บทบาทของแหล่งเรียนรู้

Page 1

บทบาทของแหล่ง เรีย นรู้ บทบาทของแหล่งเรียนรู้ในการให้การศึกษา ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ผู้เรียน ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย คือ 1. แหล่งเรียนรู้ต้องสามารถตอบสนองการเรียนรู้ที่เป็นกระบวนการ (Process of Learning) การเรียนรู้โดยปฏิบัติจริง (Learning by doing) ทั้ง การเรียนรู้ของคนในชุมชนที่มีแหล่งเรียนรู้ของตนเองอยู่แล้ว และการ เรียนรู้ของคนอื่น ๆ ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย 2. เป็นแหล่งทำากิจกรรม แหล่งทัศนศึกษา แหล่งฝึกงาน และแหล่ง ประกอบอาชีพของผู้เรียน 3. เป็นแหล่งสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นโดยตนเอง 4. เป็นห้องเรียนทางธรรมชาติ เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้า วิจัย และฝึก อบรม 5. เป็นองค์กรเปิด ผู้สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเต็มที่และทั่ว ถึง 6. สามารถเผยแพร่ขอ ้ มูลแก่ผู้เรียนในเชิงรุก เข้าู​ูสู่ทุกกลุ่มเป้า หมายอย่างทั่วถึง ประหยัดและสะดวก 7. มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน 8. มีสื่อประเภทต่าง ๆ ประกอบด้วย สือ ่ สิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ เพื่อเสริมกิจกรรมการเูีรียนการสอนและการพัฒนาอาชีพ สาระสำา คัญ ของแหล่ง เรีย นรู้


แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ และ ประสบการณ์ที่สนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียนใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริม สร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ การเรีย นรู้ท ี่เ น้น ผู้เ รีย นเป็น ศูน ย์ก ลาง เป็น แนวคิด ที่ม ุ่ง เน้น การ เรีย นรู้ข องผู้เ รีย น ในโลกปัจจุบันพบว่าความต้องการเกี่ยวกับตัวผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น เพราะว่าที่ผ่านมาอาจจะมีการตอบสนองต่อการเรียนแบบท่องจำามามาก แล้ว แต่ในสภาพชีวิตจริงต้องการบุคคลในสังคมที่มีความสามารถในการ ใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่สูงขึ้นในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ซึ่งพบ ว่าความสามารถในทักษะดังกล่าวที่จะนำามาใช้ในการแก้ปัญหาไม่ค่อย ปรากฎให้เห็นหรือมีอยู่น้อยมาก ซึ่งจะพบว่าทุก ๆ คนไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ ทำางานในโรงงานประกอบเครื่องจักรตามสายพานหรือทำางานที่ต้องร่วมกัน คิดเป็นทีม ต่างล้วนจำาเป็นต้องมีทักษะการแก้ปัญหาด้วยกันทั้งหมด ซึ่งนั่น หมายความว่าแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาต้องเปลี่ยนไป ดังที่ Driscoll (1994) กล่าวว่า อาจจะต้องเปลี่ยนจากแนวคิดที่ว่า ผู้เรียนเป็น ภาชนะที่ว่างเปล่าที่รอรับการเติมให้เต็ม มาคิดว่า ผูเ้ รียนเป็นสิ่งมีชีวิตที่มี ความตื่นตัว กระฉับกระเฉงและค้นหาความหมายของสิ่งต่างๆ ซึ่งขณะนี้ผู้ เรียนจะถูกมองว่าเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมอย่างตื่นตัวในการเรียนรู้ คิดค้นหาวิธีที่ จะวิเคราะห์ ตั้งคำาถาม อธิบายและทำาความเข้าใจต่อสิ่งแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา


โลกในยุคโลกาภิวัฒน์เป็นยุคที่การส่งข้อมูลมีความรวดเร็วมาก เทคโนโลยี เปิดโอกาสให้แต่ละบุคคลได้รับ รวบรวม วิเคราะห์และสื่อสารข้อมูล ข่าวสารได้อย่างละเอียดและรวดเร็วมากกว่าที่ผ่านมา เป็นผลที่ทำาให้ความ ต้องการและขอบเขตเกี่ยวกับการศึกษาขยายเพิ่มมากขึ้น เพื่อที่จะช่วยผู้ เรียนทุกคนได้รับทักษะที่เพิ่มมากขึ้น ที่จะทำาให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมใน การวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงที่ซับซ้อน ดัง ที่ Bruner (1993) กล่าวว่า "ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก "การ จดจำา" ข้อเท็จจริงไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์" ความจำาเป็นที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ นำามาสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ ครูผู้สอนจะมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน จากเดิมจะเป็นการบอก ถ่ายทอด ความ รู้จากครูไปสู่ ผูเ้ รียน มาเป็น การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอือ ้ ต่อการเรียนรู้ การยิ่ง ไปกว่านั้นความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจำาเป็นที่ครูผู้สอนต้องมีพื้นฐานของ ความเข้าใจอย่างดีเกี่ยวกับผู้เรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้อย่างไร

ดังนั้นผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่จะนำามาใช้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ ซึ่งแต่เดิมมักเป็นการสอนให้ผู้เรียน เรียนโดยเน้นการท่องจำา และปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะ ช่วยผู้เรียนได้รับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้เทคนิค ช่วยการจำา เช่น Mnemonics เป็นต้น รวมทั้งการจัดการสอนที่เน้นครูเป็น ศูนย์กลางอาจนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามสิ่งที่


สำาคัญและเป็นความต้องการของการศึกษาในขณะนี้คือ การสอนที่ผู้เรียน ควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่าย โอน (Transfer) โดยเน้นการใช้วิธีการต่าง ๆ อาทิ สถานการณ์จำาลอง การ ค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ สำาหรับผู้เรียนจะได้รับ ประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพชีวิจริง แหล่งอ้างอิง: http://61.7.233.3/cd/index.php?pg=content&id=2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.