MUSICTHERAPYCLINIC

Page 1

A R CHT HE S

1 0 8 T2 T U M R S I

A D V I S OR: P R A S OP C H OK EH OP R I C H A K I T

J I R A Y UJ T I T T R A NONA R C H5 / 2

MU S I C T H E R A P Y C L I NI C


โครงการคลินิกบําบัดผูปว ยดวยดนตรี

โดย นาย จิรายุ จิตรานนท

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาสถาปตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) สาขาเทคโนโลยีสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปการศึกษา 2561


MUSIC THERAPY CLINIC

By MR. JIRAYU JITTRANON

A Thesis submitted in partial fulfillment of the requirement for the bachelor degree of Architecture Division of architecture Technology Faculty of Architecture Rajamangala University of Technology Thanyaburi 2018


สารบัญ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ - สารบัญ - สารบัญแผนที่ - สารบัญภาพ - สารบัญแผนภูมิ

ก ข A B C D

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ควทสําคัญของโครงการ 1.2 วัตถุประสงคของโครงการ 1.3 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.5 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ 1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1-1 1-2 1-2 1-2 1-3 1-4

บทที่ 2 หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1 ความหมายและคําจํากัดความ 2.2 ความเปนมาของเรื่องที่ศึกษา 2.3 ทฤษฎีและผลการทดลองเกี่ยวกับการรักษา 2.3.1 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับดนตรีบําบัด 2.3.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับโรคเครียด 2.3.3 รูปแบบการบําบัด Singing bowl Therapy 2.3.4 รูปแบบการบําบัด Vibroacoustic Therapy 2.3.5 รูปแบบการบําบัด Dalcroze

2-1 2-3 2-3


สารบัญ ( ตอ ) 2.4 ทฤษฎีหรือแนวคิดที่เกี่ยวของกับการออกแบบ 2.4.1 จุดประสงคของการนําดนตรีบําบัดมาใช 2.4.2 กลุมเปาหมายของโครงการ 2.4.3 ขั้นตอนการบําบัด 2.4.4 กรรมวิธีการผลิตคลื่นเสียง Binaural beats 2.5 กฎหมายขอบัญญัติที่เกี่ยวของกับโครงการ 2.6 กรณีศึกษาอาคารตัวอยาง

2-9

2-14 2-15

บทที่ 3 การวิเคราะหตําแหนงที่ตั้งโครงการ 3.1 การศึกษาและวิเคราะหทําเลที่ตั้งโครงการ

3-1

3.1.1 ขอมูลทางกายภาพ 3.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ 3.1.3 ลักษณะภูมิอากาศ 3.1.4 ดานสิ่งแวดลอม 3.1.5 ประชากร 3.2 การศึกษาและวิเคราะหองคประกอบเมือง 3.2.1 ประวัติความเปนมาเขตสวนหลวง 3.2.2 การคมนาคมและการสัญจรในเขตสวนหลวง 3.2.3 การคมนาคมทางรถไฟฟา

3-4


สารบัญ ( ตอ ) 3.3 เกณฑการพิจารณาที่ตั้งโครงการ

3-7

3.4 การพิจารณาเลือกที่ตั้งโครงการ

3-8

3.5 กฎหมายที่เกี่ยวของ

3-9

3.6 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ

3-10

3.7 บริบทโดยรอบ

3-13

บทที่ 4 การกําหนดรายละเอียดของโครงการ 4.1 ความเปนมาของโครงการ

4-1

4.2 วัตถุประสงคของโครงการ

4-2

4.3 การกําหนดโครงสรางการบริหาร

4-3

4.4 โครงสรางการบริหารงาน

4-3

4.5 รายละเอียดผูใชโครงการ

4-4

4.6 การกําหนดรายละเอียและกิจกรรมของโครงการ

4-7

4.7 พื้นที่ใชสอย

4-9

4.8 การประมาณการงบประมาณของโครงการ

4-11

4.9 ระบบอาคาร

4-12


สารบัญ ( ตอ ) บทที่ 5 แนวคิดและผลงานการออกแบบ 5.1 แนวคิดในการออกแบบ

5-1

5.2 การพัฒนาแบบรางทางสถาปตยกรรมและโครงสราง

5-2

5.2.1 การพัฒนาแบบรางครั้งที่ 1 5.2.1 การพัฒนาแบบรางครั้งที่ 2 5.2.1 การพัฒนาแบบรางครั้งที่ 3 5.2.1 การพัฒนาแบบรางครั้งที่ 4 5.3 ผลงานการออกแบบ

5-3

5.4 หุนจําลอง

5-4

5.5 แบบการนําเสนอ

5.5

บทที่ 6 บทสรุปและขอเสนอแนะ 6.1 สรุปผลการศึกษา

6-1

6.2 ขอเสนอแนะ

6-2

บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวิติผูจัดทํา


01

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ควทสําคัญของโครงการ 1.2 วัตถุประสงคของโครงการ 1.3 วัตถุประสงคของการศึกษา

รูปที่ 1.1 ภาพวาดแนวยอนยุคเกี่ยวกับดนตรีและความรัก ที่มารูปภาพ https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2011/12/remi-labarre-1977-canada.html

1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.5 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ 1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ


บทที่ 2

02

รูปที่ 2.1 พลังของดนตรีที่รักษาสมอง

หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1 ความหมายและคําจํากัดความ 2.2 ความเปนมาของเรื่องที่ศึกษา 2.3 ทฤษฎีและผลการทดลองเกี่ยวกับการรักษา 2.3.1 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับดนตรีบําบัด 2.3.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับโรคเครียด 2.3.3 รูปแบบการบําบัด Singing bowl Therapy 2.3.4 รูปแบบการบําบัด Vibroacoustic Therapy 2.3.5 รูปแบบการบําบัด Dalcroze 2.4 ทฤษฎีหรือแนวคิดที่เกี่ยวของกับการออกแบบ 2.4.1 จุดประสงคของการนําดนตรีบําบัดมาใช 2.4.2 กลุม เปาหมายของโครงการ 2.4.3 ขั้นตอนการบําบัด 2.4.4 กรรมวิธีการผลิตคลื่นเสียง Binaural beats 2.5 กฎหมายขอบัญญัติที่เกี่ยวของกับโครงการ 2.6 กรณีศึกษาอาคารตัวอยาง


บทที่ 3 การวิเคราะหตําแหนงที่ตั้งโครงการ

03

3.1 การศึกษาและวิเคราะหทําเลที่ตั้งโครงการ 3.1.1 ขอมูลทางกายภาพ 3.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ 3.1.3 ลักษณะภูมิอากาศ 3.1.4 ดานสิ่งแวดลอม 3.1.5ประชากร 3.2 การศึกษาและวิเคราะหองคประกอบเมือง 3.2.1 ประวัติความเปนมาเขตสวนหลวง 3.2.2 การคมนาคมและการสัญจรในเขตสวนหลวง 3.3.3 การคมนาคมทางรถไฟฟา

รูปที่ 3.1 ภาพผังเมืองกรุงเทพมหานคร ที่มาภาพ : สํานักงานผังเมือง

3.3 เกณฑการพิจารณาที่ตั้งโครงการ 3.4 การพิจารณาเลือกที่ตั้งโครงการ 3.5 กฎหมายที่เกี่ยวของ 3.6 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ 3.7 บริบทโดยรอบ


บทที่ 4

04

กําหนดรายละเอียดของโครงการ 4.1 ความเปนมาของโครงการ 4.2 วัตถุประสงคของโครงการ 4.3 การกําหนดโครงสรางการบริหาร 4.4 โครงสรางการบริหารงาน

รูปที่ 4.1 Brainwave

4.5 รายละเอียดผูใชโครงการ 4.6 การกําหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ 4.7 พื้นที่ใชสอย 4.8 การประมาณการงบประมาณของโครงการ 4.9 ระบบอาคาร


Music Therapy Clinic โครงการ คลินิกบําบัดรักษาผูปวยดวยดนตรี

1.1 ความเปนมา ในปจจุบนั ประเทศไทยกําลังเผชิญกับแนวโนมของ ปญหาดานสุขภาพทีเ่ พิ่มมากขึ้น ทางทั้งกายภาพและทางจิตใจ ซึ่งปญหา ทางดานสุขภาพจิตในเมืองไทยเปนทีน่ า กังวล ดวยปจจัยหลายๆอยาง ทั้ง ดานสภาพแวดลอม การเงิน เศรษฐกิจ การเรียนการศึกษา ทําใหมคี นเปน จํานวนมากตกอยูในภาวะความเครียดที่มคี วามเขมขนสูง ซึ่งภาวะดังกลาว เกี่ยวของกับการตอบสนองของรางกายและจิตใจ การที่เลือกดนตรีเขามามี สวนชวยในการรักษา จึงเปนตัวเลือกที่นาสนใจในปจจุบนั เนื่องดวยเพลง ดนตรี หรือจังหวะทํานอง อันดวยการที่ดนตรีมีอิทธิพลกับมนุษยมานาน จึงมีสวนอยูในชีวิตประจําวันของตัวคนทุกคน จึงเปนที่คุนชิน และเขาถึงได งาย โดยมีการสํารวจ วิจัย สืบคนและทดลอง โดยที่เปนกรรมวิธีของแพทย ทางเลือก

รูปที่ 1.2 ภาพวาดแนวยอนยุคเกี่ยวกับดนตรีและความรัก ที่มารูปภาพ https://thaimusictherapy.wordpress.com/2016/04/02/การเลนดนตรีชวยใหเรา/

ซึ่งกลาวไดวาปจจุบนั ดนตรีบําบัดจัดเปนศาสตร การแพทยทางเลือกทีไ่ ดรับความนิยมมากขึ้นในไทยทัง้ ทางการแพทยและดาน ดนตรี โดยมีงานวิจัยทีบ่ ง ชี้ใหเห็นถึงผลดีของการนําดนตรีบําบัด ไมวาจะ นําไปประยุกตใชในรูปแบบตางๆทั้งทางกายหรือทางจิต และสามารถนําไปสู การพัฒนาในดานศักยภาพของสมองที่มีผลตอจิตใจ

1-1


1.2 วัตถุประสงคของโครงการ แพทยทางเลือกดนตรีบําบัด สถานทีส่ ําหรับเรียนรูรวมไปถึงกิจกรรมทางดานดินตรี การรักษาตอยอดในการรักษาในโรงพยาบาลขั้นตอไป

1.3 วัตถุประสงคการศึกษา พื้นที่ที่สรางกิจกรรมเพื่อการบําบัด ศึกษากระบวนการออกแบบที่สอดคลองวิธีการรักษา พื้นที่ที่สงเสริมการบําบัดดวยดนตรี

1.4 ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาคุณสมบัติของพื้นที่ที่สรางกิจกรรมเพื่อการบําบัด ที่มีผลกับผูเขารับการบําบัด

รูปที่ 1.3 ภาพเครื่องดนตรีขณะทําการดนตรีบําบัด ที่มารูปภาพ https://www.facebook.com/photo.php?fbid=4776433042328&set=g.65653187016&type=1&theater&ifg=1

ศึกษากระบวนการออกแบบที่สอดคลองกับกรรมวิธีการรักษา เพื่อคนหารูปแบบพื้นที่ในรูปแบบตางๆเพื่อสงเสริมการบําบัดดวยดนตรี 1-2


1-3


1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพ

เขาใจในระบบการทํางานของรางกายและสภาพจิตใจ

เปนแพทยทางเลือกใหแกผูปวยโรคเครียด

เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูศึกษา รูปที่ 1.4 ภาพเครื่องดนตรีขณะทําการดนตรีบําบัด ที่มารูปภาพ https://www.facebook.com/photo.php?fbid=4776438162456&set=g.65653187016&type=1&theater&ifg=1

1-4


หลักการแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1 ความหมายและคําจํากัดความ คํานิยามหรือความหมายของดนตรีบําบัดยังไมมีการใหคาํ นิยามสากลที่ทุก ประเทศยอมรับ มีแตการกําหนดความหมายขึ้นมาเองโดยสมาคมดนตรีบําบัดของประเทศนั้นๆ ซึ่ง รายละเอียดจะแตกตางกันไปบางตามเหตุผลและวิวัฒนาการของประเทศนั้นๆ แลวดนตรีบําบัดในแตละ ที่ตางก็มีจุดมุงหมายเดียวกันคือการใชดนตรีเปนเครื่องมือชวยในการรักษาความผิดปกติตางๆ ทางรางกายหรือจิตใจ

คํานิยามจากสมาคมดนตรีบําบัดประเทศอเมริกา

“Music Therapy is the clinical and evidence-based use of music interventions to accomplish individualized goals within a therapeutic relationship by a credentialed professional who has completed an approved music therapy program.” คํานิยามจากสมาคมดนตรีบําบัดแหงประเทศออสเตรเลีย

“Music therapy is a research-based practice and profession in which music is used to actively support people as they strive to improve their health, functioning and wellbeing”

รูปที่ 2.2 ภาพเครื่องดนตรีขณะทําการดนตรีบําบัด ที่มาภาพ https://thaimusictherapy.wordpress.com/2017/12/01/อิมโพรเซชั่นและดนตรีบําบัด/

2-1

ชลัช วรยรรยง. “นิยามของดนตรีบําบัด“. สืบคนเมื่อ 5 กันยายน 2561. <https://thaimusictherapy.wordpress.com/นิยามของดนตรีบําบัด/>


คํานิยามจากสมาคมดรตรีบําบัดแหงสหราชอาณาจักร

“Music therapy is a psychological therapy which uses the unique qualities of music as a means of interaction between therapist and client. Attentive listening on the part of the therapist is combined with shared musical improvisation using instruments and voices so that people can communicate in their own musical language, whatever their level of ability”

คํานิยามจาก ชลัช วรยรรยง นักดนตรีบําบัดและรองประธานสมาคมเครือขายคนไทยใน ตางแดนประเทศเยอรมนี(NTO) “ดนตรีบําบัดคือการใชสื่อดนตรีหรือองคประกอบ ของดนตรีอยางมีจุดประสงคเพื่อใหบรรลุ เปาหมายในทางการบําบัดรักษา ดนตรีจะถูกใชเปนเครื่องมือในการเขาถึงจิตใจของผูปวยและเปรียบได กับ เครื่องมือในการสื่อสารระหวางผูปวยกับนักบําบัดแทนการใชภาษาในการสื่อสาร ดนตรีบําบัดจะ ใชกับคนที่มีความเจ็บปวยทั้งทางรางกายและจิตใจ ผูที่มีความผิดปกติทางพฤติกรรม มีปญหา ทางดานพัฒนาการ อีกทั้งยัง ชวยปรับสภาพความผิดปกติเหลานี้ใหเขาสูภาวะปกติหรือพัฒนาไป ในทางที่ดี ขึ้น ชวยใหผูปวยไดมีโอกาสใชสื่อดนตรีในการแสดงออกทางอารมณแทนคําพูดในกรณี ที่ เขาเหลานั้นไมสามารถสื่อสารไดแบบคนปกติ”

รูปที่ 2.3 ภาพแนวยอนยุคเกี่ยวกับดนตรีและความรัก ที่มาภาพ https://thaimusictherapy.wordpress.com/2016/04/10/คลินิกไดอารี่/

2-2

ชลัช วรยรรยง. “นิยามของดนตรีบําบัด“. สืบคนเมื่อ 5 กันยายน 2561. <https://thaimusictherapy.wordpress.com/นิยามของดนตรีบําบัด/>


2.2 ความเปนมาของเรื่องที่ศึกษา ดนตรี คือลักษณะของเสียงที่ไดรับการจัดเรียบเรียงไวอยางเปนระเบียบเรียบรอย โดยมีแบบแผนและโครงสรางชัดเจน สามารถนํามาใชประโยชนได 3 ดานใหญ ๆ คือ เพื่อความสุนทรีย, เพื่อการบําบัดรักษา และเพื่อการศึกษา และเพื่อใหรางกายไดรับความผอนคลาย สมองและสติปญญา ไดรับการผอนคลาย ดนตรีบําบัดถือวาเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาทางดานสมองและสติปญญา

2.3 ทฤษฎีและผลการทดลองเกี่ยวกับการรักษา 2.3.1 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับดนตรีบําบัด 2.3.1.1งานวิจัยการฟงดนตรีที่มีเสียงธรรชาติ นักวิจัยจาก Rensselaer Polytechnic Institute คนพบวา การเพิ่มเสียง ธรรมชาติเขามาเปนสวนหนึ่งของการทํางาน จะชวยใหคุณมีอารมณที่ดีแ ละมีสมาธิมากยิ่งขึ้น อีก ทั้งยังชวยใหกระบวนการทางความคิดทํางานไดดีขึ้น มีสมาธิมากขึ้น และมีความพึงพอใจในการทํางาน มากขึ้นดวย ซึ่งเสียงที่นักวิจัยใชในการวิจัยคือเสียงน้ําจากลําธาร หัวหนาวิจัย Dr.Cassandra Gould Van Praag ไดกลาววา “เมื่อฟงเสียงแลว พวกเราทุกคนก็มีความรูสึกที่ผอนคลายและปลอยวาง ซึ่งใหบรรยากาศเหมือนกับเดินอยูในชนบท และ ตอนนี้พวกเราก็ยืนยันไดถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสมองกับรางกายที่ชวยใหพวกเราเขาใจเรื่องนี้ดีมาก ขึ้น เรื่องนี้ไดมีการรวบรวมขอมูลทั้งจากศิลปนกับนักวิทยาศาสตร และผลลัพธตางๆที่ออกมาก็อาจจะ สงผลกระทบตอโลกแหงความเปนจริง โดยเฉพาะคนที่ประสบกับภาวะความเครียดสูง

รูปที่ 2.4 อุปกรณในการบําบัดดวยดนตรี ที่มาภาพ https://thaimusictherapy.wordpress.com/2015/05/02/ฟง-เลน-กิจกรรม/

2-3

ชลัช วรยรรยง. “นิยามของดนตรีบําบัด“. สืบคนเมื่อ 5 กันยายน 2561. <https://thaimusictherapy.wordpress.com/นิยามของดนตรีบําบัด/>


การใชเสียงบรรเลงธรรมชาติก็มาจากการใหความรวมมืออยางศิลปน Mark Ware และทางดานทีมวิจัย BSMS ก็ไดทําการทดลองผูเขารวมโดยทําการฟงเพลงที่บันทึกจาก ธรรมชาติและเสียงประดิษฐ ในขณะที่การทํางานของสมองจะมีการประเมินโดยการสแกน MRI และการ ทํางานของระบบประสาทอัตโนมัติก็จะมาดูในสวนของอัตราการเตนของหัวใจเปนรายนาที ทางดานทีม วิจัยก็พบวา การทํางานอยูในภาวะปกติในสวนของเครือขายของสมอง (สวนตางๆที่ทํางานตอนที่ พวกเรารูสึกผอนคลายอยู) ซึ่งความแตกตางก็ขึ้นอยูกับเสียงธรรมชาติที่อยูเบื้องหลัง

2.3.1.2 งานวิจัยการฟงดนตรีที่ไมมีเนื้อรอง งานวิจัยจาก Cambridge Sound Management พบวา คํารองคือสิ่งที่ทํา ใหเราเสียสมาธิเนื่องจากเรามักจะใหความสนใจกับคํารองมากกวางานที่เรากําลังทําอยู เหมือนกับ เวลาที่คุณไดยินคนพูด คุณมักจะหยุดการทํางานและหันไปฟงวาเขาพูดวาอะไร งานวิจัยของ Cambridge ในป 2551 ชี้วา 48% ของคนทํางานจะถูกทําลายสมาธิไดโดยงายจากคําพูด ที่มา sciencedaily.com www.sumrej.com/music-for-optimal-productivity

2.3.1.3 งานวิจัยการฟงเพลงที่มีจังหวะเหมาะกับคุณ งานวิจัยของนักวิจัยชาวแคนาดาระบุวา กลุมตัวอยางที่ฟ งเพลงที่มีจังหวะเร็ว ในขญะที่ทําแบบทดสอบวัด IQ จะทําแบบทดสอบออกมาไดดีกวา งานวิจัยเล็กๆ ของแพทยรังสีวิทยา จากมหาวิทยาลัย Maryland และ โรงพยาบาลHarbor รวมถึงมหาวิทยาลัย Pennsylvania Health System ไดขอสรุปวา การฟง ดนตรีบาโรกจะชวยใหงานดําเนินไปไดสะดวกขึ้น อีกทั้งยังมีอารมณที่ดีขึ้นอีกดวย งานวิจัยจาก BMS College of Engineering ประเทศมาเลเซีย ระบุวา การฟง ดนตรีที่มีจังหวะ 60 บีทตอนาที ศัพททางดนตรีจะเรียกวา Larghetto แปลวาเพลงที่ไมเร็วมากและ คอนขางชา จะชวยลดความเครียดรวมถึงชวยใหผอนคลายไดอีกดวย “งานวิจัย ขณะทํางาน“. สืบคนเมื่อ 5 กันยายน 2561. <www.sumrej.com/music-for-optimal-productivity>

รูปที่ 2.5 ภาพขณะทํากิจกรรมดนตรีบําบัด ที่มาภาพ https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10100649507698344&set=g.65653187016&type=1&theater&ifg=1

2-4


2.3.1.4 งานวิจัยเกี่ยวกับดนตรีชวยลดอาการเจ็บปวดและอาการผิดปกติอื่นๆทางดานสมอง งานวิจัยของ Bailey ในป 1986 พบวาดนตรีสามารถชวยลดความวิตก กังวลและความกลัว อันเปนวงจรของความเจ็บปวดทําใหผอนคลายและลดปวดได งานวิจัยของ Zimmerman และคณะ ในป 1989 พบวาดนตรีสามารถชวยลด ความเจ็บปวดในผูปวยมะเร็งได งานวิจัยของ จิราภี สุนทรกุล ณ ชลบุรี ในป 2003 ไดศึกษาผลของดนตรี บําบัดตอการลดความกังวลและความเจ็บปวดในผูปวยมะเร็งได นายแพทยคณิน ไตรพิพิธสิริวัฒน ไดเขียนบทความงานวิจัยดนตรีบําบัดกับ กลุมผูปวยอัลไซเมอร ซึ่งหลังการบําบัด สังเกตุไดวาผูปวยมีการพูดและปฎิกิริยาตอบโตดีกวาผูปวย ไมไดบําบัด เดวิด เจนกรอว กลาววาวิทยาศาสตรดานประสาทสมองจะชวยใหนักวิจัยเขาใจไดวาสมอง สวนใดบางที่ตอบสนองขณะเลนดนตรี และหากรูดวยวาสมองสวนนั้นไดรับผลกระทบจากอาการ ปวยหรือความผิดปกติหรืออาการบาดเจ็บหรือไม ดนตรีก็นาจะใชเปนสวนหนึ่งของชวยกระตุน สมองสวนนั้นไดในการเยียวยาตัวเอง

2.3.1.5 งานวิจัยเกี่ยวกับการทําคลื่นเสียง มีงานวิจัยที่เกี่ยวของกับคลื่นเสียง Binaural beats เพื่อแสดงใหเห็นวา Binaural beats สามารถเหนี่ยวนําใหคลื่นไฟฟาสมองเปลี่ยนแปลงไดในระดับตางๆและไดผลเพิ่มทักษะ ดานภาษา ดานอวจนะ ความจํา รวมถึงชวงความสนใจ กลุมดนตรีบําบัดจึงมีแนวคิดที่จะสอดแทรก คลื่นเสียงในดนตรีที่สังเคราะหใหม เพื่อใหมีศักยภาพในการกระตุนสมอง กลาวคือ ใชความแตกตาง ของคลื่นเสียงจากเพลงในทุกยานความถี่ของเครื่องดนตรีทุกชิ้นระหวางหู 2 ขาง รูปที่ 2.6 ภาพวาดแนวยอนยุคเกี่ยวกับดนตรี ที่มาภาพ https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2011/12/remi-labarre-1977-canada.html

“งานวิจัย ขณะทํางาน“. สืบคนเมื่อ 5 กันยายน 2561. <www.sumrej.com/music-for-optimal-productivity>

2-5


2.3.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับโรคเครียด ( Acute Stress Disorder ) 2.3.2.1 อาการของโรคเครียด ผูที่ปวยเปนโรคเครียดมักเกิดอาการของโรคทันทีที่เผชิญสถานการณที่ทําใหเกิดความเครียด โดยจะเกิด อาการของโรคเปนเวลานานหลายวันหรือหลายสัปดาห อาการโรคเครียด เห็นภาพเหตุการณรายแรงซ้ํา ๆ ผูปวยจะเห็นฝนราย หรือนึกถึงเหตุการณรายแรงไมดีที่เคยเกิดขึ้นซ้ํา ๆ อยูเสมอ อารมณขุนมัว อารมณหรือความรูสึกของผูปวยโรคเครียดมักแสดงออกมาในเชิงลบ ผูปวยจะรูสึก อารมณไมดี มีความทุกข ไมราเริงแจมใสหรือรูสึกไมมีความสุข มีพ ฤติกรรมแยกตัวออกมา ผูปวยจะเกิดหลงลืมมึนงง ไมมีสติหรือไมรับรูการมีอยูของตัวเอง หรือรูสึก วาเวลาเดินชาลง หลีกเลี่ยงสิ่งตาง ๆ ผูปวยจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทําใหนึกถึงเหตุการณที่ทําใหเกิดความเครียด ไมวาจะเปนผูคน สถานที่ สิ่งของ กิจกรรม หรือบทสนทนาที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ไวตอสิ่งเรา ผูปวยจะนอนหลับยาก โมโหหรือกาวราว ไมมีสมาธิจดจอกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได

2.3.2.2 สาเหตุโรคเครียด

รูปที่ 2.7 ภาพการแสดงโชวของดนตรีบําบัด ที่มาภาพ https://www.facebook.com/photo.php?fbid=10100649507698344&set=g.65653187016&type=1&theater&ifg=1

โรคเครียดมีสาเหตุมาจากการพบเจอหรือรับรูเหตุการณอันตรายที่รายแรงมาก โดย เหตุการณนั้นทําใหรูสึกกลัว ตื่นตระหนก หรือรูสึกสะเทือนขวัญ เชน การประสบอุบัติเหตุจนเกือบเสียชีวิต การไดรับบาดเจ็บอยางรุนแรง รวมทั้งทราบขาวการเสียชีวิต ประสบอุบัติเหตุ หรือการปวยรายแรงของคน ในครอบครัวหรือเพื่อนสนิท ทั้งนี้ เหตุการณที่ทําใหเกิดโรคเครียดซึ่งพบไดทั่วไปนั้น มักเปนเหตุการณ เกี่ยวกับการออกรบของทหาร ถูกลวงละเมิดทางเพศ ถูกโจรปลน ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือทราบ ขาวรายอยางกะทันหันโดยไมทันตั้งตัว นอกจากนี้ โรคเครียดยังมีปจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ดวย โดยผูที่เสียงปวย เปนโรคเครียดไดสูง มักมีลักษณะ

2-6

“งานวิจัย ขณะทํางาน“. สืบคนเมื่อ 5 กันยายน 2561. <www.sumrej.com/music-for-optimal-productivity>


2.3.2.3 ภาวะแทรกซอนของโรคเครียด โรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ ผูปวยโรคเครียดบางรายอาจมีอาการของ โรคนานกวา 1 เดือน โดยอาการเครียดจะรุนแรงขึ้นและทําใหดําเนินชีวิตตามปกติไดยาก ซึ่งอาการ ดังกลาวจะทําใหปวยเปนโรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ ผูปวยควรพบแพทยเพื่อรับการรักษา ซึ่ง จะชวยลดโอกาสเสี่ยงไมทําใหอาการของโรคแยลง ทั้งนี้ ผูปวยภาวะเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญรอย ละ 50 รักษาใหหายไดภายใน 6 เดือน ในขณะที่ผูปวยรายอื่นอาจประสบภาวะดังกลาวนานหลายป ปญหาสุขภาพจิตตาง ๆ ผูปวยโรคเครียดที่ไมไดรับการรักษา และมีอาการของ โรคเรื้อรังอาจมีปญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ ได เชน โรคซึมเศรา โรควิตกกังวล หรือบุคลิกภาพแปรปรวน

2.3.2.4 การรักษาโรคเครียด ปรึกษาแพทย การปรึกษาจิตแพทยถือเปนวิธีรักษาโรคเครียดที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง จะชวยรักษาผูปวยโรคเครียดที่เกิดอาการรุนแรงและเปนมานาน โดยแพทยจะชวยใหผูปวยรับมือกับ สถานการณที่ทําใหเกิดความเครียด รวมทั้งชวยใหผูปวยจัดการอาการของโรคที่เกิดขึ้นได บําบัดความคิดและพฤติกรรม ผูปวยโรคเครียดที่เกิดความวิตกกังวลและอาการ ไมดีขึ้น จะไดรับการรักษาดวยวิธีบําบัดความคิดและพฤติกรรม การบําบัดความคิดและพฤติกรรมเปนวิธี จิตบําบัดที่มีแนวคิดวาความคิดบางอยางของผูปวยสงผลตอปญหาสุขภาพจิต ผูปวยโรคเครียดอาจ ไดรับการบําบัดระยะสั้น โดยแพทยจะพูดคุยเกี่ยวกับความรูสึกและความคิดของผูปวย รวมทั้งชวยให ผูปวยเขาใจวาความคิดบางอยางนั้นไมถูกตอง และปรับทัศนคติของผูปวยที่มีตอสิ่งตาง ๆ ใหมองทุก อยางไดถูกตองและตรงตามความเปนจริง ใชยารักษา แพทยอาจจายยารักษาโรคเครียดใหแกผูปวยบางราย โดยผูปวยมักจะ ไดรับการรักษาดวยยาเปนระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อบรรเทาอาการปวดของรางกาย ปญหาการนอนหลับ หรืออาการซึมเศรา โดยยาที่ใชรักษาโรคเครียด

ปติพร เวชอัศดร. “โรคเครียด“. สืบคนเมื่อ 10 กันยายน 2561. <https://www.pobpad.com/โรคเครียด>

2-7

รูปที่ 2.8 ภาพวาดแนวยอนยุคเกี่ยวกับดนตรีและความรัก ที่มาภาพ https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2011/12/remi-labarre-1977-canada.html


2.3.3 รูปแบบการบําบัด Singing bowl Therapy คือศาสตรดนตรีบําบัดประเภทหนึ่งที่บรรเลงโดยใช Bowl ที่ทําจากคริสตัลและ รัตนชาติ ที่มีคุณสมบัติในการสงคลื่นพลังงาน ทําการปรับเปลี่ยนสมดุลลงลึกถึงเซลลในรางกายและ จิตใตสํานึก เปนศาสตรการเยียวยาที่สามารถใชไดกับเด็กและผูปวยมะเร็ง โดยคลื่นพลังงานที่เกิดขึ้นจาก การบรรเลงนี้จะไปกระตุนลมปราณใหมีพลัง โนมนําสภาวะจิตที่ผองใส ชวยใหจิตสงบนิ่ง มั่นคง สามารถใชเปนเครื่องมือในการฝกฝน สมาธิจิต เพิ่มพูนความสามารถทางจิตวิญญาณในการกําหนด จิตเพื่อความสําเร็จในสิ่งที่ปรารถนา จะเลนกี่ครั้งทวงทํานองก็เปลี่ยนไปตามอารมณ และความรูสึกของผูเลนไมตาง จากดนตรีสด ขณะที่วัตถุประสงคยังเหมือนเดิม คือ เนนการบําบัดดวยคลื่นเสียง ที่สรางสมาธิและ ความสุขในชวงเวลาผอนคลาย 2.3.4 รูปแบบการบําบัด Vibroacoustic Therapy เปนรูปแบบเทคนิคการบําบัดดวยเสียง โดยในชวงการบําบัด คนไขจะนอนลาดหลัง บนที่นอนซึ่งมีลําโพงอยูขางใน ที่สงคลื่นเสียงความถี่ต่ํา ซึ่งคลายกับนั่งบนลําโพง subwoofer ซึ่งมี ประโยชนตอโรคประเภทพารคินสัน โรคซึมเศรา และยังมีงานวิจัยที่มีประโยชนตอคนไขอัลไซเมอร 2.3.5 รูปแบบการบําบัด Dalcroze เปนเทคนิคการบําบัดดวยการใชจังหวะดนตรีและการเคลื่อนไหวที่สอดคลองกัน ดวยการนํารูปแบบและเทคนิคของหลักสูตรวิชา Dalcroze eurhythmics ที่ใชในการสอนดนตรีแก นักเรียน โดยไดรับการพัฒนาขึ้นในชวงตนศตวรรษที่ 20 โดยนักดนตรีและนักศึกษาชาวสวิส ดวยการ สอนแนวคิดเกี่ยวกับจังหวะโรงสรางและการแสดงออกทางดนตรีโดยใชการเคลื่อนไหว มุงเนนใหนักเรียน ไดรับรูและประสบการณทางดนตรีผานการฝกอบรมที่เกิดขึ้นผานทุกประสาทสัมผัสโดยเฉพาะอยางยิ่ง การเคลื่อนไหว โดยภายหลังทางการแพทยมีการนํามาประยุกตใชในการบําบัด ชวยการเพิ่มความ ตระหนักของรางกายที่มีความคิดริเริ่มและการเชื่อมโยงจะงหวะกับรางกายทางกายภาพ โดยมีโปรแกรม ประยุกตที่หลากหลายและสามารถเรียนรูบําบัดใหกับกลุมอายุไดหลากหลาย

รูปที่ 2.9 Singing bowl therapy

2-8


2.4 ทฤษฎีหรือแนวคิดที่เกี่ยวของกับการออกแบบ 2.4.1 จุดประสงคของการนําดนตรีมาใช 1 เพื่อทําใหความเจ็บปวดลดลง มีความทนทานตอความเจ็บปวดไดมากขึ้น 2 ทําใหผูปวยไดผอนคลายจิตใจ มีความสุขเพลิดเพลิน ลืมความเจ็บปวดไดชั่วขณะ 3 ทําใหผูปวยมีทัศนคติที่ดี การแสดงออกในดานที่ดี 4 เพื่อลดความวิตกกังวล ความหวาดกลัว และคลายความเครียดตอผูบําบัด 5 เสริมสรางสมาธิแกผูปวยที่มีปญหาการพัฒนาการทางดานสมองและสติสัมปชัญญะ 2.4.2 กลุมเปาหมาย 2.4.2.1 ผูใชงานหลักในโครงการ กลุมเด็กที่มีปญหาดานพฤติกรรม อารมณ หรือการพัฒนาทางดานสมอง

กลุมผูที่อยูในภาวะซึมเศรา ความเครียดวิตกกังวล หรือความผิดปกติดานอารมณ

นักวิชาการและผูเชี่ยวชาญที่มีความเกี่ยวของกับดนตรีบําบัด รูปที่ 2.10 ภาพวาดแนวยอนยุคเกี่ยวกับดนตรี ที่มาภาพ https://www.tuttartpitturasculturapoesiamusica.com/2011/12/remi-labarre-1977-canada.html

2-9


2.4.3 ขั้นตอนการบําบัดดวยดนตรี 2.4.3.1 ขั้นตอนการใชดนตรีบําบัดเพื่อระงับอาการปวด 1. ตองคํานึงถึงความตองการของผูปวยกอน ผูปวยควรมีความพรอมที่จะใชวิธีดนตรีบําบัด 2. การสํารวจผูปวยในเรื่องประสบการณดานดนตรี หรือความสามารถดานดนตรีประเภทที่ผูปวยชอบ เครื่องดนตรี หรือเพลงที่ผูปวยคุนเคย ซึ่งจะชวยใหการจัดกิจกรรมดนตรีงายขึ้น 3. จัดใหผูปวยอยูในทาที่สบายที่สุด เจ็บปวดนอยที่สุด โดยแตงกายดวยเสื้อผาที่สบายไมอึดอัด ใชหมอน ผาหม ฯลฯ 4. ควรอยูในหองที่มีอากาศถายเทสะดวก อุณหภูมเย็นสบาย ไมมีเสียงรบกวน ปรับแสงสีในหองใหเย็นตา สะอาด เรียบรอย สวยงาม 5. เลือกใชเครื่องเสียงที่มีคุณภาพ ที่ผูปวยจะสามารถใชไดดวยตนเองตามสะดวกและปลอดภัย 6. จัดเจาหนาที่คอยชวยเหลือดูแล สอน ใหคําแนะนํา ใหกําลังใจ ขณะที่ใชวิธีการบําบัดรวมกับเทคนิคการผอนคลาย 7. มีการประเมินความเจ็บปวด วิตกกังวล กอน-หลังทํา

2.4.3.2 กระบวนการของดนตรีบําบัดสําหรับเด็กออทิสติกหรือเด็กที่มีความผิดปกติดานสมอง ในการทําดนตรีบําบัดไมมีกระบวนการและรูปแบบที่ตายตัว แตมีการออกแบบการบําบัดรักษาใหเหมาะสมกับแตละบุคคล 1.

2.

การประเมินผูรับการบําบัดรักษา 1. ศึกษาขอมูลประวัติสวนตัว 2. ประเมินสภาพปญหา และเปาหมายที่ตองการบําบัด 3. ประเมินสุขภาวะทางรางกาย จิตใจ สังคม และภูมิปญญา วางแผนการบําบัดรักษา 1. ออกแบบโปรแกรมที่เหมาะสมเปนรายบุคคล 2. จัดรูปแบบกระบวนการตางๆทางดนตรี จําพวก การฟง รองเพลง แตงเพลง ประสานเสียง เปนตน

2-10


1.

2.

ดําเนินการบําบัดรักษา 1. เสริมสรางสัมพันธภาพระหวางผูบําบัดกับผูรับการบําบัด โดยใชดนตรีเปนสื่อ 2. ดําเนินการทําดนตรีบําบัดที่ไดมีการวางแผนแบเปนรายบุคคล ประเมินผลการบําบัดรักษา ประเมินผลการบําบัดอยางตอเนื่อง และพรอมปรับเปลี่ยนแผนการบําบัดอยางเหมาะสม ดวยธรรมชาติของ เด็กออทิสติกจะมีการพัฒนาการชากวาเด็กทั่วไป แตการรับรูดานเสียงจะมีมากกวา จําเปนตองมีการนําเพลง ที่ทําขึ้นมาเฉพาะและเหมาะสมแกเด็กกลุมนี้

2.4.3.3 วิธีการบําบัดความเครียดดวยดนตรี 1. เลือกดนตรีที่เรารูสึกดี ฟงสบาย อาจเปนทํานองหรือมีเนื้อรองก็ได แตเหมาะกับอารมณในเวลานั้น เชน ดนตรีบําบัดเครียด หรือดนตรีเพิ่มความตื่นตัว เปนตน 2. เอนหลังไปกับที่นอนหรือเกาอี้นุมๆ ปรับอุณหภูมิหรือหมผาใหอุนสบาย 3. เปดดนตรีฟงสัก 10 – 15 ที หลับตาจินตนาการถึงความรูสึกดีๆ หรือภาพที่เราประทับใจน้ํา 4. อาจเพิ่มการจุดเทียนหอม หรือเหยาะน้ํามันหอมระเหยเพื่อปรับบรรยากาศหองเพิ่มก็ได

2-11


2.4.3.4 วิธีการบําบัดดวยคลื่นเสียง คือทํานองคลื่นหูทแี่ ตละขางไดยินแตกตางกัน โดยการไดยินของหูสองขางจะนํามาประมวลรวมกัน เกิดเปนคลื่น ความถี่ใหมทตี่ ่ํากวาอีกคลืน่ หนึง่ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการเปลีย่ นแปลงของคลื่นสมองตามความตองการ

มาจากการทํางานของเซลลสมองที่มกี าร รับ-สง สารเคมีและไฟฟากอใหเกิดเปนความถี่ จากนั้นถึงเปลี่ยนเปนคลืน่ สมอง ซึ่งวัดไดดวยเครื่อง EEG (Electroencephalography) หรือ เครื่องวัดคลื่นสมอง ที่มีหนวยเปน เฮิรตซ (Hz) ดังตัวอยางตารางที่ แสดงดานบน จากบทความนีส้ รุปโดยรวม Binaural Beats มีประโยชนในการบําบัดรักษาจิตใจ และ เพิ่มศักยภาพเกี่ยวกับการปรับคลืน่ ความถีใ่ หแกสมองทํา ใหบรรเทาอาการนอนไมหลับ อาการปวดตึงกลามเนื้อ อาการวิตกกังวล ลดอารมณเศรา ลดภาวะความเครียดจากการใชสมอง เพิ่ม ศักยภาพการเรียนรู เพิ่มความสามารถในการจดจํา

หูซาย 240Hz

หูซาย ขวาHz

การประมวลของหูสสู มอง อยูราวๆ 7-9 Hz รูปที่ 2.11 ภาพแสดงการทํางานของคลื่นเสียง

2-12

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. “ขั้นตอนการเรียบเรียงดนตรีใหมและสังเคราะหคลื่นเสียง Binaural beats“. สืบคนเมื่อ 10 กันยายน 2561. <http://www.med.cmu.ac.th/research/lanna-medstudies/doc/music/music-therapy.pdf>


2.4.4

กรรมวิธีการผลิตคลื่นเสียง Binaural beats แตงทํานองเพลงและเสียงธรรมชาติตา งๆ เพื่อเปน background 30 วัน

ทําการปรับปรุงแกไขโดย ทําซ้ําในขัน้ ตอนที่ 2 – 4

เขียนและเรียบเรียงองคประกอบของดนตรีใน แตละเพลง โดยใชโปรแกรม Sonar LE 15 วัน

สราง File Audio ในแตละ track ของทุกเพลง ยกเวน Track กลอง ใหอยูใน wave file format ผูชวยคนที่ 1 รับผิดชอบการสราง Audio ที่ Set คา Pitch เครื่องดนตรีในหองอัดตามปกติ ( A = 440.0 hz )

ผูชวยคนที่ 2 รับผิดชอบการสราง Audio ที่ Set คา Pitch เครื่องดนตรีในหองอัด ใหคา ( A = 450.0 Hz )

ผูชวยคนที่ 2 รับผิดชอบการ Mixdown Audios ทั้งหมดทุกเพลง โดย กําหนดใหคา Pan เปน 100% ให Audio ที่สรางบนพืน้ ฐานความถี่ A = 440.0 Hz อยูลําโพงดานซาย และความถี่ A = 450.0 Hz อยูลําโพงดานขวา ผูชวยคนที่ 3 รับผิดชอบการใสทาํ นอง Track กลองที่ไมมกี าร Pan ซาย-ขวา 15 วัน

สอดแทรกคลื่น Binaural Beat เพิ่มเติม โดยใชโปรแกรม S.H.A.R.M. ( Self Hypnosis and Relaxation Machine ) version 2.4 และทําสําเนา File ใหทีมสรางตอไป

2-13

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. “ขั้นตอนการเรียบเรียงดนตรีใหมและสังเคราะหคลื่นเสียง Binaural beats“. สืบคนเมื่อ 10 กันยายน 2561. <http://www.med.cmu.ac.th/research/lanna-medstudies/doc/music/music-therapy.pdf>


2.5 กฎหมายขอบัญญติที่เกี่ยวของกับโครงการ ขอกําหนดลักษณะของสถานพยาบาลและลักษณะการใหบริการของสถานพยาบาล พ.ศ. 2558 หมวดที่ 1 คลินิกตองมีลักษณะโดยทั่วไปดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ตั้งอยูในทําเลที่สะดวก ปลอดภัย และไมเปนอันตรายตอสุขภาพ อาคารตองมั่นคงแข็งแรง ไมอยูในสภาพชํารุดและเสี่ยงตออันตรายจากการใชสอย บริเวณทั้งภายนอกและภายในตองสะอาด เปนระเบียบเรียบรอย จัดแบงพื้นที่ใชสอยอยางเหมาะสม และมีสิ่งอํานวยความสะดวกแกผูปวย การสัญจรและการเคลื่อนยายผูปวยตองกระทําไดโดยสะดวก มีหองตรวจหรือหองใหการรักษาเปนสัดสวนและมิดชิด มีหองน้ําหองสอมที่ถูกสุขลักษณะอยางนอยหนึ่งหอง มีแสงสวางและการระบายอากาศเพียงพอ ไมมีกลิ่นอับทึบ มีระบบการเก็บและกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลที่เหมาะสม มีระบบการควบคุมการติดเชื้อที่เหมาะสม กรณีบริการเอกซเรย การบริการจะตองไดมาตรฐานและไดรับอนุญาติจากหนวยงานที่รับผิดชอบตามกฎหมายหรือหนวยงานอื่นที่ไดรับมอบหมาย คลินิกตองมีลักษณะการใหบริการดังตอไปนี้ มีความปลอดภัย มีความสะดวก และเหมาะสมตอผูใหบริการและผูรับบริการในการประกอบวิชาชีพนั้น ไดมตรฐานตามลักษณะวิชาชีพตามที่สภาวิชาชีพหรือคณะกรรมการวิชาชีพประกาศกําหนดแลวแตกรณี พื้นที่ใหบริการจะตองมีพื้นที่เชื่อมและเปดติดตอถึงกันได และไมตั้งอยูในพื้นที่เดียวกับสถานที่ขายยาตามกฎหมายวาดวยยาหรือพื้นที่เดียวกับการประกอบอาชีพอื่น พื้นที่ใหบริการจะตองไมตั้งอยูในสถานที่เดียวกับสถานพยาบาลของกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล องคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น และสภากาชาดไทย ซึ่งใหบริการในลักษณะเดียวกัน กรณีที่มีการใหบริการในอาคารเดียวกับการประกอบกิจการอื่น จะตองมีการแบงพื้นที่ใหชัดเจน และกิจการอื่นตองไมกระทบกระเทือนตอการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งสามารถเคลื่อนยายผูปวย ฉุกเฉินไดสะดวก กรณีที่มีการใหบริการของลักษณะสหคลินิกหรือมีคลินิกหลายลักษณะอยูในอาคารเดียวกันจะตองมีการแบงสัดสวนพื้นที่ใหชัดเจน และแตละสัดสวนตองมีพื้นที่และลักษณะตามมาตรฐานของการ ใหบริการนั้น

2-14


Zoning

2.6 กรณีศึกษาอาคารตัวอยาง SOGA –Sounds of Gaia Architect : casaPública Location : Jiutepec, Morelos, Mexico Area : 1,500.0 sqm

ฟงชั่นขางในประกอบดวย สตูดิโอบันทึกเสียง ขั้นสูงสําหรับผูเชี่ยวชาญ พื้นที่กลางแจง หองบําบัดรักษา รานกาแฟ ออฟฟส สํานักงาน และหองนอน

พื้นที่พูดคุย กับแพทย

ที่จอดรถ

หนึ่งในความตองการของลูกคามีสวนในงาน ออกแบบแนวความคิดคือตัวเลขและตําแหนง การจัดองคประกอบที่ใชการจัดแนวตามกลุม ดาว และนําการสรางดีไซน แบบพาสซีพดีไซน จากพลังงานลมและแสงอาทิตย

พื้นที่สีเขียว

พื้นที่พักผอน

พื้นที่บําบัดกลุม พื้นที่สีเขียว

Circulation Approach มุมมองทางเขาอาคารมีการ ปดบังเพื่อเพิ่มความเปนสวนตัว และสามารถลดเสียงระกวน เพื่อ การบําบัดใหไดผลดีที่สุด

2-15

“ SOGA - Sounds of Gaia / casaPública" 21 Nov 2013. ArchDaily. Accessed 29 Sep 2018. <https://www.archdaily.com/450039/soga-sounds-of-gaia-casapublica/> ISSN 0719-8884


The Evelyn and Mo Ostin Music Center

Zoning

Architect : Kevin Daly Architects Location : University of California, Los Angeles, United States Area : 20,000.0 ft2 เปนอาคารที่อยูในมหาวิทยาลัย ซึ่งฟงชั่นหลักเปนพื้นที่ซอมดนตรี หองเรียน และสามารถบันทึกดน ดนตรี

อาคารจะมีการแบงเปน 2 สวน ในฝงซายมีพื้นที่ดนตรี และ รานคารานกาแฟอยูดานลาง และในสวนของสํานักงานอยู ดานบน

Layout

สวนฝงขวาจะเปนพื้นที่ขนาด ใหญเพื่อจัดแสดงโชวตางๆ

Detail/Material

ในหองพักมีการออกแบบระบบ กันเสียงและลดทอนเสียง โดย วัสดุที่นํามาใชเปนไมที่มี คุณสมบัติชวยดูดซับเสียงและ สรางบรรยากาศในหองดนตรี

2-16

"The Evelyn and Mo Ostin Music Center / Kevin Daly Architects" 13 Jul 2018. ArchDaily. Accessed 29 Sep 2018. <https://www.archdaily.com/898032/the-evelyn-and-mo-ostin-music-center-kevin-daly-architects/> ISSN 0719-8884


Nemours Children’s Hospital

Circulation

Architect : Stanley Beaman & Sears Location : Orlando, FL, USA Area : 58,000 sq.m. อาคารโรงพยาบาลสําหรับเด็กที่มีกรรมวิธีการออกแบบโดยมีแนวคิดเกี่ยวกับ “สภาพแวดลอมใน การรักษา” เนื่องดวยเปนโรงพยาบาลที่ดูแลเด็กที่ปวยเปนโรคเรื้อรังตลอดจนการวินิจฉัย ซึ่งเปน การดูแลระยะยาว ซึ่งตัวสถาปตยกรรมแสดงใหเห็นถึงการดูแลทั้งผูปวยที่เปนเด็กและผูปกครอง ตลอดการรักษา

Program จะสังเกตุไดวามีการแบง สัดสวนพื้นที่แลวมมีพื้นที่โถง กลางเปนตัวจายไปยังพื้นที่ ตางๆ

ในสวนของพื้นที่สําหรับเด็กที่ พื้นที่ที่กวางกวาปกติ และ พื้นที่ของผูใชงานสามารถ เชื่อมตอกับพื้นที่สีเขียวได

2-17

จะสังเกตุไดวามีการแบง สัดสวนพื้นที่แลวมมีพื้นที่โถง กลางเปนตัวจายไปยังพื้นที่ ตางๆ

ในสวนของพื้นที่สําหรับเด็กที่ พื้นที่ที่กวางกวาปกติ และ พื้นที่ของผูใชงานสามารถ เชื่อมตอกับพื้นที่สีเขียวได "Nemours Children’s Hospital / Stanley Beaman & Sears" 25 Oct 2013. ArchDaily. Accessed 29 Sep 2018. <https://www.archdaily.com/439396/nemours-children-s-hospital-stanley-beaman-and-sears/> ISSN 0719-8884


3.1 การศึกษาและวิเคราะหทําเลที่ตั้งโครงการ 3.1.1 ขอมูลทางกายภาพ กรุงเทพมหานคร เปนเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศ ไทย เปนศูนยกลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนสง การเงินการธนาคาร การ พาณิชย การสื่อสารและความเจริญของประเทศ เปนเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยูบน สามเหลี่ยมปากแมน้ําเจาพระยา มีแ มน้ําเจาพระยาไหลผานและแบงเมืองออกเปน 2 ฝง คือ ฝง พระนครและฝงธนบุรีกรุงเทพมหานครมีพ ื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม. มีประชากรตาม ทะเบียนราษฎรกวา 5 ลานคน ทําใหกรุงเทพมหานครเปนเอกนคร (Primate City) จัด มีผ ู กลาววา กรุงเทพมหานครเปน " เอกนครที่สุดในโลก" เพราะมีประชากรมากกวานครที่มี ประชากรมากเปนอันดับ 2 ถึง 40 เทา

รูปที่ 3.2 ภาพแสดงขอบเขตของกรุงเทพมหานคร ที่มาภาพ www.google.com/maps แผนที่กรุงเทพ 50เขต

ครีเอทีฟคอมมอนส. “กรุงเทพมหาo8i“. สืบคนเมื่อ 13 กันยายน 2561. <https://th.wikipedia.org/wiki/กรุงเทพมหานคร>

3-1


3.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ

3.1.3 ลักษณะภูมิอากาศ

กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ 1,568.7 ตร.กม. เปนจังหวัดที่ใหญเปน อันดับที่ 68 ของไทย ดวยมีแมน้ําเจาพระยาซึ่งทอดตัวยาว 372 กม. พาดผานพื้นที่ ทํา ใหกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกลเคียงเปนสวนหนึ่งของที่ราบลุมภาคกลางตอนลาง ของประเทศไทย ซึ่งเปนพื้นที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก พื้นที่สวนมากใน กรุงเทพมหานครเปนที่ราบลุม ตั้งอยูบนพื้นที่บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําซึ่งเกิด จากตะกอนน้ําพา มีระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 1.50-2 ม. โดยมี ความลาดเอียงจากทิศเหนือสูอาวไทยทางทิศใต และเฉพาะลุมน้ําเจาพระยาตอนลางจะอยู สูงกวาระดับน้ําทะเลไมเกิน 1.50 เมตร ทําใหเกิดปญหาน้ําทวมบอยครั้งในชวงฤดูมรสุม

รูปที่ 3.3 ภาพแสดงระดับพื้นสูง-ต่ําในกทม. ที่มาภาพ http://www.creativevill.com/?p=4102

ตั้งอยูในเขตรอน มีภูมิอากาศรอนแบบทุงหญาสะวันนา โดย อากาศของกรุงเทพมหานครไดรับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต (กลางเดือน พฤษภาคม – เดือนตุลาคม) และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (เดือนพฤศจิกายน – กลางเดือนกุมภาพันธ) ทําใหฝนตกในชวงบายถึงค่ําอยางสม่ําเสมอ และยัง กอใหเกิดรองมรสุมพาดผานในเดือนพฤษภาคมกับเดือนกันยายนซึ่งทําใหมีฝนตก หนักกวาปกติ

รูปที่ 3.4 ภาพแสดงอุณหภูมิในกรุงเทพทีแ่ ตกตางกันในแตละวัน ที่มาภาพ https://prachatai.com/journal/2016/01/63711 ครีเอทีฟคอมมอนส. “กรุงเทพมหานคร“. สืบคนเมื่อ 13 กันยายน 2561. <https://th.wikipedia.org/wiki/กรุงเทพมหานคร>

3-2


3.1.4 ดานสิ่งแวดลอม

3.1.5 ประชากร

กรุงเทพฯ ตองประสบปญหาจากการเกิดน้ําทวมมาอยางตอเนื่องและทวีความรุนแรงเพิ่มมาก ขึ้นทุกป นอกจากนั้นยังเกิดปญหาทางสิ่งแวดลอม อื่นๆ ตามมาอีก เชน ความหนาแนนของ การจราจรทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ การเพิ่มขึ้นของประชากรในกรุงเทพฯ และการอพยพเขามา ของผูมีภูมิลําเนาในจังหวัดอื่นๆ หรือประชากรแฝง ประชาชนสวนใหญยังขาดจิตสํานึกสาธารณะ (Public Mind) ตอความรูความเขาใจที่ถูกตองในการรักษาสิ่งแวดลอมเมือง อีกทั้งยังมีอุปสรรค ดานตนทุนในการจัดการสิ่งแวดลอมเมือง เนื่องจากปจจุบันกรุงเทพมหานครยังมิไดนําหลักการที่วา ผูกอมลพิษตองเปนผูจาย (Polluter Pays Principle : PPP) มาใชอยางเปนรูปธรรม จึงทําให กรุงเทพมหานครตองเปนผูรับภาระคาใชจายในการรักษาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นจากการที่ทุกภาคสวน รวมกันกอ

รูปที่ 3.5 สวนสาธารณะในกรุงเทพ

ณ สิ้นป พ.ศ. 2553 กรุงเทพมหานครมีประชากร 5,701,394 คน เปน ชาย 2,709,568 คน เปนหญิง 2,991,826 คน สัดสวนเพศชายตอเพศหญิงเทากับ 91 กลาวคือ ในจํานวนประชากรเพศหญิง 100 คน มีจํานวนประชากร เพศชาย 91 คน จํานวนบาน ทั้งหมด 2,400,540 หลังคาเรือน มีจํานวนคนโดยเฉลี่ย 2.52 คนตอหลังคาเรือน เมื่อ พิจารณาประชากรรายเขต พบวาเขตที่มีจํานวนประชากรมากที่สุด คือ เขตบางแค มี 193,190 คน สวนเขตที่มีประชากรนอยที่สุด คือ เขตสัมพันธวงศ มีประชากรเทากับ 28,617 คน

พื้นที่เกษตรกรรมของกรุงเทพมหานครไดลดลงมาเปนลําดับ ผลสํารวจ การใชประโยชนที่ดินในป พ.ศ. 2538 ระบุวา กรุงเทพมหานครมีพื้นที่เพื่อการเกษตร 367,763 ไร ในป พ.ศ. 2543 พื้นที่เกษตรไดลดลงเหลือ 304,198 ไร และในป พ.ศ. 2545 ไดลดลงเหลือ 231,148.125 ไร โดยอัตราการลดลงประมาณ 3-4% ตอป ซึ่งพื้นที่เกษตรทั้งฝงตะวันออก ตะวันตก จะมีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ใกลเคียงกัน การทําเกษตรกรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร นั้น จะแตกตางกันในแตละพื้นที่ โดยทางตะวันออก ไดแก พื้นที่ในเขตหนองจอก เขตคลองสามวา เขตลาดกระบัง เขตสายไหม และเขตสะพานสูง จะเปนพื้นที่ทํานา ทําไร สวนพื้นที่ทางดานตะวันตก ไดแก พื้นที่เขตทวีวัฒนา เขตตลิ่งชัน เขตหนองแขม เขตทุงครุ เปนพื้นที่แปลงผัก ไมดอก ไม ประดับ สวนผลไม และพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา โดยเปนพื้นที่บอปลา นากุง ในเขตบางขุนเทียน การ เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินประเภทเกษตรกรรม จะเปนไปตามแนวโนมการพัฒนาเมืองที่ เกิดขึ้น และพื้นที่ถือครองการเกษตร จะมีความสัมพันธที่แปรผกผันกับสภาพทางเศรษฐกิจและ มูลคาของที่ดินในแตละบริเวณ ครีเอทีฟคอมมอนส. “กรุงเทพมหานคร“. สืบคนเมื่อ 13 กันยายน 2561. <https://th.wikipedia.org/wiki/กรุงเทพมหานคร> กองสารสนเทศภูมิศาสตร. “ดานประชากรของกรุงเทพ“. สืบคนเมื่อ 13 กันยายน 2561. <http://203.155.220.230/m.info/nowbma/>

ที่มารูปภาพ http://www.asiagreenbuildings.com/wp-content/uploads/2013/05/Bangkok-city-2.jpg

3-3


3.2 การศึกษาและวิเคราะหองคประกอบเมือง 3.2.1 ประวัติความเปนมาเขตสวนหลวง เขตสวนหลวง เปน 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานครอยูในกลุม เขตกรุงเทพใต สภาพทั่วไปเปนแหลงที่อยูอาศัยหนาแนนนอย เดิมมีฐานะเปน ตําบลสวนหลวง เปนเขต การปกครองของอําเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง ตอมาในป พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหโอนอําเภอพระโขนงรวมทั้งตําบลสวนหลวงมาขึ้นกับจังหวัดพระ นคร โดยตําบลสวนหลวงไดกลายเปนเปนทองที่หนึ่งในเขตสุขาภิบาลประเวศที่ตั้งขึ้นใหมในป พ.ศ. 2506 จนกระทั่งไดรับการโอนไปเปนทองที่ของเทศบาลนครกรุงเทพตั้งแตป พ.ศ. 2508 ภายหลังทองที่เขตพระโขนงมีความเจริญและมีประชากรหนาแนนขึ้น พื้นที่บางแหง อยูไกลจากสํานักงานเขตมาก ทําใหไมสะดวกตอการบริการประชาชน ในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครจึงไดตั้งสํานักงานเขตพระโขนง สาขา 3 (สวนหลวง) ดูแลพื้นที่แขวงสวน หลวง และในวันที่ 9 พฤศจิกายน ปเดียวกัน กระทรวงมหาดไทยไดแบงพื้นที่ทางทิศตะวันออกของเขต พระโขนงตั้งเปนเขตประเวศ แบงออกเปน 4 แขวงซึ่งรวมแขวงสวนหลวงไวดวย เนื่องจากยังไมเหมาะสม ที่จะยกฐานะขึ้นเปนเขตใหม จึงใหคงฐานะเปนสํานักงานเขตสาขาไวกอน สํานักงานเขตพระโขนง สาขา 3 จึงเปลี่ยนชื่อเปนสํานักงานเขตประเวศ สาขาสวนหลวง จนกระทั่งในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2536 กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตการปกครองใหม โดยรวมพื้นที่แขวงสวนหลวง บางสวนของแขวงประเวศ เขต ประเวศ และบางสวนของแขวงคลองตัน บางสวนของแขวงพระโขนง เขตคลองเตยมาจัดตั้งเปน เขต สวนหลวง เพื่อประโยชนแกการปกครอง การใหบริการของรัฐ และความสะดวกของประชาชน และใน วันที่ 21 ตุลาคม ปเดียวกัน กรุงเทพมหานครก็ไดประกาศตั้งแขวงสวนหลวงเต็มพื้นที่เขต โดยประกาศ ทั้ง 2 ฉบับเริ่มมีผลบังคับใชในวันเดียวกันคือวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2537

รูปที่ 3.5 พื้นที่เขตสวนหลวงในกรุงเทพ ที่มารูปภาพ th.wikipedia.org/wiki/

ครีเอทีฟคอมมอนส. “เขตสวนหลวง“. สืบคนเมื่อ 15 กันยายน 2561. <https://th.wikipedia.org/wiki/เขตสวนหลวง>

3-4


3.2.2 การคมนาคมและการสัญจรในเขต สวนหลวง ถนนสายหลักในพื้นทีเ่ ขตสวนหลวง ถนนมอเตอรเวย ถนนศรีนครินทร ถนนพระราม 9 ถนนพัฒนาการ ถนนรามคําแหง ถนนสุขุมวิท 71 ถนนออนนุช ทางพิเศษศรีรัช ทางสายรองและทางลัด ทางหลวงแผนดินหลายเลข 3701 ทางหลวงแผนดินหลายเลข 3702 ถนนกําแพงเพชร 7 ซอยศรีนครินทร 20 / พัฒนาการ 54 ซอยศรีนครินทร 24 / พัฒนาการ 39 ซอยพระราม 9 ซอย 62 ซอยพระราม 9 ซอย 41 ซอยพระราม 9 ซอย 43 ซอยพระราม 9 ซอย 57 ซอยพัฒนาการ 20 / ซอยออนนุช 17 ซอยพัฒนาการ 25 ซอยพัฒนาการ 28 ซอยพัฒนาการ 30

ซอยพัฒนาการ 32 ซอยออนนุช 30 ซอยออนนุช 44 ซอยออนนุช 46 ซอยออนนุช 64

รูปที่ 3.6 ภาพแสดงขอบเขตเขตสวนหลวง ที่มาภาพ Google Earth

3-5

ครีเอทีฟคอมมอนส. “เขตสวนหลวง“. สืบคนเมื่อ 15 กันยายน 2561. <https://th.wikipedia.org/wiki/เขตสวนหลวง>


3.3.3 การคมนาคมทางรถไฟฟา โครงการรถไฟฟาสายสีเหลือง ชวงลาดพราว – สําโรง เปน โครงการระบบขนสงมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟา ขนสงมวลชนแหงประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและ จราจรไดเรงรัดแผนงานจากกําหนดการเดิมในป พ.ศ. 2572 มาอยูในชวงแผนงานปจจุบนั คือ พ.ศ. 2562

โดยมีจุดเริ่มตนที่เชื่อมตอกับระบบรคไฟฟามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ( สายสีนา้ํ เงิน ) ที่สถานีลาดพราวบริเวณแยกรัชดา – ลาดพราว ไปตามแนวถนนลาดพราวจนถึงทาง แยกบางกะป จากนั้นแนวเสนทางจะเบนไปทางทิศใตตามถนนศรีนครินทร เชื่อมตอกับโครงการรถไฟฟา สายสีสม ทีส่ ถานีลาํ สาลี เชื่อมตอกับสถานีหัวหมากของรถไฟฟาเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ( Airport Rail Link ) ไปตามแนวถนน ศรีนครินทร ผานทางแยกพัฒนาการ,แยกสวนหลวง,แยกศรีอุดม ,แยกตางระดับศรีเอี่ยม ตามแนวเทพารักษ ผานจุดเชื่อมตอกับโครงการรถไฟฟาสายสีเขียวชวงแบริ่งสมุทรปราการ โดยสิ้นสุดเสนทางบริเวณสถานีสาํ โรงระยะทางรวมประมาณ 30 กิโลเมตร

เดิมทีรถไฟฟาสายสีเหลืองไดมีการพิจารณาออกเปนหลายระบบ หลายรูปแบบดวยกันคือเปนโครงสรางใตดินแลวยกระดับ หรือเปนรถไฟฟารางเดี่ยว จนถึงพัฒนาการแลวเปลี่ยนเปนรถไฟฟารางหนัก หรือเปนรถไฟฟาขนาดเบาทั้งสาย หรือเปนรถไฟฟารางเดี่ยวทั้งสาย แตจากการเสนอที่ผานมา ผลปรากฏวาเปนการ ออกแบบในสวนของรถไฟฟารางเดี่ยว

การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย. “รถไฟฟา Monorail สายสีเหลือง“. สืบคนเมื่อ 15 กันยายน 2561. <http://www.realist.co.th/blog/รถไฟฟาสายสีเหลือง/> ครีเอทีฟคอมมอนส. “รถไฟฟาสายสีเหลือง“. สืบคนเมื่อ 15 กันยายน 2561. <https://th.wikipedia.org/wiki/รถไฟฟาสายสีเหลือง>

3-6

รูปที่ 3.7 ภาพแสดงเสนทางของแผนพัฒนารถไฟฟาสายสีเหลือง ที่ มาภรพwww.estopolis.com/article/สองทําเลทองใกลแนวรถไฟฟาสายสีเหลือง-ลาดพราว-สําโรง


3.3 เกณฑการพิจารณาที่ตั้งโครงการ 1. การเขาถึง – การเขาถึงโครงการที่งาย 2. มุมมอง – มุมมองการมองเห็นจากภายนอกโครงการ 3. บริบทโดยรอบ – บริทบทโดยรอบไมมีความวุนวายจนเกินไป 4. ระยะทาง – พื้นที่โดยรอบมีโรงพยาบาลเพื่อสามารถเชื่อมตอการรักษาบําบัดได 5. รูปรางพื้นที่ – สามารถรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคต

400 m

3-7

weight 4 2 5 3 2

800 m


3.4 การพิจารณาเลือกที่ตั้งโครงการ ตัวเลือกโครงการ

A

ตัวเลือกโครงการ

50

B

ตัวเลือกโครงการ

50

100

C

50

100

พื้นที่ 6,542 ตารางเมตร

พื้นที่ 5,647 ตารางเมตร

พื้นที่ 14,901 ตารางเมตร

ตั้งอยูบนถนน ศรีนครินทร

ตั้งอยูบนถนน ออนนุช ซอยออนนุช 68

ตั้งอยูบนถนนศรีนครินทร

แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง

แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง

แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง

100

น้ําหนัก

รายละเอียด

คะแนน

น้ําหนัก

รายละเอียด

คะแนน

น้ําหนัก

รายละเอียด

คะแนน

4

การเขาถึง

4

4

การเขาถึง

4

4

การเขาถึง

4

2

มุมมอง

4

2

มุมมอง

4

2

มุมมอง

5

5

บริบทโดยรอบ

4

5

บริบทโดยรอบ

5

5

บริบทโดยรอบ

4

3

ระยะทาง

4

3

ระยะทาง

5

3

ระยะทาง

3

2

รูปรางพื้นที่

5

2

รูปรางพื้นที่

4

2

รูปรางพื้นที่

5

66

รวม

72

รวม

รวม

3-8

65


3.5 กฎหมายที่เกี่ยวของ 3.5.1 กฎหมายผังเมือง กฎกระทรวงบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 พื้นที่ตั้งอยูบนพื้นทีสีเหลือง ขอ ๑๑ ที่ดินประเภท ย. ๔ เปนที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอยที่มีวัตถุประสงค เพื่อดํารง รักษาการอยูอาศัยที่มีสภาพแวดลอมดีในบริเวณชานเมืองซึ่งอยูในเขตการใหบริการของระบบ ขนสงมวลชน

อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน (FAR.) 3 อัตราสวนของที่วางตอพื้นที่อาคารรวม (OSR.) รอยละ 10

3-10


3.6 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ

50

ที่ตั้งโครงการ B

100

พื้นที่ 5,647 ตารางเมตร หรือประมาณ 3 ไร 2 งาน

ตั้งอยูบนถนน ออนนุช ซอยออนนุช 68 แขวงสวนหลวง เบตสวนหลวง พื้นที่สีเหลือง - ที่อยูอาศัยหนาแนนนอย การเขาถึง – การเขาถึงตัวโครงการงายจากรถไฟฟาสายสีเหลืองที่จะเกิดขึ้นในอนาคต มุมมอง – มีมุมมองจากภายนอกที่ดี

200

บริบทโดยรอบ – บริทบทโดยรอบฝงขวาจะเปนชุมชน สวนฝงซายสวนใหญจะเปนยานพาณิช ระยะทาง – พื้นที่โดยรอบมีโรงพยาบาลเพื่อสามารถเขาถึงการรักษาบําบัดได รูปรางพื้นที่ – สามารถรองรับการขยายตัวของเมืองไดในอนาคตดวยแผนพัฒนาพื้นที่

3-11

400


3.7 บริบทโดยรอบ ในพื้นที่ระยะ 500 เมตร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ที่ทําการไปรษณีออนนุช LOTTE rent a car BJ Jeans บริษัท ล็อฟ ทราเวล ทัวรยุโรป รานอาหาร รานอาหาร บริษัท ซี.พี.ฮอลิเดย จํากัด โรงเรียนสุเหรา บึงหนองบอน มัสยิดนูรลอิบาดะห รานอาหาร

10

2

3 6

5

1 4

8

9

7

S

สาธารณูปโภคและสารารณูปการใหญๆ ที่ใกลโครงการ ทิศเหนือ ถนนศรีนครินทร ทิศใต ถนน ศรีนครินท

3-12

- ธัญญาพารค Thaya Park - ศูนย TOYOTA - ซีคอนสแควร - แม็คโรศรีนครินทร 2


SITE VISIT ถนน สุขุมวิท 77

40 เมตร

140 เมตร

5,647 ตารางเมตร

37 เมตร

167 เมตร

ถนนหนาโครงการเปนถนน one way มีเกาะกลางถนนกั้น ขนาด 3 เลน กวาง 13 เมตร พื้นที่ขางเคียงเปนอาคารพาณิชขนาดเล็ก และฝงตรงขามเปนที่จอดรถบัส

มุมมองที่ 2

มุมมองที่ 1

3-13


มุมมองที่ 3

มุมมองที่ 4 2 3

มุมมองที่ 5

3-14


SITE ANALYSIS

SUN

DUST AND POLLUTION

3-15


NOISE POLLUTION

APPROACH

3-16


Music Therapy Clinic โครงการ คลินิกบําบัดรักษาผูปวยดวยดนตรี

ในปจจุบัน ประเทศไทยกําลังเผชิญกับแนวโนมของปญหาดานสุขภาพที่เพิ่มมากขึ้น ทาง ทั้งกายภาพและทางจิตใจ ซึ่งปญหาทางดานสุขภาพจิตในเมืองไทยเปนที่นากังวล ดวยปจจัยหลายๆอยาง ทั้ง ดานสภาพแวดลอม การเงิน เศรษฐกิจ การเรียนการศึกษา ทําใหมีคนเปนจํานวนมากตกอยูในภาวะความเครียด ที่มีความเขมขนสูง ซึ่งภาวะดังกลาวเกี่ยวของกับการตอบสนองของรางกายและจิตใจ การที่เลือกดนตรีเขามา มีสวนชวยในการรักษา จึงเปนตัวเลือกที่นาสนใจในปจจุบันเนื่องดวยเพลง ดนตรี หรือจังหวะทํานอง อันดวย การที่ดนตรีมีอิทธิพลกับมนุษยมานาน จึงมีสวนอยูในชีวิตประจําวันของตัวคนทุกคน จึงเปนที่คุนชิน และเขาถึง ไดงาย โดยมีการสํารวจ วิจัย สืบคนและทดลอง โดยที่เปนกรรมวิธีของแพทยทางเลือก

รูปที่ 4.2 Sound Therapy ที่มาภาพ https://soundtherapyofaustin.com/wp-content/uploads/2016/01/Sound-Therapy-massage-bowls-699x675.jpg

สถาปตยกรรม และ ดนตรี มีผลตอการความรูสึกนึกคิด เนื่องจากบริบทเปนสวนหนึ่ง ของปจจัยที่สงผลใหรางกายและจิตใจเกิดการเปลี่ยนแปลง แตการที่สถาปตยกรรมไดสามารถเขาไปอยูรวมกัน กับดนตรี ทําใหเกิดกิจกรรมและการใชงานเพื่อสนองกับผูใช ซึ่งทําใหเห็นไดวา ถายังไมมีกระบวนการออกแบบที่ ดีและคํานึงถึงบริบทและผูใชที่ดี จะทําใหเกิดผลเสียทั้งผูใชงานและสถาปตยกรรม

4-1


วัตถุประสงคของโครงการ 1. 2. 3.

เพื่อเปนแพทยทางเลือกในการบําบัดรักษาตางๆ เพื่อเปนสถานที่สําหรับเรียนรูรวมไปถึงกิจกรรมทางดานดินตรีใหกับทาง การแพทยและผูที่สนใจ เพื่อการรักษาบรรเทาอาการเจ็บปวด เพื่อตอยอดในการรักษาใน โรงพยาบาลขั้นตอไป

วัตถุประสงคการศึกษา 1. 2. 3.

รูปที่ 4.3 Sound Therapy ที่มาภาพ https://www.shantibodywork.com/sound-therapy/

4-2

เพื่อศึกษาคุณสมบัติของพื้นที่ที่สรางกิจกรรมเพื่อการบําบัด ที่มีผลกับผู เขารับการบําบัด เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบที่สอดคลองกับกรรมวิธีการรักษา เพื่อคนหารูปแบบพื้นที่ในรูปแบบตางๆเพื่อสงเสริมการบําบัดดวยดนตรี


ผังองคกร

เลขานุการ

คณะกรรมการบริหาร

ผูอํานวยการ

รองผูอํานวยการฝายบริหารงาน ทั่วไป -

งานบุคลากร ฝายการดูแลสภาพแวดลอม งานธุรการ งานพัสดุ งานซอมบํารุง

รองผูอํานวยการฝายการบริหาร จัดการธุรกิจ

รองผูอํานวยการฝายดานการ บริการ -

-

งานสงเสริมสุขภาพ ฝายงานกิจกรรม ฝายบริการสาธารณะ ฝายพัฒนาคุณภาพบริการ งานกิจกรรมพิเศษ

4-3

งานฝายบุคคล งานการเงินการบัญชี ฝายสนับสนุนโครงการ งานการจัดการตนทุนธุรกิจ ฝายประสานงานธุรกิจ

รองผูอํานวยการฝายทาง การแพทย -

งานโภชนาการ งานสุขภาพจิต งานบําบัดฟนฟูดวยดนตรี งานโภชนาการ งานอุปกรณการบําบัด งานเวชระเบียน


4.5 รายละเอียดผูใชโครงการ เด็กที่มีปญหาดานพฤติกรรม อารมณ หรือการพัฒนาการทางดานสมอง กลุมเด็กอายุ 15-18 ป คิดเปน 17 %

100 คน

ผูที่อยูในภาวะโรคเครียดหรือความผิดปกติดานอารมณ กลุมผูที่มีความเครียด ชวงวันเด็กถึงวัยทํางาน 19-50

350 คนป

คิดเปน 57 %

นักวิชาการที่สนใจศึกษาดานดนตรีบําบัด กลุมแพทยหรือนักดนตรีบําบัด ทั้งจากถายนอก มหาวิทยาลัยและเครือขายดนตรีบําบัด ที่สนใจศึกษารูปแบบและกรรมวิธี คิดเปน 26 %

4-4

150 คน


บุคลากรในโครงการ นักดนตรีบําบัด

25 คน

ผูเชี่ยวชาญดานดนตรีบําบัดเพื่อดําเนินการบําบัดในแตละรูปแบบในโครงการ แพทยบําบัด

20 คน

แพทยที่คอยตรวจดูอาการ เลือกสรรควิธีการและรูปแบบการบําบัดใหแกผูเขารับการรักษา นักเรียบเรียงดนตรี

5 คน

ผูดําเนินการผลิตดนตรีหรือทํานองในการบําบัด นักสังเคราะหคลื่นเสียง Binaural Beats

10 คน

ผูนําดนตรีมาใส Binaural Beats เพื่อสามารถนําไปใชในการบําบัด แตละความผิดปกติของผูที่เขารับการ บําบัด นักวิจัย

15 คน

นักวิจัยที่เก็บรวบรวมขอมูลการบําบัดและวิจัยกรรมวิธีการบําบัดที่ดีขึ้น รปภ.

8 คน

ทําความสะอาด

10 คน

ประชาสัมพันธ

8 คน

ตอนรับลูกคาที่เขามาในโครงการและตรวจเตรียมความพรอม พนักงานทั่วไป

20 คน

สรุปจํานวนผูใชงานโครตงการ รูปที่ 4.4 ภาพ I love to use ukulele in music therapy! ที่มาภาพ https://ukuleletricks.com/5-reasons-you-should-play-learn-ukulele/

ผูใชบริการ 4-5

550 คน/วัน

บุคลากรในโครงการ 121

คน/วัน


เด็กออทิสซึม ผูปวยโรคเครียด ผูที่สนใจดานการแพทย นักดนตรีบําบัด แพทยบําบัด นักวิจัย พนักงานผลิตดนตรี เจาหนาที่อื่นๆ รปภ.

4-6

22.00

21.00

20.00

19.00

18.00

17.00

16.00

15.00

14.00

13.00

12.00

11.00

10.00

9.00

8.00

7.00

6.00

TIMELINE USER


4.6 การกําหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ บุคลากร 5 คน ผูใชงานหลัก 100 คน

-

พื้นที่สําหรับการประชาสัมพันธ -

บุคลากร 10 คน ผูใชงานหลัก 15 คน

พื้นที่โถงตอนรับ

สวนคัดกรอง

พื้นที่จําแนกประเภททัง้ ผูบําบัด รูปแบบความผิดปกติ ความตองการของผูบําบัด และรูปแบบการบําบัดที่เหมาะสม -

บุคลากร 15 คน ผูใชงานหลัก - คน

รูปที่ 4.5 triage hospital ที่มาภาพ https://designingwaiting.wordpress.com/2012/03/29/sub-types-of-waiting-rooms/

สตูดิโอบันทึกเสียง Binaural Beats

สตูดิโอผลิตดนตรีที่มี beats ที่เหมาะสมแกการบําบัด จากดนตรีบําบัดและซาวดเอ็นจิเนียเพื่อรังสรรครูปแบบของ beats ที่สามารถกลอมการทํางานของคลื่นสมองผูบําบัดใหเหมาะสมสําหรับ ผูเขารับการบัด

รูปที่ 4.5 music studio ที่มารูปภาพ Musicaustralia.org,starcitystudioproduction,stedenintransitie.nl

4-7


บุคลากร 20 คน ผูใชงานหลัก 75 คน

พื้นที่บําบัด ชนิด Singing Bowl Therapy

เปนรูปแบบของดนตรีบําบัดที่ใหผูรวมบําบัดไดนอนสมาธิไปพรอมๆ กับการสรางจิตใจใหสงบ เปนรูปแบบการบําบัดดวยคลื่นเสียง จากเครื่องดนตรีที่เรียกเปนภาษาไทยวา กัมปนาท บัวฮมบุรา

บุคลากร 15 คน ผูใชงานหลัก 50 คน

-

รูปที่ 4.7 music therapy ที่มารูปภาพ https://soundtherapyofaustin.com/upcoming-events/

พื้นที่บําบัด ชนิด Vibroacoustic Therapy

เปนเทคนิคการบําบัดดวยเสียง ดวยวิธีใหผูที่บําบัดจะนอนลาด หลังบนที่นอนซึ่งมีลําโพงอยูขางใน ที่สงคลื่นความถี่ต่ํา ซึ่งคลายๆกับ นั่งบนลําโพง subwoofer เพื่อตอบสนองตอผูปวยโรคซึมเศรา โรคเครียด และโรคอัลไซเมอรเปนอยางดี

รูปที่ 4.8 music therapy ที่มารูปภาพ https://soundtherapyofaustin.com/upcoming-events/

4-8


บุคลากร 10 คน ผูใชงานหลัก 50 คน

-

พื้นที่บําบัด ชนิด Dalcroze

หรือ Dalcroze Eurythmics เปนอีกรูปแบบของดนตรีบําบัดที่เนนเรื่อง จังหวะและการแสดงออกซึ่งเปนสวนหนึ่งของการเรียนรูและการพัฒนา ซึ่งเนนการเคลื่อนไหวในกิจกรรมทางดนตรีและความเขาใจ

บุคลากร 10 คน ผูใชงานหลัก 75 คน

บุคลากร 25 คน ผูใชงานหลัก 15 คน

-

พื้นที่รับประทานอาหาร

เพื่อรองรับปริมาณของผูที่เขารับการบําบัดและบุคลากรภายในโครงการ

-

ออฟฟสสํานักงาน

รูปที่ 4.9 music therapy (Dalaroze) ที่มารูปภาพ https://aaa.org.hk/en/programmes/programmes/past-disquiet-from-archives-to-speculative-exhibition-histories/period/past

พื้นที่เพื่อดําเนินงานของโครงการใหเปนระบบรูปแบบ และจัดการเรื่อง ธุรกรรมทางการเงินภายในโครงดวย

บุคลากร 5 คน ผูใชงานหลัก - คน

-

พื้นที่เก็บอุปกรณบําบัด

พื้นที่เก็บรวบรวมอุปกรณทั้งการบําบัดและอุปกรณทางการดนตรีที่ใชสราง เสียงจังหวะ ดนตรี ทํานอง คลื่นเสียง ที่อยูเบื้องหลังการบําบัด

บุคลากร 15 คน ผูใชงานหลัก - คน

-

พื้นที่วิจัยและเก็บรวบรวมขอมูลการบําบัด

พื้นที่เก็บขอมูลกรรมวิธีการบําบัด ลําดับการพัฒนาการของผูบําบัด เพื่อ วิจัยศึกษา หารูปแบบการบําบัดใหมๆ และพัฒนาใหดียิ่งขึ้น รูปที่ 4.10 Studio sound engineer ที่มารูปภาพ https://wsdg.com/boston-symphony-orchestra-unveils-wsdg-redesigned-control-room/

4-9


- สวนเรียนรู บุคลากร 10 คน ผูใชงานหลัก 75 คน

พื้นที่จัดแสดงงาน ใหความรูเ กี่ยวกับการใชดนตรีเพื่อบําบัด มี การจัดสัมมนาเพื่อใหความรูแกบคุ ลลภายนอก และสวน หองสมุด

รูปที่ 4.11 Exhibition ที่มารูปภาพ https://aaa.org.hk/en/programmes/programmes/past-disquiet-from-archives-to-speculative-exhibition-histories/period/past

- Cafe บุคลากร 3 คน ผูใชงานหลัก 15 คน

พื้นที่พักคอย พักผอนสําหรับผูบาํ บัดและผูทเี่ ขามาใชงานทัว่ ไป โดยตัวพื้นที่จะมีการออกแบบเพื่อใหสอดคลองกับกิจกรรมทีม่ ี การบําบัดภายในโครงการ

รูปที่ 4.12 Cafe ที่มารูปภาพ http://www.brookiesgozo.com/gallery/interior-exterior/

4-10


4.7 พื้นที่ใชสอยของโครงการ AREA REQUIREMENT

พื้นที่รวม ( ตร.ม. )

หมายเหตุ

80

0

A,B

30%

18

78

B

180

30%

54

234

B

-

400

30%

120

520

B

20

50

705

40%

282

987

B

1

15

50

200

30%

60

260

B

พื้นที่บําบัด Daloroze

1

10

50

600

40%

140

740

B

พื้นที่เก็บอุปกรณบําบัด

3

5

-

90

30%

27

117

B

หองน้ํา

2

1

10

42

30%

12.6

54.6

A,C

โซน

องคประกอบโครงการ

จํานวน

บุคลาการ

ผูใชงาน หลัก

พื้นที่สุทธิ ( ตร.ม.)

1

พื้นที่โถงตอนรับ

1

5

50

200

40%

สวนคัดกรอง

3

10

15

60

สตูดิโอบันทึกเสียง Binaural Beats

1

15

-

พื้นที่วิจัยและเก็บรวบรวมขอมูลการ บําบัด

1

15

พื้นที่บําบัด Singing bowl Therapy

2

พื้นที่บําบัด Vibroacoustic Therapy

2

3

4-11

พื้นที่สัญจร พื้นที่สัญจร ( #% ) ( ตร.ม. )


โซน

องคประกอบโครงการ

4

สวนเรียนรู

5

พื้นที่รวม ( ตร.ม. )

หมายเหตุ

30

130

B

30%

60

260

B

100

30%

30

130

B

75

285

30%

85

370

A,C

3

15

55

30%

16.5

71

B

1

10

42

30%

12.6

54.6

A,C

จํานวน

บุคลาการ

ผูใชงาน หลัก

พื้นที่สุทธิ ( ตร.ม.)

โถงตอนรับ

1

2

40

100

30%

หองสมุด

1

3

15

200

สวนจัดแสดง

1

2

40

พื้นที่รับประทานอาหาร

1

10

Cafe

1

หองน้ํา

2

หมายเหตุ A = Neufert Architects’ Data

B = Case Study

C = ขอบัญญัติควบคุมอาคาร 2554

4-12

พื้นที่สัญจร พื้นที่สัญจร ( #% ) ( ตร.ม. )


AREA REQUIREMENT

โซน

องคประกอบโครงการ

จํานวน

บุคลาการ

ผูใชงาน หลัก

พื้นที่สุทธิ ( ตร.ม.)

6

ออฟฟสสํานักงาน

1

25

15

390

30%

หองน้ํา

2

1

10

42

30%

พื้นที่สัญจร พื้นที่สัญจร ( #% ) ( ตร.ม. )

พื้นที่รวม ( ตร.ม. )

หมายเหตุ

110

510

A

12.6

54.6

A,C

407

C

1,800

C

สวนงานระบบ 7

สวนจอดรถ

72 พื้นที่ตอคัน 2.5x5.0=12.5 ตร.ม. จํานวน 72 คน 72x12.5 = 900 ตร.ม.

รวม หมายเหตุ A = Neufert Architects’ Data

ทางสัญจร 100% พื้นที่ x 100/100 ทางสัญจร 900 ตร.ม.

7,114 B = Case Study

C = ขอบัญญัติควบคุมอาคาร 2554

4-13


4.8 การประมาณการงบประมาณของโครงการ ราคาที่ดินและราคาปรับปรุงที่ดิน ที่ดินมีขนาด 3.52 ไร หรือ 5,647 ตร.ม. หรือ 1,412 ตร.ว ราคาที่ดิน 18,000 บาท/ตร.ว. = 18,000 x 1,412 = 25,416,000 บาท คาปรับปรุงที่ดิน 100,000 บาทตอไร ดังนั้นคาปรับปรุงที่ดิน 100,000 x 3.52 = 352,000 บาท รวมราคาคาที่ดินและคาปรับปรุงที่ดินจะได 25,768,000 บาท

ราคาคากอสรางอาคาร คากอสรางอาคาร พื้นที่กอสรางโครงการ 5,647 ตร.ม. คากอสรางโครงการ 9,200 บาท/ตร.ม. ดังนั้นคากอสรางอาคาร 5,647 x 9,200 = 51,952,400 บาท

คาดําเนินการ คาใชจายกอนดําเนินการคิดเปนเปอรเซ็นต จากคากอสรางอาคารโดยแยกเปนคาใชจายตางๆดังตอไปนี้ คาตกแตงเฟอรนิเจอร คาออกแบบและคาที่ปรึกษาโครงการ คาบริการโครงการ คาความคลาดเคลื่อน รวมปนเงินทั้งสิ้น

20% ของคากอสราง 10,390,480 บาท 5% ของคากอสราง 2,597,620 บาท 2% ของคากอสราง 1,039,048 บาท 10% ของคากอสราง 5,195,240 บาท 19,222,388 บาท

สรุปงบประมาณลงทุนโครงการ ( 4.8.1+4.8.2+4.8.3 ) = 96,942,788 บาท

4-14


4.9 ระบบอาคาร ( Building System ) 4.9.1 ระบบโครงสรางอาคาร ( Structure ) โครงสรางหลักใชเหล็กเนื่องจากการใชงานในอาคารสวนใหญตองใชพื้นที่กวาง เปน wide-span

ที่มาภาพ https://www.pinterest.com/pin/371406300504732926/

4.9.2 ระบบผนัง ( Wall System ) ระบบผนัง reflection acoustic wall, double-wall เพื่อรองรับปริมาณความเขมขนของเสียงทั้ง ภายในและภายนอก เลือกใชกระจก Suspended Particle Devices โดยเลือกใชสวนใหญเปนชนิดทึบแสง เพื่อรักษา ความเปนสวนตัวของผูที่เขามาบําบัด

ที่มาภาพ https://www.pinterest.com/pin/346214290100125173/

4-15


49.3 ระบบฝาอาคาร ในสวนของพื้นที่ที่มีกิจกรรมใชเสียงในการบําบัดเลือกใชการติดตั้ง ที่มี Acoustic Shells เพื่อใหไดภาพสะทอนเสียงที่สมบูรณแบบและสามารถใชงานควบคุม กับระบบผนัง ซึ่งรูปแบบจะเปนแผนสะทอนเสียงอะคูสติก โดยมีพื้นผิวเปนพลาสติก –ลา มิเนตตานทานรอยขีดขวน

ที่มา http://performance.stageright.com/products/acoustic-shells/opus-ii-concert-acoustic-shell/

4.9.4 ระบบสุขาภิบาล ( Sanitary ) ระบบน้ําดี เนื่องจากเปนอาคารที่มีความสูงไมมาก จึงเหมาะกับระบบ Feed Down System เนื่องจากระบบนี้ เหมาะสมกับอาคารสาธารณะ มีความสะดวกใน การจายน้ําของโครงการ ระบบน้ําเสีย ใชระบบ ( Physical Treatment ) เปนวิธีการแยกเอา สิ่งเจือปนออกจากน้ําเสีย โดยใชอุปกรณในการบําบัดทางกายภาพ 4.9.5 ระบบไฟฟากําลัง ( Electricity ) ระบบจายไฟฟาแรงดันสูง ใชหมอแปลงไฟฟาแบบ Cast – Resin Dry Type เปนการระบายความรอยดวยอากาศ ติดตั้งภายในอาคาร หองบรรจุหมอ แปลงสูงประมาณ 3.50 เมตร ขนาดตู MBD ประมาณ 0.80 x 2.50 x 2.10

4-16


4.9.6 ระบบปรับอากาศ ( Air – Conditioning ) เลือกใช 2 รูปแบบเพื่อรองรับฟงชั่น 2 ชนิดที่ไมเหมือนกัน แบบแรก ระบบ Air Cooled Water Chiller ใชในพื้นที่หลักของ โครงการที่มีขนาดใหญที่ตองการกระจายความเย็นใหทั่วถึง ซึ่งมีพื้นที่จัด AHU เปนจุด ควบคุมดวย แบบที่สอง ระบบ Split Type เพื่อรองรับพื้นที่สํานักงานที่มีการ แยกหองเปนสวนๆ ที่มีการใชงานเปด-ปด ไมพรอมกัน

ที่มา http://flrishfarm.co/centrifugal-fan-air-flow-diagram-also-pump-control-box-wiring-diagram.html

4.9.7 ระบบดับเพลิง อัคคีภัย ในสวนของระบบดับเพลิงดวยน้ํา เลือกใชงานระบบที่มีการเก็บกัก น้ําสํารองที่มีแรงดัน เมื่อมีเหตุเพลิงไหมจะสามารถใชได 1-2 ชม. ประกอบดวย ระบบสง น้ํา เครื่องสูบระบบทอ หัวรับน้ําดับเพลิง สายสงน้ําดับเพลิง หัวกระจายน้ําดับเพลิง และ มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติที่อยูบนฝาเพดานหอง เปนแบบตรวจจับความรอน ระบบควบคุมควันไฟ เนื่องดวยการสําลักควันไฟเปนสาเหตุหลัก ของการเสียชีวิตในเหตุไฟไหม จึงเลือกใชระบบนี้ เพื่อที่จะชะลอควันไฟดวยการอัดอากาศ ลงไปในจุดที่เปนทางหนีไฟ โถงบันได และโถงลิฟต ที่มา http://www.csccivil.co.th/view/148

4-17


4.9.8 ระบบการสื่นสารโทรคมนาคม ( Communication ) ระบบ PABX เพื่อความสะดวกในการติดตอสื่อสาร ทั้งภายนอกและภายในโครงการ 4.9.9 ระบบแสงสวาง ( Lighting ) ระบบแสงสวางที่ใชคือ Direct Light, General Lighting, Semi-Indirect Lightning ซึ่งเปนระบบที่มีการใชงานที่แตกตางกันในแตละสวน เพื่อความเหมาะสม และติดตั้งงายมีใชกันแพรหลาย 4.9.10 ระบบไฟฟาสํารอง ระบบไฟฟาฉุกเฉินแบตเตอรี่ ใชในบริเวณทางออกฉุกเฉิน บันไดหนีไฟ และตาม ทางเดิน อีกสวนคือระบบไฟฟาฉุกเฉินแบบดีเซล เปนระบบอัตโนมัติ ในพื้นที่อาคารที่ตองการความ ปลอดภัย มีประสิทธิภาพสูง และบํารุงรักษางาย

http://www.engineerfriend.com/2011/articles/ระบบสํารองไฟในโรงพยาบาล/

4.9.11 ระบบลิฟท เลือกใชระบบลิฟตชนิดมีเกียร เนื่องจากชุดเกียรมีการลดความเร็ว รอบที่จะชวยใหมอเตอรไฟฟาสามารถลดกําลังไฟฟาที่ใชในการหมุนรอกขับลิฟต เพื่อ ลดกําลังไฟฟาที่ใชในโครงการ

4-18


Mu s i ct h e r a p yi s ap s y c h o l o g i c a l t h e r a p ywh i c hu s e s t h eu n i q u eq u a l i t i e s o f m u s i ca s am e a n s o f i n t e r a c t i o nb e t we e nt h e r a p i s t a n dc l i e n t . D e f i n i t i o no f U KMu s i cT h e r a p y

A R C HT H E S I SR MU T T2 0 1 8


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.