Tour old house in market at ayutthaya

Page 1

เที่ยวชมเรือนโบราณ ย่านการค้า ในจังหวัดพระนครศรีอย ุธยา

จอมพล ขันธวรรณา



เที่ยวชมเรือนโบราณ ย่านการค้า ในจังหวัดพระนครศรีอย ุธยา


4

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้า ในจังหวัดพระนครศรีอย ุธยา ความพึงพอใจในความสวยงามอันเกิดจากการจัดระเบียบของ สภาพแวดล้อม ทัง้ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น ทิวทัศน์แม่นำ�้ ล�ำธาร และสภาพแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึน้ เช่น ความเป็ นเอกภาพและความเป็ นระบบ ระเบียบเรียบร้อยของอาคารสถานที่ตา่ งๆ เป็ นต้น โดยสุนทรียภาพแบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ สุนทรียภาพที่เกิดจากประสาท สัมผัส สุนทรียภาพที่เกิดจากรูปทรงและสุนทรียภาพที่เกิดจากสัญลักษณ์งาน สถาปั ตยกรรมเป็ นงานสร้างสรรค์ที่สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์เริ่ มตั้งแต่ความต้องการเฉพาะตัวเฉพาะกลุ่มขยายออกไปจนถึ ง ความต้องการของกลุม่ ชนและสังคมหากจะมองในแง่สนองต้องการของมนุษย์ แล้วตัวงานสถาปั ตยกรรมอาจแบ่งตามประเภทของการตอบสนอง ความต้องการของมนุษย์เริ่มตัง้ แต่ ความต้องการเฉพาะตัวเฉพาะกลุม่

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


5

หากจะมองในแง่สนองต้องการของมนุษย์แล้วตัวงาน สถาปั ตยกรรมอาจแบ่งตามประเภทของการสนองกลุ่มผูใ้ ช้สอยได้ 2 กลุม่ คือ กลุม่ ที่สร้างสรรค์ดว้ ยสัญชาตญาณและกลุม่ ที่ได้รบั อิทธิพลจากสังคมและเศรษฐกิจ เรือนพักอาศัย จึงจัดอยูใ่ นกลุม่ ที่ได้ รับตลาดและย่านการค้าเก่าแก่เกือบทุกแห่งทั้งหมดจะอยู่เรียงราย ตามล�ำน�ำ้ ดังนั้นพื้นที่ริมแม่นำ�้ ล�ำคลองที่มีเรือขนสินค้าทั้งเล็ กและ ใหญ่ขนึ้ ล่องประจ�ำ มักจะเป็ นจุดก�ำเนิดของตลาดและเรือนร้านค้า แบบพื้นถิ่น

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


6

ตึกแถวนับตัง้ แต่สมัยแรกสร้างมีบทบาทในทางการค้าควบคูไ่ ปกับ การอยูอ่ าศัย พอถึงสมัยรัชกาลที่ 5 การให้กรรมสิทธิ์ที่ดนิ ตลาดจึงเป็ น ศูนย์กลางของชุมชนเมืองท�ำให้ชนชั้นกลางปรากฏตัวขึ้นอย่างเป็ นรูปธรรม ที่แสดงให้เห็ นจากการสร้างที่อยู่อาศัยและร้านค้า ขึน้ ในย่านบริเวณตามหัวเมือง สิ่งที่โดดเด่นก็คือ การเกิ ด โรงเรื อ นและห้อ งแถวการพั ฒ นาชุม ชน ค้าขายแบบพื้นถิ่นนี้ เป็ นแบบไม่แยกการค้าขายออก จากการอยูอ่ าศัย ท�ำให้วงจรชีวิตของชาวบ้านเป็ น ชีวิตที่ตอ่ เนือ่ งตลอด 24 ชัว่ โมงเกิดเป็ นเรือนร้าน ค้ากึ่งพักอาศัยสร้างรายล้อมตลาดอาจจะเป็ นเรือน แถวไม้ทงั้ ชัน้ เดียวและสองชัน้ บางแห่งเป็ นเรือนแถว ที่สร้างกระหนาบทางเดินกลางมีหลังคาคลุมทาง เดินยกสูงเหนือระดับหลังคาห้องแถวลักษณะห้อง แถวไม้แบบนีเ้ ห็นได้ชดั ว่า ชัน้ บนเป็ นที่พกั อาศัยแต่ หากเป็ นเรือนแถวชัน้ เดียวมักจะมีความลึกของห้อง มากเพราะด้านหน้าใช้คา้ ขายด้านหลังใช้พักอาศัย ชั้ น ล่ า งด้า นหน้า ของเรื อ นแถวค้า ขายเป็ นเรื อ น ร้านค้าที่สร้างติดกันเป็ นแถวหลายคูหาแบ่งพื้นที่ ส�ำหรับอยู่ อาศัยและค้าขาย มีทงั้ แบบ เรือนแถวชัน้ เดียว ชัน้ ครึ่งและเรือนแถวสองชัน้ ส่วนมากจะเกาะ กลุ่ม รวมกัน เป็ นย่า นที่ อ ยู่ใ กล้กับ ส่ว นส�ำ คัญ ของ ชุมชนได้แก่ ตลาด ท่าเรือ ทางรถไฟ ย่านชุมชน ซึ่ง เป็ นแหล่งซื้อขาย เพื่อการเชือ่ มโยงของการขนถ่ายสินค้าตลอดจนขายสินค้าได้ อย่างสะดวกลักษณะเด่นของเรือนร้านค้าพื้นถิ่น คือสถาปั ตยกรรมที่มขี นาด เล็กที่มรี ปู ทรงพื้นที่ใช้งานในชีวิตประจ�ำวัน เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


7

ลักษณะทางกายภาพของตัวเรือนนัน้ หลังคาคลุมทางเดินยกสูงขึน้ เหนือระดับ หลังคาห้องแถว ลักษณะของห้องแถวไม้แบบนี้ เห็นได้ชดั ว่าชัน้ บนใช้พกั อาศัย เพราะส่วนใหญ่มรี ะเบียงพักผ่อนยื่นออกมาด้านหน้าของตัวเรือน

เรือนแถวชัน้ เดียว มักจะมีความลึกของห้องมาก เพราะ ด้านหน้าใช้คา้ ขาย ด้านหลังใช้พกั อาศัยชัน้ ล่างนิยมเปิ ดเป็ นบานเฟี้ ยม ไม้ซึ่งเปิ ดได้ตลอดช่วงเสา เรือนค้าขายนีบ้ างแห่งมีการประดับตกเเต่งองค์ประกอบต่างๆ เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


8

ภ ูมิศาสตร์จงั หวัดพระนครศรีอย ุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาตัง้ อยูบ่ นที่ราบภาคกลางตอนล่างของ ประเทศไทยมีเนือ้ ที่ 2,556.65 9 ตารางกิโลเมตร เดินทางด้วยรถยนต์ไปตาม ถนนสายเอเชียอยูห่ ่างจาก กรุงเทพมหานครประมาณ 75 กิโลเมตร เดินทาง ด้วยรถไฟประมาณ 72 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือ เขตอ�ำเภอบ้านแพรกและอ�ำเภอมหาราช ติดต่อกับ จังหวัดอ่างทองและลพบุรี ทิศใต้เขตอ�ำเภอลาดบัวหลวงอ�ำเภอบางไทร และ อ�ำเภอบางปะอิน ติดต่อกับจังหวัด นครปฐม นนทบุรี และปทุมธานี ทิศตะวันออก เขตอ�ำเภอท่าเรือ อ�ำเภอภาชี อ�ำเภออุทยั และ อ�ำเภอวังน้อย ติดต่อกับจังหวัดสระบุรี ทิศตะวันตก เขตอ�ำเภอผักไห่และอ�ำเภอบางซ้าย ติดต่อกับ จังหวัดสุพรรณบุรี

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


9

เเผนที่จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

ตราประจ�าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


10

ร้านฮงฮวดพาณิชย์ ร้านนีส้ ร้างมานาน กว่า 90 ปี ร้านฮงฮวด พาณิชย์เปิ ดมาได้ 3 รุ่น โดยแต่ ก่ อ นบรรพบุ ร ุษ เป็ นชาวจีนได้คา้ ขายทาง น�ำ้ โดยเรือโดยการค้าขาย นั้น เป็ นของจิ ป าถะอื่ น ๆ ทัว่ ไปเมือ่ เหล่ากงได้ ปั กหลักที่นไี้ ด้เปิ ดกิจการค้าขายไห ประวัตกิ ารสร้างไม่ทราบว่าผูใ้ ดเป็ น ผูส้ ร้าง แต่เหล่ากงได้บอกว่า เหล่ากงได้เห็นเรือนหลังนีแ้ ละอยูเ่ รือนหลัง นีโ้ ดยใช้เวลา แค่ 10 ปี หลังจากเหล่ากงอยูอ่ าศัย ท่านก็เสียไป โดยการ ค้าขายของแต่ละรุ่นนัน้ จะมีความแตกต่างกันออกไปขึน้ อยู่แต่ละช่วงเหตุ การณ์เเต่ละยุคว่า จะค้าขายอะไร ปั จจุบนั ร้านฮงฮวงพาณิชย์ได้ขายของ ทุกประเภททัง้ ค้าปลีกและค้าส่ง โดยร้านนีม้ สี ถาปั ตยกรรมที่โดดเด่นคือ เป็ นเรือนไม้ 2 ชัน้ 7 คูหา มีพื้นที่ 60 ตารางวาหลังคาทรงหน้าจัว่ ซ้อน ด้วยหลังคาทรงปั้ นหยามีกนั สาดยื่นออกมา มุงด้วยสังกะสี บริเวณรอย ต่อระหว่างหลังคาทรงปั้ นหยากับหลังคาทรงหน้าจัว่ จะเป็ นฝาผนังไม้ แบบตีตงั้ มีชอ่ งลม บริเวณด้านหน้าร้านมีกนั สาดยื่นออกมาเพื่อกันฝนบริเวณด้าน ข้างจ�ำนวน 1 คูหาเป็ นโกดังเก็บของ มี 2 ชัน้ หลังคาทรงหน้าจัว่ ปลาย ตัดยื่นออกมาเป็ นกันสาด

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


11

หลังคาปลายจัว่ หัวตัด จะเริ่มสร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่จะมานิยม สร้างกันมากในสมัยรัชกาลที่ 7 มุงด้วยสังกะสีโครงสร้างคานเป็ นไม้ ฝาผนัง ด้านหนึง่ ได้มกี ารบูรณะซ่อมแซ่ม อีกด้านเป็ นไม้

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


12

ร้านโก๋บ๊ ู ร้านกาเเฟ ร้านนีส้ ร้างมา นานกว่า 70 ปี เรือนนีส้ ร้างมาตัง้ แต่ สมัย เตี่ย โดยค่ า เช่า ห้อ งแถวเดื อ นละ 40บาทปั จจุบนั 1,200 บาท ต่อเดือน ร้านโกบู๊ เป็ นชือ่ ของเตีย่ ที่เสียชีวิตก็ ร่วมกับน้อง สานต่อกิจการร้าน แต่ ยังคงเทคนิคการชงกาแฟแบบดังเดิม ที่เตีย่ สอนไว้ เริ่มจากใช้เตาถ่านเพื่อ ต้ม น�้ำ เพราะเตาถ่ า นช่ว ยให้น �้ำ เดื อ ด ตลอดเวลา เวลาชงส�ำคัญที่ถงุ กาแฟ เมือ่ ชงไป 5-6 แก้ว จะต้องง่ายถุงน�ำ มาล้างให้สะอาดตลอด จะท�ำให้รสชาติ กาแฟหอมเวลาชงซึ่งเทคนิคการชงนี้ เตีย่ เป็ นคนสอน ในอดีตร้านกาแฟจัด เป็ นร้า นที่ ท กุ คนเข้า เพราะเป็ นแหล่ง รวมข่าวสารด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นสังคมในตลาดจนถึงสังคมทางการเมือง ในอดีตสมัยก่อนขายกาแฟ แก้วละ 12 สตางค์ ปั จจุบนั แก้วละ 12 บาท โดยสถาปั ตยกรรมร้านมีพื้นที่ 20 ตารางวา มีหลังคาหน้าจัว่ มุงสังกะสี ทิ้งชายคาลงยาว เรือนหลังนีเ้ ป็ นเรือนไม้ที่มขี นาดยาว ฝาผนังเป็ นไม้ตตี าม แนวนอน

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


13

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


14

ร้านเย็บผ้าวนิดา เจ้าของเรือนเล่าว่าอยูป่ ระกอบ อาชีพตัดเย็บเสื้อผ้ามานานแล้วประมาณ 30 ปี เรือนหลังนีเ้ ป็ นของสามี อยูก่ นั มา แล้ว 3 รุ่นซึ่งบรรพบุรษุ เป็ นคนไทย ซึ่ง เรือนนีม้ อี ายุมากกว่า 60 ปี ตัวเรือนมี พื้นที่ใช้สอย 22 ตารางวา หลังคาเป็ น ทรงหน้าจัว่ ทิ้งชายคาลงมา มุงหลังคา ด้วยสังกะสี ฝาผนังเป็ นไม้ตตี ามแนวตัง้ บริเวณด้านสกัดมีกันสาดยืนออกมากัน บริเวณหน้าต่างด้านสกัด บริเวณชัน้ 1 ส่วนหน้าคือ อาคารโถงใช้เป็ นร้านค้า ประตูบานเฟี้ ยมไม้เปิ ดตลอดช่วงเสา ฝาผนังที่กนั้ บริเวณด้านหน้าร้านกับห้อง ด้านหลังเป็ นฝาผนังไม้แนวนอนบริเวณด้านบนมีชอ่ งลมบนผนังเล่นลวดลาย บริเวณด้านหลังประกอบไปด้วย บันไดซึ่งบันไดจะมีโครงสร้างแบบไม้กระดาน บริเวณด้านหลังประกอบไปด้วย ห้องครัว ห้องน�ำ้ และบริเวณส่วนด้านนอก บริเวณชัน้ 2 มีชอ่ งลมอยูเ่ หนือฝาผนังด้านหน้าของ ตัวเรือน ฝาผนังเป็ นไม้ตตี ามแนวนอน หน้าต่างไม้แบบ ลูกฟั กกระดานดุนมีลกู กรงเหล็กกัน้ ถัดมา บริเวณห้อง หน้าสุดของ มีกระจกสีเป็ นลวดลายดอกพิกลุ สีเขียว ห้องกลางเป็ นห้องว่างเปล่า ทัง้ สองห้องมีเสื้อน�ำ้ มันปูไว้ พื้นเป็ นไม้ บริเวณบันได ได้มกี ารวางระบบแบบมีระเบียบ

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


15

กระจกสีลวดลาย ดอกพิกลุ จะนิยมสร้างกันมาก ในอาคารสมัยรัชกาลที่ 8 เนือ่ งจากมีความเรียบง่ายใน การประดับตกเเต่งอาคาร ซึ่งเเต่ละอาคารจะมีกระจกสี ที่เเตกต่างกันออกไป เช่น สีเขียว สีนำ�้ เงินหรือ สีเเดง เป็ นต้น กระจกสี ยั ง สามารถ ท�ำให้หอ้ งมีเเสงที่สลัวๆ ไม่เหมือนกระจกสีในปั จจุบนั ลักษณะเด่นของเรือนร้านค้าพื้นถิ่น คือสถาปั ตยกรรมที่มขี นาด เล็กที่มรี ปู ทรงพื้นที่ใช้งาน และสัดส่วน ซึ่งผนวกกับภูมปิ ั ญญาท้องถิ่นที่ เกีย่ วข้องกับการอยูส่ บายในอาคาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการระบายอากาศ ภายในอาคาร การลดความร้อนในอาคารด้วยระบบการระบายอากาศร้อน ออกในพื้นที่สงู (Stack Ventilation)

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


16

ร้านเจ้าปิค เรือนหลังนีส้ ร้างมาแล้วประมาณ 70 ปี เป็ นอาคารพาณิชย์อย่างเดียว ซึ่ งใช้ในการประกอบอาชีพค้าขายบะหมี่ ซึ่งได้ขายแล้วตกทอดมาแล้ว 3 รุ่นซึ่ง บรรพบุรษุ ได้เป็ นชาวจีนแล้วมาตั้งหลัก แหล่งอยูท่ ี่เมืองไทย โดยร้านบะหมีห่ ลัง นีม้ กี ารท�ำและขายบะหมีท่ ี่เป็ นเอกลักษณ์ โดยแต่กอ่ นบริเวณหน้าร้านนีเ้ คย เป็ นล�ำคลองเล็กๆซึ่งเป็ นล�ำคลองหรือคูนำ�้ สาขาของแม่นำ�้ ป่ าสัก เรือนหลังนีม้ ี พื้นที่ 23 ตารางวา มีชนั้ เดียวแต่เมือ่ ก่อนบริเวณด้านหลังได้มกี ารปรับปรุง และต่อเติมเพื่อขยายร้าน เรือนร้านค้าหลังนีเ้ ป็ นห้องแถว 1 คูหา หลังคาเป็ น แบบหน้าจัว่ ทิ้งชายคาลงมามุงสังกะสีเป็ นห้องแถวขนาดยาว เสาจ�ำนวน 8 ต้น

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


17

บริเวณหน้าร้านมี กันสาดยืนออกมา มีตวั ค�ำ้ ยันไม้ ค�ำ้ อยู่ บริเวณห้องแบ่ง ออกเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนหน้าร้านซึ้งประตูเป็ นแบบเหล็กยืดสมัยใหม่ (แต่กอ่ น เคยเป็ นประตูบานเฟี้ ยมแบบไม้กระดานเปิ ดตลอดช่วงเสา)บริเวณส่วนที่ 1 คือ ที่ขายของฝาผนังของเรือนเป็ นไม้ตตี ามแนวตัง้ บริเวณฝาเพดานมีชอ่ งลม ระบายอากาศและมีชอ่ งลมแบบไม้ตตี งั้ พื้นปูกระเบื้อง บริเวณด้านหลังจะเป็ น พื้นต่างระดับ คือ ส่วนห้องครัว ที่ลา้ งจาน และห้องน�ำ้ ฝาผนังเป็ นสังกะสี โดย เรือนร้านค้าหลังนีไ้ ม่มหี น้าต่าง แต่มชี อ่ งลมระบายอากาศ ซึ่งในช่วงอากาศ ของเมืองไทยที่เป็ นเขตร้อน ท�ำให้แสงแดดและบวกกับเรือนร้านค้าหลังนีเ้ ป็ น สังกะสี ท�ำให้มอี ากาศอบอ้าวและร้อนเป็ นพิเศษ

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


18

ร้านดวงพร เรือนหลังนีม้ อี ายุมา 78 ปี แล้ว ซึ่งแต่กอ่ นเดิมเป็ นเรือนไม้ ธรรมดา ซึ่งในช่วงรุ่นที่ 1 ยัง ไม่มกี ารปรับมาขายของจนถึง ช่วงรุ่นที่ 2 โดยเริ่มเปิ ดมาแล้ว เป็ นเวลา 40 ปี มาท�ำการค้า โดยเป็ นของจิปาถะเเละอื่นๆ ซึ่งในปั จจุบนั นัน้ เจ้าของร้านได้ มีอายุมากขึน้ จึงเลือกขายลอกเตอรี่แทน เรือนหลังนีไ้ ด้มกี ารปรับปรุงบริเวณ ด้านล่าง ซึ่งแต่กอ่ น เคยเป็ นพื้นไม้ แล้วได้เกิดอุทกภัยบ่อยจึงได้มกี ารเปลีย่ น มาเท เป็ นพื้นปูนแทน บริเวณด้านหน้านัน้ ประตูแต่เดิมเคยเป็ นฝาเฟี้ ยมลูกฟั ก แบบบานเกล็ดเปิ ดตลอดช่วงเสา แล้วปรับเปลีย่ นมาเป็ นประตูเหล็กแทน เพื่อ ความแข็งแรงและคงทนมากขึน้ นีค้ ือบริเวณราวกัน้ บันไดซึ่งเรือนร้านค้า

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


19

เเทบทุกกหลังจะมีที่กนั้ ที่เเตกต่างกันออกไปเเล้วเเต่บางหลังจะให้ชา่ ง ท�ำลักษณะพิเศษเเบบไหนเช่นการกลึงหัวเสาให้เป็ นหัวเเปดเหลีบ่ ม หรือหัวเสา รูปทรงต่างๆ ขึน้ เเต่ผอู้ ยูอ่ าศัยจะให้ชา่ ง

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


20

ร้านตัง้ ซาฮะ

เรือนหลังนีแ้ ต่กอ่ น เคยเป็ นโรงแรม มีหอ้ งพัก 4 ห้องและบริเวณด้านล่างเป็ น ห้องโถงขนาดใหญ่เป็ นที่ขาย ยาและเป็ นที่รบั แขก ห้องพัก แต่กอ่ นตกคืนละ 150 บาท ซึ่งแต่กอ่ นแขกที่มาพักนัน้ เป็ น คนขายยา คนที่สญ ั จร เรือนหลังนีต้ กทอดมาแล้ว 3 รุ่น โดยร้านได้ทำ� กิจการมาหลายอย่าง เช่น ขายหมี่ ก รอบโดยโกลี ซึ่ ง เป็ นน้อ งสาวของลุง เป้ ง เจ้าของปั จจุบันได้มาขายก๋วยเตี๋ยวต้มย�ำและอาหาร ตามสัง่ แต่กอ่ นนัน้ เศรษฐกิจได้มกี ารเจริญเติบโต และเฟื้ องฟูมากใน อ�ำเภอท่าเรือโดยมี 17 เสื้อได้บกุ มาปล้นและปิ ดตลาดที่ทา่ เรือแห่งนี้ 17 เสือได้มา จอดรถบริเวณหน้าร้านนี้

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


21

เรือนหลังนีเ้ ป็ นเรือนไม้ทงั้ หลัง หลังคาทรงปั้ นหยาทิ้งชายลงมามีคำ�้ ยันขนาด ใหญ่คำ�้ อยูบ่ ริเวณตอนบนเป็ นหลังคาทรงเพิงหมาแหงนกลาย เป็ นหลังคา มุงด้วยสังกะสี มีเสาทัง้ หมด 15 ต้น ฝาผนังด้านสกัดเป็ นฝาผนังแบบไม้ตตี งั้ ส่วนฝาผนังบริเวณด้านหน้าเป็ นฝาผนังแบบไม้ตตี ามนอน ชัน้ 1 บริเวณด้าน หน้ามีกนั สาดมุงสังกะสี มีคำ�้ ยันไม้ ประตูเป็ นแบบบานเฟี้ ยมไม้เปิ ดตลอดช่วง เสา เหนือประตูจะมีชอ่ งลมไม้แบบบานเกร็ด บริเวณฝาผนังด้านสกัดชัน้ ล่าง เป็ นฝาผนั ง แบบไม้ ตี ตัง้ ชัน้ 2 มีหอ้ งโถงเป็ น มุข ด้า นหน้า ที่ มี ข นาด ใหญ่ ระบายอากาศดี และมี ห ้ อ งพั ก จ� ำ นวน 4 ห้องบันไดมีการเล่น ลวดลายบริเวณแผงกัน้

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


22

ร้านเตียล่งเฮง เรือน หลังนีอ้ ยู่ มาแล้ว 3 รุ่นแต่กอ่ น เป็ นอาคารขนาด 3 ชัน้ แห่งเดียวในตลาดบ้าน แพนเรือนหลังนี้ติดกับ ริมแม่นำ�้ น้อยแต่กอ่ น ย้อนกลับไปเมือ่ 50 ปี ที่แล้ว เศรษฐกิจที่นมี้ ี ความเจริญขึ้นมากมีเรือด่วนจากกรุงเทพมายันบ้านแพนแล้วมีการ ค้าขายเกิดขึน้ เป็ นจ�ำนวนมากทัง้ ทางน�ำ้ และทางบก ซึ่งแต่กอ่ นแม่นำ�้ น้อยเป็ นที่สญ ั จรของเรือโยงและเรือขนทราย เนือ่ งจากลดระยะทางใน การขนส่งแต่ปัจจุบันนั้นไม่มีเรือแล้วเนื่องจากแม่นำ�้ มีขนาดแคบลง และมีความตืน้ เขินเกิดขึน้ ในปั จจุบนั นัน้ สภาพเศรษฐกิจของตลาดบ้าน แพนนั้นได้เงียบเหงาเนื่องจากการคมนาคมที่มีความสะดวกสบาย มากขึน้ เรือนหลังนีเ้ ป็ นเรือนไม้ทงั้ หลังมีชนั้ 3 ชัน้ มีเสาทัง้ หมดจ�ำนวน ทัง้ หมด 16 ต้นเป็ นเสาทรงหกเหลีย่ มหลังคาทรงปี กผีเสื้อทิ้งชายคา ลงมา หลังคาจะมีความลาดเอียน้อยเป็ นหลังคาสังกะสี ฝาผนังเป็ น ฝาผนัง ไม้ตีต ามแนวนอนบริ เ วณหลัง คามีช่อ งลมแบบไม้ตีตั้ง เพื่ อ ระบายอากาศบริเวณใต้หลังคา

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


23

ประตูบานเฟี้ ยมไม้กระดานเรียบ สามารถพบเห็นได้เนือ่ งจากเวลาขายของจะ มีการเปิ ดประตูออกหมดเลยในครัง้ เดียวเเละ เน้นเรื่องระบบการถ่ายเทฃอากาศภายในร้าน

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


24

ร้านเย็บผ้านิภา เรือนร้านนี้ อยูก่ นั มาแล้ว 3 รุ่นเป็ น เรือนไม้ที่มชี อ่ งลมระบายอากาศ เรือนหลัง นี้เป็ นโรงเรียนที่สอนตัดเย็บเสื้อผ้าและเป็ น ที่ขายผ้า เรือนหลังนีไ้ ด้รบั การปรับปรุง เนือ่ งจากอุทกภัยครัง้ ใหญ่แต่การปรับปรุง นั้น เป็ นการปรั บ ปรุง ให้โ ครงสร้า งดูแ ข็ ง แรงขึน้ เศรษฐกิจการค้าในสมัยก่อนนัน้ ค่อนข้างดี เนือ่ งจากเป็ นร้านผ้าที่ทงั้ ค้า ส่งและค้าปลีกภายในอ�ำเภอ เสนา โดยจะ มี เ รื อ ล่ อ งมาจากกรุง เทพเพื่ อ มาส่ ง ของ ที่นี้ โดยสินค้าส่วนใหญ่นนั้ มาจากส�ำเพ็ง โดยจะสัง่ ของทีเป็ นจ�ำนวนมากๆ เป็ นเรือนไม้ผสมคอนกรีต มีจำ� นวน 2 ชัน้ หลังคาเป็ นแบบเพิงหมาแหงนกลายเรือนมุงด้วยหลังคาสังกะสี เรือนหลังนีม้ ี ลักษณะพิเศษคือ มีชอ่ งลมระบายอากาศ ท�ำให้อากาศภายในถ่ายเทได้สะดวก ผนังบริเวณด้านสกัดจะไม่มชี อ่ งว่างระหว่างอาคาร บริเวณชัน้ 1 ด้านหลังเป็ น ผนังคอนกรีต แต่บริเวณด้านในเป็ นฝาผนังแบบไม้ตตี ามแนวนอน ประตูเป็ น แบบประตูลกู ฟั กบานเกร็ดเปิ ดตลอดช่วงเสา บันไดจะอยูบ่ ริเวณส่วนหน้าของ เรือน ถัดเขาไปคือบริเวณด้านหน้าจะมีหอ้ งโถงขนาดใหญ่ ซึ่งเป็ นส่วนค้าขาย และสอนตัดเย็บ ประตูเป็ นบานเฟี้ ยมไม้เปิ ดตลอดช่วงเสา บริเวณด้านหน้าของ ชัน้ 2 ฝาผนังเป็ นไม้ตตี ามแนวนอน มีกนั สาดขนาดใหญ่ยื่นออกมา มีระเบียง ยื่นออกมา บริเวณระเบียงชัน้ บนมีลกู กรงเป็ นแบบไม้ตไี ขว้สลับตรง

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


25

เรือนหลังนีม้ รี ะบบช่องลม ระบายอากาศอยูบ่ ริเวณเหนือหลังคา เนือ่ งจากตัวอาคารเป็ นเรือนเเถวยาว จึงท�ำให้ไม่มหี น้าต่างจึงเกิดช่องลมเหนือ หลังคาช่องลมเเบบนีส้ ามรถพบได้ใน เรือนร้านค้า เเถบบริเวณภาคกลาง ลักษณะ ของช่องลม นัน้ เป็ นท่อเเล้วบริเวณด้าน บนจะมีปล่อง ช่องลมระบายอากาศอยู่ บริเวณด้านล่างจะมีตะเเกรงกัน้ เพื่อไม่ให้ นกเข้ามาภายในได้เเละจะมีเเผงไม้ปิดอีก ทีหนึง่ เพื่อป้องกันฝนหรือเวลามีลมเเรง ระบบระบายอากาศจึงถือเป็ นภูมปิ ั ญญา ของเรือน

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


26

เรือนพื้นถิ่นที่ได้เเต่ละท้องที่ ย่อมมีความเเตกต่างกันออกไปขึน้ อยูก่ บั สภาพภูมอิ ากาศ วัสดุที่สามารถหาได้ ความเชือ่ วัฒนธรรมเเละ ขนบธรรมเนียมประเพณี เรือนค้าขายและตลาดพื้นถิ่น หากเป็ นร้านค้าและ ตลาดที่มอี ายุการสร้าง ตัง้ แต่ 30 ปี ขึน้ ไปยังพบเรือนแถวไม้ชนั้ เดียวและสอง ชัน้ บางแห่งเป็ นเรือนแถวสร้างขนาบทางเดินกลาง ซึ่ง มีหลังคาคลุมทางเดิน ยกสูงขึน้ เหนือระดับหลังคาห้องแถว ลักษณะของห้องแถวไม้แบบนี้ เห็นได้ชดั ว่าชัน้ บนใช้พกั อาศัย เพราะส่วนใหญ่มรี ะเบียงพักผ่อนยื่นออกมาด้านหน้า ของตัวเรือนหากเป็ นเรือแถวชัน้ เดียวมักจะมีความลึกของห้องมาก เพราะด้าน หน้าใช้คา้ ขาย ด้านหลังใช้พกั อาศัยชัน้ ล่างนิยมเปิ ดเป็ นบานเฟี้ ยม ไม้ซึ่งเปิ ดได้ ตลอดช่วงเสา เรือนค้าขายนีบ้ างแห่งมีองค์ประกอบตกแต่งที่ประณีตบรรจง เช่น ช่องลมฉลุลาย และระเบียบมีลวดลายตกแต่ง สําหรับตัวตลาดสดจะเป็ น โครสร้างไม้หลังคามุงสังกะสี

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


27

หรื อ กระเบื้ อ งและเปิ ดโล่ ง สภาพของเรื อ นค้า ขายผัน แปรไปตามช่ว งเวลา การสร้างบางแห่งเมื่อเรื อนเก่าผุพังลงก็ สร้างเรื อนไม้ขึ้นมาใหม่ซึ่งรูปแบบ เปลีย่ นแปลงไปแต่บางแห่งปรับเปลีย่ นเป็ นตึกแถว พร้อมเปลีย่ นตําแหน่งมา สร้างริมถนนตัดใหม่เเนวโน้มในอนาคตของการคาดการณ์ในการคงอยู่ของ เรือนแถวค้าขายและตลาดพื้นถิ่นจะมี คงอยูไ่ ด้ใน 2 กรณี คือ กรณีแรก ใน พื้นที่ที่อยู่อาศัยและผูค้ รอบครองมีพลังในการรวมตัวเพื่อเก็ บรักษามรดก วัฒนธรรม ท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่รบั ผิดชอบตระหนักในคุณค่าของ ตลาดเรือนค้าขายพื้นถิ่นที่ตนรับผิดชอบ กรณีที่สอง คือพื้นที่ที่แหล่งที่ตงั้ และ สินค้าที่ขายในตลาดมีความโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่สามารถหาซื้อ ได้ในตลาดอื่น ๆ หรือศูนย์การค้าสมัยใหม่(อ้างอิงจาก อรศิริ ปาณินท์ และ คณะ (2544)

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


28

เรือนพื้นถิ่นในปั จจุบนั นัน้ บาง เเห่งบางที่ยงั คงอยูเ่ นือ่ งจาก มีการสืบทอด หรืออนุรกั ษ์ตอ่ จากรุ่นลูกหรือรุ่นหลาน ซึ่ง มีคณ ุ ค่าทางจิตใจที่บรรพบุรษุ ได้สร้างมา ด้วยน�ำ้ พักน�ำ้ เเรงของท่านเอง เเละมีเรือน พื้ น ถิ่ น บางเเห่ ง ได้ถ กู ทิ้ ง ร้า งไปเนื่ อ งจาก วั ส ดุปั จ จุบั น ซึ่ ง เป็ นไม้ไ ด้มีก ารหายากขึ้น จึงได้คิดที่จะรื้อสร้างเป็ นอาคารคอนกรีต ถาวรเเทนหรื อ ไม่ก็ ป ล่อ ยให้ถ กู ทิ้ ง ร้า งไป โดยไม่มี ใ ครมาดูเ เลหรื อ มาซ่ อ มเเซ่ ม ให้ดี ดั้ง เดิม หรื อ บางเเห่ ง ไม่มีง บที่ จ ะซ่ อ มเเซ่ ม จึงปล่อยให้ทิ้งร้างไป เรือนพื้นถิ่น คือ สถาปั ต ยกรรมที่ ค วรค่ า เเกการรั ก ษาไว้ เป็ นมรดกของชาติ เ นื่อ งจากสามารถบ่ ง บอกถึงอัตลักษณ์ วัฒนธรรมท้องถิ่นนัน้ ไว้ เป็ นวัตถุที่สามารถเเห่งได้ทางกายภาพจึง ควรค่าเเกการรักษาดูเเลให้เป็ นสมบัติของ ประเทศชาติ สืบต่อไป

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


29

เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา



เที่ยวชมเรือนโบราณย่านการค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา © 2015 (พ.ศ. 2558) โดย จอมพล ขันธวรรณา สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครัง้ แรกเมือ่ ตุลาคม พ.ศ. 2558 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียบเรียงและออกแบบโดย จอมพล ขันธวรรณา ออกแบบโดยใช้ฟอนท์ JasmineUPC หนังสือเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริม และต่อยอดศักยภาพ การศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.