Graphic design for packaging
การออกแบบกราฟิกสำ�หรับบรรจุภัณฑ์ ARTD3302
รายงาน
วิชา การออกแบบกราฟิกสำ�หรับบรรจุภัณฑ์ ARTD3302
จัดทำ�โดย
นาย ไกรฤกษ์ สารากร รหัสนักศึกษา 5311310451กลุ่ม 201
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร
ปีการศึกษา 2557
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คำ�นำ� รายงานเล่ ม นี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของรายวิ ช า ออกแบบกราฟฟิ ก บนบรรจุ ภั ณ ฑ์ ARTD3302 เพื่อออกแบบในการใช้ประกอบ ในการนำ�เสนอโครงการ การออก แบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ น้ำ�ผึ้งผสมมะนาวยี่ห้อ โฮโมนี่ ซึ่งเป็นการพัฒนาการ ออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ขึ้นใหม่ เนื้อหารายละเอียดเล่มนี้ประกอบด้วย ความหมายของบรรจุภัณฑ์ การสืบค้นข้อมูล ตั้งสมมติฐานสรุปผล ร่างแบบ ผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ใหม่
นาย ไกรฤกษ์ สารากร
ความหมายของบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ หมายถึง สินค้าทุกชนิดที่ทำ�จากวัสดุใดๆ ที่นำ�มาใช้สำ�หรับห่อหุ้ม ป้องกัน ลำ�เลียง จัดส่ง และนำ�เสนอสินค้า ตั้งแต่วัตถุดิบถึงสินค้าที่ผ่านการผลิต ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้ใช้หรือผู้บริโภค “บรรจุภัณฑ์” ประกอบด้วย บรรจุภัณฑ์สำ�หรับการขาย (Sales packaging) หรือบรรจุภัณฑ์ลำ�ดับที่หนึ่ง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการขายของให้ กับผู้ใช้รายสุดท้ายหรือผู้บริโภค ณ จุดซื้อ บรรจุภัณฑ์กลุ่ม (Group packaging) หรือบรรจุภัณฑ์ลำ�ดับที่สอง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ที่จุดซื้อกลุ่มสินค้าที่มีจำ�นวน ขายมากกว่าหนึ่ง ไม่ว่าสินค้านั้นจะถูกขายให้กับผู้ใช้รายสุดท้ายหรือผู้บริโภคหรือไม่ ก็ตาม และไม่ว่าบรรจุภัณฑ์นี้จะถูกใช้เพื่อการดึงสินค้าจากชั้นวางของ ณ จุดขาย ก็ตาม บรรจุภัณฑ์นี้สามารถถูกดึงออกจากสินค้าโดยไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะ เฉพาะตัวของสินค้า บรรจุภัณฑ์สำ�หรับการขนส่ง หรือบรรจุภัณฑ์ลำ�ดับที่สาม ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ใช้สำ�หรับช่วยในการลำ�เลียงและขนส่งสินค้า ที่ขายจำ�นวนมากหรือกลุ่ม บรรจุภัณฑ์ เพื่อป้องกันความเสียหายทางกายภาพระหว่างการขนส่ง บรรจุภัณฑ์ สำ�หรับการขนส่งไม่รวมตู้คอนเทนเนอร์สำ�หรับการขนส่งทาง ถนน รางเลื่อน เรือ หรือทางอากาศ การตีความหมายของคำ�ว่า “บรรจุภัณฑ์” ให้ถือตามเกณฑ์ต่อไปนี้ จะถือว่าของสิ่ง หนึ่งเป็นบรรจุภัณฑ์ ต่อเมื่อของสิ่งนั้นเป็นไปตามความหมายที่กล่าวข้างต้น โดยไม่ พิจารณาคาบเกี่ยวกับหน้าที่อื่นที่บรรจุภัณฑ์อาจทำ�ได้ เว้นแต่สิ่งสิ่งนั้นจะถูกผนวก รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสินค้า และมีความจำ�เป็นเพื่อห่อหุ้ม พยุง หรือถนอมรักษา สินค้าตลอดอายุของสินค้านั้น และมีวัตถุประสงค์ให้ใช้ บริโภค หรือทิ้ง องค์ประกอบ ทุกชิ้นพร้อมกับสินค้าตัวอย่าง
ประเทภของบรรจุภัณฑ์ 1. ประเภทบรรจุภัณฑ์แบ่งตามวิธีบรรจุและวิธีการขนถ่าย สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท 1.1 บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย (Individual Package) คือ บรรจุภัณฑ์ที่สัมผัสอยู่ กับผลิตภัณฑ์ชั้นแรก เป็นสิ่งที่บรรจุผลิตภัณฑ์เอาไว้เฉพาะหน่วย โดยมีวัตถุประสงค์ ขั้นแรกคือ เพิ่มคุณค่าในเชิงพาณิชย์ (To Increase Commercial Value) เช่น การกำ�หนดให้มีลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทำ�ให้มีรูปร่างที่เหมาะแก่การจับถือ และอำ�นวยความสะดวกต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ภายใน พร้อมทั้งทำ�หน้าที่ปกป้องแก่ ผลิตภัณฑ์โดยตรงอีกด้วย 1.2. บรรจุภัณฑ์ชั้นใน(Inner Package)คือ บรรจุภัณฑ์ที่อยู่ถัดออกมาเป็นชั้น ที่สอง มีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ขั้นแรกเข้าไว้ด้วยกันเป็นชุด ในการจำ�หน่ายรวม ตั้งแต่ 2 – 24 ชิ้นขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ขั้นแรก คือ การป้องกันรักษาผลิตภัณฑ์ จากน้ำ� ความชื้น ความร้อน แสง แรงกระทบกระเทือน และอกนวยความสะดวกแก่ การขายปลีกย่อย เป็นต้น ตัวอย่างของบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ ได้แก่ กล่องกระดาษ แข็งที่บรรจุเครื่องดื่มจำ�นวน 1 โหล , สบู่ 1 โหล เป็นต้น 1.3. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด (Out Package) คือ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวม ขนาดใหญ่ที่ใช้ในการขนส่ง โดยปกติแล้วผู้ซื้อจะไม่ได้เห็นบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้มาก นัก เนื่องจากทำ�หน้าที่ป้องกันผลิตภัณฑ์ในระหว่างการขนส่งเท่านั้น ลักษณะของ บรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ ได้แก่ หีบ ไม้ ลัง กล่องกระดาษขนาดใหญ่ที่บรรจุสินค้าไว้ ภายใน ภายนอกจะบอกเพียงข้อมูลที่จำ�เป็นต่อการขนส่งเท่านั้น เช่น รหัสสินค้า (Code) เลขที่ (Number) ตราสินค้า สถานที่ส่ง เป็นต้น 2. การแบ่งประเภทบรรจุภัณฑ์ตามวัตถุประสงค์ของการใช้ บรรจุภัณฑ์เพื่อการขายปลีก (Consumer Package) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ผู้บริโภค ซื้อไปใช้ไป อาจมีชั้นเดียวหรือหลายชั้นก็ได้ ซึ่งอาจเป็น Primary Package หรือ Secondary Package ก็ได้ บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง (Shopping หรือ Transportation Package) เป็น บรรจุภัณฑ์ที่ใช้รองรับหรือห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ขั้นทุติยภูมิ ทำ�หน้าที่รวบรวมเอาบรรจุ ภัณฑ์ขายปลีกเข้าด้วยกัน ให้เป็นหน่วยใหญ่ เพื่อความปลอดภัยและความสะดวกใน การเก็บรักษา และการขนส่ง เช่น กล่องกระดาษลูกฟูกที่บรรจุยาสีฟัน กล่องละ3โหล
3. การแบ่งบรรจุภัณฑ์ตามความคงรูป 3.1. บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงแข็งตัว (Rigid Forms) ได้แก่ เครื่องแก้ว (Glass Ware) เซรามิคส์ (Ceramic) พลาสติกจำ�พวก Thermosetting ขวดพลาสติก ส่วนมากเป็นพลาสติกฉีด เครื่องปั้นดินเผา ไม้ และโลหะ มีคุณสมบัติแข็งแกร่ง ทนทานเอื้ออำ�นวยต่อการใช้งาน และป้องกันผลิตภัณฑ์จากสภาพแวดล้อมภายนอก ได้ดี 3.2. บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงกึ่งแข็งตัว (Semirigid Forms) ได้แก่ บรรจุ ภัณฑ์ที่ทำ�จากพลาสติกอ่อน กระดาษแข็งและอลูมิเนียมบาง คุณสมบัติทั้งด้านราคา น้ำ�หนักและการป้องกันผลิตภัณฑ์จะอยู่ในระดับปานกลาง 3.3. บรรจุภัณฑ์ประเภทรูปทรงยืดหยุ่น (Flexible Forms) ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ ทำ�จากวัสดุอ่อนตัว มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ได้รับความนิยมสูงมากเนื่องจากมีราคา ถูก ( หากใช้ในปริมาณมากและระยะเวลานาน ) น้ำ�หนักน้อย มีรูปแบบและโครงสร้าง มากมาย 4. แบ่งตามวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ การจัดแบ่งและเรียกชื่อบรรจุภัณฑ์ในทรรศนะของผู้ออกแบบ ผู้ผลิต หรือนักการ ตลาด จะแตกต่างกันออกไป บรรจุภัณฑ์แต่ละประเภทก็ตั้งอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ หลักใหญ่ (Objective Of Package) ที่คล้ายกันคือ เพื่อป้องกันผลิตภัณฑ์ (To Protect Products) เพื่อจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ (To Distribute Products) เพื่อ โฆษณาประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ (To Promote Products)
สรุปการดำ�เนินงานตามหลัก 3 ส. น้ำ�ผึ้ง น้ำ�ผึ้ง (อังกฤษ : Honey) เป็นอาหารหวานที่ผึ้งผลิตโดยใช้น้ำ�ต้อยจากดอกไม้ น้ำ � ผึ้ ง มั ก หมายถึ ง ชนิ ด ที่ ผ ลิ ต โดยผึ้ ง น้ำ � หวานในสายพั น ธุ์ Apis เนื่ อ งจาก เป็นผึงเก็บน้ำ�หวานให้คุณภาพสูง และสามารถเลี้ยงระบบกล่องได้ น้ำ�ผึ้งมีประวัติการ บริโภคของมนุษย์มายาวนาน และถูกใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารและเครื่องดื่ม หลายชนิด น้ำ�ผึ้งยังมีบทบาทในศาสนาและสัญลักษณ์นิยม รสชาติของน้ำ�ผึ้งแตก ต่างกันตามน้ำ�ต้อยที่มา และมีน้ำ�ผึ้งหลายชนิดและเกรดที่สามารถหาได้ นอกจากนี้ ยังมีภูมิปัญญาที่ใช้น้ำ�ผึ้งในการรักษาอาการเจ็บป่วย ส่วนประกอบ น้ำ�ผึ้งเป็นสารผสมของน้ำ �ตาลกับสารประกอบอื่น น้ำ�ผึ้งส่วนใหญ่เป็นฟรุกโทส (ราว 38.5%) และกลูโคส (ราว 31.0%) ทำ�ให้น้ำ�ผึ้งคล้ายกับน้ำ�เชื่อมน้ำ�ตาล อินเวิร์ท (inverted sugar syrup) ที่ผลิตเชิงสังเคราะห์ ซึ่งมีปริมาณฟรุกโทส 48% กลูโคส 47% และซูโครส 5% คาร์โบไฮเดรตที่เหลือในน้ำ�ผึ้งมีมอลโทสและ คาร์โบไฮเดรตซับซ้อนอื่นๆ เช่นเดียวกับสารให้ความหวานที่บำ�รุงสุขภาพทุกชนิด น้ำ � ผึ้ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น น้ำ � ตาลและมี วิ ต ามิ น หรื อ แร่ ธ าตุ อ ยู่ เ ล็ ก น้ อ ย น้ำ � ผึ้ ง ยั ง มี สารประกอบหลายชนิดในปริมาณน้อยซึ่งคาดกันว่าทำ�หน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ รวมถึงไครซิน พิโนแบค์ซิน วิตามินซี คาตาเลสและพิโนเซมบริน องค์ประกอบที่ เจาะจงของน้ำ�ผึ้งแต่ละกลุ่มนั้นขึ้นอยู่กับดอกไม้ที่ผึ้งใช้ผลิตน้ำ�ผึ้ง
มะนาว มะนาว (อังกฤษ: Lime) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ยวจัด จัดอยู่ในสกุลส้ม (Citrus) ผลสีเขียว เมื่อสุกจัดจะเป็นสีเหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชุ่มน้ำ�มาก นับเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า นิยมใช้เป็นเครื่องปรุงรส นอกจากนี้ยังถือว่ามี คุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ด้วย สรรพคุณ มะนาวเป็นผลไม้ที่มีกรดอินทรีย์หลายชนิด เช่น กรดซิตริก กรดมาลิค ไวตามิน ซี จากน้ำ�มะนาว ส่วนน้ำ�มันหอมระเหยจากผิวมะนาว มีไวตามินเอ และซี ทั้งยังมี ธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูงกว่าในน้ำ�มะนาวอีกด้วย มะนาวมีประโยชน์ใช้เป็นยา สมุนไพร ขับเสมหะ แก้ไอ เลือดออกตามไรฟัน เหงือกบวม นอกจากนี้ยังช่วยแก้ อาการปวดศีรษะ แก้อาเจียน เมาเหล้า ขจัดคราบบุหรี่ บำ�รุงตา บำ�รุงผิว และยัง สามารถมีฤทธิ์ในการกัดด้วยเป็นต้น
ส.1 การสืบค้น ชื่อสินค้า : ประเภท : ผลิตภัณฑ์ : สถานะผลิตภัณฑ์ : วิธีใช้ผลิตภัณฑ์ : สี : โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ ที่มาของชื่อผลิตภัณฑ์ :
น้ำ�ผึ้งมะนาว Homony ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม ผลิตภัณฑ์ที่นำ�มาทำ�คือ น้ำ�ผึ้งผสมมะนาว ซึ่งเป็น เครื่องดื่มที่ให้ความสดชื่นแก่ร่างกาย และยังช่วย ลดอาการเจ็บคอได้อีกด้วย ของเหลว เพื่อบริโภค เหลืองปนน้ำ�ตาล : ภาชนะที่ใส่น้ำ�ผึ้งมะนาวเป็นพลาสติกใสขนาดการ ใส่น้ำ� 16 ออนซ์ มีฝาครอบเป็นพลาสติกด้านบน ขนาดของภาชนะเส้นผ่าศูนย์กลางด้านบนกว้าง 9.5 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางด้านบนกว้าง 5.5 เซนติเมตร ความ สูง 13 เซนติเมตร Homony เป็นการนำ�คำ�มารวมกัน ระหว่าง Honey และ Lemon
โครงการออกแบบพัฒนากราฟกบนบรรจุภัณฑ น้ำผึ้งมะนาว Homony
เครื่องดื่มน้ำผึ้ง มะนาว ในปจจุบันไดรับความนิยมเปนอยางมาก เพราะนอกจากจะเปน เครื่องดื่มที่มีรสชาติอรอย ถูกปากคนไทยแลว ยังมีคุณประโยชน ที่มากมายอีกหลายอยาง เชน ลดอาการแกเจ็บคอ ทำใหเสนสี และอีกมากมาย
เครื่องดื่มน้ำผึ้ง มะนาวในทองตลาดสวนใหญ มีลาดลายการฟกที่มากเกินไป ไมเหมาะกับการจดจำแบรนด
รูปแบบของชื่อผลิตภัณฑ เปนการนำคำวา Honey และ Lemon มารวมกันจำไดชื่อวา “Homony” ในอีกดานนึงเสียงมันจะคลาย กับคำวาHarmony ซึ่งหมายถึงความ กลมกลืน
รูปแบบของกราฟฟก เนนไปที่ทรงกลมหรือ ทรงมน เพื่อใหเกิดความรูสึก นุมนวลและ ความอิสระ
Homony Homony
Homony Homony
Homony
Homony
บรรจุภัณฑที่ใช จะใชเปนแกวกระดาษ ที่ใหสัมผัสที่ดีกวาในการจับ
ส. 2 สมมติฐาน แนวคิดการออกแบบ ที่มาของ คำ�ว่าโฮโมนี่ Homony เป็นการนำ�คำ�มารวมกัน ระหว่าง Honey และ Lemon โดยเมื่ออ่านรวมกันแล้ว จะออกเสียงว่าโฮโมนี่ ซึ่งมีเสียงที่คล้ายคลึง กับ คำ�ว่า ฮาโมนี่ ที่แปลว่าความกลมกลืน ในการออกแบบจึงทำ�ออกมาให้ดูแล้วรู้สึก ถึงความกลมกลืน จึงเลือกใช้รูปทรงที่มีโค้งมน แทนการใช้รูปทรงที่มีลักษณะเป็น เหลี่ยม ในเรื่องของการเลือกใช้ตัวอักษร จะเลือกใช้ฟ้อนที่มองดูแล้วสบายตา ไม่รู้สึกอึดอัดมากจนเกินไป เพราะต้องการเน้นไปที่ตัวของโลโก้มากกว่า
ขั้นตอนในออกแบบโลโก้ 1. สเก็ตรูปแบบที่ต้องการลงบนกระดาษ
2. ดราฟแบบในโปรแกรม
3. ใส่สีสันลงบนโลโก้
4. โลโก้ที่เสร็จสมบูรณ์
บรรจุภัณฑ์ใหม่ วิธีทำ� 1. สร้างแบบสเก็ตขึ้นมา
2. ทำ� Artwork ในโปรแกรม illustrator
4. เทสีลงไป Artwork
5. Artwork ที่เสร็จสมบูรณ์
นาย ไกรฤกษ์ สารากร รหัสนักศึกษา 5311310451 คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ศิลปกรรมแขนงออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม