บทที่1 ความเป็ นมาของสถาปั ตยกรรมไทย สถาปั ตยกรรม (Architecture) สถาปั ตยกรรม (Architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกด้ วยสิง่ ก่อสร้ าง อาคาร ที่อยูอ่ าศัยต่าง ๆ การวางผัง เมือง การจัดผังบริ เวณการตกแต่งอาคาร การออกแบบก่อสร้ าง ซึง่ เป็ นงานศิลปะ ที่มีขนาดใหญ่ และเป็ นงานศิลปะที่มีอายุยืน ยาว สถาปั ตยกรรม เป็ นวิธีการจัดสรรบริ เวณที่วา่ งให้ เกิดประโยชน์ใช้ สอยตามความต้ องการ ที่นามาเพือ่ ตอบสนองความ ต้ องการในด้ านวัตถุและจิตใจ มีลกั ษณะเป็ นสิง่ ก่อสร้ างขึ ้นอย่างงดงาม สะดวกในการใช้ งานและมัน่ คงแข็งแรง คุณค่าของสถาปั ตยกรรม ขึ ้นอยูก่ บั องค์ประกอบ ดังนี ้ 1.การจัดสรรบริ เวณทีว่ า่ งให้ สมั พันธ์กนั ของส่วนต่าง ๆ ทังภายในและภายนอก ้ 2. การจัดรูปทรงทางสถาปั ตยกรรมให้ เหมาะสมกับประโยชน์ใช้ สอย และสิง่ แวดล้ อม 3. การเลือกใช้ วสั ดุให้ เหมาะสมกลมกลืน
จุดประสงค์ ของการสร้ างสถาปั ตยกรรม ได้ แก่ 1. เป็ นที่อยูอ่ าศัย 2. ใช้ เป็ นที่พกั อาศัยชัว่ คราว โดยมุง่ เน้ นความสวยงามประกอบการใช้ สอยภายในอาคาร เช่น โรงภาพยนตร์ สนามกีฬา 3. เป็ นที่ยดึ เหนีย่ วจิตใจหรื อสิง่ ทีค่ วรแก่การยกย่อง โดยเน้ นความงามอย่างวิจิตรพิสดาร เพือ่ ตอบสนองอารมณ์และจิตใจ ในด้ านความเชื่อความศรัทธาต่อศาสนา 4. เป็ นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนที่มีตอ่ พระมหากษัตริ ย์ ทังเป็ ้ นที่อยูอ่ าศัยและที่พกั ในการทาพิธีตา่ ง
สถาปั ตยกรรมแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ สถาปั ตยกรรมเปิ ด (Open Architecture) เป็ นสิง่ ก่อสร้ างที่ประชาชนสามารถเข้ าไปใช้ ประโยชน์ได้ เช่น อาคาร บ้ านเรื อน โรงแรม โบสถ์ ฯลฯ จึงต้ องจัดสภาพต่าง ๆ ให้ เอื ้ออานวยต่อการอยูอ่ าศัยของมนุษย์ เช่น แสงสว่าง และการระบาย อากาศ สถาปั ตยกรรมปิ ด (Closing Architecture) เป็ นสิง่ ก่อสร้ างอันเนื่องมาจากความเชื่อถือต่าง ๆ จึงไม่ต้องการให้ คนเข้ า ไปอาศัยอยู่ เช่น สุสาน อนุสาวรี ย์ เจดีย์ตา่ ง ๆ สิง่ ก่อสร้ างแบบนี ้จะประดับประดาให้ มคี วามงามมากน้ อยตามความศรัทธา เชื่อถือ สถาปั ตยกรรมเป็ นงานทัศนศิลป์ ที่คงสภาพอยูไ่ ด้ นานที่สดุ
1
ความหมาย ความเป็ นมา และขอบเขตของงานภูมิสถาปั ตยกรรม ภูมิสถาปั ตยกรรม หมายถึง การนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และศิลปะมาใช้ ร่วมกัน เพื่อแก้ ไขปั ญหาสิง่ แวดล้ อม กลางแจ้ ง ซึง่ มนุษย์เป็ นผู้สร้ างขึ ้น ให้ สามารถใช้ ประโยชน์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีความมัน่ คง ปลอดภัย และสวยงาม สร้ างปี ติ ให้ แก่ผ้ พู บเห็น หรื อผู้ที่ได้ ใช้ ประโยชน์จากสถานที่ทมี่ นุษย์สร้ างขึ ้นหรื อดัดแปลงจากธรรมชาติ งานภูมิสถาปั ตยกรรมเอื ้อให้ มนุษย์อยูใ่ นสิง่ แวดล้ อมทีด่ ี ร่มรื่น สวยงาม ไม่แออัด และปราศจาก มลพิษทางทัศนียภาพ (Visual pollution) เราอาจสังเกตเห็นบ้ านเมืองที่สวยงามน่ามองได้ จากภาพในหนังสือหรื อในภาพยนตร์ รวมทัง้ จากการเดินทางไปเยือน สถานที่ ที่มีความสวยงามประทับใจ สร้ างความทรงจาที่ดี ในทางตรงข้ ามสถานที่ที่รกรุงรังหรื อเต็มไปด้ วยความน่าเกลียดนัน้ ทาให้ เรารู้สกึ หดหูแ่ ละหงุดหงิด สิง่ ที่ดีและไม่ดี ดังกล่าวนี ้ล้ วนเกิดจากฝี มือมนุษย์ทงสิ ั ้ ้น ดังนัน้ เมื่อเราสร้ างสิง่ ใดขึ น้ ใน สิง่ แวดล้ อม ของเราเอง เหตุใดเราจึงไม่ตระหนักถึงความสาคัญด้ านความงามและประสิทธิภาพในการใช้ สอยพื ้นที่ทมี่ ีคณ ุ ค่า ทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม รวมทังความมั ้ น่ คง ปลอดภัยควบคูไ่ ปกับด้ านเศรษฐกิจด้ วย ภูมิสถาปั ตยกรรมมีประวัติความเป็ นมาว่าเกิดขึ ้นนานแล้ ว เดิมเน้ นเฉพาะด้ านความสวยงาม โดยการดัดแปลงภูมิ ประเทศ ให้ สวยงาม มองแล้ วเกิดปี ติซาบซึ ้ง งานภูมิสถาปัตยกรรมในระยะแรก ส่วนใหญ่จงึ เป็ นอุทยานของกษัตริ ย์ สวนของขุน นางหรื อคหบดี ระยะเวลาก่อนหน้ านัน้ เมื่อมนุษย์หยุดเร่ร่อนและตังถิ ้ ่นฐานเป็ นหลักแหล่ง ก็ได้ รวบรวม พืชสมุนไพรมาปลูก รวมกัน แล้ วสร้ างรัว้ ล้ อมไว้ เพื่อป้องกันไม่ให้ สตั ว์มากัดกินหรื อทาลาย ต่อมาสมุนไพรบางชนิดออกดอกสวยงาม จึงนิยมปลูก กันมากขึ ้น และกลายเป็ นสวน เพื่อจรรโลงใจ ที่มาของคาว่า garden ซึง่ แปลว่า สวน นัน้ มาจากภาษาฝรั่งเศสโบราณว่า gardin, jardin ซึง่ แปลว่า บริเวณที่มีรัว้ ล้ อม ดังนัน้ สวนจึงมีขอบเขตเฉพาะ ซึง่ ต่างจากภูมิทศั น์ ที่ไม่มีขอบเขตและเป็ นภาพรวม ของพื ้นที่ ตามที่สายตามองเห็น
ความเป็ นมาในสากล ในสมัยโบราณ ถิ่นที่อยูข่ องมนุษย์หา่ งไกลกันมากและยังไม่มีพาหนะ ที่ทาให้ ไปมาหาสูก่ นั ได้ สะดวก วิวฒ ั นาการของ แต่ละอารยธรรม จึงแตกต่างกันไป ตามลักษณะของภูมิประเทศและภูมิอากาศ ลักษณะเฉพาะ หรื อรูปแบบของสวน ก็ เช่นเดียวกัน โดยแบ่งได้ เป็ น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ สวนตะวันออก (Oriental garden) และสวนตะวันตก (Occidental garden หรื อ Formal garden) ดังจะได้ กล่าวต่อไป จีนเป็ นอาณาจักรเก่าแก่ทมี่ ีอารยธรรมผูกพันกับลัทธิเต๋าซึง่ เคารพธรรมชาติ ดังนัน้ สวนจีนจึงเน้ นธรรมชาติเป็ น องค์ประกอบหลัก อาคารและสิง่ ปลูกสร้ างเป็ นองค์ประกอบรอง ไม่ให้ อาคารข่มธรรมชาติ ตัวอย่างของสวนจีนโบราณที่มี ชื่อเสียงคือ กลุม่ สวน แห่งเมืองซูโจว ซึง่ เริ่ มสร้ างเมื่อประมาณ ๑,๐๐๐ ปี ก่อนและพัฒนาต่อเนื่องกันมามากกว่า ๘๐๐ ปี (พ.ศ. ๑๕๔๐-๒๓๔๐) และสวนจีนได้ กลายเป็ นต้ นแบบของสวนญี่ปนุ่ โดยที่ญี่ปนประกอบด้ ุ่ วยหมูเ่ กาะที่แยกโดดเดี่ยวจาก แผ่นดินใหญ่ ดังนัน้ รูปแบบของสวนจึงมีววิ ฒ ั นาการเป็ นของตนเองที่สามารถบ่งชี ้ได้ วา่ เป็ นสวนญี่ปนจากองค์ ุ่ ประกอบย่อยที่ สืบเนื่องมาจากนิกายเซ็น คือ ความเรี ยบง่ายที่แฝงด้ วยปรัชญา แต่โดยรวมแล้ วยังคงเป็ นสวนที่แสดงถึงความเป็ นสวน ตะวันออก แม้ จะมีการตัดแต่งไม้ พมุ่ ให้ มีรูปทรงละม้ ายหินหรื อเกาะแก่ง
2
ประเทศตะวันตกส่วนใหญ่รับอารยธรรมจากกรี กและโรมันโบราณ โดยเฉพาะโรมันที่พยายามเอาชนะธรรมชาติ เช่น การนารูปทรงเรขาคณิตมาใช้ กบั สวน การตัดแต่งทรงของต้ นไม้ ทผี่ ิดไปจากธรรมชาติ เมื่ออารยธรรมโรมันเสือ่ มถอยลง ยุคคริ ส เตียนได้ เข้ ามาแทนที่ ในด้ านรูปแบบของสวน สวนคริ สเตียนยุคแรกไม่เด่นชัด เนื่องจาก ศาสนาคริ สต์ถกู กดขี่ปราบปราม การ แสดงออกในสิง่ ปลูกสร้ างภายนอกจึงมีน้อย อย่างไรก็ดี เมื่ออารยธรรมมุสลิมรุ่งเรื องและขยายอิทธิพลไปสูโ่ ลกตะวันตกมากขึ ้น ในยุคกลาง อาณาจักรคริ สเตียนจึงตอบโต้ และเกิดเป็ นสงครามศาสนาที่เป็ นที่ร้ ูจกั โดยทัว่ ไปว่า สงครามครูเสด ชาวมุสลิมได้ ยดึ ครองประเทศสเปนนานมากกว่า ๑ ศตวรรษ และได้ นาสถาปั ตยกรรมและรูปแบบสวนเปอร์ เซียมาก่อสร้ าง เป็ นจานวนมาก ดัง จะได้ กล่าวต่อไป
สวนเปอร์ เซียต้ นแบบของสวนตะวันตก อารยธรรมของโลกเริ่ มจากการหยุดเร่ร่อน และตังถิ ้ ่นฐานถาวร พึง่ พาการเพาะปลูก ไม่ย้ายถิ่น เป็ นที่ยอมรับกันว่า เริ่ มต้ นแถบลุม่ น ้าไทกรี ส-ยูเฟรตีสอันอุดมสมบูรณ์ ซึง่ ก็คือ ประเทศอิรักในปั จจุบนั ชนเผ่าซูเมอร์ นบั เป็ นพวกแรกทีม่ าตังถิ ้ ่นฐาน เมื่อประมาณ ๖,๐๐๐ ปี ก่อน สืบต่อกันมาด้ วยชาวบาบิโลน ชาวอัสซีเรี ย และชาวเปอร์ เซียในภายหลัง เนื่องจาก ลุม่ น ้าไทกรี ส ยูเฟรตีสเป็ นที่ราบ ชาวบาบิโลนและชนชาติที่เข้ ามาอยูอ่ าศัยแทนจึงเชี่ยวชาญในเรื่ องการทดน ้า มีการขุดคลอง และคูสง่ น ้า รูปแบบเรขาคณิตตามแปลงเพาะปลูกโดยมักเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มยาว ซึง่ ต่อมากลายเป็ นต้ นแบบของศิลปะเปอร์ เซีย ดังสะท้ อนให้ เห็นในลวดลายของพรมเปอร์ เซียที่มีชื่อเสียง สวนที่โดดเด่นในยุคนี ้ได้ แก่ สวนลอยบาบิโลน ที่กล่าวถึงในนิยายปรัมปรา ปั จจุบนั ไม่ปรากฏร่องรอยให้ เห็นแล้ ว สาหรับรูปแบบของสวนมีการสันนิษฐานแตกต่างกันไป ที่เหมือนกันคือ เป็ นสวนที่สร้ างบนภูเขา เทียมรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัสซ้ อนกันเป็ นชันๆ ้ และปลูกต้ นไม้ สวยงามนานาพรรณ สวนเชื่อมกันด้ วยทางลาด และมีการทดน ้าส่งขึ ้นไป เพื่อรดต้ นไม้ นอกจากนี ้ ด้ วยความเชี่ยวชาญในเรื่ องการทดน ้าที่สบื ทอดกันมา สวนเปอร์ เซียจึงนิยมใช้ น ้า เป็ นส่วนประกอบของ สวน ในรูปของน ้าไหลตามรางยาวที่มกั บุด้วยกระเบื ้องเคลือบสีน ้าเงิน และน ้าพุ ซึง่ เป็ นลักษณะสาคัญ ของสวนเปอร์ เซียอีก ประการหนึง่ สงครามครูเสดอันยาวนานนับศตวรรษ ทาให้ เกิดการถ่ายทอดด้ านศิลปะ และวัฒนธรรม ระหว่างตะวันออกกลางกับ ยุโรป
สวนที่มีรูปแบบเป็ นทรงเรขาคณิต
ดูไม่เป็ นธรรมชาติ
ได้ กลายเป็ นรูปแบบของสวนตะวันตกในเวลาต่อมา
ตัวอย่างเช่น สวนพระราชวังแวร์ ซาย (Jardins de Versailles) ในซีกโลกตะวันออก
การรุกรานยุโรปของชาวมองโกลและการค้ นพบเส้ นทางการค้ าระหว่างยุโรปกับจีนที่เรี ยกว่า
เส้ นทางสายไหม (Silk Road) ทาให้ เกิดการแลกเปลีย่ นอารยธรรมระหว่างตะวันตกกับตะวันออกมากขึ ้น ซึง่ เริ่มจากการเดินทาง ของ มาร์ โก โปโล (Marco Polo) พ่อค้ าและนักสารวจชาวอิตาเลียน โดยทัว่ ไปแล้ ว ไม่ปรากฏลักษณะธรรมชาติเด่นชัดในสวน ของยุโรป บนแผ่นดินใหญ่ แต่จะมีความชัดเจนมากกว่าในประเทศอังกฤษซึง่ เป็ นเกาะโดดเดี่ยว แม้ สวนขนาดเล็กที่มีรวั ้ ปิ ดล้ อม ของอังกฤษ ยังคงปรากฏรูปแบบเรขาคณิตอยูบ่ ้ าง แต่ในงานภูมิทศั น์มีความชัดเจน
3
ภูมิทศั น์องั กฤษ (English landscape) ได้ ปฏิเสธรูปแบบเรขาคณิตที่ไม่เป็ นธรรมชาติ และพยายามซ่อนสิง่ ปลูกสร้ าง ที่ไม่ใช่องค์ประกอบสาคัญ สวนอังกฤษจึงได้ รับอิทธิพลจากภาพเขียนทิวทัศน์ชนบท (landscape paintings) ของยุโรป โดยเฉพาะ ในช่วงการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม (ประมาณสมัยอยุธยาตอนปลาย) หรื อ ประมาณตังแต่ ้ พ.ศ. ๒๓๕๐ เป็ นต้ นมา ซึง่ มี การสร้ างสวนอังกฤษทีม่ ีชื่อเสียงจานวนมาก อารยธรรมมุสลิมได้ เผยแพร่สภู่ มู ิภาคตะวันออกเข้ าไปในอนุทวีปอินเดีย เป็ นจักรวรรดิโมกุล (Mughal Dynasty) ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๙๖-๒๔๐๑งานที่มีชื่อเสียงของจักรวรรดิโมกุลคือ ทัชมาฮาล ที่เมืองอัคระ ตอนเหนือของอินเดีย รูปแบบของ สวนโมกุลมีอิทธิพลต่อศิลปะภูมทิ ศั น์ของอินเดียในเวลาต่อมา
สวนสาธารณะ สวนสาธารณะที่สร้ างขึ ้นจากเงินภาษี ของประชาชนแห่งแรกของโลก คือ เบอร์ เคนเฮดพาร์ ก (Birkenhead Park) ใกล้ เมืองลิเวอร์ พลู ในประเทศอังกฤษ เปิ ดใช้ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๐ (ตรงกับในสมัยรัชกาลที่ ๓) จากปัญหาการขาดแคลน สถานที่ พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ที่เป็ นผลสืบเนื่องจากความแออัดของการอพยพมาทางานในภาคอุตสาหกรรม กษัตริ ย์องั กฤษ จึงได้ ทรงอุทศิ อุทยานส่วนพระองค์ขนาดใหญ่หลายแห่งให้ เป็ น "อุทยานของประชาชน" เช่น อุทยานวิกตอเรี ยไฮด์ปาร์ ก ในเวลา ต่อมา แบบอย่างสวนสาธารณะของอังกฤษได้ แผ่อิทธิพลสูส่ หรัฐอเมริ กา และกลายเป็ นต้ นกาเนิด ของภูมิสถาปั ตยกรรมในยุค ปั จจุบนั
บิดาแห่ งภูมิสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ ของโลก เฟรเดอริ ก ลอว์ ออล์มสเตด (Frederic Law Olmstead) ได้ ชื่อว่าเป็ นบิดาของภูมิสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ ในวัยหนุม่ ออล์มสเตดได้ เดินทางไปท่องเทีย่ วที่ประเทศอังกฤษ เพื่อนาข้ อมูลมาเขียนบทความเกี่ยวกับสวนสาธารณะในหนังสือพิมพ์ และ วารสารในนครนิวยอร์ ก สหรัฐอเมริ กา ออล์มสเตด ได้ เยีย่ มชมเบอร์ เคนเฮดพาร์ กและรู้สกึ ประทับใจมาก บทความใน หนังสือพิมพ์และจดหมายของเขาได้ มีสว่ นทาให้ นายกเทศมนตรีนครนิวยอร์ กตัดสินใจจัดซื ้อที่ดินเนื ้อที่ประมาณ ๑,๒๕๐ ไร่ ซึง่ เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าที่ทอดยาวตามเกาะแมนฮัตตัน เพื่อสร้ างสวนสาธารณะ โดยมีการเรี ยกประกวดแบบเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๐ โดยให้ ผ้ เู ข้ าประกวดแบบใช้ นามแฝง ซึง่ ปรากฏว่า แบบของออล์มสเตดที่ทาร่วมกับสถาปนิกชาวอังกฤษชื่อ คัลเวิร์ต วอกซ์ (Calvert Vaux) โดยใช้ นามแฝงว่า กรี นสเวิร์ด (Greensward) ได้ รับการคัดเลือกนาไปก่อสร้ างเซ็นทรัลพาร์ ก (Central Park) ซึง่ เปิ ดใช้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖ ปั จจัยที่มีสว่ นทาให้ แบบของออล์มสเตดได้ รับการคัดเลือกนันเนื ้ ่องจากได้ นาปัจจัยด้ านศิลปะวิศวกรรม พฤกษศาสตร์ และพฤติกรรมของผู้ที่จะมาใช้ สวนสาธารณะ รวมทัง้ ปั จจัยด้ านเศรษฐศาสตร์ มาบูรณาการร่วมกัน ไม่ได้ ใช้ เฉพาะปั จจัยด้ าน ความงามเพียงอย่างเดียว ดังที่เคยถือปฏิบตั ิมา ซึง่ กระบวนการออกแบบ และแนวทางการดูแลงานก่อสร้ าง ได้ กลายเป็ น มาตรฐานทางวิชาชีพในเวลาต่อมา นอกจากนี ้ ออล์มสเตดยังเป็ นบุคคลแรก ที่เรี ยกการออกแบบในสาขานี ้ว่า
4
ภูมิสถาปั ตยกรรม (Landscape Architecture) และเรี ยกผู้ที่ปฏิบตั ิงานวิชาชีพนี ้ว่า ภูมิสถาปนิก (Landscape architect) ออล์มสเตดเป็ นผู้ที่ออกแบบสวนสาธารณะและโครงการอื่นๆ อีกเป็ นจานวนมาก ในสหรัฐอเมริ กาและประเทศแคนาดา ต่อมา สานักงานออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรม ของออล์มสเตด ซึง่ มีบตุ รชายเป็ นผู้ชว่ ยสาคัญได้ ย้ายไปที่เมืองบอสตัน (Boston) สหรัฐอเมริ กา และประกอบวิชาชีพนี ้มาอย่างต่อเนื่องจนถึงแก่กรรม ปั จจุบนั สานักงานของออล์มสเตดยังคงอยูท่ ี่เมืองบอสตัน
ความเป็ นมาในประเทศไทย สมัยสุโขทัย จากศิลาจารึกมีการกล่าวถึงลักษณะการทาสวนไว้ อย่างสันๆ ้ ว่า ทิศตะวันตกเป็ นป่ าอรัญญิก ทิศตะวันออกเป็ นป่ า หมาก ป่ าพลู ป่ ามะม่วง ป่ ามะขาม ทิศเหนือเป็ นป่ ามะพร้ าวและป่ าขนุน ทิศใต้ เป็ นป่ ามะพร้ าว ป่ าขนุน ป่ ามะม่วง ซึง่ ส่วนใหญ่ เป็ นไม้ ผล นอกจากนี ้ยังกล่าวถึงดงตาลในเมือง การปลูกบัวตามตระพัง (สระน ้า) ทัว่ ไปไว้ ชมความงาม แต่ไม่ได้ กล่าวถึงสวนว่า มีรูปแบบเป็ นอย่างไร
สมัยอยุธยาตอนต้ น สมัยนี ้มีเพียงหลักฐานทางวรรณคดีซงึ่ กล่าวถึง สวนหลวงสบสวรรค์ ที่สร้ างขึ ้นก่อนสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (ก่อน พ.ศ. ๒๐๙๑) ไม่สามารถสันนิษฐานได้ วา่ ลักษณะของสวนเป็ นอย่างไร และมีขนาดเท่าใด อาจเป็ นไปได้ วา่ เป็ นรูปแบบ สวนไทยที่สร้ าง ด้ วยวัสดุมชี ีวิต คือ ต้ นไม้ นานาพรรณ ดิน และน ้า องค์ประกอบเหล่านี ้มักไม่ทนทานถาวรเท่ากับวัสดุทใี่ ช้ ในงาน สถาปั ตยกรรม จึงไม่ปรากฏร่องรอยให้ เห็นมาถึงปั จจุบนั อาจสันนิษฐานได้ วา่ กรุงสุโขทัยและกรุงศรี อยุธยาตังอยู ้ ใ่ นพื ้นที่น ้า หลาก สวนส่วนใหญ่ จึงอาจเป็ นสวนบนชานเรื อน ดังที่พรรณนาไว้ ในวรรณคดีไทยหลายเรื่ อง ต่อมาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช มีบนั ทึกของ นิโกลาส์ แชร์ แวส (Nicolas Gervaise) บาทหลวงชาวฝรั่งเศส ซึง่ บันทึกไว้ วา่ ในเวลาที่สมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ประทับอยูใ่ นพระราชวังลพบุรี ได้ เสด็จลงทาสวนด้ วยพระองค์เอง แม้ วา่ ในบันทึกกล่าวถึงพรรณไม้ จานวน มาก แต่ก็ไม่ได้ พรรณนาถึงความงามและลักษณะของสวน อาจเป็ นไปได้ วา่ สวนที่อยูบ่ นพื ้นดินตามพระราชวังอาจปลูกบน กระบะยกสูง เพื่อให้ พ้นจากน ้าหลาก และก่อขอบด้ วยอิฐฉาบปูนเป็ นลวดลายย่อมุมดังที่เราคุ้นเคยกัน
สมัยรัตนโกสินทร์ ความชัดเจนของรูปแบบสวนไทยปรากฏในสมัยนี ้ เริ่ มจากการมีลกั ษณะแบบสมัยอยุธยาตอนปลาย ต่อมาสมัย รัชกาลที่ ๓ จึงเริ่ มปรากฏอิทธิพลของสวนจีนมากขึ ้น จากการค้ าขายทางเรื อสาเภากับประเทศจีน มีการสร้ างสวนหินก่อสูง ที่ เรี ยกว่า เขามอ ในพระบรมมหาราชวัง และเขาไกรลาส ตามคติพราหมณ์ รวมทังยั ้ งมีการประดับตุ๊กตาหินรูปต่างๆ ตลอดจนการ ปูแผ่นหินแกรนิต ที่พื ้นลานทางเดินในพระบรมมหาราชวัง และวัดสาคัญในกรุงเทพฯ กล่าวกันว่า แผ่นหินแกรนิต เป็ นสินค้ าผล พลอยได้ จากการนาแผ่นหินเหล่านี ้มาใช้ เป็ นอับเฉาถ่วงท้ องเรื อสาเภาที่บรรทุกสินค้ าทีม่ ีน ้าหนักเบากลับจากจีน แทนหินหนัก ธรรมดา ทาให้ เรื อไม่โคลงมากเมือ่ มีคลืน่ ลมแรง ต่อมาในปลายรัชกาลที่ ๔ เริ่ มปรากฏอิทธิพลของสถาปั ตยกรรมตะวันตกมาก 5
ขึ ้น รวมทังงานภู ้ มิสถาปั ตยกรรมด้ วย โดยมีหลักฐานปรากฏในสมัยรัชกาลที่ ๔ ซึง่ เห็นได้ จากพระราชวังบนเขาสัตนาถ ที่จงั หวัด ราชบุรี งานจัดสร้ างสวนมีมากขึ ้นสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึง่ ได้ ทรงว่าจ้ างนายช่างชาวตะวันตกมาออกแบบก่อสร้ างอาคาร และสวนแบบ ตะวันตก เป็ นจานวนมากในพระนคร เช่น พระที่นงั่ อนันตสมาคม ซึง่ เป็ นศิลปะเรอเนสซองซ์ รวมทังอาคารและสวนใน ้ พระบรมมหาราชวัง และสถานทีซ่ งึ่ อยูร่ อบพระบรมมหาราชวังหลายแห่ง เช่น กระทรวงกลาโหม กรมการรักษาดินแดน และ กระทรวงพาณิชย์ ที่ทา่ เตียน (ซึง่ ปั จจุบนั ได้ รับการบูรณะดัดแปลงเป็ นพิพิธภัณฑ์การเรี ยนรู้) นอกจากนี ้ยังทรงขยายเมือง กรุงเทพฯ ทางทิศเหนือ และทรงสร้ างสวนหลายแห่ง เช่น สวนดุสติ สวนสุนนั ทา รวมทังทรงสร้ ้ างพระตาหนักตากอากาศและ สวนบนเกาะสีชงั ซึง่ ยังคงปรากฏหลักฐานในปัจจุบนั โดยสรุป สวนไทยในสมัยก่อนแบ่งออกได้ เป็ น ๓ ประเภท ได้ แก่ สวนบ้ าน ที่เน้ นด้ านการใช้ ประโยชน์เป็ นอาหารและยา สวนวัด ที่เน้ นความสงบร่มรื่ นและคติทางศาสนา และสวนวัง ที่นอกจากเน้ นความร่มรื่ นแล้ ว ยังมุง่ ที่ความงาม ปี ติในรูปแบบ และสีสนั โดยรูปแบบได้ รับอิทธิพลจากคติพทุ ธ-ฮินดู
6
บทที่ 2 สถาปั ตยกรรมไทยประเพณี สถาปั ตยกรรมไทยประเพณียุคสุโขทัย งานด้ านสถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัยส่วนใหญ่เป็ นสิง่ ก่อสร้ างทางพระพุทธศาสนา สถาปั ตยกรรมในสมัยสุโขทัยส่วน ใหญ่จะแสดงออกในงานที่เกี่ยวข้ องกับศาสนา ซึง่ ก็คือ กรสร้ าง เจดีย์ตา่ งๆ ซึง่ ล้ วนมีเอกลักษณ์ของสุโขทัยทังสิ ้ ้น เจดีย์ตาม ความหมายของาชาวสุโขทัย คือ สิง่ ก่อสร้ างที่ควรต่อการเคารพบูชา รูปแบบและทรงเจดีย์ตา่ งๆ มักมีแบบแผนร่วมกันคือ ประกอบจากสามส่วนหลัก ส่วนล่างคือฐาน ส่วนกลางคือเรื อนธาตุ และส่วนบนคือยอดแหลม
วัดมหาธาตุ มรดกโลกของชาวไทย วัดมหาธาตุ จ.สุโขทัย ตังอยู ้ ใ่ นใจกลางเมือง ตามแบบแผนความเชื่อในเรื่ องจักรวาลแบบอินเดียโบราณ เป็ นวัดที่มี ความสาคัญประกอบด้ วยเจดีย์ประธาน วิหาร มณฑป โบสถ์ และเจดีย์รายจานวนมาก ถึง ๒๐๐ องค์ เจดีย์ประธานวัดมหาธาตุ ซึง่ ตังเด่ ้ นสง่างามมีลกั ษณะเป็ นเจดีย์ทรงดอกบัวตูมถือว่าเป็ นสถาปั ตยกรรม ที่แสดงถึง เอกลักษณ์ของศิลปะสุโขทัยโดยแท้
แต่คงมิได้ เป็ นรูปแบบแรกเริ่ มเมื่อมีการสร้ างวัดมหาธาตุขึ ้น
ของเดิมน่าจะมีลกั ษณะ
เช่นเดียวกับเจดีย์ทศิ ที่ตงอยู ั ้ บ่ นฐานเดียวกัน และตังอยู ้ ต่ รงกลางของด้ านทังสี ้ ่ รายรอบเจดีย์ประธานเป็ นเจดีย์ทิศจานวน 8 องค์ องค์ที่อยูต่ รงมุมทังสี ้ เ่ ป็ นเจดีย์ที่มอี ิทธิพลของศิลปะหริ ภญ ุ ไชย
ล้ านนา
ส่วนเจดีย์ที่อยูก่ ึ่งกลางของด้ านทังสี ้ เ่ ป็ นเจดีย์ทรง
ปราสาทยอดแบบสุโขทัย ซึง่ มีลวดลายปูนปั น้ แบบอิทธิพลศิลปะลังกา รอบ ๆ เจดีย์ประธานมีปนู ปั น้ รูปพระสาวกในท่าอัญชุลี เดินประทักษิ ณโดยรอบพระมหาธาตุ รายรอบเจดีย์ประธานเป็ นเจดีย์ทศิ จานวน ๘ องค์ องค์ที่อยูต่ รงมุมทังสี ้ เ่ ป็ นเจดีย์ที่มีอิทธิพลของศิลปะหริ ภญ ุ ไชย ล้ านนา
ส่วนเจดีย์ที่อยู่กงึ่ กลางของด้ านทังสี ้ เ่ ป็ นเจดีย์ทรงปราสาทแบบสุโขทัยซึง่ มีลวดลายปูนปั น้ แบบอิทธิพลศิลปะลังกา
รอบ ๆ เจดีย์ประธานมีปนู ปั น้ รูปพระสาวกในท่าอัญชุลเี ดินประทักษิ ณโดยรอบพระมหาธาตุ ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ได้ บรรยายว่า...กลางเมืองสุโขทัยนี ้มีพิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฎฐารศ มีพระพุทธอันใหญ่ มีพระพุทธอันราม... พระพุทธรูปทองเข้ าใจโดยทัว่ ไปว่าหมายถึงหลวงพ่อโตของชาวเมืองเก่า เมื่อต้ นรัตนโกสินทร์ ที่ประดิษฐาน อยูท่ ี่วิหารหลวงในวัดมหาธาตุ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้ าฯ ให้ อญ ั เชิญโดยล่องแพไปไว้ ที่ วิหาร หลวงวัดสุทศั น์เทพวราราม กรุงเทพมหานคร ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัยได้ พระราชทานนามว่า พระศรี ศากยมุนี พระพุทธรูปนี ้น่าจะเป็ นพระพุทธรูปสาริ ดที่พระมหาธรรมราชาลิไททรงโปรดให้ หล่อขึ ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๙๐๕ เป็ น พระพุทธรูปปางมารวิชยั อันเป็ นแบบที่นิยมมากในสมัยสุโขทัย ที่วิหารหลวงในวัดมหาธาตุสโุ ขทัยจึงยังปรากฏแท่นฐานขนาด ใหญ่ของพระพุทธรูปองค์นี ้เหลือให้ เห็น ส่วนพระอัฎฐารศ ที่กล่าวถึงในจารึกหมายถึงพระพุทธรูปยืน ทีม่ ีขนาดใหญ่สงู ราว ๑๘ ศอก ประดิษฐานภายใน มณฑปที่ขนาบอยูส่ องข้ างของเจดีย์ประธาน 7
ถัดจากวิหารหลวงไปทางตะวันออกเป็ นวิหารสูง ที่เรี ยกชื่อเช่นนี ้ เนื่องจากวิหารหลังนี ้มีฐานก่ออิฐเป็ นลักษณะฐานบัว มีความสูงประมาณ ๑.๕ เมตร เป็ นรูปแบบสถาปั ตยกรรมสมัยอยุธยา ซึง่ สร้ างขึ ้นในภายหลัง ทาให้ พื ้นที่วา่ งระหว่างหน้ าวิหาร สูงกับกาแพงแก้ วด้ านหน้ าเหลือเพียงพื ้นที่แคบ ๆ ไม่ได้ สดั ส่วนกับความสูงของตัวอาคาร นอกจากนี ้ภายในวัดมหาธาตุยงั มีกลุม่ เจดีย์ จัดแยกออกเป็ นกลุม่ หนึง่ อยูท่ างทิศใต้ ของเจดีย์ประธาน มีศนู ย์กลางอยู่ ที่เจดีย์ ๕ ยอด ซึง่ มีขนาดใหญ่เป็ นที่ ๒ รองจากเจดีย์ประธาน ได้ พบหลักฐานที่เป็ นจารึกลานทองมีข้อความระบุเป็ นที่นา่ เชื่อว่า เจดีย์ ๕ ยอดองค์นี ้เป็ นเจดีย์บรรจุอฐั ิ ของพระมหาธรรมราชาลิไท
สถาปั ตยกรรมไทยประเพณียุคอยุธยา เอกลักษณ์ของสถาปั ตยกรรมในยุคนี ้ คือการออกแบบให้ แสดงถึงความยิ่งใหญ่ ร่ ารวย สถาปั ตยกรรมจึงมีขนาดและ รูปร่างสูงใหญ่ ตกแต่งด้ วยการแกะสลักปิ ดทอง โบสถ์วิหารในกรุงศรี อยุธยาไม่นิยมสร้ างให้ มชี ายคายื่นออกมาจากหัวเสามาก นัก ส่วนใหญ่มีบวั หัวเสาเป็ นรูปบัวตูม และนิยมเจาะผนังอาคารให้ เป็ นลูกกรงเล็กๆแทนช่องหน้ าต่าง ลักษณะเด่นของการ ก่อสร้ างโบสถ์วิหารอีกอย่างคือ การปล่อยแสงให้ สาดเข้ ามาในอาคารมากขึ ้น โดยจะออกแบบให้ แสงเข้ ามาทางด้ านหน้ าและ ฉายลงยังพระประธาน สมัยอยุธยาตอนปลาย รูปแบบสถาปั ตยกรรมถือว่าอยูใ่ นจุดสูงสุด คือเป็ นสถาปั ตยกรรมที่สามารถตอบสนองความ ต้ องการของมนุษย์ได้ ทกุ ประการ และมีความงดงามอ่อนช้ อยตามลักษณะแบบไทยๆ แต่การพัฒนาทางสถาปัตยกรรมต้ อง หยุดลงหลังกรุงศรี อยุธยาพ่ายแพ้ แก่พม่าในปี พ.ศ. 2310 นับเป็ นจุดเปลีย่ นแปลงที่สาคัญในทุกๆด้ าน ไม่วา่ จะเป็ น ทังด้ ้ านการ ปกครอง ด้ านสังคม ด้ านเศรษฐกิจ ด้ านวัฒนธรรม ฯลฯ
วัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดหลวง ณ อยุธยา วัดพระศรี สรรเพชญ์ตงอยู ั ้ ใ่ นเขตตาบลประตูชยั สร้ างขึ ้นในบริ เวณที่เป็ นพระราชวังหลวงในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ ๑ (พระเจ้ าอูท่ อง) ถึงแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพ.ศ. ๑๙๙๑ ทรงย้ ายพระราชวังไปสร้ างใหม่ทางด้ านเหนือริ มแม่น ้า ลพบุรี
และยกบริ เวณพระราชวังเดิมให้ เป็ นพุทธาวาสของวัดพระศรี สรรเพชญ์
เพื่อใช้ เป็ นสถานที่ให้ พระมหากษัตริ ย์ทรง
ประกอบพระราชพิธีทางศาสนาทังส่ ้ วนพระองค์และพระบรมราชวงศ์รวมทังพระราชพิ ้ ธีอื่นๆของรัฐ พิพฒ ั น์สตั ยาเพื่อแสดงความจงรักภักดีตอ่ พระมหากษัตริ ย์และพระราชวงศ์
เช่น
พระราชพิธีถือน ้า
และเป็ นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระมหากษัตริย์
และพระอัฐิของพระบรมวงศานุวงศ์ภายในวัดประกอบด้ วยโบราณสถานที่สาคัญ ได้ แก่ เจดีย์ทรงระฆังกลมขนาดใหญ่ ๓ องค์ เป็ นประธานของวัด เป็ นเจดีย์ที่บรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (องค์ที่ ๑ ตังอยู ้ ท่ างทิศตะวันออก) และพระบรม อัฐิสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (องค์ที่ 2 ตรงกลาง)ซึง่ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ โปรดให้ สร้ างขึ ้นเมื่อ พ.ศ. 2035 ส่วนเจดีย์อกี
8
องค์หนึง่ นัน้ (องค์ที่ 3 ซึง่ อยูท่ างทิศตะวันตก) เป็ นเจดีย์ที่บรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ซึง่ สมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 4 โปรดให้ สร้ างขึ ้นภายหลัง ทางด้ านทิศตะวันออกของเจดีย์ประธานแต่ละองค์มีมณฑป
ซึง่ อาจจะประดิษฐานพระพุทธรูปทุกองค์
แต่ภายใน
มณฑปประจาเจดีย์องค์แรกเคยพบรอยพระพุทธบาทประดิษฐานอยูด่ ้ วย พระวิหารหลวง เป็ นที่สาหรับประกอบพระราชพิธีของพระมหากษัตริ ย์ ภายในประดิษฐาน พระศรี สรรเพชญ์ ซึง่ เป็ น พระพุทธรูปยืนสูง 8 วา หุ้มทองคา เมือ่ คราวเสียกรุงศรี อยุธยา พม่าได้ เอาไฟสุมลอกเอาทองคาไปหมดเหลือเฉพาะแกนในซึง่ เป็ นสาริ ดพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้ เชิญไปประดิษฐานไว้ ภายในเจดีย์ศรี สรรเพชญดาญาน ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพฯ ในรัชสมัยพระเจ้ าทรงธรรมพระองค์โปรดเกล้ าฯให้ สร้ าง พระที่นงั่ จอมทอง ตังอยู ้ ใ่ กล้ ๆ กาแพงทางด้ านติดกับ วิหารพระ มงคลบพิตร เพื่อให้ เป็ นสถานที่ให้ พระสงฆ์บอกเล่าหนังสือพระสงฆ์ ราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั บรมโกศ มีการบูรณะปฏิสงั ขรณ์วดั หลวงแห่งนี ้เป็ นครัง้ แรก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั พระยาโบราณราชธานินทร์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่าได้ ดาเนิน การขุดสมบัติจากกรุภายในเจดีย์ พบพระพุทธรูป เครื่ องทอง มากมาย และในสมัย จอมพล ป.พิบลู สงคราม ได้ มกี ารบูรณะวัดนี ้จนมีสภาพที่เห็นอยูใ่ นปั จจุบนั วัดพระศรี สรรเพชญ์ เป็ นวัดประจาวังที่ไม่มีพระสงฆ์จาพรรษา แตกต่างจากวัดมหาธาตุ สุโขทัย ที่มีพระสงฆ์จาพรรษา จึงกลายเป็ นต้ นแบบของ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ที่ไม่มีพระสงฆ์จาพรรษา ในเวลาต่อมา
วัดไชยวัฒนาราม วัดไชยวัฒนาราม หรื อ วัดชัยวัฒนาราม เป็ นวัดเก่าแก่สมัยอยุธยาตอนปลายในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ตังอยู ้ ท่ ี่ ตาบลบ้ านป้อม อาเภอพระนครศรี อยุธยา จังหวัดพระนครศรี อยุธยา บริ เวณริ มฝั่งแม่น ้าเจ้ าพระยา ทางฝั่งตะวันตกนอกเกาะ เมือง วัดไชยวัฒนารามเป็ นวัดสร้ างขึ ้นในสมัยพระเจ้ าปราสาททอง พ.ศ.2173 โดยเดิมบริเวณที่ตงของวั ั้ ดแห่งนี ้เคยเป็ นที่ อยูข่ องพระราชมารดาที่ได้ สิ ้นพระชนม์ไปก่อนที่พระเจ้ าปราสาททองได้ เสวยราชสมบัติเป็ นกษัตริย์ เมื่อพระองค์ได้ เสวยราช สมบัติ พระองค์จึงได้ สร้ างวัดไชยวัฒนารามขึ ้นเพื่ออุทิศผลบุญนี ้ให้ กบั พระราชมารดาของพระองค์และอีกประการหนึง่ วัดนี ้อาจ ถูกสร้ างขึ ้นเพื่อเป็ นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือเขมรด้ วย จึงทาให้ มีรูปแบบทางสถาปั ตยกรรมส่วนหนึง่ มาจากปราสาทนครวัด ประวัติ
9
วัดไชยวัฒนาราม ได้ สร้ างขึ ้นในปี พ.ศ. 2173 โดยสมเด็จพระเจ้ าปราสาททอง พระองค์โปรดเกล้ าฯให้ สร้ างขึ ้นบนที่ที่ เป็ นบ้ านเดิมของพระองค์เพื่ออุทศิ พระราชกุศลถวายพระราชมารดา แต่ สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดารงราชานุ ภาพทรงสันนิษฐานว่าวัดนี ้สร้ างขึ ้นเพื่อเป็ นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือนครละแวกโดยจาลองแบบมาจากปราสาทนครวัด วัดไชยวัฒนารามเป็ นวัดหลวงทีบ่ าเพ็ญพระราชกุศลของพระมหากษัตริ ย์สบื ต่อมาหลังจากนันทุ ้ กพระองค์ จึงได้ รับ การปฏิสงั ขรณ์สบื ต่อมาทุกรัชสมัย เป็ นสถานที่ถวายพระเพลิงศพพระบรมวงศานุวงศ์เกือบทุกพระองค์ สมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั บรมโกศสิ ้นพระชนม์ก็ได้ ถวายพระเพลิงที่วดั นี ้ ก่อนกรุงแตก พ.ศ. 2310 วัดไชยวัฒนารามถูกแปลงเป็ นค่ายตังรั้ บศึก หลังการเสียกรุงศรี อยุธยาครัง้ ที่สอง วัดไชย วัฒนารามได้ ถกู ปล่อยทิ ้งให้ ร้างเรื่ อยมา บางครัง้ มีผ้ รู ้ ายเข้ าไปลักลอบขุดหาสมบัติ เศียรพระพุทธรูปถูกตัดขโมย มีการรื อ้ อิฐที่ พระอุโบสถ และกาแพงวัดไปขาย แต่ในปี พ.ศ. 2530 กรมศิลปากรจึงได้ เข้ ามาอนุรักษ์ จนแล้ วเสร็จในปี พ.ศ. 2535
สถาปั ตยกรรม ฐานภายใน วัดไชยวัฒนาราม มีปรางค์ประธานและปรางค์มมุ อยูบ่ นฐานเดียวกัน พระปรางค์ประธานนารูปแบบของ พระปรางค์สมัยอยุธยาตอนต้ นมาก่อสร้ าง แต่ปรางค์ประธานทีว่ ดั ไชยวัฒนารามทามุขทิศยื่นออกมามากกว่า บน ยอดองค์พระปรางค์ใหญ่อาจเคยประดิษฐานพระเจดีย์ขนาดเล็ก สื่อถึงพระเจดีย์จฬุ ามณีบนยอดเขาพระสุเมรุ รอบ พระปรางค์ใหญ่ล้อมรอบไปด้ วยระเบียงคตที่เดิมนันมี ้ หลังคา ภายในระเบียงคตประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั น้ ปาง มารวิชยั ที่เคยลงรักปิ ดทองจานวน 120 องค์ เป็ นเสมือนกาแพงเขตศักดิ์สทิ ธิ์ ตามแนวระเบียงคตตรงทิศทังแปดสร้ ้ าง เมรุทิศ และ เมรุมมุ (เจดีย์รอบๆพระปรางค์ใหญ่) ภายในเมรุทกุ องค์ประดิษฐานพระพุทธรูป ภายในซุ้มเรื อนแก้ วล้ วน ลงรักปิ ดทอง ฝาเพดานทาด้ วยไม้ ประดับลวดลายลงรักปิ ดทองเช่นกัน
พระอุโบสถ พระอุโบสถ สร้ างอยูท่ างด้ านหน้ ากาแพงเมรุทิศเมรุราย นอกระเบียงคต ปัจจุบนั เหลือแต่ฐาน ข้ างๆมีเจดีย์ ย่อมุมไม้ สบิ สอง มีกาแพงล้ อมรอบโบราณสถานสาคัญแหล่านี ้ถึง 3 ชัน้ และ มีปรางค์เจดีย์ขนาดย่อมอีกจานวนหนึง่ ซึง่ สร้ างเพิ่มในภายหลัง
เมรุทศิ เมรุราย เมรุทิศเมรุราย ตังล้ ้ อมรอบพระปรางค์อยูท่ งสิ ั ้ ้น 8 องค์ โดยผนังภายในเมรุเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังรูป ใบไม้ ใบกนก ซึง่ ลบเลือนไปมากแล้ ว ผนังด้ านนอกของเมรุมีภาพปูนปั น้ พุทธประวัติ จานวน 12 ภาพ ซึง่ ในปั จจุบนั เลือนไปแล้ วเช่นกัน แต่เมื่อ 20 ปี ที่แล้ วยังสามารถเห็นได้ ชดั เมรุเป็ นทรงปราสาท ซ้ อนลดหลัน่ กันขึ ้นไป 7 ชัน้ รองรับ ส่วนยอดที่ ชื่อที่มานันน ้ ามาจากเมรุ พระบรมศพพระมหากษัตริย์สมัยพระนครศรี อยุธยา ซึง่ มีแนวความคิด มาจาก คติเขาพระสุเมรุอกี ต่อหนึง่ พระพุทธรูปปูนปั น้ ที่ประดิษฐานอยูภ่ ายในเมรุทิศเมรุมมุ ของระเบียงคตวัดไชยวัฒนาราม มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับพระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรี สรรเพชญบรมไตรโลกนาถ (หรื อพระพุทธนิมิต) ซึง่ เป็ น พระพุทธรูปทรงเครื่ องใหญ่ ประดิษฐานอยูท่ วี่ ดั หน้ าพระเมรุ ซึง่ สันนิษฐานว่าได้ รับการปฏิสงั ขรณ์ครัง้ ใหญ่ในรัชกาล สมเด็จพระเจ้ าปราสาททอง เช่นเดียวกัน
10
สถาปั ตยกรรมประเพณียุครัตนโกสินทร์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั นับเป็ นยุคทองแห่งศิลปะจีน มีการใช้ การก่ออิฐถือปูนและใช้ ลวดลาย ดินเผาเคลือบประดับหน้ าบันแทนแบบเดิม สมัยรัชกาลที่ 4 เริ่ มมีการติดต่อกับชาติตะวันตกมากขึ ้น มีการสร้ างอาคารต่างชนิดเพื่อรองรับกิจกรรมทางธุรกิจ นอกเหนือจากที่อยูอ่ าศัยและวัดวาอารามในอดีต ได้ แก่ โรงงาน โรงสี โรงเลือ่ ย ห้ างร้ านและที่พกั อาศัยของชาวตะวันตก นอกจากนี ้การสร้ างอาคารของทางราชการ กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวังที่มีรูปแบบตะวันตกผสมผสานกับสถาปัตยกรรมไทย เช่น พระที่นงั่ จักรี มหาปราสาท พระที่นงั่ อนันตสมาคม เป็ นต้ น วัดที่มกี ารผสมผสานสถาปัตยกรรมตะวันตกเช่น วัดนิเวศธรรม ประวัติ ในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ซึง่ เป็ นศิลปะแบบกอธิค
สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพได้ แบ่ งประเภท ของบ้ านเรือนในกรุ งเทพตามแบบวัฒนธรรม ออกเป็ น 3 แบบ คือ แบบเดิม คือ แบบเรื อนของผู้มีฐานะ (ระดับ) เดียวกัน เคยทามาอย่างไรก็ทามาอย่างนัน้ มิได้ คิด เปลีย่ นแปลงยกตัวอย่างเช่น วังเจ้ าบ้ านนายขุน แบบผสม คือ เอาตึกฝรั่งหรื อเก๋งจีนมาสร้ างแทรกเข้ าบ้ าง เข้ าใจว่า เกิดขึ ้นในรัชการที่ 4 และต่อมาจนต้ นรัชกาลที่ 5 ดังตัวอย่างที่มีเก๋ง และ การแก้ ไขตาหนักที่วงั ท่าพระ เป็ นต้ น เปลีย่ นเป็ นอย่างใหม่ คือ เลิกสร้ างเรื อนแบบไทยเดิม และตึกฝรั่ง เก๋งจีน คิดทาเป็ นตึกฝรั่งทีเดียว เกิดขึ ้นในสมัย รัชกาลที่ 5 อย่างไรก็ตามรูปแบบของสถาปั ตยกรรมในสมัยนันก็ ้ คงเอกลักษณ์ไทยเอาไว้ บ้าง เช่นการนาหน้ า ตา สถาปั ตยกรรมไทยเข้ ามาใส่ด้านหน้ าของตึก ไม่วา่ จะเป็ น ลายฉลุไม้ หลังคา ทรงจัว่
วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร วัดสระเกศ เป็ นวัดโบราณในสมัยกรุงศรี อยุธยา เดิมชื่อวัดสะแก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้ าฯ ให้ ปฏิสงั ขรณ์และขุดคลองรอบพระอาราม แล้ วพระราชทานนามใหม่วา่ วัดสระเกศ ซึง่ แปลว่า ชาระพระเกศา เนื่องจากเคยประทับทาพิธีพระกระยาสนาน เมื่อเสด็จกรี ธาทัพกลับจากกัมพูชามาปราบจลาจลในกรุงธนบุรี และเสด็จขึน้ เถลิง ถวัลยราชสมบัตใิ น พ.ศ. 2325 มูลเหตุที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระราชทานเปลีย่ นชื่อวัดสะแก เป็ น วัดสระเกศนี ้ มีหลักฐานที่ควรอ้ างถึงคือ พระราชวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เรื่ องจดหมายเหตุความ ทรงจาของกรมหลวงนริ นทรเทวีข้อ 11 ว่า"รับสัง่ พระโองการ ตรัสวัดสะแกเรี ยกวัดสระเกศแล้ วบูรณปฏิสงั ขรณ์ เห็นควร ที่ต้น ทางเสด็จพระนคร"ทรงพระราชวิจารณ์ไว้ วา่ "ปฏิสงั ขรณ์วดั สะแกและเปลีย่ น ชื่อเป็ น วัดสระเกศเอามากล่าวปนกับวัดโพธิ์เพราะ เป็ นต้ นทางที่เสด็จเข้ ามาพระนครมีคา เล่า ๆ กันว่า เสด็จเข้ าโขลนทวารสรงพระมุธาภิเษกตามประเพณีกลับจากทางไกลที่ วัด สะแก จึงเปลีย่ นนามว่า 'วัดสระเกศ'
11
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั โปรดเกล้ าฯ ให้ บรู ณะและสร้ างพระบรมบรรพตหรือภูเขาทอง ทรงกาหนดให้ เป็ น พระปรางค์มีฐานย่อมุมไม้ สบิ สอง แต่สร้ างไม่สาเร็ จในรัชกาล เมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั จึงทรงให้ เปลีย่ นแบบเป็ นภูเขาก่อพระเจดีย์ไว้ บนยอด เป็ นที่ประดิษฐานพระบรมสารี ริกธาตุ การก่อสร้ างแล้ วเสร็ จในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั
พระอุโบสถ พระระเบียงรอบพระอุโบสถ มีพระเจดีย์รายรอบ ภายในพระระเบียงมีพระพุทธรูปประดิษฐานเรี ยงกันอยูเ่ ต็มพระ ระเบียงทัง้ 4 ด้ าน มีจานวนทังหมด ้ 163 องค์ ประดิษฐานมาตังแต่ ้ สมัยรัชกาลที่ 3 ภายในพระอุโบสถ เป็ นที่ประดิษฐานพระ ประธานปางสมาธิ ซึง่ เป็ นพระปั น้ ปิ ดทองปางสมาธิทใี่ หญ่โต พร้ อมด้ วยความงามสมพุทธลักษณะองค์หนึง่ ในกรุงเทพมหานคร เล่ากันมาว่าปั น้ หุ้มพระประธานองค์เดิมของวัดซึง่ ดูเล็กเกินไปไม่สมกับความใหญ่โตของพระอุโบสถ
ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่
เขียนครัง้ แรกในสมัยรัชกาลที่ 3 แล้ วมาทาการปฏิสงั ขรณ์เขียนใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 7 ที่ฝาผนังด้ านใน สองด้ านเบื ้องล่างเป็ น ภาพทศชาติ ด้ านบนเป็ นภาพเทวดาและท้ าวจตุโลกบาล ด้ านหน้ าเป็ นภาพมารวิชยั ส่วนด้ านหลังพระประธานเป็ นภาพไตรภูมิ คือสวรรค์ มนุษย์ และนรก
วัดอรุณราชวราราม วัดอรุณราชวราราม เป็ นวัดโบราณสร้ างมาตังแต่ ้ สมัยอยุธยา ตังอยู ้ ท่ างทิศตะวันตกของฝั่งแม่น ้าเจ้ าพระยา เดิม เรี ยกว่า "วัดมะกอก" ตามชื่อตาบลบางมะกอกซึง่ เป็ นตาบลที่ตงวั ั ้ ด ภายหลังเปลีย่ นเป็ น "วัดมะกอกนอก" เพราะมีวดั สร้ างขึ ้น ใหม่ในตาบลเดียวกันแต่ อยูล่ กึ เข้ าไปในคลองบางกอกใหญ่ชื่อ "วัดมะกอกใน" ต่อมาใน พ.ศ. 2310 เมื่อสมเด็จพระเจ้ าตากสิน มหาราชมีพระราชประสงค์จะย้ ายราชธานีมาตัง้ ณ กรุงธนบุรีจงึ เสด็จกรี ฑาทัพล่องลงมาทางชลมารคถึงหน้ าวัดมะกอกนอกนี ้ เมื่อเวลารุ่งอรุณพอดี จึงทรงเปลีย่ นชื่อวัดมะกอกนอกเป็ น "วัดแจ้ ง" เพื่อเป็ นอนุสรณ์แห่งนิมติ ที่ได้ เสด็จมาถึงวัด นี ้เมื่อเวลาอรุณ รุ่ง เมื่อพระเจ้ าตากสินมหาราชโปรดให้ ย้ายราชธานีจากกรุงศรี อยุธยามาตัง้ ณ กรุงธนบุรีและได้ ทรงสร้ างพระราชวังใหม่ มีการขยายเขตพระราชฐาน เป็ นเหตุให้ วดั แจ้ งตังอยู ้ ก่ ลาง พระราชวังจึงไม่โปรดให้ มีพระสงฆ์จาพรรษา นอกจากนันในช่ ้ วงเวลา ทีก่ รุงธนบุรีเป็ น ราชธานี ถือกันว่าวัดแจ้ งเป็ นวัดคูบ่ ้ าน คูเ่ มือง เนื่องจากเป็ นวัดที่ประดิษฐาน พระแก้ วมรกตและพระบาง ซึง่ สมเด็จ พระยามหากษัตริย์ศกึ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) ได้ อัญเชิญพระพุทธรูปสาคัญ 2 องค์นี ้มา จากลาวในคราวที่เสด็จตีเมืองเวียงจันทร์ ได้ ในปี พ.ศ. 2322โดยโปรดให้ อญ ั เชิญ พระแก้ วมรกตและพระบางขึ ้นประดิษฐาน เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ 1 เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ ได้ โปรดให้ สร้ างพระนคร ใหม่ฝั่งตะวันออก ของแม่น ้าเจ้ าพระยา และรื อ้ กาแพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก วัดแจ้ งจึงไม่ได้ อยูใ่ นเขตพระราชวังอีกต่อไป พระองค์จงึ โปรดให้ วดั แจ้ งเป็ นวัดที่มี พระสงฆ์จาพรรษาอีกครัง้ หนึง่ นอกจากนันพระองค์ ้ ทรงมอบหมายให้ -
12
-สมเด็จ พระเจ้ าลูกยาเธอเจ้ าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ร. 2) เป็ นผู้ดาเนินการปฏิสงั ขรณ์วดั แจ้ ง ไว้ ในมณฑป และมีการสมโภช ใหญ่ 7 คืน 7 วัน(ในปี พ.ศ. 2327 พระแก้ วมรกตได้ ย้ายมาประดิษฐาน ณ วัด พระศรี รัตนศาสดาราม ในพระบรมหาราชวัง ส่วนพระบางนันสมเด็ ้ จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ โปรด พระราชทานคืนไปนครเวียงจันทร์ ) แต่สาเร็ จเพียงแค่กฎุ ีสงฆ์ก็สิ ้น รัชกาลที่ 1 ใน พ.ศ. 2352 เสียก่อน ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย รัชกาลที่ 2 พระองค์ทรงดาเนินการปฏิสงั ขรณ์ตอ่ จนเสร็ จ ทัง้ ได้ ทรงปั น้ หุน่ พระพุทธรูปด้ วยฝี พระหัตถ์ และโปรดให้ หล่อขึ ้นประดิษฐานเป็ นพระประธาน ในพระอุโบสถ และโปรดให้ มี มหรสพ สมโภชฉลองวัดในปี พ.ศ. 2363 แล้ วโปรดพระราชทาน พระนามวัดว่า "วัดอรุณราชธาราม" ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ได้ ทรงปฏิสงั ขรณ์วดั อรุณฯ ใหม่หมดทังวั ้ ด พร้ อมทังโปรดให้ ้ ลงมือก่อสร้ างพระปรางค์ตามแบบที่ทรงคิดขึ ้น จนสาเร็จเป็ นพระเจดีย์สงู 1 เส้ น 13 วา 1 ศอก 1 คืบ กับ 1 นิ ้ว ฐานกลมวัด โดยรอบได้ 5เส้ น 37 วา ซึง่ การก่อสร้ างและปฏิสงั ขรณ์สงิ่ ต่าง ๆ ภายในวัดอรุณฯ นี ้สาเร็ จลงแล้ ว แต่ยงั ไม่ทนั มีงานฉลองก็สิ ้น รัชกาลที่ 3 ในปี พ.ศ. 2394 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ พระองค์ได้ โปรดให้ สร้ างและ ปฏิสงั ขรณ์ สิง่ ต่าง ๆ ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมอีกหลายอย่าง ทังยั ้ งได้ อญ ั เชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ า นภาลัย มาบรรจุไว้ ที่พระพุทธอาสน์ของ พระประธานในพระอุโบสถที่พระองค์ ทรงพระราชทานนามว่า "พระพุทธธรรมมิศรราช โลกธาตุดิลก" และเมื่อได้ ทรงปฏิสงั ขรณ์เสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว จึงได้ พระราชทานนาม วัดเสียใหม่วา่ "วัดอรุณราชวราราม" ดังที่ เรี ยกกันมาจนถึงปัจจุบนั ครัน้ ถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เกิดเพลิงไหม้ พระอุโบสถ จึงโปรดเกล้ าฯ ให้ ปฏิสงั ขรณ์พระอุโบสถใหม่เกือบทังหมด ้ โดยได้ โปรดให้ กรมหมื่นปราบปรปั กษ์ เป็ นแม่กองในการบูรณะ และโปรดเกล้ าฯให้ นา เงิน ที่เหลือจากการบริ จาคของพระบรมวงศานุวงศ์ไปสร้ างโรงเรียนตรงบริ เวณกุฎีเก่า ด้ านเหนือ ซึง่ ชารุดไม่มีพระสงฆ์ อยูเ่ ป็ น ตึกใหญ่แล้ วพระราชทานนามว่า "โรงเรี ยนทวีธาภิเศก" นอกจากนันยั ้ งได้ โปรดให้ พระยาราชสงครามเป็ นนายงานอานวยการ ปฏิสงั ขรณ์พระปรางค์ องค์ใหญ่ และเมื่อเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ วจึงโปรดให้ มกี ารฉลองใหญ่รวม 3 งานพร้ อมกันเป็ นเวลา 9 วัน คือ งานฉลองพระไชยนวรัฐ งานบาเพ็ญพระราชกุศลพระชนมายุสมมงคล คือ มีพระชนมายุเสมอพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ า นภาลัย และ งานฉลองพระปรางค์ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มีการบูรณะปฏิสงั ขรณ์หลายอย่าง โดยเฉพาะพระปรางค์วดั อรุณฯ ได้ รับการปฏิสงั ขรณ์ เป็ นการใหญ่มีการประกอบพิธีบวงสรวงก่อนเริ่ มการบูรณะพระปรางค์ใน วันพุธที่ 27ธันวาคม 2510 และการบูรณะก็สาเร็จด้ วยดีดงั เห็นเป็ นสง่างามอยูจ่ นทุกวันนี ้
13
วัดประจารัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย คือ “วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร” หรื อ “วัด แจ้ ง” เมื่อครัง้ ที่พระองค์ทา่ นดารงตาแหน่งเป็ นวังหน้ าในรัชกาลที่ 1 ที่ประทับของท่านจะอยูท่ ี่พระราชวังเดิม ฝั่งธนบุรี และวัด ที่อยูใ่ กล้ กบั พระราชวังเดิมที่สดุ ก็คือวัดอรุณราชวราราม พระองค์ทา่ นจึงได้ โปรดเกล้ าฯ ให้ มีการบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั อรุณฯ และ ยังได้ ทรงลงมือปั น้ หุน่ พระพักตร์ ‘พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดลิ ก’ พระประธานในพระอุโบสถ ด้ วยฝี พระหัตถ์ของพระองค์ เองอีกด้ วย และเมื่อพระองค์ทา่ นทรงเสด็จสวรรคต พระบรมอัฐิของพระองค์ ก็ถกู นามาประดิษฐานไว้ ที่พระอุโบสถวัดอรุณ ราชวรารามแห่งนี ้ วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร เป็ นพระอารามหลวงชันเอก ้ ชนิดราชวรมหาวิหาร เป็ นวัดโบราณเก่าแก่สร้ างมา ตังแต่ ้ สมัยกรุงศรี อยุธยา ตังอยู ้ ท่ างด้ านทิศตะวันตกของฝั่งแม่น ้าเจ้ าพระยา ไม่พบหลักฐานว่าใครเป็ นผู้สร้ างวัดในสมัยโบราณ ตามหลักฐานเท่าที่ปรากฏมีเพียงว่า เป็ นวัดที่สร้ างขึ ้นในสมัยกรุงศรี อยุธยา
มีมาก่อนรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
(พุทธศักราช 2199-2231) เพราะมีแผนที่เมืองธนบุรีซงึ่ เรื อเอก เดอ ฟอร์ บงั (Claude de Forbin) กับนายช่าง เดอ ลามาร์ (de Lamare) ชาวฝรั่งเศส ทาขึ ้นไว้ เป็ นหลักฐานในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อีกทังวั ้ ดแห่งนี ้ยังมีพระอุโบสถและพระ วิหารของเก่าที่ตงอยู ั ้ ่ ณ บริ เวณหน้ าพระปรางค์ ซึง่ สันนิษฐานว่าเป็ นฝี มือช่างสมัยกรุงศรี อยุธยา มูลเหตุที่เรี ยกชื่อวัดนี ้แต่เดิมว่า “วัดมะกอก” นัน้ ตามทางสันนิษฐานเข้ าใจว่า คงจะเรียกคล้ อยตามชื่อตาบลที่ตงวั ั้ ด ซึง่ สมัยนันมี ้ ชื่อว่า ‘ตาบลบางมะกอก’ (เมื่อนามาเรี ยกรวมกับคาว่า ‘วัด’ ในตอนแรกๆ คงเรี ยกว่า ‘วัดบางมะกอก’ ภายหลังเสียง หดลงคงเรี ยกสันๆ ้ ว่า ‘วัดมะกอก’) ตามคติเรี ยกชื่อวัดของไทยสมัยโบราณ เพราะชื่อวัดที่แท้ จริ งมักจะไม่มี จึงเรี ยกชื่อวัดตาม ชื่อตาบลที่ตงั ้ ต่อมาเมื่อได้ มกี ารสร้ างวัดขึ ้นใหม่อกี วัดหนึง่ ในตาบลเดียวกันนี ้ แต่อยูล่ กึ เข้ าไปในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้ าน เรี ยกชื่อวัดที่สร้ างใหม่ ว่า “วัดมะกอกใน” (ในปั จจุบนั คือ วัดนวลนรดิศวรวิหาร) แล้ วเลยเรี ยก ‘วัดมะกอก’ เดิมซึง่ อยูต่ อนปาก คลองบางกอกใหญ่ ว่า “วัดมะกอกนอก” เพื่อให้ ทราบว่าเป็ นคนละวัด ต่อมาในปี พทุ ธศักราช 2310 เมื่อ สมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราช หรื อสมเด็จพระเจ้ ากรุงธนบุรี ทรงมีพระราชประสงค์ จะย้ ายราชธานี มาตัง้ ณ กรุงธนบุรี จึงเสด็จกรี ฑาทัพล่องลงมาทางชลมารคถึงหน้ า ‘วัดมะกอกนอก’ แห่งนี ้เมื่อเวลารุ่งอรุณ พอดี จึงทรงเปลีย่ นชื่อวัดมะกอกนอก เป็ น ‘วัดแจ้ ง’ เพื่อเป็ นอนุสรณ์ถึงการได้ เสด็จมาถึงวัดนี ้เมื่อเวลาอรุณรุ่ง เมื่อพระเจ้ าตากสินมหาราชโปรดให้ ย้ายราชธานีจากกรุงศรี อยุธยา มาตัง้ ณ กรุงธนบุรี ในปี พ.ศ.2311 และได้ ทรง สร้ างพระราชวังใหม่ มีการขยายเขตพระราชฐาน เป็ นเหตุให้ วดั แจ้ งตกเข้ ามาอยูก่ ลางพระราชวัง จึงโปรดไม่ให้ มีพระสงฆ์อยูจ่ า พรรษา การที่เอาวัดแจ้ งเป็ นวัดภายในพระราชวังนัน้ คงจะทรงถือแบบอย่างพระราชวังในสมัยกรุงศรี อยุธยา ที่มวี ดั พระศรี สรร เพชญ์อยูใ่ นพระราชวัง การปฏิสงั ขรณ์วดั เท่าที่ปรากฏอยูต่ ามหลักฐานในพระราชพงศาวดาร ก็คอื ปฏิสงั ขรณ์พระอุโบสถ และ พระวิหารหลังเก่าที่อยูห่ น้ าพระปรางค์ กับโปรดให้ สร้ างกาแพงพระราชวังโอบล้ อมวัด เพื่อให้ สมกับที่เป็ นวัดภายในพระราชวัง แต่ไม่ปรากฏรายการว่า ได้ ทรงบูรณปฏิสงั ขรณ์หรื อก่อสร้ างสิง่ ใดขึ ้นบ้ าง
14
ในสมัยกรุงธนบุรีเป็ นราชธานี ถือกันว่าวัดแจ้ งเป็ นวัดคูบ่ ้ านคูเ่ มือง เนื่องจากเป็ นวัดที่ประดิษฐานพระแก้ วมรกตและ พระบาง ซึง่ สมเด็จพระยามหากษัตริ ย์ศกึ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1) ไปตีเมืองเวียงจันทน์ ได้ ในปี กนุ เอกศก จุลศักราช 1141 (พ.ศ.2322) แล้ วอัญเชิญพระพุทธรูปสาคัญ 2 องค์คือ พระแก้ วมรกตและพระบาง ลงมา กรุงธนบุรีด้วย และมีการสมโภชเป็ นเวลา 2 เดือน 12 วัน จนกระทัง่ ถึงวันวิสาขปุณณมี วันเพ็ญกลางเดือน 6 ปี ชวด โทศก จุล ศักราช 1142 (พุทธศักราช 2323) โปรดเกล้ าฯ ให้ อญ ั เชิญพระแก้ วมรกตและพระบางขึ ้นประดิษฐานไว้ ในมณฑป ซึง่ ตังอยู ้ ่ ด้ านหลังพระอุโบสถเก่าและพระวิหารเก่า หน้ าพระปรางค์ อยูใ่ นระยะกึ่งกลางพอดี มีการจัดงานสมโภชใหญ่ 7 คืน 7 วัน ด้ วยกัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ได้ โปรดให้ สร้ างพระนคร ใหม่ข้างฝั่งตะวันออก ของแม่น ้าเจ้ าพระยา และรื อ้ กาแพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก
ด้ วยเหตุนี ้วัดแจ้ งจึงไม่ได้ อยูใ่ นเขต
พระราชวังอีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้ วดั แจ้ งเป็ นวัดที่มีพระสงฆ์จาพรรษาอีกครัง้ หนึง่ โดยนิมนต์ พระโพธิวงศาจารย์ จากวัด บางหญ้ าใหญ่ (วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ) มาครองวัด พร้ อมทัง้ พระศรี สมโพธิและพระภิกษุสงฆ์จานวนหนึง่ มาเป็ นพระ อันดับ นอกจากนันพระองค์ ้ ทรงมอบหมายให้ สมเด็จพระเจ้ าลูกยาเธอ เจ้ าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (รัชกาลที่ 2)
เป็ น
ผู้ดาเนินการปฏิสงั ขรณ์วดั แจ้ ง แต่การปฏิสงั ขรณ์คงสาเร็จเพียงกุฏิสงฆ์ ส่วนพระอุโบสถและพระวิหาร ยังไม่ทนั แล้ วเสร็ จ ก็ พอดีสิ ้นรัชกาลที่ 1 ในปี พ.ศ.2352 เสียก่อน (เมื่อปี พ.ศ.2327 พระแก้ วมรกตได้ ย้ายมาประดิษฐาน ณ วัดพระศรี รัตนศาสดา ราม ในพระบรมมหาราชวัง ส่วนพระบางนันพระบาทสมเด็ ้ จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ โปรดพระราชทานคืนไปยัง นครเวียงจันทร์ ประเทศลาว) ต่อมาในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย รัชกาลที่ 2 พระองค์ทรงดาเนินการปฏิสงั ขรณ์ตอ่ จนเสร็จ มีการจัดงานสมโภชใหญ่ถึง 7 วัน 7 คืน แล้ วโปรดพระราชทานพระนามวัดว่า ‘วัดอรุณราชธาราม’ ส่วนยอดสุดขององค์พระปรางค์ใหญ่ เป็ น ‘ยอดนภศูล’ ครอบด้ วยมงกุฎปิ ดทองอีกชันหนึ ้ ง่ ในสมัย พระบาทสมเด็จพระ นัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ได้ ทรงปฏิสงั ขรณ์วดั อรุณฯ ใหม่หมดทังวั ้ ด พร้ อมทังโปรด ้ ให้ ลงมือก่อสร้ างพระปรางค์ตามแบบที่ ทรงคิดขึ ้นด้ วย ซึง่ การก่อสร้ างและปฏิสงั ขรณ์สงิ่ ต่างๆ ภายในวัดอรุณฯ นี ้สาเร็ จลงแล้ ว แต่ยงั ไม่ทนั มีงานฉลองก็สิ ้นรัชกาลที่ 3 ในปี พ.ศ.2394 เมื่อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ในปี พ.ศ.2394 พระองค์ได้ โปรด ให้ สร้ างและปฏิสงั ขรณ์สงิ่ ต่างๆ ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมอีกหลายอย่าง อีกทังยั ้ งได้ อญ ั เชิญ พระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศหล้ านภาลัย มาบรรจุไว้ ที่ พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถ ที่พระองค์ทรงพระราชทานนามว่า ‘พระพุทธ
15
ธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก’ และเมื่อได้ ทรงปฏิสงั ขรณ์เสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว จึงได้ พระราชทานนามวัดเสียใหม่วา่ ‘วัดอรุณราชวรา ราม’ ดังทีเ่ รี ยกกันมาจนถึงปั จจุบนั
เรือนไทย เรื อนไทย คือบ้ านทรงไทย ที่แต่เดิมที่นิยมใช้ วสั ดุจาพวกไม้ ไปจนถึงเครื่ องก่ออิฐถือปูน โดยมีลกั ษณะร่วมที่เหมือน หรื อแตกต่างกันไปตามแต่ละภาค ได้ แก่ เรื อนไทยภาคเหนือ เรื อนไทยภาคกลาง เรื อนไทยภาคอีสาน และ เรื อนไทยภาคใต้ ซึง่ ล้ วนสอดคล้ องกับการดารงชีวิตของคนไทยในสมัยก่อนและแสดงออกถึงภูมิปัญญาไทย
ทังนี ้ ้องค์ประกอบที่มีผลต่อรูปแบบ
เรื อนไทยมีทงเรื ั ้ ่ องสภาพแวดล้ อม ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ อาชีพ ฐานะความเป็ นอยู่ คติความเชื่อและศาสนาในแต่ละภูมิภาค
ลักษณะทั่วไปของเรือนไทย เรื อนไทยสามารถจาออกเป็ นหลายประเภทซึง่ แต่ละประเภทมีลกั ษณะเฉพาะตัว ได้ แก่ เรื อนเครื่ องสับ, เรื อนเครื่ องผูก , เรื อนเครื่ องก่อ ในที่นี ้เราจะอนุมานถึงเรื อนไทยเครื่ องสับเนื่องจากเป็ นเรื อนไทยที่ได้ รับความนิยมสูงสุดโดยมากใช้ เป็ นเรื อน สาหรับอยูอ่ าศัยตังแต่ ้ สามัญชน คนธรรมดาตลอดจนผู้มฐี านานุศกั ดิ์ชนสู ั ้ งในสังคม เรื อนไทยเครื่ องสับทาด้ วยไม้ เนื ้อแข็ง ส่วน ใหญ่จะสร้ างด้ วยไม้ หรื อวัสดุที่หาได้ จากธรรมชาติตามท้ องถิ่นนันๆ ้ มักสร้ างด้ วยวิธีประกอบสาเร็จรูปทังในเรื ้ อนเครื่ องสับและ เรื อนเครื่ องผูก สามารถรื อ้ ถอนขนย้ ายไปปลูกสร้ างที่อื่นได้ มีหลังคาทรงสูง ทรงสูงจะทาให้ การระบายน ้าออกจากหลังคา รวดเร็ว และช่วยลดความเสีย่ งจากการรั่วซึมของหลังคาอีกด้ วย เมื่อสังเกตทีช่ ายหลังคาจะเห็นว่า มีกนั สาด ยาวตลอดเพื่อ ป้องกันแสงแดดจัด ที่ปลายทังสองด้ ้ านของหลังคาจะมียอดแหลมเรี ยกว่า “เหงา” เนื่องจากความเชื่อในสมัยก่อนที่ชาวบ้ าน นิยมนาเขาสัตว์มาแขวน บริ เวณเชิงหลังคาเพื่อป้องกันและขับไล่ทตู ผีปีศาจและวิญญาณชัว่ ร้ ายไม่ให้ เข้ ามาในบ้ าน มีพื ้นที่โล่งใต้ เรื อนไทยเรี ยกว่าบริเวณใต้ ถนุ โดยแต่เดิมบริ เวณใต้ ถนุ บ้ านจะถูกปล่อยไว้ มิได้ ใช้ ประโยชน์อย่างเต็มที่ อาจเป็ นที่สาหรับเก็บอุปกรณ์การกสิกรรม หรื อเป็ นที่ทาหัตถกรรมนอกฤดูเก็บเกี่ยว แต่โดยมากมัก จะถูกทิ ้งร้ างมิได้ ใช้ ประโยชน์ เนื่องจากในฤดูน ้าหลาก น ้าจะท่วมบริ เวณใต้ ถนุ บ้ านทาให้ ไม่สามารถใช้ ประโยชน์ได้ ทังนี ้ ้การเลือกบริ เวณที่อยูอ่ าศัย ให้ มีน ้า ท่วมถึงเอื ้ออานวยประโยชน์ตอ่ คนไทยในสมัยโบราณเป็ นอย่างมากเนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศกสิกรรม ทังนี ้ ้การยกเรื อน ไทยสูงจากพื ้นยังช่วยป้องกันสัตว์ร้ายที่อาจมากับน ้า เช่น งู หรื อ ตะขาบได้ อีกด้ วย เรื อนไทยมีลกั ษณะเป็ นเรื อนขยายคือจะมีการขยายโดยสร้ างเรื อนไทยใหม่ที่อยูใ่ นบริ เวณเรื อนเก่า
โดยจะเชื่อมต่อ
โดยใช้ “นอกชาน” เชื่อม เรื อนไทยแต่ละเรื อนไว้ ด้วยกัน ตัวอย่างเช่นเมื่อครอบครัวมีสมาชิกใหม่ก็จะสร้ างเรื อนใหม่ไว้ ใกล้ เรื อน เก่าของพ่อแม่โดยจะรวมอยูใ่ นบริ เวณเดียวกัน การยึดเรื อนไว้ ด้วยกันจะไม่ใช้ ตะปู แต่จะใช้ เทคนิคการเข้ าเดือยไม้ ซงึ่ เป็ นเทคนิค เฉพาะของเรื อนเครื่ องสับ
16
โครงสร้ าง เรื อนไทยมีโครงสร้ างแบบเสาและคานซึง่ ถ่ายน ้าหนักมาจากหลังคาลงพื ้น โดยผ่านเสาลงสูฐ่ านราก เสาบ้ านมี ลักษณะสอบเข้ า และเป็ นเสากลม โคนโต ปลายสอบ ทังนี ้ ้เพื่อความมัน่ คงของเรื อนไทยไม่ให้ ทรุดตัวได้ งา่ ย เนื่องจากฤดูน ้า หลาก พื ้นดินจะ เป็ นโคลนตม และตัวเรื อนอาจเกิดการทรุดตัวได้ ง่ายหากไม่มีการล้ มสอบของเสาเรื อน
เรือนไทยที่มีช่ ือเสียง 1.พระตาหนักทับขวัญ เรื อนไทยพระตาหนักทับขวัญสร้ างด้ วยไม้ สกั ทอง ใช้ วิธีเข้ าไม้ ตามแบบฉบับบ้ านไทยโบราณ ฝาเรือนทาเป็ น ฝาปะกนกรอบลูกฟั ก เชิงชาย และไม้ ค ้ายันสลักเสลาสวยงาม หลังคาเดิมมุงจาก หลบหลังคาด้ วยกระเบื ้องดินเผา พระตาหนักทับขวัญประกอบด้ วยกลุม่ เรื อน 8 หลัง ได้ แก่ เรื อนใหญ่ 4 หลัง เรื อนเล็ก 4 หลัง สร้ างให้ หนั หน้ าเข้ าหากัน 4 ทิศบน ชานรูปสีเ่ หลีย่ ม เรื อนหลังใหญ่เป็ นหอนอน 2 หอ (ห้ องบรรทมเป็ นหอนอนที่อยูท่ างทิศใต้ ) อีก 2 หลังเป็ นเรื อน โถงและเรื อนครัวซึง่ อยูต่ รงข้ ามกัน ส่วนเรื อนเล็กอีก 4 หลังนันตั ้ งอยู ้ ต่ รงมุม 4 มุม ๆ ละ 1 หลัง ได้ แก่ หอนก 2 หลัง เรื อนคนใช้ และเรื อนเก็บของ เรื อนทุกหลังมีชานเรื อนเชื่อมกันโดยตลอด บริ เวณกลางชานเรื อนปลูกต้ นจันใหญ่แผ่กิ่ง ก้ านไว้ ให้ ร่มเงาอยูก่ ลางนอกชาน รอบ ๆ บริ เวณปลูกไม้ ไทย มีต้นจัน จาปี นางแย้ ม นมแมว เป็ นต้ น (เมื่อปี พ.ศ. 25102511 ยังมีกระถางไม้ ดดั และอ่างปลาเหลืออยูท่ ี่นอกชาน) คูหาหน้ าบันประดับด้ วยป้านลม และตัวเหงาหน้ าบันเป็ นแบบลูกฟั กหน้ าพรหม ฝาเรื อนเป็ นไม้ เข้ าลิ ้นแบบ ฝาปะกน พระตาหนักนี ้จะมีบนั ไดขึ ้นลง 2 บันได บันไดหน้ ามีซ้ มุ ประตูเป็ นหลังคาซุ้มเล็ก ๆ ทรงเดียว กับหลังคาเรื อน บันได อยูท่ ี่สว่ นเชื่อมต่อกันของชานระเบียงเรื อนใหญ่กบั เรื อนเล็ก แรกเริ่ มนันเรื ้ อนทุกหลังมุงหลังคาด้ วยตับจาก และ หลบสันหลังคาด้ วยกระเบื ้องดินเผา แต่ได้ เปลี่ยนเป็ นกระเบื ้องดินเผาภายหลัง โครงสร้ างทังหมดเป็ ้ นไม้ พื ้นเป็ นไม้ สกั ปูตามยาวของตัวเรื อนมีรอดรองรับ นอกจากนี ้พระตาหนักทับขวัญนี ้ยังเป็ นเรื อนไทยที่มีใต้ ถนุ สูง ใต้ ถนุ ของตัวเรื อน คนสามารถเดินลอดผ่านได้ สะดวก ส่วนใต้ ถนุ ของระเบียงและชานสามารถลอดได้ แต่ไม่สะดวกนัก
2.วังสวนผักกาด วังสวนผักกาด เดิมเป็ นสวนผักกาด เป็ นวังที่ประทับของพระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าจุมภฏพงษ์ บริ พตั ร กรมหมื่นนครสวรรค์ศกั ดิพินติ และ หม่อมราชวงศ์พนั ธุ์ทิพย์ บริ พตั ร (เทวกุล) ตังอยู ้ บ่ นพื ้นที่ 6 ไร่ บนถนนศรี อยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยสร้ างเพื่อประทับในช่วงสุดสัปดาห์ และเปิ ดให้ บคุ คลภายนอกเข้ าชมศิลปะและ โบราณวัตถุ โดยที่เจ้ าของบ้ านยังใช้ เป็ นที่พานักอยู่ ตังแต่ ้ พ.ศ. 2495 ภายหลังจากพระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ า จุมภฏพงษ์ บริ พตั ร กรมหมื่นนครสวรรค์ศกั ดิพินติ สิ ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2502 พระชายา คือ หม่อมราชวงศ์พนั ธุ์ทิพย์ บริ พตั ร ได้ มอบให้ วงั สวนผักกาดอยูใ่ นความดูแลของ มูลนิธิจมุ ภฏ-พันธุ์ทิพย์ และเปิ ดเป็ น พิพิธภัณฑ์วงั สวนผักกาด ตังแต่ ้ นนมา ั้ 17
วังสวนผักกาดมีอาคารและบ้ านหลายแห่งด้ วยกันดังนี ้ ตาหนักไทยโบราณ 6 หลังโดยตาหนักไทยโบราณทัง้ 6 หลังมีวตั ถุโบราณมากมาย อาทิ ภาพเขียน เงินตราโบราณรูปปัน้ เป็ นต้ น หลังที่ 1 2 3 และ 4 มีทางเชื่อมติดกัน ส่วน หลังที่ 5 และ 6 อยูห่ า่ งกันไปหอเขียน 1 หอ เป็ นของเจ้ านายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
3.เรือนไทยจิม ทอมป์ สัน พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์ สัน (อังกฤษ: Jim Thompson House) เป็ นพิพิธภัณฑ์ที่ ตังอยู ้ ท่ ี่บ้านเรื อนไทยของ จิม ทอมป์ สัน ริ มคลองแสนแสบ ฝั่งตรงข้ ามคลองกับชุมชนบ้ านครัว ซึง่ เป็ นชุมชนมุสลิม เป็ นชุมชนทอผ้ าแห่งหนึง่ ที่ยงั หลงเหลืออยูใ่ นพระนคร จิม ทอมป์ สันย้ ายมาอาศัยอยูท่ ี่นี่ตงแต่ ั ้ พ.ศ. 2490 จนกระทัง่ หายสาบสูญเมื่อ พ.ศ. 2510 ปั จจุบนั พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์ สัน อยูใ่ นความดูแลของมูลนิธิจิม ทอมป์ สัน จัดแสดงศิลปวัตถุของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะพระพุทธรูปยุคสมัยต่างๆ ไว้ เป็ นจานวนมาก ตัวอาคารเรื อนไทยได้ รับรางวัลอาคาร อนุรักษ์ ดเี ด่น ประจาปี พ.ศ. 2539 จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์
4.เรือนไทยจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ศูนย์สง่ เสริ มวัฒนธรรม 3 หรื อ เรื อนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรื อที่เรี ยกกันสันๆในชื ้ ่อ เรื อนไทยจุฬาฯ เป็ นชุดเรื อนไทยหมูจ่ านวน 5 หลัง ออกแบบโดย เผ่า สุวรรณศักดิศ์ รี ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปั ตยกรรม ไทย) และ รศ.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปั ตยกรรม) เริ่ มก่อสร้ างขึ ้นในปี พ.ศ. 2530 ใน โอกาสครบรอบ 70 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ มาทรง เป็ นองค์ประธานในพิธียกเสาเอกเรื อนไทยเมื่อวันที่ 7 เมษายน ใช้ เวลาก่อสร้ างแล้ วเสร็ จเพียงปี เดียว เรื อนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทังหมดก่ ้ อสร้ างขึ ้นด้ วยไม้ เต็งรัง ใช้ วธิ ีการการเข้ าไม้ ตามแบบโบราณทุก ประการ ไม่มีการใช้ การยึดด้ วยตะปู แต่ใช้ วิธียดึ ด้ วยแท่งไม้ ปั จจุบนั เนื่องจากป้องกันความเสียหาย และเพื่อต้ อ งการ รักษาสภาพเรื อนไทยให้ นานที่สดุ จึงได้ มีการเปลีย่ นไปใช้ เสา คสล. แทนการใช้ เสาไม้ ในส่วนของเรือน มีการใช้ ระบบ การวางพื ้นห้ อง 2 รูปแบบ คือ ระบบตงและคาน และระบบรอดกับรา ผังพื ้นของเรื อนไทยนี ้ มีการจัดวางบันไดทางเข้ าออกเป็ น 3 ทาง และวางอาคารให้ รวมเป็ นหมูต่ ามหลักนิยม โดยเรื อนประธานทาหลังคาแฝด หน้ าจัว่ ลายแสงอาทิตย์ ต่างจากเรื อนอื่น ๆ ซึง่ มีจวั่ ใบปรื อ จัว่ ลูกฟั กหน้ าพรหม เป็ น ต้ น ส่วนอาคารสานักงาน หรื อเทียบกับเรื อนครัว ได้ แยกออกจากเรื อนหมูอ่ อกไป เช่นเดียวกับ ศาลากลางน ้าหรื อ หอ กลาง ซึง่ เป็ นเรื อนเครื่ องสับ แต่ตกแต่งด้ วยเครื่ องลายอง หน้ าบันประดับตราพระเกี ้ยวปิ ดทอง ที่สร้ างแยกออกมาจาก เรื อนหมู่ ด้ วยจุดประสงค์ทตี่ ้ องการรับลมได้ ดีกว่า ในชันใต้ ้ ถนุ มีการขุดระดับดินเดิมลงไป เพื่อเพิ่มเนื ้อทีใ่ ช้ สอย ด้ านล่าง ซึง่ ไม่ทาลายระบบสัดส่วนเดิมของอาคาร ที่ไม่ต้องยกอาคารให้ สงู ขึ ้น จนเกิดความชะลูด
18
บทที่ 3 สถาปั ตยกรรมก่ อนสมัยรั ตนโกสินทร์ ความหมายสถาปั ตยกรรมไทย คาว่า “สถาปั ตยกรรม” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ อธิบายไว้ วา่ สถาปัตยกรรม น. ศิลปะ หรื อวิชาว่าด้ วยการก่อสร้ าง สถาปั ตยกรรมพื ้นถิ่น (Vernacular Architecture) หมายถึงรูปแบบของอาคารที่ชาวบ้ านสร้ างขึ ้นในแต่ละท้ องถิ่น และเฉพาะอาคารประเภทที่พกั อาศัย ซึง่ มีลกั ษณะแปรเปลีย่ นไปตามลักษณะของวัฒนธรรม สภาพแวดล้ อม และดินฟ้าอากาศ ที่ตา่ งกัน สถาปั ตยกรรมไทย(Thai architecture) หมายถึง การออกแบบก่อสร้ างอาคารสถานที่เพื่อเป็ นที่ประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา และเป็ นที่อยูอ่ าศัย ได้ แก่ วัด ศาลาการเปรี ยญ อุโบสถ วิหาร สถูป เจดีย์ กุฏิหอระฆัง หอไตร ปราสาทราชวัง และบ้ าน เรื องไทย ซึง่ เป็ นลักษณะประจ าชาติไทย โดยฝี มือของสถาปนิกหรื อช่างไทย ซึง่ มีเอกลักษณ์ที่สร้ างสรรค์สบื ทอดต่อเนื่องกันมา ตังแต่ ้ บรรพกาล สถาปั ตยกรรมไทยแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ สถาปัตยกรรมเปิ ด หมายถึง สิง่ ก่อสร้ างที่มนุษย์เข้ าไปอยูอ่ าศัยได้ เช่น ที่อยูอ่ าศัยซึง่ เป็ นเรื อนไทย โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรี ยญ เป็ นต้ น และสถาปั ตยกรรมปิ ด หมายถึง สิง่ ก่อสร้ างทีม่ นุษย์เข้ าไปอยู่ อาศัยไม่ได้ มุง่ เน้ นเพื่อสักการบูชา เช่น สถูป และ เจดีย์ เป็ นต้ น สถาปั ตยกรรมแบ่งตามประเภทของการใช้ สอย แบ่งออกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ 1. ที่อยูอ่ าศัย รวมทังสถาปั ้ ตยกรรมเกี่ยวกับ การออกแบบและการสร้ างอาคาร การออกแบบอาคารชนิดต่าง ๆ เช่น อาคารพักอาศัย ได้ แก่ บ้ าน หอพัก อาคารสาธารณะ โรงเรี ยน โรงพยาบาล 2. อาคารทางศาสนา รวมทังสิ ้ ง่ ก่อสร้ างเครื่ องใช้ เครื่ องสอยต่าง ๆ ที่สมั พันธ์ หรื อเกี่ยวข้ องกับาสนา อาจแยกประเภทได้ ดงั นี ้ 2.1 โบราณสถาน ส่วนมากเป็ นศาสนสถานที่เป็ นอิฐ หิน ในรูปปราสาท วิหาร วัด สถูป (พระธาตุ) 2.2.ศิลปวัตถุ เช่น ลวดลายบนส่วนประดับสถาปัตยกรรม ต่าง ๆ ได้ แก่ ปูนปั น้ สลักหิน ไม้ การตกแต่งเขียนสี เป็ นต้ น
สถาปั ตยกรรมประเพณี จาแนกตามลักษณะการใช้ ประโยชน์ ออกได้ 4 ประเภท คือ เรือนพัก อาศัย ศาสนาคาร สาธารณสถาน สิง่ ที่ทาขึ ้นชัว่ คราวตามคติความเชื่อหรื อประเพณี 1. ที่พกั อาศัย จาแนกออกได้ 4 ประเภทคือ เรื อนเครื่ องผูก เรื อนเครื่ องสับ อาคารค้ าขาย และ ราชวัง 1.1 เรื อนเครื่ องผูก เป็ นเรื อนที่ใช้ กรรมวิธีการผูกยึดโครงสร้ างส่วนใหญ่หรื อทังหมด ้ ประกอบกันเป็ นเรือน ด้ วยเชือก เถาวัลย์ หวาย ตอกไม้ ไผ่ ฯลฯ 1.2 เรื อนเครื่ องสับ เป็ นเรื อนทีใ่ ช้ กรรมวิธีการปลูกสร้ างและประกอบโครงสร้ างด้ วยการบาก เจาะ เข้ า
19
เดือย ใส่สลัก ยึดด้ วยนอต (Nut) ตะปู วัสดุที่เป็ นไม้ ผา่ นการแปรรูปให้ มีขนาด สัดส่วนตามต้ องการหลังคามุงด้ วย แป้นเกล็ดหรื อสังกะสีมีความคงทนถาวร มีความปลอดภัย เรื อนเครื่ องสับ จึงมีสภาพการใช้ ประโยชน์มากกว่าเรื อน เครื่ องผูก 1.3 อาคารค้ าขาย เป็ นอาคารกึง่ ร้ านค้ าขายของเบ็ดเตล็ดกึ่งที่อยูอ่ าศัย จาแนกโดยใช้ รูปแบบ เป็ นเกณฑ์ได้ สองประเภทคือ ตึกดิน และเรื อนไม้ 1) ตึกดิน ส่วนใหญ่จะเป็ นตึกดินผนังก่อด้ วยอิฐดินเผาโบกด้ วยดิน นิยมสร้ างชันเดี ้ ยวติด ดินหรื อมีชนลอย ั้ โครงสร้ างหลังคาทาด้ วยไม้ มุงด้ วยสังกะสีด้านหน้ าเป็ นประตูไม้ บานพับ และแยกแผ่น ตี ฝ้าเพดานด้ วยไม้ 2) เรื อนไม้ มีทงเรื ั ้ อนไม้ ชันเดี ้ ยวติดดินและเรื อนแถวไม้ สองชัน้ เรือนไม้ ชนเดี ั ้ ยวติดดิน หลังคามุงสังกะสี ด้ านหน้ าเป็ นประตูไม้ บานพับและแยกแผ่น เรื อนแถวไม้ สองชัน้ ชันบนมี ้ ระเบียง ราว ระเบียงนิยมฉลุไม้ เป็ นลวดลาย หรื อใช้ ไม้ ตี หลังคาทรงปั น้ หยาและจัว่ มุงด้ วยสังกะสี บานหน้ าต่างมีจานวน มากขึ ้นกว่าอาคารค้ าขายประเภทอื่น 1.4 พระบรมมหาราชวัง พระตาหนัก เป็ นที่ประทับหรื อเสด็จว่าราชการ 2. ศาสนาคาร ในทีนี ้จะกล่าวถึงสถาปั ตยกรรมทางพุทธศาสนา ทีส่ ร้ างอยูต่ ามวัด สามารถจาแนกประเภทออกตามหน้ าที่และ ความสาคัญของสถาปั ตยกรรมทางพุทธศาสนา ได้ แก่ เขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส เขตสาธารณะหรื อเขตปรก อย่างไรก็ตาม วัดส่วนใหญ่มีพื ้นที่ใช้ สอยคับแคบการแบ่งเขตไม่คอ่ ยเคร่งครัดยกเว้ นวัดในชุมชนเมือง 2.1. เขตพุทธาวาส หมายถึง บริ เวณประดิษฐานปูชนียวัตถุอนั เกี่ยวเนื่องด้ วยการปฏิบตั ิธรรมนิยมสร้ าง สถาปั ตยกรรมสาหรับเป็ นที่ประกอบกิจทางสังฆกรรมของสงฆ์ ได้ แก่ โบสถ์ วิหาร ศาลา หอไตรหอระฆัง หอกลอง เจดีย์บรรจุพระธาตุ เช่น พระบรมสารี ริกธาตุพระอังคารธาตุ พระสารี ริกธาตุ และพระอัฐิธาตุ 2.2 เขตสังฆาวาส หมายถึง บริ เวณซึง่ ใช้ เป็ นที่อยูอ่ าศัยของภิกษุ และสามเณร นิยมสร้ างสถาปั ตยกรรมสาหรับใช้ เป็ นที่อยูอ่ าศัยเช่น กุฏิสงฆ์ศาลาการเปรี ยญ 2.3 เขตสาธารณะหรื อเขตปรก หมายถึง เขตซึง่ อยูน่ อกเหนือไปจากเขตพุทธาวาส และสังฆาวาส สภาพการใช้ ประโยชน์แตกต่างกัน นิยมสร้ างสถาปั ตยกรรมสาหรับใช้ เป็ นที่ประกอบกิจกรรมพิธีกรรม ประเพณี ของชุมชน เช่น หอพระอุปคุต เมรุ ศาลาพักศพ อาคารพาณิชย์ ประตูโขง กาแพงวัด เป็ นต้ น 3. สาธารณสถาน เช่น ปราสาทพระวิหาร ปรางค์สามยอด ศาลากลางบ้ าน ศาลเจ้ าพ่อมเหศักดิ์ ศาลหลักเมือง 4. สิง่ ที่ทาขึ ้นชัว่ คราว ตามคติความเชื่อหรื อประเพณี เช่น พระเมรุมาศกลางท้ องสนามหลวง ปราสาทผึ ้ง
20
รู ปแบบสถาปั ตยกรรมไทย ก่อนสมัยที่จะมีการกล่าวถึงรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยที่มีเอกลักษณ์อย่างชัดเจนในราวพุทธศตวรรษที่ 18 สิง่ ก่อสร้ าง ที่มีมาก่อนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเฉพาะในเขตอีสานใต้ ราวพุทธศตวรรษที่ 15-16 (ร่วมสมัยลพบุรี) อยูใ่ นลักษณะการ ตังเมื ้ องแบบขอมที่มีการวางระบบชลประทานควบคูไ่ ปกับการวางผังเมืองและการสร้ างชุมชนแบบขอม อันเรื่ องมาจากการแผ่ ขยายอิทธิพลทางการเมืองของอาณาจักรเมืองพระนคร (ขอม) เข้ ามาทางช่องเขาพนมดงเร็ ก แทนที่อิทธิพลทางวัฒนธรรมที่ แพร่หลายมาจากเมืองสมัยทวารวดีในภาคกลาง
ปรากฏเป็ นโบราณสถานที่ถือเป็ นสัญลักษณ์อย่างหนึง่ ของภาคอีสานใน
ปั จจุบนั คือ ปราสาทหิน เช่น เมืองพิมาย มีความเกี่ยวเนื่องกับความเชื่อในลัทธิเทวราชาของขอมที่วา่ กษัตริ ย์เปรี ยบเสมือน อวตารภาคหนึง่ ของเทพเจ้ าในศาสนาฮินดู ได้ แก่ พระศิวะ พระนารายณ์ และพระพรหม และต่อมาภายหลังศาสนาสถานที่สร้ าง ขึ ้นเมื่อพุทธศาสนาเข้ ามา ศิวลึงค์ อันหมายถึงเทวราชา ก็กลับกลายเป็ นรูปปั น้ กษัตริ ย์ในลักษณะของพระพุทธรูป ที่หมายถึง “พิธีพทุ ธราชา” ทังเทวราชาและพุ ้ ทธราชา ต่างก็ถือว่า กษัตริ ย์คือพระเจ้ าบนโลกนัน่ เอง ด้ วยแรงบันดาลใจทางศาสนาดังที่ กล่าวมา เป็ นที่มาของการก่อสร้ างที่เสมือนการจาลองสวรรค์มาไว้ ยงั พื ้นโลก ทาให้ เกิดการใกล้ ชิดระหว่างสองโลก
ศิลปะสุโขทัย ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 18–19 นิยมสร้ างสถูปทรงระฆังคว่ า เช่น เจดีย์วดั ช้ างล้ อมจังหวัดสุโขทัย แต่สถาปั ตยกรรมที่ มีรูปแบบเฉพาะเป็ นเอกลักษณ์ของสุโขทัยก็คือ “สถูปทรงพุม่ ข้ าวบิณฑ์” หรื อทรงดอกบัวตูม เช่น วัดเจดีย์เจ็ดแถว และวัด มหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย เป็ นสถาปั ตยกรรมที่มีความประณีตงดงาม มีรูปทรงสูงเพรี ยว สง่างาม ส่วนปลายของสถูปพวยพุง่ สู่ เบื ้องบน เป็ นพุทธปรัชญา หมายถึง การหลุดพ้ นสูด่ ินแดนสุขาวดี
ศิลปะอยุธยา ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19–24 จากหลักฐานทางประติศาสตร์ ยืนยันได้ วา่ อยุธยาเกิดจากการรวมตัวของบ้ านเมือง ระดับแคว้ นสาคัญสองแห่ง คือ ละโว้ -ลพบุรี กับ สุพรรณบุรี เป็ นอาณาจักรอยุธยาที่เรื องอานาจเป็ นเวลาถึง 417 ปี หลักฐาน ทางด้ านศิลปะที่ปรากฏส่วนใหญ่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริ ย์จาแนกรูปแบบตามวิวฒ ั นาการได้ 3 ระยะ คือ
ระยะแรก ศิลปะอยุธยาตอนต้ น (พ.ศ. 1893-2031) เมื่อแรกตังกรุ ้ งศรี อยุธยานันนิ ้ ยมแบบเขมรของชนชันน ้ าที่เคย ใกล้ ชิดกับทางกัมพูชายังคงเข้ มข้ น เห็นได้ จากการสถาปนาพระมหาธาตุทรงปรางค์รวมทังวั ้ ดทีม่ ปี รางค์เป็ นประธาน หลายแห่ง อย่างไรก็ดี รูปแบบงานช่างจากกลุม่ เมืองสุพรรณบุรี เช่น เจดีย์แปดเหลีย่ มก็เริ่ มเข้ ามามีบทบาท และยังได้ เริ่ มพบเจดีย์ทรงระฆังที่แสดงให้ เห็นความสัมพันธ์กบั ทางสุโขทัยและพุทธศาสนาจากลังกา โบสถ์ วิหาร นิยมทาขนาด ใหญ่มีอาคารโถงสีเ่ หลีย่ ม ตัวอาคาร ผนัง เสาก่อ ด้ วยอิฐ ผนังอาคารเจาะเป็ นช่องแคบๆ คล้ ายลูกกรงเรี ยกว่า ลูกฟั ก สาหรับระบายลม และให้ แสงแดดส่องผ่านเข้ าไปได้
ระยะที่สอง 21
ศิลปะอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 2032 - 2172) ลักษณะสาคัญของศิลปะสมัยอยุธยาตอนกลาหลากหลายที่ เปลีย่ นแปลงไปตามปั จจัยทางประวัติศาสตร์ เช่น การติดต่อกับชุมชนภายนอกมากขึ ้น ได้ แก่สโุ ขทัยและล้ านนา มีผล ให้ ความนิยมในวัฒนธรรมเขมรเริ่ มที่จะจางลงไป เห็นได้ จากการสร้ างปรางค์เป็ นประธานของวัดเริ่ มลดลง ขณะที่วดั หลวงขนาดใหญ่อย่าง วัดพระศรี สรรเพชญ์ได้ เปลีย่ นมาสร้ างเจดีย์ทรงระฆังเป็ นหลักของวัดแทนที่ปรางค์ทเี่ คยมีมา ก่อนส่วนโบสถ์ วิหารลดขนาดเล็กลง ก่อผนังทึบ เจาะช่องระบายลมแคบๆ มีบานประตู 2-3 ช่อง
ระยะที่สาม ศิลปะอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2173 - 2310) เริ่ มนับจากสมัยสมเด็จพระเจ้ าปราสาททอง ปราบดาภิเษกขึ ้น เป็ นกษัตริ ย์กรุงศรี อยุธยาโดยมีภมู ิหลังจากสามัญชน จึงเกิดงานก่อสร้ างที่แสดงสัญลักษณ์ของสิทธิอนั ชอบธรรมของ พระองค์ขึ ้นมากมาย เช่น การฟื น้ ฟูระบบการสร้ างวัดหลวงที่ใช้ ปรางค์เป็ นประธานของวัด เช่น วัดไชยวัฒนาราม เพื่อ แสดงความหมายของการเป็ นศูนย์กลางจักรวาลชัดเจน ปรางค์บริ วารที่ตงอยู ั ้ ท่ งสี ั ้ ม่ มุ บนฐานไพที สร้ างขึ ้นเพื่อเน้ น ความสาคัญของปรางค์ประธาน เป็ นแบบอย่างของปรางค์สมัยอยุธยาตอนปลายได้ จากส่วนเรื อนธาตุที่เล็กลงจนไม่ สามารถเจาะคูหาหรื อใช้ พื ้นที่ภายในเรื อนธาตุได้ เป็ นแบบอย่างให้ กบั กาสร้ างปรางค์ในสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้ น ฐานอาคารมีลกั ษณะเฉพาะนิยมทาเป็ นรูปโค้ งคล้ ายท้ องเรื อ การเจาะหน้ าต่างที่ผนังอาคารตกแต่งซุ้มประตู หน้ าต่างอย่างประณีต ใช้ กระเบื ้องเคลือบมุงหลังคา นาเอาศิลปะการก่อสร้ างอาคารของยุโรปมาผสม เช่น การเจาะ หน้ าต่างโค้ งแบบศิลปะโกธิค สร้ างอาคารสองชัน้ โบสถ์ วิหารถูกสร้ า งขึ ้นตามแบบใหม่ เช่น พระนารายณ์ราชนิเวศ จังหวัดลพบุรี ตาหนักพระพุทธโฆษาจารย์ วิหารวัดตึก วิหารวัดเจ้ าย่า จังหวัดพระนครศรี อยุธยา
22
บทที่4 สถาปั ตยกรรมไทยร่ วมสมัย งานสถาปั ตยกรรมไทยเป็ นงานทีม่ ีขอบเขตค่อนข้ างกว้ างขวาง ประเภทของอาคารนัน้ มิได้ หมายความถึงแต่เพียง อาคารทางศาสนาหรื ออาคารอันเกี่ยวเนื่องกับสถาบันพระมหากษัตริ ย์เท่านัน้
แต่ยงั กินความถึงอาคารบ้ านเรื อน
อาคาร
พาณิชย์ และอาคารสาธารณะอืน่ ๆด้ วย โดยเฉพาะอย่างยิง่ อาคารพาณิชย์และอาคารสาธารณะนันมั ้ กมีรูปแบบที่ตา่ งออกไป จากอาคารทังสองประเภทแรก ้ เนื่องจากเป็ นอาคารที่มีความเกี่ยวข้ องกับวิถีชีวติ ความเป็ นอยูโ่ ดยปกติทวั่ ไป มิได้ มีการผูกโยง กับคติความเชื่อเป็ นหลัก จึงเห็นได้ ถึงลักษณะการปรับเปลีย่ นรูปแบบทางสถาปั ตยกรรมและการใช้ สอยไปตามสภาพเศรษฐกิจ และสังคมอย่างเห็นได้ ชดั
โดยอาคารบางหลังถูกปรับเปลีย่ นประโยชน์ใช้ สอยไปภายใต้ รูปลักษณ์เดิมเพื่อสนองตอบความ
ต้ องการใช้ สอยใหม่ๆ และอาคารบางหลังที่แม้ จะได้ รับการสร้ างสรรค์ขึ ้นใหม่ทงหมด ั้ แต่ก็ยงั คงจับเค้ าเดิมมาเป็ นฐานในการคิด การออกแบบ ซึง่ อาจมีระดับของการคลีค่ ลายในด้ านรูปแบบมากน้ อยแตกต่างกันไป ดังที่นกั วิชาการเรี ยกกันว่าสถาปั ตยกรรม ไทยประยุกต์และสถาปั ตยกรรมไทยร่วมสมัย โดยในที่นี ้ขอเรี ยกอาคารในลักษณะดังกล่าวว่าเป็ นงาน “ สถาปั ตยกรรมไทยร่วม สมัย ” กล่าวคือ เป็ นงานที่มีการปรับเปลีย่ นรูปแบบหรื อการใช้ สอยอย่างใดอย่างหนึง่ หรื อทังสองอย่ ้ างเพือ่ ให้ สอดรับกับ สภาพการณ์ปัจจุบนั งานสถาปั ตยกรรมไทยในลักษณะไทยร่วมสมัยนี ้ถือเป็ นงานสถาปั ตยกรรมไทยประเภทหนึง่ ที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยูห่ วั ทรงมีพระอัจฉริ ยภาพในแง่มมุ ต่างๆทังในด้ ้ านการออกแบบและนัยความหมายอื่นๆที่สถาปั ตยกรรมไทยร่วมสมัย สามารถทาหน้ าที่นอกเหนือไปจากการใช้ สอยปกติทวั่ ไปได้ โดยทรงมีพระบรมราชวินจิ ฉัยในงานและพระราชทานแนวทางแก่ สถาปนิกที่ถวายงาน ซึง่ ในที่นี ้ขอยกตัวอย่างงานที่สามารถสืบค้ นข้ อมูลได้ ในขอบเขตเวลาที่มีอยูแ่ ต่เพียงสองแห่งเป็ นปฐม คือ “ อุทยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี ” และ “ หอสมุดดนตรีเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ” งานทังสองชิ ้ ้นนี ้มีที่มาที่ไปต่างกัน แต่แสดงให้ เห็นถึงสายพระเนตรอันกว้ างไกลในการสร้ างสรรค์งาน สถาปั ตยกรรมไทยร่วมสมัยได้ อย่างเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบนั
ทังประโยชน์ ้ ใช้ สอย
รูปแบบทาง
สถาปั ตยกรรม และปั จจัยเกี่ยวข้ องอื่นๆ
สถาปั ตยกรรมไทยยุคสุโขทัย สถาปั ตยกรรมไทยสมัยสุโขทัย ได้ แก่ สถาปั ตยกรรมไทยที่สร้ างขึ ้นในอาณาจักรสุโขทัยเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 – 20 เฉพาะสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา ได้ แก่ โบสถ์ วิหาร สถูป และเจดีย์ สาหรับ “เจดีย์” ในสมัยสุโขทัยนันได้ ้ รับอิทธิพลศิลปะแบบต่าง ๆ จนเกิดเป็ นลักษณะเฉพาะของสุโขทัย ซึง่ มีความ งดงามและโดดเด่นที่สดุ
23
วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย เจดีย์ทรงดอกบัวตูม หรื อทรงพุม่ ข้ าวบิณฑ์ มักสร้ างฐานสีเ่ หลีย่ มซ้ อนกันสามชัน้ องค์เจดีย์เป็ นเหลีย่ มย่อมุม ยอดเป็ น ทรงพุม่ ข้ าวบิณฑ์หรื อดอกบัวตูม การก่อสร้ างใช้ ศิลาแลงเป็ นแกน ฉาบปูน เจดีย์ทรงพุม่ ข้ าวบิณฑ์นี ้ถือเป็ นเจดีย์ของสุโขทัยแท้ ๆ ปรากกฎอยูต่ ามวัดสาคัญต่าง ๆ เช่น เจดีย์ทรงพุม่ ข้ าวบิณฑ์วดั มหาธาตุ เมืองเก่าสุโขทัย อาเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เจดีย์ทรงพุม่ ข้ าวบิณฑ์เจดีย์เจ็ดแถว เมืองศรี สชั นาลัย อาเภอศรี สชั นาลัย จังหวัดสุโขทัย เป็ นต้ น
วัดช้ างล้ อม จังหวัดสุโขทัย เจดีย์ทรงกลมแบบลังกา เป็ นเจดีย์ที่รับรูปแบบมาจากลังกา เจดีย์แบบนี ้ทีฐานสีเ่ หลีย่ มยกสูง บางทีประดับฐานด้ วย รูปช้ าง เช่นเจดีย์วดั ช้ างรอบ อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร เจดีย์วดั ช้ างล้ อม เมืองศรี สชั นาลัย อาเภอศรี สชั นาลัย จังหวัดสุโขทัย เจดีย์แบบนี ้เหนือองค์ระฆังทรงกลมขึ ้นไปเป็ นบัลลังก์ยอดกลมเรียว เป็ นเจดีย์ที่สร้ างกันแพร่หลายในสมัยสุโขทัย แบบหนึง่
เนินปราสาท ทางทิศตะวันออกติดกันกับวัดมหาธาตุ มีโบราณสถานแห่งหนึง่ ซึง่ เรี ยกในปั จจุบนั ว่าเนินปราสาท พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงสันนิษฐานว่าบริเวณนี ้เคยเป็ นฐานปราสาทราชวังของกษัตริย์เมืองสุโขทัย กรมศิลปากรได้ ขดุ แต่งโบราณสถาน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ พบฐานอาคารแบบฐานบัวควา่ บัวหงาย ลักษณะเป็ นฐานสูงรูป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าขนาดใหญ่ ขนาด ๒๗.๕๐ x ๕๑.๕๐ เมตรมีบนั ไดที่ด้านหน้ าและด้ านหลังอย่างละหนึง่ แห่ง อย่างไรก็ตาม ในการขุดค้ นทางโบราณคดีไม่พบหลักฐานทีพ่ อจะชี ้ได้ วา่ สถานที่นี ้เป็ นปราสาทราชวัง อีกทังแผนที ้ ่เก่าทา ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ก็บง่ บอกว่า เป็ นบริ เวณเดียวกันกับวัดมหาธาตุ คือเป็ นสิง่ ก่อสร้ างเนื่องในทางศาสนาในวัด มากกว่าจะเป็ น วัง แต่เดิมวังกษัตริ ย์สโุ ขทัยควรเป็ นตาหนักไม้ ตาแหน่งที่ตงควรอยู ั้ เ่ หนือศาลตาผาแดงติดกับวัดสรศักดิ์ทางทิศตะวันตก ซึง่ ศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ กล่าวว่าเป็ นตาหนัก ของเจ้ านายสุโขทัย เมื่อตอนกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ซึง่ ตาแหน่งทีต่ งเช่ ั ้ นนี ้จะตรงกัน กับตาแหน่งของพระราชวังกษัตริย์เขมรโบราณทีเ่ มืองพระนครหลวง หรื อนครธม
วัดศรีสวาย ตังอยู ้ ท่ างใต้ ของวัดมหาธาตุหา่ งออกไปประมาณ ๓๕๐ เมตร โบราณสถานสาคัญ ตังอยู ้ ใ่ นกาแพงแก้ วนันประกอบไป ้ ด้ วยปรางค์ ๓ องค์ ทีม่ ีรูปแบบศิลปะลพบุรี แต่ลกั ษณะของปรางค์คอ่ นข้ างเพรี ยวตังอยู ้ บ่ นฐานเตี ้ย ๆ มีลวดลายปูนปั น้ บางส่วน เหมือนลายบนเครื่ องถ้ วยจีนสมัยราชวงศ์หยวน ได้ พบทับหลังสลักเป็ นรูปนารายณ์บรรทมสินธุ์ ชิ ้นส่วนของเทวรูป และศิวลึงค์ อันเป็ นเครื่ องแสดงให้ เห็นว่าวัดศรี สวาย เคยเป็ นเทวสถานในศาสนาฮินดูมาก่อนแล้ วแปลงเป็ นพุทธสถานโดย ต่อเติมวิหารขึ ้น ที่ด้านหน้ า เป็ นวัดในพุทธศาสนาในภายหลัง 24
วัดตระพังเงิน ตังอยู ้ ท่ างตะวันตกของวัดมหาธาตุ มีระยะห่างประมาณ ๓๐๐ เมตร โบราณสถานแห่งนี ้ไม่มีกาแพงแก้ ว ประกอบด้ วยเจดีย์ประธาน วิหาร และโบสถ์กลางน ้า โบราณสถานของวัดนี ้มีเจดีย์ทรงดอกบัวตูมเป็ นประธาน โดยมีวิหารประกอบอยูด่ ้ านหน้ า ลักษณะที่เด่นของเจดีย์ทรง ดอกบัวตูมของวัดนี ้ คือมีจระนาที่เรื อนธาตุทงสี ั ้ ด่ ้ านสาหรับประดิษฐานพระพุทธรูปยืนและลีลา ซึง่ แตกต่างไปจากเจดีย์ทรง ดอกบัวตูมในที่อื่น ๆ ด้ านตะวันออกของเจดีย์ เป็ นเกาะมีโบสถ์ตงอยู ั ้ ก่ ลางน ้าตามคตินทีสมี าเช่นเดียวกับวัดสระศรี โบสถ์นี ้ตังอยู ้ ใ่ นสระน ้าที่มี ชื่อว่า ตระพังเงิน
วัดศรีชุม อยูน่ อกกาแพงเมืองตรงมุมตะวันตกเฉียงเหนือพอดี สิง่ สาคัญทีป่ รากฏอยูโ่ ดดเด่น ได้ แก่ อาคารที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปนัง่ ขนาดใหญ่เต็มพื ้นที่ภายในอาคาร มีขนาดหน้ าตักกว้ างประมาณ ๑๑.๓๐ เมตร เชื่อกันว่าชื่อพระพุทธรูปเรี ยก ตามที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ว่า พระอจนะ มีความหมายว่า ผู้ไม่หวัน่ ไหว สร้ างเป็ นพระพุทธรูปปางมารวิชยั องค์ทเี่ ห็นใน ปั จจุบนั นี ้ได้ บรู ณะปฏิสงั ขรณ์ใหม่ราว พ.ศ. ๒๔๙๖-๒๔๙๙ คาว่า ศรี มาจากคาเรี ยกพื ้นเมืองเดิมของไทยว่า สะหลี ซึง่ หมายถึงต้ นโพธิ์ ดังนันชื ้ ่อศรีชมุ จึงหมายถึงดงของต้ นโพธิ์ แต่ในหนังสือพระราชพงศาวดารกรุงศรี อยุธยาทีเ่ ขียนในสมัยอยุธยาตอนปลาย ไม่เข้ าใจความหมายนี ้แล้ ว จึงเรี ยกสถานที่นี ้ว่า ฤๅษีชมุ ว่าเป็ นสถานที่ที่พระนเรศวรมาประชุมทัพกันอยูท่ ี่นนก่ ั ้ อนที่จะยกทัพไปปราบเมืองสวรรคโลก อันเป็ นต้ นตอของตานาน เรื่ องพระ (อจนะ) พูดได้ ทเี่ ล่าขานกันต่อมา วัดศรีชมุ ยังมีความสาคัญต่อประวัติศาสตร์ สโุ ขทัยอีก ในช่องผนังของมณฑปได้ ค้นพบศิลาจารึกหลักที่ ๒ เรี ยกว่า จารึกวัดศรีชมุ
ที่เล่าเรื่ องราวของการก่อตังราชวงศ์ ้ สโุ ขทัยของคนไทยกลุม่ หนึง่
และที่เพดานของช่องผนังดังกล่าวมีภาพ
จิตรกรรมลายเส้ นเป็ นภาพเล่าเรื่ องพระพุทธเจ้ าในชาติตา่ ง ๆ ที่เรียกว่า ชาดก บางภาพมีลกั ษณะทางศิลปกรรมคล้ ายกับศิลปะ ลังกา โดยมีอกั ษรสมัยสุโขทัยกากับบอกเรื่ องชาดกไว้ ที่ภาพแต่ละภาพด้ วย
25
วัดตระพังทองหลาง อยูร่ ิ มถนนจรดวิถีถ่อง หากเดินทางมาจากจังหวัดสุโขทัยวัดตระพังทองหลางจะตังอยู ้ ร่ ิมซ้ ายมือ จุดสังเกตง่าย ๆ ก็คือ มีซ้ มุ ประตูประดับกระจกทางเข้ าวัดตระพังทองหลางซึง่ เป็ นวัดสมัยปั จจุบนั วัดนี ้ไม่ปรากฏหลักฐานเอกสารว่าสร้ างในสมัยใด เป็ นวัดขนาดกลาง โบราณสถานหลักก็มมี ณฑปประกอบวิหารที่ งดงามแห่งหนึง่ ของสุโขทัย เจดีย์ราย มีคนู ้าล้ อมรอบ และโบสถ์อยูท่ างตะวันออก วัดนี ้ไม่มีเจดีย์ประธาน แต่ใช้ มณฑปทาหน้ าที่ เหมือนเป็ นเจดีย์ประธาน อันเป็ นลักษณะเฉพาะแบบหนึง่ ของการสร้ างวัดที่สโุ ขทัย มณฑปก่อด้ วยอิฐ เป็ นอาคารในผังรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัส ภายในมณฑปประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ่เต็มพื ้นที่ แต่ ปั จจุบนั ชารุดหมดแล้ ว มณฑปด้ านทิศตะวันออกเป็ นซุ้มประตู อีกสามด้ านเป็ นผนังที่ประดับด้ วยปูนปั น้ เป็ นเรื่ องตามพุทธ ประวัติที่ชารุดเกือบหมดแล้ ว แต่จากหลักฐานที่บนั ทึกเป็ นภาพถ่ายเก่าทาให้ ทราบเรื่ องราวได้ วา่ ผนังด้ านเหนือเป็ นภาพตอนพระพุทธเจ้ าทรงทรมานช้ างนาฬาคีรี โดยปั น้ รูปพระพุทธองค์ประทับยืนเคียงข้ างด้ วยอัคร สาวกคือ พระอานนท์ ที่ปลายพระบาทของพระพุทธเจ้ ามีร่องรอยให้ ทราบว่าเป็ นหัวเข่าช้ าง ซึง่ คุกเข่ายอมแพ้ พระพุทธเจ้ า ผนังด้ านใต้ เป็ นภาพตอนพระพุทธเจ้ าเสด็จลงจากสวรรคชันดาวดึ ้ งส์ ภายหลังเสด็จขึ ้นไปโปรดพระพุทธมารดา ปั น้ รูป พระพุทธเจ้ าในท่าลีลา มีพระอินทร์ กบั พระพรหม และเหล่าทวยเทพตามเสด็จมาส่ง ได้ มีการถอดพิมพ์ภาพปูนปั น้ นี ้ขณะที่อยูใ่ น สภาพสมบูรณ์กว่า จัดแสดงอยูใ่ นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคาแหง ผนังด้ านตะวันตกเป็ นภาพตอนพระพุทธเจ้ าโปรดเทศนาสัง่ สอนพวกศากยวงศ์ที่เมืองกบิลพัสดุ์ ขณะทรงสัง่ สอนทรง แสดงยมกปาฏิหาริย์ เป็ นรูปรัศมีเปลวไฟล้ อมรอบพระพุทธองค์ และมีรูปบรรดาพระญาติแวดล้ อมอยูภ่ ายนอกรูปรัศมีนนั ้ บรรดาภาพปูนปั น้ เหล่านี ้แสดงถึงลักษณะศิลปะสุโขทัยที่เจริ ญสูงสุด หรื อที่เรี ยกว่ายุคทองของศิลปะสุโขทัย ซึง่ อายุ อยูใ่ นราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐
สถาปั ตยกรรมไทยยุคอยุธยา ศิลปะอยุธยาสร้ างข้ นในอาณาจักรอยุธยาในระยะเวลา 417 ปี ซงึ่ มีศิลปกรรมแขนงต่างๆเกิดขึ ้นมาก ล้ วนมีรูปแบบ เนื ้อหาที่คล้ ายคลึงกันและมีวิวฒ ั นาการเปลีย่ นไปตามสภาพบ้ านเมือง
1.สถาปั ตยกรรม แบ่งได้ เป็ น 3 ยุค คือ ศิลปะอยุธยาตอนต้ น สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1ทรงสถาปนากรุงศรี อยุธยาเมื่อ พ.ศ. 1893 จนถึงสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถใน พ.ศ.2031 ลักษณะสถาปั ตยกรรมเป็ นแบบศิลปะลพบุรี หรื อศิลปะเขมร กับศิลปะอูท่ องนิยมสร้ างปรางค์เป็ นประธานของวัด โดยมีลกั ษณะปรางค์เลียนแบบเขมรแต่สงู ชะลูดกว่าเช่น ปรางค์ ประธานวัดพุทไธสวรรย์ ปรางค์ประธานวัดมหาธาตุ ศิลปะอยุธยาตอนกลางสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลกในพ.ศ. 2006 จนถึงสมัย สมเด็จพระเจ้ าปราสาททองในพ.ศ. 2172 สถาปัตยกรรมได้ รับอิทธิผลมาจากศิลปะสุโขทัยนิยมเจดีย์ทรงลังกาแบบ สุโขทัยแทนปรางค์แบบเขมร เช่น พระมหาสถูปสามองค์วดั พระศรี สรรเพชญ์ พระเจดีย์วดั ใหญ่ชยั มงคล จังหวัด พระนครศรี อยุธยา
26
ศิลปะอยุธยาตอนปลายสมัยสมเด็จพระเจ้ าปราสาททอง พ.ศ. 2172 จนสิ ้นสมัยอยุธยาใน พ.ศ. 2310เป็ นช่วงเวลาที่ ศิลปะเขมรเข้ ามามีอิทธิพลอีกครัง้ เช่น ปรางค์ประธานวัดไชยวัฒนารามปราสาทพระนครหลวง นอกจากนี ้ยังนิยม สร้ างพระเจดีย์ยอ่ มุมไม้ สบิ สองเป็ นลักษณะเฉพาะของสถาปั ตยกรรมอยุธยา สมัยพระเจ้ าอยูห่ วั บรมโกศ (พ.ศ. 2275-2301) เป็ นช่วงการบูรณปฏิสงั ขรณ์ และนิยมสร้ างพระเจดีย์ยอ่ มุมไม้ สบิ สอง เช่นการบูรณปฏิสงั ขรณ์พระมหาเจดีย์วดั ภูเขาทอง สถาปั ตยกรรมแบบอื่นๆ คือ โบสถ์ วิหารสมัยอยุธยาตอนต้ นนิยมทาขนาดใหญ่มากเป็ นโถงสีเ่ หลีย่ ม ก่อด้ วยอิฐผนัง อาคารเจาะเป็ นช่องแคบๆเรี ยกว่า ลูกฟั ก เพื่อระบายลมและมีแสงส่องผ่าน ยังไม่มีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพอ ถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง อาคารมีขนาดเล็กลง ก่อผนังทึบ อาคารสมัยอยุธยาตอนปลายฐานอาคารนิยมทาเป็ นรูปโค้ งคล้ ายท้ องเรื อ มีการเจาะหน้ าต่างที่ผนังตกแต่งซุ้มประตู หน้ าต่างประณีต ใช้ กระเบื ้องเคลือบมุงหลังคามีการนาเอาศิลปะการก่อสร้ างอาคารของยุโรปเข้ ามาผสม เกิดการ สร้ างอาคาร 2 ชัน้ โบสถ์ วิหาร เช่นตาหนักพระพุทธโฆษาจารย์ วิหารวัดตึก วิหารวัดเจ้ าย่า จังหวัดพระนครศรี อยุธยา สถาปั ตยกรรมที่เกี่ยวข้ องกับพระมหากษัตริ ย์ ได้ แก่ พระราชวังและพระตาหนักต่างๆของอยุธยาถูกทาลายไปมากจน ยากทีจ่ ะหารูปแบบที่แท้ จริ งได้ มีเพียงรากฐานเท่านัน้ ที่พอมีเค้ าโครงให้ เห็นอยูบ่ ้ าง เป็ นพระที่นงั่ อยูน่ อกกรุงศรี อยุธยาเช่นพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี ตาหนักพระนครหลวงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตาหนักธาร เกษม จังหวัดสระบุรี สถาปั ตยกรรมที่เกี่ยวกับการปกครองบ้ านเมือง มีปอ้ มปราการและกาแพงเมืองต่อมามีประตูเมืองพัฒนาขึ ้นภายหลัง มีการติดต่อค้ าขายกับชาวตะวันตก นอกจากนี ้ยังมีสถาปัตยกรรมที่อยูอ่ าศัยของประชาชน เรี ยกว่า เรื อนไทยนิยมสร้ างเป็ นเรื อนชันเดี ้ ยว ยกพื ้นสูงใต้ ถนุ โปร่งมี 2 ลักษณะ คือ เรื อนเครื่ องผูกปลูกด้ วยไม้ ไผ่ ใช้ เส้ นหวายและตอกเป็ นเครื่ องผูกรัด เป็ นที่อยูข่ องชาวบ้ าน ทัว่ ไป และเรื อนเครื่ องสับ ปลูกด้ วยไม้ อาศัยวิธีเข้ าปากไม้ โดยบากเป็ นร่องในตัวไม้ แต่ละตัว แล้ วนามาสับประกบกัน เป็ นที่อยูข่ องผู้มฐี านะดี
2.ประติมากรรม ส่วนมากสร้ างเนื่องในพระพุทธศาสนาพระพุทธรูปหล่อด้ วยสาริ ด อาจทาด้ วยวัสดุอื่น เช่นสกัดจากศิลา ทาด้ วยไม้ ปูน ปั น้ ดินเผาและทองคาพระประธานในโบสถ์วิหารเป็ นพระปูนปั น้ หรื อสาริ ดขนาดใหญ่โตคับโบสถ์สมัยอยุธยาตอน ปลายนิยมสร้ างพระพุทธรูปทรงเครื่ องกันมาก นอกจากนี ้ยังมีการสร้ างพระพิมพ์ทาเป็ นพระพุทธรูปองค์เล็กๆบนแผ่นเดียวกันเรี ยกว่า พระแผง หรื อพระกาแพงห้ า ร้ อย มักนิยมทาพระพิมพ์เป็ นพระพุทธรูปทรงเครื่ องประทับอยูภ่ ายในเรื อนแก้ ว
3.จิตรกรรม อยุธยาเหลืออยูน่ ้ อยมากส่วนใหญ่เป็ นเรื่ องพระพุทธศาสนา ตอนต้ นนิยมเขียนลงบนผนังคูหาปรางค์และคูหาเจดีย์ไม่ มีการเขียนบนผนังโบสถ์ วิหาร วิธีเขียนเป็ นการเขียนบนปูนเปี ยก
27
ปลายพุทธศตวรรษที่ 21 เป็ นต้ นมามีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังบนผนังโบสถ์และวิหารเรื่ องราวที่เขียนมักเป็ น ภาพพุทธประวัติ ชาดกเครื่ องประดับของภาพจะเขียนอย่างวิจิตรบรรจงมาก เช่นฝาผนังวัดใหญ่สวุ รรณารามวัดแก้ ว เก้ าสุทธาราม จังหวัดเพชรบุรี วัดใหม่ประชุมพล ตาหนักพระพุทธโฆษาจารย์
4.ประณีตศิลป์ ในสมัยอยุธยามีหลายประเภทที่เหลืออยูเ่ ป็ นพวกเครื่ องไม้ จาหลัก การเขียนลายรดน ้า เครื่ องเงิน เครื่ องทองเครื่ องถม และการประดับมุก ส่วนใหญ่สร้ างขึ ้นปลายสมัยอยุธยาเช่นเครื่ องใช้ เครื่ องประดับ และวัตถุทางศาสนาทาด้ วยทอง เป็ นผลงายสมัยอยุธยาตอนต้ นพบในกรุพระปรางค์ วัดราชบูรณะ และประตูจาหลักไม้ วัดพระศรี สรรเพชญ์เป็ น ผลงานสมัยอยุธยาตอนกลาง
5. นาฏศิลป์ มีการแสดงเป็ นเรื่ องราว เช่น หนังใหญ่ โขนละครชาตรี ละครนอก ละครใน และการเชิดหุน่ ใช้ ในงานพระราชพีธีและ งานสาคัญของบ้ านเมือง สามัญชนทัว่ ไปนิยมการเล่นละครชาตรีมีการประสมวง 3 ลักษณะ ได้ แก่ วงมโหรี วงปี่ พาทย์ และวงเครื่ องสาย
6.วรรณกรรม ลักษณะวรรณกรรมค่อนข้ างหลากหลายในเนื ้อหามีลกั ษณะสาคัญร่วมกันประการหนึง่ คือผู้แต่งวรรณกรรมเป็ นชน ชันสู ้ งและมีความสัมพันธ์กบั ราชสานักสมัยอยุธยาตอนต้ น วรรณกรรมสาคัญคือ ลิลติ โองการแช่งน ้าแต่งขึ ้นเพื่อใช้ ใน พระราชพีธีถือน ้าพิพฒ ั น์สตั ยา สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมี มหาชาติคาหลวง แต่งขึ ้นเพื่อความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ลิลติ ยวนพ่ายเพื่อ สดุดีและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในการทาสงครามชนะล้ านนาลิลติ พระลอ เป็ นวรรณกรรมเพื่อ ความบันเทิงและความงามในวรรณศิลป์ โคลงกาสรวลและโคลงทวาทศมาศ เป็ นวรรณกรรมประเภทนิราศ สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมุทรโฆษคาฉันท์แต่งขึ ้นเพือ่ ใช้ เล่นหนังในงานฉลองพระชนมายุครบ 25 พรรษา ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ รับยกย่องว่าเป็ นยอดของวรรณกรรมประเภทฉันท์ นอกจากนี ้ยังมีจินดามณีเป็ น แบบเรี ยนภาษาไทยเล่มแรกที่พระโหราธิบดีแต่งขึ ้นในพ.ศ. 2215และพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริ ฐ อักษรนิติ์ รวบรวมขึ ้นใน พ.ศ. 2223 สมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระเจ้ าอยูห่ วั บรมโกศ)วรรณคดีสว่ นใหญ่เป็ นประเภทร้ อยกรอง ทังโคลง ้ ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่าย สมัยธนบุรี (พ.ศ. 2310-2325) เป็ นช่วงเวลาสันเพี ้ ยง 15 ปี เท่านันศิ ้ ลปกรรมที่สร้ างขึ ้นคงเป็ นไปตามแบบอย่างของ อยุธยา จึงผนวกรวมเข้ าไว้ ในศิลปะอยุธยา
28
สถาปั ตยกรรมสมัยธนบุรี ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้ ากรุงธนบุรี เป็ นยุคของการสร้ างบ้ านแปลงเมือง จึงมีการก่อสร้ างเป็ นจานวนมาก อาทิ พระราชวัง ป้อมปราการ กาแพงพระนคร พระอาราม ต่างๆ ลักษณะสถาปั ตยกรรมสมัยนี ้ ล้ วนสืบทอดมาจากสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนปลาย ฐานอาคารจะมีลกั ษณะอ่อนโค้ งดุจรูปเรื อสาเภา ทรงอาคารจะสอบชลูดขึ ้นทางเบื ้องบน ส่วนประกอบอื่นๆ ของอาคารก็ไม่แตกต่างจากอยุธยามากนัก เป็ นที่นา่ เสียดายว่าสถาปั ตยกรรมสมัยธนบุรีมกั ได้ รับการบูรณะ ซ่อมแซมในสมัย หลังหลายครัง้ ด้ วยกัน ลักษณะในปั จจุบนั จึงเป็ นแบบสถาปั ตยกรรมในรัชกาลที่บรู ณะครัง้ หลังสุด เท่าที่ยงั ปรากฏเค้ าเดิมใน ปั จจุบนั ได้ แก่ ป้อมวิชยั ประสิทธิ์ กาแพงพระราชวังเดิม พระตาหนักท้ องพระโรงและพระตาหนักเก๋งคูใ่ นพระราชวังเดิม พระ อารามทังในพระนครและหั ้ วเมืองที่ได้ รับการบูรณะปฏิสงั ขรณ์ในรัชกาลนี ้ ล้ วนแต่ได้ รับการบูรณะใหม่ในรัชกาลต่อมาเช่นกัน ที่ ยังแสดงลักษณะศิลปกรรมสมัยกรุงธนบุรีได้ แก่ พระอุโบสถและพระวิหารน้ อย วัดอรุณราชวราราม พระอุโบสถและพระวิหาร เดิมวัดราชคฤห์ พระอุโบสถเดิมวัดอินทาราม ตาหนักแดงวัดระฆังโฆสิตาราม และพระอุโบสถวัดหงส์รัตนาราม
ป้ อมวิไชยประสิทธิ์ ป้อมวิไชยประสิทธิ์ : เป็ นป้อมสาคัญทีใ่ ช้ ปอ้ งกันข้ าศึกตามริมแม่น ้าเจ้ าพระยา ตังอยู ้ บ่ นฝั่งแม่น ้าเจ้ าพระยาด้ าน ตะวันตก ทางเหนือของปากคลองบางหลวง (คลองบางกอกใหญ่) โดยมีปอ้ มคูก่ นั อยูฝ่ ั่งตรงข้ ามแม่น ้าเจ้ าพระยาด้ านทิศ ตะวันออก บริ เวณที่ตงของโรงเรี ั้ ยนราชินใี นปั จจุบนั แต่ได้ รือ้ ออกไปแล้ วในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา โดย ป้อมวิไชยประสิทธิ์ สร้ างขึ ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เดิมชื่อ ป้อมบางกอก หรื อ ป้อมวิไชยเยนทร์ ตังตามชื ้ ่อของเจ้ าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ชาวกรี กที่เป็ นผู้กราบบังคมทูลให้ สร้ างป้อมแห่งนี ้ เพื่อป้องกันเรื อรบของฮอลันดา ต่อมาเมื่อสมเด็จ พระเจ้ าตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็ นราชธานี ได้ ทรงสร้ างพระราชวังขึ ้นบริ เวณป้อมนี ้ พร้ อมกับปรับปรุงป้อม พระราชทานนามว่า “ป้อมวิไชยประสิทธ์ ” ป้อมวิไชยประสิทธิ์ มีสถาปัตยกรรมเป็ นป้อมก่ออิฐฉาบปูน มีกาแพงรูปแปดเหลีย่ ม 2 ชัน้ สร้ างขนานกัน กาแพงชันใน ้ มีหอคอยกลมทรงสอบสองหลัง ตังอยู ้ บ่ นกาแพงตรงมุมด้ านทิศเหนือและทิศใต้ ปั จจุบนั ป้อมวิไชยประสิทธิ์ อยูใ่ นความดูแล ของกองทัพเรื อไทย ใช้ เป็ นที่ยงิ สลุตในพระราชพิธีสาคัญต่าง ๆ และมีการติดตังเสาธงบริ ้ เวณทางเข้ าป้อมทางทิศตะวันตกตรง กาแพงชันใน ้ เพื่อชักธงราชนาวีและธงผู้บญ ั ชาการทหารเรื อ
29
ศาลสมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราช ศาลสมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราช ตังอยู ้ บ่ นถนนจรดวิถีถ่อง ศาลนี ้แต่เดิมอยูท่ ี่วดั ดอยเขาแก้ วฝั่งตรงข้ ามกับตัวเมือง ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๙๐ ชาวเมืองเห็นว่าศาลนันไม่ ้ สมพระเกียรติ จึงช่วยกันสร้ างศาลขึ ้นใหม่พร้ อมกับให้ กรมศิลปากรหล่อพระ บรมรูปสมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราชขนาดใหญ่กว่าพระองค์จริ งเล็กน้ อย ในพระอิริยาบถทีก่ าลังประทับอยูบ่ นราชอาสน์ มี พระแสงดาบพาดอยูท่ ี่พระเพลา ที่ฐานพระบรมรูปมีคาจารึกว่า “พระเจ้ าตากสินกรุงธนบุรี ทรงพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. ๒๒๗๗ สวรรคต พ.ศ. ๒๓๒๕ รวม ๔๘ พรรษา” ศาลนี ้เป็ นที่เคารพสักการะของประชาชนทัว่ ไป สมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราช หรื อ พระเจ้ ากรุงธนบุรี มีพระนามเดิมว่า สิน (ชื่อจีนเรี ยกว่า เซิ ้นเซิ ้นซิน) เป็ นบุตรของ ขุนพัฒน์ และ นางนกเอี ้ยง เกิดเมือ่ วันอาทิตย์ มีนาคม พ.ศ. 2277 ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั บรมโกศแห่งกรุงศรี อยุธยา ต่อมาเจ้ าพระยาจักรี ผ้ มู ตี าแหน่งสมุหนายกเห็นบุคลิกลักษณะ
จึงขอไปเลี ้ยงไว้ เหมือนบุตรบุญธรรม
ตังแต่ ้ ครัง้ ยัง
เยาว์วยั ได้ รับการศึกษาขันต้ ้ นจากสานักวัดโกษาวาส (วัดคลัง) และ บรรพชาเป็ นสามเณร เมื่ออายุ 13 ขวบ ทีว่ ดั สามพิหาร หลังจากสึกออกมาแล้ วได้ เข้ ารับราชการเป็ นมหาดเล็ก และ อุปสมบทเป็ นพระภิกษุ เมื่ออายุครบ 21 ปี ตามขนบประเพณี 3 พรรษา หลังจากสึกออกมาได้ เข้ ารับราชการ ต่อ ณ. กรมมหาดไทยที่ศาลหลวงในกรมวัง ต่อมาในแผ่นดินพระเจ้ าอยูห่ วั พระที่นงั่ สุริยาศน์อมริ นทร์ (พระเจ้ าเอกทัศน์) จึงได้ รับบรรดาศักดิเ์ ป็ นหลวงยกกระบัตรเมืองตากจนได้ เป็ นพระยาตาก ในเวลาต่อมา หลังจากนันได้ ้ ถกู เรียกตัวเข้ ามาในกรุงศรี อยุธยา เพื่อแต่งตังไปเป็ ้ น พระยาวชิรปราการ เจ้ าเมืองกาแพงเพชรแทนเจ้ าเมืองคน เก่าทีถ่ ึงแก่อนิจกรรมลงใน พ.ศ. 2310 ครัน้ เจริ ญวัยวัฒนา ก็ได้ ไปถวายตัวทาราชการกับสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั มีความดี ความชอบจนได้ รับเลือ่ นหน้ าที่ราชการไปเป็ นผู้ปกครองหัวหน้ าฝ่ ายเหนือคือ เมืองตาก และเรี ยกติดปากมาว่า พระยาตาก สิน สมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราชครองราชย์สมบัติกรุงธนบุรีได้ 15 ปี เศษ ก็สิ ้นพระชนม์มชี นมายุ 48 พรรษา กรุงธนบุรัี มี กาหนดอายุกาลได้ 15 ปี
ท้ องพระโรงกรุงธนบุรี อาคารท้ องพระโรงสร้ างขึ ้นในราวปี พ.ศ. 2311 พร้ อมกับการสถาปนากรุงธนบุรีเป็ นราชธานี อาคารนี ้มีรูปทรงแบบ ไทยประกอบด้ วยพระที่นงั่ สององค์เชื่อมต่อกัน ได้ แก่ พระที่นงั่ องค์ทิศเหนือ เรี ยกว่าท้ องพระโรง หรือ วินิจฉัย อยูท่ างทิศเหนือ ใช้ เป็ นทีเ่ สด็จออกขุนนาง และประกอบพระราชพิธีที่สาคัญมาแต่ครัง้ กรุงธนบุรี และพระที่นงั่ องค์ทิศใต้ ตังอยู ้ ท่ างทิศใต้ ของ พระที่นงั่ องค์แรก เรี ยกกันว่า พระที่นงั่ ขวาง เป็ น ส่วนพระราชมณเฑียร อันเป็ นที่ประทับส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริ ย์ ใน ปั จจุบนั กองทัพเรื อได้ ใช้ โถงท้ องพระโรงภายในพระที่นงั่ องค์ทศิ เหนือ เป็ นสถานที่ที่จดั งาน และประกอบพิธีสาคัญเป็ นประจา ส่วนพระที่นงั่ ขวางได้ ใช้ เป็ นห้ องรับรองบุคคลสาคัญและเป็ นห้ องประชุมในบางโอกาส
30
ป้ อมวิไชยประสิทธิ์ ป้อมนี ้เดิมชื่อ “ป้อมวิไชยเยนทร์ ” หรื อ “ป้อมบางกอก” สร้ างขึ ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยเจ้ าพระยาวิ ไชยเยนทร์ กราบบัง คมทูลแนะนาให้ สร้ างขึ ้น พร้ อมป้อมทางฝั่งตะวันออกของแม่น ้าเจ้ าพระยา เมื่อสมเด็จพระเจ้ าตากสิน มหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็ นราชธานีได้ ทรงสร้ างพระราชวังในบริ เวณป้อมแห่งนี ้พร้ อมกับปรับปรุงป้อม และพระราชทาน นามใหม่วา่ “ป้อมวิไชยประสิทธิ์” ปั จจุบนั ป้อมวิไชยประสิทธิ์ใช้ เป็ นที่ยิงสลุตในพิธีสาคัญต่างๆ และติดตังเสาธงเพื ้ ่อประดับธง ราชนาวี และธงผู้บญ ั ชาการทหารเรื อ
ศาลศีรษะปลาวาฬ ในระหว่างการขุดสารวจครัง้ ล่าสุดได้ พบฐานอาคารทรงสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า บริ เวณพื ้นที่ที่อยูร่ ะหว่างศาลสมเด็จพระเจ้ า ตากสินมหาราชและตาหนักเก๋งคูห่ ลังเล็ก
ซึง่ เมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางเอกสารประกอบแล้ วสันนิษฐานว่าเป็ นซากของ
อาคารศาลศีรษะปลาวาฬเดิมที่สร้ างขึ ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้ นก่อนรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั และได้ พงั ลงในคืนวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2443 ซึง่ เป็ นคืนที่สมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอเจ้ าฟ้าจาตุรนต์รัศมีกรมพระจักรพรรดิพงศ์ สิ ้นพระชนม์ รูปแบบสถาปั ตยกรรมของอาคารหลังเดิมตามที่ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็ นอาคารโถงแบบจีนส่วนศาล ศีรษะปลาวาฬ หลังปั จจุบนั ทางมูลนิธิอนุรักษ์ โบราณสถานในพระราชวังเดิมได้ ปรึกษากับกรมศิลปากร และเห็นชอบให้ สร้ าง ขึ ้นในปี พ.ศ.2542 บนฐานของศาลหลังเดิมที่ได้ ขดุ พบเพื่อใช้ เป็ นที่ จัดแสดงกระดูกศีรษะปลาวาฬ (ที่ได้ พบอยูใ่ ต้ ถนุ ศาลสมเด็จ พระเจ้ าตากสินมหาราชในคราวสารวจพื ้นที่ทางโบราณคดีในช่วงการบูรณะครัง้ ล่าสุด)
รูปแบบของอาคารหลังปั จจุบนั ได้
ประยุกต์ให้ เหมาะสมกับอาคารโบราณสถานโดยรอบโดยยังคงรูปแบบเป็ นเก๋งจีน
ตาหนักเก๋ งคู่หลังเล็ก-หลังใหญ่ ปั จจุบนั พระราชวังกรุงธนบุรี (ในภายหลังจากย้ ายราชธานีมาอยูท่ ี่กรุงเทพมหานคร ก็ได้ ขนานนามว่า “พระราชวัง เดิม”) ซึง่ เป็ นพระราชวังหลวงแห่งเดียวของกรุงธนบุรี เป็ นสถานที่ตงของกองบั ั้ ญชาการกองทัพเรื อ กรุงเทพมหานคร และ เนื่องจากเป็ นสถานที่ราชการ ถ้ าหากจะเข้ าเยีย่ มชมต้ องทาจดหมายขออนุญาตล่วงหน้ าเสียก่อน รับรู้ถึงความสาคัญของสถานที่แห่งนี ้แล้ ว ฉันก็อยากจะเข้ าไปชมของจริงว่าจะเป็ นอย่างไร ก็เลยต้ องมาเยือนถึงถิ่น ด้ วยการนัง่ เรื อข้ ามฝากจากท่าเตียนมายังวัดอรุณฯ แล้ วเดินลัดเลาะออกมาทางถนนอรุณอมริ นทร์ ก่อนจะเข้ าไปสูพ่ ื ้นที่ของ พระราชวังเดิม แต่หากว่ามองเข้ ามาจากแม่น ้าเจ้ าพระยา
จะเห็นป้อมสีขาวพร้ อมกับเสาธงสูง มีธงราชนาวีและธงผู้บญ ั ชาการ ทหารเรื อโบกสบัดเห็นมาแต่ไกล นัน่ แหละคือ “ป้อมวิไชยประสิทธิ์” ที่มีสถาปัตยกรรมเป็ นป้อมก่ออิฐฉาบปูน และมีกาแพงรูป แปดเหลีย่ มสองชัน้ ที่กาแพงชันในจะมี ้ หอคอยกลมสองหลัง ฉันได้ ลองขึ ้นไปยืนที่บนป้อม มองออกมาก็จะแลเห็นทิวทัศน์ได้ ไกล สุดตา เหมือนกับที่ข้อมูลบอกไว้ วา่ บริ เวณนี ้เป็ นจุดยุทธศาสตร์ สามารถสังเกตการณ์ได้ ไกล ใกล้ ๆ กับป้อม จะมี “พระบรมรา ชานุสาวรี ย์ สมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราช” ประดิษฐานอยู่ โดยหันพระพักตร์ ออกไปทางแม่น ้าเจ้ าพระยา
31
เดินตรงเข้ ามาที่ประตูทางเข้ าสูพ่ ระราชวังเดิมที่ด้านหลังป้อม มองเข้ าไปแล้ วก็เห็นความสะอาดเรียบร้ อย สดชื่น และ ร่มรื่ นไปด้ วยต้ นไม้ ใหญ่ๆ ส่วนทางขวามือจะเห็นอาคารสีขาว 2 หลังตังอยู ้ เ่ คียงกัน ซึง่ ก็คือ “ตาหนักเก๋งคูห่ ลังเล็ก” และ “ตาหนัก เก๋งคูห่ ลังใหญ่” หากว่ามองออกไปทางแม่น ้าเจ้ าพระยา อาคารทางซ้ ายมือคือตาหนักเก๋งคูห่ ลังเล็ก ส่วนอาคารทางขวามือคือ ตาหนักเก๋งคูห่ ลังใหญ่
วัดอรุณราชวราราม วัดอรุณราชวรารามหรื อวัดแจ้ ง เดิมชื่อวัดมะกอก เป็ นวัดโบราณที่มีมาตังแต่ ้ ครัง้ กรุงศรี อยุธยา โดยปรากฏในแผนผัง เมืองและป้อม ที่ชาวต่างชาติเขียนไว้ ตังแต่ ้ สมัยพระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เล่ากันว่าเหตุที่วดั มะกอก ได้ รับ พระราชทานนามใหม่วา่ วัดแจ้ งนัน้ สืบเนื่องมาจากที่สมเด็จพระเจ้ าตากสินมหาราช ได้ ทรงล่องเรื อมาตามลาน ้าเจ้ าพระยา เพื่อ หาชัยภูมิทตี่ งพระนครแห่ ั้ งใหม่ และเมื่อถึงบริ เวณวัดมะกอกนันเป็ ้ นเวลารุ่งแจ้ งพอดี ซึง่ ถือว่าเป็ นมงคลฤกษ์ จึงหยุดนาไพร่พล ขึ ้นพัก และได้ เลือกบริ เวณนันเป็ ้ นราชธานีแห่งใหม่ วัดแห่งนี ้จึงกลายเป็ นวัดในเขตพระราชฐาน จากนันได้ ้ โปรดเกล้ าฯ ให้ สถาปนาใหม่ทงพระอาราม ั้ มีพระประสงค์จะให้ เป็ นเขตพุทธาวาสแบบเดียวกับวัดพระศรี สรรเพชญ์ของกรุงศรี อยุธยา แล้ ว พระราชทานนามใหม่วา่ “วัดแจ้ ง” เพื่อให้ มีความหมายถึงการทีเ่ สด็จถึงวัดนี ้ในตอนรุ่งอรุณ
สถาปั ตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ สถาปั ตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ คือสถาปั ตยกรรมในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ได้ รับอิทธิพลจากจากตะวันตก วิชาชีพสถาปั ตยกรรมในสมัยรัชกาลที่
6
1
ถึง รัชกาลปั จจุบนั ) เป็ นยุคที่
เริ่ มเป็ นที่ร้ ูจกั และถือได้ วา่ การประกอบวิชาชีพ
สถาปั ตยกรรมแผนใหม่ได้ เกิดขึ ้นพร้ อมกับการจัดตังสถาบั ้ นการศึกษาสถาปั ตยกรรมทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี
พ.ศ.
2476 โดยอาจารย์นารถ โพธิประสาท และการก่อตังสมาคมสถาปนิ ้ กสยามฯ ในปี พ.ศ. 2477
สถาปั ตยกรรมทางศาสนา วัดในยุครัตนโกสินทร์ ตอนต้ น มีรูปแบบดาเนินรอยตามแบบสถาปั ตยกรรมสมัยอยุธยา เช่น การสร้ างโบสถ์วิหารให้ มี ฐานโค้ ง การสร้ างหอไตรหรื อหอพระไตรปิ ฎกกลางน ้า เป็ นต้ น ต่อมาเมื่อมีการทามาค้ าขายกับต่างชาติมากขึ ้น จึงได้ รับอิทธิพล ที่เห็นได้ ชดั คือ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ที่ได้ รับอิทธิพลจีน การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ห็นได้ ชดั เช่น ได้ เอาช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ออก โดยเปลีย่ นมาเป็ นก่ออิฐถือปูนและใช้ ลวดลายดิน เผาเคลือบประดับหน้ าแทนการใช้ ไม้ สลักแบบเดิม นิยมใช้ เสาเป็ นสีเ่ หลีย่ มทึบ ไม่มีบวั เสา วัดที่มกี ารผสมผสานสถาปัตยกรรมตะวันตกเช่นวัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร ในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ซึง่ เป็ นศิลปะแบบกอธิค
32
พระบรมบรรพต(ภูเขาทอง) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร เป็ นพระเจดีย์แบบกลมบนยอดเขา สร้ างขึ ้นเพื่อให้ เป็ นเจดีย์ที่สงู ใหญ่ของพระนคร เช่นเดียวกับพระเจดีย์ภเู ขาทอง ที่ พระนครศรี อยุธยา เมื่อครัง้ เป็ นราชธานี โดยมีขนาดวัดได้ โดยรอบ 8 เส้ น 5 วา สูง 1 เส้ น 19 วา 2 ศอก มีบนั ไดเวียนขึ ้นลง 2 ทาง คือทางทิศเหนือและใต้ ลักษณะทางสถาปั ตยกรรมของพระเจดีย์ ย้ อนกลับไปใช้ ทรงกลมหรื อ ทรงลังกาตามแบบสุโขทัยและ อยุธยาอีกครัง้ ซึง่ เป็ นพระราชนิยมประจารัชกาลที่ 4 พระเจดีย์ได้ รับการปฎิสงั ขรณ์ ในปี พ.ศ 2509 และบุกระเบื ้องโมเสกสีทอง ที่องค์พระเจดีย์ พร้ อมทังสร้ ้ างพระเจดีย์องค์เล็ก ๆ รายรอบพระเจดีย์องค์ใหญ่ทงั ้ 4 ทิศ ภายในบรรจุพระบรมสารี ริกธาตุใน พระ เจดีย์บนลูกแก้ ว.
พระอัษฎางค์ มหาเจดีย์(วัดพระศรี รัตนศาสดาราม) เป็ นเจดีย์ทรงปรางค์ ตังเรี ้ ยงอยูห่ น้ าวัดพระศรี ศาสดาราม พระมหาเจดีย์ ทัง้ 8 องค์นี ้มีขนาด รูปร่าง และความสูง เหมือนกันทุกประการ แต่ตา่ งกันออกไปด้ วยสีของกระเบื ้องเคลือบที่ประดับองค์พระเจดีย์ และชื่อประจาองค์พระเจดีย์เท่านัน้ พระมหาเจดีย์แต่ละองค์ก่ออิฐถือปูน แบ่งได้ เป็ น 3 ส่วนคือ ส่วนฐาน ส่วนเรื อนธาตุ และส่วนยอดปรางค์ ส่วนฐานประกอบด้ วย ฐานทักษิ ณเป็ นฐานแปดเหลีย่ มด้ านไม่เท่า มีพนักระเบียงโดยรอบฐาน ส่วนเรื อนธาตุเป็ นแบบย่อมุมไม้ สิ บสอง มีซ้ นุ จรนา ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนทัง้ 4 ทิศ ส่วนองค์ปรางค์อยูเ่ หนือส่วนเรื อนธาตุ แบ่งเป็ น 7 ชัน้ รองรับด้ วยมารแบกปูนปั น้ มียอดนภ ศูลเป็ นรูปฝักเพกาทาด้ วยโลหะ.
พระที่น่ ังวิมานเมฆ เป็ นพระที่นงั่ ที่สร้ างด้ วยไม้ สกั ทองทังหลั ้ ง ที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย มีรูปแบบสถาปั ตยกรรมอิทธิพลตะวันตก แบบบศิลปะวิคทอเรีย มีห้องรวมทังสิ ้ ้น 72 ห้ อง ลักษณะอาคารเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า หักเป็ นข้ อศอกมุมฉาก บริ เวณตรงกลาง เป็ นรูปแปดเหลีย่ มสูง 3 ชัน้ ในส่วนที่ใช้ เป็ นที่ประทับของรัชกาลที่ 5 ซึง่ เป็ นห้ องแปดเหลีย่ มจะมี 4 ชัน้ ชันล่ ้ างรูปแปดเหลีย่ มเป็ น ท้ องพระโรง สูง 2 ชัน้ และอาคารชันล่ ้ างสุดสร้ างแบบก่ออิฐถือปูน ลักษณะเด่นของพระที่นงั่ องค์นี ้คือ ส่วนที่เป็ นลวดลายฉลุไม้ เรี ยกว่า "ลายขมนปั งขิง" (Gingerbread) ที่จวั่ หน้ าบัน คอสอง และเชิงชาย มีการตกแต่งทางขึ ้น-ลงภายในอาคารด้ วยบันได เวียนไม้ สกั ซึง่ เป็ นลักษณะเด่นเฉพาะประจารัชกาล.
โลหะปราสาท (วัดราชนัดดารามวรวิหาร) เป็ นโลหะปราสาทแทนเจดีย์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็ นที่ 4 ของโลกที่ยงั สมบรูณ์อยูท่ กุ วันนี ้ เป็ นถาวรวัตถุที่ จัดเป็ นศิลปะไทยโดยเฉพาะ ไม่ได้ สร้ างให้ พระสงฆ์อยูจ่ าวัด แต่สร้ างขึ ้นแทนองค์พระเจดีย์ โดยมีอโุ บสถเป็ นศูนย์กลางของวัด และมีโลหะปราสาทเป็ นจุกเด่นของพระอาราม มีลกั ษณะเป็ นปราสาท 3 ชัน้ สูง 36 เมตร ก่ออิฐถือปูน มียอดเป็ นรูปทรงคล้ าย เจดีย์ และยอดปราสาทรวมทังสิ ้ ้น 37 ยอด ซึง่ หมายถึง โพธิปักขิยธรรม 37 ปราการ ตรงกลางเป็ นมณฑป มีบนั ไดขึ ้นโดยใช้ เสา ไม้ แก่นใหญ่เป็ นแกน แล้ วทาขันบั ้ นไดวนเป็ นก้ นหอยรอบเสา โอบตัวขันบั ้ นไดควบกับตัวเสา และผนังด้ านข้ างเป็ นรูปทรงกลม เวียนขึ ้นไปสูฐ่ านประทักษิ ณชันแรกและชั ้ นบน. ้ 33
ตึกแถวริมถนนอัษฎางค์ รูปแบบตึกแถวสมัยรัชกาลที่5 จัดเป็ นสถาปั ตย์กรรมอิทธิพลตะวันตก แสดงที่พกั อาศัยขานดกลางของพ่อค้ า ประชาชนทีม่ ีฐานะดี เป็ นคูหาทีม่ ีหน้ ากว้ างใกล้ เคียงกัน แต่ลกึ ไม่เท่ากันแล้ วแต่ขนาดทีด่ ิน ลักษณะเป็ นอาคารก่ออิฐถือปูน มี ความสูง 2 ชัน้ มีโครงสร้ างเป็ นกาแพงรับน ้าหนัก หลังคาทรงปั น้ หยามีความลาดเอียงสูง โดยจะเน้ นความสาคัญทีต่ กึ แถวคูหา สุดท้ ายและส่วนหัวมุมถนน โดยยกเป็ นมุมยื่นออกมาเล็กน้ อยจากคูหาทัว่ ไป ด้ านหน้ ามุขก่ออิฐทาเป็ นซุ้มโค้ งแบบตะวันตก เรี ยกว่า มงกุฎ ส่วนล่างลงมามีการเน้ นที่ซ้ ุมหน้ าต่างชันบน ้ ด้ วยการทาบัวปูนปั น้ แบบยุโรป และเน้ นซุ้มประตูชนล่ ั ้ างด้ วยการทา บัวปูนปั น้ เป็ นรูปโค้ งครึ่งวงกลม.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร เป็ นพระอุโบสถหินอ่อน สร้ างตามแบบสมัยอยุธยาแต่ออกแบบตามคติแผนใหม่คือ ก่อสร้ างพระอุโบสถทังหลั ้ งด้ วย หินอ่อนจากต่างประเทศ หลังคาทรงจตุรมุขซ้ อนกัน 3 ชัน้ มีชนลดเพื ั้ ่อลดความสูงไปหาระเบียงอีก 2 ชัน้ ถ้ ามองจากด้ านหน้ า ของพระอุโบสถจะเห็นมุขลดกันถึง 5 ชัน้ ระเบียงทาเป็ นหลังคาลดชันคดต่ ้ อเนื่องเป็ นหลังคาเดียวกันกับหลังคาพระอุโบสถ ตกแต่งหลังคาด้ วยกระเบื ้องลอนเคลือบสี เรี ยกว่ากระเบื ้องกาบไผ่หรื อ กะบู และปิ ดเชิงชายด้ วยกระเบื ้องลายเทพพนม ส่วน หน้ าบันเป็ นไม้ จาหลักสลักลวดลายทัง้ 4 ทิศ ตัวพระอุโบสถใช้ เสากลมบัวหัวเสา และด้ านหน้ ามีหน้ าต่างถี่แบบที่นิยมสร้ างกัน ในสมัยอยุธยาทังสิ ้ ้น.
ตึกไทยคู่ฟ้าทาเนียบรั ฐบาล(บ้ านนรสิงห์ ) เป็ นงานสถาปั ตยกรรมที่พกั อาศัยขนาดใหญ่ หรื อคฤหาสน์สาหรับขุนนางผู้มีบรรดาศักดิส์ งู มีการจัดผังแบ่งพื ้นที่เป็ น 2 ส่วน คือส่วนคฤหาสน์หลังประธาน จัดให้ เป็ นจุดเด่นของทังบริ ้ เวณและส่วนของกลุม่ เรื อนบริวาร มีช่างชาวต่างชาติอติ าเลียน เป็ นผู้ออกแบบ โดยนาศิลปะแบบกอธิค ที่มีศิลปะไบแชนไทน์ผสมอยูม่ าเป็ นต้ นแบบ ตกแต่งผนังภายนอกและช่องเปิ ดต่าง ๆ ของอาคารด้ วยศิลปะแบบกอธิคตอนปลาย และตกแต่งผนังและเพดานภายในด้ วยการประดับไม้ สกั ลวดลายเหนือเชิงบัว จุดเด่นสาคัญภายในคฤหาสน์คือ การเขียนสีแบบปูนแห้ ง บนฝ้าเพดานและผนัง ตอนใกล้ ๆฝ้าเพดาน โดยแต่ละห้ องมีรูปแบบ ต่าง ๆ กัน.
พระที่น่ ังชาลีมงคลอาสน์ (พระราชวังสนามจันทร์ จ.นครปฐม) เป็ นสถาปั ตยกรรมตะวันตกแท้ มีรูปแบบเป็ นปราสาทขนาดเล็กคล้ ายปราสาทในสมัยกลาง จัดเป็ นสถาปัตยกรรม แบบโรแมนติด ที่ผสมผสานระหว่างปราสาทแบบเรอเนสซองของฝรั่งเศส กับอาคารแบบฮาล์ฟ ทิมเบอร์ ของอังกฤษ เป็ นอาคาร สองชัน้ ภายนอกอาคารมีเฉลียงโดยรอบโดยเฉพาะเฉลียงด้ านตะวันออก เป็ นเฉียงกว้ างรูปครึ่งวงกลม เน้ นสร้ างจุดเด่นของตัว อาคารด้ วยหอคอยทรงสูงรูปวงกลมไว้ ทงั ้ 4 มุม บริ เวณทางเข้ าตาหนักมีมขุ เล็ก ๆ ที่มีหลังคาคลุมยื่นออกมาจากผนัง และมีไม้ ประดับผนังแบบเดียวกันกับ บ้ านแบบทิวดอร์ ของอังกฤษ.
34
พระเมรุมาศ(สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) จัดเป็ นสถาปั ตยกรรมชัว่ คราว เพือ่ เทิดทูนศิลปะไทยชันสู ้ ง อันเป็ นสมบัติของวัฒนธรรมไทย การสร้ างพระเมรุมาศมี มาตังแต่ ้ สมัยกรุงศรี อยุธยา ตามคติการปกครองแบบเทวนิยม คือมีเขาพระสุเมรุเป็ นศูนย์กลางของภูมิทงสาม ั้ พระเมรุมาศคือ อาคารขนาดใหญ่ เป็ นอาคารเครื่องยอด หรื อกุฎาคาร โดยเป็ นยอดปราสาท ยอดมงกุฎ ยอดปรางค์ ยอดเจดีย์ หรื อยอดผสม รูปแบบใดก็ได้ สดุ แต่สถาปนิกจะเห็นสมควร หรื อสุดแต่พระบรมราชโองการในพระมหากษัตริ ย์ ตัวอาคารสร้ างด้ วยไม้ เป็ น อาคารย่อมุขไม้ สบิ สอง พระเมรุมาศใช้ สาหรับพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระมหากษัตริ ย์ หรื อพระบรมราชวงศ์ ชันสู ้ ง.
สถานีรถไฟกรุงเทพฯ(หัวลาโพง) เป็ นอาคารที่สร้ างจากรูปแบบสถานีรถไฟในทวีปยุโรป ตามอิทธิพลของสถาปั ตยกรรมแบบนีโอคลาสสิค ลักษณะ อาคารใช้ หลังคาเป็ นโครงเหล็กรูปโค้ งเกือบครึ่งวงกลมขนาดใหญ่ ครอบคลุมพื ้นที่ห้องโถงใหญ่ทงหมด ั้ บริ เวณส่วนกลางเป็ น โค้ งมุงด้ วยวัสดุใสเพื่อให้ เกิดแสงสว่างทัว่ ทังห้ ้ อง เน้ าทางเข้ าด้ วยโถงยาวเท่าความกว้ างของโครง หลังคาห้ องโถงนี ้ทาเป็ น หลังคาแบน มีลกู กรงคอนกรี ตโดยรอบ รองรับด้ วยเสา 2 ต้ นคู่ ตลอดระยะมีการประดับตกแต่งหัวเสาด้ วยบัวหัวเสาแบบไอโอ นิค ตามแบบคลาสสิค ตังอยู ้ เ่ ป็ นระยะ ๆไป และมีห้องลักษณะเป็ นห้ องสีเ่ หลีย่ มอยูป่ ลายสุดของโค้ ง เพื่อหยุดความกว้ างของ โค้ งอาคา
35
บทที่ 5 สถาปั ตยกรรมศรี ศิลปากร วังท่ าพระ...สู่ความเป็ นศิลปากร
วังท่าพระ หรื อ วังล่าง ตังอยู ้ ข่ ้ างพระบรมมหาราชวัง ริ มถนนหน้ าพระลานทางด้ านทิศตะวันตก ใกล้ ทา่ ช้ างวังหลวง แต่ เดิมวังท่าพระนัน้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้ าฯ ให้ อญ ั เชิญพระศรี ศากยมุนี จากพระ วิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย มาประดิษฐานไว้ ณ วัดสุทศั นเทพวราราม เมื่อพระพุทธรูปมาถึงประตูทา่ ช้ าง ปรากฏว่า อัญเชิญเข้ ามาไม่ได้ เนื่องจากองค์พระนันมี ้ ขนาดใหญ่เกินกว่าจะนาผ่านเข้ ามาได้ จึงจาเป็ นต้ องรือ้ ทังประตู ้ ถอนทังก ้ าแพงออก จึงได้ เรียกขานอดีตท่าเรื อนี ้แทนว่าท่าพระ วังที่อยูใ่ กล้ กนั นันจึ ้ งเรี ยกตามว่า "วังท่าพระ" เมื่อแรกเริ่ ม วังท่าพระเป็ นวังที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างเพื่อพระราชทาน ให้ เป็ นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้ าหลานเธอ กรมขุนกษัตรานุชิต หรื อ "เจ้ าฟ้าเหม็น" ซึง่ เป็ นพระราชนัดดาของพระองค์ โดยเป็ น พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้าฉิมใหญ่ พระราชชายาของสมเด็จพระเจ้ ากรุงธนบุรี
36
สมเด็จพระเจ้ าหลานเธอ กรมขุนกษัตรานุชิต เสด็จประทับอยู่ ณ วังแห่งนี ้จนสิ ้นพระชนม์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้ านภาลัย พระองค์จึงโปรดเกล้ าฯ ให้ เป็ นที่ประทับของพระเจ้ าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ซึง่ เป็ นพระเจ้ า ลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย และเจ้ าจอมมารดาเรียม (สมเด็จพระศรี สลุ าไลย) เสด็จประทับจนสิ ้นรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย จึงเสด็จเถลิงถวัลย์ครองราชสมบัติเป็ นพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั และได้ พระราชทานวังนี ้เป็ นที่ประทับของพระราชโอรส 3 พระองค์ คือ 1.พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าลักขณานุคณ ุ มีพระชันษาน้ อย สิ ้นพระชนม์เมื่อพระชันษา 24 ปี 2.พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม (ต้ นราชสกุล "ชุมสาย") เสด็จประทับที่นี่จนสิ ้นพระชนม์ในปลายรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั (พ.ศ. 2411) เมื่อพระชันษา 53 ปี และ 3.พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ ทรงกากับกรมแสงและกรมช่างศิลา สิ ้นพระชนม์ที่วงั นี ้ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั พระองค์จึงพระราชทานต่อให้ ไปยังสมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ เจ้ าฟ้ากรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์ ประทับที่วงั นี ้ จนถึง พ.ศ. 2480 ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร จึงได้ ทรงซื ้อที่ดินตรงริ มถนนพระรามที่ 4 คลองเตย สร้ างตาหนักเป็ นที่ประทับตากอากาศ เรียกว่า ตาหนักปลายเนิน แล้ วโปรดประทับที่นนั่ ตลอดพระชนมายุ
วังท่าพระ เมื่อครัง้ เป็ นที่ประทับของพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรมนัน้ วังนี ้จัดเป็ นที่ทรงงานและงานช่างทุก ชนิด รวมทังเป็ ้ นที่อยูข่ องช่างต่าง ๆ อาศัยอยูใ่ นวังขณะนันไม่ ้ ต่ากว่า 200 คน จัดเป็ นวังขนาดใหญ่วงั หนึง่ ทีเดี ยว แต่เมื่อสมเด็จ พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้ากรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์เสด็จมาประทับ ตาหนักอาคารต่าง ๆ ก็มีสภาพเก่าทรุดโทรม บางแห่ง ชารุดผุพงั จนไม่อาจใช้ สอยได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั จึงโปรดเกล้ าฯ ให้ บรู ณะจนมีสภาพเหมือนเดิม ส่วน ตาหนักที่ประทับนันโปรดเกล้ ้ าฯ ให้ สร้ างขึ ้นใหม่ 3 หลัง ภายหลังที่สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์เสด็จไปประทับตาหนักปลายเนินแล้ ว ทายาทของพระองค์จงึ ขายวังให้ กบั ทางราชการ และศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ สร้ างสถานศึกษาสาหรับวิชาศิลปะตามแบบ ยุโรปขึ ้น ได้ ใช้ วงั นี ้เป็ นมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ จวบจนปัจจุบนั
37
สถาปั ตยกรรม 1.ประตูและกาแพงวังท่าพระ กาแพงก่ออิฐถือปูนมีใบเสมาประกอบ กาแพงนี ้คาดว่าก่อสร้ างพร้ อมกับวังท่าพระตังแต่ ้ สมัยรัชกาลที่1 ปั จจุบนั คงเหลือเฉพาะด้ านริ มถนนหน้ าพระลาน ถือเป็ นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร 2.ท้ องพระโรงและกาแพงแก้ ว ปัจจุบนั เป็ นหอศิลป์ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ลักษณะท้ องพระโรงเป็ นแบบเรื อน 5 ห้ อง เฉลียงรอบหันหน้ ายาวออกหน้ าวัง รูปทรงท้ องพระโรงที่ปฏิสงั ขรณ์ใหม่นนภายนอกคงยึ ั้ ดตามแบบที่ปรากฏเมื่อครัง้ รัชกาล ที่3 แต่ภายในคงไว้ แต่เสาเดิม มีบนั ไดใหญ่เข้ าทางด้ านหน้ าได้ ทางเดียว กาแพงนันเป็ ้ นสถาปั ตยกรรมในรัชกาลที่5 มีลกู กรงที่ ทาด้ วยเหล็กหล่อเป็ นลายสวยงาม และได้ รับการขึ ้นทะเบียนโบราณสถาน 3.ตาหนักกลางและตาหนักพรรณราย สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกรุ่นแรก ๆ ในรัชกาลที่5 กล่าวคือเป็ นตึกสองชัน้ มี เฉลียงหลังหนึง่ หันเข้ าหาอีกหลังหนึง่ ส่วนหลังนอกนันอยู ้ ข่ ้ างสวนแก้ ว ตึกหลังในทีม่ ีเฉลียงทาเรียบกว่าหลังนอก และมีเสาทึบ หัวเสาเป็ นแบบศิลปะโรมัน ช่องคูหาด้ านล่างเป็ นช่องโค้ ง มีการตกแต่งที่สว่ นต่าง ๆ ภายนอกอาคารเล็กน้ อย ส่วนตึกหลังนอกมี รูปทรงทึบกว่า มีการตกแต่งผิวหนังโดยการเซาะเป็ นร่องในชันล่ ้ าง ส่วนชันบนผนั ้ งเรี ยบ มีเสาติดผนังระหว่างช่องหน้ าต่างและ ประตูตา่ ง ๆ ด้ วยลายปูนปั น้ หรื อตีตารางไม้ ไว้ ในช่องแสงเหนือประตูบางส่วน ตึกหลังนอกมีกนั สาด มีเท้ าแขนรับกันสาดทา อย่างเรี ยบ ๆ และประดับชายคาด้ วยลายฉลุไม้ ตึกหลังในนี ้เป็ นที่ประทับของพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าพรรณราย พระ มารดาของสมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ
เจ้ าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์
โดยตาหนักกลางนันได้ ้ รับการขึ ้นทะเบียน
โบราณสถาน ปั จจุบนั ใช้ เป็ นที่ตงของหอศิ ั้ ลป์ และหน่วยงานของมหาวิทยาลัยศิลปากร 4.ศาลาในสวนแก้ ว เรี ยกว่า ศาลาดนตรี เมื่อครัง้ รัชกาลที่5 องค์เจ้ าของวังเคยประทับที่ศาลานี ้เพื่อชมการแสดงหรื อ ประชันดนตรี ซงึ่ จะตังวงกั ้ นในสวนแก้ ว เพราะในวังท่าพระขณะนันมี ้ วงดนตรี ประจาวังที่มีชื่อเสียง ศาลาในสวนนี ้ทาเป็ นศาลา โปร่งมีผนังด้ านเดียว หันหน้ าเข้ าหาสวนแก้ ว หลังคาเป็ นแบบปั น้ หยา มีลายประดับอาคารอย่างละเอียดซับซ้ อนกว่าตัวตาหนัก จึงเข้ าใจว่าสร้ างทีหลัง ลายฉลุไม้ ทงที ั ้ ่ชายคาท้ าวแขนระเบียบทาอย่างประณีตงดงาม
ประวัติ พระราชวังสนามจันทร์ เป็ นพระราชวังที่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างขึ ้น บนบริ เวณที่คาดว่าเป็ นพระราชวังเก่าของกษัตริ ย์สมัยโบราณทีเ่ รียกว่า "เนินปราสาท" เพื่อเป็ นสถานที่ประทับครัง้ มานมัสการ พระปฐมเจดีย์ และเมื่อบ้ านเมืองถึงยามวิกฤต พระราชวังใช้ เวลาก่อสร้ างนาน 4 ปี โดยมี หลวงพิทกั ษ์ มานพ (น้ อย ศิลปี ) ซึง่ ต่อมาได้ รับโปรดเกล้ าฯ เลือ่ นยศเป็ น พระ ยาวิศกุ รรมศิลปประสิทธิ์ (น้ อย ศิลปี ) เป็ นแม่งาน และสร้ างเสร็ จเมื่อ พ.ศ. 2450 เมื่อสร้ างแล้ วเสร็ จจึงได้ พระราชทานนามว่า "พระราชวังสนามจันทร์ " ตามชื่อสระน ้าโบราณหน้ าโบสถ์พราหมณ์ (ปั จจุบนั ไม่มีโบสถ์พราหมณ์เหลืออยูแ่ ล้ ว) "สระน ้าจันทร์ " หรื อ "สระบัว"
38
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั มีพระราชพินยั กรรมแสดงพระราชประสงค์ยกพระราชวังสนามจันทร์ ให้ เป็ น สถานที่ตงของ ั ้ โรงเรี ยนนายร้ อยทหารบก โดยมีใจความว่า บรรดาทีด่ ิ นตึกรามทัง้ ใหญ่ น้อย ทีร่ วมอยู่ในเขตซึ่ งเรี ยกว่า "พระราชวัง สนามจันทร์ " เป็ นสมบัติส่วนตัวของข้าพเจ้าโดยแท้ไม่ได้รบั มฤดกมาจาก สมเด็จ พระบรมชนกนารถ มิ ได้ ข้าพเจ้าได้เก็บทุนในตาแหน่งหน้าที ่ พระยุพราช และทุน อืน่ ๆ สร้างทีส่ นามจันทร์ และสร้างพระทีน่ งั่ ซึ่ งเรี ยกว่า พระพิ มานประฐม นัน้ ขึ้น ก่อน ต่อมาเมื ่อข้าพเจ้าได้ราชสมบัติแล้ว ข้าพเจ้าก็ได้เอาเงิ นพระคลังข้างทีท่ านุ บารุงทีน่ ีต้ ลอดมาเป็ นส่วนตัวทัง้ สิ้ น เพราะฉะนัน้ จะเอาทีพ่ ระราชวังสนามจันทร์ ไป รวมเข้ากับกองมรดกใหญ่นนั้ หาควรไม่ ข้าพเจ้ามี สิทธิ์ ตามกฎหมายเหมื อนสามัญ ชน ทีจ่ ะยกทีน่ ีใ้ ห้แก่ผใู้ ดก็ได้ เพราะฉะนัน้ เมื ่อสิ้ นตัวข้าพเจ้าไปแล้ว ข้าพเจ้าขอยก ทีน่ ีใ้ ห้แก่รฐั บาลสยามเป็ นสิ ทธิ ขาด เพือ่ ทาเป็ นโรงเรี ยนนายร้อยทหารบก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั กรมศิลปากร ได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้ พระราชวังสนามจันทร์ เป็ น โบราณสถาน ประกาศในราช กิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 177 วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2524 แต่เดิม พระราชวังสนามจันทร์ อยูภ่ ายใต้ การดูแลของ สานักพระราชวัง โดยเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2546 คณะกรรมการอานวยการบูรณะพระราชวังสนามจันทร์ ซึง่ มี สมเด็จพระเจ้ าภคินเี ธอ เจ้ าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณ ณวดี เป็ นองค์ประธาน ร่วมกับ กระทรวงมหาดไทย นายนาวิน ขันธหิรัญ อดีตผู้วา่ ราชการจังหวัดนครปฐม และ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย รองศาสตราจารย์ลขิ ิต กาญจนาภรณ์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ในขณะนัน้ ได้ น้ อมเกล้ าฯ ถวายคืนพระราชวังสนามจันทร์ แก่สานักพระราชวัง ต่อมา สมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพ ยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ พระราชทานโฉนดที่ดินพระราชวังสนามจันทร์ แก่ กระทรวงมหาดไทยแล้ วทาง จังหวัดนครปฐม รับมอบต่อจากกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 เพื่อนามาดาเนินการรับผิดชอบเอง
39
ศิลปะสถาปั ตยกรรม
ในรัชสมัยของพระบามสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั แม้ วา่ อิทธิพลทางสถาปัตยกรรมทางตะวันตกแพร่อิทธิพลเข้ า มาอย่างหลากหลาย และได้ มชี ่างชาวต่างประเทศเข้ ามาจานวนมากในรัชสมัยของพระบามสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงได้ สร้ างอาคารทังของไทย ้ และของตะตัวตก งานก่อสร้ างที่สาคัญในรัชกาลนี ้ ได้ แก่ 1.ตึกคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.พระที่นงั่ พระตาหนัก ในพระราชวังสนามจันทร์ 3.พระที่นงั่ พระตาหนัก ในวังพญาไท 4.บ้ านนรสิงห์ 5.บ้ านบรรอมสินธุ์ 6.บ้ านมนังคศิลา สาหรับสถาปั ตยกรรมในพระราชวังสนามจันทร์
โดยส่วนมากเป็ นลักษณะรูปแบบตะวันตกและสถาปั ตยกรรมแบบ
ไทย ลักษณะรูปแบบของตะวันตกส่วนมากจะเป็ น พระที่นงั่ พระตาหนัก เรื อนที่พกั ของข้ าราชการชัน้ ผู้ใหญ่ เรื อนที่พกั ของ ข้ าราชการชันผู ้ ้ น้อย ส่วนลักษณะรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยจะมีเป็ นส่วนน้ อย ได้ แก่ พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์ พระที่นงั่ วัชริ รม ยา และพระตาหนักทับขวัญ อย่างไรก็ตามอาคารที่สร้ างในพระราชวังสนามจันทร์ ก็มีการดัดแปลงให้ เข้ ากับลักษณะภูมิอากาศ ในประเทศไทย สาหรับการศึกษาทางด้ านอาคารสถาปั ตยกรรมในพระราชวังสนามจันทร์ ดาเนินการศึกษาเพื่อต้ องการมุง่ ประเด็นในการจัดกลุม่ ของอาคาร วัสดุก่อสร้ าง ลวดลาย และการตกแต่ง การใช้ สอยอาคาร และการตรวจสอบสภาพของอาคาร เพื่อนาผลของการศึกษาดังกล่าวไปเสนอแนะแนวทางอนุรักษ์ ดังมีรายละเอียดของการศึกษาดังนี ้
40
1.ประเภทของอาคาร แยกกลุม่ ใหญ่ในการศึกษาครัง้ นี ้ได้ 3 กลุม่ คือ 1.แบ่งตามประโยชน์ใช้ สอย สามารถแยกอาคารตามศักดินาของผู้ใช้ สอยอาคารได้ 3 กลุม่ คือ 1.1สถาปัตยกรรมกลุม่ พระที่นงั่ พระตาหนัก คือ อาคารเรื อนหลวงที่ประทับหรื อที่เสด็จออกขุนนางของ พระเจ้ าแผ่นดิน และเป็ นอาคารทีอ่ ยูอ่ าศัยของพระเจ้ าแผ่นดินหรื อเจ้ านายในราชสกุลประกอบด้ วย 1.1.1พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์ เป็ นพระที่นงั่ ที่มีสว่ นเชื่อมต่อกับใกล้ เคียงคือพระที่นงั่ วัชรี รมยา หน้ าบันพระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์อยูท่ างทิศเหนือ เป็ นรูปหลักท้ าวอมริ นทราธิ ราชประทานพรประทับอยูใ่ นปราสาทสามยอด พระหัตถ์ขวาทรงวชิระ พระหัตถ์ซ้ายทรง ประทานพร แวดล้ อมด้ วยบริ วารซึง่ ประกอบด้ วยเทวดาและมนุษย์ 5 หมู่ ท้ องพระโรงยก พื ้นสูงจากพื ้นดินประมาณ 1 เมตร มีอฒ ั จันทร์ 2 ข้ างต่อกับพระที่นงั่ วัชรี รมยา มีพระ ทวารเปิ ดถึงกัน 2 ข้ าง ซุ้มพระทวารทัง้ 2 และซุ้มพระบัญชรใกล้ ๆ พระทวารทัง้ 2 ข้ าง แกะสลักเป็ นรูปกีรติ มุขลงรักปิ ดทองภายในพระที่นงั่ โดยรอบ มีเสานางจรัลแบ่งเขตท้ อง พระโรงกับเฉลียงส่วนทีเ่ ป็ นเฉลียงลดต่าลงมา 20 เซนติเมตร เสานางจรัลมีลกั ษณะเป็ น เสาทรง 8 เหลีย่ มเช่นเดียวกับพระที่นงั่ วัชรี รมยา ทาเป็ นลายกลีบบัวจงกลโดยรอบเสา ตลอดทังต้ ้ น เพดานพระที่นงั่ มีลกั ษณะเช่นเดียวกับเพดานชันล่ ้ างพระที่นงั่ วัชรี รมยา เพดานสีแดงเข้ มปิ ดทองฉลุเป็ นลายดาวประดับมีโคมขวดห้ อยอย่างงดงาม พระที่นงั่ องค์นี ้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงใช้ เป็ นสถานที่จดั งานหลายอย่าง เช่น งานสโมสรสันนิบาต เสด็จฯ ออกพบปะขุนนาง เป็ นสถานที่ ฝึ กอบรม กองเสือป่ า และใช้ เป็ นที่แสดงโขนละครต่าง ๆ เนื่องจากพระที่นงั่ องค์นี ้ กว้ างขวางและสามารถจุคนเป็ นจานวนมาก จึงมีชื่อเรี ยกติดปากชาวบ้ านว่า "โรงโขน" ซึง่ ครัง้ หนึง่ พระองค์ได้ เคยทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ อญ ั เชิญพระมหาเศวตฉัตรมา ประดิษฐานไว้ ภายในนี ้ด้ วย เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ได้ ทรงใช้ พระที่นงั่ องค์นี ้ในพระราชพิธีพระราชทานเหรี ยญตราแก่นายทหาร และทรง ประกอบพระราชพิธีถือน ้าพระพิพฒ ั น์สตั ยาแก่ทหารรวมทังเสื ้ อป่ า และวันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2465 มีงานพระราชทานเลี ้ยงแก่ พระอินทราณี เนื่องในวันเกิด และให้ ร่วมประทับโต๊ ะเสวยพร้ อมด้ วยเจ้ านายและข้ าราชการ มีพระราชดารัสว่าวันนี ้พระองค์ จะทรงหลัง่ พระมหาสังข์แก่พระอินทราณี และทรงมีพระบรมราชโองการให้ สถาปนาขึ ้น เป็ น พระวรราชชายาเธอ พระอินทรศักดิศจี (พระยศในขณะนัน) ้ 1.1.2 พระที่นงั่ วัชรี รมยา เป็ นอาคารก่ออิฐถือปูน 2 ชัน้ สร้ างขึ ้นเมือ่ พ.ศ. 2460 พระ ที่นงั่ องค์นี ้มีลกั ษณะสถาปั ตยกรรมเป็ นแบบไทยแท้ วจิ ิตรงดงามตระการตา หลังคา มุงด้ วยกระเบื ้องเคลือบเป็ นหลังคา 2 ชันเหมื ้ อนกับหลังคาในพระบรมมหาราชวัง มี ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้ง คันทวย มีมขุ เด็จด้ านทิศใต้ หน้ าบันมุขเด็ด แกะสลักเป็ นเข็มวชิราวุธอยูภ่ ายใต้ วงรัศมีมีกรอบล้ อมรอบ พร้ อมด้ วยลายกนกลง
41
รักปิ ดทอง หน้ าพระที่นงั่ มีชานชาลาทอดยาวออกมาจรดกับพระที่นงั่ พิมานปฐม ด้ วย พระทวารของบัญชรทัง้ 2 ชันของพระที ้ ่นงั่ องค์นี ้มีลกั ษณะคล้ ายกับเรื อนแก้ ว เป็ นบันแถลงเสียบไว้ ด้วยยอดวชิราวุธภายในมีเลข 6 อยู่ในลายพิจิตรเลขาเป็ นมหา มงกุฎ มีลายกนกลงรักปิ ดทองล้ อมรอบบนพื ้นที่ประดับตกแต่งไปด้ วยกระจกสีน ้า เงิน พื ้นเพดานชันบนของพระที ้ ่นงั่ องค์นี ้ทาด้ วยสีแดงสดเข้ ม มีดอกดวงประดับ ประดาละเอียดอ่อนทาด้ วยไม้ แกะสลักปิ ดทอง ส่วนชันล่ ้ างนอกจากจะทาสีแดง และปิ ดทองแล้ วนัน้ ชันล่ ้ างมีความแตกต่างกันตรงที่ลายฉลุนนเป็ ั ้ นดาวประดับพระ ที่นงั่ องค์นี ้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงใช้ เป็ นที่ประทับเป็ นครัง้ คราว โดยมากจะใช้ เป็ นห้ องทรงพระอักษรใน พ.ศ. 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เสด็จไปทรงซ้ อมรบเสือป่ าที่อาเภอบ้ านโป่ งและอาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี และพระองค์เสด็จกลับมาประทับ ณ พระที่นงั่ องค์นี ้เป็ นเวลา 1 คืน ก่อนจะเสด็จไปประทับ ณ พระราชวังนันทอุทยาน 1 เดือน และกลับมาที่พระราชวัง สนามจันทร์ เป็ นเวลา 1 สัปดาห์กอ่ นกลับ พระบรมมหาราชวัง 1.1.3 พระที่นงั่ พิมานปฐม เป็ นพระที่นงั่ องค์แรกที่สร้ างขึ ้นเมื่อราว พ.ศ. 2450 เป็ น อาคารก่ออิฐถือปูน 2 ชัน้ แบบตะวันตก แต่ดดั แปลงให้ เหมาะกับเมืองร้ อน ช่อง ระบายลมและระเบียงลูกกรงโดยรอบฉลุฉลักเป็ นลวดลายตามแบบไทยอย่าง ประณีตงดงาม พระที่นงั่ ชันบนประกอบด้ ้ วยห้ องต่าง ๆ ซึง่ ยังมีปา้ ยชื่อปรากฏอยู่ จวบจนปัจจุบนั คือ ห้ องบรรทม ห้ องสรง ห้ องบรรณาคม ห้ องภูษา ห้ องเสวย และ ห้ องพระเจ้ า ซึง่ เป็ นหอพระ มีพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาอยูอ่ งค์หนึง่ และยังมี ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังฝี มือ พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) ซึง่ งดงาม น่าชมมาก พระที่นงั่ องค์นี ้ใช้ เป็ นที่ประทับ (โดยเฉพาะก่อนเสด็จฯ ขึ ้นเถลิงถวัลราชย์ สมบัติ จนถึง พ.ศ. 2458) ที่ทรงพระอักษร ที่เสด็จออกขุนนาง ที่รับรองพระราช อาคันตุกะ และออกให้ ราษฎรเข้ าเฝ้าฯ มากกว่าพระที่นงั่ และพระตาหนักองค์อื่น ๆ ในปั จจุบนั บนพระที่นงั่ ได้ จดั นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั 1.1.4 พระที่นงั่ อภิรมย์ฤดี ตังอยู ้ ด่ ้ านใต้ ของพระที่นงั่ พิมานปฐม เป็ นอาคารก่ออิฐ ถือปูน 2 ชันแบบตะวั ้ นตก ประดับลวดลายไม้ ฉลุเหมือนกับพระทีน่ งั่ พิมานปฐม โดย มีทางเชื่อมกับพระที่นงั่ พิมานปฐม ใช้ เป็ นที่ประทับเจ้ านายฝ่ ายในในสมัยนัน้ ปั จจุบนั พระที่นงั่ อภิรมย์ฤดีชนบนจั ั้ ดแสดงห้ องพระบรรทม ห้ องทรงงาน เพื่อให้ เข้ า กับบรรยากาศในสมัยก่อน ในปั จจุบนั บนพระที่นงั่ ได้ จดั นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ
42
พระนางเจ้ าสุวทั นา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้ าภคินีเธอ เจ้ าฟ้าเพชร รัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี 1.1.5 พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์ เป็ นพระตาหนักที่โดดเด่นที่สดุ ในหมูพ่ ระ ตาหนักและพระที่นงั่ ในพระราชวังสนามจันทร์ ตังอยู ้ ท่ างทิศใต้ ของสนามใหญ่ สร้ างขึ ้นราว พ.ศ. 2451 โดยมี หม่อมเจ้ าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร เป็ นสถาปนิก ผู้ออกแบบ เป็ นพระตาหนัก 2 ชัน้ หลังคามุงกระเบื ้องสีแดง ชันบนมี ้ เพียง 2 ห้ อง ชัน้ ล่างมี 2 ห้ อง มีระเบียงล้ อมรอบ 3 ด้ านของตัวพระตาหนักทัง้ 2 ชัน้ จุดเด่นของพระ ตาหนักองค์นี ้คือสถาปั ตยกรรมทีม่ ีลกั ษณะคล้ ายกับปราสาท ซึง่ เป็ นการผสม ระหว่างศิลปะเรเนอซองส์ของประเทศฝรั่งเศส กับอาคารแบบฮาล์ฟ ทิมเบอร์ ของ ประเทศอังกฤษ แต่ดดั แปลงให้ เหมาะสมกับสภาพอากาศในประเทศไทย ผังอาคาร เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าแบบสมมาตร เป็ นอาคาร 2 ชัน้ ชันล่ ้ างเป็ นห้ องบันได อีกด้ าน หนึง่ เป็ นห้ องเสวยและห้ องส่งเครื่อง ชันบนประกอบด้ ้ วยทางเดินกลางแบ่งอาคาร เป็ น 2 ข้ าง แต่ละข้ างมีห้องใหญ่เป็ นห้ องบรรทม และห้ องเล็กเป็ นห้ องทรงพระอักษร ล้ อมด้ วยระเบียงสามด้ านยกเว้ นด้ านหลัง ทางด้ านตะวันออกและตะวันตกมีเฉลียง เป็ นรูปครึ่งวงกลม ประกอบด้ วยเสาขนาดใหญ่ หลังคามุงด้ วยกระเบื ้องสีแดง จุดเด่นของพระตาหนักอยูท่ ี่ปอ้ มหรื อหอคอยที่มมุ อาคาร ยอดหลังคาเป็ นกรวย แหลม นอกจากนี ้ทางเข้ ากลางด้ านหน้ ายังทาเป็ นมุขแบบชนบท ลายซุ้มหน้ าบัน เหนือระเบียงมีลายแบบยุคกลางของยุโรป ด้ านใต้ มีประตูเปิ ดไปสูฉ่ นวนซึง่ ทอด ยาวไปพระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ ใน พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรด เกล้ าฯ พระราชทานนามพระตาหนักว่า "พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์" และโปรด เกล้ าฯ ให้ จดั การพระราชพิธีขึ ้นพระตาหนัก เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 แต่ เดิมพระตาหนักหลังนี ้ชื่อว่า "พระตาหนักเหล" ซึง่ ตังตามนามของ ้ ย่าเหล สุนขั ทรง เลี ้ยงในรัชกาล 1.1.6 พระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ เป็ นพระตาหนัก 2 ชัน้ สร้ างด้ วยไม้ สกั ทอง ทาสีแดง มีลกั ษณะทางสถาปั ตยกรรมแบบนีโอคลาสสิกของประเทศทางตะวันตก แต่ได้ มีการปรับปรุงองค์ประกอบบางส่วนให้ เหมาะกับภูมิอากาศแบบเมืองร้ อน พระตาหนักองค์นี ้สร้ างขึ ้นคูก่ บั พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์ โดยมีฉนวนทางเดินทา เป็ นสะพานจากชันบนด้ ้ านหลังของพระตาหนักชาลีมงคลอาสน์ ข้ ามคูน ้าเชื่อมกับ ชันบนด้ ้ านหน้ าของพระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ สะพานดังกล่าวหลังคามุง กระเบื ้องและติดหน้ าต่างกระจกทังสองด้ ้ าน ตลอดความยาวของสะพานที่เชื่อม ติดต่อถึงกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ 43
ให้ สร้ างพระตาหนักนี ้ในราว พ.ศ. 2459 โดยมีหม่อมเจ้ าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร เป็ นสถาปนิกออกแบบ รูปแบบสถาปั ตยกรรมภายนอกคล้ ายกระท่อมไม้ ในชนบท ทาสีแดง หลังคาทรงปั น้ หยายกจัว่ สูง ผังอาคารเป็ นรูปไม้ กางเขนแต่แขนยาวไม่ เท่ากัน ภายในแบ่งออกเป็ น 2 ชัน้ โดยชันล่ ้ างด้ านตะวันออกเป็ นโถงใหญ่โล่งถึงชัน้ บน ส่วนแกนเหนือใต้ เป็ นห้ องโถงทางเข้ าด้ านหนึง่ และห้ องนอนมหาดเล็กชันบนมี ้ 4 ห้ อง ได้ แก่ ห้ องโถงทางทิศเหนือมีประตูเปิ ดสูฉ่ นวนน ้าที่เชื่อมกับพระตาหนักชาลี มงคลอาสน์ ห้ องทรงพระอักษรอยูท่ างทิศเหนือ ห้ องบรรทมอยูท่ างทิศใต้ มีประตู ออกสูร่ ะเบียง และห้ องสรงอยูด่ ้ านตะวันตกของห้ องพระบรรทม 1.1.7 พระตาหนักทับขวัญ เป็ นหมูเ่ รื อนไทย มีชานเชื่อมต่อกันหมด เช่นหอนอน 2 หอ เรื อนโถง เรื อนครัว หอนกอยูท่ ี่มมุ ของเรื อน ใช้ วิธีเข้ าไม้ แบบโบราณ ฝาเรื อนทา เป็ นฝาไม้ ปะกนกรอบลูกฟังเชิงชายและไม้ ค ้ายันสลักสวยงาม ออกแบบโดย พระยา วิศกุ รรมศิลปประสิทธิ์ (น้ อย ศิลปี ) เป็ นนายช่างผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้ าง รอบ ๆ เรื อนปลูกไม้ ไทย เช่น นางแย้ ม นมแมว ต้ นจัน และจาปี และพระตาหนักหลัง นี ้ได้ รับการบูรณะเมื่อครัง้ พระราชพิธีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ าง ขึ ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้ านไทยแบบโบราณ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ จดั การ พระราชพิธีขึ ้นพระตาหนักใหม่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2454 พระองค์ได้ ประทับ แรม ณ พระตาหนักองค์นี ้เป็ นเวลา 1 คืน และเมื่อมีการซ้ อมรบเสือป่ า พระตาหนัก องค์นี ้ใช้ เป็ นที่ตงกองบั ั้ ญชาการเสือป่ าราบหนักรักษาพระองค์ 1.1.8 พระตาหนักทับแก้ ว เป็ นอาคาร 2 ชัน้ ตังอยู ้ ท่ เี่ ชิงสะพานสุนทรถวาย เป็ นที่ ประทับในฤดูหนาวของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั และเป็ นที่ตงของ ั้ กองบัญชาการเสือป่ า กองเสนารักษ์ ราบเบารักษาพระองค์ระหว่างที่มีการซ้ อมรบ เสือป่ า รวมทังเป็ ้ นสถานที่พระราชทานสัญญาบัตรแก่ข้าราชการ และเป็ นที่ประทับ พักผ่อนพระอิริยาบถและเสวยพระสุธารส ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็ นแบบ ตะวันตก เป็ นตึก 2 ชันขนาดเล็ ้ กทาสีเขียวอ่อน ภายในมีเตาผิงและหลังคาปล่องไฟ ตามบ้ านของชาวตะวันตก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ เปนที่พกั ของปลัดจังหวัดนครปฐม จนกระทัง่ ได้ รับการบูรณะ ใน พ.ศ. 2546 พระตาหนักทับแก้ ว เคยเป็ นวิทยาลัยทับแก้ วของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ทาให้ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ชื่อว่า "ม.ทับแก้ ว"
44
เรือนข้ าราชการชัน้ ผู้ใหญ่ เป็ นที่อยูอ่ าศัยของข้ าราชการตังแต่ ้ ระดับ พระ พระยา และเจ้ าพระยา ลักษณะของผังจะเป็ นเรื อนที่ประกอบด้ วย ระเบียงทางเดิน ห้ องนอน ห้ องรับแขก ห้ องครัว และห้ องน ้า ได้ แก่ 1.ทับแก้ ว 2.ทับเจริ ญ เรื อนพระอรณี ,เรื อนไม่ทราบชื่อหมายเลข 2 ,เรื อนพระธเนศวร เดิมเป็ นบ้ านพักของเจ้ าพระยารามราฆพอธิบดีกรม มหาดเล็ก เป็ นเรื อนไม้ ทรงปั น้ หยายกพื ้นใต้ ถนุ สูง ด้ านใต้ ถนุ เป็ นพิพิทธภัณฑ์ แสดงเครื่ องมือเครื่ องใช้ โบราณ อาทิ โลงผีแมน ครกกระเดื่อง ลอบ ไซ โม่หิน ส่วนบนตาหนักก็แสดงนิทรรศการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในภูมิภาคตะวันตกนี ้ เดิมเป็ นที่พกั ของ เจ้ าพระยารามราฆพ อธิบดีกรมมหาดเล็ก ปั จจุบนั หลังจากที่มกี ารบูรณะแล้ วเป็ นที่ตงของ ั้ สถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตก เรื อนหลังนี ้สร้ างขึ ้น ปลาย รัชกาลแล้ ว คือเมื่อ พ.ศ.2467 เป็ นอาคารไม้ ทรงปั น้ หยา มุงด้ วยกระเบื ้องว่าว ชันเดี ้ ยว ยกใต้ ถนุ สูง ภายในแบ่งออกเป็ น 10 ห้ อง ตรงกลางเป็ นห้ องโถงใหญ่ ทางขึ ้น อยูด่ ้ านหน้ า เรื อนพระคฤหบดี ,เรื อนพระเอกทนค์ ,เรื อนพระกรรดิเกยะ ,เรื อนพระนนทิการ เดิมเป็ นบ้ านพักของ พระยาอุดมราช ภักดี (โถ สุจริ ตกุล) ในสมัยรัชกาลที่ 6 และใช้ เป็ นบ้ านพักของ พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ อธิบดีผ้ พู ิพากษาในสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 เป็ นเรื อนไม้ สกั ชันเดี ้ ยวยกใต้ ถนุ สูง ตังอยู ้ บ่ นเกาะในลาคูพระราชวังสนาม จันทร์ ด้านทิศเหนือ มีเนื ้อที่ประมาณ 250 ตารางเมตร จัดเป็ นเรื อนไม้ ขนาดใหญ่ปานกลาง มี ศาลาริ มน ้าซึง่ มีสะพานเชื่อมกับตัว เรื อน มีลวดลายฉลุตกแต่งแบบเรือนขนมปั งขิงทีง่ ดงาม เรื อนไม่ทราบชื่อหมายเลข 8 ,เรื อนพระศุภลักษณ์ ,เรื อนชาวที่ ,เรื อนพระสุรภีเดิมเป็ นบ้ านพักของ เจ้ าพระยาธรรมาธิ กรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปมุ้ มาลากุล) เป็ นเรื อนไม้ สกั ชันเดี ้ ยวยกพื ้นใต้ ถนุ สูง และเคยใช้ เป็ นบ้ านพักของผู้วา่ ราชการจังหวัด เรื อนพระสุรภี เดิมเป็ นบ้ านพักของ ท้ าวอินทรสุริยา (เชื ้อ พึง่ บุญ) โดยในปั จจุบนั ทางมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ ทาการ บูรณะเรื อนแห่งนี ้ใหม่ เรื อนพระกรรณสักขี เดิมเป็ นบ้ านพักที่ของ พระยาอภัยภูเบศร (เลือ่ ม อภัยวงศ์) และบุตรี เครื อแก้ ว อภัยวงศ์ (ต่อมา เป็ น พระนางเจ้ าสุวทั นา พระวรราชเทวี) ครัง้ ยังทรงพระเยาว์ เป็ นเรื อนไม้ สกั โดยในปั จจุบนั ทางมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ ทาการ บูรณะเรื อนแห่งนี ้ใหม่
เรื อนข้ าราชการผู้น้อย เป็ นเรื อนที่อยูอ่ าศัยของข้ าราชการชันผู ้ ้ น้อย ประกอบด้ วย ทหาร ตารวจ มหาดเล็ก และข้ าหลวง ผังเรื อนจะเป็ นรูป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าเป็ นห้ องนอนยาว มีระเบียงทางด้ านหน้ าของเรื อน และห้ องน ้ามักจะอยูด่ ้ านข้ างของเรื อนทังสองด้ ้ าน ได้ แก่ เรื อน เจ้ าพนักงานไฟฟ้า ,ที่พกั มหาดเล็ก ,โรงไฟฟ้าและสูบน ้า ,ห้ องเครื่ องฝรั่ง ,ห้ องเครื่ องไทย ,โรงเลี ้ยงอาหาร ,เรื อนข้ าหลวงหลัง พระที่นงั่ พิมานปฐม 1 ,เรื อนข้ าหลวงหลังพระที่นงั่ พิมานปฐม 2 ,คลังแสง ,พักราชองครักษ์ ,ที่พกั ตารวจหลวง 1 ,โรงอาหาร , เรื อนไม่ทราบชื่อหมายเลข 13 ,เรือนข้ าหลวงหลังพระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์
45
อาคารและสิง่ ก่อสร้ างที่สร้ างขึ ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 ในพระราชวังสนามจันทร์ ตังอยู ้ ใ่ นเขตพื ้นทีศ่ กึ ษาที่ 1,2,3, และ 5 ส่วนใน เขตพื ้นที่ศกึ ษาที่ 4,6 และ 7 ไม่มอี าคารและสิง่ ก่อสร้ างดังกล่าวข้ างต้ นตังอยู ้ ่
แบ่ งตามรู ปแบบสถาปั ตยกรรม รูปแบบสถาปัตยกรรมในพระราชวังสนามจันทร์ สามารถจาแนกตามรูปแบบออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ
อาคารแบบไทยประเพณี เป็ นอาคารที่ยดึ ถือรูปแบบวิธีการก่อสร้ างตามประเพณีสบื ทอดมากล่าวคือ เป็ นอาคารก่ออิฐถือปูน หลังคาโครงไม้ ประกอบด้ วยคันทวย ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้ง ผนังก่ออิฐฉาบปูน พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์ด้านทิศเหนือ ทิศ ตะวันออก และ ทิศตะวันตกผนังจะเปิ ดโล่ง ส่วนด้ านทิศใต้ ติดพระที่นงั่ วัชรี รมยา สาหรับเรื อนหมูเ่ ป็ นเรื อนแบบไทย สาหรับ คฤหบดีภาคกลาง เป็ นเรื อนที่ปลูกในที่เดียวกันหลายหลัง โดนมีนอกชานแล่นกลางเชื่อมติดต่อกันได้ ตลอด เป็ นอาคารกลุม่ ประกอบด้ วยเรื อน 8 หลัง อาคารแบบประเพณี ได้ แก่ พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์ ,พระที่นงั่ วัชรี รมยา ,พระตาหนักทับขวัญ
อาคารแบบตะวันตก อาคารแบบตะวันตกในพระราชวังสนามจันทร์ สว่ นหนึง่ นาแบบอย่างตะวันตกมาสร้ าง ประกอบด้ วยลักษณะรูปแบบ ใหญ่ ๆ 2 แบบคือ
แบบวิคตอเรียน เป็ นรูปแบบที่มีความเจริ ญในช่วงศตวรรษที่ 19 – 20 เริ่ มตังแต่ ้ ค.ศ.1830 - ค.ศ.1900( พ.ศ.2373 – 2443 ) สถาปั ตยกรรมวิคตอเรียนเป็ นการยึดถือเรื่ องราวในอดีต และประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมทางศาสนาจะนิยมใช้ รูปแบบโกธิคเป็ นส่วนมาก สถาปั ตยกรรมที่ไม่ใช่วดั จะนิยมศิลปะโกธิค คลาสสิค รอคโกโก และยังมีศิลปะที่ไม่ แพร่หลายอีกหลายอย่าง เช่น ศิลป์ จีน อินเดีย เป็ นต้ น กล่าวโดยสรุปศิลปะวิคตอเรี ยนเป็ นยุดที่ใช้ รูปแบบ สถาปั ตยกรรมทุกรูปแบบทังของตะวั ้ นตกและของตะวันออกนามาผสมผสานกันฃ สถาปั ตยกรรมในพระราชวังสนามจันทร์ รูปแบบศิลปะวิคตอเรี ยนได้ แก่ พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์ และ พระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ รูปแบบของพระตาหนักชาลีฯหน้ ามุขคล้ ายจัว่ บ้ านของอังกฤษ ป้อมโค้ งเหมือนคอหอย เป็ นอาคารคล้ ายปราสาท เป็ นสถาปั ตยกรรมที่ผสมผสานแบบโรแมนติค และอิทธิพลของปราสาทเรอนาซองส์ของ ฝรั่งเศส กับอาคารแบบ Haft Timbered Classic ส่วนพระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ เป็ นสถาปัตยกรรมที่นารูปแบบ Neo Classic เพียงแต่เปลีย่ นวัสดุโดยใช้ ไม้ แทน
แบบขนมปั งขิง ( Ginger Bread ) เป็ นเรื อนแบบตะวันตกมีการตกแต่งอย่างหรูหรา มีลายฉลุประดับเชิงชาย เป็ นเรื อนที่ได้ ผสมผสานเรื อน ปั น้ พยากับเรื อนมะลิลาไว้ ด้วยกัน เรื อนปั น้ หยาเป็ นเรื อนที่มีหลังคาคลุมทังสี ้ ด่ ้ านไม่มีจวั่ และเรื อนมนิลาเป็ นเรื อนแบบ ปั น้ หยาแต่มีจวั่ ด้ านหน้ า ลักษณะของเรื อนขนมปังขิงในพระราชวังสนามจันทร์ สว่ นมากเป็ นเรื อนชันเดี ้ ยวยกใต้ ถนุ สูง
46
หลังคามุงกระเบื ้องซิเมนต์ ได้ แก่ เรื อนทับเจริ ญ ,เรื อนพระธรณี,เรื อนข้ าราชการชันผู ้ ้ ใหญ่ไม่ทราบชื่อหมายเลข 2 , เรื อนพระธเนศวร ,เรื อนพระคฤหบดี ,เรื อนพระเอกทนต์ ,เรื อนพระกรรดิเกยะ ,เรื อนพระนนทิการ ,เรื อนข้ าราชการชัน้ ผู้ใหญ่ไม่ทราบชื่อหมายเลข 8 ,เรื อนพระศุภลักษณ์ ,เรื อนชาวที่ ,เรื อนพระสุรภี ,เรื อนพระกรรณสักขี ,เรื อนพระศิลปิ น ,เรื อนเจ้ าพนักงานไฟฟ้า ,ที่พกั มหาดเล็ก ,โรงไฟฟ้าและสูบน ้า ,ห้ องเครื่ องฝรั่ง ,ห้ องเครื่ องไทย ,โรงอาหาร ,เรื อน ข้ าหลวงหลังพระที่นงั่ พิมานปฐม 1 ,เรื อนข้ าหลวงหลังพระที่นงั่ พิมานปฐม 2 ,คลังแสง ,ที่พกั ราชองครักษ์ ,ที่พกั พระ ตารวจหลวง 1 ,โรงอาหาร ,ที่พกั พระตารวจหลวง 2 ,เรื อนข้ าหลวงหลังพระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์
อาคารแบบผสม เป็ นอาคารแบบตะวันตก ก่ออิฐถือปูน 2 ชัน้ แต่ดดั แปลงให้ เหมาะกับเมืองร้ อน มีช่องระบายลม มีระเบียงลูกกรง โดยรอบฉลุเป็ นลวดลายตามแบบอย่างไทย การจัดผังอาคารจัดแบบตะวันตก ได้ แก่ พระที่นงั่ พิมานปฐม ,พระที่นงั่ อภิรมย์ฤดี , พระตาหนักทับแก้ ว แยกตามทรงหลังคา แบ่งได้ 3 ลักษณะคือ หลังาทรงปั น้ พยา ได้ แก่ เรื อนเจ้ าพนักงานไฟฟ้า,โรงไฟฟ้าและสูบน ้า,ห้ องเครื่ องฝรั่ง,ห้ องเครื่ องไทย,โรงเลี ้ยง อาหาร,คลังแสง,โรงอาหาร,เรื อนพระตารวจหลวง 2,เรื อนข้ าหลวงหลังพระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ ,เรื อนพระธรณี, เรื อนพระธเนศวร,เรื อนพระคฤหบดี,เรื อนพระกรรดิเกยะ,เรื อนไม่ทราบชื่อ ( หมายเลข 8 ),เรื อนชาวที่,เรื อนพระสุรภี, เรื อนพระศิลปิ น,เรื อนทับเจริ ญ หลังคาทรงมะนิลาผสมปั น้ หยา ได้ แก่ พระที่นงั่ พิมานปฐม,พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์ฃ,พระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์,เรื อนเจ้ านายชันผู ้ ้ ใหญ่ไม่ทราบชื่อหมายเลข 2,เรื อนพระเอกทนต์,เรื อนพระนนทิการเรื อนพระศุภ ลักษณ์,เรื อนพระกรรณสักขี,ที่พกั มหาดเล็ก,ห้ องข้ าหลวงหลังพระที่นงั่ พิมานปฐม 1,ห้ อข้ าหลวงหลังพระที่นงั่ พิมาน ปฐม 2,ที่พกั ราชองครักษ์ ,ที่พกั พระตารวจหลวง 1,เรื อนข้ าราชการชันผู ้ ้ น้อยไม่ทราบชื่อหมายเลข 14 หลังคาทรงมะนิลา ได้ แก่ พระตาหนักทับแก้ ว แยกตามลักษณะผังพื ้น แบ่งได้ 7 ลักษณะ ผังพื ้นมีมขุ 5 เหลีย่ มยื่นกิ่งกลางเรื อน ได้ แก่ เรื อนพระธเนศวร,เรื อนพระคฤหบดี ,เรื อนพระกรรดิเกยะ ,เรื อนข้ าราชการ ชันผู ้ ้ ใหญ่ไม่ทราบชื่อ ( หมายเลข 8 ) ,เรื อนชาวที่ ,เรื อนพระศิลปิ น ผังพื ้นเรื อนเป็ นลักษณะตัวแอล ได้ แก่,เรื อนพระธรณี,เรื อนพระเอกทนต์,เรื อนพระสุรภี,ผังพื ้นรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้ ามุข กลางเรื อน ได้ แก่,เรื อนข้ าราชการชันผู ้ ้ ใหญ่ไม่ทราบชื่อ ( หมายเลข 2 ),เรื อนนนทิการ,โรงเลี ้ยงอาหาร,เรื อนข้ าราชการชันผู ้ ้ น้อย ไม่ทราบชื่อ ( หมายเลข ),ผังพื ้นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ ามีมขุ หัวท้ ายหรือปลายข้ าง ได้ แก่,พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์,พระตาหนักมา รี ราชรัตบัลลังก์,เรื อนพระศุภลักษณ์,เรื อนพระกรรณสักขี,เรื อนทับเจริ ญ ผังพื ้นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าบริ เวณโล่งภายใน ได้ แก่ ห้ องเครื่ องฝรั่ง,ห้ องเครื่ องไทย ผังพื ้นรูปตัวอี ได้ แก่ ที่พกั มหาดเล็ก,ห้ องข้ าหลวงหลังพระที่นงั่ พิมานปฐม 1,ห้ องข้ าหลวงหลังพระที่นงั่ พิมานปฐม 2, ที่ พักราชองครักษ์ ,ที่พกั ตารวจหลวง 1,ที่พกั ตารวจหลวง 2 ผังพื ้นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า ได้ แก่ พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์,พระที่นงั่ วัชรี รมยา,พระตาหนักทับขวัญ,พระตาหนักทับแก้ ว, เรื อนเจ้ าพนักงานไฟฟ้า,โรงไฟฟ้าและสูบน ้า,คลังแสง,โรงอาหาร, เรื อนข้ าหลวงหลังพระตาหนักมารีราชรัตบัลลังก์
47
วัสดุ และการก่ อสร้ าง วัสดุและการกอ่สร้ างอาคารแบบไทยประเพณี อาคารประเภทนี ้ ได้ แก่ พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์ พระที่นงั่ วัชรี รมยา และพระตาหนักทับขวัญ พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์และพระที่นงั่ วัชรี ยา เป็ นอาคารทรงไทยประดับ ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เป็ น อาคาร 1 ชัน้ และ 2 ชัน้ ตามลาดับ โครงสร้ างระบบเสา และผนังรับน ้าหนัก หลังคาทรงจัว่ เครื่ องไม้ หลังคามุงกระเบื ้อง ฐานชัน้ ล่างเป็ นฐานสิงห์ ผนังพระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์เป็ นผนังโล่ง ผนังพระที่นงั่ วัชรี รมยาเป็ นผนังก่อทึบ มีการเจาะช่องประตูและ หน้ าต่าง อาคารทังสองมี ้ ดนั ทวยรองรับชายคา แต่ปัจจุบนั พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์ไม่มดี นั ทวยรองรับ นอกจากนันเรื ้ อนหมู่ ซึง่ เป็ นเรื อนไทยแบบภาคกลางคือ พระตาหนักทับขวัญประกอบด้ วยเรื อน 8 หลัง วัสดุก่อสร้ าง เป็ นไม้ ทงหลั ั ้ ง เป็ นอาคารยกใต้ ถนุ สูงใช้ เสา และคานรับน ้าหนัก เสาเป็ นเสาไม้ กลมข้ างบนจะเล็กกว่าด้ านล่าง หลังคาสมัย รัชกาลที่ 6 มุงด้ วยจากหลบหลังคาด้ วยกระเบื ้องดินเผา ปั จจุบนั มุงด้ วยกระเบื ้องดินเผาไม่เคลือบ
วัสดุและการก่ อสร้ างอาคารแบบตะวันตก แบ่ งได้ 2 ลักษณะ คือ แบบวิคตอเรี ยน อาคารประเภทนี ้คือ พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์ และ พระตาหนักมารี ราชบัลลังก์ การก่อสร้ างพระ ตาหนักชาลีมงคลอาสน์ เป็ นอาคารคอนกรีตผสมไม้ สงู 2 ชัน้ มีดาดฟ้า โดม ระเบียงทางเดิน บริเวณที่ชายคาและหัวเสามีการ ปั น้ ลายปูนปั น้ ประดับ หลังคาเป็ นทรงมะนิลาผสมปั น้ หยา มีจวั่ หักมุมเอียงลงมาเล็กน้ อย ( Half – Hipped – Roof ) ที่โดมมุง ด้ วยกระเบื ้องแผ่นโค้ งมน พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์เป็ นศิลปะแบบวิคตอเรี ยน นารูปแบบเรอเนอซองส์มาผสมผสาน พระ ตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ การก่อสร้ างพระตาหนักใช้ ไม้ เป็ นโครงสร้ างเป็ นอาคารไม้ สองชัน้ เป็ นศิลปะแบบนีโอคลาสสิค ใช้ เสา และคานรับน ้าหนัก ไม่มีใต้ ถนุ ส่วนฐานจะติดกับพื ้นดิน ผนังอาคารเป็ นไม้ เจาะช่องหน้ าต่างและประตู หลังคาโครงสร้ างเป็ นไม้ ทรงมะนิลาผสมปั น้ หยา มีจวั่ เล็กประกอบ วัสดุและการก่อสร้ างแบบเรื อนขนมปั งขิง การก่อร้ างแบบเรื อนขนมปั งขิงโดยรวมแล้ วจะเป็ นเรื อนข้ าราชการชันผู ้ ้ ใหญ่ และเรื อนข้ าราชการชันผู ้ ้ น้อย เป็ นอาคารทีใ่ ช้ เสาและคานรับน ้าหนัก พื ้นจะยกสูงเป็ นส่วนมาก บางหลงัจะติดดิน เสาเรื อนเป็ น เสาก่ออิฐถือปูน ตัวเรื อนเป็ นไม้ เจาะช่องประตูและหน้ าต่าง หลงัคามุงกระเบื ้องซีเมนต์สเี่ หลีย่ มว่าว อาคารที่ตดิ พื ้นดินจะไม่มี เสาเรื อน วัสดุและการก่อสร้ างอาคารแบบผสม อาคารประเภทนี ้จะเป็ นอาคารกลุม่ พระที่นงั่ พิมานปฐม พระที่นงั่ อภิรมย์ฤดี และพระตาหนักทับแก้ ว เป็ นการก่อสร้ างโดยใช้ เสาและคานรับน ้าหนัก ผนังอาคารจะเป็ นผนังก่ออิฐฉาบปูน มีการเจาะช่อง หน้ าต่างและประตูเป็ นบานไม้ เปิ ด 2 บาน พระตาหนักทับแก้ วจะเป็ นบานหน้ าต่างเล็กกว่าอาคารอืน่ หลงัคามุงกระเบื ้องซีเมนต์ สีเ่ หลีย่ มขนมเปี ยกปูน
ลวดลาย และกาตกแต่ ง ลวดลายและการตกแต่งอาคารแบบไทยประเพณี หน้ าบันพระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์พื ้นประกอบด้ วยกระจกสีขาว ตรง กลางเป็ นรูปพระอินทร์ ถือวชิราวุธประทับนัง่ อยูต่ รงกลางวิมานห้ อยพระบาทขวา ส่วนบนประกอบด้ วยลายพุม่ ด้ านขวาประดับ ด้ วยรูปเทวดาประนมมือ ทางซ้ ายจะเป็ นรูปเทวดาหญิง หน้ าบันด้ านทิศใต้ ของพระที่นงั่ วัชรี รมยา สลักเป็ นเข็มวชิราวุธอยู่ ภายใต้ วงรัศมี ซึง่ มีกรอบล้ อมรอบมีลายกนกลงรักปิ ดทอง พื ้นประดับกระจกสีน ้าเงินล้ อมรอบอีกชันหนึ ้ ง่ มีสาหร่ายรวงผึ ้งห้ อย
48
ลงมาระหว่างเสาหน้ ามุข หน้ าบันด้ านทิศตะวันออกเป็ นรูปช้ างเอราวัณ บนหลังมีสปั คับลายทอง ตามแบบช้ างทรงกษัตราธิราช ข้ างในมีเข็มวชิราวุธล้ อมรอบด้ วยลายกนกลงรักปิ ดทอง พื ้นประดับกระจกสีน ้าเงิน ส่วนหน้ าบันทางด้ านทิศตะวันตกจะเหมือน ทางด้ านทิศใต้ แต่จะมีขนาดใหญ่กว่า ประตู และหน้ าต่างของพระที่นงั่ วัชริ รมยามีลกั ษณะคล้ ายเรื อนแก้ ว เป็ นซุ้มบัณแถลงซ้ อน 2 ชัน้ เสียบไว้ ด้วยยอด วชิราวุธไว้ ภายในมีเลข ๖ อยูใ่ นลายพิจิตรเลขา เป็ นมหามงกุฎ ล้ อมด้ วยลายกนกลงรักปิ ดทอง พื ้นประดับกระจกสีน ้าเงิน พื ้นเพดานชันบนของพระที ้ ่นงั่ วัชริ รมยา ทาสีแดงเข้ มประดับดอกดวงซึง่ ทาด้ วยไม้ แกะสลักปิ ดทอง ชันล่ ้ างทาสีแดงเข้ ม และปิ ด ทองฉลุเป็ นดาวประดับ ลวดลายและการตกแต่งอาคารพระราชตาหนัก แบบเรื อนหมูเ่ รื อนไทยภาคกลาง เป็ นเรื อนไม้ ฝาประดับกนกกรอบลูก ฟั ก หลังคามีปัน้ ลม ตัวเหงา ฝาหน้ าจัว่ ลูกฟั ก มีชานเชื่อมติดต่อกัน ทีหลังคาในสมัยรัชกาลที่ 6 มุงจากหลบหลังคาเป็ นกระเบื ้อง ปั จจุบนั มุงด้ วยกระเบื ้อง
ลวดลายและการตกแต่ งอาคารแบบตะวันตก แบบวิคตอเรี ยน พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์มกี ารปั น้ ลวดลายฝรั่งเศสประกอบทีเ่ ชิงชายชัน้ 2 ของอาคาร และที่หวั เสาด้ านล่างของอาคาร ระเบียงทางเดินชัน้ 1 และชัน้ 2 และบนดาดฟ้าประดับ ลวดลายและการตกแต่งของพระตาหนักมาลีราช รัตบัลลังก์ เสาอาคารพระตาหนักมารี ราชบัลลังก์ ส่วนหน้ าทาเป็ นเสากลมตกแต่งองค์ประกอบสถาปั ตยกรรมด้ วยไม้ แกะสลัก เป็ นลวดลาย ฝรั่งประกอบที่ฐาน และหัวเสาทาเป็ นซุ้มโค้ งเหนือประตู และหน้ าต่าง ที่หน้ าจัว่ หลังคาประทับด้ วยไม้ แกะสลัก เป็ นลวดลายลักษณะศิลปะนิโอคลาสสิค แต้ ใช้ วสั ดุไม้ แทน บานประตูเป็ นไม้ ลกู ฟ้าผสมบานเกล็ด ส่วนในวงโค้ งประดับกระจก ใส หน้ าต่างทาเป็ นบานยาวและสัน้ จะเป็ นบานเดี่ยวใหญ่ตดิ กระจกใส ส่วนบนกรอบหน้ าต่างจะเป็ นช่องติดกระจกใส แบบขนมปั งขิง การตกแต่งอาคารแบบขนมปั งขิง เป็ นอาคารที่มีราวระเบียงทางเดิน ที่ราวระเบียงนี ้จะตกแต่งเป็ นไม้ ฉลุลวดลายฝรั่ง บางหลังทาเป็ นไม้ ระแนงแนวตังประดั ้ บ ลวดลายและการกตแต่งอาคารแบบผสม ได้ แก่ พระที่นงั่ พิมานปฐม พระที่นงั่ อภิรมย์ฤดี และพระตาหนักทับแก้ ว พระ ที่นงั่ พิมานปฐม และพระที่นงั่ อภิรมย์ฤดี จะเป็ นการตกแต่งเอาคานที่มีลกั ษณะเหมือนกัน เพราะเป็ นอาคารที่ตอ่ เนื่องกัน การ ตกแต่งอาคารจะตกแต่งลายฉลุไม้ ที่เชิงชาย ที่คอสองของระเบียง และที่พนักของระเบียง ส่วนบนของประตูและหน้ าต่างฉลุไม้ เป็ นลายฝรั่งประดับ บานประตูและหน้ าต่างเป็ นบานไม้ เปิ ดสองบานลักษณะลูกฟักกระดานคุน สามารถเปิ ดแบบกระทุ้งได้ ปั จจุบนั หน้ าต่างของอาคารมีการเปลีย่ นแปลงเป็ นกระจกบานแท่ง การตกแต่งพระตาหนักทับแก้ ว ไม่ตกตแงมากเหมือนกับ พระที่นงั่ ทังสอง ้ แต่มีการตกแต่งที่กนั สาด และที่ระเบียงทางขันของอาคาร ้ การใช้ สอยอาคารในสภาพปั จจุบนั การใช้ สอยอาคารโบราณสถานในสภาพปั จจุบนั สามารถแยกการใช้ สอยออกเป็ น 4 ประเภท คือ 1.ใช้ สอยเพื่อเป็ นสานักงาน ห้ องประชุมของทางราชการ ได้ แก่ พระที่นงั่ สามัคคีมขุ มาตย์ พระที่นงั่ วัชริ รมยา กาศทหาร พระที่นงั่ พิมานปฐม พระที่นงั่ พิมานปฐม พระที่นงั่ อภิรมฤดี เรื อนข้ าหลวง หลงพระที่นงั่ พิมานปฐม 1 และ 2 เรื อนที่พกั ราช องครักษ์ และเรื อนที่พกั พระตารวจหลวง 1
49
2.ใช้ สอยเพื่อจัดเป็ นพิพิธภัณฑ์ ได้ แก่ พระตาหนักมารี ราชรัตบัลลังก์ พระตาหนักทับขวัญ และเรื อนทับเจริ ญ 3.ใช้ สอยเพื่อเป็ นที่พกั อาศัยของทางราชการ และเอกชน ได้ แก่ พระตาหนักทับแก้ ว เรื อนพระธรณี เรื อนที่พกั ข้ าราชการชันผู ้ ้ ใหญ่ไม่ทราบชื่อหมายเลข 2 เรื อนพระธเนศวร เรื อนพระคฤหบดี เรื อนพระเอกทนต์ เรื อนพระนนทิการ เรื อนที่ พกั ข้ าราชการชันผู ้ ้ ใหญ่ไม่ทราบชื่อหมายเลข 8 เรื อนเดี่ยวพระศุภลักษณ์ เรื อนเดี่ยวชาวที่ เรื อนเดี่ยวพระกรรณสักขี เรื อนเดียวพระ ศิลปิ น เรื อนแถวเจ้ าพนักงานไฟฟ้า เรื อนแถวที่พกั มหาดเล็ก เรือนแถวโรงไฟฟ้าและสูบน ้า เรื อนแถวห้ องเครื่ องฝรั่ง เรื อนแถว ห้ องเครื่ องไทย เรื อนแถวโรงเลี ้ยงอาหาร เรื อนแถวคลังแสง เรื อนแถวพระตารวจหลวง 2 และเรื อนข้ าราชการชันผู ้ ้ ใหญ่ไม่ทราบ ชื่อหมายเลข 13 4.ใช้ สอยเพื่อเป็ นทีเ่ ก็บของของทางราชการ ได้ แก่ เรื อนเดี่ยวพระสุรภี และเรื อนโรงอาหาร ทิ ้งว่างเปล่า และกาลัง ดาเนินการซ่อม ได้ แก่ พระตาหนักชาลีมงคลอาสน์ สะพานเชื่อมพระตาหนัก เรื อนพระกรรติเกยะ และเรื อนแถวหลังพระตาหนัก มารี ราชรัตบัลลังก์
50
บทที่ 6 สถาปั ตยกรรมไม่ ใกล้ ไม่ ไกลศิลปากรเพชรบุรี ประวัติ พระราชนิเวศน์มฤคทายวันเป็ นพระราชวังฤดูร้อนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ า ( รัชกาลที่ 6 ) ทรงพระกรุณาโปรด เกล้ าโปรดกระหม่อมให้ สร้ างขึ ้น ณ ตาบลห้ วยทรายเหนือ ( ปัจจุบนั คือตาบลชะอา ) อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี สาหรับเสด็จ พระราชดาเนินแปรพระราชฐานประทับพักผ่อนพระอิริยาบถและรักษาพระองค์ พระบาสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เสด็จ พระราชดาเนินมาประทับแรมที่พระราชนิเวศน์แห่งนี ้สองครัง้ คือ ระหว่างฤดูร้อนปี พ.ศ. 2467 เริ่มจากวันที่ 23 เมษายน ทรง ประทับอยูน่ านประมาณ 3 เดือนและครัง้ ที่สอง ตังแต่ ้ วนั ที่ 12 เมษายน ถึง 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2468 รวมเวลา 2 เดือนเศษ กรม ศิลปากร ขึ ้นทะเบียนพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เป็ นโบราณสถานแห่งชาติ ในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 98 ตอนที่ 177 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2524 โดยได้ กนั พื ้นที่พระราชฐานรอบอาคาร พระราชนิเวศน์ทงหมดรวม ั้ 31 ไร่ 1 งาน 62.5 ตารางวา และด้ วยเดชะ พระบารมีปกเกล้ าปกกระหม่อมของพระบามสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลปั จจุบนั ผู้ทรงพระมหากรุณาพระราชทานพระบรมรา ชานุญาตให้ พื ้นทีค่ า่ ยพระรามหก พระราชนิเวศน์มฤคทายวันและอุทยานสิง่ แวดล้ อมนานาชาติสริ ิ นธร อันเป็ นพื ้นที่ทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ เป็ นสถานที่ราชการและเป็ นสถานที่สาธารณชนสามารถเข้ ามาศึกษาหาความรู้ทงในด้ ั ้ านประวัติศาสตร์ สถาปั ตยกรรม ศิลปกรรม ธรรมชาติ สิง่ แวดล้ อม และเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ ตลอดจนด้ วยพระกรุณาธิคณ ุ ของสมเด็จพระเจ้ า ภคินีเธอ เจ้ าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณรวดีที่ทรงพระกรุณาอุปการะการบูรณปฏิสงั ขรณ์และทานุบารุงพระราชนิเวศน์ มฤคทายวันมาโดยตลอด ( พราชนิเวศน์มฤคทายวัน , 2549 ) ก่อนหน้ าที่จะมีการสร้ างพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน พระยาแพทย์พงศาวิสทุ ธาธิบดี ( สุน่ สุนทรเวช ) แพทย์หลวง ประจาพระองค์ ได้ กราบบังคมทูลพระกรุณาแนะนาให้ พระบามสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 ซึง่ ทรงพระประชวรด้ วยโรครูมา ติซมึ่ เสด็จประทับ ณ สถานที่อากาศถ่ายเทสะดวกแถบชายทะเล ซึง่ ในขณะนันหั ้ วหินเป็ นสถานที่ตากอากาศที่เริ่มได้ รับความ นิยมแล้ ว ตามบันทึกเรื่ องที่ประทับชายทะเลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เรี ยบเรี ยงโดย จมื่นอมรดรุณารักษ์ ( แจ่ม สุนทรเวช ) กล่าวถึงพระราชปรารถว่า “ ที่นนั่ กาลังเป็ นทีน่ ิยมของประชาชนทัว่ ไป ไม่อยากจะเข้ าไปรบกวนความสนุก สบายของเขา ” เพราะด้ วยประเพณีดงเดิ ั ้ มนันเมื ้ ่อพระมหากษัตริ ย์เสด็จประทับแรมทีใ่ ด บริเวณนันจะถู ้ กกาหนดเป็ นเขต พระราชฐาน คนทัว่ ไปจึงถูกกันออกและไม่สามารถเข้ าใกล้ สถานที่ได้ ด้ วยเหตุนี ้พระองค์จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ กระทรวงทหารเรื อสารวจหาทาเลที่เหมาะสมเพื่อจะสร้ างพระราชวังฤดูร้อน ครัน้ เมื่อมีรายงานกราบบังคมทูลว่า ที่ดินติดตาบล บางทะลุ อาเภอชะอา มีหาดทรายสะอาด จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ดาเนินการสร้ างพระราชวังแบบเรียบง่ายขึ ้นในปี พ.ศ. 2460 แล้ วพระราชทานชื่อชายทะเลบริ เวณพระราชวังนี ้ว่า “ หาดจสาราญ ” นอกจากจะทรงใช้ พระราชวังใหม่เป็ นที่ ประทับแรมเพื่อพระอนามัยแล้ ว ยังใช้ สาหรับทอดพระเนตรการซ้ อมรบของเสือป่ าจังหวัดเพชรบุรี จึงทาให้ เรียกกันโดยทัว่ ไปว่า “ ค่ายหลวงหาดเจ้ าสาราญ ” พระองค์ได้ เสด็จพระราชดาเนินแปรพระราชฐานยังค่ายหลวงหาดเจ้ าสาราญในฤดูร้อน ตังแต่ ้ ปี พุทธศักราช 2461 พอหลังจากพุทธศักราช 2466 ก็มิทรงโปรดที่จะไปประทับอีก เนื่องจากพื ้นที่กนั ดารและการเดินทางไม่ สะดวก การเสด็จพระราชดาเนินครัง้ หลัง รถไฟเล็กพระที่นงั่ ติดขัด จนต้ องใช้ แรงงานคนผลัดกันลากแทนรถจักรไอน ้า ข้ าราช
51
บริ พารผู้เคยถวายงานใกล้ ชิดเล่าว่า “ ต้ องลาเลียงน ้าใส่ตมุ่ เดิน ผูกผ้ าขาวปิ ดปากโอ่งตีตราประทับบนปมเชื อกที่รัดตรงคอโอ่ง ด้ วยดินสอพอง ส่งเข้ าไปในพระราชฐานอยูเ่ ป็ นประจา น ้าที่ได้ มานี ้ทางบ้ านเมืองจะต้ องส่งเจ้ าพนักงานนาเรื อไปบรรจุลงโอ่งที่ ตอนต้ นแม่น ้าเพชร จนได้ ชื่อเรี ยกกันติดปากว่า ‘ น ้าเพชร ’ ” นอกจากนี ้ยังทรงได้ รับความราคาญจากแมลงวันหัวเขียวทีช่ กุ ชุม มาก เนื่องด้ วยหาดเจ้ าสาราญอยูไ่ ม่หา่ งนักจากหมูบ่ ้ านชาวประมงบ้ านแหลม พระองค์จงึ ทรงมีพระราชดาริ ที่จะสร้ างพระราชวังฤดูร้อนแห่งใหม่ขึ ้น ให้ มนั่ คงถาวรกว่าพระราชวังที่หาดเจ้ าสาราญ และกว้ างขวางพอสาหรับเหล่าข้ าราชบริ พารมี่ตามเสด็จ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ทางเมืองเพชรบุรีสารวจหาสถานที่ แห่งใหม่ พบว่าชายหาดที่ตาบลห้ วยทรายเหนือ อาเภอชะอา ซึง่ อยูร่ ะหว่างหาดเจ้ าสาราญกับหัวหินมีทาเลเหมาะสม สภาพ เป็ นป่ าท่ามกลางภูเชา หาดทรายขาวสะอาด มีแอ่งน ้าซับใต้ ดินอุดมสมบูรณ์ และการเดินทางสะดวกเพราะอยูไ่ ม่ไกลจากสถานี รถไฟห้ วยทรายเหนือ จากนันจึ ้ งทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ นายแอร์ โคเล มันเฟรดี ( Ercole Manfredi ) ต่อมามีชื่อไทยว่า นายเอกฤทธิ์ หมัน่ เฟ้นดี สถาปนิกชาวอิตาเลียน สังกัดกรมโยธาธิการ ออกแบบพระราชนิเวศน์ฯ ตามแบบที่กล่าวกันว่าทรงร่าง ด้ วยฝี พระหัตถ์ของพระองค์เอง และมีพระบรมราชโองการให้ เจ้ าพระยายมราช ( ปั น้ สุขมุ ) เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เป็ น ผู้อานวยการก่อสร้ าง โดยมีช่างชาวจีนเป็ นแรงงานหลัก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ รือ้ พระตาหนัก และอาคารที่พกั ของ ข้ าราชบริ พารจากค่ายหลวงหาดเจ้ าสาราญมาปลูกสร้ าง ณ สถานที่แห่งใหม่ด้วย พระราชนิเวศน์มฤคทายวันเริ่ มสร้ า งในปี พ.ศ. 2466 ต่อมาในปี พ.ศ. 2467 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เสด็จมาประทับ และพระราชทานนามว่า “ พระราชนิเวศน์ มฤคทายวัน ” ด้ วยมีพระราชประสงค์จะรักษาความหมายของชื่อเดิม “ ห้ วยทราย ” ที่เรี ยกกันในท้ องถิ่นไว้ เนื่องจากป่ าในท้ องที่ ตาบลห้ วยทรายเหนือชุกชุมไปด้ วยสัตว์ป่า ประเภทเนื ้อทราย กวาง หรื อในภามคธเรี ยกว่า “ มฤค ” ซึง่ มักมากินน ้าตามลาห้ วย ทังยั ้ งเป็ นชื่ออันเป็ นสิริมงคล เพราะตรงกับชื่อ “ ป่ าอิสปิ ตนมฤคทายวัน ” ที่พระพุทธเจ้ าทรงแสดงปฐมเทศนาตามพุทธประวัติ และด้ วยเหตุนี ้ทรงมีน ้าพระราชหฤทัยเมตตาต่อสัตว์ทงั ้ หลาย จึงมีพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 ประกาศให้ เขตพระราชนิเวศน์ฯ เป็ นเขตอภัยทาน ห้ ามมิให้ ทาอันตรายแก่สตั ว์ โดยกาหนดเขต ด้ านตะวันออกชายฝั่งทะเล ตังแต่ ้ วดั บางทรายจดบ้ านบ่อเคียะ ยาว 125 เส้ น ( 5 กิโลเมตร ) ด้ านทิศเหนือจากฝั่งทะเลยื่นเข้ า ไปจดเขาเสวยกะปิ ยาว 190 เส้ น ( 7.6 กิโลเมตร ) ด้ านใต้ ยื่นจากชายฝั่งทะเลขึ ้นไปจดเสาสามพระยา ยาว 125 เส้ น ( 5 กิโลเมตร ) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั มีพระราชประสงค์ทจี่ ะทรงสร้ างพระราชนิเวศน์มฤคทายวันโดยใช้ ทนุ ทรัพย์ น้ อยที่สดุ และโปรดให้ มีลกั ษณะเรี ยบง่าย ไม่หรูหราวิจิตรเช่นพระราชวังแห่งอื่น ๆ การออกแบบเน้ นความโปร่งโล่ง สมกับเป็ นที่ ประทับตากอากาศที่เข้ ากับสภาพธรรมชาติและภูมิอากาศชายทะเล โดยแบ่งเป็ นหมูพ่ ระที่นงั่ 3 องค์ ที่มีอาคารประกอบรวม 16 หลัง เชื่อมต่อกันด้ วยระเบียงทางเดินหลังคาคลุมเรี ยงกันไปตามแนวทิศเหนือใต้ หันหน้ าสูช่ ายทะเลเป็ นแนวขนาน เพื่อให้ พระที่ นัง่ ได้ รับลมทะเลเวลากลางวัน และลมจากภูเขาเวลากลางคืน ส่วนบริ เวณโดยรอบโปรดให้ คงสภาพป่ าในพื ้นที่ไว้ ตามธรรมชาติ ไม่ต้องพระราชประสงค์ให้ ปลูกไม้ ดอกไม้ ประดับที่สิ ้นเปลือง หากแต่ให้ คงไว้ ซงึ่ พันธุ์ไม้ พื ้นเมือง เช่น ต้ นข่อย ต้ นแจงและต้ น มะนาวผี ฯลฯ
52
พระที่น่ ังสโมสรเสวกามาตย์ เป็ นพระที่นงั่ องค์แรกตังอยู ้ ท่ างทิศเหนือเป็ นพระที่นงั่ 2ชันรู ้ ปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าเปิ ดถึงกัน ทังชั ้ นบนและชั ้ นล่ ้ างด้ านบนเพดานเป็ นช่องสีเ่ หลีย่ มเขียนลวดลายโดยทังชั ้ นล่ ้ างและชันบนมี ้ ห้องควบคุมไฟสาหรั บเวทีทใี่ ช้ แสดงละครและมีห้องพักนักแสดงภายในมีบนั ไดสาหรับนักแสดงขึ ้นลงโดยการแสดงจะจัดขึ ้นบริ เวณทิศเหนือซึง่ เป็ นเวทีซงึ่ ยก พื ้นสูงโดยเจ้ านายฝ่ ายในจะประทับที่เฉลียงชันบนอั ้ ฒจันทร์ ที่อยูต่ รงทางเข้ านันเป็ ้ นทางเสด็จพระราชดาเนินของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั โดยทางขึ ้นและทางลงแยกกันคนละทางโดยบนอัฒจันทร์ มีลาดพระบาท(พรม)สาหรับ เป็ นทางเสด็จชันบน ้ เป็ นท้ องพระโรงสาหรับเสด็จออกว่าราชการ รับพระราชอาคันตุกะ และประกอบพระราชพิธีตา่ ง ๆ โดย ภายในห้ องพระราชพิธีเป็ นที่ประดิษฐานพระบรมรูปซึง่ สร้ างขึ ้นภายหลังนอกจากนี ้ยังมีพระบรมฉายาลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั อีกหลายภาพ
หมู่พระที่น่ ังสมุทรพิมานประกอบไปด้ วยอาคารต่ าง ๆ ดังนี ้ 1.อาคารด้ านหน้ า คือบ้ านพักของพลเอก เจ้ าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวง เฟื อ้ พึง่ บุญ) ซึง่ เป็ นผู้สาเร็ จราชการ มหาดเล็กภายในประกอบด้ วยห้ องรับแขก ห้ องน ้า ห้ องนอน ห้ องทางาน 2.พระที่นงั่ สมุทรพิมานองค์ที่สอง เป็ นส่วนที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ภายใน ประกอบด้ วย ห้ องพระบรรทม ห้ องทรงงาน ห้ องสรง ห้ องแต่งพระองค์ 3.อาคารด้ านตรงข้ ามกับพระที่นงั่ สมุทรพิมาน คือหอเสวยฝ่ ายหน้ าเป็ นสถานที่สาหรับเสวยพระกระยาหารและจัด งานพระราชทานเลี ้ยง 4.พระที่นงั่ สมุทรพิมานองค์แรก เดิมเป็ นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ต่อมาโปรดเกล้ าให้ เป็ นที่ประทับของ พระนางเจ้ าสุวทั นา พระวรราชเทวี 5.เรื อนฝ่ ายใน เดิมเป็ นบ้ านพักของพลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื น้ พึง่ บุญ) ซึง่ เป็ นน้ องชายของ เจ้ าพระยารามราฆพโดยพระที่นงั่ องค์นี ้มีทางเชื่อมกับศาลาลงสรงฝ่ ายหน้ าภายในประกอบด้ วยห้ องแต่งพระองค์ ห้ องเก็บของ และเฉลียงสาหรับรับลมทะเลโดยถ้ าไม่โปรดจะลงเล่นน ้าทะเลก็มาประทับที่เฉลียงรับลมทะเลก็ได้
หมู่พระทีน่ ังพิศาลสาครประกอบไปด้ วยอาคารต่ าง ๆ ดังนี ้ 1.อาคารหลังแรก เป็ นห้ องรับแขกเดิมเป็ นท้ องพระโรงฝ่ ายในปัจจุบนั เป็ นโรงเรี ยนสอนดนตรี ไทย 2.หอเสวยฝ่ ายใน เป็ นสถานที่สาหรับเสวยพระกระยาหาร 3.พระที่นงั่ พิศาลสาคร เป็ นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้ าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา ภายในประกอบด้ วย ห้ อง บรรทม ห้ องรับแขก ห้ องสรง ห้ องแต่งพระองค์และเฉลียงสาหรับรับลมทะเล 4.เรื อนพระสุจริ ตสุดา เป็ นบ้ านพักของพระสุจริ ตสุดาซึง่ เป็ นพระสนมเอกภายในประกอบด้ วย ห้ องนอน ห้ องน ้า ห้ อง แต่งตัวและเฉลียงรับลมทะเล 5.ห้ องพักคุณท้ าววรคณานันท์ เป็ นบ้ านพักของคุณท้ าววรคณานันท์ ( หม่อมราชวงศ์แป๋ ม มาลากุล ) และคุณท้ าว สมศักดิ์ ( หม่อมราชวงศ์แป๋ ม มาลากุล ) 6.โดยพระที่นงั่ องค์นี ้มีทางเชื่อมกับศาลาลงสรงฝ่ ายในภายในประกอบด้ วยห้ องแต่งพระองค์ ห้ องเก็บของ และเฉลียง สาหรับรับลมทะเลโดยถ้ าไม่โปรดจะลงเล่นน ้าทะเลก็มาประทับทีเ่ ฉลียงรับลมทะเลก็ได้ 53
สวนพระราชนิเวศน์ มฤคทายวัน แต่เดิมพบเพียงภาพถ่ายในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั โดยปรากฏสภาพเป็ นป่ าชายหาดตามลักษณะภูมิประเทศ และถากเป็ นพื ้นโล่งเตียนโดยรอบหมูพ่ ระที่นงั่ เมื่อทางมูลนิธิมี โครงการในการปรับปรุงภูมิทศั น์โดยรอบพระราชนิเวศน์ โดยหม่อมหลวงภูมใิ จ ชุมพล ผู้ออกแบบสวนได้ แรงบันดาลใจจากบท พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั โดยมีสวนต่าง ๆ ดังนี ้ สวนเวนิสวานิช สวนที่ได้ รับแรงบันดาลใจในการสร้ างจากบทพระราชนิพนธ์เรื่ องเวนิสวานิช ที่แปลมาจากเรื่ องThe Merchant of Venice ของวิลเลีย่ ม เช็กสเปี ยร์ นักประพันธ์ ชื่อก้ องโลกชาวอังกฤษ ที่พระองค์ทา่ นทรงคงลีลาและฉันทลักษณ์ การแปล ไว้ คาต่อคาใกล้ เคียงกับต้ นฉบับจริ งมากที่สดุ สวนแห่งนี ้ออกแบบในสไตล์เรอเนส ซองและที่กาหนด สร้ างไว้ ณ จุดหน้ า สุดของเขตพระราชฐานก็เพื่อเป็ นจุดนัดพบ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น เฉกเช่นเดียวกับเมืองเวนิส ที่เป็ นสถานที่พบปะของผู้คน และเป็ นแหล่งการค้ า ในบทประพันธ์ของเช็กสเปี ยร์ พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน
สวนศกุนตลา ลานกว้ างที่ใช้ ต้นเข็มนานาพันธุ์ทาเป็ นกาแพงล้ อมรอบสวน พื ้นที่ภายในสวนแห่งนี ้ใช้ เป็ นเหมือนเวที จัดการแสดง อาทิ การแสดงโขน การแสดงละครในฤดูหนาว รวมถึงการจัดเลี ้ยงรับรองต่าง ๆ จากสวนศกุนตลาพื ้นอิฐหก เหลีย่ ม สีแดงอ่อนตัดกับสนามหญ้ าสีเขียว ทอดยาวพาเราไปด้ านหน้ าทางขึ ้นพระราชวังที่รายล้ อม ด้ วยความร่มรื่ นของ ไม้ ยืน ต้ นนานาพันธุ์ และพุม่ ไม้ ดอกที่แข่งกันชูช่อประชันสี ราวกับภาพเขียนสีน ้ามันที่จิตรกรเอกบรรจงวาดอย่าง ไว้ อย่างสุดฝี มอื สวนมัทนะพาธา รอบด้ วยระเบียงทังสามด้ ้ าน ที่ได้ รับแรงบันดาลใจจากพระราชนิพนธ์เรื่ องมัทนะพาธา หรื อตานาน ดอกกุหลาบ อันเป็ นบทละครพูดคาฉันท์ที่มีการใช้ สมั ผัสและฉันทลักษณ์ได้ ถกู ต้ องและมีความไพเราะยิ่ง และได้ รับการยกย่อง ว่าเป็ นยอดบทละครพูดคาฉันท์ "สวนมัทนะพาธา ได้ รับการตกแต่งอย่างสวยงามด้ วยแนวไม้ พมุ่ ลายอ่อนช้ อย โดยเลือกใช้ ต้น ข่อย ซึง่ มีพมุ่ หนาแน่น ทนต่อแดด และไอทะเลได้ ดีนนั่ เอง
54
บทที่ 7 ภูมิสถาปั ตยกรรม ภูมิสถาปั ตยกรรม (อังกฤษ: landscape architecture) อ่านออกเสียงว่า "พู-มิ-สะ-ถา-ปั ด-ตะ-ยะ-กัม" เป็ นศิลปะและ วิทยาศาสตร์ วา่ ด้ วยการออกแบบวางแผน การอนุรักษ์ และจัดการพื ้นที่ใช้ สอยภายนอกอาคาร รวมทังพื ้ ้นที่บางส่วนภายในหรื อ บนดาดฟ้าอาคารเพื่อความผาสุก สวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน
ประวัตคิ วามเป็ นมาของภูมิสถาปั ตยกรรมในประเทศไทย ประวัติความเป็ นมาของภูมิสถาปั ตยกรรมของประเทศไทยไม่เป็ นที่ชดั เจนนัก อาจเป็ นด้ วยหลักฐานทังทาง ้ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดีถกู ทาลายในในสงครามไทย-พม่าทีก่ รุงศรี อยุธยาโดยเฉพาะเมื่อ พ.ศ. 2310 ในศิลาจารึกพ่อขุน รามคาแหงสมัยสุโขทัยกล่าวไว้ เพียงการปลูกต้ นไม้ เชิงเกษตรกรรมไว้ เบื ้องเหนือเบื ้องใต้ มีกล่าวถึงตระพังหรื อสวนน ้าไว้ บ้างแต่ ไม่พรรณนารูปแบบและความสวยงาม บาทหลวงชาวฝรั่งเศสบันทึกเรื่ องราวเกี่ยวกับสวนในสมัยพระนารายณ์มหาราชไว้ พอควร
ว่ามีชาวต่างประเทศนา
พรรณไม้ แปลกๆ มาถวาย และทรงลงมือทาสวนด้ วยพระองค์เองในพระราชวังลพบุรี ไม่กล่าวถึงรูปแบบและความสวยงามที่มี นัยสาคัญไว้ เช่นกัน สมัยต้ นรัตนโกสินทร์ มีการนารูปแบบสวนจีนมาสร้ างในพระบรมมหาราชวังและวัดสาคัญ เรี ยกว่าเขามอ มีการสร้ าง สวนซ้ ายสวนขวา เริ่มมีการสร้ างสวนเพื่อความปี ติในสมัยรัชกาลที่ 5 เริ่ มมีสวนและมีรูปแบบของสวนปรากฏชัดเจนขึ ้น มีการนา รูปแบบสวนยุโรปซึง่ กาลังผ่านความรุ่งเรื องของยุคเรนาซองส์ โดยมีนายช่างฝรั่งที่เข้ ามารับราชการ เช่น นายเฮนรี อาลบาสเตอร์ หรื อพระเศวตศิลา ต้ นตระกูลเศวตศิลารวมทังคนอื ้ ่น ๆ มาเป็ นผู้ออกแบบและก่อสร้ างสวนหลายแห่ง อุทยานสราญรมย์เป็ น ตัวอย่างสวนที่ยงั หลงเหลือและได้ รับการบูรณะให้ สวยงามในปั จจุบนั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั อาจเป็ นผู้ให้ กาเนิดการผังเมืองและภูมิสถาปั ตยกรรมเป็ นพระองค์แรกก็วา่ ได้ พระราชหัตถ์เลขาถึงเจ้ าพระยาวรพงศ์ระหว่าง พ.ศ. 2444-2452 เป็ นข้ อพิสจู น์ได้ เป็ นอย่างดีวา่ พระองค์ทรงเชี่ยวชาญในงาน ทังสองสาขานี ้ ้อย่างไร ทรงรู้จกั ต้ นไม้ พร้ อมทังชื ้ ่อและอุปนิสยั พรรณไม้ ตา่ ง ๆ ที่ใช้ ปลูกทังในสวนและในเมื ้ องนับได้ เกือบร้ อย ชนิด งานสวนและสถาปั ตยกรรมที่ได้ รับอิทธิพลยุโรปในรัชกาลที่ 4-5 ได้ ตอ่ เนื่องมาถึงสมัยรัชกาลที่ 6 และ 7 เช่น วังฤดูร้อน ต่างๆ เป็ นต้ นว่า พระราชวังบ้ านปื น และพระตาหนักมฤคทายวัน เพชรบุรี วังสนามจันทร์ นครปฐมและวังไกลกังวล เป็ นต้ น รูปแบบของสวนไม่เป็ นที่เด่นชัดว่ามีรูปแบบอย่างไร
กล่าวกันว่าเป็ นงานประกอบที่ทาโดยสถาปนิกชาวยุโรปผู้ออกแบบและ
ก่อสร้ างอาคาร ซึง่ อาจมีรูปแบบที่สวยงามแต่ได้ ถกู แปรเปลีย่ นไปโดยกาลเวลา สวนและงานภูมิสถาปั ตยกรรมได้ หยุดนิ่งมาตังแต่ ้ ยคุ เศรษฐกิจโลกตกตา่ ในปลายรัชกาลที่ 7 และเริ่ มขยับตัวขึ ้นใหม่ ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ทเี่ ริ่ มพัฒนาประเทศและสมัยเริ่ มสงครามเวียดนาม การใช้ ประเทศไทยเป็ นฐานทัพแห่งหนึง่ ของ 55
สหรัฐฯ ทาให้ มคี วามต้ องการบ้ านเช่าทีม่ ีสวน ต่างประเทศที่เข้ ามาลงทุนสร้ างโรงแรม เช่น โรงแรมสยามอินเตอร์ ค อนติเน็นตัล (ปั จจุบนั ถูกรื อ้ กลายเป็ นศูนย์การค้ าสยามพารากอน) และโครงการเงินกู้ได้ เผยโฉมของภูมิสถาปั ตยกรรมให้ ปรากฏ ช่างจัดสวน ไทยจึงได้ เคยเห็นและรู้จกั วิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมที่เป็ นสากลเป็ นครัง้ แรก ในขณะเดียวกัน เทศบาลนครกรุงเทพฯ ก็ได้ เริ่ม รณรงค์จดั สวนตามมุมต่างๆ ของถนน เรี ยกว่า “สวนหย่อม” โดยเลียนแบบ “สวนญี่ปน” ุ่ ซึง่ เป็ นที่นิยมมากในสมัยนัน้ การเร่งรัดพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะด้ านการท่องเที่ยวและความเสือ่ มโทรมของสภาพแวดล้ อมที่จะต้ องเร่งแก้ ไขทา ให้ ภมู ิสถาปั ตยกรรมได้ รับการยอมรับมากขึ ้นในประเทศไทย
ลักษณะโดยรวม งานของภูมิสถาปนิกอาจครอบคลุมตังแต่ ้ การสรรค์สร้ างสวนสาธารณะและถนนอุทยานไปจนถึงการวางผังบริ เวณ กลุม่ อาคารสานักงาน จากการออกแบบที่พกั อาศัยไปจนถึงการออกแบบโครงสร้ างพื ้นฐานของเมืองและการจัดการพื ้นที่ ธรรมชาติขนาดใหญ่ หรื อการฟื น้ ฟูภมู ิทศั น์ที่เสียหาย เช่น เหมืองแร่เก่า บริ เวณฝังกลบขยะ ภูมิสถาปั ตยกรรมทับซ้ อนกับการจัด สวน ก็จริ ง แต่จะเป็ นงานวิชาชีพที่มีปัจจัยพิจารณาในการออกแบบและมีขอบเขตกว้ างขวางกว่า ภูมิสถาปนิกทางานในพื ้นที่ภายนอกอาคารเกือบทุกชนิดและพื ้นบางส่วนภายในหรื อบนดาดฟ้าอาคาร ทังใหญ่ ้ และ เล็ก ในเมืองและชนบท ทังด้ ้ วยวัสดุ “แข็ง” (hardscape) / “นุม่ ” (softscape) ภูมิสถาปนิกทางานครอบคลุม: 1.รูปทรง ขนาดส่วนและการวางผังโครงการใหม่ 2.งานที่พกั อาศัยส่วนบุคคล ตามกฎหมายประเทศไทยสามารถออกแบบที่อยูอ่ าศัยได้ ไม่เกิน 3 ชัน้ 3.งานสาธารณะ 4.การออกแบบผังบริ เวณโรงเรี ยน มหาวิทยาลัยและโรงแรม 5.สวนสาธารณะ สนามกอล์ฟ สวนสนุกและสนามเล่นกีฬาต่างๆ 6.บริ เวณโครงการเคหะ นิคมอุตสาหกรรมและโครงการเชิงการค้ า 7.ทางหลวง โครงสร้ างทางการขนส่ง สะพานและทางผ่าน 8.ลานเมืองและลานชุมชนและระบบทางเดินเท้ า 9.โครงการฟื น้ ฟูชมุ ชนเมืองขนาดเล็กและใหญ่ 10.ป่ า แหล่งท่องเที่ยว ภูมิทศั น์ประวัติศาสตร์ และการประเมินทางภูมิทศั น์หรื อการศึกษาด้ านการอนุรักษ์ 11.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม (Cultural Landscape) 12.อ่างเก็บน ้า เขื่อน สถานีไฟฟ้า บ่อขุดวัสดุทางอุตสาหกรรมหรื อโครงการทางอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ รวมทัง้ บริ เวณบริ การนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ 13.การประเมินสภาพแวดล้ อม การให้ คาปรึกษางานวางแผนภูมิทศั น์และการทาข้ อเสนอในการจัดการผืนแผ่นดิน 14.โครงการพัฒนาพื ้นที่ชายฝั่งและเกาะ คุณค่าที่สาคัญที่สดุ ของภูมิสถาปั ตยกรรมมักเกิดขึ ้นในช่วงแรกของการวางผังแม่บทโครงการ ช่วงที่อยูใ่ นระหว่างการ ระดมความคิดในการกลัน่ กรองสิง่ ที่ดีที่สดุ เกี่ยวกับการสร้ างสรรค์การใช้ สอยพื ้นที่ ภูมิสถาปนิกสามารถให้ แนวคิดรวมและ จัดเตรี ยมผังหลักเบื ้องต้ นที่แสดงให้ เห็นรายละเอียดได้ ชดั เจนและง่ายทีจ่ ะเข้ าใจในขันต่ ้ อๆ มา ภูมิสถาปนิกสามารถจัดทาแบบ
56
ก่อสร้ างประกอบสัญญาจ้ าง จัดทาการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้ อม ให้ คาปรึกษา เป็ นพยานผู้ชานาญการในด้ านการใช้ ทดี่ ิน เชิงนิเวศ นอกจากนี ้ภูมิสถาปนิกยังสามารถจัดเตรี ยมเอกสารใบสมัครเพื่อการจัดหาแหล่งเงินลงทุนสาหรับ โครงการด้ วย
วิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรม ภูมิสถาปนิกถือว่าเป็ นนักวิชาชีพในลักษณะเดียวกันกับแพทย์และนักกฎหมายเนื่องจากบุคคลเหล่านี ้ จะต้ องได้ รับ การศึกษาเป็ นการพิเศษเฉพาะและจะต้ องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเช่นเดียวกับผู้ประกอบวิชาชีพอื่น ในสหรัฐฯ และที่อื่น ๆ การเข้ าสูส่ ายวิชาชีพจะต้ องผ่านการศึกษาเล่าเรี ยนขันสู ้ ง ผ่านการฝึ กหัดงานและผ่านการสอบ รับใบอนุญาต ทังนี ้ ้เพื่อเป็ นการปกป้องประโยชน์แห่งสาธารณชนจากความเสียหายที่อาจได้ รับจากผู้ไม่มีความรู้ความสามารถ และไม่มีจรรยาบรรณ ผู้ปฏิบตั วิ ิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมจะรวมตัวกันตังสมาคมวิ ้ ชาชีพขึ ้นเพื่อร่วมกันจรรโลงสาขาวิชาชีพแห่ง ตนให้ เข้ มแข็ง ในสหรัฐฯ คือสมาคมภูมิสถาปนิกอเมริกนั (American Society of Landscape Architects - ASLA) ก่อตังเมื ้ ่อ พ.ศ. 2442 นับเป็ นสมาคมวิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมแห่งแรกของโลก ประเทศไทยได้ ก่อตัง้ “สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย” Thai Association of Landscape Architects-TALA เมื่อ พ.ศ. 2530 หลังสหรัฐฯ 88 ปี การควบคุมวิชาชีพกระทาโดยใช้ กฎหมายบังคับให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิวิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมต้ องมี ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ อาจกล่าวได้ วิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยที่มกี ารออกแบบเฉพาะโดยภูมิสถาปนิกโดยตรง และมี การแยกสัญญาจากงานสถาปั ตยกรรมเริ่ มเมื่อประมาณ พ.ศ. 2515 โดยข้ อกาหนดของธนาคารโลกในโครงการเงินกู้เพื่อพัฒนา วิทยาเขตใหม่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่บง่ ให้ ใช้ ภมู ิสถาปนิก ปั จจุบนั ประเทศไทยมีสานักงานภูมิสถาปนิกมากกว่า 30 แห่ง วิชาชีพภูมิสถาปั ตยกรรมของประเทศไทยอยูภ่ ายใต้ การควบคุมของสภาสถาปนิกตาม
พระราชบัญญัติสถาปนิก
พ.ศ.
2543
ซึง่ ใช้ แทนพระราชบัญญัตคิ วบคุมวิชาชีพ
สถาปั ตยกรรม พ.ศ. 2508
ความชานาญเฉพาะในงานภูมิสถาปั ตยกรรม นักออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและวิศวกรสารวจ
เกี่ยวข้ องกับการจัดการทรัพยากรทางกายภาพที่มีอยู่
และที่มี
ความสัมพันธ์กบั องค์ประกอบทางกายภาพที่มนุษย์สร้ างสรรค์ขึ ้น เป็ นผู้วางแผนผัง กาหนดจัดวาง คาดการณ์การใช้ งานอย่าง เป็ นเหตุ-ผล เป็ นผู้ที่ร้ ูซึ ้งถึงความสัมพัน์ระหว่างการจัดวางองค์ประกอบทางธรรมชาติและกิจกรรมให้ เกิดประโยชน์ มีความ เหมาะสม ทังรู้ ้ ทรงของพื ้นที่ ที่วา่ ง ตลอดจนรักษาไว้ ซงึ่ สิง่ แวดล้ อมที่ดี ซึง่ รวมไปถึงงานภูมิทศั น์ออ่ น (งานพืชพรรณ เช่น การ ออกแบบปลูกต้ นไม้ และการสรรค์สร้ างพื ้นที่สเี ขียวกลางแจ้ งทุกประเภท บุคคลเหล่านี ้ทางานภาครัฐทังในส่ ้ วนกลางและส่วน ท้ องถิ่น บางคนอาจทางานภาคเอกชนหรื อทางานอิสระ รับเป็ นที่ปรึกษาส่วนราชการ อุตสาหกรรม พาณิชกรรมและเอกชน รายบุคคล ผู้จดั การภูมิทศั น์ ใช้ ความรู้ด้านวัสดุพชื พรรณและสิง่ แวดล้ อมธรรมชาติในการให้ คาแนะนาในการดูแลรักษาระยะ ยาวและในการพัฒนาภูมิทศั น์ บุคคลเหล่านี ้ทางานเกี่ยวกับพืชสวน การจัดการสถานที่ ป่ า การอนุรักษ์ ธรรมชาติและ เกษตรกรรม นักวิทยาศาสตร์ ภมู ทิ ศั น์ มีทกั ษะพิเศษเช่น ปฐพีวิทยา อุทกวิทยา ภูมิสณ ั ฐาน หรื อพฤกษศาสตร์ ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ อง
57
ในการแก้ ปัญหาในงานภูมิทศั น์
งานของบุคคลเหล่านี ้อาจไล่ตงแต่ ั ้ การสารวจบริ เวณไปจนถึงการประเมินสิง่ แวดล้ อมของ
บริ เวณขนาดใหญ่เพื่อการวางแผนหรื อการจัดการ และอาจทารายงานผลกระทบในโครงการพัฒนาหรื อในความสาคัญเฉพาะ ของพรรณไม้ หรื อสัตว์บางชนิดในพื ้นที่ นักวางแผนภูมิทศั น์ เกี่ยวข้ องและดูแลในด้ านตาแหน่งทีต่ งั ้ วิวทิวทัศน์ นิเวศวิทยาและ การใช้ ที่ดินในเชิงนันทนาการของเมือง ชนบท และพื ้นที่ชายฝั่ง งานที่บคุ คลกลุม่ นี ้ทารวมถึงการเขียนรายงานด้ านนโยบายและ ยุทธวิธี และลงท้ ายด้ วยการส่งผังรวมสาหรับการพัฒนาโครงการใหม่ การประเมินและและประมาณค่าพร้ อมทังการจั ้ ดทา แผนการจัดการเพื่อนาไปใช้ ในการทาแผนนโยบาย บางคนอาจมีสร้ างสมความชานาญเฉพาะเพิม่ เติม เช่น งานภูมิทศั น์ โบราณคดี หรื อกฎหมายที่เกี่ยวของกับภูมิทศั น์
การศึกษาด้ านภูมิสถาปั ตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ เปิ ดสอนวิชาภูมิสถาปั ตยกรรมระดับปริ ญญาตรี หลักสูตร 5 ปี เป็ นแห่งแรกในภูมิภาค ตะวันออกเฉียงใต้ ในปี พ.ศ. 2521 ปั จจุบนั ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมในคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้ สงั คมแล้ วมากกว่า 25 รุ่น หรื อประมาณ 500 คน ต่อมาได้ มีการเปิ ดสอนที่คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิง่ แวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2538 และที่ค ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิ ดสอนระดับปริ ญญาตรีวิชาชีพหลักสูตร 5 ปี เช่นกัน นอกจากนี ้ยังมีการเปิ ดสอนระดับปริ ญญาโท เพิ่มขึ ้นที่จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตรภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต (ภูมิสถาปั ตยกรรม) ปั จจุบนั คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ เปิ ดหลักสูตรด้ านภูมิสถาปัตยกรรมในระดับปริ ญญาตรี หลักสูตร 4 ปี เป็ นที่แรกของประเทศไทย แล้ วเพื่อเพิม่ ทางเลือกทางการศึกษาสาขานี ้ให้ มีความหลากหลายขึ ้น โดยจะเปิ ดรับนักศึกษาในปี การศึกษา พ.ศ. 2550 เป็ นปี แรก ในปี การศึกษา 2557 สาขาวิชาสถาปั ตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ได้ ทาการเปิ ดหลักสูตรภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) ระดับปริ ญญาตรี วชิ าชีพ หลักสูตร 5 ปี เป็ นรุ่นแรก ซึง่ จะเป็ นอีกทางเลือกหนึง่ สาหรับผู้ที่สนใจเข้ าศึกษาในศาสตร์ ด้านภูมิสถาปั ตยกรรม
58
บทที่ 8 ความสับสนในงานสถาปั ตยกรรมไทย การเรี ยกชื่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของสถาปั ตยกรรมไทย สถาปั ตยกรรมไทยแบบประเพณี และสถาปั ตยกรรมที่ เกี่ยวเนื่อง ทาความลาบากใจให้ กบั อาจารย์ผ้ สู อน นักศึกษาผู้เรี ยน บรรดาช่างและบุคคลทัว่ ไปเป็ นอย่างมาก การเรี ยกชื่อจะ เรี ยกผิดแผกแตกต่างกันไปแม้ จะเรี ยกในสิง่ เดียวก็ตาม ช่างโบราณต่างสานัก ต่างถิ่น ต่างคนต่างเรี ยก แม้ แต่สถานศึกษาที่สอน วิชาสถาปั ตยกรรมไทย ผู้สอนแต่ละท่านต่างก็ศกึ ษามาคนละสานักก็ยงั เรี ยกต่างกัน ทาความลาบากใจกับผู้สอน เมื่อสอนไป แล้ วจะขัดแย้ งกับอาจารย์ทา่ นอืน่ หรื อไม่ บทความและการเรี ยกชื่อองค์ประกอบต่าง ๆ ดังต่อไปนี ้ ได้ สอบทานกับผู้สอนจากสานักเดียวกัน โดยมีฐานการศึกษา เริ่ มแรกคือ สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้ากรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์ หรื อสมเด็จครูแห่งวงการสถาปัตยกรรมไทย ผู้ สืบสายต่อมาคือท่านอาจารย์พระพรหม หรื อศาสตราจารย์พระพรหมพิจิตร ผู้ก่อตังและด ้ ารงตาแหน่งคณบดีทา่ นแรกของคณะ สถาปั ตยกรรมไทย ปั จจุบนั คือ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้เขียนได้ รับการถ่ายทอดวิชาสถาปัตยกรรม ไทยจากท่านอาจารย์พระพรหมอยูห่ ลายปี ขณะท่านสอนท่านจะกล่าวถึงสมเด็จครูอยูต่ ลอด ด้ วยความยกย่อง เทิดทูน ทังเรื ้ ่ อง ส่วนพระองค์และเรื่ องผลงานทางสถาปั ตยกรรมไทย ทาให้ ผ้ เู ขียนและเพื่อนๆ เหมือนกับได้ ศกึ ษากับสมเด็จครูโดยตรง หลังจบ การศึกษา ทางานการสอนก็ยงั ยึดถือแนวทางการสอนการทางานมาจนถึงปั จจุบนั ศัพท์ตา่ ง ๆ หรื อชื่อองค์ประกอบมิได้ ตงขึ ั ้ ้นเอง ยึดถือแนวทางของท่านอาจารย์พระพรหมอย่างเคร่งครัด ยึดถือได้ ใน ทานองกลับกันก็ไม่สามารถระบุได้ วา่ ชื่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของช่างอาจารย์ตา่ งสถาบันนันผิ ้ ด การเรี ยกจะผิดแผกแตกต่างกัน บ้ าง แต่ก็ยงั อยูใ่ นสายของสถาปั ตยกรรมไทย ที่นา่ ห่วงและวิตกก็คือ นักวิชาการในสมัยปั จจุบนั ที่มิได้ มีพื ้นฐานโดยตรงทาง สถาปั ตยกรรมไทย การที่หนั มาเขียนหนังสือเกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์ และสถาปั ตยกรรมไทย เมื่อเขียนถึงสิง่ ใด เมื่อไม่ทราบว่าชื่อ อะไร ก็จะตังชื ้ ่อขึ ้นเอง นับว่าเป็ นอันตรายต่อวงการสถาปั ตยกรรมไทยเป็ นอย่างยิ่ง
59
1 ทรงจอมแห, 2 ปลี - ปลียอด, 3 ปล้ องไฉน - มาลัยเถา
ในที่นี ้จะยกตัวอย่างขององค์ประกอบของสถาปั ตยกรรมไทยที่ยงั เรี ยกสับสนกันอยู่ โดยจะเริ่ มต้ นด้ วยองค์ประกอบ ของพุทธเจดีย์ทรงกลม หรื อเจดีย์เหลีย่ มย่อมุมตรงส่วนปลียอด ปลียอดนี ้จะมีความยาวมากหรื อน้ อยขึ ้นอยูก่ บั ทรง ซึง่ เชื่อและ ยึดถือกันว่ามาจากแห เรี ยกทรงของเจดีย์วา่ ทรงจอมแห ช่างไทยคงนาเอาวิธีตากแหหลังจากการทอดหรื อเหวี่ยงแหในการหา ปลา เมื่อนามาล้ างทาความสะอาด ตากให้ แห้ ง คาวปลาที่ตดิ อยูจ่ ะได้ หมดไป ในการตากแหนันจะต้ ้ องเอาก้ น แหทีม่ ีเชือกผูกกับ ปลายไม้ ไผ่ หรื อคล้ องกับกิ่งไม้ ทมี่ ีความสูงมากกว่าความยาวของแห แล้ วปล่อยปากแหที่มีโซ่ตะกัว่ อยูล่ อยเหนือพื ้น ใช้ ทอ่ นไม้ ค ้าให้ ปากแหถ่างออก ไม้ ยาวมากปากแหก็ถ่างมาก รูปทรงของแหก็จะสัน้ ปากแหหรื อฐานของเจดีย์ก็จะกว้ าง และถ้ าไม้ ถ่าง ปากแหสัน้ ปากแหหรื อฐานก็จะแคบทรงของแหก็จะชะลูด ทรงทีช่ ะลูดนี ้เองเมื่อเป็ นทรงของเจดีย์สว่ นปลียอดก็จะยาวมาก จึง
60
ต้ องแบ่งปลียอดเป็ น ๒ ส่วน มีองค์ประกอบรูปทรงกลมบีบให้ แบนคล้ ายผลของลูกจันทน์คนั่ อยูต่ รงส่วนแบ่ง เรี ยกองค์ประกอบ นี ้ว่า ลูกแก้ ว ช่างยึดถือชื่อนี ้ตลอดมา นักวิชาการต่างสาขาบางท่านกลับเรี ยกลูกแก้ วนี ้ว่า วงแหวน ปลีนี ้ถ้ าไม่ยาวมากจะมีช่วง เดียวตลอด เรี ยก ปลียอด การทีม่ ีความยาวมากมีลกู แก้ วแบ่งจะเรี ยกส่วนล่างว่า ปลี ส่วนบนเรี ยก ปลียอด ส่วนโคนของปลีจะ ทาลวดลาย เรี ยก บัวกาบปลี (ภาพที่ 1-2)
4 มาลัยลูกแก้ ว เจดีย์ทรงกลม - บัวถลา ฐานเจดีย์สมัยสุโขทัย
61
องค์ประกอบส่วนฐานของเจดีย์ตรงใต้ บวั ปากระฆัง หรื อบัวปากฐาน จะมีองค์ประกอบเป็ นลูกแก้ วขนาดใหญ่ซ้อนกัน 3 ชัน้ องค์ประกอบนี ้เรี ยกว่า มาลัยลูกแก้ ว ซึง่ อยู่ตรงตาแหน่งเดียวกับบัวถลา ทัง้ 3 ชันของเจดี ้ ย์ทรงกลมของสถาปั ตยกรรมสมัย สุโขทัย มาลัยลูกแก้ วนี ้มักจะเรี ยกสับสนกับมาลัยเถา หรื อปล้ องไฉน ที่อยูเ่ หนือบัลลังก์และอยูใ่ ต้ ปลียอดดังกล่าวมาแล้ ว (ภาพ ที่ 3-4) การเรี ยกชื่อส่วนทีเ่ ป็ นหลังคาอาคารสถาปัตยกรรมไทย ยังมีการเรี ยกที่แตกต่างกันอยูม่ าก เช่น การซ้ อนของหลังคา ไม่วา่ จะเป็ นหลังคาของพระอุโบสถ พระวิหาร การเปรี ยญ หลังคาล่างสุดจะเรียก ซ้ อนที่ 1 แล้ วจึงเรี ยก ซ้ อนที่ 2 ซ้ อนที่ 3 และ ซ้ อนที่ 4 ตามลาดับ ในแต่ละซ้ อนมีระยะห่างของสันหลังคาใกล้ เคียงกัน จากน้ อยไปหามากในซ้ อนบนสุด บางอาคารมีสนั หลังคาของซ้ อนที่ 1 ห่างหรื อต่ากว่าซ้ อนที่ 2 มากจะต้ องเรียกหลังคาซ้ อนที่ 1 ว่า หลังคาลด หรื อ หลังคาชันลด ้ ตัวอย่างเช่น หลังคามุขเด็จของพระที่นงั่ ดุสติ มหาปราสาท หลังคามุขเด็จของพระอุโบสถวัดหน้ าพระเมรุราชิการาม พระอุโบสถวัดกษัตราธิ ราชจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ส่วนอาคารที่มีผงั พื ้นเป็ นมุข และมีหลังคาลด ต้ องเรี ยกหลังคาชนิดนี ้ว่า มุขลด ได้ แก่ มุขลดของ พุทธปรางค์ปราสาท หรื อปราสาทพระเทพบิดร ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร (ภาพที่ 5-6)
5 หลังคา ซ้ อน - ตับ, 6 หลังคาลด ชันลด ้ มุขลด
62
องค์ประกอบของหลังคาที่เรี ยกกันหลากหลายและสับสนมากที่สดุ คือ หลังคาปี กนก หลังคากันสาด และหลังคาพาไล คาว่าหลังคาปี กนกนันสมควรให้ ้ สบั สน คงต้ องศึกษาจากหลังคาของเรื อนไทยภาคกลาง ตามแบบแผนเรื อนไทยภาคกลางจะมี ผืนหลังคาด้ านหน้ าจัว่ เป็ นส่วนยื่นของไขรา หน้ าจัว่ ผืนหลังคานี ้จะเริ่ มจากใต้ แผงจัว่ เหนือขื่อเผล้ ลาดลงมาถึงเชิงกลอน เชิง กลอนด้ านนี ้จะเชื่อมต่อกับเชิงกลอนด้ านรี ซ้ายและขวา หลังคาดังกล่าวนี ้คือ หลังคาปี กนก การทีต่ ้ องทาหลังคาปี กนกก็เพื่อให้ มี ชายคาโดยรอบตัวเรื อนนัน่ เอง นอกจากหลังคาปี กนกของเรื อนไทยภาคกลางแล้ ว ยังมีหลังคาปี กนกด้ านหน้ าบันพระอุโบสถ หน้ าบันพระวิหาร และ หน้ าบันของการเปรี ยญหลวงวัดราชนัดดาราม กรุงเทพมหานคร รวมทังหลั ้ งคาปี กนกของหมูม่ หามณเฑียรพระที่นงั่ ดุสดิ าภิรมย์ หอพระราชกรมานุสร
7 หลังคาปี กนก
คาว่าหลังคาปี กนกที่ทาให้ สบั สนที่สดุ คือ หลังคาพระอุโบสถที่เป็ นจัว่ เปิ ด ชนิดหลังคา 3 ตับ หลังคาตับที่ 2 ของผืน หลังคาทังสองข้ ้ าง ก็เรี ยกว่า หลังคาปี กนก ดังที่หนังสือพุทธศิลปสถาปั ตยกรรม ภาคต้ น ของอาจารย์พระพรหม หรื อ พ. พรหม พิจิตร อาจารย์เรี ยกแผงปิ ดจัว่ ใต้ หลังคาตับที่ 2 ที่มีลวดลายตกแต่งว่าลายหน้ าอุดปี กนก ฉะนัน้ หลังคาเหนืออุดปี กนกก็ต้องเป็ น หลังคาปี กนกด้ วย โดยสรุปหลังคา
63
ปี กนกมีอยู่ 3 ตาแหน่ง คือ หลังคาปี กนกของเรื อนไทยภาคกลาง หลังคาปี กนกใต้ หน้ าบันของพระอุโบสถ พระวิหาร และหลังคาปี กนกของหลังคาตับที่ 2 ของพระอุโบสถแบบจัว่ เปิ ด (ภาพที่ 7-8)
8 หลังคาปี กนก (ภาพจากหนังสือ “พุทธศิลปสถาปัตยกรรม ภาคต้ น” โดย พ. พรหมพิจิตร), 9 หลังคากันสาด หลังคาปี กนก เรือนไทยภาคกลาง, 10 หลังคากันสาด ศาลาราย และพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร
64
กันสาด หรื อ หลังคากันสาดหมายถึงหลังคาที่มชี ายคาป้องกันฝนสาดถูกตัวอาคารเป็ นอันดับแรกและป้องกันแดด ส่องเป็ นผลพลอยได้ เป็ นหลังคาที่ต้องมีชายคาให้ น ้าฝนไหลลง ชายคาคลุมโดยรอบ หรื อคลุมเป็ นส่วนมาก อาจมีหลังคามา บรรจบกันตอนหักมุมเป็ นสันตะเข้ และตะเข้ รางหลังคากันสาดนี ้ได้ แก่ หลังคากันสาดของเรื อนไทยภาคกลางทัง้ 3 ด้ าน และ บรรจบกับหลังคากันสาดทีย่ ื่นยาวคลุม พื ้นที่ที่เป็ นระเบียง เรียกหลังคาผืนนี ้ว่า หลังคาระเบียง หลังคากันสาดบางอาคารมีมากกว่า 1 ตับ ได้ แก่ หลังคาทีค่ ลุม พื ้นที่ระเบียงโดยรอบ หลังคาตับที่ 2 และตับที่ 3 คลุมพื ้นที่เฉลียงทังด้ ้ านหน้ าและด้ านหลัง หลังคากันสาดดังกล่าวได้ แก่หลังคา ของพระอุโบสถวัดพระศรี รัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร (ภาพที่ 9-11) ส่วน หลังคาพาไล หรื อ หลังคาพะไลนันเป็ ้ นหลังคาทีค่ ลุมพื ้นทีส่ ว่ นที่เรี ยกว่าพาไล หรื อพะไล พื ้นพาไลจะเป็ นพื ้น ด้ านข้ างของอาคาร มีทงที ั ้ ่อยูร่ ะดับพื ้นดินและระดับพื ้นของฐานอาคาร ลักษณะคล้ ายกับระเบียง แต่ไม่มีทางเข้ า -ออกกับพื ้น ภายในอาคาร
11 หลังคากันสาด หลังคาปี กนก, 12 หลังคาพาไล - พะไล, 13 หลังคาพาไล หลังคาพะไล พระอุโบสถวัดหน้ าพระเมรุราชิการาม จังหวัด พระนครศรีอยุธยา
65
สาหรับพื ้นพาไลระดับพื ้นดินได้ แก่เรื อนไทยภาคกลาง กุฏิสงฆ์ที่มรี ูปแบบเป็ นเรื อนไทยภาคกลาง ที่ยื่นหลังคากันสาด ตรงข้ ามกับระเบียงให้ ยาวกว่าปกติของหลังคากันสาดโดยทัว่ ไป ต้ องใช้ เสาตังรองรั ้ บ เพราะไม่สามารถใช้ ไม้ เท้ าแขน หรื อเหล็ก แขนนางรองรับได้ หลังคาทีย่ ื่นยาวนี ้เรียก หลังคาพาไล หรื อหลังคาพะไล แต่เสาที่รองรับหลังคาเรี ยก เสานางเรี ยง ตัวอย่างเช่น กุฏิสงฆ์ของวัดใหญ่สวุ รรณาราม จังหวัดเพชรบุรี คาว่า หลังคาพาไล หรื อ หลังคาพะไล ยังเรี ยกหลังคาพระอุโบสถที่ตอ่ ออกไปทางด้ านข้ างทัง้ ๒ ด้ าน เพื่อป้องกันฝน สาดและแดดส่องเข้ าไปภายใน เนื่องจากตัวพระอุโบสถไม่มีหน้ าต่าง มีเพียงช่องแสงโล่งๆ เสาทีร่ องรับหลังคาเรี ยก เสาพาไล หรื อเสาพะไล ดังเช่น พระอุโบสถวัดหน้ าพระเมรุราชิการาม จังหวัดพระนครศรี อยุธยา (ภาพที่ ๑๒-๑๓) การเรี ยกชื่อองค์ประกอบของสถาปั ตยกรรมไทย
และสถาปั ตยกรรมไทยแบบประเพณี
โดยเหล่าช่างครูอาจารย์
นักวิชาการในสาขาและต่างสาขาที่ตา่ งคนต่างเรี ยก ทาความสับสนและเข้ าใจผิด ยังมีอีกมาก บทความนี ้คงทาให้ วงการช่าง วง การศึกษา นักวิชาการ มีความเข้ าใจตรงกัน รวมทังเพื ้ ่อเป็ นอุทาหรณ์ตอ่ นักวิชาการต่างสาขาได้ ระมัดระวังในการเขียนบทความ เกี่ยวกับสถาปั ตยกรรมไทยและสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่องต่อไป
66
บทที่ 9 สัดส่ วนสถาปั ตยกรรมไทย สัดส่ วนทองคากับสถาปั ตยกรรมไทย ความหมายและคาจากัดความ “สัดส่วน” คือ น. ส่วนผสมของสิง่ ต่างๆ ตามอัตราที่กาหนด เช่น ในการผสมปูนโบกฝาผนังจะใช้ ซเี มนต์ ทรายและปูน ขาว ตามสัดส่วน 3 : 2 : 1 การเท่ากันของ 2 อัตราส่วน หมายความว่า อัตราส่วนของปริ มาณที่ 1 ต่อปริ มาณที่ 2 เท่ากับ อัตราส่วนของ ปริ มาณที่ 3 ต่อปริมาณที่ 4 “สัดส่วน” หมายถึง ความสัมพันธ์ซงึ่ มีอยูร่ ะหว่างส่วนประกอบต่างๆขององค์ประกอบ เช่น รูปร่างของคนประกอบด้ วย ส่วนต่างๆอยูม่ ากส่วน ถ้ าความสัมพันธ์ของส่วนเหล่านี ้ มีสดั ส่วนเหมาะเจาะกันก็จะทาให้ รูปร่างดูงาม ถ้ ามีสว่ นหนึง่ ไม่ได้ สัดส่วนเหมาะเจาะกันกับส่วนอื่นๆ ก็เป็ นผลให้ เป็ นความไม่ประสานกัน
ทฤษฎีสัดส่ วนทองคา (Golden Section) ทฤษฎีสดั ส่วนทองคานันเดิ ้ มทีเป็ นทฤษฎีที่เกิดขึ ้นมาจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ ในช่วงเวลากรี กโบราณ สัดส่วนทองคานันเป็ ้ นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายในหลายแขนงวิชา
ทฤษฎี
เนื่องจากทฤษฎีสดั ส่วนทองทามีความสัมพันธ์ทเี่ กิดขึ ้น
ค้ นพบได้ ในศาสตร์ อื่น ๆด้ วย นอกจากศาสตร์ ทางด้ านคณิตศาสตร์ แล้ ว เช่น ชีววิทยา เคมี ฟิ สกิ ส์ ดาราศาสตร์ ศิลปะ วิศวกรรมศาสตร์ และสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ด้วยควาสัมพันธ์ที่เกิดขึ ้นนันมี ้ ความสอดคล้ องกันอย่างน่าสนใจ และทฤษฎีหลาย คนให้ การยอมรับ และนาไปศึกษาต่อ มีการค้ นคว้ าวิจยั เรื่ อยมาและหลายครัง้ ที่มีการค้ นพบความสัมพันธ์ใหม่ๆเกิดขึ ้นอีกด้ วย ทฤษฎีสดั ส่วนทองคาเลยเป็ นทฤษฎีที่มีการค้ นพบที่ยิ่งใหญ่และเป็ นที่ร้ ูจกั จนถึงปั จจุบนั สัดส่วนทองคา คือ หลักเกณฑ์ของสัดส่วนในงานจิตรกรรม ประติมากรรมและสถาปั ตยกรรมมีรากฐานอยูบ่ น อัตราส่วนระห่างส่วนสองส่วนที่ไม่เท่ากะน
ซึง่ เป็ นสัดส่วนกับส่วนรวมเมื่อส่วนที่เล็กกว่าเป็ นสัดส่วนที่ใหญ่กว่าเท่ากับส่วนที่
ใหญ่กว่า เป็ นสัดส่วนเท่ากับส่วนรวมเช่นเดียวกับการนาเอาตารางมาใช้ กบั การวาดรูปมนุษย์ หากนาเอาหลักเกณฑ์นี ้ใช้ ศกึ ษา จะพบว่าระยะห่างจากเท้ าถึงเข่า เท่ากับบครึ่งหนึง่ ของส่วนขาทังหมดส่ ้ วนของขาทังหมดที ้ สดั ส่วนเท่ากับครึ่งหนึง่ ของส่วนสูง ร่างกาย รูปสีเ่ หลีย่ มผืนห้ าที่ได้ สดั ส่วนงามที่สดุ นันพิ ้ จารณาได้ จากหลักเกณฑ์ดงั กล่าว ซึง่ มีหลักว่า ด้ านยาวของสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า มีอตั ราส่วนเท่ากับ 0.618 ต่อ 1 หรื อประมาณ 5 ต่อ 8 ในรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าที่สร้ างจากหลักการคานวณของ Golden Section นี ้ ด้ านกว้ างควรมีสดั ส่วนเป็ น 0.618 ของด้ านยาว ตามทฤษฎีของ ยูคลีเดียน หลักเกณฑ์ของ Golden mean นี ้ใช้ ในช่วงร้ อยปี ก่อน คริ สตกาล Vitruvius กล่าวถึงหลักเกณฑ์นี ้ในตาราของเขาชื่อ De Architectura เพื่อใช้ เป็ นมาตรฐานด้ านสถาปั ตยกรรมในการ สร้ าง ให้ เสาห้ องและอาคารโดยรวมได้ ขนาดได้ สดั ส่วนซึง่ กันและกันโดยตระหนักว่าสถาปั ตยกรมย่อมมาจากความหลากหลาย แตกต่างกันออกไป
67
ความเป็ นมาเกี่ยวกับทฤษฎีสัดส่ วนทองคา สัดส่วนทองคา อัตราส่วนทองคา สัดส่วนทองคา ฯลฯ นันเดิ ้ มได้ เกิ ดขึ ้นมาจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ ตังแต่ ้ สมัย ยูคลิด (Euclid) ซึง่ เป็ นนักคณิตศาสตร์ ชาวกรี ก เมื่อราว 235 ปี กอ่ ร ค.ศ. ยูคลิดนันเป็ ้ นนักปราชญ์ทางด้ านคณิตศาสตร์ เขาได้ สร้ างผลงานไว้ มากมายเป็ นที่ร้ ูจกั กันดีในชื่อหนังสือเรื่ อง “The Elements” ซึง่ เป็ นต้ นแบบการเรี ยนรู้ต่อมา และหนึง่ ในผลงานที่ มีชื่อเสียงนัน่ คือ ทฤษฎีเส้ นตรง AB กล่าวว่า “แบ่งเส้ นตรงออกจากส่วนที่อยูป่ ลายสุดตามอัตราส่วนทองแล้ วจะได้ สดั ส่วน ทังหมดต่ ้ อส่วนที่ใหญ่วชกว่าตอส่วนที่เล็กกว่า” สัดส่วนทองคาในสมัยกรี ก ศิลปะในยุคสมัยกรี กนับได้ วา่ เป็ นศิลปะยุคความจริ งและเหตุผล ประกอบด้ วย ศิลปะกรี ก (1100 – 100 B.C.) ยุคนี ้มีปรัชญาและความเชื่อว่ามนุษย์กบั ธรรมชาติ เป็ นศูนย์กลางของทุกสิง่ ทังความรู ้ ้ ความดี ปั ญญา ความสมบูรณ์ ความงาม มีนกั ปรัชญาที่มชี ื่อเสียงได้ แก่ โสเครติส เพลโต อริ สโตเติล นักประวัติศาสตร์ ศิลปะหรื อนักวิจารณ์ ศิลปะหลายคนมักจะยกย่องสมัยกรี กเป็ นศิลปะที่มีความงามสูงสุด ในขณะที่นกั ประสัติศาสตร์ ศิลปะหรื อนักวิจารณ์ศิลปะอีก หลายคนไม่เห็นด้ วย ความงามศิลปะสมัยกรี กนันสามารถจ ้ าแนกได้ ดงั นี ้ 1.คุณค่าทางความงาม จะต้ องควบคูไ่ ปกับความจริ ง หมายความว่าความงามที่ปราศจากความจริ งย่อมไร้ ค่า และความจริ งในทัศนะนี ้ก็คอื ความจริงที่ปรากฏเห็นได้ ในธรรมชาติ ดังนันศิ ้ ลปกรรมที่ศลิ ปิ นกรี กสร้ างขึ ้นจึง สะท้ อนให้ เห็นถึงความชัดเจนทางสรี รศาสตร์ กล้ ามเนื ้อสัดส่วนเอ็นอย่างชัดเจนและสมบูรณ์ 2.ความจริงที่ปราฏให้ เห็นตามธรรมชาติ มิใช่เป็ นการถ่ายทอดธรรมชาติที่เห็นทังหมด ้ แต่ต้องสร้ างสิง่ ที่ เหนือธรรมชาติ หมายความว่า มนุษย์เป็ นผู้สาคัญยและมีสทิ ธิในการทีจ่ ะดัดแปลงแก้ ไขธรรมชาติให้ สมบูรณ์ตาม ทรรศนะของศิลปิ นได้ ความงามแห่งอุดมคติ ดังที่อริ สโตเติล ย ้าว่า “หน้ าที่ของศิลปะ คือการแดงออกให้ เห็นสากลภาพ (อุดมคติ) ในปั จเจก วัตถุ (วัตถุที่สมั ผัส) และความงามในอุดมคตินนเป็ ั ้ นความงามอันสมบูรณ์ ที่ไม่แปรปรวนเปลีย่ นแปลง หมายความว่า ศิลปิ น ผู้สร้ างศิลปะจักต้ องสกัดความสมบูรณ์ของความงามตามความนึกคิดของตน ให้ ปรากฏในภาพให้ ได้ เช่น ภาพเขียน รูปปั น้ เป็ น ต้ นและเห็นว่า ความงามดังกล่าวจักไม่มีเงื่อนไข ชาวกรี กนันสั ้ งเกตว่าสิง่ ต่างๆที่เกิดขึ ้นในธรรมชาติ หลายอย่างทีม่ ีความสอดคล้ องกัน มีความสัมพันธ์หรื อมีความ ขัดแย้ งกันนันยั ้ งสร้ างความน่าสนใจขึ ้นอย่างมาก เช่น การเกิดขึ ้นของเสียงนัน้ การสอดคล้ องกันของระดับเสียงหรื อความ ขัดแย้ งกันก็สามารถทาให้ บทเพลงนันน่ ้ าฟั งได้ จากทฤษฎีของพีธากอรัส ส่งแนวคิดต่อมานยุคของเพลโตที่มกี ารนาเสนอแนวคิดคามงดงามของสัดส่วนขึ ้น วึง่ เขา เน้ นให้ ความสาคัญว่า “สองส่วนหรื อ สองค่า ความหมายมีความจาเป็ นต้ องสัมพันธ์กบั สัดส่วนซึง่ กันและกัน เชื่อมโยงกันเป็ น สัดส่วนที่สวยงามที่สดุ เข้ าสูย่ คุ รุ่ งเรื องของทฤษฎีสดั ส่วนทองคา หรื อที่เรารู้จกั กันดียคุ นี ้ในชื่อว่ายุคเรเนอซองต์ หรื อยุคฟื น้ ฟูศิลปะวิทยาการ ยุคนี ้เป็ นยุคี่มีการตื่นตัวทางด้ านวิชาการเป็ นอย่างมาก มีการศึกษาเล่าเรี ยนทฤษฎีตา่ งๆในอดีต และสร้ างนักปราชญ์ทมี่ ี ชื่อเสียงโด่งดังมากมายหลายท่าน หลายทฤษฎีในอดีตกลายเป็ นตาราให้ นกั ศึกษารุ่นต่อมาได้ ศกี ษากันอย่างแพร่หลาย เช่น ทฤษฎี ยูคลิด หรื อจะเป้นผลงานของเพลโต ลีโอนาดิ ฟี โบนัชชี พีธากอรัสและอีกหลายท่าน หลายทฤษฎีได้ ถกู นามาต่อยอดเพื่อ สร้ างทฤษฎีใหม่ขึ ้นมา
68
ความสอดคล้ องกันระหว่ างสัดส่ วนทองคากับสถาปั ตยกรรม หากการค้ นพบความเกี่ยวข้ องต่างๆกับสัดส่วนทองคา
ปรากฏในหลายๆสิง่ ต่างๆทังบนโลกและนอกโลกทั ้ งพบโดย ้
นักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา นักคณิตศาสตร์ หรื อแม้ แต่ศิลปิ น ในบทก่อนนี ้ได้ นาเสนอไปแล้ ว ถึงความสอดคล้ องทีเ่ กิดขึ ้น ในบท นี ้จะกล่าวถึงศาสตร์ แขนงหนึง่ ทีม่ ีความใกล้ ชิดเกี่ยวกับสัดส่วนทองคามาหลายยุคสมัย ศิลปะเข้ าด้ วยกัน
ศาสตร์ ที่รวมเอาทังวิ ้ ทยาศาสตร์ และ
แขนงวิชาที่มีหน้ าที่ทงอ ั ้ านวยความสะดวกแก่มนุษย์และขณะเดียวกันก็พร้ อมมที่จะสร้ างสุนทรี ยภาพให้
ผู้ใช้ งานด้ วย สิง่ ที่กาลังหมายถึงคือ สถาปั ตยกรรม ซึง่ หลังจากทีม่ นุษย์เริ่ มมีอารยะธรรม มีปัจจัย 4 สมบูรณ์ ก็มีเวลาให้ มนุษย์ ได้ สร้ างสุนทรี ยะต่างๆเกิดขึ ้นในหลายศาสตร์ หนึง่ ในนันคื ้ อ ศาสตร์ ของสถาปัตยกรรม ศาสตร์ ทมี่ คี วามเก่าแก่ที่อยูค่ วบคูม่ ากับ วิวฒ ั นาการความเจริ ญในมนาย์ ดังจะเห็นได้ วา่ สถาปัตยกรรมนันจะเข้ ้ าไปเป็ นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมมนุษย์แทบทังนั ้ น้ ซึง่ ส่งผล ให้ สถาปั ตยกรรมเป็ นทังสถานที ้ บ่ างครัง้ ก็เป็ นเครื่ องมือที่จะทาให้ เกิดกิจกรรมเหล่านันสมบู ้ รณ์ ในประวัตศิ าสตร์ สถาปนิกสมัยนี ้มักสร้ างสรรค์ผลงานสถาปั ตยกรรมจากความเชื่อของชนชาตินนๆและส่ ั้ วนหนึง่ ก็ มา จากแรงบันดาลใจ ซึง่ ผลงานเหล่านันสร้ ้ างความสนใจให้ กบั ทังนั ้ กวิจยั และนักออกแบบสมัยปัจจุบนั เมื่อพบว่าในหลายผลงาน นันมี ้ ความสอดคล้ องกันในทางสถาปั ตยกรรม ซึง่ ด้ านเหตุผลและหน้ าที่นนคงจะแตกต่ ั้ างกันออกไปตามจุดประสงค์เริ่ มต้ นสร้ าง ขึ ้นมาหรื อเกิดจากการแก้ ไขในยุคต่อมา แต่หากการค้ นพบกลับเจอความสัมพันธ์ทคี่ ล้ ายคลึงกัน ภายใต้ รูปแบบทางสัดส่วนใน สถาปั ตยกรรม ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับรูปแบบทางสถาปั ตยกรรมที่มีความสอดคล้ องกันของสัดส่วนผ่านการวิเคราะห์โดยใช้ ทฤษฎี Golden Section เป็ นเครื่ องมือในการวิเคราะห์
สัดส่ วนในงานสถาปั ตยกรรมไทย สถาปั ตยกรรมไทยมีความเป็ นเอกลักษณ์ ที่มีความโดดเด่นในองค์ประกอบของอาคารในหลายส่วนมีความประณีต อ่อนช้ อยและสง่างาม
ในขณะเดียวกันทุกองค์ประกอบอาคารล้ วนแล้ วแต่มชี ื่อเรี ยกนัน่ เป็ นสิง่ ที่แสดงให้ เห็นถึงความคิด
สร้ างสรรค์และการเอาใจใส่ในงานออกแบบ สาหรับวิวฒ ั นาการของสถาปั ตยกรรมไทยมีการพัฒนามาทุกยุคสมัย ปรากฏเป็ น หลักฐานทางวัฒนธรรมมากมาย นักวิชาการหลายท่านให้ ความคิดเห็นว่า สถาปั ตยกรรมไทยหรืองานศิลปกรรมไทยล้ วนเป็ น งานฝี มือเกิดจากความรู้ทางด้ านช่าง เกิดเป็ นภูมิปัญญาต่อมาจากรุ่นสูร่ ุ่น ซึง่ หลายครัง้ เป็ นการถ่ายทอดที่ไ ม่ได้ บนั ทึกเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรซึง่ ทาให้ ข้อมูลบางส่วนสูญหาย
จนมาในรุ่นหลังมีการเก็บรวบรวมข้ อมูลเกิดขึ ้นทังจากนั ้ กวิชาการหรื อจาก
หน่วยงานที่ทาการค้ นคว้ าวิจยั เกี่ยวกับสัดส่วน เช่น ผลงานของ รองศาสตราจารย์ฤทัย ใจจงรัก และ รองศาสตราจารย์วชั รี วัชรสินธุ์ เป็ นต้ น ศิลปะไทยนันได้ ้ รับอิทธิพลแตกต่างกันออกไปตามยุคสมัย เช่น ในช่วงสมัยสุโขทัย ได้ รับอิทธิพลด้ านศาสนาจาก ประเทศอินเดีย ในสมัยอยุธยาได้ รับอิทธิพลจากประเทศล่าอาณานิคม เช่น ฮอลันดา โปรตุเกส ฝรั่งเศส ส่วนมากจะมีบทบาทใน เรื่ องของโครงสร้ างอาคาร เราเรียกยุคนี ้ว่า “อาคารวิลนั ดา” ต่อมาในยุครัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็ นรัชสมัย ได้ แก่ สมัยร.1-ร.3 69
ยังคงเป็ นศิลปะแบบอยุธยา สมัย ร.3-ร.4 ได้ รับเอาศิลปะแบบจีนเข้ ามามีสว่ นร่วม เห็นได้ จากองค์ประกอบสถาปั ตยกรรมที่ไม่มี ช่อฟ้าหางหงส์ หรื อ รูปแบบศิลปกรรมแบบจีนในวัดไทย เรี ยกศิลปะสมัยนี ้ว่า “พระราชนิยม” สมัยร.5-ร.6 ได้ รับเอาอิทธิพล ประเทศล่าอาณานิมตะวันตกอีกครัง้ ครัง้ นี ้จะเป็ นหลักวิชาการ เทคนิคขันสู ้ งกว่า เช่น การเล่าเรื่ อง แสงเงา กายวิภาค เป็ นต้ น ลักาณะเด่นในงานสถาปั ตยกรรมไทย ถึงแม้ วา่ ศิลปะไทยจะได้ รับอิทธิพลจากต่างประเทศอยูเ่ นืองๆ แต่ชา่ งไทยก็ได้ พัฒนารูปแบบจนเป็ นเอกลักษณ์ กล่าวคือ 1.ศิลปะที่ไม่เน้ นเหมือนจริ ง เป็ นศิลปะแบบอุดมคติ (idealistic Art) เป็ นแบบงานครูหรื อสร้ างสรรค์ขึ ้นมาเอง 2.ได้ รับอิทธิพลแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ หรื อจากสิง่ แวดล้ อมรอบตัว ไม่วา่ จากคน สัตว์ ต้ นไม้ ใบไม้ ดอกไม้ ช่าง ไทยก็นามาเพิ่มจินตนาการสร้ างสรรค์ออกมาได้ 3.ได้ รับอิทธิพลจากความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาและไสยศาสตร์ ซึง่ ก็เป็ นความเชื่อดังเดิ ้ มของมนุษย์ทเี่ ชื่อในเรื่ องดินฟ้า อากาศ ภูตผี เทวดา จนสร้ างเป็ นศิลปะรูปเคารพขึ ้น ดังจะเห็นว่าศิลปะของไทยมีววิ ฒ ั นาการมาเป็ นขันล ้ าดับจนปั จจุบนั ถึงแม้ วา่ ช่างไทยจะได้ รับอิทธิพลทางความคิด จาดหลายประเทศแต่นนั่ ก็ไม่ได้ ทาให้ อตั ลักษณ์ของศิลปะไทยย่อหย่อนลงเลยสิง่ นี ้ย่อมแสดงให้ เห็นว่าช่างไทยนันมี ้ ความสามารถอย่างแท้ จริ ง ทังในด้ ้ านจิตรกรรม ประติมากรรมและสถาปั ตยกรรมของไทยนันมี ้ เอกลักษณ์ควรค่าแก่การเชิดชู
ภาพแสดงสัดส่วนของลายไทย 1. ลายกนก สัดส่วน 2:4, 2. ลายประจายาม สัดส่วน2:2, 3. ลายกระจังสัดส่วน 2:3, 4. ลายพุม่ ข้ าวบิณฑ์ สัดส่วน 2:3, 5. ลายก้ าน สัดส่วน 2:3
70
1.สัดส่ วนในงานสถาปั ตยกรรมไทย (รศ.วัชรี วัชรสินธุ์) การวิเคราะห์สดั ส่วนพระอุโบสถด้ วยวิธีการรังวัดระยะขององค์ประกอบอาคารและใช้ วิธีการสร้ างกรอบ สีเ่ หลีย่ มสมมุตขิ ึ ้นเพื่อวิเคราะห์หาสัดส่วนของพระอุโบสถ โดยกรอบสีเ่ หลีย่ มสมมุตินนเกิ ั ้ ดจากค่าเฉลีย่ ของด้ านกว้ างพระ อุโบสถ (กรอบสีเ่ หลีย่ มนอกจากจะเป็ นวิธีวเิ คราะห์สดั ส่วนแล้ วยังใช้ แทนพื ้นที่หตั ถบาสของพระภิกษุสงฆ์ด้ว ย) มักมีระยะ เท่ากับรยะแปหลังคา สาหรับการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยอาศัยหลักเรขาคณิตเป็ นวิธีสากลที่สะท้ อนให้ เห็นความสัมพันธ์ ของการออกแบบ โดยแบ่งการศึกษาแยกเป็ น 3 ประเภท คือ 1.พระอุโบสถวัดหลวง 2.พระอุโบสถวัดราษฎร์ และ3.พระอุโบสถ ธรรมชาติ รูปแบบและวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบของสถาปั ตยกรรมได้ แก่ 1.สัดส่วนความสูงของหน้ าบัน สัดส่วนที่ได้ คือ สัดส่วนความสูงของหน้ าบันตามวิธีการโบราณ สัดส่วนความสัมพันธ์ ของขนาดความสูงจะมีคา่ ใกล้ เคียงกับสัดส่วนตาราโบราณ ได้ แก่ หักสามทิ ้งหนึง่ ไขขึ ้นศอกละนิ ้ว หักห้ าทิ ้งหนึง่ และหักแปดทิ ้ง สาม
ภาพแสดงความสมัพนั ธ์ของสัดส่วนหน้ าบันด้ วยตาราโบราณ
2. สัดส่วนของกระสวยช่อฟ้า คือ 1: 1.5 3. สัดส่วนของหางหงส์ แบง่ออกเป็ น 2 ประเภทคือ 1.สัดส่วนหางหงส์ตีนจัว่ สัดส่วน คือ 3:5 และ 2.หางหงส์ปีกนก สัดส่วนคือ 1: 2 4. สัดส่วนของคันทวย คือ 2:3 5. สัดส่วนของพระอุโบสถโดยการทาการสร้ างกรอบสีเ่ หลีย่ มมาจากค่าเฉลีย่ ด้ านกว้ าง ของพระอุโบสถใช้ เป็ นมาตรา ส่วนในการวิเคราะห์สดั ส่วนของพระอุโบสถ 71
ภาพลายเส้ นแสดงสัดส่วนช่อฟ้า
ภาพแสดงการใช้ สี่เหลี่ยมสมมุติวิเคราะห์สดั ส่วนอุโบสถ
72
จากงานวิจยั ของ รศ.วัชรี วัชรสินธุ์ ซึง่ สรุปใจความสาคัญในเรื่ องสัดส่วนของการพระอุโบสถสมัยอยุธยาได้ วา่ สัดส่วน ที่สวยงามของพระอุโบสถนันเป้ ้ นรูปแบบสัดส่วนอย่างง่ายทางคณิตศาสตร์ ทเี่ กิดจากความสร้ างสรรค์ของช่างต่อพื ้นที่วา่ งทาง สถาปั ตยกรรมให้ สมั พันธ์ลงตัวกับโครงสร้ างทางวิศกรรม โดยใช้ หลักสมดุลเป็ นพื ้นฐานของความงาม
2.สัดส่ วนในงานสถาปั ตยกรรมไทย(รศ.ฤทัย ใจจงรั ก) รองศาสตราจารย์อาจารย์ฤทัย ใจจงรัก ได้ ค้นคว้ าและรวบรวมข้ อมูลการสร้ างสรรค์งานสถาปั ตยกรรมไทย ให้ มีความถูกต้ องและสวยงามตามสัดส่วนที่ครูชา่ งเคยบอกต่อกันมาและเพิม่ ข้ อมูลความสมบูรณ์ให้ กบั สถาปั ตยกรรมไทยให้ ถูกต้ องเพื่อให้ งา่ ยต่อการนาไปใช้ งาน กล่าวถึงการออกแบบในงานสถาปั ตยกรรมไทยนัน้ จะต้ องคานึงถึง 3 อย่าง ดังต่อไปนี ้ 1.รูปทรง หลักทางคณิตศาสตร์ รูปร่าง รูปทรง แนวนอน แนวตัง้ กว้ าง ยาว สูง มิติ 2.ลักษณะ การออกแบบมีลกั ษณะเฉพาะที่นาเอาเอกลักษณ์พื ้นถิ่นเข้ าไปประยุกต์ 3.จังหวะทางสถาปัตยกรรม ไม่ได้ หมายถึง ช่องไฟขององค์ประกอบอย่างเดียวแต่ประกอบด้ วย เส้ น ระนาบ มวล การ เจาะช่องว่างและทึบ สัดส่วนที่ได้ จากการเก็บรวบรวมข้ อมูลประกอบกับปรับปรุงได้ รวบรวมไว้ ดงั นี ้
ภาพ “ช่อฟ้า” ณ ศาลาพระที่นงั่ ดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง
73
1.ช่อฟ้า แบ่งออกเป็ น ช่อฟ้าระยะต่า ได้ สดั ส่วน 2:2 และช่อฟ้าระยะสูง สัดส่วน 3:4 (ซึง่ อาจสลับได้ บนและล่างได้ ) 2.หางหงส์ นันมี ้ หลายรูปแบบ แบ่งออกได้ เป็ น 1.หางหางส์ปากปลา สัดส่วน 2:5 2.หางหงสฝื ปากนก สัดส่วน 3:4 และ 3.หาง หงส์ปนู สัดส่วน 2:2
ภาพ “หางหงส์ปากนก” ณ วัดกษัตราธิราช จ.พระนครศรีอยธุยา
3.คันทวย มีหลายรูปแบบ แบ่งออกได้ เป็ น 1.คันทวยหน้ าตัก๊ แตน สัดส่วน 3:5 2.คันทวยหัวนาค 4:7 (แตกต่างกันไปตาม เอกลักษณ์ของพื ้นที่และระยะความสูง ระยะชายคา)
ภาพ คันทวยหน้ าตัก๊ แตน ณ ศาลาการเปรียญวัดใหญ่สวุ รรณนาราม จ.เพชรบุรี
74
4.หน้ าบัน เป็ นองค์ประกอบหลักในงานสถาปั ตยกรรมไทยของงานเช่น โบสถ์ สัดส่วนหน้ าบันได้ แก่ 1.หน้ าบันชันล่ ้ าง เป็ นหน้ า บันที่ไม่สงู มากนัก นิยมใช้ สดั ส่วน ขื่อ: ดัง้ 5 : 3 ½ 2.หน้ าบันชันกลาง ้ หน้ าบันระดับปานกลางนิยมใช้ สดั ส่วน ขื่อ : ดัง้ 5 : 4 3. หน้ าบันสูงนิยมใช้ สดั ส่วน 5 : 1 ½ หรื อ 5 : 4 2/3
ภาพหน้ าบัน แป 3 ตัว
ภาพพระอุโบสถขนาดเล็ก
75
5.พระอุโบสถ แบ่งออกเป็ น 3 ขนาด ได้ แก่ อุโบสถขนาดเล็ก อุโบสถที่มีขนาดเล็กที่สดุ ต้ องมีภิกษุ ทาสังฆกรรมได้ ไม่น้อยกว่า 21 รูป จะมีลกั ษณะขนาดหน้ าบัน สัดส่วน 5: 4 ½ หน้ าบันล่าง(อกไก่) สูงกว่าขื่อ 4 ส่วน ใช้ ชื่อเป็ นหลักต่ากว่าขื่อ 3 ส่วน พื ้น อุโบสถ 9 ส่วนและ อุโบสถขนาดกลาง อุโบสถที่มีขนาดกลาง ต้ องมีภิกษุทาสังฆกรรมได้ มากกว่า 21 รูป มีจานวน 3 หน้ าบัน สัดส่วนหน้ าบันบนสุด 5:5 หน้ าบันกลาง 5:4 ½ หน้ าบันล่าง 5:4 ใช้ ขื่อเป็ นหลักจากขื่อถึงอกไก่ 4 ส่วนขื่อ ถึง ตับล่าง 3 ส่วนขื่อ ถึงพื ้น 9 ส่วน 6.วิหารพระนอน สัดส่วนหน้ าบันมุขหน้ สดุ 5:4 มุขกลาง 5:4 มุขหลังสุด(บน) 5:4 ½ จากขื่อหลังมุขหน้ า : พื ้นที่อโุ บสถ 10:11 ส่วนจากขื่อหลังมุขหน้ า : พื ้นดิน 13:14 ส่วน สัดส่วนคล้ อยตามความเชื่อ นิยมสร้ างให้ พระพุทธรูปใหญ่จนคับพื ้นที่วา่ งภายใน ด้ วยความเชื่อพระพุทธองค์คือผู้เป็ นใหญ่ใน 3 โลกธาตุ
เจดีย์ทรงกลม
76
เจดีย์ทรงย่อมุม
7.เจดีย์ รูปแบบของเจดีย์นนมี ั ้ หลากหลายแตกต่างไปตามยุคสมัย สาหรับสัดส่วนก็แตกต่างกันด้ วย เจดีย์กลม มีสดั ส่วน 2:4 เจดีย์ยอ่ มุม 5:9 การคานึงถึงมุมมองจากคนต่อสถาปั ตยกรรม ทาให้ เกิดการสร้ างสรรค์ผลงานที่แตกต่างกันออกไป รูปแบบงาน สถาปั ตยกรรมไทย มีการคานึงถึงการมองเห็นสัดส่วนที่เปลีย่ นไปอันจะเกิดจาก ระยะใกล้ ไกล ระยะลึกหรื อสูง หรื อสภาพที่ทา ให้ เกิดการบิดเบือนไปจากการนาเสนอของช่าง สิง่ ทีเ่ กิดขึ ้นในช่างไทยนันเป็ ้ นเทคนิคเดียวกันกับสถาปั ตยกรรมตะวันตก
77
วิเคราะห์ ความสอดคล้ องสัดส่ วนสถาปั ตยกรรมไทย พระอุโบสถ วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร สร้ างขึ ้นในสมัยพระบามสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 สร้ าง ขึ ้นโดยเจ้ าพระยานิกรบดินทร์ หรือเจ้ าสัวโต ประกอบด้ วยอาคาร 3 อาคารสาคัญ ได้ แก่ 1.พระวิหารหลวง 2.พระอุโบสถ 3.พระ วิหารน้ อย พระวิหารหลวงเป็ นแกนหลัก ของผังวัดมีพระประธานคือ องค์พระพุทธไตรรัตนายก มีรูปแบบเป็ นอาคารไทย ประเพณี ส่วนพระอุโบสถ และพระวิหารน้ อยจะมีรูปแบบคล้ ายกันคือ เป็ นพระราชนิยม หรื อเป็ นการผสมผสานกันระหว่าง ศิลปะแบบไทยและศิลปะแบบจีนองค์ประกอบอาคารถูกลดทอน เช่น ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เสาเฉลียว ไม่มีบวั เสา เป็ น ลักษณะเรียบ ภายในพระอุโบสถมีพระประธานพระพุทธรูปหล่อปางป่ าเลไลย์ ภายนอกมีซ้ มุ สีมาทัง้ 6 ทาด้ วยศิลาสลักลวดลาย เป็ นแบบจีน พระประธานปางเลไลย์เป็ นพระประธานที่มีอิริยาบถ นัง่ บนฐานบัวบนก้ อนศิลาห้ อย พระบาททังสองวางบนดอกบั ้ ว พระหัตถ์ทงสองวางบนพระเพลา ั้ พระหัตถ์ขวาวางหงาย เป็ นกิริยาทรงรับของถวาย ส่วนพระหัตถ์ข้างซ้ ายควา่ พระพุทธรูปหล่อ ปางเลไลย์ ได้ ขึ ้นชื่อว่าเป็ นพระพุทธรูปหล่อองค์เดียวในพระอุโบสถ
ลักษณะผังบริเวณ
ภาพแสดงผังวัดกัลยารมิตรวรมหาวิหาร 1.พระอุโบสถ 2.พระวิหารหลวง 3.พระวิหารน้ อย
78
พระอุโบสถวัดกัลยาณมิตร ตังอยู ้ ส่ ว่ นกลางของผังวัด อยูใ่ นแกนเดียวกัน ประกอบด้ วย พระวิหารหลวงและพระวิหาร น้ อย ยังมีกลุม่ อาคารประกอบรอบข้ าง เช่น หอมณเฑียร ศาลาการเปรี ยญ พระเจดีย์ เป็ นต้ น ผังวัดกลัยาณมิตร เป็ นผังวัด สมัยใหม่มีการแบ่งพื ้นที่ออกชัดเจนอยูแ่ ล้ ว ได้ แก่ 1.เขตธรณีสงฆ์ อยูด่ ้ านหน้ าวัดติดแม่น ้าเจ้ าพระยา 2.เขตพุทธาวาส อยู่ ส่วนกลางใช้ สาหรับทาพิธีกรรมตามศาสนา 3.เขตสังฆาวาส ใช้ สาหรับกิจของสงฆ์ รูปแบบทางสถาปั ตยกรรม พระอุโบสถ วัดกัลยาณมิตร นันเป็ ้ นสถาปั ตยกรรมแบบผสมผสานตามยุคสมัยดังจะเรี ยกได้ วา่ เป็ นรูปแบบพระราช นิยมคือการเอาศิลปกรรมผสมไทยและจีน จนเกิดเอกลักษณ์ ดังจะเห็นว่า พระอุโบสถนันจะลดทอนองค์ ้ ประกอบทาง สถาปั ตยกรรมไทยออกไป เช่น ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ บัวเชิงผนัง แต่ก็ยงั คงรูปแบบโครงสร้ างสัดส่วนเดิมไว้ และพื ้นที่ ลาดับการเข้ าถึงแบบไทยไว้ พระอุโบสถมีความน่าสนใจที่มีพระประธานเป็ นพระพุทธรูปปางเลไลย์ ซึง่ ปกติเป็ นพระพุทธรูป ปางสมาธิหรื อปางมารวิชยั เป็ นต้ น
พืน้ ที่ภายในแบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน 1.พื ้นที่ภายในพระอุโบสถ ใช้ เป็ นพื ้นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของสงฆ์และวันสาคัญต่าง ๆ พระพุทธรูปปาง เลไลย์ มีขนาดความสูงใหญ่กว่าคนจริ ง ราวเท่าครึ่ง พระอังสา กว้ าง 0.60 เมตร วัดจากฐานบัวถึงพระเกศ สูง 3.70 เมตร ความ สูงฐาน 1.50 เมตร รวมความสูงจากพื ้นถึงพระเกศ 7.14 เมตร ภายในกว้ าง 14.28 เมตร ยาว 15.00 เมตร รูปร่างเกือบจะเป็ นรูป สีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัส มีบานประตู 4 บาน หน้ า 2 บาน หลัง 2 บาน มีหน้ าต่าง 10 บาน ข้ างละ 5 บาน 2.พื ้นที่นอกพระอุโบสถ เป็ นพื ้นที่ฐานไพที ทางเดินโดยรอบอาคาร มีด้านกว้ าง กว้ าง 19.88 เมตร ประกอบด้ วยเสา พะไล 2 ส่วน คือ ส่วนด้ านนอกและด้ านใน ด้ านกว้ างประกอบด้ วย 6 ช่องเสา มีระยะระหว่างช่องเสา 2.80 เมตร , 3.35 เมตร , 3.79 เมตร , 3.35 เมตร , 3.79 เมตร , 3.79 เมตร , 3.35 เมตร , 2.80 เมตร ตามลาดับ ด้ านยาว มีระยะ 30.00 เมตร ประกอบด้ วย เสา พะไลแถวเดียว มี 9 ช่องเสา ระยะห่างระหว่างช่องเสา 2.90 เมตร , 3.40 เมตร , 3.40 เมตร , 3.40 เมตร , 3.40 เมตร , 3.40 เมตร , 3.40 เมตร , 3.40 เมตร และ 2.90 เมตร ตามลาดับ สาหรับสัดส่วนของพระอุโบสถ
วัดกัลยาณมิตรไม่ได้ สร้ างความโดดเด่นให้ กบั ผู้พบเห็นมากนักเนื่องจากเป็ นอาคาร
ประกอบ รองจากพระวิหารหลวง ซึง่ มีความโดดเด่นอยูใ่ จกลางผังวัด แต่สดั ส่วนภายในพระอุโบสถที่มีพระพุทธรูปปางเลไลย์ ทาให้ สดั ส่วนภายในมีความน่าสนใจกว่า เนื่องจากพบได้ น้อยนักที่จะมีพระพุทธรูปปางเลไลย์ในพระอุโบสถ แต่เนื่องด้ วยพระ ประธานมีขนาดไม่ใหญ่มาก พระอุโบสถ จึงไม่ได้ ใช้ โครงสร้ างทีใ่ หญ่โตกว่าเดิมมากนัก เทคนิคช่างไทย ในส่วนของพระอุโบสถนันได้ ้ ลดทอนส่วนขององค์ประกอบสถาปัตยกรรมไทยประเพณีไปหลายอย่าง ทาให้ ชา่ งต้ องเพิ่มองค์ประกอบอืน่ เพื่อความประณีตและสมดุลให้ กบั อาคาร ซึง่ จะเห็นได้ วา่ สัดส่วนอาคารมีค วามสง่า เห็นได้ ชัดทุกโครงสร้ าง แต่ยงั คงสัดส่วนสถาปั ตยกรรมแบบไทย บางส่วนมีการประยุกต์เช่นชายคาที่สนลงเมื ั้ ่อขาดส่วนคันทวยรับ
79
และช่างไทยเลือกที่จะเสริ มความงามส่วนอื่นเช่นงาน จิตรกรรม ประติมากรรมอย่างอื่นแทน กล่าวได้ วา่ สาเหตุที่สดั ส่วนของ พระอุโบสถไม่โดดเด่นคงเป็ นเจตนาของผู้ออกแบบเพื่อให้ พระอุโบสถส่งเสริ มให้ อาคารภายในผังวัดสมดุลเป็ นหนึง่ เดียวกัน พระอุโบสถ วัดกลัยาณมิตรวรมหาวิหาร มีระยะสัดส่วนของพระอุโบสถในองค์ประกอบย่อยและองค์ประกอบใหญ่ บางส่วนสอดคล้ องแต่องค์ประกอบส่วนใหญ่มีความสอดคล้ องและอัตราการขยายมีแนวโน้ มคงที่ สัดส่วนเฉลีย่ พระอุโบสถ คือ 0.57 หรื อ 1 : 1.75 ( ใกล้ เคียงสัดส่วนทองคา 1 : 1.618 )
ภาพวิเคราะห์แปลนพระอุโบสถ วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร
บ้ านอิน - จัน ออกแบบโดยสถาปนิกจิรากร ประสงค์กิจ สถาปนิกชาวไทยที่ชื่นชอบและเชื่อในความงามของสัดส่วน และได้ ยดึ หลักความงามที่สมั ผัสได้ ดงั เช่นความงามของดนตรี นนความงามทางดนตรี ั้ นนเป็ ั ้ นศาสตร์ ที่เข้ าถึงและสัมผัสได้ ทาง สถาปนิกเองจึงนาเอาหลักการดังกล่าวเกี่ยวกับความงามพื ้นฐาน นามาออกแบบบ้ านอิน - จัน บ้ านอิน - จัน มีความหมายถึง แฝดอิน - จัน แฝดสยาม เป็ นบ้ านที่มีพี่น้อง 2 คน ซึง่ พยายามที่จะสร้ างแนวคิดเสมือนว่าเป็ นแฝดที่มีความรักความห่วงใยแบบ พี่ - น้ องกันผ่านงานสถาปัตยกรรม โดยที่ให้ พื ้นที่ของพ่อแม่ของเขานันเป็ ้ นพื ้นที่เชื่อมต่อกันระหว่างพี่น้อง 2 คน แต่หาก สถาปนิกได้ เพิม่ คุณค่าของกระบวนการสร้ างบ้ านขึ ้นมา โดยการออกแบบโดยยึดเอาหลักสัดส่วนความงาม Golden section โดย วิเคราะห์และศึกษาขันตอนอั ้ ตราการขยายของสูตร Golden Mean เป็ นกฎในการควบคุมโครงการและภาพรวมของบ้ าน โดยที่ทกุ อย่าง ทุกองค์ประกอบในบ้ านเริ่มต้ นจากแปลงพื ้น ซึง่ มีที่มาจากรูปร่างของ “ หอยนอติลสุ ” ( Nautilus shell ) และอัตราการ เจริ ญเติบโต โดยการเปลีย่ นแปลงรูปแบบให้ เป็ น Logarithmic spiral ซึง่ ภาพตัวแปรของผังพื ้นนันมี ้ ที่มาจากผลงานของ ศิลปิ น Andy Black
80
ภาพแสดงการหาระยะต่างๆโดยใช้ สตู ร Golden Mean
รูปแบบสถาปั ตยกรรม เมื่อคานวณจากสูตรในการหาคาตอบตัวแปรแล้ วสถาปนิกผู้ออกแบบได้ กาหนดค่าตัวแปรตังต้ ้ น ให้ กบั ค่า B = 9.600 ม. ขันตอนต่ ้ อไป เมื่อนาค่าดังกล่าวแทนลงสูตรเพื่อหาระยะที่เหลือ สาหรับมิติที่ 1 คือพื ้นนัน้ สถาปนิกได้ ยดึ ตามทฤษฎีอตั ราการ เจริ ญเติบโตคงที่ของ
Golden Mean
ได้ ทงหมดเป็ ั้ น 5 ส่วน ส่วนมิติตอ่ มาในด้ านความสูงและทิศทางของประโยชน์ใช้ สอยนัน้
สถาปนิกได้ วเิ คราะห์และกาหนดเองตามความสัมพันธ์ของผู้ออกแบบทฤษฎีและความต้ องการของเจ้ าของบ้ าน บ้ านอิน - จัน ตามที่สถาปนิกผู้ออกแบบบ้ านอิน – จัน มีแนวคิดในการออกแบบบ้ านให้ ทกุ องค์ประกอบจะมีความ สอดคล้ องกับหลักทฤษฎีสดั ส่วนทองคาและทาให้ บ้านอิน - จัน มีความสอดคล้ องเกือบทุกองค์ประกอบ มีบางส่วนที่ไม่ สอดคล้ องตรงตามสัดส่วน 1: 1.618 ก็ตามซึง่ เป็ นส่วนน้ อย และมีอตั ราขยายขององค์ประกอบคงที่ สัดส่วนเฉลีย่ บ้ านอิน – จัน คือ 0.56 ซึง่ เรื่ องจากการทดลองมีบางจุดที่ระยะเฉลีย่ ห่างกันมากและเป็ นจุดที่ไม่สาคัญ แต่โดยรวมบ้ านอิน - จัน นันเป็ ้ น อาคารทีม่ ีกราฟใกล้ เคียงสัดส่วนทองคามากที่สดุ
81
บทที่ 10 การเปลี่ยนแปลงของสถาปั ตยกรรมไทย การเติบโตของวัฒนธรรมหนึง่ ย่อมหมายถึงการเสือ่ มสลายของอีกวัฒนธรรมหนึง่ เช่นเดียวกับความงามของ สถาปั ตยกรรมไทยที่กาลังร่วงโรยไปพร้ อมกับกาลเวลา และความประณีตบรรจงที่กาลังถูกลดทอนด้ วยความหยาบ ฉาบฉวย จากการบูรณปฏิสงั ขรณ์ขึ ้นมาใหม่ โดยไม่คานึงถึงคุณค่าความงามและความหมายขององค์ประกอบเดิมเลย ความไม่ร้ ู และ การละเลยรายละเอียดต่างๆ นามาซึง่ ความเปลีย่ นแปลงที่ไม่อาจคงสภาพเดิมได้ อีกต่อไป หากกล่าวถึงการเปลีย่ นแปลงนัน้ ก็มีให้ เห็นตังแต่ ้ ประวัตศิ าสตร์ ช่วงเปลีย่ นผ่านของสมัยต่างๆ ในประวัติศาสตร์ ของ สถาปั ตยกรรมไทยนัน้ มีเอกสารประกอบวิชาได้ แสดงให้ เห็นและจาแนกเป็ นช่วงสมัยของศิลปะแต่ละช่วงได้ เป็ น ช่วง สถาปั ตยกรรมก่อนประวัติศาสตร์ ไทย และช่วงสถาปั ตยกรรมไทย มีรายละเอียดดังนี ้ ช่ วงสถาปั ตยกรรมก่ อนประวัติศาสตร์ ไทย 1.สมัยทวาราวดี สถาปั ตยกรรมของชาวอาณาจักรทวาราวดี ซึง่ ตังราชธานี ้ อยูท่ ี่นครปฐม ระหว่าง พ.ศ. 1000 – 1200 พระรพุทธศาสนา ลัทธิหินยาน 2.สมัยศรี วชิ ยั สถาปั ตยกรรมของชาวอาณาจักรศรี วิชยั ซึง่ ราชธานีตงอยู ั ้ ใ่ นเกาะสุมาตรา ใกล้ เมืองที่เรี ยกว่าปาเล็ม บังบัดนี ้ และแผ่อาณาจักรมายังแหลมมลายูของไทย ระหว่าง พ.ศ. 1200 – 1700 พระพุทธศาสนา ลัทธิมหายาน 3.สมัยลพบุรี สถาปั ตยกรรมของสมัยลพบุรีครัง้ ราชธานีอปุ ราชของขอม ตังอยู ้ ท่ ี่เมืองลพบุรี ระหว่าง พ.ศ. 1500 – 1800 พระพุทธศาสนา ลัทธิหินยาน สืบเนื่องมาแต่สมัยทวาราวดี และ ลัทธิมหายานมาแต่เมืองเขมร และบางทีจะมา แต่ทางศรี วชิ ยั ด้ วย ช่ วงสถาปั ตยกรรมไทย 1.สมัยเชียงแสน สถาปั ตยกรรมของชาวเชียงแสน ครัง้ ชนชาติไทยได้ มาเป็ นใหญ่ในประเทศนี ้ ตังราชธานี ้ ที่เมืองเชียง แสน เชียงราย และเชียงใหม่ โดยลาดับ ระหว่าง พ.ศ. 1600 – 2089 2.สมัยสุโขทัย สถาปั ตยกรรมของอาณาจักรสุโขทัย ครัง้ ชนชาติไทยได้ ตงเมื ั ้ องสุโขทัยขึ ้นเป็ นราชธานี ระหว่าง พ.ศ. 1800 – 1893 พระพุทธศาสนา ลัทธิหินยาน อย่างเช่นที่ถือกันในเมืองลพบุรีและลัทธิลงั กาวงศ์ เช่นในสมัยพระเจ้ า ปรักกรมพาหุมหาราชฟื น้ พระพุทธศาสนาในลังกาทวีป 3.สมัยอยุธยา สถาปัตยกรรมของยุคกรุงศรี อยุธยา ครัง้ ไทยตังพระนครศรี ้ อยุธยาขึ ้นเป็ นราชธานี ระหว่าง พ.ศ. 1893 – 2325 พระพุทธศาสนา ลัทธิหินยาน สืบมาแต่สมัยทวาราวดีและลัทธิมหายาน สืบเนื่องมาแต่เมื่อขอมเป็ นใหญ่ใน ลพบุรี และลัทธิหินยานแบบลังกาวงศ์ ตังแต่ ้ เมื่อไทยได้ เป็ นใหญ่ในประเทศนี ้ 4.สมัยรัตนโกสินทร์ สถาปั ตยกรรมของสมัยรัตนโกสินทร์ ตังแต่ ้ สร้ างกรุงเทพพระมหานครอมรรัตนโกสินทร์ มาจนถึง ยุคปั จจุบนั พ.ศ. 2325 – 2475 พระพุทธศาสนาลัทธิหินยานเกิดแยกเป็ น 2 นิกาย ( ธรรมยุติ และมหานิกาย ) ใน รัชกาลที่ 3 และทะนุบารุงลัทธิมหายานขึ ้นในรัชกาลที่ 4 5.ยุคไทยปั จจุบนั สถาปั ตยกรรมยุคนี ้ นับตังแต่ ้ คณะราษฎร์ ได้ เปลีย่ นแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชมา เป็ นระบอบประชาธิปไตย
82
บทที่ 11 ประวัตศิ าสตร์ นิพนธ์ ด้านสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ ในประเทศไทย ประเทศไทยหรื อสยามเป็ นประเทศเอกราชประเทศเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงครึ่งหลังของ คริ สต์ศตวรรษที่ 19 ถึงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ประวัตศิ าสตร์ กระแสหลักของประเทศไทยทังที ้ เ่ ขียนโดยนักวิชาการไทยและ ต่างประเทศได้ อธิบายสถานะอันเป็ นเอกลักษณ์นี ้ว่า เป็ นผลจากความสามารถขององค์พระมหากษัตริ ย์แห่งราชวงศ์จกั รี ที่ได้ ทรงปฏิรูปประเทศโดยการ ‘ปรับใช้ ’ ระบบการปกครอง การศาล การศึกษา การทหาร และวัฒนธรรมสมัยใหม่จากตะวันตกให้ เข้ ากับบริ บทของสังคมสยามตังแต่ ้ ช่วงกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 19 จนสามารถต่อรองและต่อกรกับมหาอานาจตะวันตกได้ ทาให้ สยามก้ าวสูค่ วามเป็ นสมัยใหม่ (modernity) หรื อความทันสมัยซึง่ แม้ วา่ จะเกิดหลังความเป็ นสมัยใหม่ในโลกตะวันตก และยังไม่ สมบูรณ์เนื่องด้ วยอุปสรรคและข้ อจากัดหลายประการ
แต่ก็เป็ นการก้ าวเข้ าสูค่ วามเป็ น สมัยใหม่ที่ผสานด้ วยประเพณีดงเดิ ั้ ม
ด้ วยวิถีของสยามเอง โดยไม่ตกเป็ นอาณานิคมของชาติตะวันตกเฉกเช่นประเทศเพื่อนบ้ าน ประวัติศาสตร์ แห่งชาติดงั กล่าว สร้ างกรอบทฤษฎีให้ กบั ประวัติศาสตร์ นิพนธ์ด้านสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยในเวลาต่อมา งานวิจยั ด้ านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ชิ ้นแรก ๆ ในช่วงพ.ศ. 2533-2539 นาโดยผุสดี ทิพทัส และวิมล สิทธิ์ หรยางกูร มีจดุ มุง่ หมายหลักในการสารวจและจัดระบบข้ อมูลเกี่ยวกับงานสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยที่สร้ าง ตังแต่ ้ ช่วง พ.ศ. 2475 เป็ นต้ นมา ด้ วยหลักฐานจากการวิเคราะห์งานสถาปั ตยกรรมจริ ง ข้ อเขียนที่เกี่ยวกับแนวความคิดในการ ออกแบบ และการสัมภาษณ์สถาปนิกการกาหนดกรอบเวลาโดยเริ่ มต้ นที่พ.ศ. 2475 นันมี ้ เหตุผลมาจากกรอบทฤษฎีใน การศึกษา กล่าวคือ ช่วงเวลา หลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็ นระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริ ย์ เป็ นประมุขเป็ นช่วงเวลาที่สงั คมไทยก้ าวสูค่ วามเป็ นสมัยใหม่อย่างชัดเจนอีกช่วงหนึง่ โดยการ ‘ปรับใช้ ’ ระบบการปกครอง การ ศาล การศึกษา การทหาร และวัฒนธรรมสมัยใหม่จากตะวันตกผสานกับประเพณีดงเดิ ั ้ มยังเป็ นแนวทางหลักในการก้ าวสูค่ วาม เป็ นสมัยใหม่ ของสยาม
แม้ จะมีความแตกต่างในตัวระบบและรายละเอียดต่าง
ๆ
เมื่อเทียบกับวิธีการภายใต้ ระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์แต่กรอบหลักที่วา่ ประเทศไทยก้ าวสูค่ วามเป็ นสมัยใหม่ด้วยตัวเองน้ั นยังคงเดิม และสาหรับช่วงหลังการ เปลีย่ นแปลงการปกครองเป็ นต้ นมานี ้สถาปนิกไทยที่ได้ รับการศึกษาจากยุโรปเริ่ มมีบทบาทสาคัญในวงการออกแบบก่อสร้ าง ในประเทศไทยแทนสถาปนิกต่างชาติรวมท้ั งแนวทางออกแบบได้ เริ่ มมีการ ‘ปรับใช้ ’ แนวคิดของ Modern Movement มากขึ ้น เป็ นลาดับ
83
ปั จจัยแวดล้ อมสาคัญที่กระตุ้นให้ มีการบุกเบิกงานวิจยั เรื่ องนี ้คือการขยายตัวทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ในช่วง
พ.ศ.
2526–2539 ที่ทาให้ เกิดการก่อสร้ างอาคารจานวนมาก พร้ อมกับการขยายตัวของวงการวิชาชีพและการศึกษาสถาปั ตยกรรม หากแต่ยงั ไม่มกี ารบันทึกข้ อมูลไว้ อย่างเป็ นระบบเพื่อเป็ นประโยชน์ในการศึกษาและพัฒนาวงการต่อไป งานวิจยั รุ่นบุกเบิกนี ้จึง มองกลับไปที่งานสถาปั ตยกรรม แนวคิด และการปฏิบตั วิ ิชาชีพของสถาปนิกในช่วงเวลาตังแต่ ้ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ถึง ทศวรรษที่ 2530 เพื่อค้ นหาว่ารูปแบบและแนวคิดทางสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่จากตะวันตกถูกนามาประยุกต์ให้ เข้ า กับบริ บทและสถานการณ์ในประเทศไทยในช่วงเวลาต่าง ๆ ในช่วงหกสิบปี ก่อนหน้ านันอย่ ้ างไร งานวิจยั กลุม่ ดังกล่าว“บันทึก” ทังงานที ้ ด่ ีและงานที่เป็ นที่ถกเถียง โดยไม่ได้ ชีน้ าอย่างชัดเจนว่าอาคารไหนดีหรื อไม่ดแี ต่นาเสนอที่มาที่ไปทังในเรื ้ ่ องของรูปแบบ แนวคิด และปัจจัยแวดล้ อมที่ทาให้ อาคารเหล่านันเกิ ้ ดขึ ้น และให้ ผ้ อู า่ นเป็ นผู้คิดต่อเองว่าสถาปั ตยกรรมในปั จจุบนั และอนาคต ควรได้ รับการพัฒนาไปในทิศทางใด อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาปั จจัยสาคัญอีกอย่างหนึง่ ที่ทาให้ เกิด งานวิจยั รุ่นบุกเบิกนี ้จะพบว่า
ผู้วิจยั หลักไม่ได้ ไร้ ซงึ่
ความเห็นต่องานทีด่ ีและเป็ นที่ถกเถียงเสียทีเดียว ปั จจัยดังกล่าวคือการตังค ้ าถามและวิพากษ์ วจิ ารณ์อาคารจานวนมากในช่วง พ.ศ. 2526–2539 ที่ออกแบบและสร้ างในรูปแบบที่เรี ยกกันทัว่ ไปว่า “กล่องกระจก” หรื ออาคารพาณิชยกรรมหรื อพักอาศัยใน รูปแบบสถาปั ตยกรรมตะวันตกในอดีต เช่น คลาสสิค ทิวดอร์ บาวาเรี ย ฯลฯ ซึง่ ทังหมดถู ้ กออกแบบเพื่อดึงดูดผู้บริ โภค แสดง ความทันสมัยและฐานะทาง เศรษฐกิจของผู้เป็ นเจ้ าของ โดยเมื่ออประกอบกับกระแสความคิดที่วา่ โลกยุคโลกาภิวตั น์จะทาให้ ทกุ ที่ในโลกเหมือนกัน และ ความสนใจในเรื่ องมรดกและศิลปวัฒนธรรมของชาติที่เพิม่ ขึ ้นอันเนื่องมาจากการเฉลิมฉลองสองศตวรรษกรุงเทพมหานครและ ราชวงศ์จกั รี แล้ ว จะเข้ าใจได้ วา่ ผู้วิจยั หลักของงานรุ่นบุกเบิกดังกล่าวเป็ นผู้มีสว่ นร่วมในการวิพากษ์ วจิ ารณ์ถึงความเหมาะสม กับบริ บทของอาคารเหล่านัน้ และเป็ นผู้ร่วมค้ นหาสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัยทีเ่ หมาะสมกับบริ บท และสถาปั ตยกรรมไทยร่วม สมัยที่แสดงถึงอัตลักษณ์ไทยและ/หรื ออัตลักษณ์ท้องถิ่น ในวงวิชาชีพและวิชาการสถาปั ตยกรรมอย่างต่อเนื่อง
นี่เป็ นที่มาของข้ อสังเกตว่าประเด็นเรื่ องความเหมาะสมกับบริ บท
และการค้ นหาอัตลักษณ์ที่เหมาะสมสาหรับ
สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยหรื อที่อาจเรี ยกได้ วา่ สถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัยนัน้ มีความเกี่ยวข้ องอย่างแยกไม่ออก กับกรอบความคิดทางประวัติศาสตร์ กระแสหลักหรื อประวัติศาสตร์ แห่งชาติทวี่ า่
ประเทศไทยก้ าวสูค่ วามเป็ นสมัยใหม่ด้วย
ตัวเองเพราะรอดพ้ นจากการตกเป็ นอาณานิคมของประเทศตะวันตกเยีย่ งประเทศเพื่อนบ้ าน เหตุนี ้วัฒนธรรมไทยสมัยใหม่รวม ไปถึงสถาปั ตยกรรมไทยสมัยใหม่และร่วมสมัยที่ดจี ึงคือผลของการสร้ างสมดุลระหว่าง “ความทันสมัย” และ “ความเป็ นไทย” “อัตลักษณ์ไทย” หรื อ “อัตลักษณ์ท้องถิ่น”
84
กล่ าวโดยสรุ ปคือ เมื่อเปรี ยบเทียบงานวิจยั ภาษาไทยด้ านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยรุ่น บุกเบิกกับหนังสือภาษาอังกฤษชนิดรวมเล่มข้ างต้ นพบว่า
งานวิจยั ภาษาไทยดังกล่าวมีการกาหนดขอบเขตของการศึกษา
คล้ ายคลึงกับงานภาษาอังกฤษประเภทที่สอง กล่าวคือไม่ได้ จากัดขอบเขตการวิจยั อยูเ่ พียงสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในแง่ของ M ใหญ่ หรื อสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ตามแนวทางของ Modern Movement เท่าน้ั น แต่ครอบคลุมสถาปั ตยกรรมที่ถกู สร้ างขึ ้นจาก แนวคิดที่หลากหลายทังที ้ ่เปิ ดรับและ/หรื อวิพากษ์ วิจารณ์ความเป็ นสมัยใหม่กระแสหลักด้ วย เช่น การค้ นหาอัตลักษณ์ไทยใน สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทย เป็ นต้ น อย่างไรก็ตามเนื่องจากงานวิจยั รุ่นบุกเบิกที่ได้ อภิปรายไปแล้ วมุง่ ศึกษางานของสถาปนิกไทยเกือบทังหมด ้
จึงไม่
ครอบคลุมงานช่วงปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 19 ถึง พ.ศ. 2475 แต่มีงานรุ่นบุกเบิกอีกประเภทหนึง่ ที่มงุ่ ศึกษาอาคารทีเ่ รี ยกกัน โดยทัว่ ไปว่า “สถาปั ตยกรรมแบบตะวันตก” หรื อ “สถาปั ตยกรรมที่ได้ รับอิทธิพลจากตะวันตก” ที่ถกู สร้ างขึ ้นอย่างแพร่หลาย ตังแต่ ้ รัชกาลที่ 4 ถึง พ.ศ. 24757 ถ้ าไม่นบั งานที่มงุ่ บันทึกข้ อมูลเกี่ยวกับช่างและสถาปนิกต่างชาติในสมัยดังกล่าว8 งานวิจยั รุ่ น บุกเบิกกลุม่ นี ้มุง่ วิเคราะห์ รูปแบบของงานสถาปั ตยกรรมเป็ นหลัก โดยเปรี ยบเทียบงานในประเทศไทยกับงานต้ นแบบในตะวันตก และวิเคราะห์ ว่างานในประเทศไทยถูกประยุกต์อย่างไร หรื อมีการผสมผสานรูปแบบไทยเข้ าไปอย่างไร กล่าวได้ วา่ แม้ การศึกษาในแนวทางนี ้ ตอบรับกับคาจากัดความของความเป็ นสมัยใหม่ที่เปิ ดกว้ างและหลากหลายมากขึ ้น
กล่าวคือไม่ได้ จากัดหลักฐานและกรอบ เวลาอยูท่ ี่สถาปั ตยกรรมทีเ่ ริ่ มรับแนวความคิดของ Modern Movement หลัง พ.ศ. 2475 เท่านัน้ แต่ก็ยงั ต้ั งอยูบ่ นฐานความคิด ของการหาสมดุลระหว่างสิง่ ทันสมัยและความเป็ นไทยอันเป็ นเอกลักษณ์ตามมุมมองของการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ชาติไทย กระแสหลักเช่นกัน งานวิจยั และประวัติศาสตร์ นิพนธ์ยคุ บุกเบิกทุกงานที่กล่าวมานี ้มีคณ ุ ปู การใหญ่หลวง เพราะเป็ นการสร้ างฐานข้ อมูล ขนาดใหญ่อย่างเป็ นระบบให้ กบั งานวิจยั ที่ละเอียดขึ ้นในแง่มมุ ต่าง ๆ ต่อไป แต่จะเป็ นแง่ไหนบ้ างน้ั นกรอบทฤษฎีจะเป็ น ตัวกาหนด
ซึง่ ถ้ างานวิจยั รุ่นหลังยังใช้ กรอบทฤษฎีเดียวกับงานวิจยั รุ่นบุกเบิกนี ้ประวัติศาสตร์ นิพนธ์จะมีข้อจากัดในแง่ที่ไม่
สามารถก้ าวพ้ นเรื่ องราวของ ‘รูปแบบ’ ‘อิทธิพล’ ‘การปรับใช้ ’ และอัตลักษณ์ ‘ความเป็ นไทย’ ที่คอ่ นข้ างตายตัวและมีมาตรฐาน ได้ ในระยะหลังจึงเริ่ มมีงานวิจยั และประวัติศาสตร์ นิพนธ์ที่ใช้ กรอบทฤษฎีที่แตกต่างออกไป
85
“อ่ าน” สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ ในประเทศไทยผ่ านกรอบทฤษฎีวิพากษ์ ประวัติศาสตร์ แห่ งชาติ ในขณะที่งานวิจยั ด้ านสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยรุ่นบุกเบิกได้ เริ่ มถูกตีพมิ พ์ในช่วงปลายทศวรรษที่ 2530 งานวิจยั ด้ านประวัติศาสตร์ ไทย สมัยใหม่ในช่วงดังกล่าวเริ่ มมีการนาเสนออีกแง่มมุ หนึง่ ของประวัติศาสตร์ ชาติไทยในช่วงเวลา ของการเข้ าสูค่ วามเป็ นสมัยใหม่ตงแต่ ั ้ คริ สต์ศตวรรษที่ 19 เป็ นต้ นมา โดยแย้ งว่าในช่วงปลายศตวรรษดังกล่าวสยามมีสถานะ เป็ น ประเทศ “กึ่งอาณานิคม (semi-colonial)” เนื่องด้ วยการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจของประเทศถูกแทรกแซงและ กาหนดโดยอังกฤษและฝรั่งเศส ซึง่ เป็ นมหาอานาจเจ้ าอาณานิคมในภูมิภาคนี ้เป็ นอย่างมาก ประเทศทังสองมี ้ ข้ อตกลงระหว่าง กันว่าต้ องการคงสถานะของสยามให้ เป็ นประเทศเอกราชไว้ เพื่อเป็ น “รัฐกันชน (buffer state)” ระหว่างอินเดียของอังกฤษและ อินโดจีน ของฝรั่งเศส9 การวิจยั ด้ านประวัติศาสตร์ ในแนวทางนี ้มองว่าความเป็ นสมัยใหม่ ของสยามสามารถทาความเข้ าใจได้ จากสถานะอันคลุมเครื อ สถานการณ์ที่
บีบคันและมาตรการต่ ้ าง ๆ ที่เป็ นผลตามมา เช่น องค์พระมหากษัตริ ย์แห่งสยาม มี
ความจาเป็ นต้ องรวมศูนย์อานาจการปกครองเข้ าสูก่ รุงเทพฯ เพื่อคานอานาจ ของอังกฤษและฝรั่งเศสที่แผ่เข้ ามาในพื ้นทีช่ าย ขอบของพระราชอาณาจักร ที่แต่เดิมเป็ น “ประเทศราช” ของสยาม ซึง่ อาจกล่าวได้ อีกแบบหนึง่ ว่า สยาม พยายามสร้ างอาณา นิคมของตนเองในพื ้นที่ดงั กล่าว10 มาตรการนี ้เป็ นที่มา ของการสร้ างรัฐชาติสมัยใหม่ทมี่ ีการแบ่งเขตแดนชัดเจนและแนวคิด ชาตินยิ ม ซึง่ ได้ รับการพัฒนาต่อแม้ หลังเปลีย่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 อีกทัง้ ยังเป็ นที่มาของแนวคิดเรื่ อง “ความเป็ น ไทย” กล่าวคือผู้ที่อยูใ่ นอาณาบริ เวณ ของผืนแผ่นดินไทยเป็ นคนไทย และมีลกั ษณะเฉพาะร่วมกันเป็ นลักษณะประจาชาติ แนวความคิดดังกล่าวมักเกี่ยวข้ องกับการกดขี่หรื อกดดัน วัฒนธรรมย่อยหรื อชนกลุม่ น้ อย ผู้ที่ไม่เห็นด้ วยกับส่วนกลาง และการ สร้ าง ลาดับขันของสั ้ งคมและเพศสภาพ11 กรอบทฤษฎีในการศึกษาประวัติศาสตร์ ไทยสมัยใหม่ดงั กล่าวเริ่ มเป็ นที่สนใจมาก ขึ ้นตามลาดับในบริ บทของสังคมไทยที่ เปลีย่ นไปมากหลังทศวรรษที่ 2530 อันเป็ นผลจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่างก้ าว กระโดด
และการติดต่อสือ่ สารที่สะดวกและแพร่หลายมากขึ ้น
ซึง่ ไม่
เพียงนาความมัง่ คัง่ มาสูส่ งั คมเมืองโดยเฉพาะ
กรุงเทพมหานครอย่างมหาศาล ก่อนที่จะสะดุดลงในวิกฤติเศรษฐกิจใน พ.ศ. 2540 แต่ยงั ได้ สร้ างความตื่นรู้ถงึ ความเหลือ่ มล ้า ระหว่างเมืองและชนบท และประเด็นคาถามเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างรัฐและประชาชนเพิม่ มากขึ ้น
สภาวะการตื่นรู้
ดังกล่าวได้ รับ การสนับสนุนจากการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญปี 2540 ซึง่ อาจเรี ยกได้ วา่ เป็ น ‘รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน’ ซึง่ มี เจตนารมณ์ในการขยายสิทธิ เสรี ภาพ และ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการเมือง การตรวจสอบอานาจรัฐโดยประชาชน และ การเพิม่ เสถียรภาพและประสิทธิภาพของระบบการเมืองเป็ นหลัก จนในช่วงครึ่งหลังของทศวรรษที่ 2540 เป็ นต้ นมา เริ่มมีงานวิจยั ทีม่ ี กรอบเวลาของกรณีศกึ ษาครอบคลุมทัง้ สถาปั ตยกรรมแบบตะวันตกในช่วงครึ่ง หลังของคริ สต์ศตวรรษที่ 19 ถึง พ.ศ. 2475 และสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ตงแต่ ั ้ พ.ศ. 2475 จนถึงช่วงทศวรรษที่ 2510 โดยวิเคราะห์งานทัง้ 2 ประเภทภายใต้ บริ บทของความเป็ นสมัยใหม่ชดั เจนขึ ้น ด้ วยวิธีการ “อ่าน” สัญลักษณ์ทาง สังคม การเมือง และวัฒนธรรมผ่านสถาปัตยกรรมภายใต้ กรอบทฤษฎี ‘สัญญะ วิทยา’
86
หนึง่ ในงานชิ ้นแรก ๆ ในกลุม่ นี ้อยูใ่ นรูปของวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ ระดับดุษฎีบณ ั ฑิตของคุ้มพงศ์ หนูบรรจง ในชื่อ “Power, Identity, and the Rise of Modern Architecture : From Siam to Thailand”12 ซึง่ เขียน ขึ ้นใน พ.ศ. 2546 และใช้ เวลากว่าสิบปี ก่อนที่จะปรับและเพิ่มเติมเนื ้อหา และตีพิมพ์เป็ นหนังสือในชื่อ The Aesthetics of Power : Architecture, Modernity, and Identity from Siam to Thailand ใน พ.ศ. 255613 งานชิ ้นนี ้เปิ ดมุมมองใหม่ในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ใน ประเทศไทยด้ วยการมุง่ ค้ นหาความสัมพันธ์ระหว่างอานาจและอัตลักษณ์ที่ถกู สือ่ ออกมาผ่านงาน สถาปั ตยกรรม ประเด็นสาคัญอยูท่ ี่การเชื่อมโยง “ความ เป็ นไทย” ที่ถกู “สร้ าง” โดยชนชันน ้ าไทยสมัยต่าง ๆ เข้ ากับการเลือก “สร้ าง” อาคารรูปแบบต่าง ๆ ในสมัยนัน้ ๆ ทังรู้ ปแบบตะวันตกและรูปแบบที่เกิดจาก ความพยายามที่จะผสานรูปแบบไทยเข้ า ไป รวมถึงรูปแบบสมัยใหม่ในเวลาต่อมา งานวิจยั ภาษาไทยทีจ่ บั ประเด็นคล้ ายกับงานภาษาอังกฤษข้ างต้ นคือ วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตของ ชาตรี ประกิตนนทการ ซึง่ ต่อมาตีพมิ พ์ เป็ นหนังสือ 2 เล่มใน พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 255214 การตีพิมพ์ผลงานเป็ น ภาษาไทยน่าจะ เป็ นเหตุผลหนึง่ ที่ทาให้ งานเป็ นทีแ่ พร่หลายในประเทศไทยมากกว่างานชิ ้นแรก กรอบทฤษฎี ‘สัญญะวิทยา’ ทาให้ ประวัติศาสตร์ นิพนธ์ ด้ านสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยของชาตรี ไม่เน้ นความสัมพันธ์ ระหว่างสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในโลก ตะวันตกและประเทศไทย ที่เน้ น ประเด็นของ ‘รูปแบบ’ ‘อิทธิพล’ และ ‘การปรับใช้ ’ แต่มงุ่ นาเสนอการอ่าน ความหมายของการ เปลีย่ นแปลง การตัดขาดจากยุคสมัยหนึง่ ไปอีกสมัยหนึง่ ผ่านรูปแบบของสถาปัตยกรรม โดยเน้ นเนื ้อหาในส่วนของการก้ าว ข้ ามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสูร่ ะบอบประชาธิปไตย ซึง่ แสดงออกด้ วย สถาปั ตยกรรมของคณะราษฎร โดย ‘อ่าน’ ความเรี ยบง่ายขององค์ประกอบ สถาปั ตยกรรมหลัง พ.ศ. 2475 ว่าเป็ นสัญลักษณ์ของการตัดขาดจากยุค สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่สถาปัตยกรรมเต็มไปด้ วยสิง่ ประดับตกแต่งที่แสดง ฐานานุศกั ดิ์ทางสถาปัตยกรรม หรื อถ้ าอาคารบาง หลังยังต้ องการให้ มีลวดลาย ประดับตกแต่งแบบไทยก็จะเป็ นลวดลายลดทอนเรียบง่ายขึ ้น และสร้ างด้ วย วัสดุสมัยใหม่อย่าง คอนกรี ต งานวิจยั ในกลุม่ ดังกล่าวได้ บกุ เบิกแนวทางใหม่ในการศึกษา ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยที่ เน้ นการตีความและ วิพากษ์ วิจารณ์มากขึ ้น และปฏิเสธแนวคิดทีว่ า่ ประวัติศาสตร์ คือการบันทึกสิง่ ที่ เกิดขึ ้นจริ งเท่านัน้ เพราะ สุดท้ ายแล้ วการเลือกที่จะบันทึกหรื อไม่บนั ทึกงานชิ ้น ไหนหรื อสถาปนิกคนใด ตลอดจนการจัดระบบสิง่ ที่บนั ทึกนันก็ ้ หนีไม่พ้น การใช้ กรอบทฤษฎีของสานักใดสานักหนึง่ มาเป็ นตัวกาหนด ซึง่ การใช้ กรอบทฤษฎี ‘สัญญะวิทยา’ ก็มีข้อจากัดเช่นกัน กล่าวคือ เป็ นการวิเคราะห์สถาปัตยกรรมใน ฐานะ ‘ตัวบท (text)’ ที่สามารถ ‘อ่าน’ ได้ ในแง่สญ ั ลักษณ์ แต่ประโยชน์ใช้ สอย หรื อการใช้ ตวั สถาปั ตยกรรมโดยผู้คน ซึง่ เป็ นคุณสมบัติสาคัญที่สดุ อย่าง หนึง่ ทีท่ าให้ สถาปั ตยกรรมต่างจากศิลปะนันไม่ ้ ได้ ถกู นามาวิเคราะห์ อย่างลึกซึ ้ง16 ข้ อจากัดดังกล่าวได้ นามาสูป่ ระเด็นของหลักฐานที่ใช้ ในการวิเคราะห์ สถาปั ตยกรรมของประวัติศาสตร์ นิพนธ์ แนวทางนี ้ แม้ จะวิพากษ์ วจิ ารณ์การ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในโลกตะวันตกและ ประเทศไทยที่
87
เน้ นประเด็นของ ‘รูปแบบ’ ‘อิทธิพล’ และ ‘การปรับใช้ ’ แต่ข้อมูลที่ประวัติศาสตร์ นิพนธ์ภายใต้ กรอบทฤษฎีสญ ั ญะใช้ เป็ น หลักฐาน สนับสนุนการตีความยังคงจากัดอยูท่ ี่ ‘รูปแบบ’ ทางสถาปั ตยกรรมในงานทีใ่ ช้ เป็ นกรณีศกึ ษา และไม่มีการใช้ ข้อมูล ทางประวัติศาสตร์ ประเภทอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับ ‘วัฒนธรรมทางสถาปั ตยกรรม’17 เช่น แบบสถาปั ตยกรรม สิง่ ที่ สอนหรื อ ถกเถียงในโรงเรี ยนและสมาคมวิชาชีพ สิง่ ตีพิมพ์ทางสถาปัตยกรรม นิทรรศการทางสถาปั ตยกรรม และการประกวดแบบมาก นัก การกาเนิดและ ถ่ายทอดแนวคิดทางสถาปั ตยกรรม การออกแบบ การก่อสร้ าง การใช้ งาน และการยอมรับและปฏิเสธของ สังคมต่องานสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่มีบทบาท ในการกาหนดทิศทางและแนวคิดด้ านสถาปั ตยกรรม ถ้ าข้ อมูลเหล่านี ้ถูกนามา ประกอบการวิเคราะห์จะเปิ ดโอกาสให้ งานวิจยั ตังค ้ าถามได้ หลากหลายมากขึ ้น สัญลักษณ์ที่สะท้ อนสภาวะทางสังคม
อาจไม่ใช่เพียงคาถามที่เกี่ยวกับการเป็ น
วัฒนธรรมและการเมืองในขณะนันเพี ้ ยงอย่างเดียว
แต่เกี่ยวกับบทบาทของตัว
สถาปั ตยกรรมและวัฒนธรรมทางสถาปั ตยกรรมที่มตี อ่ สังคม วัฒนธรรม และ การเมืองโดยตรง
ทฤษฎีหลังอาณานิคม งานวิจยั เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทยที่ทาขึ ้นในช่วงทศวรรษที่ 2550 เป็ นต้ นมามี คาถามวิจยั ที่หลากหลายมากขึ ้น18 ในช่วงหนึง่ ทศวรรษมานี ้ประเทศไทยตกอยูใ่ นสภาวะไร้ เสถียรภาพทาง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ภายใต้ การนาของรัฐบาลทหารที่เริ่ มต้ นจาก การรัฐประหาร พ.ศ. 2549 สลับกับรัฐบาลจากการเลือกตังหลายชุ ้ ดทีถ่ กู ตัง้ คาถามเกี่ยวกับการทุจริ ตอย่างหนัก ประชาชนจานวนมากแบ่งเป็ นฝั กเป็ นฝ่ าย ปั ญหาความเหลือ่ มล้ํ าระหว่างชนบทกับ เมืองยังไม่ได้ รับการแก้ ไข แต่กลับ ซับซ้ อนยิ่งขึ ้น ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันของรัฐและประชาชนยังถูกตัง้ คาถามอย่าง ต่อเนื่องภายใต้ สทิ ธิเสรี ภาพในการแสดงออกทีจ่ ากัด ทฤษฎีหลังอาณานิคม (postcolonial theories) มีบทบาทสาคัญทัง้ ทางตรงและทางอ้ อมในการตังค ้ าถามใหม่ ๆ ใน งานวิจยั เกี่ยวกับสถาปั ตยกรรม สมัยใหม่ในประเทศไทยในช่วงหลังนี ้ แต่ฐานความคิดของประวัติศาสตร์
แห่งชาติที่วา่
ประวัติศาสตร์ ชาติไทยสมัยใหม่มีความจาเพาะและไม่สามารถ เปรี ยบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้ านได้ เนื่องจากประเทศไทยไม่ เคยตกเป็ น อาณานิคมของตะวันตกนันยั ้ งเป็ นกรอบทฤษฎีที่ยงั ทรงอิทธิพล และทาให้ นักวิชาการด้ านประวัตศิ าสตร์ ไทย จานวนมากยังลังเลที่จะใช้ ทฤษฎีหลังอาณา นิคมมาช่วยในการศึกษาทังประวั ้ ติศาสตร์ สงั คม เศรษฐกิจและการเมืองไทย และ ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทย
แต่ถ้าพิจารณา ข้ อสังเกตที่วา่ สยามมีสถานะกึง่ อาณานิคมที่ตกอยู่
ภายใต้ อิทธิพลของ มหาอานาจตะวันตกอย่างมาก และนามาซึง่ มาตรการตอบโต้ ทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจจากชนชัน้ นาสยามกลุม่ ต่าง ๆ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อ ประชากรสยามทุกระดับชันอย่ ้ างใหญ่หลวงแล้ ว จะเห็นได้ วา่ ทฤษฎีหลัง อาณานิคม หลายทฤษฎีสามารถเป็ นประโยชน์ในการเปิ ดประเด็นต่าง ๆ ที่อาจ มีความคล้ ายคลึงกับกรณีของประเทศเพื่อนบ้ าน
88
ยกตัวอย่างเช่น การกดขี่และการสร้ างลาดับขันของสั ้ งคมในสมัย อาณานิคม รวมถึงความพยายามในการกลืน วัฒนธรรมชนกลุม่ น้ อย หรื อการ กดดันชนชันน ้ าเดิมที่เสียประโยชน์และกลุม่ คนที่ตอ่ ต้ านเจ้ าอาณานิคม ซึง่ เป็ น เรื่ องที่เกิดขึ ้น ระหว่างเจ้ าอาณานิคมกับชนพื ้นเมือง สามารถนามาเปรี ยบเทียบกับสิง่ ที่เกิดขึ ้นในสังคมไทยในสมัยเดียวกัน ซึง่ เป็ นเรื่ องที่ เกิดขึ ้นระหว่างคน หลายกลุม่ เช่น ชนชันปกครองจากกรุ ้ งเทพฯ และเจ้ าผู้ครองนครทางเหนือ ในกระบวนการรวมประเทศราช ทางเหนือเดิมของสยามเข้ ามาเป็ นส่วนหนึง่ ของระบบการปกครองแบบใหม่ทมี่ ีการรวมศูนย์อยูท่ กี่ รุงเทพฯ หรื ออย่าง กรณีที่ รัฐบาลของจอมพล ป. พิบลู สงครามทัง้ 2 สมัยพยายามกดดันชาวจีน ชาวไทยเชื ้อสายจีน และชาวมุสลิมให้ มีความรู้สกึ ว่าเป็ น คนไทย เป็ นต้ น เหตุการณ์ข้างต้ นทังหมดนี ้ ้มีความเกี่ยวข้ องกับการเข้ าสูค่ วามเป็ น สมัยใหม่ของสังคมไทยและความสัมพันธ์กบั มหาอานาจตะวันตก ซึง่ เกี่ยวข้ อง กับประเด็นคูต่ รงข้ ามระหว่างตะวันตกและตะวันออก (west vs east) และ ความเป็ นสมัยใหม่ และประเพณี (modernity vs tradition) ที่ทฤษฎีหลัง อาณานิคมได้ วิพากษ์ วจิ ารณ์เอาไว้ คูต่ รงข้ ามดังกล่าวเป็ นมรดกตกทอด จาก ความคิดยุคอาณานิคม ซึง่ ถูกกาหนดขึ ้นโดยเจ้ าอาณานิคมในประเทศต่าง ๆ ทังนี ้ ้ไม่ได้ ตา่ งไปจากประเด็นคูต่ รงข้ าม ระหว่างความเป็ นตะวันตกกับความเป็ น ไทย หรื อคูต่ รงข้ ามระหว่างความเป็ นสมัยใหม่และความเป็ นไทยแบบดังเดิ ้ ม ซึง่ ถูก สร้ างขึ ้นโดยชนชันน ้ าไทยที่ได้ รับอิทธิพลทางความคิดมาจากมหาอานาจ ตะวันตกอีกทีแต่อย่างใด ประเด็นทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรมดังกล่าว ซึง่ สถาปัตยกรรมในอดีตได้ เข้ าไปเกี่ยวข้ องทังเรื ้ ่ องรูปแบบ การวางผัง และการ ใช้ งานในที่วา่ งของมัน อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ นนสะท้ ั ้ อนมาถึงความสัมพันธ์ ระหว่างสถานการณ์และสถาปัตยกรรมในปั จจุบนั ได้ เช่นกัน ทฤษฎีหลังอาณานิคมเข้ ามาช่วยเปิ ดมุมมองทีซ่ บั ซ้ อน และเผยให้ เห็น กระบวนการรับและต่อต้ านความเป็ นสมัยใหม่ หรื อสิง่ ใด ๆ จากตะวันตกของ ชนชันน ้ าไทย (และชนชันกลางในช่ ้ วงหลังจนมาถึงปั จจุบนั ) บนฐานความคิด ทีว่ า่ กระบวนการ ดังกล่าวมักเกี่ยวข้ องกับการแปรเปลีย่ นไปจากต้ นฉบับ การกลืนให้ เป็ นท้ องถิ่น การผสานข้ ามวัฒนธรรม และการต่อรอง ซึง่ มักทาให้ เกิดผลลัพธ์ที่มีลกั ษณะของการผสมผสาน ความหลากหลาย ความคาดไม่ถึง และความไม่แน่นอนของทังวั ้ ฒนธรรม หรื อหลักปฏิบตั ิที่ต้นทางและปลายทางเสมอ การยกตัวอย่างการศึกษาอาคารประวัติศาสตร์ ที่ผสานผัง วัสดุ และ งานระบบซึง่ ตอบรับการใช้ งานสมัยใหม่เข้ ากับ องค์ประกอบสถาปั ตยกรรมไทย ในช่วงก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 อย่างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึง่ เป็ นงานออกแบบ ร่วมกันระหว่างพระสาโรชรัตนนิมมานก์ และพระพรหมพิจิตร ในสมัยที่หลวงพิบลู สงครามเป็ นอธิการบดีจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อาจทาให้ เข้ าใจประเด็นนี ้ในแง่ที่เกี่ยวข้ องกับประวัติศาสตร์ สถาปั ตยกรรม สมัยใหม่ในประเทศไทยได้ ชดั ขึ ้น แนวทางแรก การศึกษาที่อยูบ่ นกรอบทฤษฎีของประวัติศาสตร์ แห่งชาติของไทยอาจมุง่ ศึกษาอาคารนี ้ในแง่ของ รูปแบบ และที่มาที่ไปของ ต้ นแบบในส่วนที่เป็ นแบบสมัยใหม่และส่วนที่เป็ นไทย อาจรวมไปถึงการ“ผสมผสาน” และ “ประยุกต์” ต้ นแบบทังสองจนออกมาเป็ ้ นงานนัน้ ๆ เช่น มีการวางผังที่ตอบรับกับการใช้ งานของหอประชุมสมัยใหม่ แต่ใช้ รูปทรงและ องค์ประกอบที่ประยุกต์มาจากพระอุโบสถวัดราชาธิวาส และภายหลังมีการ ปรับปรุงต่อเติมให้ เหมาะกับภูมิอากาศในประเทศ ไทยด้ วยการเปลีย่ นผนัง หอประชุมเป็ นซิเมนต์บล็อกช่องลม และยื่นระเบียงมีหลังคาคลุมออกไป ด้ านข้ าง
89
แนวทางที่สอง การศึกษาตามกรอบทฤษฎีสญ ั ญะวิทยาที่ “อ่าน” สัญลักษณ์ในสถาปั ตยกรรมอาจอธิบายว่า การ ผสมผสานองค์ประกอบ สมัยใหม่และไทยเข้ าด้ วยกัน “สือ่ ” ถึงความทันสมัยที่ไม่ไร้ รากสือ่ ถึงการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของอารย ธรรมไทยจากอดีตถึงปั จจุบนั ซึง่ เป็ นคุณสมบัติ ของสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ที่มี “ความเป็ นไทย” และด้ วยความที่องค์ประกอบ แบบไทยในงานหอประชุมแห่งนี ้ทาด้ วยคอนกรีตถอดพิมพ์ที่ลวดลายถูก ลดทอนไม่ละเอียดฟุ่ มเฟื อยแบบสถาปั ตยกรรมไทยใน ยุคก่อน มันจึง “สือ่ ” ถึงการตัดขาดจากยุคก่อนหน้ าภายใต้ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อีกประการหนึง่ ส่วนแนวทางภายใต้ กรอบทฤษฎีหลังอาณานิคมอาจมุง่ เน้ นวิเคราะห์ พลวัตทางวัฒนธรรม การสร้ างองค์ความรู้ และ ระบบระเบียบการปฏิบตั งิ าน สมัยใหม่ที่ทาให้ เกิดการผสมผสานของรูปแบบและการก่อสร้ างหอประชุม ดังกล่าว รวมทัง้ การ ร่วมมือและต่อรองระหว่างองค์ความรู้และอาชีพแบบ สมัยใหม่และดังเดิ ้ ม เช่น ในขันตอนการออกแบบ ้ ซึง่ เกิดขึ ้นในขณะที่ รัฐบาล คณะราษฎรพยายามสร้ างสรรค์ และใช้ ศิลปะและสถาปั ตยกรรมไทยสมัยใหม่ ในการปลุกเร้ าประชาชนให้ ร้ ูสกึ ถึงการ เข้ าสูย่ คุ สมัยใหม่ของชาติไทยที่ไม่ เพียงแต่ทนั สมัยแต่ยงั มีอารยธรรมอันยาวนานนัน้ วงการสถาปนิกไทยยัง แคบและมีเพียง สถาปนิกนักเรี ยนนอกไม่กี่คนทางานให้ กบั รัฐบาล สถาปนิก นักเรี ยนนอกเหล่านี ้ได้ รับความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและฝึ กหัด วิชาชีพ สถาปนิกมาในแนวทางของยุโรป ซึง่ ได้ รับการยอมรับนับถือว่าเป็ นองค์ความรู้ สากลที่นกั เรียนสถาปั ตยกรรมจาก ประเทศที่เจริ ญน้ อยกว่าจะต้ องร่ าเรี ยน และนาไปปฏิบตั ิเพื่อเป็ นส่วนส่งเสริ มให้ ประเทศของตนเจริ ญทัดเทียมนานา อารยประเทศ แน่นอนว่าในโรงเรี ยนสถาปั ตยกรรมของมหาวิทยาลัยลิเวอร์ พลู ที่พระสาโรชรัตนนิมมานก์เล่าเรี ยนมานันไม่ ้ มี การเรี ยนการสอนเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรมไทยแต่อย่างใด เมื่อถึงคราวต้ องออกแบบอาคารสมัยใหม่ใน รูปแบบไทยเช่น หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี ้ จึงต้ องทางานร่วมกับ ช่างผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบอาคารรูปแบบ ไทยมาก่อน อย่างพระพรหมพิจิตร จากการศึกษาแบบสถาปั ตยกรรมต้ นฉบับของหอประชุมจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยซึง่ เขียนโดยทังกอง ้ สถาปั ตยกรรม และกองประณีตศิลปกรรมซึง่ มีพระสาโรชรัตนนิมมานก์และพระพรหมพิจิตรเป็ นผู้อานวยการตามลาดับนัน้ พบว่ากองสถาปัตยกรรมออกแบบผังพื ้นและรูปตัดซึง่ มีโครงถักคอนกรี ตขนาด ใหญ่เป็ นโครงสร้ างหลังคา สาหรับผังฝ้าเพดาน และรูปด้ านนันออกแบบโดย ้ กองประณีตศิลปกรรม และได้ รับการตรวจโดยพระสาโรชรัตนนิมมานก์อีกที หนึง่ การ “ตรวจ” โดยสถาปนิกหัวหน้ ากองสถาปั ตยกรรมเป็ นขันตอนที ้ ่ระบุ ไว้ ในหลักการปฏิบตั ิงานของกองสถาปัต ยกรรมและกองประณีต ศิลปกรรม ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าแม้ หน่วยงานทังสองจะร่ ้ วมกันออกแบบงานแบบไทยแต่สถานะของหัวหน้ าทีมนันเป็ ้ นของ สถาปนิกสมัยใหม่ คูม่ ือของกรมศิลปากรยังระบุไว้ ด้วยว่าอาคารสมัยใหม่แบบไทยต้ องออกแบบผังพื ้นโดยกองสถาปั ตยกรรมก่อนแล้ ว กองประณีตศิลปกรรมจึงขึ ้นรูปทรง หลักการปฏิบตั ิงานของกองสถาปั ตยกรรมและกองประณีต ศิลปกรรมดังกล่าวนี ้อาจแสดง ให้ เห็นว่า สถาปนิกแผนใหม่มีอานาจเหนือช่าง สถาปั ตยกรรมไทย แต่เมื่อพิจารณาหลักฐานการสือ่ สารระหว่างพระสาโรชรัตน-
90
นิมมานก์ พระพรหมพิจิตร และหลวงพิบลู สงคราม อธิการบดีจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในฐานะเจ้ าของโครงการ ในขันตอน ้ ระหว่างการเริ่ มโครงการจน การตรวจงานขันสุ ้ ดท้ ายปรากฏว่า พระพรหมพิจิตรเป็ นผู้ร่างรูปด้ านด้ านหน้ า ก่อน จากนัน้ สถาปนิกภายใต้ บงั คับบัญชาของพระสาโรชรัตนนิมมานก์จึงเริ่ ม ออกแบบผังและโครงสร้ างตามขนาด และสัดส่วนของแบบร่าง รูปด้ าน ขันตอนในการท ้ างานจริ งดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าแม้ สถาปนิกที่ร่าเรี ยนวิชาสถาปั ตยกรรมในระบบการศึกษาสมัยใหม่ จากยุโรปจะถูกวางตัว ให้ เป็ นผู้นาในทีมออกแบบ แต่ช่างผู้เรี ยนรู้ฝึกฝนวิชาสถาปั ตยกรรมแบบไทยใน ประเทศ และคิดแบบ ด้ วยวิธี ‘ตามอย่างครู’ (พระพรหมพิจิตรประยุกต์รูปด้ าน พระอุโบสถวัดราชาธิวาสของสมเด็จฯ เจ้ าฟ้า กรมพระยานริ ศรานุวดั ติ วงศ์มา เป็ นรูปด้ านของหอประชุมฯ) กลับเป็ นผู้กาหนดรูปทรงของอาคารให้ สถาปนิก หัวหน้ าทีมต้ องออกแบบทีว่ า่ งและ โครงสร้ างสมัยใหม่ให้ สอดคล้ องกับรูปทรง นัน้ ซึง่ ความสัมพันธ์และกระบวนการทางานทังหมดนี ้ ้ชี ้ให้ เห็นถึงความซับซ้ อน ของ การออกแบบสถาปั ตยกรรมไทยสมัยใหม่ในช่วงก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โดยแสดงให้ เห็นว่าความรู้ ระบบการทางาน และ วิชาชีพสมัยใหม่ไม่ได้ เข้ ามา แทนที่สงิ่ ที่ปฏิบตั ิมาแต่เดิมเสียทีเดียว แต่มีการต่อรองจากความรู้และอาชีพ แบบเก่าร่วมอยู่ แม้ การวิจยั และประวัติศาสตร์ นิพนธ์ด้านสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่
ในประเทศไทยภายใต้ กรอบทฤษฎีหลังอาณานิคมจะเปิ ด
ประเด็นใหม่ ๆ ใน การศึกษาได้ มาก แต่ยงั คงมีข้อจากัดในแง่ทวี่ า่ การศึกษาแนวทางนี ้ยังคงมุง่ ไปที่ ความสัมพันธ์ระหว่างอานาจ และสถาปั ตยกรรมเป็ นหลัก ซึง่ ยังเป็ นประเด็นที่ คล้ ายคลึงกับการศึกษาภายใต้ กรอบทฤษฎีสญ ั ญะวิทยาอยูน่ นั่ เอง
91
บทที่ 12 ความเหมาะสมของรู ปแบบสถาปั ตยกรรมที่มีเอกลักษณ์ ไทยในบริบทสังคมปั จจุบัน แนวรู ปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณี เอกลักษณ์ไทยเกิดจากการนารูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณีมาใช้ กบั อาคารประเภทต่าง ๆ ที่สนองหน้ าที่ใช้ สอย ในสังคมปัจจุบนั จึงมีความขัดแย้ งที่ชดั เจนในหลายประการด้ วยกัน ได้ แก่ 1.ความขัดแย้ งในเชิงฐานานุรูปกับฐานานุศักดิ์ เป็ นที่ทราบดีวา่ รูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณีแต่เดิมนันใช้ ้ เฉพาะกับอาคารของราชสานัก และอาคารทางศาสนา จึงมีข้อจากัดในการนามาใช้ กบั อาคารประเภทอื่น ๆ ของสังคมปั จจุบนั เช่น อาคารพาณิชยกรรม ( ไม่วา่ จะเป็ นอาคารศูนย์การค้ า อาคารโรงแรม ) อาคาราชการ รวมทังอาคารศาล ้ และอาคารรัฐสภา เป็ นต้ น ปรากฏว่าอาคารศาลฏีกาหลังใหม่ที่จะก่อสร้ างขึ ้นใหม่ในที่ดงเดิ ั ้ มมีรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณี ส่วนอาคาร รัฐสภาแห่งใหม่ที่จะทาการก่อสร้ างที่บริ เวณย่านเกียกกาย ผู้เข้ าประกวดแบบหลายรายได้ นาเสนอรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทย ประเพณีในส่วนองค์ประกอบหรือในส่วนของอาคารโดยเฉพาะส่วนยอดเพื่อแสดงถึงลักษณะไทย ทังที ้ ่เป็ นการขัดต่อ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับฐานานุรูปทีต่ ้ องสัมพันธ์กบั ฐานานุศกั ดิ์ การละเมิดหลักเกณฑ์ความสัมพันธ์ดงั กล่าวได้ ไปไกลถึงขันการน ้ า รูปแบบเจดีย์มาเป็ นองค์ประกอบตกแต่งภายในโรงแรม หรื อในกรณีการนารูปแบบพระปรางค์มาทาเป็ นปล่องเมรุเผาศพ ทังที ้ ่ แต่เดิมแม้ แต่อาคารทางราชสานักเองก็ยงั มีลาดับชันทางรู ้ ปแบบที่จะต้ องสอดคล้ องกับฐานะตามศักดิ์ของผู้ครอง ดังนันการน ้ า รูปแบบวัดและวังมาใช้ กบั อาคารของสามัญชน ย่อมไม่เป็ นการเหมาะสมด้ วยประการทังปวง ้ จึงเกิดคาถามว่า แล้ วจะออกแบบ ให้ มีลกั ษณะไทย ( Thai Style ) ได้ อย่างไรในเมื่อไม่ปรากฏว่ามีอาคารประเภทต่าง ๆ เหล่านี ้มาก่อนในอดีต ซึง่ มีเพียงวัด วัง และเรื อนพักอาศัย สรุปได้ วา่ ลักษณะไทยสาหรับอาคารประเภทใหม่ ๆ ในสังคมปั จจุบนั จึงเป็ นสิง่ ที่ต้องมาจากการคิดใหม่ทาใหม่ ( Reinvention )
2.ความขัดแย้ งในเชิงบริบท นอกจากความขัดแย้ งในเชิงฐานานุรูปกับฐานานุศกั ดิแ์ ล้ ว ยังมีความขัดแย้ งในเชิง บริ บท สังคมแต่ละยุดสมัย ย่อมมีบริ บทเฉพาะของสังคมนัน้ ๆ ความต้ องการเฉพาะทางสังคม วัฒนธรรม และความเป็ นไปทาง เศรษฐกิจ ตลอดจนระดับการพัฒนาด้ านเทคโนโลยี เป็ นบริ บทที่ตอบรับกับงานสถาปั ตยกรรมในแต่ละยุคสมัย ดังนัน้ การนา รูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณีกลับมาใช้ โดยตรงย่อมเป็ นการสร้ างความขัดแย้ งในตัวเอง ย่อมเกิดเป็ นปรากฏการณ์ ‘ ผิดที่ ผิดทาง ’ เป็ นการสืบสานรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณีโดยปราศจากการพัฒนาหรื อการดัดแปลงให้ เหมาะสมกับยุคสมัย ผลที่สดุ ก็จะกลายเป็ นความชะงักงัน ทางสถาปั ตยกรรมที่ยงั คงวนเวียนอยูก่ บั รูปแบบเดิม ๆ อย่างไรก็ตาม สถาปนิก ภิญโญ สุวรรณคีรี ซึง่ เป็ นผู้ยดึ มัน่ ในรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณี ได้ ให้ เหตุผลหลักไว้ โดยเปรี ยบกับการเขียนโคลงที่ต้องยึดหลัก ฉันทลักษณ์ การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่ก็ให้ ยดึ ถือฉันทลักษณ์ทางสถาปั ตยกรรมไทยประเพณี
92
ด้ วยความขัดแย้ งในเชิงฐานานุรูปกับฐานานุศกั ดิ์พร้ อมกับความขัดแย้ งในเชิงบริ บทดังกล่าวข้ างต้ น ซึง่ เป็ นข้ อจากัด ในตัวเอง ประกอบกับการที่ต้องลงทุนในค่าก่อสร้ างเพิม่ ขึ ้น จึงทาให้ มีการใช้ รูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประเพณีอย่างจากัด โดยเฉพาะการใช้ แบบย่อส่วน ในลักษณะ ‘ ของที่ระลึก ’ ดังที่มกั ปรากฏเป็ นเพียงศาลา ศาลพระภูมิ หอพระ ส่วนหลังคาทางเข้ า ของอาคารหลัก เช่น หลังคาทางเข้ าของอาคารโรงแรม ศาลาไทยของอาคารสถาบัน เป็ นต้ น โดยที่อาคารหลักและอาคารอื่น ๆ มีรูปแบบสถาปั ตยกรรมแบบสากล
แนวรู ปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์ จากปั ญหาความต้ องการในการสืบสานเอกลักษณ์ไทยก็ดี รวมทังความต้ ้ องการสร้ างสรรค์ลกั ษณะไทยให้ เหมาะสม กับเทคโนโลยีการก่อสร้ างและวัสดุก่อสร้ างสมัยใหม่ ได้ นาไปสูก่ ารพยายามประยุต์รูปแบบสถาปัตยกรรมไทยในอดีตเป็ น รูปแบบที่เรี ยกโดยเฉพาะว่า ‘ สถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์ ’ เริ่ มต้ นที่ผ้ มู ีอานาจบริ หารประเทศ จอมพลป.พิบลู สงคราม ด้ วย นโยบายชาตินิยม โดยอาศัยสุนทรี ภาพในการแสดงอานาจทางการเมือง ( aesthetic of power ) ได้ บญ ั ชาให้ กรมโยธาธิการ ซึง่ รับผิดชอบการออกแบบอาคารราชการทังหลาย ้ ทังอาคารที ้ ่ทาการของกระทรวงต่าง ๆ บนถนนราชดาเนินนอก และอาคาร ศาลากลางและอาคารศาลประจาจังหวัด ออกแบบอาคารเหล่านันให้ ้ มีลกั ษณะไทย โดยมีการใช้ หลังคาทรงสูง ซึง่ ก็ถกู วิจารณ์ ว่า “ เป็ นมะเร็ งของสถาปั ตยกรรม ” และก่อสร้ างด้ วยวัสดุที่มีความคงทนถาวรอย่างคอนกรีตพร้ อมกับการลดทอนรายละเอียด ลง ซึง่ อนุวิทย์ เจริ ญศุภกุล ได้ วิจารณ์ ไว้ อย่างน่าสนใจว่า “ …เราก็จะได้ แต่แบบที่ตาย ๆ ขาดนัยสัมพันธ์กบั เงื่อนไขทาง ประวัติศาสตร์ สงั คม และวัฒนธรรมที่เราดารงอยู่ ” ด้ วยแนวทางการลดทอน ได้ มีการพัฒนารูปแบบขึ ้นมาเป็ นแบบ ‘ สถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์ ’ ซึง่ ต่อมาก็มีการใช้ กนั อย่างกว้ างขวางสาหรับอาคารทีม่ ีความสาคัญของส่วนราชการ เช่น อาคาร หอประชุมธรรมศาสตร์ อาคารโรงละครแห่งชาติ เป็ นต้ น อย่างไรก็ตาม สถาปนิกในช่วงทศวรรษ 2500 – 2520 ซึง่ ส่วนหนึง่ สาเร็ จการศึกษาจากต่างประเทศ และมีความรู้ ความเข้ าใจสถาปัตยกรรมไทยอันอย่างจากัด ได้ วิพากษ์ วจิ ารณ์และต่อต้ าน ‘ สถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์ ’ อย่างรุนแรงว่าเป็ น ‘ หัวมังกุท้ายมังกร ’ บ้ าง หรื อเป็ น ‘ กล่องไม้ ขีดใส่ชฎา ’ บ้ าง หรื อว่าไม่สอดคล้ องกับยุคสมัยใหม่ซงึ่ ในช่วงนันอิ ้ ทธิพลของ สถาปั ตยกรรมโมเดิรน ( Modern Architecture ) กาลังแผ่เข้ ามาผ่านระบบการศึกษาทางสถาปัตยกรรม จึงทาให้ เริ่ มมีก าร ชะงักการใช้ รูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์พร้ อม ๆ กับความเสือ่ มของลัทธิชาตินิยมตามลาดับ โดยยังคงมีการก่อสร้ าง อาคารศาลากลาง และอาคารศาลประจาจังหวัด ที่มีรูปแบบ ‘ สถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์ ’ นับเป็ นความเสียดายที่ไม่ได้ มีการ พัฒนารูปแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์อย่างต่อเนื่องในลักษณะบูรณาการกับบริ บทที่ได้ มีการเปลีย่ นแปลงไปด้ วย จึงกล่าวได้ วา่ การชะลอตัวทางรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยประยุกต์เป็ นไปตามวาระของโครงการก่อสร้ างอาคารที่ เกี่ยวข้ อง โดยเฉพาะที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของกรมโยธาธิการ ( และผังเมือง ) จึงจัดได้ วา่ เป็ นการถูก ‘ บอนไซ ’ หากมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องตามกาลเวลาอย่างเพียงพอ ก็นา่ จะสามารถพัฒนาไปสูร่ ูปแบบสถาปั ตยกรรมที่มีเอกลักษณ์ไทยที่มี คุณค่าได้ ในทานองเดียวกับสถาปั ตยกรรมโมกุล ( Moghul Architecture ) ที่มีการพัฒนาตังแต่ ้ การก่อตังราชวงศ์ ้ โมกุล ( ค.ศ.1526 ) โดยได้ รับอิทธิพลจากสถาปั ตยกรรมเปอร์ เซีย และในที่สดุ มีการแผ่ขยายสูป่ ระเทศเปอร์ เซียและประเทศกลุม่ เมดิ เตอร์ เรเนียน
93
แนวรู ปแบบสถาปั ตยกรรมไทยเชิงสุนทรี ย์ การสร้ างสรรค์เอกลักษณ์ไทยเกิดจากความพยายามในการอนุรักษ์ ด้านสุนทรี ยภาพของงานสถาปัตยกรรมในอดีต ผ่านกระบวนการลดทอนมากยิง่ ขึ ้นในรูปธรรม ทาให้ สามารถแสดงออกถึงลักษณะไทยเฉพาะด้ านสุนทรี ย์ หรื อเฉพาะ ‘ เปลือก ’ โดยส่วนมากก็ไร้ ‘ แก่น ’ เช่นในกรณีอาคารสภาสถาปนิก การออกแบบเส้ นสายทีเ่ ป็ นเส้ นโค้ งงอนของหลังคาที่คลุมส่วนใช้ สอย ชันบนสุ ้ ด ( ห้ องประชุมและโถงนิทรรศการ ) แบบเบื ้องต้ นที่เส้ นสายมีความโค้ งน้ อย ขาดความชัดเจนในลักษณะเส้ นสาย โดยรวมแล้ วยังคงได้ แต่ ‘ เปลือก ’ โดยปราศจากที่มาที่ไปของรูปแบบที่ควรจะเกิดจากภูมิปัญญาตามแนวทางคุ้มแดดคุ้มฝน สาหรับอาคารสานักงานใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ ( อาคาร SCB ) ก็คงได้ ลกั ษณะไทยเชิงสุนทรี ยภาพจากการใช้ รูปแบบอาคาร ที่มียอดแหลมสีทองและมีเส้ นทางนอนสีทอง จึงเข้ าข่ายทานองเดียวกันในการแสดงออกลักษณะไทยเฉพาะในส่วนเปลือกทีย่ งั จะต้ องมีคาตอบทางด้ าน ‘ แก่น ’ ด้ วย กล่าวได้ วา่ แนวรูปแบบสถาปั ตยกรรมไทยเชิงสุนทรี ย์ดงั กล่าว มีสว่ นมาจากพื ้นฐานการคิดแบบตะวันตกที่เน้ นการ แบ่งแยกในวิธีการมากกว่าการใช้ วิธีบรู ณาการคือได้ ทงเปลื ั ้ อกและแก่น แทนที่จะได้ เพียง ‘ เปลือก ’ หรื อ ‘ แก่น ’ อย่างใดอย่าง หนึง่ สรุปได้ วา่ รูปแบบอาคารทัง้ 3 รูป ที่ได้ พยายามออกแบบให้ มีลกั ษณะไทย เป็ นรูปแบบทีย่ งั วนเวียนอยูก่ บั รูปแบบ สถาปั ตยกรรมในอดีต โดยมีระดับของการถอยห่างจากอดีตมากขึ ้นตามลาดับ เป็ นการออกแบที่เน้ นการสืบสานรูปแบบเป็ น หลัก ไม่ใช่เกิดจากการคิดใหม่ทาใหม่ทมี่ ีความเหมาะสมกับสภาพการณ์หรื อบริ บทของสังคมปั จจุบนั รวมทังไม่ ้ ได้ เป็ นการมุง่ สร้ างมรดกทางวัฒนธรรมตามทีส่ มภพ ภิรมย์ ได้ พยายามผลักดันให้ สถาปนิกร่วมสร้ างมรดกวัฒนธรรม โดยไม่เพียงแต่ใช้ ประโยชน์จากสิง่ ที่ตกทอดกันมาเท่านัน้
94
บทที่ 13 ภูมิทัศน์ วัฒนธรรม ความหมายและแนวคิดของภูมิทัศน์ วัฒนธรรม คาว่า “ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ” นัน้ แปลมาจากคาในภาษาอังกฤษ คือคาว่า “ Cultural Landscape ” ซึง่ Carl Sauer นักภูมิศาสตร์ ชาวอเมริกนั เป็ นผู้ริเริ่ มและพัฒนาแนวคิดนี ้ในปี 1925 ในบทความชื่อ The Morphology of Landscape ซึง่ คา ดังกล่าวประกอบจากคาว่า Cultural มาจาก Culture แปลว่า วัฒนธรรม ส่วนคาว่า Landscape นัน้ แปลว่า ภูมิทศั น์ ภูมิ ประเทศ หรื อ ทิวทัศน์ จึงรวมกันเป็ น Cultural Landscape หรื อ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม นัน่ เอง นอกจากนัน้ “ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ” นันเป็ ้ นคาที่เกิดจากการรวมกันของคาย่อย 4 คา และ คาใหญ่ 2 คา อันประกอบไป ด้ วย คาว่า “ ภูมิ ” ซึง่ หมายถึงแผ่นดิน หรื อผืนแผ่นดิน คาว่า “ ทัศน์ ” หมายถึงการเห็น เมื่อนาสองคานี ้มารวมกันจะได้ คาว่า “ ภูมิทศั น์ ” ซึง่ แปลว่า การรับรู้สภาพภูมิประเทศและสภาพแวดล้ อมที่กาหนดขึ ้น รวมถึงผลลัพธ์ที่ร้ ูสกึ ได้ ต่อมาคือคาว่า “ วัฒน์ ” หมายถึง ความเจริ ญ ความงาม และคาว่า “ธรรม ” มีความหายไปในทางเดียวกัน เมื่อรวมกันเป็ นคาว่า “ วัฒนธรรม ” แล้ วจึงมี ความหมายว่าสิง่ ที่มนุษย์คิดขึ ้น สร้ าง และประดิษฐ์ ขึ ้นเพื่อใช้ ในการดารงอยูส่ บื ทอด รวมถึงพัฒนาสังคม นอกจากนันยั ้ งแสดง ถึงความเจริ ญงอกงามของมนุษย์ รวมถึงเป็ นประโยชน์ด้านกายภาพและจินตภาพ เช่น การบริ โภค การใช้ สอย ส่วนประโยชน์ ทางใจนัน้ เช่น การชื่นชมสิง่ ที่สวยงาม นอกจากนัน้ คาว่า “ วัฒนธรรม ” ยังสามารถแบ่งได้ เป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็ นรูปธรรม คือสิง่ ที่จบั ต้ องได้ เช่น บ้ านเรื อน อาคาร รูปเคารพ งานศิลปะ กิจกรรมของมนุษย์ และส่วนที่เป็ น “ นามธรรม ” เช่น คติความเชื่อ ภาษา วรรณคดี การเมือง ศาสนา เป็ นต้ น นอกจากความหมายทีก่ ล่าวมาแล้ ว คาว่าวัฒนธรรมยังหมายถึงระเบียบปฏิบตั ิ ความ เชื่อ ศิลปะ ผลผลิตของความคิด และการกระทาตามค่านิยมต่าง ๆ ด้ วย หากสรุปจากความหายของคาประกอบต่าง ๆ แล้ ว คาว่า “ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ” นัน้ น่าจะหมายถึงทุกสิง่ ทุกอย่าง ทัง้ ที่เป็ นรูปธรรมและนามธรรม อันเป็ นค่านิยมหรื อความเข้ าใจตรงกัน โดยได้ กระทาต่อสภาพแวดล้ อมหรื อภูมิประเทศ เพื่อสร้ าง ความเจริ ญงอกงามและสังคมของมนุษย์ ( วนิดา พึง่ สุนทร , 2549 ) นอกจากความหมายดังกล่าวแล้ ว ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมยังถูกให้ ความหมายไว้ วา่ “ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ” คือลักษณะเด่น และรูปธรรมที่เป็ นผลของปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ ( Sauer, 1984 ) ซึง่ ผู้ให้ ความหมายเชื่อมโยงปั จจัยต่าง ๆ และ ใช้ เวลาเป็ นสือ่ กลางในการเปลีย่ นแปลงรูปแบบของภูมิประเทศให้ กลายเป็ นภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ( สริ นทิพย์ สินแสงแก้ ว , 2552 ) ต่อมา Lennon & Mathews ( 1996 ) ได้ อธิบายความหมายของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมไว้ ว่า ภูมทิ ศั น์วฒ ั นธรรม คือ พื ้นที่ทาง กายภาพ ที่ประกอบไปด้ วยธรรมชาติ และองค์ประกอบที่ถกู สร้ างโดยมนุษย์ ซึง่ ถูกทับซ้ อนกันลงบนภูมิทศั น์ และสร้ าง ลักษณะเฉพาะลงบนพื ้นที่นนั ้ ๆ เป็ นการสะท้ อนความสัมพันธ์ระหว่างพื ้นที่กบั มนุษย์ โดยแสดงร่องรอยไว้ ในภูมิทศั น์
95
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ได้ กล่าวถึงภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมไว้ วา่ เป็ นร่องรอยและหลักฐานการเปลีย่ นแปลงผืนแผ่นดิน พื ้นที่ประเทศภูมิประเทศ และสภาพแวดล้ อมโดยมนุษย์ จากกิจกรรมตามวิถีชมุ ชน หรื อชาติพนั ธุ์นนั ้ ๆ ซึง่ แสดงออกในลักษณะที่เป็ นรูปธรรมและ นามธรรม อันได้ เรี ยนรู้จากการถ่ายทอดสัง่ สมกันมาอย่างยาวนาน เป็ นพัฒนาการตังแต่ ้ บรรพบุรุษถึงลูกหลาน อาทิ การสร้ าง บ้ านเรื อนที่พกั อาศัย สิง่ ก่อสร้ าง และงานสถาปั ตยกรรมต่าง ๆ ถนนหนทาง พื ้นที่เกษตรกรรม และชุมชน อันเป็ นสิง่ ที่จั บต้ องได้ และรวมไปถึงสิง่ ทีจ่ บั ต้ องไม่ได้ เช่นบรรยากาศที่รับรู้ได้ เป็ นจินตภาพเฉพาะของพื ้นที่นนั ้ ๆ โดยอาจเรี ยกว่าเป็ นเอกลักษณ์ของ พื ้นที่ อันรับรู้ได้ จากสัมผัสทัง้ 5 รวมถึงวิถีชีวิตของชุมชนที่อยูใ่ นบริ เวณนัน้ Operational Guideline for The Implementation of the world heritage Conservation 2005 (พ.ศ.2548)
โดยองค์การ
UNESCO
อธิบายว่า ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม คือ ทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงการผสมผสานเชื่อมโยงระหว่าง
มนุษย์และการตังถิ ้ ่นฐานผ่านกาลเวลาภายใต้ อิทธิพลของข้ อจากัดทางกายภาพ และ / หรื อ สิง่ ที่เห็นได้ จากสิง่ แวดล้ อมทาง ธรรมชาติและแรงขับเคลือ่ นทาวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคมสืบเนื่องกันมา คณะกรรมการมรดกโลก องค์การสหประชาชาติ ( อ้ างถึงใน นวนัฐ โอศิริ , 2551 ) ได้ กล่าวถึงภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมไว้ วา่ “ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ” หมายถึง การผสมผสานของผลงานระหว่างธรรมชาติกบั มนุษย์ โดยแสดงให้ เห็นถึงวิวฒ ั นาการทางสังคม
และการตังถิ ้ ่นฐานภายใต้ ข้อจากัดของสภาพแวดล้ อมธรรมชาติ ตลอดจนแรงผลักดันในด้ านสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ จากทังภายในและภายนอกพื ้ ้นที่ เกรี ยงไกร เกิดศิริ ( 2551 ) ได้ กล่าวถึงภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมไว้ วา่ เป็ นสภาพแวดล้ อมสร้ างสรรค์ที่ เกิดจากการจัดการของ มนุษย์เพื่อให้ เกิดการดารงชีวติ อยูโ่ ดยปกติสขุ ในสภาพแวดล้ อมธรรมชาตินนั ้ แต่ทว่ามนุษย์ก็มขี ้ อจากัดในด้ านต่าง ๆ ทังในแง่ ้ เทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่องกับการดารงชีวติ ศาสนา ความเชื่อ ทาให้ การจัดการต่อพื ้นที่เป็ นไปในระดับหนึง่ เท่านัน้ รวมไปถึง ข้ อจากัดการรองรับการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติเป็ นปั จจัยสาคัญประการหนึง่ ให้ มนุษย์กระทาต่อ ธรรมชาติได้ อย่างจากัด ผลลัพธ์ของการดาเนินไปของวัฒนธรรมมนุษย์บนธรรมชาติแวดล้ อมนี ้เองเป็ นความหมายของภูมิทศั น์ วัฒนธรรม ต่อมา นวนัฐ โอศิริ ( 2551 ) ได้ กล่าวถึงภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมไว้ วา่ “ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ” เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กบั สภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติ โดยผ่านกาลเวลาจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมจึงไม่ใช่ภาพที่หยุดนิ่งที่ สวยงามหากแต่มีพฒ ั นาการและเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาเช่นเดียวกับสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติรวมถึงวัฒนธรรม การศึกษา ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมจะทาให้ เราสามารถเข้ าใจถึงประวัติศาสตร์ และระบบความเชื่อของมนุษย์ในแต่ละวัฒนธรรม วิธีการปรับตัวของมนุษย์ตอ่ สภาพแวดล้ อมธรรมชาติในแต่ละท้ องถิ่น
96
ตลอดจน
นอกจากนัน้ สิรินทิพย์ สินแสงแก้ ว ( 2552 ) ได้ สรุปความหมายของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมเพิม่ เติมว่า “ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ”
หมายถึง ผลจากการกระทาของมนุษย์ตอ่ พื ้นที่ตลอดจนสิง่ แวดล้ อมที่อาศัยผ่านกาลเวลา โดยกิจกรรมตามวิถีชมุ ชนจะ
แสดงออกในเอกลักษณ์รูปธรรมและนามธรรมอันได้ เรียนรู้ถ่ายทอดสัง่ สมกันมาแต่อดีต
ซึง่ เป็ นแนวทางจากข้ อจากัดทาง
กายภาพและแรงผลักดันทางสังคม วัฒนธรรม รวมถึงเศรษฐกิจ จากแนวคิดต่าง ๆ ดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว อาจสรุปได้ วา่ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมนันเกิ ้ ดจากการกระทาของมนุษย์ที่ปรากฎ ร่องรอยลงบนภูมิทศั น์ ทังที ้ ่ตงใจ ั ้ และไม่ตงใจ ั ้ ซึง่ เป็ นผลจากทังด้ ้ านเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงด้ านกายภาพ และได้ รับการพัฒนา ผ่านกาลเวลาจนปรากฏเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของพื ้นที่ กลายเป็ นคุณค่า เป็ นสิง่ ที่ต้องคานึงถึงในการบริ หารจัดการ และเป็ น แบบอย่างในการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนนัน่ เอง
ความสาคัญของภูมิทัศน์ วัฒนธรรม สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม และคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ( 2549 ) ได้ กล่าวไว้ วา่ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมเป็ นสิง่ ที่มคี วามสาคัญ มีคณ ุ ค่าสามารถบอกเล่าถึงเอกลักษณ์ของสังคม หรื อชุมชน และสะท้ อนถึงพัฒนาการที่ดารงอยูข่ องสังคมนัน้ ๆ หากไม่ได้ รับการจัดการที่มีความเหมาะสมสอดคล้ องก็อาจถูก ทาลายลงด้ วยสาเหตุตา่ ง ๆ ทังโดยธรรมชาติ ้ และฝี มือของมนุษย์เอง เพราะภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมมีลกั ษณะคล้ ายกับ ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ซึง่ มีโอกาสสูงที่จะถูกทาลายหรื อทาให้ เสือ่ มสภาพ ดังนันจึ ้ งควรมีการแสวงหาแนวทางจัดการที่มี ความเหมาะสม ซึง่ ในบางกรณีถือเป็ นเรื่ องจาเป็ นเร่งด่วนด้ วยเหตุผลหลายประการ ดังนี ้ 1.ไม่มีสงิ่ ที่สามารถนามาทดแทนสภาพความสมดุลของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมได้ 2.หากถูกทาลายลงไม่สามารถนากลับคืนมาได้ ใหม่ 3.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมไวต่อการสูญสลาย ถูกทาลาย หรื อหมดไป 4.เป็ นสิง่ ที่แสดงถึงความเป็ นอยูแ่ ละเอกลักษณ์ของชุมชนนัน้ ๆ 5.เป็ นพื ้นฐานสาคัญในการพัฒนาชุมชนสูค่ วามยัง่ ยืน ในเชิงประวัติศาสตร์ และนโยบายนัน้ Lennon & Mathews ( 1996 ) ได้ กล่าวถึงความสาคัญของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม ว่า
ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมนันมี ้ ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับประวัตศิ าสตร์ อยูแ่ ล้ ว
มนุษย์มีการใช้ พื ้นที่ก่อให้ เกิดลักษณะทาง
กายภาพต่อพื ้นที่ และเป็ นผลให้ เกิดภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมที่แสดงออกถึงทัศนคติและค่านิยมโดยทิ ้งร่องรอยไว้ เป็ นส่วนประกอบ หรื อร่องรอยทางกายภาพ โดยสิง่ เหล่านี ้ยังคงมีความสาคัญในคุณค่าของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม นอกจากนัน้ ความสาคัญของภูมิ ทัศน์วฒ ั นธรรมในหลายพื ้นทีค่ ือความสัมพันธ์ที่ซ้อนกันอยูเ่ ป็ นภาพเดียว เป็ นเรื่ องราวทีม่ ีความหลากหลาย ซึง่ เรื่ องราวดังกล่าว มีความหมายต่อการจัดการภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมและควรให้ ความสาคัญหากต้ องมีการจดบันทึก การวิเคราะห์ และการจัดการ
97
โดยสรุปแล้ ว ความสาคัญของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมนันคื ้ อความเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม เนื ้อหา ความรู้ที่ซอ่ นอยู่
รวมถึงปัจจัยสาคัญในการพัฒนาชุมชนสูค่ วามยัง่ ยืน
อย่างไรก็ตามภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมเป็ นสิง่ ที่มคี วาม
เปราะบาง ง่ายต่อการเสือ่ มสลายและไม่สามารถหามาทดแทนได้ การศึกษาและการจัดการทีม่ ีความเหมาะสมจังเป็ นเรื่ อง สาคัญเพื่อรักษาให้ ภมู ิทศั น์วฒ ั นธรรมสามารถดารงอยูต่ อ่ ไป
การจาแนกประเภทของภูมิทัศน์ วัฒนธรรม การจาแนกประเภทของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมนันได้ ้ มีผ้ เู สนอแนวทางไว้ อย่างหลากหลาย โดยสามารถแบ่งเป็ น 2 กลุม่ ที่ มีความแตกต่างกันได้ ดงั นี ้ การจาแนกประเภทภูมทิ ัศน์ วฒ ั นธรรมในระดับสากล ได้ จาแนกประเภทของภูมิทัศน์ วัฒนธรรมออกเป็ น 3 ประเภท 1.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมที่ได้ รับการออกแบบ ( Landscape Designed and Created intentionally by Man ) เช่น สวน และสวนสาธารณะที่สร้ างขึ ้นด้ วยเหตุผลทางสุนทรี ย์ ซึง่ ส่วนมากเกี่ยวข้ องกับความเชื่อทางศาสนา หรื ออนุสรณ์สถาน 2.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมที่เกิดจากการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ การปกครองหรื อศาสนา และมี พัฒนาการสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบนั ผ่านความเกี่ยวเนื่องกับสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติในพื ้นทีน่ นั ้ ๆ เช่น ภูมิทศั น์ วัฒนธรรมที่แสดงให้ เห็นถึงพัฒนาการของรูปทรง และองค์ประกอบที่รวมกันขึ ้นเป็ นภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม อย่างไรก็ตาม การแบ่งประเภทของภูมิทศั น์ยงั แบ่งเป็ น 2 ประเภทย่อยได้ อีกตามกรอบของเวลา อัน ประกอบด้ วย 2.1ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมที่หยุดนิ่ง หรื อซากภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมทีถ่ กู ทิ ้งร้ างไปตามวัฏจักรของการเสือ่ มสลาย หรื อถูกทิ ้งร้ างไปโดยฉับพลัน 2.2ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมที่ยงั คงเคลือ่ นไหว กล่าวคือเป็ นภูมิทศั น์ที่สะท้ อนให้ เห็นถึงการดาเนินชีวิตของผู้คน ในท้ องถิ่นนัน้ ๆ ในปัจจุบนั ที่แสดงให้ เห็นถึงพัฒนาการที่สบื เนื่องกันมาตังแต่ ้ อดีต 3.ภูมิทศั น์ที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมในพื ้นที่ ตัวอย่างเช่น ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมของแหล่งมรดกโลกที่แสดงถึง พลังอันยิ่งใหญ่และแรงบรรดาลใจจากศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับภูมิลกั ษณ์ทางธรรมชาติที่มี มากกว่าประจักษ์ พยานที่เป็ นผลผลิตทางวัฒนธรรม
98
หน่ วยงานบริการอุทยานแห่ งชาติ ( National Park Service , อ้ างถึงใน Lennon & Mathews , 1996 ) ประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็ นหน่ วยงานเกี่ยวกับการทาหน้ าที่ดูแลมรดกทางธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติ ได้ แบ่ งประเภทของภูมิทัศน์ วัฒนธรรมไว้ เป็ น 4 ประเภท ดังนี ้ 1.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมของพื ้นที่ประวัติศาสตร์ ที่ได้ รับการออกแบบ ( Historic Designed Landscape ) เป็ น ภูมิทศั น์ที่ผา่ นการออกแบบและสร้ างสรรค์อย่างพินิจพิเคราะห์ โดยคานึงถึงเรื่ องสุนทรี ย์เป็ นสาคัญ ภูมิทศั น์ดงั กล่าว อาจครอบคลุมไปถึงความสัมพันธ์กบั บุคคลสาคัญ หรื อเป็ นตัวแทนการออกแบบภูมิทศั น์แห่งยุคสมัย หรื อเป็ น จุดหมายสาคัญในทางประวัติศาสตร์ การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมที่ผา่ นมาในอดีต 2.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมของพื ้นที่ประวัติศาสตร์ แบบพื ้นถิ่น ( Historic vernacular Landscape ) แสดงให้ เห็นถึงคุณค่าและทัศนคติของผู้คนในท้ องถิ่นทีม่ ีตอ่ พื ้นที่ อีกทังยั ้ งสะท้ อนให้ เห็นถึงรูปแบบการตัง้ ถิ่นฐานของคน การ ใช้ สอยพื ้นที่ และการพัฒนาการของพื ้นที่ ที่มีมาในประวัติศาสตร์ สาหรับภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมแบบพื ้นถิ่นสามารถพบ เห็นได้ ทงในพื ั ้ ้นทีช่ นบท ในพื ้นที่ชานเมือง แม้ แต่ในเมืองเองก็ตาม รวมไปถึงพื ้นที่เกษตรกรรม หมูบ่ ้ านชาวประมง พื ้นที่ทาเหมืองแร่ ที่พกั ชัว่ คราว เป็ นต้ น 3.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมของพื ้นที่ประวัติศาสตร์ ( Historic Site ) ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมของพื ้นที่เช่นนี ้มี ความสาคัญในแง่ความสัมพันธ์กบั เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ รวมไปถึงกิจกรรมและกลุม่ คน ตัวอย่างเช่น สนามรบ บ้ านพักของบุคคลสาคัญ เป็ นต้ น ในพื ้นที่ดงั กล่าวยังแสดงให้ เห็นถึงองค์ประกอบและเงื่อนไขที่แปลความหมายได้ ถึง เหตุการณ์สาคัญทีเ่ กิดขึ ้นในอดีต 4.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมของกลุม่ คน ( Ethnographic landscape ) เป็ นภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมที่แสดงให้ เห็นถึง ความสัมพันธ์กบั กลุม่ คนที่ใช้ พื ้นที่หรื อให้ คณ ุ ค่ากับพื ้นที่นนั ้ ๆ ในแง่ของประเพณีรวมไปถึงความหมายและคุณค่าใน แง่ของพื ้นที่ทางจิตวิญญาณและแสดงให้ เห็นถึงสายสัมพันธ์ระหว่างระบบธรรมชาติทมี่ ีพลวัต และส่งผลต่อการ ดาเนินชีวติ ของคนหลายกลุม่ ผ่านกาลเวลาหลายชัว่ อายุคน โดยสรุปแล้ วการแบ่งประเภทของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมในแบบแรกนี ้จะแสดงให้ เห็นถึงประเภทของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมใน ภาพรวม
ซึง่ มีความแตกต่างกันในเรื่ องกระบวนการเกิดช่วงเวลา
รวมถึงการให้ ความหมายภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมทังในเชิ ้ ง
รูปธรรม และในเชิงนามธรรมอีกด้ วย การจาแนกประเภทภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมในประเทศไทย ได้ จาแนกภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมออกแบบเป็ น 2 ประเภท อันประกอบไปด้ วย 1. 2.
ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมพื ้นถิ่น ( Vernacular landscape ) ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมแบบประเพณี
99
ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมแบบประเพณีนนสะท้ ั ้ อนให้ เห็นถึงองค์รวมของแต่ละสังคมทีเ่ ป็ นกายภาพ หรื อเป็ นรูปธรรม บ่งชี ้ถึง ภูมิปัญญาที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของสังคมอันได้ จดั การระบบการตังบ้ ้ านเรื อนให้ สอดคล้ องกับสภาพแวดล้ อมตาม ธรรมชาติและภูมิประเทศ รวมถึงปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อมที่รายล้ อมได้ เป็ นอย่างดี เห็นวิธีการแก้ ปัญหาต่าง ๆ ด้ วยระบบ ที่ไม่ยงุ่ ยากซับซ้ อนและไม่ต้องใช้ เทคนิควิทยาทีต่ ้ องพึง่ เครื่ องจักรกลที่ก้าวหน้ า การแก้ ปัญหาต่าง ๆ ของการก่อตังชุ ้ มชน ใช้ เครื่ องมือง่าย ๆ เหมาะแก่การใช้ แรงงานของมนุษย์แต่ละครอบครัวหรื อร่วมกันในชุมชน วัสดุทใี่ ช้ สว่ นมากเป็ นวัสดุที่หาง่าย จากในท้ องถิ่นหรื อในชุมชนสามารถผลิตใช้ กนั เองได้ ไม่ต้องพึง่ จากชุมชนภายนอก ทาให้ ชมุ ชนพึง่ พาตัวเองได้ ในทุกกรณี นอกเหนือจากระบบทางเกษตรกรรมแบบพึง่ พาตนเองในเรื่ องการผลิตอาหาร และยังเคารพต่อสภาพแวดล้ อมธรรมชาติด้วย การอยูร่ ่วมกันอย่างกลมกลืนทังระบบนิ ้ เวศวิทยา เกิดเป็ นระบบนิเวศวิทยาทางวัฒนธรรมทีม่ ีคา่ ต่อการดาเนินชีวิตของชุมชน อย่างไรก็ตาม ไม่มีการอธิบายความหมายของภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมแบบพื ้นถิ่ นไว้ และยังอธิบายถึงภูมิทศั น์วฒ ั นธรรม แบบประเพณีในด้ านกายภาพเท่านัน้ ศิลปิ นแห่ งชาติ อาจารย์ วนิดา พึ่งสุนทร ( 2549 ) ได้ จาแนกประเภทของภูมิทัศน์ วัฒนธรรมโดยใช้ เกณฑ์ ของระดับ ความเข้ มข้ นในการเข้ าไปจัดการสภาพแวดล้ อมเพื่อให้ เหมาะสมสอดคล้ องกับการดาเนินชีวติ ตามแนวคิดหลัก ของภูมทิ ัศน์ วัฒนธรรม โดยแบ่ งเป็ น 1.ภูมิทศั น์นาวัฒนธรรม หรื อ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมชนบท ในพื ้นที่ภมู ิทศั น์วฒ ั นธรรมลักษณะนี ้มนุษย์มี บทบาทในการเปลีย่ นแปลงภูมิทศั น์น้อยมากเนื่องจากข้ อจากัดด้ านเทคโนโลยีและทรัพยากร ทาให้ เกิดการดาเนิน ชีวิตทีต่ ้ องพึง่ พาอาศัยธรรมชาติเป็ นหลัก เกิดการเรี ยนรู้ทจี่ ะอยูร่ ่วมกันอย่างถ้ อยทีถ้อยอาศัยและมีดลุ ยภาพ เกิดเป็ น ภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตกับสภาพแวดล้ อมที่เฉพาะเจาะจงยิง่ ขึ ้น เช่น การปรับพื ้นที่ลาดชันเป็ นนาขันบั ้ นได และ การระบายน ้าในระบบเหมืองฝาย เป็ นต้ น 2.ภูมิทศั น์ที่มีลกั ษณะเด่นร่วมกันทังภู ้ มิทศั น์และวัฒนธรรม หรื อ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมกึง่ เมืองกึ่งชนบท ภูมิ ทัศน์วฒ ั นธรรมลักษณะนี ้เป็ นลักษณะที่พฒ ั นาขึ ้นมาจากภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมชนบท กล่าวคือ เมื่อเวลาผ่านไป ชุมชนมี การพัฒนามากขึ ้นก็สง่ ผลต่อการปรับสภาพภูมิประเทศมากขึ ้นด้ วยเป็ นเงาตามตัว แต่อย่างไรก็ตาม ชุมชนท้ องถิ่นก็ ยังให้ คณ ุ ค่าต่อสภาพแวดล้ อมของพื ้นที่อยูด่ งเดิ ั ้ ม มีการใช้ ภมู ิปัญญาพืน้ ถิ่นที่ได้ รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษใน การจัดการสภาพแวดล้ อมในท้ องถิ่น 3.ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมแบบวัฒนธรรมนาภูมิทศั น์ หรื อ ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมเมือง ภูมิทศั น์วฒ ั นธรรมในลักษณะ นี ้พบเห็นได้ ทวั่ ไป อันได้ แก่ภมู ิทศั น์วฒ ั นธรรมเมืองต่าง ๆ เนื่องจากมนุษย์ตงถิ ั ้ ่นฐานมาเป็ นเวลายาวนาน มีการปรับ สภาพภูมิประเทศให้ ตอบสนองต่อการดาเนินชีวิต พัฒนาขึ ้นจากชุมชนขนาดเล็ก เป็ นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ และมี การแก้ ปัญหารวมถึงการจัดการทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจากัดด้ วยการใช้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จนบางครัง้ อาจ กลายเป็ นความพยายามในการเอาชนะสภาพแวดล้ อม เพื่อเพิ่มขีดจากัดในการรองรับของพื ้นที่ตา่ ง ๆ ที่ทวีจานวนขึ ้น และมีความหลากหลายมากขึ ้น
100
นวนัฐ โอศิริ ( 2551 ) ได้ แบ่ งภูมิทัศน์ วัฒนธรรมออกเป็ น 4 ประเภท โดยอาศัยเกณฑ์ ในการจาแนกอยู่ 2 ประการ คือ การมีตวั อย่ างให้ เห็นในประเทศอย่ างชัดเจน โดยแบ่ งเป็ น 1.ภูมิทศั น์โบราณคดีและประวัตศิ าสตร์ หมายถึง สภาพแวดล้ อมที่มนุษย์ในอดีตสร้ างขึ ้นและปรากฏ ร่องรอยให้ เห็นในปั จจุบนั เช่น ชุมชนโบราณ แหล่งฝังศพ อุทยานประวัติศาสตร์ พระราชวัง และพระราชอุทยาน 2.ภูมิทศั น์พื ้นถิ่น หมายถึง ภูมิทศั น์ที่เกี่ยวเนื่องกับการตังถิ ้ ่นฐานของชุมชน ในพื ้นที่ชนบททังที ้ ่อาศัย และ พื ้นที่ทางพิธีกรรม 3.ภูมิทศั น์เกษตรกรรม หมายถึง ภูมิทศั น์ที่เกิดขึ ้นจากการเปลีย่ นแปลงผืนดิน และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการปลูกพืชและเลี ้ยงสัตว์ เช่น นาข้ าว เหมือง ฝาย 4.ภูมิทศั น์เมืองประวัติศาสตร์ หมายถึง พื ้นที่ตงถิ ั ้ ่นฐานของชุมชนตังแต่ ้ อดีต และพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึง ปั จจุบนั มีความเจริ ญระดับสูงในด้ านวัฒนธรรม มีการวางผังอย่างชัดเจน มีสถาปั ตยกรรมและภูมทิ ศั น์ที่ทรงคุณค่า ทางความงามและประวัติศาสตร์
101
บทที่ 14 วัฒนธรรมไทยด้ านสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมไทยซึง่ มีลกั ษณะเด่นในด้ านคตินยิ มเกี่ยวกับการก่อสร้ าง ได้ แก่ สถาปัตยกรรมเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา และการปกครอง และสถาปั ตยกรรมที่มีรูปลักษณะแบบประเพณี ซึง่ พอจะแยกกล่าวได้ ดงั นี ้ 1.สถาปั ตยกรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและการปกครอง สถาปัตยกรรมเกี่ยวข้ องกับพระพุทธศาสนา เพราะเป็ นทีย่ อมรับนับถือของไทยมาตังแต่ ้ บรรพบุรุษ เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรี ยญ และการก่อสร้ างพระธาตุ เจดีย์ตา่ ง ๆ ตามคติความเชื่อทางศาสนา และคลีค่ ลายมาเป็ นคตินิยมเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง 2.สถาปั ตยกรรมที่มีรูปลักษณะแบบประเพณี หลังพุทธศตวรรษที่ 19 สถาปัตยกรรมในประเทศไทยได้ เริ่ ม คลีค่ ลายเกิดเป็ นลักษณะเฉพาะที่มีลกั ษณะพิเศษเกือบจะเหมือนกันทุก ๆ ภาค คือ เน้ นลักษณะเฉพาะซึง่ ถือว่าสมัย หลัง พ.ศ. 1893 เป็ นช่วงเวลาที่นามาเอารูปแบบลักษณะหลายๆ ถิ่น หลาย ๆ ท้ องที่มารวมกัน สถาปั ตยกรรมหลัง พ.ศ. 1893 มีลกั ษณะทางสถาปั ตยกรรมที่มีเอกภาพเป็ นตัวของตัวเอง เป็ นประเพณีนิยมที่ ก่อสร้ างตาม ๆ กันมาจนกลายเป็ นคตินิยม เช่น วัง และวัด เท่านันที ้ ่หลังคาประดับด้ วยช่อฟ้าใบระกาได้ แม้ วา่ บางยุคบางสมัย สถาปั ตยกรรมไม่นิยมสร้ างช่อฟ้าใบระกาแต่ก็เป็ นคติความนิยมอยูเ่ พียงสมัยเดียวแล้ วก็เลิกราไปแต่ยงั คงรูปแบบชนิดที่มีช่อฟ้า ใบระกาและเน้ นทางด้ านหน้ า มากกว่าทางด้ านข้ าง ลักษณะเช่นนี ้ได้ แก่ โบสถ์ และวิหาร การสร้ างสถูปเจดีย์ หรื อมณฑปก็จะมี รูปแบบสถาปั ตยกรรมของมันเอง ที่ดแู ล้ วรู้ได้ ทนั ที เช่น เจดีย์จะต้ องมีรูปลักษณะที่เป็ นทรงกรวย มียอดแหลม หรื อเจดีย์ชนิด ทรงกรวยเหลีย่ มย่อมุม ฯลฯ นัน่ คือ สถาปั ตยกรรมที่เกิดกับวัด และ วัง จึงนับว่าพระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการก่อสร้ างของสังคมไทยเป็ นอย่างมาก ไม่วา่ ด้ านจิตใจ ด้ านประเพณี ด้ าน พิธีกรรม ด้ านวรรณคดี ด้ านภาษา ด้ านการศึกษา ตลอดถึงด้ านสถาปั ตยกรรมการก่อสร้ าง จนทาให้ เกิดเป็ นวัฒนธรรมที่คนไทย ทุกคนได้ รับรู้ได้ เห็น และเป็ นเอกลักษณ์ของไทยในที่สดุ เมื่อชาวต่างชาตินกึ ถึงประเทศไทยมักจะนึกถึงวัด ความสวยงาม ของ โบสถ์ วิหาร พระราชวัง เป็ นต้ น จึงนับว่าพระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทยในทุก ๆ ด้ านอย่างแท้ จริ ง
102
บทที่ 15 ตานาน พิธีกรรมกับสถาปั ตยกรรม ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์ และมานุษยวิทยา ตานาน เรื่ องเล่าต่างๆ ถือเป็ นหลักฐานที่สาคัญประการหนึง่ ทีใ่ ช้ สืบค้ นประวัติความเป็ นมาและบอกเล่าเหตุการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดขึ ้นในอดีต โดยปกติแล้ วตานานและเรื่ องเล่าที่แสดงถึงความเชื่อ ของคนในสังคมต่างๆ นัน้ จะมีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นและแดงออกผ่านพิธีกรรมในหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะ การศึกษาด้ านสถาปั ตยกรรม การมีความรู้ความเข้ าใจในความสัมพันธ์ระหว่างพิธีกรรม ความเชื่อ กับตานานต่างๆ นัน้ เปรี ยบเสมือนหลักฐานอันสาคัญที่ช่วยส่งผ่านข้ อมูลและเรื่ องราวต่างๆ
ในอดีต
โดยเฉพาะข้ อมูลทางประวัตศิ าสตร์ และ
วัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้ อม แต่ความสัมพันธ์ระหว่างตานาน พิธีกรรมและสถาปั ตยกรรมและ สภาพแวดล้ อมและสภาพแวดล้ อม แต่ความสัมพันธ์ระหว่างตานาน พิธีกรรมและสถาปั ตยกรรมนัน้ มักถูกละเลยและถูกปฏิเสธ ที่จะให้ ความสาคัญในการศึกษาจากนักวิชาการทางสถาปัตยกรรม เนื่องจากถูกมองว่าเป็ นสิง่ ที่ไร้ สาระ ล้ าสมัย และไม่สามารถ อธิบายด้ วยเหตุและผลได้ ทังๆ ้ ที่เราไม่สามารถปฏิเสธได้ เลยว่า ตานานและพิธีกรรมนันถื ้ อเป็ นสิง่ ที่ช่วยอธิบายความสัมพันธ์ และพัฒนาการระหว่างมนุษย์และสถาปั ตยกรรมได้ เป็ นอย่างดี จากเหตุผลดังกล่าว “แนวคิดมานุษยวิทยาสถาปั ตยกรรม” จึง กาเนิดขึ ้นโดยมีจดุ ประสงค์
หลักเพื่อพยายามอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสถาปัตยกรรมด้ วยมุมมองทางมนุษย์
วิทยาจากข้ อมูลทางเอกสารและวรรณกรรมต่างๆ
ปลูกบ้ านตามเดือน เดือนอ้ าย (ธ.ค) ได้ เมื่อสมุทรโฆษถูกวิทยาธรฉกพระขรรค์ ทาการไม่ดี เดือนยี่ (ม.ค) ได้ เมื่อพระรามเกิดทาการดี เดือนสาม (ก.พ) ได้ เมื่อพระรามกลืนยาพิษ ทาการไม่ดีแล เดือนสี่ (มี.ค) ได้ เมื่อพระสมุทรโฆษได้ นางพินทุมดีทาการดี เดือนห้ า (เม.ย) ถึงกาลโจรฆ่าพราหณ์ ไม่ดีแน่ เดือนหก (พ.ค) ตกพระเจ้ าเสด็จอุบตั ิเหตุ ทาการดีทกุ วัน เดือนเจ็ด (มิ.ย) พระนาราย์ปราบยักษ์ อย่าทาจะดีกว่า เดือนแปด (ก.ค) ราพณาสูรต้ องโมกขศักดิ์พระราม ไม่ดี เดือนเก้ า (ส.ค) ตกพระจันทร์ กมุ ารเกิด ทาการทุกอย่างดีนกั แล เดือนสิบ (ก.ย) ตกได้ เมื่ออภิเษกพระอินทร์ พักไว้ ก่อนอย่าทา เดือนสิบเอ็ด (ต.ค) ได้ เมื่อพระรามข้ ามทะเล ไม่ดีอย่าทา เดือนสิบสอง (พ.ย) ได้ เมื่อพระยาจักรพรรดิเกิด ทาการดีนกั แล
103
ปลูกเรื อนตามวัน ปลูกวันอาทิตย์ จะเกิดทุกข์อบุ าทว์ ปลูกวันจันทร์ ทาได้ สองเดือนจะได้ ผ้าผ่อนและสิง่ ของ ปลูกวันอังคาร ทาแล้ วสามวันจะเจ็บไข้ หรื อไฟไหม้ ปลูกวันพุธ จะได้ ลาภและผ้ าผ่อนอันดี ปลูกวันพฤหัสบดี เกิดสุขสาราญทาแล้ วห้ าเดือนจะได้ ลาภ ปลูกวันศุกร์ ความทุกข์สขุ ก ้ากึง่ หลังสามเดือนได้ ลาภเล็กน้ อย ปลูกวันเสาร์ จะเกิดพยาธิเลือดตกยามออก ทาเสร็ จแล้ วสีเ่ ดือนจะยากลาบาก
พิธียกเสาเอก การจะสร้ างบ้ านสักหลังหนึง่ นัน้
ขันตอนส ้ าคัญขันตอน ้
หนึง่ นันที ้ ่เจ้ าของบ้ านส่วนใหญ่ในบ้ านเราให้ ความสาคัญกันมาก ก็ คือขันตอนของพิ ้ ธียกเสาเอก โดยเจ้ าของบ้ านส่วนใหญ่มคี วามเชื่อ ว่า การทาพิธียกเสาเอก จะทาให้ งานก่อสร้ างมีความราบรื่ นไม่มี ปั ญหาและอุปสรรคและ เมื่อได้ เข้ าอยูบ่ ้ านหลังที่สร้ างแล้ วจะทาให้ อยูเ่ ย็นเป็ นสุข และมีชีวติ ความเป็ นอยูท่ ี่ดี ซึง่ เป็ นความเชื่อและเป็ น วัฒนธรรมประเพณีที่สบื ทอดกันมา
และจากประสบการณ์การ
ก่อสร้ างบ้ านของผู้เขียนเองที่ผา่ นมาเป็ นสิบปี ก็พบว่าบ้ านทุกหลังที่ มีการก่อสร้ าง
มักจะทาพิธียกเสาเอกเพื่อเป็ นสิริมงคลต่อการอยู่
อาศัย พิธีการและขันตอนอาจแตกต่ ้ างกันในรายละเอียด บ้ านบางหลังจะทาพิธียกเสาเอก โดยพระอาจารย์ทเี่ คารพนับถือ บางหลังทาพิธีโดยพราหมณ์ และบางหลังทาพิธีโดยผู้ใหญ่หรื อบุคคลที่เคารพนับถือ ดังนันหากท่ ้ านกาลังจะสร้ างบ้ าน โดย เลือกแบบบ้ านและบริ ษัทรับสร้ างบ้ านที่มคี ณ ุ ภาพแล้ ว ก่อนที่ทา่ นลงมือก่อสร้ างถ้ าท่านเชื่อเรื่ องโชคลาง ก็คงจะเตรียมหาฤกษ์ หาเวลาที่เหมาะสมในการเริ่ มต้ นในการสร้ างบ้ าน แม้ จะดูเหมือนหลงงมงายแต่ถ้าทาแล้ วเกิดความสบายใจ และไม่เดือดร้ อน ใคร ก็นา่ จะเตรี ยมให้ พร้ อมก่อนลงมือก่อสร้ าง แต่ทงนี ั ้ ้ต้ องดูความสะดวกความเหมาะสม ของการก่อสร้ างร่วมกับบริ ษัทรับสร้ าง บ้ านที่ทา่ นเลือกด้ วย
104
การทาพิธียกเสาเอกกับขัน้ ตอนการสร้ างบ้ าน ในสมัยโบราณ การก่อสร้ างบ้ านส่วนใหญ่เป็ นการสร้ างบ้ านไม้ เสาบ้ านก็เป็ นเสาไม้ ดังนันฤกษ์ ้ ลงเสาเอกก็คือ ฤกษ์ เวลาทีเ่ รานาเสาหลักของบ้ านหย่อนลงสูห่ ลุมที่เตรี ยมเอาไว้ จัดเสาให้ ตงตรง ั ้ และเอาไม้ ค ้ายันค ้าไว้ เอาดินกลบหลุมทังหมด ้ แต่ในปั จจุบนั ขันตอน ้ และวิธีการก่อสร้ างได้ เปลีย่ นไป อาคารปัจจุบนั ส่วนใหญ่แล้ วแต่เป็ นอาคารโครงสร้ างคอนกรี ต เสริ มเหล็ก ต้ องมีการตอกเสาเข็ม ต้ องมีการเทฐานราก ทาตอม่อ แล้ วจึงจะขึ ้นเสาโผล่พื ้นดินได้ ดังนันก่ ้ อนอื่นเราต้ องมาทา ความเข้ าใจว่าพิธียกเสาเอกกับการสร้ างในปั จจุบนั ทีเ่ ป็ นโครงสร้ างคอนกรี ตนัน้ เขาทากันในช่วงไหนของการก่อสร้ าง ซึง่ จาก ประสบการณ์ในการก่อสร้ างที่ผา่ นมา พิธียกเสาเอก จะทากันได้ ใน 3 ลักษณะดังนี ้ 1.
ยึดเวลาที่ตอก (เจาะ) เสาเข็มต้ นแรก หรื อเวลาที่ตอก (เจาะ) เสาเข็มต้ นที่กาหนดให้ เป็ นเสาเอก น่าจะ
เรี ยกว่า "ฤกษ์ " เข็มเอก 2.
ยึดเวลาที่ยกเสาเหล็กเสริม เทคอนกรีตฐานราก จะเทคอนกรี ตฐานรากพร้ อมกับการตังเหล็ ้ กเสาต้ น
ที่เป็ นเสาเอก 3.
ยึดเวลาที่มกี ารเทคอนกรีตหล่ อเสาอาคารจริงๆ ซึง่ อาจจะตังหลั ้ งจากเริ่ มทาการก่อสร้ างแล้ วเป็ น
เดือนแต่ในที่นี ้เราจะกล่าวถึงเฉพาะการเตรี ยมการ เตรี ยมของใช้ และขันตอนในการยกเสาเอกแบบ ้ ที่ยดึ เวลาที่ยกเสา เหล็กเสริ มขึ ้นตังและเทคอนกรี ้ ตฐานราก ซึง่ เป็ นลักษณะทีก่ ารสร้ างบ้ านในส่วนใหญ่ในปัจจุบนั ใช้ กนั
พิธีขนึ ้ บ้ านใหม่ การเข้ าบ้ านใหม่ บ้ านเป็ นจุดศูนย์รวมของครอบครัว พิธีการขึ ้นบ้ านใหม่จงึ ถือเป็ นเรื่ องสาคัญอย่างหนึง่ ของคนไทยเรา ถือเป็ นเรื่ อง ของความเชื่อ ความศรัทธาอย่างหนึง่ เพื่อความสบายใจในการเข้ าอยูอ่ าศัยในบ้ านใหม่ที่เรายังไม่เคยไปอยู่ ไม่เคยเข้ าไปสัมผัส จิตใจเราจึงยังไม่มีความมัน่ ใจในการย้ ายเข้ าไปอยู่ เราจึงต้ องหาสิง่ ยึดเหนีย่ วหรื อที่พงึ่ ทางใจ เพือ่ ความสบายใจไว้ ก่อน ส่วน เรื่ องว่าเมื่อย้ ายเข้ าอยูแ่ ล้ วหรื อทาพิธีแล้ ว จะเกิดผลอย่างไรนันก็ ้ อกี ประเด็นหนึง่ ซึง่ ต้ องเข้ าใจว่าไม่ได้ เกิดจากการกระทาพิธี เพียงอย่างเดียว การอยูอ่ าศัยทีจ่ ะมีความสุข สงบ สบาย หรื อเจริญรุ่งเรื องนันไม่ ้ ได้ อยูท่ ี่พิธีกรรมหรื อโชคลาภ เพียงอย่างเดียว (ถ้ าพิจารณาในแง่นี ้ ไม่มีใครสามารถบอกได้ วา่ มีสว่ นมากน้ อยเพียงใดหรื อกี่เปอร์ เซ็นต์ แบบทางวิทยาศาสตร์ ) มันอยูท่ ี่ตวั บ้ าน เอง และสิง่ แวดล้ อมที่บ้านนันตั ้ งอยู ้ ่ ซึง่ เราสามารถเลือก กาหนด หรื อควบคุมมันได้ มากกว่า ยกตัวอย่างง่ายๆ ถ้ าบ้ านคุณสร้ าง ไว้ ไม่ดีอยูไ่ ปก็ต้องซ่อมไป ก็อย่าไปโทษการทาพิธีกรรมหรื อข้ างบ้ านเสียงดัง ทาสกปรก ต่างๆ ก็เป็ นสาเหตุให้ มีเรื่ องหรื ออยูแ่ บบ ไม่เป็ นสุขได้ ดังนันการจะท ้ าพิธีเข้ าบ้ านใหม่ หรื อทาบุญขึ ้นบ้ านใหม่ ผมขอให้ คิ ดเป็ นลักษณะของธรรมเนียมประเพณีมากกว่า ซึง่ บางอย่างก็มีเหตุมีผลที่มองเห็นจับต้ องได้ เช่นการขึ ้นบ้ านใหม่ ก็เป็ นการบอกให้ เพื่อนบ้ านรับรู้วา่ มีเพื่อนบ้ านใหม่ ทาความ รู้จกั กันไว้ ก่อน สร้ างไมตรี ไว้ ก่อน เลี ้ยงพระ เลี ้ยงอาหารก็เผื่อแผ่กนั ไว้ ก่อน ต่อไปมีอะไร ก็จะพูดกันได้ เจรจากันได้ ไม่ทะเลาะกัน เสียก่อน อย่างนี ้เป็ นต้ น
105
การเข้ าบ้ านใหม่ เพื่อความเป็ นเป็ นสิริมงคล เมื่อได้ ฤกษ์ ยามดีที่หาไว้ หัวหน้ าครอบครัวก็อญ ั เชิญพระพุทธรูปประจาบ้ านไปประดิษฐานไว้ ที่ บูชา จุดธูปเทียนบูชา อธิษฐานขอคุณพระคุ้มครองให้ ครอบครัวอยูเ่ ย็นเป็ นสุข หรื อจะนิมนต์พระสักรูปหนึง่ มาประพรมน ้าพระ พุทธมนต์ตามห้ องต่าง ๆ ก่อนขนของเข้ าไปอยู่ ก็จะสมบูรณ์ยงิ่ ขึ ้น เพียงแค่นี ้ก็ถือว่า เสร็ จพิธีแล้ ว หรื อหากมีสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ที่อยู่ ใกล้ ๆบ้ าน (เจ้ าทีใ่ หญ่) ให้ ไปไหว้ แสดงความเคารพ และขอพรให้ ทา่ นคุ้มครองดูแลให้ มคี วามสุขความเจริ ญและให้ ทาบุญ สังฆทาน และอุทิศบุญกุศลให้ กบั เจ้ ากรรมนายเวรของครอบครัว เจ้ าที่ และวิญญาณที่อาศัยอยูใ่ นสถานทีน่ นด้ ั ้ วยก็ได้
การขึน้ บ้ านใหม่ นับเป็ นประเพณีของชาวพุทธทีเดียว แต่จะ จัดการทาบุญขึ ้นบ้ านใหม่ ใหญ่เล็กแค่ไหน ก็วา่ กัน ตามกาลังทรัพย์ และความสะดวก การทาแบบพอ เป็ นพิธีนนก็ ั ้ ทาเหมือนการเข้ าบ้ านใหม่ก็พอ ส่วน การทาแบบพิธีใหญ่ มีเลี ้ยงพระ มีการเจริ ญพระ พุทธมนต์ แล้ วถวายภัตตาหารหรื อ มีการตักบาตร ด้ วยก็ได้ ตามกาลังศรัทธา เมื่อการสร้ างบ้ านเรื อนเสร็ จแล้ วก็จะต้ อง ทาบุญขึ ้นบ้ านใหม่ ประกอบพิธีตามที่เชื่อถือกันว่าเป็ นสิริมงคล นาความสุขความเจริ ญมาสูค่ นในครอบครัว ในขันแรกผู ้ ้ ที่จะอยู่ อาศัยต้ องเก็บกวาดทาความสะอาด ตกแต่งบ้ านเรื อนให้ สะอาดสวยงาม เพื่อให้ เกิดสิริมงคลและเป็ นการให้ เกียรติแก่พระสงฆ์ และแขกที่เชิญมาเป็ นเกียรติ พิธีเริ่ มเมื่อพระสงฆ์มาพร้ อม หัวหน้ าครอบครัวจุดธูปเทียนรับศีล พระสงฆ์เจริ ญพระพุทธมนต์ หากมีตกั บาตร เมื่อ พระสงฆ์สวดถึงบท "พาหุง" ให้ ตกั บาตรแล้ วถวายอาหาร ถวายเครื่ องไทยธรรม กรวดน ้า ฟั งพระสงฆ์อนุโมทนา ต่อจากนันทุ ้ กคน ในพิธีเจ้ ารับพรมน ้ามนต์จากพระสงฆ์ผ้ เู ป็ นประธาน ขณะนันพระสงฆ์ ้ อื่นจะเจริ ญมงคลคาถา เสร็ จแล้ วให้ ใครสัก 2 คน ช่วยอุ้ม บาตรน ้ามนต์ และบาตรทรายพร้ อมแป้งกระแจะสาหรับเจิม นาหน้ าพระสงฆ์ 1 รูป ไปพรมน ้ามนต์ตามห้ องต่าง ๆ ถ้ ามีการเจิม ประตูบ้าน ก็นิมนต์พระท่านให้ ทาในโอกาสนี ้ก่อนจะโปรยทรายรอบบริ เวณพื ้นบ้ าน ถือเป็ นมงคลว่า เป็ นทรายเงิน ทรายทอง ให้ อยูเ่ ย็นเป็ นสุข ขับไล่ภตู ผีปีศาจ ถือเป็ นอันเสร็ จพิธี นอกจากนัน้ ถ้ าเจ้ าบ้ านมีความประสงค์ทจี่ ะประกอบพิธีตามทางศาสนา มีการเชิญแขกให้ มาร่ วมด้ วยก็มีหลักที่จะต้ อง ปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี ้ ต้ องกาหนดวันการทาบุญขึ ้นบ้ านใหม่ให้ เป็ นที่แน่นอนและการเลือกวันที่วา่ นี ้ ถ้ าต้ องการให้ เป็ นมงคลตาม ความเชื่อถือที่มมี าแต่โบราณแล้ ว ก็ต้องไปหารื อกับผู้ที่มีความรู้ทางโหราศาสตร์ ให้ กาหนดวันและเวลาให้ แล้ วออกบัตรเชิญ แขกให้ มาร่วมในพิธีทาบุญขึ ้นบ้ านใหม่ และส่งบัตรนันออกไปในระยะเวลาก่ ้ อนถึงวันกาหนดพอสมควร ในบัตรนัน้ ต้ องบอก ตาบลบ้ านที่จะประกอบพิธี กาหนดวัน เวลาอย่างชัดเจน เรี ยกว่าถ้ าเขียนเป็ นแผนที่ได้ ก็จะดีที่สดุ เมื่อใกล้ กบั วันที่กาหนดไว้ ต้ องเตรี ยมตกแต่งบ้ านเรื อนที่จะทาบุญ ขึ ้นบ้ านใหม่นนให้ ั ้ เรี ยบร้ อยงามตาตามสมควร และเตรี ยมสิง่ ของทีจ่ าเป็ นใช้ ในวัน ประกอบพิธีให้ พร้ อม
106
ตาราขึน้ บ้ านใหม่ สิทธิการิ ยะ ถ้ าแรกขึ ้นบ้ านใหม่ทา่ นให้ ขึ ้นในวันพุธ วัน พฤหัสฯ และวันศุกร์ ดีนกั แล และให้ เป็ นไปหรื อละเว้ นตามทิศ ดังนี ้ ขึ ้นทิศบูรพา ทิศตะวันออก จะเป็ นความกัน ขึ ้นทิศอาคเนย์ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จะตายเร็ ว ขึ ้นทิศทักษิ ณ ทิศใต้ จะเสียของ ขึ ้นทิศหรดี ทิศตะวันตกเฉียงใต้ จะได้ ลาภ ขึ ้นทิศปั จจิม ทิศตะวันตก จะเจ็บไข้ ขึ ้นทิศพายัพ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือจะสุขเกษมมีโชคดี ขึ ้นทิศอุดร ทิศเหนือ จะมีลกู มาก รักลูก ขึ ้นทิศอีสาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จะมีข้าวของมากมาย
ความเชื่อเรื่ องการตัง้ ศาลพระภูมิในบริเวณบ้ าน คนไทยชาวสยามแต่อดีตกาลมีความเชื่อว่าตามฟ้า ดิน น ้า ภูเขา ต้ นไม้ และอาคารบ้ านเรื อน มีผีเจ้ าที่เจ้ าทาง ปกปั ก รักษาอยู่ ผนวกกับความเชื่อทางศาสนาพุทธ และพราหมณ์ฮินดู ทาให้ เกิดการพัฒนาพิธีการอัญเชิญผีเจ้ าทีเ่ จ้ าทาง และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์มาประทับในศาล (ศาลพระภูมิ,ศาลเจ้ าที)่ เพื่อปกป้องคุ้มครองดูแลรักษาสถานที่บ้านเรื อนที่อยูอ่ าศัย ให้ มีความเป็ น สิริมงคล เจริ ญก้ าวหน้ าในทุกสถาน นิยมตังศาลพระภู ้ มิเจ้ าที่ ในวันที่ปลูกสร้ างบ้ านเรื อนใหม่ เจ้ าพิธีผ้ ทู าพิธีกรรมตังศาลพระ ้ ภูมินนเป็ ั ้ นได้ ทงพระ ั ้ ,พราหมณ์,ฆราวาสผู้ตงมั ั ้ น่ อยูใ่ นศีลในธรรม ตามคติความเชื่อจากพิธีกรรมพื ้นบ้ านแต่เดิม ความเชื่อทาง พุทธศาสนาและพราหมณ์ฮินดู นามาพัฒนาพิธีกรรมพื ้นบ้ าน เพื่อให้ เกิดความขลัง และศักดิส์ ทิ ธิ์ขึ ้น เปลีย่ นคานาหน้ าใหม่ให้ ดู ดีมีมงคลขึ ้นจากคาว่า "ผี” ที่ดมี คี ณ ุ ธรรม ให้ เป็ นพระ เช่น พระเสื ้อเมือง พระทรงเมือง หรื อพระภูมิ เพราะนับถือว่าเป็ น ผี ชันสู ้ ง การตังศาลพระภู ้ มิ นาแนวคิดมาจากศาสนาพราหมณ์ฮินดูวา่ พระอิศวร หรื อพระศิวะ ทรงมีวมิ าน ประทับบนยอดเขา พระสุเมรุ เปรี ยบประดุจมณฑลจักรวาล พระภูมิถือเป็ นเทวดา ขันหนึ ้ ง่ เหมือนกัน วิมานของศาลพระภูมิ จึงต้ องมีเสาเดียว เปรี ยบประดุจเขาพระสุเมรุมาศวิมานของ พระอิศวร ฉะนันการตั ้ งศาลพระภู ้ มิตามคติบ้านเรื อนของคนไทยจึงมีเสาเดียว ส่วน ศาลเจ้ าที่นนเปรี ั ้ ยบเสมือนบ้ านเรือนชาวบ้ านจึงมี 4 เสา ส่วนศาลที่อยูต่ ามโคนต้ นไม้ ทางสามแพ่ง เป็ นที่สงิ สถิตของ วิณญาณ เร่ร่อนเพนจร นิยมสร้ างศาลมี 6 เสา หรื อ 8 เสา คนไทย นันเรื ้ ่ องสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เร้ นลับ เป็ นสีง่ ที่ผกู พันในชีวติ เราแทบทุกคน ศาลพระภูมิเป็ นสิง่ ศักดิ์สทิ ธิ์ อย่างหนึง่ ที่ใกล้ ตัวอันแสดงถึงความเชื่อ และความศรัทธาที่มตี อ่ สิง่ นี ้ การประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับสิง่ นี ้ จึงต้ องมีการกระทาอย่างถูกต้ อง เพื่อให้ เกิดความเป็ นสิริมงคล แก่ผ้ อู ยูอ่ าศัย การ บวงสรวงเซ่นสังเวย และการตังศาลพระภู ้ มิ ถือเป็ นวัฒนธรรมพิธีกรรมแบบโบราณของไทย โดยกระทาเมื่อปลูกบ้ านใหม่ หรื อ ย้ ายที่อยูเ่ พราะเชื่อว่าขันตอนการตั ้ งศาลจะเป็ ้ นการขับไล่สงิ่ อัปมงคลทังหลายให้ ้ ออกไปจากบ้ าน แล้ วจึงอัญเชิญ พระภูมิมา 107
สถิติที่ ศาลพระภูมเิ พื่อปกป้องคุ้มครองเจ้ าบ้ าน และบริ วารให้ อยูเ่ ย็นเป็ นสุข มีความเจริ ญรุ่งเรื อง เพราะถือว่าพระภูมิเป็ นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์อย่างหนึง่ ของบ้ าน การตังศาลพระภู ้ มิ เจ้ าบ้ านจะต้ องไปปรึกษาผู้ร้ ู พราหมณ์ ผู้ประกอบพิธี โดยเริ่ มจากการตรวจดูฤกษ์ ยาม เจ้ าพิธีจะนา วัน/เดือน/ปี เกิดของเจ้ าของบ้ านมาดูประกอบ เพื่อให้ ครอบครัวอยูด่ ีมีสขุ เจริ ญรุ่งเรื องในหน้ าที่การงาน สถานที่ที่ตงศาล ั้ มีหลักการพิจารณา ดังนี ้ 1. ที่ตงศาลต้ ั้ องเป็ นบริเวณพื ้นดิน มิใช่บริ เวณเดียวกับพื ้นของตัวบ้ าน 2. จุดทีต ่ งของศาลต้ ั้ องไม่ถกู เงาของตัวบ้ านทอดลงมาทับ 3. ที่ตงของศาลควรอยู ั้ ห่ า่ งจากบริ เวณที่ตงของห้ ั้ องน ้า สิง่ ปฏิกลู 4. อย่าหันหน้ าศาลเข้ าสูบ ่ ริ เวณที่ตงของห้ ั้ องน ้า 5. ไม่ควรตังศาลให้ ้ หนั หน้ าตรงกับประตูหน้ าบ้ าน 6. ตังศาลให้ ้ หา่ งจากรัว้ หรื อกาแพงบ้ านอย่างน้ อย 1 เมตร 7. ความสูงของศาล ควรสูงเหนือระดับสายตาของผู้เป็ นเจ้ าของบ้ านขึ ้นไปเล็กน้ อย
ข้ อห้ ามเกี่ยวกับการสร้ างบ้ าน ห้ ามมิให้ ทาขื่อใหญ่กว่าเสาบ้ าน 2. ห้ ามมิให้ ทาแหวกช่องกลางที่นอน 3. ห้ ามมิให้ ทาเรื อนคร่ อมต้ นไม้ 4. ไม่ควรสร้ างบ้ านแบบรู ปศาลพระภูมิ มี 2 ห้ อง มีฝา 1 ห้ องไม่มีฝา 1 ห้ อง 5. ไม่ควรสร้ างบ้ านที่มีระเบียง 4 ด้ านเหมือนศาลาการเปรี ยญ 6. ห้ ามปลูกบ้ านขวางตะวัน 7. ห้ ามปลูกเรื อนขวางคลอง 8. ห้ ามทาเรื อนมี 4 จัว่ 9. เรื อนหลังหนึง่ ห้ ามทาประตู 4 แห่ง หน้ าต่าง 9 แห่งประตูไม่อยูก่ ลางบ้ าน 10. จานวนบันไดห้ ามใช้ จานวนขันคู ้ ่ 11. บันไดไม่ลงทางทิศตะวันตก 12. ไม่หน ั หัวเตียงไปทางทิศตะวันตก 13. ไม่นอนขวางกระดาน 14. ไม่ทาน ้าพุไหลเข้ าตัวเรื อน 15. ไม่ทาทางลอดใต้ ห้องส้ วม และอีกเยอะแยะมากมาย ฯลฯ 1.
108
ฮวงจุ้ยกับสถาปั ตยกรรมไทย ฮวงจุ้ยกับสถาปั ตยกรรม ขัดกันหรื อเปล่า? คนส่วนใหญ่เวลาที่คดิ ถึงการออกแบบอาคารตามหลักฮวงจุ้ย ก็มกั จะ จินตนาการว่าต้ องเป็ นกล่อง 4 เหลีย่ ม หน้ าตาโบราณ ตังวั ้ ตถุมงคลเช่น ฮก-ลก-ซิว่ /เจ้ าที่/สิงโตหิน/มังกร/เสือคาบดาบ/กระจก 8 เหลีย่ ม หรื อทุบรื อ้ จนทาให้ คา่ ใช้ จ่ายบานปลาย สถาปนิกส่วนใหญ่กลัวที่สดุ ก็คือ ซินแสจะไปแก้ แบบความสวยงามทาง “สถาปัตย์” ที่อตุ ส่าห์สร้ างสรรค์ออกมา ให้ กลายเป็ นวิหารเทพหรื อสวนสัตว์ไปเสียอีก แท้ จริ งแล้ ว ปั ญหาเกิดจากการที่ซินแสส่วนใหญ่ไม่ได้ ศกึ ษารากเหง้ าทางฮวงจุ้ยที่ แท้ จริ ง เพราะวิชาที่แท้ จริงนันมี ้ ต้นกาเนิดมาจากหลักการของธรรมชาติและอ้ างอิงวิทยาศาสตร์ ซึง่ ชื่อวิชาก็บง่ บอกได้ ชดั เจน อยูแ่ ล้ วนะครับ คาว่า”ฮวง” แปลว่า ลม และ “จุ้ย” แปลว่า น ้า ไม่เกี่ยวกับไสยศาสตร์ ศาสนา สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ แต่อย่างใด
วิชาฮวงจุ้ย มองว่าสรรพสิง่ รอบตัวล้ วนแล้ วแต่มีพลังงาน ทาอย่างไรจะสามารถดึงพลังเหล่านันที ้ ่มีอยูแ่ ล้ วเป็ นจานวนมาก ให้ มา เสริ มผู้อยูอ่ าศัย โดยพลังนันมากั ้ บ “การพัดไหลเวียนของอากาศ ที่เรี ยกว่า “ลม” และความเคลือ่ นไหวของ “น ้า” และแสงสว่าง รวมทังพลั ้ งจาก “สีสนั ” “รูปลักษณ์” และ “ทิศทาง” โดยหาทางจัดให้ พลังทังหมดที ้ ่กล่าวไปนี ้ มาเสริ มกับพลังของตัวบุคคล(ดวง ชะตา) นัน่ เอง โดยมีสตู รพลังงานที่ซบั ซ้ อนในการคานวณรูปแบบของพลังงานที่มาจากแต่ละทิศทาง แก่นแท้ ของฮวงจุ้ยและสถาปั ตยกรรมจึงไม่ตา่ งกัน ก็คือต้ องการให้ “ผู้อยูอ่ าศัย” มีชีวิตทีด่ ีในสถานที่นนๆของเขา ั้ เพียงแต่มมุ มองทีต่ า่ งกัน นัน่ คือสถาปนิกจะมองจาก “ประโยชน์ใช้ สอยและความสวยงาม” ต่อเจ้ าของหรื อผู้อยูอ่ าศัยเป็ นหลัก แต่ซินแสนันจะมองจาก ้ “พลังงานของผู้อยูอ่ าศัยและพลังงานของทิศทางสถานที่”
ฮวงจุ้ยกับหลักสถาปั ตยกรรมจึงเข้ ากันได้ อย่ างลงตัว ขอยกตัวอย่างที่ อ.มาศวางฮวงจุ้ยให้ กบั บริษัท THAI KK ซึง่ เป็ นผู้นาด้ านการผลิต ลาเบล เทปกาว ผงเมลามีน และผง ยูเรี ย โรงงานมีพื ้นที่ 52 ไร่ พนักงานรวมกว่า 500 คน (พ.ศ.2556) ตังแต่ ้ เป็ นที่ดินเปล่า พร้ อมกับทีมสถาปนิกระดับประเทศ อย่าง อ.เอกพงษ์ ตรี ตรง โจทย์ปัญหาของผู้บริ หาร คือ ทางโรงงานต้ องการย้ ายออกไปห่างจากทีเ่ ดิมอีกกว่า 20 ก.ม. เนื่องจากที่เดิมเริ่มคับ แคบและการจราจรแออัด แต่พนักงานส่วนใหญ่ไม่ต้องการย้ ายตามไป เนื่องจากไกล และจะลาออกทันทีที่บริ ษัทจะย้ ายไปที่ ใหม่ จึงขอให้ อ.มาศออกแบบฮวงจุ้ยให้ สถานทีม่ ีพลังที่ดี สามารถดึงดูดพนักงานทังหมดเอาไว้ ้ ได้ ไม่ลาออกหมด เพราะจะ กลายเป็ นปั ญหาใหญ่ทนั ที อ.มาศจึงได้ วาง Concept เพื่อแก้ ปัญหานี ้ ด้ วยการออกแบบเน้ นให้ ดแู ล้ วมีความไหลรื่ นและมีความต่อเนื่องของเส้ นสายเหมือน “ธาตุน ้า” และ ยังเสริ มด้ วย “ธาตุทอง” ที่แฝงไปด้ วยความหรู หรา ฉับไว และเฉียบคม ซึง่ เป็ นพลังธาตุที่เกื ้อหนุนกับประเภทธุรกิจ
109
พร้ อมทังยั ้ งได้ วางฮวงจุ้ยให้ สามารถจับลูกค้ ารายใหญ่ทงในประเทศและต่ ั้ างประเทศระดับโลก โดยให้ สอดคล้ องกับรูปดวงของ เจ้ าของสถานที่ การวางรูปแบบให้ ดไู หลรื่ น มีความเป็ นอิสระ การใช้ สสี นั ในโทนเย็น ใช้ สแี ละแสงไฟซ่อนสีฟา้ ก็เพื่อแฝง ลักษณะของ “ธาตุน ้า” ไว้ และการโชว์โครงสร้ างของตัวอาคารให้ โดดเด่นออกมา รวมถึงการวางอาคารให้ จดุ เด่นเป็ นลักษณะ "โค้ งมน” ซึง่ เป็ นลักษณะของธาตุทองทังภายนอกและภายในอาคาร ้ และยังต้ องชูจดุ เด่นอีกอย่าง คือ รูปทางของหลังคาและกัน สาดบริ เวณประตูทางเข้ าให้ เปิ ดเชิดขึ ้น เพื่อช่วยรับกระแสพลังที่จะไหลเข้ ามาจากทิศทางของกระแสลมด้ วย เมื่อได้ สถาปนิกฝี มือขันเทพ ้ จึงได้ รังสรรค์เส้ นสายและรูปทรงของอาคารให้ สอดคล้ องกับลักษณะที่เป็ นมงคลของ ของฮวงจุ้ยออกมาได้ อย่างลงตัว อ.มาศยังได้ วางทิศทางอาคารให้ รับ “มงคลแห่งยุค” ทังยุ ้ คที่ 8 (พศ.2547-2567) เพื่อเร่งสร้ าง ความเจริ ญรุ่งเรื องให้ เกิดได้ รวดเร็ วที่สดุ ภายในยุคนี ้ และยังมีการสร้ างจุดจ่ายกระแสพลัง หรื อ “มังกร” ให้ กบั อาคารด้ วย (แถม วางฮวงจุ้ยด้ วยหมาก 2 ชัน้ ให้ เจริ ญรุ่งเรื องต่อเนื่องไปถึงยุคที่ 9 ต่อไปด้ วย) ส่วนการวางฮวงจุ้ยภายในสานักงานนัน้ เน้ นการจัดวางห้ องของเจ้ าของ ผู้บริ หารระดับสูงแต่ละฝ่ าย และห้ องทางาน รวมของพนักงาน ฝ่ ายขาย ฝ่ ายการตลาด การเงิน บัญชี และบุคคล รวมทังห้ ้ องประชุมทุกห้ อง ให้ อยูใ่ นส่วนที่รับกระแสพลังที่ เหมาะสมกับหน้ าที่ของแต่ละฝ่ ายให้ ได้ มากที่สดุ พร้ อมทังอยู ้ ใ่ นองศาทิศทางที่เป็ นมงคล หากต้ องการตังศาลเจ้ ้ า ห้ องพระ พระภูมิ ซินแสก็สามารถช่วยกาหนดตาแหน่งเพื่อใช้ สง่ เสริ มกระแสพลังให้ อีก ชันหนึ ้ ง่ (แม้ ซินแสที่แท้ จริงจะไม่ได้ ให้ ความสาคัญกับเรื่ องนี ้ แต่ก็สามารถพลิกแพลงนาสิง่ ที่เป็ นความเชื่อของเจ้ าของมาทาเป็ น อุปกรณ์เสริ มฮวงจุ้ยได้ ด้วย) ปรากฏว่าหลังจากโรงงานแห่งใหม่สร้ างเสร็ จ พนักงานไม่มีใครที่คดิ จะลาออกเลย เพราะสัมผัสได้ ถงึ พลังที่ดีที่ดงึ ดูด ใจ โดยผู้บริ หารยังยืนยันว่าพนักงานเก่าบางคนที่เคยเกียจคร้ าน ก็กลายเป็ นคึกคัก ขยันขันแข็ง ส่วนคนที่เคยมีหวั คิ ดโบราณ คร่ าครึ ก็เปลีย่ นมาเปิ ดใจรับความคิดใหม่ๆ มีความคิดสร้ างสรรค์มากขึ ้น ปั จจุบนั นี ้ โรงงานของ THAI KK เจริ ญรุ่งเรื องอย่างต่อเนื่อง ยอดขายและกาไรเติมโตแบบก้ าวกระโดด นัน่ ก็เพราะ สามารถเอาศาสตร์ ฮวงจุ้ยเข้ ากับสถาปั ตยกรรมมารวมอยูด่ ้ วยกันได้ อย่างลงตัว ช่วยเสริ มความเป็ นมงคลให้ กบั เจ้ าของและ กิจการ สามารถดึงเอาพลังของธรรมชาติทมี่ ีอยูแ่ ล้ วอย่างไม่จากัด นามาใช้ ได้ ฟรี ๆ เข้ ามาเสริ มศักยภาพของตนเองและองค์กร ได้ อย่างสูงสุดครับ
110
บรรณานุกรม นารถ โพธิประสาท. สถาปั ตยกรรมในประเทศไทย. ม. ป. ท., 2514. กองบรรณาธิการ วารสารธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมของประเทศไทย. “ชุมชนกุฎีจีนกับภูมทิ ัศน์ วฒ ั นธรรม บางกอก.” วารสารธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมของประเทศไทย. 7, 2 (เมษายน-มิถนุ ายน 2554): 20-27. เกรี ยงไกร เกิดศิริ. ชุมชนกับภูมิทัศน์ วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: อัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้ง แอน พับลิชชิ่ง, 2551. นวนัฐ โอศิริ. “ภูมิทัศน์ วัฒนธรรมเบือ้ งต้ น.” ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์ตาราและเอกสารวิชาการ คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. ศิริชยั ธนทิตย์, วิวัฒนาการสัดส่ วน, คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556 ศรี ศกั ร วัลลิโภดม. นครหลวงของไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2540 อภิวนั ทน์ อดุลยพิเชฏฐ์ , บรรณาธิการ. ๗ ปราสาทหิน มหัศจรรย์ แห่ งอีสาน. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2551 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. อยุธยา ประวัติศาสตร์ และการเมือง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์ และ มนุษย์ศาสตร์ , 2543 ประวัติศาสตร์ ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ภาควิชา. สมุดภาพศิลปะอยุธยา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555 สุภทั รดิศ ดิสกุล, ม.จ. ศิลปะในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2539 วัฒนาพร เขื่อนสุวรรณ, สุนทรียศาสตร์ ในงานทัศนศิลป์ ตะวันตก,เข้ าถึงได้ จาก http:// www.wbi.com /Education/สุนทรี ยศาสตร์ นิศากร เพ็ญสมบรูณ์, “ศิลปะสร้ างสรรค์ : ศึกษาทฤษฎีสัดส่ วนทองของกรีกโบราณ และกรณีศึกษาผลงาน จิตรกรรมของโรเบิร์ต แมนโกลล์ ตงั ้ แต่ ปี ค.ศ.1964 - 1999” (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ (ศิลปะสมัยใหม่) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2549) ชัยยศ อิษฎ์วรพันธุ์, LE CORBUSIER สถาปนิกผู้ทรงอิทธิพลที่สุดแห่ ง ศตวรรษที่ 20, (กรุงเทพ: สารคดี, 2551)
111
ศิริวฒ ั น์ นารีเลิศ, วิวัฒนาการของศิลปะไทย, http://www.baanjomyut.com/library_2/ extension3/evolution_of_thai_art /01.html วัชรี วัชรสินธุ์, สัดส่ วนสัมพันธ์ งดงามในงานสถาปั ตยกรรมไทยสายช่ างอยุธยา , (กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551) ฤทัย ใจจงรัก, สัดส่ วนในงานสถาปั ตยกรรมไทยฉบับสมบูรณ์ , (กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์คณะสถาปั ตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556) ชมชน ฟูสนิ ไพบูลย์, ประวัติศาสตร์ นิพนธ์ ด้านสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ ในประเทศไทย, ภาควิชาสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระพินทรนาถ ฐากรุ , “บ้ านอินจัน”, อาษา 2537 รมิดา โภคสวัสดิ์ และ ศิริวรรณ อาษาศรี . “๑๐๐ ปี พระที่น่ ังอนันตสมาคมสถาปั ตยกรรมแห่ งสยาม”, นิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม ฉบับเมษายน
112