บทที่1

Page 1

บทที่ 1 บทนำำ ควำมเป็ นมำและควำมสำำคัญของปั ญหำ การพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วทังในด้ ้ านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ ความเจริญทางด้ านวัตถุธรรม สิ่งอำานวยความสะดวกสบาย และสิ่งที่ตอบสนองความต้ องการขัน้ พื ้นฐาน โดยเฉพาะเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ที่เข้ ามามีสว่ นในการดำารงชีวิตประจำาวันและการทำางาน ทังความเจริ ้ ญก้ าวหน้ าในด้ านเทคโนโลยี ทำาให้ การดำารงชีวิตของคนไทยส่วนใหญ่เกิดการปรับ เปลี่ยนในด้ านค่านิยม คุณธรรม จริ ยธรรม เพื่อปรับตนเองให้ ดำารงชีวิตอยูร่ อดในสังคมและ วัฒนธรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง เกิดความไม่แน่ใจว่าเราควรยึดถือเชื่อสิ่งใดหรื อแนวทางใดในการ ดำารงชีวิต ดังนันหากเราไม่ ้ ปลูกฝั งค่านิยมที่ดี ให้ เห็นคุณค่าและความสำาคัญของค่านิยมที่ดีตงแต่ ั้ บุคคลที่ยงั เป็ นเด็ก จะทำาให้ การปลูกฝั งค่านิยมที่ดีเป็ นไปได้ ยาก เมื่อบุคคลโตขึ ้นการที่จะ เปลี่ยนแปลงความเชื่อ หรือการปลูกฝั งค่านิยมที่ดีในการดำารงชีวิตจะยากมากขึ ้น สาเหตุของการ เปลี่ยนแปลงค่านิยมย่อมเกิดจากปั จจัยหลายประการคือ โสภา ชปี ลมันน์ (2543 : 26-46) ได้ กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงค่านิยมของคนในปั จจุบนั มีสาเหตุมาจากปั จจัยต่าง ๆ คือ การเจริ ญ เติบโตอย่างรวดเร็วของระบบคมนาคมและการสื่อสาร การล่มสลายของระบบคุณธรรม จริ ยธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของคนไทย การพัฒนาทางด้ านการศึกษาที่พฒ ั นาไป อย่างรวดเร็ว การล่มสลายของสถาบันครอบครัว และการขาดความเข้ าใจ ความใกล้ ชิด ความ รัก ความอบอุน่ และขาดสัมพันธภาพสายใยความรัก ความอบอุน่ ในครอบครัว อิทธิพลจาก สื่อมวลชน ในสังคมยุคสารสนเทศ อิทธิพลของวัฒนธรรม ค่านิยมของโลกตะวันตก ซึง่ เข้ ามามี อิทธิพลเปลี่ยนแปลงวิธีการดำาเนินชีวิตของสังคมไทย และอิทธิพลของสังคมวัฒนธรรมของวัยรุ่น ซึง่ มีอิทธิพลไปถึงผู้ใหญ่ในปั จจุบนั พรจิตร แท้ สงู เนิน (2542 : 79-81) กล่าวถึงการ เปลี่ยนแปลงค่านิยมของวัยรุ่นสรุปได้ ว่า วัยรุ่นต้ องการให้ ผ้ อู ื่นยอมรับจึงพยายามปฏิบตั ิตนให้ ดู แปลกใหม่ตามเพื่อน และวัยรุ่นต้ องการเลียนแบบที่ตนเห็นว่านำาสมัยจึงทำาตาม จะเห็นได้ ว่า สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงค่านิยมนัน้ สาเหตุเนื่องมาจากการแพร่หลาย ของสื่อ และการยอมรับวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้ ามา ได้ แก่ ค่านิยมของชาติตะวันตก ไม่วา่ จะเป็ น 1


2 ค่านิยมในเรื่องการแต่งกาย การรับประทานอาหาร และรวมถึงค่านิยมในเรื่ องการทำาธุรกิจ ซึง่ สังเกตได้ จากการวางกรอบการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535-2539 ที่เน้ นเรื่องอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้ เท่าทันนานาชาติ โดยเฉพาะ การทำาธุรกิจที่มงุ่ หวังและมุง่ เน้ นให้ ได้ ผลกำาไรที่มาก และพยายามผลักดันธุรกิจของตนเองให้ เจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็วโดยขาดความมัน่ คง การไม่ร้ ูจกั พอ และความไม่รอบคอบในการทำางาน จึงทำาให้ เกิดความล้ มเหลวในการทำาธุรกิจเช่นเดียวกับค่านิยมของต่างชาติที่รับเข้ ามาอย่างไม่มี การกลัน่ กรอง บางค่านิยมอาจทำาให้ เกิดความเสื่อมเสียของจริ ยธรรมและวัฒนธรรม จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ วเพื่อให้ เท่าทันและเท่าเทียมกับนานาชาตินนทำ ั ้ าให้ เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ และเหตุการณ์ที่ทำาให้ เห็นชัดก็คือ วิกฤตทางเศรษฐกิจในปลายปี พ.ศ. 2539 ต่อเนื่องและร้ ายแรงในปี พ.ศ. 2540 ซึง่ ในขณะนันทุ ้ กฝ่ ายได้ ร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อแก้ ปั ญหาเศรษฐกิจนี ้ และแนวทางการแก้ ปัญหาที่เหมาะสมคือ การดำาเนินชีวิตตามแนวพระ ราชดำาริเศรษฐกิจพอเพียง แนวพระราชดำาริเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าวนี ้ นับเนื่องมาจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยูห่ วั ได้ ทรงมีพระราชดำารัสพระราชทานแก่บคุ คลต่าง ๆ ที่เข้ าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล ใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาสวนดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังสวนดุสิตฯ เมื่อ วันที่ 4 ธันวาคม 2540 โดยทรงมีพระราชดำารัสเกี่ยวกับหลักการดำาเนินชีวิตอย่างพอเพียงตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ พระราชดำารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ในครัง้ นัน้ ทำาให้ หน่วยงานทางราชการ เอกชน และประชาชนโดยทัว่ ไปตื่นตัวกับการนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงไปใช้ ในชีวิตประจำาวัน ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงนันได้ ้ แฝงไว้ ด้วยค่านิยมที่ดีงามที่ควรปลูก ฝั งให้ เกิดกับประชาชนชาวไทย ซึง่ สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติได้ นำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการกำาหนดวิสยั ทัศน์สำาหรับการพัฒนาและ บริ หารประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549 :ซึง่ แผน พัฒนา ฯ ฉบับนี ้ เน้ นให้ ร้ ูจกั การพัฒนาตนเอง การเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้ องถิ่น และ การ ยึดหลักคุณธรรมและคุณค่าของเอกลักษณ์สงั คมไทย (สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2545 : ง-จ)


3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549 เป็ นแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ได้ อนั เชิญแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นปรัชญานำาทางใน การพัฒนาประเทศและบริหารประเทศ ซึง่ แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เกิดขึ ้นนัน้ เกิดโดย สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ เชิญผู้ทรงคุณวุฒใิ นทางเศรษฐกิจ และสาขาอืน่ มาร่วมกันประมวลและกลัน่ กรองจากพระราชดำารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยูห่ วั ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำาไปเผย แพร่ ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาปรับปรุ งแก้ ไข และพระราชทานพระบรมรา ชานุญาตให้ นำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็ นปรัชญานำาทางในการพัฒนาและบริ หารประเทศ ได้ โดยยึดหลักทางสายกลาง เพื่อให้ ประเทศรอดพ้ นจากวิกฤต สามารถดำารงอยูไ่ ด้ อย่างมัน่ คง และนำาไปสูก่ ารพัฒนาที่สมดุล มีคณ ุ ภาพอย่างยัง่ ยืน ภายใต้ กระแสโลกาภิวฒ ั น์และสถานการณ์ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ นำาเสนอ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไว้ ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี ้ถึงแนวทางการดำารงอยูแ่ ละ ปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับ ตังแต่ ้ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทังในการ ้ พัฒนาและบริหารประเทศให้ ดำาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ ก้ าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวฒ ั น์ ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจำาเป็ นที่จะต้ องมีระบบภูมิค้ มุ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทังภายในและภายนอก ้ ทังนี ้ ้ ต้ องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดำาเนินการทุกขันตอน ้ และขณะเดียวกันจะต้ องเสริ มสร้ างพื ้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ นัก ทฤษฎี และนักธุรกิจทุกระดับ ให้ มีสำานึกในคุณธรรม ควำมซื่อสัตย์ สุจริต และให้ มีความรอบรู้ ที่เหมาะสมดำาเนินชีวิตด้ วยควำมอดทน ควำมเพียร มีสติปัญญา และควำมรอบคอบ เพื่อให้ สมดุลและความพร้ อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้ างขวางทางด้ านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้ อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็ นอย่างดี” (สำานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2545 : ก) จะเห็นได้ ว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าว ได้ เน้ นด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่า นิยมในหลายด้ าน เช่น การสำานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต และการให้ มีความรอบรู้ที่ เหมาะสม รวมทังหลั ้ กในการดำารงชีวิต ด้ วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความ รอบคอบ ซึง่ แนวทางการดำาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี ้เป็ นแนวทางที่ควรปลูกฝั งให้


4 เกิดขึ ้นในตัวของประชาชนชาวไทยทุกคน เพื่อให้ มีหลักในการดำาเนินชีวิตที่ดี ที่พอเพียงและทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม ทิศนา แขมมณี (2546 : 19) ได้ กล่าวว่า การปลูกฝั งค่านิยมใดให้ ได้ ผลสำาเร็ จจำาเป็ น ต้ องช่วยให้ ผ้ เู รียนเห็นคุณค่าของสิ่งนัน้ และเรี ยนรู้วิธีการที่จะกระทำาสิ่งนัน้ ๆ อย่างเหมาะสม เมื่อเห็นคุณค่าและรู้วิธีการนันแล้ ้ วก็สนับสนุนให้ ลงมือทำาจริ ง ปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่องสม่าำ เสมอ ซึง่ หลักการปลูกฝั งค่านิยมดังกล่าวสอดคล้ องกับแนวคิดการพัฒนาด้ านจิตพิสยั ของบลูม (Bloom,1956 : 18 อ้ างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2545 : 17) บลูมได้ จำาแนกจุดหมาย ของการศึกษาออกเป็ น 3 ด้ าน คือ ด้ านความรู้ (Cognitive Domain) ด้ านทักษะ (PhychoMotor Domain) และด้ านเจตคติหรื อความรู้สกึ จิตใจ (Affective Domain) สำาหรับด้ านเจตคติ หรื อความรู้สกึ นัน้ บลูมได้ จดั ลำาดับขันตอนการเรี ้ ยนรู้ไว้ 5 ขัน้ ประกอบด้ วย 1. ขันการรั ้ บรู้ (Receiving or Attending) ได้ แก่ การที่ผ้ เู รี ยนได้ รับค่านิยมที่ต้องการ ปลูกฝั งในตัวผู้เรียน ซึง่ ผู้สอนจัดสถานการณ์ให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับความรู้คา่ นิยมนันอย่ ้ างสม่าำ เสมอ เช่น เสนอกรณีตวั อย่างที่เป็ นประเด็นปั ญหาขัดแย้ งเกี่ยวกับค่านิยมนัน้ คำาถามที่ท้าทายความคิด เกี่ยวกับค่านิยมนัน้ 2. ขันการตอบสนอง ้ (Responding) ได้ แก่ การที่ผ้ เู รี ยนได้ รับรู้และเกิดความสนใจใน ค่านิยมแล้ วมีโอกาสได้ ตอบสนองในลักษณะใดลักษณะหนึง่ ซึง่ ผู้สอนควรจัดสถานการณ์ให้ ผ้ ู เรี ยนมีโอกาสตอบสนองต่อค่านิยมนันในลั ้ กษณะใดลักษณะหนึง่ เช่น ให้ พดู แสดงถึงความคิด เห็นต่อค่านิยมนัน้ ให้ ลองทำาตามค่านิยมนัน้ ให้ สมั ภาษณ์และพูดคุยกับผู้ที่มีคา่ นิยมนัน้ เป็ นต้ น 3. ขันการเห็ ้ นคุณค่า (Valuing) เป็ นขันที ้ ่ผ้ เู รี ยนได้ รับประสบการณ์เกี่ยวกับค่านิยมนัน้ แล้ วเกิดเห็นคุณค่าของค่านิยมนัน้ ทำาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดค่านิยมที่ดีตอ่ ค่านิยมนัน้ ซึง่ ผู้สอนจัด ประสบการณ์หรือสถานการณ์ที่ชว่ ยให้ ผ้ เู รี ยนได้ เห็นคุณค่าของค่านิยมนัน้ เช่น การให้ ลองปฏิบตั ิ ตามค่านิยมแล้ วได้ รับการตอบสนองในทางที่ดี เห็นประโยชน์ที่เกิดขึ ้นกับตนหรื อบุคคลอื่นที่ ปฏิบตั ิตามค่านิยมนัน้ เห็นโทษหรือได้ รับโทษจากการละเลยไม่ปฏิบตั ิตามค่านิยมนัน้ เป็ นต้ น 4. ขันการจั ้ ดระบบ (Organization) เป็ นขันที ้ ่ผ้ เู รี ยนรับค่านิยมที่ตนเองเห็นคุณค่านัน้ เข้ ามาอยูใ่ นระบบค่านิยมของตน และเมื่อผู้เรี ยนเห็นคุณค่าของค่านิยมและเกิดเจตคติที่ดีตอ่ ค่า นิยมนันและมี ้ ความโน้ มเอียงที่จะรับค่านิยมนันมาใช้ ้ ในชีวิตตน ผู้สอนควรกระตุ้นผู้เรี ยนพิจารณา ค่านิยมนันกั ้ บค่านิยมหรือคุณค่าอื่น ๆ ของตน และสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมต่าง ๆ ของตน


5 5. ขันการสร้ ้ างลักษณะนิสยั (Characterization) เป็ นขันที ้ ่ผ้ เู รี ยนปฏิบตั ิตามค่านิยมที่ ตนรับมาอย่างสม่าำ เสมอทำาจนกระทัง่ เป็ นนิสยั ทังนี ้ ้ผู้สอนควรส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนปฏิบตั ิตนตามค่า นิยมนันอย่ ้ างสม่าำ เสมอ โดยติดตามผลปฏิบตั ิ และให้ ข้อมูลป้อนกลับ และการเสริ มแรงเป็ นระยะ ๆ จนผู้เรียนสามารถปฏิบตั ิได้ จนเป็ นนิสยั จากแนวคิดและทฤษฎีการปลูกฝั งค่านิยมของบลูมในการพัฒนาด้ านจิตพิสยั ทัง้ 5 ขันนั ้ นจะเห็ ้ นได้ วา่ ขันตอนการปลู ้ กฝั งค่านิยมของบลูม มีความสอดคล้ องกับความต้ องการปลูก ฝั งค่านิยมตามกระบวนการกระจ่างค่านิยม ซึง่ พัฒนาโดยแรทส์ (Rath, 1966 : 32 อ้ างถึงใน ศักดิ์ ระพี, 2543 20) โดยอธิบายว่า ค่านิยมเป็ นสิ่งที่บคุ คลเลือกยึดถือ เป็ นหลักหรื อแนวทาง ในการดำารงชีวิต บุคคลที่ไม่มีคา่ นิยมในการดำารงชีวิตมักจะเป็ นผู้มีลกั ษณะโลเล ไม่แน่ใจ ตัดสิน ใจช้ า หรือตัดสินใจไม่ได้ แรทส์ได้ เสนอแนวคิดเกี่ยวกับค่านิยมแท้ ซึง่ บุคคลอาจนำาไปใช้ ในการ ทำาค่านิยมของตนให้ กระจ่างหรือช่วยให้ บคุ คลอื่นเกิดความกระจ่างในค่านิยมของเขา กระบวนการกระจ่างค่านิยมมีหลักการสำาคัญคือ การช่วยให้ บคุ คลเกิดความชัดเจนในค่า นิยมที่ตนนับถือ หรือความเชื่อว่าดี ถูกต้ องหรื อควรจดจำา เป็ นกระบวนการที่ทำาให้ บคุ คลยอมรับ ความรู้ และความคิดด้ วยตนเองภายใต้ สถานการณ์ที่กำาหนด ผลที่ได้ จากกระบวนการนี ้ จะเอื ้อ อำานวยให้ ความคิด หรือการกระทำาของคนเราเข้ าด้ วยกันได้ ซึง่ แรทส์ (Rath, 1966 : 60) ได้ เสนอแนวคิดไว้ วา่ ค่านิยมแท้ ควรมีคณ ุ ลักษณะหรื อเกณฑ์ครบ 7 ข้ อ โดยให้ ครูสงั เกตพฤติกรรม ของนักเรียน ทังการแสดงออกทางค่ ้ านิยมจะแสดงออกในรูปของความเชื่อทัศนคติ พฤติกรรม และความรู้สกึ ซึง่ อาจใช่หรือไม่ใช่คา่ นิยมก็ได้ คุณลักษณะหรื อเกณฑ์ของค่านิยมที่สมบูรณ์ 7 ข้ อ มีดงั นี ้ 1. การเลือกกระทำาอย่างอิสระ ไม่มีการบังคับ 2. การเลือกจากทางเลือกหลาย ๆ ทาง 3. การเลือกที่เกิดจากการพิจาณาผลของทางเลือกแต่ละทาง 4. การรู้สกึ ภูมิใจและมีความยินดีที่ได้ เลือกกระทำาสิ่งนัน้ 5. การยืนยันการตัดสินใจเลือกตนอย่างเปิ ดเผย 6. การกระทำาตามที่ตนตัดสินใจเลือก 7. การกระทำาพฤติกรรมนันซ้ ้ ำ าอีก


6

แรทส์ ได้ นำาคุณลักษณะหรื อเกณฑ์ทงั ้ 7 ข้ อ มาพัฒนาเป็ นกระบวนการกระจ่าง นิยม (Valuing Process) ประกอบด้ วย 3 ขันตอนดั ้ งนี ้ 1. การเลือกค่านิยม (Choosing) เป็ นขันตอนที ้ ่นกั เรี ยนได้ ตรวจสอบและค้ นหาคุณค่า ของสิ่งที่นกั เรียนทำาหรือกำาลังคิด ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั ความสามารถทางสติปัญญาของแต่ละบุคคลแบ่ง ออกเป็ น 1.1 การเลือกการกระทำาอย่างอิสระ ไม่มีการบังคับ 1.2 การเลือกจากทางเลือกหลาย ๆ ทาง 1.3 การเลือกที่เกิดจากการพิจารณาผลทางเลือกแต่ละทาง 2. การเห็นคุณค่าในค่านิยม (Prizing) เป็ นขันตอนที ้ ่ค้นหาคุณค่าของสิ่งที่นกั เรี ยนได้ เลือก เป็ นความสามารถทางจิตใจ อารมณ์ และความรู้สกึ ของบุคคล แบ่งออกเป็ น 2.1 การรู้สกึ ภูมิใจและมีความยินดีที่ได้ เลือกกระทำาสิ่งนัน้ 2.2 การยืนยันการตัดสินใจเลือกของตนอย่างเปิ ดเผย 3. การปฏิบตั ิตนตามค่านิยม (Acting) เป็ นขันตอนการปฏิ ้ บตั ิตอ่ สิ่งที่เลือกและเห็น คุณค่า จะเกี่ยวข้ องกับพฤติกรรมภายนอกของบุคคล แบ่งออกเป็ น 3.1 การกระทำาตามที่ตดั สินใจเลือกและเห็นคุณค่า 3.2 การกระทำาสิ่งนันซ้ ้ ำ า ๆ ยึดถือเหนียวแน่น จนกลายเป็ นแบบแผนการดำาเนิน ชีวิต จากแนวคิดการพัฒนาด้ านจิตพิสยั ของบลูม และแนวคิดกระบวนการกระจ่างนิยม ของแรทส์ ที่กล่าวข้ างต้ น ผู้ศกึ ษาได้ มาซึง่ กระบวนการตามแนวคิดดังกล่าว โดยศึกษาและ สังเคราะห์แนวคิดของบลูมและแรทส์ และสร้ างขันตอนการจั ้ ดกิจกรรม 6 ขันตอน ้ เพื่อใช้ ในการ ปลูกฝั งค่านิยมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ แก่นกั เรี ยนโรงเรี ยนบ้ านติงไหร สำานักงาน เขตพื ้นที่การศึกษากระบี่ โดยมีลำาดับขันตอนดั ้ งนี ้ 1. ขันทำ ้ าความรู้จกั ค่านิยม หมายถึง การจัดกิจกรรมให้ นกั เรี ยนสำารวจค่านิยมที่มีใน ตนเองและได้ รับรู้ถึงความหมายของค่านิยมที่มีอยูใ่ นตนเองและค่านิยมที่ต้องการปลูกฝั ง 2. ขันเลื ้ อกค่านิยม หมายถึง การจัดกิจกรรมให้ นกั เรี ยนได้ ตรวจสอบ และค้ นหาสิ่งที่ นักเรียนทำาหรือกำาลังคิด ซึง่ เป็ นการเลือกอย่างอิสระไม่มีการบังคับ เลือกจากทางเลือกหลาย ๆ


7 ทาง และเป็ นการเลือกที่เกิดจากพิจารณาผลของการเลือกปฏิบตั ิตนตามค่านิยมแต่ละทางเลือก ด้ วยตนเอง 3. ขันเห็ ้ นคุณค่าและความสำาคัญ หมายถึง การจัดให้ นกั เรี ยนรับรู้ถึงผลดีของการ ปฏิบตั ิตามค่านิยมที่ต้องการปลูกฝั ง และรับรู้ถึงผลเสียหากไม่ปฏิบตั ิตามค่านิยมที่ต้องการปลูก ฝั ง เพื่อกระตุ้นจิตใจให้ นกั เรียนเริ่มยินยอมที่จะปฏิบตั ิตนให้ มีคา่ นิยมที่ต้องการปลูกฝั ง 4. ขันสร้ ้ างแนวทางการปฏิบตั ิตนที่ก่อให้ เกิดค่านิยม หมายถึง การจัดกิจกรรมให้ นักเรียนได้ รับรู้ถึงพฤติกรรมที่บง่ ชี ้ที่แสดงออกถึงการมีและไม่มีคา่ นิยมที่ต้องการปลูกฝั ง โดยให้ พิจารณาถึงผลดีและผลเสียของแนวทางการปฏิบตั ิตามค่านิยมที่นกั เรี ยนช่วยกันคิดขึ ้นมา 5. ขันปฏิ ้ บตั ิตามแนวทางที่ก่อเกิดค่านิยม หมายถึง การจัดกิจกรรมที่กระตุ้นให้ นักเรียนทำากิจกรรมการปฏิบตั ิตนที่ก่อให้ เกิดค่านิยม และให้ นกั เรี ยนปฏิบตั ิตามแนวปฏิบตั ิดงั กล่าวได้ อย่างต่อเนื่องและสม่าำ เสมอ เพื่อให้ เกิดเป็ นลักษณะนิสยั 6. ขันปรั ้ บพฤติกรรมเพื่อพัฒนาลักษณะนิสยั หมายถึง การจัดกิจกรรมที่กระตุ้นให้ นักเรียนปฏิบตั ิตนตามสภาพการณ์ตา่ ง ๆ ที่จดั ขึ ้น ทังนี ้ ้ผู้สอนต้ องสังเกตนักเรี ยนในขณะที่ นักเรียนพบสถานการณ์ตา่ ง ๆ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบตั ิตนของนักเรี ยนตามค่านิยมที่ ต้ องการปลูกฝั ง การปลูกฝั งค่านิยมต่าง ๆ ให้ แก่บคุ คล หากสามารถเริ่ มต้ นตังแต่ ้ บคุ คลยังเล็ก แล้ วก็ยอ่ มประสบผลสำาเร็จได้ ดีกว่าเริ่ มการปลูกฝั งในวัยที่บคุ คลโตขึ ้นจนเป็ นผู้ใหญ่ เนื่องจากเด็ก ยังเป็ นไม้ ออ่ นที่ดดั ง่าย ดังนันหากครู ้ ที่สอนระดับการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาต่างช่วยกัน ปลูกฝั งค่านิยมให้ แก่เด็กอย่างสม่าำ เสมอแล้ วย่อมจะเห็นผลจริ งจังในเวลาไม่นานนัก (ทิศนา แขมมณี, 2546 : 12) ซึง่ สอดคล้ องกับ ศิริวรรณ เจริ ญจิตต์กลุ (2533 : 6) ได้ กล่าวว่า หาก สภาพสังคมปั จจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ย่อมมีอิทธิพลต่อการดำาเนินชีวิตของเยาวชน โดยเฉพาะเด็กจะเกิดความสับสน ความขัดแย้ งต่อความรู้สกึ นึกคิดภายในตนเองกับบุคคลอื่น เกิดความไม่แน่ใจว่าจะยึดถือสิ่งใดเป็ นหลักในการดำาเนินชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะ เศรษฐกิจและสังคมในยุคปั จจุบนั ที่เต็มไปด้ วยการต่อสู้เพื่อความอยูร่ อด ถ้ าเรายังปล่อยให้ เด็ก สัง่ สมค่านิยมกันเอง โดยไม่มีวิธีการ ไม่มีขนตอน ั้ ถ้ าเด็กสัง่ สมค่านิยมที่ผิด ๆ ก็จะเกิดผลเสีย แก่สงั คม ถ้ าพวกเขาโตเป็ นผู้ใหญ่อาจจะเปลี่ยนแปลงค่านิยมของพวกเขาได้ เมื่อพวกเขาพร้ อมที่ จะปรับตัว แต่ถ้าเขาปรับตัวไม่ได้ หรื อไม่พร้ อมที่จะปรับตัวหรื อไม่ยอมรับ ค่านิยมก็จะเปลี่ยนได้ ยาก ฉะนันเพื ้ ่อความแน่ใจ เราควรปลูกฝั งค่านิยมที่ดีให้ แก่พวกเขาตังแต่ ้ ยงั เด็ก


8 จากแนวคิดการปลูกฝั งค่านิยมข้ างต้ น ผู้ศกึ ษาจึงเลือกปลูกฝั งค่านิยมตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 4 เรื่อง คือ ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ความอดทน ความเพียร และความ รอบคอบให้ แก่นกั เรียนโรงเรียนบ้ านติงไหร สำานักงานเขตพื ้นที่การศึกษากระบี่ โดยใช้ กิจกรรม การปลูกฝั งค่านิยมตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ เนื่องจากโรงเรี ยนในระดับชันนี ้ ้ มีอายุระหว่าง 10-12 ปี สามารถแยกแยะความดีและความไม่ดีได้ ทังยั ้ งสามารถเห็นคุณค่าของการกระ ทำาความดี และชื่นชมการกระทำาความดีของตนเองและบุคคลอื่นในสังคมได้ พร้ อมทังสามารถ ้ ระบุแนวปฏิบตั ิของตนเองในทางที่ดีและเหมาะสม สามารถปฏิบตั ิตามแนวทางการเกิดค่านิยมที่ ต้ องการปลูกฝั งได้ และสามารถปรับพฤติกรรมตนเองให้ เป็ นไปตามค่านิยมที่ปลูกฝั งเพื่อเป็ นหลัก ในการดำาเนินชีวิตได้ ดังนัน้ นักเรียนชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้ านติงไหร จึงมีความ เหมาะสมและมีวฒ ุ ิภาวะพร้ อมที่จะเรี ยนรู้และสามารถปฏิบตั ิตนตามขันตอนของกิ ้ จกรรมที่ผ้ ู ศึกษาสร้ างขึ ้นจากกระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ เพื่อศึกษาการปลูกฝั งค่านิยมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้ แก่ ความซื่อสัตย์ สุจริ ต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบ สำาหรับนักเรี ยนชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 โรงเรียนบ้ านติงไหร โดยใช้ กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ สมมติฐำนของกำรศึกษำ จากการศึกษาค้ นคว้ าเอกสารและงานวิจยั เกี่ยวกับการปลูกฝั งค่านิยมในด้ านต่าง ๆ และ การนำาแนวคิดการพัฒนาด้ านจิตพิสยั และกระบวนการกระจ่างนิยมมาใช้ ในการพัฒนาและปลูก ฝั งค่านิยมนันได้ ้ มีผ้ ศู กึ ษาอย่างกว้ างขวาง ซึง่ ปรากฏผลการค้ นคว้ าในบทที่ 2 จึงทำาให้ ผ้ ศู กึ ษา ตังสมมติ ้ ฐานในการศึกษาครัง้ นี ้ไว้ ดงั นี ้ 1. นักเรียนที่เข้ าร่วมกิจกรรมการปลูกฝั งค่านิยมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่ อง ความซื่อสัตย์สจุ ริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบโดยใช้ กระบวนการตามแนวคิด ของบลูมและแรทส์ จะมีคา่ เฉลี่ยของคะแนนความรู้ความเข้ าใจเนื ้อหาสาระเกี่ยวกับค่านิยมที่ ต้ องการปลูกฝั ง สูงกว่าก่อนเข้ าร่วมกิจกรรมการปลูกฝั งค่านิยม 2. นักเรียนที่เข้ าร่วมกิจกรรมการปลูกฝั งค่านิยมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่ อง ความซื่อสัตย์สจุ ริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบโดยใช้ กระบวนการตามแนวคิด


9 ของบลูมและแรทส์ จะมีคา่ เฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติและการเห็นคุณค่าและความ สำาคัญในการปฏิบตั ิตน สูงกว่าก่อนเข้ าร่วมกิจกรรมการปลูกฝั งค่านิยม 3. นักเรียนที่เข้ าร่วมกิจกรรมการปลูกฝั งค่านิยมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่ อง ความซื่อสัตย์สจุ ริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบโดยใช้ กระบวนการตามแนวคิด ของบลูมและแรทส์ จะมีคา่ เฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการปฏิบตั ิตนที่แสดงถึงการมี ค่านิยมที่ต้องการปลูกฝั ง สูงกว่าก่อนเข้ าร่วมกิจกรรมการปลูกฝั งค่านิยม ขอบเขตของกำรศึกษำ 1. ประชากรที่ใช้ ในการศึกษาครัง้ นี ้ ได้ แก่ นักเรี ยนชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 โรงเรี ยน บ้ านติงไหร สำานักงานเขตพื ้นที่การศึกษากระบี่ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน จำานวน 21 คน กิจกรรมที่ต้องการปลูกฝั งให้ เกิดค่านิยม 4 เรื่ อง คือ ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบของนักเรี ยน ซึง่ เป็ นกิจกรรมโดยใช้ กระบวนการตาม แนวคิดของบลูมและแรทส์และผู้ศกึ ษาได้ พฒ ั นากิจกรรมขึ ้นเองเพื่อปลูกฝั งค่านิยมดังกล่าว 2. ระยะเวลาในการทดลองรวม 10 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 วัน คือ วันจันทร์ วัน อังคาร วันพฤหัสบดี และวันศุกร์ วันละ 1 คาบ คาบละ 60 นาที โดยใช้ ช่วงเวลาเรี ยนปกติ คาบสุดท้ าย 3. เนื ้อหาที่ใช้ ในการศึกษา เป็ นเนื ้อหาเกี่ยวกับ ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบ 4. ตัวแปรที่ศกึ ษา ประกอบด้ วย 4.1 ตัวแปรต้ น ได้ แก่ การปลูกฝั งค่านิยมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้ กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ 4.2 ตัวแปรตาม ได้ แก่ 4.2.1 ความรู้ความเข้ าใจเนื ้อหาสาระของค่านิยม 4 เรื่ อง คือ ความซื่อสัตย์ สุจริ ต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบของนักเรี ยน 4.2.2 เจตคติและการเห็นคุณค่าและความสำาคัญในการปฏิบตั ิตน เรื่ อง คือ ความซื่อสัตย์สจุ ริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบ 4.2.3 พฤติกรรมการปฏิบตั ิตนที่แสดงถึงการมีคา่ นิยมที่ต้องการปลูกฝั ง เรื่ อง คือ ความซื่อสัตย์สจุ ริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบของนักเรี ยน


10

ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น นักเรียนชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้ านติงไหร ที่เป็ นตัวอย่างประชากรในการศึกษา ครัง้ นี ้ มีประสบการณ์ในการทำางานกลุม่ และมีความพร้ อมในการปฏิบตั ิตนตามขันตอนของ ้ กิจกรรมที่ผ้ ศู กึ ษาสร้ างขึ ้นจากกระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ นิยำมศัพท์ เฉพำะ ควำมพอเพียง หมายถึง การดำาเนินชีวิตด้ วยค่านิยมของควำมซื่อสัตย์ สุจริต ในด้ าน การปฏิบตั ิตนต่อครอบครัวและผู้อื่น ด้ านการเรี ยน และด้ านการประกอบอาชีพด้ วยความซื่อสัตย์ สุจริ ต ควำมอดทนในด้ านการเรียน ด้ านการทำางาน และด้ านการปฏิบตั ิตนด้ วยความอดทน ควำมเพียรในด้ านการเรียน และด้ านการทำางาน และควำมรอบคอบในด้ านการเรี ยน การ ปฏิบตั ิตนในการดำารงชีวิต และด้ านการประกอบอาชีพด้ วยความรอบคอบ ค่ ำนิยมตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ค่านิยมที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยูห่ วั พระราชทานแก่พสกนิกรเป็ นแนวทางในการดำาเนินชีวิต ดังเห็นได้ จากหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงที่ปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 พ.ศ. 25452549 ซึง่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าว ได้ อญ ั เชิญเป็ นแนวทางในการกำาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาด้ านต่าง ๆ ให้ ดำาเนินไปในทางสายกลาง ให้ เกิดความพอโดยค่านิยมตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงที่นำามาปลูกฝั งให้ เกิดขึ ้นนัน้ ได้ แก่ ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ความอดทน ความ เพียร และความรอบคอบ เพื่อเป็ นแนวทางให้ เกิดความพอเพียงในการปฏิบตั ิตน และการดำารง ชีวิตประจำาวันของนักเรียน ควำมซื่อสัตย์ สุจริต หมายถึง การมีความรู้ ความเข้ าใจ มีเจตคติที่ดี และพฤติกรรม การปฏิบตั ิตนของนักเรียนที่แสดงออกถึง การไม่คดโกง การไม่หลอกลวง การไม่เอาของคนอืน่ มาเป็ นของตนเอง การยอมรับในการกระทำาของตนเอง การไม่พดู โกหก การรักษาคำาพูดและ คำามัน่ สัญญา การประกอบอาชีพด้ วยความถูกต้ องและสุจริ ต และการไม่แก่งแย่งและไม่เบียดบัง ผู้อื่นเพื่อความสำาเร็จ


11

ควำมอดทน หมายถึง การมีความรู้ความเข้ าใจ มีเจตคติที่ดี และพฤติกรรมการปฏิบตั ิ ตนของนักเรียนที่แสดงออกถึง การมีความมุง่ มัน่ การยอมรับความยากลำาบากและความไม่ ย่อท้ อต่ออุปสรรคต่าง ๆ การมีความอดทนต่อคำาวิพากษ์ วิจารณ์การควบคุมอารมณ์ได้ และการ มีความอดทนความฟุ้งเฟ้อและสิ่งเร้ าใจในทางที่ไม่ดี ควำมเพียร หมายถึง การมีความรู้ความเข้ าใจ มีเจตคติที่ดี และพฤติกรรมการปฏิบตั ิ ตนของนักเรียนที่แสดงออกถึง ความกระตือรื อร้ นความตังใจในการเรี ้ ยนและการทำางาน การ ทำางานให้ เสร็จตามกำาหนดเวลา และการมีความบากบัน่ ในการทำางานด้ วยตนเอง ควำมรอบคอบ หมายถึง การมีความรู้ความเข้ าใจ มีเจตคติที่ดี และพฤติกรรมการ ปฏิบตั ิตนของนักเรียนที่แสดงออกถึง การคิดพิจารณาก่อนการตัดสินใจปฏิบตั ิสิ่งใดสิ่งหนึง่ การ รู้จกั การวางแผนในการใช้ จ่ายเงินอย่างระมัดระวัง การวางแผนการใช้ เวลา และการวางแผนการ ประกอบอาชีพด้ วยความไม่ประมาท กำรปลูกฝั งค่ ำนิยมตำมหลักปรั ชญำเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ค่านิยมที่ผ้ ศู กึ ษา ต้ องการจะให้ เกิดขึ ้นกับนักเรียนในด้ านความรู้ความเข้ าใจเนื ้อหาสาระของค่านิยม เจตคติ การ เห็นคุณค่าและความสำาคัญของการปฏิบตั ิตนตามค่านิยม และพฤติกรรมการปฏิบตั ิตนที่แสดงถึง ค่านิยมทัง้ 4 เรื่อง คือ ความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบ กระบวนกำรตำมแนวคิดของบลูมและแรทส์ หมายถึง ขันตอนการปลู ้ กฝั งค่านิยมที่ ผู้ศกึ ษาได้ ศกึ ษาและสังเคราะห์มาจากทฤษฎีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม โดยใช้ การพัฒนาด้ านจิตพิสยั (Affective Domain) ของบลูม และกระบวนการกระจ่างนิยม (Values Clarification) ของแรทส์ โดยนำาแนวคิดดังกล่าวมาสร้ างเป็ นขันตอน ้ 6 ขันในการจั ้ ดกิจกรรม เพื่อปลูกฝั งค่านิยมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมตำมกระบวนกำรตำมแนวคิดของบลูมและแรทส์ หมายถึง กิจกรรมที่ผ้ ู ศึกษาสร้ างขึ ้นโดยใช้ กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ ซึง่ กิจกรรมดังกล่าวประกอบ


12 ด้ วยขันตอน ้ 6 ขันตอน ้ ได้ แก่ ขันทำ ้ าความรู้จกั ค่านิยม ขันเลื ้ อกค่านิยม ขันเห็ ้ นคุณค่าและ ความสำาคัญ ขันสร้ ้ างแนวทางการปฏิบตั ิตนที่ก่อให้ เกิดค่านิยม ขันปฏิ ้ บตั ิตนตามแนวทางที่ก่อให้ เกิดค่านิยม และขันปรั ้ บพฤติกรรมเพื่อพัฒนาลักษณะนิสยั ประโยชน์ ท่ไี ด้ รับจำกกำรศึกษำ 1. เป็ นแนวทางในการปลูกฝั งค่านิยมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในด้ านความ ซื่อสัตย์สจุ ริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบ ในการศึกษาเลาเรี ยน การทำางาน การปฏิบตั ิตนและการดำาเนินชีวิตประจำาวัน ให้ แก่นกั เรี ยน ครู และผู้ที่เกี่ยวข้ อง 2. เป็ นแนวทางสำาหรับผู้บริ หารถานศึกษา ครูผ้ สู อน และผู้ที่สนใจด้ านการศึกษาในการ ศึกษาค้ นคว้ าและนำากิจกรรมการพัฒนาและการปลูกฝั งค่านิยมตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ไป ใช้ ในการจัดกิจกรรมการปลูกฝั งค่านิยมให้ กบั นักเรี ยน 3. เป็ นการกระตุ้นความสนใจและความตระหนักถึงความสำาคัญของการศึกษาค้ นคว้ า เกี่ยวกับการปลูกฝั งและพัฒนาค่านิยมของนักเรี ยน ให้ แก่ผ้ รู ับผิดชอบการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน และ การศึกษาในระดับสูง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.