, R. and Towers, S. (2000). Benchmarking ICT literacy in tertiary learning settings.In R. Sims, M. O’Reilly & S. Sawkins (Eds).Learning to choose: Choosing to learn. Proceedings of the 17th Annual ASCILITE Conference. (pp 381-390). Lismore, NSW: Southern Cross University Press. Pelgrum W.J. and Voogt J. (2009).School and teacher factors associated with frequency of ICT use by mathematics teacher: Country comparisons.Education and Information

Technology.Springer. Published online : June 23, 2009. Polmp, T., Pelgrum W.J. and Law, N. (2007).International comparative survey of pedagogical practices and ICT in Education.Education and Information Technology. March Law, N., Pelgrum, W.J. and Polmp T. Pedagogy and ICT Use in Schools Around the World Findings from the IEA Sites 2006 Study. Comparative Education Research Centre, The University of Hong Kong. SPSS, Inc. (1998). SPSS Base 8.0 for Windows User’s Guide. Chicago: SPSS, Inc. UNESCO Bangkok Asia and Pacific Regional Bureau for Education. Strategy framework for promoting ICT literacy in the Asia-Pacific region. [Online] (2008). Available from http://www2.unescobkk.org/elib /publications/188/promotingICT_literacy.pdf UNESCO. Indicators of ICT usage in Education. [Online] (2005). Available from online at http://www.itu.int/ITUD/ict/partnership/material/CoreICTIndicators.p df. [2010, May 13]. Voogt J. (2009). How different are ICT-supported pedagogical practices from extensive and nonextensive ICT-using science teacher?.Education and Information Technologies.Published online: May 21, 2009.Chandrara, C. (2007). u-Learning in Thai Society. u-Learning Research. 22, 2, 256-299.

44


สิ่งพิมพ์ดิจิทัลสำหรับผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต Digital Publishing for Net-Generation Learners จินตวีร์ คล้ายสังข์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย jintavee.m@chula.ac.th

บทความเรื่องสิ่งพิมพ์ดิจิทัลสาหรับผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต นี้ เขี ย นขึ้ น เพื่ อ น าเสนอกรอบแนวคิ ด ของนั ก เทคโนโลยี การศึ ก ษาในมุ ม มองของการประยุ ก ต์ ใ ช้ สิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล สาหรับผู้ เรียนยุ คอินเทอร์เน็ต ในการเรียนการสอน โดย บทความนี้จะนาเสนอหัวข้อหลัก ๆ ได้แก่ (1) แนวคิดของ สิ่งพิมพ์ดิจิทัล (2) ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัลในบริบท ของการศึกษา (3) การออกแบบ พัฒนา และใช้สิ่งพิม พ์ ดิจิทัลสาหรับการเรียนการสอน (4) การแนะนาโปรแกรม ประยุกต์สาหรับการพัฒนาสิ่งพิมพ์ดิจิทัลโดยเน้นที่จุ ดเด่น และข้อ จากัด ของแต่ละโปรแกรม และ (5) ประเด็นและ แนวโน้มการใช้สิ่งพิมพ์ดิจิทัลสาหรับการศึกษา

ABSTRACT In responding to the urgent policy, “Thailand’s One Tablet Per Child (OTPC) project”, to be implemented in the first year of its administration, Thai government plans to distribute tablets to all first graders in the first semester of academic year 2012. Thus for, the effective design and development of curriculum, content, and learning activities appropriate to the use of tablet as a core media become significance in order to enhance learning efficiency of learners from basic education through higher education. This article entitled “Digital Publishing for NetGeneration Learners” aims to present framework of the effective use of digital publishing for netgeneration learners in education context from the educational technologist’s viewpoint. The article proposes the topics as follows: (1) concept of digital publishing, (2) types of digital publishing in education context, (3) effective design, development, and use of digital publishing for instruction, (4) overview of software applications for development digital publishing emphasizing on strength and limitation of each, and (5) issues and trends of digital publishing in education.

คำสำคัญ : สิ่งพิมพ์ดิจิทัล , ผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต , แท็บเล็ต

1) แนวคิดของสิ่งพิมพ์ดิจิทัล สิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล คื อ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ อ อกแบบและพั ฒ นาด้ ว ย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เสริมต่างๆ อันจะส่งผล ให้ ผ ลงานอยู่ ใ นรู ป แบบดิ จิ ทั ล ที่ ส ามารถใช้ ง านร่ ว มกั บ อุ ป กรณ์ เ ทคโนโลยี ต่ า งๆ ในปั จ จุ บั น ได้ ไม่ ว่ า จะเป็ น คอมพิวเตอร์ เน็ตบุ๊ค แท็บเล็ต ตลอดจนสมาร์ทโฟนต่างๆ ได้ เป็นอย่างดี ทั้งนี้แนวคิดของสิ่งพิมพ์ดิจิทัลนั้นอาจกล่าวย้อน ไปถึงวิวัฒนาการของสื่อสิ่งพิมพ์ โดยเฉพาะในวงการศึกษา (Educational Desktop publishing: ED DTP) ที่แต่เดิมเป็น การผลิตจากฝีมือการวาด เขียน ตัด ตลอดจนการใช้เทคนิค พิเศษต่างๆ มาจนถึงช่วงที่เรามีอุปกรณ์เสริม คือ โปรแกรม คอมพิวเตอร์แอพลิเคชั่นต่างๆ (editing tools เช่น Adobe Photoshop และAdobe IIIustrator) ที่เข้ามาช่วยร่างภาพ ตกแต่งภาพ ปรับสี ปรับพื้นผิว เพื่อให้สามารถผลิตงานสื่อ สิ่ง พิ ม พ์ ไ ด้ ป ราณี ต งดงาม และมี ลู กเล่ น มากยิ่ ง ขึ้ น จนถึ ง โปรแกรมจัดเรียงหน้า (เช่น Adobe InDesign) ที่จะช่วยส่ง งานเข้าสู่กระบวนการพิมพ์เพื่อเผยแพร่ต่ อไป อย่างไรก็ตาม

Keywords : digital publishing , net-generation learners , tablet

บทคัดย่อ เพื่ อ เป็ น การตอบรั บ กั บ นโยบายเร่ ง ด่ ว นที่ ไ ด้ เ ริ่ ม ดาเนินการในปีแรกของรัฐบาล โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อ การศึ ก ษาไทย ในการจั ด หาเครื่ อ งแท็ บ แล็ ต ให้ แ ก่ โรงเรี ย นโดยเริ่ ม ทดลองในโรงเรี ย นน าร่ อ งระดั บ ชั้ น ประถมปีที่ 1 ปีการศึกษา พ.ศ. 2555 นั้น การออกแบบ และพัฒนาหลักสูตร เนื้อหา ตลอดจนการจัดกิจกรรมโดย ใช้แท็บแล็ตเป็นสื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะ ส่งผลต่อประสิทธิผลทางการเรียนที่สูงขึ้นของผู้เรียนทั้ง ในระดับการศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนระดับอุดมศึกษา จึงมีความสาคัญยิ่ง

53


ด้วยความก้าวล้าทางเทคโนโลยีในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา กอร์ ป กั บ ในปั จ จุ บั น ที่ แ หล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ มั ก อยู่ ใ น รูปแบบดิจิทัล ทาให้วงการสื่อสิ่งพิมพ์ดังกล่าว ได้ปรับ รูป แบบสู่ สื่อ สิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล มากยิ่ ง ขึ้ น โดยถ้ ากล่ าวถึ ง ความหมายของสิ่งพิมพ์ดิจิทัล (Digital Publishing) ใน มุมมองของการศึกษาที่เอื้อประโยชน์คือ สามารถพิมพ์ หนังสือได้รวดเร็ว อีกทั้งยังลดกระบวนการขั้นตอนการ พิ ม พ์ ดั ง ที่ เ ห็ น ตามโฆษณาทั่ ว ไปว่ า ถ้ า ท่ า นต้ อ งการ หนังสือแค่เพียง 1 เล่ม ก็พิมพ์ได้ นอกจากนี้ ยังพบว่า โปรแกรมจั ดเรียงหน้ าต่างๆ นั้น เริ่มสนับ สนุ นการส่ ง งานออกในรูปแบบของไฟล์ E.PUB ซึ่งเป็นมาตรฐาน ของ E-Book มากยิ่งขึ้น ด้วยปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อ จึงส่งเสริม ให้ ทิ ศ ทางการพิ ม พ์ ห นั ง สื อ ในปั จ จุ บั น จะเห็ น ได้ ว่ า หลายส านั ก พิ ม พ์ ไ ด้ มี แ นวทางการจั ด ท าหนั ง สื อ อิเล็กทรอนิกส์ เสนอใน 2 รูปแบบ คือ แบบสิ่งพิม พ์ ดั้งเดิม (Hardcopy) และสิ่งพิมพ์ดิจิทัล (Digital Book) ที่ เน้นในเรื่องของกราฟิก แอนิเมชั น ตลอดจนปฎิสัมพันธ์ ต่างๆ ที่จะเข้ามาเป็นจุดเด่นของอีบุ๊คได้มากยิ่งขึ้น

ภำพที่ 1 : ตัวอย่าง E-Book : Issuu (http://issuu.com) เสิร์ชหาคาว่า tcu design elrn website หรือ URL: http://issuu.com/jinmonsakul/docs/tcu_design_elrn_website

สาหรับในมุมมองของการใช้งานสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัลนั้น เนื่องจากผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต มีศักยภาพในการเรียนรู้ที่ จะใช้ เทคโนโลยีพ กพา ไม่ ว่าจะเป็ น อุ ปกรณ์เ คลื่อนที่ หรืออุ ปกรณ์ แท็บเล็ต ต่างๆ แต่ความพร้อ มอาจต่างกัน ตัวอย่างการเผยแพร่ที่พบเห็นอยู่บ่อยๆ เช่น Issuu ซึ่ง สามารถแปลงไฟล์ word, pdf, และ ppt ให้อยู่ในรูปแบบ อี บุ๊ ค ได้ และของไทย เช่ น iLovelibrary และ Flipbooksoft ซึ่งล้วนมีคุณลักษณะเหมือนกันคือ จะมี หน้าห้องสมุด (Library) หน้าชั้นวางหนังสือส่วนตัว การ เลื อ กอั พ โหลด การดาวน์ โ หลดหนั ง สื อ และตั ว เลื อ ก สาหรับอ่านหนังสือ และในทุกโปรแกรมมักจะรองรับ การนาอีบุ๊ คไปใช้ ร่วมกับโซเชี ยลมีเ ดีย ต่างๆ ด้วย เช่ น Facebook และ Twitter เป็นต้น

ภำพที่ 2 : ตัวอย่าง E-Book : Flipbooksoft (http://www.flipbooksoft.com) เสิร์ชหาคาว่า การ ออกแบบเว็บไซต์

ภำพที่ 3 : ตัวอย่างการผสานอีบุ๊คร่วมกับโซเชียลมีเดีย ด้วยการฝังอีบุ๊คไว้ที่ Facebook Page (http://facebook.com/jin.learning.community) 54


เข้ า ใจ และสามารถเลื อ กเรี ย นได้ ต ามเวลาและสถานที่ ที่ ตนเองสะดวก ช่ วยให้การเรี ยนมีประสิ ทธิ ภาพในแง่ ที่ล ด เวลาลดค่าใช้จ่าย สนองความต้องการและความสามารถของ บุคคล มีประสิทธิผลในแง่ที่ทา ให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมาย นอกจากนี้ ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนหัวข้อที่สนใจข้อใดก่อน ก็ได้ และสามารถย้อนกลับไปกลับมาในเอกสาร หรือกลับมา เริ่มต้นที่จุดเริ่มต้นใหม่ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว

2) ประเภทของสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทัล ในบริบ ทของ กำรศึกษำ เมื่ อ พู ด ถึ ง สิ่ ง พิ ม พ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ เ น้ น บริ บ ทของ การศึ กษ า คง หนี ไม่ พ้ น ห นั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทร อนิ กส์ (Electronic Book หรือ E-Book) เนื่องจากหนังสือกับการ เรียนการสอนนั้น ถือเป็นสื่อการเรียนการสอนที่สาคัญ ตลอดมา จวบจนเมื่ อ เข้ า สู่ สัง คมแห่ ง เทคโนโลยี แ ละ สื่อสารการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆ ทาให้ลักษณะการเรียนรู้ เปลี่ยนไป ผู้เรียนลดความสนใจในการเรียนรู้จากหนังสือ เพราะมีแต่ เพียงตัวอั กษรและภาพนิ่ง สื่อมั ลติมีเดียที่ มี สีสัน สามารถบรรจุได้ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน์ ตลอดจนแอนิเมชันต่างๆ เข้ามาแทนที่ และ สามารถเพิ่มแรงกระตุ้นในการเรียนรู้ และตอบสนองกับ ความต้องการของผู้เรียนได้ดี นามาสู่แนวคิดของหนังสือ ในรู ป แบบของสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส์ ห รื อ อี บุ๊ ค ด้ ว ย คุณสมบัติเด่นที่ผู้เรียนสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ในทุกที่ ไม่ ว่าที่แห่งนั้นจะมีอินเตอร์เน็ตหรือไม่ก็ตาม และรวมกับ การผสมผสานลักษณะเด่นของหนังสือ ไม่ว่าจะเป็นใน เรื่องของสารบัญ (Table of Content) ดัชนีศัพท์ (Index) และการคั่ น หน้ าหนั ง สื อ (Bookmarking) ผนวกกั บ คุณสมบัติเด่นของเทคโนโลยีมัลติมีเดียต่างๆ อันได้แก่ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน์ เข้าด้วยกัน จึง อาจกล่าวได้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งเสริม การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอีบุ๊ค สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภทหลักๆ (จินตวีร์ คล้ายสังข์, 2555) ได้แก่

ภำพที่ 4 : ตัวอย่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเน้นข้อความ 2.2) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบมัลติมีเดีย (Multimedia EBook) อีบุ๊ ค ประเภทนี้ จ ะเน้ น ที่ก ารใช้ คุ ณสมบั ติ ของสื่ อ มัลติมีเดีย ที่ประกอบไปด้วยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ เสีย ง ตลอดจนแอนิเ มชั นต่างๆ เพื่ อช่ วยให้ผู้ เรี ยนเกิด การ เรียนรู้ อีกทั้งยังสามารถปรับเปลี่ยน แก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลได้ ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทาให้สามารถปรับปรุงบทเรียนให้ ทันสมัยกับเหตุการณ์ได้เป็นอย่างดี

ภำพที่ 5 : หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบมัลติมเี ดีย ในรูปแบบวิดีโอ

2.1) หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบเน้ น ข้ อ ความ (TextBased E-Book) อีบุ๊คประเภทนี้มักจะคงรูปแบบของ หนังสือแบบดั้งเดิม คือประกอบด้วยข้อความและภาพ แต่ไ ด้ดั ดแปลงให้อยู่ ในรูป แบบอิ เล็กทรอนิ กส์ เพื่ อให้ สะดวกต่อการเข้าถึง และความยืดหยุ่นของการใช้งาน ของผู้เรียน อีกทั้งยังเป็นการแปลงหนังสือจากสภาพสื่อ (Desktop Publishing : DTP) ปกติเป็นสัญญาณดิจิตอลทา ให้เพิ่มศักยภาพการนาเสนอ ไม่ว่าจะเป็น การคั่นหน้า หนั ง สื อ การสื บ ค้ น และการคั ด เลื อ ก เป็ น ต้ น ช่ วยให้ ผู้ เ รี ย นสามารถย้ อ นกลั บ เพื่ อ ทบทวนบทเรี ย นหากไม่

2.3) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive EBook) อีบุ๊คประเภทนี้จะเน้น ที่คุณสมบัติของปฏิสัมพันธ์ ระหว่างเอกสารและผู้เรี ยนเพื่อช่ วยให้เกิดการเรี ยนรู้ โดย เอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้มีวิธีเก็บในลักษณะพิเศษ นั่น คือ จากไฟล์ข้อมูลหนึ่งผู้อ่านสามารถเรียกดูข้อมูลอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องได้ทันที หากข้อมูลที่กล่าวมานี้เป็นข้อความที่เป็น ตัวอักษร สามารถเรียกการเชื่อมโยงลักษณะนี้ว่า ข้อความ หลายมิติ (Hypertext) และหากข้อมูลนั้นรวมถึงการเชื่อมโยง 55


กับเสียงและภาพเคลื่อนไหวด้วย จะเรียกการเชื่อมโยง ลักษณะนี้ว่า สื่อประสมหรือสื่อหลายมิติ (Hypermedia)

สาธารณะที่มีอยู่แล้วมาเผยแพร่ผ่านกระบวนการสาธารณะ เช่น ตัวอย่างอีบุ๊คจากมูลนิธิ CK-12 ที่เป็นแหล่งทรัพยากรที่ ไม่มีลิขสิทธิ์

ภำพที่ 6 : หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบปฏิสัมพันธ์ โดยผ่านทางข้อความในหน้าดัชนีศัพท์ (Index)

ภำพที่ 8 : แสดงตัวอย่างอีบุ๊คจากแหล่งทรัพยากร ที่ไม่มีลิขสิทธิ์จากมูลนิธิ CK-12

2.4) หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบเน้ น แหล่ ง ข้ อ มู ล (Resource-Based E-Book) อีบุ๊คประเภทนี้จะเน้น ที่ คุณสมบัติของการรวบรวมและเชื่อมโยงสู่แหล่งข้อมูล ต่างๆ ในเครือข่ายเวิล์ด ไวด์ เว็บ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน กับเรื่องที่กาลังศึกษาจากแหล่งข้อมูลอื่นๆ ที่เชื่อมโยงอยู่ ได้อย่างไม่จากัด เสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้มีเหตุผลและ มีการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เพราะการโต้ตอบกับ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ผู้ เ รี ย นจะต้ อ งด าเนิ น การอย่ า งมี ขั้นตอน มีระเบียบ และมีเหตุผล ถือเป็นการฝึกลักษณะ นิสัยการเรียนที่ดีให้กับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี

3) กำรออกแบบ พัฒนำ และใช้สิ่งพิมพ์ดิจิทัลสำหรับ กำรเรียนกำรสอน เมื่อมองในมุมของการเอื้อต่อการเรียนรู้ การเปรียบเทียบสื่อ สิงพิมพ์และสิ่งพิมพ์ดิจิทัล นั้น ในทัศนะของนักเทคโนโลยี การศึกษา จะเห็นว่าสิ่งพิมพ์ดิจิทัลนั้นจะสามารถตอบโจทย์ การเรียนรู้ในปัจจุบันที่เน้น ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง (Constructivism) ผ่ านสัง คมแห่ ง การแลกเปลี่ ย น เรี ย นรู้ ตอบโจทย์ ท ฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ก ลุ่ ม คอนเน็ ค ติ วิ ส ท์ (Connectivism) ที่เชื่อว่าการเรียนรู้ประกอบด้วยการเชื่อมโยง กันของคนในสังคม แหล่งข้อ มูลผ่านเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่ ง นาไปสู่การเชื่อมโยงความรู้ของแต่ละบุคคล (Knowledge is patterns of connections) อีกทั้งยังตอบโจทย์วิถีการดาเนิน ชีวิตของผู้เรียนยุคดิจิทัล (Digital Learners) ยุคอินเทอร์เน็ต (Internet Learners) ยุคเจนเนอเรชันวาย (Generation Y) หรือ คนยุคศตวรรตใหม่ (Millennial Generation เกิดในช่วงปี 1982) ที่เกิดมาด้วยความคุ้นเคยกับเทคโนโลยีดิจิทัลและมี ความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ได้อย่างดีเยี่ยมอีกด้วย อีกทั้ง ข้อมูลสนับสนุนจาก David Wiley ได้ระบุไว้ว่า ตารา เรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบเปิดเผยรหัส จะสามารถปรับเปลี่ยน เพิ่มข้อมูลให้ทันสมัยได้ง่าย ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่โดดเด่นจาก หนังสือเรียนปรกติ นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถมีปฏิสัมพันธ์ ถามคาถาม สืบค้นแห่งข้อมูลต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อีกทั้งยังสามารถปรับเหมาะกับผู้เรียนในแต่ละบริบท แทนที่ จะใช้หนังสือเรียนที่ผลิตเพื่อใช้กับผู้เรียนทั้งประเทศ (The Salt Lake Tribune, 2012) โดยในการออกแบบและพัฒนา

ภำพที่ 7 : หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเน้นแหล่งข้อมูล ในที่นเี้ ป็นการเชื่อมโยงข้อมูลไปยังเว็บไซต์ www.youtube.com และด้วยแนวโน้มของความรู้สาธารณะ ผู้เขียนจึงขอเพิ่ม ประเภทหนั งสือ อิเล็กทรอนิกส์ อี ก 1 ประเภท ได้แ ก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเปิด (Open E-Book) ที่เน้น การใช้ แ หล่ ง ทรั พ ยากรแบบเปิ ด (Open Educational Resource : OER) เช่น การที่ผู้สอนเขียนหรือนาข้อมูล 56


สิ่งพิมพ์ดิจิทัลนั้น อาจมีหลายแนวทาง ได้แก่ (1) ครูใช้ แหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว ในรู ป แบบสิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล (2) ผู้ ส อนจั ด ท าเองผ่ า นเว็ บ แอพพลิ เ คชั น ที่ เ อื้ อ ต่ อ การ เชื่อมโยงกับเครือข่ายโซเชียลมีเดีย และ (3) ผู้สอนจัดทา เองในรูปแบบออฟไลน์ เนื่องจากข้อจากัดในเรื่องของ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์พื้นฐานต่างๆ โดยมี รายละเอียด เกี่ยวกับโปรแกรมต่างๆ ในการดาเนินงาน ดังนี้

สามารถเพิ่มกราฟิก แอนิเมชั่น วีดิโอ ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ ต่างๆ ได้ตามที่ผู้สอนต้องการ ข้อจำกัด : ผู้สอนต้องมีความรู้พื้นฐานในการออกแบบและ พัฒนาอี บุ๊คไม่ว่าจะเป็ นโปรแกรมในลักษณะ commercial software หรือ freeware ก็ตาม โปรแกรม/เว็บไซต์ที่เสนอแนะ : Desktop Author, Flipping Book, Flip Album, HelpNDoc, และ Calibre

3.1) แนวทางการใช้สิ่งพิมพ์ดิจิทัลที่ 1 : ครูใช้สิ่งพิมพ์ ดิจิทัลที่มีอยู่แล้ว จุดเด่น : ข้อมูลมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ และ เนื่องจากจากการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ ครูจึงต้อง ปรั บ เปลี่ ย นเนื อ้ ห า กิ จ กรรม ให้ เ ข้ า กั บ เนื อ้ ห าที่ แปรเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ข้อจำกัด : OER มีข้อจากัดเรื่องภาษา ที่เนื้อหาและข้อมูล ส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปของภาษาอังกฤษ โปรแกรม/เว็บไซต์ที่เสนอแนะ : CK 12 (http://www.ck12.org/flexbook) TCU Globe (http://globe.thaicyberu.go.th) MERLOT (http://www.merlot.org) MIT Open Courseware (http://ocw.mit.edu)

เมื่ อ พิ จ ารณาในมุ ม มองของจุ ด เด่ น ของสิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล ที่ สอดคล้องกับศาสตร์การสอน (Pedagogy) แล้ว จึงขอเสนอ แนวทางการจัดการเรียนการสอนตามศาสตร์การสอนต่างๆ ด้ ว ยการพิ จ ารณาจุ ด เด่ น ของสิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ สร้ า ง คุณสมบัติต่างๆ ให้กับผู้เรียน รายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.4) จุดเด่นของสิ่งพิมพ์ดิจิทั ลที่ 1 : Hyperlink-based References สอดคล้องกับศำสตร์กำรสอนอะไร : การเรียนแบบสืบสอบ เสริมสร้ำงคุณสมบัติใดแก่ผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต : การใฝ่รู้ 3.5) จุดเด่นของสิ่งพิมพ์ดิจิทัลที่ 2 : Social Bookmarking สอดคล้ อ งกั บ ศำสตร์ ก ำรสอนอะไร : ทฤษฎี Social Constructivism เสริมสร้ำงคุณสมบัติใดแก่ผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต : การสร้าง ความรู้ด้วยตนเองผ่านการเข้าร่วมในสังคมแห่งการเรียนรู้

3.2) แนวทางการใช้สิ่งพิมพ์ดิจิทัลที่ 2 : ผู้สอนจัดทาเองz ผ่านเว็บแอพพลิเคชัน จุดเด่น : สามารถเผยแพร่ แพร่กระจายข่าวสารได้อย่าง รวดเร็วผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ต่างๆ ข้อจำกัด : แหล่งข้อมูลต่างๆ อยู่ในรูปแบบของ cloud computing ทาให้หาร่องรอย สารสนเทศ จากข้อมูลนั้นๆ ได้ยาก และอาจถูกล่วงละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่าย โปรแกรม/เว็บไซต์ที่เสนอแนะ : issuu (http://issuu.com) flipbooksoft (http://www.flipbooksoft.com)

3.6) จุดเด่นของสิ่งพิมพ์ดิจิทัลที่ 3 : Table of Content และ Index สอดคล้องกับ ศำสตร์กำรสอนอะไร : ทฤษฎี Cognitive Constructivism เสริมสร้ำงคุณสมบัติใดแก่ผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ต : การสร้าง ความรู้จากการปรับโครงสร้างทางปัญญาเมื่อได้เรียนรู้ผ่าน ข้อมูลที่มีการนาเสนออย่างเป็นระบบระเบียบ

3.3) แนวทางการใช้สิ่งพิมพ์ดิจิทัลที่ 3 : ผู้สอนจัดทาเอง ในรูปแบบออฟไลน์ จุดเด่น : สามารถเผยแพร่ที่ต้องการได้อย่างครบถ้วนและ

3.7) จุดเด่นของสิ่งพิมพ์ดิจิทลั ที่ 4 : Multimedia Contents สอดคล้องกับศำสตร์กำรสอนอะไร : แนวคิดการเรียนรู้ ผ่านมัลติมีเดีย (Multimedia Learning) ได้แก่ ภาพ วิดีโอ 57


เสริมข้อความ และการบรรยาย (narration) ด้วยเสียง พากษ์ เสริ ม สร้ ำ งคุ ณ สมบั ติ ใ ดแก่ ผู้เรี ย นยุ ค อิ น เทอร์ เน็ ต : ผลสัมฤทธิ์ และความคงทนในการเรียน

ข้อจำกัด : 1. โปรแกรมนี้คือไฟล์ชิ้นงานที่นามาใช้จะต้องเป็นไฟล์ PDF เท่านั้น 2. โปรแกรมนี้ยั งไม่ สามารถใส่ คลิป วิดีโ อในอีบุ๊ค ได้ (ใน เวอร์ชันล่าสุด ได้แก้ไขข้อจากัดดังกล่าวแล้ว)

4) กำรแนะน ำโปรแกรมประยุ ก ต์ ส ำหรั บ กำร พั ฒ นำสิ่ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล โดยเน้ น ที่ จุ ด เด่ น และ ข้อจำกัดของแต่ละโปรแกรม

โปรแกรม 3 : Flip Album จุดเด่น : 1. โปรแกรมนี้จะมีรูปแบบจะเหมือนกับเราอ่านหนังสื อ กล่าวคือจะมีหน้าปก สารบัญเรื่อง สารบัญรูป ดัชนีท้ายเล่ม ปกหลัง และความสามารถอื่นๆ อีกมากมาย เช่น การทาที่คั่น หนังสือ (Bookmark) หรือการตกแต่งภาพ 2. สามารถท าได้ง่ ายและให้ ผ ลงานที่ สวยงามโดยเน้ น ที่ มัลติมีเดียต่างๆ 3. สามารถนาเสนอได้ทั้งแบบออฟไลน์ด้วยความสามารถ AutoRun อัตโนมัติ และออนไลน์ผ่านโปรแกรมแสดงผล เฉพาะ Flip Viewer ซึ่งมีแฟ้มนามสกุลเป็น .opf ข้อจำกัด : 1. ต้องเตรียมข้อมูลในรูปเเบบที่หลากหลายให้พร้อม ไม่ว่า จะเป็นข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่ นไหว ไฟล์วิดีโอ เเละไฟล์ เสียง 2. โปรแกรมจะไม่สามารถตกแต่งรูปภาพวิดีโอ หรือเสียงได้ ดังนั้นต้องเตรียมไฟล์ให้พร้อมก่อนจัดทา

การแนะนาโปรแกรมประยุ กต์ฯ นี้จะขอนาเสนอใน 3 รูปแบบหลักๆ ได้แก่ (1) โปรแกรมแบบมีลิขสิทธิ์ (2) โปรแกรมแบบไม่มีลิขสิทธิ์ และ (3) โปรแกรมที่ทางาน ผ่านเว็บไซต์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 4.1) รูปแบบที่ 1 : โปรแกรมแบบมีลิขสิทธิ์ (License/ Commercial Software) โปรแกรม 1 : Desktop Author จุดเด่น : 1. โปรแกรมสร้างอีบุ๊ค สาเร็จรูปที่ไฟล์มีขนาดเล็กจึง สะดวกในการดาวน์โหลดและส่งข้อมูล 2. สามารถสั่ ง พิ มพ์ ห น้ าแต่ ละหน้ าหรื อทั้ ง หมดของ หนังสือได้ 3. ผลงานเป็นได้ทั้งสื่อ ออฟไลน์ ในรูปแบบไฟล์ .exe หรือสื่อออนไลน์ในรูปแบบไฟล์ .html + .dnl ที่มีขนาด เล็กเหมาะสาหรับการนาเสนอผ่านเว็บไซต์ ข้อจำกัด : เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะเปิดดูจาเป็นต้องติดตั้ ง DNL Reader ก่อนจึงจะเปิดแสดงผลงานได้

4.2) รูปแบบที่ 2 : โปรแกรมแบบไม่มีลิขสิทธิ์ (Open Source /Free Software) โปรแกรม 1 : HelpNDoc จุดเด่น : 1. ใช้งานง่ายและมีประสิทธิภาพในการสร้างอีบุ๊คในรูปแบบ เว็บไซต์ โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยโปรแกรมอื่นช่วยสร้าง 2. สามารถบันทึกเป็นไฟล์ .PDF, .DOC, .HTML ได้พร้อม กันในทันที ข้อจำกัด : เนื่องจากโปรแกรมถูกออกแบบมาเพื่อสาหรับเว็บไซต์เป็น หลัก รูปร่างหน้าตาของโปรแกรมจึงเรียบง่ายและไม่มีลูกเล่น ที่ดึงดูดใจเมื่อเทียบกับโปรแกรมสร้างอีบุ๊คอื่นๆ

โปรแกรม 2 : Flipping Book จุดเด่น : 1. โปรแกรมอีบุ๊คสาเร็จรูป ที่สามารถใช้งานได้ง่าย โดย การจั ด การเนื้ อ หาอี บุ๊ ค ที่ ต้ อ งการและบั น ทึ ก เป็ น ไฟล์ PDF 2. โปรแกรมออกแบบมาให้ใช้งานง่าย รูปแบบชิ้นงานมี ลูกเล่นที่สวยงาม อีกทั้งยังสามารถใส่เพลงแบคกราวนด์ เพื่อเพิ่มอรรถรสในการชมอีบุ๊คได้ 58


4. สามารถเผยแพร่อีบุ๊คที่สร้างเสร็จแล้วไปยังกลุ่มเพื่อนและ ผู้อื่นผ่านทางเว็บไซต์โซเชียลมีเดียต่างๆ อย่างเช่น Facebook และ Twitter หรือจะนาโค้ดฝังไว้ในเว็บไซต์หรือเว็บบล็อก ของตนเองก็ได้ ข้อจำกัด : อีบุ๊คอยู่ในรูปแบบของ cloud computing ทาให้หาร่องรอย สารสนเทศ จากข้อมูลนั้นๆ ได้ยาก และอาจถูกล่วงละเมิด ลิขสิทธิ์ได้ง่าย

โปรแกรม 2 : Calibre จุดเด่น : 1. ใช้งานง่ายโดยสามารถแปลงไฟล์ .PDF เป็น .E-PUB ได้ 2. สามารถสร้ างอี บุ๊ ค ได้ ทั้ ง บน Apple และ Android Devices ได้ 3. ตั วหนั ง สื อจะปรั บ ขนาดการแสดงผลให้ พ อดี กับ หน้าจอ (reflow) ข้อจำกัด : 1. ไม่สามารถใส่คลิปวิดีโอเหมือนอีบุ๊คอื่นๆได้ สามารถ ใส่ได้แค่ภาพกับอักษรอย่างเดียว 2. รู ป ในหนั ง สื อ จะไม่ เ ต็ ม หน้ า เพราะโดนครอบด้ วย กรอบของโปรแกรม

โปรแกรม 3 : Issuu จุดเด่น : 1. สามารถป้องกันการคัดลอกผลงานแบบ copy ได้ 2. มีรูปแบบและให้อรรถรสเหมือนอ่านหนังสือจริง 3. สามารถโหลดอีบุ๊คได้เร็ว ด้วยเทคนิคการโหลดทีละ 1 หน้า โดยถ้าในหน้านั้นมีรูปน้อยเท่าไหร่ จะสามารถโหลดได้ เร็วเท่านั้น 4. สามารถจัดรูปแบบหน้าในโปรแกรมเวิร์ด ทาให้หมด ปัญหาการจัดหน้า เช่น การเว้นวรรคไม่เท่ากัน 5. สามารถใส่เพลงได้ และใส่ลิ้งค์ไปเพจอื่นได้ 6. อีบุ๊คจะถูกจัดเก็บไว้ที่เว็บไซต์ของ Issuu ทาให้ไม่ต้อง กังวล เรื่องการเข้าถึงข้อมูล ถึงแม้เว็บส่วนตัวของเรามีปัญหา ก็ยังสามารถเข้าถึงอีบุ๊คดังกล่าวได้ ข้อจำกัด : 1. ไฟล์ที่จะอัปโหลดต้องเป็นไฟล์ .PDF เท่านั้น 2. อีบุ๊คอยู่ในรูปแบบของ cloud computing ทาให้หาร่องรอย สารสนเทศจากข้อมูล นั้นๆ ได้ยาก และอาจถูกล่วงละเมิ ด ลิขสิทธิ์ได้ง่าย

4.3) รูปแบบที่ 3 : โปรแกรมที่ทางานผ่านเว็บไซต์ (Web Application) โปรแกรม 1 : I Love Library จุดเด่น : 1. สามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย 2. โปรแกรมใช้งานง่ายและสะดวก 3. อีบุ๊คจะถูกจัดเก็บไว้ที่เว็บไซต์ I Love Library ทาให้ ไม่ต้องกังวลเรื่องการเข้าถึงข้อมูล ถึงแม้เว็บส่วนตัวของ เรามีปัญหา ก็ยังสามารถเข้าถึงอีบุ๊คดังกล่าวได้ ข้อจำกัด : เมื่อเราจัดทาอีบุ๊คออกมาแล้วต้องดาวน์โหลดโปรแกรมนี้ ผ่ านเครื อ ข่ ายชุ ม ชนออนไลน์ ข อง I Love Library (www.ilovelibrary.com) ก่อน หลังจากนั้นจึงจะสามารถ ดาวน์โหลดอีบุ๊คมาเก็บไว้ในเครื่องได้

(5) ประเด็นและแนวโน้มกำรใช้สิ่งพิมพ์ดิจิทัลสำหรับ กำรศึกษำ

โปรแกรม 2 : Flipbook จุดเด่น : 1. สามารถจัดทาอีบุ๊คออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ได้ 2. ไม่เสียค่าใช้จ่าย เพียงแค่เตรียมไฟล์ที่ต้องการสร้างเป็น อีบุ๊คให้อยู่ในรูปแบบไฟล์ PDF แล้วนามาอัพโหลดผ่าน เว็บไซต์ Flipbook เท่านั้น 3. มีขั้นตอนการใช้งานที่ไม่ยุ่งยาก

ในหลายๆ องค์กรทางการศึกษาได้ตอบรับกับแนวคิดนี้ ดัง ตัวอย่างเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกามีนโยบายที่จะใช้ตารา เรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-textbook) เพื่อเชื่อมโยงผู้เรียนทั่ว ประเทศภายในปี 2017 ดังนั้น รัฐ Utah จึงได้ประกาศให้ โรงเรียนต่างๆ เริ่มใช้ ตาราเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบเปิดเผย รหัส (open-source, digital textbooks) ในปลายปีนี้ (Fall 2012) David Wiley ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัย Brigham 59


Young ได้เปิดเผยว่าการเริ่มใช้ตาราเรียนอิเล็กทรอนิกส์ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายของหนังสือเรียน จากเดิม 80 เหรียญ สหรัฐ (ประมาณ 3,200 บาท) เหลือเพียง 4 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 120 บาท) โดย David Wiley ได้พัฒนา โครงการนาร่องร่วมกับคณาจารย์ในรัฐ Utah การจัดทา อีบุ๊คโดยการใช้ทรัพยากรที่ไม่มีลิขสิทธิ์จากมูลนิธิ CK12 โดยเน้นระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ถึงมัธยมศึกษาปี ที่ 12 ใน 3 รายวิชา ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ภาษา โดย David Wiley ได้กล่าวว่าผลจากการทดลองนา ร่อ งเปรี ย บเทีย บผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผู้เ รีย นที่ เรียนจากหนังสือเรียนจากสานักพิมพ์ต่ างๆกับหนังสือ เรียนแบบด้วยการใช้ทรัพยากรที่ไม่มีลิขสิทธิ์จากมูลนิธิ CK-12 พบว่ าไม่ มี ค วามแตกต่ า งกัน ของผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียนทั้ง 2 กลุ่มนี้ (The Salt Lake Tribune, 2012).

วิดีโอ หรือแม้กระทั่งแหล่งเชื่อมโยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วนั้น จะเสริมสร้างให้ทั้งผู้เรียนเองและเพื่อ นร่วมชั้นเรียนเข้าร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน กิจกรรมดังกล่าวจะนาสู่การ แลกเปลี่ ย น และการเรี ย นรู้ ใ นที่ สุด ทิ ศ ทางต่ อ ไปคื อ การ ดาเนินกิจกรรมดังกล่าวกับเครื่องมือที่คล่องตัวยิ่งขึ้น ไม่ว่า จะเป็นสมาร์ทโฟนหรือแท็บแล็ต (EDUCAUSE, 2011). อีกทิศทางและแนวโน้มของสิ่งพิมพ์ดิจิทัลสาหรับผู้เรียนยุค อิน เทอร์ เ น็ ต นั้ น คื อ การที่ ผู้ สอนปรั บ เปลี่ ย นแนวทางการ พัฒนาสิ่งพิมพ์ดิจิทัล จากเดิมออกแบบและพัฒนาเองทั้งสิ้น สู่ แ นวโน้ ม ของการใช้ แ หล่ ง ทรั พ ยากรแบบเปิ ด (Open Educational Resource : OER) ดังที่ได้ยกตัวอย่างประเภท ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเปิด (Open E-Book) ที่เน้น การใช้ เช่น การที่ผู้สอนเขียนหรือนาข้อมูลสาธารณะที่มีอยู่ แล้วมาเผยแพร่สู่สาธารณะเช่น ตัวอย่างอีบุ๊คจากมูลนิธิ CK12 ที่ เ ป็ นแหล่ ง ทรั พ ยากรที่ ไ ม่ มี ลิ ข สิ ท ธิ์ ดั ง นั้ น Open Educational Resource : OER จึงเข้ามามีบทบาทสาคัญ โดย OER หรือทรัพยากรทางการศึกษาแบบเปิดนี้มีคุณลักษณะ และข้อกาหนดที่สาคัญคือผู้ใช้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ (access) ค้ดลอก (copy) ดัดแปลง (Modify) โดยไม่เสีย ค่าใช้ จ่าย สอดคล้องกับแนวคิดการเรียนรู้แบบเปิด (Open Learning) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Learning) ทั้ ง นี้ เนื้ อ หาที่ เ ผยแพร่ จะเผยแพร่ ภ ายใต้ ข้ อ กาหนดของ Creative Commons (CC) license ที่กล่าวไว้ว่า ทรัพย์สินทาง ปัญญาเป็นจุดกึ่งกลางระหว่างลิขสิทธิ์ส่วนบุ คคลและการ เปิดเสรี

ภำพที่ 9 : แสดงแหล่งทรัพยากรที่ไม่มีลิขสิทธิ์จากมูลนิธิ CK-12 (http://www.ck12.org/flexbook) EDUCAUSE (2012) ได้เสนอแนวคิดที่น่าสนใจเกี่ยวกับ ดิ จิ ทั ล แมกกาซี น แบบส่ วนตั ว (Personalized Digital Magazines) โดยได้เชื่อมโยงคุณสมบัติเด่นของโซเชียล มี เ ดี ย ที่ ผู้ ใ ช้ ส ามารถเป็ น ผู้ ค วบคุ ม นื้ อ หา ตลอดจน สารสนเทศต่างๆ ที่ต้องการเผยแพร่ได้ เมื่อนามาผนวก กับแนวคิดของการเผยแพร่ข้ อมู ลผ่ านเว็บ (web-based content) ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายจานวนมากแล้ว ผู้ ใ ช้ ส ามารถปรั บ ปรุ ง เนื อ้ ห าต่ า งๆ ให้ ทั น สมั ย จาก คุณลักษณะของโซเชียลมีเดียต่างๆ ได้เช่น การคัดเลือก ข่าวสารจาก RSS feed คุณประโยชน์ต่อการศึกษาคือ เมื่อ ผู้ เ รี ย นได้ ส ร้ า งแหล่ ง ข้ อ มู ล ของตนเอง (Personal Learning Environment : PLE) ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ภาพ

ภำพที่ 10 : แสดงเว็บไซต์ของ Creative Commons (CC) http://creativecommons.org 60


บทสรุป

เอกสำรอ้ำงอิง

ปัจจุบัน เปรียบได้ว่าเป็นยุคของ Post PC Era อันหมายถึง คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Personal Computer) จะหาได้ยาก ขึ้ น และเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ กทรอนิ กส์ ต่ างๆ จะลด ขนาดลง ให้ง่ ายยิ่ งขึ้น ต่อการพกพา เช่น เดีย วกับ ในวง การศึกษา สมาร์ทโฟนและแท็บแล็ตเข้ามามีบทบาทมาก ขึ้น ผนวกกับความคุ้นเคยของผู้เรียนยุคอินเทอร์เน็ตที่มี ความคุ้ น ชิ น ในอุ ป กรณ์ ต่ า งๆ เหล่ า นี้ เ ป็ น อย่ า งดี โดยเฉพาะในด้านของการใช้เป็นอุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร กับสังคมในปัจจุบัน ส่งผลให้วิถี หรือรูปแบบการเรียน เริ่มแปรเปลี่ยนไปด้วย ดังจะเห็นได้ว่า ในปัจจุบัน ผู้สอน ไม่ไ ด้เ ป็น ศูน ย์กลางของข้ อมูล อีกต่อ ไป หากแต่เ ป็น ผู้ ชี้ แ นะให้ ผู้ เ รี ย นสื บ ค้ น เสาะหาข้ อ มู ล ที่ ถู กที่ ค วร จาก แหล่งสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตอันยิ่งใหญ่แห่งนี้ ความ ท้าทายของผู้สอนนั่นคือการที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด ความท้าทาย (challenge) นาสู่ความสนใจ (motivation) ที่ จะน าผู้ เ รี ย นไปสู่ การเข้าร่ วมกิจ กรรมต่ างๆ (Learning through activities) อันจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จากการสร้างองค์ความรู้ของพวกเค้าเอง และความใฝ่รู้ อันจะทาให้พวกเค้าเหล่านี้ ไม่หยุดนิ่งที่จะศึกษา ค้นหา ต่อยอดความรู้ จากองค์ความรู้ที่พวกเค้าสร้างขึ้น เรื่อยๆ ต่อไป การเรี ยนรู้ ในรูปแบบดังกล่าว ยั งสอดคล้อ งกั บ แนวคิดของห้องเรียนในอนาคต (Future Classroom) และ เพื่ อ เป็ น การตอบโจทย์ ข องการเรี ย นการสอนแบบ ผสมผสาน (Blended Learning/Hybrid Learning) ที่ นั ก การศึ ก ษาหลายๆ ท่ า นให้ ค านิ ย าม ไม่ ว่ า จะเป็ น Flipped Classroom หรือ Challenge Based Learning classroom หรือแนวคิด Teach Less, Learn More ซึ่งล้วน มีเป้าหมายเดียวกันคือ การนาเทคโนโลยีเข้ ามาช่ วยจั ด กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยผู้สอนสามารถเตรี ยมการเรียนรู้ที่ มีความหมายแก่ ผู้เรียนผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ท้าทาย ดึงดูด เพื่อต่าง มุ่งหวังให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้นโดยเฉพาะความรู้ และทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 (ดูตัวอย่างของ แนวคิ ด ทั ก ษะการด ารงชี วิ ต ในศตวรรษที่ 21 ได้ ที่ http://www.p21.org) อันจะน าไปสู่การเรียนรู้ที่ยั่ งยื น ต่อไป

ภำษำไทย จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2555). Desktop Publishing สู่ e-book เพื่อส่งเสริมการใฝ่รู้ของผู้เรียนยุคดิจิทัล . พิมพ์ครั้งที่ ๑ กรุ ง เทพมหานคร: สานั กพิ ม พ์ แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. (อยู่ในระหว่างรอเผยแพร่) จินตวีร์ คล้ายสั งข์ . (2554). เอกสารคาสอนวิชา 2726335 วิชาการผลิตสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษาด้วยคอมพิวเตอร์ . เอกสารอั ด ส าเนา. คณะครุ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ภำษำอังกฤษ Ally, M. (2006). Foundations of Educational Theory for Online Learning. In Terry Anderson.Theories of Practice of Online Learning. Athabasca University, The Center for Distance Education. [Online] Available on http://cde.athacas cau.ca/online_book Barker, P. and Giller, S. (1991). Electronic Book for Early Learners. Educational and Training Technology International. 28 (November 1991), 281-290. Barker, P. and Manji, K. (1991). Designing Electronic Books. Educational and Training Technology International. 28 (Novenber 1991), 273-280. EDUCAUSE. (2011). Seven Things You Should Know About Personalized Digital Magazines. EDUCAUSE Learning Initiative (ELI). [online] Available on: http://www.educause.edu/ library/ resources/7-things-you-should-know-aboutpersonalized-digital-magazines Graham,L. (2002). Basic of design: Layout and typography for Beginners. New York: Delma, Thomson Learning Inc. Sun, Y., Harper, D. J., and Watt S. N. K. (2004). Design of an E-Book User Interface and Visualizations to Support Reading for Comprehension. Proceeding SIGIR '04Proceedings of the 27th annual international ACM SIGIR conference on Research and development in information retrieval ACM New York, USA. [online] Available on: http://delivery. 61


acm.org/10.1145/1010000 The Salt Lake Tribune. (2012). Online textbooks. [online] Available on: http://www.sltrib.com /sltrib/ opinion/ 53431850-82/textbooks-onlinestate-education.html.csp Utah Open Textbook Project. (2012). [online] Available on: http://utahopentextbooks.org Wilhelm, J. D. (2010). Inquiring Minds Learn to Read, Write, and Think: Reaching All Learners through Inquiry. Middle School Journal, 41(5), 39-46. Wilson, R. (2002). The “look and feel” of an e-book: considerations in interface design. Proceeding SAC '02 Proceedings of the 2002 ACM symposium on Applied computing ACM New York, USA. [online] Available on: http://delive ry.acm.org/10.1145/ 510 000 /508 893/p530 เว็บไซต์ CK 12 (http://www.ck12.org/flexbook) Creative Commons (http://creativecommons.org) Facebook (http://facebook.com) Flipbooksoft (http://www.flipbooksoft.com) Issuu (http://issuu.com) MERLOT (http://www.merlot.org) MIT Open Courseware (http://ocw.mit.edu) TCU Globe (http://globe.thaicyberu.go.th) Youtube (http://www.youtube.com)

62


การศึกษาสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารของนักศึกษาปริญญาบัณฑิตเพื่อพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน The performance of computer and communications technology undergraduate students for Blended learning model ธีรวดี ถังคบุตร ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย theeravadee@gmail.com ABSTRACT Keywords: performance of computer and communications technology, blended learning model, Learning management system (LMS)

This objective was to study the performance computer and communications technology of the undergraduate students. The study was divided into two stages: 1) analysis and synthesis of relevant documents performance computing and communications technology of undergraduate students and blended learning 2) study the performance of computer and communication technology undergraduate students. Ability to use information technology for undergraduate students include 1) knowledge about the computer's operating system (windows) 2) Knowledge of the information recording device (handy drive / CD - RW / CD - Rom) 3) Introduction to the Internet 4) knowledge about the Internet search 5) knowledge of how to use social media 6) basic knowledge in the field of learning management systems (Learning Management System) 7) The introduction of electronic media. Blended learning environment, the blending learning consists of face-to-face activities in classroom environment and an online

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะการใช้ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารของของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องกับ สมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี การสื่อสาร ของนั กศึกษาปริญ ญาบั ณฑิ ต และรู ป แบบการเรี ย นการ สอนแบบผสมผสาน 2) ศึ กษาผลของสมรรถนะการใช้ คอมพิ ว เตอร์ แ ละเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารของนั ก ศึ ก ษา ป ริ ญ ญ า บั ณ ฑิ ต เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย คื อ แบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีการสื่อสารของนักศึ กษาปริญญาบัณฑิต และ แบบสอบถามคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาบัณฑิตเกี่ยวกับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

environment. Details are as follows 1) Teaching and learning in the classroom (traditional classroom) for practical content 2) Online learning (online learning) for the theoretical content 1) to review the practical content via the learning management system(LMS) 2) to submit work that has been assigned via the learning management system(LMS) 3) to test theory via learning management system(LMS) 4) comments or questions to the via learning management system (LMS) 5) student group meetings or group activities together by using chat rooms via learning management system(LMS) 6) the problem of students asking the instructor via learning management system(LMS) 7) exchange students learning via learning management system(LMS) 8) Instructor audit work and scoring via learning management system(LMS)

ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต ประกอบด้วย 1) ความรู้เกี่ยวกับระบบ ปฏิบัติของคอมพิวเตอร์ (windows) 2) ความรู้เกี่ยวกับการ ใช้อุปกรณ์บันทึกข้อมูลต่างๆ (handy drive/CD - RW/CD Rom)

63


ศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือ เรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 หน่วยงานเหล่านี้มคี วามกังวล และเห็นความจาเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสาหรับการ ออกไปดารงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 จึงได้พฒ ั นา วิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ขึ้น สามารถสรุปทักษะสาคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชน ควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4C ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้ Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-ความคิด สร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้าน การศึกษาแบบใหม่ โดยทักษะทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ประกอบด้วย ความรู้พื้นฐานด้าน สารสนเทศ ความรู้พื้นฐานด้านสือ่ และความรู้พื้นฐาน ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) และ นอกจากกรอบข้างต้นแล้ว ในประเทศไทยการเรียนการ สอนในระดับอุดมศึกษาในปัจจุบนั มีการปรับหลักสูตรให้ สอกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศ ไทย (TQF) โดย คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและ สาขา/สาขาวิชาต่างๆต้องเป็นไปตามาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด โดยประกอบด้วย กรอบการเรียนรู้ 5 ด้าน คือ 1) คุณธรรม จริยธรรม 2) ความรู้ 3)ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ และ5) ทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจาเป็นต้องออกแบบ หลักสูตรให้สอคล้องกับกรอบการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมสานทีน่ ักการ ศึกษา นักวิชาการ และสถาบันการศึกษา พบว่ามีผู้ใช้คาที่มี ความหมายถึงการจัดการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานไว้ หลายคา เช่น blended learning ,hybrid learning, flexible learning, integrated learning, multi-method learning or mixed mode learning ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นคาทีห่ มายถึง รูปแบบการเรียนที่มีความยืดหยุน่ และมีการผสมผสานการ เรียนผ่านสื่อ ช่องทางและวิธีการสอนที่หลากหลาย (Driscoll, 2002) การเรียนการสอนแบบผสมผสาน คือ การ

3) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 4) ความรู้เกี่ยวกับ การสืบค้นข้อมูลอินเทอร์เน็ต 5) ความรู้ในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ 6) ความรู้เบื้องต้นในด้านการใช้ระบบจัดการ เรียนรู้ (Learning Management System) 7) ความรู้ เบื้องต้นในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการเรียนการ สอนแบบผสมผสาน ประกอบด้วย 1. การเรียนการสอน เรียนในห้องเรียน (traditional classroom) สาหรับเนื้อหา ภาคปฏิบัติ และ 2. การเรียนการสอนออนไลน์ (online learning) สาหรับเนื้อหาภาคทฤษฎี เป็นวิธีการสนับสนุน การเรียนการสอนในห้องเรียน ได้แก่ 1) การทบทวนเนื้อหา ในภาคปฏิบัติ 2) การส่ ง งานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายผ่ านระบบการจั ด การ เรียนรู้ 3) การสอบภาคทฤษฎีผ่านระบบการจัดการเรียนรู้ 4) การแสดงข้อคิดเห็นหรือข้อสงสัยลงในกระดานสนทนา 5) ประชุมกลุ่มหรือทากิจกรรมกลุ่มร่วมกันโดยใช้ห้อง สนทนา 6) ผู้เรียนซักถามปัญหาจากผู้สอนผ่านระบบการ จัดการเรียนรู้ 7) ผู้เรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ผ่านระบบการ จัดการเรียนรู้ 8) ผู้สอนตรวจสอบผลงาน และให้คะแนน ผ่านระบบการจัดการเรียนรู้ คาสาคัญ: การเรียนการสอนแบบผสมผสาน, สมรรถนะ การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารและระบบ จัดการเรียนรู้ (LMS) 1) บทนา การเรียบแบบผสมผสาน เป็นการเรียนทีใ่ ช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาช่วยในการ จัดการเรียนการสอน ในศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมี ความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะระบบการศึกษา ที่จะต้องมีการต้องมีการพัฒนา และปรับปรุงเพื่อให้ สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง โดยในประเทศ สหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่ เกิดจากวงการนอกการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย บริษทั เอกชนชั้นนาขนาดใหญ่ เช่น บริษทั แอปเปิ้ล บริษัท ไมโครซอฟ บริษทั วอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสานักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็น เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ใน 64


ใช้อินเตอร์เน็ตในการนาเสนอเนือ้ หาและการเรียนการ สอนร้อยละ 30 - 70 นาเสนอเนื้อหาวิชาโดยผสมผสานวิธี ออนไลน์และวิธีต่อหน้าต่อตา ส่วนมากของเนือ้ หานาเสนอ ผ่านอินเตอร์เน็ต เช่น ห้องสนทนา และบางส่วนนาเสนอ แบบต่อหน้าต่อตา The Sloan Consortium (1995) การเรียนแบบผสมผสานตามคือการนาเอาการเรียนการสอน ในชั้ น เรี ย นหรื อ การเรี ย นการสอนแบบเผชิ ญ หน้ า และ แนวคิดการเรียนการสอนโดยการใช้เทคโนโลยีมาใช้ในการ เรียนการสอนหรือการเรียนการสอนออนไลน์ โดยการเรียน นี้เป็นการผสมผสานการเรียนทั้งสองแบบเพื่อให้ตอบสนอง ความต้ อ งการของแต่ ล ะบุ ค คล การน าเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมที่ทันสมัย โดยการเรียนออนไลน์ที่ให้ผู้เรียนมี ปฎิสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสาร และมีส่วนร่วมในการเรียนให้เมื่อ กับการเรียนแบบปกติ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของ ผู้เรียน และพัฒนาความรู้ ความสามารถตามจุดประสงค์ที่ กาหนด ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้เรียนที่จะต้องพิจารณาในการเรียน อิเล็กทรอนิกส์ พบว่า จากการศึกษาของสถาบัน Higher Education Policy (2001) เกี่ยวกับคุณภาพการจัดการเรียน การสอนออนไลน์ ได้เสนอ ในประเด็นการสนับสนุน ผู้เรียนเอาไว้ว่า ในการช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จใน การเรียนการให้บริการจะต้องถือเสมือนว่าเป็นสิ่งที่จะต้องมี อย่างเพียงพอและอย่างทั่วถึงในมหาวิทยาลัย และมีความ สะดวกทั้งในด้านใช้บริการ การสนับสนุนด้านการเงิน การ สนับสนุนการอบรมให้ความรู้ และการช่วยเหลือเวลาใช้ หรือเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและจากการศึกษาของ Volery and Lord (2000) ได้เสนอว่าสิ่งที่จะต้องให้ความสาคัญสาหรับ ผู้เรียนคือ ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ของผู้เรียนที่มี มาก่อนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ สอดคล้องกับผลการศึกษา ของ Soong, chan, Chua, and Loh (2001) ที่เห็นว่า ผู้เรียน จะต้องมีความสามารถด้านเทคนิค ความเชื่อของผู้เรียนที่มี ต่อการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ และระดับการร่วมมือกัน ระดับ การมี ส่วนร่วมของผู้ เ รีย น และระดั บการมี ปฏิ สัมพั น ธ์ ระหว่างผู้เรียน (Graf and Caines, 2001) ได้เสนอประเด็น การประกันคุณภาพการประกันคุณภาพการเรียนออนไลน์ ในประเทศออสเตรเลีย ด้านผู้เรียนโดยผู้เรียนจะต้องมีความ พร้อมในด้านต่อไปนี้ก่อนที่จะเรียนออนไลน์ คือ ทักษะใน การใช้เทคโนโลยี, การเข้าถึงเทคโนโลยี, ความรู้พื้นฐานใน การใช้เทคโนโลยีและการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ดังนั้น การนาเอาคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ นามาใช้ในการเรียนการสอนจึงเป็นสิ่งที่สาคัญที่ผู้สอนต้อง งอกแบบให้ผเู้ รียนเกิดทักษะการใช้ ออกแบบและการสอน โดยนา คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี การสื่อสารอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสามารถ เลือก และใช้รูปแบบการนาเสนอสารสนเทศ ตลอดจนใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ 2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1) เพื่ อ ศึ ก ษาสมรรถนะการใช้ ค อมพิ ว เตอร์ แ ละ เทคโนโลยีการสื่อสารของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต 2.2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต ต่อรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 3) วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1. ศึกษา เอกสารที่เกี่ยวข้องสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีการสื่อสารของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต และv องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารที่เกี่ยวข้องสมรรถนะการใช้ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร และศึกษาการ เรียนการสอนแบบผสมผสาน เพื่อนามาใช้เป็นพื้นฐานใน การศึกษาสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการ สื่อสาร การวิ เคราะห์ ข้อ มูลขั้ นตอนที่ 1 ด้วยวิธีการ วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) เพื่อให้ได้องค์ประกอบ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิง ปริมาณ 2. ศึกษาผลของสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีการสื่อสารของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต โดย สอบถามสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการ สื่อสารปริญญาบัณฑิต จานวน 70 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิ จั ย คื อ แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ สมรรถนะการใช้ คอมพิ ว เตอร์ แ ละเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารของนั ก ศึ ก ษา ปริ ญ ญา สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย คื อ ค่ าเฉลี่ ย และส่ ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิตเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

65


มีม ากมี ม ากที่ สุด (ร้ อยละ 77.14) รองลงมาเป็ น ระดั บ สมรรถนะมาก (ร้อยละ 14.29) และระดับสมรรถนะมาก ที่สุด (ร้อยละ 7.14, และ 4.35) ตามลาดับ

4) สรุปผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสมรรถนะการใช้คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีการสื่อสารปริญญาบัณฑิต จานวน 70 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 70 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้ อ ยละ 60 กาลั ง ศึ กษาอยู่ ใ นชั้ น ปี ที่ 1 มากที่ สุ ด ร้ อ ยละ 92.86 รองลงมาได้แก่ ชั้นปีที่ 2 เท่ากับชั้นปีที่ 3 คิดเป็นร้อย ละ 2.86 และ ชั้นปีที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 1.43 ตามลาดับ กลุ่ม ตัวอย่ างทั้ ง หมดมี ค อมพิวเตอร์ ไว้ ใ ช้ ง านส่ วนตัวร้ อ ยละ 95.71และไม่มีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้ส่วนตัวร้อยละ 4.29 สถานที่ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเพื่อศึกษาเพิ่มเติม มากที่สุดคือบ้านหรือหอพัก คิดเป็นร้อยละ 73.92 รองลง เป็นห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ เท่ากับ ศูนย์บรรณสารสนเทศ คิดเป็นร้อยละ 13.04 ระยะเวลาที่ กลุ่มตัวอย่างใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียน ต่อวัน มากที่สุดคือ มากกว่า 2 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 69.56 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เคยเรียนออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 96.30 และเคยไม่เรียนออนไลน์คิดเป็นร้อยละ 8.70 ระดับสมรรถนะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ผู้ เ รี ย นส่ ว นใหญ่ มี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ระบบปฏิ บั ติ ข อง คอมพิวเตอร์ (windows) ในระดับ ปานกลาง (ร้อยละ 56.52) รองลงมาเป็นกลุ่มระดับสมรรถนะมีน้อย (ร้อยละ 30.43) ระดับสมรรถนะมีมากและระดับสมรรถนะมีมาก ที่สุด (ร้อยละ 8.70 และ 4.35 ตามลาดับ ) ด้านความรู้ เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์บันทึกข้อมูลต่างๆ (handy drive/CD - RW/CD - Rom) ระดับสมรรถนะมีปานกลางมีมากที่สุด (ร้อยละ 78.26) รองลงมาเป็นระดับสมรรถนะมีมากเท่ากับ ระดั บ สมรรถนะมี น้ อ ย (ร้ อ ยละ 8.70) และส่ ว นระดั บ สมรรถนะมีมากที่สุด (ร้อยละ 4.34) ตามลาดับ ด้านความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่มีระดับสมรรถนะ ปานกลาง มากที่สุด (ร้อยละ 82.86) รองลงมาระดับ สมรรถนะมีน้ อยและระดับ สมรรถนะมีม ากที่ สุด เท่ากัน (ร้อยละ 7.14) รองลงมาเป็นสมรรถนะน้อยที่สุดและมาก ที่สุดเท่ากัน (ร้อยละ 1.43) ด้านความรู้เกี่ยวกับการสืบค้น ข้อมูลอินเทอร์เน็ต ระดับสมรรถนะปานกลางมีมากมีมาก ที่สุด (ร้อยละ78.57) รองลงมาเป็นระดับสมรรถนะมีปาน กลาง ระดับสมรรถนะมีน้อย และระดับสมรรถนะมีมาก ที่สุด (ร้อยละ 30.43, 8.70 และ 4.35) ตามลาดับ ด้านความรู้ เกี่ยวกับการใช้ e – Mail/chat/web - board ระดับสมรรถนะ

จากตารางที่ 1 พบว่า องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน คือ การเรียนการสอนเรียนในห้องเรียน (traditional classroom) สาหรับเนือ้ หาภาคปฏิบัติ และการ เรียนการสอนออนไลน์ (online learning) สาหรับเนื้อหา ภาคทฤษฎี อยู่ในระดับมาก คือ การเรียนการสอน เรียนใน ห้องเรียน (traditional classroom) สาหรับเนื้อหาภาคปฏิบัติ ( X = 3.37) และการเรียนการสอนออนไลน์ (online learning) สาหรับเนื้อหาภาคทฤษฎี ( X =3.90) จากตารางที่ 2 พบว่า วิธีการสนับสนุนการเรียนการสอนใน ห้องเรียนมี 3 วิธี ในระดับมากทีส่ ุด คือ การแสดง ข้อคิดเห็นหรือข้อสงสัยลงในกระดานสนทนา ( X =4.61) ประชุมกลุ่มหรือทากิจกรรมกลุ่มร่วมกันโดยใช้ห้อง สนทนา ( X = 4.52) ผู้เรียนซักถามปัญหาจากผู้สอนผ่าน ระบบการจัดการเรียนรู้ ( X =4.73) และในภาพรวมแล้ว มี ความสาคัญในระดับมาก ( X = 4.37) 5) ข้อเสนอแนะ 1. เนื้อหาที่ สอนควรสอดแทรกคุ ณธรรมจริยธรรม ให้ นักศึกษาได้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เพื่อออกไปสู่สังคม เป็ น บุค คลที่มี คุ ณภาพ 2.เนื้ อหาที่ สอนควรเป็น เนื้อ หาที่ นักศึกษาจะนาไปใช้ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นด้านการเรียน การสอนหรือการทางานในอนาคต 3.ระบบบริหารจัดการ เรียนรู้ ไม่จาเป็นต้องสร้างเอง ควรเลือกใช้ระบบที่สร้างไว้ ให้ ใ ช้ แ ล้ ว เป็ น ระบบที่ เ ป็ น มาตรฐานสากล และเป็ น ที่ สาคัญสามารถพัฒนาต่อเองได้และไม่มีผลต่อการละเมิด กฎหมาย 4. ระบบบริหารจัด การเรีย นรู้ ควรใช้ใ นการ ติดต่อสื่อสารกับ เข้าใจง่าย และไม่ซับซ้อน เช่น การนาเอา สื่อสังคมออนไลน์มาใช้ 5. ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม ผู้สอน ควรจัดทาเป็นแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมในระบบบริหารจัดการ รายวิชา

66


ตารางที่ 1 ระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างด้านองค์ประกอบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

X 3.67

นิสิต (n = 70) S.D. .99

ระดับ มาก

3.90 3.79

.84 .92

มาก มาก

องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน การเรียนการสอนเรียนในห้องเรียน (traditional classroom) สาหรับเนื้อหา ภาคปฏิบตั ิ การเรียนการสอนออนไลน์ (online learning) สาหรับเนื้อหาภาคทฤษฎี รวม

ตารางที่ 2 ระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างด้านวิธีการสนับสนุนการเรียนการสอนในห้องเรียน วิธีการสนับสนุนการเรียนการสอนในห้องเรียน 1) การทบทวนเนื้อหาในภาคปฏิบัติ 2) การส่งงานที่ได้รับมอบหมายผ่านระบบการจัดการเรียนรู้ 3) การสอบภาคทฤษฎีผ่านระบบการจัดการเรียนรู้ 4) การแสดงข้อคิดเห็นหรือข้อสงสัยลงในกระดานสนทนา 5) ประชุมกลุ่มหรือทากิจกรรมกลุ่มร่วมกันโดยใช้ห้องสนทนา 6) ผู้เรียนซักถามปัญหาจากผู้สอนผ่านระบบการจัดการเรียนรู้ 7) ผู้เรียนแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ผ่านระบบการจัดการเรียนรู้ 8) ผู้สอนตรวจสอบผลงาน และให้คะแนนผ่านระบบการจัดการเรียนรู้ รวม

X 4.24 4.28 4.03 4.61 4.52 4.73 4.20 4.33 4.37

นิสิต (n = 70) S.D. ระดับ .99 มาก .84 มาก .76 มาก .94 มากที่สุด .89 มากทีส่ ุด .88 มากทีส่ ุด .90 มาก .92 มาก .89 มาก

Online Education, The International Journal of Educational Management, vol. 14 [5], pp. 216–23. 21st Century Skills. Rethinking How Students Learn. John Barell. Linda Darling-Hammond. Chris Dede. Rebecca DuFour. Richard DuFour. Douglas Fisher, Bloomington

6) เอกสารอ้างอิง Driscoll, M. Myths and Realities of Using WBT to Deliver Training Worldwide. Journal of Performance Improvement 38, 3 (June 1999): 37 - 44. Graf, D. & Caines, M. (2001) WebCT Exemplary Course Project: Criteria 2001, user conference, Vancouver Soong, M. H. B., Chan, H. C., Chua, B. C., & Loh, K. F. (2001). Critical success factors for on-line course resources. Computers & Education, 36, 101-120. The Sloan Consortium Web site: http://www.sloan- .org/publications/survey/index.asp Volery, T & Lord, D 2000, Critical Success Factors in 67


สู่ความเป็นเลิศในการจัดการศึกษาออนไลน์: ผลสารวจความพึงพอใจที่มีต่อการ ให้บริการระบบ e-Learning (ยุคใหม่) ของบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยศรีปทุม Towards the e-Learning Excellence: Instructors’ satisfaction of the new e-Learning system at Sripatum University, Thailand ณิชชา ชานิยนต์1, นิพาดา ไตรรัตน์2, วรสรวง ดวงจินดา3 1 สานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (nitcha.ch@spu.ac.th) 2

สานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

3

สานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

(nipada.tr@spu.ac.th) (vorasuang.du@spu.ac.th)

ในการจัดการเรีย นการสอนมี ความพึ ง พอใจในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ดีมาก โดย แบ่งออกเป็นการให้บริการในระบบการบันทึกสื่อการสอน Camtasia Relay มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก, ระบบการจัดการเรียนการสอน Moodle มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก และระบบการจัดการคลังข้อสอบ Test Bank มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก

บทคัดย่อ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้รางวัลชนะเลิศการจัดการระบบ eLearning ระดับอุดมศึกษา โดยสานักงานคณะการการ อุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวง ศึกษาธิการ ในปี พ.ศ. 2554 และเพื่ อ ให้ เ ป็ น การด าเนิ น การสู่ ม าตรฐานส าหรั บ eLearning ยุค ใหม่ข องมหาวิท ยาลั ย จึง ได้ ด าเนิ น การ สารวจความพึงพอใจในการให้บริการระบบ e-Learning โดยเป็นการ ศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจในการให้บริการ ระบบ e-Learning ของมหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม โดยมี วัตถุประสงค์ในการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการระบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัยศรี ปทุมในการจัดการเรียนการสอน 2) เพื่อเป็นแนวทางใน การปรับ ปรุ งและพัฒ นาระบบ e-Learning ของ มหาวิทยาลัยศรีปทุมให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้ใช้บริการต่อไป กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็น บุคคลากรสายวิชาการที่มีรายวิชาในระบบ e-Learning ในปีการศึกษา 2554 จานวน 85 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ สารวจคือ แบบสอบความพึงพอใจต่อการใช้บริการระบบ e-Learning มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการ วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล คื อ ค่ า เฉลี่ ย ( ) และส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน (S.D) ผลการสารวจพบว่า กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็น บุ ค ลากรสายวิ ช าการที่ ไ ด้ เ ข้ า รั บ บริ ก ารใน ระบบ

e-Learning

คาสาคัญ: การเรียนการสอนออนไลน์, ความพึงพอใจ, อี เลิร์นนิง, การประกันคุณภาพ, มหาวิทยาลัยศรีปทุม ABSTRACT Sripatum University (SPU) Thailand, is the winner of the inaugural National Best Practice for e-Learning Management at the Higher Education level in 2011, from the Office of the Higher Education Commission (OHEC), Ministry of Education (Thailand). SPU isentering into the new era of its eLearning evolution, and it is vital to maintain quality of the overall process, including instructors’satisfaction.Therefore, Office of the Online Education (OOE), the responsible center looking after e-Learning of SPU has applied a quantitative study to measure instructors’ satisfaction towards the system provided at the end of second 68


เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) เป็นการเรียน การสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student centered) ผู้สอนเป็ นผู้ จั ด การ ( Facilitator) ให้เ กิด การเรี ย นรู้ นอกจากนี้แล้วการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอาจจะ น ามาใช้ ใ นการฝึ ก อบรมบุ ค ลากรโดยผ่ า นเครื อ ข่ า ยที่ เรียกว่า Web–Based Training ซึ่งช่วยลดข้อจากัด ของการขาดแคลนทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน อั น ได้ แ ก่ อาจารย์ ผู้ ส อน ห้ อ งเรี ย น และตารางเวลาที่ กาหนดให้ มี การเรี ย นการสอนเกิด ขึ้ น ดั ง นั้ น จึ ง จั ด ให้ มี โครงการพัฒนาการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายขึ้น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิท ธิ ภาพการเรี ย นการสอนและการพั ฒ นา บุคลากรให้สอดคล้องกับการปฎิรูปการศึกษาและพัฒนา บั ณ ฑิ ต ของมหาวิ ท ยาลั ย สู่ สัง คมอย่ า งมี คุ ณ ภาพ สมดั ง ปณิธานที่ว่า “ปัญญา เชี่ยวชาญ เบิกบาน คุณธรรม”

semester, academic year 2011.The aims of this study were to 1) Identify the instructors’ satisfaction during academic year 2011 towards the e-Learning system in relation to their teaching and learning; and 2) To apply the findings for improvement of the system to better meet the needs of the instructors. Research population included 85 instructors of SPU (main campus in Bangkok). Statistical analysis including Mean and Standard Deviation were used to analyse the data. The findings revealed that 1) instructors are very satisfied with the eLearning system; 2) instructors are very satisfied with the automated classroom recording system (Camtasia Relay) 3) instructors are very satisfied with the LMS provided (Moodle); and 4) instructors are very satisfied with the Test Bank system provided within the Moodle.

จากนโยบายมหาวิท ยาลัยศรีปทุม ที่ มีความมุ่งมั่น ในการ อานวยความสะดวกในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ได้ มี การจัดตั้งสานักการจัดการศึกษาออนไลน์เพื่อดูแลและ จัดการระบบการเรียนการสอนออนไลน์โดยเฉพาะ ทาง สานั กการจั ด การศึ ก ษาออนไลน์ มี ก ารจั ด ส่ ว นของงาน บริหารจัดการเนื้ อหา (CMS) และการจัดระบบบริหาร จัดการเรียนการสอน (LMS) ที่ดีและเป็นระบบ โดยมี รางวัลการจัดการระบบอีเลิร์นนิ่งในระดับอุดมศึกษา จาก สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็นสิ่ งยืนยันใน เรื่องคุณภาพของการจัดการระบบอีเลิร์นนิงได้เป็นอย่างดี ทั้ ง สนั บ สุ น การจั ด ส่ ว นของงานบริ ห ารจั ด การเนื้ อ หา (CMS) และการจัดระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) สาหรับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้การเรียนการสอน สามารถดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Keywords: Online Education, e-Learning, Satisfaction, Quality Assurance, Sripatum University

บทนา มหาวิ ทยาลัยศรี ปทุม เป็น มหาวิ ทยาลัยเอกชนชั้นน าของ ประเทศไทย ทางมหาวิทยาลัยได้สนับสนุนและส่งเสริมให้ อาจารย์ทุกท่านมีคอมพิวเตอร์ Notebook ในการใช้งาน เพื่อใช้ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของตนเอง ตาม นโยบายของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนา ด้าน ICT ด้วยการจัดการจัดการศึกษาในรูปแบบของ eLearning เป็นการจัดการเรียนการสอนทางไกลที่ใช้สื่อ อิเลคทรอนิกส์ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เนต หรือที่นิยม เรียกว่า Online – Teaching and Learning ซึ่งเป็น การเรียนการสอนที่ดาเนินการบนเครือข่ายอินเทอร์เนตมี ความสะดวกและคล่องตัวสูง ผู้เรียนสามารถเรียนที่ไหน (Anywhere) และเวลาใดก็ได้ (Anytime) ไม่ มี ข้ อ จ ากั ด ซึ่ ง การจั ด การศึ ก ษาในรู ป แบบนี้ ด าเนิ น ตาม นโยบายของ การปฎิ รู ป การศึ ก ษา พระราชบั ญ ญั ติ การศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ.2542 (พรบ. การศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542) กล่าวคือ เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (Outreach Education) อย่างมี คุณภาพ ตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียน อันก่อให้เกิดการ

สานักการจัดจัดการศึกษาออนไลน์ได้ให้บริการอาจารย์ ผู้สอนโดยยึดหลักการพัฒนาอาจารย์ผู้สอนในการผลิตสื่อ ให้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ และมี ค วามพร้ อ มในการ ดาเนินการ โดยมีผู้เชี่ยวชาญทั้งในและนอกมหาวิทยาลัยมา เป็นวิทยากรบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในรูปแบบต่างๆ ทั้ง การฝึ ก อบรม การสั ม มนาวิ ช าการ และการประชุ ม เชิ ง ปฏิบัติการ เพื่อให้การศึกษาแบบ e-Learning ของ มหาวิทยาลัยศรีปทุมเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและมี 69


คุณภาพสู งและรองรับกับ ความต้ องการในการเรียนการ สอนในยุคปัจจุบัน โดยให้บริการที่เน้นความพึงพอใจของ ผู้ใช้ บริ การคื ออาจารย์ผู้ สอนเป็น สาคัญ โดยยึ ดหลักที่ว่า ความพึ ง พอใจของผู้ ใ ช้ เ ป็ นองค์ ป ระกอบสาคั ญ สาหรั บ ความสาเร็จของระบบ (Power and Dickson, 1974)

ได้เข้าใช้งานระบบ e-Learning จานวน 85 คน โดยการ สุ่มตามสะดวก 3. ระยะเวลาการดาเนินงาน เดือนมีนาคม 2555 – เดือน มิถุนายน 2555 ระเบียบวิธีวิจัย แบบแผนทางการวิจัย งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสารวจที่มี การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ใ น ง า น วิ จั ย เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ คื อ แบบสอบถามความความพึงพอใจต่อการใช้บริการระบบ e-Learning มหาวิทยาลัยศรีปทุม

สานักการจัดการศึกษาออนไลน์เป็นหน่วยงานกลางของ มหาวิทยาลัย ในการสนับสนุนคณะและวิชาต่างๆ ในการ จัดการศึกษาแบบ e-Learning ทั้งการใช้งานเพื่อการ สนับสนุนการเรียนการสอนแบบปกติในชั้นเรียนและเพื่อ สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งสานักฯ ได้มีพันธ กิจหนึ่ง คือ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสอนผ่านระบบ e-Learning ที่เหมาะสมกับการใช้งานของมหาวิทยาลัย ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของ มหาวิทยาลัยศรีปทุมที่ส่งเสริมและผลักดันให้มีผลงานวิจัย นวัตกรรม และผลงานทางวิชาการที่สร้างองค์กรให้มีองค์ ความรู้ที่หลากหลาย ลึกซึ้ง เป็นประโยชน์ต่อสังคม รวมทั้ง นาผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการมาพัฒนา ปรับปรุง หลักสูตร และการเรียนการสอนให้ทันสมัยและมีคุณภาพ ดัง นั้น เพื่อ ให้ การด าเนิน การของสานั กฯ สอดคล้ องกับ นโ ยบ ายแ ละบ ร ร ลุ พั น ธกิ จ ดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ จั ด ท า โครงการวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาความพึ ง พอใจการใช้ ง าน ระบบ e-Learning ขึ้น เพื่อนาแนวทางที่ได้จากการวิจัย มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการดาเนินการของสานักฯ ให้มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป

ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. การสร้างแบบประเมินบทเรียน ทาการพัฒนาโดยศึกษา จากหนั ง สื อ และงานวิ จั ย ต่ า งๆ เกี่ ยวกั บ การสร้ า ง แบบสอบถามความพึ ง พอใจ น ามาออกแบบให้ มี ค วาม สอดคล้องกับเนื้อหา และรูปแบบของระบบ e-Learning ที่จะประเมิน โดยแบบประเมินที่ได้ประกอบไปด้วยการ ป ร ะ เ มิ น 3 ส่ วน คื อ ส่ วน ที่ 1 สถาน ะ ข อ ง ผู้ ต อ บ แบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการใช้บริการ ระบบ e-Learning และส่วนที่ 3 ความคาดหวังในการ ให้บริการในอนาคต เป็นแบบประเมินประเภทมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ (ประคอง กรรณ สูตร, 2538) 2. น าแบบประเมิ น ที่ ไ ด้ ท าการออกแบบแล้ ว ปรึ ก ษา ผู้ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นการเรี ย นการสอนผ่ า นระบบ e-Learning จากนั้ น น าข้ อ เสนอแนะ ในส่ ว นของข้ อ ค าถาม และภาษาในการใช้ มาปรั บ ปรุ ง จนเป็ น แบบสอบถามที่สามารถนาไปใช้งานได้จริง 3. ดาเนินการแจกแบบประเมินจานวน 100 ชุดแก่กลุ่ ม ตัวอย่าง 4. เก็บรวบรวมแบบสอบถามที่ได้กลับคืนมาจานวน 85 ชุดเพื่อนามาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไป

วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความพึ ง พอใจต่ อ การให้ บ ริ ก ารระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม 2. เพื่ อ นาผลที่ ไ ด้ ไปพั ฒนาระบบ e-Learning ใน มหาวิทยาลัยศรีปทุมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไป ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ อาจารย์มหาวิทยาลัย ศรี ป ทุ ม ที่ มี ร ายวิ ช าอยู่ ใ นระบบ e-Learning ในปี การศึกษา 2554 2. กลุ่ ม ตั ว อย่ า งคื อ อาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ที่ มี รายวิชาอยู่ในระบบ e-Learning ในปีการศึกษา 2554 ที่

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ อาจารย์มหาวิทยาลัย ศรี ป ทุ ม ที่ มี ร ายวิ ช าอยู่ ใ นระบบ e-Learning ในปี การศึกษา 2554 70


2. กลุ่มตัวอย่างคืออาจารย์ผู้สอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่มี รายวิชาอยู่ในระบบ e-Learning ในปีการศึกษา 2554 จานวน 100 ชุด โดยการสุ่มตามสะดวก

ตารางที่ 1: ความพึ ง พอใจในการให้ บ ริ การระบบ e-Learning

SD

Title

เครื่องมือการวิจัย แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้บริการสานักการจัด การศึกษาออนไลน์

Camtasia Relay Moodle Test Bank

การรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่ม ตัวอย่างแบบตามสะดวก ทาการแจกแบบสอบถามให้แก่ อาจารย์ผู้สอน จานวน 100 ชุด โดยทาการเก็บข้อมูลแบบ กระจายวัน ตามคณะต่างๆ เก็บคืนมาได้จานวน 85 ชุด คิด เป็น 85 %

4.25 4.44 4.86

0.95 0.75 0.35

และจากการประมวลความคาดหวังในการให้ บริการใน อนาคตจากการตอบแบบสอบถามปลายเปิด สรุปได้ดังนี้ คือ 1. ควรมีการจัด Workshop การจัดการเรียนการสอน แบบออนไลน์ 2.ควรมีการจัดรอบการฝึกอบรมโปรแกรม ในการผลิตสื่อสาหรับการสอนแบบ e-Learning 3.ควร มีสถานที่สาหรับบันทึกสื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะ นอกเหนือจากในห้องเรียน

การวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ผู้ ศึ กษาได้ ใ ช้ สถิ ติ เ พื่ อ การวิ เ คราะห์ ข้อมูล ดังนี้ 1. ค่าความถี่และค่าร้อยละ เพื่อใช้อธิบายข้อมูลที่ได้จาก แบบสอบถามส่วนที่ 1 สถานะของผู้ตอบแบบสอบถาม 2. ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงมาตรฐานเพื่ออธิบายข้อมูลที่ได้ จากแบบสอบถามส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการใช้บริการ ระบบ e-Learning และส่วนที่ 3 ความคาดหวังในการ ให้บริการในอนาคต

สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจต่อการให้บริการ ระบบ e-Learning ของมหาวิ ทยาลัย ศรีปทุม ผู้ วิจั ย พบว่าผู้เข้าใช้บริการซึ่งเป็นอาจารย์ผู้สอนมีความพึงพอใจ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก นั่นแสดงให้เห็นถึงระบบ eLeaning ของมหาวิทยาลัยศรีปทุมมีการบริการจัดการ อย่างเป็นระบบ และมีการให้บริการผู้ใช้อย่างทั่วถึง มีการ ดูแ ลและให้ค าแนะน าตามมิ ติคุ ณภาพบริ การ [online] http://www.il.mahidol.ac.th ซึ่ง ประกอบไปด้วย มิติคุณภาพ 5 มิติหลัก คือ Reliability (ความถูกต้อง ครบถ้วนของการบริการ), Assurance (ความน่าเชือถือ ของผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร), Tangibles (สภาพแวดล้ อ ม), Empathy (ความใส่ ใ จ) และ Responsiveness (ความพร้อมที่จะช่วยเหลือ) แสดงให้เห็นถึงการบริการที่มี คุ ณ ภาพและสอดคล้ อ งกั บ Power and Dickson (1974) ที่กล่าวว่าความพึงพอใจของผู้ใช้เป็นองค์ประกอบ สาคัญสาหรับความสาเร็จของระบบ ซึ่งการให้บริการใน ระบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัยศรีปทุมนั้นมีความ ครอบคลุมในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทั้งระบบ บั น ทึ ก การสอน ระบบจั ด การคลั ง ข้ อ สอบ และระบบ จัดการการเรียนการสอน (LMS) ถือได้ว่าเป็นการควบคุม มาตรฐานในการให้ บ ริ ก ารและมาตรฐานของระบบ

ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างคืออาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุมที่มีรายวิชาอยู่ ในระบบ e-Learning ในปีการศึกษา 2554 ที่ได้เข้าใช้ งานระบบ e-Learning จานวน 85 คน มีความพึงพอใจ ต่อการให้บริการระบบ e-Learning ในภาพรวมมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก ( = 4.52, S.D = 0.99) โดย แบ่งออกเป็นการให้บริการในระบบการบันทึกสื่อการสอน Camtasia Relay มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( = 4.25, S.D = 0.95), ระบบการจัดการเรียนการสอน Moodle มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( = 4.44, S.D = 0.75) และระบบการจัดการคลังข้อสอบ Test Bank มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดีมาก ( = 4.86, S.D = 0.35) ดังแสดงในตารางที่ 1 71


เป็ น การควบคุ ม คุ ณภาพทั่ วทั้ ง องค์ ก ร (Total quality management : TQM) เป็นการให้ ความสาคัญกับการปรับปรุงคุณภาพในทุกระบบ และทุก ขั้ น ตอนของการด าเนิ น งาน เพื่ อ ยกระดั บ องค์ ก รให้ ไ ด้ มาตรฐาน ดังนั้น TQM จึงเป็นปัจจัยสาคัญยิ่งซึ่งมีผลต่อ ความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า (กุ ณ ฑลี รื่ น รมย์ สาวิ ก า อุณหนันท์ และเพลินทิพย์ โกเมศโสภา, 2547) ผลจากการ วิ จั ย จึ ง เป็ น ผลที่ ม าจากการจั ด ระบบและวางมาตรฐาน e-Learning ให้สามารถรองรับการใช้งานจากอาจารย์ เจ้าของรายวิชาให้สามารถจัดการการเรียนการสอนได้ และ การมีมิติคุณภาพการบริการ จึงทาให้ผลของความพึงพอใจ ในการให้บริการระบบ e-Learning มหาวิทยาลัยศรี ปทุมอยู่ในระดับดีมาก

โดยโปรแกรมสาเร็จรูป.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. วาสนา แสนโภคทรัพย์. (2553). ความพึงพอใจของนิสิต ต่ อ บริ ก ารของหน่ ว ยทะเบี ย นและประเมิ น ผล คณะพาณิ ชยศาสตร์ และการบั ญชี จุฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย . ข่าวสารห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ปี ที่ 26 ฉบั บ ที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2553 ศึกษาธิการ, กระทรวง.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2542). กรุงเทพมหานคร: พริกหวาน กราฟิก. อนุวัตร บรรณารักษ์สกุล. (2552). จะวัดระดับคุณภาพ งานบริการได้อย่างไร [Online].เข้าถึงได้จาก :

e-Learning

http://www.il.mahidol.ac.th/th/image s/stories/exchange/aor2-07-52.pdf.

เอกสารอ้างอิง

[13 มิ.ย .2555]

กาชัย ไวว่อง. (2549). ความพึงพอใจในการใช้ eLearning ของนั ก ศึ ก ษามหาบั ญ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ า ไทย .โครงการ ศึ ก ษา ค้ น คว้ าด้ ว ยตนเ อง สาขาวิ ช าการจั ดการ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. เกียรติศักดิ์ ทองรอด. (2542). ความคิดเห็นของผู้ใช้ บริ การรถไฟฟ้ า “BTS” ต่ อ การให้ บ ริ การ รถไฟฟ้ า “BTS”. ปั ญ หาพิ เ ศษรั ฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหาร ทั่วไป,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. กันยา สุวรรณแสง. (2538). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์บารุงสาส์น. ขวัญใจ ภู่พวง. (2552). ความพึงพอใจการใช้บริการ ขนส่งศึกษากรณีบริษัท ทวีคอนเทนเนอร์ ทราน สปอร์ ต จ ากั ด . การค้ น คว้ า อิ ส ระหลั ก สู ต ร บริ ห ารธุ ร กิจ มหาบั ณฑิต , บั ณฑิต วิ ท ยาลั ย , มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี. ถวิล ธาราโภชน์ และ ศรัณย์ ดาริสุข. (2540). จิตวิทยา ทั่วไป. โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์. กรุงเทพฯ

Herzberg, Frederick, Mausner, Bernard, & Synderman, Barbara B. (1959). The motivation to work. New York: Wiley. Krejcie, Robert V., & Morgan, Daryle W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), Power, R.F.and G.W.Dickson.1974.MIS project management: Myths, opinions,and reality. California Management Review 15(3):147-156.

ประคอง กรรณสูตร. (2538). สถิติเพื่อการวิจัย คานวณ 72


มุมมองของผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงในโปรแกรมอีเลิร์นนิง เพื่อการส่งเสริมการนาการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงไปใช้ในระดับอุดมศึกษา Perspective of Change Facilitators in e-Learning Program for Promoting e-Learning Implementation in Higher Education เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ 1, ผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 2 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (moetoonisia@gmail.com) 2

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (praweenya@gmail.com)

ABSTRACT This study is intended to find the change facilitators’ perspectives in planning and implementing e-Learning in higher education. Experienced instructors who are change facilitators participated in this study according to specified sampling. Data were collected by semi-structured interview and in-depth interview and were analyzed by content analysis following conceptual framework about diffusion of innovation, acceptance, and e-Learning. The finding of this study indicated that the acceptance of e-Learning is affected by external factors that were summarized as follows: 1) faculty gives knowledge to enhance e-Learning awareness and understanding 2) faculty and/or university provide learning management system for facilitating online teaching and learning 3) faculty and/or university permit instructors to apply e-Learning in their course for perceiving advantages in e-Learning such as convenience in communication (in the sense of assignment and announcement) and feedback 4) faculty and/or university organize the sharing platform to promote online instructors’ acceptance and apply e-Learning in their courses 5) university prescribes the policy and 6) faculty and/or university reward and assign e-Learning instruction to be key performance indicator. Besides university strategies to promote e-Learning adoption, university should emphasize on the role of change facilitator or early adopter by using their tacit knowledge to build up a guideline and motivate e-Learning adoption in other instructors. Keywords: e-learning, acceptance, higher education

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อ การวางแผนการนาระบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิงไปใช้ใน การเรียนการสอนในระดับสถาบันอุดมศึกษา กรณีจาก

73

ผู้สอนที่มีประสบการณ์การสอนและเป็นกลุ่มยอมรับ นวัตกรรมการสอนด้วยอีเลิร์นนิงกลุ่มแรกของ มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ด้วยการคัดเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง การเก็บข้อมูลการศึกษาใน ครั้งนีเ้ ป็นการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก เป็นการดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) กรอบแนวคิด ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องกับการยอมรับ นวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง และ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิรน์ นิง ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า การยอมรับ การเรียนแบบอีเลิร์นนิงของผู้สอนในสถาบันการศึกษา เกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอกที่มีอทิ ธิพลต่อผู้สอน โดยปัจจัย ภายนอกที่มีอิทธิพลต่อผู้สอนได้แก่ 1) คณะจัดให้มี การให้ความรู้กับผู้สอน เพื่อทาความเข้าใจการจัด การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงและเห็นประโยชน์ที่ เกิดขึ้นจากกระบวนการดังกล่าว 2) คณะและ/หรือ มหาวิทยาลัยมีระบบจัดการการเรียนรู้ให้กบั ผู้สอน เพื่อสนับสนุนการเรียนอีเลิร์นนิง 3) คณะและ/หรือ มหาวิทยาลัยเปิดโอกาสให้ผู้สอนได้ทดลองใช้ระบบ อีเลิร์นนิงเพื่อเห็นประโยชน์อันเกิดจากการจัด การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ได้แก่ ความสะดวกใน การติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน (ทั้งในด้านการแจ้ง กาหนดการเรียนและงานการเรียน) และการให้ ผลป้อนกลับ 4) คณะและ/หรือมหาวิทยาลัยจัดเวที แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งเป็นการเพิ่มจานวนกลุ่ม


ผู้สอนที่ยอมรับและใช้ระบบอีเลิร์นนิงเพิ่มขึ้น 5) มหาวิทยาลัยกาหนดนโยบายในการจัดการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิง และ 6) การให้ผลตอบแทน เพิ่มเติมและการกาหนดให้สามารถนามาเป็นผลงานเพื่อ ตอบตัวชี้วัด นอกจากนี้ปัจจัยด้านตัวแทน การเปลี่ยนแปลงเป็นปัจจัยหนึ่งทีม่ ีอิทธิพลต่อการยอมรับ และนาระบบอีเลิร์นนิงไปใช้ในด้านการให้คาแนะนาและ ความช่วยเหลือ และการโน้มน้าวผู้สอนท่านอื่นให้เกิด แรงจูงใจในการใช้ระบบอีเลิรน์ นิงในการจัดการเรียน การสอน

1) การพิจารณางานการเรียน 2) สื่อ 3) กระบวนการกลุ่ม 4) บริบททางการเรียนรู้ 5) คุณลักษณะผู้เรียน 6) การจัดการ การเรียนการสอน และ 7) ค่าใช้จา่ ย (Huddlestone และ Pike, 2007) การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรน์ นิง เป็นรูปแบบ การเรียนการสอนชนิดหนึง่ ที่มกี ารจัดการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบเชื่อมตรง ซึ่งได้รับการออกแบบมา อย่างมีระบบโดยอาศัยคุณสมบัตแิ ละทรัพยากรของบริการ เวิลด์ไวด์เว็บมาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพ ทั้งยังมีการใช้ ระบบจัดการการเรียนรู้ (LMS: Learning Management System) ที่เป็นซอฟท์แวร์ในการจัดการกระบวนการเรียน การสอนอีกด้วย (รัชนีวรรณ ตั้งภักดี, 2548) ซึ่งเป็นการเรียน ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ทาให้ เกิดความยืดหยุน่ ทางการเรียน และขจัดปัญหาด้านเวลาใน การเรียนรู้ (Oblinger, D.G.; Barone, C.A. and Hawkins, B.L.; 2001) ถึงแม้การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรน์ นิงจะ มีความสะดวก แต่ในบางที่ยังคงเกิดปัญหาด้านการยอมรับ และนาระบบการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรน์ นิงไปใช้ เช่น ประเทศแคนาดาทีต่ ้องใช้ระยะเวลาพอสมควรใน การยอมรับระบบการจัดการเรียนแบบอีเลิรน์ นิงไปใช้อย่าง แพร่หลาย เนื่องด้วยสาเหตุในด้านโครงสร้างพื้นฐานใน การจัดทาระบบการเรียนการสอนดังกล่าว ด้านงบประมาณ และเจ้าหน้าที่ ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นจากนโยบายที่ไม่มี การวางแผนให้ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนแบบ อีเลิร์นนิง โดยในปี 2001 รายงานจากคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการเรียนออนไลน์ให้ข้อเสนอแนะในการออกแบบเพื่อ ควบคุมประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร รายงานดังกล่าวเป็นการเริ่มต้นแผนเชิง ปฏิบตั ิการในการสนับสนุนการเรียนแบบอีเลิร์นนิง กรอบแนวคิดในการปรับการพัฒนาการเรียนแบบอีเลิร์นนิง สอดคล้องกับการพัฒนาและการนานโยบายด้านเศรษฐกิจ และสังคมไปใช้ ครอบคลุม 4 ประเด็นหลัก คือ การผลักดัน ภาคส่วนต่างๆ (การสร้างความร่วมมือระหว่างผู้เกี่ยวข้องที่มี ผลประโยชน์ร่วมกันและการแลกเปลี่ยนแหล่งการเรียนรู)้ การพัฒนาวิสัยทัศน์ร่วมกันเพื่อการจัดการเรียนแบบ อีเลิร์นนิง การควบคุมประสิทธิภาพด้านเทคโนโลยีให้ สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน และการเติมเต็ม

1) บทนา เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ การสื่อสารการศึกษา สถาบันการศึกษาต่างๆ จึงนาระบบ จัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) มาใช้ใน การศึกษา (Georgouli, Skalkidis และ Guerreiro, 2008) และ จัดการศึกษาในรูปการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Bonk, 2006) เมื่อนาเทคโนโลยีมาใช้ประกอบการเรียนการสอนเพิ่ม มากขึ้น โดยเริ่มจากการอานวยความสะดวกให้กับผูเ้ รียนใช้ ในการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เรียน – ผู้สอน จนกระทั่งปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญใน การนามาใช้ผสมผสานกับการเรียนในห้องเรียนปกติ จนกลายเป็นรูปแบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิง (e-Learning) ซึ่งมีผู้สอนหลายท่านเลือกใช้วิธีการจัดการเรียนการสอน ดังกล่าว ด้วยปัจจัยต่างๆ ซึ่งสามารถนาเสนอกระบวนการใน การยอมรับการเรียนแบบอีเลิร์นนิงได้ (Huddlestone และ Pike, 2007) ดังนี้

รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในการ ตัดสินใจเลือกสื่อ (Huddlestone และ Pike, 2007) องค์ประกอบทั้ง 7 องค์ประกอบในการยอมรับนี้ สามารถสะท้อนให้เห็นว่าการจัดการเรียนแบบอีเลิร์นนิง ได้รับการยอมรับด้วยปัจจัยต่างๆ 7 ประการ ได้แก่ 74


ช่องว่างด้วยการวิจัย (ผลวิจัยสามารถสะท้อนแนวทางที่ หลากหลาย) (Canadian council on learning, 2009) เป็นต้น จึงควรศึกษาและเสนอแนวทางในการยอมรับการจัด การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง

ทดลองใช้สิ่งนัน้ ได้ เพื่อรับรู้ประสิทธิภาพของนวัตกรรมชิ้น นั้นก่อนการตัดสินใจยอมรับ 1.5 การสังเกตได้ (Observability) นวัตกรรมที่นาเสนอนั้นควรเป็นสิ่งที่สามารถสังเกตได้ เห็น ชัดเจน เพื่อการพิจารณาและตรวจสอบ 2. ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels) เป็นสิ่งที่นาเสนอหรือเผยแพร่นวัตกรรมไปยังคนกลุ่มต่างๆ ทั้งนีจ้ าเป็นต้องพิจารณากลุ่มคนในด้านความสนใจ ประสบการณ์ หรือสภาพแวดล้อม โดยการนาเสนอนั้น จาเป็นต้องชี้แจงให้กลุ่มคนเห็นประโยชน์ของนวัตกรรมที่ นาเสนอไปผ่านสื่อต่างๆ อาทิ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรืออินเทอร์เน็ต เป็นต้น 3. ช่วงเวลา (Time) สามารถพิจารณาได้ใน 3 ประเด็น คือ 1) กระบวนการตัดสินใจ (decision) 2) รูปแบบ ของนวัตกรรม (form of innovation) 3) ช่วงเวลาที่มี การเปลี่ยนแปลงไปของนวัตกรรม (innovation’s rate) 4. ระบบสังคม (Social system) สมาชิกในระบบ สังคมมีหลายประเภทด้วยกัน อาทิ ผู้ที่เป็นผูน้ านวัตกรรม หรือผู้ที่ยงั ให้ความสาคัญกับสิ่งเดิมและไม่เห็นว่าสิ่งทีเ่ ป็น ของใหม่นั้นมีความสาคัญ เป็นต้น นอกจากนีป้ ระเภท การทางานของคนในสังคมเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อ การยอมรับนวัตกรรม เช่น คนทีท่ างานในองค์กรของรัฐ และ คนทีท่ างานในองค์กรเอกชน เป็นต้น ในด้านเทคโนโลยีการศึกษา การเผยแพร่นวัตกรรม เป็นส่วนหนึ่งในขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา ด้านการจัดการ (Management) และการนาไปใช้ (Utilization) ดังนัน้ การเผยแพร่นวัตกรรมจึงเป็นการให้ ความรู้ (knowledge) ในด้านนวัตกรรม ทาให้ทราบ ความหมาย ที่มา และความสาคัญของนวัตกรรมนัน้

แนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย จากการศึกษาข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ ไทย จากเว็บไซต์ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center : NECTEC) (Internet User and Statistics in Thailand, 2010)

รูปที่ 2 แนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย (Internet User and Statistics in Thailand, 2010) การเผยแพร่เพื่อการยอมรับ การเผยแพร่มีองค์ประกอบสาคัญ 4 องค์ประกอบ (Rogers,1986) ได้แก่ 1. นวัตกรรม (Innovation) เป็นสิ่งที่ผู้เผยแพร่ จาเป็นต้องพิจารณาองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.1 การชี้ให้เห็นประโยชน์ของสิ่งนั้น (Relative advantage) เพื่อโน้มน้าวให้ผู้รบั นวัตกรรมเห็น ความสาคัญและนาสิ่งนั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 1.2 ความเข้ากันได้หรือการนามาใช้แทน กันได้ (Compatibility) เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงกับ นวัตกรรมที่นาเสนอ ผู้ยอมรับนวัตกรรมอาจรู้สึกว่า นวัตกรรมที่ได้รบั มาเป็นส่วนหนึง่ ซึ่งมิอาจขาดได้หรือสิ่งนัน้ สามารถช่วยแก้ปัญหาหรืออานวยความสะดวก 1.3 ความซับซ้อน (Complexity) นวัตกรรมที่นาเสนอควรเป็นสิ่งทีเ่ ข้าใจง่าย ใช้งานง่าย เพื่อ ความสะดวกของผู้รบั นวัตกรรม 1.4 การทดลองใช้ (Trialability) สิ่งที่ นาเสนอควรเป็นสิ่งที่ผู้รบั นวัตกรรมสามารถสัมผัสและ

2) วัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มเี ป้าหมาย เพือ่ ศึกษามุมมองของ ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงในโปรแกรมอีเลิร์นนิง เพื่อ การส่งเสริมการนาการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงไปใช้ใน ระดับอุดมศึกษา

75


การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง สามารถนาเสนอได้เป็น ประเด็น ดังนี้ 1. ปัจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับ การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงของผู้สอน 1.1 การให้ความรู้กับผู้สอน จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ผู้สอนซึ่ง เป็นกลุ่มตัวอย่างทีเ่ ป็นผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงใน การเรียนอีเลิร์นนิงในสถาบันของรัฐ ให้ความเห็นว่า ปัจจัย ภายนอกด้านการให้ความรู้กับผู้สอนเริ่มจากคณะ/ มหาวิทยาลัย ดังส่วนหนึ่งของคาสัมภาษณ์ “...คณะเริ่มนาระบบออนไลน์มาใช้ใน การเรียนการสอน เมื่อ พ.ศ.2546 (8 ปีที่แล้ว) โดยใช้ระบบ moodle 1.5 เป็นระบบเริ่มต้น (ปัจจุบนั ใช้ moodle 1.9) ซึ่ง ชักชวนอาจารย์ที่สนใจเข้าร่วมอบรมการใช้งานระบบ เพื่อ นามาใช้ในการเรียนการสอนต่อไป” “...ทางคณะ จะจัดอบรม moodle เทอมละ 1 ครั้ง แต่ละครั้งมีผใู้ ห้ความสนใจประมาณ 20 – 30 คน มี ประมาณ 5 – 6 คน ให้ความสนใจมาก เข้าอบรมเป็นประจา ...” 1.2 การจัดระบบจัดการการเรียนรู้ ให้กับผู้สอน จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ ผู้สอนซึ่งเป็นผู้สนับสนุนการเปลีย่ นแปลงในการเรียน อีเลิร์นนิงในสถาบันของเอกชน ยกตัวอย่างให้เห็นว่า “การจัดการเรียนการสอนแบบ อีเลิร์นนิงเริ่มต้นมาตัง้ แต่ ปี 2547 ซึ่งในขณะนั้นคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้พัฒนาระบบจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) ด้วยตนเอง จากนั้นทาง มหาวิทยาลัยจึงซื้อ software จากภายนอกมาใช้ และใน ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยมอบหมายหน้าที่การผลิตบทเรียนให้ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยใช้ Moodle ในการจัดการ” 1.3 การเปิดโอกาสให้ทดลองใช้ ระบบอีเลิร์นนิง จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ ผู้สอนซึ่งเป็นผู้สนับสนุนการเปลีย่ นแปลงในการเรียน อีเลิร์นนิงในสถาบันของเอกชน ให้ความเห็นเกี่ยวกับปัจจัย

3) วิธีดาเนินการวิจัย 3.1) การคัดเลือกกลุม่ ตัวอย่าง 3.1.1 กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะ เป็น (Nonprobability Sampling) โดยคัดเลือกกลุ่มตัวย่างด้วย วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมี เงื่อนไขการคัดเลือก ดังนี้ (1) มีประสบการณ์ในการสอนแบบ อีเลิร์นนิงมากกว่า 3 ปี และ (2) รับผิดชอบรายวิชาที่จัดการเรียนแบบอี เลิร์นนิงที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนปกติด้วย จากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ด้วยเกณฑ์ดังกล่าว ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์ประจาคณะ นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และอาจารย์ประจา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3.2) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล จากการคัดเลือกผู้สอนที่มีบทบาทเป็นผู้ส่งเสริม การเปลี่ยนแปลงและมีประสบการณ์มากกว่า 3 ปี ใน การจัดการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง ได้ดาเนินการสัมภาษณ์แบบ กึง่ โครงสร้างและสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยเครื่องมือใน การวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-Structure Interview) 3.3) การวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาจากเอกสารและ งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง ประกอบกับการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จาก การสัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์ในด้านการจัดการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิงจึงดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วย วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้ทฤษฎีและ เอกสารงานวิจัยต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการยอมรับนวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง และการยอมรับ รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงมาเป็นกรอบใน การวิเคราะห์

4) ผลการวิจัย จากการสัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์ด้านการจัด การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงและการยอมรับนวัตกรรม 76


ภายนอกที่เปิดโอกาสให้ผู้สอนทดลองใช้ระบบอีเลิรน์ นิงเริ่ม ด้วยคณะ/มหาวิทยาลัย ดังข้อมูลจากการสัมภาษณ์ “...อาจารย์ในคณะทีใ่ ห้ความสนใจ ส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ใหม่ เมื่อลองใช้แล้วเห็นประโยชน์ใน การสื่อสาร ติดตามผู้เรียน และได้ผลป้อนกลับจากผู้เรียน...” 1.4 การจัดเวทีแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ ผู้สอนซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผูส้ นับสนุนการเปลี่ยนแปลง ในการเรียนอีเลิร์นนิงในสถาบันของรัฐ ยกตัวอย่างให้เห็นว่า “...นอกจากการให้ความรู้โดยการจัด อบรมแล้ว ทางคณะได้เปิดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์จาก ผู้สอนที่ใช้ระบบออนไลน์ ซึ่งจะเป็นการประชาสัมพันธ์เรื่อง การฝึกอบรมด้วย...การชักชวนผู้สอนให้หนั มาใช้ระบบ ออนไลน์ จะเริ่มต้นจากการให้ผสู้ อนเห็นประโยชน์ ซึ่งต้อง ใช้ความพยายามและทาให้โดนใจมาก ซึ่งจะแนะนาในเรื่อง สื่อเสริม มีเว็บเสริม” 1.5 การกาหนดนโยบายการจัด การเรียนการสอน จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ ผู้สอนซึ่งเป็นผู้สนับสนุนการเปลีย่ นแปลงในการเรียน อีเลิร์นนิงในสถาบันของเอกชน ให้ความเห็นเกี่ยวกับปัจจัย ภายนอกด้านการกาหนดนโยบาย วิเคราะห์แล้วเห็นว่า “...ผู้บริหารมีนโยบายให้อาจารย์ผลิต หลักสูตรอีเลิร์นนิงเพิ่มขึน้ โดยสามารถนามาเป็นส่วนหนึ่ง ของผลงานอาจารย์เพื่อตอบตัวชี้วัดได้...” นอกจากนี้ผู้สอนซึ่งเป็นผู้สนับสนุน การเปลี่ยนแปลงในการเรียนอีเลิร์นนิงในสถาบันของรัฐ ยกตัวอย่างให้เห็นว่า “...คณะ เริม่ ต้นนาระบบออนไลน์มาใช้ 5 – 6 วิชา ซึ่งเป็นรายวิชาที่เปิดสอนในปี 3 4 และ 5 ซึ่งยังอยู่ ในรูปแบบผสมผสาน (blended learning) หลังจากนัน้ เมื่อมี การประกาศจากกระทรวงเรื่อง e-Learning จึงมีการขออนุมัติ ให้เปิดบทเรียนออนไลน์ ในปี พ.ศ. 2549 และเปิดใช้งานจริง ในปี พ.ศ.2550 ในบางภาควิชา นอกจากนี้มหาวิทยาลัย ส่งเสริมนโยบายด้านเทคโนโลยี โดยกาหนดตัวชี้วัดของ สานักวิชาการ จึงเริ่มมีการให้ความสนใจมากขึ้น...”

1.6 การให้ผลตอบแทน จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ ผู้สอนซึ่งเป็นผู้สนับสนุนการเปลีย่ นแปลงในการเรียน อีเลิร์นนิงในสถาบันของเอกชน ให้ความเห็นเกี่ยวกับปัจจัย ภายนอกด้านการให้ผลตอบแทน ดังส่วนหนึง่ ของ คาสัมภาษณ์ “...ผู้บริหารที่มนี โยบายให้อาจารย์ ผลิตหลักสูตรอีเลิร์นนิงเพิ่มขึ้น โดยมีการสร้างแรงจูงใจด้วย การให้รางวัล และในอนาคตอาจมีการอนุญาตให้อาจารย์ สามารถจัดการเรียนการสอนที่บ้านได้ โดยไม่จาเป็นต้องเข้า มาที่สถาบันเพื่อลดภาระของอาจารย์และดึงดูดใจให้จัด การเรียนแบบอีเลิร์นนิงมากขึ้น” 2. ปัจจัยด้านตัวแทนการเปลี่ยนแปลง จากการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ผู้สอนซึ่ง เป็นกลุ่มตัวอย่างทีเ่ ป็นผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงใน การเรียนอีเลิร์นนิงในสถาบันของรัฐ ให้ความเห็นว่าปัจจัย ด้านตัวแทนการเปลี่ยนแปลงมีส่วนในการสนับสนุนการนา อีเลิร์นนิงไปใช้ ดังส่วนหนึ่งของการสัมภาษณ์ “...นอกจากนี้อาจารย์จะให้ความรู้เพิ่มเติม และให้อาจารย์รนุ่ ใหม่คอยช่วยอาจารย์ที่สนใจแต่ยังไม่เคย ได้ลองใช้ นอกจากนี้ยังเตรียมบุคลากรเพื่อช่วยผู้สอนใน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ การชักชวนผู้สอนคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน...” “...ซึ่งปัจจัยทีท่ าให้ e-Learning ได้รับ การยอมรับและเปิดเป็นหลักสูตรมาจนปัจจุบันนี้ เนื่องจาก ผู้เริ่มต้นดูแล บริหารและจัดการการใช้ระบบออนไลน์ใน การเรียนการสอน ถ้าหากไม่มีผู้เล็งเห็นความสาคัญ และ พัฒนาการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง การใช้ระบบออนไลน์ อาจหายไปจากคณะ...” ในขณะที่ผู้สอนซึ่งเป็นผู้สนับสนุน การเปลี่ยนแปลงในการเรียนอีเลิร์นนิงในสถาบันของเอกชน ให้ความเห็นว่า “...อาจารย์ผู้สอนสร้างปฏิสัมพันธ์ใน การเรียน มีการให้ผลป้อนกลับ และเข้ามาตอบคาถาม ออนไลน์อยู่เสมอ ซึ่งนักศึกษาที่นี่ชอบการมีปฏิสัมพันธ์ เสมอๆ และแม้นักศึกษาเกิดปัญหาในการเรียนสามารถติดต่อ ศูนย์ให้บริการซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของศูนย์เทคโนฯ ของมหาวิทยาลัย เพื่อขอคาแนะนาได้ ทาให้นักศึกษาบอกต่อ 77


จนมีผตู้ ้องการลงทะเบียนเรียนจานวนเพิ่มขึน้ เรื่อยๆ และ เลือกเรียนในรายวิชาอื่นที่เปิดแบบอีเลิร์นนิงเช่นกัน”

6) การให้ผลตอบแทนเพิ่มเติมและการกาหนดให้สามารถ นามาเป็นผลงานเพื่อตอบตัวชี้วัด โดยการให้รางวัลและ การให้ผู้สอนสามารถสอนในทีท่ สี่ ะดวกและเหมาะสมกับ ผู้สอนโดยไม่จาเป็นต้องเข้ามาทีส่ ถาบัน เมื่อผู้สอนเห็น ประโยชน์ทเี่ กิดขึ้น ผู้สอนอาจมีแนวโน้มในการเลือกจัด การเรียนแบบอีเลิร์นนิงเพิ่มขึ้น (Rogers, 1986 และ ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และ ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน, 2553) นอกจากนีป้ ัจจัยด้าน ตัวแทนการเปลี่ยนแปลงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อ การยอมรับและนาระบบอีเลิรน์ นิงไปใช้ในด้านการให้ คาแนะนาและความช่วยเหลือ (Teo, 2010) และการโน้มน้าว ผู้สอนท่านอื่นให้เกิดแรงจูงใจในการใช้ระบบอีเลิรน์ นิงใน การจัดการเรียนการสอน (Havelock, 1995 และ Keller, 2000) กระบวนการในการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียน แบบอีเลิรน์ นิงดังกล่าว (Georgouli, Skalkidis และ Guerreiro, 2008) สะท้อนปัจจัยสาคัญที่ส่งเสริมให้ผู้สอน เลือกวิธีการจัดการเรียนแบบอีเลิร์นนิง ตามทฤษฎีของ Viau (Viau, 1994 อ้างถึงใน Georgouli, Skalkidis และ Guerreiro, 2008) ที่กล่าวว่าผู้สอนเลือกพิจารณาประโยชน์ที่เกิดขึ้นใน อนาคต ความน่าสนใจและคุณค่าของสิ่งนั้น และ ความสามารถในการควบคุม ดูแลการจัดการเรียนการสอน ได้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักการยอมรับนวัตกรรมของ Rogers (Roger, 1986) ที่กล่าวถึงหลัก 5 ประการในการเผยแพร่ นวัตกรรม คือ 1) การชี้ให้เห็นประโยชน์ของสิ่งนัน้ (Relative advantage) 2) ความเข้ากันได้หรือการนามาใช้แทนกันได้ (Compatibility) 3) ความซับซ้อน (Complexity) 4) การทดลองใช้ (Trialability) และ 5) การสังเกตได้ (Observability) อย่างไรก็ดีเมื่อผู้บริหารนาเสนอแนวทาง การจัดการเรียนการสอนแนวใหม่ให้ผู้สอนทราบ และผู้สอน เลือกที่จะลองจัดการเรียนการสอนด้วยกลวิธีดังกล่าวแล้ว ผู้บริหารควรมีหน้าที่ในการกาหนดนโยบายในการอบรม ผู้สอนให้มคี วามสามารถเบื้องต้นในการดูแลจัดการการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิงได้ (Wagner, Hassanein, and Head, 2008) เพื่อให้ผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

5) อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 อภิปรายผล การศึกษาครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาความคิดเห็นที่ มีต่อการส่งเสริมการยอมรับและการใช้การเรียนแบบ อีเลิร์นนิงจากผู้ส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงหรือตัวแทน การเปลี่ยนแปลง จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จาก การสัมภาษณ์และการศึกษาเอกสารและงานวิจัยต่างๆ พบว่า การยอมรับการเรียนแบบอีเลิร์นนิงของผู้สอนใน สถาบันการศึกษาเกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลต่อ ผู้สอน โดยปัจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลต่อผู้สอนได้แก่ 1) คณะจัดให้มีการให้ความรู้กบั ผู้สอน เพื่อทาความเข้าใจ การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงและเห็นประโยชน์ที่ เกิดขึ้นจากกระบวนการดังกล่าว (Roger, 1986) โดยการเปิด อบรมให้ผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม เพื่อทาความรู้จักและ ทาความเข้าใจรูปแบบการจัดการเรียนแบบอีเลิร์นนิง 2) คณะและ/หรือมหาวิทยาลัยจัดระบบจัดการการเรียนรู้ ให้กับผู้สอน เพื่อสร้างความสะดวกในการจัดการเรียน การสอน (Roger, 1986 และ ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และ ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน, 2553) 3) คณะและ/หรือมหาวิทยาลัยเปิดโอกาสให้ผู้สอนได้ ทดลองใช้ระบบอีเลิร์นนิง เพื่อเห็นประโยชน์อันเกิดจาก การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ได้แก่ ความสะดวก ในการติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน (Watkins, 2005) (ทั้งในด้าน การแจ้งกาหนดการเรียนและงานการเรียน) และการให้ ผลป้อนกลับ (Rogers, 1986 และ Huddlestone และ Pike, 2007) 4) คณะและ/หรือมหาวิทยาลัยจัดเวทีแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้ที่มี ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิง กับผูท้ ี่ไม่ เคยจัดการเรียนรูใ้ นรูปแบบดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อเป็นการสร้าง แรงจูงใจ ซึ่งเป็นการเพิ่มจานวนกลุ่มผู้สอนที่ยอมรับและใช้ ระบบอีเลิร์นนิงเพิ่มขึ้น (Havelock, 1995 และ Keller, 2000) 5) มหาวิทยาลัยกาหนดนโยบายในการจัดการเรียนการสอน แบบอีเลิรน์ นิง (ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และ ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน, 2553) และ 78


นอกจากจะนาหลักการเผยแพร่นวัตกรรมดังกล่าว มาใช้ในการเผยแพร่กระบวนการจัดการเรียนการสอนแนว ใหม่ให้ผู้สอนซึ่งเป็นผู้ออกแบบและจัดการการเรียนการสอน แล้ว สามารถนามาใช้กับผู้เรียนซึ่งเปรียบเสมือนลูกค้าที่เลือก เรียนด้วยกระบวนการดังกล่าว ซึ่งไม่เพียงแต่รูปแบบ การเรียนจะสะท้อนให้ผเู้ รียนเห็นประโยชน์ทอี่ าจเกิดขึ้นใน อนาคตเท่านั้น หากแต่ผู้เรียนยังมีเหตุผลอื่นๆ ในการเลือก เรียนด้วยรูปแบบการเรียนอีเลิรน์ นิง เช่น งานการเรียนใน การเรียนแบบออนไลน์ สื่อต่างๆ ในบทเรียน กลวิธีใน การจัดการเรียนการสอน การนาเสนอเนื้อหาในบทเรียน ลักษณะของตัวผูเ้ รียนเอง การบริหารการจัดการเรียนแบบ อีเลิร์นนิง และค่าใช้จ่ายในการเรียน เป็นต้น (Huddlestone และ Pike, 2007) อย่างไรก็ดีมุมมองดังกล่าวเป็นเพียง การเริ่มต้นในการตอบรับรูปแบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิง ซึ่งปัจจุบันแพร่หลายทั้งในประเทศและต่างประเทศ หากแต่ สิ่งสาคัญคือกระบวนการในการดาเนินการให้รปู แบบ การเรียนที่เอื้อประโยชน์ในหลายด้านและตอบสนองผู้เรียน ได้อย่างหลากหลาย สามารถดารงอยู่ต่อไป โดยมีผเู้ รียนเลือก เรียนด้วยรูปแบบดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่น่าสนใจและ ควรศึกษาเพื่อนาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนแบบอีเลิร์นนิง ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

แบบอีเลิรน์ นิง ทัง้ ด้านสถานที่ เวลา และการบริหารจัด การ ทั้งนี้ผบู้ ริหารสามารถเสริมนโยบายสนับสนุนผู้สอนที่ เลือกจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ด้วยการให้รางวัล หรือการอนุญาตให้การสอนด้วยรูปแบบดังกล่าวเป็นส่วน หนึ่งของผลงานที่สามารถรายงานของผู้สอนได้ เป็นต้น 3. การให้ผู้สอนจัดการเรียนการสอน แบบอีเลิรน์ นิง (Trailability) อย่างน้อย 1 รายวิชาในภาค การศึกษานั้นๆ เพื่อให้ผู้สอนได้สัมผัสการจัดการเรียน การสอนด้วยรูปแบบดังกล่าวด้วยตนเอง ซึ่งผู้สอนจะเห็น ประโยชน์จากการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงด้วย ตนเองอย่างแท้จริง ซึ่งจะสอดรับกับการชี้แจงรายละเอียด ของผูบ้ ริหารในขัน้ ต้น และอาจเกิดความคิดเห็นคล้อยตาม และเลือกจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงดังกล่าว 4. การสนับสนุนด้านเทคโนโลยีเพื่อช่วย ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ในด้านผูผ้ ลิตบทเรียนจากเนื้อหาที่ผู้สอน กาหนดและเจ้าหน้าที่เทคนิคในการควบคุมดูแลเครือข่าย เพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการสร้างบทเรียนและดูแล จัดการระบบการเรียนรู้ 5. การเผยแพร่ (Publication) เพื่อนาเสนอ แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ทุกที่ทุก เวลาให้เป็นที่รจู้ ัก เพื่อยกระดับสถาบันให้เป็นสากล สามารถ ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รียนและอานวยความสะดวก ให้ผเู้ รียนและผู้สอน ด้านข้อจากัดในการเข้ามาในสถาบัน การจัดสรรเวลาในการเรียนการสอนให้เหมาะสม เป็นต้น

5.2) ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ แนวทางในการส่งเสริมการยอมรับการจัดการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิงในสถาบันอุดมศึกษา ดังนี้ 1. การให้ความรู้เกี่ยวกับการเรียนแบบ อีเลิร์นนิง (Knowledge) ตามหลักการตัดสินใจยอมรับ นวัตกรรม (Rogers, 1986) โดยผู้บริหารมีหน้าที่ชี้แจง รายละเอียดในการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง รวมทั้งกาหนดนโยบายด้านการจัดการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง ในด้านการฝึกอบรมผู้สอนในการดาเนินการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่มคี วามสาคัญในการจัดการเรียนแบบอีเลิร์นนิง และการกาหนดนโยบายที่เอื้อประโยชน์ต่อผู้สอนที่จัด การเรียนแบบอีเลิร์นนิง อาทิ สถานที่สอน (Anywhere Anytime) เป็นต้น 2. การจูงใจผู้สอน (Persuasion) โดย การสะท้อนให้ผู้สอนเห็นประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการสอน

5.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. การศึกษาการตัดสินใจเลือกศึกษาด้วยรูปแบบ การเรียนแบบอีเลิร์นนิงอย่างต่อเนื่องในรายวิชาต่างๆ ใน สถาบัน 2. การศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการยอมรับ และนาการจัดการเรียนแบบอีเลิรน์ นิงไปใช้อย่างต่อเนื่อง

6) เอกสารอ้างอิง ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ, เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และ ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน. (2553). การเรียน การสอนแบบผสมผสาน: ข้อเสนอแนะ การส่งเสริมการยอมรับของผู้สอน และ 79


การจัดการเรียนการสอนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ แบบนาตนเอง. วารสารร่มพฤกษ์. 29 (1). หน้า 65 – 88. รัชนีวรรณ ตั้งภักดี. (2548). การศึกษาคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของผู้สอนออนไลน์ในระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Teo, T. (2010). Development and validation of the Elearning Acceptance Measure (EIAM). International and Higher Education. 13. P. 148 – 152. Wagner, N.; Hassanein, K. and Head, M. (2008). Who is responsible for E-Learning Success in Higher Education? A Stakeholder Analysis. Educational Technology & Society. 11 (3). P. 26 – 36. Watkins, R. (2005). 75 e-Learning activities: making online learning interactive. US: Pfeiffer.

Bonk, C.J. and Graham, C.R. (2006). The Handbook of blended learning: global perspectives, local design. US: Pfeiffer. Canadian council on learning. (2009). State of eLearning in Canada. Ottawa: Canadian Council on Learning. Georgouli, K.; Skalkidis, I and Guerreiro, P. (2008). A Framework for Adopting LMS to Introduce e-Learning in a Traditional Course. Educational Technology & Society. 11(2). P. 228 – 240. Havelock, R.G. (1995). The Chang Agent’s Guide. Second Edition. Englweood Cliffs, N.J.: Educational technology. Huddlestone, J. and Pike, J. (2007). Seven key decision factors for selecting e-learning. Cognition, Technology and Work. 10(3). P. 237 – 247. Keller, J. (2000). How to integrate learner motivation planning into lesson planning: The ARCS model approach. Retrieved from: http://mailer.fsu.edu/%7Ejkeller/Articles/Kel ler%202000 %20ARCS%20Lesson%20Planning.pdf Liao, H.L. and Lu, H.P. (2008). Richness Versus Parsimony Antecedents f Technology Adoption Model for E-Learning Websites. Lecture Notes in Computer Science. 5145. P. 8 – 17. National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC). (2010). Internet Users and Statistics in Thailand. Retrieve from: http://internet. nectec.or.th/webstats/ home.iir?Sec=home. Oblinger, D.G.; Barone, C.A. and Hawkins, B.L. (2001). Distributed Education and Its Challenges: An Overview. Distributed Education: Challenges, Choices, and a New Environment. Retrieve from: http://www.acenet. edu/bookstore/pdf/distributedlearning/distributed-learning-01.pdf. Organization for Co – operation and Development (OECD). (2005). E-Learning in Tertiary Education. Policy Brief. December. Rogers, E.M. (1986). Diffusion of Innovations. New York : The Free Press. 80


การศึกษานอกสถานที่เสมือนจริงด้วยเว็บ 3.0 เพื่อส่งเสริมความเข้าใจในวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน Virtual Fieldtrip with Web 3.0 to Enhance the Cultural Understanding of ASEAN Member Countries ปาริฉัตร ละครเขต1, พิมพ์พักตร์ จุลนวล2, พิสิฐ แย้มนุ่น3 1 นิสิตปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (lakornkhet9@hotmail.com) 2 นิสิตปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (adore_men99@hotmail.com) 3 นิสิตปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (p.yaemnun@hotmail.com)

บทคัดย่อ

ABSTRACT Nowadays, Internet is playing a vital role in the field of education. According to the Internet era, web 3.0 is the forthcoming era, which is equipped with the new technologies. Such technologies included semantic web, simulation of three-dimensional model which offers more realistic, and freedom of video sharing.This article discusses the use of web 3.0 technology for e-Learning activity highlighting the use of virtual field trip in order to enhance the cultural understanding of ASEAN member countries. Such activity will offer students’ opportunities for visiting famous places of each country presenting the cultural differences through the three-dimensional model. In addition, students can appreciate the differences of ways of dressing among each countries presenting through the characters of virtual representatives. Based on such experience, students would enhance their cultural understanding of differences among ASEAN member countries thoroughly.

ปัจจุบันการใช้งานอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อ การศึกษาเพิ่มมากขึ้นโดยขณะนี้ได้ก้าวเข้าสู่ยุคของการใช้ เทคโนโลยีเ ว็บ 3.0 ที่ม าพร้อ มกับ เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น มาตรฐานของความหมาย การจาลอง 3 มิติ ที่จ ะเพิ่ม ความเหมือนจริง และวีดีโอเปิดเสรี เป็ น ต้น ในบทความนี้ จะนาเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ เสมือนจริงด้วยเทคโนโลยีเว็บ 3.0 ซี่งจะเน้นในเรื่องของการ จ าลอง 3 มิ ติ ข องสถานที่ ส าคั ญ ของประเทศสมาชิ ก ใน ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการจาลอง 3 มิติของการแต่งกาย ที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศสมาชิกซึ่งจะมีค วามเสมือน จริ ง ด้ ว ยเทคโนโลยี เ ว็ บ 3.0 เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความเข้ า ใจใน วัฒนธรรมของประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียน โดยให้ ผู้เรียนสามารถเข้าไปสัมผัสกับสถานที่สาคัญ ๆ ของแต่ละ ประเทศ และเห็นถึงรูปแบบการแต่งกายที่แตกต่างกันของ แต่ละประเทศ ผ่านทางตัวละคร ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความเข้าใจในวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกในประชาคม อาเซียนมากยิ่งขึ้น

Keywords: Virtual fieldtrip, Web 3.0, ASEAN member countries, Cultural understanding

81


3) สามารถเรียนรู้รายบุคคลได้ 4) ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดจินตนาการ และรักในการ แสวงหาความรู้ 5) การศึกษานอกสถานที่เสมือนช่วยประหยัดเวลาของผู้สอน ในการจัดเตรียมขั้นตอนต่าง ๆ ในการพาผู้เรียนไปแสวงหา ความรู้นอกสถานที่ 6) การศึกษานอกสถานที่เสมือนค่าใช้จ่ายไม่แพงเท่า การศึกษานอกสถานที่จริง 7) การศึกษานอกสถานที่เสมือนไม่ต้องกังวลกับสภาพอากาศ ระหว่างการเรียนรู้ 8) การศึกษานอกสถานที่เสมือนสามารถแบ่งปันความรู้ และ ความคิดเห็นถึงกันได้ทั่วโลก 9) การศึกษานอกสถานที่เสมือนเปิดให้ผู้เรียนและผู้สอนไป ยังทุกสถานที่ และทุกเวลา

คาสาคัญ: การศึกษานอกสถานที่เสมือน, เว็บ 3.0, ประเทศ ในกลุ่มอาเซียน, ความเข้าใจในวัฒนธรรม

1) บทนา การศึกษานอกสถานที่เสมือนเป็นการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนรูปแบบหนึ่งที่ ส่งเสริ มการเรียนรู้ข องผู้เรี ยนให้ มี ความสนใจในบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น ปัจจุบันในยุคที่เทคโนโลยี ต่าง ๆ มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ มีบทบาทสาคัญต่อการเรียนรู้ ก็ได้มีการพัฒนาไปด้วยเช่นกัน ในอนาคตเทคโนโลยีเว็บ 3.0 จะเป็นสิ่งที่เข้ามาแทนที่เทค โนโลเว็ บ 2.0 ที่ ใ ช้ กั น อยู่ ใ นปั จ จุ บั น การน าจุ ด เด่ น ของ เทคโนโลยี เ ว็ บ 3.0 เช่ น การจ าลอง 3 มิ ติ ที่ จ ะเพิ่ ม ความ เสมื อนจริง มาประยุ กต์ ใช้ใ นการจั ดการเรี ยนการสอนเพื่ อ ส่งเสริมเข้าใจในวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน จะเป็นการ กระตุ้นในให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการที่จะเรียนรู้ถึงความ แตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน และเป็น การเตรี ย มความพร้ อ มให้ กับ ผู้ เ รี ย นถึ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ กาลังจะมาถึง

2.2) รูปแบบของการศึกษานอกสถานที่เสมือน การศึกษานอกสถานที่เสมือนที่นามาใช้ในการเรียนการสอน มีอยู่ 3 แบบ ดังนี้ (Foley, 2001 อ้างถึงใน กรกช รัตนโชติ, 2547) 1) ใช้เว็บที่มีผู้จัดทาแล้ว คือเว็บที่มีผู้ทาเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการ ศึกษาอยู่แล้ว โดยผู้สอนทารายชื่อเว็บที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ นั้น แล้วให้ ผู้เรียนเข้าไปศึกษา และทารายงานตามที่ได้รับ มอบหมาย 2) ใช้เว็บที่เป็นการศึกษานอกสถานที่เสมือนโดยเฉพาะ ซึ่งมี ผู้พัฒนา ซึ่งมีผู้พัฒนาขึ้นมาอาจประกอบด้วยข้อความ และรูป ถ่าย 3) ใช้เว็บการศึกษานอกสถานที่เสมือนที่ผู้สอนเป็นผู้สร้าง ขึ้นมาเฉพาะสถานที่ที่ต้องการศึกษา ซึ่งผู้สอนต้องเสียเวลา ในการจัดทา แต่สามารถสร้างเว็บได้ตามต้องการ ทั้งเนื้อหา รูปภาพประกอบ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น

2) การศึกษานอกสถานที่เสมือน Foley (2001) กล่าวว่า การศึกษานอกสถานที่เสมือน (Virtual fieldtrip) คือ การสารวจและการบรรยายการท่องเที่ยวโดย ผ่านเว็บไซต์ (Web site) หรือจากตัวเชื่อมโยง (Link) ไปยัง เว็บไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถไป ยั ง สถานที่ ใ ดที่ ห นึ่ ง เพี ย งแค่ การกดปุ่ ม เพี ย งปุ่ ม เดี ย วโดย เครือข่ายการเชื่อมโยง 2.1 ประโยชน์ของการศึกษานอกสถานที่เสมือน การศึกษานอกสถานที่เสมือนยินยอมให้ผู้เรียน เรียนรู้ได้ทุก สิ่ง และเยี่ยมชมสถานที่ได้ทั่วโลกหรือภายนอกโลกก็ได้ ซึ่ง Foley (2001) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการใช้การศึกษานอก สถานที่เสมือนในการเรียนการสอนไว้ว่า 1) ใช้เวลาเรียนในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) มีการคัดแยกเนื้อหา และจัดเว็บเชื่อมโยงให้เหมาะสมกับ ระดับของผูเ้ รียน

2.3) ขั้นตอนการจัดการศึกษานอกสถานที่เสมือน ในการจั ด กิ จ กรรมการศึ ก ษานอกสถานที่ เ สมื อ น ผู้ ส อน จ าเป็ น ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ความสามารถ ความต้ อ งการ และ ประสบการณ์เดิม ของผู้เรี ยนแต่ล ะคน เพื่ อจะได้จั ดเตรีย ม กิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิมธิภาพ ดังนั้นการวางแผนใน 82


การจัดกิจกรรมการศึกษานอกสถานที่เสมือนเป็นสิ่งที่สาคัญ และจาเป็น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนมาก ที่สุด 1) ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันกาหนดเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ของการศึกษานอกสถานที่เสมือน 2). ผู้สอนให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียนกาลังจะศึกษา และมอบหมายงานซึ่งอาจจะเป็นงานเดี่ยว และงานกลุ่มก็ได้ 3) ผู้เรียนสารวจ ค้นคว้า บันทึกข้อมูล ที่ได้จากการศึกษานอก สถานที่เสมือน ในโลกเสมือนจริง 4) ให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้ระหว่างสิ่งที่นักเรียนสังเกตุหรือ สารวจพบมา กับสิ่งที่นักเรียนเคยเรียนรู้โดยการจัดทารายงาน และนาเสนอผลงาน 4) การประเมินผล เป็นการวิเคราะว่าการศึกษานอกสถานที่ ครั้งนี้ประสบความหรือไม่ หรือบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากรายงาน หรือการทดสอบ

อ่ านข้ อ มู ล ต่ างๆ ได้ เ พี ย งอย่ างเดี ย ว ไม่ มี ส่ วนร่ วมในการ นาเสนอหรือมีส่วนร่วมค่อนข้างน้อย Web 2.0 ในยุคนี้ ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตสามารถสร้างเนื้อหา และนาเสนอข้อมูลต่างๆ มีการแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน อย่ างเช่ น เว็ บ สารานุ ก รมออนไลน์ Wikipedia ได้ ท าให้ ความรู้ถูกต่อยอดไปอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลทุกอย่างได้มาจาก การเติมแต่งอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทาให้ข้อมูลนั้นถูกต้องมาก ที่สุด และจะถูกมากขึ้น เมื่อเรื่องนั้นถูกขัดเกลามาเป็นเวลา ยาวนาน หรือการแชร์ไฟล์มัลติมีเดียใน Youtube เป็นต้น นอกจากนี้ผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ หรือบุคคลทั่วไปยัง สามารถเพิ่มเติมข้อมูล หรือสารสนเทศต่างๆ เพื่อให้เว็บไซต์ มีความสมบูรณ์และมีข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด Web 3.0 เป็นการเพิ่มแนวความคิดในการจัดการข้อมูลซึ่งเพิ่ม จานวนขึ้นอย่างมากมาย จากผลพวงของเว็บในยุค Web 2.0 ทาให้เว็บต่าง ๆ ต้องมีระบบบริหารจัดการเว็บให้ดีขึ้น ง่ายขึ้น ด้ ว ยรู ป แบบ metadata ซึ่ ง ก็ คื อ การน าข้ อ มู ล มาบอก รายละเอียดของข้อมูล หรือ data about data โดยระบบเว็บจะ จัดการค้นหาข้อมูลให้เราเองหรืออาจกล่าวโดยสรุปง่าย ๆ ว่า Web 1.0 = อ่านอย่างเดียว, ข้อมูลที่หยุดนิ่งอยู่กับที่ด้วยการใช้ Markup แบบง่าย ๆ Web 2.0 = อ่าน/เขียน, ข้อมูลที่มีการเคลื่อนไหว รวมทั้งการ บริการทางเว็บ (Web Services) Web 3.0 = อ่าน/เขียน/ความเกี่ยวข้อง, ข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ ของ Metadata หรือข้อมูลที่มีการบอกรายละเอียดของข้อมูล อีกที

3) Web 3.0 คืออะไร Web 3.0 นั้นเป็นพื้นฐานจากการนา Web 2.0 มาทาการพัฒนา และต่ อยอด โดยมีการปรั บปรุ งและแก้ไ ข Web 2.0 ให้ มี ระบบบริหารจัดการเว็บที่ดีขึ้น ง่ายขึ้น เนื่องจากในยุค Web 2.0 นั้นผู้ใช้มีการสร้างเนื้อหาได้อย่างสะดวกและง่ายขึ้น ทา ให้ มีจานวนเนื้อหาจานวนมากไม่ว่าจะเป็น Blog, รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดียต่างๆ ซึ่งส่งผลต่อมาก็คือ ปัญหาในการค้นหา และเข้าถึงข้อมูล จึงมีความจาเป็นที่จะต้องหาแนวคิดหรือ วิธีการในการจัดการข้อมูลให้เป็นระบบ และมีการเชื่อมโยง ถึง กัน เพื่ อ เพิ่ ม ประสิท ธิ ภาพในการค้น หาและเข้ าถึ ง โดย แนวคิดดังกล่าวนั้นเป็นที่มาของการพัฒนาไปสู่ยุค Web 3.0 นั่นเอง

Web 3.0 “Read – Write – Execute” เป็นการคาดการณ์ ลั ก ษณะของการแสดงเนื้ อ หา ข้ อ มู ล และการโต้ ต อบกั น ระหว่างเจ้าของ เว็บไซต์และผู้สนใจเข้าชมเว็บไซต์ ซึ่งในยุค Web 3.0 ผู้ใช้บริการสามารถอ่าน เขียน และทาการจัดการกับ เนื้ อหาและปรั บแต่ งแก้ไขข้ อมู ลหรื อระบบได้ อ ย่างอิสระ หรือในอีกลักษณะหนึ่งของ Web 3.0 คือ “Read – Write – Relate” เป็นลักษณะของการเชื่อมโยงข้อมูลเข้าด้วยกันมาก

การใช้งานอินเตอร์เน็ตถูกแบ่งออกเป็นยุค ๆ ซึ่งมีการพัฒนา โดยมีหลักการในการนาเสนอข้อมูลหรือเนื้อหาคือ Web 1.0 เว็ บ ไซต์ ใ นยุ ค นี้ จ ะเป็ น การน าเสนอข้ อ มู ล ต่ า งๆ ของผู้ ให้ บ ริ ก ารเว็ บ ไซต์ เผยแพร่ แ ก่ บุ ค คลทั่ ว ไปที่ ส นใจ โดย เนื้อหาจะมีลักษณะเช่นเดียวกับหนังสือ คือ ผู้สนใจเข้ามา 83


ขึ้ น แทนที่ จ ะเป็ น เพี ย งข้ อ มู ล ที่ สามารถอ่ า นและเขี ย นได้ เท่ า นั้ น ซึ่ ง จะมี ป ระโยชน์ ต่ อ มาคื อ เมื่ อ เราสามารถหา ความสัมพันธ์และการเชื่อมโยง ข้อมูลต่าง ๆ ได้ ก็จะทาให้เรา เข้าใจความหมายของเครือข่ายการเชื่อมโยงต่าง ๆ มากขึ้น

เว็บ ไซต์ใ ห้มี ความน่าสนใจมากขึ้น เนื่ องจาก Web 3.0 มี ปริมาณความจุที่สามารถรองรับข้อมูลได้มากกว่าเดิม มีพื้นที่ เพียงพอสาหรับการทากิจกรรมต่างๆ บนเว็บ จากเว็บ 3.0 ที่ได้กล่าวมาสามารถนามาใช้ในการเรียนการ สอน คือ สามารถสร้างเครือข่ายของข้อมูลขึ้นมาเพื่อความ สะดวกในการค้นหาและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทาให้มีการ เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับแหล่งข้อมูลอื่นๆ ช่วยวิเคราะห์ ข้ อ มู ล ให้ เ ห็ น ภาพชั ด เจน รวมถึ ง การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ที่ เกี่ยวข้องมาไว้ด้วยกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน ช่วยเพิ่มโอกาสให้ ผู้เรียนสามารถเข้าชมหน้าเว็บ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน และผู้ สอน สามารถหา ความหมาย หรื อ ข้ อ มู ล ต่ างๆ ได้ ละเอียด และแม่นยามากขึ้น สามารถจัดการเรียนการสอน แบบผสมผสานด้วยโปรแกรมหรือบริการต่างๆของเว็บ เช่น การนาเอาเทคโนโลยี 3 มิติ มาช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ สนใจ นอกจากนี้ยั งสามารถตอบสนองความต้ องการของ ผู้เรียนและผู้สอน

รูปแบบหรือลักษณะโดยทั่วไปของเว็บไซต์ในยุค Web 3.0 นั้นมีการพัฒนาให้กลายเป็น Semantic Web ซึ่งเป็นการสร้าง เครือข่ายของข้อมูลขึ้นมาเพื่อความสะดวกในการค้นหาและ เข้าถึงได้อย่างรวดเร็วทาให้มีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับ แหล่ ง ข้ อ มู ล อื่ น ๆ ที่ มี เ นื้ อ หาสั ม พั น ธ์ กั น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ Semantic Wiki เป็นการอธิบายคา ๆ หนึ่ง คล้ายกับดิกชันนารี ทาให้สามารถหา ความหมาย หรือข้อมูล ต่างๆ ได้ละเอียด และแม่นยามากขึ้น มีการนา Web 3D เข้า มาใช้ทาให้ตื่นเต้นน่าดู น่าสนใจ Composite Applications เป็นการผสมผสาน Application หรือโปรแกรม หรือบริการ ต่ า ง ๆ ของเว็ บ ที่ ม าจากแหล่ ง ต่ า ง ๆ เข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น เพื่ อ ประโยชน์ของผู้ใช้งาน Ontology Language หรือ OWL เป็น ภาษาที่ใช้ในการอธิบายสิ่งต่างๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน โดยดู จากความหมายของสิ่ ง นั้ น ๆ ซึ่ ง ก็ จ ะเชื่ อ มโยงกั บ ระบบ Metadata รวมไปถึ ง การท าให้ เ ว็ บ ไซต์ มี ลั ก ษณะของ Artificial intelligence (AI) ซึ่ง ท าให้ เว็ บไซต์สามารถ ตอบสนองผู้ใช้งานได้อย่างชาญฉลาด คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น และสามารถแสดงข้อมูล เฉพาะส่วนที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ได้

4) กรณีศึกษาการศึกษานอกสถานที่เสมือนจริงด้วยเว็บ 3.0 เพื่อส่งเสริมความเข้าใจในวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่ ม อาเซียน 4.1 ตัวอย่างเครื่องมือ Second Life Second Life เป็นซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Linden Lab มีผู้ก่อตั้งเป็นอดีตหัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีของ บริษัท Real Network อดีตยักษ์ใหญ่ในวงการด้านธุรกิจ อินเตอร์เน็ตและมัลติมีเดีย Second Life ถูกสร้างขึ้นโดยได้ แรงบรรดาลใจมาจากนวนิ ย ายวิ ท ยาศาสตร์ ชื่ อ ดั ง อย่ า ง Cyberpunk และ Snow Crash นักเทคโนโลยีจานวนมากกล่าว ยกย่องว่ามันคือ "นวัตกรรมของอนาคต" หรือสิ่งประดิษฐ์ใน ยุคหน้า นักธุรกิจและนักการศึกษาทั่วโลก มองว่าในอนาคต อันใกล้ มันคือทางเลือกของการลงทุนและสื่อโต้ตอบที่กาลัง จะเข้ามาอิทธิพล

จุดเด่นของ Web 3.0 คือ ความสามารถในการจั ดการกับ ข้อมูลที่มีความสลับซับซ้อนได้ โดยเฉพาะเมื่อเนื้อหามีความ หลากหลายมากขึ้น มี การแบ่ง หมวดหมู่ ต่างๆ มากขึ้น ซึ่ ง Web 3.0 จะช่วยวิเคราะห์ข้อมูลให้เห็นภาพชัดเจน รวมถึง การเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาไว้ด้วยกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน ช่วยเพิ่มโอกาสให้มีคนเข้าชมหน้าเว็บของเราหรือเนื้อหาของ เราได้มากขึ้น เป็นการเพิ่มจานวนผู้เข้าชมเว็บ ขณะเดียวกันก็ จะทาให้ เข้าถึงความต้องการแต่ละบุคคลได้มากขึ้น ทาให้ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น นอกจากการจัดการ ข้ อ มู ล ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพแล้ ว ยั ง สามารถโฆษณาบนหน้ า 84


Second Life หรือโปรแกรมจาลองสังคม 3 มิติ หรือ Virtual World (โลกเสมือนจริง) เป็นโปรแกรมซึ่งทุกคนสามารถ สมัครเข้าร่วมใช้งานได้ฟรี หลังจากลงทะเบียนสมัครผ่านเข้า ไป ทุกคนจะได้ควบคุม "Avatar" หรือตัวละครเสมือนหนึ่ง ตน โดยสามารถใช้อวตารท่องเที่ยวไปยังโลกของ Second Life พบปะเพื่อนฝู ง ช๊อ ปปิ้ง เที่ยวเล่น ทากิจ กรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถใช้อวตารของไปสมัครหางานทา เข้าฟัง งานสัมนาต่างๆ สมัครโปรแกรมเรียนภาษา หรือกระทั่งเปิด ธุรกิจขายสินค้าในโลกเสมือนจริง กิจกรรมที่เกิดขึ้นใน Second Life 1) Make Friend : การพบปะเพื่อนใหม่ๆเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ในโลกเสมือนจริงที่ซึ่งผู้คนทั่วโลกมารวมตัวกัน โดยทั่วไป เราสามารถสื่อสารผ่านการแชทด้วยการพิมพ์คีย์บอรด์ หรือ จะใช้ไมค์พูดคุยกันโดยตรง 2) Dancing : การเต้นรา เป็นกิจกรรมพื้นฐานที่เข้าร่วมได้ ตามผับต่างๆ คอนเสิร์ต หรืองานเปิดตัวสินค้าต่างๆ 3) Camping : เป็นวิธีหาเงิน L$ พื้นฐานสาหรับคนที่ต้องการ หาเงิน L$ โดยที่ไม่ต้องลงทุนใดๆ 4) Fashion : ทุกคนที่เล่น Second Life จะได้บังคับ avatar คน ละหนึ่งตน ด้วยการแต่งตัว avatar ให้เข้ากับรสนิยม และ อารมณ์ของเจ้าของ 5) Traveling : ใน Second Life การท่องเที่ยวเป็นอีกหนึ่ง กิจกรรมของคนที่ชอบค้นหาอะไรแปลกๆใหม่ 6) E-Learning : ที่นี่เป็นสถานที่แห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง มี คอรส์ต่างๆให้คุณได้สมัครเรียนเสริมความรู้อย่าง Language Lab ซึ่ ง เปิ ด สอนภาษาอั ง กฤษแก่ ผู้ ที่ ส นใจ รวมไปถึ ง การศึกษาแบบเต็มรูปแบบซึ่งหาได้จากมหาวิทยาลัยต่างๆ เช 7) Conference : หลายบริษัทระดับโลกที่มาจัดประชุม สัมนา ต่างๆใน Second Life โดยบริษัทเหล่านั้นเล็งเห็นว่า Second Life สะดวกในการใช้ ง าน รองรั บ ผู้ ค นจ านวนมากและ สามารถลดค่าใช้จ่ายได้มาก

8) Charity : มีหลายองค์กรการกุศลที่เข้ามา Second Life เพื่อ ก่อตั้งโครงการหาบริจาคสมทบทุนในด้านต่างๆ

รูปที่ 1 : ตัวอย่างสถานที่ต่าง ๆ ในโลกเสมือนจริง และส าหรั บ ประเทศไทยที่ ก าลั ง จะก้ า วเข้ า สู่ ป ระชาคม อาเซีย นการเรี ยนรู้ วัฒนธรรมของประเทศกลุ่ม ประชาคม อาเซียนก็เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ ง การเตรียมความพร้อมเพื่อ ก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนนั้น ประเทศไทยในฐานะ ที่เป็นผู้นาในการก่อตั้งสมาคมอาเซียน มีศักยภาพในการเป็น แกนนาในการสร้างประชาคมอาเซียนให้เข้มแข็ง จึงได้มีการ เตรียมความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นประชาอาเซียน โดย จะมุ่ง เน้น เรื่ อ งการศึกษา ซึ่ งจัดอยู่ในประชาคมสังคมและ วัฒนธรรม ที่จะมีบทบาทสาคัญที่จะส่งเสริมให้ประชาคม ด้านอื่น ๆ ให้มีความเข้มแข็ง เนื่องจากการศึกษาเป็นรากฐาน ของการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน และจะมีการส่งเสริมให้ประเทศ ไทยเป็นศูนย์กลางด้านอาเซียนศึกษา เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้าน ศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนด้วย การศึกษา ด้วยการสร้างความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับเพื่อนบ้าน ในกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย น ความแตกต่ างทางด้ านชาติ พั น ธุ์ หลักสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการส่งเสริมการเรียนการสอน ภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาการติดต่อสื่อสารระหว่างกันใน ประชาคมอาเซียน

85


4.2) ตัวอย่างแนวทางการส่งเสริมความเข้าใจในวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน ขั้นตอนการศึกษานอกสถานที่เสมือน ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ 1. กาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษานอก 1. ผู้สอนกาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา สถานที่เสมือน น อ ก ส ถ า น ที่ โ ด ย โ พ ส ต์ ข้ อ ค ว า ม ใ น ป ร ะ ก า ศ (Announcement) ของระบบจัดการเรียนรู้ (LMS) รายวิชา 2. ผู้สอนให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียนกาลังจะศึกษา 2. ผู้สอนนาเสนอลิงค์จากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ข้อมูล และมอบหมายงาน เกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ ผู้ เ รี ย นศึ ก ษา และมอบหมายงานใน Assignment ของระบบจัดการเรียนรู้รายวิชา 3. ผู้เรียนสารวจ ค้นคว้า บันทึกข้อมูล ที่ได้จากการศึกษา 3. ผู้เรียนสารวจค้นคว้า ในโลกเสมือนจริงดังตัวอย่างใน นอกสถานที่เสมือน ในโลกเสมือนจริง รูปที่ 2 และ 3 แล้วบันทึกข้อมูลใน Blog ของระบบจัดการ เรียนรู้รายวิชา

รูปที่ 2 ตัวอย่างสถานที่สาคัญของประเทศกัมพูชา

รูปที่ 3 ตัวอย่างสถานที่สาคัญของประเทศอินโดนีเซีย

รูปที่ 4 ตัวอย่างประเพณีลอยกระทงของประเทศไทย 4. ให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้ระหว่างสิ่งที่นักเรียนสังเกตุ 4. ผู้เรียนสะท้อนความคิดที่ได้จากการศึกษานอกสถานที่ หรือสารวจพบมา กับสิ่งที่นักเรียนเคยเรียนรู้โดยการจัดทา เสมือนลงในบล็อก หรือวิกิ ของระบบจัดการเรียนรายวิชา รายงาน และนาเสนอผลงาน 86


ดังนั้นการนาเทคโนโลยีของ Second Life มาประยุกต์ใช้ใน การเรียนรู้วัฒนธรรมของสมาชิกประชาคมอาเซียน เป็นสิ่งที่ สะท้อนวัฒนธรรมของแต่ละประเทศได้ดีอย่างยิ่ง คือ การ จาลองสถานที่สาคัญของแต่ละประเทศ การแสงวัฒนธรรม การแต่ ง กาย ภาษาที่ ใ ช้ เป็ น ต้ น โดยสะท้ อ นวั ฒ นธรรม ดั ง กล่ า วผ่ า นโลกเสมื อ นและตั ว ละครอวตาร ซึ่ ง ผู้ เ รี ย น สามารถสมั ครสมาชิกและเข้ าไปในโลกเสมือ นของแต่ล ะ ประเทศเพื่อเรียนรู้วัฒนธรรมต่างๆ ได้

ความเข้าใจในวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกในประชาคม อาเซียนมากยิ่งขึ้น และสามารถทาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้

เอกสารอ้างอิง สุภาภรณ์ ทิพยากรณ์. (2554). วิวัฒนาการของ Web. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.learners.in.th/blogs/posts/509609 [5สิงหาคม 2555]. ธนกร ปัญญาแก้ว. (2554). Web 1.0 - 4.0 แตกต่างกัน อย่างไร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/508745 [5 สิงหาคม 2555]. กรกช รัตนโชติ. (2547). การนาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรม การศึกษานอกสถานที่เสมือนในการเรียนการสอน บนเว็บกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วั ฒ นธรรมส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนต้ น . วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต . สา ข า วิ ชา โ ส ต ทั ศ น ศึ ก ษ า ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลวัชร คล้ายนาค. (2551). การสร้างพิพิธภัณฑ์เสมือนจริง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ารศึ กษาสถาปั ต ยกรร มไทย : กรณี ศึ ก ษาเรื อ นไทลื้ อ . วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา มหาบัณฑิต. สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบ สื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Foley, Kim. (2001). The Big Pocket Guide to Using & Creating Virtual Field Trips. Washington. http://www.secondlifethai.com/

รูปที่ 5 : ตัวอย่างสถานที่ ที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่าง ทางวัฒนธรรม

5) สรุป จากตัวอย่างที่ นาเสนอมาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการศึกษา นอกสถานที่เสมือนจริงด้วยเว็บ 3.0 เพื่อส่งเสริมความเข้าใจ ในวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน เท่ านั้น และจาก บทความนี้ได้แสดงให้เห็นว่าการนา web 3.0 มาประยุกต์ใช้ ช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน เนื่องจากในบทความนี้จะ น าเสนอแนวทางการจั ด กิจ กรรมทั ศ นศึ ก ษานอกสถานที่ เสมือนจริงด้วยเทคโนโลยีเว็บ 3.0 ซึ่งจะเน้นในเรื่องของการ จ าลอง 3 มิ ติ ข องสถานที่ สาคั ญ ของประเทศสมาชิ กใน ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการจาลอง 3 มิติของการแต่งกาย ที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศสมาชิกซึ่งจะมีความเสมือน จริงด้วยเทคโนโลยีเว็บ 3.0 เพื่อส่งเสริมความเข้าใจใน วัฒนธรรมของประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียน โดยให้ ผู้เรียนสามารถเข้าไปสัมผัสกับสถานที่สาคัญ ๆ ของแต่ ละ ประเทศ และเห็นถึงรูปแบบการแต่งกายที่แตกต่างกันของแต่ ละประเทศ ผ่านทางตัวละคร ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมี 87


ประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะและเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว e-Learning Management Experience in Using Public Computer and Private Computer

วรรณา ตรีวิทยรัตน์1, พิชิต ตรีวิทยรัตน์2 1

ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล wanna.tri@mahidol.ac.th, wanna_kae@hotmail.com

2

ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล pichit.tri@mahidol.ac.th, pichit2496@gmail.com

ABSTRACT The public computer and private computer were used to compare in the blended learning at RT e-Learning center, Department of Radiological Technology, Faculty of Medical Technology, Mahidol University. The results showed that the problems of using public and private computer were different. For public computer using’s problems, the incompleted supporting programs, no standard quality control, disturbance the process of learning and incareful using by learners were observed. The problems of private computer using were the supporting computer by individual learners and the introduced lesson and registered assisting in the first period of learning. For the learners who could not available the computers, the classroom activities could be practiced at Library. In conclusions, the using of public computer and private computer have some different problems at RT e-Learning center. The private computer using is appropriate for some departments that have insufficient budgets in e-Learning management. Keywords: e-Learning management, public computer, private computer

บทคัดย่อ ศูนย์การเรียนรู้อเี ลิร์นนิงสาหรับรังสีเทคนิค ภาควิชารังสี เทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จดั การ เรียนการสอนระบบอีเลิรน์ นิงแบบผสมผสาน โดยทาการ เปรียบเทียบระหว่างการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวของผู้เรียน พบว่า การเรียนการ สอนที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะจะมีปัญหาคือ ผู้ดูแล ระบบจะมีการลงโปรแกรมที่ไม่เหมือนกัน โปรแกรมที่ จาเป็นต้องใช้ลงไม่ครบ ไม่มีผู้ตรวจเช็คทุกเครื่องให้เป็น 88

มาตรฐานเดียวกัน ทาให้ขบวนการเรียนการสอนหยุดชะงัก เครื่อง เสียบ่อยเพราะผูใ้ ช้คิดว่าเป็นของสาธารณะ ขากการใส่ใจและดูแล รักษาจากผู้ใช้ ส่วนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวของผู้เรียน มีปัญหาคือ ผู้สอนต้องทาการประสานไปทีผ่ ู้เรียนก่อนเปิดภาค เรียนแรก เพื่อให้ผเู้ รียนจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว (Note book) และศึกษาการใช้เครื่องและลงโปรแกรมที่จาเป็นต้องใช้ให้ เรียบร้อยก่อนเปิดการสอน สาหรับผู้เรียนที่ไม่มเี ครื่อง คอมพิวเตอร์ ให้เรียนร่วมกับเพือ่ น ทากิจกรรมของชั้นเรียนโดย ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องสมุด ผู้ช่วยอาจารย์จะต้องช่วย แก้ปัญหาเฉพาะหน้า คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวของผู้เรียน ต้องต่อกับอินทราเน็ตของมหาวิทยาลัยและเปิดเข้าบทเรียนได้ หรือช่วยแก้ปัญหาการลงทะเบียนเข้าใช้งานโดยเครื่องทีเ่ ป็น สมบัติส่วนตัว ผู้เรียนจะคอยดูแลรักษาเป็นอย่างดี จึงสรุปได้ว่า การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว สาหรับการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงทีศ่ ูนย์การเรียนรู้ อีเลิร์นนิงสาหรับรังสีเทคนิคมีปญ ั หาที่แตกต่างกัน การใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนตัวอาจช่วยแก้ปญ ั หาในหน่วยงานที่มงี บ ประมาณไม่พียงพอในการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิรน์ นิง คาสาคัญ: การจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง, คอมพิวเตอร์สาธารณะ, คอมพิวเตอร์ส่วนตัว

1) บทนา ศูนย์การเรียนรู้อเี ลิร์นนิงสาหรับรังสีเทคนิค ภาควิชารังสี เทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้


จัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงเต็มรูปแบบเป็นครั้ง แรกในปีการศึกษา 2554 เป็นแบบผสมผสาน (Blended learning) ประกอบด้วย 2 รายวิชาหลัก คือวิชากายวิภาค ศาสตร์และรังสีกายวิภาคศาสตร์ ได้ใช้ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ที่มเี ครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะประมาณ 50 เครื่อง ผู้เรียนเป็นนักศึกษารังสีเทคนิคชั้นปีที่ 3 จานวน 56 คน ได้ทาการรวบรวมผลการศึกษาจาก จัดการเรียนการสอนในปีที่ผ่านมา โดยใช้การคิดอย่าง เป็นระบบ การคิดวิเคราะห์ และการคิดเชิงประยุกต์ พบว่าการดาเนินการเรียนการสอนติดขัด ไม่ราบรื่น จาก ปัญหาการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ แต่ด้วย ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการเรียนการสอน ระบบอีเลิร์นนิง ทีจ่ ะช่วยพัฒนาการเรียนรู้และศักยภาพ ของผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคของเทคโนโลยี สารสนเทศ จึงต้องหาวิธีการเพื่อแก้ไขให้การเรียนการ สอนนี้ดาเนินการต่อไปได้

คอมพิวเตอร์ส่วนตัวของนักศึกษา มีการโน้มน้าวให้นักศึกษา จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว โดยชี้ให้เห็นถึงความจาเป็น และประโยชน์ที่นักศึกษาจะได้รบั เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนตัวกลายเป็นสิ่งจาเป็นเช่นเดียวกับโทรศัพท์มือถือ แม้ว่า นักศึกษาไม่สามารถจัดซือ้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนตัวได้ทุก คน ก็แก้ปัญหาได้โดยให้เรียนร่วมกับเพื่อน ก่อนเปิดภาคการศึกษา 2 สัปดาห์ ผู้ทาการวิจัยก็จัดการนา รายชื่อนักศึกษาทั้งชั้นปีให้กบั ผูด้ แู ลระบบ เพื่อเปิด User name ให้กับผูเ้ รียน และแขวนเนือ้ หารายวิชา รวมทั้งแนะนา การเตรียมตัวก่อนเข้าเรียนในระบบอีเลิรน์ นิงไว้บนระบบ จัดการเรียนการสอน คือ Moodle แจ้งให้ผเู้ รียนทุกคนทราบ ทางอีเมล เพื่อให้ผเู้ รียนจัดการทุกอย่างให้เรียบร้อยก่อนเริ่ม การเรียนการสอนต่อไป ปีการศึกษา 2555 ได้ปรับเปลี่ยนมาใช้ห้องปฏิบตั ิการที่ไม่มี เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะแม้แต่เครื่องเดียว แต่ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์แบบส่วนตัวซึ่งเป็นเครื่องส่วนตัวของผู้เรียน โดยมีผู้เรียนทั้งหมด 69 คน

2) ที่มาและความสาคัญของการวิจัย 3) วัตถุประสงค์ ปัจจุบนั คณะเทคนิคการแพทย์ วิทยาเขตศาลายา มี ห้องปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ 2 ห้อง ห้องปฎิบัติการที่ 1 มี เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนกลางหรือเครื่องสาธารณะ ประมาณ 50 เครื่อง ห้องปฎิบัตกิ ารที่ 2 เป็นห้องปฎิบตั ิ การที่มีแต่โต๊ะ เก้าอี้ ปลั๊กไฟ และสายที่ต่อระบบ เครือข่าย แต่ยังไม่ได้เปิดใช้เลย มีผู้ดูแลระบบ 3 คน สาหรับรองรับการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องทั้งคณะ สภาพเครื่อง บางเครื่องก็ไม่พร้อมที่จะใช้งาน ขาดงบ ประมาณและบุคลากรที่จะมาดูแล ทาให้เป็นอุปสรรค สาคัญในการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง หลังจากทีผ่ ู้ทาการวิจัย ได้จัดการเรียนการสอนระบบอี เลิร์นนิงมาเป็นเวลา 1 ปีโดยใช้ห้องปฎิบัติการที่ 1 แต่ก็ เกิดปัญหามากมาย ผู้ทาการวิจัยจึงพยายามหาวิธีแก้ ปัญหาแบบแปลกใหม่ และคิดในสิ่งที่ยังไม่เคยคิดทามา ก่อน คือ จะทาอย่างไร ให้ห้องปฎิบัติคอมพิวเตอร์ที่ไม่มี เครื่องคอมพิวเตอร์แม้แต่เครื่องเดียว สามารถทาการ สอนระบบอีเลิร์นนิงได้ โดยไม่มีงบประมาณจัดซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเกิดแนวคิดการใช้เครื่อง

1. จัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงในห้องปฎิบัติการ คอมพิวเตอร์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว 2.เปรียบเทียบปัญหาของการจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์สาธารณะ และเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว

4) ขั้นตอนการศึกษา 1. วิเคราะห์ปัญหาจากการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิรน์ นิง ด้วยการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ 2.สารวจทรัพยากรที่มีอยู่ จากการสารวจพบว่า มีห้องปฎิบัติ การ 2 แต่ยังไม่เคยเปิดใช้เลย 3. วางแผนเตรียมสิ่งจาเป็นที่ตอ้ งใช้ สารวจอุปกรณ์ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ปลั๊กไฟ สายต่อระบบเครือข่ายจัดการส่งซ่อม และ จัดหาให้เพียงพอสาหรับนักศึกษา 69 คน 4. วางแผนให้นักศึกษาจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวโดย การโน้มน้าว ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นและประโยชน์ที่ นักศึกษาได้รบั ในการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว 89


5. จัดทาบัญชีรายชื่อนักศึกษาทีต่ ้องลงทะเบียนเรียนวิชา กายวิภาคศาสตร์และรังสีกายวิภาคศาสตร์ส่งให้ผู้ดูแล ระบบ เพื่อขอเปิด User name และ Password ให้กับ ผู้เรียน 6. ทาการแขวนสื่อการสอนไว้บนระบบจัดการเรียนการ สอน คือ Moodle 7. เตรียมการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย ทดลองการ เชื่อมต่อเพื่อศึกษาปัญหา และแก้ไขปัญหาก่อนเริ่มเปิด การเรียนการสอนจริง

9. เปรียบเทียบปัญหาของการจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์สาธารณะ และเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว

5) ผลการศึกษา จากการวิเคราะห์ปัญหาจากการจัดการเรียนการสอนด้วยการ ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะและส่วนตัวสามารถสรุป ออกมาเป็นประเด็นต่าง ๆ ตามตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ประเด็นต่าง ๆ ในการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง ปัญหาที่พบจากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะ และการแก้ไขปัญหาด้วยการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว หัวข้อ เครื่องสาธารณะ เครื่องส่วนตัว ความสะดวกในการใช้งานก่อนเรียน

ผู้เรียนไม่สามารถใช้ได้ เพราะห้องเรียนยังไม่เปิด การเรียนการสอน

ความสะดวกในการใช้งานระหว่างเรียน

-ผู้เรียนสามารถทากิจกรรมต่าง ๆ เฉพาะในเวลา เรียนเท่านั้น -ผู้เรียนไม่มีเวลาในการศึกษาประเด็นปัญหา เนื่องจากต้องใช้เวลาทั้งหมดในเวลาเรียนไปทา กิจกรรม ใช้ได้เฉพาะในห้องสมุดตามเวลาที่กาหนดเท่านั้น

ความสะดวกในการใช้งานหลังเรียน

ถ้าไม่อยู่ในห้องในชั่วโมงที่เรียนจะขาดเรียน ชั่วโมงนั้นทันที มีการเปลี่ยนมือผู้ใช้เครื่องบ่อย ไม่รักษาเครื่อง เท่าที่ควร จะทาให้เครื่องเสียง่าย โอกาสติดไวรัส ค่อนข้างสูง ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ใน การจัดการเรียนการสอนติดขัด จากปัญหาดังนี้ - เครื่องส่วนใหญ่อยูใ่ นสภาพชารุดเ เวลามีปัญหา ห้องปฎิบัติการ ก็แก้ไขเป็นเครื่อง ๆ ไป เช่น *บางเครื่องดู PDF ไฟล์ไม่ได้ *บางเครื่องดู Flash ไม่ได้ *บางครั้งเข้าบทเรียนได้ พอเปิดใหม่กเ็ ข้าไม่ได้- มีการลงโปรแกรมไม่ 8. วิเคราะห์ปัญหาจากการจัดการเรียนการสอนด้ วยการ เหมือนกัน - โปรแกรมที่จาเป็นต้องใช้ลงไม่ครบ ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว สถานะของผู้เรียนในห้องคอมพิวเตอร์ใน ชั่วโมงที่เรียน สภาวะการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์

90

ผู้เรียนสามารถเตรียมตัวก่อนเรียนจากอีเมลที่ ผู้สอนส่งมาให้ เตรียมลงโปรแกรมที่ จาเป็นต้องใช้และศึกษาจาก PDF ไฟล์ที่มี คาแนะนาให้ผู้เรียนศึกษาวิธีใช้ Moodle ผู้เรียนสามารถเรียนและทากิจกรรมได้รวดเร็ว กว่า เพราะได้ศึกษามาล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถ ปรึกษาประเด็นปัญหาที่ตนเองไม่เข้าใจ

-ใช้ทากิจกรรมได้ตลอด 24ชั่วโมงทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย -ผู้เรียนสามารถเตรียมศึกษา / ทบทวน บทเรียนที่อาจารย์แขวนไว้ล่วงหน้า หรือทา กิจกรรมต่าง ๆ ก่อนเรียน เช่น แบบทดสอบ ก่อนเรียน สามารถศึกษาจากที่ต่าง ๆ ได้ในกรณีทไี่ ม่ สามารถเข้าชั้นเรียนตามเวลาที่กาหนด ใช้เครื่องคนเดียวเพราะเป็นเจ้าของเครื่อง จะ ดูแลอย่างทะนุถนอม ไม่ค่อยมีปัญหาจาก เครื่องติดไวรัส สามารถทางานได้ทุกอย่างที่ต้องการเพราะมี การลงโปรแกรมไว้ล่วงหน้าตามที่อาจารย์ได้ กาหนดไว้ ในกรณีที่ต้องใช้โปรแกรมใหม่ อาจารย์ก็จะแจ้งให้ทราบและแขวนไว้บน Moodle ล่วงหน้า


ผู้ดูแลเครื่อง

การติดต่อระหว่างผู้เรียนในกรณีที่มี กิจกรรมกลุ่ม การติดต่อผู้สอนในกรณีที่สงสัยหรือ สอบถามปัญหา

การค้นหาข้อมูล การซ่อมเครื่องเมื่อเครื่องมีปัญหา

สภาพเครื่อง

การจัดงบประมาณในการซื้อเครื่อง ถ้าจานวนเครื่องไม่เพียงพอกับผู้เรียน

ความสะดวกในการใช้ห้องปฎิบัติการ

ผู้ช่วยอาจารย์ 1คน ดูแล 50 เครื่อง ผู้เรียนดูแลเครื่องของตนเองและผูช้ ่วยอาจารย์ สองแบบ พบว่ า การใช้ เครื่องคอมพินวแรกที เตอร์่เปิสด่วการสอน นตัวมีข้อดีคือ มีภาระหนักมาก เนื่องจากต้องดูแลทุกเครื่องเพื่อ จะมี งานมากเฉพาะในวั แก้ไขเครื่องที่มีปัญหาตลอดเวลา ทุกคาบการเรียน เพียงคอยช่วยเหลือให้เครื่องเชื่อมต่อกับ Intranet /WiFi และแก้ไขกรณีผู้เรียนไม่มี User name หรือ Password หรือมีแล้วแต่เปิด ไม่ได้ ต้องรอติดต่อในชั่วโมงเรียนเท่านั้น หรือใช้ห้อง สามารถติดต่อผู้เรียนด้วยกันได้ตลอด ไม่มี สมุด ทาให้ทากิจกรรมไม่ได้ หรือไม่สะดวก ปัญหาการทากิจกรรมทุกกิจกรรม ต้องรอติดต่อในชั่วโมงเรียนเท่านั้น หรือใช้ สามารถติดต่อผู้สอนได้ตลอดเวลา ทั้งแบบ ห้องสมุด ทาให้ทากิจกรรมไม่ได้ หรือไม่สะดวก ประสานเวลา และไม่ประสานเวลา โดยพิมพ์ ข้อความฝากไว้บนกระดานสนทนา หรือส่ง อีเมล เมื่ออาจารย์เข้ามาเห็นก็จะตอบกลับ ไม่ ต้องรอถามในชั้นเรียน การทากิจกรรมกลุ่มก็ ไม่มีปัญหา ทาได้เฉพาะเวลาเรียนหรือใช้ในห้องสมุด สามารถค้นหาได้ตลอดเวลา ในระบบราชการ มีขั้นตอนในการดาเนินการส่ง ถ้าเครื่องอยู่ในระยะเวลารับประกัน 1ปี บริษัท ซ่อมมากเริ่มจากการตรวจสอบปัญหา ทาใบเสนอ ก็จะซ่อมให้ทันที ถ้าอยู่นอกเวลารับประกัน ราคา ขออนุมัติซ่อม เจ้าของเครื่องก็จะรับผิดชอบค่าเสียหายเอง เป็นเครื่องค่อนข้างเก่า ใช้งานมานาน บางครั้งไม่ เป็นเครื่องที่ค่อนข้างทันสมัย บางเครื่องเพิ่ง สามารถใช้กับโปรแกรมที่เพิ่งออกมาใหม่ได้ จะซื้อใหม่ตอนเปิดเทอม สามารถใช้ได้กับทุก โปรแกรม โดยคณะ ฯ เป็นเครื่องที่มีอยูเ่ ดิมในห้องปฏิบัติการ ผู้ปกครองเป็นผู้จัดซื้อ ราคาตั้งแต่ 18,000 ถึง คอมพิวเตอร์ 30,000 บาท ผู้สอนก็จะให้ผู้เรียนลงทะเบียนได้เท่ากับจานวน ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องที่มีอยูเ่ ท่านั้น ทาให้ผู้เรียนรายอื่น เสียสิทธิ ผู้เรียนได้เรียนทุกคนแม้จะไม่มีเครื่อง ในการลงเรียนวิชานั้น ๆ คอมพิวเตอร์ของตนเอง ห้องปฎิบัติการที่มีเครื่องสาธารณะเพียง 1 ห้อง ห้องปฎิบัติการที่มีเครื่องส่วนตัว ผู้สอน ต้องรองรับการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องทั้งคณะ สามารถจัดเวลาการสอนได้อิสระ เพราะไม่มี โดยทีผ่ ดู้ ูแลห้องต้องจัดเวลาเพื่อแบ่งให้ทุกวิชา ผู้สอนวิชาอื่นมาจองห้องได้ เพราะนักศึกษา ของคณะได้จัดการสอนอย่างลงตัว บ่อยครั้งที่บาง สาขาอื่นไม่มีเครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนตัว วิชาอาจจะทับซ้อนเวลากันได้ จนทาให้ต้องงด สอนวิชาหนึ่งไป

1. ทาให้สามารถจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิรน์ นิงได้ ทันที โดยไม่ต้องพึ่งงบประมาณของรัฐ เป็นต้นแบบ แนวทางความคิดให้ผู้สอนในระบบอีเลิรน์ นิงทุกคนกล้าคิด ในสิ่งที่ยังไม่เคยมีคนคิดและทามาก่อน สาหรับหน่วย งานที่ไม่มีงบประมาณหรือไม่ได้รับการสนับสนุน งบประมาณสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็อย่าได้รอให้มี เครื่องแล้วค่อยจัดการสอนระบบอีเลิร์นนิง เพราะถึงแม้จะ ได้งบประมาณมา เครื่องที่ได้มาจะอยู่ได้ประมาณ 3 -5 ปี ก็ ล้าสมัย ส่วนมากมักจะเสียก่อน เพราะเป็นของสาธารณะ ไม่ ค่อยมีใครดูแลรักษา ไม่ค่อยทะนุถนอม ฉะนั้น ให้ผู้เรียนทุก

6) สรุปและวิจารณ์ผลการศึกษา เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ สามารถควบคุมและไว้ใจได้ ขณะที่เครื่องคอมพิวเตอร์ สาธารณะ ไม่สามารถควบคุมได้(1) การใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์สาธารณะก็ต้องระมัดระวังเรื่องความ ปลอดภัย อาจถูกโจรกรรมความเป็นส่วนตัวได้(2, 3) จาก การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทงั้

91


คนมีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นของตนเอง เป็นวิธีที่ดที ี่สุด สาหรับการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิ่ง 2. ทาให้ผเู้ รียนสามารถใช้ความรู้ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ (ICT Literacy) ผสมผสานกับความรู้ทาง วิชาชีพรังสีเทคนิค และความรูด้ ้านภาษา (Language Literacy )โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ที่จะเป็นภาษาหลักใน การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป็นการเพิ่มพูน ความรู้ด้านต่าง ๆ ให้กบั ผู้เรียนนอกจากวิชาชีพที่ต้อง ได้รับอยู่แล้ว 3. ลดปัญหาเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้อาจารย์ ประจาวิชาและผู้ช่วยอาจารย์สามารถใช้เวลาเหล่านั้นไป เตรียมความรู้ด้านสารสนเทศใหม่ ๆ เพื่อทาเป็นกิจกรรม เสริมทักษะในวิชานั้น ๆ 4. ทาให้ผู้เรียนที่มีการรับรู้ไม่เท่ากัน (ผู้เรียนที่มาจาก ระบบโควต้าและระบบแอดมิชชั่น) สามารถไปทบทวน ความรู้ได้ด้วยตนเอง ประสบการณ์จากการจัดการเรียน การสอนระบบอีเลิรน์ นิงด้วยตนเองมากว่า 2 ปี พบว่า ถ้า ผู้เรียนไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นของตนเอง จะมีการ พัฒนาช้ามากทั้งในด้านการใช้งาน การค้นหาข้อมูล และ การทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย จึงสามารถสรุปได้ว่า จากการกล้าคิด กล้าทาด้วยความ มุ่งมั่น ทาให้ประสบความสาเร็จจากการใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนตัว ในการจัดการเรียนการสอนระบบอี เลิร์นนิง ซึ่งน่าจะเป็นต้นแบบสาหรับการจัดการเรียน การสอนระบบอีเลิรน์ นิง โดยไม่ต้องพึ่งพางบประมาณ แผ่นดิน

ครั้งที่ 1. ปทุมธานี: สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 3. Online Privacy & Safety. From website: http://www.microsoft.com/security/onlineprivacy/public-pc.aspx

7) เอกสารอ้างอิง 1. What is a Public vs Private Computer? Article Id: #20 (2009). From website: http://support.mitto.com/knowledgebase.php?act=ar t&article_id=20

2. คณะอนุกรรมการด้านความมั่นคงภายใต้ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. (2548). การใช้งานอินเทอร์เน็ตในที่สาธารณะ (Public Access Points). ใน: Safety net คู่มือการใช้งานเครือข่าย อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย สาหรับผู้ใช้งานทั่วไป. พิมพ์ 92


การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง A Study of Achievement in English Pronunciation Learning through Online Audio Streaming พูลสุข กรรณาริก1, ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์2 1

มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ (phunsukk@sau.ac.th)

2

มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ (nuto@sau.ac.th)

Abstract

บทคัดย่อ

The purpose of this research was to study the

งานวิจัยในชั้นเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์

achievement in English pronunciation learning

การเรีย นออกเสียงภาษาอั งกฤษโดยใช้ ออนไลน์ออดิโ อ

through online audio streaming of students who took

สตรี ม มิ่ ง ของนั ก ศึ ก ษาที่ ล งทะเบี ย นเรี ย นวิ ช า 331213

the

331213

English

Phonetics

Course.

The

populations were 69 second-year students in the

สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ ประชากรจานวน 69 คน เป็น

Business English Department under the Faculty of

นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะศิลป

Arts and Sciences at South–East Asia University in

ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ ภาค

the second semester of 2011 academic year. They all

การศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ศึกษาเฉพาะการออกเสียง

took 24 English consonant sounds. The experiment period was 7 weeks. The research instruments used

ภาษาอั ง กฤษ 24 เสี ย ง ระยะเวลาดาเนิ นการทดลอง 7

were course instruction plan designed for English

สั ป ดาห์ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย คื อ แผนการสอนซึ่ ง

pronunciation

audio

ออกแบบสาหรับการเรี ยนออกเสี ยงภาษาอัง กฤษโดยใช้

English

ออนไลน์ อ อดิ โ อสตรี ม มิ่ ง แบบทดสอบการออกเสี ย ง

streaming,

learning

pre-test

and

through post-test

online for

pronunciation skills, and formative pronunciation tests. Data were analyzed using the mean, and the

ภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียน แบบทดสอบประจา

standard deviation. The experiment process began

บทเรียน สถิติที่ช้ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบน

with English pronunciation pre-test in the first week

มาตรฐาน ขั้นตอนการทดลองเริ่มต้นด้วยการทดสอบ

of the semester, and formative pronunciation tests in

ทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษของกลุ่มประชากรโดยใช้

weeks 3 and 5. In week 7 the students took the pronunciation post-test. The result of the study

แบบทดสอบก่อนเรียนในสัปดาห์ที่ 1 ทดสอบทักษะการ

revealed that the mean difference between the pre-

ออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษของกลุ่ ม ประชากร โดยใช้

test and post- tests scores was 9.35 ( d = 9.35, S.D. =

แบบทดสอบประจาบทเรียนในสัปดาห์ที่ 3 และในสัปดาห์

1.06). It could be concluded that the achievement in

ที่ 5

English

pronunciation

through

online

audio

ในสั ป ดาห์ ที่ 7 ทดสอบทั ก ษะการออกเสี ย ง

ภาษาอังกฤษของกลุ่มประชากรโดยใช้แบบทดสอบหลัง

streaming of students was high.

เรี ย น ผลการศึ ก ษาพบว่ า ค่ า เฉลี่ ย ของผลต่ า งระหว่ า ง Keywords: Achievement, English Pronunciation, Online Audio Streaming

คะแนนทดสอบหลังเรียนและก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ 9.35 93


( d = 9.35, S.D. = 1.06) สรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์การเรียนออก

(Server) และไคลแอนท์ (Client) ซึ่ งท าการถอดรหั ส

เสี ย งภาษาอั งกฤษโดยใช้ ออนไลน์ ออดิ โอสตรี ม มิ่ ง ของ

(Decode) สายธารข้อมูลมัลติมิเดียที่รับเข้ามา เพื่อแสดง

นักศึกษาสูงขึ้น

ข้อมูลภาพและเสียง (แวซาซูดิน แวดอกอ, 2552) จึงกล่าว ได้ว่า สตรีมมิ่ง (Streaming) เป็นเทคโนโลยี การรับและส่ง

คาสาคัญ: ผลสัมฤทธิ,์ การออกเสียงภาษาอังกฤษ,

สัญญานเสียงและภาพ (Audio and Video Signal) ไปยัง

ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง

ผู้ใช้ (User) บนเว็บ (Web) ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยจะ แสดงข้อมูลในขณะที่มีการดาวน์โหลด (Downloading)

1) บทนา

ดังนั้นผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรอการดาวน์โหลดข้อมูลในไฟล์ (File) วิธีนี้ทาให้ง่ายต่อการรับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบเสียง

การจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นบทเรี ย นบนเครื อ ข่ า ย

และภาพ (IT Passport Exam Preparation Book (IPA)

อิน เทอร์ เน็ ต หรือ อี เลิ ร์ นนิ่ ง ช่ วยสอนเป็น นวั ตกรรมทาง

Information, 2010) ดังนั้นสตรีมมิ่งจึงเป็นระบบสื่อสาร

การศึกษาที่สาคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน และการนาบทเรียน

สายธารข้อมูลมัลติมิเดีย ที่เหมาะสมสาหรับนามาใช้เป็น

บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรืออีเลิร์นนิ่งมาใช้ในการจัดการ

สื่ อ ช่ ว ยในการเรี ย นการสอนฟั ง เสี ย งและออกเสี ย ง

เรี ย นการสอนในรู ป แบบที่ เ หมาะสมกั บ ผู้ เ รี ย นและ

ภาษาอังกฤษ โดยให้ผู้เรียนฝึกฟังเสียงและออกเสียงตาม

เนื้อหาวิชา จะช่วยเพิ่มคุณภาพการเรียนการสอนได้อย่างมี

เสียงที่ได้ยิน ซึ่งผู้เรียนสามารถฝึกฟังเสียงและออกเสียงได้

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย,

โดยไม่มีข้อจากัดในด้านเวลาและสถานที่ หลังจากที่ผู้เรียน

2554) การแพร่ ห ลายของเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ท าให้ มี

มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการออกเสียงภาษาอังกฤษที่

เครื่องมือและซอฟต์แวร์ออนไลน์ต่างๆ (Online Tools and

ถูกต้องตามหลักภาษาศาสตร์

Software) เพื่อการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เลือกใช้อย่างมากมาย (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554) อัน

ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนา

เป็นการเพิ่มโอกาสทางการเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง จาก

ทักษะการออกเสีย งภาษาอัง กฤษของนั กศึ กษาชั้ นปี ที่ 2

เดิ ม เครื อ ข่ ายอิ น เทอร์ เ น็ ต ใช้ เ ป็ น เพี ย งเครื่ อ งมื อ ในการ

สาขาวิ ช าภาษาอั ง กฤษธุ ร กิ จ คณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละ

ถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การนาเสนองาน

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ โดยการจัดการ

(Presentation) ภาพ (Image) เสียง (Audio) วิดีโอ (Video)

เรียนการสอนผ่านบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรืออี

ด้วยความสามารถของเครื อข่ ายอิน เทอร์ เน็ ตในปั จจุ บั น

เลิร์นนิ่งช่วยสอนในวิชา 331213 สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ

สนั บ สนุ น ให้ ผู้ สอนสามารถน ามาใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ การ

ในรู ป แบบออนไลน์ อ อดิ โ อสตรี ม มิ่ ง (Online Audio

เรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ซึ่งเป็นการเรียนรู้นอก

Streaming) ในส่วนของการเรียนภาคปฏิบัติในการฝึกฟัง

ชั้นเรียนผสมผสานกับการเรียนในชั้นเรียน ส่งเสริมให้เกิด

เสี ย งและออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย น

การเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น อย่ า งบู ร ณาการและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

สามารถเรียนรู้พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง สอดคล้องกับ

(ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์, 2554.)

กระบวนการการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Studentbased Learning) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่ยึดหลัก

ระบบสื่ อสาร สายธารข้ อ มู ล มั ล ติ มิ เ ดี ย (Streaming

ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้

Multimedia) เป็ น ระบบที่ ท างานได้ ท างด้ า นเซิ ร์ ฟ เวอร์

โดยกระบวนการจั ด การศึ ก ษาต้ อ งส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย น 94


สามารถพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพตามธรรมชาติของ

วิชา 331213 สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ (English Phonetics)

แต่ละบุคคล โดยมุ่งพัฒนาความรู้และทักษะทางวิชาชี พ

ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จานวน 69 คน

(สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2553) 5.2) การแบ่งกลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย

2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เนื่องจากนักศึกษามีพื้นฐานทักษะด้านการออกเสียงภาษา

เพื่อเปรียบเทียบผลทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษของ นักศึกษาก่อนและหลัง การเรียนโดยใช้ ออนไลน์ออดิโ อ สตรีมมิ่ง(Online Audio Streaming)

อังกฤษแตกต่างกัน ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการแบ่งกลุ่มประชากร เป็น 3 กลุ่ม โดยใช้แนวคิดของ Vygotsky (1978) เกี่ยวกับ พื้นที่รอยต่อพัฒนาการ (Zone of Proximal Development) มาปรับใช้โดยใช้ช่วงคะแนนทดสอบก่อนเรียน ซึ่งกาหนด

3) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

คะแนนการประเมินเต็ม 24 คะแนน ตามจานวนเสียง

3.1) ทาให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน ในการออกเสียง

พยัญชนะในภาษาอังกฤษ 24 เสียงดังนี้

ภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องโดยใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีม

- กลุ่ม A คือนักศึกษาที่ได้คะแนนทดสอบก่อนเรียน

มิ่งเป็นสื่อช่วยสอน

ระหว่าง19 – 24 คะแนน หมายถึง นักศึกษามีทักษะด้าน

3.2) สามารถนาออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งไปพัฒนาเป็นสื่อ

การออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษในระดับดี

ช่วยสอนการออกเสียงภาษาอังกฤษ

ในวิชา

331213

- กลุ่ม B คือนักศึกษาที่ได้คะแนนทดสอบก่อนเรียน

สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ระหว่าง 12 – 18 คะแนน หมายถึงนักศึกษามีทักษะด้าน

3.3) สามารถนาออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งไปพัฒนาเป็นสื่อ

การออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษในระดับปานกลาง

ช่วยสอนในรายวิชาอื่นๆที่ต้องมีการฝึกปฏิบัตใิ นการออก เสียง

- กลุ่ม C คือนักศึกษาที่ได้คะแนนทดสอบก่อนเรียน

เป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนและกระตุ้นความ

ระหว่าง 0 – 11 คะแนน หมายถึงนักศึกษามีทักษะด้านการ

สนใจของผูเ้ รียนในรายวิชาอื่นๆ

ออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษในระดับต่า

4) สมมติฐานการวิจัย

5.3) เนื้อหาของบทเรียนที่ใช้ในการวิจัย

นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนออกเสียงภาษาอังกฤษ

เนื้อหาของบทเรียนที่ใช้ในการวิจยั ศึกษาเฉพาะการออก

โดยใช้ อ อนไลน์ อ อดิ โ อสตรี ม มิ่ ง (Online

เสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษ (English Consonant Sounds)

Audio

จานวน 24 เสียง (Lyle V. Mayer, 1996) โดยใช้ระยะเวลา

Streaming) สูงกว่าก่อนรียน

ดาเนินการทดลอง 7 สัปดาห์

5) ขอบเขตการวิจัย 5.1) ประชากรที่ใช้ในการวิจัย

6) วิธีดาเนินการวิจัย

การวิ จั ย นี้ ศึ ก ษาจากประชากรทั้ ง หมด คื อ นั ก ศึ ก ษา

6.1) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจชั้นปีที่ 2 ภาคปกติ คณะศิลป

การวิจัยครั้งนี้มีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยดังนี้

ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ ที่ เรียน

1. แผนการสอนสาหรับการเรียนออกเสียงภาษาอังกฤษโดย ใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง 2. แบบทดสอบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษก่อนเรียน 95


3. แบบทดสอบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษประจา

จานวน 2 คน และนามาปรับ ปรุ ง จากค าแนะนาของ

บทเรียน

ผู้เชี่ยวชาญ

4. แบบทดสอบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษหลังเรียน

3. ผู้วิจัยสร้างแบบทดสอบการออกเสียงภาษาอังกฤษก่อน เรี ย นและหลั ง เรี ย น และแบบทดสอบการออกเสี ย ง ภาษาอั ง กฤษประจ าบทเรี ย น หลั ง จากนั้ น ผู้ เ ชี่ ย วชาญ จานวน 2 คน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 6.2) การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ วิจั ย ได้ ด าเนิ น การทดลองและเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล ตาม ขั้นตอนดังนี้ 6.2.1 ทดสอบทั ก ษะการออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษของ นักศึกษา โดยใช้แบบทดสอบการออกเสียงภาษาอังกฤษ ก่อนเรียนในสัปดาห์ที่ 1

รูปที่ 1: เว็บไซต์ English Pronunciation

6.2.2 นาแผนการสอนสาหรับ การเรียนออกเสียงภาษา

https://sites.google.com/a/sau.ac.th/phunsuk/pronoun

อังกฤษโดยใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง ไปใช้ในการสอน

ce โดย ผศ.พูลสุข กรรณาริก

ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 6.2.3 ตรวจสอบและบันทึกการเข้าชั้นเรียน ทัง้ ในภาค

การสร้างและพิจารณาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีขั้นตอน

ทฤษฎีและการเข้าห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ภาคปฏิบตั ิ

ในการดาเนินการดังนี้

6.2.4 ตรวจสอบและติดตามการฝึกฟังและออกเสียงโดยใช้

1. ผู้วิจัยจัด ทาแผนการสอนสาหรับการเรี ยนออกเสีย ง

ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิง่ ของนักศึกษาตามแบบฝึกหัดที่

ภาษาอั ง กฤษโดยใช้ อ อนไลน์ อ อดิ โ อสตรี ม มิ่ ง และส่ ง

ผู้สอนมอบหมาย

แผนการสอนตามขั้นตอนที่มหาวิทยาลัยกาหนด

6.2.5 ทดสอบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ โดยใช้

2. ผู้วิจัยออกแบบและจัดทาแบบฝึกการฟังเสียงและออก

แบบทดสอบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ ประจาบท

เสียงภาษาอังกฤษสาหรับการใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง

เรียนในสัปดาห์ที่ 3 และสัปดาห์ที่ 5

ตามเนื้ อ หาของบทเรี ย นที่ กาหนดใช้ ใ นการวิ จั ย โดยใช้

6.2.6 ทดสอบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ โดยใช้

หลักการของ Lyle V. Mayer (1996) ซึ่งได้กล่าวถึงระบบ

แบบทดสอบการออกเสียงภาษาอังกฤษ

เสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษ (Classification of English

หลังเรียนใน

สัปดาห์ที่ 7

Consonant Sounds) ไว้ในหนังสือ Fundamentals of Voice & Articulation ว่า จานวนเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษมี

6.3) การวิเคราะห์ข้อมูล

24 เสียง และอ้ างอิงจากรายละเอีย ดของแผนการสอน

การวิ เ คราะห์ ข้อ มู ล ในการวิ จั ยนี้ เป็ น การทดสอบความ

รายวิ ชา 331213 สั ท ศาสตร์ ภาษาอั ง กฤษ หลั ง จากนั้ น

แตกต่ างผลการทดสอบก่อ นเรีย นและหลั งเรีย น โดยใช้

ผู้เชี่ยวชาญจานวน 2 คน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง

ค่าเฉลี่ยของคะแนน (Mean) แ ล ะ ค่ า ค ว า ม เ บี่ ย ง เ บ น

เนื้อหา โดยมีการประเมินความเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญ

มาตรฐาน (Standard Deviation) 96


7) ผลการวิจัย ผลการเปรียบเทียบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษของ

7.3) ค่าเฉลี่ย (Mean) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบ

นักศึกษาก่อนและหลังการเรียนโดยใช้ออนไลน์ออดิโ อ

ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษากลุ่ม C ซึ่งมีจานวน

สตรีมมิ่ง สรุปผลได้ดังนี้

46 คน เท่ากับ 13.15 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

7.1) ค่าเฉลี่ย (Mean) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบ

(S.D.) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ

ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษากลุ่ม A ซึ่งมีจานวน 4

หลั ง เรี ย นเท่ า กั บ 0.41

คน เท่ากับ 3.50 คะแนน และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน

ผลสั ม ฤทธิ์ ห ลั ง การเรี ย นออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษโดยใช้

(S.D.) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ

ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งสูงกว่าก่อนรียน

หลั ง เรี ย นเท่ า กั บ 0.30

สรุ ป ได้ ว่ า นั ก ศึ ก ษากลุ่ ม A มี ตารางที่ 3: เปรียบเทียบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ ของนั กศึ กษากลุ่ ม C ก่อ นและหลั ง การเรี ย นโดยใช้ ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง ก่อนเรียน หลังเรียน ผลต่าง

ผลสั ม ฤทธิ์ ห ลั ง การเรี ย นออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษโดยใช้ ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งสูงกว่าก่อนรียน ตารางที่ 1: เปรียบเทียบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ

Mean S.D.

ของนักศึกษากลุ่ม A ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้ ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง Mean S.D.

ก่อนเรียน

หลังเรียน

ผลต่าง

19.50 0.96

23.00 1.26

3.50 0.30

(S.D.) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียนเท่ากับ 1.06 สรุปได้วา่ นักศึกษทัง้ 3 กลุ่ม มี ผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งสูงกว่าก่อนเรียน

(S.D.) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ สรุ ป ได้ ว่ า นั ก ศึ ก ษากลุ่ ม B มี

ตารางที่ 4: เปรียบเทียบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาทั้ง 3 กลุ่ มก่อนและหลั งการเรี ยนโดยใช้ ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง ก่อนเรียน หลังเรียน ผลต่าง

ผลสั ม ฤทธิ์ ห ลั ง การเรี ย นออกเสี ย งภาษาอั ง กฤษโดยใช้ ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งสูงกว่าก่อนรียน ตารางที่ 2: เปรียบเทียบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ ของนักศึกษากลุ่ม B ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้ ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง ก่อนเรียน หลังเรียน ผลต่าง 21.00 2.22

13.15 0.41

คน เท่ากับ 9.35 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

19 คน เท่ากับ 7.00 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

14.00 1.26

21.25 1.41

ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาทั้ง 3 กลุ่ม จานวน 69

ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษากลุ่ม B ซึ่งมีจานวน

Mean S.D.

8.00 1.00

7.4) ค่าเฉลี่ย (Mean) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบ

7.2) ค่าเฉลี่ย (Mean) ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบ

หลั ง เรี ย นเท่ า กั บ 0.96

สรุ ป ว่ า ได้ นั ก ศึ ก ษากลุ่ ม C มี

Mean S.D.

7.00 0.96 97

10.35 4.10

19.70 2.94

9.35 1.06


บนเว็ บ จะสนั บ สนุ น ผู้ เ รี ย นให้ ไ ด้ เ รี ย นรู้ แก้ปั ญ หาและ

8) การอภิปรายผล

สามารถพบคาตอบได้ด้วยตนเอง

ผลจากการนาออนไลน์ออดิโอสตรีม มิ่งมาใช้เป็นสื่อช่วย ในการเรียนการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่

8.2) การนาออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งมาใช้เป็นสื่อช่วยสอน

2 สาขาวิ ช าภาษาอั ง กฤษธุ ร กิ จ คณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละ

การออกเสียงภาษาอังกฤษมีผลต่อสัมฤทธิผลในการออก

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ สามารถอภิปราย

เสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาได้อย่างถูกต้องมากขึ้น อาจ

ผลได้ดังนี้

เนื่องมาจากการที่นักศึกษามีความรู้ในหลักการออกเสีย ง ภาษาอั ง กฤษที่ ถู กต้อ งตามหลั กการทางภาษาศาสตร์ ใ น

8.1) การนาออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง มาใช้เป็นสื่อช่วย

ส่วนของการเรียนภาคทฤษฎี (Lyle V. Mayer, 1996)

สอนการออกเสียงภาษาอังกฤษมีผลต่อสัมฤทธิผลในการ

ก่อนที่จะฝึกฟังและฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษในภาคปฏิบัติ

ออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาได้ถูกต้องมากขึ้น อาจ

โดยใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง

มีสาเหตุมาจากการใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง เป็น การ จัดการเรียนการสอนผ่านบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

8.3) จากผลการวิเคราะห์ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

ซึ่งเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่กระตุ้นความสนใจของ

Deviations) หรือค่า S.D. ของคะแนนทดสอบหลังเรียน

ผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษ

ของนักศึกษาทั้ง 3 กลุ่ม (S.D. = 2.94) น้อยกว่าคะแนน

สูงขึ้นซึ่งสนับสนุนแนวคิด ของ Bruner (1976) เรื่องการ

ทดสอบก่อนเรียน (S.D. = 4.10) แสดงว่า นักศึกษาทั้ง 3

เสริมต่อการเรียนรู้ (Scaffolding) ที่กล่าวว่า บทบาทเชิ ง

กลุ่ มซึ่ ง มี ค ว าม ผั น แ ป ร ข อ ง ทั ก ษ ะ กา ร อ อ ก เ สี ย ง

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ที่ ให้ความช่วยเหลือ

ภาษาอังกฤษก่อนเรียนมากกว่าหลังเรียนกล่าวคือ นักศึกษา

ผู้ เ รี ย นด้ ว ยวิ ธี ก ารต่ า งๆตามสภาพปั ญ หาที่ เ ผชิ ญ อยู่ ใ น

ทั้ง 3 กลุ่ ม มีค วามแตกต่ างกัน ทางทักษะการออกเสี ย ง

ขณะนั้น เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหานั้นด้วยตนเองได้

ภาษาอังกฤษก่อนเรียนค่อนข้างมาก แต่หลังจากเรียนโดย

โดยการจัดเตรียมสิ่งที่เอื้ออานวย การให้ความช่วยเหลือ

ผ่านออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง นักศึกษาทั้ง 3 กลุ่มมีความ

แนะนาสนับสนุนขณะที่ผู้เรียนอยู่ในระหว่างกาลังเรียนรู้

แตกต่างกันทางทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษน้อยลง

เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทาให้ผู้เรียนสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อ

หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ นักศึกษาทั้ง 3 กลุ่มมีทักษะการ

ใช้แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และปรับการสร้างความรู้

ออกเสียงภาษาอังกฤษใกล้เคียงกันมากขึ้น

ความเข้าใจภายในตน (Internalization) และสอดคล้องกับ แนวคิดที่แสดงไว้ใน มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (2554) ที่ว่า

8.4) จากผลการวิเ คราะห์ค่าเฉลี่ ย (Mean) ของผลต่าง

บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตช่วยเพิ่มคุณภาพการเรียน

ระหว่ า งคะแนนทดสอบก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นของ

การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มุ่งเน้น

นักศึกษารวมทั้ง 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม A เท่ากับ 3.50 กลุ่ม B

ให้ ผู้ เ รี ย นมี ส่วนร่ ว ม ซึ่ ง เป็ น การเรี ย นรู้ น อกชั้ น เรี ย น

เท่ากับ 7.00 และกลุ่ม B เท่ากับ 13.15 จะเห็นได้ว่าค่าเฉลี่ย

ผสมผสานกับ การเรี ย นในชั้ น เรี ย น ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การ

ของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

เรี ย นรู้ ร่ ว มกั น อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง สนั บ สนุ น

ของนั กศึ กษากลุ่ ม C สู ง กว่า กลุ่ ม B และกลุ่ ม A และ

แนวคิดของวสันต์ อติศัพท์ (2546) ที่ว่าการแสวงหาความรู้

ค่าเฉลี่ยของผลต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียนของนักศึกษา กลุ่ม B สูงกว่า กลุ่ม A แสดงว่าการ 98


นาออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งเป็นสื่อช่วยสอนการออกเสียง

9.2) ข้อเสนอแนะในทาการวิจัยครั้งต่อไป

ภาษาอังกฤษที่ได้ผลดีกว่าสาหรับผู้เรียนที่มีพื้นฐานทักษะ

9.2.1

การออกเสียงภาษาอังกฤษในระดับต่าและระดับปานกลาง

ผู้ ส นใจในการท าวิ จั ย ด้ า นการเรี ย นการสอน

ภาษาอังกฤษ

ตามลาดับ มากกว่านักศึกษาที่มีพื้นฐานทักษะการออกเสียง

1. ควรศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ก ารสอนทั กษะการฟั ง -พู ด

ภาษาอัง กฤษในระดับ ดี ซึ่ง สอดคล้ อ งกับ แนวคิ ด ของ

ภาษาอังกฤษโดยใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง เป็นสื่อช่วย

Vygotsky (1978) ที่กล่าวว่า พื้นที่รอยต่อพัฒนาการ (Zone

สอน

of Proximal Development) คือระยะห่างระหว่างระดับ

2.

พัฒนาการที่เป็นจริง (Actual Development Level) ซึ่ง

ควรศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ก ารสอนทั ก ษะการฟั ง -พู ด

ภาษาอังกฤษโดยใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งเป็นสื่อช่วย

หมายถึง การเรี ยนรู้ในอดีต (Past Learning) กับระดั บ

สอน โดยศึกษาเฉพาะนักศึกษาที่มีพื้นฐานทักษะการฟัง -

พัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ (Potential Development

พู ด ภาษาอั ง กฤษในระดั บ ต่ าเพื่ อ ดู ว่ า ผลการศึ ก ษาจะ

Level) ซึ่งหมายถึงการเรียนรู้ในอนาคต (Future Learning)

สอดคล้องกับการศึกษาครั้งนี้หรือไม่

ผู้เรียนแต่ละคนมีพื้นที่รอยต่อพัฒนาการแตกต่างกัน ผู้เรียน

3. ควรศึกษาเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนออกเสียง

บางคนต้องการความช่วยเหลือในการทากิจกรรมที่ได้มา

ภาษาอังกฤษโดยการใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งเป็นสื่อ

ซึ่งการรียนรู้เพียงเล็กน้อย ผู้เรียนบางคนสามารถเรียนรู้

ช่วยสอน

แบบก้าวกระโดดด้วยการได้รับความช่วยเหลือน้อยมาก

4. ควรศึกษาข้อดีข้อเสียของการใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีม

ต้องการความช่วยเหลือ น้อยมาก และมีความเป็นไปได้ที่

มิ่งเป็นสื่อช่วยสอน

ผู้เรียนบางคนต้องการความช่วยเหลือ ในการเรียนรู้ในบาง

9.2.2 ผู้สนใจในการทาวิจัยด้านอื่นๆ

เรื่องมากกว่าด้านอื่นๆ (ธีระชน พลโยธา, 2551)

1. ควรศึกษาการใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่งที่แสดงผล ข้ อ มู ล มั ล ติ มิ เ ดี ย ทั้ ง ภาพและเสี ย งเป็ น สื่ อ ช่ ว ยสอนใน

9) ข้อเสนอแนะ

รายวิชาที่สอน

9.1) ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้

2. ควรศึกษาระบบการจัดการหรือออกแบบระบบออนไลน์

จากผลการวิจัยที่แสดงว่าการใช้ออนไลน์ออดิโอสตรีมมิ่ง

ออดิ โ อสตรี ม มิ่ง ที่ แ สดงผลข้อ มู ล มัล ติ มิ เ ดีย ทั้ ง ภาพและ

มีผลทาให้นักศึกษาออกเสียงภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง

เสียง เพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นสื่อช่วยสอนในรายวิชา

มากขึ้นนั้น ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่อาจจะเป็นประโยชน์ต่อ

ต่างๆได้หลากหลาย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในด้านทักษะการฟั ง และการพูด โดยผู้สอนอาจจะทดลองใช้ออนไลน์ออดิโอ

เอกสารอ้างอิง

สตรี ม มิ่ ง เป็ น สื่ อ ช่ ว ยสอน เพื่ อ ดู ว่ า นวั ต กรรมนี้ จ ะช่ ว ย กระตุ้นให้นักศึกษามีแรงจูงใจในการเรียนมากขึ้น ทาให้มี

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชีย

ผลต่อประสิทธิภาพการเรียนการสอนและผลการเรียนของ

อาคเนย์. (2550). หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต

นักศึ กษาหรื อไม่ ถ้ าได้ ผลดี ก็ควรใช้ ออนไลน์ออดิโ อ

สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง

สตรี ม มิ่ ง เป็ น สื่ อ ช่ ว ยสอนอย่ า งต่ อเนื่ อ งและพั ฒ นา

พ.ศ. 2550. มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.

นวัตกรรมนี้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 99


ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์. (2554). การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่

การเรียนรู้แบบเคดับบลิวเอพลัส. เอกสาร

เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญด้วยอินเตอร์เน็ต

ประกอบการประชุมวิชาการครุศาสตร์

แอพพลิเคชั่น. รายงานสืบเนื่องจากการ การ

อุตสาหกรรมระดับชาติ ครัง้ ที่ 3. มหาวิทยาลัย

ประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิ่ง 2554.

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ธีระชน พลโยธา. (2551). การเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อ

สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, (2553). คู่มือการ

พัฒนาการ. (ออนไลน์)

ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

http://www.goolgle.co.th/webhp?sourceid=toolb

ระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพ: ภาพพิมพ์.

ar-instant8. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2555.

Information Technology Promotion Agency. IT Passport Exam Preparation Book (IPA). (2010). Japan : Information – Technology Promotion Agency. Lane, Linda. (1997). Basics in Pronunciation: Intermediate Practice for Clear Communication. New York : Addison Wesley Longman. Lee, Tseng Su. (2008). Teaching Pronunciation of English Using Computer Assisted Learning Software: An Action Research Study in an Institute of Technology in Taiwan. Taiwan : Institute of Technology. Mayer, V. Lyle. (1996). Fundamentals of Voice & Articulation, Eleventh Edition. London : McGraw-Hill. Mayer, V. Lyle. (1996). Fundamentals of Voice & Articulation, Eleventh Edition. London : McGraw-Hill. O’ Connor, J. D. and Clare Fletcher. (1989). Sounds English. England : Addison Wesley Longman. Vygotsky, L. Semenovich (1978). Mind in Society: The Development of Higher Psychological Process. Cambridge, MA: Harvard University Press. Wood, D.; Bruner, J.; & Ross, G. The Role of Tutoring in Problem-solving. Journal of Child Psychology and Psychiatry.

บุญเรือง ชื่นสุขวิมล. (2550). การสอนภาษาอังกฤษให้ เด็กไทยอย่างไร ทฤษฎีภาษาศาสตร์และ ทฤษฎีการสอนภาษาต่างประเทศมีคาตอบ. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการภาษาและ ภาษาศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2550. คณะศิลป ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. (2554). เอกสารประกอบการสัมมนา การใช้นวัตกรรมคอมพิวเตอร์ใน กระบวนการเรียนการสอน. มหาวิทยาลัยเอเชีย อาคเนย์. มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (2554). รายงานสืบเนื่องจากการ การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง่ 2554. วสันต์ อติศัพท์. (2546). Web Quest: การเรียนที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลางบน World Wide Web.วารสารวิทย บริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. แวซาซูดิน แวดอกอ. (2552). การจัดการสายธารข้อมูลใน สิ่งแวดล้อมของระบบการกระจายข้อมูลมัล ติมิเดียแบบกลุ่ม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์. วุฒิพงษ์ ชินศรี และ มนต์ชัย เทียนทอง. (2553). การพัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนแบผสมผสาน ตาม แนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับเทคนิค 100


การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง Design of a Learning Activities via m-learning Based on Connectivism Approach using Knowledge Review in Physical Environment. นาวิน คงรักษา1, ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (nawin30@hotmail.com) 2

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี (panitaw@kmutnb.ac.th)

ABSTRACT

3.3) the step of finding knowledge from physical environment following the specified activities, 3.4) the step of summarizing the knowledge gained from the review in order to respond to the learning activities from physical environment, 4) measurement and evaluation by using the sensible measurement and evaluation form. 2. After the 5 experts have evaluated the design of learning activities, they give the opinion that the design of learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment is developed to be in the high level of appropriateness.

The objective of this study are 1) to design the learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment, 2) to accredit the design of learning activities via mlearning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment. The research process is divided into 2 steps which are 1) the step of designing the learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment, 2) the step of accrediting the design of learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment. The sample groups of 5 experts in arranging the learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment are selected from purposive sampling. The research tools are the design of learning activities via mlearning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment and the accreditation form of the design of learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment. The statistics used in the research are arithmetic average and standard deviation. The findings are: 1. The design of learning activities via mlearning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment consists of 4 elements which are 1) principle of the design 2) steps of the design consisting of 2.1) the step of preparation before teaching, 2.2) the step of arranging the learning activities, 2.3) the step of drawing a conclusion, 3) learning activities via m-learning based on Connectivism Approach using knowledge review in physical environment consists of 4 elements which are 3.1) the step of specifying the learning activities from physical environment, 3.2) the step of selecting the portable tools in conducting the learning activities from physical environment,

Keywords: design of learning activities, m-learning, Connectivism, knowledge review in physical environment.

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อ มต่อด้วยวิธีการ ปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 2) ประเมินรับรองการ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนว ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ ด้ วย วิ ธี กา ร ป ริ ทั ศ น์ ค ว า มรู้ จ า ก สภาพแวดล้ อ มจริ ง การด าเนิ น การวิ จั ย แบ่ ง ออกเป็ น 2 ขั้นตอนคือ 1) การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้ จากสภาพแวดล้อมจริง 2) การประเมินรับรองรูปแบบการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร เชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธีการปริ ทั ศ น์ ค วามรู้ จ ากสภาพแวดล้ อ มจริ ง กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก าร ปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง จานวน 5 ท่าน ได้จาก 101


การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ รูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎี การเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อม จริ ง แบบประเมิ น รั บ รองรู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการ เรียนรู้ ผ่านเอ็ มเลิร์น นิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วย วิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์วิจัย ค่าเฉลี่ย เลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิง ตาม แนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี การปริ ทั ศ น์ ค วามรู้ จ าก สภาพแวดล้อมจริง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการของรูปแบบ 2) ขั้นตอนของรูปแบบประกอบด้วย 2.1) ขั้นเตรียมการก่อนการเรียนการสอน 2.2) ขั้นการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 2.3) ขั้นสรุปผล 3) การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิ ร์นนิง ตามแนวทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง มี 4 ขั้นตอนคือ 3.1) ขั้นกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้จาก สภาพแวดล้อมจริง 3.2) ขั้นการเลือกใช้เครื่อ งมือแบบ เคลื่อนที่ในการทากิจกรรมการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม จริง 3.3) ขั้นหาความรู้จากสภาพแวดล้อมจริงตามกิจกรรม การเรียนรู้ที่กาหนด 3.4) ขั้นสรุปความรู้ที่ได้จากการ ปริทัศน์เพื่อตอบกิจกรรมการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 4) การวัดและประเมินผลใช้แบบวัดและการประเมินผล ตามสภาพที่เป็นจริง 2. ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่านทาการประเมินรูปแบบ การเรี ย นการสอนมี ค วามคิ ด เห็ น ว่ า รู ป แบบการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

2020” ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “ICT เป็นพลังขับเคลื่อนสาคัญใน

การนาพาคนไทยสู่ความรู้และปัญญา เศรษฐกิจไทย สู่การ เติบโตอย่างยั่งยืน สังคมไทย สู่ความเสมอภาค” ซึ่งหมายถึง ประเทศไทยจะมีการพัฒนาอย่างฉลาด การดาเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ และสั ง คมจะอยู่ บนพื้ น ฐานของความรู้ แ ละ ปัญญา โดยให้โอกาสแก่ประชาชนทุกคนในการมีส่วนร่วม ในกระบวนการพั ฒ นาอย่ างเสมอภาค น าไปสู่ การเติ บ โต อย่ า งสมดุ ล และยั่ ง ยื น จ ากยุ ท ธศ าสตร์ ข้ อ ที่ 2ขอ ง กระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนการเรียนการสอนด้วยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การศึ กษาของประเทศไทย มี วัต ถุ ป ระสงค์ คื อ เพื่ อ สร้ า ง กาลังคนของประเทศ โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนด้วยการใช้ ICT เป็นเครื่องมือหรือเป็นส่วนประกอบสาคัญของการเรียน การสอน รวมทั้งการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติ (National Learning Center:NLC) เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การสอนในภาพรวม ให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ด้านการพัฒนาและการประยุกต์ใช้ ICT อย่างสร้างสรรค์ มี ธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรู้เท่าทัน อาทิ ผู้เรียนมีความสะดวกในการทบทวนบทเรียน สืบค้น ข้อมูล ตลอดจนถึงการเรียนรู้ด้วยตัวเองจากระบบ ICT เป็น การช่วยให้ผู้สอนได้มีเวลาดูแลใส่ใจผู้เรียนในด้านพฤติกรรม การเรียนรู้และสังคมมากขึ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศไทยต่อไป “การออกแบบการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร เชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ” เป็ น การพั ฒ นาเพื่ อ ตอบสนองยุ ท ธศาสตร์ ข องที่ 2 ของ กระทรวงศึกษาธิการเพราะในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์การ เรียนการสอนแบบไร้สายและสามารถเคลื่อนที่ไปในที่ต่าง ๆ ได้ อ ย่ า งสะดวกสบาย การพั ฒ นารู ป แบบนี้ เ พื่ อ ที่ จ ะเป็ น แนวทางให้กับบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาการเรียน การสอนที่เหมาะสมภายใต้บริบทของประเทศไทยต่อไป เอ็มเลิร์นนิง (m-Learning) หมายถึง การจัดกระบวนการ เรี ย นรู้ แ บบเคลื่ อ นที่ โดยอาศั ย อุ ป กรณ์ เ คลื่ อ นที่ ที่ มี ก าร เชื่อมต่อแบบไร้สาย เช่น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบพกพา แท็ปเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น โดยอาศัยเทคโนโลยีทางการ สื่อสารเข้ามาช่วยเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ (มนต์ชัย เทียนทอง, 2547)

คำสำคัญ: รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้, เอ็มเลิร์น นิง, ทฤษฎีการเชื่อมต่อ , ปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวด ล้อมจริง

1) บทนำ ประเทศไทยมี ก ารกาหนดกรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ.2554-2564 หรือ “ICT 102


ทฤษฎี การเชื่ อ มต่อ (Connectivism) คือ การบูร ณาการ หลักการสารวจที่มีความซับซ้อน เครือข่าย และความ สมบูรณ์ ตลอดทั้ง ทฤษฎีการบริการจัด การตนเอง การ เรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน สภาวะแวดล้อม ที่ ค ลุ ม เครื อ ของการขยั บ องค์ ป ระกอบหลั ก ไม่ ไ ด้ หมายความรวมถึ งทุกสิ่งนั้นต้องอยู่ ภายใต้การควบคุ ม ของคน การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้ภายนอกบุคคล(แต่ ยังอยู่ภายในองค์ การหรือฐานข้อมูล)โดยมีการมุ่งเน้นไป ที่การเชื่อมต่อที่มีความจา เพาะเจาะจง และความสามารถ ในการเรียนรู้ข้อมูลใหม่ๆมีความสาคัญมากกว่า ความรู้ที่ มีในปัจจุบัน (Siemens, 2005) การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อ คือ การเรี ย นรู้ เ ชื่ อมโยงผ่ านซอฟต์ แ วร์ ฮาร์ ด แวร์ และ ข้อมูลที่อยู่ในรูปของดิจิ ทัล มีการเรียนรู้ข้อมูลบนโลก อินเทอร์เน็ตอย่างต่อเนื่องทุกวันทาให้ความรู้ถูกพัฒนา เพิ่มขึ้นโดยเกิดจากการเชื่อมโยงของข้อมูล อาจจะอยู่รูป ของ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น เพียงแต่คลิก ลิงค์ส่วนต่าง ๆ ของข้อมูลที่อยากรู้ จะทาให้กระบวนการ เรี ยนรู้ถู กเชื่อ มต่ อ และปรั บปรุง ความรู้ เดิ มเพิ่ม ขึ้น ไป เรื่อยๆ การปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง เกิดจากเมื่อ

2.2) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก าร ปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง

3) ขอบเขตงำนวิจัย 3.1) ประชำกรและกลุม่ ตัวอย่ำง 3.1.1 ประชากร คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงผูท้ รงคุณวุฒิด้านทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน ได้โดย การเลือกแบบเจาะจง โดยมีประสบการณ์ในด้านที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า 3 ปี ประกอบด้วย ด้านการออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิง จานวน 3 ท่าน ด้านทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 2 ท่าน 3.2) ตัวแปรที่ใช้ในกำรวิจัย 3.2.1 ตัวแปรต้น คือ รูปแบบแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านเอ็มเลิรน์ นิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการ ปริทศั น์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 3.2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลการประเมินรับรองของรูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรูผ้ ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎี การเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง

ข้ อ มู ล ความรู้ ที่ ถู ก พิ ม พ์ ขึ้ น บนแอพพลิ เ คชั่ น ครบตาม จานวนบุคคลแล้วหลังจากนั้นก็จะให้ผู้เรียนรู้ทุกคนก็จะ

4) วิธีดำเนินกำรวิจัย

ได้ ใช้ หลั กการของทฤษฏี การเชื่อ มต่ อ โดยผู้เ รีย นรู้ จ ะ

กา ร อ อ ก แ บ บ ก า ร จั ด กิ จ กร ร ม กา ร เ รี ย น รู้ ผ่ า น เ อ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่1 การออกแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก ารปริ ทั ศ น์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นกำรวิเครำะห์ (Analysis) ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิง แนวทฤษฎีการเชื่ อมต่อ และวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง เพื่อนาไป สังเคราะห์เป็น การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน เอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง

ศึกษาข้อมูลที่อยู่บนแอพพลิเคชั่นที่ได้ออกแบบไว้ ของ ผู้เ รี ย นทุ กคนที่ส่ง เข้ าไปในระบบ เพื่ อ ทาการปริ ทั ศ น์ ความรู้ คือ นามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ทบทวนพร้อมทั้ง เชื่ อมต่ อข้ อมู ล ความรู้ ที่ข าดหายเข้าด้ วยกัน แล้ วนามา สรุปเป็นคาตอบของกิจกรรมการเรียนรู้อีกครั้งหนึ่ง แล้ว ส่งผ่านแอพพลิเคชั่นที่ได้ออกแบบไว้ผ่านกระบวนการ เรียนรู้บนระบบเอ็มเลิร์นนิง

2) วัตถุประสงค์ของงำนวิจัย 2.1) เพื่อออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็ ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 103


4) การวิเคราะห์ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ โดยใช้ค่าเฉลี่ย( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งมี เกณฑ์ ใ นการก าหนดค่ า น้ าหนั ก ของการประเมิ น ความ เหมาะสมของรูปแบบเป็ น 5 ระดับ ตามแนวของลิ เคิร์ ต (Likert) ดังนี้ 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด และ ก าหนดเกณฑ์ ใ นการแปลความหมาย ดั ง นี้ (ประคอง กรรณสูต, 2542) 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากทีส่ ุด 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยทีส่ ุด

2) ขั้นกำรออกแบบ (Design) การออกแบบกิจกรรมการเรีย นรู้ ผ่านเอ็ มเลิร์ นนิ ง ตาม แนวทฤษฎีการเชื่อมต่อและวิธีการปริทั ศน์ความรู้จาก สภาพแวดล้อ มจริ ง โดยรู ปแบบมี การออกแบบการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 1) หลักการของรูปแบบ 2) ขั้นตอนของรูปแบบ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้ จ ากสภาพแวดล้อ มจริง และ 4) การวัด และ ประเมินผลใช้แบบวัดและการประเมินผลตามสภาพที่ เป็นจริง 3) ขั้นกำรพัฒนำ (Development) 3.1) พัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิง แนวทฤษฎี การเชื่ อ มต่ อ และวิ ธีการปริ ทัศ น์ ค วามรู้ จ าก สภาพแวดล้อมจริง 3.2) สร้างเครื่องมือสาหรับการประเมินความเหมาะสม ของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิง ตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่ อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้ จากสภาพแวดล้อมจริง ระยะที่ 2 การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 1) นารูปแบบที่พัฒนาขึ้นนาเสนอต่อ ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน การออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง จานวน 5 ท่าน พิจารณา และประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ 2) ปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้ จ ากสภาพแวดล้ อ มจริ ง ตามข้ อ เสนอแนะของ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3) นาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จ ากสภาพแวดล้ อมจริ ง ที่ พัฒ นาขึ้ นในรู ปแบบ แผนภาพประกอบความเรียง

5) ผลกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้นาเสนอผลการวิจัยเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิง ตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จาก สภาพแวดล้อมจริง รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนว ทฤษ ฎี ก ารเ ชื่ อ มต่ อด้ ว ยวิ ธี ก ารป ริ ทั ศน์ ความรู้ จาก สภาพแวดล้อมจริง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการของรูปแบบ 2) ขั้นตอนของรูปแบบ 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎี การเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 4) การวัดและประเมินผลใช้แบบวัดและการประเมินผลแบบ ตามสภาพที่เป็นจริง นาเสนอดังรูปที่ 1

104


รูปที่ 1: องค์ประกอบของรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชือ่ มต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 1.2.2 ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

1.1) หลักกำรของรูปแบบ ประกอบด้วย หลักการของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านเอ็มเลิร์นนิง หลักการจัดการเรียนการสอนตามแนว ทฤษฏีการเชื่อมต่อ และกระบวนการวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 1.2) ขั้นตอนของรูปแบบ 1.2.1ขั้นเตรียมการก่อนการเรียนการสอน

การจัดการเรียนการสอนแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน เอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 4 ขั้นตอน 1.2.3 ขั้นสรุปผล ใช้การสรุปผลตามสภาพจริง 1.3) กิจกรรมกำรเรียนรู้ผ่ำนเอ็ม เลิร์นนิ งตำมแนวทฤษฎี กำรเชื่อมต่อด้วยวิธีกำรปริทัศน์ควำมรู้จำกสภำพแวดล้อม จริง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎี การเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน นาเสนอดังรูปที่ 2

เตรียมด้านโครงสร้างของระบบการเรียนรู้แบบเคลื่อนที่ (m-Learning)เตรียมแอพพลิเคชั่นที่สร้างตามแนวทฤษฎี การเชื่อมต่อ (Connectivism) ออกแบบกิจกรรมการเรียน การสอนจากสภาพ แวดล้อมจริงผ่านกระบวนการเรียนรู้ แบบเคลื่อนที่ (m-Learning)

105


รูปที่ 2: กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง 1.3.1 ขั้นกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้

1.3.4 ขั้นสรุปความรู้ที่ได้จากการปริทัศน์

จากสภาพแวดล้อมจริง ผู้สอนจะทาการออกแบบ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ต า ม ที่ ก า ห น ด ไ ว้ 1 ) พั ฒ น า Application และเตรี ย มระบบ m-Learning 2) การ ออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ต ามแนวทฤษฎี 3)การ เชื่อมต่อ กาหนดสภาพแวดล้อมจริง 4) ข้อตงลงในการทา กิจกรรมการเรียนรู้ 1.3.2 ขั้นการเลือกใช้เครื่องมือแบบเคลื่อนที่

เพื่อตอบกิจกรรมการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมจริง เมื่อข้อมูล ความรู้ที่ถูกพิมพ์ขึ้นบนแอพพลิเคชั่นครบตามจานวนบุคคล แล้วหลังจากนั้นก็จะให้ผู้เรียนรู้ทุกคนก็จะได้ใช้หลักการของ ทฤษฏี ก ารเชื่ อ มต่ อ โดยผู้ เ รี ย นรู้ จ ะศึ ก ษาข้ อ มู ล ที่ อ ยู่ บ น แอพพลิเคชั่นที่ได้ออกแบบไว้ ของผู้เรียนทุกคนที่ส่งเข้าไป ในระบบ เพื่ อ ท าการปริ ทั ศ น์ ค วามรู้ คื อ น ามาวิ เ คราะห์ สังเคราะห์ทบทวนพร้อมทั้ง เชื่อมต่อข้อมูลความรู้ที่ขาดหาย เข้าด้วยกัน แล้วนามาสรุปเป็นคาตอบของกิจกรรมการเรียนรู้ อีกครั้งหนึ่ง แล้วส่งผ่านแอพพลิเคชั่นที่ ได้ออกแบบไว้ผ่าน กระบวนการเรียนรู้บนระบบเอ็มเลิร์นนิง 1.4) กำรวัดและประเมินผล การวัดและประเมิ นผลใช้แบบวัดและการประเมินผลตาม สภาพจริง หลังจากการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง แล้ว ผู้สอนจะใช้การประเมินโดยดูจากคาตอบที่เข้ามาใน ระบบขณะนั้นในลักษณะการโต้ตอบสองทิศทางปฏิสัมพันธ์ ของผู้ เ รี ย นกั บ ระบบ และพฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อ ตอนที่ 2 ผลการประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการ เรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ย วิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง

ในการทากิจกรรมการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ขั้นนี้ ผู้สอนเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการทากิจกรรม เช่น สมาร์ท โฟน แท็ ป เล็ ต รวมทั้ง ต้ อ งเลื อ กวิ ธีการเชื่อ มต่ อระบบ เครือข่ายว่าจะผ่าน เซลลูลาห์เน็ทเวิร์ก หรือ อินเทอร์เน็ต เน็ทเวิร์ก เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจริง 1.3.3 ขั้นหาความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนด จากกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ผู้สอนกาหนด ผู้เรียนก็จะทาการหาข้อมูลความรู้จาก สภาพแวดล้อมจริงตามการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับ มอบหมาย แล้วพิมพ์ความรู้ที่ได้ของแต่ละบุคคลส่งผ่าน กระบวนการเรียนรู้บนแอพพลิเคชั่นแบบเอ็มเลิร์นนิงใน ลักษณะโต้ตอบสองทิศทาง

106


การประเมิ น รั บ รองของรู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ เรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วย วิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ดาเนินการ ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน นาเสนอผลการ ประเมินดังตารางที่ 1

พั ฒ นา Applicationและเตรี ย มระบบ m-Learning มี ค วาม เหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ( X =4.80, SD=0.45) รองลงมาได้แก่ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนว ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ( X =4.40, SD=0.89) ก าหนด สภาพแวดล้อมจริง ( X =4.20, SD=0.84) และข้อตกลงในการ ทากิจกรรมการเรียนรู้ ( X =4.20, SD=0.45)

ตารางที่ 1: ผลการประเมินรูปแบบการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ด้านองค์ประกอบของรูปแบบ รำยละเอียดกำรออกแบบ 1. หลั กการและแนวคิดที่ ใช้เป็ น พื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3. รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ เรียนรู้ 4. การวัดและประเมินผล ภำพรวมของผลกำรประเมิน

X

S.D.

ความเหมาะสม

4.40

0.55

มาก

4.40

0.89

มาก

4.20

0.84

มาก

4.00 4.25

0.71 0.15

มาก มำก

ตารางที่ 3: ผลการประเมินขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นการเลือกใช้เครื่องมือแบบเคลือ่ นที่ รำยละเอียดกำรออกแบบ 1. เลือกเครื่องมือที่จะใช้ 2. อธิบายขั้นตอนวิธีการใช้งาน เครื่องมือที่จะใช้ผ่านระบบ m-Learning ภำพรวมของผลกำรประเมิน

S.D.

ความเหมาะสม

4.80

0.45

มากที่สุด

4.40

0.89

มาก

4.20

0.84

มาก

4. ข้อตกลงในการทากิจกรรมการ เรียนรู้

4.20

0.45

มาก

ภำพรวมของผลกำรประเมิน

4.40

0.24

มำก

0.55

ความเหมาะสม มากทีส่ ุด

4.20

0.84

มาก

4.40

0.20

มำก

ตารางที่ 4: ผลการประเมินขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นหาความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง รำยละเอียดกำรออกแบบ 1. หาความรู้ที่ได้จากสภาพแวด ล้อมจริง 2. นาความรู้ที่ได้ส่งเข้าสู่ระบบ m-Learning ภำพรวมของผลกำรประเมิน

ตารางที่ 2: ผลการประเมินขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ขัน้ กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม จริง X

S.D.

4.60

จากตารางที่ 3 พบว่า ขั้นการเลือกใช้เครื่องมือแบบเคลื่อนที่ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว่ า มี ค วามเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก ( X =4.40, SD=0.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า เลือก เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ มี ค วามเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ( X =4.60, SD=0.55) รองลงมาได้ แ ก่ อธิ บ ายขั้ น ตอน วิ ธี ก ารใช้ ง านเครื่ อ งมื อ ที่ จ ะใช้ ผ่ า นระบบ m-Learning ( X =4.20, SD=0.84)

จากตารางที่ 1 พบว่า องค์ประกอบในการออกแบบการ จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ฯ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ว่ า มี ค วาม เหมาะสมอยู่ในระดับมาก ( X =4.25, SD=0.15) เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า หลักการและแนวคิดที่ใ ช้ เป็นพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ มีความเหมาะสมอยู่ ในระดั บ มาก ( X =4.40, SD=0.55) รองลงมาได้ แ ก่ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ ( X =4.40, SD=0.89) รูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้( X =4.20, SD=0.84) และการ วัดผลประเมินผล ( X =4.00, SD=0.71)

รำยละเอียดของขั้นตอน 1. พัฒนา Application และเตรียม ระบบ m-Learning 2. การออกแบบกิ จ กรรมการ เ รี ย น รู้ ต า ม แ น ว ท ฤ ษ ฎี ก า ร เชื่อมต่อ 3. กาหนดสภาพแวดล้อมจริง

X

X

S.D.

ความเหมาะสม

4.60

0.55

มากที่สุด

4.60

0.55

มากที่สุด

4.60

0

มำกที่สุด

จากตารางที่ 4 พบว่า ขั้นหาความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.60, SD=0) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า หาความรู้ ที่ได้จากสภาพแวด ล้อมจริง อยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.60, SD=0.55) เท่ากับนาความรู้ที่ได้ส่งเข้าสู่ระบบ m-Learning ( X =4.60, SD=0.55)

จากตารางที่ 2 พบว่ า ขั้ น การจั ดกิจ กรรมการเรี ย นรู้ ผู้ ท รงคุ ณวุ ฒิ เ ห็ น ว่ ามี ค วามเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก ( X =4.40, SD=0.24) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ขั้น 107


ตารางที่ 5: ผลการประเมินขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ขัน้ สรุปความรู้ที่ได้จากการปริทศั น์ รำยละเอียดกำรออกแบบ 1 . น า ค ว า ม รู้ ที่ อ ยู่ ใ น ร ะ บ บ m-Learning มาทาการวิเ คราะห์ สั ง เคราะห์ ทบทวนพร้ อ มทั้ ง เชื่ อมต่อ ข้ อมู ลความรู้ที่ ขาดหาย เข้าด้วยกัน 2. สรุปเป็นความรู้ที่ตอบกิจกรรม การเรียนรู้อีกครั้งหนึ่ง 3. นาข้อสรุปที่ได้ส่งเข้าสู่ระบบ m-Learning ภำพรวมของผลกำรประเมิน

X

S.D.

ความเหมาะสม

4.80

0.45

มากที่สุด

4.60

0.89

มากที่สุด

4.80

0.45

มากที่สุด

4.73

0.26

มำกที่สุด

( X =4.13, SD=0.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ารูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฎี การเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จาสภาพแวดล้อมจริง อยู่ ใ นระดั บ มาก ( X =4.2, SD=0.84) รองลงมาได้ แ ก่ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนว ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก าร ปริ ทั ศ น์ ค วามรู้ จ า ก สภาพแวดล้อมจริง ( X =4.2, SD=0.45) และรูปแบบการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก าร เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวด ล้อมจริง ( X =4.00, SD=0.71)

จากตารางที่ 5 พบว่า ขั้นสรุปความรู้ที่ได้จากการปริทัศน์ ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ ( X =4.73, SD=0.26) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นา ความรู้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ทบทวนพร้อมทั้ง เชื่อมต่อ ข้อมูลความรู้ที่ขาดหายเข้าด้วยกัน อยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.80, SD=0.45) เท่ากับ นาข้อสรุปส่งเข้าสู่ระบบ m-Learning ( X =4.80, SD=0.45) รองลงมาได้แก่ สรุป เป็ น ความรู้ ที่ ต อบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ( X =4.60, SD=0.89)

6) อภิปรำยผล จากผลการวิจัยมีประเด็นในการอภิปรายดังนี้ 6.1) การประเมินรับรองรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิ ร์ น นิ ง ตามแนวทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก าร ปริ ทั ศ น์ ค วามรู้ จ ากสภาพแวดล้ อ มจริ ง โดยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับจอยซ์ และเวล (Joyce and weil, 2000) ที่กล่าวถึงการพัฒนาการ เรียนการสอน ควรเริ่มจากการวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐานต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการนามาพัฒนาเป็นรูปแบบการเรียนการ สอน นาเสนอแนวคิดสาคัญของข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ มากาหนดหลักการและรายละเอียดขององค์ประกอบ 6.2) จากผลการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่าขั้นตอนการ จั ด กิจ กรรมการเรี ย นรู้ ผ่ านเอ็ ม เลิ ร์ นิ ง ตามแนวทฤษฏี การ เชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง อยู่ ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ (Shawnz Neo and Jun Megata, 2012) ที่กล่าวว่า การเรียนรู้ด้วยวิธีการ mlearning แบบ Trail Shuttle สามารถสนับสนุนการเรียนรู้ ภายนอกห้ อ งเรี ย น ซึ่ ง ผู้ เ รี ย นมี ส่วนร่ วมในการเรี ยนรู้ เ มื่ อ เทียบกับการเรียนในชั้นเรียน ผู้เรียนสามารถตอบสนองแบบ RealTime จากสถานที่ จริ งที่ ได้ ออกไปเรี ยนรู้ ครู ผู้สอนก็ สามารถทราบข้อมูลที่ผู้เรียนนั้นส่งกลับมาแบบ RealTime

ตารางที่ 6: ผลการประเมินรูปแบบกับการนาไปใช้จริง รำยละเอียดกำรออกแบบ 1. รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการ เรี ยนรู้ ผ่า นเอ็ ม เลิ ร์น นิ งตามแนว ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก าร ปริ ทั ศ น์ ค วามรู้ จ ากสภาพ แวด ล้อมจริง มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับใด 2. ขั้ น ตอนการจั ด กิ จ กรรมการ เรี ยนรู้ ผ่า นเอ็ ม เลิ ร์น นิ งตามแนว ทฤษฎี ก ารเชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยวิ ธี ก าร ปริทัศน์ความรู้จาสภาพแวดล้อม จริ ง มี ความ เหมาะสมอยู่ ใน ระดับใด 3. รู ป แบบการจั ด กิ จกรรมการ เรี ยนรู้ ผ่า นเอ็ ม เลิ ร์น นิ งตามแนว ทฤษฎีการเชื่อมต่อด้วยวิธีการ ปริทัศน์ความรู้จาสภาพแวดล้อม จริ ง มี ค วาม เป็ น ไปได้ ใ นการ นาไปใช้จริงในระดับใด ภำพรวมของผลกำรประเมิน

X

S.D.

ความเหมาะสม

4.00

0.71

มาก

4.2

0.45

มาก

4.2

0.84

มาก

7) ข้อเสนอแนะ 4.13

0.20

7.1) ข้อเสนอแนะสำหรับกำรนำผลกำรวิจัยไปใช้ สถาบันการศึกษาที่นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนนี้ไปใช้ควรมีการจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน เตรียม

มำก

จากตารางที่ 6 พบว่ า รู ป แบบกั บ การน าไปใช้ จ ริ ง ผู้ท รงคุณวุ ฒิ เห็ น ว่ามีค วามเหมาะสมอยู่ ในระดั บมาก 108


ผู้สอน และเตรียมผู้เรียน เพื่อให้สามารถจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมต่อ ด้วย วิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ได้ 7.2) ข้อเสนอแนะสำหรับกำรวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเอ็ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริงไปทดลองใช้เพื่อศึกษาผล ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผ่ า นเอ็ ม เลิร์นนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมต่อ ด้วยวิธีการปริทัศน์ ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง เช่น แอพพลิเคชั่นที่จะใช้ บนอุ ป กรณ์ แ บบเคลื่ อ นที่ โครงสร้ างพื้ น ฐานของการ จัดระบบเอ็มเลิร์นนิง และการจัดกิจกรรมตามแนวทฤษฏี การเชื่อมต่อด้วยวิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อม จริงที่เหมาะสมกับผู้เรียน สถานที่ ที่เกิ ดขึ้นจริง รูปแบบ การประเมิลผลที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. มนต์ ชั ย เที ย นทอง. (2547,พฤษภาคม-สิ ง หาคม). MLearning: แนวทางใหม่ของ e-learning. วารสาร เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา. 1(1): 3-11. Joyce, B.R., and Weil, M. 2000. Models of Teaching. 6th ed. Massachusetts: Allyn & Bacon. Neo, S., & Magata, J. (2012). Location Based mobile learning in Singapore Schools. International e-Learning Conference 2012(IEC2012), 49-53. Siemens, G. (2005/1). Connectivism: A learning theory for the digital age. International Journal of Instructional Technology and Distance Learning, 2(1): 3-10.

8) กิตติกรรมประกำศ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิ ล สุ ข ผู้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.วิ ว รรธน์ จั น ทร์ เ ทพย์ อาจารย์ ดร.อภิชาติ อนุกูลเวช อาจารย์บุรินทร์ นรินทร์ อาจารย์กวิทธิ์ ศรีสัมฤทธิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิสาหรับความ อนุเคราะห์ในการประเมินรับรองและให้ข้อเสนอแนะที่ เป็ น ประโยชน์ เ พื่ อ พั ฒ นารู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการ เรียนรู้ผ่านเอ็มเลิร์นนิงตามแนวทฤษฏีการเชื่อมต่อ ด้วย วิธีการปริทัศน์ความรู้จากสภาพแวดล้อมจริง

9) เอกสำรอ้ำงอิง ปณิตา วรรณพิรุณ. (2554). สื่อการเรียนการสอนบน เครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตารา เรียนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ. ประคอง กรรณสู ต . (2542). สถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย ทาง พฤติ กรรมศาสตร์ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3. กรุ ง เทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปรัชญนันท์ นิลสุข. (2554). เทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึ ก ษา. กรุ ง เทพฯ: ศู น ย์ ผ ลิ ต ต าราเรี ย น

109


นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิรน์ นิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ One Stop e-Learning Management Innovation

พิชิต ตรีวิทยรัตน์1, วรรณา ตรีวิทยรัตน์2 1

ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล pichit.tri@mahidol.ac.th, pichit2496@gmail.com

2

ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล wanna.tri@mahidol.ac.th, wanna_kae@hotmail.com

ABSTRACT e-Learning system consists of e-teacher, e-courseware designer and e-project manager. For solving the dependency of administrator and courseware designer, the one stop e-Learning management innovation was created at RT e-Learning center, Department of Radiological Technology, Faculty of Medical Technology, Mahidol University. The process of this innovation included 1.For understanding the holistic e-Learning management, the teacher will be promoted to an eLearning professional by studying in the field of eteacher, e-courseware designer and e-project manager. 2.The teacher will be trained to (2.1) collaborate the server administrator for students registration system. (2.2) collaborate the maintenance staff, electric staff and classroom managing staff for classroom activity. (2.3) install the learning management system (Moodle) into the server. 3.The courseware, formative and summative evaluation were constructed by the teacher. 4.The teaching assistant will be trained for management in the classroom problems. 5.The necessary learning equipments will be managed by the teacher prior the beginning of classroom. The learners will be informed to prepare the private computer, learn the computer using and install the required instructional program. Keywords: one stop e-Learning management, innovation, holistic e-Learning management

ศูนย์การเรียนรู้อเี ลิร์นนิงสาหรับรังสีเทคนิค ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้สร้างนวัตกรรมการ จัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จขึ้น ประกอบ ด้วย 1.เตรียมผู้สอน ให้เป็นผูเ้ ชี่ยวชาญอีเลิร์นนิง โดยศึกษาในหลัก สูตรผู้สอนอีเลิร์นนิง ผู้ออกแบบสื่อการสอนอีเลิร์นนิง และ ผู้บริหารอีเลิร์นนิง เพื่อให้เข้าใจการจัดการเรียนการสอนระบบอี เลิร์นนิงแบบองค์รวม 2.เตรียมผู้สอนให้สามารถติดต่อประสานงานกับผู้บริหาร เซิร์ฟเวอร์ อินทราเน็ต เครือข่ายไร้สายเพื่อลงทะเบียนผูเ้ รียน ติดต่อประสานงานกับหน่วยซ่อมบารุง ผู้ดูแลระบบไฟฟ้า ผู้ดูแล การใช้ห้องเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมในการใช้ห้อง และผู้สอน ต้องสามารถลงโปรแกรมและแขวนสื่อการสอนลงใน Moodle 3.ผู้สอนออกแบบสื่อการสอน สร้างแบบทดสอบ แบบประเมิน สื่อการสอน แบบประเมินผู้เรียน และกระบวนการจัดการเรียน การสอน 4.ผู้สอนจัดเตรียมและฝึกผู้ช่วยสอน เพื่อช่วยดูแลปัญหาการใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่เกี่ยวข้องในห้องเรียน 5.เตรียมผูเ้ รียนเข้าสู่บทเรียน โดยให้ผเู้ รียนจัดหาเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนตัว ศึกษาวิธีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และลง โปรแกรมทีจ่ าเป็นต้องใช้

บทคัดย่อ การเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง ประกอบด้วยผู้สอนอีเลิรน์ นิง ผู้ออกแบบสื่อการสอนอีเลิร์นนิง และผูบ้ ริหารอีเลิร์นนิง เพื่อลดหรือบรรเทาปัญหาที่เกิดจากการพึ่งพาผู้ออกแบบสื่อ การสอนอีเลิร์นนิง และผูบ้ ริหารอีเลิร์นนิง ฯลฯ 110

คาสาคัญ: นวัตกรรม, การจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์น นิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ


ผู้ทาการวิจัยได้จดั การเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงมาเป็นเวลา 2 ปี และได้พบปัญหาต่าง ๆ ดังนี้ 1. ปัญหาของครูผู้สอน คือ - ครูผู้สอนอีเลิรน์ นิงยังไม่เข้าใจในระบบการ เรียนการสอนอีเลิร์นนิง ไม่สามารถแยกแยะว่า สิ่งใดเป็นการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง สิ่ง ใดเป็นการสอนแบบใช้ CAI - มีภาระงานมาก - ขาดความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ - ขาดแคลนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ใช้ ในการทาสื่อการสอน - เกิดความระแวงว่าหากจัดระบบการเรียนการ สอนให้สาเร็จ สถานศึกษาจะไม่จ้างทาการสอน ต่อ 2. ปัญหาความพร้อมของบุคลากรทีจ่ ะทาการสอน และบุคลากรสนับสนุน เช่นผู้ดูแลระบบ (Admin) ผู้ดูแลการเชื่อมโยงเครือข่าย ฯลฯ 3. ผู้บริหารสถานศึกษา - ไม่สนใจและไม่ทราบองค์ประกอบของการ จัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง - ไม่ให้การสนับสนุนทั้งบุคลากรและงบประมาณ สาหรับห้องปฏิบัติการ เครื่องคอมพิวเตอร์ รวม ทั้งระบบและโปรแกรมสนับสนุน 4. ขาดทีป่ รึกษาการจัดการเรียนการสอนระบบอี เลิร์นนิง 5. ผู้เรียนไม่ใฝ่รู้ ไม่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จากปัญหาที่พบ ทาให้ทราบองค์ประกอบของความล้มเหลว จึง เกิดแนวคิดว่า การพัฒนาบุคลากรคือผู้สอน ให้สามารถทาสื่อการ สอนและนาขึ้นแขวนในระบบจัดการเรียนการสอนได้ด้วยตนเอง ก็จะก้าวข้ามอุปสรรคสาคัญในการจัดการเรียนการสอนระบบอี เลิร์นนิงได้ จึงได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิง วิชากายวิภาคศาสตร์และรังสีกายวิภาคศาสตร์ตามแนวคิดดัง กล่าว จนประสบความสาเร็จเป็นแห่งแรกด้วยการจัดการเรียนการ สอนระบบอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ

1) บทนา อีเลิร์นนิงเป็นกลยุทธ์ใหม่ในการส่งต่อความรู้ในโลกดิจิทัล(1) การจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงที่มปี ระสิทธิภาพ ประกอบด้วย 3 ตัวแปรหลักคือ เทคโนโลยี คุณลักษณะของ ผู้เรียน และผู้สอน(2) เป็นการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ประยุกต์ใช้กับการจัดการศึกษาในห้องเรียน ช่วยให้การเรียน การสอนมีความแปลกใหม่ น่าสนใจ ผูเ้ รียนสามารถทวนซ้า บทเรียนได้ตามต้องการ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและ ผู้เรียน แต่ทงั้ นี้ผู้สอนจะต้องทุ่มเท สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจด้วยบทเรียนพร้อมมัลติมีเดียที่น่า สนใจ มีการติดต่อสื่อสาร เช่นตอบข้อซักถาม สั่งงาน นัด หมาย โดยใช้กระดานสนทนา ดังนั้นการออกแบบบทเรียนอี เลิร์นนิงให้น่าสนใจ ก็สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ (3) จะเห็นได้ว่าผู้สอนเป็นกุญแจสาคัญของการจัดการเรียนการ สอนระบบอีเลิร์นนิง ศูนย์การเรียนรู้อเี ลิร์นนิงสาหรับรังสีเทคนิค ภาควิชารังสี เทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้คิดค้น นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงที่มีชื่อว่า นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงแบบจุด เดียวเบ็ดเสร็จ ในเบื้องต้นได้จดั การเรียนการสอนระบบ อีเลิร์นนิงสาหรับรังสีเทคนิคแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One stop RT e-Learning Management) เป็นต้นแบบทีป่ ระสบ ความสาเร็จ เพื่อให้ผู้สอนอีเลิรน์ นิงสามารถพึ่งตนเองในการ จัดการเรียนการสอน เพื่อลดหรือบรรเทาปัญหาที่เกิดจากการ พึ่งพาบุคลากรด้านต่าง ๆ เช่น ผูอ้ อกแบบสื่อการสอนอีเลิร์น นิง ผู้บริหารอีเลิร์นนิง ผูจ้ ัดการระบบอิเลิร์นนิง ฯลฯ

2) ที่มาและความสาคัญของการวิจัย ปัจจุบนั การเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงได้มีการแพร่หลาย ไปอย่างกว้างขวาง แต่ยังขาดแคลนบุคลากรที่มคี วามพร้อม สาหรับจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงในสถาบันการ ศึกษาทั่วประเทศ เช่น ผู้สอนอีเลิร์นนิง ผู้ออกแบบสื่อการ สอนอีเลิร์นนิง ผู้บริหารอีเลิรน์ นิง ผู้จดั การระบบอิเลิรน์ นิง และด้านอื่น ๆ จึงทาให้การเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงไม่ พัฒนาไปเท่าที่ควรจะเป็น 111


ผู้สอน ให้มคี รบทุกองค์ประกอบในการจัดการเรียนการสอน ระบบอีเลิร์นนิง จึงได้รปู แบบนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน ระบบอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จที่สามารถปฎิบัติการได้จริง โดยผู้สอนจะต้องปฏิบัติตามขัน้ ตอนดังนี้ 1. ศึกษาระบบ Learning management system และ Content management system แล้วเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมทีจ่ ะ นาไปใช้เพียงหนึ่งโปรแกรม ยกตัวอย่างเช่น - ถ้าเลือกโปรแกรม Learning management system ก็เลือก MOODLE หรือ LEARN SQUARE - แต่ถ้าเลือกโปรแกรม Content management system ก็เลือก DRUPAL หรือ JOOMLA หรือ - อาจเลือกใช้ GOOGLE SITE เพื่อให้สามารถ ติดตั้งโปรแกรมในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือสามารถติดต่อประสานงานกับผู้บริหารเซิร์ฟเวอร์ของคณะ หรือมหาวิทยาลัย ในกรณีทเี่ ลือกใช้ MOODLE สาหรับ - การลงทะเบียนชื่อผู้เรียนในแต่ละรายวิชา กาหนด user name และ password ให้กับผูเ้ รียนแต่ละคน - การลงกระดานเตรียมความพร้อมของผูเ้ รียนใน การเรียนระบบอีเลิรน์ นิง - การลงกระดานข่าว - การลงกระดานแนะนาตัว - การลงแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน - การลงสื่อการสอนสาหรับรายวิชาใหม่ในแต่ละ ภาค - การลงกิจกรรมเดี่ยว - การลงกิจกรรมกลุ่ม - การลงกระดานส่งงาน ส่วนในกรณีที่ใช้ LEARN SQUARE , DRUPAL , JOOMLA หรือ GOOGLE SITE ครูผู้สอนจะต้องเรียนรู้วิธีการติดตั้งและใช้ งานในเซิร์ฟเวอร์เล็ก ๆ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง สาหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเริ่มต้น ผู้ทาการวิจัยขอแนะนาให้ใช้ GOOGLE SITE เป็นอันดับแรก เพราะมีปัญหาน้อยและขัน้ ตอนไม่ซับซ้อน หลังจากนั้นก็เข้าสู่ ระบบ LEARNING MANAGEMENT SYSTEM โดยเลือกใช้ LEARN SQUARE ก่อน แล้วค่อยตามด้วย MOODLE

3) วัตถุประสงค์ สร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงแบบ จุดเดียวเบ็ดเสร็จ เพื่อให้ผู้สอนอีเลิร์นนิงสามารถจัดการเรียน การสอนระบบอีเลิรน์ นิงได้ด้วยตนเอง

4) ขั้นตอนการศึกษา 1. ศึกษาปัญหาการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์น นิง 2. ศึกษาความล้มเหลวในการจัดการเรียนการสอน ระบบอีเลิร์นนิง จากการพบปัญหาการจัดการเรียนการสอนระบบอี เลิร์นนิง ทาให้ทราบสาเหตุของความล้มเหลวใน การการจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงดังที่ได้ กล่าวไปแล้ว 3. ศึกษาความสาเร็จและแนวทางในการจัดการเรียน การสอนระบบอีเลิรน์ นิง ผู้ทาการวิจัยได้ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญ อีเลิร์นนิงที่เปิดทาการสอนโดยมหาวิทยาลัยไซ เบอร์ไทย ( Thai Cyber University ) ทั้ง 3 สาขา คือ ผู้สอนอีเลิรน์ นิง ผู้ออกแบบการสอนอีเลิร์นนิง และผู้บริหารอีเลิร์นนิงเป็นเวลา 3 ปีเพื่อให้เข้าใจ การจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงแบบองค์ รวม 4. สร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนระบบอี เลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ จากแนวคิดเสริม ศักยภาพผู้สอน เพื่อลดการพึ่งพาบุคลากรด้านต่าง ๆ เช่น ผู้ออกแบบสื่อการสอนอีเลิรน์ นิง ผูบ้ ริหารอี เลิร์นนิงผู้จดั การระบบอิเลิร์นนิง และด้านอื่น ๆ

5) ผลการศึกษา จากองค์ประกอบของความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอน ระบบอีเลิร์นนิง แสดงว่าหากต้องการจัดการเรียนการสอน ระบบอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ จะต้องเสริมศักยภาพ 112


2. ตรวจสอบระบบอินทราเน็ต หรือ เครือข่ายไร้สาย กับผู้ดูแล ระบบของคณะหรือมหาวิทยาลัย เพื่อให้พร้อมใช้งานกรณี เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานพร้อมกันจานวนมาก หรือให้ ผู้เรียนใช้เครือข่ายเอกชนที่มใี ห้บริการอยู่ 3. ติดต่อประสานงานกับผู้ดูแลการใช้ห้องเรียน เพื่อเตรียม ความพร้อมในการใช้ห้อง เตรียมโต๊ะและเก้าอี้ให้เพียงพอ สาหรับผู้เรียนในวันและเวลาที่จะทาการสอน 4. หน่วยซ่อมบารุง ผู้ดูแลระบบไฟฟ้า เพื่อตรวจสอบจานวน ปลั๊กไฟให้เพียงพอกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้งาน 5. ออกแบบสื่อการสอนด้วยตนเอง โดยใช้สื่อประสม เช่น ข้อความและรูปภาพทีท่ าขึ้นเองพร้อมกับบันทึกเสียงลงใน เพาเวอร์พ๊อย ก็จะได้สื่อการสอนที่มีการบันทึกเสียงแบบง่าย หรือจะนาไป Convert ลงในโปรแกรม AUTHROPOINT LITE ซึ่งเป็นฟรีแวร์ ให้มมี าตรฐานมากขึ้น หรือใช้โปรแกรม ลิขสิทธิ์ เช่น โปรแกรม ADOBE PRESENTER 7 ที่มีการ ออกข้อสอบได้หลายแบบและมีมาตรฐาน SCROM 6. ออกแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้ของผู้เรียน ก่อนเริ่มเรียน 7. สร้างแบบประเมินสื่อการสอน เพื่อประเมินความพึงพอใจ ในการใช้สื่อการสอนของผู้เรียน 8. จัดเตรียมและฝึกผู้ช่วยสอน เพื่อช่วยดูแลปัญหาการใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่เกี่ยวข้องในห้องเรียน 9. ในกรณีที่เป็นการเริ่มเรียนครัง้ แรก ในห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ที่ไม่มเี ครื่องคอมพิวเตอร์ ผู้สอนต้องประสานกับ ผู้เรียนเพื่อจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว ศึกษาการใช้ เครื่องและติดตัง้ โปรแกรมที่จาเป็นต้องใช้

จัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์นนิงแบบจุดเดียวเบ็ด เสร็จ เพื่อลดการพึ่งพาบุคลากรด้านอื่น ๆ การจัดการเรียนการ สอนระบบอีเลิร์นนิงเป็นสิ่งทีเ่ พิ่มขึ้นจากภาระงานปกติ ฉะนั้น ผู้สอนจะต้องมีกาลังใจอันแรงกล้าที่จะอุทศิ ตนเพื่อ พัฒนาความรู้และขบวนการเรียนรู้ และมุ่งมั่นว่า สิ่งที่ทาอยู่ เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนระบบอีเลิร์ นนิงจึงจะประสบความสาเร็จและน่าจะเป็นทางเลือกใหม่ ของการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์

7) เอกสารอ้างอิง 1. Rosenberg ,MJ. (2001) E-learning: Strategies for deliver knowledge in the digital age. United State: McGraw-Hill. 2. Dillon, CL., Guawardena, CN. (1995) A framework for the evaluation of telecommunication-based distance education. Paper presented at the 17th congress of the international council for distance education, Open University, Milton Keynes. 3. ถนอมพร เลาหะจรัสแสง. (2545) Designing e-Learning: หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์

6) สรุปและวิจารณ์ผลการศึกษา จากการนาขั้นตอนต่าง ๆ ในการเพิ่มศักยภาพของผู้สอน ให้มีองค์ประกอบครบตามความสาเร็จในการจัดการเรียน การสอนระบบอีเลิรน์ นิง มาสร้างเป็นนวัตกรรมจัดการ เรียนการสอนระบบอีเลิรน์ นิงแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ โดย ใช้การเรียนการสอนวิชากายวิภาคศาสตร์และรังสีกาย วิภาคศาสตร์สาหรับนักศึกษาสาขารังสีเทคนิค เป็น ต้นแบบทีป่ ระสบความสาเร็จ และยังคงดาเนินการอย่าง ต่อเนื่อง ให้ผู้สอนอีเลิร์นนิงสามารถพึ่งตนเองในการ 113


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยีก้อนเมฆ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ The Learning Activities Integration with Knowledge Management through the Cloud Computing to Encourage Analytic Thinking in Computer Programming ดวงกมล โพธิ์นาค1, ธนยศ สิริโชดก2 1 ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (tantawan_ple@hotmail.com) 2

สาขาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (t_siri@hotmail.com)

นาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับ การจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยีก้อนเมฆเพื่อส่งเสริม ทักษะการคิดวิเคราะห์ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งจากการศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมดังกล่าวมีขั้นตอน ในการศึกษาดังนี้ 1) ศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2) ศึกษาหลักเทคโนโลยีก้อนเมฆ 3) ศึกษาหลักการจัดการ ความรู้ 4) สังเคราะห์รูปแบบ 5) นาเสนอรูปแบบ โดย การศึกษาและนาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ บูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยีก้อนเมฆ นี้ มี ก ารตอบสนองการจั ด การเรี ย นรู้ ต่ อ เทคโนโลยี ที่ ทันสมัยและนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนต่อไป

ABSTRACT The current learning and teaching in the 21st century, the Infrastructure development and information technology and communications have to face several challenges. The most important is the differences between the Member States themselves digitally. The ASEAN member countries have the obligation to improve the competitiveness of each country's technology and communications. This article aims to present a model of the Learning Activities Integration with Knowledge Management through the Cloud Computing to Encourage Analytic Thinking in Computer Programming. The study has the following steps : 1) Principles and theories, 2) Concept of Cloud Computing, 3) Theories of Knowledge management , 4) Synthesis of model, and 5) Present a model. Further, the model of learning activity is a response to learning the technology and use in teaching. Keywords: Learning Activities, Management, Analytic Thinking

คาสาคัญ: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ , การจัดการความรู้, เทคโนโลยีก้อนเมฆ, ทักษะการคิดวิเคราะห์

Knowledge

บทคัดย่อ

1) บทนา

ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนในทศวรรษที่ 21 ต้อ ง ค านึ ง ถึ ง การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารที่ ต้ อ งเผชิ ญ กับ ความท้ าทาย หลายประการความท้ า ทายที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด มาจากความ แตกต่างทางระบบดิจิทัลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ด้วยกันเองการขจัดความแตกต่างด้านดิจิทัลจาเป็นต้องมี พั น ธกรณี จ ากประเทศสมาชิ กอาเซี ย นที่ จ ะปรั บ ปรุ ง ขี ด ความสามารถในการแข่งขันของภาคเทคโนโลยีและการ สื่อสารของแต่ละประเทศซึ่งบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ปัจจุบันการจัดการศึกษาในอาเซียนเป็นรากฐานสาคัญใน การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง และความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งทาง เศรษฐกิจของอาเซียนและเศรษฐกิจโลกก่อให้เกิดความ ร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียน และประชาคมยุโรปโดยมีข้อตกลงที่ทาร่วมกันในระดับ สถาบันต่อสถาบัน ทั้งในส่วนของมหาวิทยาลัยของรัฐและ มหาวิทยาลัยของภาคเอกชนในด้านการพัฒนาหลักสูตร การพั ฒ นาสถาบั น และสถาบั น การศึ ก ษาร่ ว มกั น ใน ขณะเดียวกันการจัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนได้ 114


ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทั้งระหว่างประเทศสมาชิกด้วย กันเองและความร่วมมื อกับประเทศคู่เจราจาในอาเซีย น จุ ด มุ่ ง หมายหลั ก ของแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 ในประเทศไทยมีความ ต้องการให้ผู้เรียนมี ความสามารถในกระบวนการคิดจาก การได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นทาเป็น ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 22ได้ ก ล่ า วถึ ง ห ลั ก การจั ดกระบ วนการเ รี ย น รู้ ใ ห้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกีย่ วข้องดาเนินการ จัดเนื้อหา สาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความ ถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึ ก ทั ก ษะ กระบวนการคิ ด การจั ด การ การเผชิ ญ สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและ แก้ ไ ขปั ญ หา โดยจั ด กิ จ กรรมให้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ จ าก ประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ รักการอ่านและ เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ส่งเสริมสนับสนุน ให้ผู้ สอนสามารถจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อ การ เรียนและอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รอบรู้ และจัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลามีการ ประสานความร่วมมือจากทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียน ตามศักยภาพ

ค่าใช้จ่ายที่ต่าเหมาะสาหรับผู้ใช้ โดยจะส่งผลให้การเรียน การสอนมีค วามน่าเชื่อ ถือ และเพิ่มประสิทธิ ภาพในการ เรีย นการสอนเป็ นสื่อ กลางในการนาเสนอและถ่ายทอด ค ว าม รู้ ต่ า ง ๆ ช่ วย ใ ห้ ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ผู้ ส อ น ส า มา ร ถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้ทั้งผู้เรียน และผู้สอน ไม่จาเป็น จะต้องอยู่สถานที่เดียวกันและในเวลาเดียวกันเสมอไป สภาพปั ญหาการเรี ยนการสอน วิ ชาการเขีย นโปรแกรม คอมพิ วเตอร์ ส่วนใหญ่ รายวิชาดั งกล่าว มีทั้ งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ต้องใช้เวลาในการทาความใจหลักการมาก ประกอบกั บ ผู้ เ รี ย นส่ ว นใหญ่ ข าดทั ก ษะด้ า นการเขี ย น โปรแกรมและความเข้ า ใจทางการเรี ย น ผู้ เ รี ย นมี ค วาม จาเป็นต้อ งมีความรู้ความเข้ าใจหลักการเขียนโปรแกรม การใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรม การ คิ ด วิ เ คราะห์ การเขี ย นโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ ต่ างๆ จน พัฒนาให้เกิดทักษะด้านเขียนโปรแกรม โดยมีการส่งเสริม ให้ เ กิด การคิ ด วิ เ คราะห์ ผู้ เ รี ย นด้ ว ยการให้ ค าปรึ กษากั บ ผู้ ส อนและผู้ รู้ มี ค วามเชี่ ย วชาญ ตั ว อย่ า งโปรแกรม คอมพิ ว เตอร์ การแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และมี ก าร อภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อหาแนวทางในการเขียน โปรแกรมร่วมกัน จากที่กล่าวมาข้างต้นผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะศึกษาหลักการจัด กิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐาน เทคโนโลยีก้อนเมฆเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ด้าน การเขียนโปรแกรมคอมพิ วเตอร์เพื่อเป็นแนวทางสาหรับ การจัดการเรียนการสอนต่อไป

การจัดการความรู้เป็ นหลั กการรวบรวมความรู้ ที่กระจั ด กระจายไม่มีความเป็นหมวดหมู่ มารวมไว้อย่างเป็นระบบ ในที่ เ ดี ย วกั น มี ก ารจั ด เก็ บ และสามารถค้ น คื น เพื่ อ ให้ สามารถนามาใช้ได้อย่างสะดวก การจัดการความรู้สามารถ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ แลกเปลี่ย นเรี ยนรู้ แสวงหาความรู้ใ หม่ ก่อให้ เกิด สังคม แห่งการเรียนรู้และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต

2) วัตถุประสงค์ เพื่อนาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ กั บ การจั ด การความรู้ บ นฐานเทคโนโลยี ก้ อ นเมฆเพื่ อ ส่ง เสริม ทั กษะการคิ ด วิ เคราะห์ด้ านการเขีย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีก้อนเมฆเป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ นามาใช้สาหรับ จัดการเรียนการสอนสามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จานวน มากๆ ให้สามารถทางานร่วมกันได้ไม่ว่าจะเป็นการนาเอา ฮาร์ ด แวร์ ซอฟต์ แ วร์ การแบ่ ง ปัน ทรั พ ยากรข้ อ มู ล และ 115


ใช้เทคโนโลยีของ Oracle ในระบบ “Cloud” ทั้ง แบบส่วนตัวหรือระบบสาธารณะ (กลุ่มเมฆของ องค์ การหรื อกลุ่ม เมฆที่ใ ช้งานร่ วมกับองค์ การ อื่นๆ)  PaaS (Platform as a Service) คือ Platform สาหรับการพัฒนาและปรับใช้ Application ที่ นาเสนอในรูปแบบของบริการให้แก่ผู้พัฒนาที่ใช้ Platform ดังกล่าวเพื่อสร้างปรับใช้ และจัดการ Application ของ SaaS โดยทั่วไปแล้ว Platform ดังกล่าวจะประกอบด้วยฐานข้อมูล Middleware และเครื่อ งมือ สาหรับ การพั ฒนาโดยทั้ ง หมดนี้ ได้รับการนาเสนอในรูปแบบของบริการผ่านทาง Internet สถาปัตยกรรม Grid Computing แบบ Virtualized และแบบ Cluster ซึ่งมักจะเป็น พื้นฐานสาหรับ Software โครงสร้างพื้นฐานนี้ เช่น Oracle ไม่ได้เป็นผู้ให้บริการ PaaS โดยตรง แต่จัดหาเทคโนโลยีที่จะช่วยให้ผู้ให้บริการ PaaS และ SaaS สามารถสร้างบริการของตนเองได้ Oracle เรี ย กเทคโนโลยี ดั ง กล่ าวว่ า Oracle Platform for SaaS  SaaS (Software as a Service) เป็นรูปแบบการ ให้บ ริการ Software หรื อ Application บน เครือข่าย Internet ทาให้ผู้ใช้ที่ On-line บน เครือข่าย Internet ใช้บริการ Software เหล่านี้ได้ โดยไม่จาเป็นต้องติดตั้ง Software ไว้ที่หน่วยงาน หรือ Computer ของผู้ใช้โดย SaaS เป็นหลักการ ที่ตรงกันข้ามกับ On-premise software อันเป็น การติดตั้ง Software ไว้ที่ทางานหรือ Computer ของผู้ใช้

3) กรอบแนวคิดในการวิจัย เทคโนโลยีก้อนเมฆ

การจัดการความรู้

รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดการ ความรู้บนฐานเทคโนโลยีก้อนเมฆเพื่อส่งเสริมทักษะการคิด วิเคราะห์ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

รูปที่ 1 กรอบแนวคิดรูปแบบการจัดกิจกรรม

3.1) เทคโนโลยีก้อนเมฆ 3.1.1 ความหมายของเทคโนโลยีก้อนเมฆ เทคโนโลยีก้อนเมฆ (Cloud Computing) โดย JavaBoom Collection ได้ให้ความหมายไว้ว่า การประมวลผลที่อิงกับ ความต้องการของผู้ใช้ โดยผู้ใช้สามารถระบุค วามต้องการ ไปยัง ซอฟต์ แวร์ข องระบบเทคโนโลยี ก้อ นเมฆ จากนั้ น ซอฟต์ แ วร์ จ ะร้ อ งขอให้ ระบบ จั ด สรรทรั พ ยากรและ บริการให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยระบบสามารถ เพิ่มหรือลดจานวนทรัพยากรให้พอเหมาะกับความต้องการ ของผู้ใช้โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องทราบการทางานเบื้องหลังว่าเป็น อย่างไร วิชญ์ศุทธ์ (2553)ได้กล่าวไว้ว่า รูปแบบการให้บริการของ เทคโนโลยีก้อนเมฆโดยยึดตามแนวคิดหลัก 3 ประการดังนี้  IaaS (Infrastructure as a Service) คือ Hardware สาหรับเครื่องแม่ข่ายอุปกรณ์จัดเก็บ หรื อ พื้ น ที่ จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล และระบบเครื อ ข่ า ยที่ น าเสนอในรู ป แบบของบริ การโดยทั่ วไปแล้ ว Hardware โครงสร้างพื้นฐานถูกทาให้เป็นแบบ Virtualized โดยใช้ ส ถาปั ต ยกรรม Grid Computing ดังนั้น Software สาหรับ Virtualized ระบบ Cluster และการจัดสรรทรัพยากรแบบ Dynamic จึงถูกรวมไว้ใน IaaS ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น Oracle ไม่ได้เป็นผู้ให้บริการ IaaS แต่จะทาหน้าที่ประสานงานร่วมกับผู้ให้บริการ IaaS เช่น Amazon Web Services เพื่อเพิ่มความ ยืดหยุ่นให้แก่องค์การต่างๆในการเลือกที่จะปรับ

3.1.2 ส่วนประกอบของเทคโนโลยีก้อนเมฆ

รูปที่ 2 ส่วนประกอบของเทคโนโลยีก้อนเมฆ (Wikipedia, 2011) 116


 แอพพลิ เ คชั่ น ของเทคโนโลยี ก้ อ นเมฆ จะมี สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ไม่ต้องการติดตั้งและ รันแอพพลิเคชั่นบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของลูกค้า เพื่อแบ่งเบาการดูแลรักษาซอฟต์แวร์ การจัดการ และฝ่ายสนับสนุนตัวอย่างเช่น Peer-to-peer และ volunteer computing (เช่น โปรแกรม Bittorrent, BOINC Projects, Skype), เว็บแอพพลิเคชั่น (เช่น Facebook), การบริการซอฟต์แวร์ (เช่น Google Apps, SAP และ Salesforce), Software plus services (เช่น Microsoft Online Services)  แพล็ตฟอร์มในส่วนของ เทคโนโลยีก้อนเมฆ เช่น แพล็ ต ฟอร์ ม การให้ บ ริ ก ารการส่ ง ของแพล็ ต ฟอร์ ม คอมพิ ว เตอร์ บ ริ การของโซลู ชั่ น ท าให้ สะดวกกับผู้ใช้บริการ ไม่ต้องไปกังวลเรื่องราคา การซั บซ้อ นในการจัดซื้ อและการจัด การความ เข้ า ใจทางด้ า นเลเยอร์ ข องฮาร์ ด แวร์ แ ละ ซอฟต์ แวร์ ตัวอย่างเช่นเว็บแอพพลิ เคชั่น เฟรม เวิร์ก (Python Django (Google App Engine), Ruby on Rails (Heroku), .NET (Azure Services Platform), Web hosting (Mosso), Proprietary (Force.com)  แหล่ง จัด เก็ บข้ อ มูล จะส่ งข้ อมู ล ไปจัด เก็บผ่ าน ทางบริการ ทั้งการบริการทางด้านฐานข้อมูลไม่ ว่ า จะเป็ น ฐานข้ อ มู ล (Amazon SimpleDB, Google App Engine’s BigTable Datastore) เน็ต เวิร์กเชื่อมต่อกับแหล่งจัดเก็บ (MobileMe iDisk, Nirvanix CloudNAS) การซิงก์โครไนต์ (Live Mesh Live Desktop component, MobileMe push functions) เว็บเซอร์วิส (Amazon Simple Storage Services, Nirvanix SDN) การแบ็กอัพ (Backup Direct, Iron Mountain Inc services)  พื้นฐานของโครงสร้าง เทคโนโลยีก้อนเมฆ เช่น พื้นฐานของโครงสร้างการบริการการส่งไปยั ง โครงสร้างคอมพิวเตอร์สภาพแวดล้อมทั่วไปจะมี รู ป แบบเป็ น เวอร์ ช วลไลเซชั่ น ตั ว อย่ า งเช่ น บริ ก ารเต็ ม รู ป แบบเวอร์ ช วลไลเซชั่ น (เช่ น GoGrid, Skytap) Grid computing (เช่น Sun Grid) Management (เช่น RightScale) Compute

จากรูปที่ 2 วารสาร KSC Internet & Blz Solutions ฉบับที่ 32 (2009) ได้กล่าวไว้ว่า ส่วนประกอบของเทคโนโลยีก้อน เมฆ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบดังนี้  ไคลเอนต์ Cloud ไคลเอนต์ ข องคอมพิ ว เตอร์ ฮาร์ดแวร์และคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ Relies บน เทคโนโลยีก้อนเมฆ สาหรับแอพพลิเคชั่นที่ส่ง ให้ ห รื อ ก าหนดการออกแบบส าหรั บ การรั บ บริการ Cloud ตัวอย่างได้แก่มือถือ เช่น Android, iPhone Windows Mobile, Thin client เช่น CheeryPal, Zonbu, ระบบ gOS, Thick client หรือ Web browser เช่น Microsoft Internet Explorer, Google Chrome, Mozilla Firefox  เซอร์วิสการบริการของ Cloud ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์การบริการ และโซลูชั่นที่ส่งผ่านการ ใช้งานในแบบเรียลไทม์โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น Web Service ที่ออกแบบมาเพื่อให้ สนับสนุนการทางานโต้ตอบระหว่างเครื่องกับ เครื่องผ่านทางเน็ ตเวิร์ก ตัวอย่างของบริการเช่น Identity (OAuth, OpenID), Integration (Amazon Simple Queue Service), Payments (Amazon Flexible Payments Service, Google Checkout, Paypal), Mapping (Google Maps, Yahoo! Maps), Search (Alexa, Google Custom Search, Yahoo! BOSS), Others (Amazon Mechanical Turk)

รูปที่ 3 รูปแบบของบริการเทคโนโลยีก้อนเมฆ (Wikipedia, 2011)

117


(เช่น Amazon Elastic Compute Cloud) แพล็ต ฟอร์ม (เช่น Force.com) 3.1.3 รูปแบบของเทคโนโลยีก้อนเมฆ

ความรู้ ห รื อ นวั ต กรรมและจั ด เก็ บ ในลั ก ษณะของ แหล่งข้อมูลที่บุ คคลสามารถเข้าถึงได้โดยอาศัยช่องทาง ต่ า งๆ ที่ อ งค์ ก รจั ด เตรี ย มไว้ เ พื่ อ น าความรู้ ที่ มี อ ยู่ ไ ป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานซึ่งก่อให้เกิดการแบ่งปันและ ถ่ายโอนความรู้และในที่สุดความรู้ที่มีอยู่จะแพร่กระจาย และไหลเวี ย นทั่ ว ทั้ ง องค์ ก รอย่ า งสมดุ ล เป็ น การเพิ่ ม ความสามารถในการพัฒนาผลผลิตขององค์กร การจัดการ ความรู้ถือเป็นระบบงานแบบหนึ่งที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ของทุ กองค์ ก ร ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ อ งค์ ก รนั้ น เกิ ด เป็ น องค์กรแห่งการเรียนรู้ กล่าวคือมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต (lifelong learning) และสามารถนาความรู้ที่ได้ ไปต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ (innovation) อันจะเพิ่ม มูลค่าและคุณค่า (value added) ในกิจการขององค์กรทั้งนี้ เพื่อให้สอดรับกับกระแสระบบเศรษฐกิจในยุคปัจจุบันซึ่ง เป็นยุคเศรษฐกิจบนฐานความรู้

รูปที่ 4 รูปแบบของเทคโนโลยีก้อนเมฆ (Wikipedia, 2011) . จากรูปที่ 4 วารสาร KSC Internet & Blz Solutions ฉบับที่ 33 (2009) ได้กล่าวไว้ว่า รูปแบบของเทคโนโลยีก้อนเมฆ ประกอบด้วย 3 รูปแบบ ดังนี้  Public cloudหรือ External Cloud จะอธิบายถึง เทคโนโลยี ก้ อ นเมฆ ว่ า จะใช้ ท รั พ ยากรที่ ไ ด้ จัดเตรียมเอาไว้ให้ใช้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต เว็บแอพพลิเคชั่น หรือเว็บเซอร์วิสให้บริการการ แชร์ทรัพยากรและยูทีลิตี้ขั้นพื้นฐาน  Hybrid cloud ในรูปแบบของ Hybrid cloud จะ ประกอบไปด้ ว ยสภาพแวดล้ อ มที่ เ กิ ด จากผู้ ให้บริการหลายๆแหล่งทั้งภายในและภายนอก โดยส่วนใหญ่จะเน้นไปทางระบบเอ็นเตอร์ไพรส์ หรือเน้นทางด้านกิจกรรมต่างๆ  Private cloud และ Internal cloud เป็นการ จาลอง เทคโนโลยีก้อนเมฆ ขึ้นมาเพื่อใช้งาน บนเน็ตเวิร์กส่วนตัวโดยทางานบนความสามารถ ที่มีระบบป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลซึ่งจะ มีการสร้างและจัดการด้วยตนเอง

การจัดการความรู้ให้ประสบผลสาเร็จได้นั้นจาเป็นต้องมี กรอบหรือแนวปฏิบัติที่กาหนดขึ้นมาซึ่งได้มีผู้คิดกรอบการ ปฏิบัติไว้หลายๆ แนวทางผู้ใช้จะต้องการทาความเข้าใจ และเลือกนาไปใช้ให้เ หมาะสมกับบริบทและสถานการณ์ จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรอบหรือแนวปฏิบัติใน การจั ดการความรู้ที่ น่าจะสอดคล้อ งกับการสอนบนเว็ บ สรุปได้เป็น 5 ขั้นตอนคือ  การนิยามความรู้ (Knowledge Defining) คือการ กาหนดนิยามสิ่งที่ต้องการเรียนรู้หรือการกาหนด เป้าหมายการเรียนรู้ให้ชัดเจน  การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition) คือการแสวงหาการจัดหาการดาเนินการเพื่อให้ ได้มาซึ่งความรู้ตามที่ได้กาหนดหรือนิยามไว้  การแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) เป็น กระบวนการแบ่งปันแลกเปลี่ยนกระจายถ่ายโอน ค ว า ม รู้ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ค ว า ม รู้ โ ด ย นั ย (Tacit Knowledge) จะสามารถถ่ายโอนและปรับเปลี่ยน ด้วยกระบวนการนี้  การ จั ด เ ก็ บ แ ละ ค้ น คื น ค วา มรู้ (Knowledge Storage & Retrieval) คือการนาความรู้ที่หามา ได้ ม าจั ด ประเภทแล้ ว ท าการจั ด เก็ บ เพื่ อ ให้ สามารถนามาใช้ได้โดยง่าย

3.2) การจัดการความรู้ จากการศึ ก ษาแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ การจั ด การความรู้ ข อง รั ฐ กรณ์ (2551) ได้ ก ล่ า วไว้ ว่ า การจั ด การความรู้ (Knowledge Management) หมายถึงกระบวนการของ ระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูลสารสนเทศ ทางความคิด การกระท าตลอดจนประสบการณ์ ข องบุ ค คลเพื่ อ สร้ า ง 118


 ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ค ว า ม รู้ (Knowledge Utilization) เป็นการนาเอาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน การท างานการแก้ ไ ขปั ญ หาหรื อ การตั ด สิ น ใจ ต่างๆ เป็นต้น การนาแนวคิดการจัดการความรู้มาใช้แก้ปัญหาการจัดการ เรียนการสอนบนเว็บนั้นนอกจากต้องมีกรอบแนวปฏิบัติที่ ชัดเจนเป็นขั้นตอนแล้วยังจาเป็นต้องมีกลยุทธ์เพื่อใช้เป็น แนวทางหรือวิธีการปฏิบัติที่จะช่วยให้การสอนบนเว็บก้าว ไปสู่วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ซึ่งกลยุทธ์ที่สาคัญมี 3 กล ยุทธ์ดังนี้

4) วิธีดาเนินการวิจัย ในการศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ กั บ การจั ด การความรู้ บ นฐานเทคโนโลยี ก้ อ นเมฆเพื่ อ ส่ง เสริม ทั กษะการคิ ด วิ เคราะห์ด้ านการเขีย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์มีรายละเอียดขั้นตอนดังนี้ 4.1) ศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องโดยศึกษาการ จัดการเรียนการสอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ง เป็นพื้นฐานที่จาเป็นแก่ผู้เรียนที่นาความรู้ความเข้าใจไปใช้ ในการเรียนรายวิชาอื่นๆ ในสาขาด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งเห็น ได้ ว่ า ความถนั ด หรื อ ทั ก ษะการเขี ย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์จ ะเกิดขึ้นได้นั้น ผู้เรียนต้องมีความรู้ความ เข้าใจ และการคิดวิเคราะห์การเขียนโปรแกรมได้ โดยอาจ ใช้ แ ผนภู มิ ร ะบบ (Flowchart) หรือ แผนภู มิ การไหลของ ข้อมูล (Data Flow Diagram) เข้ามาช่วยในการคิดวิเคราะห์ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือเกิดจากการศึกษาตัวอย่าง โปรแกรมที่มีลักษณะคล้ายกัน เป็นต้น และจากนั้นต้องมี การฝึกคิดวิเคราะห์ในหลากหลายโปรแกรม และการวัดผล ประเมินผลป้อนกลับเพื่อตรวจสอบผลการฝึกคิดวิเคราะห์ แก่ผู้เรียน 4.2) ศึกษาหลักการเทคโนโลยีก้อนเมฆ มีรายละเอียดดังนี้ 4.2.1*องค์ ป ระกอบส าคั ญ ของเทคโนโลยี ก้ อ นเมฆ ประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ 1) Clients 2) Services 3) Application 4) Platform 5) Storage และ 6) Infrastructure 4.2.2*รู ป แบบของเทคโนโลยี ก้อ นเมฆ ประกอบด้ วย 3 รูปแบบได้แก่ 1) Public cloud 2) Hybrid cloud และ 3) Private cloud ซึ่งในการศึกษานามาใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนอาจจะใช้รูปแบบของ Hybrid cloud ทา ให้เข้าถึงแหล่งทรัพยากรข้อมูลหลากหลายรูปแบบได้มาก ขึ้นสาหรับการเรียนรู้ของผู้เรียน แสดงดังรูปที่ 5

กลยุ ท ธ์ แ รก คื อ การจั ด ให้ เ ป็ น ระบบและบุ ค คลสู่ บุ ค คล (codified & personalized strategies) หมายถึงการนาความรู้ ต่างๆมาเก็บรวบรวมไว้ในฐานข้อมูลผู้เรียนสามารถเข้าถึง ได้ผ่านทางเว็บ (Codified) และการใช้เว็บช่วยให้ผู้เรียน สามา ร ถติ ด ต่ อ สื่ อ สาร เ พื่ อ แ บ่ ง ปั น ค วามรู้ แ ก่ กั น (personalized) กลยุ ท ธ์ ที่ สอง คื อ การปรั บ เปลี่ ย นความรู้ แ ละการสร้ า ง เกลียวความรู้ (conversion & spiral strategies) หมายถึงกล ยุทธ์ที่ส่งเสริมให้ความรู้ทั้งแบบที่เป็นนัยและแบบชัดแจ้งมี การแปรเปลี่ ย นถ่ า ยทอดไปตามกลไกต่ า งๆเช่ น การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การถ่ายถอดความรู้การผสานความรู้และ การซึมซับความรู้โดยใช้ตัวแบบของเซคกิ (SECI Model) กลยุทธ์สุดท้าย คือการใช้เทคโนโลยีและเทคนิคการจัดการ ความรู้ (technology & KM techniques strategies) หมายถึง การน าเทคโนโลยี ต่ า งๆที่ มี อ ยู่ บ นเว็ บ มาช่ ว ยในการ รวบรวมและแพร่กระจายความรู้เช่นระบบบริหารจัดการ วิ ช า (Course Management Systems) จดหมาย อิเล็กทรอนิคส์กระดานสนทนาการสนทนาออนไลน์ blogs เป็นต้นส่วนเทคนิคของการจัดการความรู้ที่นามาใช้ได้แก่ การจัดการด้านกระบวนการ (process management) เช่น เทคนิคการเล่าเรื่องการสนทนาแลกเปลี่ยนและการจัดการ ด้ านสถานที่ (space management) เพื่ อ ช่ วยให้ เ กิ ด สภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ที่ง่ายขึ้น

119


Internet

Web server

Web server - Blogs -

Database server

Management node for cloud

Management node for other cloud

Management node for other cloud

Internet

Web server

Storage

Database server

Management node for cloud

Management node for other cloud

Storage

Other Resources

KM Base

Other Resources

Storage

รูปที่ 6 แนวคิดการประยุกต์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยีก้อนเมฆ

Management node for other cloud

Storage

จากรูปที่ 6 แสดงแนวคิดการประยุกต์การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้บูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยี ก้อนเมฆมาใช้ทางด้านการเรียนการสอนโดยนากลยุทธ์การ ใช้ เ ทคโนโลยี แ ละเทคนิ ค การจั ด การความรู้ จนเกิ ด ฐานข้อมูลองค์ความรู้ และมีระบบ Web server โดยมีโมดูล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ แ ก่ ระบบบริ ห ารจั ด การวิ ช า จดหมาย อิเ ล็ กทรอนิค ส์ กระดานสนทนา การสนทนาออนไลน์ Blogs ระบบจั ด เก็ บ องค์ ค วามรู้ คลั ง ความรู้ แหล่ ง การ เรียนรู้ นอกจากนั้นมีระบบ Management node for cloud ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล และฐานข้อมูลองค์ความรู้เพื่อ สนับสนุนการเรียนรู้

รูปที่ 5 แนวคิดการประยุกต์เทคโนโลยีก้อนเมฆสาหรับการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางการเรียนการสอน จากรูปที่ 5 แสดงแนวคิดการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีก้อน เมฆสาหรับ การจั ด กิจ กรรมการเรี ย นรู้ท างการเรี ยนการ สอน โดยมีการเข้าใช้งานระบบการจัดการเรียนการสอน (Web Server ) ผ่านอินเทอร์เน็ต เข้าใช้งานด้วยการกาหนด สิทธิ์ผู้เข้าใช้ และสามารถใช้งานในก้อนเฆมเดียวกันหรือ ก้อนเฆมอื่นๆ ได้ ในรูปแบบของHybrid cloud 4.3) ศึกษาหลักการจัดการความรู้ โดยนากลยุทธ์การใช้ เทคโนโลยีและเทคนิคการจัดการความรู้ (technology & KM techniques strategies) ซึ่งนาเทคโนโลยีต่างๆที่มีอยู่บน เว็ บ มาช่ วยในการรวบรวมและแพร่ กระจายความรู้ แ ละ หลักการจัดการความรู้ 5 ขั้นตอนคือ 1) การนิยามความรู้ (Knowledge Defining) 2) การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition) 3) การแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) 4) การจัดเก็บและค้นคืนความรู้ (Knowledge Storage & Retrieval) 5) การใช้ประโยชน์จากความรู้ (Knowledge Utilization)ซึ่งทาให้ความรู้ได้เผยแพร่ได้อย่างทั่วถึงและ รวดเร็ว ตรวจสอบได้ง่าย และสะดวกกับการนาความรู้ไป ใช้งานต่อจนสร้างองค์ความรู้ใหม่นากลับเข้าสู่ระบบได้ โดยเฉพาะการเขียนโปรแกรมเดียวกันอาจมีทางเลือกใน การเขียนได้หลายหลายวิธี หรือตัวอย่างการเขียนโปรแกรม เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการเกิ ด แนวคิ ด วิ เ คราะห์ ก ารเขี ย น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างรวดเร็ว

4.4) สังเคราะห์รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ กับ การจั ด การความรู้ บ นฐานเทคโนโลยี ก้อ นเมฆ เพื่ อ ส่ง เสริม ทั กษะการคิ ด วิ เคราะห์ด้ านการเขีย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ซึ่งได้จากการศึกษาหลักการและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องประกอบด้วย 1) ระบบการจัดการกิจกรรมการ เรียนที่สาคัญของผู้สอนและผู้เรียน (Web server) 2) การใช้ เทคโนโลยีและเทคนิคการจัดการความรู้ จนเกิดฐานข้อมูล องค์ ค วามรู้ และมี ร ะบบ Web server โดยมี โ มดู ล ที่ เกี่ ย วข้ อ งได้ แ ก่ ระบบบริ ห ารจั ด การวิ ช า จดหมาย อิเ ล็ กทรอนิค ส์ กระดานสนทนา การสนทนาออนไลน์ Blogs ระบบจั ด เก็ บ องค์ ค วามรู้ คลั ง ความรู้ แหล่ ง การ เรียนรู้ นอกจากนั้นมีระบบ Management node for cloud ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล และฐานข้อมูลองค์ความรู้เพื่อ สนับสนุนการเรียนรู้และ 3) ระบบ Management node for other cloud ในการเข้าถึงองค์ความรู้อื่นๆ ภายนอก

120


4.5) นาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ กับ การจั ด การความรู้ บ นฐานเทคโนโลยี ก้อ นเมฆ เพื่ อ ส่ง เสริม ทั กษะการคิ ด วิ เคราะห์ด้ านการเขีย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์รูปที่ 7 ดังนี้

Web server - Blogs Web server

Internet

-

Database server

Management node for cloud

Storage

KM Base

Management node for other cloud

Management node for other cloud

Other Resources

Storage

รูปที่ 7 การจัดกิจกรรมการเรียนรูบ้ ูรณาการกับการจัดการความรู้บนฐานเทคโนโลยีก้อนเมฆ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

4) สรุปผล

5) เอกสารอ้างอิง

จากการศึกษาหลักการและทฤษฎีดังกล่าวมาข้างต้น ทาให้ ได้ รู ป แบบการจั ด กิจ กรรมการเรี ย นรู้ บู ร ณาการกับ การ จั ด การความรู้ บ นฐานเทคโนโลยี ก้ อ นเมฆ ผู้ วิ จั ย ได้ ดาเนิ น การตามขั้น ตอนและกระบวนการพั ฒ นา โดยน า ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ทาให้ได้รูปแบบการ เรี ยนการสอน เพื่อ เป็น แนวทางส่ง เสริ มทั กษะการคิ ด วิเคราะห์ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิด วิธีการเรียนการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับการเรียน การสอนในยุคปัจจุบัน

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. โรงพิมพ์อักษรไทย. คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สานักงาน). แผนพัฒนาพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) [online]. Avaliable from: http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395 จับตามอง Virtualization Technology & Cloud Computing (ตอนที่ 2). วารสาร KSC Internet & Blz Solutions. ฉบับที่ 32 เดือนพฤศจิกายน 2009. หน้า 10.

121


จับตามอง Virtualization Technology & Cloud Computing (ตอนจบ). วารสาร KSC Internet & Blz Solutions. ฉบับที่ 33 เดือนธันวาคม 2009. หน้า 10. รัฐกรณ์ คิดการ. (2551). การพัฒนารูปแบบการสอนบนเว็บ โดยใช้กลยุทธ์การจัดการความรู้ รายวิชา เทคโนโลยีการศึกษา ในระดับอุดมศึกษา. ปริญญา นิพนธ์ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

วิชญ์ศุทธ์ เมาระพงษ์. (2553). “Cloud computing บริการ IT Outsourcing บนกลุ่มเมฆ”. วารสาร TPA News. ปีที่ 14 ฉบับที่ 166 เดือนตุลาคม 2553. Wikipedia. (2011). Cloud computing. [cited 2011 January 10,2011

122


รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Model of Collaborative Learning Using Learning Activity Management System ณมน จีรังสุวรรณ, Ph.D.1, ธนยศ สิริโชดก2 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (namon9@hotmail.com) 2

อาจารย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา (t_siri@hotmail.com)

student satisfaction with the model of collaborative learning using the Learning Activity Management System, (13) assessing the learning behaviors with the model, (14) assessing the learning activities with the model, and (15) providing the feedback for improvement. The research result (II) found that the opinion of five experts toward the model was appropriate and the model would be use for learning and teaching.

Abstract The purpose of the research study was to develop a model of collaborative learning using the Learning Activity Management System. The research methods were (1) studied documents, theories and related research studies, (2) analyzed all the documents and synthesized to make a conceptual model of collaborative learning using the Learning Activity Management System, (3) reviewed and revised the model, (4) sent the model to the experts for validation, and (5) revised the model followed the comments of the experts . The sample group consisted of five experts. The research results revealed that: (I) the model composed 15 components. All fifteen components were (1) identifying the teaching and learning goals, (2) preparing the learning and teaching environment, (3) identifying the role of the instructor, (4) identifying the role of the learners, (5) designing the lessons, (6) identifying the learning activities, (7) step of learning preparation, (8) step of collaborative learning, (9) step of learning evaluation, (10) checking and controlling of learning timing over the Internet, (11) testing the results of the learning both theory and practice sections, (12) evaluating the

Keywords: e-Learning, collaborative learning, learning activity, instructional model, Learning Activity Management System บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรู ปแบบการเรียนการ สอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการ ดาเนินการวิจัย (1) ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง (2) วิเคราะห์เอกสารและสังเคราะห์เป็น รูปแบบการ เรียนการสอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (3) ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบที่สร้างขึ้น (4) ส่งร่างรูปแบบการ เรี ย นการสอนให้ ผู้ เ ชี่ ย วชาญประเมิ น (5) ปรั บ ปรุ ง แก้ไ ข รูปแบบการเรียนการสอนตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้สาหรับประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการ เรียนการสอน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน ผลการวิจัย 123


พบว่า (ก) รูปแบบการเรียนการสอน มีองค์ป ระกอบของ รูปแบบ 15 องค์ประกอบ คือ (1) การกาหนดเป้าหมายในการ เรียนการสอน (2) การเตรียมความพร้อมด้านสภาพแวดล้อม ทางการเรียนการสอน (3) การกาหนดบทบาทผู้สอน (4) การ กาหนดบทบาทผู้เรียน (5) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน (6) การกาหนดกิจ กรรมการเรี ย นการสอน (7) ขั้ น เตรี ย มความ พร้ อ ม (8) ขั้ น การเรี ย นการสอนแบบร่ ว มมื อ (9) ขั้ น ประเมินผลการเรียน (10) การตรวจสอบและควบคุมช่วงเวลา ในการเรี ย นการสอนบนเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต (11) การ ทดสอบผลการเรี ย นภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิ บั ติ (12) การ ประเมินผลความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการ สอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ (13) การประเมิน พฤติกรรมการเรี ยนรู้ด้ วยรู ป แบบการเรี ยนการ สอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ (14) การประเมินการทากิจกรรมด้วยรูปแบบการเรียนการสอนแบบ ร่ วมมื อ ด้ ว ยระบบการจั ด การกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ และ (15) ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุง ส่วนผลการวิจัย (ข) ผลของการ ประเมินรูปแบบการเรียนการรู ปแบบการเรียนการสอนแบบ ร่วมมือด้วยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 5 ท่าน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน ว่า มีความเหมาะสมและสอดคล้องสามารถนามาใช้ในการเรียน การสอน

การปฏิรูปทางการศึกษา จุดมุ่งหมายเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ ของคนไทย จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญไว้ ในหมวด 4 มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียน คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่ านและเกิด การเรีย นรู้อ ย่างต่อเนื่อ ง และ การ ส่ ง เ สริ มสนั บ สนุ น ใ ห้ ผู้ สอ น จั ด บ ร ร ยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการสอน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ ได้ระบุ คุณลักษณะของ บัณฑิตที่พึงประสงค์ไว้ว่า ผู้เรียนต้องคิดเป็นทาเป็นและเลือก วิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาได้ อ ย่ างเป็ น ระบบและเหมาะสม ในด้ า น ความรู้ ผู้ เ รี ย นต้ อ งมี ค วามรู้ ค วามสามารถในการวิ เ คราะห์ ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการ แก้ปั ญ หา เนื่ อ งจากสาขาคอมพิ วเตอร์ เ ป็ น ศาสตร์ ที่ มี ค วาม หลากหลายและมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครอบคลุมทั้ง ด้านทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ ตั้ งแต่ ฮาร์ด แวร์ ซอฟต์ แวร์ เครื อ ข่ าย ข้อมูล และบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องประสมประสาน ศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อให้มีหลักการและกรอบปฏิบัติในการพัฒนา คอมพิ วเตอร์ที่ เป็ นเครื่ องมือ สาคัญ ในการพั ฒนาด้ านต่าง ๆ ซึ่งจากการสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอนในระดับปริญญาตรีจานวน 5 ท่าน ที่มีประสบการณ์ทางด้านการสอนในรายวิชา หลักการ เขี ยน โป ร แกรมคอ มพิ ว เต อร์ พบ ว่ า ผู้ เ รี ย นมี ร ะ ดั บ ความสามารถที่แตกต่างกัน ผู้เรียนบางคนมีความเข้าใจได้เร็ว ในขณะที่ ผู้ เ รี ย นส่ ว นใหญ่ ข าดทั ก ษะในการคิ ด วิ เ คราะห์ แก้ปัญหา และขาดความเข้าใจในการเรียนการสอน รวมไปถึง ความสามารถในการวิเคราะห์โจทย์โปรแกรม

คาสาคัญ: การเรียนการสอนบนเว็บ การเรียนการสอนแบบ ร่วมมือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนการสอน ระบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

1) บทนา

การเรียนการสอนแบบร่วมมือ (Collaborative Learning) เป็น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ เพื่อ สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม และเปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ รี ย นในกลุ่ ม ท า กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ซึ่ งภายในแ ต่ ล ะกลุ่ ม จ ะ ประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน โดยจะมี การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพากัน มีความ รับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนของตนเองและส่วนรวม เพื่อให้ ทั้งตนเองและสมาชิกทุกคนภายในกลุ่มประสบความสาเร็จ ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับการเรียนรู้ที่

จากนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยตามแผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545 – 2549 ได้มุ่งเน้นให้มีการปฏิรูปการ เรี ย นรู้ เ พื่ อปรั บเปลี่ ยนกระบวนการเรี ย นรู้ที่ ยื ดหยุ่ น โดยให้ ผู้เรียนมีโอกาสได้เลือกเรียนในสิ่งที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด สามารถแสวงหาความรู้ และฝึกการปฏิบัติในสภาพ ที่ เ ป็ น จริ ง รู้ จั ก คิ ด วิ เ คราะห์ แ ละแก้ ปั ญ หาด้ ว ยตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มีการกาหนดสาระของ 124


เรียนโดยลาพัง หรือการเรียนรู้ที่ เน้นการแข่งขัน (Thousand, 2002) ซึ่งจากแนวคิดของการเรียนรู้ร่วมกันนั้นยังช่วยส่งเสริม ให้ผู้เรียนทางานร่วมกัน ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ภายใน กลุ่มสมาชิก มีการสร้างความคิดใหม่ๆ มีกลยุทธ์ และวิธีการ แก้ปัญหากว่าการทางานเป็นรายบุคคล มีการนาเอาเทคโนโลยี สารสนเทศที่ทันสมัย มาออกแบบให้เหมาะสมกับวิธีการเรียน การสอนแบบร่ ว มมื อ กั น แบบดั้ ง เดิ ม โดยต้ อ งค านึ ง ถึ ง สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ ร่ วมกั น บนเว็ บ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น ศูนย์กลาง เพื่อส่งเสริมให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดีขึ้น และ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการสื่อสารระหว่างบุคคลและความร่วมมือ กันภายในกลุ่ม (Xinhua & Wenfa, 2008)

แนวคิดการเรียนรู้ร่วมกัน แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการ เรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทักษะการปฏิบัติ แนวคิด ระบบการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้

รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ ด้วยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

3) กรอบแนวคิดในการวิจัย

รูปที่ 1 กรอบแนวคิดของรูปแบบ CLLAMS

LAMS (Learning Activity Management System) หรือระบบ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ บ นเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น เครื่องมือที่สนับสนุน การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะผู้สอนสามารถออกแบบลาดับการเรียนรู้ในรูปแบบ ของกิจกรรมได้อย่างหลากหลายและเป็นอิสระทาให้ผู้เรียน สามารถเข้ ามามี ส่วนร่ วมในกิจ กรรมที่ผู้ สอนกาหนดไว้ ไ ด้ อย่างต่อเนื่อง

จากรูปที่ 1 กรอบแนวคิดของรูปแบบ Model of Collaborative Learning using Learning Activity Management System ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 3.1) แนวคิดการเรียนแบบร่วมมือ การเรียนแบบร่วมมือ (Collaborative Learning) เป็นการทางาน ร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการทากิจกรรมร่วมกัน ซึ่งใน ระหว่ างการท ากิจ กรรมร่ วมกัน นั้ น แต่ ล ะคนจะแสวงหา ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุ่ม การเรียนรู้ร่วมกัน จึงเป็นการเรี ยนรู้ อีกหนึ่งวิ ธีที่ถู กนามาใช้ อย่างกว้างขวาง ซึ่งจากแนวคิดของ Johnson & Johnson (1994) ได้กล่าวถึงหลักการของการเรียนแบบร่วมมือ ดังนี้

จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะสร้างรูปแบบ การเรียนการสอนแบบร่วมมือ ด้วยระบบการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สาหรับการเรียนในรายวิชา หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เหมาะกับผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนร่วมมือกันเรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพใน การเรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนได้พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และทักษะกระบวนการกลุ่มโดยคานึงถึงเทคนิค และวิธีการที่ เหมาะสมสอดคล้องกับ ความ สามารถของผู้เรียนโดยผู้เรียน จะต้องร่วมมือกัน มีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มผู้เรียน ช่วยกระตุ้นให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเองมี ก ารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ติดต่อสื่อสารและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่ม

3.1.1 มี การพึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กัน และกัน ทางบวก (Positive Interdependence) ลักษณะของความสัมพันธ์ทางบวกจะเกิดขึ้น จากการรับรู้ว่าตนเองต้องทางานร่วมกับสมาชิกในกลุ่มทุกคน มีหน้าที่และบทบาทสาคัญเท่ากันทุกคน ผู้เรียนแต่ละคนถือว่า ความส าเร็ จ ของแต่ ล ะคน ขึ้ น อยู่ กั บ ความส าเร็ จ ของกลุ่ ม งานกลุ่มจะประสบผลสาเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับสมาชิกทุกคนใน กลุ่มที่ช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกัน เป็นการพึ่งพาอาศัยกันทางบวก ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบ ต่องานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของกลุ่มที่ตั้งไว้ ผู้สอนเป็นผู้วางรูปแบบการ เรียนเพื่อให้เกิดการพึ่งพาอาศัยกันทางบวก โดยดาเนินการดังนี้ 1) วางเป้าหมายการทางานร่วมกัน 2) ให้รางวัลร่วมกัน

2) วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อสร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ ด้วยระบบการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้

125


3) มีการแลกเปลี่ยนทรัพยากรการเรียนรู้ร่วมกัน และ4) กาหนด บทบาทของสมาชิกในกลุ่ม

สอนสิ่งที่เรียนรู้มากับผู้เรียนคนอื่นหรือให้ผู้เรียนอธิบายสิ่งที่ เรียนรู้กับกลุ่มเพื่อน

3.1.2 สมาชิกในกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์ ใกล้ชิด (Face to Face Promotive Interaction) โดยการจัดกลุ่มผู้เรียนส่วนใหญ่จะจัด กลุ่มคละความสามารถ หรือกลุ่มสมาชิกที่มีความสามารถ แตกต่างกันเช่น เพศ อายุ ความสามารถ ความสนใจ ผู้เรียนแต่ ละคนจะส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ข องกัน และกัน มี การช่ วยเหลื อ สนับสนุน การกระตุ้น การยกย่องในความสาเร็จของแต่ละคน การแลกเปลี่ยนข้อมูล สมาชิกทุกคนได้แสดงความคิดเห็นของ ตนต่อหน้าเพื่อนร่วมกลุ่ม ผลของการมีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่ม คือ 1) มี กิจกรรมทางปัญ ญาและความสัม พั นธ์ ระหว่างบุค คล เกิดขึ้นระหว่างผู้เรียนทากิจกรรม เช่น มีการอธิบายว่าจะ แก้ปัญหากันอย่างไร มีการนาเสนอความรู้กับสมาชิกคนอื่นๆ การอธิ บ ายความเชื่ อ มโยงของสิ่ ง ที่ เ รี ย นกั บ ความรู้ เ ดิ ม 2) อิทธิพลและรูปแบบทางสังคมมีโอกาสเกิดขึ้นได้จากการ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ได้ฝึกความรับผิดชอบของผู้เรียนกับ กลุ่มเพื่อน ฝึกเป็น คนที่ มีเหตุผล สามารถสรุ ปข้อ มูลที่ มี ความสัมพันธ์ต่อกันมีการสนับสนุนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3) มีการตอบสนองด้วยคาพูดและไม่ ใช้คาพูดและมีข้อมู ล ย้อนกลับ 4) เสริมแรงให้กับสมาชิกที่ขาดแรงจูงในการทางาน ให้ประสบผลสาเร็จ และ 5) การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันทาให้ งานสาเร็จและสมาชิกได้รับความรู้

3.1.4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทางานกลุ่ม (Interpersonal and Small-group Skills) ทักษะที่ผู้เรียนได้รับ การฝึก เช่น การทาความรู้จักและไว้ใจผู้อื่น การสื่อสารการ ยอมรับและช่วยเหลือกันแก้ปัญหาความขัดแย้ง การวิจารณ์ ความคิดเห็นโดยไม่วิจารณ์เจ้าของความคิด 3.1.5 กระบวนการกลุ่ม (Group Process) ผลงานของกลุ่มเป็น ผลงานที่ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจากการแสดงความคิ ด เห็ น เกี่ย วกั บ กระบวนการทางานของสมาชิกในกลุ่ม กระบวนการกลุ่มจะ เกิดขึ้นเมื่อสมาชิกในกลุ่มมีการอภิปรายถึงความสาเร็จของการ ทางานจนบรรลุวัตถุประสงค์ และยังคงความสัมพันธ์การ ทางานร่ วมกัน อย่ างมีป ระสิ ท ธิ ภาพ กระบวนการกลุ่ ม จะ สะท้อนให้เห็นการทางานของกลุ่ม ทาให้ผู้เรียนแน่ใจความคิด ของตนเองและช่วยเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมอันพึงประสงค์ ของสมาชิกแต่ละคน 3.2) แนวคิ ดเกี่ ยวกั บรูป แบบการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนา ทักษะการปฏิบัติ รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ เป็นรูปแบบ ที่มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในด้านทักษะปฏิบัติ การกระทา หรือการแสดงออกต่าง ๆ ซึ่งจากแนวคิดของ Simpson (1972) ได้กล่าวไว้ว่า ทักษะปฏิบัตินี้สามารถพัฒนา ได้ด้วยการฝึกฝนซึ่งหากได้รับการฝึกฝนที่ดีแล้ว จะเกิดความ ถูกต้อง ความคล่องแคล่ว ความเชี่ยวชาญชานาญการและความ คงทน ผลของพฤติกรรมหรือการกระทาสามารถสังเกตได้จาก ความรวดเร็ว ความแม่นยา ความแรงหรือความราบรื่นในการ จัดการ ซึ่งกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบมีทั้งหมด 7 ขั้น คือ 1) ขั้นการรับรู้ (Perception) เป็นขั้นการให้ผู้เรียนรับรู้ ในสิ่งที่จะทา โดยการให้ผู้เรียนสังเกตการณ์ทางานนั้นอย่าง ตั้งใจ 2) ขั้นการเตรียมความพร้อม (Readiness) เป็นขั้นการ ปรับตัวให้พร้อมเพื่อการทางานหรือแสดงพฤติกรรมนั้น ทั้ง ทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ โดยการปรับตัวให้พร้อมที่ จะทาการเคลื่อนไหวหรือแสดงทักษะนั้น ๆ และมีจิตใจและ สภาวะอารมณ์ที่ดีต่อการที่จะทาหรือแสดงทักษะนั้นๆ 3) ขั้น

3.1.3 ความรั บ ผิ ด ชอบของสมาชิ กแต่ ล ะคน (Individual Accountability) ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนถือว่า เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของการเรียนแบบร่วมมือ ซึ่งการ ทางานกลุ่ มจะมี การประเมิ นผลการท างาน เพราะผลการ ประเมินจะเป็นข้อมูลย้อนกลับให้กับ กลุ่มผู้เรียน ความสาเร็จ ของสมาชิกทุกคนถือว่าเป็นความสาเร็จของกลุ่ม สมาชิกแต่ละ คนต้องรับผิดชอบงานที่ได้รับ มอบหมาย ผู้สอนประเมินว่ า สมาชิ ก ในกลุ่ ม มี ก ารช่ วยเหลื อ กัน มากน้ อ ยเพี ย งใดและให้ ข้อมูลย้อนกลับ ไม่ให้แต่ละกลุ่มทางานซ้าซ้อนกัน และสมาชิก ทุกกลุ่ม มี ความรับ ผิ ดชอบต่อ งานที่ ไ ด้รั บ มอบหมายเพื่ อ ให้ บรรลุถึงผลงานของกลุ่ม การแสดงความรับผิดชอบของผู้เรียน แต่ละคนอาจดูได้จากการทดสอบผู้เรียนแต่ละคนหรือสุ่มเลือก ผลงานของผู้เรียนเป็นตัวแทนของผลงานกลุ่มหรือให้ผู้เรียน 126


การสนองตอบภายใต้การแนะนา (Guided Response) เป็นขั้นที่ ให้โอกาสแก่ผู้เรีย นในการตอบสนองต่อสิ่งที่รับรู้ ซึ่งอาจใช้ วิธีการให้ผู้เรียนเลียนแบบการกระทา หรือการแสดงทักษะนั้น หรืออาจใช้วิธีการให้ผู้เรียนลองผิดลองถูก (Trial and Error) จนกระทั่งสามารถตอบสนองได้อย่างถูกต้อง 4) ขั้นการให้ลง มื อ กระท าจนกลายเป็ น กลไกที่ ส ามารถกระท าได้ เ อง (Mechanism) เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการ ปฏิบัติ และเกิดความเชื่อมั่นในการทาสิ่งนั้นๆ 5) ขั้นการ กระทาอย่างชานาญ (Complex Overt Response) เป็นขั้นที่ช่วย ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการกระทานั้น ๆ จนผู้เรียนสามารถทาได้ อย่างคล่องแคล่ว ชานาญเป็นไปโดยอัตโนมัติและด้วยความ เชื่ อ มั่ น ในตนเอง 6) ขั้ น การปรั บ ปรุ ง และประยุ กต์ ใ ช้ (Adaptation) เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนปรับปรุงทักษะหรือการ ปฏิบัติของตนให้ดียิ่งขึ้น และประยุกต์ใช้ทักษะที่ตนได้รับการ พั ฒ นาในสถานการณ์ ต่ า งๆ และ 7) ขั้ น การคิ ด ริ เ ริ่ ม (Origination) เมื่อผู้เรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทาสิ่งใดสิ่ง หนึ่งอย่างชานาญ และสามารถประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่ หลากหลายแล้ว ผู้ปฏิบัติจะเริ่มเกิดความคิดใหม่ ๆ ในการ กระทาหรือปรับการกระทานั้นให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ

ลากและปล่ อ ย กิ จ กรรมที่ ต้ อ งการให้ ผู้ เ รี ย นลงมื อ ท าและ กาหนดคุณสมบัติของกิจกรรมที่ต้องการให้ผู้เรียนทาเพิ่มเติม กิจกรรมที่ต้องการให้ทาตามลาดับ ตัวอย่างของกิจกรรม เช่น การตอบคาถาม และ การโหวต เป็นต้น ส่วนที่สอง เป็นส่วนที่ อนุ ญ าตให้ ผู้ เ รี ย นเข้ า ไปร่ ว มด าเนิ น กิ จ กรรมที่ ผู้ ส อนได้ ออกแบบไว้โดยจะปรากฏกิจกรรมที่มอบหมายไว้แก่ผู้เรียน อย่างชัดเจนในส่วนเดียวกัน ทั้งนี้ สามารถช่วยให้ผู้เรียนมุ่งเน้น อยู่ที่กิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย รวมถึง การมีเวลาและโอกาส ในการฝึกฝนการสะท้อนความคิดได้มากขึ้น และส่วนที่สาม ซึ่งเป็นส่วนสุดท้าย จะเป็นส่วนตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม ของผู้เรียน เป็นส่วนที่ผู้สอนใช้สาหรับการตรวจสอบการเข้า ร่วมกิจกรรมตามลาดับของกิจกรรมที่กาหนดไว้ โดยผู้สอน สามารถที่จะทราบข้อมูลและสถานภาพของผู้เรียนแต่ละคนได้ โดยสามารถเข้าไปดูรายละเอียดของการดาเนินกิจกรรมของ ผู้เรียนแต่ละคนได้ 3.4) รูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของ Kemp (1985) ได้ เสนอองค์ประกอบของระบบการจัดการเรียนการสอน 10 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) วิเคราะห์ความต้องการทางการเรียน (Learning Needs) กาหนดเป้าหมายการเรียนจัดลาดับความ ต้องการและความจาเป็น 2) กาหนดหัวข้อเรื่องหรือภารกิจ (Topics or Job Tasks) และจุดมุ่งหมายทั่วไป (General Purposes) 3) ศึ ก ษาลั ก ษณะของผู้ เ รี ย น (Learner Characteristics) 4) วิเคราะห์เนื้อหาวิชาและภารกิจ (Subject Content Task Analysis) 5) กาหนดจุดประสงค์การเรียน (Learning Objective) 6) กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน (Teaching/Learning Activities) 7) กาหนดแหล่งทรัพยากรการ เรียนการสอน (Instructional Resources) 8) จัดบริการสิ่ง สนับสนุน (Support Services) 9) ประเมินผลการเรียน/ ประเมินผลโปรแกรมการเรียน (Learning Evaluation) และ 10) ทดสอบก่อนเรียน (Pretesting)

3.3) แนวคิดระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ LAMS (Learning Activity Management System) เป็นระบบ หนึ่ง ที่เ น้น การจั ดสภาพแวดล้อ มการเรี ยนรู้แ บบมีส่วนร่วม และมีการโต้ตอบผ่านการสนับสนุนแบบซิงโครนัส และอะ ซิงโครนัส มีเครื่องมือที่สนับสนุนการโต้ตอบแบบเรียลไทม์ รวมไปถึ ง การจั ด กลุ่ ม สนทนา เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ถู ก ออกแบบมาส าหรั บ การสอนบนเครื อ ข่ า ย อินเตอร์เน็ต สาหรับผู้สอน ซึ่ง ถนอมพร (2549) ได้กล่าวไว้ว่า ระบบ LAMS เป็นระบบที่ช่วยให้ผู้สอนสามารถออกแบบ ลาดับการเรียนรู้ในรูปของกิจกรรมต่างๆ นอกจากนี้ ยังอาจ พิจารณาว่าเป็นเครื่องมือส่วนหนึ่งของระบบบริหารการจัดการ เรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในลักษณะ ของ e-Learning ซึ่งระบบ LAMS สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่ง เป็นส่วนของการจัดลาดับกิจกรรมการ เรียนรู้ เป็นส่วนที่ผู้สอนใช้สาหรับกาหนดกิจกรรมในบทเรียน และลาดับของกิจกรรมที่จะให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ที่ได้ออกแบบไว้แล้วโดยผู้สอน ผู้สอนสามารถใช้วิธี

ขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบการสอน ในการพัฒนารูปแบบ การสอนมีผู้เสนอแนวทางขั้นตอนไว้อย่างหลากหลาย แต่จาก การศึกษารูปแบบการสอนของ Joyce & Wiel (1986) สามารถ สรุปขั้นตอนการพัฒนารูปแบบการสอน ออกเป็น 4 ขั้นตอน 127


ดังนี้ 1) ศึกษาแนวคิดและองค์ประกอบสาคัญที่เกี่ยวข้องกับ การสอนสิ่งที่ต้องการเป็นการศึกษาวิเคราะห์ ประเด็นสาคัญ สาหรับนามาใช้ในการกาหนดองค์ประกอบของรูปแบบการ สอนที่จะพัฒนา 2) กาหนดองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบของรูปแบบการสอน เช่น จุดมุ่งหมาย เนื้อหา กระบวนการสอน ขั้นตอนและกิจกรรมการสอน การวัดและ ประเมินผล เป็นต้น และเป็นการกาหนดความสัมพันธ์แต่ละ องค์ประกอบให้สอดคล้องกันตามแนวคิดและหลักการพื้นฐาน ที่ใช้ 3) ตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน เป็นการ หาข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อยืนยันว่า แผนการจัดองค์ประกอบ ต่ า งๆ ที่ ไ ด้ พั ฒ นาขึ้ น อย่ างเป็ น ระบบนี้ มี คุ ณภาพ และ ประสิทธิภาพจริง กล่าวคือ สามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้และ เกิดผลต่อผู้เรียนตามที่ต้องการหรือที่ได้กาหนดจุดมุ่งหมายไว้ การหาข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ ท าได้ โ ดยการน าแผนการจั ด องค์ประกอบไปทดลองใช้ในห้องเรียนตามระเบียบวิธีวิจัยที่ เป็ น วิ ธีก ารทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ ย อมรั บ กัน โดยทั่ วไป และ สามารถยื นยันได้ด้วยตัวเลข นอกจากนี้ยัง สามารถใช้การ ตรวจสอบ เชิงประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องได้ ในทางปฏิบัติการตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน จะเริ่มจากการตรวจสอบเชิงประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิ นาผล การประเมินมาปรับปรุง แก้ไข แผนการจัดองค์ประกอบให้ เหมาะสมมากขึ้น ก่อนที่จะนาไปทดลองใช้ในห้องเรียน และ 4) การปรับปรุงรูปแบบการสอน เป็นการปรับแก้รูปแบบการ สอนที่ได้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้นมีข้อบกพร่องน้อยลง โดยการนาสิ่ง ที่ได้จากการทดลองใช้รูปแบบการสอนมาปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่ ปรับปรุงนี้อาจเป็นองค์ประกอบ ลักษณะความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบตลอดจนแนวการใช้รูปแบบการสอน

กระบวนการดาเนินงาน 4) กลไกควบคุม (Control) คือ กลไก หรือวิธีการที่ใช้ในการควบคุมหรือตรวจสอบกระบวนการให้ เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ5) ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ (Feedback) คือ ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างผลผลิตกับจุดมุ่งหมายซึ่งจะเป็นข้อมูลป้อนกลับไปสู่ การปรับปรุงกระบวนการ และตัวป้อนซึ่งสัมพันธ์กับผลผลิต และ เป้าหมายนั้น

4) วิธีดาเนินการวิจัย การสร้างรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ ด้วยระบบการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ 4.1) ศึกษาเอกสาร แนวคิ ด ทฤษฎีและงานวิจัย ที่เกี่ย วข้อ ง วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ได้มาซึ่ งขั้นตอนการจัดทารูปแบบการ เรียนการสอน 4.2) นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาข้อมูลในข้อที่ 1 มาทาการ สร้างร่างรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ ด้วยระบบการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.3) นาร่างรูปแบบที่สร้างขึ้น ตรวจสอบ และปรับปรุงแก้ไข 4.4) จัดส่งร่างรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือด้วยระบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ ผู้เชี่ยวชาญที่จบการศึกษาระดับ ปริญญาโทขึ้นไป และมีความเชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ จ านวน 5 ท่ าน ท าการตรวจสอบความสอดคล้ อ งของ องค์ประกอบด้านปัจจัยนาเข้า ด้านกระบวนการ ด้านควบคุม ด้านผลผลิต และด้านข้อมูลป้อนกลับ ซึ่งจากแนวทางสามารถ นากระบวนการมาวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ประกอบของ รูปแบบการเรียนการสอนทาให้ได้ 15 องค์ประกอบย่อย คือ 1) กาหนดเป้าหมายในการเรียนการสอน 2) การเตรียมความ พร้อมด้านสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอน 3) กาหนด บทบาทผู้สอน 4) กาหนดบทบาทผู้เรียน 5) การออกแบบ เนื้อหาบทเรียน 6) กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 7) ขั้น เตรียมความพร้อม 8) ขั้นการเรียนการสอนแบบร่วมมือ 9) ขั้น ประเมินผลการเรียน 10) ตรวจสอบและควบคุมช่วงเวลาใน

องค์ประกอบของระบบ (System) คือ การรวบรวมสิ่งต่างๆ ทั้งหลายที่มนุษย์ได้ออกแบบ และคิดสร้างสรรค์ขึ้นมา เพื่อจัด ดาเนินการให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้ (Banathy, 1968) นอกจากนี้ ทิศนา (2547) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของระบบที่ จะทางานได้อย่างสมบูรณ์จะประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 ส่วน คือ 1) ตัวป้อน (Input) คือ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบนั้น หรืออีกนัยหนึ่งก็คือสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบนั้น 2) กระบวนการ (Process) คื อ การจั ด ความสั ม พั น ธ์ ข อง องค์ประกอบต่างๆ ของระบบให้มีลักษณะที่เอื้ออานวยต่อการ บรรลุเป้าหมาย 3) ผลผลิต (Product) คือ ผลที่เกิดขึ้นจาก 128


การเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 11) การทดสอบผล การเรียน ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ 12) การประเมินผลความ พึ ง พอใจของผู้ เ รี ย นที่ มี ต่ อ รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ ร่วมมื อ ด้วยระบบการจัด การกิจ กรรมการเรีย นรู้ 13) การ ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน แบบร่วมมือด้วยระบบการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ 14) การ ประเมิ นการท ากิจกรรมด้วยรู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ ร่ ว มมื อ ด้ ว ยระบบการจั ด การกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ และ 15) ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุง

ต่อไป

5) สรุปผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินร่างรูปแบบการเรียน การสอน ซึ่ ง ได้ แ ก่ อ งค์ ป ระกอบ ด้ า นปั จ จั ย น าเข้ า ด้ า น กระบวนการ ด้ านการควบคุ ม ด้ านผลผลิ ต และด้ านข้ อ มู ล ป้อนกลับ พบว่าผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่านมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ ร่างรูปแบบการเรีย นการสอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ว่ามีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน

4.5) ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ ด้วย ระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตาม ข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้านเพื่อนาไปใช้ในขั้นตอน

ด้านการควบคุม (Control) ตรวจสอบกิจกรรมและควบคุมช่วงเวลาในการเรียน การสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

กาหนดบทบาทผู้สอน กาหนดบทบาทผู้เรียน การออกแบบเนื้อหา บทเรียน

1. ขั้นเตรียมความพร้อม 1.1 การเตรียมความพร้อมสาหรับผู้เรียน 1.2 การเตรียมความพร้อมเนื้อหา 2. ขั้นการเรียนการสอนแบบร่วมมือ 2.1 การจัดกลุ่ม 2.2 การศึกษาเนื้อหา 2.3 การทากิจกรรมการเรียน 2.4 การให้ข้อมูลย้อนกลับจากผู้สอน 3. ขั้นประเมินผลการเรียน 3.1 การทดสอบทักษะการเขียน โปรแกรม ในภาคปฏิบัติ 3.2 การทดสอบหลังเรียน ในภาคทฤษฎี

การทดสอบผลการเรียน ภาคปฏิบัติ

ด้านผลผลิต (Output)

การเตรียมความพร้อม ด้านสภาพแวดล้อม

ด้านกระบวนการ (Process)

ด้านปัจจัยนาเข้า (Input)

กาหนดเป้าหมายใน การเรียนการสอน

ความพึงพอใจของผู้เรียน

พฤติกรรมการเรียนรู้

การทากิจกรรม

ด้านข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)

รูปที่ 2 รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือด้วยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

129

ภาคทฤษฎี


management system. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา ปีที่ 3, ฉบับที่ 1, หน้า 23 – 36. 2549. ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัด กระบวนการเรียนรูท้ ี่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . (2545). แผนการ ศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2549). กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิก. ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ . (2542). พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ .ศ. 2542. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว. ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา. (2552). กรอบ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ระดั บ ปริญญาตรีสาขาคอมพิวเตอร์. สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. Banathy, B. (1968). Instructional Systems. Palo Alto, California : Fearon Publishers. Johnson, R.T. & Johnson, D.W. (1994). An overview of cooperative learning, In J.S. Thousand, R.A. Villa & A.I. Nevin (Ed.). Creativity and collaborative learning. 31-34. Baltimore, Maryland: Paul H. Brookes Publishing. Joyce, B.; & Wiel, M. (1986). Models of Teaching. Englewood Cliffs. NJ: Prentice–Hall. Kemp, J. E. (1985). The instructional design process. New York: Harper & Row. Simpson, D. (1972). Teaching Physical Educations: A System Approach. Boston: Houghton Mufflin Co. Thousand, S.J., and others. (2002). Creative Collaborative Learning, 2nd Ed, Paul Brookes, Baltimore, pp.3-16. Xinhua He, Wenfa HuAn. (2008). Innovative Web-Based Collaborative Learning Model and Application Structure Computer Science and Software Engineering, International Conference, Vol. 5, 12-14 Dec. 2008, 56 – 59.

6) อภิปรายผล จากการศึ กษาวิ จั ย การสร้ างรู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ ร่ ว มมื อ ด้ ว ยระบบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ผู้ วิ จั ย ได้ ดาเนินการตามขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาด้วยการศึกษา ข้อมูลพื้นฐานจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นาข้อมูลที่ ได้ ม าวิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ พ ร้ อ มทั้ ง ประเมิ น ผลจาก ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ ทาให้ได้รูปแบบการเรียนการ สอนที่ มี ก ารน าเสนอความรู้ ค วบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาทั ก ษะ ปฏิบัติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ข้อบกพร่องในกระบวนการ เรี ย นการสอน ที่ มี การฝึ ก ทั ก ษะปฏิ บั ติ การเขี ย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเป็นระบบ และเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของผู้เรียน และเป็นไป ตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ทาให้ผู้สอนมีทักษะ และวิธีการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับการเรียนการสอน ในปัจจุบัน ผู้วิจัยใช้แนวคิดของวิธีการเชิงระบบ (Systems Approach) ซึ่ง ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) ปัจจัยนาเข้า (Input) 2) กระบวนการเรียนการสอนฝึกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Process) 3) การควบคุม (Control) 4) ผลผลิต (Output) 5) ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) มาเป็นพื้นฐานในการ ออกแบบการเรียนการสอน การวิ จัย ในครั้ งต่ อไปคื อการน ารู ปแบบนี้ไ ปใช้ใ นเรีย นการ สอนวิ ช า หลั ก การเขี ย นโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ส าหรั บ นักศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อทาการส่งเสริมผู้เรียนให้มีการ พัฒนาตนเองในด้านอื่น ๆ รวมไปถึงการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ความพึงพอใจทางการเรียน พฤติกรรมทางการเรียน และ การทากิจกรรมด้วยรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือกันของผู้เรียน เป็นต้น

7) เอกสารอ้างอิง ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2549). ระบบบริหารจัดการการ เรียนรู้แห่งอนาคต = Next generation learning 130


การออกแบบเว็บไซต์และบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับ อีเลิร์นนิงในอาเซียน: กรอบวัฒนธรรมที่ควรคานึงถึง Proper Design of Website and Electronic Courseware for e-Learning in ASEAN : Cultural framework for Consideration จินตวีร์ คล้ายสังข์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย jintavee.m@chula.ac.th ABSTRACT As the 10 ASEAN member countries to become ASEAN community in the year 2015 with the aim to enhance understanding and accelerating economic growth, social progress, and cultural development in the region through joint endeavors in the spirit of equality and partnership of the ASEAN community nations. However, when considering cultural framework affecting to the education, inequality found in various magnitudes, especially in the areas of social progress and cultural development, namely, religions, languages, and cultural differences. Thus for, to create common understanding and respectful recognition of such differences, as well as to preserve the value of cultural wisdom of the ASEAN community nations, are considered to be necessity. This article entitled “Proper Design of Website and Electronic Courseware for e-Learning in ASEAN : Cultural framework for Consideration” discusses about the cultural framework from the documents, researches, and examples in related to on cultural factors of the proper design of website and electronic courseware for e-Learning in ASEAN during 19912011, emphasizing higher educational institutes. Such review of the related literatures will soon be in consideration as part of the data in order to develop the prototype of website and electronic courseware for e-Learning in ASEAN emphasizing on cultural effects. The cultural framework to be discussed includes 10 aspects namely (1) Gender (2) Religion (3) Language (4) History (5) Art (6) Aesthetics (7) Law (8) Politics (9) Ethnography and Local, and (10) Wisdom. Keywords : E-Learning, ASEAN community, Website Design, Courseware Design, Cultural Framework

บทคัดย่อ การรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียนของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศในปี พ.ศ. 2558 จะเป็นการสร้างสังคมภูมิภาคให้ 131

พลเมืองของประเทศสมาชิกอยู่ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความเข้ าใจอั น ดี ต่ อ กัน ระหว่ างประเทศใน ภูมิภาค สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพั ฒ นาสั ง คม และวั ฒ นธรรม บนพื้ น ฐานของความ เสมอภาค และผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ หากเมื่อพิ จารณาในด้ านกรอบวัฒ นธรรมที่ ส่งผลต่อการศึกษาแล้วนั้น ยังพบว่ากลุ่มประเทศอาเซียนมี ความเหลื่อมล้​้ากันในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้าน สังคมและวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็นความหลากหลายของ ศาสนา ภาษา รวมถึงความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม จึงมี ความจ้าเป็นที่ต้องเสริมสร้างความเข้าใจ การเคารพและ ยอมรั บ ในวั ฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งกั น รวมถึ ง การปกป้ อ ง รักษามรดกทางวัฒนธรรมของภูมิภาคต่างๆ นี้ บทความเรื่ อ ง การออกแบบเว็ บ ไซต์ แ ละบท เรี ย น อิเล็กทรอนิกส์ ที่เหมาะสมส้ าหรับอีเลิร์นนิ งในอาเซียน: กรอบวัฒนธรรมที่ควรค้านึงถึง จะกล่าวถึงขอบข่ายด้าน วัฒนธรรมจากศึกษาเอกสาร งานวิจัย และตัวอย่างต่างๆที่ เกี่ ย วข้ อ ง กั บ การ อ อ กแ บ บเ ว็ บ ไซต์ และ บ ทเ รี ยน อิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับองค์ประกอบด้านวัฒนธรรม อาเซี ย นตั้ ง แต่ ปี พศ. 2534-2554 โดยเน้ น บริ บ ทของ อุดมศึกษา เพื่อเป็นกรอบในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ งานด้านวัฒนธรรม เพื่อน้ามาเป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลใน การพั ฒ นาร่ า งต้ น แบบของเว็ บ ไซต์ แ ละบทเรี ย น อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมส้าหรับอีเลิร์นนิงในอาเซียนที่ ตอบโจทย์ในเรื่องของความแตกต่างทางวัฒนธรรมนี้ต่อไป โดยกรอบวั ฒ นธรรมสามารถจ้ า แนกออกเป็ น 10 ด้ า น


ได้แก่ (1) เพศ (2) ศาสนา (3) ภาษา (4) ประวัติศาสตร์ (5) ศิลปะ (6) สุนทรียภาพ (7) กฏหมาย (8) การเมือง (9) ชาติ พันธุ์ และ (10) ภูมิปัญญา

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมส้าหรับ การเรียนการ สอนทางไกลแบบอีเลิร์นนิงในอาเซียนต่อไป

2) ความหมายและองค์ประกอบของวัฒนธรรมใน มุมมองของประเทศในกลุ่มอาเซียน

คาสาคัญ : อีเลิร์นนิง, ประชาคมอาเซียน. การออกแบบอี เลิร์นนิงเว็บไซต์, การออกแบบอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ , กรอบ วัฒนธรรม

2.1) ความหมายของวัฒนธรรม วัฒนธรรมหมายถึง วิถีชีวิตหรือแบบแผนในการคิดและ การกระท้าของมนุษย์ในสังคม ซึ่งแสดงออกถึงชีวิตมนุษย์ ในสั ง คมของกลุ่ ม ใดกลุ่ ม หนึ่ ง หรื อ สั ง คมใดสั ง คมหนึ่ ง (Davey, 2012; สุพัตรา สุภาพ, 2543; รัตนา โตสกุล; 2549; สมชัย ใจดี; ยรรยง ศรีวิริยาภรณ์, 2545) โดยเป้าหมายหลัก ของอาเซียนนั้นคือความเป็นหนึ่งเดียวบนความหลากหลาย ทางวั ฒ นธรรมของประเทศในกลุ่ม อาเซีย น (Unity in Diversity through the ASEAN Way of Life) และความ แตกต่างสู่ความแข็งแกร่งของประชาคมอาเซียน (Diversity towards Strengthening) จึงมีความส้าคัญและเป็นสิ่งที่ท้า ทายต่อไป

1) บทนา กลุ่มประเทศอาเซียนมีความเหลื่อมล้​้ากันในหลายด้านส่งผล ให้ประชาคมด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านสังคม และวัฒนธรรมอาเซียนมีความแตกต่างกัน การรวมตัวของ กลุ่ ม ประเทศอาเซี ย นยั ง มี ค วามเหลื่ อ มล้​้ า กั น หลายด้ า น โดยเฉพาะการพัฒนาประเทศที่แตกต่างกัน มีทั้งประเทศที่ พัฒนาแล้วอย่างสิงคโปร์ ประเทศก้าลังพัฒนาอย่างมาเลเซีย ไทยและอินโดนีเซีย ในขณะที่กลุ่มประเทศนิวอาเซียนอย่าง อาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพม่ า และสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนามเป็ น ประเทศก้าลังพัฒนา และด้วยความหลากหลายของประเทศ อาเซี ย นมี อ ยู่ ม ากมายไม่ ว่ า จะเป็ น ความหลากหลายของ ประชากร ศาสนา ภาษาที่ใช้ รวมถึงความแตกต่างทางด้าน วัฒนธรรมจึงมีความจ้าเป็นที่ต้องเสริมสร้างความเข้าใจซึ่ง กั น และกั น และการเคารพในวั ฒ นธรรม ยอมรั บ ใน วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน รวมถึงการปกป้องรักษามรดกทาง วั ฒ นธรรมของภู มิ ภาคต่ า งๆ (ส้ า นั กเลขาธิ ก ารอาเซี ย น, 2009) ดังนั้น บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “การวิ เ คราะห์ อ งค์ ป ระกอบด้ า นวั ฒ นธรรมที่ ส่ ง ผลต่ อ รู ป แบบเว็ บ ไซต์ แ ละบทเรี ย นอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ เหมาะสม สาหรับการเรียนการสอนทางไกลแบบอีเลิร์นนิงในอาเซียน” (ได้ รับ ทุ นอุ ด หนุ น การวิจั ย จากโครงการมหาวิ ทยาลัย ไซ เบอร์ ไ ทย ส้ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กระทรวงศึกษาธิการ) จะน้าเสนอข้อมูลจากการด้าเนินงาน ในขั้ น ตอนแรกของงานวิ จั ย คื อ การศึ ก ษาเอกสารและ งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วั ฒ นธรรมเพื่ อ เป็ น กรอบในการ วิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ ง านด้ า นวั ฒ นธรรม เพื่ อ เป็ น แนวทางในการออกแบบและพัฒนารูปแบบเว็บไซต์และ

2.2) องค์ประกอบของวัฒนธรรม จากกรอบประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ทุกภาค ส่วนรวมถึงเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนต่างๆ จึงได้จัดท้า หลักสูตร ASEAN STUDY และโครงการต่างๆ ที่เน้นการ สร้างความรู้ความเข้าใจทางด้านสังคมละวัฒนธรรมขึ้นมา เพื่อรองรับและการเตรียมความพร้ อมประเทศในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นการจัดท้าค่ายวัฒนธรรม เยาวชนอาเซียน (ASEAN University Network, 2012) หรือ การจั ด การเรี ย นการสอนโดยสอดแทรกสั ง คมและ วัฒนธรรมเข้าไปในหลักสูตร เช่น มหาวิทยาลัยบรูไนดารุส ซาลามมี การจั ด การเรี ย นการสอนในหลั กสู ต ร ASEAN STUDY เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพพร้อมอย่างเหมาะสม ในแง่ของความรู้ทักษะทัศนคติค่านิยมทางศีลธรรมและจิต วิญญาณเพื่อรองรับความต้องการการพัฒนาของประเทศ และสอดคล้ อ งกั บ ปรั ช ญาของชาติ (http://www.aunsec.org) อีกทั้งหลักสูตรในมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน มี โครงสร้างหลักสูตรที่มีเนื้อหาครอบคลุมด้านวัฒนธรรม จากการวิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า ว จึ ง ขอสรุ ป 132


ขอบข่ ายด้ านวัฒ นธรรม จ้ าแนกออกเป็ น 6 ด้ านหลั ก 10 ด้านย่อย ดังนี้ (1) เพศ (Gender) (2) ศาสนา (Religion) (3) ภาษา (Language) (4) ประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปะ และ สุนทรียภาพ (History, Art and Aesthetics) (แบ่งเป็น 3 ด้าน ย่อย) (5) กฏหมายและการเมือง (Law and Politics) (แบ่งเป็น 2 ด้านย่อย) และ (6) ชาติพันธุ์และภูมิปัญญา (Ethnography and Local) Wisdom) (แบ่งเป็น 2 ด้านย่อย)

เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนทางไกล แบบอี เ ลิ ร์ น นิ ง ในอาเซี ย น ผู้ วิ จั ย ได้ ศึ ก ษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเว็บไซต์และบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับองค์ประกอบด้านวัฒนธรรม อาเซียน ตั้งแต่ปี 1991 - 2011 พบว่า งานวิจัยและเอกสาร รวมทั้งสิ้น 50 เรื่อง โดยแบ่งเป็น (1) องค์ประกอบด้าน ขอบข่ายด้านวัฒนธรรม จ้าแนกออกเป็น 10 ด้าน แบ่งเป็น เพศ (Gender) ศาสนา (Religion) ภาษา (Language) ประวั ติ ศ าสตร์ (History) ศิ ล ปะ (Art) สุ น ทรี ย ภาพ (Aesthetics) กฎหมาย (Law) การเมือง (Politics) ชาติพันธุ์ (Ethnography and Local) และภูมิปัญญา (Wisdom) (2) องค์ ป ระกอบด้ า นการออกแบบเว็ บ ไซต์ แ ละบทเรี ย น อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย องค์ประกอบด้านมัลติมีเดีย (ภาพประกอบ เสี ย ง ตั ว อั ก ษร และการจั ด รู ป แบบ ) องค์ประกอบด้านการออกแบบหน้าจอ (ส่วนต่อประสาน ระบบน้าทาง การเข้าถึงข้อมูล และการทดสอบการใช้งาน) องค์ประกอบด้านการออกแบบเนื้อหา องค์ประกอบด้าน คุณลักษณะของสื่ อใหม่ อัน ได้ แก่ โมบายเลิ ร์น นิง อี บุ๊ ค ตลอดจนการใช้แท็บเล็ตในการเรียนการสอน

2.3) ความสาคัญของอีเลิร์นนิงกับการเผยแพร่วัฒนธรรม ของประเทศกลุ่มอาเซียน การศึ ก ษาวั ฒ นธรรมของกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย นมี ค วาม หลากหลายและแตกต่ า งกั น ไป ดั ง นั้ น จึ ง จ้ า เป็ น ต้ อ งมี เครื่องมือที่เ ผยแพร่ และสร้างความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับ วั ฒ นธรรมของประเทศในประชาคมอาเซี ย น การใช้ โครงสร้างพื้นฐานสิ่งอ้านวยความสะดวกและเทคโนโลยี การสื่อสาร ตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษาจึงถือ เป็นตัวเลือกหนึ่ง ดังที่ Nada et al. (1999) ได้ท้าการส้ารวจ ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศส้าหรับธุรกิจองค์กร แรงงานและวัฒนธรรม พบว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่ง กระตุ้นการเปลี่ย นแปลงต่ างๆ ในเศรษฐกิจโลก การขาด ความตระหนั ก ในการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารส นเทศส่ ง ผลกระทบต่อวัฒนธรรม ดังนั้นจึงควรมีการส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ถูกต้อง สะท้อนความส้าคัญ และสนองตอบต่ อ ความแตกต่ า งของวั ฒ นธรรมที่ หลากหลาย ทางด้านความเชื่อ ค่านิยม รวมถึงโครงสร้าง ทางวัฒนธรรม ซึ่งสอดคล้องกับ Thompson and Thianthai (2008) ที่ศึกษาความคิดเห็นจากนักศึกษา 8 ใน 10 ประเทศ อาเซียนเกี่ยวกับทัศนคติของนักศึกษาด้านความรู้ความเข้าใจ ที่มีต่ออาเซียน เกี่ยวกับภูมิภาค ข้อมูลต่างๆ ของอาเซียน ความตกลงร่ ว มมื อ ต่ า งๆ แหล่ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร พบว่ า นักศึกษาส่วนใหญ่ต้องการมีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของ ประเทศในอาเซี ย นโดยควรเป็ น ความรู้ ที่ ห าได้ ง่ า ย ไม่ ซับซ้อน ซึ่งสามารถศึกษาได้จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และมี สื่ อ กลางในสามารถแลกเปลี่ ย นความรู้ ซึ่ ง กั น และกั น นอกจากนี้ควรมีศูนย์กลางส้าหรับการค้นหาข้อมูลต่างๆ ซึ่ง รวบรวมประวั ติ ศ าสตร์ ข องแต่ ล ะประเทศไว้ สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมู ลโดยใช้สารสนเทศเข้ามาช่วยให้สะดวก มากยิ่งขึ้น

3) กรอบวัฒนธรรมที่ควรคานึงถึงในการออกแบบ เว็บไซต์ จากการศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ รู ป แบบ เว็ บ ไซต์ ใ นอาเซี ย น จ้ า นวน 25 เรื่ อ ง จ้ า แนกออกเป็ น ประเทศไทย 7 เรื่อง ประเทศฟิลิปปินส์ 4 เรื่อง ประเทศ ญี่ปุ่น 4 เรื่อง ประเทศมาเลเซีย 4 เรื่อง ประเทศสิงคโปร์ 3 เรื่ อ ง ประเทศเกาหลี 2 เรื่ อ ง และประเทศจี น 1 เรื่ อ ง (ประเทศญี่ปุ่น จีน และสาธารณรัฐเกาหลี น้ามารวมโดยยึด กรอบความร่วมมืออาเซียน+3) สรุปได้ว่า 3.1) กรอบวัฒนธรรม : เพศ กรอบการออกแบบเว็บไซต์ : การออกแบบหน้าจอ Stern (2004) เสนอความนิยมเว็บไซต์ในกลุ่มวัยรุ่นเพศ หญิงและเพศชาย ต้องการความเป็นเอกภาพในเรื่องที่สนใจ ไม่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับแฟชั่น ส่วนหน้า แรกของเว็ บ ไซต์ จ ะต้ อ งท้ าให้ โ ดดเด่ น สะดุ ด ตา ดึ ง ดู ด 133


ความสนใจ โดยใช้ภาพเคลื่อนไหวและเสียงที่น่าสนใจ และ มีช่องทางส้าหรับการสื่อสาร ส่วนที่แตกต่างกันก็คือ เนื้อหา สาระในหน้าเว็บไซต์

หรื อ สั ญ ลั กษณ์ ที่เ ป็ น ข้ อ ความต่างๆ เพื่ อ ความเข้ าใจมาก ยิ่งขึ้น การออกแบบเว็บไซต์โดยใช้ภาพกราฟิกและป๊อปอัพ จะช่วยดึงดูดความสนใจแก่ผู้อ่าน การออกแบบเว็บ ไซต์เ กี่ยวกับภาพและการสื่อ ความหมาย ระหว่ า งวั ฒ นธรรมตะวั น ตกและวั ฒ นธรรมจี น นั้ น การ ออกแบบหน้าจอจะต้องออกแบบจากด้านบนซ้ายของหน้าจอ ซึ่งเป็นจุดที่นักเรียนเริ่มอ่าน ไม่ควรใช้สีมากเกินไปเพราะจะ ท้าให้สับสนในการสื่อสาร ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมเกี่ยวกับ ภาพของจี น ส่ วนใหญ่ ภาพจะเน้ น สี ข าวและสี ด้ า และเมื่ อ พิจารณาเนื้อหาเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมนั้น การคัดลอก หรือท้าซ้​้าโดยไม่ได้รับอนุญาตจะต้องค้านึงถึงลิขสิทธิ์ และ การอ้างอิงจะต้องมีการตรวจสอบข้อความโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎหมายจีน กฎหมายด้านการเงิน กฎหมายการค้า ซึ่งเป็น การป้องกันทรัพย์สินทางปัญญา

3.2) กรอบวัฒนธรรม : เพศ กรอบการออกแบบเว็บไซต์ : เนื้อหา Stuart (2001) ศึ กษาความแตกต่ างทางเพศในการเรี ย น หลักสูตรออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พบว่า เพศ มีส่วนส้าคัญต่อการใช้โปรแกรมออนไลน์และทักษะการ สื่อ สารของนั กศึกษา หลั กสูต รออนไลน์ใ ห้ อิสระในการ เลือกวิธีศึกษาแก่นักศึกษา เป็นกลยุทธ์ที่ส้าคัญในการสร้ าง แรงจูงใจและการเรียนรู้ โดยในหลักสูตรออนไลน์นั้น เพศ หญิงจะชอบเรียนรู้มากกว่าเพศชาย และมีวินัยและระเบียบ ในการเรียนมากกว่า ในทางตรงกันข้ามเพศชายที่มีอายุน้อย จะสนใจหลักสูตรออนไลน์มากกว่าเพศหญิง และหากเป็น หลักสูตรที่มีความท้าทายต้องศึกษาด้วยตนเอง เพศชายจะ ประสบความส้าเร็จมากกว่าเพศหญิง

3.5) กรอบวัฒนธรรม : ศาสนา กรอบการออกแบบ เว็บไซต์ : เนื้อหา Shamaileh และคณะ (2011) ศึ ก ษาคุ ณ ภาพเว็ บ ไซต์ ที่ เผยแพร่อัตลักษณ์ทางศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ โดย สอบถามผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีทัศนคติทางบวกเกี่ยวกับเว็บไซต์ โดย มีความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาที่ตนเองนับถือมากขึ้น เนื้อหาใน เว็บไซต์เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับความเชื่อในศาสนาที่ผู้นับถือ สามารถเข้าไปศึกษาข้อมูลได้ ท้าให้เกิดความแข็งแกร่งและ สื่อ กลางในการรวมตั วของผู้ที่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ สลาม ใน เว็บไซต์ไม่ควรมีการโฆษณาสินค้าอื่น แอบแฝง ควรจะเป็น ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ท างศาสนาหรื อ เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งควรเน้ น เรื่องราวเกี่ยวกับศาสนพิธี พิธีกรรม วันส้าคัญต่างๆ เพื่อเป็น การเผยแพร่ศาสนาอีกช่องทางหนึ่ง

3.3) กรอบวัฒนธรรม : เพศ กรอบการออกแบบเว็บไซต์ : มัลติมีเดีย Wolf (2000) วิเคราะห์การใช้ไอคอนแสดงอารมณ์ (emotion icon) ในกลุ่มข่าวออนไลน์เพื่อเสริมสร้างทัศนคติของเพศ หญิ ง และเพศชาย โดยการน้ า ไอคอนแสดงอารมณ์ ที่ เหมื อ นกั บ เพศจนถึ ง การใช้ ไ อคอนแสดงอารมณ์ แ บบ ผสมผสาน พบว่า เพศชายชอบใช้ไอคอนแสดงอารมณ์ ที่ เป็นมาตรฐานแสดงอารมณ์ต่างๆมากกว่าเพศหญิง ส่วนเพศ หญิ ง ชอบใช้ ไ อคอนที่ แ สดงอารมณ์ เ งี ย บหรื อ ปิ ด เสี ย ง ขอบคุณ และใช้ไอคอนแสดงความรู้สึกทางบวก 3.4) กรอบวั ฒ นธรรม : ภาษา ประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปะ กฎหมาย กรอบการออกแบบเว็บ ไซต์ :มั ล ติ มี เ ดี ย การ ออกแบบหน้าจอ เนื้อหา Friesner and Hart (2004) กล่าวว่าประเทศจีนเป็นประเทศที่มี ความหลากหลายด้านวัฒนธรรมและภาษาถิ่นหลากหลาย ท้า ให้เกิดปัญหาความเข้าใจซึ่งกันและกัน ดังนั้นจึงควรมีการน้า ภาษาประจ้ าชาติ หรือ ภาษาที่เป็น ทางการ (ภาษาจีนกลาง) ก้ากับไว้เพื่ อการสื่ อสารที่ ตรงกัน แต่ ส้าหรับ การท้าเป็ น เว็บไซต์ควรมีการแปลภาษาจีนเป็นภาษาอังกฤษ อาจใช้ภาพ 134

3.6) กรอบวัฒนธรรม : ภาษา กรอบการออกแบบ เว็บไซต์ : มัลติมีเดีย Shawback and Terhune (2002) ศึกษาการเรียนภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่สองจากนักเรียนที่สนใจภาพยนตร์เกี่ยวกับภาษา และวัฒนธรรม พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ที่ชมภาพยนตร์ ผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต มี ค วามสนใจภาษาและวั ฒ นธรรมใน ภาพยนตร์ ท้าให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ทางภาษาและเรียนรู้ วั ฒ นธรรม มี ค วามสามารถทางภาษาที่ ดี ขึ้ น ผ่ า นการชม


ภาพยนตร์เป็นล้าดับ เนื่องจากภาพยนตร์เพื่อการศึกษาภาษา และวัฒนธรรมมีเทคโนโลยีที่สมัยอย่างอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ นักเรียนมีบทบาทเชิงรุกในการเรียนรู้ อีกทั้งยังมีทักษะใน การฟัง การอ่านและการน้าเสนอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมี subtitle ภาษาถิ่นในเนื้อหาส้าหรับการนักเรียนที่เรียนรู้ด้วย ภาษาอังกฤษ และมี subtitle ภาษาอังกฤษส้าหรับนักเรียนที่มี ความรู้ภาษาอังกฤษระดับปานกลาง 3.7) กรอบวัฒนธรรม : ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา กรอบการ ออกแบบเว็บไซต์ : เนื้อหา McLoughlin (1999) ศึกษาการออกแบบการเรียนการสอนที่ เหมาะกั บ ความต้ อ งการของกลุ่ ม วั ฒนธรรมโดยใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศระดั บ อุ ด มศึ ก ษา จะต้ อ งมี ก าร ตระหนักถึงความต้องการในการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ ของแต่ละกลุ่มโดยจะต้องผสมผสานให้เป็นเนื้อเดียวกัน ใน การออกแบบการเรี ย นการสอนเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นเข้ า ถึ ง วัฒนธรรมที่หลากหลาย จะต้องมีการสื่อสารที่หลากหลาย ภาษา เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้และอัต ลักษณ์ของวัฒนธรรมและการปฏิบัติของชุมชน โดยในการ ออกแบบจะต้องพิจารณาความสัมพันธ์กับเนื้อหาวัฒนธรรม ที่หลากหลาย การออกแบบโครงสร้างในบทเรียนให้ผู้เรียน มี ส่ ว นร่ ว ม มี ก ารปฐมนิ เ ทศ ก้ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละ เป้าหมายในการเรียน 3.8) กรอบวัฒนธรรม : ศิลปะ กรอบการออกแบบเว็บไซต์ : เนื้อหา Christopher (1998) ตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้ เทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม ความยื ด หยุ่ น ในการเรี ย นรู้ ด้ า น วั ฒ นธรรมการเมื อ งระดั บ อุ ด มศึ ก ษาในประเทศเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ พบว่าเทคโนโลยีแบบโต้ตอบเหมาะสม กับการศึกษาด้านวัฒนธรรมการเมืองที่เน้นการเรียนรู้ด้วย ตนเองและเป็ น อิ ส ระในการเรี ย น แต่ ไ ม่ เ หมาะสมกั บ ประเทศทางใต้ของเอเชียตะวันออกเนื่องจากเน้นการศึกษา แบบดั้ ง เดิ ม (ครู ส อนโดยตรง) แต่ จ ากการศึ ก ษาพบว่ า แนวโน้ ม การเทคโนโลยี เ ป็ นสิ่ ง ส้ าคั ญในการเรี ย นรู้ ด้ าน วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ขนบธรรมเนี ย ม ตลอดจนการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมในท้องถิ่น 135

3.9) กรอบวัฒนธรรม : การเมือง กรอบการออกแบบ เว็บไซต์ : เนื้อหา Kluver (2004) กล่าวว่าเทคโนโลยีมีบทบาทส้าคัญในการ ขยายอ้ านาจทางการเมื อ งและเผยแพร่ เ รื่ อ งราวต่ างๆ ที่ เกี่ย วข้อ งกับ ประชาชน โดยน้ าเสนอกรณีศึ ก ษาประเทศ สิ ง คโปร์ ซึ่ ง เป็ น ประเทศที่ มี วั ฒ นธรรมทางการเมื อ งที่ แตกต่ างจากชาติ ตะวัน ตก โดยเมื่ อศึ กษาเกี่ย วกับการใช้ เทคโนโลยีและการควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตทางการเมือง ในการเลือกตั้งทั่วไปช่วงปี 2001 พบว่าการใช้อินเทอร์เน็ต เพื่ อเผยแพร่ข่ าวสารทางการเมือ งมีป ริม าณใกล้เ คี ยงกับ ประเทศทางตะวันตก สื่อมีผลกระทบส้าคัญต่อวัฒนธรรม ทางการเมืองรวมถึงกฎระเบียบ การปฏิบัติทางการเมืองที่ สามารถเผยแพร่ได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงการเผยแพร่การ อภิ ป รายทางการเมื อ งและกฎระเบี ย บส้ า คั ญ ต่ า งๆ ที่ ประชาชนควรรู้

ภาพที่ 1 ร่างรูปแบบเว็บไซต์ทเี่ หมาะสมส้าหรับ อีเลิร์นนิงในอาเซียน (ผลสรุปจากงานวิจัยระยะที่ 1 การ ทบทวนวรรณกรรม และระยะที่ 2 การวิเคราะห์องค์ ประกอบด้วยวิธี Exploratory Factor Analysis)


บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่สอนภาษาต่างประเทศควรมี การ ออกแบบการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยน้าคลิปวีดิโอที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ วั ฒ นธรรมในท้ อ งถิ่ น นั้ น ๆ ไปใช้ เพื่ อ ให้ ผู้เรียนสร้างความสามารถทางภาษาในการได้ยิน ได้ฟังและ มองเห็ น ภาพประกอบ อี กทั้ ง เป็ น การเรี ย นรู้ วัฒ นธรรม ต่างๆ จากวัฒนธรรมจริงๆ ที่มีอยู่

4) กรอบวัฒนธรรมที่ควรคานึงถึงในการออกแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ จากการศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ บทเรี ย น อิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน จ้านวน 25 เรื่อง จ้าแนกออกเป็น ประเทศไทย 10 เรื่อง ประเทศฟิลิปปินส์ 2 เรื่อง ประเทศ มาเลเซีย 6 เรื่อง ประเทศสิงคโปร์ 2 เรื่อง ประเทศเวียตนาม 1 เรื่ อ ง และประเทศจี น 4 เรื่ อ ง (ประเทศญี่ ปุ่ น จี น และ สาธารณรั ฐ เกาหลี น้ า มารวมโดยยึ ด กรอบความร่ วมมื อ อาเซียน+3) ขอยกตัวอย่างวรรณกรรมที่น่าสนใจดังนี้ 4.1) กรอบวัฒนธรรม : เพศ กรอบการออกแบบบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ : เนื้อหา Ring (1991) ศึกษาปฏิกิริยาของนักเรียนที่มีเพศแตกต่างกัน ที่ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดย ศึ ก ษาการลงมื อ ปฏิ บั ติ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ และมี คู่ มื อ เอกสาร ประกอบ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความกระตือรือร้นใน การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ใน ชั้นเรียน มีทัศนคติในการเรียนรู้เชิงบวก แต่สิ่งที่แตกต่างกัน คือนักเรียนชายมีความมั่นใจในการใช้คอมพิวเตอร์โดยลง มือปฏิบัติในการเรียนรู้มากกว่าเพศหญิง แต่นักเรียนหญิงจะ ค่อยๆ ฝึกจากคู่มือเอกสารประกอบบทเรียนเพื่อสร้างความ มั่นใจในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ 4.2) กรอบวัฒนธรรม : ศาสนา กรอบการออกแบบบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ : การออกแบบหน้าจอ Friesner and Hart (2004) ศึกษาการเข้าถึงข้อมูลทางศาสนา ในแต่ละศาสนาของจีน ไม่ว่าจะเป็น เต๋า ขงจื้อ และศาสนา พุทธ พบว่าควรมีการเชื่อมโยงข้อมูลไปยัง เหตุการณ์ทาง ศาสนาที่ส้าคัญ วันส้าคัญทางศาสนาเพื่อเป็นประโยชน์ ต่อผู้ นั บ ถื อ ศาสนาต่ างๆ ในประเทศจี น เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ ความรู้เพิ่มเติม และน่าสนใจมากยิ่งขึ้น 4.3) กรอบวัฒนธรรม : ภาษา กรอบการออกแบบบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ : มัลติมีเดีย Ying (2007) กล่ า วว่ า การเรี ย นภาษาต่ า งประเทศที่ มี ประสิทธิภาพจะต้องให้ผู้เรียนเรียนรู้ถึงวัฒนธรรมดั้งเดิม ของภาษานั้ น ๆ ด้ ว ย ดั ง นั้ น การเรี ย นการสอนโดยใช้ 136

4.4) กรอบวัฒนธรรม : ประวัติศาสตร์ กรอบการออกแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ : มัลติมีเดีย การออกแบบหน้าจอ และเนื้อหา Nguyen (2008) ศึกษาการออกแบบบทเรียนมัลติมีเดียโดย น้ าเสนอวรรณคดี แ ละการสะท้ อ นวั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ให้ สอดคล้องกับการเรียนภาษาต่างประเทศมหาวิทยาลัยดานัง ประเทศเวี ย ดนาม โดยศึ ก ษา 3 ส่ ว น ได้ แ ก่ การส้ า รวจ ศักยภาพของผู้เรียน กลยุทธ์ในการเลือกเนื้อหา และเกณฑ์ การออกแบบมั ลติ มีเ ดีย โดยในส่วนแรก การออกแบบ บทเรียนจะต้องวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน ทั้งทางด้านความรู้ อายุ เพศ การศึ ก ษา วั ฒ นธรรมหรื อ ชาติ พั น ธุ์ พื้ น ฐาน แรงจูงใจ บุคลิกภาพ และประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอร์ จากนั้นจึงเลือกเนื้อหาในการออกแบบให้ตอบสนองความ ต้องการโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการออกแบบ ส่วนที่ 2 การเลือกเนื้อหา นอกจากความถูกต้องของภาษาใน เนื้อหาที่ใช้แล้ว ยังต้องค้านึงถึงความยากของภาษา การมี ส่วนร่วมของผู้เรียน ความน่าสนใจของเนื้ อหา หลักสูตร เนื้ อ หาควรจั ด เป็ น รายการ/เมนู ที่ เ ป็น รู ป ธรรม หลี กเลี่ ย ง รูปแบบนามธรรม และส่วนที่ 3 การออกแบบบทเรียน ควร เลื อ กรู ป แบบที่ คุ้ น เคยกั บ ผู้ เ รี ย น ผู้ เ รี ย นมี ส่ ว นร่ ว มใน บทเรียน มีเครื่องมือช่วยสืบค้นและจัดระเบียบข้อมูลและ การสนั บ สนุ น การเรี ย นผ่ านบทเรี ย น ควรมี ก ารน้ าเสนอ ข้อ ความ กราฟิก เสีย งและภาพยนตร์ป ระกอบตามความ เหมาะสมกับเนื้อหา การน้าเสนอควรเลือกใช้สีที่อ่านง่าย สบายตา ใน 1 หน้าจอไม่ควรเกิน 3 สี ประเภทและขนาด ของแบบตัวอักษะเหมาะสม การเน้นข้อความด้วยสีและการ กระพริบจะช่วยเพิ่มจุดสนใจได้เป็นอย่างดี แต่ไม่ควรใช้การ กระพริบมากเกินไปจะท้าให้เสียสมาธิและอ่านยาก


4.5) กรอบวัฒนธรรม : ประวัติศาสตร์ กรอบการออกแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ : การออกแบบหน้าจอ Specht and Oppermann (1998) เสนอแนวคิดการพัฒนา คอร์สแวร์เ พื่อ ผสมผสานการน้ าเสนอความรู้ ส้าหรั บการ เรียนรู้พิพิธฑภัณฑ์และวัฒนธรรมว่า การออกแบบการเรียน การสอนและการประยุกต์ใช้สื่อ มีส่วนประกอบที่ผู้เรีย น ศึกษาด้ วยตนเอง (HTML, Java, รู ป ภาพ) จะต้ อ งมี การ เชื่ อ มโยงกระบวนการเรี ย นรู้ ไ ปสู่ ห ลั ก สู ต ร โดยการ ออกแบบไฮเฟอร์ มี เ ดี ย จะต้ อ งเชื่ อ มโยงให้ ผู้ เ รี ย นเลื อ ก สามารถเลื อ กเนื้ อ หาที่ ต้ อ งการศึ กษา สามารถเลื อ กสื่ อ ที่ เหมาะสมกับผู้เรียนตามความสนใจ โดยการออกแบบสื่อ แบบผสมผสานหลายๆ สื่อเข้าด้วยกัน และมีกลยุทธ์ในการ ถ่ า ยทอดเนื้ อ หาที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะให้ น่ า สนใจ มี ก าร เชื่อมโยงเนื้อหาและแนะน้าวิธีการเรียนรู้ 4.6) กรอบวั ฒนธรรม : ชาติพั น ธุ์ กรอบการออกแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ : มัลติมีเดีย He (2010) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกลุ่มชาติพันธุ์ ของสาธารณรั ฐประชาชนจี น ในเขตของกลุ่มชนปูยีและ แม้วในเขตปกครองตนเองเฉียนชีหนาน พบว่า รูปภาพ เสียง และการ์ ตู น จากการน้ า เสนอในโปรแกรม PowerPoint สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ดีกว่าบทเรียนที่มี แต่ ข้ อ ความเพี ย งอย่ า งเดี ย ว และรู ป แบบพฤติ กรรมของ นักเรียนในชั้นเรียนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีพฤติกรรม การเรียนรู้แตกต่างไปจากในชั้นเรียนปกติ

ภาพที่ 2 ร่างรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ส้าหรับอีเลิรน์ นิง ในอาเซียน (ผลสรุปจากงานวิจัยระยะที่ 1 การทบทวน วรรณกรรม และระยะที่ 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบ) 137

5) บทสรุป เมื่อพิจารณากรอบวัฒนธรรมที่ควรค้านึงถึงทั้ง 10 ด้าน สู่ การออกแบบร่างต้นแบบดังที่น้าเสนอไปแล้วนั้น ผู้เขียนได้ มีโอกาสสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับ ASEAN+3 จ้านวน 3 ท่าน ได้ข้อเสนอแนะที่น่าสนใจดังต่อไปนี้ ในการพัฒนา รูปแบบเว็บไซต์และบทเรีย นอิเล็กทรอนิ กส์ที่เหมาะสม ส้าหรับอีเลิร์นนิงในอาเซียนนั้น ขอให้เน้นในเรื่องความ อิสระของผู้ ใช้ในการเลือกเนื้ อหาต่างๆ ที่สะท้อนกรอบ วัฒนธรรม ตามความเหมาะสมของบริบทเนื้อหาและการ จัดการเรียนการสอน อีกทั้งยังควรให้ความส้าคัญกับความ เป็นชุมชนของ ASEAN Community ตลอดจนการสร้าง แรงจูงใจ เพื่อให้เกิดการเข้าร่วมในสังคมแห่งการเรียนรู้นี้ อย่างยั่งยืน ผ่านกิจกรรมต่างๆ จากข้อเสนอแนะดังกล่าว ผู้เ ขี ย นจะน้ ามาเป็น แนวทางในการพั ฒ นารู ปแบบฯ ให้ สมบูรณ์ยิ่งขึ้นผ่านกระบวนการวิจัยในขั้นต่อๆ ไป โดย สามารถติดตามบทความที่น้าเสนอรายงานการวิจัย นี้ได้ที่ Khlaisang, J. (2012). Analysis of the Cultural Factors Affecting the Proper Design of Website and Electronic Courseware for e-Learning in ASEAN. Proceeding of the 26th Annual Conference of Asian Association of Open Universities (AAOU2012). Chiba, Japan. October 16-18, 2012. (อยู่ในระหว่างรอเผยแพร่)

6) เอกสารอ้างอิง จิ น ตวี ร์ คล้ า ยสั ง ข์ . (2555). รายงานความก้ า วหน้ า โครงการวิ จั ย ระยะที่ 1 โครงการวิ จั ย การ วิเคราะห์องค์ประกอบด้านวัฒนธรรมที่ ส่งผลต่อ รูป แบบเว็ บ ไซต์แ ละบทเรี ย นอิ เล็ กทรอนิกส์ ที่ เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนทางไกลแบบ อีเลิร์นนิงในอาเซียน. ส้านักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (ด้าเนินการ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๕) รัตนา โตสกุล. (2549). ว่าด้วยวัฒนธรรม. ส้าหรับการ ฝึ ก อ บ ร ม ผู้ ท้ า ง า น ด้ า น วั ฒ น ธ ร ร ม ภ า ค ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือจากกระทรวง วัฒนธรรม ปี พ.ศ. 2549


สมชัย ใจดี และ ยรรยง ศรีวิริยาภรณ์ . (2545). ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย. เว็บไซต์ : เข้าถึงใน http://www. school.net.th/library/create-web/10000/ socio logy/10000-7380.html สุพัตรา สุภาพ. (2543). สังคมและวัฒ นธรรมไทย ค่านิย ม ครอบครั ว ศาสนา ประเพณี . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 11. กรุงเทพฯ : ส้านักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. ส้านักเลขาธิการอาเซียน. (2009). Culture and Information เว็ บ ไซต์ : เข้ า ถึ ง ใน http://www.aseansec.org/ 10373.htm ASEAN University Network. (2012). เว็บไซต์: เข้าถึงใน http://www.aun-sec.org Christopher Ziguras. 1998. Educational technology in transnational higher education in South East Asia: the cultural politics of flexible learning. http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/summary?doi =10.1.1.199.3796 Davey, A. K. (2012). The Meaning of Culture. Across Cultures. เว็บไซต์: เข้าถึงใน http://acrossculture s.info/ meaning-of-culture.html Friesner, T. and Hart, M. (2004). A Cultural Analysis of eLearning for China. Electronic Journal on eLearning. Volume 2 Issue 1 (February 2004) : 81-88 pp. He, B. (2010). Factors affecting normalization of call in senior high schools in the ethnic areas of the people’s republic of china. Master of Arts in English Language Studies. Suranaree University of Technology. Kluver, R. (2004). Political Culture and Information Technology in the 2001 Singapore General Election. Political Communication. Volume 21 Issue 4, 2004: pages 435-458. McLoughlin, C. (1999). Culturally responsive technology use: developing an on-line community of learners . British Journal of Educational Technology. Volume 30, Issue 3, July 1999: 231–243 pp. 138

Nada Korac-Kakabadse, Alexander Kouzmin. (1999). Designing for cultural diversity in an IT and globalizing milieu: Some real leadership dilemmas for the new millennium. Journal of Management Development. Vol. 18 Iss 3 : 291 319 pp. Nguyen, L.V. (2008). The Triangular Issues in Multimedia Language Courseware Design in the Vietnamese Efl Environment. Asian Social. Science. Vol 4 No 6 (June, 2008) : 65 – 68 pp. Ring, G. (1991). Student reactions to courseware: gender differences. British Journal of Educational Technology. Volume 22, Issue 3, September 1991: 210–215 pp. Shamaileh, O. A.; Sutcliffe, A.; and Angeli, A.D. (2011). The Effect of Religious Identity on User Judgment of Website Quality. HumanComputer Interaction – INTERACT 2011. Lecture Notes in Computer Science, 2011, Volume 6949/2011: 620-623 pp. Shawback, M. J., & Terhune, N. M. (2002). Online interactive courseware: using movies to promote cultural understanding in a CALL environment. Computer Science and Convergence. Volume 104, Issue 1, 2002: 85-95 pp. Specht, M. and Oppermann, R. (1998). Special Issue: Adaptivity and User Modelling in Hypermedia Systems; Hypermedia for Museums and Cultural Heritage . ACE - adaptive courseware environment. Vol. 4, Issue 1, 1998: 141-161 pp. Stern, S. R. 2004. Expressions of Identity Online: Prominent Features and Gender Differences in Adolescents' World Wide Web Home Pages. Journal of Broadcasting & Electronic Media. Volume 48, Issue 2, 2004: 218-243 pp. Stuart Y. (2001). Confident Men - Successful Women: Gender Differences in Online Learning.


General Election. Political Communication. Volume 17 Issue 3, 2001: pages 405-418. Thompson, E.C. and Thianthai, C. (2008). Attitudes and Awareness toward ASEAN: Summary of Findings from a Ten Nation Survey (Summary Report), Jakarta: The ASEAN Foundation. Wolf, A. (2000). Emotional Expression Online: Gender Differences in Emoticon Use. Cyber Psychology & Behavior. October 2000, 3(5): 827-833 pp. Ying, F. (2007). Remarks on How to Learn Chinese and English Cultures through Courseware Making. Sichuan University of Arts and Science Journal. Vol 06.

139


การพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน สาหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project ชนากานต์ ปิ่นวิเศษ1, อ.ดร. ปณิตา วรรณพิรุณ2, ผศ.ดร.ณมน จีรงั สุวรรณ3 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (chanakan@thaicyberu.go.th) 2,3

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2 3 (panita.w@hotmail.com) (namon9@hotmail.com)

บทคัดย่อ

ABSTRACT The purposes of the research study were to 1) develop Web-based Training on Social Network for learning and teaching of Thailand Cyber University Project, 2) compare training outcomes before and after introduction of Web-based Training, and 3) evaluate the satisfaction of the trainees with respect Web-based Training. The sample group in this research was 30 registered members of the Thailand Cyber University Project selected by purposive sampling Technique. In addition, the selected numbers were specified only ones who signed up for e-Training on Social Network for learning and teaching. The research tools used were 1) e-Training on Social Network for learning and teaching, 2) Web-based Training evaluation form in related to content and technique, 3) training test, and 4) trainee satisfaction evaluation form. Moreover, the statistical methods used in the research were arithmetic mean, Standard Deviation, and t-test (Dependent). The results of the research were summarized as: 1) the Web-based Training developed in the research composed of four lessons: 1.1) Facebook with learning and teaching, 1.2) Starting with Facebook, 1.3) Facebook Application for Knowledge Sharing, and 1.4) Communication channels and the useful tools, 2) qualitative of evaluation results of Web-based Training were defined as: the content quality was very satisfactory and the technical quality was very satisfactory, 3) after-training outcomes were above before-training ones in the significant level of .05, and 4) satisfaction level of trainees was at the “highest” level.

การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ 1) พั ฒ นาสื่ อ ฝึ ก อบรม ออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน สาหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย 2) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมระหว่างก่อนฝึกอบรมกับหลัง ฝึ กอบรม และ 3) ศึ กษาความพึ งพอใจของผู้ เข้ ารั บการฝึ ก อบรมที่ มี ต่ อ สื่ อ ฝึ กอบรมออนไลน์ กลุ่ ม ตั วอย่ า งที่ ใ ช้ ใ น การวิจัย คือ สมาชิกผู้ลงทะเบียนผ่านระบบในเว็บไซต์ของ โครงการมหาวิ ท ยาลั ย ไซเบอร์ ไ ทย จ านวน 30 คน โดย การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เฉพาะผู้ที่สมัครเข้าร่วม เป็ นผู้ เ ข้ ารั บ การฝึ กอบรมออนไลน์ เรื่ อง เครื อ ข่ ายสั ง คม ออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) สื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อ การเรียนการสอน 2) แบบประเมินคุณภาพของสื่อฝึกอบรม ออนไลน์ ด้ านเนื้ อหาและด้ านเทคนิ ค 3) แบบทดสอบวั ดผล สัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรม และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย เลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test แบบ Dependent ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ พบว่ า 1) สื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ เรื่ อ ง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน ได้พัฒนาขึ้น ประกอบด้วยบทเรีย น 4 บทเรียน คือ 1.1) Facebook กับ การเรียนการสอน 1.2) เริ่มต้นใช้งาน Facebook 1.3) การใช้ งาน Facebook สาหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 1.4) ช่องทาง ติ ด ต่ อ สื่ อ สารและการใช้ ง านเครื่ อ งมื อ ที่ น่ า สนใจ 2) ผล การประเมิน คุ ณภาพของสื่ อฝึ กอบรมออนไลน์ มี คุ ณภาพ

Keywords: Web-based Training, e-Training, Social Network, Thailand Cyber University Project

140


ด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก และมีคุณภาพด้านเทคนิค อยู่ในระดับดีมาก 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมหลัง ฝึกอบรมสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดั บ .05 และ 4) ความพึ ง พอใจของผู้ เ ข้ า รั บ การ ฝึกอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด

อย่างมาก และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ สอนได้ ดังนั้นหากบุคลากรทางการศึกษามีการนา Facebook มา ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน และนาทรัพยากรเครื่องมือ ต่าง ๆ ใน Facebook มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน นั บ ว่ า เป็ น การขยายวงกว้ า งทางการศึ ก ษาและช่ ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนอีกด้วย แผนแม่ บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554 – 2556 ได้กาหนด หนึ่งในพันธกิจ คือ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร บุคคล โดยเพิ่มสมรรถนะให้มีวัฒนธรรม การใช้ ICT อย่างมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม วิ จ ารณญาณ และรู้ เ ท่ า ทั น โดยมี ยุทธศาสตร์ที่หนึ่ ง คื อ สร้ างกาลังคนให้ มีศักยภาพในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารอย่ างสร้ างสรรค์ มี ธรรมาภิ บาล คุ ณธรรม จริ ยธรรม วิจารณญาณ และรู้เท่ าทั น รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย (ศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ส านั ก งาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2554) โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยได้ริเริ่มโครงการ TCU Academy เพื่อดาเนินการตามมาตรการหลักในแผนแม่บ ท เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ การศึ ก ษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554 - 2556 โดยได้จัดทาบทเรียน ที่ แ นะน าด้ า นการผลิ ต สื่ อ บทเรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และ สนับสนุน การจัด การเรีย นการสอนออนไลน์ ในส่วนของ โครงการได้มีการนา Facebook เข้ามาร่วมในการเชื่อมต่อถึง ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการจัดการเรียน การสอน ผู้วิจัยได้ เล็ งเห็นความสาคั ญของการนา Facebook เข้ ามาเป็ น ส่วนหนึ่งในการติดต่ อสื่อสาร และการประยุกต์ใช้กับการจัด การเรียนการสอน ซึ่งหากสามารถใช้งาน Facebook ได้อย่าง มีประสิทธิภาพในการจั ดการเรียนการสอนย่อ มทาให้เกิด ผลดีต่อการศึกษาสืบต่อไป ด้วยเหตุผลดังกล่าวทาให้ผู้วิจัย สนใจที่ จ ะศึ ก ษาและพั ฒ นาสื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ เรื่ อ ง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน เพื่อสนองต่อ หนึ่งในยุทธศาสตร์จากแผนแม่บทดังกล่าวข้างต้น โดยใช้ระบบ การจัดการเรียนการสอนของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย นาไปจั ด ฝึกอบรมออนไลน์ เพื่ อ ให้ เ กิด ความรู้ค วามเข้าใจ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

คาสาคัญ: สื่อฝึกอบรมออนไลน์, การฝึกอบรมบนเว็บ , เครือข่ายสังคมออนไลน์, โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

1) บทนา ปัจ จุบั น การศึกษาของประเทศไทยได้ มีการพั ฒ นาขึ้ น อย่างมาก โดยเฉพาะการนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามา ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการจัด การศึกษา โดยใช้เป็ น ตัวกลางในการนาส่งเนื้อหาในการเรียนการสอนทางไกล หรือระบบการเรียนการสอนผ่านสื่อบทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัด ตั้ง โครงการมหาวิท ยาลัย ไซเบอร์ไ ทย (Thailand Cyber University ProjectTCU) โดยมีห นึ ่ง ในยุ ท ธศาสตร์ ส าคั ญ คื อ การจั ด การศึกษาทางไกลผ่านระบบเครือ ข่ายสารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา โดยมีรายวิชาในหลักสูตรการเรียนตาม อั ธ ยาศั ย และหลั ก สู ต รฝึ ก อบรมออนไลน์ เ พื่ อ รั บ ประกาศนียบัตร เผยแพร่และให้บริการผ่านเว็บไซต์ของ โครงการที่ http://www.thaicyberu.go.th (โครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย, 2548) รูปแบบหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน ระบบเครื อ ข่ า ยสารสนเทศเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษา คื อ การจัดการฝึ กอบรมออนไลน์ e-Training ซึ่งทางโครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย มีจัดการฝึกอบรมในลักษณะนี้ ให้กับบุคลากรทางการศึกษา เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา และส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ นอกจากการจัดฝึกอบรมในลักษณะ e-Training เป็นที่ แพร่หลายแล้ว พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ยังเป็นที่นิยมในทุกเพศ ทุกวัย รวมทั้งกลุ่มบุคลากรทาง การศึกษา โดยมีการใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ มา ช่ ว ยในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารในชี วิ ต ประจ าวั น Facebook นับเป็นหนึ่งในเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยม 141


เรี ย นการสอน โดยลงทะเบี ย นในรายวิ ช า TCU-Facebook “Facebook สาหรับการเรียนการสอน” 4.2) ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรต้น คือ สื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคม ออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน ตัวแปรตาม คือ ผลการประเมินคุณภาพสื่อฝึกอบรมออนไลน์ ผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรม และความพึงพอใจของผู้เข้ารับ การฝึกอบรม 4.3) เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย สื่อ ฝึ กอบรมออนไลน์ เรื่ อ ง เครื อ ข่ ายสั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ การเรีย นการสอน รายวิ ชา “Facebook สาหรับ การเรี ย น การสอน” ประกอบด้วยบทเรียน 4 บทเรียน ดังนี้ บทที่ 1 Facebook กับการเรียนการสอน บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Facebook บทที่ 3 การใช้งาน Facebook สาหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทที่ 4 ช่องทางติดต่อสื่อสารและการใช้งานเครื่องมือที่น่าสนใจ

2) วัตถุประสงค์การวิจัย 2.1) เพื่อพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคม ออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน 2.2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมของ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ระหว่างก่อนฝึกอบรมกับหลังฝึก อบรมโดยใช้สื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคม ออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน 2.3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมทีม่ ี ต่อสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน

3) สมมติฐานการวิจัย 3.1) ผลการพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครื อข่าย สังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน ที่ผ่านการประเมิน คุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับดี 3.2) ผู้ เ ข้ ารั บ การฝึ ก อบรมด้ ว ยสื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน มี ผลสัมฤทธิ์ทางการฝึ กอบรมหลัง ฝึกอบรมสูงกว่าก่อ น ฝึกอบรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 3.3) ความพึ ง พอใจของผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมที่ มี ต่ อ สื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อ การเรียนการสอน มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

5) วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ซึ่งได้กาหนดแบบแผนการทดลองโดยใช้รูปแบบ One-Group Pretest-Posttest Design โดยมีวิธีดาเนินการวิจัย ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง Facebook สาหรับการเรียนการสอน 1) พั ฒนากรอบแนวคิด ในการวิ จัย โดยศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง Facebook สาหรับการเรียนการสอน รวมทั้งศึกษาเนื้อหาที่จะ ใช้ในการพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์

4) ขอบเขตการวิจัย

2) พั ฒนาสื่ อ ฝึกอบรมออนไลน์ เรื่ อ ง Facebook สาหรั บ การเรี ย นการสอน โดยมี ขั้ น ตอนการพั ฒ นาสื่ อ ฝึ ก อบรม ออนไลน์ตามรูปแบบการสอนของ ADDIE Model 5 ขั้นตอน ดังนี้

4.1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คื อ สมาชิ กผู้ ล งทะเบี ย นผ่ านระบบในหน้ า เว็บไซต์ของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ สมาชิกผู้ลงทะเบียนผ่านระบบในหน้า เว็บไซต์ของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย จานวน 30 คน โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เฉพาะผู้ ที่ ส มั ค รเข้ า ร่ ว มเป็ น ผู้ เ ข้ า รั บ การ ฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการ

2.1) ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) กาหนดหัวเรื่อง วิเคราะห์เนื้อหาและวัตถุประสงค์ พิจารณา เลือกหัวเรื่องที่จะนามาสร้างเป็นสื่อฝึกอบรมออนไลน์ โดย เลือก Facebook มาเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่จะนาเสนอ เนื้อหาแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จากนั้น สร้างแผนภูมิระดม 142


โดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบ One Group Pretest Posttest Design (Kirk, Roger E., 1968)

O1 X O2 สมอง (Brainstorm Chart) และสร้างแผนภูมิโครงข่าย เนื้อหา (Content Network) 2.2) ขัน้ การออกแบบ (Design) 2.2.1) ออกแบบผังการเข้าใช้งาน แสดงความสัมพันธ์ของ บทด าเนิ นเรื่ อง โดยเป็น การน าเสนอล าดับ การเข้า ฝึกอบรมออนไลน์ 2.2.2) ออกแบบบทดาเนินเรื่อง (Storyboard) ซึ่งมีรูปแบบ หน้าที่นาเสนอเนื้อหา การจัดวาง (Layout) การเชื่อมโยง (Link) เนื้ อหาในแต่ ละบท เครื่ อ งช่ ว ยน าทาง (Design navigator) และระบบการควบคุมบทเรียน (Design System Control) 2.3) ขัน้ การพัฒนา (Development) พัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ โดยกาหนดรูปแบบหน้าจอ สร้าง Template และ Mascot Animation ประกอบบทเรียน และจัดทาเนื้อหาตามบทดาเนินเรื่อง แล้วนาสื่อฝึกอบรม ออนไลน์ ขึ้ นระบบการจั ด การเรีย นการสอนออนไลน์ โครงการมหาวิ ทยาลั ยไซเบอร์ ไ ทย (TCU_LMS) โดย เพิ่มเป็นรายวิชาใหม่ และสร้างแบบทดสอบไว้ในระบบ ผ่านเว็บไซต์ของโครงการที่ http://www.thaicyberu.go.th 2.4) การตรวจสอบและนาไปใช้ (Implementation) นาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ ไปทดลองใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Testing) กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 3 คน ที่ ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง โดยเลือกผู้ที่มีระดับความรู้ 3 ระดับ คื อ เก่ ง ปานกลาง และอ่ อน ระดั บละ 1 คน เพื่ อส ารวจ ความเหมาะสมในการเข้าใช้งาน โดยสอบถามความคิดเห็น เกี่ ย วกั บ การใช้ ง านสื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ และน า ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข 2.5) การประเมิน (Evaluation) นาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ให้ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคจานวน 3 ท่าน ประเมิน คุณภาพสื่อฝึกอบรมออนไลน์

มีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้ 1) การเตรียมการก่อนการทดลอง ประชาสัมพันธ์เปิดรับสมัครผู้เข้ารับการฝึกอบรมออนไลน์ จากโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ภายใต้โครงการ TCU Academy และนาเสนอชี้แจงจุดประสงค์ของการเปิดรับ เข้า ฝึกอบรม และชี้แจงข้อจากัดในฐานะกลุ่มทดลอง 30 คน 2) ดาเนินการทดลอง กาหนดให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้ารับการอบรมออนไลน์ ผ่านสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่องFacebook สาหรับการเรียน การสอน เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ผ่านเว็บไซต์ของโครงการ ที่ http://www.thaicyberu.go.th โดยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการฝึก อบรมก่อนฝึกอบรม แล้วดาเนินการฝึกอบรม เมื่อจบการฝึก อบรมแล้ววัดผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมหลังการฝึกอบรม และการดาเนินการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึก อบรม 3) หลังดาเนินการทดลอง 3.1) เก็บรวบรวมข้อมูล ผลคะแนนแบบทดสอบก่อนและ หลั ง การฝึ ก อบรม แล้ ว น าผลคะแนนที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึก อบรม ก่ อ นฝึ ก อบรมกั บ หลั ง ฝึ ก อบรมด้ ว ยสื่ อ ฝึ ก อบรม ออนไลน์ โดยน าระดั บ ค่าคะแนนที่ ไ ด้ มาเปรี ย บเที ยบใช้ สูตร t-test แบบ Dependent เพื่อทาการทดสอบสมมติฐาน 3.2) เก็บรวบรวมข้อมูล ผลการประเมินความพึงพอใจของ ผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมที่ มี ต่ อ สื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ แล้ ว วิเคราะห์ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึก อบรม โดยนาระดับค่าคะแนนความคิดเห็น มาวิเคราะห์ผล หาค่ าทางสถิติ โดยใช้ ค่าเฉลี่ ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

6) สรุปการวิจัย

ระยะที่ 2 การศึกษาผลของการใช้สื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง Facebook สาหรับการเรียนการสอน

6.1) การพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคม ออนไลน์ เ พื่ อ การเรี ย นการสอน ผู้ วิจั ย ได้ ท าการวิ เคราะห์ ออกแบบและพัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 4 บทเรียน ซึ่งผู้เข้ารับ

การศึกษาผลของการใช้สื่อฝึกอบรมออนไลน์ โดยนา สื่อฝึกอบรมออนไลน์ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่กาหนด 143


การฝึ กอบรมสามารถเรี ยนรู้ เ นื้ อ หาได้ ด้ วยตนเองตาม ความต้องการได้ทุกที่ ทุกเวลา

จากตารางที่ 1 พบว่า ผลการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาของ สื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการ เรียนการสอน ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ตารางที่ 2 ผลการประเมิ น คุ ณภาพด้ านเทคนิ ค ของสื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ ระดับ เรื่องทีป่ ระเมิน ค่าเฉลี่ย S.D. คุณภาพ 1. เนื้อหาและการดาเนินเรื่อง 4.73 0.46 ดีมาก 2. ภาพ ภาษา เสียง และวีดิทัศน์ 4.93 0.26 ดีมาก 3. ตัวอักษร และสี 4.67 0.49 ดีมาก 4. การจัดการบทเรียน 4.61 0.50 ดีมาก รวม 4.73 0.45 ดีมาก จากตารางที่ 2 พบว่า ผลการประเมินคุณภาพด้านเทคนิคของ สื่อ ฝึ กอบรมออนไลน์ เรื่ อ ง เครื อ ข่ ายสั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ การเรียนการสอน ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก 6.3) ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝึก อบรมระหว่างก่อนฝึกอบรมกับหลังฝึกอบรมของผู้เข้ารับ การฝึกอบรมจานวน 30 คน โดยใช้สื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน แสดงใน ตารางที่ 3

รูปที่ 1 : ตัวอย่างหน้าจอบทเรียนสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมระหว่าง ก่อนฝึกอบรมกับหลังฝึกอบรม ผลสัมฤทธิ์ทาง คะแนน S.D. t-test Sig. การฝึกอบรม เต็ม ก่อนฝึกอบรม 30 16.30 4.31 14.44* .00* หลังฝึกอบรม 30 26.20 3.02 * p < .05 , df = 29

6.2) การประเมิ น คุ ณ ภาพของสื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน ผล การประเมิ น คุ ณ ภาพสื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ โ ด ย ผู้เ ชี่ย วชาญด้านเนื้ อหาจานวน 3 ท่าน และผู้ เชี่ ย วชาญ ด้านเทคนิคจานวน 3 ท่าน ดังแสดงในตารางที่ 1 และ 2 ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาของสื่อฝึก อบรมออนไลน์ เรื่องทีป่ ระเมิน 1. เนื้อหาและการดาเนินเรื่อง 2. ภาษา เสียง และภาพ รวม

6.4) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึก อบรม ที่มีต่อสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอน ดังแสดงในตารางที่ 4

ระดับ คุณภาพ 0.60 ดีมาก 0.50 ดีมาก 0.57 ดีมาก

ค่าเฉลี่ย S.D. 4.57 4.67 4.62

ตารางที่ 4 ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู้ เ ข้ า รั บ การฝึกอบรมที่มีต่อสื่อฝึกอบรมออนไลน์ รายการ ค่าเฉลี่ย S.D. ความหมาย 1. คาแนะนาการใช้งานบทเรียน 4.58 0.53 มากที่สุด 2. การนาเสนอเนือ้ หาบทเรียน 4.59 0.54 มากที่สุด 3. การออกแบบบทเรียน 4.64 0.57 มากที่สุด 144


4. ประโยชน์จากการฝึกอบรม 4.63 0.59 มากที่สุด ด้วยสือ่ ฝึกอบรมออนไลน์ รวม 4.62 0.56 มากที่สุด จากตารางที่ 4 พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจของ ผู้ เ ข้ ารั บการฝึ กอบรมที่ มี ต่ อ สื่ อฝึ กอบรมออนไลน์ ใน ภาพรวมผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมมี ค วามพึ ง พอใจอยู่ ใ น ระดับมากที่สุด

3 ท่าน ประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบระหว่างข้อ คาถามกับเนื้อหาโดยวัดจากวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อ คัด เลือ กเฉพาะข้ อสอบที่ มี ค่า IOC=1.00 โดยคั ด เลื อ กและ นาไปใช้ เป็ นแบบทดสอบวัด ผลสั มฤทธิ์ท างการฝึกอบรม ทั้ ง ห ม ด 3 0 ข้ อ จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย ส รุ ป ไ ด้ ว่ า สื่ อฝึ กอบรมออนไลน์ เรื่ อง เครื อข่ ายสั งคมออนไลน์ เ พื่ อ การเรียนการสอน มีคุณภาพเหมาะสมที่จะนาไปใช้ฝึกอบรม ได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ คณิต (2552) ที่ได้สร้าง และหาคุณภาพบทเรีย นออนไลน์ เรื่ อ ง เทคโนโลยี ระบบ เครือ ข่ายภายในองค์กร สาหรับ ผู้เ ข้ารับ การฝึ กอบรมของ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาค 11 สุราษฎร์ธานี โดยใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการฝึกหลักสูตรเตรียมเข้าทางาน สาขาคอมพิวเตอร์ รุ่นที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จานวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 7.3) ด้านผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึก อบรมที่ มี ต่ อ สื่ อ ฝึ ก อบรมออนไลน์ เรื่ อ ง เครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน มีผลการประเมินความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด กล่าวคือ ความพึงพอใจของผู้เข้ ารับ การฝึกอบรมจานวน 30 คนที่มีต่อ สื่อฝึกอบรมออนไลน์ที่ พัฒนาขึ้น มีผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ที่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ไพโรจน์ (2550) ที่ มี ก ารวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล หาค่ า ระดั บ ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีต่อบทเรียนชุดฝึก อบรมบนเว็บ (WBT) เรื่อง เทคโนโลยีการสร้างระบบเครือข่าย ภายในองค์ ก รส าหรั บ พนั ก งานธนาคาร สายปฏิ บั ติ ก าร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ระดับความพึงพอใจของ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ยที่ระดับ 4.04 ซึ่งอยู่ในระดับ ความพึงพอใจมาก ทั้งนี้อาจเนื่อ งจากการจัดการฝึกอบรม ออนไลน์ ส ามารถศึ ก ษาเนื้ อ หาได้ อ ย่ า งอิ ส ระ ท าให้ การฝึกอบรมเป็นไปตามมาตรฐาน เพราะผู้เข้ารับการฝึก อบรมจะได้รับการฝึก อบรมที่เหมือนกัน แตกต่างกันเพียง เวลาในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล สามารถฝึกทักษะใน ลักษณะที่สมจริงให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น สามารถสรุปได้ว่าสื่อฝึก อบรมออนไลน์ เรื่ อ ง เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ การเรี ย นการสอน มี คุ ณ ภาพสู ง กว่ า เกณฑ์ ก าหนดไว้ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการฝึ ก อบรมหลั ง ฝึ ก อบรมสู ง กว่ า ก่ อ น

7) อภิปรายผล ผลจากการพัฒนาสื่อฝึกอบรมออนไลน์ สามารถนามา อภิปรายผลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้ 7.1) ด้านการประเมินคุณภาพของสื่อฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน ผล จากการประเมินมีคุณภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ กล่าวคือ คุ ณภาพของสื่ อ ฝึ กอบรมออนไลน์ ทั้ ง ด้ านเนื้ อ หาและ ด้านเทคนิคอยู่ในระดับดีมาก เนื่องมาจากการออกแบบ และพัฒนาโดยนาขั้นตอน ADDIE Model ทั้ง 5 ขั้นตอน คื อ ขั้ น การวิ เ คราะห์ ขั้ น การออกแบบ ขั้ น การพั ฒ นา ขั้นการตรวจสอบและนาไปใช้ และขั้นการประเมิน ซึ่ง ในแต่ ล ะขั้ น ตอนนั้ น ผู้ วิ จั ย ได้ ว างแผนและด าเนิ น การ อย่างสมบูรณ์ จึ งได้ สื่อฝึ กอบรมออนไลน์ ที่ มีคุณภาพ และตรงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย ของ สุ จิ น ต์ (2552) ที่ ไ ด้ ส ร้ า งและหาคุ ณ ภาพสื่ อ ฝึ ก อบรมผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง การสร้างบทเรียน ออนไลน์ ด้วยโปรแกรม Moodle ซึ่งใช้การออกแบบสื่อ ตามขั้นตอน ADDIE Model โดยผลการวิจัยพบว่า สื่อฝึก อบรมที่สร้างขึ้นมีคุณภาพด้านเนื้อหาค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 อยู่ในระดับดี มีคุณภาพด้านสื่อเทคโนโลยีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.89 อยู่ ใ นระดั บ ดี ผู้ เ ข้ า รั บ การอบรมผ่ า นเครื อ ข่ า ย อินเทอร์เน็ต มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังฝึกอบรมสูง กว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 7.2) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึก อบรมหลั ง ฝึ ก อบรมสู ง กว่ า ก่ อ นฝึ ก อบรม อย่ า งมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ ตั้ ง ไว้ เนื่ อ งจากการสร้ างแบบทดสอบที่ สอดคล้ องกั บ เนื้ อหาและวั ตถุ ประสงค์ เ ชิ ง พฤติกรรม และมี การออก ข้อสอบทั้งหมด 40 ข้อ แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาทั้ง 145


ฝึกอบรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผู้เข้า รับ การฝึ ก อบรมมีค วามพึง พอใจอยู่ใ นระดับ มากที่ สุด สามารถนาไปใช้ในการฝึกอบรมได้ตามความเหมาะสม

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย าลั ย มห า วิ ท ยา ลั ยเ ท ค โ น โ ล ยี พระจอมเกล้าธนบุรี . Kirk, Roger E ( 1 9 6 8 ) . Experimental Design: Procedures for the Behavioral Sciences. Ohio : Wadsworth .

เอกสารอ้างอิง คณิต ทองวิลัย (2552). การสร้างบทเรียนออนไลน์ เรื่อง เทคโนโลยีระบบเครือข่ายภายในองค์กร สาหรับ ผู้ เ ข้ ารั บ การฝึ กอบรมของสถาบั น พั ฒนาฝี มื อ แรงงาน ภาค 11 สุ ร าษฎร์ ธ านี . วิ ท ยานิ พ นธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชา ครุศาสตร์เทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยีและ กา ร สื่ อ สา ร กา ร ศึ ก ษ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ยา ลั ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. โครงการมหาวิ ท ยาลั ย ไซเบอร์ ไ ทย (2548). ประวั ติ ความเป็นมาของ TCU. [ออนไลน์]. [สืบค้น วันที่ 20 ธ.ค. 2554]. จากhttp://lms.thaicyberu. go.th/OfficialTCU/main/main2.asp ไพโรจน์ เพชรแอง (2550). การสร้ า งและหา ประสิทธิภาพชุดฝึกอบรมบนเว็บ (WBT) เรื่อง เทคโนโลยี ก ารสร้ า งระบบเครื อ ข่ า ยภายใน องค์กรสาหรับพนักงานธนาคารสายปฏิบัติการ ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ. วิ ท ยานิ พ นธ์ ครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า ไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2554) . แผนแม่บท เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 . [ออนไลน์]. [สืบค้นวันที่ 12 ม.ค. 2555]. จาก http://www.bict.moe.go.th สุจินต์ ภิญญานิล (2552). การฝึกอบรมผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เรื่อง การสร้างบทเรียนออนไลน์ ด้ วยโปรแกรม Moodle สาหรั บ ครู โ รงเรี ย น คุระบุรีชัยพัฒนาพิทยาคม อาเภอคุระบุรี จังหวัด พั ง งา. วิ ท ยานิ พ นธ์ ค รุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรม มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าครุ ศ าสตร์ เ ทคโนโลยี ภาควิ ชาเทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารการศึ กษา 146


การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ The development of long distance supervision for undergraduate students in professional training experience ธีรวดี ถังคบุตร ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย theeravadee@gmail.com

This objective the study was to develop the distance supervision for undergraduate students in professional training experience. The study was divided into two stages: 1) Scope the professional experiences and long-distance communication. To analyze the content (content analysis) for concept and variables. 2) develop the long-distance supervision for professional training experience with the correlation coefficient matrix. The research findings were as follows: 1. The supervision of a professional training experience for students consists of four components: 1) LMS (Learning Management System) 2) forms of professional training, experience, 3) computer and electronic devices 4) electronic media. 2. The professional experiences of three phases: 1) the preparation of professional training experience2) the training of professional training experience and 3) the conclusion of professional training experience.

analysis) เพื่อให้ได้กรอบแนวคิดและตัวแปร 2. การพัฒนา รูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ด้วยวิเคราะห์เมทริกซ์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ ตัวแปร เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจัย คือ แบบสังเคราะห์เอกสาร เกี่ยวกับการนิเทศทางไกล และแบบสังเคราะห์เอกสาร เกี่ยวกับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิเคราะห์ข้อมูลโดย การสังเคราะห์เอกสาร (content analysis) ผลการวิจัยพบว่า การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเตรียมการก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2) ขั้นฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู และ 3) ขั้นสรุปการฝึกปฏิบัติการ สอน การนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) ระบบจัดการเรียนรู้ (Learning Management System) 2) รูปแบบการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ 3) โสตทัศนูปกรณ์ และ 4) สื่อ อิเล็กทรอนิกส์

Key words: ESupervision, professional training experience, LMS (Learning Management System), Computer and electronic devices , electronic media.

คาสาคัญ : การนิเทศทางไกล, การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ , ระบบจัดการเรียนรู,้ โสตทัศนูปกรณ์ , สื่ออิเล็กทรอนิกส์

บทคัดย่อ

1) บทนา

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศ ทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การ กาหนดขอบข่ายรูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและ การนิเทศทางไกล ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (content

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมถึงการพัฒนาของวิทยาการสมัยใหม่ เป็นปัจจัยอย่างหนึง่ ในการผลักดันประเทศให้เข้าสู่สังคมยุคใหม่ ซึ่งอาศัยการ ผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีต่างๆ กับการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและความรู้ได้อย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว อย่างไรก็

ABSTRACT

147


ดีประเทศไทยยังคงมีการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอยู่ในระดับไม่สูงมากนัก แม้ว่าองค์กรภาครัฐ จะได้มีการวางแผนเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร รวมถึงการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ และ การเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ แต่ก็ยังไม่มีผลสัมฤทธิ์ที่ เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมมากเท่าที่ควร จึงมีความจาเป็น ที่จะต้องทบทวนและปรับปรุงกลไกการบริหารงานของ ภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว มีความคิดริเริ่ม ความ ทันสมัยสอดคล้องกับสังคมยุคใหม่ เพื่อให้ระบบราชการ มีความเข้มแข็ง (แผนพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการไทย พ.ศ. 2551 - 2555) คุณภาพของสถาบันการศึกษาจึงกลายเป็น ประเด็นที่สาคัญมากของสถาบันการศึกษาทั่วโลก โฉม หน้าใหม่ของสถาบันการศึกษาในทุกระดับจะมีความเป็น อิสระในการบริหารงานมากขึ้น และสามารถตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นผู้มาใช้บริการได้ดี ยิ่งขึ้น สถาบันการศึกษาจาเป็นที่จะต้องสร้างองค์ความรู้ และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประเทศและสามารถแข่งขัน กับนานาประเทศทั้งในด้านการผลิตผู้เรียน การวิจัย และ การบริการทางวิชาการ ทั้งนี้ผลจากการประชุมรอบ อุรุกวัยได้นาไปสู่การที่องค์กรการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ประกาศให้อุตสาหกรรมการ บริการ (Service Industry) ต้องเปิดเสรีในปี พ.ศ. 2545 ประเทศไทยซึ่งเป็นสมาชิกองค์กรการค้าโลกจึง จาเป็นต้องเปิดเสรีอุตสาหกรรมการบริการตามประกาศ ดังกล่าว ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยจะต้องเปิดเสรี ทางการศึกษา เพราะการศึกษาเป็นอุตสาหกรรมการ บริการชนิดหนึง่ จึงคาดหมายกันว่าการแข่งขันทัง้ จาก ภายในและภายนอกประเทศจะเป็นไปอย่างกว้างขวาง และเข้มข้นมากยิ่งขึน้ การพัฒนาคุณภาพของ สถาบันการศึกษาจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง (Cheng, 1997; Waldo, 2002 และ Buytendijk, 2006) ดังนั้นประเด็น สาคัญที่จะต้องนามาพิจารณาคือ การปรับปรุงการ ให้บริการทางวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร การให้บริการทางวิชาการหรืองานวิชาการเป็น หัวใจสาคัญของสถาบันการศึกษา เพราะหน้าทีข่ อง สถาบัน คือ การให้ความรู้ทางวิชาการแก่ผู้เรียน

จุดมุ่งหมายของงานวิชาการอยู่ที่การสร้างผู้เรียนให้มคี ุณภาพ มีความรู้ มีจริยธรรม และคุณสมบัติที่ต้องการ ขอบข่ายงาน วิชาการของสถาบันการศึกษา นักวิชาการและหน่วยงานส่วน ใหญ่ ได้จาแนกงานวิชาการสอดคล้องกันเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) งานด้านหลักสูตร 2) การจัดการเรียนการสอน 3) การจัด สื่อ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน 4) การ นิเทศการศึกษา และ 5) การวัดและประเมินผลการเรียนการ สอน (Lovell, 1995 และ Cheng, 2003) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้เป็น ปัจจัยผลักดันที่สาคัญทาให้โลกอยู่ในภาวะไร้พรมแดน ตลาดของโลกกว้างขึ้น มีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต และ การลงทุนข้ามชาติทั่วโลก ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ หลากหลายที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ อินเทอร์เน็ต อีเมล์ ทาให้สารสนเทศเผยแพร่หรือ กระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก สิ่งเหล่านี้เป็นบริการ สาคัญของการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทาให้มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากยิ่งขึ้น (Turban, 1999) การให้บริการทางวิชาการที่มีคุณภาพและได้ มาตรฐาน เป็นภารกิจที่สาคัญยิง่ สาหรับการพัฒนาประเทศ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ดังนั้นการนิเทศทางไกลซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของงานวิชาการ และด้วยการผนวกเทคโนโลยี สารสนเทศและการศึกษา จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาและ เพิ่มขีดความสามารถที่จะนาพาสถาบันการศึกษาก้าวไปสู่ ความเป็นเลิศ ที่สามารถเข่งขันอยู่ได้ในทุกสภาวะการณ์ และ การตอบรับของประเทศสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

2) วัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศ ทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3) วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การกาหนดขอบข่ายรูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และการนิเทศทางไกล ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) เพื่อให้ได้กรอบแนวคิดและตัวแปร 2. การพัฒนา รูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์

148


วิชาชีพ ด้วยวิเคราะห์เมทริกซ์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของตัวแปร กลุ่มตัวอย่าง สาหรับการวิจัยครัง้ นี้คือ บุคลากรทางการ ศึกษา โดยกาหนดเกณฑ์ขนาดกลุ่มตัวอย่าง คือ การใช้ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 10 – 20 ตัวอย่าง ต่อ 1 ตัวแปร ซึ่ง จานวนตัวแปรหรือพารามิเตอร์ทตี่ ้องการประมาณค่า ทั้งหมด 12 ตัวแปร ดังนัน้ ในงานวิจัยนี้ได้กาหนดกลุ่ม ตัวอย่าง จานวน 200 คน 4) ผลการวิจัย 1. การกาหนดขอบข่ายรูปแบบการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพและการนิเทศทางไกล ด้วยการใช้วิธีการวิเคราะห์ เนื้อหา (content analysis) สาหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (ดังปรากฏใน ตารางที่ 1) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 จาแนกประเภท ข้อมูล (typological analysis) เป็นสังเคราะห์รูปแบบและ กรอบแนวคิดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการนิเทศ ทางไกล จากเอกสาร งานวิจัย และบทความต่างๆ ซึ่งมี หลากหลายมิติแล้วจาแนกเป็นองค์ประกอบทีเ่ กี่ยวข้อง แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเตรียมการก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ 2) ขั้นฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และ 3) ขั้นสรุปการฝึกปฏิบัติการสอน 1.2 จาแนกข้อมูล ในระดับจุลภาค (domain analysis) เป็นการจาแนกข้อมูล ในระดับคาและประโยคที่มคี วามสัมพันธ์กับประเภท ของข้อมูลในข้อ 1.1 ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) ระบบจัดการเรียนรู้ (Learning Management System) 2) รูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 3) โสตทัศนูปกรณ์ และ 4) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2. การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ ด้วยวิเคราะห์เมทริกซ์สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของตัวแปรสังเกตได้ สัญลักษณ์แทนชื่อตัว แปรสังเกตได้ ประกอบด้วย PLMS หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นเตรียมการ ก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านระบบจัดการเรียนรู้ PPTX หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นเตรียมการ ก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านรูปแบบการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ PCED หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นเตรียมการ ก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านโสตทัศนูปกรณ์

PEME หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นเตรียมการก่อน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านสื่อคอมพิวเตอร์ TLMS หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูด้านระบบจัดการเรียนรู้ TPTX หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูด้านรูปแบบการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ TCED หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูด้านโสตทัศนูปกรณ์ TEME หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูด้านสื่อคอมพิวเตอร์ CLMS หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นสรุปการฝึก ปฏิบตั ิการสอนด้านระบบจัดการเรียนรู้ CPTX หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นสรุปการฝึก ปฏิบตั ิการสอนด้านรูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ CCED หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นสรุปการฝึก ปฏิบตั ิการสอนด้านโสตทัศนูปกรณ์ CEME หมายถึง ตัวแปรสังเกตได้ขั้นสรุปการฝึก ปฏิบตั ิการสอนด้านสื่อคอมพิวเตอร์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของตัวแปรสังเกตได้ที่ใช้ใน การวิจัยทั้ง 12 ตัวแปร ได้ใช้สถิติเบื้องต้นดังนี้ ค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเมทริกซ์ สหสัมพันธ์ ดังปรากฏรายละเอียดในตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์เมทริกซ์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปร สังเกตได้ทั้ง 12 ตัว พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัว แปรสังเกตได้ในโมเดล มีความแตกต่างจากศูนย์อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกคู่ ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ต่าที่สุดมีค่าเท่ากับ .206 เป็นความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ขนั้ เตรียมการก่อนฝึกประสบการณ์ วิชาชีพด้านโสตทัศนูปกรณ์ (PCED) กับตัวแปรสังเกตได้ขนั้ สรุปการฝึกปฏิบตั ิการสอนด้านสื่อคอมพิวเตอร์ (CEME) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สูงสุดมีค่าเท่ากับ .739 เป็น ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ขั้นฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครูด้านสื่อคอมพิวเตอร์ (TEME) กับตัวแปรสังเกตได้ ขั้นสรุปการฝึกปฏิบตั ิการสอนด้านรูปแบบการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ (CPTX) 149


ตารางที่ 1 การจาแนกข้อมูล กลุ่มคา 1) ขั้นเตรียมการก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ความสัมพันธ์ 1) ระบบจัดการเรียนรู้ (Learning Management System) 2) รูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 3) โสตทัศนูปกรณ์ 4) สื่อคอมพิวเตอร์ 1) ระบบจัดการเรียนรู้ (Learning Management System) 2) รูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 3) โสตทัศนูปกรณ์ 4) สื่อคอมพิวเตอร์ 1) ระบบจัดการเรียนรู้ (Learning Management System) 2) รูปแบบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 3) โสตทัศนูปกรณ์ 4) สื่อคอมพิวเตอร์

2) ขั้นฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

3) ขั้นสรุปการฝึกปฏิบัติการสอน

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ของตัวแปรสังเกตได้ (n = 200) ตัวแปร PLM PPT PCE PEM TLM TPT TCE TEM CLM CPT CCE PLMS PPTX PCED PEME TLMS TPTX TCED TEME CLMS CPTX CCED CEM E Mean S.D.

S 1.00 .768** .390** .393** .305** .498** .641** .465** .399** .462** .453** .303**

X

D

E

S

X

D

E

S

X

D

CEM E

1.00 .305** .453** .463** .552** .652** .503** .406** .512** .528** .417**

1.00 .285** .474** .229** .279** .325** .286** .290** .287** .206**

1.00 .636** .564** .567** .588** .486** .598** .556** .591**

1.00 .569** .569** .488** .434** .474** .558** .602**

1.00 .639** .534** .507** .557** .630** .519**

1.00 .596** .501** .641** .687** .595**

1.00 .729** .739** .622** .620**

1.00 .626** .510** .527**

1.00 .717** .650**

1.00 .631**

1.00

3.69 .880

3.81 .845

3.63 .873

3.89 .893

4.02 .844

3.74 .952

3.88 .809

3.82 .739

3.64 .814

3.78 .813

3.95 .758

3.96 .762

หมายเหตุ: ** p < .01 เรียนรู้ (Learning Management System) 2) รูปแบบการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ 3) โสตทัศนูปกรณ์ และ 4) สื่อคอมพิวเตอร์ (ดังปรากฏในภาพที่ 1)

4) สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเมทริกซ์สหสัมพันธ์ พบว่า รูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ประกอบด้วย ขั้นตอนการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเตรียมการก่อนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ 2) ขั้นฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และ 3) ขั้นสรุปการฝึกปฏิบัติการสอน และองค์ประกอบ การนิเทศทางไกล 4 องค์ประกอบ คือ 1) ระบบจัดการ

5) ข้อเสนอแนะ การวิจัยในครั้งนี้เป็นการนาเสนอผลการวิจัยเพื่อแสดงให้ เห็นถึงเมทริกซ์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปรสังเกตได้ ทั้ง 12 ตัว เป็นการกล่าวถึงรูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับ นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพประกอบไปด้วยขัน้ ตอนการฝึก 150


ประสบการณ์วิชาชีพ 3 ขั้นตอน และองค์ประกอบการ นิเทศทางไกล 4 องค์ประกอบ ซึ่งในการวิจัยลาดับต่อไป จะเป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) เพื่อ ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลการวัดกับ

ข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อให้สามารถได้ค่าของน้าหนัก องค์ประกอบและสมการการวัดรูปแบบการนิเทศทางไกล สาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ PlMS

PPTX Preparedness PCED

PEME

TlMS

TPTX ESupervision Model

Training TCED

TEME

ClMS

CPTX Coaching CCED

CEME

ภาพที่ 1 รูปแบบการนิเทศทางไกลสาหรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

6) เอกสารอ้างอิง

2001. New Jersey : Pearson Education, 1999. Waldo, S. Efficiency in public education. Research Report. Lund: Lund University, 2002.

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, สานัก. แผนพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555). Buytendijk, F. The Five Keys to Building a HighPerformance Organization (Gartner Group). Business Performance Management Magazine 52 (February 2006): 80 - 92. Cheng, Y. C. & Tam, W. M. Multi-models of quality in education. [Online]. 1997. Cheng, Y.C. Quality assurance in education: internal, interface, and future. Quality Assurance in Education 11, 4 (2003): 202 213. Lovell, C. A. K., Walters, L. C., and Wood, L. L. Stratifield models of education production using modified DEA and regression analysis. Boston: Kluwer Academic Publishers, 1995. Turban, Efraim, King, David, Lee, Jae, Warkentin, Merrill and Michael Chung, H. Electronic Commerce : A Managerial Perspective 151


Application of a Collaborative Blogging in EFL Classroom: Improving Attitude, Quality and Quantity in Writing Dararat-Khampusaen1 1

Language Department Faculty of Humanities and Social Sciences Khon Kaen University (darkha@kku.ac.th)

ABSTRACT This paper reports on a segment of e-Learning activities, the implementation of collaborative blogging to improve university students’ essay writing skills. A collaborative blogging refers to a group blogging which is a type of weblog in which posts are written and published by more than one author. The paper endorses this multi-author blogging activity as a powerful and efficient tool in EFL classroom due to its characteristics which enable peer-feedback, collaboration and more interaction among learners. The paper discusses how the use of collaborative blogging in EFL classroom led to a great deal of improvement in three main areas: attitude in writing, quality of writing and quantity of word in students’ writing products. Collaborative blogging accompanied with class-based activities, could, therefore, be a powerful way that engaged in online exchanges, thereby expanding language study and learning community beyond the classroom. Collaborative blogging improved students’ writing and supported development of related skills and knowledge. Students’ writing skills were improved as a result of feedbacks gained from peers and the instructor. The paper also focuses its discussion on characteristics, modes, and applications of the tool in facilitating communication and collaboration among learners, and between learners and the teacher. This is followed by the evidence why use of collaborative blogging was highlighted as a tool or medium to emphasis on process or interaction between human rather than between human and technology.

Keywords blog, blogging, collaboration, collaborative blogging, EFL classroom, e-Learning, writing 1) INTRODUCTION English is a global language. However, in many Asian countries, English is regarded as a Foreign Language (EFL) because it is the study of English by nonnative speakers living in a non-English speaking environment (Cambridge Advanced Learner’s Dictionary, 2008). This paper looks into the teaching of writing skill in EFL classroom in a Thai university. The main area of interest is how blogging was used and the outcomes of this tool in improving writing skills of students at tertiary level. The researcher incorporated blogging project into classes to study how it could

improve

EFL students’ language

learning and change the face of EFL instruction. A blog is a frequently updated online journal that records entries in reverse chronological order (Wu, 2005). EFL writing classrooms have harnessed blogging (e.g., Bloch, 2007; Campbell, 2003; Sun, 2009) for several reasons. For example, Sollars (2007) claims that blogging in EFL classroom facilitates the development of a second language writing community. For Bloch, (2007) and Rezaee & Oladi, (2008), blogging develops a sense of voice. Blogging can also

152


fosters critical and synthesizing skills (Lee,

of writing in Thailand. In a typical EFL

2010; Noytim, 2010). Blog can record

writing

learners’ learning posts (Noytim, 2010) that

grammar along with sentence structure while

can be used as a portfolio to track learning

the students are quiet learners. Teaching

progress (Huang & Hung, 2009). This paper

writing

discusses how the tool and the activities of

grammar. However this effort and practice

collaborative blogging can benefit EFL

does not guarantee quality of the product.

learners and also highlights the use of a

Learning grammar, practicing how to make

peer-feedback activity as a main part of

sentences, gaining experience with paragraph

success in EFL writing.

writing, leads to some writing skills but the

classroom,

is

the

teacher

equivalent

to

teaches

teaching

final product is a poor writing piece. The 2)

EFL

WRITING

CLASSROOM:

teacher needs to spend a lot of time marking

PROCESS AND PRODUCT

essays full of sentence errors, poor basic structure, run-on and fragmented sentences.

In traditional/typical EFLwriting classrooms,

Most often, the teacher’s feedbacks have been

the process of writing is usually done in

kept as reference, not for re-studying. As a

classroom. Generally, writing class starts with

result, students may make the same kinds of

pre-writing, drafting, revising, proofreading

error in their following essays.

and publishing (Flower & Hayes 1986) However, the published writing pieces are just the start of another process.

Outside the

3) THE COLLABORATIVE BLOGGING PROJECT

classroom, the writing involves the lodgment, marking and return of student assessment

The study took place in Khon Kaen

which have been done manually. It requires a

University, Thailand, during October to

great deal of effort from the instructor to

December 2011 with 26 participants who

manage the classroom and the papers.

were

Moreover, the teacher needs to watch out the

together wrote about 360 drafts and 250

turnaround time. The worst problem is

pieces of feedbacks during this project.

accountability and assignment tracking and

The research Question of the study was; what

security. It is worthwhile to also mention that

happens to university students’ attitudes

this way of writing class management

towards writing, quality of a final writing

requires a lot of paper for drafting, the writing

product, and motivation to write when they

and the feedback.

participate with peers and teacher in a

Like several countries in Asia, grammar has

collaborative blogging project related to the

been an important component in the teaching

essay writing? 153

tertiary students.

The

participants


The research instruments consisted of   

final draft. Before the deadline approached,

a survey on “What do you feel to

some students had produced 4-5 drafts.

blogging in the writing class?

Data

a pretest/posttest on language usage

categories

and essay organization

instrument employed.

analysis

revealed

according

to

three

distinct

the

research

an essay writing rubric The first of which was related to attitudes and

The research procedures was shaped by the

motivation in essay blogging writing. The

primary learning objective of the project

second is the improvement of the quality of

which was

paragraph writing. The last is on the length of

to help the students to write

essays (free essay, one paragraph essay,

the writing.

three-paragraph essay, and five paragraph

2.1) Questionnaire

essay)

on

given

topics.

This

was The survey was administered at the end of the

accomplished through the following process

semester. Students were asked to respond to

for each essay topic. Students were first

12 simple statements about writing with a

divided to groups of three. Each group set up

“yes”, “somewhat yes” or “no” answer.

a blog and later discussed the (assigned) topic

Figure 1 shows all of the questions that were

with peers in group. Then the teachers

converted to be affirmative. The result

provided instruction on faulty sentences,

showed that collaborative blogging activity

element of writing, essay structure and etc.

improved students’ attitudes, interest, and

Next each group developed the outline of the

motivation towards writing. They had a very

essay together. They could bring their outline

positive feeling towards the feedback from

to discuss with the teacher during this step. In

their peers and teacher. The feedback received

some classes, the teacher asked each group to

was used by almost all students in this study.

present their outline to classmates to gain

Students reported favorable improvements. It

more feedback. Each student wrote the first

was also found that feedback generated from

draft on his/her blog page. This means all

the

members of each group would share the same

in writing class made them more organized,

pages of each member and provided feedback

reliable, punctual and responsible. The result

according to the writing rubric given and

from questionnaire indicates that participants

trained how to use by the teacher. Later, the was

revised.

Students

experience

students accepted that collaborative blogging

same group and the teacher visited the writing

draft

blogging

increased students’ motivation to write. Many

essay outline. The other two students in the

first

collaborative

agreed with positive statement related to

were

electronic feedback. It could be said that the

encouraged to post the second draft and the

participants 154

agreed

that

collaborative


blogging project improves their writing skills.

2.1.2. Organization

In

Organization is how thoughts and ideas are put

summary,

the

finding

gained

from

questionnaire points that participants agreed

in their place.

that collaborative blogging benefited their

2.1.3. Idea/ focus

writing courses; motivated them to learn more,

Ideas and content covers presentation of clarity

improves other skill, and should be included

and details in writing on how details are

in other courses. Therefore, it could be

presented in an interesting and fresh manner.

summarized that participants have positive

2.1.4. Sentence structure

attitudes

Sentence structure is the fluency and variety in

toward

the

application

of

collaborative blogging.

use of sentences. 2.1.5. Word choice

2.2) The Pre-Post test

Word choice is how well words are chosen to

Before and after the experiment, participants

make the writing communicate smoothly and

were assigned to take pre and post-test in

appropriately.

order to evaluate their improvement. To

Table 2: Result of the pre and post test

assess participants’ writing abilities in depth, issues related to crucial problems in Thai students writing abilities were used to design rubric

checklist.

Therefore,

all

writing

assignments given to the participants were accessed by focusing on the following. Table 1: Result of the questionnaire Result of the pre and post test The tested issues are the serious problems existing in Thai EFL classrooms. The score of pre and post-test and writing assignments showed some significant finding. Table 1 is result of the questionnaire. 2.1.1. Convention Convention refers to the editing and revising component of writing

The studies pointed out that the effectiveness of feedback in writing is the way it let

(e. g., spelling,

students to see their mistakes and guide them

capitalization, paragraphing, punctuation and

how to solve the existing errors. This might

grammar).

help them to improve their writing abilities in terms of both grammatical structure and 155


composition

content.

The

Figure 2 An example of a student’s post-test

technological

support might contribute to effective EFL

writing

classrooms that teachers and students interact with each other more comfortable and teaching techniques such as feedback giving are supported. Therefore, this could explain the reason why peer feedback is effective in improving students’ writing abilities. 2.3) The writing rubric Students’ essays were assessed by the writing rubric focusing on language usage as well as essay organization. Here are two drafts of an essay from the same student. Figure 1 An example of a student’s pre-test writing

Figure 1 and 2 illustrate a student’s mistakes existing in the pre- and post test.

Types of

errors found were E1-E7. •

E1 (Tenses)

E2 (Subject verb agreements)

E3 (Articles)

E4 (Punctuations)

E5 (Organization)

E6 (Word choices)

E7 (Task knowledge)

Students’ pre/post paragraph writing was evaluated by using the rubric. Four rubrics were used by the instructor, the teacher assistant, and two students. All four rubrics were compared to find the average score in each

evaluated

topics

(convention,

organization, sentence structure, idea/focus 156


and word choice). The following table

method supporting feedback giving in Thai

presents

EFL

the

results

of

paragraph

writing.

Furthermore,

collaborative

improvement.

blogging might be a good alternative in

2.3.1. Length of the texts

solving such problems such as students’ copy habit, time limitations, space for feedback,

Text length is one of the evidence showing

and clearness of feedback. However, the issue

EFL learner writing ability. Even though this

of word choice is not solved as being

study did not set an attempt to explore the

expected. It could explain that electronic

influence of linguistic knowledge related to

feedback is not capable in improving the

word count, number of the sentences written,

skills that take time to learn such as

and words per sentence, it appeared that

vocabulary richness. Therefore, the method is

linguistic knowledge and writing competence

recommended to use with the issues that

influence text quantity and the number of

related to strict rules for example grammar

sentences written. The average word count for

and organization.

all essays is 356 words. The pre test and the

2.3.2. Errors frequently found in participants’

post test essays of most students (85%) were

writing compositions

different; the latter pieces were written with the average of 409 words which is about 15%

There

higher than what appeared in their pre test.

frequently occurred in participants’ writing

The result is in the same vein with Wu (1993)

compositions. The results of the study review

who compares a correlation of the two

mistakes

languages: Chinese and English. He states that

experiment orderly. It shows that the most

there is a positive correlation between students’

are

outstanding

that

types

frequency

of

occur

in

error

the

serious problem was word choices ( X =

attitude to writing in Chinese and the text

8.86) while the second and the third are

quantity and number of t-units in their Chinese essays. On the other hand, there is a negative

subject verb agreements ( X = 8.91) and

correlation between these students’ English

tenses ( X = 9.00). Less serious errors are

writing hesitation level and the text quantity,

punctuations ( X = 9.91), articles ( X =

number of t-units and average t-unit length in their English essays.

10.55),

In summary, the collaborative blogging

knowledge seem to be issues in which that

played an important role in students’ writing

participants did well. It could be stated that

ability improvement. At the very least, it is

problems

helpful in supporting EFL writing classroom.

composition content still exist in Thai EFL

Therefore, what could be noticed from the

writing

current study is that technology seems to be a

discusses the mentioned issues in detail. 157

while

in

organization

grammatical

classroom.

The

and

structure

following

task

and

part


The result of the study shows that although

participants with poor word choices use

grammatical structure is the focused issue in

unclear vocabularies that affect their sentence

Thai

2005),

meaning and composition content. It could be

grammatical errors still occur in students’

seen in the score of pre and post test in each

writing performances. For example, in the

criterion that the issue of word choices was

current study, the analysis of participants’

the criteria that participants gained less

performances demonstrates problems in the

improvement scores ( X = 2.14 in pre-test

EFL

classroom

(Foley,

focused issues including tenses, subject verb and X = 2.68 in post-test). The problem

agreements, articles and punctuations. The problems negatively affect their writing

of word choices was a result of a lack in

accuracy and made their sentences unclear.

lexical richness. In order to gain lexical

The

that

richness, students have to gain experience,

auxiliaries, tenses, and articles, punctuations,

and that consumes time. Students in the study

and structure rules do not exist in Thai

were not able to choose the words that best

language.

cause

express the meaning of sentences purposively.

difficulties when students are asked to write

Moreover, the issues of organization and task

in

negative

knowledge could not be avoided even though

transference might be used to explain the

the participants gain more point from this

finding of this study. When students translate

aspect than others. The score on pre-test and

their mother tongues into English literally,

the first assignment show that participants

grammatical errors exist in the written

have problems both in organization and task

sentences.

other

knowledge. They were not capable to

grammatical errors beside the focused issues

organize composition organization well, and

such as the errors in using modal verbs,

some participants could not answer the tasks.

passive

and

EFL learners in Asia including in Thailand

sentence structure. Therefore, the errors in

have problems in the use of writing strategies.

grammar shown in participants’ writing

The

performances in this study might be explained

searching

by the differences in language structure, and

re-writing. The problems negatively affect

negative transference. In addition, errors

their composition content.

affecting participants’ composition content is

In summary, although being reduced by peer

discussed in the next part.

feedback, both grammar and content errors

finding

can

be

Therefore,

English.

it

might

Moreover,

Moreover,

active

explained

voices,

there

are

connecters,

students

write

information,

without

planning,

drafting,

are still found in the current study.

and

The

The obvious problem related to composition

current study could be reviewed as an aspect

content in this study is word choices. The

of difficulties in which Thai university 158


students are facing. In addition, the serious

both manually and electronically takes time.

errors found in the current study are related to

Students’ motivation may drop if the feedback

sentences structure. A number of students’

was delayed. Without feedback from peers

sentences are written with errors such as

and teacher, students had nothing to help

fragments, run-ons, comma spices, chubby

improve his/her writing. In addition, clear

sentences, and other kinds of errors in

rubric for peer feedback as well as feedback

sentence structure. However, it might be the

giving training must be provided. Students

result of the writing errors investigated in this

need to be trained how and what to and not to

study.

of

do as a feedback giver. In addition, students’

punctuations might cause errors for example

use of rubric to assess peers’ writing pointed

the misuse of comma in compound sentences

out that students should be taught what makes

might cause run-on sentences. Therefore,

good writing work and how to accurately

what is recommended for further study is that

assess it. They should understand both how to

to make an investigation on the errors of

make a purposeful revision and editing

sentence structure.

strategies to improve their peers’ and their

For

example,

the

misuse

own work. At the same time, it is necessary 3) DISCUSSION

for the instructor to support learners to have

Blogging among student enrolling in the

the knowledge, reasoning, and skills needed

writing class was found a productive and

to help them improve their own writing.

successful project. Attitudes towards writing

Last but not least, the collaborative blogging

improved. Students were highly motivated by

in the writing class project was a proof that

both the collaborative writing activities in

technology can be effective in a classroom

class as well as the online.

Participants

when used with a creative and sensible

showed strong commitment to the activities

integration. Blogging in this sense is a

throughout the project, which was not easy to

constructivist tool for learning. This cannot be

happen in traditional witting class. Besides,

successful,

writing quality was also improved in many

students to self-reflection by keeping track of

aspects. Collaborative blogging had an impact

their learning and sharing. Blogging thus is a

on students’ writing and development of

potential tool in writing class.

general learning goals.

without

engaging

The instructor could 4) REFERENCES

see that students were more engaged in writing activities.

however

For teacher developing Baim, S. (2004). Blogs help create learning community. Online Classroom, 2(8), 5 Beeson, P. (2005). Bringing blogs into the classroom. Quill, 93(6), 27-29.

future blogging projects; however, should consider issues related to time constraints. Assessment and giving feedback to an essay, 159


Retrieved August 2, 2012 from Academic Search Premier database. Bloch, J. (2007). Abdullah’s Blogging: A generation 1.5 student enters the blogosphere. Language Learning & Technology,11(2), 28–141. Cambridge advanced learner’s dictionary (3rd ed). (2008). New York, New York: Cambridge University Press Campbell, A. P. (2003). Weblogs for use with ESL classes. The Internet TESL Journal, 9(2). Retrieved August 2, 2012 from http://iteslj.org/Techniques/CampbellWeblogs.html. Ducate, L. C., & Lomicka, L. L. (2005, Fall), Exploring the blogosphere: Use of web logs in the foreign language classroom. Foreign Language Annals, 38(3), 410-421 Flatley, M. (2005). Blogging for enhanced teaching and learning. Business Communication Quarterly, 68(1), 77-80. Flower. L. & Hayes, J. R. (1997). A cognitive process theory of writing. In J. Victor Villanueva (Ed.), Cross-talk in composition theory (pp. 251-275). Urbana, Illinois: NCTE. Foley, J. A. (2005). English in Thailand. Regional Language Centre Journal, 36(2), 223-234. Gay, L.R., Mills, G.E., & Airasian, P. (2006). Educational research: Competencies for analysis and applications. (8th ed). New Jersey: Pearson Prentice. Goodwin-Jones, R. (2006), Tag Clouds in the Blogosphere: Electronic Literacy and Social Networking. Language Learning & Technology. May.10 (2): 8-15. Huang,

Procedia Social & Behavioral Sciences, 2(1),127-1,132. Rezaee, A. A., & Oladi, S. (2008). The effect of blogging on language learners' improvement in social interactions and writing proficiency. Iranian Journal of Language Studies, 2(1), 73-88. Richardson, W. (2006) Blogs s, Wikis, Podcasts, and Other Powerful Web Tools for Classrooms. Thousand Oaks, CA: Corwin Press. Sollars, V. (2007). Writing experiences in a second/foreign language classroom: From theory to practice. In M. Camilleri, P. Ford, H. Leja & V. Sollars (Eds.), Blogs: Web journal in language education (pp. 15– 24). Council of Europe, Strasbourg. Wu, W. S. (2005). Using blogs in an EFL writing class. Proceedings of 2005 International Conference and Workshop on TEFL & Applied Linguistics, Taiwan, 426-432. Retrieved August 2, 2012 from http://www.chu.edu.tw/~wswu/public ations/papers/ conferences/05.pdf

H. T., & Hung, S. T. (2009). Implementing electronic speaking portfolios: Perceptions of EFL students. British Journal of Educational Technology. 41(5), 84–88.

Lee, L. (2010). Fostering reflective writing and interactive exchange through blogging in an advanced language course. ReCALL, 22(2), 212–22. Noytim, U. (2010). Weblogs enhancing EFL students' English language learning. 160


รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศ ศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ1, ดร.วีระ สุภะ2 1

ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (panitaw@kmutnb.ac.th) 2

สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (wera.su@northbkk.ac.th)

ABSTRACT

through social media, communications projectbased learning activities, and summarize the project, 3) synopsis step; project presentation and summative evaluation. 3. communications project-based learning activities consisted of six steps as followed: 1) thinking and choosing the topic of the project, 2) search the involve documents, 3) write the structure of projects: project preview, 4) doing the project, 5) writing the report of project, and 6) presentation the project’s product, showing, and evaluation. 4. The postgraduate students’ post-test score for the problem solving skills were significantly higher than the pre-test score in the problem solving skills at .05 significant level.

This objective the study was to develop the collaborative learning through social media model for supporting communications projectbased learning for postgraduate students. The research comprised of 3 steps: 1) analyzing and synthesizing relevant literature and in-depth interview 7 expert's opinion, 2) develop the collaborative learning through social media model for supporting communications projectbased learning for postgraduate students, and 3) study the phenomena of using a collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning. The samples were 22 postgraduate students, Ramkhamhaeng University. They were chosen by multistage random sampling. The instruments consisted of in-depth interview form for expert opinion, learning management system for project-based learning in communication, and problem solving skill evaluation form. Data were statistically analyzed by arithmetic mean, standard deviation, and t-test dependent. The research findings were as follows: 1. The collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning for postgraduate students consisted of nine components as followed: 1) instructional objectives, 2) student’s role,3) instructor’s role, 4) communications projectbased learning activities, 5) scaffolding, 6) instructional control, 7) communication and interaction,8) instructional media and resources, and 9) measurement and evaluation. 2. Collaborative learning activities through social media model for supporting communications project-based learning consisted of three steps as followed: 1) introduction step; orientation, and project group formation, 2) instruction step; study of the contents, collaborative learning activities

Keywords: instructional model, collaborative learning, social media, project-based learning, communications project-based learning, postgraduate students.

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วย โครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การวิ จัย แบ่ง ออกเป็ น 3 ขั้น ตอน คื อ 1) การวิ เ คราะห์แ ละ สัง เคราะห์ กรอบแนวคิ ด ในการพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วย โครงงานนิ เ ทศศาสตร์ แ ละสั ม ภาษณ์เ ชิ งลึ ก ผู้ เ ชี่ย วชาญ 7 ท่าน 2) การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคม ออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ 3) การศึกษาผล 161


การใช้รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย รามคาแหง จานวน 22 คน จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ใช้เวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการ ออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ผ่ า นสื่ อ สั ง คม ออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงานนิ เ ทศ ศาสตร์ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงาน นิเทศศาสตร์ และแบบวัดทักษะการแก้ปัญหา วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อ สนับสนุน การเรีย นด้วยโครงงานนิ เทศศาสตร์สาหรั บ นั ก ศึ ก ษ าร ะดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ กษ า ปร ะ กอ บด้ วย 9 องค์ประกอบ คือ 1) วัตถุประสงค์การเรียน 2) บทบาท ผู้เรียน 3) บทบาทผู้สอน 4) กิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์5) การเสริมสร้างศักยภาพ 6) การควบคุมการเรียนการสอน 7) การติดต่อสื่อสารและ ปฏิสัมพันธ์ 8) สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ และ 9) การ วัดและประเมินผล 2. ขั้นตอนการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อ สนับสนุน การเรีย นด้วยโครงงานนิ เทศศาสตร์สาหรั บ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ประกอบด้วยการ ปฐมนิเทศ และการจัดกลุ่มโครงงาน 2) ขั้นการเรียนการ สอน ประกอบด้ ว ย การน าเสนอเนื้ อ หา การเรี ย นรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การทาโครงงานนิเทศ ศาสตร์ และการสรุปโครงงาน 3) ขั้นสรุป ประกอบด้วย การนาเสนอโครงงานและประเมินผลการเรียน 3. ขั้นตอนการทาโครงงานนิเทศศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) การคิดและเลือกหัวข้อโครงงาน 2) ศึกษา เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3) การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 4) การปฏิบั ติโ ครงงาน 5) การเขีย นรายงาน และ 6) การ นาเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และการประเมินผล

4. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียน ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมีคะแนนทักษะการ แก้ปัญหาสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คาสาคัญ: รูปแบบการเรียนการสอน, การเรียนรู้ร่วมกัน, สื่อ สังคมออนไลน์, การเรียนด้วยโครงงาน, โครงงานนิเทศ ศาสตร์, นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

1) บทนา เทคโนโลยีทางด้านสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology) สื่อสังคมออนไลน์ (social media) ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (social network) มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต กระบวนการทางาน และการเรี ย นของมนุ ษ ย์ ใ นปั จ จุ บั น ก่ อ ให้ เ กิ ด สั ง คมยุ ค สารสนเทศที่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน การทางาน การใช้ ชีวิต ประจาวั นและการเรี ยนรู้ โดยใช้ เทคโนโลยี เ ว็ บ 2.0 และระบบเครื อ ข่ าย อิ น เทอร์ เน็ ต เป็ น สื่ อ กลางในการติ ด ต่ อระหว่ า งผู้ เ รี ย นและผู้ ส อน ผู้ เ รี ย น สามารถเรียนได้ โดยไม่ มีข้ อจากัดในเรื่องเวลาและสถานที่ เป็นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการเรียนรู้ให้แก่ผู้ เรียน ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็วก่อให เกิดสังคมแห่ งการเรียนรู้ ในการ ผู้ เรียนเปลี่ยนบทบาทจาก ผู้เรียนที่รับการถ่ายทอดความรู้ จากผู้สอน (passive learner) เป็ นผู้ เ รี ย นที่ มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น ในการเรี ย นรู้ (active learner) โดยผู้เรียนเป็นผู้คิดตัดสินใจเลือกเนื้อหาในการเรียน การจัด ลาดับการเรียนรู้ การควบคุมเส้นทางในการเรียนและ การน าเสนอผลงาน ปฏิสัม พั น ธ์ ร ะหว่ างผู้ เ รี ย นกับ ผู้ สอน ผู้ เ รี ย นกั บ ผู้ เ รี ย น ผู้ เ รี ย นกั บ เนื้ อ หา และผู้ เ รี ย นกั บ สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการสร้างบรรยากาศในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เรียน (Bonk and Graham, 2004) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน จึงจาเป็นต้อง มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ให้ทันสมัยและสอดคล้องกับ สภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการประยุกต์ใช้สื่อสังคม ออนไลน์ เช่น facebook, twitter, youtube, multiply ในการ เพิ่มช่องทางในการสื่อสารและสร้างปฏิสัมพันธ์ในการเรียน ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับกลุ่ม 162


ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เรียนกับแหล่งข้อมูล เพื่อใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยี เ ว็ บ 2.0 ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การเรี ยนด้วยโครงงานนิเ ทศศาสตร์ (Communications project-based learning) เป็นรูปแบบวิธีสอนที่ ส่งเสริม สภาวะการเรียนรู้ภายในชั้นเรียน โดยการนาให้ผู้เรียนเข้า สู่กระบวนการแก้ปั ญ หาที่ ท้าทายและสร้ างชิ้น งานได้ สาเร็จด้ วยตนเอง การออกแบบกิจกรรมการเรียนการ สอนด้วยโครงงานที่ดีจะกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้า อย่างกระตือรือร้นและใช้ทักษะการคิดขั้นสูง ในการคิด แก้ปัญหา (Thomas, 1998) ศักยภาพในการรับรู้สิ่งของ ผู้เรียนจะถูกยกระดับขึ้นเมื่อได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการ แก้ ปั ญ หาที่ มี ค วามหมายและเมื่ อ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ ความ ช่วยเหลือให้เข้าใจว่าความรู้กับ ทักษะเหล่านั้นสัมพันธ์ กันด้วยเหตุใด เมื่อไหร่และอย่างไร (Bransford, Brown, & Conking,2000) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ ร่ ว มกัน และมี ป ฏิ สัม พั น ธ์ ผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ จะทาให้ เกิดการเรียนแบบร่วมมือเกิดขึ้นบนระบบเครือข่าย อัน ส่ ง ผลให้ เ กิด ปฏิ สั ม พั น ธ์ ท างความคิ ด ระหว่ างผู้ สอน ผู้เ รีย นและกลุ่ม เพื่อ น เป็น การลดข้อ จ ากัดในด้านการ เรี ย น โดยกิ จ กรรมเหล่ า นี้ ส ามารถช่ ว ยในการพั ฒ นา ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น นิ สั ย ในการเรี ย นด้ า นความ ร่วมมือซึ่ งกันและกัน ทั กษะและความสามารถในการ แก้ปัญหา ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี (Bersin, 2004) จากที่ ก ล่ า วมาข้ างต้ น จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งมี การรู ป แบบการ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการ เรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับ เพื่อเป็นแนวทาง ในการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการ จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต่อไป

โครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.3) เพื่ อ เปรี ย บเที ย บคะแนนทั ก ษะการแก้ ปั ญ หาของ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วย โครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

3) สมมติฐานการวิจัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วย โครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามี คะแนนทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ

4) ขอบเขตการวิจัย 4.1) ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย รามคาแหง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย รามคาแหง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จานวน 22 คน จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน 4.2) ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรอิสระ คือ รูป แบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่ อสังคม ออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ ตัวแปรตาม คือ คะแนนทักษะการแก้ปัญหา และคะแนน ความพึงพอใจ 4.3) ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 12 สัปดาห์ การเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์

การประยุกต์สังคม ออนไลน์เพื่อการ เรียนการสอน

การเรียน ด้วยโครงงาน นิเทศศาสตร์

การออกแบบระบบการเรียนการสอน

2) วัตถุประสงค์การวิจัย

รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุน การเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์

2.1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคม ออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงานนิ เ ทศ ศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.2) เพื่อศึกษาผลของการใช้ รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ย 163


รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพือ่ สนับสนุนการเรียน ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา

ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ คือ 1) วัตถุประสงค์การเรียน 2) บทบาทผู้เรียน 3) บทบาท ผู้สอน 4) กิจ กรรมการเรี ยนการสอนด้ วยโครงงานนิเ ทศ ศาสตร์5) การเสริมสร้างศักยภาพ 6) การควบคุมการเรียนการ สอน 7) การติดต่อสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ 8) สื่อการสอน และแหล่งเรียนรู้ และ 9) การวัดและประเมินผล 2.2) ออกแบบยุทธศาสตร์การเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคม ออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ ประกอบด้ ว ย 3 ขั้ น ตอน คื อ 1) ขั้ น น าเข้ า สู่ บ ทเรี ย น ประกอบด้วยการปฐมนิเทศ และการจัดกลุ่มโครงงาน 2) ขั้น การเรียนการสอน ประกอบด้วย การนาเสนอเนื้อหา การ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การทาโครงงานนิเทศ ศาสตร์ และการสรุปโครงงาน 3) ขั้นสรุป ประกอบด้วยการ นาเสนอโครงงานและประเมินผลการเรียน 2.3) ออกแบบยุ ท ธศาสตร์ ก ารท าโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ ประกอบด้ ว ย 6 ขั้ น ตอน คื อ 1) การคิ ด และเลื อ กหั ว ข้ อ โครงงาน (ด้านวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์/วีดิทัศน์ ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านโฆษณา และด้านวารสารศาสตร์ ) 2) ศึ ก ษาเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ ง 3) การเขี ย นเค้ า โครงของ โครงงาน 4) การปฏิบัติโครงงาน 5) การเขียนรายงาน และ 6) การนาเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และการประเมินผล 3) ขั้นการพัฒนา (Development) 3.1) พัฒนาเครื่องมือตามรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อ สังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศ ศาสตร์ ได้แก่ ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียน ด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ โ ดยใช้ MOODLE ร่ ว มกั บ FaceBook, Multiply และ YouTube คู่มือการใช้งานสาหรับ ผู้ดูแลระบบ และคู่มือการเรียน 3.2) พัฒนาแบบวัดทักษะการแก้ปัญหาสาหรับการเรียนด้วย โครงงานนิเทศศาสตร์ และแบบสอบถามความพึงพอใจของ นักศึกษา 4) ขั้นการนาไปทดลองใช้ (Implementation) 4.1) การทดสอบแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one testing) โดย ให้นักศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 3 คน เรียนโดยใช้ รูป แบบที่ พัฒ นาขึ้ น สั ง เกตและการสัม ภาษณ์ ปั ญ หาและ ข้อเสนอแนะการใช้งาน จากนั้นนาข้อมูลมาปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่องของรูปแบบ

5) วิธีดาเนินการวิจัย ระยะที่ 1 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ กรอบแนวคิดใน การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ผ่ า นสื่ อ สั ง คม ออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงานนิ เ ทศ ศาสตร์ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา รูป แบบการเรี ย นการสอน การเรีย นรู้ ร่ วมกัน ผ่ านสื่ อ อิเล็กทรอกนิกส์ การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อ การเรียนการสอน และการจัดทาโครงงานนิเทศศาสตร์ 2) สั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก ผู้ เ ชี่ ย วชาญ 7 ท่ า น เกี่ ย วกั บ การ ออกแบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ผ่ า นสื่ อ สั ง คม ออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงานนิ เ ทศ ศาสตร์ ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงาน นิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ สาหรับนั กศึกษาระดับ บัณฑิ ตศึกษา ตามขั้น ตอนการ ออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design: ISD) 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์เนื้อหา สร้างแผนภาพมโนทัศน์เป็นการเริ่มต้น ขอบเขตเนื้ อหา วิเ คราะห์คุ ณลั กษณะและรู ปแบบการ เรียนรู้ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และวิเคราะห์บริบทที่ เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ และ ออกแบบโมดูลของเนื้อหาสาหรับระบบบริหารจัดการ เรียนการสอน (LMS) 2) ขั้นการออกแบบ (Design) 2.1) ออกแบบองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียน 164


4.2) การทดสอบกับกลุ่มเล็ก (Small group testing) โดย ให้นักศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 5 คน เรียนเป็น กลุ่ม โดยใช้รูปแบบที่ปรับปรุงจากการทดสอบแบบหนึ่ง ต่อหนึ่ง สังเกตและสัมภาษณ์ ปัญหาและข้อเสนอแนะ การใช้ ง าน จากนั้ น น าข้ อ มู ล มาปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขข้ อ บกพร่องของรูปแบบ 4.3) การทดลองนาร่อง (Field trial) โดยให้นักศึกษาที่ ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 15 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม เรียน โดยใช้รูปแบบที่ปรับปรุงจากการทดสอบแบบกลุ่มเล็ก 5) ขั้นการประเมินผล (Evaluation) 5.1) ประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่าน สื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงาน นิเทศศาสตร์ ด้านการออกแบบระบบการเรียนการสอน ด้านการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และด้าน การเรีย นด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ โดยผู้เชี่ย วชาญ 5 ท่าน 5.2) ประเมินคุณภาพของระบบบริหารจัดการเรียนรู้ตาม รูป แบบการเรี ย นรู้ ร่ วมกันผ่ านสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ ด้ า น เนื้อหาและด้านเทคนิค โดยนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ และคู่มือ ที่พัฒนาขึ้นเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 5 ท่าน ประเมิ น คุ ณภาพและความเหมาะสมของเนื้ อ หา โครงงานนิ เ ทศศาสตร์ และผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ านเทคนิ ค 5 ท่ า น ประเมิ น คุ ณ ภาพและความเหมาะสมของระบบ บริหารจัดการเรียนรู้ด้านเทคนิค ปรับปรุงระบบบริหาร จัดการเรียนรู้และคู่มือ ตามข้อเสนอแนะ

มีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้ 1) ขัน้ เตรียมการก่อนการทดลอง 1.1) ปฐมนิ เ ทศนั ก ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กิ จ กรรมการเรี ย นตาม รู ป แบบการเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ วิธีการวัดและ เกณฑ์ประเมินผล และฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือตามรูปแบบ การเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 1.2) วัดและประเมินผลทักษะการแก้ปัญหาก่อนเรียนและ แจ้งผลการประเมินให้แก่นักศึกษา 2) ขัน้ ดาเนินการทดลอง 2.1) นักศึกษาเรียนดาเนินกิจกรรมการเรียนตามรูปแบบการ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียน ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ 2.2) วัดและประเมินผลทักษะการแก้ปัญหาหลังเรียนและแจ้ง ผลการประเมินให้แก่นักศึกษา 2.3) สอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนตาม รู ป แบบการเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบแบบที ttest dependent

ระยะที่ 3 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ย โ ค ร ง ง าน นิ เ ท ศ ศ าส ต ร์ ส าห รั บ นั กศึ กษ าร ะ ดั บ บัณฑิตศึกษา ศึกษาผลของการใช้ รู ปแบบการเรี ยนรู้ร่ วมกั น ผ่านสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงาน นิเทศศาสตร์ สาหรับ นักศึกษาระดับบัณฑิ ตศึกษา ตาม แบบแผนการวิ จั ย แบบ One Group Pretest-Posttest Design (William and Stephen, 2009)

ตอนที่ 1.1 รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบด้วย 3 1) องค์ประกอบของรูปแบบ รู ป แบบการเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ผ่ า นสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ ส าหรั บ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ คือ

O1

X

6) สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

O2 165


1.1) วั ตถุ ป ระสงค์ การเรีย น คือ เพื่ อ พั ฒนาทั กษะการ แก้ปัญหาทางนิเทศศาสตร์ และพัฒนาการทางานร่วมกัน เป็นทีมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 1.2) บทบาทผู้เรียน 1.3) บทบาทผู้สอน 1.4) กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศ ศาสตร์ 1.5) ฐานการเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนบน ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ 1.6) การควบคุมการเรียนการสอนด้วยกระบวนการกากับ ตัวเอง 1.7) การติ ด ต่ อ สื่ อ สารและปฏิ สั ม พั น ธ์ ผ่ า นสื่ อ สั ง คม ออนไลน์ 1.8) สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้บนสื่อสังคมออนไลน์ 1.9) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง 2) กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ กิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่ อสังคมออนไลน์ เพื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย น ด้ ว ยโคร งงานนิ เ ทศศาสต ร์ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 2.1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ประกอบด้วยการ ปฐมนิเทศ และการจัดกลุ่มโครงงาน 2.2) ขั้นการเรียนการสอน ประกอบด้วย การนาเสนอ เนื้อหา การเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การทา โครงงานนิเทศศาสตร์ และการสรุปโครงงาน 2.3) ขั้ น สรุ ป ประกอบด้ วยการน าเสนอโครงงานและ ประเมินผลการเรียน 3) กิจกรรมการทาโครงงานนิเทศศาสตร์ กิจ กรรมการท าโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ ประกอบด้ ว ย 6 ขั้นตอน คือ 3.1) การคิดและเลือกหัวข้อโครงงาน 3.2) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3.3) การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 3.4) การปฏิบัติโครงงาน 3.5) การเขียนรายงาน 3.6) การน าเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และการ ประเมินผล

ตอนที่ 1.2 ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วย โครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตารางที่ 1: ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียน ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ รายการประเมิน 1. องค์ประกอบของรูปแบบ 2. กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 3. กิจกรรมการทาโครงงาน นิเทศศาสตร์ 4. ความเหมาะสมของรูปแบบ ในการพัฒนาทักษะการ แก้ปัญหาและการทางาน ร่วมกันเป็นทีม 5. ความเหมาะสมในการ นารูปแบบไปใช้จริง

S.D. ความเหมาะสม 4.75 0.50 มากที่สุด 4.25 0.50 มาก

X

4.75 0.50

มากที่สุด

4.50 0.58

มากที่สุด

4.75 0.50

มากที่สุด

จากตารางที่ 1 พบว่า รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคม ออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ มี คุ ณ ภาพด้ า นองค์ ป ระกอบของรู ป แบบ กิ จ กรรมการท า โครงงานนิ เ ทศศาสตร์ และมี ค วามเหมาะสมในการน า รูปแบบไปใช้จริง มากที่สุด ( X = 4.75, S.D. = 0.50) รองลงมาได้แก่ ความเหมาะสมของรูปแบบในการพัฒนา ทั กษะการแก้ ปั ญ หาและการท างานร่ วมกัน เป็ น ที ม ( X = 4.50, S.D. = 0.58) และ กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อ สังคมออนไลน์ ( X = 4.25, S.D. = 0.50) ตามลาดับ ตอนที่ 2 ผลของการใช้ รูปแบบการเรีย นรู้ร่วมกันผ่านสื่ อ สังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศ ศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตอนที่ 2.1 ผลการเปรียบเทียบคะแนนทักษะการแก้ปัญหา ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้ รูปแบบการ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียน ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ 166


2) กิจกรรมการทาโครงงาน นิเทศศาสตร์ รายการประเมิน 2.1) การคิดและเลือกหัวข้อ โครงงาน 2.2) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.3) การเขียนเค้าโครงของ โครงงาน 2.4) การปฏิบัติโครงงาน 2.5) การเขียนรายงาน 2.6) การนาเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และ การประเมินผล รวม ความพึงพอใจในภาพรวม

ตารางที่ 2: ผลการเปรียบเทียบคะแนนทักษะการ แก้ปัญหาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้ รูป แบบการเรี ย นรู้ ร่ วมกันผ่ านสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ คะแนนทักษะ คะแนน การแก้ปญ ั หา เต็ม ก่อนเรียน 40

S.D. t-Test Sig.

X

15.12 4.12 10.04 * .00

หลังเรียน 40 30.45 2.17 *p < .05 จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียน โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีคะแนนทักษะการ แก้ปัญหาหลังเรียน ( X =30.45, S.D. = 2.17)

ตอนที่ 2.2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาที่ เ รี ย นโดยใช้ รู ป แบบการเรี ย นรู้ ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียน ด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์

4.59 4.55 4.45 4.53

4.64 0.49 4.73 0.46 4.64 0.49

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

4.65 0.49 4.59 0.49

มากที่สุด มากที่สุด

7) อภิปรายผลการวิจัย 7.1) ผลการศึกษาคะแนนทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบ การเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการ เรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ พบว่ า นั ก ศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อ สังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศ ศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีคะแนนทักษะ การแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ George Lucas Educational Foundation (2001) ที่พบว่า การเรียนรู้

S.D. ความพึงพอใจ

0.50 0.51 0.51 0.50

มากที่สุด

0.49) นักศึกษาพึงพอใจกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อ สังคมออนไลน์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.53, S.D. = 0.50) และนักศึกษาพึงพอใจกิจกรรมการทาโครงงาน นิเทศศาสตร์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.65, S.D. = 0.49)

ตารางที่ 3: ความพึงพอใจของนักศึกษาระดั บ บัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่าน สื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงาน นิเทศศาสตร์ X

4.73 0.46 4.50 0.51

จากตารางที่ 3 พบว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดย ใช้ รู ป แบบการเรี ย นรู้ ร่ ว มกัน ผ่ านสื่ อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ มี ค วามพึ ง พอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.59, S.D. =

สูงกว่าก่อนเรียน ( X =15.12, S.D. = 4.12) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

รายการประเมิน 1) กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 1.1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1.2) ขั้นการเรียนการสอน 1.3) ขั้นสรุป รวม

S.D. ความพึงพอใจ 4.45 0.51 มาก X

มากที่สุด มากที่สุด มาก มากที่สุด 167


ด้วยโครงงานช่วยสร้างองค์ความรู้จากการค้นคว้า ผู้เรียน ที่เรียนรู้ด้วยโครงงานจะมีส่วนร่วมในการเรียนมากขึ้น ลดการขาดเรียน เพิ่มทักษะในการเรียนรู้แบบร่วมมื อ ช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะในการ แก้ปัญหาทางการเรียนของผู้เรียน ซึ่งสอดคล้อง แนวคิด ของ Bonk and Graham (2004) ที่กล่าวว่า กิจกรรมการ เรียนสอนผ่ านเว็ บ ทาให้ผู้เ รียนสามารถเรีย นรู้ได้ อย่าง อิสระ สนั บสนุน ปฏิ สัมพั นธ์ ระหว่างผู้ เรี ย นกับผู้ เรี ย น ด้วยกัน และผู้เรียนกับผู้สอนโดยการติดต่อแบบส่วนตัว ช่วยให้การเรียนรู้ดีขึ้น 7.2) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียน โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์ พบว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้ รูปแบบการ เรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการ เรี ย นด้ ว ยโครงงานนิ เ ทศศาสตร์ มี ค วามพึ ง พอใจใน ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ (Driscoll, 2002) ที่พบว่าการมีปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในการ เรียนผ่านเว็บช่วยทาให้ผู้เรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น ได้ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น และตอบสนองความแตกต่ า ง ระหว่างบุคคล การที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนหรือ กั บ กลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ช่ ว ยท าให้ ก ารจั ด การเรี ย นการสอน น่าสนใจมากยิ่งขึ้น และยังเป็นการสนับสนุนการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรี ยนเป็นสาคัญ นอกจากนี้ ผู้เรียนยั ง สามารถทบทวนกิจกรรมการเรียนการสอนเนื้ อหา และ ฝึกทาแบบฝึกหัดได้ทุกสถานที่ ทุกเวลาที่ต้องการ และ เป็นการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น

ได้แก่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ การ ใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต เช่น การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ การใช้ เ ครื่ อ งมื อ ในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร การใช้ ง านระบบ เครือข่ายสังคม เป็นต้น 8.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 8.2.1 ในการวิจัยครั้งนี้ศึกษากลุ่มทดลองเพียงกลุ่มเดียว ควร ศึกษาเพื่อเปรียบเทียบผลของการเรียนตามรูปแบบที่พัฒนา ขั้นระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่เรียนตามปกติ 8.2.2 ควรศึกษาพัฒนาการของทักษะการคิดแก้ปัญหาของ ผู้ เ รี ย นในสั ป ดาห์ ที่ 7 ซึ่ ง ตามทฤษฎี ก ารคิ ด พบว่ า เป็ น ระยะแรกที่ผู้เรียนเริ่มมีพัฒนาการทางด้านการคิด

9) เอกสารอ้างอิง Bersin, J. (2004). The blended learning book: Bestpractices, proven methodologies, and lessons learned. San Francisco: Pfeiffer. Bonk C. J., and Graham C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global perspective local designs. San Francisco, U.S.: Pfeiffer. Bransford, J., Brown, A., & Cocking, R. (2000). How people learn: Brain, mind, experience, and school. Washington, DC: National Academy Press. Driscoll, M. (2002) Blended Learning: let’s get beyond the hype. E-learning, 1 May, 2011.[Online] Available: http://elearningmag.com/ltimagazine George Lucas Educational Foundation. (2001). Projectbased learning research , 1 May, 2011.[Online] Available: http://www.edutopia.org Rosenberg M. J. (2006). Beyond e-learning: approaches and technologies to enhance organizational Knowledge, learning, and performance. San Francisco, U.S.: John Wiley & Sons Inc. Thomas, J.W. (1998). Project-based learning: Overview. Novato, CA: Buck Institute for Education.

8) ข้อเสนอแนะ 8.1 ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ สถาบันการศึกษาที่นารูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อ สั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นด้ วยโครงงาน นิเทศศาสตร์ไปใช้ ควรมีการเตรียมความพร้อมทางด้าน เครื่องมือและระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นในการ เรีย นการสอนแบบผสมผสาน ได้ แก่ ห้อ งปฏิบัติ การ คอมพิ วเตอร์ ระบบเครื อข่ ายอิน เทอร์เ น็ต ควรมีการ พัฒนาทักษะความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารให้กับผู้เรียนก่อนทาการเรียนตามรูปแบบ 168


William W., and Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction. 9th ed. Boston, U.S.: Pearson.

169


ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมใน e-Learning Effects of Integrated Learning using Social Media in e-Learning ปรัชญนันท์ นิลสุข 1, ปณิตา วรรณพิรุณ2 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ prachyanunn@kmutnb.ac.th , panita.w@hotmail.com

การเรียนด้วยเครือข่ายสังคม ผ่านอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาที่ เรี ย นวิ ชาภาษาและเทคโนโลยี สาหรั บ ครู ในภาคเรี ย นที่ 2/2554 จ านวน 25 คน ได้ จ ากการสุ่ ม แบบกลุ่ ม โดยนักศึกษาเรียนเนื้อหาวิชาผ่านอีเลิร์นนิ่งของมหาวิทยาลัย จานวน 4 หน่วย และให้นักศึกษาได้บูรณาการการเรียนโดย ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช้ ง านเครื อ ข่ า ยสั ง คมร่ ว มกั บ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ผลการวิ จั ย พบว่ า ประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง วิ ช าภาษาและ เทคโนโลยีสาหรับครู มีประสิทธิภาพ 87.26 / 94.80 และ นั ก ศึ ก ษามี ค วามคิ ด เห็ น ว่ า การบู ร ณาการการเรี ย นด้ ว ย เครื อ ข่ า ยสั ง คมร่ ว มกั บ การสอนผ่ า นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง มี ค วาม เหมาะสมในระดับมาก

ABSTRACT

This study investigated the integration of learning and teaching through social networks with e-learning courses for Graduate Diploma students in Education, Graduate College at Muban Chombueng Rajabhat University. Participants were students who enrolled in Language and Technology for teachers in Semester 2/2554. There are 25 students who were randomly with cluster sampling. Students learn with MCRU e-learning in 4 subjects and integrated learning practices using social networking with e-learning. The objective was to study the effective of e-learning and the opinion of students when they integrated learning and teaching using social networking with e-learning. The results show that the effective of e-learning in language and technology for teacher course had effective 87.26 / 94.80 and Students commented that the integration of learning and teaching through social networks with e-learning is more appropriate level.

คาสาคัญ: การบูรณาการการเรียนรู้ , อีเลิร์นนิ่ง, เครือข่าย สังคม

1) บทนา การเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษามุ่งที่จะให้ผู้เรียน ได้เกิดทักษะและกระบวนการคิดขั้นสูง โดยเฉพาะนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพครูที่จบปริญญาตรีมาจากสาขา ต่ า ง ๆ ที่ ไ ม่ ใ ช่ วิ ช าครู จะต้ อ งเรี ย นในวิ ช าภาษาและ เทคโนโลยี ส าหรั บ ครู โดยศึ ก ษาและฝึ ก ทั ก ษะการใช้ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ เป็นเครื่องมือสื่อสารและสืบค้นทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน เพื่อการสื่อ ความหมาย โดยเน้นกระบวนการ ทักษะสัมพันธ์ทางภาษา ตลอดจนศึกษาและฝึกการตีความ การขยายความ การสรุป ความ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งการนาเสนอ งานทางวิชาการหัวข้อที่จะเรียนกัน โดยจุดประสงค์ เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและกิจกรรม เสร็จสิ้นแล้วจะมีพฤติกรรมและความสามารถคือ 1) อธิบาย

Keywords: integration of learning , e-Learning , Social Networking

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาการบูรณาการการเรียนด้วย เครื อ ข่ ายสั ง คมร่ วมกั บ การสอนผ่ านอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ส าหรั บ นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่ บ้านจอมบึง วัต ถุ ประสงค์ การวิ จั ย เพื่ อสร้ างและหา ประสิทธิภาพอีเลิร์นนิ่ง และความคิดเห็นการบูรณาการ 170


ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สาหรับครูได้ 2) อธิบายและ ปฏิบัติการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต สาหรับ ครูได้ 3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบค้น ข้อมูลทางการศึกษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ดังนั้นการพัฒนานักศึกษาที่จบปริญญาตรีมาจากต่าง สาขากัน โดยไม่ เ คยเรี ย นวิ ชาครู ม าก่อ นจึ ง ต้ อ งน ามา บูรณาการความรู้ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการเรียนการสอน โดยเฉพาะผู้เรียนในปัจจุบันที่เกิดมาในยุคดิจิตอล สิ่งที่ พวกเขาเรียนรู้และพู ดถึงมาจากอิ นเทอร์ เน็ตและสังคม ออนไลน์ (Prensky, 2001) เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็น สิ่งที่มีผลต่อผู้เรียนอย่างแน่นอน เพราะผู้เรียนเหล่านี้โต ขึ้ น มาจากสภาพแวดล้ อ มที่ อ ยู่ กั บ เกมส์ ค อมพิ ว เตอร์ โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เน็ต และเครือข่ายสังคม (Mason and Rennie, 2008) เช่นเดียวกับเครือข่ายเด็กสากลให้ ความสาคัญและสนับสนุนการฝึกปฏิบัติสาหรับเยาวชน ในการใช้ ง านอิ น เทอร์ เ น็ ต โดยเฉพาะการใช้ บ ริ ก าร เครือข่ายสังคม เนื่องจากเยาวชนในยุคปัจจุบันเป็นยุค ของดิ จิ เซ็ น หรื อ พลเมือ งยุค ดิ จิต อล ซึ่ง หมายถึง คาว่ า ดิจิตอล (Digital) กับคาว่า พลเมือง (Citizen) มารวมกัน เป็นพลเมืองดิจิตอล ซึ่งเป็นชีวิตที่อยู่กับอินเทอร์เน็ตและ โลกออนไลน์ตลอดเวลา (Childnet International, 2012) ก า ร วิ จั ย ใ น ค รั้ ง นี้ จึ ง เ ป็ น ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ ห า ประสิทธิภาพอีเลิร์นนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสาหรับ ครู โดยบูรณาการการเรียนด้วยเครือข่ายทางสังคมได้แก่ Social Media ประกอบด้วย Slide Share , Blogger, Google site , Youtube, facebook (social plugin) , 4shared , picasa web , Embed Script , Share link,Google Conference , Skype (facebook) Web Conference in facebook , google document, google chat โดยผู้เรียนจะ ได้ ฝึ กปฏิ บั ติ ต ามกิจ กรรมในรายวิ ชา ส่วนเนื้ อหาการ สอนจะสร้างเอาไว้ใน e-Learning ประกอบด้วย เนื้อหา 4 หน่วยการเรียน บูรณาการเครือข่ายสังคม จัดให้มีระบบ การลงเวลาเรียน, การทาแบบฝึกหัด, การส่งการบ้าน, การ ดาวน์โหลดเอกสาร , การส่งข้อความ, การรายงานผล คะแนน, การทาข้อสอบ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเว็บ เมื่อบูรณาการเครือข่ายทางสังคมเข้าไปภายในเว็บ และ ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเพื่อดู ว่ามีความพึงพอใจ

ต่อการบูรณาการเครือข่ายทางสังคมหรือไม่ เพราะความพึง พอใจเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญ ความสัมพันธ์ที่เกิด จากความชอบและพอใจในการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม เป็ น องค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดคุณภาพความสัมพันธ์ทาให้ ผู้ใช้ผูกพันในการติดต่อสื่อสาร (ศิริลักษณ์ โรจนกิจอานวย, 2555) การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา มีการนา อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง มาใช้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง เมื่ อ ท าการเพิ่ ม ระบบ เครือข่ายทางสังคม เพื่อให้ผู้เรียนได้บูรณาการการเรียนรู้ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การสื่ อ สารผ่ า นเครื อ ข่ า ย อิ น เทอร์ เ น็ ต ในชี วิ ต ประจ าวั น ที่ ใ ช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมอยู่ ตลอดเวลา (Awodele and the others , 2009) การเรียนรู้ด้วย สื่อ อิ เ ล็ กทรอนิ กส์ อ ย่างอี เ ลิ ร์น นิ่ ง เป็ น การน าเสนอเนื้ อ หา ในขณะที่สิ่งที่เพิ่มขึ้นมากในยุคแนวคิดเว็บ 2.0 ก็คือเครือข่าย ทางสังคม จึงเป็นการดีที่โปรแกรมเครือข่ ายทางสังคมมา ช่ ว ยผลั ก ดั น ระบบการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น (Chatti, Jarke , and Frosch-Wilke, 2007) คณะผู้วิจัยจึงได้ทาการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาการสอนบูรณาการเครือข่ายสังคมต่อไป

2) วัตถุประสงค์การวิจัย 2.1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพอีเลิร์นนิ่งวิชาภาษา และเทคโนโลยีสาหรับครูสาหรับนักศึกษาประกาศนียบัตร วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง 2.2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นการบูรณาการการเรียนด้วย เ ค รื อ ข่ า ย สั ง ค ม ร่ ว ม กั บ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอม บึง

3) ขอบเขตของการวิจัย 3.1) ประชากร เป็นนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ที่เรียนวิชาภาษาและ เทคโนโลยี ส าหรั บ ครู ใ นภาคเรี ย นที่ 2/2554 จ านวน 4 ห้องเรียน 3.2) กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ที่เรียนวิชาภาษาและ 171


เทคโนโลยีสาหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 รุ่นที่ 14 หมู่ 4 ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) จานวน 25 คน 3.3) ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ตัวแปรต้น ได้แก่ เว็บไซต์อีเลิร์นนิ่งวิชา ภาษา และเทคโนโลยีสาหรับครู ตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิภาพของเว็บอีเลิร์น นิ่งและความคิดเห็นของนักศึกษาจากการบูรณาการการ เรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคม 3.4) เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เป็นเนื้อหาวิชาภาษาและ เทคโนโลยีสาหรับครู นาเสนอหาจากหนังสือเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา (ปรัชญนันท์ นิลสุข, 2555) มา สร้างในรายวิชาผ่านเว็บ e-Learning ของมหาวิทยาลัย จานวน 4 หน่วย ได้แก่ หน่ วยที่ 1 เทคโนโลยี พื้ น ฐานเพื่ อ การศึ กษา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สาหรับครู หน่วยที่ 2 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาและสืบค้น หน่วยที่ 4 เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสาร และสืบค้นข้อมูล หน่ ว ยที่ 5 เป็ น การฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศเพื่ อ การสื่ อ สารและสื บ ค้ น ข้ อ มู ล โดย คณะผู้วิจัยได้จัดให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติ แบบบูรณาการ เครือข่ายสังคม(Social Networking) ร่วมกับ e-Learning ได้แก่ Social Media ประกอบด้วย Slide Share , Blogger, Google site , Youtube , facebook (social plugin) , 4shared , picasa web , Embed Script , Share link, Google Conference , Skype (facebook) Web Conference in facebook , google document, google chat

1.98 ติดตั้งในคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของสานักวิทยบริการ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง เป็นส่วนหนึ่งของประเภทวิชาบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ ภายใน URL : http://202.29.37.38/elearnning/ นักศึกษา สามารถเข้าใช้งานได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยเข้าสู่ระบบได้ จากทุ ก ที่ ทุ ก เวลา ทั้ ง จากภายในและภายนอกของ มหาวิทยาลัย เว็บอีเลิร์นิ่งประกอบด้วยเนื้อหา 4 หน่วย โดย จัดทาเครื่องมือในการเรียนประกอบด้วย การลงเวลาเรียน, แบบฝึกหัด, การส่งการบ้าน, การดาวน์โหลดเอกสาร , การ ส่งข้อความ, การรายงานผลคะแนน, การทาข้อสอบ การบู ร ณาการเครื อ ข่ า ยสั ง คมเข้ า ไปไว้ ใ นเนื้ อ หา บทเรียน ได้แก่ การใส่ plug-in social media ของ facebook เพื่อให้ผู้เรียนสามารถติดต่อผู้สอนผ่านเครือข่ายสังคม การ ใส่วีดิทัศน์ในลักษณะที่เป็นการนาสคริปต์ Embed Script ของ Youtube มาใส่ในเนื้อหาวิชาเพื่อให้ผู้เรียนได้ดูวีดิโอจาก e-Learning ได้ โดยไม่ต้องไปยัง Youtube โดยตรง การ ใส่ Slide Share ที่เป็นสไลด์คาบรรยายประกอบเข้าไปใน เนื้อหา สามารถเปิดอ่านและทาความเข้าใจได้จากหน้าเว็บ การเชื่อมโยงอัลบั้มรูปภาพต่าง ๆ ด้วย Picasa Web ของ google เพื่ อ ให้ เ ข้ า ถึ ง รู ป ภาพที่ ต้ อ งการได้ ทั น ที จ าก eLearning

4) การสร้างเครื่องมือวิจัย

รูปที่ 1 แสดงหน้าวิชาภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู

4.1) เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย เว็บอีเลิร์นนิ่งวิชา ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู แบบทดสอบวัดผลการ เรียนรู้ระหว่างเรียนและหลังเรียนจากเว็บอีเลิร์นนิ่ง และ แบบสอบถามความคิ ด การบู ร ณาการการเรี ย นรู้ ด้ ว ย เครือข่ายสังคม 4.2) เว็บอีเลิร์นนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสาหรับ ครู จัดทาขึ้นด้วยโปรแกรม Moodle e-Learning version 172


กิจกรรมที่ 4 การสืบค้นข้อมูล กิจกรรมที่ 5 การทาแบบฝึกหัด กิจกรรมที่ 6 การส่งการบ้าน กิจกรรมที่ 7 การส่งข้อความ กิจกรรมที่ 8 การสร้างแบบทดสอบ กิจกรรมที่ 9 การเชื่อมโยงเครือข่ายสังคม กิจกรรมที่ 10 การทาข้อสอบ 5.3) การเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัย เมื่อนักศึกษาเรียน จากอีเลิร์นนิ่งในแต่ละหน่วยก็จะมีแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ให้ทาทุกหน่วย โดยเก็บคะแนนเพื่อนามาหาประสิทธิภาพ ของเว็บ สาหรับกิจกรรมที่เรียนผ่านอีเลิร์นนิ่งก็จะให้เป็น คะแนนเก็บ สาหรั บ นั กศึ กษาเช่ น การส่ ง การบ้ าน การส่ ง รายงานการสืบค้นข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายสังคม โดย ผู้เรียนจะได้รับมอบหมายงานในทุกสัปดาห์ ทั้งจากการฝึก ปฏิบัติในห้องคอมพิวเตอร์และการเรียนรู้เนื้อหาด้วยตนเอง จากอีเลิร์นนิ่ง เมื่อเรียนครบทุกหน่วยแล้ว สัปดาห์ที่ 5 จัด ให้มีการสอบปลายภาคเรียน โดยให้นักศึกษาทาแบบทดสอบ จานวน 60 ข้อ นาผลคะแนนที่ได้มาเป็นคะแนนทดสอบ หลังเรียน จากนั้นให้นักศึกษาทาแบบสอบถามความคิดเห็น การบูรณาการการเรียนด้วยเครือข่ายทางสังคม จานวน 19 ข้อ 5.4) การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจัย เป็น การหาประสิท ธิภาพอี เ ลิร์ น นิ่ง ตามเกณฑ์ 80/80 โดยให้ ความหมายว่ า 80 ตั วแรก เป็น ค่าเฉลี่ย ผลการเรีย นรู้ ของ นักศึกษาระหว่างเรียนจากเว็บอีเลิร์นนิ่ง และ 80 ตัวหลัง เป็นค่าเฉลี่ยผลการเรียนรู้ของนักศึกษาหลังเรียน จากเว็บอี เลิร์นนิ่ง ส่วนความคิดเห็นของนักศึกษาจากการบูรณาการ เครือข่ายสังคมในอีเลิร์นนิ่ง จะใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

รูปที่ 2 แสดงการบูรณาการการเรียนด้วยเครือข่ายสังคม 4.3) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ระหว่างเรียนและ หลังเรียนจากเว็บอีเลิร์นนิง่ เป็นแบบทดสอบจานวน 4 ตอน ๆ ละ 15 ข้อ ใช้สาหรับวัดผลการเรียนรู้ระหว่าง เรียน และแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 60 ข้อ 4.4) แบบสอบถามความคิดการบูรณาการการเรียนรู้ ด้วยเครือข่ายสังคม จานวน 20 ข้อ

5) ขั้นตอนการวิจัย คณะผู้ วิ จั ย ได้ เ ข้ า ไปเป็ น ผู้ ส อนวิ ช าภาษาแ ละ เทคโนโลยีสาหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 โดยทาการ สอนเฉพาะในส่ ว นของเนื้ อ หาทางด้ า นเทคโนโลยี เนื่องจากวิชานี้จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นภาษาไทย 5 หน่วย ภาษาอังกฤษ 5 หน่วยและเทคโนโลยี 5 หน่วย ทาการ สอนเป็นเวลา 5 สัปดาห์ 5.1) การสอนปฏิบัติ แบ่งการสอนออกเป็นการฝึก ปฏิบัติเครือข่ายทางสังคมแบ่งเป็นกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 e-mail /e-mail group กิจกรรมที่ 2 Chat / MSN / Skype กิจกรรมที่ 3 Web Conference กิจกรรมที่ 4 การสร้างเว็บไซต์ (Google Site) กิจกรรมที่ 5 Social Networking (facebook) กิจกรรมที่ 6 การแชร์ลิงก์ (Share link facebook) กิจกรรมที่ 7 การสร้างเว็บบล็อก (Blogger) กิจกรรมที่ 8 การเชื่อมโยง /การลิงก์ (Link) กิจกรรมที่ 9 การสร้างรายวิชา กิจกรรมที่ 10 การสร้ า งแบบทดสอบและแบบ ประเมิน (Google document) กิจกรรมที่ 11 การสร้างสไลด์แชร์ กิจกรรมที่ 12 การสร้าง plug-in facebook 5.2) การเรียนรู้ด้วยตนเองส่วนที่เป็นเนื้อหาจะให้ นักศึ กษาเรี ย นผ่ าน e-Learning ของมหาวิ ท ยาลั ย โดย กาหนดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ดาเนินการได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การลงเวลาเรียน กิจกรรมที่ 2 การศึกษาเนื้อหา กิจกรรมที่ 3 การดาวน์โหลดเอกสาร

6) ผลการวิจัย คณะผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์การวิจัย การสร้ า งและหาประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง วิ ช าภาษาและ เทคโนโลยี ส าหรั บ ครู ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาประกาศนี ย บั ต ร วิ ชาชี พ ครู มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ หมู่ บ้ านจอมบึ ง แสดงใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ค่าคะแนนระหว่างเรียนและหลังเรียนของ นักศึกษาทีเ่ รียนจากเว็บอีเลิรน์ นิ่ง คะแนน คะแนน (60) ร้อยละ 173


ออนไลน์ ค่าเฉลี่ย 4.44 0.43 มาก ค่าเฉลี่ยรวม 4.32 0.38 มาก สรุปผลการวิจัยจากตารางแสดงผลได้ดังนี้ 6.1) ผลการสร้ างและหาประสิ ท ธิ ภาพอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง วิ ช า ภาษ า แ ละ เ ท ค โ น โ ลยี ส าห รั บ ค รู ส าห รั บ นั ก ศึ กษ า ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอม บึ ง พบว่ า คะแนนระหว่ างเรี ย นจากเว็ บ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง มี ค่ า โดยรวมอยู่ที่ 52.35 คิดเป็นร้อยละ 87.26 คะแนนหลัง เรียนจากเว็บอีเลิร์นนิ่งมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ที่ 56.88 คิดเป็น ร้ อ ยละ 94.80 แสดงว่ า เว็ บ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 87.26/94.80 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 6.2) ผลการศึกษาความคิดเห็นการบูรณาการการเรียน ด้ ว ยเครื อ ข่ า ยสั ง คมร่ ว มกั บ อี เ ลิ ร์ น นิ่ งของนั ก ศึ ก ษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอม บึง พบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นการบูรณาการการเรียนด้วย เครือข่ายทางสังคมร่วมกับอีเลิร์นนิ่ง โดยรวมเห็นด้วยอยู่ใน ระดับมาก ( x = 4.32) โดยการบูรณาการการเรียนด้วย เครือข่ายทางสังคม นักศึกษาเห็นด้วยอยู่ในระดับมาก ( x = 4.21) และการบูรณาการการเรียนในอีเลิร์นนิ่งเห็นด้วยอยู่ใน ระดับมาก ( x = 4.44) เช่นกัน

52.35 87.26 ระหว่างเรียน 56.88 94.80 หลังเรียน ความคิดเห็นการบูรณาการการเรี ยนด้วยเครือข่าย สั ง คมร่ วมกับ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ของนั กศึ กษาประกาศนี ย บั ต ร วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง แสดงใน ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความ คิดเห็นการบูรณาการการเรียนด้วยเครือข่าย ทางสังคม

การบูรณาการการเรียน ด้วยเครือข่ายทางสังคม google chat google document facebook Skype Web Conference ใน facebook Google Conference google site social plug-in ใน facebook Slide Share Blogger picasa web Youtube 4shared

กิจกรรมการลงเวลาเรียน กิจกรรมแบบฝึกหัด กิจกรรมการส่งการบ้าน กิจกรรมการดาวน์โหลด เอกสาร กิจกรรมการส่งข้อความ กิจกรรมการรายงานผล คะแนน กิจกรรมการทาข้อสอบ

x

S.D.

ความคิดเห็น

4.24 0.62 4.38 0.67 4.14 0.85

มาก มาก มาก

4.14 0.73 4.43 0.51

มาก มาก

4.24 3.81

0.62 0.81

มาก มาก

4.33 4.62 4.00 4.10 4.10 4.21 4.62 4.52 4.38 4.24

0.58 0.50 0.71 0.77 0.70 0.42 0.59 0.60 0.74 0.62

มาก มากที่สุด มาก มาก มาก มาก มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก

4.33 4.52

0.58 0.51

มาก มากที่สุด

4.43

0.60

มาก

7) อภิปรายผล คณะผู้วิจัยได้ทาการสร้างและหาประสิทธิภาพอีเลิร์นนิ่ง วิชาภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู และศึกษาความคิดเห็น ต่อการบูรณาการการเรียนด้วยเครือข่ายสังคมร่วมกับอีเลิร์ นนิ่งของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัย ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จึงขออภิปรายผลและให้ข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ ประสิทธิภาพอีเลิร์นนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสาหรับ ครู ส าหรั บนั ก ศึ ก ษ าปร ะกาศนี ย บั ต ร วิ ช าชี พ ค รู มี ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ ที่กาหนด โดยมี คะแนนระหว่าง เรียนและคะแนนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 นักศึกษาไม่ เคยเรียนจากเว็บอีเลิร์นนิ่งมาก่อน ทั้งหมดเป็นครูประจาการ ในโรงเรียนเอกชนที่มาเรียนเพื่อขอใบประกาศนียบัตรวิชาครู ในการประกอบอาชีพครูอันเป็นเงื่อนไขของคุรุสภา ทาให้ ตื่นเต้นและสนใจที่จะเรียนรู้ มีการเข้าเรียนสม่าเสมอ ทา 174


กิจ กรรมต่ าง ๆ ตามที่ กาหนด เมื่ อ มี การทดสอบด้ ว ย แบบทดสอบท้ายบทเรียนก็จะตั้งใจทาให้ได้คะแนนสูง ๆ ขณะเดียวกันคณะผู้วิจัยบูรณาการเครือข่ายทางสั งคมเข้า ไปในเว็ บ อี เ ลิ ร์ น นิ่ง ท าให้ ผู้ เ รี ย นติ ด ต่ อ สื่ อ สารกัน ได้ อย่างรวดเร็วด้วยเครื่องมือที่ติดตั้งอยู่ เช่น เมื่อมีปัญหา ดาวน์โหลดไฟล์ไม่ได้ก็จะโพสท์ใน facebook ซักถาม เพื่อน แม้จะไม่ได้รับคาตอบในทันที ก็จะมีเพื่อน ๆ เข้า มาช่วยในการแก้ปัญหาตลอดเวลา รวมทั้งสามารถเปิด Skype โดยทา Conference กับผู้วิจัยเพื่อซักถามได้โดยตรง ผลคะแนนระหว่างเรียนจึงอยู่ในเกณฑ์สูงแม้จะต้องศึกษา ด้วยตนเอง สอดคล้องกับ ผลการใช้เครือข่ายสังคมใน ระดับอุดมศึกษาพบว่า เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการอภิปราย แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ าวสาร ผลการวิจัย แสดงว่ า เครื อ ข่ า ยทางสั ง คมเข้ า มาช่ ว ยเป็ น เครื่ อ งมื อ ส าหรั บ การเรี ย นรู้ ท างไกลได้ เ ป็ น อย่ า งดี (Brady, Holcomb and Smith, 2010) ผลการวิ จั ย แสดงให้ เ ห็ น ว่ า นั ก ศึ ก ษาเห็ น ด้ ว ยกั บ การบูรณาการเครือข่ายสังคม ควรที่นักการศึกษาจะบูรณา การเครือข่ายทางสังคมมาใช้ในการสอน (Ridwan, 2009) เพราะจะท าให้ นั ก ศึ ก ษามี ส่ ว นร่ ว มในการสอนของ อาจารย์และในด้านการเรียนรู้ของพวกเขาเองก็จะสร้าง สภาพแวดล้อมใหม่ ๆ ในการเรียนที่แตกต่างไปจากเดิม ที่สาคัญคือ เครือข่ายสังคมออนไลน์ฟรี ง่ายต่อการใช้งาน เป็นเครื่องมือที่มีพลังอย่างยิ่งในการติดต่อสื่อสาร สร้าง ประสบการณ์ใหม่ภายนอกห้องเรียนและเสริมการเรียนใน ห้องเรียนด้วย (Rodriguez, 2011) ประโยชน์และการใช้ งานง่ายรวมทั้งเข้าถึงได้สะดวกของเครือข่ายสังคม จึง เห็นได้ว่าเครือข่ายทางสังคมสามารถนามาเป็นเครื่องมือ ทางการศึ ก ษาได้ เ ป็ น อย่ า งดี มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว ได้ เชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ์ ได้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งกั น ตลอดเวลา ช่วยให้การจัดการศึกษามีความยืดหยุ่นและ นับวันเครือข่ายสังคมจะเข้ามามีอิทธิพลทางการศึกษามาก ขึ้น (Ashraf and Yousef , 2012) ข้อเสนอแนะของคณะผู้วิจัยได้พบว่า เครือข่ายสังคม เป็น สิ่งที่ ง่ายต่อการเข้าใช้ง าน สื่อ สัง คมไม่สามารถจะ ควบคุมได้ ผู้สอนทาหน้าที่ได้เพียงเป็นผู้ร่วมในเครือข่าย สังคมแม้ว่าผู้สอนจะเป็นผู้นาเมื่ออยู่ในห้องเรียน แต่เมื่อ ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์จาเป็นที่ผู้สอนจะต้องระมัดระ

หวังการใช้งาน ผู้เรียนอาจจะมีลักษณะไม่เหมือนกับที่พบ ในห้องเรียน พฤติกรรมและการใช้ภาษาอาจไม่เป็นแบบที่ ผู้สอนคาดหวัง ผู้สอนสามารถใช้สื่อสังคมหลากหลายใน ห้องเรียนเพื่อเป็นแนวทางใหม่ในการเรียนการสอนทั้งใน ห้องเรียนและในโลกไซเบอร์ (Pornphisud, 2012) การนา เครือข่ายทางสังคมบูรณาการเข้าร่วมกับการจัดการเรียนการ สอนผ่านอีเลิร์นนิ่ง ย่อมเหมาะสมกับยุคของผู้เรียนและไม่ ทาให้อีเลิร์นนิ่งมีแต่เนื้อหาที่นิ่งเฉย รอการเข้ามาอ่านเท่านั้น

8) บทสรุป การจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ เป็ น การเรี ย นรู้ ด้ ว ย ตนเองของผู้เรียน ถ้าจะทาให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ควรบูรณาการเครือข่ายทางสังคมเข้ามาช่วยในการจัดการ เรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ ติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และช่วยให้สะดวกใน การนาข้อมูลความรู้มากมายเข้ามาสู่อีเลิร์นนิ่ง อันจะทาให้ การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพ สอดคล้องกับยุคสมัยของ ผู้เรียน

9) กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช ภัฏหมู่บ้านจอมบึง อนุเคราะห์ให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการ วิจัย รวมทั้ งสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เอื้อเฟื้อระบบอีเลิร์นนิ่งในการวิจัยครั้งนี้

10) เอกสารอ้างอิง ปรัชญนันท์ นิลสุข (2555) เทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผลิตตาราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ศิริลักษณ์ โรจนกิจอานวย (2555) องค์ประกอบคุณภาพ ความสัมพันธ์ของเครือข่ายสังคม. วารสาร บริหารธุรกิจ ปีที่ 35 ฉบับที่ 133 มกราคม-มีนาคม 2555 หน้า 9-18. Ashraf Jalal and Yousef Zaidieh (2012) The Use of Social Networking in Education : Challenges and

175


Opportunities. World of Computer Science and Information Technology Journal (WCSIT) Vol. 2, No. 1, 18-21, 2012 Awodele,O. and the others (2009) University Enhancement System using a Social Networking Approach: Extending E-learning. Issues in Informing Science and Information Technology .Volume 6, 2009. page 269-283. Brady, K.P., Holcomb, L.B., and Smith , B.V. (2010) The Use of Alternative Social Networking Sites in Higher Educational Settings: A Case Study of the E-Learning Benefits of Ning in Education. Journal of Interactive Online Learning. p. 151170 ; Volume 9, Number 2, Summer 2010 Chatti, M.A., Jarke, M. and Frosch-Wilke, D. (2007) ‘The future of e-learning: a shift to knowledge networking and social software. International Journal of Knowledge and Learning, Vol. 3, Nos. 4/5, pp.404–420. Childnet International (2012) Young People and Social Networking Services : A Childnet International Research Report. United Kingdom ; http://old.digizen.org/downloads/fullReport.pdf Mason, R. and Rennie, F. (2008) e-Learning and Social Networking Handbook : Resource for Higher Education. New York : Routledge. Pornphisud Mongkhonvanit (2012) Conducting Effective e-learning in Social Media Era. International Journal of the Computer, the Internet and Management . Vol.20 No.1 (January-April, 2012) page 63-67. Prensky, M. (2001) Digital Natives, Digital Immigrants. On the Horizon. MCB University Press, Vol. 9 No. 5, October 2001. Ridwan Sanjaya (2009) Collaboration of Blog and Social Networking for eLearning : A Case Study of the eLearning Facility in the SME Blog at PPUMKM.COM .The Sixth International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society, 17-18 December 2009,Thailand. Rodriguez, J. E. (2011) Social Media Use in Higher Education: Key Areas to Consider for Educators. MERLOT Journal of Online Learning and Teaching. Vol. 7, No. 4, December 2011, page 539-550.

176


การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ของนิสิตสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ Development of Activities by Using Social Media and Problem-Based Learning to Enhance The Geometer’s Sketchpad Program Learning Ability of Teaching Mathematics Students ผศ.ดร.ชนิศวรา เลิศอมรพงษ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (feducrl@ku.ac.th) instructor and students, helped increasing the discipline in learning and sending tasks, and also enhancing extra learning by themselves.

ABSTRACT The purposes of this action research were to develop activities by using social media and problem-based learning and to study The Geometer’s Sketchpad or GSP program learning ability of teaching mathematics students. The target group consisted of 22 fourth-year undergraduate students majoring in teaching mathematics who enrolled in Computer Application for Mathematics Teachers in the first semester of 2011 academic year. The research tools were lesson plans that emphasized social media and problem-based learning, interview form, task evaluation form, special-problems evaluation form, weekly instructor’s teaching record form, after teaching records form, and subject learning reflection record form. In addition, the data collection of this research was composed of data collection from before study, during study, and after study of the students. The obtained data were analyzed by frequency and percentages for quantitative data and content analysis for qualitative data. The results revealed that the activities of GSP program learning by using social media and problem-based learning include (1) the activities consisting both of the theoretical section and the practical section with manual instruction and the important resources by using learning management system and social media to enhance potential for learning and discussion (2) the case study with social media and problem-based learning to enhance potential for creating task (3) the special problems for complication and presentation by using social media and problem-based learning. In fact, each activity has evaluated by instructor and students for feedback each other and also commenttasks with principles and reasoning. As a result, these activities could improve the student’s GSP program learning ability in the range of good through excellence level of 18 students or 81.8%. Furthermore, almost all students express their good opinions that these activities were appropriated, helped increasing the interpersonal between

Keywords: Please include appropriate key words here, and separated them by commas.

บทคัดย่อ การวิจัยปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรม โดยใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐานและศึกษาความสามารถ ในการเรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือ โปรแกรม GSP ของนิ สิ ต สาขาวิ ชาการสอนคณิ ต ศาสตร์ กลุ่ ม ที่ ศึ ก ษาคื อ นิ สิ ต ปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ช าการสอน คณิตศาสตร์ชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการประยุกต์ คอมพิวเตอร์สาหรับครูสอนคณิตศาสตร์ ภาคต้น ปีการศึกษา 2554 จานวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นการใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐาน แบบ สัมภาษณ์ แบบประเมินผลงาน แบบประเมินปัญ หาพิเศษ แบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้รายสัปดาห์ แบบบันทึกหลัง สอน และแบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้รายวิชา วิธีการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล ประกอบด้ ว ย การเก็ บ ข้ อ มู ล ก่ อ นเรี ย น ระหว่างเรียนและหลังเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่และ ร้อยละสาหรั บข้อมูล เชิงปริมาณ และการวิเคราะห์ เนื้อหา สาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยนาผลการเก็บรวบรวมข้อมูล มาเป็นแนวทางในการสร้าง ปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมการ เรียนรู้ตามวงจรวิจัยปฏิบัติการ ผลการวิจัยพบว่ากิจกรรมการเรียนรู้โปรแกรม GSP โดยใช้ สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐานมีกิจกรรมดังต่อไปนี้คือ (1) การ 177


จัดกิจกรรมการเรียนรู้โปรแกรม GSP ในภาคทฤษฏีและ ภาคปฏิ บั ติ พร้ อ มคู่ มื อ และ แหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ สาคั ญ เพื่ อ เรียนรู้ให้ครอบคลุมเนื้อหาและการฝึกปฏิบัติ โดยการใช้ ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน(LMS) และการใช้สื่อ สัง คมเพื่อ เพิ่ ม ศักยภาพในการเรี ยนรู้ และการอภิ ปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (2) การให้กรณีศึกษาพร้อมการใช้สื่อ สังคมและปัญหาเป็นฐานเพื่อเพิ่มความสามารถแก่ผู้เรียน ในการสร้างผลงาน (3) การทาปัญหาพิเศษเพื่อประมวล ความรู้แ ละนาเสนอผลงานพร้ อมการใช้สื่อสั งคมและ ปัญหาเป็นฐาน โดยในแต่ละขั้นตอนมีการประเมินผล เป็ น ระยะเพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ แก่ กั น และฝึ ก การ วิ พ ากษ์ ผ ลงานอย่ างมี ห ลั กการและเหตุ ผ ล ซึ่ ง การจั ด กิจกรรมในครั้งนี้ส่งผลให้นิสิตมีความสามารถในการ เรียนรู้โปรแกรม GSP อยู่ในระดับดีถึงดีมากจานวน 18 คน หรือร้อยละ 81.8 และนิสิตส่วนใหญ่มีความคิดเห็น ต่ อ การจั ด กิจ กรรมว่ ามี ค วามเหมาะสม ช่ วยเพิ่ ม การมี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและนิสิต การมีวินัยในการ เรียนและการส่งงาน และส่งเสริมการศึกษาเพิ่มเติมด้วย ตนเองได้เป็นอย่างดี

Media) ที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับและการมี ส่วนร่วมกับข้อมูลในเครือข่าย ในวงการศึกษาได้มีนักการ ศึกษาหลายท่านให้ความเห็ นว่าเว็บ 2.0 เป็นดังคลื่นลูกใหม่ ของนวั ตกรรมสาหรับ การเรีย นการสอน การใช้สื่อสั งคม เช่น Facebook YouTube และอื่น ๆ ส่งเสริมให้การจัดการ เรี ย นการสอนมี ป ระสิ ท ธิ ภาพยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ เกิด ประโยชน์ แ ก่ ผู้สอนและผู้เรียน การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับ ผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน (Bryan, 2006, Ma oz และTowner, 2009 และ Snelson, 2011) รายวิชาการประยุกต์คอมพิวเตอร์สาหรับครูสอนคณิตศาสตร์ เป็ น รายวิ ช าหนึ่ ง ที่ ผู้ วิ จั ย รั บ ผิ ด ชอบสอนภาคทฤษฏี แ ละ ภาคปฏิบัติ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้นิสิตได้รู้จักและเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน คณิ ต ศาสตร์ การเรี ย นรู้ โ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรม GSP เป็นสาระสาคัญหัวข้อหนึ่ง ในรายวิชานี้ เนื่องจากโปรแกรม GSP เป็นโปรแกรมที่มี ประสิทธิภาพในการใช้เป็นสื่อเพื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แบบพลวัต จากประสบการณ์การสอนของผู้วิจัยในภาคต้นปี การศึกษา 2553 พบปัญหาว่าหากนิสิตมีความรู้ความเข้าใจ มี ทั ก ษะการใช้ ง านโปรแกรม GSP และมี แ นวคิ ด การใช้ โปรแกรม GSP ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ไม่เพียงพอ นิสิตจะไม่สามารถสร้างงานผลงานต่อยอดได้อย่างมีคุณภาพ หากนิสิตมีข้อสงสัยเกี่ยวกับโปรแกรมนอกเวลาเรียน นิสิต ต้องนัดพบผู้สอนหรือรอเวลาเรียนครั้งต่อไปซึ่งอาจทาให้ จังหวะการเรียนรู้ของนิสิตไม่ต่อเนื่อง และในบางครั้งนิสิตมี ปัญหากรณีเดียวกันผู้สอนต้องตอบคาถามซ้าบ่อยครั้ง อีก ประเด็นเป็นข้อคิดเห็นของผู้วิจัยที่พบว่า เนื่องจากโปรแกรม GSP เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพเป็นที่รู้จักและใช้ในการ เรียนการสอนคณิตศาสตร์หลายประเทศ ดังนั้นองค์ ความรู้ และเทคนิคแนวทางการใช้โปรแกรมจึง มีอยู่มาก การหมั่น ศึ ก ษาหาความรู้ เ พิ่ ม เติ ม จากแหล่ ง เรี ย นรู้ ต่ า ง ๆ จึ ง เป็ น พฤติกรรมการเรียนที่ผู้เรียนพึงควรมี จากการศึกษาคุณลักษณะของสื่อสังคมที่มีลักษณะเป็นเว็บ 2.0 อันเอื้อต่อการสร้าง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแบ่งปันข้อมูล เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการมีส่วนร่วมกับ ข้อมูลในเครือข่าย หากจัดการเรียนรู้โดยศึกษาจากปัญหาที่ ตรงตามสภาพจริ ง จะท าให้ ก ารเรี ย นรู้ มี ค วามหมายและ น่าสนใจยิ่งขึ้น ทั้งนี้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา

คาสาคัญ: สื่อสังคม ปัญหาเป็นฐาน โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad นิสิตสาขาวิชาการสอน คณิตศาสตร์

1) บทนา ในปั จ จุ บั น เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร (Information Communication and Technology: ICT) มี ความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง การติดตาม ความก้าวหน้าและรับ รู้ถึงประโยชน์ข อง ICT ตลอด จนถึงการเลือกใช้ ICT ให้เหมาะสมกับบริบทเป็นสิ่ง สาคั ญ ประการหนึ่ ง ของบุ ค คลที่ อ ยู่ ใ นสั ง คมแห่ ง การ เรียนรู้ จากประสบการณ์ของผู้วิจัยที่ศึกษาและใช้ ICT หลายประเภท พบว่าการใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใน ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงจากการใช้อินเทอร์เน็ตเพือ่ การ รับข้อมูลหรือเว็บ 1.0 มาเป็นการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อสร้าง แลกเปลี่ยน และแบ่งปันข้อมูลที่เรียกว่า เว็บ 2.0 หลาย เว็บไซต์ได้ใช้แนวคิดเว็บ 2.0 สร้างสื่อสังคม(Social 178


เป็ น ฐานเป็ น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ น่ า สนใจในการเชื่ อ มโยง ปัญหาจากประสบการณ์จริง และนาความรู้ที่ศึกษาไปใช้ แก้ปัญหาได้ โดยกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในด้านการแสวงหาความรู้ที่เกี่ยว ของกับปัญหา การหาแนวทางแก้ไขปัญหา การแก้ปัญหา การนาเสนอและการประเมินผลทั้งตัวผู้เรียน เพื่อนและ ผู้ ส อน โดยผู้ ส อนจะเปลี่ ย นบทบาทเป็ น ผู้ ใ ห้ ค วาม ช่วยเหลือเป็นหลัก(กระทรวงศึกษาธิการ, 2550 และ Tan, 2003) ผู้ วิ จั ย ในฐานะผู้ ส อนจึ ง สนใจใช้ สื่ อ สั ง คมและ ปั ญ ห า เ ป็ น ฐ า น เ พื่ อ พั ฒ น า กิ จ ก ร ร ม ที่ ส่ ง เ ส ริ ม ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม GSP ของนิสิต สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ และศึกษาความสามารถ ในการเรี ย นรู้ โ ปรแกรม GSP ของนิ สิต ที่ ไ ด้ รั บ จาก กิจกรรมที่พัฒนาขึ้นในรายวิชาการประยุกต์คอมพิวเตอร์ สาหรับครูสอนคณิ ตศาสตร์ ภาคต้ น ปีการศึกษา 2554 ตามแนวการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและปรับปรุงให้ได้ รูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมุ่งหวังว่า ผู้เรียนจะมีความสามารถในการเรียนรู้ที่ดีขึ้น มีวินัยใน การเรียนและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผลการวิจัย และข้อค้ นพบที่ได้ จะเป็น แนวทางแก่ผู้สอนในการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการเรียนรู้ของนิสิตต่อไป

ส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้สอน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการสอนเนื้อหาที่มีลักษณะคล้ายคลึง กันสามารถนาไปใช้ได้ต่อไป

4) นิยามศัพท์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคม หมายถึง การจัด กิจกรรมให้ผู้เรียนได้ใช้ช่องทางในการติดต่อสื่อสาร ศึกษา ค้นคว้า แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างเนื้อหาผ่านเว็บไซต์ได้ ด้วยตนเอง การวิจัยในครั้งนี้ได้ใช้สื่อสังคม ได้แก่ Facebook Youtube Wiki และ weblog รวมทั้งการใช้ระบบสนับสนุน การเรี ย นการสอน M@xlearn เว็ บ บอร์ ด และเว็ บ ไซต์ ท าง การศึกษาคณิตศาสตร์ ต่าง ๆ ประกอบการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน หมายถึ ง การจัดกิจกรรมที่ ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น ให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้โดยผู้สอนเป็นผู้นาเสนอปัญหาที่เชื่อมโยงกับความรู้ หรือประสบการณ์เดิม ให้ผู้เรียนพิจารณาข้อมูลจากปัญหา หาข้อมู ลที่เกี่ยวช้องเพิ่มเติม รวบรวมข้อมูล และพิ จารณา ข้อ มูล ที่ เหมาะสมในการน ามาใช้ เพื่ อ เป็ นแนวทางในการ แก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นให้ผู้เรียน ปฏิ บั ติ ก ารแก้ ปั ญ หาจริ ง พร้ อ มน าเสนอผลงานและ ประเมินผลงาน ความสามารถในการเรี ย นรู้ โ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรม GSP หมายถึง ความสามารถของ นิสิตในการใช้เครื่องมือและคาสั่งของโปรแกรม GSP อย่างมี ประสิทธิภาพในการสร้างสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์และการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับ ขั้ น ตอนการเรี ย นการสอนและสถานการณ์ โ ดยประเมิ น ความสามารถจากคะแนนผลงาน และปั ญ หาพิ เ ศษ ซึ่ ง กาหนดเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับดี มาก ระดับดี ระดับพอใช้ ระดับน้อย และระดับปรับปรุง

2) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถในการ เรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad โดยใช้สื่อ สัง คมและปั ญ หาเป็น ฐานของนิ สิตสาขาวิ ชาการสอน คณิตศาสตร์ 2. เพื่อศึกษาความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad โดยใช้สื่อสังคมและปัญหา เป็นฐานของนิสิตสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์

5) วิธีวิจัย

3) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ กลุ่มที่ศึกษาคือ นิสิต ปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ช าการสอนคณิ ต ศาสตร์ ชั้ น ปี ที่ 4 ที่ ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการประยุกต์คอมพิวเตอร์สาหรับครู

ผลจากการวิจัยในครั้งนี้จะทาให้ได้แนวทางการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad โดยใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐานเพื่อ 179


สอนคณิตศาสตร์ ภาคต้น ปีการศึกษา 2554 จานวน 22 คน ใช้เวลาในการวิจัย 10 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง ผู้วิจัยดาเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังนี้ 5.1) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย ได้ แ ก่ แผนการจั ด การ เรียนรู้ที่เน้นการใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐาน แบบ สัมภาษณ์ แบบประเมินผลงาน แบบประเมินปัญหา พิเศษ แบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้รายสัปดาห์ แบบ บันทึกหลังสอน แบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้รายวิชา 5.2) การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้มีแนว ทางการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบ่งเป็นรายด้าน ดังนี้ 5.2.1 ด้านการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โปรแกรม GSP โดยใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐานของนิสิต ผู้วิจัยเก็บ รวบรวมข้อมูลแบ่งตามช่วงเวลาดังนี้ 5.2.1.1 การเก็บข้อมูลก่อนเรียน เพื่อศึกษาข้อมูล พื้นฐานของนิสิตในด้านความรู้และประสบการณ์เดิมที่ เกี่ยวข้องกับการใช้โปรแกรม ความคาดหวังของนิสิตใน การจัดกิจกรรมและเมื่อจบรายวิชา เพื่อเป็นประโยชน์ใน กา ร ว า ง แ ผ น ก าร จั ด กิ จ ก ร ร ม ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ความสามารถและความต้องการของผู้เรียนทั้งนี้อยู่บน บริบทของแบบประมวลรายวิชา เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล คื อ แบบสั ม ภาษณ์ และใช้ ก าร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้ อหา จากนั้นนาผล การศึกษาไปออกแบบการจัดการเรียนรู้ 5.2.1.2 การเก็บข้อมูลระหว่างเรียน เพื่อประเมิน แก้ ไ ขและปรั บ ปรุ ง แผนการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ หลังจากการเรียนในแต่ละครั้ง เมื่อปรับปรุงแล้วนาไปใช้ สอนในครั้งต่อไปพร้อมนาผลที่ได้ จากการจัดกิจกรรม ประเมินอีกครั้งเป็นไปตามกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้รายสัปดาห์ แบบบันทึก หลั ง สอนในระหว่ า งเรี ย นโดยน ามาวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา ประกอบกั บ การน าผลการวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล ด้ า น ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม GSP ของนิสิตใน แต่ละกิจกรรมมาพิจารณาเพิ่มเติม 5.2.1.3 การเก็บ ข้ อ มูล หลั งเรี ย น เพื่ อ ประเมิ น แก้ไขและปรับปรุงกิจกรรมในภาพรวมของรายวิชา เพื่อ นาแนวทางการจัดกิจกรรมไปใช้ในปีต่อไป เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบบันทึกสะท้อนการ

เรียนรู้รายวิชาโดยนามาวิเคราะห์เนื้อหา ประกอบกับการนา ผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ด้ า นความสามารถในการเรี ย นรู้ โปรแกรม GSP ของนิสิตตลอดระยะเวลาวิจัย 5.3) ด้านความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม GSP ของ นิสิต เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้ รายสัปดาห์ แบบบันทึกหลังสอนในระหว่างเรียนโดยนามา วิเคราะห์เนื้อหา และรวบรวมข้อมูลระหว่างเรียนและหลัง เรียนจากแบบประเมินผลงานและปัญหาพิเศษของนิสิต และ ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่และร้อยละตามเกณฑ์ การประเมินกับข้อมูลเชิงปริมาณดังนี้ คะแนนอยู่ในช่วงร้อยละ 80 - 100 หมายความว่า ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรมอยู่ในระดับดีมาก คะแนนอยู่ในช่วงร้อยละ 70 - 79 หมายความว่า ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรมอยู่ในระดับดี คะแนนอยู่ในช่วงร้อยละ 60 - 69 หมายความว่า ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรมอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนอยู่ในช่วงร้อยละ 50 – 59 หมายความว่า ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรมอยู่ในระดับน้อย คะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 หมายว่าความสามารถใน การเรียนรู้โปรแกรมอยู่ในระดับปรับปรุง

6) ผลวิจัย 6.1) การพัฒนากิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสามารถในเรียนรู้ โปรแกรม GSP โดยใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐานของนิสิต ผู้วิจัย วิ เคราะห์ข้ อมู ล ก่อ นเรี ยนและระหว่ างเรีย นเพื่ อเป็ น แนวทางในการสร้าง ปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมที่ส่งเสริม ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม GSP โดยใช้สื่อสังคม และปัญหาเป็นฐานของนิสิตสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ ตามกระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนได้พบประเด็นที่ น่าสนใจดังนี้ 6.1.1 จากการเก็บข้อมูลก่อนเรียน ด้วยแบบสัมภาษณ์พบว่า นิ สิต ทุ กคนมี พื้ น ฐานด้ านความรู้ แ ละประสบการณ์ เ ดิ ม ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ โปรแกรมพื้ น ฐานและ อิน เทอร์เ น็ ตเป็ นอย่ างดี มี สามารถในการเรีย นรู้สื่อ สัง คม ค่อนข้างดี โดยพบว่านิสิตร้อยละ 90 เป็นสมาชิกของเว็บไซต์ Facebook และนิสิตส่วนใหญ่เข้าเว็บไซต์ดังกล่าวโดยเฉลี่ย ½ - 1 ชั่วโมงต่อวัน ในประเด็นเกี่ยวกับโปรแกรม GSP 180


พบว่านิสิตส่วนมากไม่มีความรู้และไม่มีประสบการณ์ การใช้ โ ปรแกรม GSP แต่ นิ สิ ต ทุ ก คนเคยเห็ น การใช้ โปรแกรมจากการสาธิ ต ของผู้ ส อนในสาขาการสอน คณิตศาสตร์ และสนใจที่จะใช้โปรแกรม GSP ให้เป็น ประโยชน์ นิสิตบางคนเคยลองใช้โปรแกรม GSP ตอน เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาแต่ ไ ม่ เ ชี่ ย วชาญ นิ สิ ต ทุ กคนมี ความคาดหวั ง ว่ า อยากให้ จั ด กิ จ กรรมที่ น่ า สนใจและ หลากหลาย อยากให้ มี เ วลาพั ก ระหว่ า งคาบเนื่ อ งจาก ชั่ ว โมงเรี ย นค่ อ นข้ า งยาว และเมื่ อ จบรายวิ ช านิ สิ ต คาดหวังว่าจะสามารถใช้โปรแกรม GSP ในการสร้างสื่อ การเรียนรู้และสร้างผลงานที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ได้เป็น อย่ างดี จากข้ อมู ล ที่ไ ด้ผู้ วิจั ยน าไปใช้ เป็ นแนวทางการ ออกแบบกิจ กรรมการเรี ย นรู้ โดยคานึ งถึ ง ความรู้ แ ละ ความสามารถเดิมของนิสิต รูปแบบของกิจ กรรม และ ระยะเวลาการจัดกิจกรรม เป็นต้น

เรียนการสอน (Learning management system: LMS) ของ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ (M@xlearn) ในการสร้ า ง คลังข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ ไฟล์ PowerPoint ที่สอนในชั้นเรียน ไฟล์ คู่ มื อ ไฟล์ ตั ว อย่ า งโปรแกรม URL ของเว็ บ ไซต์ ที่ เกี่ยวข้องที่ผู้วิจัยเลือกให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี เป็นต้น เพื่อให้ นิสิตสามารถดาวน์โหลดไปทบทวนหรือศึกษาเพิ่มเติม การ ส่งงานในระบบ M@xlearn ที่ มีร ายละเอีย ดบัน ทึกวัน และ เวลาที่ส่งงานชัดเจน จากการเก็บข้อมูลเบื้องต้นที่พบว่านิสิตส่วนใหญ่มีพฤติกรรม การใช้สื่อสังคมบ่อยครั้ง รวมทั้งตัวผู้วิจัยมีความถนัดและมี ความสะดวกในการใช้ ง านสื่ อ สั ง คม ผู้ วิจั ย จึ ง เลื อ กใช้ สื่ อ สังคมที่หลากหลาย ได้แก่ Facebook YouTube Weblog และ Wiki เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม ผู้วิจัยพบว่าการสอนโดยการ ใช้สื่อสังคมในช่วงแรกประสบปัญหาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของนิ สิ ต ไม่ ล ะเอี ย ด ขาดการวิ เ คราะห์ ชิ้ น งาน หรื อ การ อภิปรายชิ้นงานของเพื่อนขาดการใช้หลักการและเหตุผลทาง วิชาการที่ เ หมาะสม ซึ่ง อาจเป็ น เพราะนิ สิตคุ้ น เคยต่ อ การ พิ ม พ์ ข้ อ ความสั้ น ๆ เพื่ อ ตอบในสื่ อ สั ง คมอย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการและขาดตัวอย่างแนวทางในการตอบ ฉะนั้นผู้วิจัยจึง หาแนวทางแก้ไขโดยการนาเสนอตัวอย่างการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ที่ชัดเจนเพิ่มเติม และสอนวิธีการวิเคราะห์ อภิปราย งานต่ าง ๆ ผู้ วิจั ย พบอี กว่ าการจั ด กิจ กรรมโดยการใช้ สื่ อ สังคมนั้นผู้สอนต้องพยายามเข้าไปเสนอแนะงานทุกชิ้นที่ นิ สิต ส่ ง ให้ เ ร็ ว เท่ าที่ ท าได้ เ พื่ อ ให้ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ และเพื่ อ การศึ กษาเพิ่ ม เติ ม ต่ อ เนื่ อ งของนิ สิต แต่ ล ะคนต่ อ ไป ทั้ ง นี้ พบว่านิสิตส่วนใหญ่มีความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือ และค าสั่ ง ของโปรแกรม GSP พร้ อ มบอกเหตุ ผ ลให้ สอดคล้องกับโจทย์และเนื้อหาคณิตศาสตร์ได้ถูกต้องมากขึ้น ดังที่นิสิตสะท้อนความคิดไว้ว่า

6.1.2 จากการเก็บข้อมูลระหว่างเรียน ด้วยแบบบันทึก สะท้อนการเรียนรู้รายสัปดาห์ในระบบ M@xlearn แบบ บั น ทึ กหลั ง สอนของผู้ วิจั ย โดยน ามาวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา ประกอบกับผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสามารถใน การเรียนรู้โปรแกรม GSP ในแต่ละกิจกรรม ผู้ วิจัยได้ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมิน แก้ไขและปรับปรุงเพื่อใช้ใน การจั ด กิ จ กรรมครั้ ง ต่ อ ไปตลอดระยะเวลาวิ จั ย จนได้ แนวทางของการจัดกิจกรรมแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ 6.1.2.1 การจั ดกิจ กรรมการเรี ยนรู้ โปรแกรม GSP ภาค ทฤษฏีและภาคปฏิบัติ ผู้วิจัยให้คู่มือ เอกสารอ้างอิง และ แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญเพื่อเรียนรู้ให้ครอบคลุมเนื้อหา และ การฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับประมวลการเรียนรู้รายวิชา ในหัวข้อการเรียนรู้เครื่องมือและค าสั่ง ของโปรแกรม GSP ซึ่งพบว่าระหว่างการสอนในแต่ละครั้งมีคาถามที่ น่ า สนใจจากนิ สิ ต หลายค าถาม และจากการค้ น คว้ า เพิ่มเติมของผู้วิจัยที่หาความรู้เสริมให้กับนิสิต เช่น การ ใช้เครื่องมือหรือคาสั่งในโปรแกรม GSP ที่มีเทคนิคลัด หรือการค้นพบวิธีการสร้างที่ง่ายและเข้าใจได้ชัดเจนกว่า เป็นต้น จากประเด็นดังกล่าวผู้วิจัยจึงนามาปรับปรุงโดย ปรับคู่มือเพิ่มเนื้อหาให้สอดคล้องกับคาถามของนิสิตใน ระหว่างการสอน ประกอบการใช้ระบบสนับสนุนการ

“การติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ าน Facebook ท าให้ สามารถติ ด ต่ อ อาจารย์ได้ตลอด สะดวก รวดเร็ว การส่งงานผ่าน M@xlearn ก็มีความสะดวก ยังมีติดต่อทาง e-mailสาหรับการส่งงานที่มี ขนาดใหญ่และส่งล่าช้าได้อีกด้วย" “ตัวเองชินกับการเขียนตอบสั้น ๆ เหมือนที่เขียน comment เพื่อนใน Facebook ทั่วไป ก็ต้องไปปรับปรุง การตอบกลับ 181


ผ่านทาง Facebook อย่างรวดเร็วของอาจารย์ทาให้มีเวลา กลับไปแก้ไขงานมากขึ้น”

“ในการเรียนการสอน มีลักษณะการตั้งคาถามหรือปัญหาที่ ให้หาคาตอบหรือแสดงความคิดเห็น ทาให้ได้ใช้ความคิด ตลอด ไม่น่าเบื่อ บรรยากาศในห้องเรียนไม่เกิดความกดดัน เป็นกันเอง เมื่อนิสิตมีข้อสงสัยระหว่างเรียน หรือมีปัญหา ระหว่างเรียน(การใช้โปรแกรม GSP) การให้คาแนะนาและ ตอบข้อสงสัย รวมทั้งการตั้งปัญหาที่น่าสนใจที่เกี่ยวข้องกับ การใช้โปรแกรม GSP ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ทา ให้ พ วกเรารวมกลุ่ ม ค้ น คว้ าจากหาข้ อ มู ล หาแนวทางการ แก้ปัญหา และออกมานาเสนอ สนุกและท้าทายความคิดดี มาก”

รูปที่ 1 : บรรยากาศการเรียนรู้ในห้องเรียน 6.1.2.2 การให้ กรณี ศึกษาพร้อ มการใช้ สื่อสั งคมและ ปัญหาเป็ นฐานเพื่อเพิ่ม ความสามารถแก่ผู้เรีย นในการ สร้างผลงาน ผู้วิจัยจัดกรณีศึกษาหัวข้อ “การใช้โปรแกรม GSP ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์” จากวีดิทัศน์ใน สื่อสังคม ได้แก่ Youtube เว็ บไซต์ที่เ กี่ยวข้อ งที่ผู้วิจั ย จัดเตรียมและนิสิตสืบค้น พร้อมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน Facebook และการส่งผลงานใน M@xlearn พบว่านิสิต ทุกคนให้ ความสนใจอย่ างดี นิ สิต ได้ เห็ นแนวทางการ จั ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ โ ปรแกรม GSP ในการ ปฏิบั ติการสอนจริง ของผู้ สอน ผู้ เชี่ ยวชาญในประเทศ และต่างประเทศ ผู้วิจัยกาหนดปัญหาเป็นฐานในการคิด หาแนวทางการสอนเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่แตกต่างกันใน การสอนหรือการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรม GSP เปิดโอกาสให้นิสิตคิดต่างอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งพบว่า การคิดวิเคราะห์แนวทางการสอนด้วยโปรแกรม GSP ที่ นิ สิต น าเสนอในตอนแรกยั ง ขาดความถู ก ต้ อ งทั้ ง ด้ า น เนื้อหาและวิธีการสอน ผู้วิจัยจึงปรับแนวการจัดกิจกรรม ให้ นิ สิต ทบทวนเนื้ อ หาให้ แ ม่ น ย าและทบทวนวิ ธีการ สอนที่หลากหลายก่อนแล้ วจึงให้นิสิตกลับมาวิเคราะห์ งานอี ก ครั้ ง หนึ่ ง ผลที่ ไ ด้ พ บว่ า นิ สิ ต มี แ นวทางการ วิเคราะห์ที่ถูกต้องและชัดเจนมากขึ้น เมื่อนิสิตได้ลงมือ ปฏิบัติการใช้งานโปรแกรม GSP หลังเรียนรู้โปรแกรม GSP ขั้นพื้นฐาน และการคานึงถึงเนื้อหาและวิธีสอนแล้ว นิสิตหลายคนเรียนรู้เทคนิคการใช้ งานโปรแกรม GSP ขั้นสูงหรือเทคนิค การสอนคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรม GSP จากสื่อสังคมและเว็บไซต์ต่าง ๆ แล้วมาแลกเปลี่ยน เรียนรู้สร้างเป็นกระทู้ใน Facebook ทาให้งานของนิสิต น่ า สนใจ มี ค วามถู ก ต้ อ งและสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความสามารถในการใช้ โ ปรแกรม GSP ที่ เพิ่ ม มากขึ้ น โดยนิสิตให้ความเห็นดังนี้

“สื่อในการนาเสนอน่าสนใจ มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ได้ อย่างเหมาะสม เช่น มีกลุ่มวิชาใน Facebook มีการให้แบ่งปัน วิดี โ อต่ าง ๆ ที่ เ กี่ยวกับ การเรี ย น นั กเรี ย นมี การค้ น คว้ าหา ความรู้จากนอกห้องเรียน ทาให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ เป็นต้น”

รูปที่ 2 : ตัวอย่างเครื่องมือสื่อสังคมและระบบสนับสนุนการ เรียนการสอน LMS M@xlearn 6.1.2.3 การทาปัญหาพิเศษเพื่อประมวลความรู้และนาเสนอ ผลงานพร้อมการใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐาน ผู้วิจัยได้ ออกแบบกิจกรรม 2 หัวข้อ คือ การตั้งสถานการณ์ หรือ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ให้นิสิตจัดทาแนวทางจัดกิจกรรม การเรียนรู้คณิตศาสตร์และการสร้างผลงานสร้างสรรค์ด้วย โปรแกรม GSP หัวข้อ “มุมที่ชอบในรั้วมก.” โดยผู้วิจัย น าเสนอสถานการณ์ ก ารเลื อ กเนื้ อ หาคณิ ต ศาสตร์ ต าม หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานเพื่ อ ให้ นิ สิ ต ออกแบบ กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ด้ ว ยโปรแกรม GSP ที่ เหมาะสม ให้นิสิตวางแผนกระบวนการทางาน พิจารณาถึง ความเหมาะสมและแนวทางการสร้างชิ้นงานด้วยโปรแกรม GSP นิ สิตสามารถปรึ กษากับ ผู้วิจั ย ได้ โ ดยมี ช่องทางการ ติดต่อสื่อสารทั้งการนัดพบ อีเมล์ หรือสื่อสังคมต่าง ๆ ทั้งนี้ 182


ในช่ ว งแรกของการให้ ค าปรึ ก ษาผู้ วิจั ย พบว่ า การตั้ ง หั ว ข้ อ ของการปรึ ก ษาในสื่ อ สั ง คมไม่ ไ ด้ จั ด ให้ เ ป็ น หมวดหมู่ ท าให้ นิ สิ ต มี ค วามล าบากในการติ ด ตาม ข้ อ เสนอแนะ ผู้ วิ จั ย จึ ง ได้ นิ สิ ต เป็ น ผู้ ช่ ว ยในการตั้ ง หมวดหมู่ ข องการอภิ ป รายท าให้ ผู้ วิ จั ย และนิ สิ ต ดาเนินงานได้ง่ายขึ้น ข้ อ ค้ นพบ ที่ ส าคั ญ ป ระการห นึ่ ง จ ากการวิ จั ย คื อ ประสิทธิภาพของการใช้สื่อสังคมร่วมการใช้ปัญหาเป็น ฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ Facebook ตั้งและการตอบ ค าถามในการท าปั ญ หาพิ เ ศษที่ บ างครั้ ง นิ สิต บางคนมี ประเด็นสงสัยเดียวกัน การถามและตอบใน Facebook ทา ให้นิสิตคนอื่นที่ มีปัญ หาใกล้เ คียงกันได้รับ รู้พร้ อมกัน และประเด็ น การถามและตอบยั ง อยู่ เ ป็ น หมวดหมู่ ใ น ระบบเครือข่ายได้ยาวนาน แต่ทั้งนี้หากการตอบหรือการ ให้คาแนะนาด้วยข้อความที่ยาว ต้องอาศัยการอภิปราย กันมาก การใช้ช่องทางการสื่อสารนี้จะค่อนข้างลาบาก ทั้ ง การพิ ม พ์ แ ละการเข้ า ใจ ผู้ วิ จั ย ก็ เ ลื อ กปรั บ การใช้ ช่องทางการสื่อสารนี้ เช่นกันเพื่ อนัดพบเป็ นรายบุคคล หรื อ กลุ่ ม ย่ อ ยจะสะดวกและคล่ อ งตั วมากกว่ า ซึ่ ง การ ติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ประสานงาน ติ ด ตามงานนิ สิ ต จากการ สั ง เกตการเขี ย นลงบนกระดานข้ อ ความ(Wall) ของ Facebook ที่ระบุวันและเวลาที่ชัดเจน การให้เพื่อนช่วย ติ ด ตามหรื อ การรายงานสถานการณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ รายวิชาและอื่น ๆ ด้วย Facebook นี้มีประโยชน์อย่างยิ่ง ดังที่นิสิตสะท้อนว่า “การนา internert และ Facebook เข้ามาใช้ร่วมกับการ จัดการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่ดีค่ะ เพราะทาให้มีช่องทาง ติดต่อกับอาจารย์ได้มากขึ้น ทาให้ได้คอยเข้ามาดู ทราบ ข่ าวสารของชั้ น เรี ย นมากขึ้ น ติ ด ตามอ่ านได้ ง่ า ยและ สะดวกมาก อาจารย์มีการดูแลนิสิตอย่างทั่วถึงและเท่า เทียมกัน”

ประเมินผลงานเพื่อน และผู้วิจัยประเมินผลงานนิสิต ด้วย แบบประเมินผลปัญ หาพิเศษเพื่อให้ข้ อมูลย้อนกลับซึ่งกัน และกัน ฝึ กการวิ พ ากษ์ อ ย่ างมี ห ลั กการและเหตุ ผ ลตลอด กระบวนการทั้งในสื่อสังคมและในชั้นเรียน ผู้วิจัยพบว่า แม้ว่าในระยะแรกนิสิตบางคนประสบปัญหาเรื่ องการเลือก เนื้ อ หาคณิ ตศาสตร์ ที่ เหมาะสมกับ โปรแกรม GSP การใช้ โปรแกรม GSP สร้ า งสื่ อ การเรี ย นรู้ และการออกแบบ กิจกรรมในการทาปัญหาพิเศษ แต่นิสิตก็ใช้วิธีการถามตอบ ใน Facebook และนั ด พบกั บ ผู้ วิ จั ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอด ระยะเวลาในการทางาน แต่พบว่ามีนิสิตจานวน 2 คนขาดการ ส่งงานและขาดการติดต่อสื่อสาร แต่ด้วยความร่วมมือของ เพื่อนนิสิตที่ช่วยติดต่อจากหลายช่องทางการสื่อสารรวมทั้ง ใน Facebook ของรายวิ ชา สุ ด ท้ ายนิ สิต ทั้ ง สองได้ ติ ด ตาม ทางานเป็นที่เรียบร้อย

รูปที่ 3 : การนาเสนอปัญหาพิเศษของนิสิตรายบุคคล นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ประมวลคะแนนจากแบบประเมินผลของ เพื่ อ นนิ สิ ต และผู้ วิ จั ย เพื่ อ หาคะแนนนิ ย มอั น ดั บ หนึ่ ง และ อันดับสอง และประกาศรายชื่อลงใน Facebook เพื่อนนิสิต ชื่นชมและให้กาลังใจการตั้งใจทางานของนิสิตต่อไป 6.1.3 จากการเก็บ ข้ อ มู ล หลั ง เรีย น ด้ วยแบบสะท้ อ นการ เรี ย นรู้ ร ายวิ ช าของนิ สิ ต และผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ด้ า น ความสามารถในการเรียนรู้ โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ของนิสิตตลอดระยะเวลาวิจัยเพื่อประเมิน แก้ไข และปรับปรุงกิจกรรมในภาพรวมของรายวิชา และเตรียมใช้ เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมไปใช้ในปีต่อไป พบว่า นิสิตมี ความคิ ด เห็ น ต่ อ การจั ด กิ จ กรรมว่ ามี ค วามเหมาะสม เห็ น ประโยชน์ ข องการใช้ สื่อ สั ง คมประกอบการเรี ย นโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน ช่วยเพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและนิสิต เน้ น การมี วินั ย ของการตรงต่ อเวลาในการเรี ย นและความ รับผิดชอบในการส่งงานที่ผู้วิจัยใช้วันและเวลาที่ปรากฏใน สื่อสังคมต่าง ๆ ดังที่นิสิตได้สะท้อนความคิดไว้ดังนี้

หลั ง จากที่ นิ สิต ได้ รั บ ค าแนะน าจากการปรึ ก ษาผู้ วิ จั ย หลายช่องทาง การศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อหาแนวทาง ในการแก้ ปั ญ หา และการลงมื อ สร้ า งผลงาน ตาม กระบวนการการใช้ปั ญหาเป็ นฐานแล้ว ผู้ วิจัย ให้ นิสิต นาเสนอข้ อค้ นพบและแนวปฏิ บั ติห น้าชั้น เรีย น มีการ ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ โดยนิ สิต ประเมิ น ตนเอง นิ สิต

“การจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสมกับวิชานี้ มีทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยให้ปฏิบัติไปพร้อม ๆ กับการ 183


สอนของอาจารย์ เพื่ อ ให้ นิสิต ท าตามได้ ทั น ถ้ าไม่ ทั น อาจารย์ก็จะสอนทบทวนอีกครั้ง การให้งานของอาจารย์ และระยะเวลาส่งงานเหมาะสมกับเนื้อหาที่ได้เรียนไปใน แต่ละครั้ง อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาแหล่งเรียนรู้ สาหรับสร้างสื่อ GSP ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้สื่อสังคม ต่าง ๆ อาจารย์สอนให้นิสิตพัฒนาตนเองไม่ใช่แค่เรื่อง เรี ย น ทั้ ง เรื่ อ งของความรั บ ผิ ด ชอบ ความตรงต่ อ เวลา นอกจากนี้ อ าจารย์ ยั ง มี การติ ด ต่ อ สื่ อ สารกับ นิ สิ ต ทาง Facebook เพื่อให้รู้ข่าวสารอย่างรวดเร็วทั่วถึง และสร้าง ความเป็นกันเองระหว่างอาจารย์และนิสิตได้ดีมากค่ะ”

ตารางที่ 1: คะแนนความสามารถเรียนรู้โปรแกรม GSP เกณฑ์ การ ประเมิน คะแนน อยู่ ในช่วง ร้อยละ 80 - 100 70 - 79 60 - 69

“รู้สึกว่าชอบเรียนวิชานี้มาก ทาให้ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ทั น สมั ย มี การยกตั วอย่ างที่ เ ป็ น เรื่ อ งใกล้ ตั ว ชอบการ ทางานสุด ท้าย คือ สื่อสร้ างสรรค์ ถึงจะเหนื่ อยและใช้ เวลาทานาน(มาก) แต่ก็มีความสุขเมื่องานเสร็จเหมือนว่า ..เราได้สร้างสิ่งที่เราคิดออกมาเป็นรูปร่างให้เพื่อน ๆ และ อาจารย์ได้รับรู้จนได้”

จานวนนิสิต (ร้อยละ) ที่ได้จาก การ การ การสรุปผล ประเมินผ ประเมิน การประเมิน (85 คะแนน) ลงาน ปัญหา (50 คะแนน) พิเศษ

แปล ความ หมาย

(35 คะแนน)

6 (27.3) 11 (50.0) 5 (22.7)

8 (36.4) 12 (54.5) 2 (9.1)

7 (31.8) 11 (50.0) 4 (13.6)

ดีมาก ดี พอใช้

จากตาราง พบว่า นิสิตส่วนใหญ่มีความสามารถในการเรียนรู้ ในโปรแกรม GSP ในระดับดีถึงดีมากโดยพิจารณาจาก 1) การประเมินจากผลงานทั้งหมด 3 ครั้ง นิสิตมีความสามารถ ในระดับดีถึงดีมากจานวน 17 คนคิดเป็นร้อยละ 77.3 2) การ ประเมินปัญหาพิเศษ นิสิตมีความสามารถในระดับดีถึงดีมาก จานวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 90.9 และ 3) การสรุปผลการ ประเมิ น ทั้ ง จากผลงานและปั ญ หาพิ เ ศษ พบว่ า นิ สิ ต มี ความสามารถในระดับดีถึงดีมากจานวน 18 คนคิดเป็นร้อย ละ 81.8 แสดงให้เห็นว่านิสิตมีความสามารถในการเรียนรู้ โปรแกรม GSP มากขึ้นจากการประเมินผลงานไปสู่การทา ปัญหาพิเศษ 6.2.2 ผลจากแบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้รายสัปดาห์ แบบ บันทึกหลังสอน และแบบสะท้อนการเรียนรู้รายวิชาที่แสดง ถึงการประเมินความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม GSP ของนิสิต พบว่านิสิตสะท้อนความคิดว่า นิสิตมีความเข้าใจ และเรียนรู้โปรแกรม GSP อย่างเป็นลาดับขั้น ได้เรียนรู้จาก ง่ายไปยาก รับรู้ว่าตนเองมีการพัฒ นาการเรีย นรู้เพิ่ มขึ้น มี ความสามารถในการใช้งานโปรแกรม GSP มากขึ้น พร้อม กั น นั้ น รู้ สึ ก สนุ ก ในการศึ ก ษาค้ น คว้ า หาความรู้ เ พิ่ ม เติ ม สามารถสร้ า งชิ้ น งานได้ เ องด้ ว ยความภาคภู มิ ใ จ และ ตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ของการใช้ โ ปรแกรม GSP ให้ เหมาะสม ดังที่นิสิตสะท้อนความเห็นว่า

6.2 ความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ของนิสิต ผู้วิจัยประเมินความสามารถในการเรียนรู้โปรแกรม GSP ของนิสิตเป็นระยะ ตลอดการวิจัยระหว่างเรียนและหลัง เรียน โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินผลงานและ แบบประเมินปัญหาพิเศษโดยใช้ความถี่และร้อยละตาม เกณฑ์การประเมินกับข้อมูลเชิงปริมาณ และการวิเคราะห์ ข้อมูลจากแบบบันทึกสะท้อนการเรียนรู้รายสัปดาห์ แบบ บั น ทึ กหลั ง สอน และแบบสะท้ อ นการเรี ย นรู้ ร ายวิ ช า ได้ผลและข้อค้นพบดังนี้ 6.2.1 ผลจากแบบประเมิ น ผลงานและแบบประเมิ น ปัญหาพิเศษ ผู้วิจัยได้ผลการประเมินความสามารถการ เรียนรู้โปรแกรม GSP ดังนี้ (N=22)

“ ในตอนแรกอาจใช้ GSP ไม่คล่อง ผมจึงได้ฝึกการสร้างต่าง ๆ พร้อมกับการทาการบ้านทุกครั้ง การให้การบ้านเป็นการ 184


ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมที่ดี ทาให้เกิด ความคล่องแคล่วในการใช้งานมากขึ้น ได้ลองสารวจเอง ก่อนที่อาจารย์จะเฉลย ชอบที่ การประยุกต์หรือต่อยอด ชิ้นงาน ทาให้ได้ฝึกคิดและสามารถใช้โปรแกรม GSP ได้ ดีขึ้น”

และต่อเนื่อง สอดคล้องกับ Couros (2011) ที่กล่าวว่าการใช้ สื่อสังคม เช่น Facebook เป็นประโยชน์ทั้งผู้สอนและผู้เรียน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการเชื่อมโยง เครื อข่ ายของผู้เรี ยนในการเป็ นชุม ชนการเรี ยนรู้ เปิด โลก การศึกษา เนื่องจากธรรมชาติของรายวิชานี้เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้ ว ยการใช้ เ ทคโนโลยี แ ละสื่ อ สั ง คมในการติ ด ตามความ ทันสมัยของสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เป็นเทคโนโลยีต่าง ๆ พร้อมการใช้งานเพื่ อการเรียนรู้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งโปรแกรม GSP ที่เป็น ที่ยอมรับ ในวงการการสอน คณิตศาสตร์ ว่าเป็ นโปรแกรมดีเยี่ย มโปรแกรมหนึ่ง การ เรียนรู้โปรแกรม GSP ด้วยวิธีการใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นวิธี หนึ่งที่นิยม ดังที่ Towleh(2006) กล่าวว่าโปรแกรม GSP มี ประสิทธิภาพในการนามาใช้ในชั้นเรียนอย่างมากเพราะตัว โปรแกรมมีจุดเด่นที่ส่งเสริมให้มีการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็น ฐาน ผู้ วิ จั ย จึ ง ได้ ส ร้ างและปรั บ กิ จ กรรมให้ นิ สิ ต ได้ ใ ช้ กระบวนการเรี ย นแบบใช้ ปั ญ หาเป็ น ฐานในการเรี ย นรู้ โปรแกรม GSP ซึ่งนิสิตส่วนใหญ่มีผลการเรียนรู้ที่ดีทั้งนี้อาจ เป็นเพราะผู้วิจัยใช้สื่อสังคมร่วมโดยเฉพาะในขั้นตอนของ การเก็บรวบรวมข้อมูลหรือความรู้เพื่อนามาแก้ปัญหาและ การสื่อสารการถามตอบปัญหา ข้อสงสัยต่าง ๆ ระหว่างผู้วิจัย นิสิตและเพื่อนนิสิต ได้อย่างรวดเร็วในช่วงก่อนและระหว่าง การสอน จึงทาให้การจัดกิจกรรมมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

“สาหรับงานที่มอบหมาย อาจารย์จะบอกข้อผิดพลาด หรือเทคนิคต่าง ๆ หลังจากที่นิสิตทางานชิ้นนั้นส่งแล้ว สามารถนาคาแนะนามาปรับ ใช้กับ งานของตนได้เป็ น อย่างดี” “จากการเรียนการสอนในวิชานี้ ทาให้ได้พัฒนาในเรื่อง ของการใช้ เ ทคโนโลยี ม าใช้ ใ ห้ เ หมาะสมโดยเฉพาะ โปรแกรม GSP รู้สึกว่ามีประโยชน์มากเพราะคุณสมบัติ ของการเคลื่อนที่แบบพลวัต สามารถนามาปรับใช้เป็นสื่อ การสอนคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเนื้อหาได้เป็นอย่างดี แต่ ควรนาโปรแกรม GSP ไปใช้ให้ เหมาะสมกับเนื้อหาที่ สอน ใช้อย่างคุ้มค่าที่สุด”

7) สรุปและอภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิ จั ย ที่ แ สดงถึ ง วิ ธี ก ารพั ฒ นากิ จ กรรมการ เรียนรู้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรื อ โปรแกรม GSP โดยใช้สื่อสังคมและปัญหาเป็นฐาน เพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการเรี ยนรู้โปรแกรม GSP ของ นิสิตสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่าการ จัดกิจกรรมในครั้งนี้ส่งผลให้นิสิตมีความสามารถในการ เรียนรู้โปรแกรม GSP อยู่ในระดับดีถึงดีมากจานวน 18 คน หรือร้อยละ 81.8 และนิสิตมีความคิดเห็นที่ดีต่อการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ว่ามีประโยชน์ ทั้ งนี้อาจเป็นเพราะ ประเด็นดังนี้ 7.1 การเลื อ กใช้ สื่อ สั ง คมและปั ญ หาเป็ น ฐานเป็ น แนว ทางการพัฒนากิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับธรรมชาติ วิชา เนื่องจากผู้วิจัยทราบว่าความสามารถและพฤติกรรม ของนิสิตในการใช้เทคโนโลยีและสื่อสังคมค่อนข้างดี นิสิตส่วนมากมีแนวโน้มการใช้งานอย่างสม่าเสมอ การ ใช้ สื่ อ สั ง คมจึ ง สามารถจั ด การเรี ย นรู้ ไ ด้ ดี ใ นด้ า นการ สื่อสารและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างรวดเร็ว สะดวก

7.2 การพัฒนากิจกรรมที่ผู้วิจัยใช้การประเมินการเรียนรู้ของ นิ สิ ต เป็ น ระยะ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาตามหลั ก การวิ จั ย ปฏิบัติการในชั้นเรียน โดยมีการประเมินหลายทางทั้งการ เขียนในแบบบันทึกและการพิมพ์ผ่านสื่อสังคม Facebook YouTube Wiki และ weblog และระบบสนับสนุนการเรียน การสอน M@xlearn การสังเกตรวบรวมข้อมูลในชั้นเรีย น ผลจากการประเมิ นความสามารถในการเรี ยนรู้ โปรแกรม GSP จากผลงานและปั ญ หาพิ เ ศษ ซึ่ ง ผู้ วิ จั ย หมั่ น ติ ด ตาม ประเมินนิสิต ดูผลการประเมินที่นิสิตประเมินตนเองและ ประเมินเพื่อนนิสิต เพื่อมาประเมินกิจกรรมและประเมินการ สอนของตัวผู้วิจัยเอง รวมทั้งการให้ผลย้อนกลับแก่นิสิตใน เวลาที่ เ หมาะสมซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด การเสริ ม แรง (Reinforcement Theory) ของสกินเนอร์ที่เป็นแรงเสริมทาง สังคม (Social reinforce) ซึ่งถือได้ว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติที่สมควรใช้อย่างยิ่ง (สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต, 2539) 185


กล่าวคือบางช่วงต้องให้ผลย้อนกลับโดยทันที หรือบาง ช่ ว งต้ อ งให้ เ วลาเพื่ อ พิ จ ารณาไตร่ ต รอง ซึ่ ง การใช้ สื่ อ สังคมเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของการดาเนินการประเมิน ได้ อ ย่ างมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ดั ง นั้ น การพั ฒ นากิจ กรรมจึ ง เกิดขึ้นในทันทีเพื่อให้เป็นประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนใน การสอนครั้งต่อไป

แหล่งเรียนรู้ทั้งในชั้นเรียน และแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม เป็นต้น และสามารถสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมของการใช้งานสื่อ สังคมได้พร้อมกัน 8.4 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ การใช้สื่อสังคม ผู้สอนควรมีแนวทางการตั้งปัญหาหรือตั้ง กระทู้ ที่ ส่ง เสริ ม การคิ ด ของนิ สิต ในหลายมุ ม มองเพื่ อ เปิ ด โอกาสให้นิสิต ทุกคนเข้ามาร่วมแสดงความคิดโดยผู้สอน ต้องคอยสอนแนวทางการแสดงความคิดวิเคราะห์ที่ดีและ การดาเนินการตามกระบวนการเรียนรู้ให้ครบ 8.5 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โปรแกรม GSP ครูควรคานึงถึง ความสามารถในการเรียนของนิสิตเป็นระยะ ติดตามโดยการ ใช้ สื่ อ สั ง คม เน้ น ขั้ น ตอนการเรี ย นรู้ จ ากง่ า ยไปยาก ประกอบการใช้แนวทางการเรียนรู้ด้วยปัญหาเป็นฐานจนถึง ขั้นประยุกต์กับเนื้อหาและวิธีการสอนคณิตศาสตร์ เพราะ ด้วยลักษณะของโปรแกรมที่ต้องเรียนรู้เครื่องมือหรือคาสั่งที่ เพียงพอ การฝึกฝนให้มีทักษะการใช้โปรแกรมที่ถูกต้อง จึง จะนาไปใช้ความรู้ไปใช้ประยุกต์ต่อได้สะดวกยิ่งขึ้น 8.6 การวิจัยในครั้งต่อไป ควรคานึงถึงผลของกิจกรรมการ เรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นกับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เช่น การแก้ปัญหา การให้เหตุผล หรือการวิจัยที่คานึงถึงการ คัดสรรสื่อสังคมผนวกกับวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับการจัด กิจ กรรมการเรี ย นรู้ ใ นเชิ ง ลึ กสาหรั บ เนื้ อ หาที่แ ตกต่ างกัน อย่างเหมาะสมต่อไป

7.3 การส่งเสริมความมีวินัยในการเรียนของนิสิตในด้าน การส่ งงาน เนื่อ งจากระบบการส่ง งานของ M@xlearn และ การตั้งหรือตอบกระทู้ใด ๆ ในสื่อสังคมต่าง ๆ ตาม งานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายมี ก ารแสดงวั น และเวลาที่ ท า กระทาการได้อย่างชัดเจน จึงเป็นวิธีการตรวจสอบความ รับผิดชอบของผู้เรียนได้ดี ผู้วิจัยมีการกระตุ้น การชมเชย ให้กาลังใจ หรือการสอนทั้งด้านวิชาการและจริยธรรม ต่าง ๆ การให้ความเป็นกันเองพอสมควรเพื่อการสื่อสาร ในสื่อสังคม การปฏิบัติดังกล่าวซึ่งทาให้นิสิตมีวินัยใน การท างาน มี ใ จใฝ่ เ รี ย นรู้ กล้ า ถามและกล้ า ตอบ เพื่ อ พัฒนาการเรียนรู้โปรแกรม GSP ได้ดีอีกวิธีหนึ่ง

8) ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 8.1 กิจ กรรมการเรี ย นรู้ โ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรม GSP โดยใช้สื่อสังคมและ ปั ญ ห า เ ป็ น ฐ า น ที่ พั ฒ น า ขึ้ น ส า ม า ร ถ ส่ ง เ ส ริ ม ความสามารถในเรียนรู้โปรแกรม GSP ของนิสิตได้อย่าง ดี ดังนั้นผู้สอนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาที่มีลักษณะ เนื้อหาคล้ายคลึงกันสามารถนากิจกรรมที่พัฒนาขึ้นนี้ไป ปรับใช้ได้ 8.2 การสอนโดยใช้ สื่ อ สั ง คมนั้ น ผู้ ส อนควรมี ค วาม รับผิ ดชอบในการติ ดตามกิจกรรม การถามตอบกระทู้ หรื อ ติ ด ตามงานที่ ม อบหมายให้ กั บ นิ สิ ต พร้ อ มกั บ ให้ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ อย่ า งรวดเร็ ว เท่ า ที่ เ ป็ น ไปไ ด้ เพื่ อ พัฒนาการเรีย นรู้ ของนิสิตและเพื่อ เป็น ตัวอย่างที่ ดีกับ นิสิตในเรื่องความมีวินัยในการส่งและการตรวจงาน 8.3 ผู้สอนควรมีความรู้และความสามารถในการใช้สื่อ สังคมที่เหมาะสมเพียงพอเพื่อใช้จัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ น รายวิชา เพื่อจัดระเบียบและเก็บข้อมูลของนิสิต เช่น การ จัด กลุ่ ม ในเครื อ ข่ายสั ง คม การจัด หมวดหมู่ ของกระทู้

9) เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ: การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2539). ทฤษฏีและเทคนิคการปรับ พฤติกรรม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. Alexander, Bryan. (2006). Web 2.0: A New Wave of Innovation for Teaching and Learning?. EDUCAUSE Review. Vol.41, No.2(March/April 2006): 32-44. 186


Couros, George. (2011). Why Social Media Can and Is Changing Education. [Online]. Available from: http://www.connectedprincipals.com/archives/ 3024. Retrieved April 28, 2011. Maùoz, Lego Caroline and Towner, L. Terri. (2009). Opening Facebook: How to Use Facebook in the College Classroom. Proceeding of Society for Information Technology and Teacher Education conference in Charleston, South Carolina. Tan, Oon-Seng. (2003). Problem-based Learning Innovation: Using Problems to Power Learning in the 21st Century. Singapore: Thomas Learning. Towleh, Jennifer. (2006). Action Research Geometer’s Sketchpad: The Impact on Student Motivation and Conceptual Understanding. [Online]. Available from: ww.msu.edu/~towlehje/Towleh%20Action%2 0Research.doc. Retrieved Mar 14, 2011. Snelson, Chareen. (2011). YouTube Across the Disciplines: A review of Literature. Journal of Online Learning and Teaching. [Online]. Available from: http://jolt.merlot.org/ vol7no1/snelson_0311.htm. Retrieved April 28, 2011.

187


A Study of Factors that Influence Students’ Intention to Enroll in an Online IELTS Course Thanchanok Loviriyanan Assumption University, Master of e-Learning Methodology, Thailand (thanchanokkim@gmail.com) ABSTRACT

intention to enroll in IELTS e-Learning course.

The objectives of this study were (1) to measure whether Attitude, Subjective Norms, and Perceived Behavioral Control influence Thai students’ intention to enroll in an online IELTS course and (2) to determine the influence of the factors (Attitude, Subjective Norms, and Perceived Behavioral Control) influence Thai students’ intention to enroll in an online IELTS course.

It is found that Perceived Behavioral Control was the highest influenced factor followed by Attitude, and Subjective Norms respectively. Further, the result revealed that Self-Efficacy is the key for Perceived Behavioral Control while Perceived Ease of Use and Perceived Enjoyment are keys for Attitude and Social Influence and Media Influence are keys for Subjective Norms. The study also concluded with recommendations and suggestions for further research.

In this study, descriptive research method is applied to explore factors that have an effect on student’s intention to enroll in IELTS eLearning course. The target population was Thai students who need IELTS for all purposes either further study or for careers advancement. This study was conducted through the use of non-probability sampling technique by using convenience sampling plan to collect data. The research instrument was selfadministered questionnaire to identify factors that have an effect on students’ intention to enroll in IELTS eLearning course. Multiple Linear Regression was used to analyze the factors that influence students’ intention to enroll in an online IELTS course. The independent variables were divided into 3 groups which are Attitude, Subjective Norms and Perceived Behavioral Control. Each variable has sub constructs to measure respondents’ intention.

Keywords IELTS e-Learning, enroll in IELTS eLearning course, factors influence to enroll in e-Learning. 1) INTRODUCTION One of the worldwide test for English proficiency called the International English Language Testing System (IELTS) testing score of Thai people are ranked at the 37th at 5.8 score out of the full score (9) of the IELTS or overall skills while the required score to further study at overseas universities is 6.5 (IELTS, 2011). This study focuses on the IELTS, the world’s proven English language test to explore for the IELTS tutoring institute who are interested to expand into eLearning program to have more idea on student’s intention to enroll.

According to the hypothesis results, all hypotheses yielded the significant value of less than 0.05, therefore, all of null hypotheses were rejected which means Attitude, Subjective Norms and Perceived Behavioral Control influence the

1.1 General Knowledge about eLearning e-Learning is a kind of learning that is enabled by electronic technology. (World188


WideLearn, 2011). Therefore, lots of benefits from e-Learning will enhance the rich content and knowledge. Students can use www technology to access, share and encode knowledge to enhance learning with huge of information available online to read, analyze and store into their memory. Technology is developing every minute so it can enhance learning using those features to fulfill e-education. Students in 21st century and the next generation will rely on e-Learning more and more.

proficiency across the globe. IELTS tests are held in over 500 centers with tests up to four times a month. There are 6 testing centers in Thailand located in Bangkok, Chiangmai, Hadyai and Khonkaen. IELTS test all four English skills – listening, reading, writing, and speaking (IELTS, 2011). 2.2 Theoretical Framework Theory of Planned Behavior (TPB) TPB is a theory about the link between attitudes and behavior. Ajzen (1991) proposed it as an extension of the theory of reasoned action. It has been applied to study of the relations among beliefs, attitudes, behavioral intentions and behaviors in various fields.

1.2 Statement of Problem There is a market opportunity for Thai language institutions to establish IELTS online course that gear toward supporting Thai students. As a result, the research is needed to explore the factors that influence people to enroll in an online IELTS test. The research result indicated the market and some organizations would use this research result to design their IELTS eLearning course to fulfill customers’ needs.

Theory of Technology Acceptance Model (TAM) TAM is an information systems theory described how users come to accept and use a technology. The model suggests that when users are presented with a new technology, a number of factors influence the consumers to make decision to use it. The model included perceived usefulness and perceived ease of use factors that influenced intention to use.

1.3 Research Questions 1. Which factors influence students’ intention to enroll in an online IELTS course? 2. What is the most influencing factor towards Thai students’ intention to enroll in an online IELTS course?

Decomposed Theory of Planned Behavior (DTPB) DTPB developed by Taylor and Todd (1995), was derived from the TPB and TAM. TPB has been successfully applied to predict intention and behavior in a wide variety of behavior. DTPB uses attitude toward behavior, subjective norm, and perceived behavioral control from TPB and attempts to decompose the underlying belief structure that determine eight constructs.

1.4 Research Objectives 1. To measure whether (Attitude, Subjective Norms, and Perceived Behavioral Control) influence Thai students’ intention to enroll in an online IELTS course 2. To determine the influence of the factors (Attitude, Subjective Norms, and Perceived Behavioral Control) influence Thai students’ intention to enroll in an online IELTS course

2.3 Related Literature Review The previous research about factors influencing e-Learning adoption intention found that attitude has an important direct influence on intention to adopt e-Learning. Attitude is anchored to perceived usefulness, ease of use and system’s security (Ndubisi, 2004).

2) LITERATURE REVIEW 2.1 IELTS Background IELTS is the International English Language Testing System which tests English 189


The social facilitation and social comparison the groups are motivator and can provide necessary assistance for using new system (Rita, 2010). The composite reliability of subjective norm reported by Huang, Wu, Wang, and Boulanger (2011) included family, friends, expert opinions and the mass media have powerful to make decision in online auction.

Ndubisi (2004) studied factors influencing e-Learning adoption intention: The perceived behavioral control is another important intention influencer which included self-efficacy, computing experience, training, access to technological facilities and e-Learning adoption intention (Ndubisi, 2004). 2.5 Conceptual Framework The conceptual framework applied from TAM, TPB and DTPB to explain human intention and behavior with three categories of attitude, subjective norm and perceived behavioral control.

The research result of Ndubisi on factors influencing e-Learning adoption intention for Malaysia indicated that self-efficacy, prior computer experience, training, technological facilities, and computer anxiety contribute significantly and predict in perceived behavioral control. 2.4 Previous Studies The findings of the previous study concluded that learner characteristics, technology characteristics and perceived risks influenced the intention to enroll an online graduate program. The determinants are including intrinsic motivation, computer self-efficacy, facilitating conditions, reputations, financial supports, technology acceptance as well as social risk and source risk (Lee, and Zailani, 2010).

-

-

Attitude Perceived Usefulness Perceived Ease of Use Perceived Enjoyment

Subjective Norms Social Influence Media Influence

Intention to Enroll in IELTS eLearning Program

Perceived Behavioral Control Technology Readiness Computer and Internet Anxiety Self-efficacy

Figure 1: The modified conceptual framework of the study the factors affecting students’ intention to enroll in IELTS e-Learning course.

Another previous study showed that the five factors were significant with the attitude towards behavior intention on the e-MBA adoption including perceived usefulness towards the program, an opportunity for trial usage given by the provider, retrieval of results of the progress explicitly, assisting them to have a good image and feeling an enjoyment with the program (Mahmod et al., 2005).

2.6 Research Hypotheses H01: Attitude factor does not influence students’ intention to enroll in IELTS e-Learning course. Ha1: Attitude factor influence students’ intention to enroll in IELTS eLearning course. H02: Subjective Norms factor does not influence students’ intention to enroll in IELTS e-Learning course. Ha2: Subjective Norms factor influence students’ intention to enroll in IELTS e-Learning course. H03: Perceived Behavioral Control factor does not influence students’ intention to enroll in IELTS eLearning course. Ha3: Perceived Behavioral Control factor influence students’ intention

The adjusted research model based on TAM to study the attitude towards eLearning showed that factors influenced the intention to enroll in e-Learning including usefulness, ease of use, pressure to use e-Learning, and availability of resources needed to use e-Learning (Eke, 2011).

190


to enroll in IELTS e-Learning course.

Multiple Linear Regression, was applied for hypothesis testing. 4) DATA ANALYSIS AND RESULTS Hypothesis Testing The statistical method used for this research for hypothesis testing was Multiple Linear Regression analysis. This research sets the significant level at p≤0.05, which means that if the significant level is less than or equal to 0.05, the null hypothesis is rejected.

2.7 Concept and Operationalization of Variables Independent Variables - Attitude including perceived usefulness, perceived ease of use and perceived enjoyment Subjective Norms including social influence and media influence - Perceived Behavioral Control including technology readiness, and computer and internet anxiety and self-efficacy. Dependent Variables Students’ intention to enroll in IELTS eLearning course.

The multiple regression analysis for Hypothesis 1 was conducted to evaluate how well attitude’s factors can predict the intention to enroll in IELTS e-Learning course. The factors were Perceived Usefulness (PU), Perceived Ease Of Use (PEOU) and Perceived Enjoyment (PE). The linear combination of factors was statistically significant related to intention to enroll F(3, 396)=64.825, p=.000. The sample multiple correlation coefficient was .574, indicating that approximately 32.4% of variance of independent variables (PU,PEOU,PE) in the sample can be accounted for by the linear combination of dependent variable (Intention). The regression equation with all three predictors (PU,PEOU and PE) was significantly influenced the intention to enroll in IELTS e-Learning course, R2=.329, adjusted R2=.324, F(3,396)= 64.825, p=.000. Therefore, the null hypothesis was rejected. According to the Beta weights, the regression equation was as follows: Intention = (0.416)+(0.194PU)+(0.431PEOU) +(0.248PE) According to the results, Perceived Ease Of Use (PEOU) had the highest beta value at 0.431, followed by Perceived Enjoyment (PE) had the beta value at 0.248 and lastly Perceived Usefulness (PU) had the beta value at 0.194.

3) RESEARCH METHODOLOGY 3.1 Target Population and Sample The sample of the study is Thai students who live in Bangkok and need to take IELTS. The researcher will select people from IELTS tutor schools in Bangkok as well as some of the IELTS webboards in Thailand. 3.2 Data Collection Procedures The researcher distributed the questionnaires in IELTS tutor schools located at Siam Square, Bangna and Srinakarin Rd. to students who will enroll for IELTS course as well as who are new students to the course. The survey also had been distributed to education fairs for students who are planning for overseas study called “Thailand International Education Exhibition” and “The Next Step”. Researcher also distributed questionnaires by online research using http://www.qualtrics.com/ for students who are participants in IELTS webboards. 3.3 Proposed Data Processing and Analysis Descriptive statistics was applied to explain the respondents’ demographic information and their perceptions on intention to enroll in an IELTS online course. Inferential statistics, which is

The multiple regression analysis for Hypothesis 2 was conducted to evaluate how well subjective norms’ factors can predict the intention to enroll in IELTS e-Learning course. The factors were Social Influence 191


(SI) and Media Influence (MI). The linear combination of factors was statistically significant related to intention to enroll F (2,397)=79.122,p=.000. The sample multiple correlation coefficient was .534, indicating that approximately 28.1% of variance of independent variables (SI, MI) in the sample can be accounted for by the linear combination of dependent variable (Intention). The regression equation with both predictors (SI and MI) was significantly influenced the intention to enroll in IELTS e-Learning course, R2=.285, adjusted R2=.281, F(2,397)=79.122, p =.000. Therefore, the null hypothesis was rejected. According to the Beta weights, the regression equation was as follows: Intention = (1.275) + (0.364SI) + (0.296MI) According to the results, Social Influence (SI) had the highest beta value at 0.364 followed by Media Influence (MI) had the beta value at 0.296.

According to the results, Self-Efficacy (SE) had the highest beta value at 0.695 followed by Technology Readiness (TR) had the beta value at 0.132 and lastly Computer & Internet Anxiety (CIA) had the beta value at 0.109. The multiple regression analysis was applied for overall factors to evaluate how well all factors can predict the intention to enroll in IELTS e-Learning course. The factors were Attitude, Subjective Norms, and Perceived Behavioral Control. The linear combination of factors was statistically significant related to intention to enroll F(3,396)=116.350, p=.000. The sample multiple correlation coefficient was .684, indicating that approximately 46.8% of variance of independent variables (ATT, SN, PBC) in the sample can be accounted for by the linear combination of dependent variable (Intention). The regression equation with three predictors was significantly influence the intention to enroll in IELTS e-Learning course, R2 =.468, adjusted R2=.464, F(3,396) = 116.350, p=.000. According to the Beta weights, the regression equation was as follows: Intention = (-0.655) + (0.465ATT) + (0.261SN) + (0.505PBC) According to the results, Perceived Behavioral Control (PBC) has the highest beta value at 0.505 followed by Attitude (ATT) had the beta value at 0.465 and lastly Subjective Norms (SN) had the beta value at 0.261.

The multiple regression for Hypothesis 3 was conducted to evaluate how well perceived behavioral control’s factors can predict the intention to enroll in IELTS eLearning course. The factors were Technology Readiness (TR), Computer & Internet Anxiety (CIA) and Self-Efficacy (SE). The linear combination of factors was statistically significant related to intention to enroll F(3,396)=108.614, p =.000. The sample multiple correlation coefficient was .672, indicating that approximately 44.7% of variance of independent variables (TR, CIA, SE) in the sample can be accounted for by the linear combination of dependent variable (Intention). The regression equation with all three predictors (TR, CIA and SE) was significantly influenced the intention to enroll in IELTS e-Learning course, R2 =.451, adjusted R2=.447, F(3,396)= 108.614, p=.000. Therefore, the null hypothesis was rejected. According to the Beta weights, the regression equation was as follows: Intention = (0.257) + (0.132TR) + (0.109CIA) + (0.695SE)

5) CONCLUSION AND DISCUSSION 5.1 Summary of descriptive analysis of means and standard deviation of independent and dependent variables The result indicated that the respondents rated Perceived Usefulness (PU) as the highest mean score at 3.52, followed by Technology Readiness (TR) at 3.48, Perceived Ease Of Use (PEOU) score at 3.42, which make the average score of the Attitude (A) at 3.41and all of these factors signifying at the agree level. The factors 192


signifying the neutral level leaded by SelfEfficacy (SE) with the mean score of 3.39, followed by Media Influence (MI) with the mean score of 3.30, Perceived Enjoyment (PE) with the mean score of 3.22. Thus, these three factors of Subjective Norms contributed to the average mean value of such construct at 3.15. In addition, for the Perceived Behavioral Control (PBC), the mean score was at 3.15, Social Influence (SI) with the score of 3.08 and lastly Computer & Internet Anxiety (CIA) had the mean score at 2.76.

available of technology, they will perceive that they will have the ability to study IELTS e-Learning course with no doubt. The result from this finding is supported by Lee et al. (2010) who found that computer self-efficacy is one of the factors influenced the intention to enroll an online graduate program. According to this research result, Attitude (ATT) is second influencer (β=0.465, R2=.329) for student’s intention to enroll in IELTS e-Learning program which consisted of Perceived Usefulness (PU), Perceived Ease Of Use (PEOU) and Perceived Enjoyment (PE) factors contribute significantly (F=64.825, p=.000) and predict 32.9% of variation in students’ attitude towards intention to enroll in IELTS e-Learning program. Further, the result showed that Perceived Ease Of Use (t=6.047, p=.000) and Perceived Enjoyment (t=4.404, p=.000) are key Attitude sub constructs and also the influence factor by Perceived Usefulness (PU) that has mean value at agree level (Mean=3.52). When IELTS e-Learning course is perceived as easy to use and joyful when using, attitude is more favorable as well as supported by the systems usefulness perception. The finding was supported by Mahmod et al. (2005) that feeling of an enjoyment with the program is one of the factors was significant with the attitude towards behavior intention on the e-MBA adoption. Similar result was found by Eke (2011) that Perceived Ease Of Use is one of the factors influenced the intention to enroll in e-Learning.

The respondents rated the dependent variable, which was intention to enroll in IELTS e-Learning course with the mean value of 3.37 signifying the neutral level. 5.2 Hypothesis Testing Results According to the hypothesis results analyzed by Multiple Linear Regression analysis, all hypothesis yielded the significant value less than 0.05, therefore, all of null hypotheses were rejected which means Attitude, Subjective Norms and Perceived Behavioral Control influence the intention to enroll in IELTS e-Learning course. 5.3 Discussion of Research Findings The findings of result confirmed that the intention to enroll in IELTS e-Learning course is directly influenced by Attitude (ATT), Subjective Norms (SN) and Perceived Behavioral Control (PBC). Through the multiple regression analysis of this study, it was found that Perceived Behavioral Control (PBC) which consisted of Self-Efficacy (SE), Computer & Internet Anxiety (CIA) and Technology Readiness (TR) factors contributed significantly (F=108.614, p=.000) and predict 45.1% of variations in students’ Perceived Behavioral Control. Further, the result showed that Self-Efficacy (SE) (t=12.505, p=.000) is key for Perceived Behavioral Control and also Technology Readiness (TR) is one of the factors that has agree level of mean value at 3.48. When students are confident in their computer skills and

The least influencer for student’s intention to enroll in IELTS e-Learning course of this research is Subjective Norms (SN) (β =0.261, R2=.285) which consisted of Social Influence (SI) and Media Influence (MI) factors contributed significantly (F=79.122, p=.000) and predict 28.5% of variation in students’ subjective norms. Further, the result showed that Media Influence (t=5.892, p=.000) and Social 193


Influence (t=5.863, p=.000) are key influence for subjective norms. Therefore, the social pressure by people around them and the media can engage students to enroll in IELTS e-Learning course. Ndubishi (2004) stated the reason from his research on why Subjective Norms (SN) is not a factors influence Malaysian students to adopt e-Learning. He concluded that because all of his respondents are volunteers for e-Learning trial so they were not consider subjective norms is one of the influencer (Ndubishi, 2004). Thus, different form this research result, the respondents here in Bangkok are students who may or may not familiar with e-Learning so Subjective Norms is considered one of the intention factors. This research result supported previous research of Huang et al. (2011) that Media Influence (MI) is powerful to make decision in online auc-tion (Huang et al., 2011). In addition, Rita (2010) stated that social facilitation and social comparison of the groups are motivator and can provide necessary assistance for using new system (Rita, 2010).

have a trial period for a week to ensure that student’s current technology can support their e-Learning. To improve students’ attitude towards IELTS e-Learning course Perceived Enjoyment (PE) (β=0.248) is an influencer of people to enroll the IELTS eLearning course, therefore the system design would support learning enjoyment for students. The system designer will not let them feel of too academic and they may consider using games or virtual classroom design systems applied within the curriculum. Another key influencer is Perceived Ease Of Use (PEOU) (β=0.431). The IELTS e-Learning course provider would consider the user friendly interface design to support ease of use with combination of help functions for users support. The support call center should be available for consultation of any problems with active response in variety of communication channels either blog, chat, email or telephone to ensure the system is easy to use. The manager would also consider of applying free social media to be the other communication channel to communicate with students. Perceive Usefulness (PU) is also another factor to consider due to the mean value was at the agree level (Mean=3.52). The item with the highest mean value is saving travelling time benefit (Mean=3.82). One of the marketing campaigns may emphasize on e-Learning core advantage by learning anywhere at any time to encourage students in enrolling to the IELTS course.

5.4 Implication for Practices To improve perceived behavioral control towards IELTS e-Learning course Results illustrated that Self-Efficacy (SE) (β=0.695) have highest influence to the intention for Perceived Behavioral Control group. The marketing campaign would emphasize on people’s self-efficacy indicated that students would be comfortable using the IELTS e-Learning system on their own. Technology Readiness (TR) would be one of the factors the institution needs to consider due to the agreement level of mean value (Mean = 3.48). The institution may provide the system check for students to verify that their technology will support the e-Learning system. The example of system check is on Thai Cyber University from the link: http://lms.thai cyberu.go.th/OfficialTCU/systemcheck/ind ex.asp (Thai Cyber University, 2012). In order to make sure that students will be able to learn the course, the institution may

To improve subjective norms towards IELTS e-Learning Course Another campaign would focus on Social Influence (SI) (β=0.364), the marketers also need to consider using expert opinions as testimonial interview to influence people’s intention to enroll in the IELTS eLearning course such called imitation campaign for example “To be success same as your idols by learning IELTS online course”. Since media influence 194


(β=0.296) is one of the factor influenced in subjective norms group, marketer also needs to prepare for media plan in combination with social influence plan in order to promote the course. Overall the campaign will hands on all factors in combination to be the most influence campaign to students to enroll in IELTS e-Learning course. These findings are particularly relevant to systems designers and marketers targeting students with their intention to enroll in IELTS eLearning course as maturing ways to increase students enroll to the course.

influence media in order to have effective media plan for the IELTS e-Learning course. Finally, the limitation is that the data contain intention to enroll in IELTS eLearning course measurement rather than what they feel of using the IELTS eLearning system. Follow-up studies, should consider the actual behavioral data using the systems in order to extend the efficiency of the IELTS e-Learning systems. REFERENCES Ajzen, I. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior and Human Decision Process, 50(2), pp. 179-211. Eke, H. N. (2011), Modeling LIS Students' Intention to Adopt E-learning: A Case from University of Nigeria, Nsukka, Nnamdi Azikiwe Library, University of Nigeria, Nsukka. Huang, Y., Wu Y.J., Wang Y. and Boulanger N.C. (2011). Decision making in online auctions, Management Decision, 49(5), pp. 784-800. IELTS (2011). Test Taker performance 2010 [Electronic version]. Retrieved 20 September, 2011 from http://www.ielts.org/researchers/analysis_of_te st_data/test_taker_performance_2010.aspx Lee, L.L. and Zailani, S. (2010). Validating the Measures for Intention to Enroll an Online MBA Program. International Business Management, 4(3), pp. 124-133. Mahmod, R., Hahlan, N., Ramayah, T., Karia, N., and Asaari, M. (2005). Attitudinal belief on Adoption of E-MBA Program in Malaysia. Turkish Online Journal of Distance EducationTOJDE, 6 (2), University Saints Malaysia. Ndubisi, N.O. (2004). Factors influencing e-learning adoption intention: Examining the determinant structure of the decomposed theory of planned behavior constructs. University Malaysia Sabah, F.T. Labuan Malaysia, pp. 252-262. Rita, O. O. (2010). Impact of Gender and Nationality on Acceptance of a Digital Library: An Empirical Validation of Nationality Based UTAUT Using SEM. Journal of Emerging Trends in Computing and Information Science, 1 (2), pp. 68-79. Taylor, S. and Todd, P.A. (1995). Understanding Information Technology Usage: A Test of Competing Models. Information Systems Research, 6(2), pp. 144-176. Thai Cyber University (2010). [Electronic version]. Retrieved 29 September 2011 from http://lms.thaicyberu.go.th/OfficialTCUen/main /main2.asp WorldWideLearn (2011). e-Learning Essentials [Electronic version]. Retrieved 25 September, 2011 from http://www.worldwidelearn.com/eLearning-essentials/e-Learning-benefits.htm

5.5 Recommendation for further research Firstly, this research conducted in a particular time frame so it cannot be generalized for all time especially when Thai students are more familiar with eLearning technology. Therefore, the future research should be conducted continuously to investigate more factors that would influence students’ intention to enroll in IELTS e-Learning course. Secondly, the respondents are people in Bangkok area therefore it cannot represent the whole intentions of Thai population who are interested to enroll in IELTS e-Learning course. Furthermore the potential learners in other provinces should be investigated in further research similarly to potentials in other countries. Thirdly, the conceptual framework including factors used as influencers the intention to enroll in IELTS e-Learning course do not cover all factors might influence the intention. It is recommended for further research might include other factors such as institution characteristics i.e. reputation, instructors, system’s security, prior computer experience and etc. Fourthly, the media influence questions are not specific to what type of media will influence students’ intention to enroll in IELTS e-Learning course. Therefore, the future research may specific type of media such as TV, radio, newspaper, magazine, social media and etc. and ask respondents to evaluate the most 195


การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ1, ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ์2 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (panitaw@kmutnb.ac.th) 2

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ophat.k@psu.ac.th)

ABSTRACT

network education, 2) building up congeniality, 3) knowledge sharing in multicultural education, and 4) evaluating learning results with consisted of three components: 1) people 2) instructional media, and 3) blended classroom setting. 3. The experts agree that a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education was appropriateness in an excellent level.

The purposes of this research were 1) to develop a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education, and 2) to evaluate a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education. The study was divided into two stages: 1) developing a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education, and 2) evaluating a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education. The sample group in this study consisted of 50 administrators and instructors who teach in higher education and 5 experts. The research tools were the questionnaire, the virtual network model for knowledge sharing in multicultural education, and the virtual network model evaluation form. Data were analyzed by arithmetic mean and standard deviation. The research findings were as follows: 1) A virtual network model for knowledge sharing in multicultural education components consisted of 11 components as followed: 1) design of learning activities on a virtual network for multicultural education, 2) process of knowledge sharing, 3) scaffolding on virtual network for multicultural education, 4) factors causing of knowledge sharing, 5) students’ adoptation of cultural awareness on virtual network for multicultural, 6) reinforcement in student’s behavior, 7) interaction of students on virtual network for multicultural education, 8) support and management of virtual network for multicultural, 9) learning management system on virtual network for multicultural education, 10) Communications tools, and 11) Reflective tools. 2) A virtual network model for knowledge sharing in multicultural education components consisted of four steps: 1) preparing of a virtual

Keywords: instructional model, virtual network, knowledge sharing, multicultural education

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบเครือข่าย สังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษา พหุวัฒนธรรม 2) ประเมินรับรองรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิง เสมื อ นเพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึ ก ษาพหุ วัฒนธรรม วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ 1) การพั ฒ นารู ป แบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2) การ ประเมินรับรองรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึ ก ษาพหุ วัฒ นธรรม กลุ่ ม ตัวอย่างสาหรับการวิจัย คือ ผู้บริหารและอาจารย์ที่สอนใน ระดับอุดมศึกษา 50 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเพื่อพัฒนารูปแบบเครือข่าย สังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษา พหุวัฒนธรรม และแบบประเมินรับรองรูปแบบเครือข่าย สังคมเชิงเสมือน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 196


ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยน เรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วย 11 องค์ประกอบ คือ 1) การออกแบบกิจกรรมการเรียนการ สอนบนเครือข่ายสังคมพหุวัฒนธรรม 2) กระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามพฤติกรรมของผู้เรียน 3) ฐานการช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนบนเครือข่ายสังคม เชิงเสมือน 4) ปัจจัย ที่ก่อให้เกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 5) การยอมรับและการ อยู่ร่วมกันของผู้เรียนในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครือข่าย สัง คมเชิง เสมื อน 6) การเสริม แรงด้ านพฤติ กรรมของ ผู้เรียน 7) ปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนบนเครือข่ายสังคมเชิง เสมื อ น 8) การจั ด การเครื อ ข่ ายบนเครื อ ข่ ายสั ง คมเชิ ง เสมือ น 9)ระบบบริห ารจั ดการบนเครือ ข่ายสั งคมเชิ ง เสมือน 10) เครื่องมือที่ติดต่อสื่อสารบนสังคมเชิงเสมือน และ11) เครื่องมือสะท้อนความรู้ของผู้เรียน 2) รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยน เรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการเตรียมความพร้อมของห้องเรียน บนเครื อข่ า ยสั งคมเชิ งเสมื อ น 2) ขั้ น การสร้ า ง ความคุ้ น เคย 3) ขั้ น การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึกษาพหุวัฒนธรรม 4) ขั้นตอนด้านการวัดและการ ประเมินผล โดยมีองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 4.1) บุคคล 4.2) สื่ อ การเรี ย นการสอน และ 4.3) ห้ อ งเรี ย นแบบ ผสมผสาน 3) ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรับรองรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิง เสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุ วัฒนธรรม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก

แต่งกายและวิถีชีวิตเป็นแบบมลายู คนไทยเชื้อสายจีนก็จะ ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม ประเพณีดั้งเดิมของตน เช่น การ ไหว้เจ้า ไหว้บรรพบุรุษในช่วงเทศกาลตรุษจีน ส่วนคนไทย พื้ น เมื อ งก็จ ะมี วัฒ นธรรมเฉพาะของตนเอง เช่ น คนไทย ภาคเหนือก็จะใช้ภาษาไทยเหนือในการติดต่อสื่อสาร การ นิยมรับประทานข้ าวเหนีย ว การแต่ง กายพื้นเมือง รวมทั้ ง ผลงานศิลปะก็จะมีลักษณะเฉพาะเป็นของตนเอง (บัญญัติ ยงย่วน, 2551) ดังนั้น นักการศึกษาจึงไม่อาจจะมองข้าม ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรมนี้ไปได้ การจั ด การศึ กษาในสั ง คมพหุ วัฒ นธรรมจึ ง ควรมี รู ป แบบ เฉพาะที่เหมาะสมต่อการพัฒนาผู้เรียนจากทุกกลุ่มวัฒนธรรม โดยจะเรี ย กการจั ด ศึ ก ษาในลั ก ษณะนี้ ว่ า การศึ ก ษาพหุ วัฒนธรรม (Multicultural Education) การจัดการศึกษาแบบ พหุวัฒนธรรมจึงมีความจาเป็นและมีความสาคัญ โดยเป็น รูปแบบการจัดการศึกษาที่ตรงกับความต้องการที่แท้จริงของ ผู้ เ รี ย นโดยสะท้ อ นความเป็ น เอกลั ก ษณ์ ทั้ ง ด้ า นศาสนา ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ค่ า นิ ย มตลอดจนการศึ ก ษา โดยเฉพาะเมื่ อ น ามาประยุ ก ต์ กั บ กระบวนการในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้แล้วจะยิ่งทาให้การจัดการศึกษาแบบพหุ วั ฒ นธรรมช่ ว ยท าให้ ผู้ เ รี ย นนอกจากจะได้ ค วามรู้ ที่ เ ป็ น เนื้ อ หาสาระทางวิ ช าการแล้ ว ยั ง ได้ รั บ ความรู้ ที่ เ กี่ ย วกั บ วัฒนธรรมของผู้เรียนคนอื่นๆ อีกด้วย ทฤษฏีที่มีความสาคัญเกี่ยวกับหลักของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การสร้างความรู้ ก็คือ เกลียวความรู้ (Knowledge Spiral: SECI) โดยหลักการคือการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ โดยนัย (Tacit Knowledge) กับ ความรู้ที่ ชัดแจ้ ง (Explicit Knowledge) โดยเริ่มต้นจากการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เป็นนัย (Socialization) เกิดจากการสื่อสารระหว่างกันหรือ ถ่ายทอดจากสมองคนๆ หนึ่งไปสู่สมองคนอีกหลายๆ คน โดยจัดให้คนมามีปฏิสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ จากนั้นเกิด การเปลี่ ย นความรู้ ที่ เ ป็ น นั ย ไปเป็ น ความรู้ ที่ ชั ด แจ้ ง (Externalization) โดยการนาความรู้ที่เป็นนัยออกมานาเสนอ ในรูปของการเล่าเรื่อง การเปรียบเทียบและการนาเสนอเป็น รู ป แบบจนกระทั่ ง เกิ ด การแลกเปลี่ ย นความรู้ ที่ ชั ด แจ้ ง (Combination) ในรูปของเอกสาร การประชุม ตารา ฐาน ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ท้ายที่สุดเกิดการเปลี่ยนความรู้ที่ ชัด แจ้งกลับไปเป็นความรู้ที่เป็นนัย (Internalization) อีกครั้ง Nonaka, Toyama, and Konno เชื่ อ ว่ ากระบวนการ

คาสาคัญ: รูปแบบการเรียนการสอน, เครือข่ายสังคมเชิง เสมือน, การแลกเปลี่ยนเรียนรู้, การศึกษาพหุวัฒนธรรม

1) บทนา สภาพสังคมของประเทศไทยในปัจจุบันประกอบไปด้วย กลุ่มประชากรที่มีความหลากหลายทางด้านชาติพันธุ์ซึ่ง แม้ว่าคนไทยเหล่านี้จะมีวัฒนธรรมหลักที่เหมือนกันแต่ก็ จะมีที่วัฒนธรรมย่อยแตกต่างกันออกไป เช่น คนไทยเชื้อ สายมลายูจะนับถือศาสนาอิสลาม พูดภาษามลายู มีการ 197


ปรับเปลี่ยนความรู้นี้จ ะเป็นกุญแจสาคัญของการสร้าง ความรู้ ยิ่งไปกว่านั้นการมีปฏิสัมพันธ์ของรูปแบบความรู้ ที่ เ ป็ น นั ย และความรู้ ที่ ชั ด แจ้ ง โดยผ่ า นกระบวนการ ปรับเปลี่ยนความรู้ทั้ง 4 ขั้นตอนนี้จะทาให้ความรู้มีการ ขับเคลื่อนไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ส่วนการเรียนรู้ร่วมกันใน การปฏิบัติที่เรียกว่า Interactive learning ถือเป็นหัวใจ สาคัญของการจัดการความรู้เช่นกัน เพราะการทาให้เกิด การสร้างเครือข่ายระหว่างคนกับคน คนกับกลุ่มคน กลุ่ม คนกั บ กลุ่ ม คนจะเป็ น เป็ น การกระตุ้ น ให้ เ กิ ด การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การสร้างเวทีหรือกิจกรรมให้ สมาชิ ก ได้ พ บปะพู ด คุ ย เพื่ อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ าก ประสบการณ์ที่แต่ละคนได้รับมา สมาชิกจะต้องมีความ ขยัน อดทนและพยายามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันโดยไม่ หวงความรู้ ผ่านกระบวนการจัดกิจกรรมที่หลากหลายซึ่ง จะทาให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้มากขึ้น (ประพนธ์ ผาสุกยืด, 2547) การพั ฒ นารู ป แบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรมขึ้นเพื่อ ช่วยในการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาของ แต่สถาบันที่มีผู้เรียนที่มีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม

โดยการนาทรัพยากรและจุดแข็งของแต่ละสถาบันมาช่วย เสริ มซึ่ งกันและกัน รวมไปถึ งเพื่ อพั ฒนาศั กยภาพด้ านการ เรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีวัฒนธรรม วิถี ชี วิ ต และวิ ธีก ารเรี ย นที่ แ ตกต่ า งกั น รวมไปถึ ง การเรี ย นรู้ วัฒนธรรมของผู้เรียนซึ่งอยู่ต่างสถาบัน รวมไปถึงการพัฒนา องค์ความรู้ในด้านต่างๆ สร้างความเข้มแข็งให้สังคมอันจะ นาไปสู่การพัฒนาประเทศและเพื่อเตรียมความพร้อมในการ ที่จะก้าวสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อไป

2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่ อ พั ฒ นารู ป แบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.1) เพื่อ พัฒ นารูป แบบเครื อข่ ายสั งคมเชิง เสมือ นเพื่อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

เครือข่ายสังคมเชิงเสมือน (Virtual Community)

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing)

(Kollock, 1996; Preece, 2000; ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550)

(Marquardt, 1996; Probst, et al,, 2000)

รู ป แบบในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารซึ่ ง มี ก าร แบ่ ง ปั น ความคิ ด ทั ศ นคติ ผลงานหรื อ ผลลัพธ์บางประการ โดยที่บุคคลสามารถจะ พั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกั น ผ่ า นทาง ระบบออนไลน์ โดยมีแรงจูงใจ 4 ประการ คือ 1)ความต้องการในการที่จะได้รับความรู้ อื่นกลับมา 2) ความต้องการมีชื่อเสียง 3) ความรู้สึกภาคภูมิใจ และ 4) ความต้องการ ในการติดต่อสื่อสาร

พฤติกรรมการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนแบ่งปัน ความรู้ ทั ก ษะ ประสบการณ์ ร ะหว่ า งกั น ในขณะเข้าร่วมกิจกรรมตามกระบวนการ 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นแนะนาแนวทาง สร้าง กลุ่มสัมพันธ์ 2) ขั้นกาหนดความรู้ นาไปสู่ เป้าหมาย 3) ขั้นพบปะแลกเปลี่ยน เพื่อน เรียนเพื่อนรู้ 4) ขั้นสืบเสาะแสวงหา 5) ขั้น สร้างสรรค์เผยแพร่ และ 6) ขั้นประเมินผล งาน

ห้องเรียนเชิงพหุวัฒนธรรม (Joint Classroom in Multicultural Education) (Banks, 2002; Casey, 2008)

รู ป แบบการจั ด สภาพ แวดล้ อ มส าหรั บ ผู้ เ รี ย นที่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ในเรื่ อ งของ ศาสนา สัง คมและวั ฒนธรรม เพื่อให้ เ กิ ด การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาที่เรียนและยอมรับ ในเรื่ องความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม สั ม พั น ธ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายในห้ อ งเรี ย นฯ แบ่ ง ออกเป็น 3 ระดับ คือ 1) ปฏิสัมพันธ์กับตัว ผู้เรียนเอง 2) ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกัน และเนื้อ หาสาระ และ 3) ปฏิสั มพั น ธ์ ระหว่างสาระการสอนกับตัวผู้เรียนเอง

รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 198


3) ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย

4) สรุปผลการวิจัย

ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือ น เพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึ ก ษาพหุ วัฒนธรรม ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 3.1.1) ศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ ข้ อ มู ล เอกสาร และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ย วข้ อ งกั บ รู ป แบบเครื อ ข่ า ย สั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึกษาพหุวัฒนธรรม 3.1.2) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันของการจัด การศึ ก ษาในสั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ รูป แบบเครื อข่ ายสัง คมเชิ งเสมื อนเพื่ อการแลกเปลี่ ย น เรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม โดยการสัมภาษณ์ ผู้บริหาร จานวน 10 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และสอบถามอาจารย์ที่สอนในระดับอุดมศึกษา 40 คน โดยใช้แบบสอบถาม 3.1.3) พัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึ ก ษาพหุ วั ฒ นธรรม กาหนดองค์ประกอบ กระบวนการ ขั้นตอนที่มีความเป็น ระบบ (System Approach) และแสดงความสัมพันธ์ซึ่ง กันและกันเป็นแผนภาพประกอบความเรียง ระยะที่ 2 การประเมินรับรองรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิง เสมื อ นเพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึ ก ษา พหุวัฒนธรรม น าพั ฒ นารู ป แบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุ วัฒนธรรม ที่ พัฒ นาขึ้ น ไปให้ ผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิ จ านวน 5 คน ท าการ ประเมินรับรองรูปแบบ ได้จากการเลือกแบบเจาะจง โดย เป็ น ผู้ บ ริ ห ารในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาหรื อ เป็ น ผู้ ที่ มี ประสบการณ์ในการสอนระดับอุดมศึกษา อย่างน้อย 10 ปี หรือมีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและมีตาแหน่งทาง วิชาการตั้งแต่รองศาสตราจารย์ขึ้นไป เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย ได้ แ ก่ แบบรั บ รองรู ป แบบ เครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย คื อ ค่ า เฉลี่ ย และส่ วนเบี่ ย งเบน มาตรฐาน

ตอนที่ 1 รู ป แบบเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส าหรั บ การศึ ก ษาพหุ วั ฒ นธรรม ประกอบด้ ว ย 11 องค์ประกอบ คือ 1) การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน บนเครื อ ข่ า ยสั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม 2) กระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามพฤติกรรมของผู้เรียน 3) ฐาน การช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 4) ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษา พหุวัฒนธรรม 5) การยอมรับและการอยู่ร่วมกันของผู้เรียน ในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 6) การ เสริมแรงด้านพฤติกรรมของผู้เรียน 7) ปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน บนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 8) การจัดการเครือข่ายบน เครื อ ข่ ายสั ง คมเชิ ง เสมื อ น 9) ระบบบริ ห ารจั ด การบน เครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 10) เครื่องมือที่ติดต่อสื่อสารบน สังคมเชิงเสมือน และ 11) เครื่องมือสะท้อนความรู้ของ ผู้เรียน รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วยการเตรียมด้าน กิจกรรมการเรี ยนการสอน 4 ขั้น ตอน ได้แ ก่ 1) ขั้ นการ เตรียมความพร้อมของห้องเรียนบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 2) ขั้ นการสร้างความคุ้ นเคย 3) ขั้ น การแลกเปลี่ ย นเรีย นรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 4) ขั้นตอนด้านการวัดและ การประเมินผล โดยมีองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 4.1) บุคคล 4.2) สื่ อ การเรี ย นการสอน และ 4.3) ห้ อ งเรี ย นแบบ ผสมผสาน โดยมีลาดับและขั้นตอนในการดาเนินกิจกรรม ดังนี้ 1.1) การเตรียมความพร้อมให้กับผู้สอนและผู้เรียน โดยใน ขั้นตอนของการเตรียมความพร้อมนี้ นอกจากจะเน้นด้าน เนื้อหาสาระทางวิชาการแล้ว ผู้สอนจะต้องมีความเข้าใจใน เรื่องของวัฒนธรรมและกิจกรรมภายในบทเรียน รวมไปถึง การส่งเสริมและจัดประสบการณ์ในการเรียนที่เหมาะสมเพื่อ ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทั้งทางด้ านทักษะ ความรู้ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีต่อสังคม 1.2) การร่วมกันออกแบบวิธีการจัดการเรียนการสอน สื่อ การสอน วิธีการวัดและประเมินผล เพื่อให้การจัดการเรียน 199


การสอน กิ จ กรรมภายในบทเรี ย น วิ ธี ก ารวั ด และ ประเมินผลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีรายละเอียด ของขั้นตอน ดังนี้ 1.2.1) ผู้สอนต้องร่วมกันในการพัฒนาหลักสูตรที่มีความ ท้าทาย และมีความหมายที่มีความเป็นจริงต่อผู้เรียน 1.2.2) จัดกระบวนการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง ของผู้เรียนในระหว่างภารกิจ 1.2.3) จัดเตรียมเครื่องมือต่างๆ ให้มีความพร้อมสาหรับ การสร้างประสบการณ์ความรู้ให้กับผู้เรียน 1.2.4) กาหนดเรื่องราว กรอบระยะเวลาในการจัดการ เรียนการสอนและกิจกรรมที่ผู้สอนต้องการจะสอดแทรก เรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมเข้าไป เนื่องจากระยะเวลา และความถี่ ใ นการรั บ รู้ เ นื้ อ หาหรื อ เรื่ อ งราวที่ เ กี่ย วกับ วัฒนธรรมจะส่งผลต่อความตระหนักทางด้านวัฒนธรรม ของผู้เรี ยนและลั กษณะและรูปแบบของเรื่อ งที่จะรับ รู้ ของผู้เรียนจะส่งผลต่อความตระหนักทางด้านวัฒนธรรม และยั ง เป็ น ส่ ว นที่ ท าให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด ประเด็ น ในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.2.5) จั ด เตรี ย มสื่ อ การเรี ย นการสอนที่ มี ค วาม หลากหลายและน่าสนใจ 1.3) การจัดกลุ่มผู้เรียนให้มีความหลากหลายทั้งด้านวิถี ชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศาสนาหรือวัฒนธรรมจะ ช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ โดยเฉพาะจากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเพื่อนสมาชิกด้วยกัน โดยการจัด กลุ่มผู้เรียนนั้นมีเป้าหมายหลักได้แก่ 1.3.1) ผู้เรียนร่วมกันเรียนรู้โดยการแลกเปลี่ยนทักษะซึ่ง กันและกันและมีการสนับสนุนทางสังคม การช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันของสมาชิก 1.3.2) ผู้เรียนทางานร่วมกัน โดยมีการสร้างความรู้และ การแลกเปลี่ยนทักษะ รวมถึงการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ของสมาชิกในห้องเรียน 1.3.3) ผู้เรียนได้รับรู้ถึงความแตกต่างทางเชื้อชาติและ วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและในสังคม 1.3.4) ปรับทัศนคติของผู้เรียนเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกับผูอ้ นื่ ที่มีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม 1.3.5) ส่ ง เสริ ม และจั ด ประสบการณ์ ใ นการเรี ย นที่ เหมาะสมเพื่ อ ช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นพั ฒ นาทั้ ง ทางด้ า นทั ก ษะ ความรู้ความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อสังคม

1.4) การทาความเข้าใจถึงข้อตกลง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การเรียน บทบาทและกิจกรรมในการเรียน เพื่อให้ผู้สอนและ ผู้เรียนมีเข้าใจที่ตรงกัน 1.5) การแนะนาเครื่องมือและฝึกการใช้งานเครื่องมือต่างๆ แก่ ผู้ เ รี ย น เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด ความพร้ อ มในการใช้ ง าน เครื่องมือต่างๆ 2) ขั้นการสร้างความคุ้นเคยของผู้เรียนบนเครือข่ายสังคมเชิง เสมื อ นเพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึ ก ษาพหุ วัฒนธรรม จะมีองค์ประกอบที่สาคัญสาหรับขั้นตอนนี้ดังนี้ 2.1) ห้องเรียนปกติ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนปกติในชั้นเรียน 2.2) การจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน (ห้องเรียนออนไลน์) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนแบบออนไลน์ บ นห้ อ งเรี ย นเสมื อ นที่ ถู ก จั ด สภาพ แวดล้อมทางการศึกษาและกิจกรรมบนเครือข่ายสังคมเชิง เสมือนสาหรับห้องเรียนพหุวัฒนธรรม 2.3) การสร้างความรู้จั กและทาความคุ้นเคยระหว่างผู้สอน และผู้เ รียน เนื่ องจากสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ที่ดีจ ะ ประกอบด้วยสมาชิกที่มีทักษะแตกต่างกันทั้งผู้ที่เริ่มเรียนรู้ ไปจนถึงผู้เชี่ยวชาญ ดังนั้น การที่สมาชิกทั้งผู้สอน และ ผู้เรียนได้ทาความรู้จักหรือคุ้นเคยกันจะช่วยให้เกิดความกล้า ที่จะพูดคุยหรือแสดงความคิดเห็น 2.4) การใช้ประเด็นคาถามของผู้สอนเพื่อให้ผู้เ รียนได้พูดคุย ผ่านช่องทางสื่อสารที่ได้จัดเตรียมไว้ เช่น กระดานสนทนา (Forum) หรือห้องสนทนา (Chat room) โดยการสร้าง บรรยากาศที่สนับสนุนให้ผู้เรียนเปิดกลุ่มย่อย การสนทนา เป็ น การส่ ว นตั ว และสร้ างทั ก ษะการมี ส่ ว นร่ ว มในสั ง คม เสมือน 2.5) การสะท้อนความรู้ของผู้เรียนผ่านกระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal) หรือบล็อก (Blog) โดยการสะท้อน ความรู้นี้จะเป็นวิธีการที่จะช่วยในการกระตุ้นการเชื่อมโยง ระหว่างความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนได้รับเข้ามา 2.6) การติดตามพฤติกรรมผู้เรียนโดยผู้สอนผ่านกระดาน สะท้อนคิด (Reflective Journal) หรือ บล็อก (Blog) โดย ขั้ น ตอนดั ง กล่ า วนี้ จ ะช่ ว ยให้ ผู้ ส อนสามารถวางแผนการ จั ด การเรี ย นการสอน การท ากิจ กรรมและความก้า วหน้ า ทางการเรียนของผู้เรียนได้ 200


3) ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หมายถึง เป็นกระบวนการที่ ผู้สอนและผู้เรียนได้ทาการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและ กัน ทั้งความรู้ทางด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระ ในวิชาและความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม 3.1) การแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่เรีย น ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน โดยอาจจะเป็นการแลกเปลี่ยน เรื่ องราวในประเด็น ใดประเด็ น หนึ่ งและมองหาความ

เหมือนร่วมและความแตกต่างในเรื่องราวนั้น โดยใช้ความ หลากหลายในด้านมุมมองของผู้เรียน 3.2) การสะท้อนความรู้ของผู้เรียนจากประเด็นที่ได้มีการ แลกเปลี่ ย นพู ด คุ ย กัน ผ่ านกระดานสะท้ อ นคิ ด (Reflective Journal) หรือ บล็อก (Blog) 3.3) การติดตามพฤติกรรมผู้เรียนของผู้สอนผ่านการพูดคุย แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย นจากกระดานสะท้ อ นคิ ด (Reflective Journal) หรือบล็อก (Blog)

รูปที่ 2:รูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ตอนที่ 2 ผลการประเมินรับรองรูปแบบเครือข่ายสังคม เชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุ วัฒนธรรม ผลการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 คน พบว่า รูป แบบเครื อข่ ายสัง คมเชิ งเสมื อนเพื่ อการแลกเปลี่ ย น เรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรมที่พัฒนาขึ้นมีความ เหมาะสมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก ( X = 4.30, S.D. = 0.81)

สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม สามารถที่จะแยกย่อยออก ได้เป็น 11 องค์ประกอบ โดยสามารถที่จะสรุปรายละเอียด ของแต่ละองค์ประกอบได้ดังต่อไปนี้ 1) องค์ประกอบด้านการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน บนเครือข่ายสังคมพหุวัฒนธรรม เป็นองค์ประกอบที่มุ่งเน้น ในด้ า นการจั ด สภาพแวดล้ อ มเพื่ อ การเรี ย นรู้ แ ละการท า กิจกรรมของผู้เรียนผ่านเครือข่ายสังคมพหุวัฒนธรรม โดย การจัดสภาพแวดล้อมนี้จะมุ่งเน้นและส่งเสริมรูปแบบการ เรียนที่มีความหลากหลาย (Accommodate Divers Learning Styles) ทั้ ง การใช้ รู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นที่ เ น้ น ความ ร่วมมือและมีความติดต่อสัมพันธ์กันการใช้กิจกรรมการเรียน ที่เน้นภาระงานหรือปัญหา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถที่จะอธิบาย

5) อภิปรายผลการวิจัย ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ พบว่ า องค์ ป ระกอบของรู ป แบบ เครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ 201


ได้ อ ย่ า งชั ด เจนว่ า ตนเองได้ เ รี ย นรู้ อ ะไรไปบ้ า งและ สามารถน ามาเชื่ อ มโยงหรื อ ประยุ ก ต์ กั บ ชี วิ ต จริ ง ได้ อย่ างไรรวมไปถึ งผู้ เรี ย นสามารถที่จ ะประยุ กต์ค วามรู้ ใหม่ที่ได้รับเข้ามาจากการทากิจกรรมผ่านเครือข่ายสังคม เชิงเสมือนเข้ากับความรู้เดิมของตนเอง 2) องค์ประกอบด้านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ ติดตามพฤติกรรมของผู้เรียน เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้น การจั ด การเรี ย นรู้ ใ นสภาพที่ เ ป็ น จริ ง และบริ บ ทการ แก้ ปั ญ หาที่ ต รงกั บ สภาพจริ ง ของผู้ เ รี ย น ด้ ว ยการ สอดแทรกประสบการณ์ทางสังคมเข้าไปในกระบวนการ จั ด การเรี ย นรู้ ส่ ง เสริ ม การคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ (Encourages Critical Thinking) การสร้างประสบการณ์ อย่างลึกซึ้งในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อเปิดมุมมองให้กับ ผู้เรียน จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียน และมีการจัดกระบวนการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพ จริงของผู้เรียนในระหว่างภารกิจ 3) องค์ประกอบด้านฐานการช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียน บนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน สามารถแบ่งลักษณะของ ฐานความช่วยเหลือออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ (1) ฐาน การ ช่ วยเ ห ลื อ เ กี่ ย วกั บ วิ ธี การคิ ด ( Metacognitive Scaffolding) (2) ฐานความช่ วยเหลื อ ด้ านกลยุ ท ธ์ (Strategic Scaffolding) (3) ฐานความช่ วยเหลื อ กระบวนการเรียนรู้ (Procedural Scaffolding) และ (4) ฐานความช่ ว ยเ หลื อ การสร้ า งความคิ ด รวบยอด (Conceptual Scaffolding) 4) องค์ประกอบด้านปัจจัยที่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม เป็นองค์ประกอบ ที่ช่วยสร้างบรรยากาศที่สนับสนุนให้ผู้เรียนเปิดกลุ่มย่อย และการสนทนา สร้างทักษะการมีส่วนร่วมด้วยการเปิด โอกาสให้ผู้เรียนเขียนหรือสร้างโครงการที่ผู้เรียนแต่ละ คนสามารถต่อเติมเรื่องราวหรือขยายผลไปยังผู้เรียนคน อื่ น ๆ ได้ ผู้ เ รี ย นแลกเปลี่ ย นเรื่ อ งราวในประเด็ น ใด ประเด็ น หนึ่ ง และมองหาความเหมื อ นร่ ว มและความ แตกต่ างในเรื่ อ งราวนั้ น โดยใช้ ค วามหลากหลายของ มุมมองของผู้เรียนและการให้ความร่วมมือของผู้เรียนทั้ง ในด้านการเรียนและการทากิจกรรม 5) องค์ประกอบด้านการยอมรับและการอยู่ร่วมกันของ ผู้ เ รี ย นในสั ง คมพหุ วั ฒ นธรรมบนเครื อ ข่ า ยสั ง คมเชิ ง

เสมือน ความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรมนั้นส่วนหนึ่ง มี ผ ลมาจากระยะเวลาและความถี่ ใ นการรั บ รู้ เ นื้ อ หาหรื อ เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม โดยจะส่งผลต่อพฤติกรรม ของผู้เรียน การรู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการ และ เชื่อมโยงบริบททางวัฒนธรรมเข้ากับชีวิตประจาวัน เข้าใจ และยอมรั บ ถึ ง ความแตกต่ า งในด้ า นของวั ฒ นธรรม ซึ่ ง ทั้งหมดจะช่วยให้ผู้เรียนรู้จักคิดสร้างสรรค์โดยไม่ขัดกับหลัก ความเชื่อของสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม 6) องค์ประกอบด้านการเสริมแรงด้านพฤติกรรมของผู้เรียน เป็นกระบวนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับรู้ถึงความแตกต่างทาง เชื้อชาติและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและในสังคม การปรับทัศนคติของผู้เรียนเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ที่มี ความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม รวมไปถึงการส่งเสริมและ จัดประสบการณ์ในการเรียนที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ผู้เรียน พัฒนาทั้งทางด้านทักษะ ความรู้ความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อ สังคม 7) องค์ประกอบด้านการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนบนเครือข่าย สั ง คมเชิ ง เสมื อ น จะมุ่ ง เน้ น ไปที่ รู ป แบบการเรี ย นรู้ ค วร เกิดขึ้นในบริบทที่เป็นความรู้ที่ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงหรือ พัฒนามาจากสภาพชีวิตจริง การเชื่อมโยงประสบการณ์ที่อยู่ นอกห้ อ งเรี ย นของผู้ เ รี ย นเข้ า กั บ การจั ด กิ จ กรรมและ ประสบการณ์ในห้องเรียน โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ ผู้เรียนสามารถที่จะแลกเปลี่ยนหรือบูรณาการความรู้ใหม่เข้า กับความรู้เดิมของตนเองได้ 8) องค์ประกอบด้านการจัดการเครือข่ายบนเครือข่ายสังคม เชิงเสมือน เป็นองค์ประกอบที่จะช่วยในการจัดการเครือข่าย ในภาพรวมเพื่อให้ผู้สอนจะสามารถที่จะวางแผนในการจัด กิจกรรมต่างๆ ได้ 9) องค์ประกอบด้านระบบบริหารจัดการบนเครือข่ายสังคม เชิงเสมือน เป็นระบบที่จะช่วยให้ผู้สอนสามารถที่จะบริหาร และจัดการห้องเรียนเสมือนบนเครือข่ายสังคมเชิงเสมือน 10) องค์ประกอบด้านเครื่องมือที่ติดต่อสื่อสารบนสังคมเชิง เสมือน เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถที่จะเข้า สังคมออนไลน์เพื่อพบปะเพื่อนที่อยู่ตามสถานที่ต่างๆ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถที่ จ ะสร้ า งเครื อ ข่ า ย ทางด้านสังคม โดยเครื่องมื อในด้านนี้จะประกอบไปด้วย เ ฟ ส บุ๊ ค ( Facebook) แ ล ะ อี เ ม ล ล์ (e-Mail) 202


11) องค์ประกอบด้านเครื่องมือสะท้อนความรู้ของผู้เรียน เป็ น การจั ด เครื่ อ งมื อ ต่ างๆ ภายในเครื อ ข่ ายสั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ ให้ผู้ เ รี ย นจะสามารถที่ จ ะใช้ใ นการบั น ทึ ก ความรู้ที่ได้ในระหว่างเรียน โดยเครื่องมือจะประกอบไป ด้วย กระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal) บล็อก (Blog) และกระดานสนทนา (Forum)

7) เอกสารอ้างอิง ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550).วิธีวิทยาการออกแบบการเรียนการ สอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพมหานคร:ศูนย์ตารา และ เอกสารทางวิ ช าการ คณะครุ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. บัญญัติ ยงย่วน. (2551). การส่งเสริมพัฒนาการเด็กในบริบท ของความหลากหลายวั ฒนธรรม. สื บค้ นเมื่อ 12 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2552, สื บ ค้ น จ า ก http://www.cf.mahidol.ac.th/autopage/file/ WedJuly2008-22-18-5-4articel-004.pdf. ประพนธ์ ผาสุกยืด. (2547). การจัดการความรู้ฉบับมือใหม่ หัดขับ. กรุงเทพฯ: ใยไหม Banks, J.A. (2002). An Introduction Multicultural Education. Boston: Allyn & Bacon. Casey, D.M. (2008). The Historical Development of Distance Education through. Technology . TechTrends. 52 (2). 45-51. Kollock, P. (1996). Design Principles for Online Communities. Paper presented at the Harvard Conference on the Internet and Society, Cambridge, MA. Marquardt, M. 1996. Building the Learning Organization. New York : McGrawHill, Nonaka, I., and Takeuchi, H. 1995. The knowledge creating company: How Japanesecompanies create the dynamics of innovation. New York: Oxford University Press. Probst, G., Raub, S., and Romhardt, K. 2000. Managing knowledge: Building blocks for success. West Sussex, England: John Wiley and Sons. Preece, J. (2000). Online Communities: Supporting Sociability, Designing Usability. Chichester: John Wiley & Sons Ltd.

6) ข้อเสนอแนะ 6.1) ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ องค์ประกอบของรูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม นี้ สามารถที่จะปรับเปลี่ยนและยืดหยุ่นตามสถานการณ์การ นาไปใช้งาน ลักษณะของผู้เรียนและวิชาที่เรียนเพื่อความ เหมาะสมและการที่ จะบรรลุ ต ามวั ต ถุป ระสงค์ ในการ เรียนของผู้เรียน 6.2) ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป 6.2.1 เพื่อทาให้องค์ประกอบของรูปแบบเครือข่ายสังคม เชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุ วัฒนธรรม มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรวิจัยพัฒนาสื่อ การเรี ย นรู้ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ออนไลน์ ทั้ ง แบบในเวลาเดี ย วกั น (Synchonous) และ แบบต่างเวลา (Asynchonous) 6.2.2 ควรจะพัฒนาองค์ประกอบของรูปแบบเครือข่าย สั ง คมเชิ ง เสมื อ นเพื่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ส าหรั บ การศึกษาพหุวัฒนธรรมในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่ อ งจากอาจจะมี บ างบริ บ ทที่ มี ค วามแตกต่ า งจากใน การศึกษาในระดับอุดมศึกษา

203


พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ The Social Network Usage behavior of Undergraduate Students in Faculty of Education, Government University นางสาวอรุณรัตน์ ศรีชูศิลป์ ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (E-mail address : arunsri_14@hotmail.com) (E-mail address : sanirut@su.ac.th, sanirut@yahoo.com)

ปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ 2) เพื่อศึกษา พฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบนเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ ของนั ก ศึ ก ษา ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ ศึกษาศาสตร์ 3) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรม การเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะ ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญา บัณฑิต ที่กาลังศึกษาอยู่ใน คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ซึ่ง ครอบคลุ ม 14 มหาวิ ทยาลัย จ านวน 382 คน โดยได้จ าก วิธีการสุ่มหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการรวบรวมข้ อ มู ล เป็ น แบบสอบถาม (Questionnaire) แ ล ะ แ บ บ ส อ บ ถ า ม อ อ น ไ ล น์ (E-Questionnaire) สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ได้ แ ก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ ทดสอบทีแบบเป็นอิสระต่อกัน (t-test) และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า 1. พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของ นักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2. พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารบนเครือข่าย สังคมออนไลน์ ของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า มีพฤติกรรมการ เปิดรับข่าวสารด้วยการศึกษาด้วยตนเอง มีวัตถุประสงค์ใน การใช้งาน เพื่อความบันเทิง ใช้งานในด้านการสื่อสาร และ ใช้งานเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ในประเภทเผยแพร่

ABSTACT The purpose of this research were to 1) to study social network usage behavior of undergraduate students in faculty of education, government university 2) to study behavior exposure to information on social networks of undergraduate students in faculty of education, government university 3) to compare social network usage behaviors by considering personal and behavior exposure to information on social networks of undergraduate students in faculty of education, government university. The sample size was 382 of students. The questionnaire was constructed and used as tool for collected data. Analyzed the statistics of percentage, mean scores, standard deviation, t-test, one-way ANOVA. Analysis results were concluded as follow : 1. The social network usage of undergraduate students in faculty of education, government university were at high level in overall. 2. The study of behavior in exposure to information on social networks of undergraduate students in faculty of education, government university were the most of respondents use to a self-study, the purpose of using for entertainment, applications in communications, and usage in public identity (Identity Network) maximum, most of them were usefulness and satisfied in using of each application on social network was at a high level in overall. 3. The comparison of the social network usage behavior for undergraduate students in faculty of education, government university which classifying by gender, personal computer, GPA and income of the parents are not different but the institute and student’s level were social network usage behavior and behavior exposure to information was no signification different. KEY WORD : SOCIAL NETWORK, COMMUNICATION, EDUCATION, EDUTRAINMENT

บทคัดย่อ การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ 1) เพื่ อ ศึ ก ษา พฤติ กรรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของนั กศึ กษา 204


มากมาย เช่ น Facebook, Myspace, Bebo, Orkut, Blackplanet, Windows Live Space Yahoo Geocities Hi5 และ Flickr เป็นต้น จากการใช้งานได้โดยการอัพโหลดการ อัพโหลด (Upload) ข้อมูล คือการนาข้อมูลจากเครื่องไปไว้ ยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ การแบ่งปันรูปภาพ (Share picture) และ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บบล็อก ต่างก็กาลังเข้าสู่กระแส ของสั ง คมรวมทั้ ง ในประเทศไทย ซึ่ ง เว็ บ ไซต์ ป ระเภท เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ นี้ ส ามารถขยายจ านวนจากการ แนะนาต่อๆ กันไปของกลุ่มเพื่อน ๆ ออกไปเหมือนเครือข่าย ใยแมงมุม (World Wild Web) สาหรับด้าน “การศึกษา” อินเทอร์เน็ตถือว่าเป็น เทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ผู้สอนสามารถนาอินเตอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้เป็นสื่ อ การสอนได้เป็นอย่างดีจากศักยภาพของอินเทอร์เน็ต เช่น การ ใช้ ไ ปรษณี ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า ง ผู้เรียน หรือใช้เป็นช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับ สถานศึกษาหรือการเชื่อมต่อเข้าใช้งานกับระบบคอมพิวเตอร์ ระยะไกลโดยเป็นการสะดวกให้กับผู้เรียน และผู้สอนผู้เรียน สามารถที่จะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกิจกรรมต่าง ๆ เทคโนโลยี สารสนเทศ อิ น เทอร์ เน็ ต และเครือ ข่ ายสั ง คมออนไลน์ ไ ด้ สร้างสังคมใหม่ในการเรียนรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีกับการ เรียนการสอนที่นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียนได้โดย การติดตามข้อมูลทางเทคโนโลยี และการเรียนรู้เพิ่มเติมจาก แหล่งความรู้จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ นับว่าเครือข่าย สังคมออนไลน์เป็นสื่อใหม่ที่เกิดขึ้น ทางเทคโนโลยีทางการ ศึกษาที่สามารถทาให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตอีกด้วย ผู้ที่มี ส่วนร่วมในการใช้อินเทอร์เน็ต และเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่ อ เป็น สื่ อ เทคโนโลยี ท างการศึกษาที่ สาคั ญ นั้ น ได้ แ ก่ ครูผู้สอน จากรายงานการวิจัยเชิงนโยบายผลกระทบจาก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในด้านของ นโยบายปฏิรูประบบราชการได้กล่าวไว้ว่า ครูในอนาคตต้อง เรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนากระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จาเป็นต้องมีความรู้ ทักษะ เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง (ศุภักษร สุจินพรหม, 2549 : 3) จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า นวัตกรรมทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ อิ น เทอร์ เ น็ ต และเครื อ ข่ ายสั ง คม ออนไลน์ เป็นเทคโนโลยีที่สาคัญทางด้านการศึกษาทาให้เกิด การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และสามารถใช้ให้เกิด การ

ตัวตน จานวนมากที่สุด ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการ ใช้ ประโยชน์ แ ละมีค วามพึง พอใจในการใช้ แอพพลิ เคชั่ น ต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก 3. ผลการวิ เ คราะห์ เปรี ย บเที ย บพฤติ กรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ของนักศึกษาปริญญา บัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่ า เพศ การมีค อมพิวเตอร์ ส่วนตั ว คะแนนเฉลี่ ย และ รายได้ผู้ปกครองที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้ เครือข่าย สังคมออนไลน์ และพฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ไม่ แตกต่างกัน ส่วน ที่ตั้งสถาบันการศึกษาและระดับชั้นปีที่ แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และ พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร แตกต่างกัน ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ในสั ง คมโลกยุ ค ปั จ จุ บั น ความก้ า วหน้ า ทางด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology หรือ ICT) ได้เข้ามามีบทบาท ในการดาเนินชีวิตและการปฏิบัติงาน โดยช่วยให้เกิดความ รวดเร็ว ทาให้ข้อมูลข่าวสารสามารถส่งผ่านถึงกันทั่วโลก เกิ ด สั ง คมที่ เ รี ย กว่ า “สั ง คมข้ อ มู ล ข่ า วสาร” (Information Society) ซึ่ ง เป็ น สั ง คมที่ มี ก ารใช้ ข้ อ มู ล ข่ าวสารในการ ดาเนิ น งานด้ านต่ างๆ มี การกระจายภาพ เสี ย ง และข้ อ มู ล นวั ต กรรมทางเทคโนโลยี ซึ่ง เอื้ อ ให้ สามารถเข้ าถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารได้ ง่ า ยและสะดวกรวดเร็ ว มากขึ้ น จากปั จ จั ย สนั บ สนุน ทางด้ านของอุ ปกรณ์ ปลายทางต่ างๆ (Terminal Equipment) โดยผ่านเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่โยง ใยไปทั่วโลก หรือที่เรียกว่าอินเทอร์เน็ต (Internet) ซึ่งเป็น เครือข่ายที่ทาให้คนทั้งโลกสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่า เทียมกัน การติดต่อสื่อสารที่ผ่านเครือข่ายการสื่อสารบนสื่อ ใหม่ อ ย่ างอิ น เทอร์ เ น็ ต ได้ มี เ ว็ บ ไซต์ ป ระเภทหนึ่ ง กาเนิ ด ขึ้นมา โดยมุ่งเน้นการสร้างชุมชนออนไลน์ให้กับกลุ่มคนที่ ต้ อ งการแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ในสิ่ ง ที่ ต นสนใจหรื อ กิจ กรรม ต่างๆ หรือใครก็ตามที่สนใจสารวจข้อมูลของผู้อื่นที่มีความ สนใจในสิ่งเดียวกันหรือประเภทเดียวกันที่ท่องอยู่บนโลก เสมือนแห่งนี้ (วิกพิ ิเดียสารานุกรมเสรี. 2552 : ออนไลน์) ปั จ จุ บั น ในปี พ.ศ. 2553 ทั่ ว โลกต่ า งมี เ ว็ บ ไซต์ ประเภทเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) เกิดขึ้น 205


พัฒนาบุคลากรครูในอนาคตได้ ผู้วิจัยได้ตระหนักถึงบทบาท สาคัญและคุณค่าของสื่อดังกล่าว จึงมีความสนใจที่จะศึกษา ประเด็นนี้ในบริบทของสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือ มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี อินเทอร์ เน็ต และเกี่ยวข้ องในการพั ฒนาการบุค ลากรทาง ศึ กษ า ป ร ะ กอ บ กั บ การ ศึ กษ าพฤ ติ กร ร ม นั กศึ กษ า ระดับอุดมศึกษา ที่ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) ซึ่งพบว่ากาลังได้รับความนิยมและกาลังเติบโตใน อัตราเร่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาถึง พฤติ กรรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของนั ก ศึ กษา ระดับปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ โดยจาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ พฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบนเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ เพื่ อที่ จ ะน าข้ อ มู ล มาใช้ เ ป็ น แนวทางการพั ฒ นา บุคลากรในอนาคต และเป็นข้อมูลแนวทางให้กับผู้เกี่ยวข้อง ทางการศึกษา เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนในการปรับปรุง รูปแบบการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้ งนี้ ได้แก่ นักศึ กษาระดับปริญญา บัณฑิต ที่กาลังศึกษาอยู่ใน คณะครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จานวนทั้ง สิ้น 8,252 คน (ข้ อมูลจาก ฐานข้อมูล รายบุคคล สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 17 กุมภาพันธ์ 2554 : เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2554) 14 มหาวิทยาลัย ได้แก่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย ศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุ รี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัย นเรศวร และมหาวิทยาลัยทักษิณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต ที่ ก าลั ง ศึ ก ษาอยู่ ใ น คณะ ครุ ศ าสตร์ และศึ ก ษาศาสตร์ ในมหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ ภาคการศึ ก ษาที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา 2553 ซึ่ ง ครอบคลุ ม 14 มหาวิทยาลัย จานวน 382 คน โดยขนาดตัวอย่างได้จากการ คานวณหากลุ่มตัวอย่างของ ยามาเน่ (Yamane, 1973 : 725729 อ้างถึงใน กฤษณา บุตรปาละ, 2550 : 7) ที่มีค่าความ เชื่อมั่นร้อยละ 95% โดยใช้เกณฑ์ในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดย วิธีการสุ่มหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling)

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ ของนั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ / ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารบน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต คณะ ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ 3. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ จ าแนกตามปั จจั ยส่ วนบุ คคล และพฤติ กรรมการ เปิ ดรั บข้ อมู ลข่ าวสาร ของนั ก ศึ กษาปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต คณะ ครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ

ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ Independent Variables ได้แก่ 1.1 ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึ ก ษา เพศ ระดั บ ชั้ น ปี สาขาวิ ช า รายได้ ข อง ผู้ปกครอง และการมีคอมพิวเตอร์ส่วนตัว 1.2 พฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ได้แก่ วัตถุประสงค์ของการใช้งาน ความรู้ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ประเภทของการใช้ งาน เว็ปไซต์ที่ใช้งาน ความพึงพอใจ และประโยชน์ที่ได้รับ

ขอบเขตของงานวิจัย การศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษา พฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิท ยาลั ยของรัฐ โดย ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้

206


2. ตั ว แปรตาม Dependent Variables ได้ แ ก่ พฤติ กรรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของนั กศึ กษา ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต สาขาครุ ศาสต ร์ /ศึ ก ษ าศ าสตร์ ใ น มหาวิทยาลัยของรัฐ ได้แก่ ความถี่ในการใช้งาน ระยะเวลา ในการใช้งาน ช่วงเวลาในการใช้งาน และจานวนเพื่อนใน เว็บไซต์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ จาแนกเป็น ด้านการสื่อสาร (Communication) ด้าน การศึกษา (Education) ด้านการศึกษาบันเทิง (Edutainment)

ปริญ ญาบั ณฑิ ต มหาวิทยาลั ยศิล ปากร ระดับชั้ นปี ที่ 2 ที่ มี คุณลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 35 คน โดยวิธี หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ซึ่งผลการทดสอบ ปรากฏว่ าได้ ค่ าสั ม พั น ธ์ ข องความเชื่ อ มั่ น เท่ ากับ 0.94 ซึ่ ง หมายความว่ า โดยภาพรวมแล้ ว แบบสอบถามมี ค วาม น่าเชื่อถือ สามารถนาไปใช้ได้ วิธีดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจั ย ได้ ด าเนิ น การและท าการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล ดาเนินการเก็บแบบสอบถามด้วยตนเองโดยดาเนินเก็บข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ – 25 มีนาคม 2554 แบบสอบถาม ที่นาไปแจกกับกลุ่มตัวอย่างโดยตรง จานวน 260 ชุด กับกลุ่ม ตัวอย่างจานวน 5 มหาวิทยาลัย ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญา บั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ ศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และมหาวิทยาลัยพระจอม เกล้ า พระนครเหนื อ และการเก็บข้ อมู ลจากแบบสอบถาม ออนไลน์ (E-Questionnaire) ใช้ ส าหรั บเก็ บ ข้ อ มู ล จาก มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี และ มหาวิ ท ยาลั ย รวมจ านวนแบลบสอบถามทั้ ง 2 ประเภท ทั้งหมดจานวน 382 ชุด

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารต่างๆ ทฤษฎี และงานวิจัยที่ เกี่ย วข้ อ ง เพื่ อ เป็ น แนวทางในการสร้ า งแบบสอบถามให้ ครอบคลุมกับสิ่ งที่ต้องการศึกษา โดยผู้วิจัย ได้ทาการออก แบบสอบถามออนไลน์ ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม ผ่านคอมพิวเตอร์ และเก็บข้อมูลโดยตรง 1. สร้ า งแบบสอ บถาม และ แบบสอบ ถาม ออนไลน์ (E-questionnaire) จานวน 1 ฉบับ โดยใช้ Google Doc ในการสร้าง และ Link Banner เพื่อคลิกเข้าสู่เว็บไซต์ แบบสอบถามได้โดยตรง ผ่านรายวิชาในระบบออนไลน์ (ELearning) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับ พฤติ กรรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของนั กศึ กษา ระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยแบ่งออกเป็น 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 คาถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่ม ตัวอย่าง ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมการ เปิดรับข้อมูลข่าวสารบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อ พฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ โดยแบ่ ง เป็ น คาถามในด้านการสื่อสาร (Communication) ด้านการศึกษา (Education) และด้านการศึกษาบันเทิง (Edutainment) ตอนที่ 5 เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ การใช้ ประโยชน์และความพึงพอใจจากการใช้ แอปพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ 2. น าแบบสอบถามที่ ไ ด้ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไ ขจาก ผู้เชี่ย วชาญ ไปทดลองใช้ (Try out) กับนักศึกษาระดั บ

การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้ อมูล ในการวิจั ยครั้ งนี้ ใช้ สถิติ เชิ ง พรรณนา (Descriptive Statistics) แสดงข้อมูลเป็นความถี่ และร้ อ ยละ เพื่ อ อธิ บ ายข้ อ มู ล ด้ า นพฤติ ก รรมในการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาตรี โดยน า ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์ และประมวลผล ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ใช้ สถิติ การแจกแจงความถี่ ค่าสถิติ ร้อยละ (Percentage) 2. การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ด้ า นปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ พฤติ ก รรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ข องนั ก ศึ ก ษา ปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยของรัฐ และการใช้ประโยชน์และ ความพึงพอใจ ใช้การหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) 3. การวิ เ คราะห์ ส ถิ ติ เ ชิ ง อนุ ม าน (Inferential Analysis) ใช้สถิติ t-test ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน F-test วิเคราะห์ 207


ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ใช้ทดสอบ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรอิสระ ซึ่งมากกว่า 2 กลุ่มขึ้น ไป

บัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และพฤติกรรม การเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะ ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า เพศ การมี ค อมพิ ว เตอร์ ส่ ว นตั ว คะแนนเฉลี่ ย และรายได้ ผู้ปกครองที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคม ออนไลน์ และพฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร ไม่ แตกต่างกัน ส่วน ที่ตั้งสถาบันการศึกษาและระดับชั้นปีที่ แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และ พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร แตกต่างกัน

สรุปผลการวิจัย จากการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้ 1. พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของ นักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ 1.1 จ าแนกตามปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คลของของ นักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีคอมพิวเตอร์ ส่วนตัว ประเภทอุปกรณ์ที่ใช้ คือ คอมพิวเตอร์ส่วนตัว (PC) ระดับชั้นปีที่ 2 มีจานวนมากที่สุด คะแนนเฉลี่ยสะสม 3.00 ขึ้นไป และรายได้ผู้ปกครองอยู่ในระหว่าง 15,001-25,000 บาท 1.2 พฤติ กรรมการใช้ เครื อข่ ายสั งคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( X = 3.56) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการสื่อสาร มีค่าเฉลี่ย สูงสุด ( X = 3.89) รองลงมา คือ ด้านการศึกษาบันเทิง ( X = 3.53) และด้านการศึกษา มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ( X = 3.26) อยู่ใน ระดับปานกลาง 2. นั ก ศึ ก ษา ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่ า มี พฤติกรรมการ เปิดรับข้อมูลข่าวสารบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ รู้จักเว็บไซต์ เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ โ ดยการ ศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง มี วัตถุ ประสงค์ในการใช้ งานเว็ บไซต์เครื อข่ ายสังคมออนไลน์ เพื่อความบันเทิง ใช้ งานเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ใน ด้านการสื่อสาร และใช้งานเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ใน ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Identity Network) ใช้ประโยชน์ในแอฟ พลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ อยู่ในระดับมาก มี ความพึงพอใจในการใช้แอฟพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ อยู่ในระดับ มาก 3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ของนักศึกษาปริญญา

อภิปรายผลการวิจัย จากการสรุปผลของการวิจัย สามารถนามาอภิปราย ผลตามวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละตอบค าถามของการวิ จั ย ได้ ดังต่อไปนี้ 1. พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของ นักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ใน มหาวิทยาลัยของรัฐ ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะ ครุศาสตร์ ศึ กษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ระยะเวลาในการใช้งาน 1 ชั่วโมงขึ้นไป มีการ ใช้งานด้านการสื่อสาร มากที่สุด และใช้งานในช่วงวันหยุด ซึ่งสามารถอภิปรายได้ว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน มีบทบาทและเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการพัฒนาการศึกษาที่ จัดระบบการเรียนการสอนในระบบออนไลน์ ซึ่งตรงกับที่ บุปผชาติ หัฬหิกรณ์ และคณะ (2544 : 34) กล่าวว่า การ บริ ก ารต่ า งๆ ในอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ รู้ จั ก และนิ ย มใช้ กั น อย่ า ง กว้างขวาง แยกออกเป็นประเภท คือบริการค้นคืนสารสนเทศ (Information retrieval service) ได้แก่ การถ่ายโอนแฟ้มจาก แหล่ง ข้อมูล ที่เข้ าถึงได้และการเรีย กค้นในระบบเมนูที่น า ข้อมูลต่างๆ มาจัดเรีย งเป็นระดับ ของหัวข้อ การโอนแฟ้ ม ผ่านโปรแกรมสาหรับการติดต่อสื่อสาร ที่รวมทั้งการสนทนา และการส่งแฟ้ม ไว้ด้วยกัน การให้บริการสืบค้นสารสนเทศ (Information search service) ด้วยโปรแกรมค้นหาซึ่งมีอยู่ มากมาย เช่ น Yahoo, Google เป็ น ต้ น การบริ ก าร ติดต่อสื่อสาร (Communication service) เป็นบริการส่งข้อมูล ให้ แ ก่ กั น และกั น ระหว่ า งบุ ค คล ได้ แ ก่ การส่ ง จดหมาย 208


อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ การติ ด ต่ อ ใช้ เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ อ ยู่ ระยะไกล การใช้กระดานข่าว การสนทนากับบุคคลหลายคน ในเวลาเดี ย วกั น การสนทนาโดยการโทรศั พ ท์ แ ละการ ประชุม ทางไกลบนเครือ ข่ ายคอมพิ วเตอร์ เป็น ต้ น และ สอดคล้องกับงานวิจัยของ พบรัก แย้มฉิม (2551 : บทคัดย่อ) ได้ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ของ นักศึกษาสถาบันราชภัฏสวนดุสิต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ของ นั ก ศึ ก ษาสถาบั น ราชภั ฎ สวนดุ สิ ต ผลการวิ จั ย พบว่ า สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง กาลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 พฤติกรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ ในระดับปานกลาง โดยมีพฤติกรรมการใช้ระดับมากอันดับ แรกคือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ และด้านวัตถุประสงค์ในการ ใช้ และมีพฤติกรรมการใช้ระดับปานกลาง คือ ด้านเครื่องมือ ที่ใช้ และด้านระยะเวลาที่ใช้ 2. พฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต คณะ ครุ ศ าสตร์ ศึ กษาศาสตร์ ในมหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ พบว่ า มี พฤติ ก รรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบนเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ รู้ จั กเว็ บ ไซต์ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ โ ดยการ ศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการใช้ ง านเว็ บ ไซต์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อความบันเทิง ใช้งานเว็บไซต์ เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ใ นด้ า นการสื่ อ สาร และใช้ ง าน เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ในประเภทเผยแพร่ตัวตน (Identity Network) มีการใช้ประโยชน์ในแอฟพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ อยู่ในระดับมาก และพึงพอใจใน การใช้แอฟพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ อยู่ใน ระดับมาก ซึ่งรูปแบบการเปิดรับข้อมูลข่าวสารของนักศึกษา และข่าวสารต่างๆ ในปัจจุบัน สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่ง เป็ น สิ่ ง จ าเป็ น ที่ สามารถตอบสนองความต้ อ งการในด้ า น ข้ อ มู ล ข่ า วสารได้ ม ากที่ สุ ด ดั ง ที่ โ ดโนฮิ ว และ ทิ ป ตั น (Donohew and Tipton, 1976 อ้างถึงใน พรทิพย์ พัฒนา นุสรณ์ 2543 : 14) กล่าวว่า การลดความไม่รู้ที่เกี่ยวข้องกับ สิ่ ง แวดล้ อ มภายนอก (Extrinsic Uncertainty) เรี ย กว่ า ข่าวสารที่ใ ช้ป ระโยชน์ เป็ นเครื่ องมือ ช่วยในการตัด สิน ใจ ช่ ว ย เ พิ่ ม พู น ค ว า ม รู้ ค ว า ม คิ ด แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ (Instrumental Utilities) ในชีวิตประจาวัน ข่าวสารบางอย่าง

อาจจะให้ ป ระโยชน์ ทั้ ง การท าไปใช้ แ ละให้ ค วามบั น เทิ ง ขณะเดี ย วกัน และตรงกับ การศึ กษา ของ เชนและเฮมอน (Chen & Hemon, 1982 : 52-53 อ้างถึงใน ศรีหญิง ศรีคชา, 2544:21) กล่าวว่า ส่วนสาคัญยิ่งสาหรับการแสวงหาข่าวสาร ของบุคคล แหล่งของข่าวสาร ประเภทของแหล่งข่าวสารซึ่ง แบ่งไว้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มบุคคล ได้แก่ เพื่อน ญาติ หรือ บุคคลใกล้ชิด เป็นต้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นจากความคิด และประสบการณ์ของแต่ละปัจเจกบุคคล 2) กลุ่มสถาบั น ได้แก่ โรงเรียน ห้องสมุด ศาสนา บริษัท ห้างร้านในวงธุรกิจ หรือรัฐบาล และ 3) สื่อ ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์ หนั งสือพิมพ์ หรือรูปแบบสื่ออื่นๆ เป็นต้น สอดคล้องกับงานวิจัยของ เนติ มา กมลเลิศ (2549 : 81-82) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรม ที่ พึ ง ประสงค์ ใ นการใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต /ความภาคภู มิ ใ จใน ตนเอง/การรั บ รู้ เ กี่ ย วกั บ อิ น เทอร์ เ น็ ต /การสนั บ สนุ น ทาง สั ง คมจากครอบครั ว /การสนั บ สนุ น ทางสั ง คมจากเพื่ อ น ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) พฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ใ นการใช้ อินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับมาก ความภาคภูมิใจในตนเองอยู่ใน ระดับมาก การรับรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตอยู่ในระดับมาก การ สนับสนุนทางสังคมจากครอบครัวอยู่ในระดับปานกลาง การ สนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนอยู่ในระดับปานกลาง 3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ของนักศึกษาปริญญา บัณฑิต คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่า นักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีพฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และพฤติกรรมการเปิดรับ ข้อมูลข่าวสาร ไม่แตกต่างกัน โดยพิจารณาในรายละเอียด พบว่าสอดคล้อง เนติมา กมลเลิศ (2549 : 81-82) ศึกษาปัจจัย ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการใช้อินเทอร์เน็ต / ความภาคภูมิใจในตนเอง/การรับรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ ต/การ สนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว/การสนับสนุนทางสังคม จากเพื่อน ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ ใ นการใช้อิ นเทอร์ เน็ ตของนั กเรี ยนในเครื อคณะ เซนต์คาเบรียล เขตกรุงเทพมหานคร จาแนกตามชั้น ปี คะแนนเฉลี่ยสะสม อาชีพของผู้ปกครอง ระดับการศึกษาของ ผู้ปกครอง พบว่าไม่แตกต่างกัน

209


2. ควรมี ก ารศึ ก ษาถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง พฤติ ก รรมการใช้ เ ว็ บ ไซต์ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของ นักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ กับปัจจัยส่วนบุคคล เพื่อสนับสนุน ในการเรียนรู้ให้เป็นรูปธรรม 3. ควรศึ ก ษาตั วแปรในลั กษณะที่ เ ป็ น เชิ ง ลึ ก มาก ยิ่งขึ้น เนื่องจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์เครือข่ายสังคม ออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ และ ศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่ทาการศึกษาตัวแปร ในเชิงลึกยังมีอยู่น้อยมาก อาจจะรวมถึงการศึกษาถึงความ เป็นไปได้ที่จะนาเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์มาใช้งาน ดังนั้น วงการศึกษาควรจะหันมาศึกษาตัวแปรในเชิงลึก และ ละเอียดมากขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์และก่อให้เกิดองค์ความรู้ ต่องานวิจัยอื่น ๆ ต่อไป 4. ควรมีการศึกษาการนาเครือข่ายทางสังคมเข้าไป บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาของคณะครุศาสตร์ ศึ ก ษาศาสตร์ ที่ มี ก ารพั ฒ นาทั ก ษะในการใช้ ไ อซี ที ห รื อ คอมพิวเตอร์

ข้อเสนอแนะของการวิจัย จากผลการวิ จั ย ผู้ วิ จั ย มี ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ เป็ น แนวทางในการพัฒนาปรับปรุง ดังนี้ 1. จากผลการศึ กษาพฤติ กรรมการใช้ เ ครื อ ข่ า ย สังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบว่าส่วนใหญ่ใช้ ในด้านการสื่อสาร มีการใช้ประโยชน์ในแอพพลิเคชั่นต่างๆ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อการติดตามข่าวสารที่สนใจ และเหตุ การณ์ สาคั ญ ต่ างๆ และ สนทนากับ เพื่ อ น ค้ น หา เพื่อนเก่าหรือเพื่อนใหม่ และมีความพึงพอใจในการใช้แอฟ พลิ เ คชั่ น ต่ า งๆ บนเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เน้ น ที่ สัง คม เครื อ ข่ า ยออนไลน์ มี ค วามรวดเร็ ว คล่ อ งตั ว ในการ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารและ ใช้ ง านง่ า ย ไม่ ยุ่ ง ยาก ดั ง นั้ น ควร ทาการศึกษาถึงความต้องการ เช่นในด้านของเนื้อหา และ ข้ อ มู ล ที่ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ และ ศึกษาศาสตร์ ต้องการอย่างละเอียด และจัดกิจกรรมการศึกษา ให้สอดคล้องกับการเรียนการสอน 2. จากพฤติ กรรมการเปิ ด รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารบน เว็ บ ไซต์ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ของนั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญา บัณฑิต คณะครุศาสตร์ และศึ กษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลั ย ของรัฐ พบว่ า ส่ วนใหญ่ เป็ น การศึกษาด้ วยตนเอง เป็ น จ านวนมากที่ สุ ด การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนเพื่ อ กระตุ้นการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร เพื่อทาให้เกิดความสนใจ ในเรื่องการเรียนรู้ และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จึงควร สนั บ สนุ น การใช้ ง านเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เพื่ อ การ นาไปใช้ในการเรียนรู้ และเพื่อจูงใจให้เกิดความสนใจในการ ใช้เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองความจาเป็นต่อการ เรียนการสอนในอนาคต

บรรณานุกรม กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2553). แผนแม่ บ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ การศึ ก ษาของ กระ ทร วง ศึ ก ษาธิ ก าร พ .ศ . 25 52 -25 56 . กรุงเทพมหานคร : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ ภัณฑ์. กุลภัสสร์ ธรรมชาติ. (2553). “การใช้ Web 3.0 เพื่อพัฒนา เว็ บ ไซต์ ” . ส านั ก คอมพิ ว เตอร์ มหาวิ ท ยาลั ย ทั กษิ ณ . [อ อ น ไลน์ ]. เ ข้ าถึ ง ได้ จ า ก http://tsumis.tsu.ac.th/tsukm/UploadFolder/2 บทความ.pdf (วัน ที่ค้ นข้ อมูล : 20 กรกฎาคม 2553). พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ และ ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล. (2552). “รายงานผลการส ารวจกลุ่ ม ผู้ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ในประเทศไทย ประจาปี 2551”. ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. ยุมัยลา หลาสุบ. (2542). “การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา ของนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ” , วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา

ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป สาหรับการศึกษาครั้งต่อไป ควรศึกษาเพิ่มเติมดังนี้ 1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เว็บไซต์ เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะ ครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยการ เก็บข้ อมู ลในเชิ ง คุ ณภาพ เพื่ อให้ท ราบถึ งการรั บรู้ ความรู้ ความเข้ า ใจ ทั ศ นคติ รวมถึ ง ความต้ อ งการในการใช้ ประโยชน์ในด้านการศึกษาที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 210


เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สื่ อ ส า ร ก า ร ศึ ก ษ า สงขลานครินทร์. รุ้งลาวัลย์ สกุลมาลัยทอง.(2553). สังคมออนไลน์กับการเรียน การสอน : [ออนไลน์ ]. เข้ า ถึ ง ได้ จ าก http://gotoknow.org/ blog/srunglawan/285530 (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กรกฎาคม 2553). เศรษฐพงษ์ มะลิสุวรรณ และ อุษา ศิลป์เรืองวิไล. (2553). เครือข่ายสังคม (Social Networking) ที่นักการ ตลาดต้องเรียนรู้ . [ออนไลน์ ]. เข้าถึ งได้จ าก : http://www.crminaction.com/ file_upload/VHifm7Cf.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 22 กรกฎาคม 2553). สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554). ฐานข้อมูล รายบุคคล. สถิติอุดมศึกษา 17 กุมภาพันธ์ 2554. ภาษาอังกฤษ American Library Association. Information literacy competency standards for higher education. [Online]. Available : http://www.ala.org/acrl/acristandards/information literacy competency. htm [2011, July 4], 2005. Boissevain, Jeremy. Friends of Friends : Network, Manipulators and Coalitions. Oxford : Basil Blackwell. 1974. Carr, A. R. Predicting College of Agriculture professors, adoption of computers and distance education technologies for self-education and teaching at the University of Guadalajara, Mexico. Dissertation Abstract international. 60(04), 9814.UMI No. 9924705, 1999.

211


การจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ พัฒนาการเรียนรู้เตรียมสู่ประชาคมอาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ Development of Instructional Management through Social Media in ICT Activities Entitled “Using Search Engine to Enhance Thinking through Concept Mapping”: Towards the ASEAN Community for The Second Year Students at Wat Bost School นางสาวอาทิตติยา ป้อมทอง1, ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ2, ดร.สรัญญา เชื้อทอง3 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (May.pooklook@gmail.com) 2

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (surapon.boo@kmutt.ac.th)

3

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (saranya.ch@kmutt.ac.th)

ABSTRACT Keywords: Social Network Education, search engine , MindMap

This research aimed to 1) Develop an instructional management through social media in ICT activities entitled “Using Search Engine to Enhance Thinking through Mind Map” for the Second class students at Wat Bost School, 2) Find out the effectiveness of the instructional management through social media, 3) Determine the learning achievement of learners who learned from the instructional management through social media, 4) Do an authentic assessment from the instructional management through social media from the Mind Map drawn by learners, and 5) Examine the learners’ satisfaction towards the instructional management through social media. The sampling group consisted of 40 the Second class students. The research findings showed that 1) the quality of the instructional management through social media in ICT activities entitled “Using Search Engine to Enhance Thinking through Mind Map” was at good level, 2) the effectiveness of the instructional management through social media was higher than the criteria set at 80/80, 3) the analysis of learning achievement of learners showed that their average post-test score was higher than their pretest score with statistical significance at the .05 level, 4) the score from authentic assessment of the Mind Map was at good level and 5) the learners expressed high level of satisfaction towards the instructional management through social media using search engine.

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดการเรียนการสอน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิด โดยใช้แผนผังมโนทัศน์ สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียน วัดโบสถ์ (2) หาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (3) หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (4) ประเมินตามสภาพจริงจากการจัดการเรียนการ สอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์จากการเขียนแผนผังมโน ทัศน์ของผู้เรียน (5) ประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เรียนด้วย กระบวนการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ จานวน 40 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพการ จัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง การ สืบค้ นผ่ าน Search engine มีคุณภาพอยู่ในระดับดี (2) ประสิทธิภาพของจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine ที่สร้างขึ้นสูง กว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 (3) ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนเมื่อนาคะแนนสอบก่อนเรียนและคะแนน 212


สอบหลังเรียนมาวิเคราะห์เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่ าคะแนนสอบหลั ง เรี ย นสู ง กว่ า ก่อ นเรี ย นอย่ า งมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) ผลคะแนนการประเมิน ตามสภาพจริงจากการคิดโดยใช้แผนผังมโนทัศน์อยู่ใน ระดับดี (5) ผู้เข้าเรียนด้วยกระบวนการจัดการเรียนการ สอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

สอดคล้ อ งกั บ ความสนใจและความถนั ด ของผู้ เ รี ย นโดย ค านึ ง ถึ ง ความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คล มี ก ารฝึ ก ทั ก ษะ กระบวนการคิ ด การจั ด การ การเผชิ ญ สถานการณ์ แ ละ ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา ส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดยการฝึกปฏิบัติ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมถึงส่งเสริมสนับสนุนให้จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนเพื่ออานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรี ย นรู้ แ ละจั ด การเรี ย นรู้ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546 ) การเรี ย นรู้ อ ย่ างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ เป็ น การเรี ย นรู้ ที่ ผู้ เ รี ย นมี ความเข้าใจในเนื้อหาของบทเรียนอย่างแท้จริง มิใช่เป็นเพียง แค่การท่องจา แต่เป็นการที่ผู้เรียนสามารถนาเอาความรู้ที่ได้ จากการเรียนในบทเรียนนั้น มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา หรือสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อไป ได้ ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า การใช้สื่อการสอนจะทาให้ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มากขึ้น การใช้สื่อการสอนนั้นมุ่งเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอนจึงเป็นสิ่งจาเป็น เพื่อเป็นแนวทางให้ครู อาจารย์ และผู้สอนสามารถนาไปใช้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้บังเกิดประสิทธิผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน (เสาวนีย์, 2528) ปัจจุบันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจานวนมากมายไม่อาจจะคลิกเพื่อค้นหา ข้อมูลพบได้ง่ายๆ จาเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วย เครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความ สะดวกและรวดเร็ ว การที่ เ ราจะค้ น หาข้ อ มู ล ให้ พ บอย่ า ง รวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์สาหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Search Engine Site ซึ่งจะทาหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบ หัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คาหรือข้อความของหัวข้อ นั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น รอสักครู่ ข้อมูลอย่างย่อ ๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้ เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที สื่อประเภทใหม่ที่เข้ามามีอิทธิพลกับสังคมไทยอย่า งรวดเร็ว และได้มีการนาเอาเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง ๆ มาเสริมการ จัด การเรี ย นการสอนให้มี ป ระสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น เครื อ ข่ าย สังคมออนไลน์ เป็ นสิ่ งหนึ่ง ซึ่งเป็น ที่รู้ จักและได้รั บความ

คาสาคัญ: จัดการเรียนการสอนเครือข่ายสังคมออนไลน์ , สืบค้น Search engine, ส่งเสริมการคิดใช้แผนผังมโน ทัศน์

1) บทนา ความก้าวหน้าทางด้านการติดต่อสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ส่งผลทาให้มนุษย์ในสังคมปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปจากเดิมในหลาย ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นวิธีการ ติดต่อสื่อสาร รูปแบบการเรียนรู้ ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ในการด ารงชี วิ ต ประจ าวั น ซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลง พฤติ กรรมดั ง กล่ า วเป็ น ผลสื บ เนื่ อ งมาจากเทคโนโลยี สามารถลดข้อจากัดในเรื่อง ระยะทาง เวลา และสถานที่ ในการติดต่อสื่อสารลงไปได้ อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ ได้ถูกเปลี่ยนแปลงจากเดิมไปมาก (พูนศักดิ์, 2553) การ วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศนับว่าเป็นสิ่งที่มี ความสาคัญ ควรที่จะได้รับการพัฒนาและถูกนามาใช้ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด เช่ น งานด้ า นการวิ จั ย งานด้ า น การศึ กษา เนื่ อ งจากสภาพการเรี ย นรู้ ใ นปั จ จุบั น ที่เ น้ น ผู้เรียนเป็นศู นย์กลางเป็นสาคัญ การพัฒนาผู้เรียนให้ มี ทั ก ษะในการแสวงหาความรู้ และเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะกระบวนการคิ ด รู้ จั ก ใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง และสังคมจะเป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ของแต่ ละบุคคลให้เจริญเติบโตอย่างเต็มขี ดความสามารถ ทั้งนี้ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การปฏิ รู ป การศึ ก ษาตามแนว พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือ ว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการเรียน การสอนจะต้ อ งจั ด เนื้ อ หาสาระและกิ จ กรรมให้ 213


สนใจอย่างแพร่หลาย สามารถเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล/ ความเป็นตัวตน เขียนเล่าเรื่องราวต่างๆ เพื่อให้เพื่อนๆ ได้รับข้อมูลที่เป็นปัจจุบันของตน ดังนั้นการพัฒนาสื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน ในปัจจุบัน จึงควรเป็ นสื่อออนไลน์ที่นักเรี ยนสามารถ เข้าถึงและเรียนรู้ได้จากทุกหนทุกแห่งหรือทุกสถานที่ซึ่ง สื่อที่ได้รับความนิยมเป็นสื่อประเภท Social Media ใน ปัจจุบันเว็บไซต์ประเภท Social Media ที่นิยมกันในหมู่ คนทุกเพศทุกวัย คือ Facebook ซึ่งสามารถพัฒนาผลงาน สื่อ และเนื้อหา เพื่อเผยแพร่ให้กับนักเรียนได้เรียนรู้ และ มีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียน เช่น การตั้งประเด็นคาถาม การ ตอบคาถามข้อสงสัย การติดตามผลงาน การให้คาแนะนา ที่เหมาะสม และสามารถพัฒนาการเรียนรู้สู่ประชาคม อาเซียนได้โดยการสอดแทรกภาษาอังกฤษ หรือความรู้ เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนให้นักเรียนได้สืบค้น รู้จักกับ คาศัพท์ใหม่ๆ ประเพณีและวัฒนธรรมของ 10 ประเทศ ในประชาคมอาเซียน ฯลฯ จากเหตุผลดังกล่าวทาให้ผู้วิจัยเห็นความสาคัญและสนใจ ที่ จ ะจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คมโดยใช้ เว็บไซต์ Facebook เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทาให้ผู้เรียนเกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนานผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างอิสระตลอดเวลา โดยผู้เรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองหรือกับเพื่อน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ อีกทั้งยังเปิดโลกทัศน์ใหม่ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จึงสามารถสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา และเพื่อเป็นการส่งเสริมการคิด ในสิ่งต่างๆโดยใช้แผนผังมโนทัศน์

คิ ด โดยใช้ แ ผนผั ง มโนทั ศ น์ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ เ ตรี ย มสู่ ประชาคมอาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัด โบสถ์ 3. เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนด้ว ยการจัดการ เรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ในกิ จ กรรม พัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ พัฒนาการเรียนรู้ เตรี ย มสู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ส าหรั บ นั ก เรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ 4.เพื่อประเมินตามสภาพจริงจากการเขียนแผนผังมโนทัศน์ ของผู้เรียน 5.เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เรียนด้วยกระบวนการ จั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ใน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การคิ ด โดยใช้ แ ผนผั ง มโนทั ศ น์ พัฒนาการเรียนรู้เตรียมสู่ประชาคมอาเซียน สาหรับนักเรียน ช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์

3) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้กระบวนการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคม ในกิจ กรรมพัฒ นาผู้เ รีย นด้ าน ICT เรื่ อง การสืบ ค้น ผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการ คิดโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ สาหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ กษาปี ที่ 6 โรงเรี ย นอนุ บ าล ลพบุรี 2. เป็นแนวทางในการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนการ สอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ในรายวิ ช าอื่ น ๆ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 3. ส่งเสริมการคิดของนักเรียนโดยใช้แผนผังมโนทัศน์

2) วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ การจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การ สืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดยใช้ แผนผั งมโนทัศ น์ พัฒ นาการเรี ยนรู้เ ตรี ยมสู่ป ระชาคม อาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการ

4) สมมติฐานของการวิจัย 1. คุ ณ ภาพการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้น ผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดยใช้แผนผังมโน ทัศน์ พัฒนาการเรียนรู้เตรียมสู่ประชาคมอาเซียน สาหรับ

214


นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ มีคุณภาพอยู่ใ น ระดับดีขึ้นไป

สารสนเทศไม่น้อยกว่า 5 ปี จานวน 3 ท่าน เพื่อประเมิน คุณภาพด้านเนื้อหา 5.2.2 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสื่อ เป็นผู้ที่จบการศึกษาระดับ ปริญญาโทขึ้นไป สาขาเทคโนโลยีทางการศึกษาและสาขาที่ เกี่ยวข้องกับการทาสื่อ หรือมีประสบการณ์ในการสร้างสื่อ มัลติมีเดียมาไม่น้อยกว่า 5 ปี จานวน 3 ท่าน เพื่อประเมิน คุณภาพกระบวนการการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย

2. ประสิ ท ธิ ภ าพของการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า น เครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการ คิด โดยใช้ แผนผัง มโนทั ศ น์ พั ฒ นาการเรี ยนรู้ เ ตรี ย มสู่ ประชาคมอาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียน วัดโบสถ์ ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 80/80

ตัวแปรต้น คือ กระบวนการการจัดการเรีย นการสอนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้น ผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดยใช้แผนผังมโน ทัศน์ พัฒนาการเรียนรู้เตรียมสู่ประชาคมอาเซียน สาหรับ นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์

3. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย น มี ค ะแนน หลั ง เรี ย นสู ง กว่ าคะแนนก่อนเรี ย น อย่ างมี นัย สาคั ญ ที่ ระดับ .05 4. ผลคะแนนการประเมินตามสภาพจริงจากแผนผังมโน ทัศน์อยู่ในระดับดีขึ้นไป

ตัวแปรตาม คือ 1. คุ ณภาพของกระบวนการการจั ดการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดย ใช้ แ ผนผั ง มโนทั ศ น์ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ เ ตรี ย มสู่ ป ระชาคม อาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของการการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า น เครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดย ใช้ แ ผนผั ง มโนทั ศ น์ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ เ ตรี ย มสู่ ป ระชาคม อาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ 3. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง การสื บ ค้ น ผ่ า น Search engine 4. ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการจัดการเรียนการสอนผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดย ใช้ แ ผนผั ง มโนทั ศ น์ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ เ ตรี ย มสู่ ป ระชาคม อาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียน วัดโบสถ์

5. ผู้เข้าเรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดยใช้ แผนผั งมโนทัศ น์ พัฒ นาการเรี ยนรู้เ ตรี ยมสู่ป ระชาคม อาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก

5) ขอบเขตของการวิจัย 5.1 ประชากร ประชากร นั ก เรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ 2 ของโรงเรี ย น วัดโบสถ์ จานวน 40 คน 5.2 ผู้เชี่ยวชาญ 5.2.1 ผู้เชี่ ยวชาญด้านเนื้อหา เป็นผู้ ที่จบการศึกษา ระดับปริญญาโทขึ้นไป ทางด้านสาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้าน

215


6.2.3 ดาเนินการสร้าง บทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” โดยนาแบบของการ สร้างบทเรียน ที่ออกแบบนามาผลิต 6.2.4 นาบทเรียนที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นเนื้ อ หาและผู้ เ ชี่ ย วชาญ ด้ า นสื่ อ และการน าเสนอ ตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม ภาษา ภาพและเสียง ที่ใช้ในบทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์

6) วิธีดาเนินการวิจัย 6.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 6.1.1.บทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การ สืบค้นผ่าน Search engine” 6.1.2. แบบประเมินประสิทธิภาพบทเรียนผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” 6.1.3. แบบทดสอบสาหรับหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของกลุ่มตัวอย่างจากบทเรียนบทเรียนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” 6.1.4. แบบประเมิ น ตามสภาพจริ ง ของบทเรี ย นผ่ า น เครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” 6.1.5. แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู้ เ รี ย นที่ มี ต่ อ บทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้น ผ่าน Search engine”

6.3 การดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยได้แนะนาบทเรียนให้กับผู้เรียนให้ทราบถึงรายละเอียด ที่สาคัญเกี่ยวกับขั้นตอน และวิธีการเรียนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เรื่ อ ง “การสื บ ค้ น ผ่ า น Search engine”โดยใช้ เว็ บ ไซต์ Facebook ให้ ผู้ เ รี ย นทราบก่อ นการด าเนิ น การ ทดลองและใช้แบบแผนการวิจัย one group pretest–post-test design และดาเนินการวิจัยตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ทดสอบก่อนการเรียน (Pre test) เมื่อกลุ่มตัวอย่างผ่านการ แนะนาบทเรียนแล้ว ผู้ศึกษาให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบ ก่ อ นการเรี ย น (Pre test) เพื่ อ ให้ ท ราบว่ า ผู้ เ รี ย นมี ความสามารถอยู่ในระดับใด และทาการเก็บผลคะแนนจาก กลุ่มตัวอย่างไว้ 2. จัดการกระทา (Treatment) ให้กลุ่มตัวอย่างทุกคนศึกษา บทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” 3. การทดสอบหลังการเรียน (Post test) หลังจากที่กลุ่ม ตัวอย่างได้ศึกษาบทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” เรียบร้อย ผู้วิจัยจะให้กลุ่ม ตัวอย่างทุกคนนาสิ่งที่เรียนไปทดสอบจริงโดยการกาหนด เรื่องที่ต้องการให้สืบค้น ผ่าน Search engine เมื่อนักลุ่ ม ตัวอย่างทาการสืบค้นผ่าน Search engine ได้ข้อมูลเรียบร้อย แล้วผู้เรียนจะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันโดยให้กลุ่ม ตัวอย่างเขียนสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงบนกระดานแสดงความคิดเห็น และทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post test) เพื่อให้ทราบว่ากลุ่ม ตัวอย่างเกิดความรู้หลังจากศึกษาบทเรียนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” เพิ่มขึ้นใน ระดับใด และทาการเก็บผลคะแนนจากกลุ่มตัวอย่างไว้ 4. การประเมินตามสภาพจริง หลังจากกลุ่มตัวอย่างได้ศึกษา บทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน

6.2 วิธีการจัดกระบวนการเรียนการสอน 6.2.1 ศึกษาวิธีการ แนวคิด ทฤษฎีจากเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดกระบวนการเรียนการ สอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ การสืบค้นผ่าน Search engine กระบวนการคิด และการใช้แผนผังมโนทัศน์ 6.2.2 กาหนดขอบข่ายเนื้อหา ที่ใช้ในการสร้างบทเรียน ผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เรื่ อ ง “การสื บ ค้ น ผ่ า น Search engine” โดยรวบรวมหนังสือและงานวิจัยที่มี เนื้อหาเกี่ยวข้องกับ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” หลังจากที่รวบรวมหนังสือและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดย นาเนื้อหามาเขียนเป็นแผนภูมิระดมสมอง (Brainstorm Chart Drafting) แผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart Drafting) และแผนภู มิ โ ครงข่ า ยเนื้ อ หา (Content Network Analysis Chart Drafting) แล้วนาเสนอ ให้ อาจารย์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตรวจสอบความถูกต้องและ ความเหมาะสม

216


Search engine” และได้ทาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บน กระดานแสดงความคิ ด เห็ น แล้ ว ให้ นั กเรี ย นรวบรวม ความรู้ที่ได้รับมาเขียนเป็นแผนผังมโนทัศน์ และประเมิน ตามแบบประเมิ น ตามสภาพจริ ง เพื่ อ ให้ ท ราบว่ า การ จั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ส่งเสริมการคิดของกลุ่มตัวอย่างในระดับใด 5. การประเมินความพึงพอใจ หลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้ ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประเมินตามสภาพจริงแล้วผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างที่ ศึกษาบทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การ สืบ ค้ นผ่ าน Search engine”ทาแบบประเมิ น ความพึ ง พอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อบทเรียนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine” 6. ท าการเก็บ รวบรวมข้ อมูล ที่ได้จ ากการประเมิ น จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหาและด้านสื่อ ข้อมูลที่ได้ จากแบบทดสอบก่ อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน แบบประเมินตามสภาพจริง และแบบประเมินความพึง พอใจจากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งจะถู ก น ามาวิ เ คราะห์ แ ละหา ค่าเฉลี่ยของข้อมูล และค่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ นามาเปรียบเทียบกับสมมติฐาน

ตารางที่ 2 : บทเรียนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เรื่ อ ง “การสื บ ค้ น ผ่ า น Search engine” 80/80 รายการ

4.30 4.33 4.32

ประสิทธิภาพ

40

50

1,638

82.5

40

30

1,004

83.67

ผลการ n S.D. X ทดสอบ Pre-test 40 21.98 6.78 Post-test 40 43.70 3.19 **มีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

D2

t

26316

20.583**

D

1086

ตารางที่ 4 : ผลการประเมินตามสภาพจริง รายการประเมิน 1. มีการทาข้อสอบก่อนและหลังเรียน 2. มีความสนใจในเนื้อหาที่เรียน 4. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ งานที่ มอบหมาย 5. ปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามขั้นตอน 6. ยอมรับและปรับปรุงตนเองตาม คาแนะนา ผลการประเมินเฉลี่ย

4.20 4.07 4.40

S.D. 0.76 0.78 0.72

ผลการประเมิน ดี ดี ดี

4.73 4.30

0.52 0.65

ดีมาก ดี

4.27

0.69

ดี

X

ตารางที่ 5 : ความพึ ง พอใจของผู้ เ รี ย นต่ อ บทเรี ย นผ่ า น เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เรื่ อ ง “การสื บ ค้ น ผ่ า น Search engine” รายการประเมิน X

ตารางที่ 1 : ผลการประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญ

ด้านเนื้อหา ด้านสื่อ เฉลี่ยรวม

คะแนน รวม

ตารางที่ 3 : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างจาก บทเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง “การสืบค้นผ่าน Search engine”

7.1 ผลการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ เป็ น การพั ฒ นาการเรี ย นการสอนให้ มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทาให้ผู้เรียนเกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนานผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างอิสระตลอดเวลา โดยผู้เรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองหรือแลกเปลี่ยน ความรู้กับเพื่อน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ อีกทั้งยัง เปิดโลกทัศน์ใหม่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และเสริมทักษะใน การคิดที่หลากหลาย สามารถต่อยอดความรู้ที่มีอยู่แล้ว ให้เพิ่มขึ้นไม่มีที่สิ้นสุด

X

คะแนน เต็ม

คะแนนระหว่าง เรียน (E1) คะแนน แบบทดสอบหลัง เรียน (E2)

7) ผลการดาเนินการวิจัย

หัวข้อในการประเมิน

จานวน ผู้เรียน

ผลการประเมิน ระดับความ S.D. คิดเห็น 0.46 ดี 0.46 ดี 0.46 ดี 217

1. ส่วนของภาพ 2. ส่วนของตัวอักษรและการใช้สี

4.15 4.07

3. ส่วนของเสียง

4.09

4. ส่วนของกระบวนการสาธิต 5. ด้านอื่นๆ ผลการประเมินเฉลี่ย

4.17 4.08 4.11

ผลการประเมิน S.D. ผลการประเมิน 0.60 พึงพอใจมาก 0.60 พึงพอใจปาน กลาง 0.58 พึงพอใจปาน กลาง 0.60 พึงพอใจ 0.61 พึงพอใจ 0.60 ดีมาก


เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต, 2528, เทคโนโลยีทางการศึกษา, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ, กรุงเทพฯ.

8) อภิปรายผล การจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ใน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อส่งเสริมการคิดโดยใช้แผนผังมโน ทัศน์ พัฒนาการเรียนรู้เตรียมสู่ประชาคมอาเซียน สาหรับ นั ก เรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ 2 โรงเรี ย นวั ด โบสถ์ ที่ ส ร้ า งขึ้ น มี คุณภาพและประสิทธิภาพ สามารถนาไปใช้เพื่อใช้เพื่อ การพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสริมทักษะใน การคิดที่หลากหลาย ต่อไป

10.2 ภาคผนวก

9) ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของการใช้การจัดการเรียน การสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ด้าน ICT เรื่อง การสืบค้นผ่าน Search engine เพื่อ ส่งเสริมการคิดโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ พัฒนาการเรียนรู้ เตรียมสู่ประชาคมอาเซียน สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ในด้านต่างๆ โดย ศึ กษาตั วแปรในเรื่ อ งของเวลาที่ ใ ช้ ใ นการศึ กษา และ ความคงทนในการศึกษา 2. เนื่องจากวิจัยครั้งนี้ เป็นการสร้างบทเรียนเพียงบทเดียว การวิจัยครั้งต่อไป ควรสร้างบทเรียนที่หลากหลาย เพื่อ เป็นการเผยแพร่ความรู้ให้กว้างยิ่งขึ้น และยังเป็นการเปิด โอกาสให้กับผู้ที่สนใจได้มาศึกษาค้นคว้าความรู้ได้ทุก เพศทุกวัย

10) เอกสารอ้างอิง และภาคผนวก 10.1) เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ, 2546, พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545, สานักพิมพ์วิญญูชน, กรุงเทพมหานคร. พูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล. ความหมายและจุดมุ่งหมายของ เทคโนโลยีเว็บ, 2553, [Online], Available : http://www.thaigoodview.com/node/81538 218


ผลของการใช้บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students

นาหนึ่ง ทรัพย์สิน1, อ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2, ผศ. ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ 1,2,3

3

ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (numnung_s@hotmail.com) (panitaw@kmutnb.ac.th) (palloppi@gmail.com)

สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประชากรที่ใช้ในการ วิ จั ย คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย รามค าแหง จ านวน 2,075 คน กลุ่ ม ตั วอย่ าง คื อ นั กศึ กษา ระดั บ บั ณฑิ ต ศึ กษา สาขาวิ ชาเทคโนโลยี สื่อ สารมวลชน คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ได้จากการสุ่ม อย่างแบบหลายขั้นตอน จานวน 21 คน วิธีการดาเนินการ วิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรียน บนเว็ บ แบบร่ ว มมื อ โดยใช้ เ ว็ บ เควสท์ ระยะที่ 2 การ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจั ย ได้แก่ บทเรีย นบนเว็บ แบบร่วมมือโดยใช้เว็ บ เควสท์ วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์และการนาเสนอ สื่อโทรทัศน์ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย เลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t–test Dependent ผลจากการวิจัย พบว่า 1) บทเรี ย นออนไลน์ แ บบเว็ บ เควสท์ ที่ พั ฒ นาขึ้ น ประกอบด้ ว ยเนื้ อ หาทั้ ง หมด 10 ตอน มี ผ ลการประเมิ น คุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดี และคุณภาพด้านเทคนิคอยู่ ในระดับดี 2) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ เรียนโดยใช้บทเรีย น ออนไลน์แบบเว็บ เควสท์ที่พัฒ นาขึ้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .01

ABSTRACT The objectives of the research study were 1) to develop Collaborative Web-based Learning by using WebQuest for Graduate Students 2) to compare the learning achievement of Graduate Students learning through the Web-based Learning by using WebQuest. Population used in this study were 2,075 graduate students from Ramkhamhaeng University, the sample study were 21 graduate students from Division of Mass Communication Technology, Faculty of Mass Communication Technology Academic Year 1/2554, Ramkhamhaeng University, the probability evaluated from a Multi Stage Random Sampling. The tools used in the study are WebQuest on Learning Management System (LMS) and Pretest- Posttest that the Courses name is Film & Television Productions and TV Presentation Technologies. The statistics used in this study was Mean, Standard Deviation, Item Objective Conguence Index and t-test dependent The research has found that: 1) the contents of 10 steps of development of Web-Based Learning by Using WebQuest have a results of the evaluation of the content was good level and results of the the evaluation of the technical was good level 2) the posttest score was higher than pretest score there were statistically significant at level .01 . Keywords: Web-based Learning, Collaborative Learning, WebQuest, Film and Television Productions and TV Presentation Technologies

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บ เควสท์ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษ าระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ กษา 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง เรี ย นบทเรี ย นบนเว็ บ แบบร่ ว มมื อ โดยใช้ เ ว็ บ เควสท์ 219


การสอนในชั้นเรียนปกติ กับการเรียนการสอนบนเครือข่าย (ไชยยศ เรืองสุววรณ, 2546)

คาส าคั ญ : บทเรีย นบนเว็ บ , การเรี ยนแบบร่วมมือ , เว็ บ เควสท์ , เทคโนโลยี การผลิ ต ภาพยนตร์ แ ละการ นาเสนอสื่อโทรทัศน์

บทเรียนแบบเว็บเควสท์ (Web Quest) เป็นกิจกรรมการเรียน การสอนที่ เ น้ น การแสวงหาความรู้ โ ดยใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศเป็นฐาน ครูผู้สอนหรือผู้ออกแบบบทเรียน ไม่ได้ ทาหน้าที่ถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียนแตฝ่ายเดียว แต่เป็นผู้จัด กลุ่มเรียบเรียงและลาดับความรู้ต่างๆ ให้อานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนได้เข้าถึงความรู้นั้นๆ อย่างเป็นระบบเป็นขั้นเป็น ตอน โดยมุ่งการแก้ปัญหาเป็นสาคัญ ลักษณะของเว็บเควสท์ ที่สาคัญ คือ แสดงเพียงโครงร่างเนื้อหาเป็นกรอบของความรู้ ที่ผู้เรียนต้องศึกษาหรือควรจะศึกษา ไม่ได้มุ่งแสดงเนื้อหา รายละเอี ยดของความรู้ นั้น ๆ ที่ ชี้ชัด ลงไปโดยตรง ดั งเช่ น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทั่วๆ ไป ที่ผู้ออกแบบได้ระบุ เนื้อหาเฉพาะเพียงกรอบของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ ต้อ งการเท่ านั้ น วิ ธีการของเว็ บ เควสท์ ใ นการเข้ าสู่ เ นื้อ หา ความรู้ต่างๆ ได้โดยใช้ตัวเชื่อมโยงบนหน้าเว็บเพจหลักของ กรอบโครงสร้างเนื้อหาหลัก ที่ผู้ออกแบบจัดกลุ่ม เรียบเรียง และลาดับ ดังที่กล่าวไว้แล้วนั้น เชื่อมโยงไปยังแหล่งความรู้ อื่นๆในเว็บไซต์อื่นที่ผู้สอนหรือผู้ออกแบบพิจารณาเห็นว่า มี เนื้อหาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน ซึ่งในเว็บเควสท์มีองค์ประกอบ 6 องค์ประกอบ คือ (ปิยนาถ ศรบุญลาม, 2552) 1. ส่วนนา (Introduction) เป็นขั้นเตรียมตัวผู้เรียนในการเข้า สู่กิจกรรมการเรียนการสอน เช่น สถานการณ์ หรือปัญหาซึ่ง เป็นกรอบกว้างๆ 2. ส่วนภารกิจ (Task) เป็นข้อปัญหา หรือประเด็นที่ผู้เรียน ต้องหาคาตอบ 3. ส่วนการชี้แหล่งความรู้ (Resources) เป็นการให้แหล่ง สารสนเทศที่มีบน World Wide Web เพื่อว่าผู้เรียนสามารถ นาสาระความรู้นั้นมาแก้ปัญหาได้ 4. ส่วนกระบวนการ (Process) เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนต้องทา กิจกรรมนั้น ควรเน้นการสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง และ กระบวนการเรียนแบบร่วมมือ 5. ส่วนประเมินผล (Evaluation) เป็นขั้นติดตามว่าผู้เรียนได้ บรรลุวัตถุประสงค์เพียงไร ควรเน้นการวัดผลในสภาพที่เป็น จริง ซึ่งอาจมีการจัดทาแฟ้มข้อมูล

1) บทนา เทคโนโลยี ท างการศึ กษาเป็ น การประยุกต์ ความรู้ ท าง วิทยาศาสตร์อย่างมีระบบในกระบวนการเรียนการสอน แก้ไขปัญหา และพัฒนาการศึกษาให้ก้าวหน้าต่อไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีความหมายไม่ เพียงแต่เป็นวิทยาศาสตร์ทางธรรมชาติเท่านั้น แต่ยังรวม หมายถึ ง วิท ยาศาสตร์ ท างจิต วิ ท ยา และศาสตร์ ใ นการ บริหารงานครอบคลุมทั้งด้านบริหารวิชาการและบริการ ดัง นั้ น ในการน าเทคโนโลยี ท างการศึกษามาปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการศึ ก ษา จึ ง ครอบคลุ ม 3 ด้ า น คื อ เครื่ องมือ อุป กรณ์การสอนต่างๆ วั สดุ และวิ ธีการและ เทคนิค การนาเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการจัดการศึกษา นั้นจะยึดหลักการทั่วไปเหมือนการนาเทคโนโลยีไปใช้ ในสาขาวิ ช าการอื่ น ๆ คื อ ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) หมายความว่า เมื่อนาเอาเทคโนโลยีมาใช้แล้วทาให้เกิด การเรี ย นรู้ ต ามที่ ว างจุ ด มุ่ ง หมายเชิ ง พฤติ ก รรมไว้ ใ น แผนการสอนประสิ ท ธิ ผ ล (Productivity) หลั ง จบ กระบวนการเรียนการสอนแล้ว ผู้เรียนทั้งหมดหรือเกือบ ทั้งหมดเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ ประหยัด (Economy) การที่จะนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียน การสอน ต้องตระหนักถึงข้อนี้ในการเรียนการสอนถ้ามี ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลใช้ ท รั พ ยากรอย่ า ง ประหยัดก็ย่อมถือว่าสามารถบริหารจัดการเกินคุ้มค่า การเรียนการสอนบนเครือข่าย (Web-based Instruction) เป็นการผนวกคุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติ ของเครือข่าย เวิลด์ไวด์เว็บ เพื่อสร้างเสริมสิ่งแวดล้อม แห่งการเรียนในมิติที่ไม่มี ขอบเขตจากัดด้วยระยะทาง และระยะเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียนการสอนบนเว็บ หรื อ บนระบบเครื อ ข่ า ย เป็ น การพั ฒ นาบทเรี ย นใน ลั กษณะสื่ อ หลายมิ ติ ทั้ ง ที่ เ ป็ น รายวิ ช า หรื อ โมดุ ล ตาม หลักสูตรขึ้นไวใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เรียกว่า การ เรียนการสอนบนเครือข่าย (Web-based Instruction : WBI) ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการเรียน 220


6. ส่วนสรุป (Conclusion) เป็นขั้นสรุปความคิดรวบยอด ที่ผู้เรียนช่วยกันแสวงหา และสร้างขึ้นมาเอง เป็นการฝึก ให้นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์ ฝึกการคิดขั้นสูง ทักษะการ สืบเสาะในการเรียนรู้ จากที่ ม าและความส าคั ญ ของปั ญ หาดั ง กล่ า ว จึ ง จาเป็นต้องมีการบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือ โดยใช้เว็บ เควสท์ ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ผ่านระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศต่อไป

2) วัตถุประสงค์การวิจัย 2.1) เพื่อการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้ เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.2) เพื่อศึกษาผลการใช้บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดย ใช้เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา

การออกแบบการเรียนการสอน 1.ขั้นการวิเคราะห์ 2.ขั้นการออกแบบ 3. ขั้นการพัฒนา 4.ขั้นการนาไปทดลองใช้ 5. ขั้นการประเมินผล

การเรียนแบบเว็บเควสท์ (Dodge, 1997) 1.ส่วนนา 2.ภารกิจ 3.กระบวนการ 4.แหล่งข้อมูล 5.การประเมินผล 6.การสรุปผล

การเรียนการสอนแบบร่วมมือ (Johnson and Johnson, 2003) 1.การพึ่งพาเกื้อกูล 2.ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของ สมาชิกแต่ละคน 3.การปรึกษากันอย่างใกล้ชิด 4.การใช้ทักษะทางานร่วมกัน

3) สมมติฐานการวิจัย

การเรียนจัดการเรียนบน เว็บ(ไชยยศ, 2548) 1.จุดประสงค์การเรียน 2.เนื้อหาตามหลักสูตร 3.การปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้สอนกับผู้เรียน 4.ความร่วมมือระหว่างผู้เรียน 5.การให้ผลป้อนกลับ 6.ประสบการณ์การเรียนรู้

บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือ โดยใช้เว็บเควสท์

นักศึกษาที่เรียนโดยใช้ บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดย ใช้เว็บเควสท์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ.01

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือ โดยใช้เว็บเควสท์

4) ขอบเขตการวิจัย 4.1) ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย รามคาแหง จานวน 2,075 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา เทคโนโลยี สื่ อ สารมวลชน คณะเทคโนโลยี ก าร สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง ชั้นปีที่ 1 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ได้จากการสุ่มอย่างแบบ หลายขั้นตอน จานวน 21 คน

5) วิธีดาเนินการวิจัย ขั้นตอนการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บ เควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เนินตามขั้นตอน การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design: ISD) 5 ขั้นตอนมีดงั ต่อไปนี้ 1. ขันการวิเคราะห์ (Analysis) 1.1วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เนื้อหาที่ใช้ในการ วิจัยครั้งนี้ คือ วิชา TM 653 เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์ และการนาเสนอสื่อโทรทัศน์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา หลั ก สู ต รศิ ล ปศาตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี สื่อสารมวลชน คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน 1.2 วิเคราะห์ผู้เรียน (Learner Analysis) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มี ความสามารถและทักษะทางด้านการใช้งานระบบเครือข่าย

4.2) ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ บทเรียนบน เว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ ตั วแปรตาม (Dependent Variable) คื อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียน

221


คอมพิวเตอร์และบริการต่างๆ บนระบบอินเทอร์เน็ตเป็น อย่างดี และมีทัศนคติที่ดีกับการเรียนการสอนบนเว็บ 1.3 วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้อง (Context Analysis) ใน

กิจกรรมที่ 3 กระบวนการ 4.นักศึกษา อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น รายบุคคล ผ่านทางกระดานประจาสัปดาห์ 5. นักศึกษา ทารายงานกลุ่ม เกี่ยวกับประเด็นปัญหาประจา สัปดาห์ 6. นักศึกษา ทา Power Point และส่งแทนนาเสนองานที่ได้รับ มอบหมายหน้าชั้นเรียน (ระยะ เวลาในการนาเสนอ 10 นาที) กิจกรรมที่ 4 แหล่งข้อมูล 1.นักศึกษา ศึกษาค้นคว้าข้อมูลประกอบการทารายงาน จะ แหล่งข้อมูลในระบบบริหารจัดการเรียนรู้ และเว็บไซต์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่ 5 การประเมินผล 2. ประเมินผลการเรียนจากรายงานกลุ่ม และการนาเสนองานที่ ได้รับมอบหมายหน้าชั้นเรียน 3. การประเมินตามสภาพจริง จากการมีส่วนร่วมในกิจกรรม กลุ่ม 4.ประเมินความรู้ โดยใช้แบบทดสอบประจาสัปดาห์ กิจกรรมที่ 6 การสรุปผล อาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาร่ ว มกั น สรุ ป ผลการเรี ย นรู้ ป ระจ า สัปดาห์ 3. ขันการพัฒนา (Development) การพั ฒ นาบทเรี ย นบนเว็ บ แบบร่ วมมื อ โดยใช้เ ว็ บ เควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดาเนินตามขั้นตอน ดังนี้ 3.1 การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ด าเนิ น การจั ด การ เนื้อหาและกิจกรรมในระบบบริหารจัดการเรียนรู้ (Learning Management System :LMS) ของ Moodle LMS เข้าถึงได้ที่ http ://www.elearning.kmutnb.ac.th 3.2 ออกแบบขั้นตอนกิจกรรม การพัฒนาบทเรียนบนเว็บ แบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ 3.3 พัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์และการ นาเสนอสื่อโทรทัศน์ 3.3.1 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบ ปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ โดยถ้าตอบถูกให้1 คะแนน

การจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนบน เว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิท ธิ ผ ลตามวั ต ถุ ประสงค์ นั กศึ กษาควรมี เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาบทเรียนด้วย ตนเองผ่านเว็บ เช่น Smart phone, Tablet PC หรือ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ แ บบพกพา และมี ค วรมี ร ะบบ โครงข่ า ยพื้ น ฐานทางด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ สนับสนุน เช่น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย 2. ขันการออกแบบ (Design) 2.1 ออกแบบ เนื้อหา วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์ และการนาเสนอสื่อโทรทัศน์ 2.2 สร้างบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิชา เทคโนโลยีการ ผลิตภาพยนตร์และการนาเสนอสื่อโทรทัศน์ โดยดาเนิน กิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบเว็บเควสท์ 2.2.1 ออกแบบขั้ นตอนกิจกรรมบทเรียนบนเว็บแบบ ร่วมมื อ บนเว็ บ โดยมี กิจ กรรมการเรี ย นการสอน แบ่ ง ออกเป็น 6 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ส่วนนา 1. อาจารย์ บรรยายเนื้อหาประจาสัปดาห์ 2. นักศึกษา ศึกษาเนื้อหาจากการบรรยายในชั้นเรียน และศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติม จากระบบบริหารจัดการเรียนรู้ 3. อาจารย์และนักศึกษา ร่วมกันอภิปราย เพื่อกาหนด ประเด็นปัญหาประจาสัปดาห์ 4. อาจารย์ มอบหมายให้นักศึกษา ทารายงานการศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับประเด็นปัญหาประจาสัปดาห์ กิจกรรมที่ 2 ภารกิจ 1.นักศึกษา แบ่งกลุ่มๆ ละ 3-5 ตามความสมัครใจ 2. นักศึกษา ดาเนินการสืบค้นข้อมูลเพื่อแก้ปัญาหาจาก ประเด็นปัญหาประจาที่ได้รับมอบหมาย 3. นักศึกษาแต่ละคน โพสต์ข้อมูลที่สืบค้นได้ในกระดาน เสวนาประจาสัปดาห์ 222


ถ้าตอบผิดให้ 0 คะแนน ซึ่งมีขั้นตอนการสร้างแบบวัด ตามแนวคิดของBloom (1972) 3.3.2 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน ที่ พัฒนาขึ้นไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาทาการตรวจสอบความ ถูกต้อง 4. ขันการนาไปทดลองใช้ (Implementation) 4.1 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน ที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จานวน 5 คนเพื่อทดสอบหาจุดบกพร่องของบทเรียนเพื่อ นามาปรับปรุงแก้ไข 4.2 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน ไป ใช้กับระบบบริหารจัดการเรียนรู้ 5. ขันการประเมินผล (Evaluation) 5.1 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน ไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 3 ท่าน ทา การประเมิ น ความสอดคล้ อ งระหว่ า งข้ อ ค าถามกั บ วัตถุประสงค์การวิจัย(IOC: Item Objective Conguence Index) 5.2 นาผลการประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ที่ได้จาก Item Objective Conguence Index) โดยพิจารณาเลือกข้อข้อคาถามที่มีค่า ดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67 -1.00 และเลือกข้อ ค าถามที่ ผ่ า นเกณฑ์ ก ารประเมิ น จ านวน 30 ข้ อ ซึ่ ง ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมเพื่อนามาใช้ เป็นทดสอบวั ดผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนก่อนเรียนและ หลังผ่านการจัดการเนื้อหาและกิจกรรมในระบบบริหาร จัดการเรียนรู้ 5.3 น าแบบประเมิ น คุ ณภาพสื่ อ ด้ านเนื้ อ หา และการ ประเมินคุณภาพสื่อด้านการออกแบบการเรียนการสอน บนเว็บที่พัฒนาขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบการเรียนการสอนบน เว็ บ 3 ท่ า น การประเมิ น คุ ณ ภาพด้ า นเนื้ อ หาและการ ออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บ

แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest – Posttest Design ซึ่งมีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้ O1

X

O2

1. การวางแผนก่อนดาเนินการทดลอง 1.1 การเตรี ย มความพร้ อมของสถานที่ ห้ องปฏิ บั ติ การ คอมพิ วเตอร์ ได้ แก่ เครื่ องคอมพิ วเตอร์ การเชื่ อ มต่ อ ระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง 1.2 การเตรียม ความพร้อมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2. ดาเนินการทดลองการใช้บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดย ใช้เว็บเควสท์ ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 2.1 กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน จานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 2.2 กลุ่มตัวอย่างศึกษาเนื้อหาตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียน แบบเว็บเควสท์ 2.3 กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน จานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 1 ชัว่ โมง 3. ตรวจคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน เรียนและหลังเรียน โดยกาหนดให้ข้อที่ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 30 คะแนน รวม ข้อมูลเพื่อนาไปวิเคราะห์ต่อไป

5) ผลการวิจัย ตอนที่ 1 บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 1.1 บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ วิชา TM 653 เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์และการนาเสนอสื่อ โทรทัศน์ (Film & Television Productions and TV Presentation Technologies) ประกอบด้วย 10 หัวข้อ ดังนี้ 1. ประวัติวิวัฒนาการวิทยุโทรทัศน์ 2. การบริหารงานกิจการวิทยุโทรทัศน์ 3. สถานีวิทยุโทรทัศน์ 4. รายการวิทยุโทรทัศน์ 5. เทคนิคการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 6. การกากับรายการวิทยุโทรทัศน์ 7. การผลิตรายการบันเทิง 8. การผลิตรายการสารคดี ข่าว การโฆษณา และอื่นๆ

ระยะที่ 2 การศึกษาผลการใช้บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือ โดยใช้เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับ การศึกษาผลการใช้บทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้ เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งนี้ใช้ 223


9. การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์การศึกษา 10. การผลิตภาพยนตร์ 1.2 คุณภาพของบทเรียนบนเว็บแบบ ร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์ การประเมินการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้ เว็บเควสท์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ด้านเนื้อหา พบว่ า ผู้เ ชี่ ย วชาญด้ านเนื้ อ หา มี ค วามเห็ น ด้ านเนื้ อ หาที่ พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมดี ( x =3.77,S.D.= 0.43) ส่วน การประเมินการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดยใช้ เว็บเควสท์ สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ด้านการ เรียนการสอนบนเว็บ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการ สอนบนเว็บมีความเห็นด้านการเรียนการสอนบนเว็บ ที่ พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมดี ( x = 3.17,S.D.= 0.64)

อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตที่ .01 สอดคล้องกับงานวิจัย เชิดชัย รักษาอินทร์ (2553) ปิยธิดา รอบรู้ (2551) และ บุญส่ง ประ จิตร (2551) ที่พบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย ใช้ บ ทเรี ย นออนไลน์ แ บบเว็ บ เควสท์ สามารถพั ฒ นา ผลสัมฤทธิ์ทางเรียนของผู้เรียนได้

7) ข้อเสนอแนะ 7.1) ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ 7.1.1) สถาบันการศึกษาที่นารูปแบบการจัดการเรียนแบบ ร่วมมือบนเว็บโดยใช้เว็ บเควสท์ ควรเตรียมห้องปฏิบัติการ คอมพิ วเตอร์ ระบบเครื อ ข่ า ยอิ น เตอร์ เ น็ ต และให้ ค วามรู้ เบื้ อ งต้ น เกี่ยวกับการใช้งานคอมพิ วเตอร์ ผ่ านระบบบริ หาร จัดการเรียนรู้ ( LMS ) ของ Moodle LMS ตลอดจนกิจกรรม การเรียนโดยใช้เว็บเควสท์ 7.1.2) การนารูปแบบการจัดการเรียนแบบร่วมมือบนเว็บ โดยใช้เว็บเควสท์ไปใช้ ควรมีคณาจารย์หรือผู้เกี่ยวข้องการ ชี้แจงเกี่ยวกับวิธีและขั้นตอนกิจกรรมของเว็บเควสท์อย่าง ชัดเจน เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับผู้เข้ารับการทดสอบหรือ ฝึกอบรม เพราะผลการจัดการเรียนแบบร่วมมือ จาเป็นอย่าง ยิ่งที่จะต้องอาศัยความเข้าใจเพื่อให้เกิ ดทักษะในทางปฏิบัติ ได้อย่างถูกต้อง 7.2) ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยในครั้งต่อไป ควรวิจัยเพื่อศึกษาผลการใช้บทเรียนแบบร่วมมือบนเว็บโดย ใช้ เ ว็ บ เควสท์ ในด้ านอื่ น ๆ เช่ น ความร่ วมมื อ ในการเรี ย น ความคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา หรือความพึงพอใจใน การเรียน เป็นต้น

ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดย ใช้เว็บเควสท์ ตารางที่ 1: ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนบทเรียนบนเว็บแบบร่วมมือโดย ใช้เว็บเควสท์ คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

คะแนน เต็ม

x

S.D.

t-test

Sig.

30 30

15.24 21.19

2.64 2.23

-25.59

.00

ก่อนเรียน หลังเรียน

**P>.01 จากตารางที่ 1 พบว่า นักศึกษาที่เรียนโดยใช้บทเรียนบน เว็บแบบร่วมมือโดยใช้เว็บเควสท์มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียน ( x =21.19, S.D. = 2.23) สูงกว่าก่อน เรียน ( x = 15.24, S.D. = 2.64) อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิต.ิ 01

8) เอกสารอ้างอิง เชิดชัย รักษาอินทร์. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์ด้วยบทเรียน ออนไลน์แบบเว็บเควสท์ เรื่อง การสร้างเว็บเพจ ระหว่างนักเรียนที่เรียนแบบอิสระและเรียนแบบ ร่วมมือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัย มหาสารคาม.

6) อภิปรายผล นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาด้วยแบบวัดผลวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนรายวิชา เทคโนโลยีการ ผลิตภาพยนตร์และการนาเสนอสื่อทีวี พบว่า นักศึกษามี ค่าเฉลี่ย ของผลสัมฤทธิ์ ทางเรีย นหลังเรียนสูง กว่าก่อ น 224


ไชยยศ เรืองสุววรณ. (2546). เอกสารประกอบการ บรรยายรายวิชา 0503860. ภาควิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม บุญส่ง ประจิตร. (2551). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ แบบเว็บเควสท์ เรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ รายวิชาสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 การศึกษาค้นคว้าอิสระของ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปิยธิดา รอบรู้. (2551). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่อง ค้าควบกล้​้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 ระหว่างการเรียนรู้ด้วยโปรแกรมบทเรียน แบบเว็บเควสท์กับการเรียนตามคูม่ ือครู. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ปิยนาถ ศรบุญลา. (2552). ผลการเรียนโดยใช้บทเรียน แบบเว็บเควสท์และการสอนแบบ โครงงาน เรื่อง การจัดการ ฐานข้อมูล เบื้องต้น ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิด วิเคราะห์และทักษะการสืบเสาะ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. Bloom, Benjamin Samnel. (1972).Taxonomy of Educational Objectives. New York: David Mckay. William W., and Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction. 9th ed. Boston, U.S.: Pearson.

225


แนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดยใช้การเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติที่ส่งเสริมทักษะ การนาเสนอเป็นภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 The Guideline of e-Learning Activities using Task-Based Learning to Enhance Presentation Skills in English of Twelfth Grade Students นางสาวกุลพร พูลสวัสดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Kulla_poolz@yahoo.co.th) ABSTRACT

บทคัดย่อ

English is the most important language in these days. Especially, many countries are planning to join in ASEAN Economic Community (AEC). Those countries need to use English as a main language to communicate with other countries. We need to update the way we setup classroom activities for learning English. In the past, students studied listening, speaking, reading and writing in English separately. Moreover, Teachers tend to focus on using corrective grammar rules more than using communicative English in the effective ways. In additions, all of the materials are not integrated together. For example, students listen to conversations and see a picture and then, answer the questions. These old activities and materials cannot support students to use communicative English. This article addresses the practice of e-Learning in taskbased learning toward presentation skills in English. Thistask-based learning will prepare learners to use English for communication in the correct ways. Teachers will setup tasks and activities for students. This will create better process of learning. There are 5 steps which are step1 understanding the task, step 2 managing the knowledge ,step 3 implementation the task ,step 4 understanding English and, step 5 development the product.

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่มีความสาคัญอย่างมากในยุค ปัจจุบนั โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุม่ ประเทศที่กาลังก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเชียน ที่มคี วามจาเป็นต้องใช้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสาร การจัด กิจกรรมการเรียนภาษาอังกฤษจึงต้องมีการปรับเปลี่ยน รูปแบบให้มคี วามทันสมัยมากขึน้ จากในอดีตที่มุ่งเน้นการ เรียนภาษาอังกฤษแบบแยกส่วนทีละทักษะ เช่น การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และให้ความสาคัญกับ หลักการใช้ไวยากรณ์มากกว่าการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารอย่างถูกต้อง ตลอดจนมีการใช้สื่อการเรียนรู้แบบ แยกส่วน เช่น การฟังเทปสนทนา การให้ดูรูปภาพแล้วตอบ คาถาม ซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนแบบเดิมทาให้นักเรียน ไม่สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้ บทความนี้ จึงนาเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดยใช้การ เรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติที่ส่งเสริมทักษะการนาเสนอเป็น ภาษาอังกฤษ ซึ่งจะช่วยเตรียมความพร้อมของผู้เรียนให้ สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอย่างถูกต้อง โดย จะมีการกาหนดภาระงานและกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติ ซึ่งทาให้การเรียนมีความต่อเนื่องสัมพันธ์ทั้งกระบวนการ ประกอบด้วย ขัน้ ที่ 1 เข้าใจภาระงาน ขั้นที2่ จัดการความรู้ ขั้นที3่ นาสู่งานปฎิบัติ ขัน้ ที่ 4 เข้าใจหลักภาษาอังกฤษ และ ขั้นที่ 5 พัฒนาผลงาน

Keywords: e-Learning, Task-based learning, presentation skills in English

226


การอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์หรือสื่อภาษาอังกฤษ และ

คาสาคัญ : อีเลิร์นนิง, การเรียนรูแ้ บบเน้นงานปฏิบัติ , ทักษะการนาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ

การเขี ย นข้ อ ความโต้ ต อบทางสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ทั้ ง นี้ Krachru (1985 cited in Harmer, 2007 )ได้กล่าวถึงจานวน

1) บทนา

ผู้ใช้ภาษาอังกฤษว่า มีจานวนผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่

เมื่อโลกได้ก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีได้เข้ามามี

ประมาณ 320 ถึ ง 380 ล้านคน และ มี จ านวนผู้ ใ ช้

บทบาทต่อชีวิตประจาวันมากขึ้น จะสังเกตได้จากการที่คน

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองประมาณ 250 ถึง 380 ล้านคน

ในยุคปัจจุบันสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารทั่วโลกได้อย่าง

ต่อมา Crytal (2003 cited in Harmer, 2007) ได้กล่าวว่า

รวดเร็ว สามารถหาข้อมูลและเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ มี

อัตราส่วนระหว่างผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และ ผู้ใช้

การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารตามเวลาจริง (Real Time) มี

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองคือ 1:3 โดยมีประชากรโลกที่

การร่วมมือระหว่างประเทศในการผลิตนวัตกรรมใหม่ จาก

ใช้ภาษาอังกฤษจานวน 1.5 พันล้านคน จะเห็นได้ว่าตั้งแต่

การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนในยุคปัจจุบันมี

อดีตจนถึงปัจจุบันจานวนผู้ใช้ภาษาอังกฤษได้เพิ่มมากขึ้น

ความจาเป็นต้องมีความคล่องแคล่วทั้งในการใช้เทคโนโลยี

เรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่

การใช้ภาษ า และมีทักษะที่รองรับการการเรียนรู้ยุคใหม่

สอง

เพื่อที่จะเติบโตเป็นวัยทางานในยุคดิจิทัล (Digital-Age) ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยนั้น ใน อดีตจะมุ่งเน้นที่การสอนไวยากรณ์เป็นหลัก ซึ่งต่อมาพบว่า เด็กไทยก็ยังไม่สามารถพูดหรือนาภาษาอังกฤษมาใช้ใน การสื่อสารได้ ปัญหาในด้านการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารในประเทศไทยนั้นยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องจนถึง ปัจจุบัน ทั้งตัวครูผู้สอน นักเรียน รวมถึงกระบวนการเรียน การสอนที่ยังคงไม่มีแนวทางที่ชัดเจน ปัญหาในด้านการ สอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในระดับชั้นมัธยมปลายที่ พบเห็นกันบ่อยคือ ครูมักเน้นสอนไวยากรณ์ มากกว่าที่จะ สอนให้ นั ก เรี ย นใช้ ภ าษาอั ง กฤษเพื่ อ ประโยชน์ ใ นการ สื่อสาร แม้แต่ตัวนักเรียนเองก็ให้ความสาคัญกับการท่องจา ไวยากรณ์ ท่องจาคาศัพท์เพื่อการสอบ และละเลยในการนา ภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ใ นการสื่อสาร นักเรียนไทย ส่วนใหญ่มักจะทาข้อสอบในส่วนการอ่าน การเขียน และ การฟั ง ได้ ดี แต่ มั ก จะท าข้ อ สอบในส่ ว น การพู ด ไม่ ไ ด้ เพราะในชั้ น เรี ย นระดั บ ประถมและมั ธ ยมไม่ เ คยได้ มี โอกาส เรียนการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ตลอดจน การฝึ ก ฝนเพื่ อ ใช้ ใ นสถานการณ์ จ ริ ง และไม่ ไ ด้ มี ก าร

มากขึ้น NCREL and Metiri Group (2003) ได้เสนอทักษะ ที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต การเรียนรู้และการทางานใน ศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 1.ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล (DigitalAge Literacy) 2.การคิ ด ประดิ ษ ฐ์ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ (Inventive Thinking) 3.การมี ผ ลิ ต ภาพสู ง

(High

Productivity) 4.การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล (Effective Communication)

โดยที่ ทั ก ษะทางด้ า นเทคโนโลยี

สารสนเทศ (Information Technology) เป็นพื้นฐานของ การเรียนรู้ไปสู่ความเป็นเลิศในศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน ของคนทุกชาติทุกภาษา เพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง ที่ มี ค วามส าคั ญ ที่ ใ ช้ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สารทั่ ว โลก โดย สามารถใช้ ภ าษาอั ง กฤษสามารถในการรั บ ฟั ง ข่ า วสาร ข้อมูลจากต่างประเทศ พูดตอบโต้กับเพื่อนชาวต่างชาติ 227


ทดสอบการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอย่างจริงจัง ทา ให้นักเรียนไทยส่วนใหญ่ยังคงกลัวที่จะพูดภาษาอังกฤษ จากเหตุดังกล่าวข้างต้นนี้ ผู้เขียนเห็นว่าแนวคิดเกี่ยวกับการ พูดภาษาอัง กฤษเพื่ อการสื่ อสารมี ความสาคั ญในโลกยุ ค ปัจจุบัน จึงนาเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดย ใช้การเรียนรู้แบบเน้น งานปฏิบัติที่ส่งเสริมทักษะการนา แสนอเป็นภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

●รู้พหุวัฒนธรรมและมีความตระหนักสานึก ระดับโลก (Multicultural Literacy & Global Awareness) 2.2) การคิดประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ (Inventive Thinking) ●ความสามารถในการปรับตัว-นาตนจัดการกับ ความซับซ้อนใฝ่รู้สร้างสรรค์กล้าเสี่ยงคิดได้ใน ระดับสูงและมีเหตุมผี ล 2.3) การมีผลิตภาพสูง (High Productivity) ●ความสามารถในการจัดลาดับความสาคัญ วางแผนและบริหารจัดการมุ่งผลสาเร็จและใช้เครื่องมือ อย่างมีประสิทธิผลในโลกแห่งความเป็นจริงสามารถ ผลิตผลงานที่เหมาะสมมีคุณภาพสูง 2.4) การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล (Effective Communication) ●ความสามารถในการทางานเป็นทีมการร่วมมือ และสัมพันธ์ระหว่างบุคคลการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์มี ความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและส่วนรวม

2) มโนทัศน์ของคุณลักษณะของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ในปี 2003 NCREL and Metiri Group ได้เสนอ แผนภาพ ผลสัมฤทธิทางวิชาการในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ดังรูป ที่ 1

3) มโนทัศน์ของการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ในประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการได้มีการกาหนด สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนในด้านความสามารถในการ สื่อสารในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551ดังนี้ รูปที่ 1: แผนภาพผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรับ และส่งสารมีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจา ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆการเลือก รับหรือไม่รบั ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความ ถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มี

2.1) ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล (Digital-Age Literacy) ●มีความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี ●รู้ภาษาข้อมูลสารสนเทศและทัศนภาพ (Visual & Information Literacies)

228


ประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและ สังคม

ภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่นมีความสามารถเป็น ที่ยอมรับจากสถาบันทางภาษาต่างๆ

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ (2552) ได้กล่าวเกี่ยวกับ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศใน ระดับชั้นมัธยมปลาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในเรื่องของภาษาเพื่อการ สื่อสาร ไว้ดังนี้

จึงสามารถสรุปได้ว่า การที่ผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 จะ สามารถเติ บ โตเป็ น พลเมื อ งของโลกที่ มี คุ ณภาพได้ นั้ น ผู้เรีย นจะต้ องมีค วามรู้ ในเชิ งวิชาการเป็นพื้น ฐาน และมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาต่างๆในการ ดารงชีวิต รวมถึงมีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์เพื่อ สร้ างสิ่ ง ใหม่ ที่ แ ตกต่ างจากเดิ ม และสิ่ ง สาคั ญ อย่ างยิ่ ง ที่

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสือ่ สาร

ผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 จาเป็นต้องมีคือ ความรู้ในการใช้

มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจาก

ความรู้ นอกจากนี้ ผู้ เ รี ย นในยุ ค ใหม่ ต้ อ งมี ทั กษะในการ

เทคโนโลยีสารสนเทศในการดารงชีวิตและการแสวงหา

สื่อประเภทต่างๆ และแสดงความ

สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ นั่นคือ สามารถสื่อสารและทางาน

คิดเห็นอย่างมีเหตุผล

ร่วมกับผู้ อื่นได้อย่ างดี และในการสื่อสารนั่นเอง ผู้เรีย น

มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสือ่ สารทางภาษาในการ

จาเป็นจะต้องมีความสามารถในการใช้ภาษาอื่นๆที่ไม่ใช่

แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดง

ภาษาแม่ของตนเอง เพื่อใช้ในการสื่อสารระดับนานาชาติ

ความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมี

และผู้เรียนควรมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเป็น

ประสิทธิภาพ

สื่ อ กลางในการแสวงหาความรู้ ท างด้ า นอื่ น และใช้ ภาษาอั ง กฤษในการถ่ า ยทอดความคิ ด และทั ศ นะของ

มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบ ยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดย

ตนเองได้อย่างคล่องแคล่ว

การพูดและการเขียน

4) มโนทัศน์ของการจัดการเรียนรู้แบบเน้นงาน ปฏิบัติ

ส านั ก งานบริ ห ารงานการมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายและ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2553) ได้ อธิ บ ายถึ ง คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในโรงเรี ย นมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)ในด้านความสามารถใน การสื่อสารไว้ ดังนี้

จากการศึกษาแนวคิดของ Ellis (2003) วันเพ็ญ เรืองรัตน์ (2549) และ วรรณา พัชณี (2554) สรุปได้ว่าขั้นตอนการ เรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ มี 5 ขั้นตอน โดยมีรายละเอียด แต่ละขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1ขั้นศึกษาภาระงาน

สื่อสารสองภาษา (Communicator) มีทักษะการสื่อสารเชิง ปฏิสัมพันธ์มีทักษะการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือเพื่อ การสื่อสารมีประสิทธิผลใช้ภาษาสื่อสารได้ดีทั้งภาษาไทย

1.1. ครูผู้สอนแนะนาเรื่องที่เรียนและจุดประสงค์ ของภาระงานแก่นักเรียน

229


1.2. ให้นักเรียนได้ปฏิบตั ิกิจกรรมที่มลี ักษณะที่ คล้ายคลึงกับภาระงานที่ต้องปฎิบตั ิจริงเพื่อ นาไปสู่ความเข้าใจในภาระงาน 1.3. ครูและนักเรียนกาหนดข้อตกลงร่วมกันในการ ปฏิบตั ิภาระงาน 1.4. ครูและนักเรียนศึกษาทาความเข้าใจภาระงาน เพื่อกาหนดเป้าหมายในการเรียนรู้และวาง แผนการเรียน ขั้นตอนที่ 2ขั้นจัดการความรู้

4.3 นักเรียนเกิดการเรียนรูแ้ ละเข้าใจองค์ความรู้ที่ ถูกต้อง 4.4 นักเรียนกลับมาทบทวนตรวจสอบข้อผิดพลาดใน การใช้องค์ความรู้ จากนั้นสรุปและสร้างความรู้ใหม่ ขั้นตอนที่ 5 พัฒนาผลงาน 5.1 นักเรียนปรับแก้และพัฒนาผลงานให้มีรปู แบบที่ ถูกต้องเหมาะสม 5.2 ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน 5.3 มีการติดตามผลของผูเ้ รียนโดยให้ผเู้ รียนแสดง ความคิดเห็นในห้องเรียนและเขียนบันทึกถึงสิ่งที่ได้ พัฒนาตลอดจนปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขเพื่อ การปฏิบัตงิ านดีขึ้นในครั้งต่อไป

2.1 ครูแนะนาแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนศึกษาเรียนรู้ ด้วยตัวเอง 2.2 ครูจดั กิจกรรมให้นักเรียนได้นาเสนอผลการ เรียนรู้ของตัวเอง 2.3 นักเรียนทาการแลกเปลี่ยนความรูก้ ับเพื่อนทัง้ ใน

5) แนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดยใช้การ เรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ

กลุ่มหรือระหว่างกลุ่ม 2.4 ครูสังเกตกระบวนการเรียนรูค้ วามสามารถใน การค้นคว้าข้อมูลและการแลกเปลี่ยนความรู้กับ

จากการศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานของ จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ ประกอบ กรณีกิจ (2552)พบว่าผู้สอนควร ให้ความสาคัญกับศาสตร์ด้านการศึกษา โดยเน้นการจัดการ เรียนรู้ที่อาศัยทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการติดต่อสื่อสาร และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สง่ เสริมให้ผู้เรียนสร้าง ความรู้ โดยการค้นคว้าและลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเองตาม ความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผู้เรียน โดย ใช้เครื่องมือการติดต่อสื่อสารบนออนไลน์ช่วยในการจัด กิจกรรม ซึ่ง การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานมีองค์ ประกอบที่สาคัญ 4 ส่วน คือ 1. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบจัดการการเรียนรู้ 3. การติดต่อสื่อสาร และ 4. การ ประเมินผลการเรียน

เพื่อนของนักเรียนแต่ละคน ขั้นตอนที่ 3นาสู่งานปฏิบัติ 3.1 นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรมใน ขั้นที่ 2 มาปรับใช้ในการปฏิบัติภาระงานที่ได้รบั มอบหมาย ซึ่งอาจเป็นงานเดี่ยว งานคู่ หรือ งานกลุ่ม 3.2 นักเรียนเตรียมความพร้อมในการนาเสนอผลงาน 3.3 นักเรียนนาเสนอผลงาน ขั้นตอนที่ 4รู้ชัดหลักภาษา 4.1 นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ องค์ ความรู้ที่นักเรียนได้นาเสนอและตรวจสอบแก้ไขให้ ถูกต้อง

และจากการศึกษาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.2 ครูผู้สอนให้คาแนะนาหรือเติมเต็มในส่วนที่ยงั มี

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศในระดับชัน้ มัธยม

ข้อบกพร่องอยูจ่ นผูเ้ รียนเข้าใจ

ปลาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

230


พุทธศักราช 2551 ของสานักวิชาการและมาตรฐาน

การศึกษาสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

พื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ(2552) พบว่าในสาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร ตาม มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูล ข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด และการเขียน ได้อธิบายถึงตัวชี้วัดและสาระ การเรียนรู้แกนกลางข้อที1่ ไว้ดังตารางที่ 1 ซึ่งแนวทางการ จัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดยใช้การเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบตั ิ ที่ส่งเสริมทักษะการนาเสนอเป็นภาษาอังกฤษของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จะอ้างอิงจากตัวชี้วัดและสาระการ เรียนรู้แกนกลางในตารางที่ 1 โดยมีการกาหนดภาระงาน คือ ให้นักเรียพูดนาเสนอเป็นภาษาอังกฤษโดยมีหัวข้อการ พูดดังนี้ Who is an important person in your country? Describe this person and explain why he/she is important. โดยใช้เวลาในการนาเสนอ 2-3 นาที

ตารางที่ 1: ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศในระดับชัน้ มัธยมปลาย ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร ตาม มาตรฐาน ต 1.3 ข้อที่ 1 ชั้น ม.6

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

1. พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง การนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและ

เรื่องและประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม เช่น การเดินทาง

ประเด็นต่างๆ ตามความสนใจของสังคม

การรับประทานอาหาร การเล่นกีฬา การเล่นดนตรี การดู ภาพยนตร์ การฟังเพลง การเลี้ยงสัตว์การอ่านหนังสือ การ ท่องเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ

ตารางที่ 2: แนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิงโดยใช้การเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัตทิ ี่ส่งเสริมทักษะการนาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ขั้นตอน เป้าหมาย ขั้นตอนที่ 1ขั้น 1. นักเรียนเข้าใจภาระงานและ ศึกษาภาระงาน กาหนดมุ่งหมายในการเรียนรู้ 2. วางแผนการเรียนรู้

กิจกรรมอีเลิร์นนิง 1.1. ครูผู้สอนเกริน่ นาเกี่ยวกับบุคคลสาคัญ และจุดประสงค์ของภาระงานแก่นักเรียน 1.2. ให้นักเรียนเขียนเรียงความสั้นๆ เกี่ยวกับบุคคลสาคัญลงในวิกิ 1.3. ครูและนักเรียนกาหนดข้อตกลงร่วมกัน ในการพูดนาเสนอลงในวิกิ 1.4. ครูและนักเรียนศึกษาทาความเข้าใจการ พูดนาเสนอเพื่อกาหนดเป้าหมายในการ 231

เครื่องมือสื่อสารที่ใช้ วิกิ (Wiki) เป็นเครื่องมือที่มี จุดเด่นในเรื่องของการระดม สมอง การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และ การแก้ไข เอกสารร่วมกันในชั้นเรียนที่ มีการเรียนแบบร่วมมือ ออนไลน์ ซึ่งผู้เรียนและ ครูผู้สอนสามารถบันทึก


ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นจัดการ ความรู้

เป้าหมาย

1. นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรียนรูด้ ้วย ตัวเองจากแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ 2. นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ เพื่อน

กิจกรรมอีเลิร์นนิง เรียนรู้และวางแผนการเรียนลงในวิกิ

เครื่องมือสื่อสารที่ใช้ และร่วมทางานในเอกสาร พื้นที่ส่วนกลางร่วมกัน 2.1 ครูแนะนาแหล่งเรียนรู้ลงใน กระดาน กระดานกระดานอภิปราย อภิปราย และให้นักเรียนศึกษาเรียนรู้ด้วย (discussion board) เป็น ตัวเอง เครื่องมือที่มีจดุ เด่นในเรื่อง 2.2 ครูจดั กิจกรรมให้นักเรียนได้เขียน ของการประกาศข้อความ นาเสนอผลการเรียนรูข้ องตัวเองลงใน ไฟล์ และสารสนเทศใน กระดานอภิปราย พื้นที่ส่วนกลาง โดยที่ 2.3 นักเรียนทาการแลกเปลี่ยนความรูก้ ับ นักเรียนและครูผู้สอน เพื่อนทั้งในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มในกระดาน สามารถโต้ตอบหรือดาวน์ อภิปราย โหลดไฟล์เหล่านัน้ ได้ 2.4 ครูสังเกตกระบวนการเรียนรู้ ความสามารถในการค้นคว้าข้อมูลและการ แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนของนักเรียนแต่ ละคนผ่านกระดานอภิปราย

1. นักเรียนเรียนรู้จากการ ลงมือ ขั้นตอนที่ 3 นาสู่งานปฏิบัติ ปฏิบตั ิ 2. นักเรียนปรับใช้ความรู้ปฏิบัติภาระ งานตามความเข้าใของตัวเองอย่าง อิสระ

3.1 นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติ กิจกรรมในขั้นที่ 2 มาปรับใช้กับการพูด นาเสนอเรื่องบุคคลสาคัญ 3.2 นักเรียนเตรียมความพร้อมในพูด นาเสนอ 3.3 นักเรียนพูดนาเสนอและให้นักเรียนอัด เป็นคลิปวิดีโอแล้วโพสต์ลงในบล็อก 1. นักเรียนทบทวนตรวจสอบผลงาน 4.1 นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ ขั้นตอนที่ 4 รู้ชัดหลักภาษา 2. นักเรียนสรุปและสร้างองค์ความรู้ องค์ความรู้ทนี่ ักเรียนได้นาเสนอและ ที่ถูกต้อง ตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องผ่านบล็อก 4.2 ครูผู้สอนให้คาแนะนาหรือเติมเต็มใน ส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องอยู่จนผู้เรียนเข้าใจ ทักษะการนาเสนอผ่าน บล็อก 4.3 นักเรียนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจทักษะ การนาเสนออย่างถูกต้อง 4.4 นักเรียนกลับมาทบทวนตรวจสอบ ข้อผิดพลาดในทักษะการนาเสนอ จากนั้น 232

บล็อก (Blog) เป็นเครื่องมือ ที่มีจุดเด่นในเรื่องของการ เขียนบันทึกการเรียนรู้ และ รวบรวมลิงค์ทเี่ กี่ยวกับ หัวข้อที่สนใจ

จุดเด่นของการใช้บล็อก (Blog)ในขั้นนี้ คือ เปิด โอกาสให้ผู้อ่านสามารถ วิจารณ์และติดแนบไปกับ เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง ผู้อ่าน สามารถวิพากษ์และลิงค์ไป ยังเว็บไซด์ทเี่ กี่ยวข้องได้ ทา ให้สามารถอ่านต่อ ติดตาม และใช้วิจารณญาณกับเรื่อง ที่ได้รับการวิพากษ์ได้ง่าย


ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 5 พัฒนาผลงาน

เป้าหมาย 1. นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงาน 2. ประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรมอีเลิร์นนิง สรุปและสร้างความรู้ใหม่ผ่านบล็อก 5.1 นักเรียนปรับแก้และทักษะการนาเสนอ ให้มีรูปแบบที่ถูกต้องเหมาะสมผ่านบล็อก 5.2 ครูประเมินผลการเรียนรูท้ ักษะการ นาเสนอของนักเรียนผ่านบล็อก 5.3 มีการติดตามผลของผู้เรียนโดยให้

เครื่องมือสื่อสารที่ใช้

จุดเด่นของการใช้บล็อก (Blog)ในขั้นนี้ คือผู้เรียน สามารถได้รับการป้อนกลับ จากผู้เรียนและผู้สอนในเนื้อ ที่เดียวกัน นอกจากนี้ผู้เรียน ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นและเขียนบันทึกถึง ยังได้มีโอกาสสะท้อน สิ่งที่ได้พัฒนาตลอดจนปัญหาอุปสรรคและ ความคิดของตนเอง และ สามารถรวบรวมลิงค์ ที่ แนวทางแก้ไขเพื่อการปฏิบัตงิ านดีขึ้นในครั้ง เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ไว้ใน ต่อไปผ่านบล็อก พื้นที่เดียวกัน

7) เอกสารอ้างอิง

6) บทสรุป

7.1) เอกสารอ้างอิงภาษาไทย

แนวทางการจั ด กิจ กรรมอี เ ลิ ร์ น นิ ง โดยใช้ ก าร

กระทรวงศึกษาธิการ.(2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษา

เรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติที่ส่งเสริมทักษะการนาเสนอเป็น

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ

ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ข้างต้น เป็น การนาแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอีเลิร์นนิง มา

จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ ประกอบ กรณีกิจ . (2552). Pedagogy-based Hybrid Learning: จากแนวคิดสู่การ ปฏิบัติ. วารสารครุศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคมตุลาคม 2552). หน้า 93-108.

ช่วยให้การเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ มีความน่าสนใจมาก ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะการนาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งหากจัดการเรียนรู้แบบเดิมที่มุ่งเน้น การออกเสียงอย่าง ถูกต้อ งและถู กหลักไวยากรณ์ ภาษาอั งกฤษจะท าให้การ

ใจทิพย์ ณ สงขลา (2550).E-Instructional Design:วิธี วิทยาการออกแบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์.ศูนย์ ตาราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ

เรียนรู้ไม่มีความน่าสนใจ และไม่สามารถทาให้นักเรียน สามารถพูดเพื่อการสื่อสารได้อย่างแท้จริงนอกจากนี้การนา กิจกรรมอีเลิร์นนิงมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทาให้ ผู้ เ รี ย นพั ฒ นาทั ก ษะทางด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ

วันเพ็ญเรืองรัตน์(2549).การจัดการเรียนรู้แบบเน้นงาน ปฏิบตั ิเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเบญจมราช รังสฤษฎิ์ 4 จังหวัดฉะเชิงเทรา.ปริญญานิพนธ์ระดับ

(Information Technology) ซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ ไปสู่ความเป็นเลิศในศตวรรษที่ 21อีกด้วย

233


มหาบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะ ภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินท รวิโรฒประสานมิตร วรรณา พัชณี(2554).รูปแบบการสอนที่เน้นภาระงานเพื่อ ปรับพฤติกรรมการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช.เอกสาร เผยแพร่ผลงานวิชาการ. สานักงานบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลายและ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน.(2553).เอกสารสนับสนุนการดาเนินงาน: แนว ทางการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากล.

7.2) เอกสารอ้างอิงภาษาต่างประเทศ Harmer,Jeremy(2007).The Practice of English Language Teaching.4th edition.England:Pearson Education Limited. NCREL and Metiri Group. (2003). enGauge 21st Century Skills: literacy in the digital age. Ellis, Rod. (2003). Task-Based Language Learning and Teaching.Oxford: Oxford University Press.

234


การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environment to Develop Problem-solving Skills นพดล ผู้มีจรรยา1, ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2 1 อาจารย์ โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโนยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (nop123@gmail.com)

อาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2

(panitaw@kmutnb.ac.th)

ABSTRACT

บทคัดย่อ

These objectives the study was to 1) design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environment to Develop Problem-solving Skills, The design used a problem-based learning process in learning activities. That students can learn anytime anywhere by using tablet computer as a tool for learning, and 2) evaluate the Problembased Learning Activities in Ubiquitous Learning Environment to Develop Problem-solving Skills. The research procedures were divided into two phases. The first phase was to design of problembased learning activities, and the second phase was to evaluate a Learning Activities. The sample group in this study consisted of 5 experts in instructional design, u-Learning, problem-based learning, and information technology using purposive sampling. Data were analyzed by arithmetic mean and standard deviation.

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ uLearning เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการแก้ ปั ญ หา ซึ่ ง เป็ น การ ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามกระบวนการการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาเป็นเครื่องมือ อ านวยความสะดวกในการเรี ย นรู้ เพื่ อ เพิ่ ม ทั กษะการคิ ด แก้ปัญหาให้แก่ผู้เรียน 2) เพื่อประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ ปั ญ หาเป็ น หลั กในสภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ แ บบ u-Learning ฯ โดยมีขั้นตอนการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ในสภาพแวดล้ อ มการเรีย นรู้แ บบ u-Learning 2) การ ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning กลุ่ม ตัวอย่าง คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านที่เกี่ยวข้อง จานวน 5 ท่าน ได้ จากการเลื อ กแบบเจาะจง เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย คื อ รู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ โ ดยใช้ ปั ญ หาเป็ น หลั ก ใน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อพัฒนาทักษะ การแก้ปัญหา และแบบประเมินรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย คื อ ค่ า เฉลี่ ย และ ส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน

The research findings were as follows: 1) The learning activities consisted of four components as followed: 1) study of the content, 2) present the problem, 3) problem solving planning 4) problem solving and 5) identify generalization and principles derived from studying the problem. The objective of the learning activities is to develop problem-solving skills. 2)The experts agree that a Learning Activities was appropriateness in a good level. Keywords: Learning Activities, Ubiquitous Learning Environment, Problem-based Learning, Problem-solving Skills

235


ผลการวิจัย พบว่า 1. กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ โ ดยใช้ ปั ญ หาเป็ น หลั ก ใน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อพัฒนา ทักษะการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้น การศึกษาเนื้อหา 2) ขั้นการนาเสนอปัญหา 3) ขั้นการวาง แผนการแก้ปัญหา 4) ขั้นการดาเนินการแก้ปัญหา 5) ขั้น การสรุปหลักการ แนวคิดที่ได้จากการแก้ปัญหา 2. ผู้ทรงคุ ณวุฒิ 5 ท่าน ทาการประเมิ นกิจกรรมการ เรียนการสอนแล้วมีความคิดเห็นว่ากิจกรรมการเรียนการ สอนที่ออกแบบขึ้นนั้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหา การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาเนื้อหา (Study of the content) ขั้นที่ 2 การนาเสนอปัญหา (Present the problem) ขั้ น ที่ 3 การวางแผนการแก้ ปั ญ หา (Problem solving planning) ขั้นที่ 4 การดาเนินการแก้ปัญหา (Problem solving) ขั้ น ที่ 5 การสรุ ป หลั ก การ แนวคิ ด ที่ ไ ด้ จ ากการแก้ ปั ญ หา (Identify generalization and principles derived from studying the problem) การเรียนการสอนแบบ u-Learning (Ubiquitous Learning ) ซึ่ง Ubiquitous หมายถึง การมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง รวมกับคาว่า Learning จึงหมายถึง รูปแบบการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ทุกหนทุกแห่ง โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แบบ พกพาและการสื่อสารแบบไร้สายเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดยการเรี ย นการสอนนั้ น จะต้ อ งตระหนั กถึ ง บริ บ ทของ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่งการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ uLearning เรียกว่า Ubiquitous Learning Environment (ULE) เป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ให้เกิดการเรียนรู้ได้ทกุ หนทุกแห่ง การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นทุกเวลา โดยมีอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพาเป็นเครื่องมืออานวยความสะดวกใน การเข้ าถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู้ และทฤษฎี การเรี ย นรู้ ที่ เ หมาะสม ส าหรั บ การน ามาใช้ กั บ สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ แ บบ u-Learning คื อ ทฤษฎี การเรี ย นรู้ แ บบสร้ างสรรค์ นิ ย ม (Constructivism) ซึ่งสอดคล้องกับรูปแบบการเรียนการสอน ในปัจจุบัน สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ แ บบ u-Learning เป็ น การจั ด สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีคุณลักษณะเฉพาะดังต่อไปนี้ 1) การคงสภาพของข้อมูล (Permanency) หมายถึงข้อมูลต่าง ๆ ในการเรี ย นรู้ จ ะต้ อ งคงอยู่ จ นกว่ า ผู้ ใ ช้ จ ะลบออก 2) ความสามารถในการเข้ า ถึ ง ได้ ทุ ก เมื่ อ (Accessibility) หมายถึงผู้เรียนต้องสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกที่ทุ ก เวลา 3) ความพร้อมของการเรียกข้อมูล (Immediacy) ข้อมูล จะต้องมีความพร้อมสาหรับการเรียกใช้ได้อย่างทันทีทันใด 4) การมี ป ฏิ สัม พั น ธ์ (Interactivity) ซึ่ ง ผู้ เ รี ย นสามารถมี ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ และผู้สอนผ่านทางอุปกรณ์ไร้สาย 5) การตระหนั ก ถึ ง บริ บ ทของผู้ เ รี ย น (Context-awareness) หมายถึ ง การรั บทราบถึ ง สถานะของผู้ เ รี ยนและรู้ ถึ งความ

คาสาคัญ: กิจกรรมการเรียนรู้, สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ แบบ u-Learning, การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ ปั ญหาเป็น หลั ก , ทักษะการคิดแก้ปัญหา

1) บทนา กรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร ระยะ พ.ศ. 2554 – 2563 ของประเทศไทย (ICT2020) ได้ มุ่งเน้นให้ประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างฉลาด การดาเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมจะอยู่บนพื้นฐานของ ความรู้และปัญญา การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันเป็นการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการจัดสภาพแวดล้อม การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความถนัดและความต้องการ ของผู้เรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามที่ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใน มาตรา 24 ในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจั ด บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความ สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ และ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ รูปแบบการเรียนรู้ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบันรูปแบบหนึง่ คือ การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก หรือ การเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning หรือ PBL) เป็น รูปแบบการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎีการ เรี ย นรู้ แ บบสร้ า งสรรค์ นิ ย ม(Constructivism) โดยให้ ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นในโลก แห่ง ความเป็ นจริง เป็ นบริ บท (context) ของการเรี ยนรู้ 236


ต้อ งการของผู้ เรี ยน ซึ่ง ทั้ง หมดนี้ จ ะช่ วยส่ง เสริม ให้ ผู้เรียนสามารเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาโดยให้ ความสาคัญ กับบริบทการเรียนรู้ของผู้เรียน ดั ง นั้ น จึ ง ออกแบบการเรี ย นการสอนที่ ส อดคล้ อ งกั บ พร ะร าชบั ญ ญั ติ ก าร ศึ ก ษ าแ ห่ ง ชาติ ที่ มุ่ ง เ น้ น ใ ห้ ความสาคัญกับการจัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุก สถานที่ และได้ น ารู ป แบบการเรี ย นการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็นหลักมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบกิจกรรม การเรี ย นรู้ นี้ ประกอบกับ การประยุ กต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา และการสื่อสารแบบไร้ สาย เพื่อนาไปสู่การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ uLearning ซึ่งจะทาให้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา โดยจัดการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมตามกระบวนการ การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก

3)ขอบเขตงานวิจัย 3.1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.1.1 ประชากร คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการออกแบบการเรียน การสอนในระดับอุดมศึกษา ด้านการออกแบบการเรียนการ สอนแบบ u-Learning ด้านการเรียนการสอนแบบปัญหาเป็น หลัก และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการออกแบบการ เรี ย นการสอนในระดั บ อุ ดมศึ กษา ด้ านการออกแบบการ เรียนการสอนแบบ u-Learning ด้านการเรียนการสอนแบบ ปั ญ หาเป็ น หลั ก และด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่ อ สาร จ านวน 5 ท่ า น โดยการเลื อ กแบบเจาะจง ซึ่ ง มี คุณสมบัติ คือคุณวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาเอก หรือมี ประสบการณ์ในด้านที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 3.2) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 3.2.1 ตัวแปรต้น คือ กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น หลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา 3.2.2 ตั วแปรตาม คื อ ผลการประเมิน ความเหมาะสมของ กิจกรรม

2)วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1) เพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น หลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา 2.2) เพื่อประเมินกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น หลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา

4) กรอบแนวคิดของการวิจัย งานวิจัยนี้มีกรอบแนวคิดในการนารูปแบบการออกแบบการ เรียนการสอนตามแนวทางของ ADDIE Model ประกอบกับ การเรีย นรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นหลัก และสภาพแวดล้อมการ เรียนรู้แบบ u-Learning ดังแสดงในรูปที่ 1

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดของการวิจยั 237


4) นารูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้น เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อพิจารณาและปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 5) นารูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้น เสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อ พิจารณาโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) 6) สร้างเครื่องมือสาหรับการประเมินความเหมาะสมของ รูปแบบ

5) วิธีดาเนินการวิจัย ระยะที่ 1 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning ฯ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ในสภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ แ บบ u-Learningฯ มี ก าร ดาเนินงานตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เ กี่ยวข้องกับ การออกแบบการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน ในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning การเรียน การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก เพื่อนาไปสังเคราะห์ เป็นรูปแบบ 2) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนระดับ ปริ ญ ญาบั ณฑิ ต โดยการสั ม ภาษณ์ อ าจารย์ ผู้ สอนเพื่ อ สังเคราะห์ข้อมูลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ สั ม ภาษณ์ นั ก ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ การเรี ย นรู้ รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style) และรูปแบบการคิด (Cognitive Style) 3) พัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น หลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning ฯ โดย น าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษามาก าหนดขั้ น ตอนของ กิจกรรม ดังนี้ 1) ขั้นการศึกษาเนื้อหา (study of the content) 2) ขั้นการนาเสนอปัญหา (present the problem) 3) ขั้ นการวางแผนการแก้ปั ญหา (problem solving planning) 4) ขั้ นการด าเนิ นการแก้ปั ญหา (problem solving) 5) ขั้นการสรุปหลักการ แนวคิดที่ได้จากการ แก้ปัญหา (identify generalization and principles derived from studying the problem)

ระยะที่ 2 การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ มีขั้นตอน ดังนี้ 1) นารูปแบบที่พัฒนาขึ้นนาเสนอต่อผู้ ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน พิจารณาและประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ 2) ปรั บ ปรุ ง รู ป แบบกิ จ กรรมตามข้ อ เสนอแนะของ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3) นาเสนอรูปแบบกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นในรูปแบบแผนภาพ ประกอบความเรียง 4) การวิเคราะห์ผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( X )และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งมี เกณฑ์ในการกาหนดค่าน้าหนักของการประเมินความ เหมาะสมของกิจกรรมแบบเป็น 5 ระดับ ตามแนวทางของ ลิเคิร์ต (Likert) 6) ผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้นาเสนอผลการวิจัยเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นหลัก ในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อพัฒนา ทักษะการแก้ปัญหา มีขั้นตอนและรายละเอียดดังแสดงในรูป ที่ 2

238


รูปที่ 2: กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา กิจกรรมการเรียนรู้จะเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ แบบ u-Learning กล่ า วคื อ ผู้ เ รี ย นแต่ ล ะคนจะใช้ คอมพิวเตอร์แบบพกพา (tablet) เป็นเครื่องมือในการ เรี ย นรู้ โดยผู้ เ รี ย นสามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ทุ ก สถานที่ ที่ มี สัญญาณอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wi-Fi) เช่น ภายใน โรงเรียน มหาวิทยาลัย ที่บ้าน และสถานที่สาธารณะ รูปแบบกิจกรรม ฯ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้น การศึกษาเนื้อหา 2) ขั้นการนาเสนอปัญหา 3) ขั้นการวาง แผนการแก้ปัญหา 4) ขั้นการดาเนินการแก้ปัญหา 5) ขั้น การสรุปหลักการ แนวคิดที่ได้จากการแก้ปัญหา ซึ่งแต่ละ ขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้

1) ขั้นการศึกษาเนื้อหา เป็นการศึกษาเนื้อหาบทเรียน โดยจะเรียนผ่านระบบจัดการ เรียนรู้สาหรับ u-Learning (u-Learning LMS) สารับเก็บ ข้อมูลต่าง ๆ เช่น เนื้อหาบทเรียน ประวัติการเรียนรู้ ซึ่งจะ ตรงกับ คุณสมบัติการคงสภาพของข้อมูล ตามคุณลักษณะ ของ ULE โดยผู้เรียนจะใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาเข้าสู่ ระบบและท าการศึ ก ษาเนื้ อ หา ซึ่ ง จะตรงกั บ คุ ณ ลั ก ษณะ ความสามารถในการเข้าถึง ได้ทุ กเมื่อ และระบบจะต้อ งมี ความพร้อมสาหรับการเรียกใช้ได้อย่างทันทีทันใด

239


2) ขั้นการนาเสนอปัญหา ระบบจะเสนอปัญหาให้ผู้เรียนโดยอัตโนมัติ ผ่านระบบ u-Learning LMS ซึ่งจะตรงกับคุณลักษณะการตระหนัก ถึงบริบทของผู้เรียน ผู้เรียนจะศึกษาและทาความเข้าใจ สถานการณ์ ปั ญ หา จากหน้ า เว็ บ เพจบนอุ ป กรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพา และทาการโพสข้อคิดเห็น หรือ ข้อสงสัยในกระดานเสวนา ซึ่งตรงกับคุณลักษณะการมี ปฏิสัมพันธ์

4.2) สังเคราะห์ข้อมูลและตรวจสอบสมมติฐาน ผู้เรียนตรวจสอบว่าข้อมูลที่ค้นหามาได้นั้นเพียงพอต่อการ พิสูจน์สมมติฐานหรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอ ผู้เรียนต้องร่วมกัน ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งสารสนเทศที่เกี่ยวข้องอีก ครั้ง หลังจากนั้นทาการสรุปผลการค้นคว้า และส่งให้ผู้สอน ผ่าน u-Learning LMS ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะเกิดทักษะ การแก้ปัญหาขึ้น 5) ขั้นการสรุปหลักการ แนวคิดที่ได้จากการแก้ปัญหา การสรุปหลักการ แนวคิดที่ได้จากการแก้ปัญหาแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนย่อย คือ 5.1) การสรุปหลักการ แนวคิดที่ได้จากการแก้ปัญหา กลุ่มผู้เรียนอภิปรายระดมสมองผ่านคอมพิวเตอร์พกพา เพื่อ สรุ ป การเรี ย นรู้ หลั ก การ และแนวคิ ด จากการศึ ก ษาใน สถานการณ์ปัญหาที่ได้แก้ไข 5.2) น าเสนอแนวทางในการแก้ ปั ญ หาและ ประยุ ก ต์ ใ ช้ สถานการณ์อื่น ๆ ตัวแทนกลุ่มเป็นผู้สรุปผลการเรียนรู้เพื่อนาเสนอขั้นตอนการ แก้ปั ญ หาจากปั ญ หาที่ กลุ่ ม ได้ รั บ มอบหมาย โดยเป็ น การ นาเสนอภายในห้องเรียน

3) ขั้นการวางแผนการแก้ปัญหา การวางแผนการแก้ปัญหาแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนย่อย คือ 3.1) ทาความเข้าใจประเด็นปัญหา ผู้ เ รี ย นเข้ า สู่ ห้ อ งสนทนาผ่ านคอมพิ วเตอร์ พ กพา เพื่ อ ร่ ว มกัน อภิ ป รายระดมสมองเป็ น กลุ่ ม ท าความเข้ า ใจ ประเด็นปัญหา โดยการใช้การสนทนากลุ่มผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต 3.2) กาหนดประเด็นปัญหา กลุ่มผู้เรียนอภิปรายระดมสมองผ่านคอมพิวเตอร์พกพา เพื่อกาหนดประเด็นปัญหา สรุปผลการกาหนดประเด็น ปัญหา และส่งให้ผู้สอนผ่านระบบ u-Learning LMS 3.3) สร้างสมมติฐานและจัดลาดับสมมติฐาน กลุ่มผู้เรียนอภิปรายระดมสมองเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของ ปัญหา และกาหนดสมมติฐาน จัดลาดับความสาคั ญของ สมมติฐาน โดยท าการสนทนาด้วยคอมพิวเตอร์พกพา จากนั้นทากาสรุปผลส่งผู้สอนผ่านทาง u-Learning LMS 3.4) กาหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ กลุ่มผู้เรียนอภิปรายระดมสมอง เพื่อกาหนดวัตถุประสงค์ การเรียนรู้ในการแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อนาข้อมู ล เหล่านั้นมาทาการพิสูจน์สมมติฐานต่อไป

สาหรับการวัดและการประเมินผลในแต่ล ะขั้นตอนจะเป็น การวัดและการประเมินตามสภาพจริง และการวัดผลการ เรียนรู้เมื่อจบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบทดสอบอัตนัย ประยุกต์ (MEQ) เพื่อวัดทักษะการแก้ปัญหาของผู้เรียน ตอนที่ 2 ผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม การประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม ดาเนินการประเมิน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน นาเสนอผลการประเมินดัง แสดงในตารางที่ 1 – 2

4) ขั้นการดาเนินการแก้ปัญหา การดาเนินการแก้ปัญหาแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนย่อย คือ 4.1) ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม กลุ่ ม ผู้ เ รี ย นสนทนาผ่ า นคอมพิ ว เตอร์ พ กพา เพื่ อ แบ่ ง หน้าที่ในการค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ บนอินเทอร์เน็ต โดยใช้คอมพิวเตอร์พ กพาเป็นเครื่องมือ ในการค้นหาความรู้

ตารางที่ 1: ผลการประเมิ น ความเหมาะสมของกิจ กรรม การเรียนรู้ รายการประเมิน ความเหมาะสม

ผลการประเมิน X

1. ขั้นการศึกษาเนื้อหา 4.80 2. ขั้นการนาเสนอปัญหา 5.00 3. ขั้นการวางแผนการแก้ปัญหา 4.60 3.1 ท าความเข้ า ใจประเด็ น 240

S.D.

ระดั บ ความ เหมาะสม

0.45 0.00 0.55

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด


ปัญหา 3.2 กาหนดประเด็นปัญหา 3.3 สร้ า งสม มติ ฐ านแ ละ จัดลาดับสมมติฐาน 3.4 กาหนดวัตถุประสงค์การ เรียนรู้ 4. ขั้นการดาเนินการแก้ปัญหา 4.1 ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม 4.2 สั ง เคราะห์ ข้ อ มู ล และ ตรวจสอบสมมติฐาน 5. ขั้นการสรุปหลักการ แนวคิด ที่ได้จากการแก้ปัญหา 5.1 การสรุปหลักการ แนวคิด ที่ได้จากการแก้ปัญหา 5.2 นาเสนอแนวทางในการ แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ สถานการณ์อื่น ๆ ภาพรวม

4.60 4.40

0.55 0.55

มากที่สุด มาก

4.20

0.84

มาก

4.00

0.71

มาก

4.20

0.45

มาก

4.20

0.84

มาก

4.20

0.45

มาก

4.42

0.54

มาก

ในระดับมาก ( X = 4.40, S.D. = 0.50) โดยค่าเฉลี่ยความ เหมาะสมเรี ย งตามล าดั บ คื อ กิจ กรรมการเรี ย นรู้ มี ค วาม เป็นไปได้ในการนาไปใช้จริง ( X = 4.60, S.D. = 0.55) และ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมต่อการพัฒนาทักษะการ แก้ปัญหา ( X = 4.20, S.D. = 0.45) ตามลาดับ 7) อภิปรายผล จากผลการวิจัยมีประเด็นในการอภิปรายดังนี้ 7.1) ผลการประเมิ นโดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่ากิจกรรมการ เรี ย นรู้ มี ค วามเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก สอดคล้ อ งกั บ งานวิจัยของ Jones และ Jo และ Yahya ที่พบว่าการจัด สภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-Learning จะช่วยอานวย ความสะดวกให้กับผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้ทุกหนทุกแห่ง ทุกที่ทุกเวลา สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ นิยม(Constructivism) และสอดคล้อ งกับ ปณิต า วรรณ พิ รุ ณ และ ศิ ริ พ ร พ่ ว งพิ ศ ที่ พ บว่ า การน าขั้ น ตอนการ แก้ ปั ญ หามาใช้ ใ นการเรี ย นการสอนสามารถพั ฒ นา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้เป็นอย่างดี 7.2) ผลการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิพบว่ากิจกรรมเรียนการ สอนมีความเหมาะสมในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาอยู่ใน ระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ โสภาพันธ์ สอาด ที่ พบว่ า การเรี ย นการสอนโดยใช้ ปั ญ หาเป็ น หลั ก สามารถ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาได้

จากตารางที่ 1 พบว่ าภาพรวมด้ านกิจ กรรมการเรี ย นรู้ ผู้ ท รงคุ ณวุ ฒิ เ ห็ น ว่ ามี ค วามเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก ( X = 4.42, S.D.= 0.54) โดยค่าเฉลี่ยความเหมาะสมเรียง ตามลาดับ คือ ขั้นการนาเสนอปัญหา ( X = 5.00, S.D.= 0.00) ขั้นการศึกษาเนื้อหา ( X = 4.80, S.D. = 0.45) และขั้นทาความเข้าใจประเด็นปัญหา( X = 4.60, S.D.= 0.55 ) มีระดับความเหมาะสมเท่ากับขั้น กาหนดประเด็น ปัญหา ( X = 4.60, S.D.= 0.55 ) ตามลาดับ

8) ข้อเสนอแนะ 8.1) ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ สถาบันการศึกษาที่นารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ควรมี การจัดเตรียมโครงสร้างพื้น ฐาน เตรียมผู้สอน และเตรียม ผู้ เ รี ย น เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น สภาพแวดล้อมแบบ u-Learning ได้ 8.2) ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการนาผลการวิจัยในครั้งนี้ไปทดลองใช้เพื่อศึกษาผลที่ เกิด ขึ้น จากน ากิจ กรรมที่ ออกแบบไปใช้ เช่ น ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรียน ทักษะการแก้ปัญหา ทัศนะคติของผู้เรียนที่มีต่อ รูปแบบการเรียนการสอน

ตารางที่ 2: ผลการประเมินความเหมาะสมของการนา กิจกรรมที่ออกแบบไปใช้จริง รายการประเมิน ความเหมาะสม

ผลการประเมิน X

1. กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ มี ค วาม เหมาะสมต่ อ การพั ฒ นาทั ก ษะ 4.20 การแก้ปัญหา 2. กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ มี ค วาม 4.60 เป็นไปได้ในการนาไปใช้จริง ความเหมาะสมในภาพรวม 4.40

S.D.

ระดั บ ความ เหมาะสม

0.45

มาก

0.55

มากที่สุด

0.50

มาก

จากตารางที่ 2 พบว่ า ภาพรวมความเหมาะสมของ กิจกรรมการเรียนรู้ต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและ การนาไปใช้จริง ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่ามีความเหมาะสมอยู่ 241


และความสามารถในการแก้ปัญหาทางการพยาบาล ของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระ บรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. ปริญญาปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

9) เอกสารอ้างอิง Jones, V. & Jo, J.H. (2004). Ubiquitous learning environment: An adaptive teaching system using ubiquitous technology. In R. Atkinson, C. McBeath, D. Jonas-Dwyer & R. Phillips (Eds), Beyond the comfort zone: Proceedings of the 21st ASCILITE Conference (pp. 468-474). Perth, New Zealand. Junqi, Wu.,Yumei, Liu.,&Zhibin, Liu. (2010). Study of Instructional design in Ubiquitous Learning.In Second International Workshop on Education Technology and Computer Science, pp. 518-523. Yahya, S., Ahmad, E.& Jalil, K. (2010). The definition and characteristics of ubiquitous learning: A discussion. In International Journal of Education and Development using Information and Communication Technology (IJEDICT), 6 (1) , 117-127.

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2554-2563ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุ สภา. ปณิตา วรรณพิรุณ. (2551). การพัฒนารูปแบบการเรียน บนเว็บแบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นหลักเพื่อ พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนิสิต ปริญญาบัณฑิต. ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ โดยใช้ PBL (Problem-Based Learning). วารสารวิชาการ. 2 (2), 11-17. ศิริพร พ่วงพิศ. (2552). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนวิชา การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา ปาสคาลโดยใช้ทฤษฎีการคิดแก้ปัญหา ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต. ปริญญาครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. ปัญหาพิเศษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ. โสภาพันธ์ สอาด. (2553). การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลักผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 242


การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบ ร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Development Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to Enhance Knowledge Sharing Process อ.ทัศนีย์ รอดมั่นคง1, อ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (Thassanee30@Gamil.com) 2

หน่วยงานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (panitaw@kmutnb.ac.th) Keywords: Computer-Supported Collaborative Learning, Cognitive Load Reduction, Knowledge Sharing Process

ABSTRACT The objective the research study was to Developmenting Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to Enhance Knowledge Sharing Process. The study was divided into two stages: 1) Developing Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning 2) evaluate the model. The sample group in this study consisted of 5 experts in instructional design, Computer-Supported Collaborative Learning, Cognitive Load Reduction and Knowledge Sharing Process. Data were analyzed by arithmetic mean and standard deviation. The research findings were: 1. The Development Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to Enhance Knowledge Sharing Process model consisted of four components as followed: 1) principles of teaching and learning styles, 2) objectives, 3) instructional process consisted of three steps which were: 3.1) the preparation before studying 3.2) instructional process 3.3) the teacher and the students summarized the ideas and 4) evaluation. 2. The experts agree that a Development Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to Enhance Knowledge Sharing Process model had appropriated in a good level. The results indicate that the system could be Enhanced Knowledge Sharing Process and efficiency of teaching and learning.

บทคัดย่อ การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ 1) พั ฒ นารู ป แบบ กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการ เรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระ ทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2) ประเมิ น รู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนวการ จั ด การเ รี ย นรู้ แบ บลดภาร ะท าง ปั ญ ญา เ พื่ อ พั ฒ น า กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการออกแบบการเรียนการสอน ด้าน การใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนร่วมกัน ด้านการ จัดการเรี ยนรู้แบบลดภาระทางปัญญา และด้านการพัฒนา กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จานวน 5 ท่าน โดยการเลือก แบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ รูปแบบกิจกรรม การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่ วมกัน ตามแนวการจั ด การเรี ย นรู้ แ บบลดภาระทาง ปั ญ ญา และแบบประเมิ น ความเหมาะสมของรู ป แบบที่ พัฒนาขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 243


ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ แ บบร่ ว มกั น ตามแนวการจั ด การ เรียนรู้แ บบลดภาระทางปัญญา เพื่อพัฒ นากระบวนการ แลกเ ป ลี่ ย น เ รี ยน รู้ ที่ พั ฒ น าขึ้ น ป ร ะ กอ บ ด้ วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบการเรียนการ สอน 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) กระบวนการเรียน การสอน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนย่อย 3.1) ขั้นเตรียมการ ก่อนการเรียนการสอน 3.2) ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ ส นั บ สนุ น การเรี ย นรู้ แ บบ ร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา 3.3) ขั้นร่วมกันสรุปผล และ4) การวัดและการประเมินผล 2. ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ทาการประเมินรูปแบบกิจกรรม การเรียนการสอนแล้วมีความคิดเห็นว่า รูปแบบกิจกรรม การเรี ย นการสอนโดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ส นั บ สนุ น การ เรี ย นรู้แ บบร่ วมกัน ตามแนวการจัด การเรี ย นรู้แ บบลด ภาระทางปั ญ ญา เพื่ อ พั ฒ นากระบวนการแลกเปลี่ ย น เรี ย นรู้ ที่ พั ฒ นาขึ้ น มี ค วามเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก แสดงว่ารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น สามารถน าไปใช้ เ พื่ อ พั ฒ นาพั ฒ นากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ และช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น

ประเทศไทย ได้กาหนดยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e-Education) โดยสนับสนุน และส่งเสริมให้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เป็นเครื่องมือ ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพการเรียนการ สอนในชั้นเรียนแบบปกติ ทาให้เกิดรูปแบบการจัดการเรียน การสอนในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การนาคอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกัน การจัดการเรียนการสอน ผ่ านระบบเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต การเรี ย นการสอนแบบ ออนไลน์ (e-Learning) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการคิด วิเ คราะห์ แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ระหว่ างกัน รวมทั้ง เป็ นการ สนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างความรู้ขึ้นใหม่ด้วยตนเอง ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในการทากิจกรรม การทางานร่วมกัน ช่วยเหลือกัน ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทโดยตรงต่อระบบการศึกษา เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่อ งมือช่วยในการ รวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ การนาเสนอและแสดงผล ด้ว ยระบบสื ่อ ต่า งๆ ทั ้ง ในด้า นข้อ มูล รูป ภาพ เสีย ง ภาพเคลื ่อ นไหว วีด ีท ัศ น์ การสร้า งความรู ้ (Knowledge Construction) โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ ช่ว ยสนับ สนุน ผู ้เ รีย นให้ม ีค วามกระตือ รือ ร้น เปลี ่ย น พฤติกรรมจากการเรียนรู้แบบเดิมมาเป็นการเรียนรู้แบบมี ชีวิตชีวา มีการแสวงหาความรู้ต่างๆ มีทักษะในการเลือกรับ ข้อมูล วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ การ ออกแบบและการสร้างองค์ความรู้จาเป็นต้องสร้างบทเรียน ให้มีลักษณะสาคัญหลายอย่างร่วมกันตามความเหมาะสม เช่น การมีปฏิสัมพันธ์ การเป็นอิสระกับระยะทางและเวลา การเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา การควบคุมกิจกรรม และความ สะดวกใช้งานง่าย (ยืน ภู่วรรณ, 2548) คอมพิ ว เตอร์ ส นั น สนุ น การเรี ย นรู้ แ บบร่ ว มกั น ถื อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น ผู้ เ รี ย นในการเรี ย นรู้ การ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ และการสร้ างความรู้ ต ามแนวทางการ จัดการเรียนการสอนแบบคอนสตรัคติวิสต์ โดยเครื่องมือที่ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ สร้างความรู้ร่วมกับคนอื่นๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน การเรียนรู้แบบร่วมกัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) เครื่องมือแบบประสานเวลา และ 2) เครื่องมือที่ใช้ แบบไม่ประสานเวลา รูปแบบการเรียนการสอนมีทั้งการให้ คอมพิว เตอร์ม ีบ ทบาทเป็น เพีย งตัว กลาง (Mediator)

คาสาคัญ: คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกัน, การลดภาระทางปัญญา, กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

1) บทนา การจั ด การศึ ก ษาในปั จ จุ บั น มี ก ารน าเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ซึ่งเทคโนโลยีสามารถตอบสนองการจัดการศึกษา ที่ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดยผู้สอนมีหน้าที่ ให้ ค าแนะน า อธิ บ ายจุ ด ประสงค์ แ ละวิ ธี ก ารเรี ย นรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542) กรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554-2563 ของ 244


ระหว่า งผู้เ รีย นที่จ ะเรีย นรู้ร่วมกัน หรือ ทางานร่วมกัน เท่านั้น หรือจาลองให้คอมพิวเตอร์มีบทบาทเป็นผู้เรียน ที่สามารถเรียนร่วมกับผู้เรียนจริงในระบบได้ ทั้งนี้จะให้ คอมพิวเตอร์มีบ ทบาทอย่างไรขึ้น อยู่กับการออกแบบ สภาพแวดล้อ มในการเรีย นรู ้ร ่ว มกัน (Vivekanandan Suresh Kumar, 2003) การเรียนรู้แบบร่วมกันเป็นวิธีการ เรียนด้วยกันเป็นกลุ่มเล็ก แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิก ที่มีความรู้ ความสามารถแตกต่างกัน โดยแต่ละคนจะมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า งแท้ จ ริ ง ในการเรี ย นรู้ ความสัม พัน ธ์ ระหว่างผู้เรีย นด้วยกัน จะเกิด จากการมีปฏิสัม พัน ธ์ใ น กลุ่มที่มีการจัดวางการทางานกลุ่มเป็ นอย่างดีด้วยการนา เทคโนโลยีเข้ามาช่วยกันและ/หรือหลังจากมีการเรียนที่ ผู้สอนพบกันผู้เรียน และในความสาเร็จของกลุ่ม ทั้งโดย การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแบ่งปันทรัพยากรการ เรียนรู้ รวมทั้งการเป็นกาลังใจให้แก่กันและกัน ผู้เรียนที่ เรียนเก่งจะช่วยเหลื อคนที่ อ่อนกว่า สมาชิ กในกลุ่มไม่ เพียงแต่รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเองเท่านั้น หาก จะต้องร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนของเพื่อนสมาชิก ทุกคนในกลุ่ม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ระบุว่า ความรู้ (Knowledge) คือ สิ่งที่สั่งสามมาจากการศึกษา เล่า เรีย น การค้น คว้า หรือ ประสบการ ณ์ รวมทั ้ง ความสามารถเชิง ปฏิบ ัติแ ละทัก ษะ ความเข้าใจ หรือ สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมา จากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือ การปฏิบัติต ามองค์ วิช าในแต่ล ะวิช า ความรู ้ สามารถแบ่ง ได้เ ป็น 2 ประเภท คือ ความรู้โดยนัยหรือความรู้ที่มองเห็นไม่ชัด และความรู ้ที ่ช ัด แจ้ง หรือ ความรู ้ที ่เ ป็น ทางการ (Choo,2000) ความรู ้ทั ้ง สองประเภทนี ้ส ามารถ เปลี่ยนแปลงสถานะระหว่างกันได้ตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับ สถานการณ์ซึ ่ง จะท าให้เ กิด ความรู ้ใ หม่ๆ โดยผ่า น กระบวนการที ่เ รีย กว่า เกลีย วความรู ้ (Knowledge Spiral) หรือ SECI Model (Ikujiro Nonaka & Takeuci,1995) การแลกเปลี ่ย นเรีย นรู ้ เป็น พฤติก รรม การเผยแพร่ แลกเปลี ่ย นแบ่ง ปัน ความรู ้ ทัก ษะ ประสบการณ์ระหว่างกันในขณะร่วมกิจกรรม ช่วยให้ กระบวนการสร้างความรู้เกิดขึ้นได้รวดเร็วและสะดวก ยิ่งขึ้น ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการ ดังนี้ การกาหนด

ความรู้ การแสวงหาความรู้ การสร้างความรู้ การจัด เก็บ การค้นคืนความรู้ และการแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ การนา ความรู้ไปใช้ มิติของการจัดการความรู้ประกอบด้วย คน เทคโนโลยี และกระบวนการองค์กร เทคโนโลยีที่ช่ว ย สนับสนุนการแบ่งปันความรู้ได้ เช่น กรุ๊ปแวร์ การสนทนา อิเล็กทรอนิกส์ จากหลักการ แนวคิดและทฤษฏีที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึง สนใจพั ฒ นารู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการ จัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่ได้รับความนิย มในปัจจุบันมาพัฒนารูปแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนที่สนับสนุน และส่งเสริมการ เรียนรู้ของผู้เรียนอันจะนาไปสู่การแสวงหาความรู้ได้ด้วย ตนเองอย่ างต่อ เนื่ อ งตลอดชี วิต (คณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ, 2543) รวมทั้งทาให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างนักเรียนด้วยกัน ระหว่างนักเรียนกับบุคคลทั่วไป เกิด เป็นฐานความรู้ที่จะยังประโยชน์ต่อบุคคลที่สนใจในเรื่อง เดียวกันต่อไป

2) วัตถุประสงค์การวิจัย 2.1) เพื่ อ พัฒ นารู ป แบบกิจ กรรมการเรีย นการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนวการ จัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.2) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมมือตามแนวการ จัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

3) ขอบเขตการวิจัย 3.1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการออกแบบการเรียนการ สอน ด้ านการใช้ ค อมพิ ว เตอร์ สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ แ บบ ร่วมกัน ด้านการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา ด้าน การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการออกแบบการเรียน การสอน ด้านการใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบ 245


ร่วมกัน ด้านการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา ด้านการพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จานวน 5 ท่าน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมีคุณสมบัติ คือคุณวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญา เอก และมีประสบการณ์ในด้านที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 3.2) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรต้น คือ รูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนว การจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา ตัวแปรตาม คือ ผลการประเมินรับรองรูปแบบกิจกรรม การเรี ย นการสอนโดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ส นั บ สนุ น การ เรี ย นรู้แ บบร่ วมกัน ตามแนวการจัด การเรี ย นรู้แ บบลด ภาระทางปัญญา

กระบวนการ ออกแบบระบบ การเรียนการ สอน (Donald Clark, 2003)

คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการ เรียนรูแ้ บบ ร่วมกัน

การจัดการเรียน การสอนแบบ ลดภาระทาง ปัญญา

(Jy Wana Daphne Lin Hsiao,2003)

(Sweller,van Merrienboer,& Paas,1998)

แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระ ทาง ปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

4) วิธีดาเนินการวิจัย การพั ฒ นารู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนวการ จัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งการดาเนินงานออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดย ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ส นั บ สนุ น การเรี ย นรู้ แ บบร่ ว มกั น ตาม แนวการจัด การเรี ยนรู้ แ บบลดภาระทางปั ญ ญาเพื่ อพั ฒ นา กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามกระบวนการออกแบบ ระบบการเรียนการสอน ADDIE Model ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) เป็นการวิเคราะห์ เพื่อกาหนดรายละเอียดขององค์ประกอบต่าง ๆ สาหรับสร้าง รูปแบบและกระบวนการเรียนการสอน มีรายละเอียดดังนี้ ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ เ อกสารและงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. ศึกษารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมมือ 2. ศึกษาการ จัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา 3. ศึกษาการพัฒนา กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขั้นที่ 2 ขั้นการออกแบบ (Design) เป็นการออกแบบกล ยุทธการเรียนการเรียนการสอน มีรายละเอียดดังนี้ กาหนด กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิ วเตอร์ สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้ แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยน เรี ย นรู้ โดยน าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษา วิ เ คราะห์ แ ละ สังเคราะห์ข้อมูล หลักการ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการเรียนการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุ นการ เรียนรู้แบบร่วมกัน การจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มากาหนดเป็นกรอบแนวคิด ในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ขั้นที่ 3 ขั้นการพัฒนา (Development) เป็นการพัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการ เรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระ ทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ องค์ประกอบ แนวคิดที่ได้จากขั้นที่ 1 มาพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอน โดยเน้นองค์ประกอบ กระบวนการ ขั้นตอน ที่มี ค วามเป็น ระบบ (System Approach) และแสดง

รูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ สนับสนุนการเรียนรูแ้ บบร่วมกันตามแนวการจัดการ เรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพือ่ พัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 การสร้างความรู้ 2 การแบ่งปันความรู้ 3 การใช้หรือเผยแพร่ความรู้

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการ เรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ 246


ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ตาม ADDIE Model ซึ่งเป็น รูปแบบที่ได้รั บความนิยมจากนักออกแบบและพัฒนา บทเรียนบนเว็บ ในการพัฒนาระบบการเรียนการสอน ระยะที่ 2 การประเมินรับรองรูปแบบกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมมือ ตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อ พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น โดยมี 4 ขั้นตอนดังนี้ 1) น ารู ป แบบที่ พั ฒ นาขึ้ น ให้ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้ า นการ ออกแบบการเรี ย นการสอน ด้ านการใช้ ค อมพิ วเตอร์ สนับสนุนการเรียนร่วมกัน ด้านการจัดการเรียนรู้แบบ ลดภาระทางปั ญ ญา และด้ านการพั ฒ นากระบวนการ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ จานวน 5 ท่าน พิจารณาและประเมิน ความเหมาะสมของรูปแบบ 2) ปรับปรุ งรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนฯ ตาม ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ 3) น าเสนอรู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนฯ ที่ พัฒนาขึ้น

4) วิ เ คราะห์ ผ ลการประเมิ น ความเหมาะสมของรู ป แบบ โดยใช้ค่าเฉลี่ย( ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) ซึ่งมี เกณฑ์ ใ นการก าหนดค่ า น้ าหนั ก ของการประเมิ น ความ เหมาะสมของรูปแบบเป็น แบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีการของลิเคริ์ท (Likert) ซึ่งกาหนดเป็น 5 ระดับ

5) สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้นาเสนอผลการวิจัยเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 รู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนวการ จัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา 1.1 องค์ประกอบของรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดย ใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการ เรียนรู้แบบร่วมกันตามแนว การจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) หลักการของรูปแบบการเรียนการ สอน 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) กระบวนการเรียนการ สอน 4) การวัดและการประเมินผล ดังรูปที่ 2

รูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกัน ตามแนวการจัดการเรียนรู้ แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลักการของรูปแบบการ เรียนการสอน 1) รู ป แบบกิ จ กรรมการ เ รี ย น ก า ร ส อ น โ ด ย ใ ช้ คอมพิ ว เตอร์ ส นั บ สนุ น การเรียนรู้แบบร่วมกัน 2) การจัด การเรียนรู้แ บบ ลดภาระทางปัญญา 3) กระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

วัตถุประสงค์ของรูปแบบ

กระบวนการเรียนการสอน

การวัดและการประเมินผล

พัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

1) ขั้นเตรียมการก่อนการ เรียนการสอน 2) ขั้นกิจกรรมการเรียน การสอน 3) ขั้นร่วมกันสรุปผล

1) การประเมินผลระหว่าง เรียน 2) การประเมินผลหลัง เรียน 3) การประเมินผลตาม สภาพจริง

รูปที่ 2: องค์ประกอบของรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการ เรียนรู้แบบร่วมกันตาม แนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา 247


1.2 ขั้นตอนของรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนวการจัด การเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงดังรูปที่ 3 รูปแบบกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการ เรียนรู้ร่วมมือตามแนวการ จัดการเรียนรู้แบบลดภาระ ทางปัญญาเพื่อพัฒนา กระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้

ขั้นเตรียมการก่อนการ เรียนการสอน

ขั้นกิจกรรมการเรียน การสอน

ขั้นร่วมกันสรุปผล

1) กาหนด วัตถุประสงค์ 2) กาหนดกิจกรรม 3) ทบทวนความรู้เดิม 4) ประเมินผลก่อน เรียน 5) จัดกลุ่มนักศึกษา

1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 2) ขั้นศึกษาเนื้อหา 3) ขั้นลงมือปฏิบัติ

1) นาเสนอข้อมูลหน้า ชั้นเรียน 2) นาเสนอข้อมูลผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

รูปที่ 3: ขั้นตอนของรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการ จัดการเรียนรู้แบบ ลดภาระ ทางปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.3 ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทาง ปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงดังรูปที่ 4 คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้แบบร่วมกันตาม แนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทางปัญญา

ขั้นตอน

ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน

ขั้นศึกษาเนื้อหา

วิธีการ กาหนดวัตถุประสงค์ กาหนดกิจกรรมการ เรียนการสอน ทบทวนความรู้เดิม การประเมินผลก่อนเรียน จัดกลุ่มนักศึกษา ศึกษาเนื้อหารายวิชาจากสื่อผสม ภาพประกอบ บนเว็บไซต์ กาหนดภาระงาน กาหนดประเด็นปัญญา

ขั้นลงมือปฏิบัติ

กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การสร้างความรู้

การใช้คาถามนากระตุ้นให้คิด อภิปรายระดมความคิดเห็นร่วมกันของกลุ่ม

ขั้นร่วมกันสรุปผล

แนะนาให้ผู้เรียนสรุปบทเรียน การสรุปเนื้อหา

การแบ่งปันความรู้

การจัดทาแผนที่ความคิด นาเสนอข้อมูลหน้า ชั้นเรียนและผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

การใช้หรือเผยแพร่ความรู้

รูปที่ 4: ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับ248 สนุนการเรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบ ลดภาระ ทางปัญญา เพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้


7.2) ควรศึกษาและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนในบริบทที่แตกต่างกัน

ตอนที่ 2 ผลการประเมินรูปแบบกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ส นั บ สนุ น การเรี ย นรู้ แ บบ ร่ ว มกั น ตามแนวการจั ด การเรี ย นรู้ แ บบลดภาระทาง ปัญญาเพื่อพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน มีความคิดเห็นว่า รูปแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน การเรียนรู้แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลด ภาระทางปั ญ ญา เพื่ อ พั ฒ นากระบวนการแลกเปลี่ ย น เรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

8) เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและสาร สื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ. ยืน ภู่วรรณ. (2548). ยุทธศาสตร์ e-Learning ต้องสอนเด็ก คิดนอกกรอบ. ข่าวกระทรวงศึกษาธิการ. (4 กรกฎาคม 2548),47-48. วิลาวัณย์ จินวรรณ. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนการ สอนบนเว็บแบบลดภาระทางปัญญา โดยใช้เทคนิค การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ที่มีตอ่ การรู้คิดและ ความคิดสร้างสรรค์. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ศิวนิต อรรถวุฒิกุล. (2551). การพัฒนากระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุน การเรียนรู้อย่างร่วมมือตามแนวคิดการเรียนรู้แบบ เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสร้างพฤติกรรมการสร้าง ความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

6) อภิปรายผล ผลการพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนว การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบลดภาระทางปั ญ ญาเพื่ อ พั ฒ นา กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบว่าขั้นการเรียนการ สอนแบบลดภาระทางปั ญ ญามี ค วามสอดคล้ อ งกั บ งานวิจัยของวิลาวัณย์ จินวรรณ (2555) และกระบวนการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ โ ดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ส นั บ สนุ น การ เรี ย นรู้ แ บบร่ วมกัน มี ค วามสอดคล้ อ งกับ งานวิ จั ย ของ ศิวนิต อรรถวุฒิกุล (2551) แสดงว่ารูปแบบกิจกรรมการ เรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น สามารถนาไปใช้เพื่อพัฒนา พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ และช่วยให้การ เรียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Choo, C. W. (2000). The knowing organization: How organization use information to construct meaning, create knowledge, and make decisions (2nd ed.). New York: Oxford University Press. Clark, D. (2003). Instructional System Design-Analysis

7) ข้อเสนอแนะ 7.1) การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนว การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบลดภาระทางปั ญ ญาเพื่ อ พั ฒ นา กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่นาเสนอในงานวิจัยครั้ง นี้ จะเป็นแนวทางในการนาไปสร้างรูปแบบกิจกรรมการ เรียนการสอนโดยใช้ค อมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ แบบร่วมกันตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบลดภาระทาง ปั ญ ญา ที่ มุ่ ง ห วั ง ใ ห้ เ กิ ด ผลลั พ ธ์ ก ารเ รี ย นรู้ แ ละ กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการ สอนต่อไป

Phase.

Retrieved on March 9,2012, from

www.nwlink.com/hrd/sat2.html. Computing in Childhood Education, Vol.1, 327. Jy Wana Daphne Lin Hsiao.(2012). CSCL Theories. Retrieved on March 9,2012, from http://www.edb.utexas.edu/csclstudent/Dhsiao /theories.html Nonaka, I., and Takeuchi,H. (1995). The knowledge creating company: How Japanese companies create the dynamics of innovation. New York: Oxford University Press. Vivekanandan Suresh Kumar. (2012). ComputerSupported Collaborative Learning: Issues for Research. Retrieved on April 12,2012, from http://www.cs.usask.ca/grads/ 249


vsk719/academic/890/project2/project2.ht ml [2012, 12]

250


การส่ งเสริมผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการกํากับตนเองในการเรียนของนักศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิตในการเรียนแบบผสมผสาน Promoting Undergraduate Students’ Learning Achievement and Self-Regulated Learning Skills in Blended Learning Environments นุชจรี บุญเกต1, ปราวีณยา สุ วรรณณัฐโชติ2 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ รินทร์ (boonget@hotmail.com) 2

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(praweenya.s@chula.ac.th) ABSTRACT

achievement and self-regulated learning skill at the .05 level of significance.

The purpose of this research was to study the effects of regulated learning methods on web and tutoring methods in blended learning upon learning achievement and self-regulated learning skill of undergraduate students. This study used an experiment research design and a factorial design 3X2. Two independent variables were: 1) three types of regulated learning methods: SelfRegulated Learning (SRL); External Regulated Learning (ERL); and Self and External Regulated Learning (SERL) and 2) two types tutoring methods: Quiz and discussion; Tutor and peer tutoring. The samples were 120 undergraduate students enrolled in Internet and communication in daily life courses at first semester, academic year 2011. They were divided into six groups, each group had 20 students. The research instruments were: 1) Lesson plans 2) Course website 3) SRL Learning protocol 4) student self-assessment for SRL skills questionnaire and interview form 5) achievement test. Data were analyzed using frequency, mean, standard deviation, One-Way ANOVA and two-way MANCOVA. The research finding were: 1.The students studied with different regulated learning methods on web in blended learning had difference on achievement and self-regulated learning skill at the .05 level of significance. LSD post-hoc comparisons of the three groups indicate that the ERL and SERL group gave significantly difference achievement score than SRL group and the SERL group gave significantly difference on the self-regulated learning skills score than the ERL group. 2.The students studied with different tutoring methods of face-to-face learning sessions in blended learning had no difference on achievement and self-regulated learning skill at the .05 level of significance 3.There was no interaction between regulated learning methods on web and tutoring method in classroom regarding the development of

Keywords: Blended Learning, Regulated Learning Methods, Tutoring Methods, Self-Regulated Learning Skill.

บทคัดย่ อ การวิจยั ครั้ งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของวิธีกาํ กับการ เรี ยนบนเว็บและวิธีสอนเสริ มในการเรี ยนแบบผสมผสานที่มี ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและทักษะการกํากับตนเองในการ เรี ยนของนักศึกษาปริ ญญาบัณฑิต แบบแผนการทดลองเป็ น แบบแฟคทอเรี ยล 3x2 ตัวแปรต้น 2 ตัวแปร คือ วิธีกาํ กับการ เรี ยนบนเว็บ 3 แบบ ได้แก่ การกํากับตนเอง (SRL) การกํากับ จากภายนอก (ERL) การกํากับตนเองร่ วมกับการกํากับจาก ภายนอก (SERL) และวิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยน 2 แบบ คือ การทดสอบย่อ ยพร้ อ มเฉลยและอภิ ป ราย (Quiz and Discussion) และการบรรยายสรุ ปโดยติวเตอร์ และเพื่อนช่วย สอน (Tutor and Peer tutoring) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษา ระดั บ ปริ ญญาบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ที่ ลงทะเบี ย นเรี ย นรายวิ ช าอิ น เทอร์ เ น็ ต และการสื่ อ สารใน ชี วิตประจําวัน ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2554 จํานวน 120 คน แบ่งออกเป็ น 6 กลุ่มๆ ละ 20คน เครื่ องมือที่ใช้ในการ วิ จั ย ได้ แ ก่ 1) แผนการเรี ยนรู้ 2) เว็ บ ไซต์ ร ายวิ ช า 2) โปรแกรมบันทึ กการกํากับตนเองบนเว็บ 3) แบบวัดทักษะ การกํากับตนเองในการเรี ยน 4) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยน สถิติที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่ วน เบี่ ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทาง 251


เวลาศึกษาเล่าเรี ยนของตนเองได้ก็จะสามารถปรับตัวเข้ากับ วิถีชีวิตของนักศึ กษาในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีข้ ึ น ทั้งใน ด้านการเรี ยนและด้านสังคม จากความสําคัญของการกํากับ ตนเองในการเรี ยนต่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาใน ระดับ อุ ด มศึ กษาดังกล่าวข้างต้น กล่าวว่าได้การสอนเพื่ อ ส่ ง เสริ มให้ ผู้เ รี ยนมี ก ารกํา กับ ตนเองเป็ นสิ่ ง จํา เป็ นและ หลีกเลี่ยงไม่ได้ในอนาคต

1.นักศึ กษาที่ ใช้วิธี กาํ กับการเรี ยนบนเว็บ ต่างกันใน การเรี ยนแบบผสมผสานมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและ ทัก ษะการกํากับ ตนเองในการเรี ย นแตกต่า งกันอย่า งมี นัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 เมื่ อเปรี ยบเที ยบค่าเฉลี่ ย รายคู่ดว้ ยวิธี LSD พบว่านักศึกษาที่ใช้วิธีกาํ กับการเรี ยน บนเว็บแบบ ERL และ แบบ SERL มีผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนแตกต่างจากแบบ SRL อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และ นักศึ กษาที่ ใช้วิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บ แบบ SERL มีทกั ษะการกํากับตนเองในการเรี ยนแตกต่าง จากนักศึ กษาที่ ใช้แบบ ERLอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2.นักศึกษาที่ได้รับวิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนที่ต่างกัน ในการเรี ย นแบบผสมผสานมี ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น และทักษะการกํากับตนเองในการเรี ยนไม่ แตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.ไม่มีปฏิ สัมพันธ์ ระหว่างวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บ และวิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนในการเรี ยนแบบผสมผสาน ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการทักษะ การกํากับตนเองในการเรี ยนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 คําสํ าคัญ: การเรี ยนแบบผสมผสาน, วิธีกาํ กับการเรี ยน, วิธีสอนเสริ ม, ทักษะการกํากับตนเองในการเรี ยน

ปั จจุบนั การแก้ปัญหาข้อจํากัดของการเรี ยนบนเว็บและการ เรี ยนในห้องเรี ยน สามารถทําได้โดยการปรับเปลี่ยนรู ปแบบ จากการเรี ยนบนเว็บหรื อการเรี ยนในห้องเรี ยนอย่างใดอย่าง หนึ่ ง แต่ เ พี ย งอย่า งเดี ย ว เป็ นรู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ ผสมผสานการเรี ย นบนเว็บ และการเรี ย นในห้อ งเรี ย นเข้า ด้วยกัน โดยการนําเอาจุดแข็งของการเรี ยนในห้องเรี ยนมา รวมกับข้อดีของการเรี ยนบนเว็บ ซึ่ งเป็ นรู ปแบบการจัดการ เรี ยนการสอนที่เป็ นทางเลือกใหม่สาํ หรับการจัดการศึกษาทุก ระดับโดยเฉพาะการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา รู ปแบบ การเรี ยนการสอนดัง กล่ า วคื อ การเรี ยนแบบผสมผสาน (Jonassen and Hung, 2008) การจัดการเรี ยนแบบผสมผสาน (Blended Learning) เป็ นการ จัดการเรี ยนการสอนแบบผสมผสานทั้งการเรี ยนออนไลน์ และการสอนเสริ มในชั้ นเรี ยน ในส่ วนของการเรี ยน ออนไลน์น้ ันจากการศึ กษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ ยวข้อง พบว่า วิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บ มีท้ งั การใช้การกํากับตนเอง และการกํากับจากภายนอก สําหรับวิธีเสริ มในชั้นเรี ยน ผูว้ ิจยั ได้ประยุกต์การเรี ยนการสอนขึ้น 2 แบบคือ การทดสอบย่อย พร้ อมเฉลยและอภิปราย และการบรรยายสรุ ปโดยติวเตอร์ และเพื่อนช่วยสอน ประกอบกับมีงานวิจยั สนับสนุ นว่าการ ใช้ ก ารสอนเสริ มในชั้ นเรี ยนทั้ ง 2 แบบสามารถเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพการเรี ยนทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ยนและ ทักษะการกํากับตนเองในการเรี ยน ผูว้ ิจยั จึงสนใจที่จะศึกษา เปรี ยบเทียบผลของวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บแบบ การกํากับ ตนเอง การกํากับจากภายนอก และการกํากับตนเองร่ วมกับ การกํากับจากภายนอก และการสอนเสริ มโดยใช้การทดสอบ ย่อยพร้อมเฉลยและอภิปราย กับการบรรยายสรุ ปโดยติวเตอร์ และเพื่อนช่วยสอนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะ การกํากับตนเอง เพื่อเป็ นแนวทางสําหรั บผูส้ อนและสถาน

1) บทนํา ผูเ้ รี ยนที่ มีประสิ ทธิ ภาพที่ สุดคือผูท้ ี่ กาํ กับตนเองในการ เรี ยน (Butler & Winne, 1995) ตัวอย่างเช่น Underbakke, Borg and Peterson (1993) ได้เสนอว่าในการสอนการคิด ขั้นสู งควรสอนให้ผูเ้ รี ยนมี การตระหนักในการควบคุ ม ความคิดของตนเอง และ Mazano (1998) มีความเห็น ที่ ว่า การกํากับ ตนเองในการเรี ย นมี ค วามเหมาะสมกับ ผูเ้ รี ยนในระดับอุดมศึกษา ดังที่ Pintrich (1995) ได้กล่าว ว่า การกํากับตนเองในการเรี ยนเหมาะกับบริ บทของการ เรี ยนในมหาวิทยาลัย เพราะถ้านักศึกษาสามารถควบคุม 252


4) ขอบเขตของการวิจัย ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการกํากับการเรี ยนบนเว็บ 3 แบบ คือ 1) การกํากับตนเองบนเว็บ 2)การกํากับ จากภายนอกบนเว็บ 3) การกํากับตนเองรวมกับการ กํากับจากภายนอกบนเว็บ และวิธีสอนเสริ มในชั้น เรี ยน 2 แบบ ได้แก่ 1) การทดสอบย่อยพร้อมเฉลย และอภิปราย 2) การบรรยายสรุ ปโดยติวเตอร์ และ เพื่อนช่วยสอน ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน และทักษะการกํากับตนเอง • การออกแบบการเรี ยนแบบผสมผสาน การวิจยั ครั้ง นี้ เป็ นการจัดการเรี ยนแบบผสมผสาน ระหว่างการ เรี ยนออนไลน์ 9 สัปดาห์และ การสอนเสริ มในชั้น เรี ย น 4 สัป ดาห์ และมี กิ จ กรรมปฐมนิ เ ทศ สอบ กลางภาคและปลายภาค รวมเวลาเรี ยนทั้งสิ้ น 16 สัปดาห์ •

2) วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 2.1) เพื่อศึกษาผลของวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บที่ต่างกัน ในการเรี ยนแบบผสมผสาน ที่ ส่ ง ผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นและทักษะการกํากับตนเองของนักศึ ก ษา ระดับปริ ญญาบัณฑิต 2.2) เพื่อศึกษาผลของวิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนที่ต่างกัน ในการเรี ยนแบบผสมผสานที่ ส่ ง ผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นและทักษะการกํากับตนเองของนักศึ ก ษา ระดับปริ ญญาบัณฑิต 2.3) เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีกาํ กับการเรี ยนบน เว็ บ และวิ ธี ส อนเสริ มในชั้ นเรี ยนในการเรี ยนแบบ ผสมผสาน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการ กํากับตนเองของนักศึกษาระดับปริ ญญาบัณฑิต

5) ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรในการวิจยั นี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปริ ญญาบัณฑิต • กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั นี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปริ ญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ ลงทะเบียนเรี ยนรายวิชาอินเทอร์ เน็ตและการ สื่ อสารสื่ อสารในชีวิตประจําวัน(Internet and Communication in Daily Life) ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2554 จํานวน 120 คน จํานวน 6 กลุ่มๆ ละ 20 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง มี เกณฑ์การพิจารณาเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจยั คือ ทั้ง 6 กลุ่มต้องมีผสู้ อนคนเดียวกันและใช้ การสุ่ มอย่างง่ายโดยการจับฉลากเพื่อจัดเข้ากลุ่ม ทดลอง •

3) สมมติฐานการวิจัย จากเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ผูว้ จิ ยั จึงตั้งสมมติฐาน การวิจยั ดังนี้ 3.1) นักศึกษาที่ได้รับวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บต่างกันใน การเรี ย นแบบผสมผสานจะมี ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น และทั ก ษะการกํ า กั บ ตนเองแตกต่ า งกั น ที่ ระดั บ นัยสําคัญ .05 3.2) นักศึกษาที่ได้รับวิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนต่างกันใน การเรี ย นแบบผสมผสานจะมี ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น และทั ก ษะการกํ า กั บ ตนเองแตกต่ า งกั น ที่ ระดั บ นัยสําคัญ .05 3.3) มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บและ วิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนในการเรี ยนแบบผสมผสาน ที่ ส่ งผลต่อผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการกํากับ ตนเองที่ระดับนัยสําคัญ .05

253


ตารางที่ 1: จํานวนกลุ่มตัวอย่างตามแบบแผนการทดลอง ตัวแปร Quiz & Discussion Tutor & Peer tutoring รวม

SRL กลุ่มที่ 1 20 คน กลุ่มที่ 2 20 คน 40 คน

ERL กลุ่มที่ 3 20 คน กลุ่มที่ 4 20 คน 40 คน

SERL กลุ่มที่ 5 20 คน กลุ่มที่ 6 20 คน 40 คน

เรี ยน 4) การบริ หารเวลาและแก้ปัญหาการเรี ยน 5) การขอความช่วยเหลือ 6) การทบทวนและจดจํา 7) การทบทวนข้อสอบ 8) การจัดสภาพแวดล้อมการ เรี ยน 9) การให้รางวัลและการลงโทษ • การกํากับจากภายนอกบนเว็บ: ERL เป็ นวิธีการที่ ผูเ้ รี ยนได้รับการติดตามความก้าวหน้าในการเรี ยน จากผูส้ อน และเพื่อนร่ วมเรี ยนโดยตรงผ่าน e-mail (เฉพาะสัป ดาห์ ก ารเรี ย นออนไลน์) ซึ่ งผูเ้ รี ย นจะ ได้รั บ มอบหมายให้ ช่ ว ยติ ด ตามความก้า วหน้ า เกี่ยวกับการเรี ยนของเพื่อนร่ วมเรี ยน ซึ่ งเรี ยกว่า eBuddy ทาง e-mail สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ร่ วมกับผูส้ อน ติดตามความก้าวหน้าเกี่ยวกับการเรี ยนโดย e-mail ถึ งผูเ้ รี ยนโดยตรงสัปดาห์ ละ 1 ครั้ ง แนวทางการ กํา กับ การเรี ยนผ่ า น e-mail ได้แ ก่ 1) การ ประเมิ น ผลงานและให้ผ ลป้ อนกลับ 2) การแจ้ง ประกาศข่าวหรื อเตือนความจํา 3) การแนะนํากล ยุ ท ธ์ ก ารเรี ยนและแหล่ ง ข้อ มู ล 4) การตอบข้อ ซัก ถาม 5) การถามถึ ง ความก้า วหน้า หรื อ สภาพ ปั ญหาในการเรี ยน 6) การส่ งเอกสารการเรี ยนที่ น่าสนใจ 7) การเพิ่มความคาดหวังทางวิชาการที่มี ต่อเพื่อนหรื อผูเ้ รี ยน • การกํากับตนเองร่ วมกับการกํากับจากภายนอกบน เว็บ: SERL เป็ นวิธีการที่ผเู้ รี ยนใช้โปรแกรมบันทึก การกํากับตนเองในการเรี ยนเพื่อควบคุมการเรี ยน ของตนเอง ร่ วมกับวิธีการที่ผเู้ รี ยนได้รับการติดตาม ความก้า วหน้า ในการเรี ย นจากผูส้ อน และเพื่ อ น ร่ วมเรี ยนโดยตรงผ่าน e-mail • การทดสอบย่ อยพร้ อมเฉลยและอภิปราย (Quiz & Discussion) เป็ นวิ ธี ก ารพบปะหน้ า กัน โดยตรง ระหว่างติวเตอร์ กบั ผูเ้ รี ยน ที่ จดั ให้มีการสอบย่อย แล้ว เฉลยให้ผูเ้ รี ย นรู้ ค าํ ตอบ ตอบข้อ สงสั ย ของ ผูเ้ รี ย น อธิ บ ายเพิ่ม เติ มและเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ย น แสดงความคิ ด เห็ น โต้ต อบระหว่ า งผู ้เ รี ยนใน ประเด็นที่เกี่ยวข้อง มีข้ นั ตอนการจัดกิจกรรมการ เรี ย นการสอนดังนี้ 1) ผูเ้ รี ยนทําข้อ สอบย่อยตาม เวลาที่กาํ หนด 2) ผูส้ อนเฉลยคําตอบและตอบข้อ สงสัยของผูเ้ รี ยน 3) ผูส้ อนอธิ บายเพิ่มเติมและเปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ร่ ว ม อ ภิ ป ร า ย 4 ) ผู้ ส อ น

รวม 60 คน 60 คน 120 คน

6) เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ 1) เว็บไซต์รายวิชาที่ใช้ใน การเรี ยนการสอนออนไลน์ 2) โปรแกรมบันทึกการ กํากับตนเองในการเรี ยนบนเว็บ 3) แบบวัดทักษะการ กํา กับ ตนเองในการเรี ยน มี ล ัก ษณะเป็ นมาตราส่ ว น ประมาณค่า 5 ระดับ จํานวน 52 ข้อ ซึ่ งมีค่าความเที่ยง (Cronbach’a Alpha) ของแบบวัดทั้งฉบับเท่ากับ 0.929 4) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน รายวิชาอินเทอร์ เน็ตและ การสื่ อ สารในชี วิ ต ประจํา วัน แบบปรนัย เลื อ กตอบ 5 ตัวเลื อ ก จํานวน 35 ข้อ ซึ่ งมี ค่าความเที่ ยง (KR-20) เท่ากับ 0.808 5) แผนการเรี ยนรู้ ซึ่ งเป็ นแผนที่ผสมผสาน ตามวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บและการสอนเสริ มในชั้น เรี ยนที่แตกต่างกัน ได้แก่ วิธีการกํากับการเรี ยนบนเว็บ 3 แบบ และการสอนเสริ มในชั้นเรี ยน 2 แบบ ได้แผนการ เรี ยนรู้ ที่แสดงรายละเอียดเกี่ ยวกับเนื้ อหา กิจกรรมการ เรี ยนและงานมอบหมาย กิ จกรรมผูส้ อน สื่ อการสอน และการประเมินผล จํานวน 16 สัปดาห์ • การกํากับตนเองบนเว็บ: SRL เป็ นวิธีการที่ ผูเ้ รี ยนใช้โปรแกรมบันทึ กการกํากับตนเองใน การเรี ยนเพื่ อ ควบคุ ม การเรี ยนของตนเอง สัปดาห์ละ 1 ครั้ ง (เฉพาะสัปดาห์การเรี ยน ออนไลน์) โปรแกรมบันทึกการกํากับตนเองใน การเรี ยนนี้ เป็ นโปรแกรมที่ กาํ หนดให้ผูเ้ รี ยน บั น ทึ ก ก า ร เ รี ย น ข อ ง ต น เ อ ง ตั้ ง แ ต่ ก า ร ตั้งเป้ าหมาย การลงมื อเรี ยนและเตื อนตัวเอง การประเมินตนเอง โดยโปรแกรมกระตุน้ ให้ ผูเ้ รี ยนใช้กลยุทธ์การกํากับตนเอง 9 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) การประเมินตนเอง 2) การกําหนด เป้ าหมายการเรี ยน 3) การกําหนดกลยุทธ์การ 254


8) วิธีดําเนินการทดลอง •

การบรรยายสรุ ปโดย ติวเตอร์ และเพื่อนช่ วย สอน (Tutor & Peer tutoring) เป็ นวิธีพบปะ หน้ากันโดยตรงระหว่างติวเตอร์ กบั ผูเ้ รี ยน ที่มี การมอบหมายให้ผเู้ รี ยนแสดงบทบาทการเป็ น ติวเตอร์ เพื่อช่วยสอนเพื่อนตามที่ ผูเ้ รี ยนได้รับ มอบหมายหัว ข้อ ไว้ และมี ก ารบรรยายสรุ ป เนื้ อหาโดยติวเตอร์ มีข้ นั ตอนการจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอนดังนี้ 1) เลือกผูเ้ รี ยนที่จะเป็ น ติ ว เตอร์ และมอบหมายประเด็ น ให้ ศึ ก ษา ล่ ว งหน้า (ผู้เ รี ยนทุ ก คนจะถู ก เปลี่ ย นกัน ทํา หน้า ที่ ติ ว เตอร์ ค รบทุ ก คน) 2) ผูเ้ รี ย นแสดง บทบาทการเป็ นติวเตอร์ ในชั้นเรี ยน 3) ผูส้ อน บรรยายเพิ่มเติม และตอบข้อสงสัยของผูเ้ รี ยน 4) ผู้ ส อนประเมิ นผลการเรี ยน โดย มอบหมายให้ผเู้ รี ยนทํางานในคาบเรี ยน

ใช้เวลาในการทดลองทั้งหมด 1 ภาคเรี ยน จํานวน 16 สัปดาห์ มีข้ นั ตอนการดําเนินการทดลองดังนี้ 8.1) ให้กลุ่มตัวอย่างทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและ แบบวัดทักษะการกํากับตนเองในการเรี ยนก่อนเรี ยน 8.2) ดําเนินการทดลองการเรี ยนแบบผสมผสานตามแผนการ เรี ยนรู้ เป็ นเวลา 16 สัปดาห์ ได้แก่ การปฐมนิ เทศการเรี ยน สั ป ดาห์ แ รก การเรี ยนออนไลน์ 9 สั ป ดาห์ (สั ป ดาห์ ที่ 2,3,5,6,9, 10,11,13,14) การสอนเสริ มในชั้นเรี ยน 4 สัปดาห์ (สัปดาห์ที่ 4,7,12,15) รวมทั้งการสอบกลางภาค ในสัปดาห์ ที่ 8 และการสอบปลายภาคในสัปดาห์ที่ 16 8.3) หลังดําเนิ นการทดลองแล้ว ให้กลุ่มตัวอย่างทั้ง 6 กลุ่ม ทําแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและแบบวัดทักษะ การกํากับตนเองในการเรี ยนหลังเรี ยน

9) สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล

7) แบบแผนการทดลอง

นําผลที่ได้จากการทดลองมาวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยวิธีการทาง สถิติ โดยใช้โปรแกรม SPSS for Window ดังนี้ • การวิเคราะห์ความถี่และร้ อยละลักษณะทัว่ ไปของ กลุ่มตัวอย่าง • การวิ เคราะห์ ค่ าเฉลี่ ย และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน และคะแนน ทักษะการกํากับตนเองในการเรี ยนทั้งก่อนและหลัง เรี ยน • การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดี ยว (One-Way ANOVA) เพื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่างกลุ่มตัวอย่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน • การวิเคราะห์ ความแปรปรวนร่ วมตัวแปรพหุ นาม (Two-Way MANCOVA) ของคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและคะแนนทักษะการกํากับตนเองใน การเรี ยนหลังทดลอง

การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงทดลองมีแบบแผนการทดลอง แบบแฟคทอเรี ยล 3x2 ตามวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บและ วิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนที่แตกต่างกัน มีการทดสอบก่อน และหลังการทดลอง (pretest-posttest 3X2 factorial Design)

O11 O12 O13 O14 O15 O16

X1 X2 X3 X4 X5 X6

O21 O22 O23 O24 O25 O26

รู ปที่ 1: แบบแผนการทดลอง เมื่อ O แทนการสังเกตการณ์หรื อการวัด (O=observation) Oij แทนการวัดครั้งที่ i ของกลุ่ม j X แทนการจัดกระทําหรื อการทดลอง (X=experiment)

255


10.3) ผลการวิเคราะห์ ความแปรปรวนร่ วมตัวแปรพหุนาม (two-way MANCOVA)

10) ผลการวิจยั 10.1) การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ นของกลุ่มตัวอย่ าง กลุ่มตัวอย่างในการทดลองครั้ งนี้ เป็ นเพศหญิ ง (ร้ อยละ 74.2) มากกว่ า เพศชาย (ร้ อ ยละ 25.8) ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ระดับชั้นปี ที่ 3 (ร้อยละ 85.0) ได้เกรดเฉลี่ยระหว่าง 2.513.00 (ร้ อ ยละ 34.2) และส่ ว นใหญ่ ศึ ก ษาอยู่ใ นคณะ วิทยาลัยการเมื องการปกครอง (ร้ อยละ 24.2) รองลงมา คือ คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม (ร้อยละ 23.3)

ตารางที่ 2: ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรพหุ นาม ของตัวแปรผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น และทัก ษะการกํากับ ตนเองในการเรี ยน ระหว่างวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บและวิธี สอนเสริ มในชั้นเรี ยนเมื่อขจัดอิทธิ พลจากผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนก่อนเรี ยนออก

10.2) การวิเคราะห์ เพือ่ ตรวจสภาพก่อนการทดลอง

แหล่งความ แปรปรวน ผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรี ยน (covariate) วิธีกาํ กับการ เรี ยน

จากการเปรี ย บเที ย บความแตกต่ า งของค่ า เฉลี่ ย คะแนนผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นและทัก ษะการกํา กับ ตนเองในการเรี ยนก่อนเรี ยนของกลุ่มตัวอย่าง 6 กลุ่มด้วย การวิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวนทางเดี ย ว (One-Way ANOVA) พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนในการเรี ยนก่ อ นเรี ยนของกลุ่ ม ตัว อย่ า งทั้ ง 6 แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F = 2.543, p = .032) แต่ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการกํากับ ตนเองในการเรี ยนก่อนเรี ยนของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 6 ไม่ แตกต่ า งกัน อย่า งมี นัย สํา คัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .05 (F = .629, p = .678) เนื่ อ งจากการวิ จั ย ครั้ งนี้ ผู้วิ จั ย ไม่ ส ามารถจั ด ห้องเรี ยนใหม่เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมี ผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนเท่ า เที ย มกั น ผู้วิ จั ย จึ ง ต้ อ งขจั ด อิ ท ธิ พลอั น เนื่องมาจากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยน โดยนําเอา คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนเข้าเป็ นตัวแปร ร่ วม (covariate) เพื่อทําการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่ วม ตัวแปรพหุ นามแบบสองทาง (two-way MANCOVA) ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบว่า ผลของการใช้วธิ ีกาํ กับการเรี ยนบน เว็บและวิธีส อนเสริ มในชั้นเรี ยนที่ แตกต่างกันมี ผลต่อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน และทักษะการกํากับตนเองใน การเรี ยนหลังเรี ยนของกลุ่มตัวอย่างแตกต่างกันหรื อไม่

วิธีสอนเสริ ม

วิธีกาํ กับการ เรี ยน*วิธี สอนเสริ ม ความ คลาด เคลื่อน รวม

ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ ทักษะการ กํากับตนเอง ผลสัมฤทธิ์ ทักษะการ กํากับตนเอง ผลสัมฤทธิ์ ทักษะการ กํากับตนเอง ผลสัมฤทธิ์ ทักษะการ กํากับตนเอง ผลสัมฤทธิ์ ทักษะการ กํากับตนเอง ผลสัมฤทธิ์ ทักษะการ กํากับตนเอง

SS

df

MS

F

254.492 .038

1 1

254.492 .038

20.869 .265

.000 .608

101.934 1.069

2 2

50.967 .534

4.179 3.771

.018* .026*

20.661 .233

1 1

20.661 .233

1.694 1.647

.196 .202

44.927 .186

2 2

22.464 .093

1.842 .656

.169 .521

1378.008 16.011

113 113

12.195 .142

61840.000 1672.429

120 120

*p<.05

จากตารางที่ 2 พบว่า 1) นักศึกษาที่ ใช้วิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บต่างกันในการ เรี ยนแบบผสมผสานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนและทักษะการ กํากับตนเองในการเรี ยนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (F = 4.179, p = .018 และ F = 3.771, p = .026 ตามลําดับ) 2)นักศึกษาที่ ได้รับวิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนที่ ต่างกันใน การเรี ยนแบบผสมผสานมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะ การกํากับตนเองในการเรี ยนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 (F = 1.694, p = .196 และ F = 1.647, p = .202 ตามลําดับ) 256

p


3)ไม่มีปฏิ สัมพันธ์ระหว่างวิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บ และวิธีสอนเสริ มในชั้นเรี ยนในการเรี ยนแบบผสมผสาน ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการกํากับ ตนเองในการเรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F = 1.842, p = .163 และ F = .656, p = .521 ตามลําดับ)

จากตารางที่ 4 พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้วิธีการกํากับจาก ภายนอก (ERL) กับกลุ่มตัวอย่างที่ ใช้วิธีการกํากับตนเอง (SRL) มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .05 และกลุ่ ม ตัว อย่า งที่ ใ ช้วิ ธี ก ารกํา กับ ตนเองร่ วมกับการกํากับจากภายนอก (SERL) กับกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้วิธีการกํากับตนเอง (SRL) มีผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตารางที่ 3: ผลการเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนรายคู่ดว้ ยวิธี LSD ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับวิธีกาํ กับ การเรี ยนบนเว็บแตกต่างกัน 3 แบบ วิธีกาํ กับ การเรี ยน บนเว็บ SRL ERL SERL *p<.05

21.049 23.176 22.875

SRL

ERL

SERL

21.049

23.176

22.875

.000 -

2.127* -

1.827* .301 -

9) อภิปรายผล ผลการวิจยั พบว่า นักศึ กษาที่ ใช้วิธีการกํากับตนเองร่ วมกับ การกํากับจากภายนอก (SERL) มีทกั ษะการกํากับตนเองใน การเรี ย นมากกว่า นัก ศึ ก ษาที่ ใ ช้วิธี ก ารกํา กับ จากภายนอก (ERL) อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ .05 ซึ่ งในการวิจยั ครั้งนี้ ผูเ้ รี ยนที่ใช้วิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บแบบ SERL จะต้องเข้า บัน ทึ ก ผ่านโปรแกรมบัน ทึ ก การกํา กับ ตนเองในการเรี ย น เป็ นโปรแกรมที่ ออกแบบให้ผูเ้ รี ยนต้องตอบคําถามตนเอง (Self-questioning) เกี่ยวกับกระบวนการเรี ยนรู้ของตนเอง ตามขั้น ตอนการกํา กับ ตนเอง 3 ขั้น ตอน ได้แ ก่ ขั้น การ ตั้งเป้ าหมายและการวางแผนกลยุทธ์ ขั้นการนํากลยุทธ์ไปใช้ และการตรวจสอบ และขั้น การประเมิ น ตนเองและการ ตรวจสอบ แสดงให้เ ห็ น ว่า ผลการวิจัย เป็ นไปในทิ ศ ทาง เดียวกับ Kramarski and Gutman (2006) ที่พบว่า การตั้ง คํา ถามกับ ตนเองเป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยสนับ สนุ น การรู้ คิ ด (metacognition) เกี่ ยวกับกระบวนการเรี ยนรู้ ของตนเอง เพราะทํา ให้ผูเ้ รี ย นสร้ า งเป้ าหมายเกี่ ย วกับ การเรี ย นย่อ ยๆ ขึ้ นมา เลื อกกลยุท ธ์การเรี ยนที่ เหมาะสม และประเมิ นผล ความก้าวหน้าในการเรี ยนของตนเอง คําถามจะช่วยชี้ นาํ ให้ ผูเ้ รี ย นมี ค วามสนใจกระบวนการเรี ย นรู้ ข องตนเองอย่า ง เฉพาะเจาะจงขึ้น ประกอบกับการมี ปฏิ กิริยาตอบกลับของ ผูส้ อนและเพื่อน จึงช่วยให้ผเู้ รี ยนติดตามและประเมินผลการ เรี ยนรู้ของตนเอง (Ge,Chen and Davis, 2005; Kramarski and Gutman, 2006; Lin, 2001) นอกจากนี้ Kramarski and Michalsky (2009) พบว่า การที่ ผูเ้ รี ยนได้ตอบคําถามกับ ตัวเองในสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู้แบบ e-Learning สามารถ ช่ วยผูส้ อนในการกํากับการเรี ยน เพราะธรรมชาติ ของการ เรี ยนแบบ e-Learning ไม่ได้สนับสนุ นเกี่ยวกับทิศทางการ สอนที่ให้แต่ความรู้เท่านั้น แต่ยงั สนับสนุนให้ผเู้ รี ยนกําหนด

จากตารางที่ 3 พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิธีการกํากับจาก ภายนอก (ERL) กับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิธีการกํากับตนเอง (SRL) มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแตกต่างกันอย่างมี นัย สํา คัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ .05 และกลุ่ ม ตัว อย่า งที่ ใ ช้ วิ ธี ก ารกํา กับ ตนเองร่ วมกั บ การกํา กับ จากภายนอก (SERL) กับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิธีการกํากับตนเอง (SRL) มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแตกต่างกัน อย่างมี นัย สําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ตารางที่ 4: ผลการเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยทักษะการกํากับ ตนเองรายคู่โดยใช้วิธี LSD ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับวิธี กํากับการเรี ยนบนเว็บแตกต่างกัน 3 แบบ วิธีกาํ กับการ เรี ยน บนเว็บ SRL ERL SERL *p<.05

3.725 3.593 3.824

SRL

ERL

SERL

3.725

3.593

3.824

.000 -

.132 -

.099 .231* -

257


ชั้นเรี ยนเป็ นระยะๆ จํานวน 4 สัปดาห์ โดยการเรี ยนออนไลน์ จะแยกออกจากการสอนเสริ มในชั้นเรี ยนคนละสัปดาห์กนั ดังนั้นอาจเป็ นไปได้วา่ การออกแบบการเรี ยนแบบผสมผสาน ที่ แ ยกการเรี ยนออนไลน์ กับ การเรี ยนในชั้น เรี ยนคนละ สัปดาห์อย่างชัดเจน ทําให้วิธีกาํ กับการเรี ยนบนเว็บและวิธี สอนเสริ มในชั้นเรี ยนไม่ร่ วมกันส่ งผลต่อ ทักษะการกํากับ ตนเองและสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ผลการวิจัย พบว่านัก ศึ ก ษาที่ ได้รั บ วิธี ส อนเสริ ม ในชั้น เรี ยนที่ ต่างกันในการเรี ยนแบบผสมผสานมี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและทักษะการกํากับตนเองในการเรี ยนไม่ แตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะการสอนเสริ มทั้งสองแบบต่างก็ต่อให้เกิด การมีส่วนร่ วมในการเรี ยนอย่างมุ่งมัน่ โดยการสอนแบบ Quiz&Discussion ทําให้นักศึกษาแต่ละคนเกิ ดความ กระตืนรื อร้นจากกระบวนการที่มีการทดสอบทุกสัปดาห์ ในส่ วนการสอนแบบ Tutor& Peer tutoring ซึ่ งในการ วิ จัย ครั้ งนี้ ออกแบบให้ นัก ศึ ก ษาจํา นวน 5 คน ได้รั บ มอบหมายให้เป็ นติวเตอร์ ประจําสัปดาห์ โดยที่นกั ศึกษา ที่ เหลื อเป็ นผูเ้ รี ยน กระบวนการติวเตอร์ จะมี ผูส้ อนช่วย บรรยายสรุ ปเพิ่มเติม และตอบข้อซักถามของผูเ้ รี ยนหาก มี ข ้อ สงสั ย กระบวนการที่ มี ผู้ส อนช่ ว ยบรรยายสรุ ป เพิ่ ม เติ ม และคอยตอบข้อ ซั ก ถามนี้ อาจเป็ นสาเหตุ ใ ห้ นักศึกษาแม้ไม่ได้ทาํ หน้าที่เป็ นติวเตอร์ในสัปดาห์น้ นั ๆ ก็ ตาม มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น ในการเรี ย นด้ว ยเช่ น กัน อี ก ประการหนึ่ง เนื่องจากการวิจยั ครั้งนี้อยูใ่ นบริ บทของการ จัดการเรี ยนการสอนจริ ง มีการประเมินผลการเรี ยน ของรายวิชา อาจเป็ นสาเหตุที่ทาํ ให้นักศึกษาแสดงออก ซึ่ ง พฤติ ก รรมการกํา กับ ตนเองไม่ ว่า จะได้รั บ การสอน เสริ มแบบใดก็ตาม

เอกสารอ้ างอิง กนกพร ฉันทนารุ่ งภักดิ์. (2548). การพัฒนารู ปแบบการสอน บนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรี ยนการสอนแบบ ร่ วมมือในกลุ่มการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา มหาบัณฑิต, สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design วิทยาการ ออกแบบการเรี ยนการสอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ตาํ ราและเอกสารทาง วิชาการ คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 158-159. ดิเรก ธีระภูธร. (2546). การใช้กลวิธีการกํากับตนเองในการ เรี ยนบนเครื อข่ายคอมพิวเตอร์สาํ หรับนิสิต นักศึกษาระดับปริ ญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและ สื่ อสารการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ปณิ ตา วรรณพิรุณ. (2551). การพัฒนารู ปแบบการเรี ยนบน เว็บแบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็ นหลักเพื่อ พัฒนาการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณของนิสิตปริ ญญา บัณฑิต. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผลการวิจยั พบว่า ไม่มีปฏิ สัมพันธ์ระหว่างวิธีกาํ กับการ เรี ย นบนเว็บ และวิธี ส อนเสริ ม ในชั้น เรี ย นในการเรี ย น แบบผสมผสาน ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและ ทัก ษะการทัก ษะการกํา กับ ตนเองในการเรี ย นอย่า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจยั ไม่เป็ นไปตาม สมมติฐาน อาจเนื่องมาจากในการวิจยั ครั้งนี้ออกแบบการ เรี ยนแบบผสมผสานที่มีการเรี ยนแบบออนไลน์ จํานวน 9 สัปดาห์ และแทรกด้วยการสอนเสริ มแบบเผชิญหน้าใน

Aksu, M. (1983). Effect of formative Evaluation in School Achievement. Dissertation Abstracts International 43 (February 1983). Alvarez, S. Blended learning solutions. In B. Hoffman (Ed.), Encyclopedia of Educational Technology [Online]. (2005). Available from:http://coe.sdsu.edu/eet/articles /blendedlearning/start.htm [2008, October 10]. Azovedo, R., Moos, D.C., Greene, J.A., Winters, F.I., and Cromley J.G. (2007). Why is externally-

258


facilitated regulated learning more effective than self regulated learning with hypermedia? Education Tech Research Dev 56: 45-72. Bangert-Drowns, R.L., Kulick, J.A., and Morgan, M.T. (1991). The instructional effect of feedback in test-like events. Review of Educational Research 61(2): 213-238. Baron, K. (2008). Teaching Strategies that Promote Self-Regulated Learning in the Online Environment. Journal of Instruction Delivery Systems 21(2): 13-16. Bersin, J. (2004). The blended learning book: Best practices, proven methodologies and lessons learned. San Francisco: Pfeiffer Publishing. Butler, D.L. and Winne, P.H. (1995). Feedback and self-regulated learning: a theoretical synthesis. Review of Educational Research 65: 245-281. Chadwick, S. A., & McGuire, S. P. (2004). Effect of relational communication training for tutors on tutee course grades. The Learning Assistance Review 9(2): 29-40. Dabbagh, N., and Kitsantas, A. (2005). Using webbased pedagogical tools as scaffold for self-regulated learning. Instructional Science 33: 513-540. Driscoll, M. Blended Learning: Let’s get beyond the hype. Learning and Training Innovations Newsline [Online]. (2002). Available from: http//www.ltimagazine [2008, September 4]. Ge, X., Chen, C.H., and Davis, K.A. (2005) Scaffolding novice instructional designers’ problem-solving processes using question prompts in a Web-based learning environment. Journal of Educational Computing Research 33(2): 219-248. Hadwin, A.F., Wozney, L., and Pontin, O. (2005). Scaffolding the appropriation of selfregulatory activity: A socio-cultural analysis of changes in teacher-student discourse about a graduate research portfolio. Instructional Science 33: 413450. Harriman, G. (2005). What is Blended Learning? ELearning Resourse [Online]. (2006). Available from: http://www.grayharriman.com/blended_lea rning.htm [2008, January 29]. Jonassen, D.H. and Hung, W. (2008). All Problems are Not Equal: Implications for ProblemBased Learning. Journal of Problem-based Learning 2(2):6-28. Kramarski, B., and Gutman, M. (2006). How can self-regulated learning be supported in mathematical e-learnig environments? Journal of Computer Assisted Learning 22: 24-33. Kramarski, B., and Michalsky, M. (2009). Investigating preservice teachers’

professional growth in self-regulated learning environments. Journal of Educational Psychology 101(1): 24-33. Lynch, R. and Dembo, M. (2004). The Relationship Between Self-Regulation and Online Learning in a Blended Learning Context. The International Review of Research in Open and Distance Learning 5(2): 1-17. Marzano, R. J. (1998). A theory-based meta-analysis of research on instruction. Aurora, CO: MidContinental Regional Educational Laboratory. Pintrich, R. R., and DeGroot, E. V. (1990). Motivational and self-regulated learning components of classroom academic performance, Journal of Educational Psychology 82: 33-40. Pintrich, P.R. (1995). Understanding Self-Regulated Learning. In P. Pintrich (Ed.), Understanding Self-Regulated Learning. San Francisco, CA: Jossey-Bass. Thorne, K. (2003). Blended learning: how to integrate online and traditional learning. London: Kogan. Underbakke, M., Borg, J. M., and Peterson, D. (1993). Researching and developing the knowledge base for teaching higher order thinking. Theory into Practice 32(3): 138-146.

259


แนวทางการติดต่อสื่อสารผ่านอีเลิร์นนิง: การตระหนักถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศในกลุม่ อาเซียน Guideline of Communication through e-Learning: Cultural Difference Awareness of ASEAN Member countries จิรวัฒน์ วัฒนาพงษ์ศิร1ิ , ศศิธร ลิจันทร์พร2, สุนัชชา ศุภธรรมวิทย์3 1 นิสิตปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (mercurial.limit@gmail.com) 2

นิสิตปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (li.sasitorn@gmail.com)

3

นิสติ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (c9o_tanntanz@hotmail.com)

ติด ต่ อ สื่ อ สารคลาดเคลื่ อ นได้ และในปั จ จุบั น อี เ ลิ ร์ น นิ ง มี บทบาทสาคัญในการเรียนการสอน ซึ่งองค์ประกอบของอี เลิร์ นนิง นั้น ประกอบด้วย (1) ระบบการจัด การเรี ยนรู้ ( 2) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (3) การประเมินผลการเรียน และ (4) การติดต่อสื่อสาร

ABSTRACT According to the summoning of 10 ASEAN countries, differences in culture can be misinterpreted which can lead to cultural conflict. In addition, currently e-Learning plays an important role in teaching which consist of 4 vital elements including (1) Learning Management System: LMS (2) electronic courseware (3) learning evaluation, and (4) communication.

โดยบทความนี้จะให้ความสาคัญกับองค์ประกอบที่ 4 นั่นคือ การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ซึ่ ง น าเสนอแนวทางในการสร้ างความ เข้ าใจเกี่ย วกับ สิ่ ง ที่ พึ ง กระท าและไม่ พึ ง กระท าของแต่ ล ะ วัฒนธรรม และเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคม อาเซียนในปี 2558 ยกตัวอย่างเช่น วิธีการใช้คาพูดในกลุ่ม การใช้สีในการส่งข้อความ การใช้รูปที่ล่อแหลมและอาจแปล เป็นอื่นได้โดยง่าย และการพาดพิงถึงสิ่งที่แต่ละวัฒนธรรม นั้นนับถือ การเตรียมความพร้อมดังกล่าว จะเสริมสร้างความ เข้ า ใจในความแตกต่ า งทางวั ฒ นธรรมในประเทศกลุ่ ม อาเซียนได้ดียิ่งขึ้น นาสู่การติดต่อสื่อสารผ่านอีเลิร์นนิง อย่าง มีประสิทธิภาพต่อไป

This paper will highlight on the forth element of e-Learning, which is the communication, to exhibit the common cultural understanding. Such understanding includes what is appropriate and what is not appropriate for each culture in order to prepare all member countries for ASEAN Community in the year 2015. Examples that will be covered within this paper are expression usage within online community, usage of colors in sending messages, usage of pictures that can be easily misinterpreted, and the discussion delicate matter of each culture. In such well-equipped of cultural awareness of all ASEAN member countries, it would effectively enhance ways of communication through e-Learning among all member countries.

คาสาคัญ: อีเลิร์นนิง, อาเซียน, การคานึงถึงความแตกต่างทาง วัฒนธรรม

Keywords: e-Learning, ASEAN, Cultural Difference Awareness.

บทคัดย่อ

1) บทนา

การรวมตัวกันของ 10 ประเทศเป็นประชาคมอาเซียนซึ่ง มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม อ า จ ท า ใ ห้ ก า ร

อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) 265


ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการก่ อ ตั้ ง อาเซี ย น คื อ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความเข้ า ใจอั น ดี ต่ อ กั น ระหว่ า งประเทศใน ภูมิภาค ธารงไว้ซึ่งสันติภาพเสถียรภาพ และความมั่นคง ทางการเมื อง สร้ างสรรค์ ความเจริ ญ ก้าวหน้ าทางด้ า น เศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดี อยู่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและ ผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก ซึ่งปัจจุบันมี ประเทศสมาชิกรวมทั้งสิ้น 10 ประเทศ ได้แก่ (1) บรูไน ดารุสซาลาม (2) ราชอาณาจักรกัมพูชา (3) สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย (4) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (5) มาเลซีย (6) สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (7) สาธารณรัฐ สิงคโปร์ (8) ราชอาณาจักรไทย (9) สาธารณรัฐสังคม นิยมเวียดนาม และ (10) สหภาพพม่า ประกอบด้วยความ ร่วมมือ 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความ มั่ น คงอาเซี ย น (ASEAN Political and Security Community–APSC) ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community–AEC) และประชาคม สั ง คมและวั ฒ นธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC) ( ส า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ศึกษาธิการ, 2554)

เหล่านั้นได้ ดังนั้นจึงถือว่าเป็นเรื่องที่มีความจาเป็นอย่างยิ่ง ในการเรียนรู้วัฒนธรรมต่างๆ อันเป็นแนวทางอันดีที่จะช่วย ให้การติดต่อสื่อสารนั้นเป็นไปอย่างราบรื่น และเกิดอุปสรรค น้อยที่สุด การติดต่อสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ที่มีความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด มีความทันสมัย เป็นที่นิยมมากที่สุด และ สามารถติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น ได้ ทั่ ว โลก คงหนี ไ ม่ พ้ น การ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นทางอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ อี เ ลิ ร์ น นิ ง (eLearning) ไม่ ว่ า จะเป็ น การแช็ ท (Chat) การส่ ง ไปรษณี ย์ อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) กลุ่มข่าวกระดานอภิปราย (Board) หรือบล็อก (Blog) เป็นต้น (ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550) โดย จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ ประกอบ กรณีกิจ (2552) ได้กล่าวว่า องค์ประกอบของอีเลิร์นนิงนั้นประกอบด้วย 1) ระบบการ จั ด การเรี ย นรู้ (Learning Management) 2) บทเรี ย น อิเล็กทรอนิกส์ (Courseware) 3) การประเมินผลการเรียน (Evaluation) และ 4) การติดต่อสื่อสาร (Communication) ซึ่ง หากทาการวิเคราะห์แล้วจะพบว่า 3 องค์ประกอบแรกนั้น เป็นองค์ประกอบที่สามารถสร้างขึ้นให้มีมาตรฐาน และเป็น สากล เป็นที่ยอมรับแต่คนทั่วไปได้ แต่องค์ประกอบในด้าน การติดต่อสื่อสารนั้น ผู้ออกแบบและพัฒนา รวมถึงผู้ใช้ ย่อม มีความจาเป็นที่จะต้องศึกษาวัฒนธรรมการติดต่อสื่อสารของ แต่ละประเทศ เพื่อให้ไม่เกิดปัญหาและอุปสรรคในขณะที่มี การเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการเรี ย นรู้ ผ่ า นอี เ ลิ ร์ น นิ ง ทั้ ง ทางด้านการใช้ภาษา หรือการแสดงความเป็นตนเองในทางที่ เหมาะสม และผู้อื่นสามารถยอมรับได้ ดังนั้นในบทความนี้ ผู้เขียนจึงเน้นไปที่เรื่องการติดต่อสื่ อสาร เพราะถือว่ามีความ เกี่ยวข้องและมีความจาเป็นมากที่สุดในการนาเสนอการสร้าง ความเข้ าใจเกี่ย วกับ สิ่ ง ที่ พึ ง กระท าและไม่ พึ ง กระท าของ วัฒนธรรมแต่ละประเทศ อันจะเป็นการสรุปข้อตกลงให้กับ ประชาชนที่ ต้ อ งการเข้ า มาแลกเปลี่ ย นการเรี ย นรู้ ผ่ า น อีเลิร์นนิงต่อไป

จากการประชุมสุดยอดอาเซียนในแต่ละปี และแต่ละครั้ง ทาให้ได้ข้อกาหนดในการขับเคลื่อนการรวมตัวกันเป็น ประชาชมอาเซียนภายในปี 2558 นั้น ทาให้ประชาชนทั่ว โลกให้ความสนใจกับการรวมตัวที่ จะเกิดขึ้นในครั้ง นี้ ดั ง นั้ น ประชาชนที่ เ ป็ น สมาชิ ก ประชาคมอาเซี ย นซึ่ ง ประกอบไปด้วย 10 ประเทศตามที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น จึง จาเป็นต้องมีหน้าที่ในการช่วยกันประชาสั มพันธ์ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ เพื่อให้คนทั่วโลกได้รับรู้ เพราะฉะนั้นจึง ควรมีช่องทางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ เรียนรู้ข้อมูลต่างๆ ของแต่ละประเทศ แต่ เนื่องด้วยแต่ละ ประเทศนั้ น ต่ างก็มี วั ฒ นธรรม และขนบธรรมเนี ย มที่ แตกต่างกันไป บางสิ่งมีความคล้ายคลึงกัน และหลายสิ่ง แตกต่างกัน ตั้งแต่ภาษา ความเชื่อต่างๆ การดาเนินชีวิต หรือแม้กระทั่งการติดต่อสื่อสารบนโลกออนไลน์ก็ตาม สิ่ ง ที่ ส าคั ญ คื อ เราไม่ อ าจปฏิ เ สธการเรี ย นรู้ ภ าษา วัฒนธรรม ตลอดจนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเพื่อนบ้าน

2) ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่ม อาเซียน ถึงแม้ว่าทั้ง 10 ประเทศในกลุ่มอาเซียนจะอยู่ในภูมิภาคเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เ ช่ น เดี ย วกั น แต่ เ มื่ อ กล่ า วถึ ง เรื่ อ ง 266


ขนบธรรมเนี ย มวั ฒ นธรรม จะเห็ น ได้ ว่ า มี ส่ ว นที่ คล้ายคลึงกันและมีความแตกต่างกันอยู่หลายประการ ซึ่ง ส่ ง ผลมาจากปั จ จั ย ทางภู มิ ศ าสตร์ แ ละความเชื่ อ ทาง ศาสนาของแต่ ล ะประเทศซึ่ ง สามารถสรุ ป ได้ ดั ง นี้ (ไพศาล ภู่ไพบูลย์, อังคณา ตติรัตน์ และปนัดดา มีสมบัติ งาม, 2551)

ตารางที่ 1: ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของประเทศในอาเซียน ประเทศ ภาษา คาทักทาย ประเทศไทย ภาษาไทย เป็นภาษา สวัสดี (Thailand) ราชการ (Sawadee) ภาษาเขมร เป็นภาษาราชการ กัมพูชา ซัวสเด รองลงมาเป็นอังกฤษ, (Cambodia) (Shuo Sa Dai) ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน ซาลามัต เซียง อินโดนีเซีย ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษา (Salamat (Indonesia) ราชการ Siang) ลาว ภาษาลาว เป็นภาษา สะบายดี (Laos) ราชการ (Sabaidee) ภาษามาเลย์ เป็นภาษา ซาลามัต ดาตัง มาเลเซีย ราชการ (Salamat (Malaysia) รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน Datang) มิงกาลาบา พม่า ภาษาพม่า เป็นภาษา (Mingalar (Myanmar) ราชการ Par) ภาษาฟิลิปิโน และภาษา อังกฤษ เป็นภาษาราชการ กูมุสตา ฟิลิปปินส์ รองลงมาเป็น สเปน, จีน (Kumusta) (Philippines) ฮกเกี้ยน, จีนแต้จิ๋ว ฟิลิปปินส์ มีภาษาประจา ชาติคือ ภาษาตากาล็อก เวียดนาม ภาษาเวียดนาม เป็นภาษา ซินจ่าว (Vietnam) ราชการ (Xin Chao) บรูไน ภาษามาเลย์ เป็นภาษา ซาลามัต ดาตัง ดารุสซาลาม ราชการ (Salamat (Brunei รองลงมาเป็นอังกฤษและ Datang) Darussalam) จีน ภาษามาเลย์ เป็นภาษา ราชการ หนีห่าว รองลงมาคือจีนกลาง สิงคโปร์ (Ni Hao) ส่งเสริมให้พูดได้ 2 ภาษา (Singapore) คือ จีนกลาง และให้ใช้ อังกฤษ เพื่อติดต่องานและ ชีวิตประจาวัน

2.1) ศาสนา ศาสนาสาคั ญที่เ ผยแผ่เข้ ามาและได้รั บการ

ยอมรับนับถือจากชนชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ได้แก่ พระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาที่ผู้คนส่วน ใหญ่ในประเทศไทย พม่า ลาว กัมพูชา ล้วนนับถือ ดังนั้น ประเพณี พิธีกรรมทางศาสนา ลัทธิความเชื่อต่างๆ ของ ประเทศประเทศไทย พม่ า ลาว กั ม พู ช า จึ ง มี ค วาม คล้ายคลึงกัน เช่น การทาบุญตักบาตร การสวดมนตร์ไหว้ พระ การให้ความเคารพพระสงฆ์ การนิยมให้บุตรหลาน เข้ารับการอุปสมบท เป็นต้น สาหรับประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย ประชากร ส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม จึ ง มี วั ฒ นธรรมแบบ อิ ส ลาม ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากคริ ส ต์ ศาสนา ประเทศสิ ง คโปร์ แ ละเวี ย ดนาม นั บ ถื อ หลาย ศาสนา โดยนับถือลัทธิธรรมเนียมตามแบบจีนเป็นหลัก ประเทศฟิลิปปินส์นั้นนับถือคริสต์ศาสนาประมาณ 85% (ส่วนใหญ่เป็น โรมันคาทอลิก) 10% เป็นมุสลิม และอีก 5% นั้นเป็นศาสนาอื่นๆ คนฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่นั้นเป็น คนรักศาสนา ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ดีถ้าจะเลี่ยงการพูดคุย ถึงประเด็นที่ล่อแหลม 2.2) ภาษา ประเทศเพื่อนบ้านที่มีการพูด เขียน คล้ายคลึง

กับประเทศไทยคือ ประเทศลาวเพียงชาติเดียวส่วนชาติ อื่ น ๆ จ ะ ใช้ ภาษ าขอ ง ตน ไม่ ว่ าจะ เ ป็ น ป ระ เ ท ศ พม่า เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ โดยที่ภาษาอังกฤษ และภาษาจี น เป็ น ภาษากลางที่ ใ ช้ ติ ด ต่ อ กั น ได้ ทั่ ว ทั้ ง ภูมิภาค

267


กระดานสนทนา หรือในห้องแชทนั้นควรจะเป็นรูปที่แต่ง กายมิ ด ชิด เพราะเป็น การให้เ กีย รติคู่ สนทนาจากประเทศ นั้ น ๆ และการเขี ย นนั้ น ควรเป็ น การเขี ย นที่ เ ป็ น ทางการ ยกเว้นแต่จะมีการสร้างความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นมากขึ้นแล้ว และทั้งสองฝ่ายไม่ถือโทษกัน

พิธีกรรม หากชาติใดที่มีรากฐานการนับ ถือศาสนาเป็นพระพุทธศาสนา ประเพณี พิธีกรรมต่างๆ ก็จะคล้ายคลึงกับของไทย เช่น การทาบุญเลี้ยงพระ การ เวี ย นเที ย นเนื่ อ งในวั น ส าคั ญ ทางศาสนา ประเพณี เข้าพรรษา เป็นต้น ส่วนประเพณีอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับ ศาสนา พบว่าหากเป็นประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกับ ประเทศไทย เช่น พม่า ลาว กัมพูชา จะมีหลายประเพณี คล้ายคลึงกับไทย เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอย กระทง เพียงแต่รายละเอียดของการจัดพิธีจะแตกต่างกัน ขณะเดี ยวกัน วัฒนธรรมในการแสดงความเคารพ โดย การไหว้ชาติเหล่านี้ก็จะมีธรรมเนียมการไหว้เช่นเดียวกัน 2.3) ประเพณี

สรุปได้ว่า จากความแตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศใน กลุ่มอาเซียน สามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเด็นใหญ่ๆ ดังนี้ (1) ศาสนา (2) ภาษา (3) ประเพณี พิธีกรรม และ (4) การแต่ง กาย จะเห็ น ได้ ว่าประเทศเพื่ อ นบ้ านที่ มี ดิ น แดนติ ด ต่ อ กับ ประเทศไทย เช่น ประเทศลาว พม่า และกัมพูชา จะมี วัฒนธรรม ความเชื่อและประเพณีที่ เหมือนหรื อคล้ายกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านศาสนา ที่ศรัทธานับถือศาสนาพุทธ กันเป็นส่วนใหญ่ ส่วนประชาชนบางจังหวัดในภาคใต้ของ ประเทศไทยที่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลามนั้ น จะพบว่ า มี ค วาม คล้ า ยคลึ ง กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ อ ยู่ ห่ า งออกไป เช่ น ประเทศมาเลเซีย บรูไน และอินโดนีเซีย เป็นต้น จึงทาให้มี วัฒนธรรมอีกรูปแบบหนึ่งที่แตกต่างกับประเทศไทย ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมในแต่ละสังคมนั้นมีความแตกต่าง กัน ขึ้นอยู่กับข้อจากัดทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากร และความเชื่อ ที่สืบ ทอดต่อ กันมา ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่แ สดงให้เ ห็น ถึงความเป็ น เอกลั กษณ์ ข องแต่ ล ะประเทศ จะเห็ น ได้ ว่าประเทศใดที่ มี ความคล้ า ยคลึ ง กั น ทางวั ฒ นธรรมจะสามารถสื่ อ สารได้ ตรงกันมากกว่าประเทศที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม

สาหรับชาติอื่นๆ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน จะมี ประเพณีพิธีกรรมตามแบบอิสลาม เวียดนามกับสิงคโปร์ จะมี ป ระเพณี พิ ธี ก รรมตามแบบจี น และมี วั ฒ นธรรม ตะวั น ตกเข้ า มาผสมผสาน ส่ ว นชาติ ที่ มี แ บบแผน ประเพณี พิธีกรรมเหมือนอย่างตะวันตก คือ ฟิลิปปินส์ วัฒนธรรมการทักทายในประเทศกลุ่มอาเซียนที่มีวิธีการ ทักทายที่คล้ายคลึงกัน เช่น ประเทศฟิลิปปินส์และบรูไน โดยวิธีการทักทายนั้นคือการจับมือ หรือ Shake Hands แต่สาหรับการทักทายผู้ที่อาวุโสกว่า การจับมืออาจจะไม่ เหมาะสม เพราะวั ฒ นธรรมการจั บ มื อ เพิ่ ง เริ่ ม ขึ้ น ใน ประเทศฟิลิปปินส์และ บรูไนได้ไม่นาน ดังนั้นเวลาเข้า หาผู้ที่อาวุโสกว่าควรโค้งตัวเล็กน้อย (เหมือนกับประเทศ ไทย) และไม่ควรจ้องตา เพราะจะแสดงถึงความก้าวร้าว

3) ข้อควรกระทา และไม่ควรกระทาของประเทศใน กลุ่มอาเซียน

2.4) การแต่ งกาย ผู้ คนในภู มิ ภาคเอเชี ยตะวัน ออกเฉี ย ง

ใต้ หากไม่นับชุดพื้นเมืองและชุดประจาชาติแล้ว จะแต่ง กายไม่ต่างกัน กล่าวคือสังคมเมืองในปัจจุบัน ผู้ชายสวม เสื้อ กางเกง ส่วนผู้หญิงสวมเสื้อ กางเกง หรือกระโปรง แต่ในชนบทผู้หญิงจานวนมากยังคงใส่ผ้าซิ่น อยู่ ทั้งนี้ชุด ประจาชาติของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ล้วนมี เอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ไม่เหมือนกัน เมื่อดูแล้วสามารถ บอกได้ทันทีว่าชุดแต่งกายนั้น เป็นของชนชาติใด

จากความแตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน ทาให้ประชาชนในแต่ละประเทศมีธรรมเนียม หรือมารยาท ในการประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นบางอย่ า งที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น และ แตกต่างกัน ตามแต่วัฒนธรรมของตนเองที่ได้รับการสั่งสอน และสื บ ทอดต่ อ กั น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น จึ ง กลายเป็ น ข้ อ ควร กระทา และไม่ควรกระทาของแต่ละประเทศ ซึ่งหากบุคคล ใดที่มีความจาเป็นต้องติดต่อสื่อสารหรือเดินทางเข้าไปในแต่ ละประเทศนั้ น ๆ ควรศึ กษาถึง ข้ อ ควรกระท า และไม่ ค วร กระท าอย่ า งละเอี ย ดถี่ ถ้ ว น เพื่ อ ให้ ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารนั้ น

ประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนามนั้น คานึงถึงเรื่อง ความสุภาพ เรียบร้อย ดังนั้นการโพสต์ภาพไม่ว่าจะใน 268


สัมฤทธิ์ผล และถูกต้องตามธรรมเนียมของประเทศนั้นๆ ดังตัวอย่างข้อควรกระทา และไม่ควรกระทาของประเทศ ในกลุ่มอาเซียน ต่อไปนี้

4) ช่องทางการติดต่อสื่อสาร เครื่องมือที่สามารถใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ นั้นมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบประสานเวลา (Synchronous) และแบบไม่ประสาน เวลา ( Asynchronous) ในปั จ จุ บั น มี เ ครื่ อ งมื อ อยู่ ห ลาย ประเภทที่ใช้ระบบออนไลน์ในการเชื่อมต่อ โดยเครื่องมือที่ นิยมใช้ในการเรียนอีเลิร์นนิ่ง ได้แก่ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ กระดานอภิปราย บล็อก และ แชท ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

3.1) สีสันในการติดต่อสื่อสารนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่ ง เพราะในประชาคมอาเซียนนั้นมีประเทศที่มีอิทธิพลจาก ประเทศจีนรวมอยู่ด้วย ดังนั้นการใช้สีแดงในการเขียน ชื่อ หรื อ ติ ดต่ อ สื่อ สารนั้ น ควรใช้ใ นทางที่ ถูกต้ อ ง เช่ น การเซ็นชื่อในเอกสารราชการนั้นไม่ควรเซ็นด้วยหมึกสี ดา เพราะทาให้ไม่สามารถระบุได้ว่าเอกสารชุดใดเป็น เอกสารสาเนาหรือตัวจริง ดังนั้นการใช้สีนั้นจึงขึ้นอยู่กับ สถานการณ์ แ ละเป็ น สิ่ ง ควรที่ จ ะสอบถามล่ วงหน้ าถึ ง ข้อจากัดนี้

4.1) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เป็นการสื่อสารแบบ ไม่ป ระสานเวลา ซึ่ งอยู่ ในรู ปแบบของจดหมายที่ สามารถ ส่ ง ไปถึ ง ผู้ รั บ ได้ จุ ด เด่ น ของการสื่ อ สารประเภทนี้ คื อ สามารถเจาะจงถึงรายบุคคล และสามารถส่งไฟล์ไปยังผู้รับ ได้โดยตรง

3.2) ควรตระหนั กว่ า ภาษาไทยและภาษาลาวมี ค วาม ใกล้เคียงและฟังเข้าใจกันได้ ดังนั้นพึงหลีกเลี่ยงการพูดจา ส่อเสียดหรือล้อ เลียนภาษาคาพู ดหรือเล่ าเรื่องเชิงตลก ขบขันที่ส่อไปในทางที่ให้เกิดความไม่เข้าใจระหว่างกัน

4.2) กระดานอภิปราย (Discussion board) เป็นการสื่อสาร แบบไม่ประสานเวลา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ให้ทั้งผู้เรียนและผู้ที่มี ความรู้มาแบ่งปันข้อมูลกันในพื้นที่ที่ทางเว็บนั้นได้จัดไว้ให้ ในการใช้กระดานอภิปรายนั้นผู้ใช้สามารถส่งไฟล์ให้แก่กัน ได้ในพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้ และยังเป็นการเผยแพร่ความรู้แก่ ผู้ใช้เว็บคนอื่นๆ อีกด้วย

3.3) วัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย และบรูไนดารุส ซาลามจะไม่ ใ ช้ มื อ ซ้ า ยในการรั บ - ส่ ง ของ หรื อ รับประทานอาหาร และไม่ควรชี้ด้วยนิ้วชี้ แต่ใช้นิ้วโป้ง แทนหรือใช้วิธีการผายมือขวาแทน

4.3) บล็อก (Blog) เป็นการสื่อสารแบบไม่ประสานเวลา เน้น ไปทางการบันทึกความรู้รายวัน และเป็นการเผยแพร่ความรู้ที่ สามารถตอบโต้ได้ระหว่างผู้ที่เข้ามาหาความรู้อีกด้วย

3.4) วัฒนธรรมของประเทศกัมพูชาและเวียดนามไม่ควร ห่อกระดาษของขวัญด้วยสีขาวเพราะถือว่าเป็นสีของการ ไว้ทุกข์ควรใช้กระดาษที่มีสีสัน 3.5) วั ฒ นธรรมของประเทศกั ม พู ช า ลาว พม่ า และ เวียดนามควรแต่งกายชุดสุภาพเรียบร้อยและมิดชิดเพราะ เป็นประเทศอนุรักษ์นิยม

4.4) แชท (Chat) เป็นการสื่อสารแบบประสานเวลา การ สื่อสารประเภทนี้นั้นเหมาะแก่การทางานเป็นกลุ่มที่ต้องการ การแลกเปลี่ยนความรู้อย่างรวดเร็ว และมีความสะดวกใน การส่งไฟล์ระหว่างผู้สนทนา

จากตัวอย่างที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น เป็นเพียงข้อควรกระทา และไม่ควรกระทาบางส่วนเท่านั้นของประเทศในกลุ่ม อาเซี ย นยั ง มี ธรรมเนี ย มและมารยาทในการประพฤติ ปฏิบัติตนอีกมากที่ควรศึกษาและเรียนรู้ไว้ เพื่อเป็นการ เตรี ย มตั ว ก่ อ นที่ ป ระเทศไทยจะก้ า วเข้ า สู่ ป ระชาคม อาเซียนในอีก 3 ปี ข้างหน้า ได้อย่างมั่นใจ

โดยแนวทางการติดต่อสื่อสารผ่านอีเลิร์นนิงนั้น อาจแบ่งได้ เป็น 3 ส่วนหลักๆ ได้แก่ (1) การติดต่อสื่อสารสาหรับการ แนะนาตัวเอง (2) การติดต่อสื่อสารสาหรับการเข้าร่วม กิจ กรรมกลุ่ ม และ (3) การติ ด ต่ อ สื่ อ สารสาหรั บ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 269


ตารางที่ 1: การตระหนักถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน ตามแนวทางการติดต่อสื่อสาร ผ่านอีเลิร์นนิง ช่องทางการ การตระหนักถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม แนวทางการติดต่อสื่อสาร ติดต่อสื่อสารที่ ของประเทศในกลุม่ อาเซียน ผ่านอีเลิร์นนิง เหมาะสม ไปรษณีย์ 1. การติดต่อสือ่ สาร ข้อพึ งกระทา: ควรทักทายด้ วยภาษาที่ เป็ นทางการ บอกชื่อ และ นามสกุลให้เป็นที่รู้จัก และควรบอกเล่าสิ่งที่ตนสนใจเพื่อทาให้คู่ สาหรับการแนะนาตัวเอง อิเล็กทรอนิกส์ กระดานอภิปราย สนทนานั้นรู้ว่าคุณต้องการจะสนทนาเรื่องอะไร บล็อก และ แชท สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง: สีสันในการติดต่อกับประเทศที่มี เชื้อสายจีน เช่น ประเทศสิงคโปร์ เป็นต้น การนาสีแดงมาเขียนในความเชื่อของ คนจีนนั้นถือว่าสีแดงเป็นสีของเลือดจึงไม่ควรนามาเขียนชื่อ ยกเว้น ระบุแน่ชัดว่าให้เขียนด้วยสีแดง เช่นเซ็นชื่อในเอกสารราชการนั้น ห้ามเขียนด้วยสีเพราะเกรงว่าจะแยกไม่ออกว่า เป็นสาเนาหรือตัว จริง กระดานอภิปราย 2. การติดต่อสือ่ สาร ข้อพึงกระทา: การให้เกียรติผู้อื่นในวงสนทนานั้นมีความสาคัญยิ่ง และ แชท เพราะการที่มีบุคคลจากหลายเชื้อชาติเข้าร่วมสนทนานั้น เป็นการ สาหรับการเข้าร่วม สร้างสัมพันธ์ไมตรีต่อชาติอื่น เช่นเมื่อมีผู้ใดกาลังพูดอยู่นั้น เราควร กิจกรรมกลุ่ม ตั้งใจฟังและไม่มองไปที่จุดอื่น

3. การติดต่อสือ่ สาร สาหรับการแลกเปลี่ยน เรียนรู้

ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ กระดานอภิปราย บล็อก และ แชท

สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง: ในบางครั้งการพูดจาตลกขบขันเพื่อเพิ่มให้ บรรยากาศนั้นดูสนุกสนานมากขึ้น อาจเป็นการล้อเลียนโดยมิได้ ตั้งใจ เช่ น เมื่ออยู่ในกลุ่ม สนทนา ไม่ควรล้อ เลียนชาวฟิลิปปิน ส์ เพื่อให้เกิดการเสียหน้าท่ามกลางผู้เข้าร่วมการสนทนา หรือการนา รูป ที่ ได้ ไ ปเที่ ย วในสถานที่ ต่างๆ มาเป็ น เรื่อ งตลกขบขั น เพราะ แท้จริงแล้วอาจเป็นการลบหลู่สถานที่ดังกล่าวของผู้ร่วนสนทนาได้ ข้อพึงกระทา : ในการติดต่อสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ต้องระวัง การใช้คาถาม เช่น บางประเทศอาจจะมีความละเอียดอ่อนทางด้าน ศาสนา การตั้งคาถามอาจจะเริ่มต้น ว่า “คุณคิด ยังไงเกี่ยวกับ ...” หรือ “จริงหรือไม่...” โดยเน้นเป็นคาถามที่ต้องการความคิดเห็น จากเจ้าของประเทศ สิ่งที่ ควรหลีก เลี่ ยง : ควรหลี กเลี่ยงคาถามหรือ วาจาเชิ งกล่าวหา ประเทศใดประเทศหนึ่งในลักษณะการกล่าวหาโดยรวม เช่น ชาว พม่ามักลักลอบเข้าประเทศไทยเพื่อมาเป็นแรงงานต่างด้าวและทา ให้ชาวไทยนั้นหางานได้ยากขึ้น

270


การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศนั้ น ควรมี การศึ กษาถึ ง ความแตกต่ างของแต่ ล ะประเทศว่ า มี สิ่ง ใดบ้างที่อาจสร้างความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนได้ เพราะแต่ ละประเทศนั้นมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันจึงเป็นสิ่งจาเป็น ที่จะต้องคานึงถึงความละเอียดอ่อนของกันและกัน โดยมี วัตถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยนความรู้เป็นหลักเพื่อสาย สั ม พั น ธ์ ที่ แ น่ น แฟ้ น มากขึ้ น ในประชาคมอาเซี ย นสื บ ต่อไป

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2554). ASEAN. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://203.172. 142.8/en/index.php?option=com_ content&view=article&id=4&Itemid=21

[1 สิงหาคม 2554] AEC ศูนย์ข้อมูลความรู้ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. (2555). สมาชิกอาเซียน มีประเทศใดบ้าง [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www. thai-aec.com/what-national-in-aec [1

สิงหาคม 2555]

เอกสารอ้างอิง

Muthuchamy, M. (2012). How to Introduce Yourself. [Online]. Available from: http://www.thai-aec.com/what-national-in-

จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ ประกอบ กรณีกิจ. Pedagogybased Hybrid Learning: จากแนวคิดสู่การ ปฏิวัติ. วารสารครุศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1. ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional design: วิธี วิทยาการออกแบบการเรียนการสอน อิเล็กทรอนิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ศูนย์ ตาราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไพศาล ภู่ไพบูลย์, อังคณา ตติรัตน์ และ ปนัดดา มีสมบัติ งาม. (มปป.) หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การดาเนินชีวิตในสังคม ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. โรงเรียนตรีภัทร. (2551). คากล่าวทักทาย (ภาษา ประเทศสมาชิกอาเซียน). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.triphathara.com /news.php?readmore=61 [1 สิงหาคม 2555] สถานเอกอัครราชทูต ณ บันดาร์เสรีเบกาวัน. (2551). ข้อควรรู้ และข้อควรกระทาในประเทศบรูไน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.thai

aec

embassybrunei.org/index.php?lay=show& ac=article&Id=5391 22658 [1 สิงหาคม

2555] สถานเอกอัครราชทูตไทย ประจาประเทศลาว. (2007). ข้อพึงปฏิบัติเมื่อมาเที่ยวในประเทศลาว. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www. louangprabang.net/LPBDetail.asp?ID=360

[1 สิงหาคม 2555] 271

[2012, August 1]


แนวโน้มการใช้โออีอาร์ : แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดในกลุ่มประชาคมอาเซียน Tendency of OER Use: Open Educational Resources in ASEAN Community

สุกานดา จงเสริมตระกูล1, จิรภา อรรถพร2 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (sukandajong@gmail.com) 2

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(autthaporn.j@gmail.com)

อยู่ในประเทศแถบอเมริกาและยุโรป แต่ในปัจจุบันประเทศ สมาชิกของประชาคมอาเซียนหลายประเทศเริ่มมีการใช้งาน แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดมากขึน โดยเห็นได้ จากงานวิ จั ย และข่ า วสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งอั น แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความรู้ ค วามเข้ า ใจและการใช้ ง านแหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึ กษาแบบเปิ ด ในกลุ่ ม ประชาคมอาเซี ย นจ้ านวนมาก บทความนีจึงจะพูดถึงแนวโน้มการใช้แหล่งทรัพยากรด้าน การศึกษาแบบเปิดในกลุ่มประชาคมอาเซียนอันเป็นประเด็น ที่น่าติดตามเป็นอย่างยิ่ง

ABSTRACT Open Educational Resources (OER) include teaching, learning, and research resources that reside in the public domain on the internet which allow to free re-use and in unlimited proposing. Typically, OER consists of full courses, content, and learning materials’ capacity to get knowledge. The sharing community in Open Educational Resources increase opportunity for students, teacher, and anyone who interested to simply access to high quality and universal educational resources. From the review of related literature, it was found that almost OER developers and users exist in America and Europe. However, many ASEAN member countries have been starting to use OER in their countries lately as they were presented on related researches and news determined acknowledgements and use of OER in ASEAN. The paper will discuss about the tendency of OER uses since it seems to be very interesting issues to follow up.

คาสาคัญ : แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด , โออีอาร์, แหล่ ง ทรั พ ยากรการเรี ย นรู้ ฟ รี , แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึกษาแบบเปิดในกลุ่มประชาคมอาเซียน

1) ความเป็นมา

Keywords: Open Educational Resources, OER, free leaning resources, OER in ASEAN

แนวคิดของการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด (Open Educational Resources) นัน เป็นแนวคิดของการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมี หัวใจส้าคัญอยู่ที่การแบ่งปันแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่ มี คุ ณ ภาพสู่ สั ง คมโลกเพื่ อ น้ า ไปใช้ ป ระโยชน์ ท างด้ า น การศึกษาได้อย่างเสรี

บทคัดย่อ แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด (โออี อ าร์ ) หมายถึง แหล่งทรัพยากรด้านการสอน การเรียนรู้ และ การศึ ก ษาวิ จั ย ภายใต้ ค วามเป็ น สาธารณะสมบั ติ บ น อิ น เตอร์ เ น็ ต ที่ อ นุ ญ าตให้ น้ า ไปใช้ ซ้ า ได้ โ ดยไม่ เ สี ย ค่าใช้จ่ายและไม่จ้ากัดรูปแบบ อันประกอบด้วยหลักสูตร เต็ม เนือหา เครื่องมือการเรียนรู้อันน้ามาซึ่งความรู้ การ แบ่งปันความรู้ของแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบ เปิดเพิ่มโอกาสให้ครู นักเรียน และบุคคลที่สนใจเข้าถึง แหล่ ง ความรู้ ที่ ดี แ ละมี ค วามเป็ น สากลได้ ง่ ายขึ น จาก การศึกษาพบว่ากลุ่มนักพัฒนาและผู้ใช้ส่วนใหญ่เดิมจะ

แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดนันมีจุดเริ่มต้นมาจาก โครงการขององค์การ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก (UNESCO) ที่ร่วมมือกับ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ มสซาชู เ ซตส์ (Masschusetts Institute of Technology หรือ MIT) สถาบันอุดมศึกษาที่มี ชื่อเสียงด้านเทคโนโลยีของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยได้ท้า 272


ก า ร พั ฒ น า สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ บ บ เ ปิ ด ( Open Courseware) บนเว็บ ไซต์ส้า หรับ การศึก ษาขันสู ง ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ ห้ ก ลุ่ ม ประเทศก้ า ลั ง พั ฒ นาสามารถ น้าไปใช้ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายและไม่มีข้อจ้ากัดในการใช้ งาน ความส้าเร็จของโครงการท้าให้แนวคิดในการพัฒนา และแบ่งปันความรู้แก่มวลมนุษชาติได้รับการยอมรับใน ชื่อของ “ แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ” หรือ “โออีอาร์” (Open Educational Resources หรือ OER)

จากค้าจ้ากัดความของแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ตามที่ โออี อ าร์ ค อมมอนส์ไ ด้ ใ ห้ ไว้ นั น จะเห็น ได้ ว่าแหล่ ง ทรั พยากรด้านการศึ กษาแบบเปิ ดไม่ ได้ จ้ากัดรู ปแบบของ ความรู้ที่น้ามาแบ่งปั น ซึ่งสามารถเป็นได้ทังเครื่องมือและ วิธีการทางการศึกษาในการเข้าถึงแหล่งความรู้อันก่อให้เกิด การเรียนรู้ โดยน้าทรัพยากรมาเผยแพร่ให้เข้าถึงได้โดยไม่มี ค่าใช้ จ่ายเกี่ย วกับลิ ขสิ ทธิ์ ทางปัญ ญาในเชิ งการค้า ซึ่ งเพิ่ ม โอกาสในการเข้ า ถึ ง ความรู้ ที่ ดี แ ละมี คุ ณ ภาพจากแหล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดที่มีกระจายอยู่ทั่วโลกได้ ตรงตามความสนใจ แต่อย่างไรก็ตามรูปแบบของการเผยแพร่ ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด ยั ง มี เ งื่ อ นไขส้ า คั ญ อี ก ประการหนึ่งคือการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบ เปิดผ่านอินเทอร์เนต

(UNESCO, 2002; West and Victor, 2011)

2) ค าจ ากั ด ความของแหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึกษาแบบเปิด หลั ง จากที่ อ งค์ ก าร การศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้เผยแพร่แนวความคิด ในการใช้ แหล่ งทรัพ ยากรด้านการศึกษาแบบเปิ ดในปี พ.ศ. 2545 แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดก็ได้ถูก น้าไปพัฒนาและใช้งานอย่างกว้างขวางทั่วโลก ท้าให้มี ความหมายของแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด เกิดขึนหลายความหมายซึ่งถูกนิยามแตกต่างกันออกไป ตามบริบทการใช้งานขององค์การ สถาบัน หรือบุคคล โออีอาร์คอมมอนส์ (OERcommons ) เว็บไซต์ เครื อ ข่ า ยของการแลกเปลี่ ย นแหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึกษาแบบเปิดได้ให้ค้าจ้ากัดความที่ได้รับการยอมรับ และน้ า ไปใช้ อ้ า งอิ ง กั น โดยทั่ ว ไป โดยมี ใ จความว่ า “ แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด หมายถึง แหล่ง ทรั พ ยากรด้ า นการสอน การเรี ย นรู้ และงานวิ จั ย ที่ เผยแพร่สู่สาธารณชนภายใต้ลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทาง ปั ญ ญาที่ อ นุ ญ าตให้ ผู้ อื่ น น้ า ทรั พ ยากรไปใช้ ห รื อ เปลี่ย นแปลงเพื่ อใช้ งานตามความต้องการได้โดยไม่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ย แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด ประกอบด้ วยหลั กสู ต รเต็ ม รู ป แบบ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ น หลักสูตร หน่วยการเรียน หนังสือเรียน วิดีโอสตรีมมิ่ง แบบทดสอบ โปรแกรม และเครื่ อ งมื อ อื่ น ๆ รวมถึ ง เทคนิควิธีการอันน้าไปสู่การเข้าถึงความรู้ได้ ” (Atkins,

พอล เวสต์ อดี ต ผู้ อ้ า นวยการฝ่ า ยการจั ด การความรู้ แ ละ เทคโนโลยี สารสนเทศขององค์ การเครื อ จั กรภพแห่ ง การ เรียนรู้ (Commonwealth of Learning หรือ COL) และลอร์ เรน วิคเตอร์ กล่าวว่าแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่ไม่เสีย ค่าใช้จ่ายนันมีมาหลายทศวรรษตังแต่ยุคก่อนที่อินเทอร์เนต จะเป็นที่รู้จักและใช้งานกันอย่างแพร่หลาย โดยอาจจะอยู่ใน รูป แบบของเอกสารหรื อ หนั ง สื อ ที่ ตี พิม พ์ ขึ นเพื่ อ เผยแพร่ ความรู้ด้านต่างๆ แต่เพราะข้อจ้ากัดด้านงบประมาณที่ท้าให้ ไม่สามารถตีพิมพ์เอกสารหรือหนังสือเพื่อแจกจ่ายไปทั่วโลก การเผยแพร่ทรัพยากรด้านการศึกษาผ่านอินเทอร์เนตจึงช่วย ขจัดปัญหาในด้านความต้องการใช้งานทรัพยากรซ้าได้โดย ไม่จ้ากัดจ้านวนครังและสามารถกระจายทรัพยากรนันไปทั่ว โลกได้ในทุกที่ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เนต แหล่งทรัพยากร ด้านการศึกษาแบบเปิดจึงจ้าเป็นต้องอยู่ในรูปของสื่อดิจิทัลที่ สามารถน้ าไปเผยแพร่ ผ่ านอิ น เทอร์ เ นตได้ (West and Victor, 2011 ) จากค้ากล่าวของพอล เวสต์และลอร์เรน วิก เตอร์ ชี ให้ เ ห็ น ว่ า แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด จ้าเป็นจะต้องพัฒนาขึนในรูปแบบของสื่อดิจิทัล โดยอาจจะ สร้ างขึ นใหม่ ห รื อ น้ าเอกสารและเครื่ อ งมื อ ที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว มา ปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของสื่อดิจิทัลเพื่อน้าไปเผยแพร่ผ่าน อินเทอร์เนตก็ได้

Brown and Hammond, 2007)

กล่าวโดยสรุปคือ แหล่งทรัพ ยากรด้านการศึกษาแบบเปิ ด หมายถึง แหล่งรวบรวมสื่อดิจิทัล อันได้แก่ เครื่องมือและ 273


เทคนิ ควิ ธีการที่ เกี่ยวข้อ งกับ การสอน การเรีย นรู้ และ งานวิ จั ย อั น น้ า ไปสู่ ก ารเข้ า ถึ ง องค์ ค วามรู้ ส้ า หรั บ นั ก การศึกษา ผู้สอน ผู้เรียน และบุคคลที่สนใจ โดยเผยแพร่ ผ่านอินเทอร์เนตภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปิดที่อนุญาต ให้น้าทรัพยากรไปใช้หรือปรับเปลี่ยนเพื่อใช้ให้ตรงตาม ความต้องการโดยไม่มีค่าใช้จ่าย

3. องค์ ป ระกอบด้ า นการน าไปใช้ ได้ แ ก่ ลิ ข สิ ท ธิ์ ข อง ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาในการเผยแพร่ เ ครื่ อ งมื อ หลั ก การ ออกแบบของการปฏิบัติที่ดีที่สุด และการแปลภาษา จากองค์ประกอบของแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ที่มูลนิธิวิลเลียมและฟลอรา ฮิวเลทได้อธิบายไว้นัน จะเห็นว่า องค์ประกอบสองส่วนแรกก่อ ให้เกิดแหล่ง ทรัพยากรด้าน การศึกษาขึน ส่วนองค์ประกอบส่วนที่สามคือองค์ประกอบ ด้านการน้าไปใช้ อันมีเรื่องของลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทาง ปัญญารวมอยู่ด้วยนัน เป็นองค์ประกอบประการส้าคัญที่ท้า ให้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดแตกต่างจากแหล่ง ทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีอยู่โดยทั่วไปดังจะกล่าวถึงใน หัวข้อต่อไป

3) องค์ ป ระกอบของแหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึกษาแบบเปิด แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดนันมีความหมายที่ กว้ า งและครอบคลุ ม ถึ ง สิ่ ง ที่ เ กี่ย วข้ อ งทั งหมดที่ ท้ าให้ สามารถเข้ า ถึ ง ความรู้ แ ละก่ อ ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ไ ด้ รูปแบบการพัฒนาแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบ เปิดจึงไม่มีข้อก้าหนดในการพัฒนาที่ตายตัว การจะระบุ ชัดเจนว่าแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่เราเข้าไปสืบค้น ข้อมูลที่ต้องการนันเป็นแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษา แบบเปิดหรือไม่ จึงจ้าเป็นต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบที่ ที่แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดพึงมีด้วย

4) ค วา ม ส า คั ญ ขอ ง สั ญ ญา อนุ ญ าต แบ บเ ปิ ด (Open Licenses)

การสืบค้นทรัพยากรจากแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาบน อินเทอร์เนตเป็นวิธีการเข้าถึงความรู้ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย และนิยมใช้กันโดยทั่วไป หากแต่เรื่องของกฎหมายเกี่ยวกับ ลิขสิทธิ์ทางปัญญานันเป็นอุปสรรคส้าคัญในการใช้แหล่ง ทรัพยากรด้านการศึกษาบนอินเทอร์เนต การคัดลอก แก้ไข และน้ามาใช้ซ้าอาจก่อให้เกิดปัญหาในการละเมิดลิขสิทธิท์ าง ปัญญาได้ ในบางกรณีแ ม้จะมีการแสดงข้อ ความในแหล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดว่าอนุญาตให้น้าไปใช้ไ ด้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายแล้วก็ตาม แต่กฎหมายเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ของ แต่ละประเทศก็มีรายละเอียดที่แตกต่างกันออกไป ข้อความ อนุ ญ าตให้ น้ า ไปใช้ โ ดยไม่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยจึ ง อาจจะไม่ เ พี ย ง พอที่จะท้าให้ผู้ใช้ในบางประเทศสามารถใช้แหล่งทรัพยากร ด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด ได้ อ ย่ า งเสรี ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ต้องการ จากเหตุผลดังกล่าวพบว่าการใช้แหล่งทรัพยากรด้าน การศึกษาแบบเปิดจะเกิดประโยชน์สูงสุดส้าหรับทุกประเทศ ทั่วโลกนันก็ต่อเมื่อมีลักษณะและรายละเอียดของการอนุญาต ที่เป็นมาตรฐานสากล

มูลนิธิวิลเลียมและฟลอรา ฮิวเลท ผู้ให้การสนับสนุนและ ความร่วมมือในการพัฒนาแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษา แบบเปิ ด แก่ อ งค์ ก าร การศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ตังแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน อธิ บ ายว่ า แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด ประกอบด้วย (The William and Flora Hewlett Foundation, 2005)

1. องค์ประกอบด้านเนื้อหาในการเรียนรู้ ได้แก่ หลักสูตร เต็มรูปแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เนือหาตามหน่วย การเรียน สื่อการเรียนรู้ ชุดสื่อประสม และบทความ 2. องค์ประกอบด้านเครื่องมือ ได้แก่ - ชุดโปรแกรมที่ใช้เพื่อการพัฒนา ใช้งาน ปรับปรุง และ เผยแพร่เนือหาในการเรียนรู้ - ระบบจัดการเนือหาและการจัดการเรียนการสอน - เครื่องมือพัฒนาเนือหา - สังคมการเรียนรู้ออนไลน์

274


ตารางที่ 1 ตารางแสดงภาพสัญลักษณ์และชนิดของสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ที่มา : Creative Commons, 2012 หลักการส้าคัญของการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษา แบบเปิดก็คือความยืดหยุ่นในการใช้งานที่ผู้ใช้สามารถ น้ า ทรั พ ยากรไปใช้ ซ้ า หรื อ ปรั บ เปลี่ ย นได้ ต ามความ ต้องการ แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดจึงควร ประกาศให้ มีค วามเป็ นสาธารณะสมบั ติโ ดยใช้ สัญ ญา อนุญาตแบบเปิด (Open Licenses) อันหมายความถึง สัญญามาตรฐานที่แสดงการยินยอมและข้อจ้ากัดในการ เข้าถึง ใช้งาน ปรับเปลี่ยน ใช้ซ้า หรือเผยแพร่ผลงานที่ สร้างสรรค์ขึน ไม่ว่าจะเป็นเสียง ข้อความ รูปภาพ สื่อ มัลติมีเดีย หรือผลงานรูปแบบอื่นที่ปรากฏ (Butcher อ้าง ถึงใน UNESCO and COL, 2011) สัญญาอนุญาตแบบ เปิดนันมีลักษณะของความเป็นมาตรฐานสากล กล่าวคือ เนือหาที่ปรากฏในสั ญญาเป็น ที่รู้จักและใช้กันทั่ วโลก เมื่อน้าสัญญาอนุญาตแบบเปิดมาใช้ในแหล่งทรัพยากร ด้านการศึกษาแบบเปิดจะท้าให้ผู้พัฒนาและผู้ใช้เข้าใจ และยอมรั บ เงื่ อ นไขการอนุ ญ าตการใช้ ง านที่ ต รงกั น สัญญาอนุ ญาตแบบเปิด จึงมี ส่วนส้าคั ญอย่ างยิ่ งในการ ส่ ง เสริ ม การกระจายและการเพิ่ ม อั ต ราการใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดไปยังทั่วทุกมุมโลก

สัญญาอนุญาตแบบเปิดที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันคือ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons Licenses) ที่ คิ ด ค้ น ขึ นโดยองค์ ก ารครี เ อที ฟ คอมมอนส์ องค์การไม่แสวงผลก้าไรในประเทศสหรัฐอเมริกา สัญญา อนุ ญ าตครี เ อที ฟ คอมมอนส์ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการขยาย ขอบเขตการใช้ งานสื่อ ต่างๆให้ กว้ างขึนโดยไม่ มีข้ อจ้ ากัด และมีแบ่งแยกสัญญาอนุญาตย่อยส้าหรับการแจกจ่ายและใช้ ข้อมูลโดยต้องอ้างอิงถึงเจ้าของลิขสิทธิ์เดิม สัญญาอนุญาตครี เอทีฟคอมมอนส์ใช้ภาพลัญลักษณ์ในการแบ่งสัญญาอนุญาต ย่ อ ยและอธิ บ ายถึ ง ขอบข่ า ยการใช้ ง านที่ เ จ้ า ของลิ ข สิ ท ธิ์ ก้ า หนดไว้ โดยแสดงรายละเอี ย ดดั ง ตารางในตารางที่ 1 (Creative Commons, 2012)

ส่วนงานซีซีเลิร์นภายใต้ องค์การครีเอทีฟคอมมอนส์ได้ให้ ค้าอธิบายชนิดสัญญาแบบอ้างอิงแหล่งที่มา (CC BY) ว่าเป็น สัญญาที่อนุญาตให้คัดลอก แบ่งปัน ปรับเปลี่ยน และสร้าง ขึนใหม่ได้ตามความต้องการ แม้จะเป็นการใช้เพื่อการค้าก็ ตาม แต่มีค วามจ้าเป็น ต้องอ้างอิง ถึงแหล่งที่ม าของผลงาน ต้นฉบับเสมอ ชนิดสัญญาแบบอ้างอิงแหล่งที่มา จึงมีความ

275


เหมาะสมส้าหรับน้าไปแสดงการอนุญาตในการใช้แหล่ง ทรั พ ยากรด้ านการศึ กษาแบบเปิ ด มากที่ สุด (ccLearn,

เกิดจากอุปสรรคทางภาษาและการขาดความรู้ความเข้าใจที่ ถูกต้องส่งผลให้ประเทศสมาชิกบางประเทศไม่ตระหนักถึง ประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ จากการใช้ แ หล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึกษาแบบเปิด แต่อย่างไรก็ตามประเทศสมาชิกในกลุ่ม ประชาคมอาเซียนหลายประเทศเริ่มให้ความส้าคัญในการ พัฒนาและใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดอย่าง จริงจัง ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่จะกล่าวต่อไปนี

2009)

การแสดงภาพสัญลักษณ์ของสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอม มอนส์ โดยเฉพาะชนิดสัญญาแบบอ้างอิงแหล่งที่มาใน แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดนัน เป็นการแสดง การยิ นยอมจากเจ้าของแหล่ งทรัพ ยากรด้านการศึกษา แบบเปิดให้น้าทรั พยากรที่เผยแพร่ บนอินเทอร์เนตไป ใช้ได้ไม่จ้ากัดโดยไม่ต้องขออนุญาต เพียงแต่ต้องอ้างอิง ถึงแหล่งที่มาของทรัพยากรเท่านัน สัญญาแบบเปิดใน ลักษณะเดียวกันกับสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์จึง ถูกน้ามาใช้เพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกันในการใช้แหล่ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดทั่วโลก และนอกจากนี สั ญ ญาอนุ ญ าตแบบเปิ ด ยั ง ช่ วยให้ ผู้ ใ ช้ ส ามารถค้ น พบ แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดได้ง่ายขึนภายใต้ ข้อความหรือภาพสัญลักษณ์ของสัญญาอนุญาตแบบเปิด ที่ปรากฏอยู่ อันจะส่งผลให้แนวโน้ มของการใช้แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด เพื่ อ สนั บ สนุ น การ เรียนรู้สูงมากขึนตามด้วย

5.1) กรณีศึกษาประเด็นและแนวโน้มการใช้แหล่งทรัพยากร ด้านการศึกษาแบบเปิดในทวีปเอเชีย มหาวิทยาลัยเปิดวาวาซันแห่งประเทศมาเลเซียได้ท้าการวิจัย ศึ ก ษาประเด็ น และแนวโน้ ม การใช้ แ หล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึ กษาแบบเปิ ดในทวี ปเอเชี ย เป็ น ระยะเวลา 27 เดื อ น ตังแต่ปี พ.ศ. 2553 ถึง 2555 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส้ารวจ สภาพการใช้ ง าน ปั ญ หา และความต้ อ งการใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดของทวีปเอเชีย กลุ่มตัวอย่าง ของงานวิ จั ย เลื อ กจากประเทศในทวี ป เอเชี ย ซึ่ ง พบว่ า มี ประเทศสมาชิ ก ในกลุ่ ม ประชาคมอาเซี ย นรวมอยู่ ด้ ว ย 4 ประเทศ คือ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย โดยประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างแบบรายบุคคลและสถาบั น ตามข้อมูลที่ปรากฏในแผนภูมิรูปที่ 2

5) กรณีศึกษาการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษา แบบเปิดในกลุ่มประชาคมอาเซียน นับตังแต่ปี พ.ศ. 2545 ที่แนวคิดในการแบ่งปันความรู้ที่มี คุ ณ ภาพสู่ ม วลมนุ ษ ยชาติ ข ององค์ ก าร การศึ ก ษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติได้รั บ การยอมรับในชื่อของแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบ เปิด การใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดก็เริ่ม แพร่หลายในแถบทวีปอเมริกาและยุโรป มหาวิทยาลัย และสถาบั น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งหลายแห่ ง ได้ พั ฒ นาแหล่ ง ทรั พยากรด้านการศึ กษาแบบเปิด เพื่อ ให้ นักการศึกษา ผู้สอน ผู้เรียน และผู้ที่สนใจน้าความรู้ไปใช้ได้โดยเสรี โดยที่ แ หล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด นั นใช้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก นักพัฒนาและผู้ใช้ที่เข้าถึง แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ านการศึ กษาแบบเปิ ด จึ ง อยู่ ใ นกลุ่ ม ประเทศที่มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่ดี การกระจายตัว ของการใช้ แ หล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ กษาแบบเปิ ด สู่ ประชาคมอาเซียนจึงเป็นไปค่อนข้างช้าและไม่ทั่วถึง อัน

จากข้ อ มู ล การศึ ก ษาพบว่ า กลุ่ ม ตั ว อย่ า งมี ก ารใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดร้อยละ 65 ในขณะที่มีการ เผยแพร่เพียงร้อยละ 31 เท่านัน ซึ่งสาเหตุส้าคัญที่ท้าให้การ กระจายการใช้งานไม่ทั่วถึงนันมาจากการขาดความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด การ ขาดทักษะหรือกลยุทธ์ในการน้าไปใช้จัดการเรียนการสอน และความกั ง วลในเรื่ อ งการละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ข องผู้ อื่ น (Wawasan Open University, 2012)

276


6) แนวโน้มการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบ เปิดในกลุ่มประชาคมอาเซียน

5.2) กรณี ศึ ก ษาความพร้ อ มและการเริ่ ม ต้ น ในการใช้ แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด ของประเทศ อินโดนีเซีย

ในตั วอย่ างกรณี ศึ กษาประเด็ น และแนวโน้ ม การใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดในทวีปเอเชียที่กล่าวไปแล้ว นั น จะพบว่ า ปั ญ หาในการกระจายตั ว ของการใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดเกิดจากการขาดความรู้ การ ไม่มีกลยุทธ์การสอนที่ดี และความกังวลในเรื่องการละเมิด ลิขสิทธิ์ของเจ้าของผลงาน ซึ่งผลการศึกษานีเป็นแนวทางที่ดี ในการพัฒนาวิธีการเพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงและการใช้แหล่ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ด้วยการให้ความรู้ ความ เข้ าใจที่ ค รอบคลุ ม เรื่ อ งสั ญ ญาอนุ ญ าตแบบเปิ ด และการ พั ฒ นากลยุ ท ธ์ ก ารสอนที่ สามารถน้ าแหล่ ง ทรั พ ยากรการ

องค์ ก ารเพื่ อ การศึ ก ษา เปิ ด อั พ ติ ค มแห่ ง ประเทศ อินโดนีเซียได้เผยแพร่บทความเรื่องความพร้อมและการ เริ่มต้นในการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ในประเทศอินโดนีเซีย โดยกล่าวถึงจุดมุ่งหมายในการ พั ฒ นาการศึ กษาของประเทศที่ ต้ อ งการยกระดั บ การ เข้ า ถึ ง การศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพให้ เ พิ่ ม มากขึ นและการ แบ่ งปั นแหล่ ง ทรั พยากรด้ านการศึกษาอย่างเหมาะสม โดยได้ร่วมมือกับรัฐบาลและหน่วยงานการศึกษาหลาย

รูปที่ 2 แผนภูมิแสดงกลุม่ ตัวอย่าง : ประเด็นและแนวโน้มการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดในทวีปเอเชีย ที่มา : Wawasan Open University, 2012 แห่งท้าการวิจัยเพื่อศึกษาการยอมรับและปัจจัยแวดล้อมที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบการศึ ก ษาแบบเปิ ด และได้ ส ร้ า ง รูปแบบของระบบนิเวศน์การศึกษาแบบเปิด (The Open Education Ecosystem) ที่ประกอบด้วยปั จจัยภายใน และแรงขับจากภายนอก เพื่อใช้เป็ นรูปแบบในการท้ า ความเข้ า ใจและยอมรั บ การใช้ แ หล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น การศึ ก ษาแบบเปิ ด ที่ ม ากขึ น ( Aptikom Open

เรียนรู้แบบเปิดมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสิ่งส้าคัญที่ จะท้าให้การใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ได้รับ การเผยแพร่อย่างกว้างขวางนันคือการท้าให้เกิดการตระหนัก และยอมรั บ คุ ณ ค่ า ในการใช้ ง าน ดั ง เช่ น ที่ ป รากฏใน กรณี ศึ ก ษาความพร้ อ มและการเริ่ ม ต้ น ในการใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดในประเทศอินโดนีเซีย ที่ องค์การด้านการศึกษาและรัฐบาลร่ วมมือกันสร้างรูปแบบ ระบบนิเวศน์การศึกษาแบบเปิดเพื่อให้เกิดการยอมรับเพื่อ การน้าไปใช้ที่มากขึน

Education, 2012)

277


แม้จะยังไม่มีงานวิจัยหรือการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดในกลุ่มประชาคม อาเซี ย นโดยตรง แต่ จ ากตั ว อย่ า งกรณี ศึ ก ษาจะพบว่ า ประเทศสมาชิกของกลุ่มประชาคมอาเซียนหลายประเทศ มีการใช้แหล่ง ทรั พยากรด้านการศึ กษาแบบเปิ ดทั งใน บทบาทของผู้ใช้และนักพัฒนา อีกทังบางประเทศยังมี บทบาทส้าคัญในการเป็นผู้น้าด้านการใช้แหล่งทรัพยากร ด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด เช่ น องค์ ก าร การศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ และวั ฒ นธรรมแห่ ง สหประชาชาติ แ ห่ ง ประเทศไทย ได้เป็นตัวแทนภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในการ จั ด ประชุ ม เสวนาในหั วข้ อ นโยบายและการใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ในวันที่ 23-24 เมษายน พ.ศ. 2555 (UNESCOBKK, 2012) ที่ผ่านมา โดยมี ประเทศสมาชิ ก ของกลุ่ ม ประชาคมอาเซี ย นเข้ า ร่ ว ม น้าเสนอบทความหลายประเทศ อันได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ประเทศเหล่านันมีความเข้าใจและเห็นคุณค่าของการใช้ แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดเป็นอย่างดี อีกทัง ประเทศมาเลเซียหนึ่งในประเทศสมาชิกที่เป็นผู้น้าใน การใช้แ หล่ง ทรัพ ยากรด้ านการศึ กษาแบบเปิ ดในกลุ่ ม ประชาคมอาเซียนจะด้าเนินการจัดการประชุมสัมมนา เกี่ยวกับแหล่งทรั พยากรด้านการศึ กษาแบบเปิ ดขึนใน เดือนกันยายนปี พ.ศ. 2555 (OERAsia, 2012) ที่จะถึงนี อันแสดงให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องของ การพัฒนาการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิด ที่ประเทศสมาชิกในกลุ่มประชาคมอาเซียนมีโอกาสได้ เข้ า ร่ ว มเผยแพร่ ผ ลงานและแสดงความคิ ด เห็ น เพื่ อ กระจายการใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดให้ เป็นที่รู้จัก ได้รับการยอมรับ และมีประสิทธิ ภาพในกลุ่ม ประชาคมอาเซียนมากขึนด้วย

การศึกษาแบบเปิดในกลุ่มประชาคมอาเซียนสูงขึนตามมา ด้วย โดยกลุ่มประเทศผู้น้าจะเป็นก้าลั งส้าคัญในการสร้าง ความรู้ ค วามเข้ า ใจและขยายโอกาสที่ จ ะท้ าให้ ป ระชาคม อาเซียนเข้าถึงแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดได้อย่าง เสรีอันจะน้าไปสู่การพัฒนาการศึกษาซึ่งเป็นรากฐานส้าคัญ ของการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และเพิ่ ม ความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ ประชาคมอาเซียนได้เป็นอย่างดี เอกสารอ้างอิง Aptikom Open Education. (2012). Indonesia: OER Readiness and Initiatives. Retrieved from http://www.unescobkk.org/fileadmin/user_upl oad/ict/Workshops/OERforum2012/Unesco_O ER_Bangkok_-_Nizam.pdf Atkins, D., Brown, J., Hammond, A. (2007). A Review of the Open Educational Resources (OER) Movement: Achievements, Challenges, and New Opportunities. Retrieved from http://www.hewlett.org/uploads/files/Reviewo ftheOERMovement.pdf Creative commons. (2012). ccLearn. Retriveved from http://wiki.creativecommons.org/images/1/12/ Cclearn-information-flyer.pdf ccLearn. (2009). Explanations Remixing OER: A Guide to License Compatibility. Retrieved from http://learn.creativecommons.org/wpcontent/uploads/2009/10/cclearnexplanations-cc-license-compatability.pdf ccLearn. (2009). Otherwise Open Managing Incompatible Content within Open Educational Resources. Retrieved from http://learn.creativecommons.org/wpcontent/uploads/2009/09/Otherwise_Open_rep ort.pdf ccLearn. (2009). Why CC BY?: Some guidelines on applying Creative Commons, and particularly CC BY, as the preferred licensing choice for your open educational resources (OER). Retrieved from http://learn.creativecommons.org/wpcontent/uploads/2009/07/ccLearn_primerWhy_CC_BY.pdf COL, UNESCO. (2011). Guidelines for Open Educational Resources (OER) in Higher Education. Retrieved from http://www.col.org/resources/publications/Pag es/detail.aspx?PID=364 Glennie, J., Harley, K., Butcher, N., Wyk, T. (2012). Open Educational Resources and Change in Higher Education: Reflections from Practice. Retrieved from http://www.col.org/PublicationDocuments/pu b_PS_OER_web.pdf OECD. (2007). Giving Knowledge for Free THE EMERGENCE OF OPEN EDUCATIONAL

กลุ่ ม ประชาคมอาเซี ย นยั ง ไม่ มี อ งค์ การที่ เ กี่ย วข้ อ งกั บ แหล่ ง ทรั พ ยากรด้ า นการศึ ก ษาแบบเปิ ด โดยตรง แต่ อย่ า งไรก็ ต ามประเทศสมาชิ ก หลายประเทศในกลุ่ ม ประชาคมอาเซียนก็มีบทบาทส้าคัญในการเป็นผู้น้าการ ใช้แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดในทวีปเอเชีย ซึ่งพั ฒนาการที่เ พิ่ม ขึนอย่ างต่ อเนื่อ งของกลุ่ มประเทศ ผู้ น้ าจะส่ ง ผลให้ แ นวโน้ ม การใช้ แ หล่ ง ทรั พ ยากรด้ า น 278


RESOURCES. Retrieved from http://www.oecd.org/edu/ceri/38654317.pdf

The William and Flora Hewlett Foundation. (2005). Open Educational Resources Initiative. Retrieved from http://www.hewlett.org/uploads/files/OER _overview.pdf UNESCO. (2002). Forum on the Impact of Open Courseware for Higher Education in Developing Countries. Retrieved from http://unesdoc.unesco.org/images/0012/0 01285/128515e.pdf UNESCOBKK. (2012). Policy Forum for Asia and the Pacific: Policy and Practices in Open Educational Resources. Retrieved from http://www.unescobkk.org/index.php?id= 13605 UNESCO. (2012). Open Educational Resources. Retrieved from http://www.unesco.org/new/en/communic ation-and-information/access-toknowledge/open-educational-resources/ OERAsia. (2012). A study of the current state of play in the use of Open Educational Resources in the Asian Region. Retrieved from http://www.oerasia.org/oerasiasurvey Wawasan Open University. (2012). OER in Asia Pacific: Trends and Issues Ishan Abeywardena and Gajaraj Dhanarajan. Retrieved from http://www.ishantalks.com/2012/06/oerin-asia-pacific-trends-and-issues.html West, P., Victor, L. (2011). Background and action paper on OER: A background and action paper for staff of bilateral and multilateral organizations at the strategic institutional education sector level. Retrieved from http://www.paulwest.org/public/Backgro und_and_action_paper_on_OER.pdf

279


การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ อีเลิร์นนิ่งกับการเสริมสร้างการเรียนรู้ร่วมกันของประชาคม อาเซียน:นโยบายและกระบวนการ E-learning to Enhance the Collaborative Learning of an ASEAN Community: Policy and Process ดร. สมนัฎฐา ภาควิหก1 1 มหาวิทยาลัยเกริก (Natjunga@hotmail.com)

บทคัดย่อ

ABSTRACT

Current and future computer technology and communication can play an important role in education and very much enhance learning for students, particularly the online teaching and learning on the Internet. e-learning has become an important tool to help students to learn and to study on their own time, more easily and quickly interact with their teachers and classmates, at the same time, not necessarily in the same place, if they can access to the Internet. Economic integration of ASEAN by the year 2015, these countries have different languages, cultures, and remote areas, but they can close, access and knowledge sharing through information technology. This article aims to present the analysis and synthesis of the role of innovation and technology, e-learning which was developed and used to enhance learning together on three pillars, ASEAN Political - Security Community (APSC), ASEAN Economic Community (AEC), and ASEAN Socio - Cultural Community (ASCC). This article reviews relevant literatures and in-depth interviews the creators, developers and users of ASEAN e-learning to learn and share them in the past, present and future, and suggests the ways to improve efficiency and effectiveness in the application of ASEAN e-learning to learn together.

ใ น ปั จ จุ บั น แ ล ะ อ น า ค ต เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ด้ า น คอมพิ ว เตอร์ แ ละทางด้ า นการสื่ อ สารได้ เ ข้ า มามี บทบาทสาคัญในการศึกษาและเสริมสร้างการเรียนรู้ เป็นอย่างมากให้กับผู้เรียน โดยเฉพาะการจัดการเรียน การสอนออนไลน์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อีเลิร์นนิ่ง ได้เข้ามาเป็นเครื่องมือสาคัญ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้และศึกษาได้ด้วยตนเองตลอดเวลาเมื่อต้องการ และมีปฎิสัมพันธ์กับผู้สอนและผู้เรียนคนอื่นๆได้ง่าย สะดวก รวดเร็ ว ในเวลาเดี ย วกั น ได้ โ ดยไม่ จ าเป็ น จะต้ อ งอยู่ ใ นสถานที่ เ ดี ย วกั น หากสามารถเข้ า ถึ ง ระบบเครื อ ข่ า ยอิ น เตอร์ เ น็ ต ได้ การรวมกลุ่ ม ทาง เศรษฐกิ จภายในปี 2558 ของประชาคมอาเซียนที่มี เหล่ า ประเทศต่ า งๆที่ มี ค วามแตกต่ า งทางภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และอยู่ห่างไกล กั นด้วยพื้ นที่ แต่ส ามารถใกล้กั น เข้าถึงและเรีย นรู้ ร่วมกั นผ่านเทคโนโลยี ส ารสนเทศ บทความนี้จึงมี วั ต ถุ ป ระส งค์ เ พื่ อ น าเสนอการวิ เ คราะ ห์ แ ล ะ สั ง เคราะห์ บ ทบาทของนวตกรรมและเทคโนโลยี ต่ า งๆด้ า นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาใช้ ใ นการ เสริมสร้างการเรียนรู้ร่วมกันในสามเสาหลัก คือ ด้าน การเมื อ งและความมั่ น คง ด้ า นเศรษฐกิ จ และด้ า น สังคมและด้านวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนโดย การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์เชิง

Keywords: e-Learning, the collaborative learning, an ASEAN Community

280


โปรแกรมจุฬาซีเอไอ(Chula CAI) ที่พัฒนาโดยแพทย์จาก คณะแพทยศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิท ยาลั ย โปรแกรม ThaiTasได้ รั บการสนั บสนุ นจาก ศู นย์ เ ทคโนโลยีเ ล็ กทรอ นิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เป็นต้น และที่เป็นโปรแกรม สาเร็จรูปจากต่างประเทศ เช่น ShowPartnet F/X ToolBook Authorware เป็นต้น

ลึกกลุ่มผู้สร้าง ผู้พัฒนาและผู้ใช้อีเลิร์นนิ่งในการ เรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ของประชาคมอาเซี ย นในอดี ต ปัจจุบันและอนาคตพร้อมเสนอแนะแนวทางใน การเพิ่มศักยภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการประยุ กต์อีเลิร์นนิ่ง เพื่อการเรีย นรู้ร่วมกั น ของประชาคมอาเซียน

เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้พั ฒนาเติบโต อย่างรวดเร็ว ก้าวกระโดดจาก CAI มาเป็ นเครื่องมือชิ้ น สาคัญที่ เปลี่ย นแปลงรูปแบบในรู ปของการเรียนการสอน ผ่านบริการเว็บเพจ (Web Based Instruction : WBI) ส่งผลให้ การเรียนการสอน การฝึกอบรม รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้ สามารถเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศไปสู่ผู้เรียนได้รวดเร็ว และกว้างไกลกว่าสื่อ CAI ปกติ ทาให้สื่อการเรียนการสอน ในรูปแบบ WBI เป็นที่นิยมอย่างสูง และได้รับการพัฒนา ปรับปรุงรูปแบบมาเป็นสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ eLearning (Electronics Learning) อันได้รับความนิยมอย่าง สูงในปัจจุบันมีหลากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐภาคเอกชน รั ฐ วิ ส าหกิ จ สถาบั น การศึ ก ษาของรั ฐ และเอกชนทั้ ง ใน ประเทศและต่ างประเทศได้ ใช้และทา e-Learning ขึ้นมา มากมายหลากหลายวิ ชา และหลั กสู ต รทั้ ง ในระดั บ ทั่ วไป ระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ระดับ ประกาศนี ย บัต รวิ ชาชี พ ต่างๆ ระดั บ อุด มศึ กษาและระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ รี ย นที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง อินเตอร์เน็ตได้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลายาม ต้องการ เช่น Virtual Academy of Public Management ของ ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาระบบราชการ(ก.พ.ร) http://www.opdcacademy.com/ ที่ให้ข้าราชการพลเรือนและ ผู้สนใจเข้าเรียนออนไลน์ฟรีในหลายหลักสูตร โครงการงาน สร้ า งความรู้ ด้ า นพลั ง งานด้ ว ยระบบ e-Learning ของ ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า กั บ กิ จ ก า ร พ ลั ง ง า น http://www.erc.or.th/e-learning/ ที่ ใ ห้ ป ระชาชนสามารถ เรียนรู้ด้านพลังงานได้ฟรีในหลากหลายหลักสูตร โครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยของสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา http://www.thaicyberu.go.th/ ที่ให้ประชาชนเข้า เรียนออนไลน์ฟรีในหลากหลายหลักสูตรทั้งในระดับทั่วไป ตามอัธยาศัย ระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรีและ ระดับปริญญาโท เป็นต้น

คาสาคัญ: อีเลิร์นนิ่ง, การเสริมสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน , ประชาคมอาเซียน

1) บทนา การเรี ย นรู้ แ บบออนไลน์ หรื อ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง (e-learning) เป็ น การศึ ก ษา เรี ย นรู้ ผ่ า นเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ อินเทอร์เน็ต (Internet) หรือ อินทราเน็ต (Intranet) เป็น การเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถ และความสนใจของตนเอง เนื้ อ หาของบทเรี ย น ประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียงวิดีโอและมัลติมีเดีย อื่นๆ ที่ถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser ผู้เรียน ผู้ ส อนและเพื่ อ นร่ ว มชั้ น เรี ย นทุ ก คนสามารถติ ด ต่ อ ปรึ ก ษา แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ระหว่ า งกั น ได้ เช่นเดียวกับการเรียนในชั้น เรียนปกติผ่านเครื่องมือการ ติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย เช่น อีเมล์ (e-mail) กระดานข่าว (web board) การพูดคุยออนไลน์(chat) เป็นต้น จึงเป็น การเรียนสาหรับทุกคน เรียนได้ทุกสถานที่และทุกเวลา (Learn for all: anyone, anywhere and anytime) (กระทรวงวิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยี, 2555) ประเทศไทยได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องมือ ในการสร้ างสื่ อ การเรี ย น การถ่ า ยทอดความรู้ ม าเป็ น เวลานานนับแต่มีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ เรี ย นการสอนเป็ น ต้ น มาและได้ มี พั ฒ นาการมาอย่ า ง ต่อ เนื่ อ ง โดยมีการสร้างสื่อ การเรี ย นการสอนรู ปแบบ ใหม่ทดแทนที่เอกสารตารา หนังสือแบบเดิมที่รู้จักกันใน นามของสื่อ คอมพิ วเตอร์ ช่วยสอน (Computer Aided Instruction : CAI) ซึ่งมีซอฟต์แวร์ที่เป็นเครื่องมือให้ เลือกใช้งานได้หลากหลายในหลายระบบปฏิบัติการทั้งที่ หน่ ว ยงานต่ า งๆพั ฒ นาขึ้ น มาเองเป็ น การเฉพาะ เช่ น 281


เมื่อกฎบัตรอาเซียน(ASEAN Charter) ซึ่งเป็นเสมือน ธรรมนู ญ ของอาเซี ย นอั น เป็ น กลไกส าคั ญ ในการ ขับเคลื่อนเพื่อสร้างประชาคมอาเซียนในปี 2558 พร้อม แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity) และแผนการ สื่อสารของอาเซียน (ASEAN Communication Plan) ของ ประชาคมอาเซียนทั้งสาม ได้แก่ ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคมสังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้เกิดสันติภาพและความ รุ่งเรื องอย่ างต่ อเนื่อ งแก่ประชาชนอาเซี ยน การกาเนิ ด แห่งประชาคมอาเซียน ทาให้ประชาชนของประชาคม อาเซียนจะต้องมีความพร้อม เตรียมความพร้อม มีความรู้ ความเข้าใจอย่างดีเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ส่งผลทาให้ มีสื่อมากมายทั้งในรูปหนังสือตารา แผ่นโปสเตอร์ แผ่น พิมพ์ แผ่นพับ วีดีโอ วีดีทัศน์ โดยเฉพาะในด้านของสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เว็ปไซต์ สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning (Electronics Learning) ที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา อย่างมากมาย

3) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. รั บ ทราบบทบาทของนวตกรรมและเทคโนโลยี ต่างๆ ด้านอีเลิร์นนิ่งที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ในการเสริมสร้าง การเรียนรู้ร่วมกันในสามเสาหลัก คือ ด้านการเมืองและความ มั่นคง ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมและด้า นวัฒนธรรมของ ประชาคมอาเซียน 2. ได้แนวทางในการเพิ่มศักยภาพ ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการประยุกต์อีเลิร์นนิ่งเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน ของประชาคมอาเซียน

4) วิธีการศึกษา 4.1 ขอบเขตด้ า นเนื้ อ หา ทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องต่อประเด็นบทบาทของนวตกรรมและเทคโนโลยี ต่างๆ ด้านอีเลิร์นนิ่งที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ในการเสริมสร้าง การเรียนรู้ร่วมกันในสามเสาหลัก คือ ด้านการเมืองและความ มั่นคง ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมและด้านวัฒนธรรมของ ประชาคมอาเซียน 4.2 ขอบเขตด้ า นประชากรและกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง สัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มผู้สร้าง ผู้ พัฒนาและผู้ใช้อีเลิร์นนิ่งใน การเรียนรู้ร่วมกันของประชาคมอาเซีย น โดยการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

2) วัตถุประสงค์ 2.1 ทบทวนวรรณกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ ประเด็ น บทบาทของนวตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ ด้านอีเลิร์ นนิ่ ง ที่ ถู กพั ฒ นาขึ้ น มาใช้ ใ นการเสริ มสร้ างการเรี ย นรู้ ร่วมกันในสามเสาหลัก คือ ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้ านเศรษฐกิจ และด้ านสั ง คมและด้ านวั ฒ นธรรมของ ประชาคมอาเซียน 2.2 นาเสนอการวิเคราะห์และสังเคราะห์บทบาท ของนวตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ ด้านอีเลิร์นนิ่ งที่ถูก พัฒนาขึ้นมาใช้ในการเสริมสร้างการเรียนรู้ร่วมกันใน สามเสาหลั ก คื อ ด้ านการเมื อ งและความมั่ น คง ด้ า น เศรษฐกิ จ และด้ า นสั ง คมและด้ า นวั ฒ นธรรมของ ประชาคมอาเซียนในอดีต ปัจจุบันและอนาคต 2.3 เสนอแนะแนวทางในการเพิ่ ม ศั ก ยภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการประยุกต์อีเลิร์นนิ่ ง เพื่อการเรียนรู้ร่วมกันของประชาคมอาเซียน

5) ผลการศึกษา 5.1 ด้านเนื้อหา เมื่อสืบค้นทางแหล่งสืบค้นยอดนิยม Google ด้วยคาว่า “ASEAN Community” จากทุกแหล่งพบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ เกี่ยวข้องประมาณ 4,110,000 รายการ ใน 0.24 วินาที เมื่อ จากัดขอบเขตเฉพาะประเทศไทย ด้ วยค าเดี ย วกัน พบสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องประมาณ 662,000 รายการ ใน 0.25 วินาที เมื่อจากัดขอบเขตเฉพาะรูปภาพ พบประมาณ 159,000 รายการ เมื่อจากัดขอบเขตเฉพาะวีดีโอ พบประมาณ 23,300 รายการ ใน 0.17 วินาที (สืบค้นวันที่ 6 สิงหาคม 2555) เมื่อสืบค้นทางแหล่งสืบค้นยอดนิยม Google ด้วยคาว่า “e-Learning ASEAN Community” จากทุกแหล่งพบสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องประมาณ 202,000 รายการใน 0.35 วินาทีเมื่อจากัดขอบเขตเฉพาะประเทศไทย ด้ วยคาเดียวกัน พบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องประมาณ 62,400 รายการ ใน 282


0.42 วินาที เมื่อจากัดขอบเขตเฉพาะรูปภาพ พบประมาณ 15,500 รายการ เมื่ อ จ ากั ด ขอบเขตเฉพาะวี ดี โ อ พบ ประมาณ ค้นหา 799 รายการ ใน 0.25 วินาที (สืบค้นวันที่ 6 สิงหาคม 2555) เมื่อสืบค้นจากระบบเชื่อมต่อเครือข่ายทรัพยากรการ เรี ย นรู้ น านาชาติ ที่ http://globe.thaicyberu.go.th/ ซึ่ ง พัฒนาโดยโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ด้ ว ยค าว่ า “ASEAN Community” พบ 9,675 รายการ และ ด้วยคาว่า “eLearning ASEAN Community” พบ 10,829 รายการ (สืบค้นวันที่ 6 สิงหาคม 2555) โดยสามารถสรุ ป ประเด็ น ส าคั ญ ของเนื้ อ หาที่ สื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องนาเสนอได้ดังนี้ 1. ข้ อ มู ล แนะน าและข้ อ มู ล ส าคั ญ เกี่ ย วกั บ ASEAN 2. บทวิเคราะห์ประชาคมอาเซียนด้านประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น(ASEAN Economic Community: AEC) ด้านประชาคมการเมือ ง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community : APSC) และด้านสังคม และวั ฒ นธรรม(ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) 3. ASEAN ในเวทีโลก 4. ASEAN BEST PRACTICES 5. ASEAN และประเทศสมาชิก 6. ASEAN และประเทศคู่เจรจา 7. งานวิ จัย บทความวิจั ย และบทความวิชาการ เกี่ยวกับ ASEAN 8. การประชุมที่เกี่ยวข้องกับ ASEAN 9. แบบทดสอบที่เกี่ยวข้องกับ ASEAN

กลุ่มผู้สร้างและผู้พัฒนาอีเลิร์นนิ่งในการเรียนรู้ร่วมกันของ ประชาคมอาเซียน ปัญหาและอุปสรรคสาคัญ ในการสร้างและพัฒนา คือ เรื่อง การสร้างความตระหนัก การสร้างเนื้อหา(content) จากปัญหา เรื่ อ งภาษาที่ ค นไทยไม่ ไ ด้ รู้ ภ าษาอั ง กฤษกั น ทุ ก คน เรื่ อ ง ลิขสิทธิ์ และการสร้างความสัม พันธ์กับต่างประเทศเป็นสิ่ง สาคัญถ้าไม่มจี ะเป็นอุปสรรคอย่างมากรวมทั้งต้องทันสมัยอยู่ เสมอต้องหาว่าเทคโนโลยีอยู่ที่ใดบ้าง ปั จ จั ยส าเร็ จใน การ สร้ างแ ละ พั ฒ น า อ ยู่ ที่ ที ม งาน (Programmer / Designer/ Instructor/ Creative/ Script Writer/ Graphic Design/ Multimedia Design) การทาการวิจัยพัฒนา (R&D) การสนับสนุนทางด้าน IT (IT Support and Service) การออกแบบการผลิต (Production Design) ผู้ประสานความ ร่วมมือโครงการ(Project Coordinator) การสนับสนุนทาง การเงินบั ญชี ที่เป็ น Learning Management Team ความ ร่ ว มมื อ กั บ ต่ า งประเทศเพื่ อ การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ด้ า น Multimedia ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเร็ ว มากจะต้ อ งตาม เทคโนโลยีให้ทันเสมอ ทาให้ต้องการทีมงานขนาดใหญ่เพื่อ ตามเทคโนโลยีให้ทัน วีดีโอทาไงให้ดี Browsing เสียงต้อง เท่า ภาพต้องสมูท ฝรั่งเรียกขึ้นมาเร็วแต่ของไทยนานมากเรา ก็ต้องไปถาม เรามีการเชื่อมต่อกับเอกชน เวลาทาจริงต้องมี การเชื่อมโยงได้ทั้งหมด(LINK) กระบวนการสร้างและพัฒนา การสร้าง Content 1 ชั่วโมงใน Computerใช้เวลาในสนาม 100 ชั่วโมงทางาน หากชานาญ มากใช้ 75 ชั่วโมง ต่อ 1 ชั่วโมงแรงงานคน มีกระบวนการใน การสร้างดังนี้ คือ 1 วิเคราะห์ออกแบบเนื้อหา (Content) 2 ออกแบบโครงสร้าง 3 ออกแบบสคริปซ์ 4 สร้าง Multimedia (ถ่ายทาภายนอกสถานที่ ถ่ายวีดีโอ นอกสถานที่) 5 Production ให้เสียงนักพากษ์ ทา E-learning Content) 6 Programmer โดยบางเนื้อหาจะแจกฟรี บางเนื้อหาก็มี ค่าใช้จ่ายเพื่อแบ่งตัวเงินให้กับหน่วยงานเจ้าภาพที่จัดทา เนื้อหา

5.2 ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง สัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่ ม ผู้ ส ร้ า ง ผู้ พั ฒ นาและผู้ ใ ช้ อี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ในการเรี ย นรู้ ร่วมกันของประชาคมอาเซียน

283


 ผลการประมวลข้อมูลเชิงประจักษ์ ต่างๆของ การศึ ก ษาในครั้ ง นี้ บ่ ง ชี้ ว่ า แนวนโยบายแห่ ง รั ฐ ใน ระดับประเทศหลายประการเอื้อต่อการจัดตั้งศูนย์ความรู้ด้าน ประชาคมอาเซียนแห่งชาติ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ปั จ จุ บั น และการจั ด งบประมาณ สนั บ สนุ น ให้ มี ส ถาบั น ศึ ก ษาและพั ฒ นา จั ด ให้ มี ก ารใช้ ประโยชน์จากผลการศึกษา การถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ ด้ า นประชาคมอาเซี ย นและสนั บ สนุ น ให้ ป ระชาชนเห็ น ความสาคัญและเตรียมพร้อม  ผลการ ปร ะมวลข้ อมู ล ชี้ ว่ า หน่ วยงาน ส ถ า น ศึ ก ษ า ส ถ า บั น วิ จั ย ห น่ ว ย ป ฏิ บั ติ ก า ร ต่ า ง ๆ ภายในประเทศ มีอานาจความสามารถในการผลิตองค์ความรู้ สารสนเทศด้านนี้มากขึ้นเรื่อยๆ ประกอบกับความต้องการใช้ สารสนเทศด้านนี้ในภาครัฐและภาคเอกชนมีจานวนมากขึ้น เรื่ อ ยๆ อ าทิ นั กเ รี ยน นั ก ศึ กษ า นั กวิ จั ย ผู้ บ ริ ห าร ผู้ประกอบการ สื่อมวลชน รวมทั้งประชาชนทั่วไป  ในทางปฏิบัติมีหน่วยงานหลักคือกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ เป็นแม่งานหลักในฐานะสานัก เลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ มีพันธกิจเกี่ยวข้องกับนโยบาย กิจกรรมด้านด้านประชาคมอาเซียน ดังนั้น จึงถือว่ามีความ จาเป็นเหมาะสมอย่างยิ่ง หากจะมีการจัดตั้งศูนย์ความรู้ด้าน ประชาคมอาเซียนแห่งชาติขึ้นมาในอนาคต

ผู้ใช้อีเลิร์นนิ่งในการเรียนรู้ร่วมกันของประชาคมอาเซียน ต้ อ งการให้ ภ าครั ฐ บาลสนั บ สนุ น ฐานข้ อ มู ล ความรู้ ทางด้ า นประชาคมอาเซี ย นเพื่ อ ใช้ ใ นการด ารงชี วิ ต การศึ ก ษา การวิ จั ย การพาณิ ช ย์ โดยต้ อ งการให้ มี หน่วยงานที่รวบรวมความรู้ทางด้านนี้ทุกระดับไว้ในที่ เดี ย วกัน เมื่ อ ต้ องการใช้ สามารถนึ กถึ ง หน่วยงานนี้ ไ ด้ ทัน ทีก็จ ะได้รั บ ความรู้ ทางด้านอาเซี ยนตามที่ต้ อ งการ เข้าใจได้ง่าย เข้าถึงได้สะดวกและรวดเร็ว หรือ รับทราบ แหล่งที่จะไปทาการสืบค้นต่อได้อย่างเหมาะสม เชื่อถือ ได้และรวดเร็ว กลุ่มผู้ใช้ที่สาคัญ ได้แก่ นักเรียน นิสิต นักศึกษา นักวิจัย คณาจารย์ ผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน และ ประชาชนทั่วไป

6) บทสรุปและข้อเสนอแนะ บทสรุป การที่ สั ง คมไทยจะก้ า วเข้ า ยุ ค เศรษฐกิ จ ฐานความรู้ที่เต็มเปี่ยมด้วยการเปลี่ยนแปลงที่สูง และเปิด ประชาคมอาเซียนในปี 2558 องค์ความรู้ด้านประชาคม อาเซียนเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็น การสร้างและพัฒนาสื่ อ การเรี ย นรู้ แ บบออนไลน์ ใ นองค์ ค วามรู้ ที่ เ กี่ย วข้ อ งพึ ง ได้รับการส่งเสริมให้เป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อน พัฒนาความพร้อมของประเทศและประชาชนในประเทศ

ข้อเสนอแนะต่อศูนย์ความรู้ด้านประชาคมอาเซียน แห่งชาติที่คาดหวัง  ศูนย์ความรู้ด้านประชาคมอาเซียนแห่งชาตินี้ ควรทาหน้าที่เป็นลักษณะบ้านศูนย์รวมที่เป็นแหล่งรวบรวม และเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ การบริ ก ารสารสนเทศด้ า นด้ า น ประชาคมอาเซียนระหว่างหน่วยงาน พัฒนาองค์ความรู้แก่ องค์ การต่ างๆของประเทศไทย สร้ า งคุ ณค่ า เพิ่ ม จากองค์ ความรู้ สู่ น วั ต กรรม ผ่ า นการปฏิ บั ติ ก ารของหน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้อง และเป็นองค์การหลักที่สร้างให้คนไทยตระหนัก ถึงความสาคัญทางด้านประชาคมอาเซียน ดังนั้นพันธกิจ 5 ด้านหลักสาคัญของศูนย์นี้ คือ ด้านการสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือ ด้านพัฒนาองค์ความรู้ประชาคมอาเซียน ด้านพัฒนา เทคโนโลยี ด้ า นพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และด้ า น ปฏิบัติการ ภายใต้หน้าที่สาคัญ 4 ประการ คือ 1) การสร้าง

ข้อเสนอแนะต่อภาครัฐบาล  รั ฐ บาลควรให้ ค วามส าคั ญ เกี่ ย วกั บ การ จัด การความรู้ ป ระชาคมอาเซี ย นอย่ างเป็ น ระบบ และ บูรณาการให้มีหน่วยงานที่เป็นศูนย์การจัดการและการ ให้บริการองค์ความรู้ด้านนี้ของประเทศ แก่ประชาชน สถาบั น การศึ ก ษา และองค์ ก ารทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน เข้าถึงและมีส่วนร่วมในการประสานประโยชน์เพื่อให้ เกิ ด การพั ฒ นาประเทศให้ ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ นานาชาติ 284


พั น ธมิ ต รร่ ว มพั น ธกิจ โดยค านึ ง ถึ ง จุ ด แข็ ง ของแต่ ล ะ หน่วยงาน ทั้งในและต่างประเทศ 2) บูรณาการกิจกรรม ให้ครอบคลุมทั้งด้านประชาคมอาเซียน เทคโนโลยี และ นวัตกรรม ไปพร้อมๆกัน 3) เป็นแหล่งพบปะของผู้สร้าง แ ละ ผู้ ใ ช้ ที่ จ ะ ได้ พบ ป ะ แ ลกเ ป ลี่ ย น ค วามรู้ แ ล ะ ประสบการณ์ร่วมกัน และ 4) ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อ สร้างความตระหนักว่า ประชาคมอาเซียนไม่ใช่เรื่องไกล ตัว แต่กลับเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสาคัญ สามารถสร้าง ประ โยชน์ ให้ กั บ ต นเอ ง การท างาน แ ละ ค วาม เจริ ญ ก้ า วหน้ า และอยู่ ร อดของทุ ก คน สั ง คม และ ประเทศชาติ

เอกสารอ้างอิง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( 2555) อีเลิร์นนิง่ คือ ? สิบค้นจาก http://elearning.stkc.go.th/lms/html /faq/faq6.html เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2555 รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษารูปแบบและแนวทางการ จั ด ตั้ ง องค์ ก ารศู น ย์ ค วามรู้ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ(2550) โดย รศ.ดร.มนตรีโสคติยานุ รักษ์ และคณะ เสนอต่อ กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี Carrara, G. and Fioravanti, A. (2001) A Theoretical model of shared distributed Knowledge bases for Collaborative Architectural Design, J. S. Gero and K. Hori (eds) Strategic Knowledge and Concept Formation III Conference, pp. 129-143

285


คณะกรรมการพิจารณาคุณภาพและคัดเลือกบทความ ผศ.ดร. เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ผศ. สุพรรณี สมบุญธรรม โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ผศ.ดร. ฐาปนีย์ ธรรมเมธา มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ดร. อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร. จารุวรรณ กฤตย์ประชา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสงขลา น.อ.ผศ.ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผศ.ดร. เด่นพงษ์ สุดภักดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดร. วสันต์ อติศัพท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ดร. สุกัญญา นิมานันท์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผศ.ดร. กอบกุล สรรพกิจจานง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รศ.ดร. มธุรส จงชัยกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผศ.ดร. ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร. จินตวีร์ คล้ายสังข์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ ดร. ธีรวดี ถังคบุตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ ดร. พรสุข ตันตระรุ่งโรจน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร. อนิรุทธ์ สติมั่น มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์วรสรวง ดวงจินดา สานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Prof. Dr. Howard Combs San Jose State University, United States Asst. Prof. Dr.Daniel Churchill University of Hong Kong, Hong Kong

286




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.