CRU Music Report

Page 1


คํานํา งานออกแบบชิ้นนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ Graphic Design on Package โดยมีจุดประสงคเพื่ออออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับ แผนซีดีเพลง ซึ่งในรายงานฉบับนี้มี ที่มาของปญหา ขั้นตอนการออกแบบ และเนื้อหาตางๆที่เกี่ยวของ ขาพเจาไดเลือกงานออกแบบชิ้นนี้ เนื่องจากแผนซีดีทั่วไป มีการออกแบบบรรจุ ภัณฑที่ไมหลากหลาย ขาพเจาจึงตองการออกแบบบรรจุภัณฑนี้เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับสิ้น คา ขาพเจาตองขอขอบคุณ อาจารยประชิด ทิณบุตร ผูสอน ที่ใหความรูและแนวทาง การศึกษา ขาพเจาหวังอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้ จะมีประโยชนแกทานผูอาน ไมมากก็ นอย ผูจัดทํา นายจิระพงษ ชื่นชม รหัสนักศึกษา 5111302211 Email : jirapongchuenchom@gmail.com


สารบัญ เรื่อง

หนา

1. แรงบันดาลใจและที่มาของการออกแบบ

1

2. โจทย/วัตุประสงค/สมมติฐาน

1

3. การกําหนดคุณลักษณะที่ความตองการ

1

4. การนําเสนอแบบรางทางความคิด

2

5. การศึกษาขอมูลเบื้องตน 6. การออกแบบและพัฒนาแบบ 7. การทดลอง ทดสอบ การใชงานจริง 8. การสรุปผลงานการออกแบบ

3–16 17 18-21 21


โครงการออกแบบบรรจุภัณฑ ซีดีเพลง CRU Music 1. แรงบันดาลใจและที่มาของการออกแบบ (Inspiration and Background) ดนตรี คือ เสียงที่จัดเรียงอยางเปนระเบียบ และมีแบบแผนโครงสราง เปน รูปแบบของกิจกรรมเชิงศิลปะของมนุษยที่เกี่ยวของกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมา ในดานระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงทวงทํานองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความตอเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังคอย) ดนตรีนั้นสามารถใชในดาน ศิลปะหรือสุนทรียศาสตร การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใชในงานพิธีการตางๆ นอกจากนั้นดนตรียังอยูคูกับมนุษยมานานหลายพันป นับตั้งแตมีมนุษยเกิดขึ้น มาบนโลกก็วาได และไดพัฒนามาจนถึงปจจุบันนี้ 2. โจทย/วัตุประสงค/สมมติฐาน(Problem/Objective/Hypothesis) 1. ตองการศึกษาการออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ และพัฒนาแบบ โดยการนําเอาแบบ บรรจุภัณฑเดิมมาพัฒนาลวดลาย โลโก ใหเกิดการพัฒนาที่มค ี วามโดดเดน และมีมาตรฐาน 2. ออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับซีดีเพลง ผลิตภัณฑที่พฒ ั นาขึ้นใหม ออกแบบใหกับสาขาดนตรีสากล คณะ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 3. ตองการใหซีดีเพลง มีบรรจุภัณฑทม ี่ ีความแปลกใหม ดูนา สนใจมากขึน ้ และสามารถเปนที่ดึงดูดใจเพื่อ เพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑ

3. การกําหนดคุณลักษณะที่ความตองการ(Design Brief)


4. การนําเสนอแบบรางทางความคิด(Sketch Design)


5. การศึกษาขอมูลเบื้องตน(Preliminary Research) 5.1 ศึกษาเกี่ยวกับการทําปกซีดี - ตัวอยางปกซีดี



5.2 ศึกษาเกี่ยวกับดนตรี กลาวถึงประวัติดนตรีตะวันตกซึ่งแบงออกเปนสมัยตาง ๆ ได 9 สมัย ดังนี้ (ณรุทธ สุทธจิตต,2534 : 133)

สมัยกรีก (Ancient Greek music) อารยธรรมโบราณทางภาคพื้น ยุโรปตะวันออก เกิดทีหลังภาคพื้นเอเชีย ตะวันออกซึ่งเกิดขึ้นกอนคริสตศักราช 3,000 ป ความเจริญในศิลปวัฒนธรรมของยุโรป ตะวันออกเกิดขึ้นเมื่อ1,000ปกอนคริสต ศักราช ความเจริญดังกลาว สูงสุดอยูที่ประเทศ กรีกซึ่งยกยองดนตรีเปนสิ่งศักดิ์สิทธสามารถใชในการ ชําระลางบาปและมลทินทางใจ ไดสามารถรักษาบําบัดโรคภัยไขเจ็บได นอกจากนี้ดนตรียังไดรับการยกยองเปนศิลปะ ชั้นสูงควรแกการศึกษา

วัฒนธรรมตะวันตกถูกผูกติดอยูกับชาวกรีกโบราณและชาวโรมันอยางปฎิเสธ ไมไดความสมบูรณความยอดเยี่ยมของความสวยงาม และศิลปะมีตนกําเนิดจากกรีก รวมทั้งทางปรัชญาของกรีก ประวัติของดนตรีกรีกโบราณตั้งแตเริ่มตนถึง 330 ป กอนคริสตกาล(330 B.C;) เมื่อ วัฒนธรรมของกรีกแยกเปน 2 สาย กลาวคือ สายที่ 1 ทางตะวันออก (Alexander the Great) และสายที่ 2 ทางตะวันตก (ตามชาว โรมัน) นอกจากนี้ดนตรีกรีกยังแบงออกเปนยุดตาง ๆ ไดดังนี้ 1. Mythical Period จากเริ่มตนถึง 1,000 ป กอนคริสตกาล (1,000 B.C.) ใน สมัยนี้ไดสูญหายไปในความลึกลับของศาสตรแหงเทพนิยายกรีกดนตรีประเภทนี้ ใชประกอบ พิธีกรรมของลัทธิเทพเจาอพอลโล (Apollo) ผูเปนเจาแหงแสงสวาง ซึ่งรวมถึงความมีเหตุผล และวินัยถือความถูกตองชัดเจนและการดําเนินชีวิตตาม ทางสายกลาง เครื่องดนตรีที่ใช คือ พิณไลรา (Lyre) ทางตรงกันขามคือสื่อถึงความปาเถื่อนอึกทึกครึกโครม สนุกสนาน ความลึกลับ และความมืด เทพนิยายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับดนตรีคือ บรรดาเทพ 9 องค เปนธิดาของ เทพเจาซีอุส ซึ่งเปนเทพประจําสรรพวิทยาและศาสตรแตละชนิด


2. Homeric Period 1,000 – 700 (B.C) โฮเมอร (Homer) เปนผูกอตั้งสมัยนี้ และในสมัยนี้มีบทรอยกรอง ที่ เกี่ยวกับประวัติศาสตรของชนชาติ เกิดขึ้นจากการเดินทาง ผจญภัยของโฮเมอร ตอมาบทรอยกรองหรือ มหากาพยของ โฮเมอร ไดกลายเปนวรรณคดีสําคัญซึ่งชาวกรีกนํามาขับรอง ผูที่ขับรองมหากาพยจะดีดพิณไลรา (Lyra) คลอการขับรอง ลักษณะการขับรองนี้เรียกวาบาดส (Bards) ศิลปนเหลานี้ พํานักอยูตามคฤหาสนของ ขุนนางถือเปนนักดนตรีอาชีพ ขับ กลอมบทมหากาพยโดยใชทํานองโบราณซึ่งเปนทอนสั้น ๆ แตมีการแปรทํานองหลายแบบ นอกจากนี้ยังมีดนตรีพื้นเมือง (Folk songs) ซึ่งมีลักษณะเปนเพลงของพวกเลี้ยงแกะที่เปา Panpipes (เครื่องดนตรีชนิดหนึ่งคลายแคน) เพื่อกลอมฝูง แกะและยังมีดนตรีของชาวเมืองในลักษณะของคณะนักรอง (Chorus) ขับรองเพลงในพิธีทางศาสนาตาง ๆ เชน พิธี แตงงาน พิธีศพ ฯลฯ หรือในโอกาส ตาง ๆ เชน ในงานฉลอง ชัยชนะเปนตนคณะนักรองสมัครเลนเหลานี้มักจะจางพวก บาดสใหมาดีดคีธารา (Kithara) คลอประกอบ

3. Archaic Period 700-550 B.C.ศิลปะสวนใหญมีการเริ่มตนขั้นพื้นฐาน ในชวงสมัยนี้และไดมีการพัฒนาขึ้นในสมัยคลาสสิกเกิดความนิยมรูปแบบกวีนิพนธที่ เรียกวา “ลีริก” (Lyric) และการแสดงออกจากการระบายอารมณในใจของกวี (Music expressing sentiments)ไมวาจะเปนความยินดี หรือ ความทุกขระทมอันเกิดจากความ รัก ความชัง ความชื่นชมตอความงามของฤดูใบไมผลิ ความประทับใจในความ งามของค่ําคืนในฤดูรอนหรือความสํานึกสวนตัวของกวีที่มีตอสังคม ตอชาติรวมความ แลว กวีนิพนธแบบลีริก(Lyric)นี้เอื้อใหกวีไดแสดงความรูสึกสวนตนไดอยางเต็มที่ การรองเพลงประกอบระบําที่เรียกวาไดธีแรมบ (Dithyramb) เปนเพลงที่ใช บวงสรวงและเฉลิมฉลองใหแกเทพเจาไดโอนิซุสซึ่งเปนเทพเจา แหงความอุดมสมบูรณ เปนการขับรองเพลงประสานเสียง ที่มีตนกําเนิดโดย นักรองชาย 12 คน ตอมาไดมีการพัฒนาปรับปรุงโดย Arion ไดเพิ่มจํานวนนักรองเปน 50 คนและกําหนดใหมีนักรองนํา 1 คน 4. Classical Period 550-440 B.C.โชไรเลส (Choeriles) พีนีซุส (Phrynichus)พาตินุส (Pratinas) และเธสพิส (Thespis)ไดพฒ ั นาการรองเพลง ประกอบระบําที่เรียกวาไดธีแรมบ (Dithyramb) กลาวคือไดมีการรองเพลง โตตอบกับกลุมคอรัสทําใหการแสดงกลายรูปเปนในลักษณะการสนทนาโตตอบกัน แทนที่จะเปนการเลาเรื่องโดยการบรรยายอยูฝายเดียว พวกเขายังชวยสรางใหเกิด วัฒนธรรมของกรีกโบราณคือ การละคร (Drama) เปนรูปแบบการแสดงที่มีการ ผสมผสานศิลปะการเตนรําและดนตรีเขาดวยกันได อยางสมดุลย ในสมัยนี้ไดมีการสรางโรงละครกลางแจง ตั้งอยูระหวางซอกเขาที่มีเนินลาดโอบ ลอมอยูสามดานเปนอัฒจันทรที่นั่ง คนดูซึ่งจุคนไดเปนจํานวนมากและยังเห็นการแสดง ไดชัดเจนไมมีการบังกัน อัฒจันทรคนดูนี้เซาะเปนขั้นบันไดสูงขึ้นไปตามไหลเขาที่ลาด ชันโดยโอบลอม บริเวณที่ใชแสดงเปนพื้นที่ราบอยูต่ําลงไปเปนรูปวงกลมหรือครึ่ง วงกลม ซึ่งเรียกบริเวณวา ออรเคสตรา (Orchestra) ใชเปนที่แสดงของพวกคอรัสซึ่ง ยังคงความนิยมติดมากับการแสดง


5. Hellinistic Period 440-330 B.C.ลักษณะของการละครสมัยนี้เริ่มไมได รับความนิยม เนื่องจากวามีการพัฒนารูปแบบใหม ๆ เขามาซึ่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ การละคร ในสมัยนี้ศิลปะและบทประพันธรอยกรองตาง ๆ มีการพัฒนาแยกออกจาก ดนตรีมีนักปราชญทางดนตรีหลายคน การคนพบกฎพื้นฐานของเสียงเปนเรื่องที่ เกี่ยวของกับปรัชญาและคณิตศาสตร ซึ่งนักปรัชญาและนักคณิตศาสตรนามกระเดื่อง ของกรีกคือ ไพธากอรัส (Pythagoras) เปนผูวาง กฎเกณฑไว โดยการทดลองเกี่ยวกับ การสั่นสะเทือนของเสียงจากความสั้น - ยาวของสายที่ขึงไว ไพธากอรัสคนพบวิธีที่จะ สรางระยะขัน ้ คูเสียงตาง ๆ รวมทั้งระยะขั้นคู 8 ซึง่ เปนหลักที่สําคัญของ บันไดเสียงของดนตรีตะวันตก นักคิดรุนตอ ๆ มาไดพัฒนาทฤษฎีดนตรีของกรีกจนได เปนระบบที่สลับซับซอนที่รูจักกันในนาม ของโมด (Mode) ซึง่ ไดแกบันไดเสียงทาง ดนตรีที่ใชในการชักจูงใหผูฟงมีความรูสึกตาง ๆ กันออกไป บันไดเสียงเหลานี้จึงมีการ ใชในการสรางสรรคดนตรีเฉพาะตามกรณี จากโมดนี้เองชนชาติกรีกไดพัฒนาหลักการ ของอีธอส (Doctrine of ethos) ซึ่งเปนความเชื่อในเรื่องของพลังแหงสัจธรรมของ ดนตรีโดยกลาวไววาพลังของ ดนตรีมีผลเกี่ยวเนื่องกับการแสดงออกถึงความชื่นชอบ หรือความขัดแยงกลาวอีก นัยหนึ่งคือ ดนตรีเกี่ยวของกับความดีและความชั่วราย โดยทั่วไปโมดสามารถจัดไดเปนสองจําพวกคือ โมดที่สื่อถึงความเงียบสงบ มี ระเบียบ ใชกับพิธีกรรมของเทพเจาอพอลโลและโมดที่สื่อถึงความปาเถื่อนอึกทึกครึก โครมใชกับพิธีกรรมของเทพเจาไดโอนีซัส ผลสะทอนของแนวคิดที่กลาวถึงนี้ทําให ดนตรีของกรีกมีทั้งการแสดงออกถึงความ ซับซอนของทวงทํานองจากการบรรเลงของ เครื่องดนตรีลวน ๆ ในการแสดงเพื่อการแขงขันหรือในงานฉลอง ตาง ๆ และดนตรีที่แสดงออกถึงรูปแบบที่มีมาตรฐานซึ่งสัมพันธกับการบรรยายเรื่องราว ตํานานของวีรบุรุษและการศึกษาสําหรับพวกสังคมชั้นสูงที่เต็มไปดวยปรัชญาอัน ลึกซึ้ง ในหนังสือ Poetics นั้น อริสโตเติล (Aristotle) ไดอธิบายวาดนตรีมีอํานาจเหนือจิตใจ มนุษยอยางไรบาง เขากลาววาดนตรีเลียนแบบอารมณตาง ๆ ของมนุษย ฉะนั้นเมื่อ มนุษยไดยินดนตรีซึ่งเลียนแบบอารมณใดอารมณหนึ่ง ก็จะเกิดมีความรูสึกคลอยตามไป ดวยทฤษฎีดนตรีกรีกของ Aristoxenus กลายเปนพื้นฐานสําคัญของทฤษฎีดนตรีใน ปจจุบันโดยไดเสนอผลงานระบบเสียงที่ เรียกวา เตตราคอรด (Tetrachord) 3 ชนิด คือ Diatonic, Chromatic, และ Enharmonic โดยเสียงที่อยูภายในคู 4 เพอรเฟคจะถูก เรียกวา Shade ดังตัวอยาง

ถาไดยินดนตรีที่กระตุนอารมณที่ทําใหจิตใจต่ําบอย ๆ เขาก็ทําใหเขาพลอยมี จิตใจต่ําไปดวยตรงกันขามถามีโอกาสไดฟงดนตรีที่ชวย ยกระดับจิตใจก็จะทําใหผูนั้น เปนคนที่มีจิตใจสูง ดังนั้น เปลโตและอริสโตเติล มีความคิดเห็นตรงกันในขอที่วา หลักสูตรการศึกษาควรประกอบดวยวิชากีฬาและ ดนตรีที่ถูกตอง เพื่อเปนการฝกทั้ง รางกายและจิตใจ เปลโตสอนวา “การเรียนดนตรีอยางเดียวทําใหออนแอและเปน คนมีปญหา การเรียนกีฬาอยางเดียวทําใหเปนคนทีอ ่ ารมณกาวราวและไม ฉลาด” ยิ่งกวานั้นเปลโตยังไดกําหนดไววา “ดนตรีที่เหมาะสมสําหรับการศึกษาไมควรมี ลีลาที่ทําใหอารมณออนไหวควรใช ทํานองที่มีลีลาดอเรียน(Dorian)และฟรีเจียน (Phrygian)”


บันไดเสียงทั้งสองขางตนทําใหเกิดอารมณกลาหาญและสุภาพเรียบรอย เปลโต เชื่อวาดนตรีมีอํานาจในการที่จะเปลี่ยนนิสัยของมนุษยจนกระทั่งในบางกรณีสามารถ รักษาโรคใหหายไดนี่คือทฤษฎีอีธอส (Ethos) ของดนตรี เปลโตยังเคยกลาวไววา “จะ ใหใครเปนผูเขียนกฎหมายก็แลวแต ขอใหขา  พเจาไดเปนผูแตงเพลงประจําชาติ ก็แลวกัน” นี่หมายถึงวา กฎหมายเพียงแตกําหนดขอบเขตความประพฤติของคนจาก ภายนอก แตอีธอสของดนตรีสามารถเขาถึงจิตใจมนุษย และคุมนิสัยจากภายในได จาก การศึกษาหลักฐานตาง ๆ สรุปไดวาดนตรีกรีกนาจะเปนดนตรีเนนเสียงแนวเดียว (Monophonic music) กลาวคือเนนเฉพาะแนวทํานองโดยไมมีแนวประสานเสียง ทําใหโครงสรางของทํานองมีความสลับซับซอน ระยะขั้นคูเสียงที่ใชจะหางกันนอยกวา ครึ่งเสียงไดซึ่งเปนลักษณะที่ เรียกวาไมโครโทน (Microtones) ดนตรีกรีกมีหลาย รูปแบบ นับตั้งแตดนตรีที่บรรเลง ดวยเครื่องดนตรีลวน ๆ ไมมก ี ารรองไปจนถึงการรอง บทกวีแตรูปแบบที่นับวาสําคัญ ไดแก การรองหมู ซึ่งพบไดในละครของกรีก ในระยะแรก การรองหมูใชในการสรรเสริญพระเจาและวีรบุรุษซึง่ มักมีการเตนรํา ประกอบเพลงรอง ดวย

สมัยโรมัน (Roman) หลังจากกรีกเปนสวนหนึ่งของอาณาจักรโรมัน ใน 146 ป กอนคริสตศักราช อาณาจักรโรมันรับเอาวัฒนธรรมการดนตรีของกรีกไปทั้งหมด โดยมิไดมีการพัฒนา รูปแบบของดนตรีไปสักเทาไรนักยังคงใชรูปแบบการรองเสียง เดียว (Monophony) ซึ่ง เรียกวา เพลนซอง (Plain Song) หรือแชนท (Chant) โดยมากแลวแตละแหงจะ คํานึงถึงผลของการปฏิบัติมากกวาที่จะยึดติดกับรูปแบบ ที่รับมาตายตัว นักปราชญทางดนตรีสมัยโรมันยึดทฤษฎีดนตรีของกรีกเปนหลักแลวนํามาผสมผสานกับ ทัศนะแบบ เฮเลนิสติค เชน โพลตินุส (Plotinus 205-270 A.D.) และศิษยของเขาคน หนึ่งชื่อ พอรฟรี (Porphyry 233-304 A.D.) ก็ไดเผยแพรสั่งสอนทฤษฎีแบบเพลโตนิค ใหม (Neo-Platonic) โพลตินุส ไดย้ําถึงอํานาจที่ดนตรีมีตอจิตใจและจรรยาธรรมของ มนุษย มีอํานาจในการชําระลางจิตใจใหบริสุทธิ์ พาใจใหพบความสวยงามและความดี งาม และในทางตรงกันขามดนตรีอาจมีอํานาจทําลายหากใชไปในทางที่ผิด ดังนั้นจึงได มีความพยายามที่จะอนุรักษและกวดขันดนตรีที่ใชประกอบพิธีศาสนาและที่บรรเลง สําหรับการทหาร ในสมัยหลัง ๆ การดนตรีไดเสื่อมลงมากเพราะถูกนําไป บรรเลงประกอบในโอกาสและสถานที่ ซึ่งไมเหมาะสมและการจัดการบรรเลงดนตรีแบบ โออาก็ไมเปนที่สบอารมณหมู นักปราชญทางดนตรีประเภทอนุรักษนิยมเทาใด นักเชนการจัดแสดงดนตรีวงมหึมา (Monter concert) ในสมัย ของคารินุส (Carinus 284 A.D.) ไดมีการบรรเลงดนตรีที่ ประกอบดวยทรัมเปต 100 ชิ้นแตร (Horn)100 ชิ้น และเครื่องดนตรีอื่น ๆ อีก 200 ชิ้น ถาจะกลาวถึงชีวิตของนักดนตรีในสมัยนั้นก็พูดไดวาคึกคักมากสมาคม สําหรับนักดนตรี อาชีพไดรับการจัดตั้งกันมาตั้งแตศตวรรษที่ 7 กอนคริสตศักราช มีบทบาทในการ เรียกรองสิทธิ์ใหแกสมาชิกในรุนหลัง ๆ เมื่อออกุสตุสไดขึ้นครองราชยแลวก็ไดตั้งสมาคมสําหรับดนตรีที่บรรเลงเพลงประกอบ พิธีศาสนาและสําหรับงานของราชการดวยนักแตงเพลงผูมีฝมือก็ไดรับการอุปถัมภจาก จักรพรรดิ เชน การที่จักรพรรดิ์เนโรประทานวังใหแกเมเนคราเตส (Menecrates) คีตกวี ผูมีชื่อคนหนึ่งของสมัยนั้น


โดยสรุปแลวโรมันเอาความรูจากกรีกไปเผยแพรและปรับปรุงดัดแปลง ใหเขากับ สภาพความเปนจริงในขณะนั้นเพื่อใชปลุกใจประชาชนใหเกิดความเปน อันหนึ่งอัน เดียวกันซึ่งจะเปนผลดีตอการปกครองอาณาจักรที่กวางใหญ จากการคนพบมรดกทางดนตรีจากแถบตะวันออกของทะเลเมดิเตอเรเนียนเมื่อครั้ง โบราณ โดยเฉพาะจากกรีกโบราณผานโรมันเขาสูยุโรปเปดเผยใหเห็นถึงความรูดนตรี ที่ มีคายิ่งเพราะทฤษฎีเกี่ยวกับวิทยาศาสตรแหงเสียง (Acoustic) ที่กรีกปูทางไวใหหลาย เรื่องเชน การกําหนดคุณสมบัติและจัดระเบียบของเสียง ระบบเสียงที่กอใหเกิดบันได เสียงตาง ๆ หลักในการจัดหมวดหมูของลีลาหรือจังหวะ หลักเบื้องตนในการประดิษฐ เครื่องดนตรีระบบการบันทึกสัญลักษณทางดนตรีรวม ทั้งทํานองเพลงเกา ๆ ที่สะสมไว ลวนมีผลดีตอการพัฒนาดนตรีตะวันตกตอไป

สมัยกลาง (The Middle Ages) ดนตรีในสมัยกลางเปนสิ่งที่ยากที่จะศึกษาเนื่องจากวาดนตรีเหลานั้นไดสูญ หายไปหมดแลว เสียงตามทองถนนของพอคาเร เสียงรองเพลงจากทุงหญาของ กรรมกรผูใชแรงงาน การเตนรําในงานรื่นเริงตาง ๆ การแสดงดนตรีบนเวที และแมแต บทเพลงจากกวีในภาคใตของฝรั่งเศส (ในศตวรรษที่ 11-13) ลวนแลวแตมีอายุสั้น แมแตดนตรีที่ยังเหลืออยูก็เปนเพียงแฟชั่นเทานั้น ซึ่งเหลือทิ้งไวแตคําถามที่ไมมี คําตอบเกี่ยวกับแหลงกําเนิด ของมัน ประมาณ ค.ศ. 500 วัฒนธรรมตะวันตกเริ่มเปลี่ยนจากยุคมืด (The Dark Ages) ซึ่งเปนชวงเวลาที่มีการรวมตัวเปนกลุมของ แวนดัล (Vandals, Huns) และ วิซิกอธ (Visigoths) เขาไปทั่วยุโรป และนําไปสูจุดจบของจักรวรรดิโรมัน เปนเวลา 10 ศตวรรษ ตอมา สมัยกลางคือ ระยะเวลาจากคริสตศตวรรษที่ 5 จนถึงปลายศตวรรษที่ 14 (ค.ศ.4501450) สมัยนี้เจริญสูงสุดเมื่อประมาณศตวรรษที่ 12-13 ศาสนามีอํานาจสูงมาก ทั้งดาน ปญญาและสปริต ทําใหคนสามารถรวมกันได หลังจากนั้นก็เริ่มเสื่อมลงแลวติดตามดวยสงครามรอยประหวางอังกฤษและ ฝรั่งเศสหลังจากสงครามก็มีการแตกแยกเกิดขึ้น ในสมัยนี้เริ่มมีหลักฐานเกี่ยวกับเพลง คฤหัสถ (Secular music) ซึ่งเปนเพลงขับรองเพื่อความรื่นเริงไดรับความนิยมและ แพรหลายมาก ในประเทศตาง ๆ ทางยุโรปตะวันตก นอกเหนือไปจากเพลงโบสถ (Church music) ซึ่งเพลงทั้งสองประเภทนี้มีลักษณะตางกันคือเพลงโบสถซึ่งมี หลักฐานมากอน มีลักษณะเปนเพลงรองเสียงเดียวมักไมมีดนตรีประกอบไมมีอัตรา จังหวะ รองเปนภาษาละตินมีชวงกวางของทํานองจํากัด บันทึกเปนภาษาตัวโนตที่ เรียกวา Neumatic notation เพลงคฤหัสถหรือเพลงที่ชาวบานรองเลนกันนอกวัด มี ลักษณะเปนเพลงรองเสียงเดียว ที่มักจะมีดนตรีเลนประกอบเปนเพลงที่มีอัตราจังหวะ ปกติมักเปนในจังหวะ 3/4 มีจังหวะสม่ําเสมอเปนรูปแบบซ้ําทวน ทํานองเปนตอน ๆ มี ตอนที่เลนซ้ํา ลักษณะที่กลาวนี้เปนลักษณะของเพลงในสมัยกลางตอนตน ๆ ในระยะตอนปลายสมัย กลางคือราว ค.ศ. 1100-1400 นั้น ลักษณะของดนตรีเปลี่ยนแปลงพัฒนาไป ซึ่งมีหลาย สิ่งหลายอยางที่นา สนใจ ชวงเวลาประมาณ 300 ป ระหวางคริสตศตวรรษที่ 12-14 ดนตรีในวัดมีรูปแบบ


เปลี่ยนไปจากตอนตนของสมัยกลาง กลาวคือ ในราวคริสตศตวรรษที่ 9 เปนตนมา เพลง แชนท ซึ่งรูจักกันในนามของเกรเกอเลียน แชนท (Gregorian Chant) ไดรับการพัฒนา มาเปนรูปของการขับรองแบบสอดประสานหรือ โพลีโฟนี (Polyphony) จนถึง คริสตศตวรรษที่ 13 ลักษณะของเพลงที่สําคัญในสมัยนี้ คือ ออรแกนนั่ม (Organum) คือ การรองในลักษณะของการรองประสานเสียงสองแนว โดยใชระยะขั้นคูเสียงคูสี่เปน หลักและเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน ระยะตอมาการเคลื่อนที่เริ่มไมจํากัดทิศทางและ ทายที่สุดมีออรแกนนั่มแบบ เสียงที่สอง (เสียงต่ํา) รองโนตยาว ๆ เพียง 1 ตัว ในขณะที่ เสียงหนึ่ง (เสียงสูง) รองโนต 5-10 ตัวเนื่องจากออรแกนนั่มเปนเพลงที่พัฒนามาจาก ดนตรีในวัดหรือเพลงโบสถจึง เปนเพลงที่ไมมีอัตราจังหวะในระยะแรกตอมาจึงเริ่มมี ลักษณะของอัตราจังหวะ กลาวไดวาในชวงเวลานี้สิ่งสําคัญเกิดขึ้น คือการรอง แบบสองทํานองเริ่มเกิดขึ้นแลวอยางเดนชัด เปนลักษณะของการสอดประสานในสมัย กลางนี้ทางดนตรีแบงเปนสมัยยอย ๆ ไดสองสมัย คือ สมัยศิลปเกา (Ars Antiqua) และ สมัยศิลปใหม (Ars Nova)

สมัยรีเนซองส คําวา “Renaissance” แปลวา “ การเกิดใหม” (Re-birth) ซึ่งหมายถึงชวงเวลาที่ ปญญาชนในยุโรปไดหันความสนใจจากกิจการฝายศาสนาที่ ไดปฏิบัติมาอยางเครงครัด ตลอดสมัยกลาง มาสูการฟนฟูศิลปวิทยา ซึ่งมีแนวความคิดอานและวัฒนธรรมตามแบบ กรีก และโรมันโบราณ สมัยแหงการฟนฟูศิลปวิทยานี้ ไดเริ่มขึ้นครั้งแรกตามหัวเมืองภาคเหนือของแหลมอิตาลี โดยไดเริ่มขซ ภาพ The Birth of Venus กอนแลวจึงแพรไปยังเวนิชปสา เจนัว จนทั่วแควนทัสคานีและลอมบารดี จากนั้นจึงแพรไปทั่วแหลมอิตาลีแลวขยายตัวเขาไปในฝรั่งเศส เยอรมนี เบลเยี่ยม เนเธอรแลนด และอังกฤษ ลักษณะของดนตรีในสมัยนี้ยังคงมีรูปแบบคลายในสมัยศิลปใหม แตไดมีการปรับปรุงพัฒนารูปแบบมากขึ้น

ลักษณะการสอดประสานทํานอง ยังคงเปนลักษณะเดน เพลงรองยังคงนิยมกัน แตเพลง บรรเลงเริ่มมี บทบาทมากขึ้น ในชวงศตวรรษที่ 15 และ 16 รูปแบบของดนตรีมีความแตกตาง กันดังนี้ ( ไขแสง ศุขะวัฒนะ,2535:89) 1. สมัยศตวรรษที่ 15 ประชาชนทั่วไปไดหลุดพนจากการปกครองระบอบศักดินา (Feudalism) มนุษยนิยม (Humanism) ไดกลายเปนลัทธิสําคัญทางปรัชญา ศิลปนผูมี ชื่อเสียง คือ ลอเร็นโซ กิแบรตี โดนาเต็ลโล เลโอนารโด ดา วินชิ ฯลฯ เพลงมักจะมี 3 แนว โดยแนวบนสุดจะมีลักษณะนาสนใจกวาแนวอื่น ๆ เพลงที่ประกอบดวยเสียง 4 แนว ในลักษณะของโซปราโน อัลโต เทเนอร เบส เริ่มนิยมประพันธกันซึ่งเปนรากฐานของการประสานเสียง 4 แนว ในสมัยตอ ๆ มา เพลงโบสถ จําพวกแมสซึ่งพัฒนามาจากแชนทมีการประพันธกันเชนเดียวกับในสมัยกลาง เพลงโมเต็ตยัง มีรูปแบบคลายสมัยศิลปใหม ในระยะนี้เพลงคฤหัสถเริ่มมีการสอดประสานเกิดขึ้น คือ เพลง ประเภท ซังซอง แบบสอดประสาน (Polyphonic chanson)


ซึ่งมีแนวทํานองเดน 1 แนว และมีแนวอื่นสอดประสานแบบลอกัน (Imitative style) ซึ่งมี แนวโนมเปนลักษณะของการใสเสียงประสาน(Homophony) ลักษณะลอกันแบบนี้เปนลักษณะ สําคัญของเพลงในสมัยนี้ นอกจากนี้มีการนํารูปแบบของโมเต็ตมาประพันธเปนเพลงแมสและ การนําหลักของแคนนอนมาใชในเพลงแมสดวย 2. สมัยศตวรรษที่ 16 มนุษยนิยมยังคงเปนลัทธิสําคัญทางปรัชญา การปฏิรูปทางศาสนาและการตอตานการปฏิรูปทางศาสนาของพวกคาทอลิกเปน เหตุการณสําคัญยิ่งของคริสตศาสนาเพลงรอง แบบสอดประสานทํานองพัฒนาจนมี ความสมบูรณแบบเพลงรองยังคงเปนลักษณะเดน แตเพลงบรรเลงก็เริ่มนิยมกันมากขึน ้ เพลงโบสถยังมีอิทธิพลจากเพลงโบสถของโรมัน แตก็มีเพลงโบสถของนิกายโปรแตส แตนทเกิดขึ้น การประสานเสียงเริ่มมีหลักเกณฑมากขึ้น การใชการประสานเสียงสลับกับ การลอกันของทํานองเปนลักษณะหนึ่งของเพลงในสมัยนี้ การแตงเพลงแมสและโมเต็ต นําหลักของการลอกันของทํานองมาใชแตเปนแบบฟวก (Fugue) ซึ่งพัฒนามาจาก แคนนอน คือ การลอของทํานองที่มีการแบงเปนสวน ๆ ที่สลับซับซอนมีหลักเกณฑมาก ขึ้นในสมัยนี้มีการปฏิวัติทางดนตรีเกิดขึ้นในเยอรมัน ซึ่งเปนเรื่องของความขัดแยง ทางศาสนากับพวกโรมันแคธอลิก จึงมีการแตงเพลงขึ้นมาใหมโดยใช กฏเกณฑใหมดวยเพลงที่เกิดขึ้นมาใหมเปนเพลงสวดที่เรียกวา “ โคราล” (Chorale) ซึง่ เปน เพลงที่นํามาจากแชนทแตใสอัตราจังหวะเขาไป นอกจากนี้ยังเปนเพลงที่นํามาจาก เพลงคฤหัสถโดย ใสเนื้อเปนเรื่องศาสนาและเปนเพลงที่แตงขึ้นใหมดวย เพลงในสมัยนี้เริ่มมี อัตราจังหวะแนนอน เพลงคฤหัสถมีการพัฒนาทั้งใชผูรองและการบรรเลง กลาวไดวาดนตรีใน ศตวรรษนี้มีรูปแบบ ใหม ๆ เกิดขึ้นและหลักการตาง ๆ มีแบบแผนมากขึ้น ในสมัยนี้มนุษยเริ่ม เห็นความสําคัญของดนตรีมาก โดยถือวาดนตรีเปนสวนหนึ่งของชีวิต นอกจากจะให ดนตรีในศาสนาสืบเนื่องมาจากสมัยกลาง (Middle Ages) แลวยังตองการดนตรีของคฤหัสถ (Secular Music) เพื่อพักผอนในยามวาง เพราะฉะนั้นในสมัยนี้ดนตรีของคฤหัสถ (Secular Music) และดนตรีศาสนา (Sacred Music) มีความสําคัญเทากัน สรุป ลักษณะบทเพลงในสมัย นี้ 1. บทรองใชโพลีโฟนี (Polyphony) สวนใหญใช 3-4 แนว ในศตวรรษที่ 16 ไดชื่อวา “The Golden Age of Polyphony”2. มีการพัฒนา Rhythm ในแบบ Duple time และ Triple time ขึ้น3. การประสานเสียงใชคู 3 ตลอด และเปนสมัยสุดทายที่มรี ูปแบบของขับรองและบรรเลง เหมือนกัน สมัยบาโรก Baroque” มาจากคําวา “Barroco” ในภาษาโปรตุเกสซึ่งหมายถึง “ ไขมุกที่มี สัณฐานเบี้ยว” (Irregularly shaped pearl) Jacob Burckhardt เปนคนแรกที่ใชคํานี้เรียกสไตลของงานสถาปตยกรรมและจิตรกรรมใน คริสตศตวรรษที่ 17 ที่เต็มไปดวยการตกแตงประดับประดาและใหความรูสึกออนไหว( ไขแสง ศุขวัฒนะ,2535:96) ในดานดนตรี ไดมีผูนําคํานี้มาใชเรียกสมัยของดนตรีที่เกิดขึ้นในยุโรป เริ่มตั้งแตตน คริสตศตวรรษที่ 17 และมาสิ้นสุดลงราวกลางคริสตศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปนเวลารวม 150 ป เนื่องจากสมัยบาโรกเปนสมัยที่ยาวนานรูปแบบของเพลงจึงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา อยางไรก็ตามรูปแบบของเพลงที่สามารถกลาวไดวาเปนลักษณะเดนที่สุดของดนตรี

สมัยบาโรก


ไดปรากฏในบทประพันธของ เจ. เอส. บาคและยอรช ฟริเดริค เฮนเดล ซึ่งคีตกวีทั้งสองนี้ ไดแตงขึ้นในชวงเวลาครึ่งแรกของศตวรรษที่ 18 ในตอนตนสมัยบาโรกคีตกวีสวนมากไดเลิก นิยมสไตลโพลี่โฟนี (Polyphony) ในสมัยฟนฟูศล ิ ปวิทยา ซึ่งแนวขับรองแตละแนวในบทเพลง ตางมีความสําคัญทัดเทียมกันและหันมาสนใจสไตลโมโนดี (Monody) ซึ่งในบทเพลงจะมีแนว ขับรองเพียงแนวเดียวดําเนินทํานอง และมีแนวสําคัญที่เรียกในภาษาอิตาเลี่ยนวา “ เบสโซคอน ตินิวโอ (Basso Continuo)” ทําหนาที่เสียงคลอเคลื่อนที่ตลอดเวลาประกอบ ทําใหเกิดคอรด ขึ้นมา อยางไรก็ตามคีตกวีรุนตอมาก็มิไดเลิกสไตลโฟลี่โฟนีเสียเลยทีเดียวหากยังใหไปปรากฏ ในดนตรีคียบอรดในแบบแผนของฟวก (Fugue) ออรแกนโคราล (Organchorale) ตลอดจน ทอคคาตา (Toccata) ซึง่ แตงโดยใชเทคนิค เคานเตอรพอยท (Counterpoint) ในสมัยบาโรก ดนตรีศาสนาในแบบแผนตาง ๆ เชน ออราทอริโอ แมส พาสชัน คันตา

ตา ในศาสนา (Church Cantata) คีตกวีก็นิยมแตงกันไวมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง “ แมสใน บี ไม เนอร” ของ เจ. เอส. บาค และออราทอริโอ เรื่อง “The Messiah” ของเฮนเดล จัดไดวาเปน ดนตรีศาสนาที่เดนที่สุดของสมัยนี้ ลักษณะสําคัญอีกอยางหนึ่งของดนตรีสมัยบาโรกคือ การทําใหเกิด “ ความตัดกัน” (Contrasting) เชน ในดาน ความเร็ว – ความชา ความดัง – ความคอย การบรรเลงเดี่ยว – การ บรรเลงรวมกัน วิธีเหลานี้พบในงานประเภท ตริโอโซนาตา (Trio Sonata) คอนแชรโต กรอซ โซ (Concerto Grosso) ซิมโฟเนีย (Simphonia) และคันตาตา (Cantata) ตลอดสมัยนี้คีตกวี มิไดเขียนบทบรรเลงสวนใหญของเขาขึ้นอยางครบบริบูรณ ทั้งนี้เพราะเขาตองการใหผูบรรเลงมี โอกาสแสดงความสามารถการเลนโดยอาศัยคีตปฏิภาณหรือการดนสด (Improvisation) และ การประดิษฐเม็ดพราย (Ornamentation) ในแนวของตนเอง ในสมัยบาโรกนี้การบันทึกตัวโนตไดรับการพัฒนามาจนเปนลักษณะการบันทึกตัวโนตที่ใชใน ปจจุบัน คือการใชบรรทัด 5 เสน การใชกุญแจซอล (G Clef) กุญแจฟา (F Clef) กุญแจอัลโต และกุญแจเทเนอร (C Clef) มีการใชสัญลักษณตัวโนตและตัวหยุดแทนความยาวของจังหวะ และตําแหนงของตัวโนตบรรทัด 5 เสน แทนระดับเสียงและยังมีตัวเลขบอกอัตราจังหวะมีเสน กั้นหองและสัญลักษณอื่น ๆ เพื่อใชบันทึกลักษณะของเสียงดนตรี

สมัยคลาสสิก ตั้งแต ปลายคริสตศตวรรษที่ 18 มาจนถึงชวงตนของคริสตศตวรรษที่ 19 นับไดวาเปนชวงเวลา ที่ประชาชนสวนใหญในยุโรปมีความตื่นตัวในเรื่อง ประชาธิปไตยเหตุการณที่ไดกระตุนเรื่องนี้ เปนอยางมากก็คือการปฏิวัติ ครั้งใหญในฝรั่งเศสซึ่งเริ่มขึ้นในป ค. ศ. 1879 การรบครั้งสําคัญใน สมัยนี้คือ สงครามเจ็ดป ( ค. ศ.1756-1763) สงครามฝรั่งเศสและอินเดีย ในอเมริกาเกิดสงครามระหวางอังกฤษและอาณานิคมอเมริกัน ซึ่งนําไปสูการประกาศอิสรภาพ ของอเมริกันในป 1776 และสงครามนโปเลียนใน ยุโรป ซึ่งเปนผลใหเกิดคองเกรสแหงเวียนนา ขึ้นในป ค. ศ. 1814 สมัยนี้ในทางปรัชญาเรียนกวา “ ยุคแหงเหตุผล” Age of Reason ( ไขแสง ศุขวัฒนะ ,2535:102) หลังการตายของ เจ. เอส. บาค (J. S. Bach) ในป 1750 ก็ไมมีผูประสบความสําเร็จในรูปแบบ ของดนตรีแบบบาโรก (Baroque style) อีก มีการเริ่มของ The (high) Classical era ในป 1780 เราเรียกชวงเวลา หลังจากการตายของ เจ. เอส. บาค (J. S. Bach1730-1780) วา The early classical period ดนตรีในสมัยบาโรก นั้นมีรูปพรรณ (Texture) ที่ยุงยากซับซอนสวนดนตรีในสมัยคลาสสิกมีลักษณะเฉพาะคือมี โครงสราง (Structure) ที่ชด ั เจนขึ้น การคนหาความอิสระในดาน วิชาการ เปนหลักสําคัญทีท ่ ําใหเกิดสมัยใหมนี้


ลักษณะของดนตรีในสมัยคลาสสิกที่เปลี่ยนไปจากสมัยบาโรกที่เห็นไดชัด คือ การไม นิยมการสอดประสานของทํานองที่เรียกวาเคานเตอรพอยท (Counterpoint) หันมานิยมการเนน ทํานอง หลักเพียงทํานองเดียวโดยมีแนวเสียงอื่นประสานใหทํานองไพเราะขึ้น คือการใสเสียงประสาน ลักษณะของบาสโซ คอนตินูโอเลิกใชไปพรอม ๆ กับการสรางสรรคแบบอิมโพรไวเซชั่น (Improvisation) ผูประพันธนิยมเขียนโนตทุกแนวไว ไมมีการปลอยวางใหผูบรรเลงแตงเติมเอง ลักษณะของบทเพลงก็เปลี่ยนไปเชนกัน ศูนยกลางของสมัยคลาสสิกตอนตนคือเมืองแมนฮีมและกรุงเวียนนาโรงเรียนแมนฮีม จัดตั้งขึ้นโดย Johann Stamitz ซึ่งเปนนักไวโอลิน และเปนผูควบคุม Concert ของ The Mannheim orchestra เขาเปนผูพัฒนาสไตลใหมของการประพันธดนตรี (Composition) และ การเรียบเรียงสําหรับวงออรเคสตรา (Orchestration) และยังพัฒนา The sonata principle in 1st movement of symphonies, second theme of Stamitz ตรงกันขามกับ 1st theme ซึ่ง Dramatic, striking หรือ Incisive ( เชือดเฉือน) เขามักเพิ่มการแสดงออกที่เปนทวงทํานอง เพลงนําไปสูบทเพลงใน ซิมโฟนี การเปลี่ยนความดัง - คอย (Dynamic) อยางฉับพลันในชวง สั้น ๆ ไดรับการแสดงครั้งแรกโดย Manheim orchestra เขายังขยาย Movement scheme of symphony จากเร็ว- ชา- เร็ว เปน เร็ว – ชา – minuet – เร็ว(minuet คือดนตรีบรรเลงเพื่อการ เตนรําคูในจังหวะชา 3 จังหวะ ) ใชครั้งแรกโดย GM Monn แบบแผนนี้กลายเปนมาตรฐานใน ซิมโฟนีและ สตริงควอเตท (String quartet ) สมัยคลาสสิกนี้จัดไดวาเปนสมัยที่มีการสรางกฎเกณฑรูปแบบในทุก ๆ อยางเกี่ยวกับการ ประพันธเพลงซึ่งในสมัยตอ ๆ มาไดนํารูปแบบในสมัยนี้มาใชและพัฒนาใหลึกซึ้งหรือ แปรเปลี่ยนไป เพลงในสมัยนี้เปนดนตรีบริสุทธิ์สวนใหญ กลาวคือ เพลงที่ประพันธขึ้นมาเปนเพลงซึ่ง แสดงออกถึงลักษณะของดนตรีแท ๆ มิไดมีลักษณะเปนเพลงเพื่อบรรยายถึงเหตุการณหรือ เรื่องราวใด ๆ ซึ่งเปนลักษณะที่มีกฎเกณฑ ไมมีการใสหรือแสดงอารมณของผูประพันธลงในบท เพลงมากนัก ลักษณะของเสียงที่ดัง - คอย คอย ๆ ดัง และคอย ๆ เบาลง ดนตรีสไตลเบา ๆ และสงางามของโรโคโค (Rococo Period ) ซึ่งตรงขามกับสไตลที่ เครงเครียดในสมัยบาโรก โดยปกติมันเปน Lightly accompanied pleasing music ดวย Phrasing ที่สมดุลยกัน (JC Bach, Sammartini, Hasse, Pergolesi ) Galant เหมือนกับ โรโค โค (Rococo Period ) ในแนวคิดของHeavy ornamentation แตตางกันตรงที่ลักษณะดนตรีมี โครงสรางและประโยคเพลงที่มีแบบแผนและรูปแบบที่มีความออนไหวงาย พยายามแสดงออก ถึงความรูสึกที่แทจริงและเปนธรรมชาติ แทรกความโรแมนติกของศตวรรษที่ 19 เขาไป จุดหมายเพื่อแสดงความเปนตัวของตัวเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งดนตรีของ CPE Bach และ WF Bach ดวย ความหมายของคําวา “ คลาสสิกซิสซึ่ม” (Classicism) คําวา “ คลาสสิก” (Classical) ในทางดนตรีนั้น มีความหมายไปในทางเดียวกันกับ ความหมายของอุดมคติของลัทธิ Apollonian ในสมัยของกรีกโบราณ โดยจะมีความหมายที่มี แนวคิดเปนไปในลักษณะของความนึกถึงแตสิ่งที่เปนภายนอกกาย สภาพการเหนี่ยวรั้งทาง อารมณ ความแจมแจงในเรื่องของรูปแบบ และการผูกติดอยูกับหลักทางโครงสรางอยางใด อยางหนึ่ง อุดมคติทางคลาสสิกในทางดนตรีนั้นมิไดจํากัดอยูแตในชวงตอนปลายของศตวรรษ ที่ 18 เทานั้น อุดมคติทางคลาสสิกดังกลาว ยังเคยมีปรากฏมากอนในชวงสมัยอารสอันติควา (Ars Antiqua) และมีเกิดขึ้นใหพบเห็นอีกในบางสวนของงานประพันธการดนตรีในศตวรรษที่ 20


พวกคลาสสิกนิยม (Classicism) ก็มีในดนตรีในชวงตอนปลาย ๆ ของสมัยบาโรก ซึ่งเปน ดนตรีสไตลของบาค (J.S. Bach) และของฮัลเดล (Handel) เชนกัน ในชวงของความเปน คลาสสิกนิยมนั้นมี 2 ชวง คือ ในตอนตนและใชชวงตอนปลายของศตวรรษที่ 18 และในชวง ตอนปลายขอศตวรรษที่ 18 มักจะเรียกกันโดยทั่ว ๆ ไปวา เปนสมัยเวียนนิสคลาสสิก (Viennese Classical Period) เพื่อใหงายตอการระบุความแตกตางระหวางคลาสสิกตอนตนและ ตอนปลายนั้นเอง และที่เรียกวาเปนสมัยเวียนนิสคลาสสิก ก็เพราะเหตุวาชวงเวลานั้นกรุง เวียนนาของออสเตรียถูกถือวาเปนเมืองศูนยกลางหลักของการดนตรีในสมัยนั้นความวามหมาย ออกมาได คือ มองออกจากตัว(Objective) แสดงถึงการเหนี่ยวรั้งจิตใจทางอารมณ สละสลวย การขัดเกลาใหงดงามไพเราะ และสัมผัสที่ไมตองการความลึกล้ํานัก นอกจากความหมาย ดังกลาวแลวคลาสสิกยังมีความหมาย ที่อาจกลาวไปในเรื่องของประมวลผลงานก็ได กลาวคือ ผลงานทางดนตรี บทบรรเลงที่เห็นไดชัดวามีมากขึ้นกวาผลงานทางการประพันธโอเปราและ ฟอรมอื่น ๆ

สมัยโรมันติค ความหมายของคําวา “โรแมนติก” กวางมากจนยากที่จะหานิยามสั้น ๆ ใหได ในทางดนตรีมักใหความหมายวา ลักษณะที่ตรงกันขามกับดนตรีคลาสสิก กลาวคือ ขณะที่ ดนตรีคลาสสิกเนนที่รูปแบบอันลงตัวแนนอน (Formality)โรแมนติกจะเนนที่เนื้อหา(Content) คลาสสิกเนนความมีเหตุผลเกี่ยวของกัน (Rationalism)โรแมนติกเนนที่อารมณ (Emotionalism) และคลาสสิกเปนตัวแทนความคิด แบบภววิสัย(Objectivity) โรแมนติกจะ เปนตัวแทนของอัตวิสัย (Subjectivity) นอกจากนี้ยังมีคํานิยามเกี่ยวกับดนตรีสมัยโรแมนติก ดังนี้ คุณลักษณะของการยอมใหแสดงออกไดอยางเต็มที่ซึ่งจินตนาการ อารมณที่หวั่นไหว และ ความรูสึกทางใจ ในดนตรีและวรรณกรรม หมายถึง คําที่ตรงกันขามกับคําวา “Classicism” เสรีภาพที่พนจากการ เหนี่ยวรั้งทางจิตใจ หรือจารีตนิยมเพื่อที่จะกระทําการในเรื่องใด ๆ สมัยโรแมนติกเริ่มตนขึ้นในตอนตนของศตวรรษที่ 19แตรูปแบบของดนตรีโรแมนติก เริ่มเปนรูปแบบขึ้นในตอนปลายของศตวรรษที่ 18 แลวโดยมีเบโธเฟนเปนผูนํา และเปนรูปแบบ ของเพลงที่ยังคงพบเห็นแมในศตวรรษที่ 20 นี้ สมัยนี้เปนดนตรีที่แสดงออกถึงอารมณ ความรูสึกของ ผูประพันธอยางมาก ผูประพันธเพลงในสมัยนี้ไมไดแตงเพลงใหกับเจานายของ ตนดังในสมัยกอน ๆ ผูประพันธเพลงแตงเพลงตามใจชอบของตน และขายตนฉบับใหกับ สํานักพิมพเปนสวนใหญ ลักษณะดนตรีจึงเปนลักษณะของผูประพันธเอง ลักษณะของดนตรีโรแมนติก (ไขแสง ศุขะวัฒนะ,2535 :111) 1. คีตกวีสมัยนี้มีความคิดเปนตัวของตัวเองมากขึ้น สามารถแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดอยางมี อิสระ ไมจําเปนตองสรางความงามตามแบบแผนวิธีการ และไมตองอยูภายใตอิทธิพลของผูใด ทั้งนี้เพราะเขาไมไดอยูในความอุปภัม ภของโบสถ เจานาย และขุนนางเชนคีตกวีสมัยคลาสสิก อีกตอไป 2. ใชอารมณ และจินตนาการเปนปจจัยสําคัญในการสรางสรรคผลงาน 3. ลักษณะที่เปลี่ยนไปอยูภายใตอิทธิพลของ “ลัทธิชาตินิยม” (Nationalism) 4. ลักษณะที่ยังคงอยูภายใตอิทธิพลของ “ลัทธินิยมเยอรมัน” (Germanism) 5. ลักษณะภายในองคประกอบของดนตรีโดยตรง


ขึ้นมีแนวเหมือนแนวสําหรับขับรองมากขึ้น และความยาวของวลี (Phrase) ก็เปลี่ยนแปลงไป โดยไมจํากัด 5.2 การประสานเสียง โครงสรางของคอรดและลําดับการใชคอรด มีเสรีภาพมากขึ้น การใชคอรด 7 คอรด 9 อยางมีอิสระ และการยายบันไดเสียงแบบโครมาติค (Chromatic Modulation) มีบทบาทที่สําคัญ 5.3 ความสําคัญของเสียงหลัก (Tonality) หรือในคียยังคงมีอยู แตเริ่มคลุมเครือหรือ เลือนลางไปบาง เนื่องจากบางครั้งมีการเปลี่ยนบันไดเสียงออกไปใชบันไดเสียงที่เปนญาติหาง ไกลบาง หรือ Chromatic Modulation 5.4 พื้นผิว ในสมัยนี้โฮโมโฟนียังคงมีความสําคัญมากกวาเคานเตอรพอยท 5.5 ความดังเบาของเสียง (Dynamics) ในสมัยนี้ไดรับการเนนใหชัดเจนทั้งความดัง และความเบาจนเปนจุดเดนจุดหนึ่ง

สมัยอิมเพลสชั่นนิสติก ในตอนปลายของศตวรรษที่ 19 จนถึงตอนตนของศตวรรษที่ 20 (1890-1910) ซึ่งอยูใ นชวง ของสมัยโรแมนติก ไดมีดนตรีที่ไดรับการพัฒนาขึ้นโดยเดอบุสชีผูประพันธเพลงชาวฝรั่งเศส ดนตรีอิมเพรสชั่นนิสติกกอใหเกิดความประทับใจ และแตกตาง จากดนตรีโรแมนติกซึ่งกอใหเกิดความสะเทือนอารมณลักษณะทั่ว ๆไปของดนตรีอิมเพรสชั่นนิ สติกนั้นเต็มไปดวยจินตนาการที่เฟองฝน อารมณที่ลองลอยอยางสงบ และความนิ่มนวล ละมุนละไมในลีลา ผูฟงจะรูสึกเสมือนวาไดสัมผัสกับบรรยากาศตอนรุงสางในกลุมหมอกที่มี แสงแดดออน ๆ สลัว ๆ ถาจะกลาวถึงในดานเทคนิคดนตรีอิมเพรสชั่นนิสติกไดเปลี่ยนแปลง บันไดเสียงเสียใหมแทนที่จะเปนแบบเดียโทนิค (Diatonic) ซึ่งมี 7 เสียงอยางเพลงทั่วไปกลับ เปนบันไดเสียงที่มี 6 เสียง ( ซึ่งระยะหางหนึ่งเสียงเต็มตลอด) เรียกวา “ โฮลโทนสเกล” (Whole – tone Scale)

นอกจากนี้คอรดทุกคอรดยังเคลื่อนไปเปนคูขนานที่เรียกวา “Gliding Chords” และ สวนใหญของบทเพลงจะใชลีลาที่เรียบ ๆ และนุมนวล เนื่องจากลักษณะของบันไดเสียงแบบ เสียงเต็มนี้เองบางครั้งทําใหเพลงในสมัยนี้มีลักษณะลึกลับไมกระจางชัด ลักษณะของ ความรูสึกที่ได จากเพลงประเภทนี้จะเปนลักษณะของความรูสก ึ “ คลาย ๆ วาจะเปน…” หรือ“ คลาย ๆ วาจะเหมือน…” มากกวาจะเปนความรูสึกที่แนชัดลงไปวาเปนอะไร ( ณรุทธ สุทธ จิตต,2535 :174)

สมัยศตวรรษที่ 20 - ปจจุบัน หลังจากดนตรีสมัยโรแมนติกผานไป ความเจริญในดานตาง ๆ ก็มค ี วามสําคัญและมี การพัฒนา อยางตอเนื่องตลอดมา ความเจริญทางดานการคา ความเจริญทางดานเทคโนโลยี ความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตร การขนสง การสื่อสาร ดาวเทียม หรือแมกระทั่งทางดาน คอมพิวเตอร ทําใหแนวความคิดทัศนคติของมนุษยเราเปลี่ยนแปลงไปและแตกตางจาก แนวคิดของคนในสมัยกอน ๆ จึงสงผล ใหดนตรีมีการพัฒนาเกิดขึ้นหลายรูปแบบ คีตกวีทั้งหลายตางก็ไดพยายามคิดวิธีการแตงเพลง


การสรางเสียงใหม ๆ รวมถึงรูปแบบการบรรเลงดนตรี เปนตน

จากขางตนนี้จึงสงผลโดยตรงตอการพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปแบบของดนตรีในสมัย ศตวรรษที่ 20 ความเปลี่ยนแปลงในทางดนตรีของคีตกวีในศตวรรษนี้ก็คือ คีตกวีมีความคิดที่ จะทดลอง สิ่งใหม ๆ แสวงหาทฤษฎีใหม ๆ ขึ้นมาเพื่อรองรับความคิดสรางสรรคกับสิ่งใหม ๆ ใหกับตัวเอง ดนตรีในศตวรรษที่ 20 นี้ .ลาวไดวาเปนลักษณะของดนตรีที่มีหลายรูปแบบ นอกจากนี้ยัง มีการใชบันไดเสียงมากกวา 1 บันไดเสียงในขณะเดียวกันที่เรียกวา “ โพลีโทนา ลิตี้” (Polytonality) ในขณะที่การใชบันไดเสียงแบบ 12 เสียง ที่เรียกวา “ อโทนาลิตี้” (Atonality) เพลงจําพวกนี้ยังคง ใชเครื่องดนตรีที่มีมาแตเดิมเปนหลักในการบรรเลง ลักษณะของบทเพลง ดนตรีในศตวรรษที่ 20 นี้ไมอาจที่จะคาดคะเนไดมากนัก เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง

อยาง รวดเร็วตามความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี การเลื่อนไหลทางวัฒนธรรม คนในโลก เริ่ม ใกลชิดกันมากขึ้น (Globalization) โดยใชเครือขายคอมพิวเตอร หรืออินเตอรเน็ต (Internet) ในสวนขององคประกอบทางดนตรีในศตวรรษนี้มีความซับซอนมากขึ้นมาตรฐาน ของรูปแบบที่ใชใน การประพันธและการทําเสียงประสานโดยยึดแบบแผนมาจากสมัยคลาสสิก ไดมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและสรางทฤษฎีขึ้นมาใหมเพื่อรองรับ ดนตรีอีกลักษณะคือ บทเพลงที่ประพันธ ขึ้นมาเพื่อบรรเลงดวยเครื่องดนตรีอีเลคโทรนิค ซึ่งเสียงเกิดขึ้นจากคลื่นความถี่จากเครื่อง อิเลคโทรนิค (Electronic) สงผลใหบทเพลงมีสีสันของ เสียงแตกตางออกไปจากเสียงเครื่อง ดนตรีประเภทธรรมชาติ (Acoustic) ที่มีอยู อยางไรก็ตาม การจัดโครงสรางของดนตรียังคง เนนที่องคประกอบหลัก 4 ประการเหมือนเดิม กลาวคือระดับเสียง ความดังคอยของเสียง ความสั้นยาวของโนต และสีสันของเสียง


6. การออกแบบและพัฒนาแบบ(Design and Development)


7. การทดลอง ทดสอบ การใชงานจริง (Implementation/Deploy)




8. การสรุปผลงานการออกแบบ(Design Conclusion) 8.1 แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน(Inspiration)  ในการออกแบบผลิตภัณฑซีดีเพลง CRU Music ในครั้งนี้ขาพเจาไดแรง บันดาลใจมาจาก พนะจันทรซึ่งเปนสัญลักษณ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และตัวโนตที่เปนตัวแทนของดนตรี 8.2 ความคิดสรางสรรค(Creative Idea) ความคิดสรางสรรคในการออกแบบผลงานชื้นนี้ คือการประยุกตลวดลายของ พระจันทรและตัวโนต ใหเขากันไดอยางลงตัว 8.3 การออกแบบโครงงานที่ลงตัว สวยงาม(Design and Aesthetics) - ออกแบบตราผลิตภัณฑใหมีความเหมาะสม กับบรรจุภัณฑและผลิตภัณฑ - ทําใหเกิดความแตกตางกับตราสินคา รายอื่น หรือของคูแขง - ศึกษาขอมูลของบรรจุภัณฑและผลิตภัณฑ ใหดีแลวจึงลงมือออกแบบใหมี ความนา สนใจ ดึงดูดความสนใจจากผูบริโภค มีการออกแบบที่มีลักษณะเดนชัด 8.4 คุณคาและประโยชนที่ไดรับจากตัวผลงาน(Value and Benefit)


- ไดความรูหลักการออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ หลักการคิดกอนการลงมือ สรางงานกราฟก บนบรรจุภัณฑ - ไดรูวิธีและหลักการสรางงาน ตั้งแตเริ่มตน คือ รางทางความคิด(Sketch Design) ไปจนถึงการสรางสรรคผลงานที่ดีออกมาโดยสําเร็จ - ไดฝกฝมือการออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ ดวยหลากหลายโปรแกรม - ไดรูจักการพัฒนาการออกแบบใหกาวหนามีการพัฒนาเปนขั้นตอน ตามแบบ แผนการทํางานที่ถูกตอง - ไดพัฒนาบรรจุภัณฑและสินคาที่มีอยูทั่วไปใหมีความกาวหนาขึ้น - ไดพบเจอกับปญหาและการแกปญหามากมาย ไดฝกประสบการณในการทํางาน ออกแบบ

8.5 ขอเสนอแนะ 1.ตองทํางานมีแบบแผนเปนขั้นตอนในการสรางงานออกแบบ 2.ศึกษาขอมูลทุกครั้ง กอนที่จะสรางงานออกแบบหรือสรางงานอื่นๆ 3.ตองมีหลักการหรือจุดประสงคที่ตองการออกแบบ 4.ควรรูจักพัฒนาการออกแบบ เพื่อใหสามารถนําไปใชงานอื่นๆได 5.ควรศึกษาคนควาขอมูลหรือความรูใหมๆ เปนประจํา



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.