ใช้รูปหน้าปก
วันที่ 28 พฤษภาคม 2555 สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ดร.จรัลธาดา กรรณสูต ที่ปรึกษาสำนักราชเลขาธิการ นำคณะทำงานรวบรวม องค์ ค วามรู้ ไ หมไทย เข้ า เฝ้ า ฯ เพื่ อ ทู ล เกล้ า ฯ ถวาย หนั ง สื อ ชุ ด “ไหมไทย...สายใยของแผ่ น ดิ น ” และ ผ้าไหมมัดหมี่ ที่ออกแบบลวดลายใหม่
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
3
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก หน่วยงานจัดพิมพ์ : มูลนิธิส่งเสริมศิลปชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พิมพ์ครั้งที่ : 1 พิมพ์ที่ : บริษัท แปลน สารา จำกัด จำนวนพิมพ์ : 1,000 เล่ม ข้อมูลทางบรรณานุกรม มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก กรุงเทพฯ : แปลน สารา จำกัด, 2556. 144 หน้า. -- (มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก) 1.ต้นแบบ. 2.การทอผ้า 3.การย้อมสี I.ชื่อเรื่อง XXX.XXX ISBN
เป็นบุญของไทยแล้ว มรดกของชาติเนิ่นนานมา ทรงสร้างคนสร้างงานเพื่อสร้างชาติ เสด็จด้าวต่างแดน ณ คราใด ทรงเป็นแม่โปรดชี้แนะทุกแนวทาง ทรงแนะนำศิลปกรรมล้ำฝีมือ ด้วยพระบารมีพระปรีชาที่ล้ำล้น ความภักดีที่ท่วมท้นล้นหัวใจ รวมช่วยกันทอมือไหมมัดหมี่ ด้วยมาตรฐาน นกยูงทอง อย่างแยบคาย
ทูลกระหม่อมแก้วทรงส่งเสริมให้รักษา ทั้งพัฒนาฝีมือระบือไกล ให้องอาจสามารถสู้ใครได้ สร้างหนทางให้คนไทยได้ฝึกปรือ ทุกก้าวย่างลูกได้รับความนับถือ สร้างมาตรฐานความเชื่อถือให้ไหมไทย สุดคิดค้นคำถวายแทนใจได้ ขอถวายพระพรชัยด้วยแรงกาย ได้ถ้วนถี่ยี่สิบห้าลายตามเป้าหลาย น้อมถวายองค์ราชินีศรีชาติไทย
ดรุณี ศรีสนิท ๒๘ พฤษภาคม ๕๖
คำนำ
รูปท่านผู้หญิงฯ สวมชุดผ้ามัดหมี่
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานพระราชดำริให้รว บรวมองค์ความรู้ไหมไทยพื้นบ้านสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวกับไหมไทย โดยได้มอบหมายให้หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องในขณะนัน้ ดำเนินการคือ สถาบันหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ (สมมช.) สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ปัจจุบนั ยกฐานะ เป็นกรมหม่อนไหม) และศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) สนับสนุนการ จัดพิมพ์หนังสือชุด “ไหมไทย... สายใยของแผ่นดิน” ประกอบด้วยเนื้อหาสำคัญ ๓ ด้าน ได้แก่ พันธุไ์ หมไทยพืน้ บ้าน การย้อมสีธรรมชาติ และการออกแบบลวดลายมัดหมี่ โดย สมมช. ได้จดั ทำเป็น โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถเนื่องในโอกาสทรงเจริญ พระชนพรรษา ๗๒ พรรษา 12 สิงหาคม 2548 วันที่ 29 พฤษภาคม 2555 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะทำงานโครงการฯ เข้าเฝ้าเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายหนังสือทั้ง 3 เล่ม พร้ อ มด้ ว ยผ้ า ไหมมั ด หมี่ ที่ อ อกแบบลวดลายใหม่ โดยประยุ ก ต์ จ ากลวดลายดั้ ง เดิ ม ที่ ยั ง คง อนุ รั ก ษ์ ค วามเป็ น ไทยอยู่ ค รบถ้ ว น แต่ ง่ า ยในการปฏิ บั ติ ข องเกษตรกร โอกาสนี้ ได้ ท รงมี พระราชวิ นิ ฉั ย ผ้ า ไหมมั ด หมี่ ล ายใหม่ ที่ ค ณะทำงานได้ ทู ล เกล้ า ฯ ถวายจำนวนทั้ ง สิ้ น 59 ผืน และทรงพระกรุณาคัดเลือกไว้จำนวน 25 ผืน ที่มีลวดลายสีสันสวยงามต่างกัน การนี้ มู ล นิ ธิ ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ ในสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ เห็ น สมควร จั ด ทอขึ้ น มาใหม่ ต ามมาตรฐานผลิ ต ภั ณฑ์ ผ้ า ไหมไทยตรานกยู ง พระราชทาน ชนิ ด สี ท อง โดยย้อมด้วยสีธรรมชาติพร้อมทั้งจัดพิมพ์เป็นหนังสือและทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงใช้สอย ตามพระราชอัธยาศัย ซึ่งการดำเนินงานครั้งนี้ บริษัทอเนก กรุ๊ป จำกัด ได้รับพระราชทาน พระราชานุญาตให้เป็นผู้สนับสนุนการผลิต ในนามของมูลนิธสิ ง่ เสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ขอขอบคุณคณะผู้ผลิตผ้าไหมซึ่งประกอบด้วย ผู้ออกแบบสี ผู้มัดหมี่ ผู้ย้อมสี ผู้ทอผ้า และ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ๆ ท่ า นในกระบวนการผลิ ต ผ้ า ไหม รวมทั้ ง คณะทำงานและผู้ ส นั บ สนุ น การดำเนินงานครั้งนี้
ท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ ๘๘ ๘๘๘๘๘๘ รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
6
วันที่ 28 พฤษภาคม 2555 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายจรัลธาดา กรรรณสูต ที่ปรึกษาสำนักราชเลขาธิการ นำคณะทำงานรวบรวมองค์ความรู้ไหมไทย เข้าเผ้าเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายหนังสือ ชุด “ไหมไทย...สายใยของแผ่นดิน” และผ้าไหมมัดหมี่ ที่ออกแบบลวดลายใหม่
ความเป็นมา
หนังสือชุด “ไหมไทย..สายใยของแผ่นดิน” นี้ เป็นการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับไหมไทย ไว้ทงั้ 3 ด้าน ตามพระราชดำริในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทีใ่ ห้มกี ารอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญา ศิลปะ และวัฒนธรรมดัง้ เดิมของไหมไทยไว้ ซึง่ ประกอบด้วย พันธุไ์ หมไทยพืน้ บ้าน การย้อมสีเส้นไหมไทยพืน้ บ้าน และนวัตกรรมลวดลายบนผืนผ้าไหม โดยจัดพิมพ์เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 75 พรรษา 12 สิงหาคม 2550 จำนวน 3,000 ชุด พร้อมทัง้ ได้ทอผ้าไหมมัดหมีท่ อี่ อกแบบลายใหม่ จำนวน 59 ผืน เมือ่ คณะทำงานได้นำขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวาย พระองค์ท่านทรงมีพระราชวินิจฉัยผ้าไหมไทยทุกผืน และทรงเลือกไว้ 25 ผืน
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
7
แต่เนื่องจากผ้าไหมดังกล่าวย้อมด้วยสีเคมี และมีความยาวแต่ละผืนเพียง 4 เมตร ดังนั้นท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ เห็นสมควร ให้ทอผ้าขึ้นมาใหม่ มีความยาวไม่น้อยกว่า 10 เมตร โดยใช้เส้นไหมพันธ์ไทยพื้นบ้าน ย้อมด้วยสีธรรมชาติ ผลิตตามมาตรฐานตรานกยูงสีทอง และได้มอบหมายให้ประธานคณะทำงาน (นายประทีป มีศิลป์) และนายเผ่าทอง ทองเจือ ดำเนินการด้วยงบประมาณของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงใช้สอยตามพระราชอัธยาศัย
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
8
ต่อมาคณะทำงานได้ร่วมหารือและจัดทำเป็นโครงการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555 โดยกำหนดรูปแบบแนวทาง การดำเนินงาน และพิจารณาคัดเลือกเกษตรกรที่มีฝีมือดีทั้งในด้านการออกแบบสี การมัดหมี่ การย้อมสี และทอ อาศั ย หลั ก เกณฑ์ จ ากผู้ ที่ เคยได้ รั บ รางวั ล การประกวด หรื อ ผู้ ที่ มี ฝี มื อ และประสบการณ์ และให้กระจายพื้นที่มากที่สุด เพื่อให้เกษตรกรได้มีส่วนร่วมในการเทิดพระเกียรติฯ ครั้งนี้ด้วย ซึ่งจากการ พิจารณากำหนดผู้ทอในพื้นที่กระจายอยู่ใน 10 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีษะเกษ ขอนแก่น อำนาจเจริญ เลย กำแพงเพชร พิษณุโลก ชัยภูมิ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
9
สารบัญ พระราชกรณียกิจ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ การทอผ้า ที่มาของลวดลาย มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก มัจฉาระเริงชล (ลายที่ ๓๙ หน้า ๑๑๒) นาคระเริงชล (ลายที่ ๑ หน้า ๓๔) ร้อยฤทัย (ลายที่ ๔ หน้า ๔๐) ร้อยดวงใจ (ลายที่ ๒๓ หน้า ๗๘) ร่างแหคู่ (ลายที่ ๒๔ หน้า ๘๐)* เด่นดาว ดาวเด่น (ลายที่ ๑๗ หน้า ๖๖) คู่โคมเก้า (ลายที่ ๒๘ หน้า ๘๘)* เครือสาย (ลายที่ ๓๒ หน้า ๙๖) นาคคู่ ร้อยรัก (ลายที่ ๒๒ หน้า ๗๖) ดุจดาว (ลายที่ ๑๗ หน้า ๖๖) พฤกษา พรรณราย (ลายที่ ๒๑ หน้า ๗๔) โคมส่องแสง แมกไม้ (ลายที่ ๑๙ หน้า ๗๐) สร้อยระย้า (ลายที่ ๑๖ หน้า ๖๔) นพเก้า (ลายที่ ๑๐ หน้า ๕๒) โคมโอบหน่วย รวงผึ้ง (ลายที่ ๒๗ หน้า ๘๖) นิจนิรันดร์ (ลายที่ ๓๑ หน้า ๙๔) ล้อมเพ็ชร
เริงร่าขาเปีย เปียหรรษา เปรมเปีย
(ลายที่ ๑๗ หน้า ๖๖) (ลายที่ ๒๔ หน้า ๘๐)* (ลายที่ ๒๘ หน้า ๘๘)*
สารบัญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
12
พระราชกรณียกิจ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ความผู ก พั น สนพระทั ย ใช้ ผ้ า ไหมมั ด หมี่ ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถนั้น ปรากฏให้ชาวไทยเห็นนับตั้งแต่ทรงดำรงฐานะ เป็น“พระคู่หมั้น” เป็นต้นมา ผู้ ที่ ติ ด ตามข่ า ว “พระคู่ ห มั้ น ”ทางหน้ า หนังสือพิมพ์จะได้เห็น “พระคู่หมั้น” นุ่งซิ่นมัดหมี่ ในการรับเสด็จพระราชดำเนินอยู่เสมอ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
13
สื บ ต่ อ ม า ใ น ปี พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๔ ๙ ๘ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงเริ่ ม เสด็ จ ฯ ออกไปทรงเยี่ ย มเยี ย นราษฎรในท้ อ งที่ ช นบท เริม่ ครัง้ แรกทีจ่ งั หวัดต่างๆ ในภาคอีสาน โดยเสด็จฯ จังหวัดนครราชสีมาก่อน แล้วเสด็จฯ ต่อไปยัง จังหวัดชัยภูมิ ขอนแก่น เลย อุดรธานี หนองคาย สกลนคร นครพนม กาฬสิ น ธุ์ มหาสารคาม ร้ อ ยเอ็ ด อุ บ ลราชธานี ศรี ส ะเกษ สุ ริ น ทร์ และบุรีรัมย์ รวมเวลาทั้งสิ้น ๑๙ วัน ซึ่งสมเด็จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นีน าถได้ โ ดยเสด็ จ พระราชดำเนินโดยตลอด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
14
ในวโรกาสนั้น ได้ทอดพระเนตรเห็นหญิง ชาวบ้ า นนุ่ ง ซิ่ น ไหมมั ด หมี่ ม ารั บ เสด็ จ ทุ ก พื้ น ที่ ท ร ง พ อ พ ร ะ ร า ช ห ฤ ทั ย ใ น ค ว า ม ง า ม ข อ ง ผ้ า ไหมมั ด หมี่ ต่ า งสี ต่ า งลายที่ ไ ด้ ม ารวมอยู่ ด้วยกันจำนวนมาก ตั้งแต่ครั้งนั้น
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
15
ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๓ เกิ ด อุ ท กภั ย ใน จั ง หวั ด นครพนม เนื่ อ งจากน้ ำ หลากล้ น แม่ น้ ำ ศรีสงคราม ทั้ง ๒ ฝั่ง ทำให้นาข้าวเสียหายล่มจม ภายหลังน้ำลดลงแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรที่ประสบภัย เพื่อพระราชทานสิ่งของ เครื่องอุปโภคบริโภค บรรเทาความเดือดร้อน ในขณะนัน้ พืน้ ทีท่ เี่ สด็จฯ เยีย่ มยังมีนำ้ แฉะๆ อยู่ บ้ า ง ราษฎร ล้ ว นนุ่ ง ซิ่ น ไหมมั ด หมี่ แ ละ นั่งรับเสด็จอยู่บนพื้นที่แฉะน้ำนั่นเอง แม้กระนั้น ค ว า ม ง า ม ข อ ง ผ้ า ไ ห ม มั ด ห มี่ ก็ เ ป็ น ที่ ส บ อัธยาศัยยิ่ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
16
ในการเสด็ จ ฯ เยี่ ย มเพื่ อ พระราชทาน สิ่ ง ของครั้ ง นี้ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มีพระราชปรารภว่า การแจกของแก่ผู้ประสบภัย จะเปรี ย บก็ เ สมื อ นโยนก้ อ นหิ น เล็ ก ๆ ลงแม่ น้ ำ สักเท่าใดจึงจะเพียงพอให้เขาได้อยู่รอด น่าจะหา อะไรให้ เ ขาทำเพื่ อ มี ร ายได้ ส ม่ ำ เสมอต่ อ ไป สมเด็จฯ จึงตระหนักในพระราชหฤทัยทันทีว่า คนเหล่านี้แม้ท่าทางจะยากจนแต่ก็ใส่ผ้ามัดหมี่ กันหมด จึงควรจะส่งเสริมให้ทำงานฝีมือที่เขา คุน้ เคย คือ การทอผ้าไหมมัดหมีไ่ ว้เป็นอาชีพเสริม เพือ่ เพิม่ รายได้แก่ครอบครัวในยามเกิดภัยแห้งแล้ง หรือน้ำท่วมนาล่มทำนาไม่ได้ผล
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
17
การส่งเสริมการทอผ้าไหมมัดหมี่ ในภาคอีสานนี้ชาวบ้านทำกันได้โดยไม่ต้องมีครู ไปสอนไปให้การอบรมเลย เนื่องจากเขาทำกันอยู่เป็นประจำ สืบทอด กั น มาแต่ ปู่ ย่ า ตายาย ทุ ก ครั ว เรื อ นจะรู้ จั ก ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม ทอผ้าไหมใช้กันเองสวมใส ใ่ นวันสำคัญ เช่น ไปวัด ไปงานแต่งลูกหลานทอให้ ลูกสาวในวันแต่งงาน เป็นต้น หากทรงส่งเสริม และสนับสนุนการใช้ให้เขาทอได้มากขึ้นจนพอ นำออกขายเป็น รายได้ ก็จะตรงกับพระราชปรารภ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
18
ใ น ค รั้ ง นั้ น ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า ฯ พระบรมราชิ นีน าถมี ก ระแสพระราชดำรั ส ชม ชาวบ้านทีม่ าเฝ้าฯ ว่า ผ้าสวยเขาก็กราบบังคมทูล ซื่ อ ๆ ว่ า ผ้ า ของคนจนใส่ นี่ ส วย ก็ รั บ สั่ ง ว่ า “ชอบจริ ง ๆ ถ้ า จะให้ ท ำให้ จ ะได้ ไ หม”ได้ รั บ คำ กราบบั ง คมทู ล ตอบว่ า “จะใส่ ห รื อ เปล่ า จ๊ ะ ถ้ า ใส่ จ ริ ง ฉั น ก็ จ ะทำให้ ” จึ ง รั บ สั่ ง ว่ า “ใส่ ซิ จ๊ ะ ” ที่ น ครพนมนี้ เ อง เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการ ผ้ า ไ ห ม มั ด ห มี่ ใ น ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
19
เริ่มแรกนั้นชาวบ้านไม่ยอมขาย เนื่องจาก อายว่าเป็นผ้าของคนบ้านนอก ไม่สวย ไม่งาม ราชเลขานุ ก ารฯ ต้ อ งชี้ แ จงพระราชประสงค์ อยู่นานจึงเข้าใจ เริ่มต้นนั้นให้ราคาถุงละ ๕๐๐ บาท ซึ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ บ้ า นเมื อ งแต่ ล ะจั ง หวั ด ผู้ ใ ห้ ความร่ ว มมื อ ในการนำทางบอกว่ า ราคาที่ ใ ห้ สูงเกินไป แต่สมเด็จฯ ก็รับสั่งให้ราคาเขาให้คุ้ม ค่าแรง และขอให้ถือว่า เป็นการให้เหมือนกับ “แม่ให้ลูก” ราคานี้จึงอาจสูงกว่าราคาที่แท้จริง ของผ้ า อยู่ บ้ า ง อี ก ประการหนึ่ ง การที่ ค ณะ ราชเลขานุ ก ารฯออกไปรั บ ซื้ อ ถึ ง บ้ า นก็ เ ท่ า กั บ ไม่ต้องผ่านคนกลาง ชาวบ้านจึงได้รับเงินเต็มเม็ด เต็มหน่วย
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
20
สมเด็จ ฯ มีพระราชดำริว่าการที่คนเรา ได้ อ ยู่ ดี กิ น ดี เมื่ อ มี ลู ก ลู ก ก็ จ ะเกิ ด มาเป็ น เด็ ก สมบูรณ์มีร่างกายแข็งแรง มีสมองดี มีสายตาดี หากแม่ไม่สมบูรณ์เสียแล้วลูกที่เกิดมาก็จะด้อย คุ ณ ภาพจึ ง ควรจะส่ ง เสริ ม ให้ ทุ ก คนได้ เ ป็ น คน มี คุ ณ ภาพเพื่ อ ไม่ ใ ห้ ค นไทยที่ จ ะเกิ ด ต่ อ ๆ ไปต้ อ งเป็ น คนด้ อ ยคุ ณ ภาพลงเรื่ อ ยๆ ฉะนั้ น เมื่ อ จั ด หางานให้ ค นทำก็ ต้ อ งให้ ค่ า แรงเขาให้ เหมาะสม ต้องรักษาผู้มีฝีมือไว้
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
21
หมู่ บ้ า นที่ เ สด็ จ ฯ ไปทรงช่ ว ยเหลื อ นั้ น ส่วนใหญ่เป็นหมู่บ้านที่ราษฎรยากจนอยู่ในถิ่น ทุรกันดารและยิ่งยากจนหนักขึ้น เมื่ออยู่ในเขต ผูก้ อ่ การร้าย เมือ่ สมเด็จฯ เสด็จฯ ไปถึงทรงส่งเสริม ให้ประกอบอาชีพ มีรายได้ดีขึ้น ราษฎรที่เคย อดอยากยากแค้ น ก็ มี ค วามสุ ข ขึ้ น เป็ น ผู้ มี ก าร ทำมาหากินเลีย้ งครอบครัวให้อยูดกี นิ ดี รักถิน่ ฐาน บ้ า นช่ อ งของตน ไม่ คิ ด จะละทิ้ ง ไปหางานทำ ในเมื อ ง ซึ่ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ต่อไป
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
22
ส่วนใหญ่ตามบ้านที่สมเด็จฯ เสด็จฯ เยี่ยม ถ้ า แม่ บ้ า นบ่ น เรื่ อ งความยากจนก็ จ ะรั บ สั่ง ว่ า “ทอผ้าซีจ๊ะ ส่งผ้ามาจะรับซื้อ จะได้มีเงินส่งให้ ลูกเรียนหนังสือ” สมเด็จ ฯ ต้องพระราชประสงค์ ที่จะให้ราษฎรมีการศึกษาสูงขึ้น เพื่อจะได้เป็น คนที่ มี คุ ณ ภาพขึ้ น และจะได้ มี โ อกาสทำมาหา รายได้ ที่ ดี ขึ้ น ด้ ว ย ชาวบ้ า นที่ ไ ด้ รั บ รายได้ จากการทอผ้าต่างซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณยิ่ง ท่ า นอาจารย์ เ ทศก วั ด หิ น หมากเป้ ง จั ง หวั ด หนองคาย เคยเล่าถวายว่า ชาวบ้านที่มาทำบุญ ที่วัดบอกหลวงปู่ว่า เดี๋ยวนี้เขามีความสุขความ สบายขึ้น เพราะศิลปาชีพของพระราชินีช่วยเขา
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
23
สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงชักชวนให้ ชาวบ้ า นเริ่ ม ทอผ้ า ไหมมั ด หมี่ นั บ ตั้ ง แต่ วั น นั้ น และมี พ ระราชกระแสกั บ ชาวบ้ า นว่ า จะทรงใช้ ผ้าที่พวกเขาทอด้วยพระองค์เอง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
24
ต่ อ จากนั้ น ได้ โ ปรดฯ ให้ ท่ า นผู้ ห ญิ ง สุประภาดา เกษมสันต์ ราชเลขานุการในพระองค์ สมเด็ จ พระบรมราชิ นี และคณะออกไปรั บ ซื้ อ ผ้ า ไ ห ม แ ล ะ ไ ห ม มั ด ห มี่ จ า ก ช า ว บ้ า น โ ด ย เริ่ ม ต้ น ที่ จ.นครพนม โครงการนี้ ไ ด้ เ ริ่ ม ดำเนิ น การอย่ า งจริ ง จั ง และต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ปลายปี พ.ศ.๒๕๑๕ เป็นต้นมา
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
25
ราชเลขานุ ก ารในพระองค์ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ต าม พระราชนโยบาย คือรับซื้อผ้าไหมทุกระดับฝีมือ และให้ ร าคาที่ ช าวบ้ า นพอใจเพื่ อ ให้ ช าวบ้ า น มีกำลังใจที่จะทอผ้าไหมต่อไป เมื่อได้มาแล้วก็จะ นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ทอดพระเนตร
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
26
สมเด็จพระบรมราชินีนาถจะทอดพระเนตร ผ้ า เหล่ า นี้ ทุ ก ผื น ทรงติ ช มและพระราชทาน คำแนะนำต่างๆ ให้ราชเลขานุการนำไปแจ้งแก่ ชาวบ้ า นจนผ้ า ไหมมั ด หมี่ ค่ อ ยๆ มี คุ ณ ภาพ ดีขึ้นและสวยงาม เป็นที่ยอมรับของประชาชน ทั่วไป มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
27
ใ น เ ว ล า ต่ อ ม า เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร เ ส ด็ จ ฯ เยี่ยมราษฎรสามารถใช้ระยะเวลายาวนานและ ทัว่ ถึงยิง่ ขึน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จึงโปรดฯ ให้สร้างพระราชนิเวศน์เพิ่มเติมไว้ตามภาคต่างๆ ที่ยังไม่มีพระราชนิเวศน์ เพื่อให้เป็นศูนย์กลาง ในการเยี่ยมเยียนราษฎรในภูมิภาคนั้นๆ
ทรงใช้ พ ระตำหนั ก ภู พิ ง คราชนิ เ วศน์ จ.เชี ย งใหม่ เป็ น ศู น ย์ ก ลางของภาคเหนื อ พระตำหนั ก ภู พ านราชนิ เ วศน์ จ.สกลนคร เป็นศูนย์กลางภาคอีสาน พระราชวังไกลกังวล จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของ ภาคใต้ตอนบน และพระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ เป็นศูนย์กลางของภาคใต้ตอนล่าง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
28
มี พ ระตำหนั ก จิ ต รลดารโหฐานเป็ น ศู น ย์ ก ลางของภาคกลางนอกจากนั้ น ยั ง มี พระราชวั ง บางปะอิ น จ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และที่ ป ระทั บ แรมชั่ ว คราวอื่ น ๆ ตามที่ จ ะ ทรงพิจารณาความเหมาะสมอีกด้วย
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
29
เมื่ อ มี พ ระราชนิ เ วศฯ อยู่ ทุ ก ภู มิ ภ าค เช่ น นี้ การเสด็ จ ฯ เยี่ ย มราษฎรก็ ส ะดวกและ รวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถ ทรงมี เ วลา ประทับอยู่กับราษฎร แต่ละท้องถิ่นนานกว่าเดิม เป็นอันมาก ขบวนเสด็จฯ เยี่ยมราษฎรจะออก ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ตั้ ง แต่ ต อนสายๆ และกลั บ ถึ ง พระตำหนักในเวลาเย็นย่ำค่ำมืด บางวันก็ถึงดึก มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
30
ขาดรูป
มิวา่ สมเด็จพระบรมราชินนี าถ จะเสด็จฯ ไปที่ ใดจะทรงศึกษาสภาพภูมปิ ระเทศชีวติ ความเป็นอยู่ ของราษฎร ทรัพยากรและปัจจัยต่างๆ ในท้องถิ่น อั น จะเอื้ อ อำนวยให้ ท รงคิ ด ค้ น หาอาชี พ เสริ ม ที่ เหมาะสมให้แก่ราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ อยู่เสมอ มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
31
แต่เดิมมา ประชาชนเข้าใจว่าผ้าไหมมัดหมี่ เหมาะสมสำหรั บ ผู้ สู ง อายุ เ ท่ า นั้ น สมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถทรงเปลี่ ย นแนวคิ ด นี้ ไ ด้ โดยทรงนำไปตัดเป็นฉลองพระองค์แบบต่างๆ สำหรับหลายโอกาสซึ่งล้วนงดงามน่าชม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
32
ทั้ ง ยั ง โปรดฯให้ ข้ า ราชการบริ พ ารใช้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฝี มื อ คนไทยด้ ว ย ในโอกาสที่ มี ผู้ ค น เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทมากๆ เช่นในวันเฉลิม พระชนมพรรษา ก็โปรดฯ ให้ออกร้านจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ศิลปาชีพแทบทุกชนิด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
33
ต่ อ มา สมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถก็ ท รง คำนึงกว้างไกลไปถึงตลาดต่างประเทศ ทรงเชิญ นักออกแบบผู้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของชาวโลก เช่ น นายปิ แ อร์ บาลแมง มาชมการแสดง แบบเสื้อผ้าไหมมัดหมี่ที่สวนจิตรลดาในวโรกาส วั น เฉลิ ม พระชนมพรรษาที่ ๑๒ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๒๑ ซึ่งนายบาลแมงได้ซื้อผ้าไหมมัดหมี่ ไปมากมาย และ ในเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๒๒ นายบาลแมงได้กลับมาจัดแสดงเสือ้ ผ้าไหมมัดหมี่ ในประเทศไทย อวดความสวยงามของผลิตภัณฑ์ ไทยที่ เ ขาเป็ น ผู้ อ อกแบบให้ ช าวไทยได้ ชื่ น ชม ซึ่งก็ได้รับความสนใจอย่างท่วมท้น
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
34
นอกจากข้าราชบริพารและคนไทยทั่วไป จะเสด็จพระราชนิยมใช้ ผ้ามัดหมี่แล้ว ในเดือน ธั น ว า ค ม ๒ ๕ ๒ ๑ ช า ว ญี่ ปุ่ น ชื่ อ น า ง Takako Kanomi เห็ น ว่ า ผ้ า ไหมมั ด หมี่ เหมาะสำหรั บ ทำเป็ น กิ โ มโนของญี่ ปุ่ น จึ ง นำ ผ้าไหมชิ้นที่พอใจไปตัดกิโมโนใช้
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
35
ต่ อ มาทางประเทศญี่ ปุ่ น กราบบั ง คมทู ล เชิ ญ เสด็ จ พระราชดำเนิ น ก็ ท รงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ รับเชิญ เสด็จเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๒๔ โดยมีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลั ย ลั ก ษณ์ อั ค รราชกุ ม ารี โดยเสด็ จ ฯ อี ก ทั้ ง โปรดเกล้าฯ ให้จัดนิทรรศการผ้าไหมมัดหมี่ มีการ จำหน่ายและแสดงแบบเสื้อด้วยได้รับผลสำเร็จ อย่างดี มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
36
ผ้ า ไหมมั ด หมี่ ข องไทย ได้ มี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ รู็ จั ก แพร่ ห ลายออกไปทั่ ว โลก ก็ เ นื่ อ งด้ ว ย พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ในสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ได้ทรงชักชวนให้ชาวบ้าน ในภาคอีสานริเริ่มทอผ้าไหมมัดหมี่มานานกว่า ๕๐ ปี อีกทั้งผ้าทรงนำไปดัดชุดฉลองพระองค์ และเชิญชวนให้ข้าราชบริพารได้ใช้เป็นแบบอย่าง กั บ ทรงฉลองพระองค์ ทุ ก ครั้ ง ที่ เ สด็ จ เยื อ นต่ า ง ประเทศ ทำให้ผ้าไหมมัดหมี่ของไทย ได้รับการ อนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของชาติมาตราบ ทุกวันนี้ มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
37
การทอผ้า “ผ้า” เป็นประดิษฐกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ป้องกันร่างกาย จากสภาพภูมิอากาศและสิ่งที่ จะทำอันตรายต่อผิวหนัง และยังเป็นสิง่ ทีใ่ ช้ประดับร่างกายให้สวยงาม ซึง่ เกิดจากสีสนั อันสดใสทีค่ ดั สรร วัตถุดิบจากธรรมชาตินำมาแปรรูปเป็นเส้นใย และพัฒนาคุณภาพของเส้นใยให้เหมาะสมกับเทคนิค การทอ สร้างลวดลายบนผืนผ้าด้วยกระบวนการที่ซับซ้อน เช่นเส้นไหมต้องผ่านการต้มแยกกาวไหม ย้อมสี และถักทอ ที่ใช้เวลาในการเรียนรู้สั่งสมตามกรรมวิธีของการผลิตผ้ามัดหมี่ เพื่อให้ได้ผืนผ้าที่ ใช้ประโยชน์ได้ตามต้องการ ประวัติศาสตร์ของผ้ามีพัฒนาการควบคู่ไปกับประวัติศาสตร์มนุษยชาติ ดังปรากฏเห็นได้จาก ภาพเขียนสีบนผนังถ้ำและเพิงผา ตลอดจนเศษผ้าที่ติดอยู่บนเครื่องมือโลหะสำริด และชนชาติต่างๆ ก็ ไ ด้ เ รี ย นรู้ วิ ธี ก ารทอและสร้ า งลวดลายบนผื น ผ้ า ด้ ว ยวั ส ดุ ต่ า งๆ จากอิ น เดี ย และจี น มาตั้ ง แต่ สมั ย โบราณแล้ ว ศิ ล ปะการทอนี้ มี ก ารสื บ ทอดติ ด ต่ อ กั น มานานหลายศตวรรษจนได้ ก ลายเป็ น เอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ รวมทั้งชนชาติไทย - ลาว เมื่อกล่าวถึงผ้าทอพื้นเมืองของไทยแล้วจึง เท่ากับการกล่าวถึงแหล่งทอผ้าที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก จากจุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ไ ด้ รั บ พั ฒ นาการด้ า นเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ผ้ า และการสร้ า งสรรค์ รู ป แบบ เครือ่ งแต่งกายทีม่ คี วามซับซ้อนและตอบสนองการใช้สอยทีห่ ลากหลายมากขึน้ ผ้าในปัจจุบนั จึงมีบทบาท ในฐานะเครื่องหมายแสดงสถานภาพทางสังคม องค์กรทางสังคมและสิ่งสะท้อนรสนิยมของผู้สวมใส่ การทอผ้ า ในประเทศไทยเป็ น ศิ ล ปะแขนงหนึ่ ง ที่ ไ ด้ มี ก ารสื บ ทอดมาจากบรรพบุ รุ ษ จากรุ่นสู่รุ่นจวบจนปัจจุบัน โดยถักทอเส้นไหมยืนทำการขัดประสานกับเส้นไหมพุ่งเพื่อให้เป็นผืนผ้า ลวดลายต่างๆ ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่ากี่ การผลิตผ้าด้วยกี่แบบพื้นบ้านหรือกี่กระตุกมีกระบวนการ และหลักการปฏิบัติ ดังนี้ การทอผ้าด้วยกี่แบบพื้นบ้าน ลักษณะของกี่พื้นบ้านเป็นโครงไม้ แต่เดิมเป็นโครงไม้ไผ่ เป็นโครงสร้างแบบง่ายพอแข็งแรง ใช้งานได้ แต่ไม่คอ่ ยทนทานต่ออายุการใช้งานเป็นเวลานาน เพราะมอดมักจะเจาะกินไม้ไผ่ ทำให้โครงสร้าง ผุพังง่าย ต่อมาได้พัฒนาโครงสร้างขึ้นเป็นไม้เนื้อแข็ง เพื่อให้ใช้งานทนทานมากขึ้นการเก็บรักษา การขนย้ายได้สะดวก เหมาะสมต่อการใช้งานมากขึ้น การทอผ้าแบบกี่พื้นบ้าน จะยกตะกอขึ้นลงโดยใช้ไม้ยกเรียกว่าไม้คานหาบหูก (แทนลูกกลิ้ง) ขณะทอใช้เท้าเหยียบ “ม้าไม้” ให้ตะกอขึ้นลง ทำให้เกิดช่องว่างเพื่อสอดเส้นพุ่งวิ่งจากขวาไปซ้ายแล้ว เหยียบเท้าซ้ายกดตะกอลงแล้วกระทบฟืม และทำเช่นนี้จนได้ผืนผ้าและลวดลายที่ต้องการ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
38
การทอผ้าด้วยกี่กระตุก สำหรับกีก่ ระตุกโครงสร้างมักทำด้วยไม้เนือ้ แข็งหรือเหล็ก การทอจะยกตะกอขึน้ และดึงตะกอลง จะต้องประกอบด้วยชุดลูกกลิง้ หรือชุดคันยก ชุดเท้าเหยียบและชุดคันกด ขณะทีท่ อใช้เท้าเหยียบดึงตะกอ ลง ลูกกลิ้งจะดึงตะกอขึ้นและลง เพื่อให้ตะกอยกเส้นยืนขึ้นทำให้เกิดช่องว่าง จึงพุ่งกระสวยที่มีหลอด เส้นพุ่งอยู่ภายใน ทำสลับกันเช่นนี้จนได้ผืนผ้าและลวดลายตามต้องการ กระบวนการผลิตผ้าไหม การผลิตผ้าไหม หมายถึง การกำหนดโครงสร้างของเนื้อผ้าไหม และจัดสีสันให้ได้ตามรูปแบบ มีหลักสำคัญ ดังนี้ 1. เนื้อผ้าไหม เนื้อผ้าไหมมีหลายแบบ เช่น ผ้าหนา ผ้าบาง ผ้าเนื้อละเอียด ผ้าเนื้อหยาบและ ผ้าโปร่ง 2. การกำหนดสี สีของเนื้อผ้ามีหลายชนิด เช่น ผ้าสีริ้วทางยืน ริ้วทางพุ่ง เป็นตาสี่เหลี่ยมหรือผ้า ตาหมากรุก หรือผ้าลวดลายที่เกิดจากการมัดย้อมเส้นไหมก่อนนำมาทอ สำหรั บ กรรมวิ ธี ก ารเตรี ย มเส้ น ยื น และเส้ น พุ่ ง เช่ น เดี ย วกั บ กี่ แ บบพื้ น บ้ า น แต่ แ ตกต่ า งกั น ที่รูปแบบเครื่อง มือ และอุปกรณ์ที่ใช้บางอย่าง กระบวนการทอผ้าแบบกี่พื้นบ้าน มีกรรมวิธีการเตรียมเส้นไหม 2 ขั้นตอน คือ 1. การเตรียมเส้นยืน 2. การเตรียมเส้นพุ่ง การเตรียมเส้นยืน มีขั้นตอนการเตรียม 14 ขั้นตอน ดังนี้ 1. คัดเลือกขนาดของเส้นไหมที่จะนำใช้เป็นเส้นยืน 2. ต้มแยกกาวเส้นไหม การฟอกขาว และย้อมสีเส้นไหมยืน 3. ลงแป้งเส้นไหมยืน เพื่อป้องกันเส้นไหมแตก 4. กรอเส้นไหมยืนเข้าอักหรือเข้าหลอด 5. ค้นไหมเส้นยืน (เดินไหมยืน) 6. สอดเส้นไหมยืนใส่ในช่องฟืม (ฟันหวี) 7. หวีเส้นไหมยืนและม้วนเข้ากระดาน (ใบพัดม้วนไหม)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
39
8. ยกและคลายม้วนเส้นไหมยืนเข้าในกี่ 9. ผูกเส้นไหมยืนที่ไม้คำพัน (ไม้ม้วนผ้า) 10. กลับเส้นไหมยืนเพื่อเก็บตะกอล่าง 11. กลับเส้นไหมยืนเข้าที่เดิมเพื่อเก็บตะกอบน 12. ผูกโยงตะกอกับไม้คานหาบหูก (ลูกกลิ้ง) 13. ผูกโยงเท้าเหยียบ 14. เตรียมพร้อมสำหรับการทอ
การเตรียมเส้นไหมพุ่ง มีขั้นตอนการเตรียม 11 ขั้นตอน ดังนี้ 1. คัดเลือกเส้นไหมที่จะนำใช้เป็นพุ่ง 2. ต้มแยกกาวไหม ฟอกขาว และย้อมสีเส้นพุ่ง 3. กรอเส้นไหมเข้าอักหรือเข้าหลอดเพื่อนำไปค้นหมี่ (โยกหมี่) 4. ค้นเส้นไหมเพื่อมัดหมี่เท่าจำนวนลำหมี่ (ตามที่กำหนดเอาไว้ในลวดลาย) 5. นำปอยหมีเข้าหลักมัดหมี่ 6. แยกลำหมี่ให้เรียบร้อยและผูกมัดตามลวดลาย 7. ถอดปอยหมี่ออกจากหลักมัดหมี่ 8. นำปอยหมี่ไปย้อมสี แล้วนำไปใส่ในหลักมัดหมี่เหมือนเดิมเพื่อผึ่งให้แห้ง 9. มัดหมี่ตามลวดลายต้นแบบคือ มัด โอบ ย้อม ถม (ตามที่กำหนดสีสันเอาไว้) 10. กรอหมี่เข้าหลอดเล็กเพื่อนำไปทอ 11. เอาหลอดเข้ากระสวยและทอ กระบวนการงานมัดหมี่ตามลวดลายต้นแบบ คือ มัด โอบ ย้อม ถม วิธีการมัดหมี่บนเส้นพุ่ง ผ้ามัดหมี่เป็นศิลปะที่เกิดจากการสรรค์สร้างลวดลายบนเส้นไหม โดยการมัดไหมเส้นพุ่งให้เกิด เป็นลวดลายตามจินตนาการของผูอ้ อกแบบ ด้วยการใช้เชือกกล้วยหรือเชือกฟางมัด เพือ่ ไม่ให้สซี มึ เข้า ไปติดไหมที่ได้มัดและย้อมสีแล้ว การมัดลวดลายในไหมเส้นพุ่งนี้ เรียกว่า การมัดหมี่ที่ทำให้เกิดเป็นล วดลาย ซึ่งอาจวางเป็นลวดลายเดียว ลวดลายกลุ่มหรือเป็นแถวแล้วแต่ประเภทของผ้าทอนั้น และลาย เล็กๆ อืน่ เป็นลวดลายประกอบ ซึง่ ลายประกอบนัน้ อาจใช้เพียงลายเดียวหรือหลายลายก็ได้ การมัดหมี่
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
40
จะต้องมีขั้นตอนเรียงตามลำดับ ได้แก่ “มัด ย้อม โอบ ถม” ตัวอย่างลำดับขั้นตอนการมัดหมี่ มัด มัดเส้นไหมพื้นสีขาวตามลวดลายที่ออกแบบไว้ แล้วนำไปย้อมสีเหลือง (หรือจะย้อมด้วยสีอื่น ก็ได้ขึ้นอยู่กับการกำหนดสีของลวดลาย) ย้อม ย้อมเส้นไหมที่มัดหมี่แล้วด้วยสีเหลือง โอบ เป็ น การมั ด เส้ น ไหมที่ ย้ อ มสี เ หลื อ งไว้ แ ล้ ว เพื่ อ เก็ บ สี เ หลื อ งเอาไว้ ตามลวดลายที่ ก ำหนด แล้วย้อมทับด้วยสีแดงจะได้สีส้ม ถม เป็ น การโอบสี ส้ ม เพื่ อ เก็ บ สี ส้ ม เอาไว้ ต ามลวดลายที่ ก ำหนดแล้ ว ถมด้ ว ยสี น้ ำ เงิ น จะได้ สีมว่ งอมน้ำตาล หากย้อมทับสีเหลืองจะได้สีเขียว กรอหมี่เข้าหลอดเล็กเพื่อนำไปทอ เมื่อดำเนินการครบทั้ง 4 ขั้นตอนแล้ว (มัด ย้อม โอบ ถม) นำเข็ดหมี่มากรอเข้าหลอดไหมพุ่ง เพื่อทอเป็นผืนผ้าต่อไป
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
41
ที่มาขอลวดลาย
การออกแบบลวดลายเกิดจากการสร้างสรรค์ ส่วนใหญ่ได้อิทธิพลจากสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
จากคติตามความเชื่อในศาสนา เนือ่ งจากศาสนามีอทิ ธิพลต่อการดำรงชีพ ช่างมัดหมีจ่ งึ เกิดแรงบันดาลใจจากโครงสร้างศิลปกรรม เช่น อาคาร วิหาร ธรรมมาสน์ นำมาดัดแปลงเป็นลวดลายในงานมัดหมี่ (จัดอยู่ในลวยลายที่เกิดจาก การสร้างสรรค์) ตลอดจนความเชื่อที่เกี่ยวกับพญานาค (นาคชูสน) สิ่งเหล่านี้ที่นำมากล่าวไว้คือที่มา ของลวดลาย จากสิ่งแวดล้อม โดยส่วนใหญ่จะถอดรูปแบบมาจากสัตว์ทอี่ ยูใ่ กล้ตวั เช่น ช้าง ม้า นกยูง งูเหลือม แมงป่อง แมงมุม เป็นต้น จากพืช พืชเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีพของคนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ต่อสู้ดิ้นร้นเพื่อความอยู่รอด จึงรู้จักพืชนานาชนิด มีความคุ้นเคยกับพันธุ์พืชต่าง ๆ เป็นอย่างดี ที่มาของลวดลายจากพันธุ์ไม้ได้แก่ ลายหมากบก ลายดอกจัน ลายดอกพิกุล ลายดอกแก้ว ลายเม็ดแตง ลายดอกสร้อย และลายผักแว่น จากเครื่องมือเครื่องใช้เครื่องประดับ ได้แก่ ตะขอ ขาเปีย ขันหมาก คันไถ จี้เพชร กระจอน (ตุ้มหู) จากธรรมชาติ ได้แก่ ภูเขา แม่น้ำ คลื่นน้ำ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
42
ที่มาของลวดลายในงานมัดหมี่ การสร้างลวดลายจัดเป็นพรสวรรค์ของช่างมัดหมี่ มีพฒ ั นาการมาอย่างต่อเนือ่ งจากลวดลายดัง้ เดิม จากวั ฒ นธรรมของท้องถิ่น จากสิ่งแวดล้ อ ม โดยยึ ด หลั ก จากแม่ ล ายพื้ น ฐานนำมาประกอบเป็ น ลวดลายใหม่ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ ผ้ามัดหมี่ ผ้ามัดหมี่จัดแบ่งได้ออกเป็น ๒ ประเภท คือ “หมี่รวด” หมายถึงลวดลายที่ทอต่อเนื่องกันตลอดผืนผ้า “หมี่คั่น” หมายถึงลวดลายที่เกิดจากมัดหมี่ที่นำมาทอเป็นช่วง ๆ โดยทอสลับกับเส้นพุ่งที่ย้อมสีเดี่ยว หรือเส้นไหมที่นำมาตีเกลียวรวมกัน โดยอย่างต่อเนื่องกันตลอดผืนผ้า หมี่คั่นเมื่อทอเป็นผ้าสามารถบ่งบอกถึงชาติพันธุ์ในท้องถิ่นต่าง ๆ ได้ อย่างเช่น ลาวครั่ง ไทย-เขมร จากการศึกษาและสำรวจงานมัดหมี่ตามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย สามารถจัดกลุ่มลวดลาย พื้นฐานที่นำมาเป็นแม่ลายต้นแบบได้ ๗ ลายดังนี้ ลายหมี่ข้อ ลายหมี่หมากจับ ลายหมี่โคม ลายหมี่โคม ลายหมี่ดอกแก้ว ลายหมี่ขอ ลายหมี่ใบไผ่ ลายหมี่ข้อ (ลายตารางหน้าที่ ๒๒) “หมี่ข้อ” เป็นลวดลายที่เกิดขึ้นจากการมัดหมี่เส้นพุ่งให้เป็นแนวเส้นตรงตามแนวนอน หมี่ข้อมี ๒ แบบ “หมี่ข้อตรง” เป็นแม่ลายที่เกิดจากการสร้างสรรค์มัดบนลำหมี่โดยการสลับลำหมี่เป็น แนวเส้นตรงตามแนวนอน เพื่อความสวยงามของลวดลายบนผืนผ้า “หมี่ข้อหว่าน” เป็นแม่ลายที่เกิดจากการมัดบนลำหมี่ โดยการสลับลำหมี่เป็นแนวเส้นตรง แบบสับหว่าง นิยมใช้กันมากเพราะผูกลายได้มากมายหลายรูปแบบ ลายหมี่หมากจับ (ลายตารางหน้าที่ ๒๕) “หมี่หมากจับ” หรือ “บักจับ” จัดเป็นแม่ลายที่ใช้ในการฝึกหัดงานมัดหมี่ (ขั้นต้น) เป็นลวดลายที่เกิดจากการมัดหมี่เพียง ๓ ลำ มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
43
“หมากจับเดี่ยว” “หมากจับคู่”
เส้นยาวจะมัดเพียง ๓ ข้อ เส้นยาวจะมัดเพียง ๑ ข้อ การมัดหมี่ลายหมากจับสามารถนำมาจัดวางรูปแบบของการสับหว่างของ ลวดลาย เมื่อมัดเสร็จจะมีลักษณะของลวดลายคล้ายฝูงนกกำลังบิน ลายหมากจับเดี่ยวนิยมให้สีย้อมเพียงสีเดียวเป็นส่วนใหญ่ เป็ น การมั ด หมี่ ใ นรู ป แบบของหมากจั บ เดี่ ย ว เพี ย งมั ด เพิ่ ม ข้ อ ให้ ล ายขึ้ น (ลำกลาง)และปิดหัวปิดท้าย (ลำกลาง) เพิ่มอีก ๑ ข้อ ส่วนใหญ่นิยมให้สีย้อมเพียง ๒ สี
ลายหมี่โคม “หมี่โคม” “หมี่โคมห้า” “หมี่โคมเจ็ด”
(ลายตารางหน้าที่ ๒๓) เป็ น แม่ ล ายที่ มี ลั ก ษณะคล้ า ยโคมไฟ เกิ ด จากการมั ด หมี่ ใ ห้ เ ป็ น เส้ น ทึ บ ตลอดแนวมีการลดหลั่นตามความเหมาะของผู้มัดหมี่ แม่ลายตัวนี้สามารถ นำมาออกแบบได้หลากหลายรูปแบบ หมี่โคมมีหลายรูปแบบ เป็นแม่ลายที่เกิดจากการมัดหมี่ในจำนวน ๕ ลำ เป็นเส้นทึบ เป็นแม่ลายที่เกิดจากการมัดหมี่ในจำนวน ๗ ลำ เป็นเส้นทึบ
ลายหมี่โคม (ลายตารางหน้าที่ ๒๔) “หมี่โคม” เป็นแม่ลายที่มีลักษณะคล้ายโคมไฟ เกิดจากการมัดหมี่ให้เป็นเส้นโปร่ง มี ก ารลดหลั่ น ตามความเหมาะของผู้ มั ด หมี่ แม่ ล ายตั ว นี้ ส ามารถนำมา ออกแบบได้หลากหลายรูปแบบ หมี่โคมมีหลายรูปแบบ “หมี่โคมห้า” เป็นแม่ลายที่เกิดจากการมัดหมี่ในจำนวน ๕ ลำ เป็นเส้นโปร่ง เป็นมัดหัวมัดท้ายในรูปแบบของกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน “หมี่โคมเจ็ด” เป็นแม่ลายที่เกิดจากการมัดหมี่ในจำนวน ๗ ลำ เป็นเส้นโปร่ง เป็นมัดหัวมัดท้ายในรูปแบบของกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มีการสอดไส้เป็นจุดเล็ก ๆ โดยรูปแบบของหมี่ข้อมาใส่ นิยมเรียกลวดลายแบบนี้ว่า “หน่วย” ในงานมัดหมี่ ลายหมี่ดอกแก้ว (ลายตารางหน้าที่ ๒๖) “หมี่ดอกแก้ว” มีลักษณะของลวดลายคล้ายดอกแก้ว ซึ่งเกิดจากการมัดหมี่เพียง ๗ ลำ การมั ด หมี่ ล ายดอกแก้ ว จะมั ด เป็ น แบบเส้ น ทึ บ โดยใช้ วิ ธี ก ารลดหลั่ น ของ ลวดลายโดยจะมั ด ดอกเล็ ก หรื อ ดอกใหญ่ ขึ้ น อยู่ กั บ การวางลวดลายให้ สวยงาม มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
44
“ดอกแก้วโปร่ง” ตามความสวยงาม “ดอกแก้วทึบ”
นิยมผูกลายเป็นแบบ “หมี่วงล้อมดอกแก้ว” เป็นแม่ลายที่ใช้กันมากอีกแบบหนึ่ง จะมี ลั ก ษณะตรงกลางของลวดลายจะเว้ น ช่ อ งว่ า ง ๑ – ๓ ข้ อ ส่วนใหญ่จะไม่นิยมลายของส่วนปิดหัวปิดท้ายกัน จะมีลักษณะลวดลายเป็นแนวทึบ ส่วนใหญ่จะไม่นิยมลายของส่วนปิดหัวปิดท้ายกัน
ลายหมี่ขอ (ลายตารางหน้าที่ ๒๗) “หมี่ขอ” เป็นแม่ลายที่มีลักษณะคล้ายตะขอ ลักษณะของลวดลายจะหักหักท้ายงอเป็นรูปตะขอ หมี่ขอมีลวดลายหลากลายรูปแบบเรียกกันตามลักษณะของลวดลาย ดั่งนี้ หมี่ขอ หมี่ขอพับ หมี่ขอก่าย “หมี่ขอนาค” โดยลักษณะของลวดลายเพิ่มลวยต่อส่วนบนก็จะกลาย “หัวนาค” จึงมีชื่อเรียกกันอีกชื่อว่า “หมี่ขอนาค” ลายหมี่ใบไผ่ (ลายตารางหน้าที่ ๒๗) “หมี่ใบไผ่” เป็นแม่แบบที่ใช้ใน “ผ้าโฮล” เป็นส่วนใหญ่ นิยมมัดหมี่เพียง ๓ ข้อ โดยการ วงรูปแบบเยื้องกันเพียงเล็กน้อย นิยมมัดหมี่ลายนี้เพียง ๕ หรือ ๑๑ ลำเป็น ส่วนใหญ่ “หมี่บายศรี” หรือ “หมี่หวีกล้วย” เป็นการจัดวางลวดลายในอีกรูปแบบหนึ่งโดยสลับทางกับหมี่ใบไผ่ นิยมใช้เป็นส่วนยอดของลวดลาย นิยมมัดหมีล่ ายนีเ้ พียง ๑๑ลำ (ในส่วนยอด) “หมี่ยอดสน” นิยมใช้เป็นแม่แบบในส่วนยอดของลวดลาย นิยมใช้กันมากในลวดลาย “นาคชูสน” หรือ “นาคยอดสน” รายละเอียดที่จะต้องทำสำเนาตารางหมี่จากหนังสือ “นวัตกรรมลวดลาย บนผืนผ้า...ไหมไทย”
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
45
ออกแบบลวดลาย ออกแบบสี มัดหมี่ ย้อมสี ทอ
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางลำใย เลไทยสง และนางประคอง ภาสะฐิติ นางลำใย เลไทยสง นางลำใย เลไทยสง นางนฤมล จิตไธสง
ลายทรงเลือกที่ 1
ชื่อลาย : มัจฉาระเริงชล จำนวนลำหมี่ 35 ลำ ความหมายของลาย : ปลาเล่นน้ำ สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ของน้ำและทรัพยากรน้ำ ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคม 25 ลำผ่าซีก (แทรกหมี่ขอ) ล้อมลายโคม 15 ลำ สอดไส้ลายหมี่ข้อหว่าน ลายโคม 9 ลำ ลายหมี่ข้อหว่าน ลายประกอบ คือ ลายหมี่ข้อหว่าน (หมี่ลายปลา)
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควร โยกหมี่ห รื อค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่ง ให้ พ อดี กับ จำนวนตามที่ไ ด้ ก ำหนดไว้ ใ นแต่ ล ะลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว2 เมตร และทอเป็นผ้าพืน้ อีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมีท่ จ่ี ะต้อง โยกมี 35 ลำ หรือจำนวน 24 ขีน เพือ่ ให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพืน้ อีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
47
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 35 ลำ คิดเป็น (35 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 34) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (188 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (47 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
48
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 34 ลำเต็ม 188 เส้น 1 ลำ 47 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 24 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีเหลืองอมเขียว ย้อมด้วย ฝักคูนสด
เส้นพุ่ง สีเขียวขี้ม้า ย้อมด้วย กิ่งและใบ ของสบู่เลือดผสม ฝักคูนสด สีชมพู ย้อมด้วยครั่ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
49
ออกแบบลวดลาย ออกแบบสี มัดหมี่ ย้อมสี ทอ มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางลำใย เลไธสง และนางประคอง ภาสะฐิติ นางลำใย เลไธสง นางลำใย เลไธสง นางบรรยง วันทะมาต 50
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีน้ำตาลอมเหลือง ย้อมด้วย ฝักขี้เหล็กบ้าน
ยังไม่มีรูป
ยังไม่มีรูป
เส้นพุ่ง สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง สีเขียวขี้ม้า ย้อมด้วย ฝักคูนสด และใบสบู่เลือด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
51
ออกแบบลวดลาย ออกแบบสี มัดหมี่ ย้อมสี ทอ
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสราวุธ สิทธิกูล นางสาวพานิตย์ เขียวกระเบื้อง นายสราวุธ สิทธิกูล นางบ่อเซียง เขียวกระเบื้อง
ลายทรงเลือกที่ 2
ชื่อลาย : นาคระเริงชล จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายประกอบ คือ
นาคเล่นน้ำ นาค เป็นสัตว์ในเทพนิยาย ที่ถือตามคติความเชื่อว่า เมื่อนาคเล่นน้ำได้ ย่อมหมายถึง มีน้ำอุดมสมบรูณ์ สำหรับทำการเกษตรได้เช่นกัน ลายนาค ลายหมี่ข้อหว่าน (แทนระลอกคลื่น) อยู่ระหว่างลายนาคและลายโคมห้า (แทนพื้นน้ำ)
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่เพื่อให้ได้ความยาวของผ้าและหน้ากว้างตามที่ต้องการ ควรโยกหมี่ หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้นการโยกหมี่ หรือค้นหมี่เพื่อการทอผ้ามัดหมี่ลายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามที่ต้องการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
53
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ ก ารคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
54
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีคราม ย้อมด้วย คราม
ยังไม่มีรูป
เส้นพุ่ง สีเขียวเข้ม ย้อมด้วย ประโฮด (หรือ ประโหด หรือมะพูด) คราม สีแดง ย้อมด้วยครั่ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
55
ออกแบบลวดลาย ออกแบบสี มัดหมี่ ย้อมสี ทอ
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางประคอง ภาสะฐิติ นางชนิกา รินไธสง นางประคอง ภาสะฐิติ นางประคอง ภาสะฐิติ
ลายทรงเลือกที่ 3
ชื่อลาย : ร้อยฤทัย จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : ร้อยดวงใจไทยทุกดวง ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายขาเปียล้อมหน่วย ลายประกอบ คือ ลายโคมสิบสาม โคมเก้า ลายโคมสาม ลายหมากจับ ลายหมี่ข้อหว่าน
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่เพื่อให้ได้ความยาวของผ้าและหน้ากว้างตามที่ต้องการ ควรโยก หมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้นการโยกหมี่ หรือค้นหมี่เพื่อการทอผ้ามัดหมี่ลายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามที่ต้องการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
57
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมีจ่ ะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่ง ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
58
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีเหลืองอมน้ำตาล ย้อมด้วย เหง้ากล้วย
เส้นพุ่ง สีเหลือง ย้อมด้วย ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
59
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสุรโชติ ตามเจริญ นางกบ นายสุรโชติ ตามเจริญ -
ลายทรงเลือกที่ 4
ชื่อลาย : ร้อยดวงใจ จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : ร้อยดวงใจไว้ด้วยกัน ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมยี่สิบห้าลำ แทนดวงใจ ลายประกอบ คือ ลายโคม 25 ลำ ลายหมี่ขอ ลาย่โคมห้า ลายโคม 9 ลำ ลายหมี่โคม 19 ลำ ลายโคม 9 ลำ (สอดไส้)
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
61
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้นไหมพุ่งที่จะใช้ ใช้เส้นไหมประมาณ 125 กรัมในการ มัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึ้นไป ฉะนั้นผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่ง ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80 ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
62
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีฟ้า ย้อมด้วย คราม
รูปอยู่ในกล้องคุณติ
ขาดรูป
เส้นพุ่ง สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง สีฟ้า ย้อมด้วย คราม
รูปอยู่ในกล้องคุณติ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
63
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสุรโชติ ตามเจริญ นางจารี เครือเนียม นายสุรโชติ ตามเจริญ นางพฤหัสบดี ตามเจริญ นางจารี เครือเนียม
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีฟ้า ย้อมด้วย คราม 2 ครั้ง
รูปอยู่ในกล้องคุณติ
เส้นพุ่ง สีเขียวเหลือง ย้อมด้วย ประโฮด คราม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
65
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสี ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสุรโชติ ตามเจริญ - นายสุรโชติ ตามเจริญ -
ลายทรงเลือกที่ 5
ชื่อลาย : ร่างแหคู่ จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : ความสุขและความรื่นเริง ประกอบด้วย แม่ลาย คือ ลายโคมล้อมขาเปีย ลายประกอบ คือ ลายโคมเก้า ลายโคมห้า ลายขาเปีย
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า ง ตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตร และให้เหลือเศษที่ มั ด ลวดลายเพี ย งเล็ ก น้ อ ยเพื่ อ เป็ น การลดต้ น ทุ น การผลิ ต ดังนั้นการโยกหมี่หรือค้นหมี่เพื่อการทอผ้ามัดหมี่ลายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามที่ ต้องการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตรและทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้องโยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
67
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
68
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีฟ้า ย้อมด้วย คราม 2 ครั้ง
ขาดรูป
เส้นพุ่ง สี ย้อมด้วย -
รอข้อมูล
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
69
รอข้อมูล
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสี ทอโดย มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสุรโชติ ตามเจริญ - นายสุรโชติ ตามเจริญ 70
ลายทรงเลือกที่ 6
ชื่อลาย : ดาวเด่น เด่นดาว จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : ความเริงรื่นสนุกสนาน ประกอบด้วย แม่ลาย คือ ลายขาเปียล้อมหมากจับ ลายประกอบ คือ ลายหมี่ข้อหว่านห้า ลายหมากจับ ลายหมี่ข้อหว่านเจ็ด
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า ง ตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตร และให้เหลือเศษที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมี่หรือค้นหมี่เพื่อการทอผ้ามัดหมี่ลายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามที่ ต้องการ เช่น เมือ่ เสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนทีท่ อเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพืน้ อีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมีท่ จี่ ะต้องโยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
71
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
72
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีฟ้า ย้อมด้วย คราม 2 ครั้ง
ขาดรูป
เส้นพุ่ง สี ย้อมด้วย -
รอข้อมูล
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
73
รอข้อมูล
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสี ทอโดย มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสุรโชติ ตามเจริญ - นายสุรโชติ ตามเจริญ 74
ลายทรงเลือกที่ 7
ชื่อลาย : คู่โคมเก้า จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : เคียงคู่ ประกอบด้วย แม่ลาย คือ ลายโคมห้าโคมเก้าล้อมขาเปีย ลายประกอบ คือ ลายโคมเก้า ลายโคมห้า ลายขาเปีย
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า ง ตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตร และให้เหลือเศษที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้องโยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
75
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 – 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
76
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง
เส้นพุ่ง สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง สีหลือง ย้อมด้วย ประโฮด สีเขียว ย้อมด้วย ประโฮด หมักโคลน ประโฮดหมักโคลน
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
77
ประโฮดหมักโคลน
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางประคอง ภาสะฐิติ นางทองยุ่น โพธิ์ขำ นางทองยุ่น โพธิ์ขำ นางบรรยง วันทะมาต
ลายทรงเลือกที่ 8
ชื่อลาย : เครือสาย จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : ความผูกพันฉันท์พี่น้อง ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคม 23 ลำ ล้อมลายหมี่ 15 ลำผ่าซีก ลายหมากจับ ลายโคมห้า ลายประกอบ คือ ลายโคม 19 ลำ ลายหมี่ข้อหว่าน ลายคม ลายหมี่ขอ
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
79
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้นไหมพุ่งที่จะใช้ ใช้เส้นไหมประมาณ 125 กรัมในการ มัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึ้นไป ฉะนั้นผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
80
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีน้ำตาลฟาง ย้อมด้วย เปลือกมะพร้าว แห้ง
ขาดรูป
ขาดรูป
ขาดรูป
เส้นพุ่ง สีน้ำตาล ย้อมด้วย ฝักคูนแห้ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
ขาดรูป
81
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางอนัญญา เค้าโนนกอก นางวงศ์สิน โบราณ นางอนัญญา เค้าโนนกอก นายสุรโชติ นางไหม วาจาน้อย
ลายทรงเลือกที่ 9
ชื่อลาย : นาคคู่ จำนวนลำหมี่ 25 ลำ ความหมายของลาย : ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายประกอบ คือ
นาคสองตัวชูยอดสน นาค เป็นสัตว์ในเทพนิยาย ที่ถือตามคติความเชื่อว่า ยอดสน หมายถึง ความร่มเย็น เมือ่ นาคอยูค่ กู่ นั ชูยอดสน มีความหมายว่า มีความเป็นอยูอ่ ย่างร่มเย็นเป็นสุข ลายนาคชูสน ลายขอนาค ลายข้อหว่าน ลายโคมห้าผ่าซีก ลายโคมเก้าผ่าซีดต่อก้าน ลายเอี้ย (เยี่ยวควาย)
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 25 ลำ หรือจำนวน 34 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
83
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรัมในการมัดหมี่จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึ้นไป ฉะนั้นผ้าไหม 1 ผืน จะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่ง ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มี ความกว้างของหน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้า ที่เป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 25 ลำ คิดเป็น (25 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 24) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (267 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (67 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
84
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 24 ลำเต็ม 267 เส้น 1 ลำ 67 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 34 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน น้ำเงินเข้ม ย้อมด้วย คราม
เส้นพุ่ง สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง
รอรูปคุณโต
สีคราม ย้อมด้วย คราม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
85
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางไข่มุก ธิศาเวก นางไข่มุก ธิศาเวก นางไข่มุก ธิศาเวก นางไข่มุก ธิศาเวก
ลายทรงเลือกที่ 10
ชื่อลาย : ร้อยรัก จำนวนลำหมี่ 27 ลำ ความหมายของลาย : ความรักความผูกพัน ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมเก้า (เรียงสามลาย) สอดไส้โคมเก้า เรียงร้อยกันเป็นสาย ลายประกอบ คือ ลายหมี่ข้อหว่าน
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 27 ลำ หรือจำนวน 31 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
87
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 27 ลำ คิดเป็น (27 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 26) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (246 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (62 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
88
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 26 ลำเต็ม 246 เส้น 1 ลำ 62 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 31 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน สีน้ำตาล ย้อมด้วย เปลือกยางนา
ขาดรูป
ขาดรูป
เส้นพุ่ง สีชมพูเหลือง ย้อมด้วย ครั่ง ทับด้วย ผลคนทาแห้ง แล้วหมักโคลน
ขาดรูป
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
89
ขาดรูป
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายแบน แสงโสม นางน้อย ทองธนา นางน้อย ทองธนา นางน้อย ทองธนา
ลายทรงเลือกที่ 12
ชื่อลาย : ดุจดาว จำนวนลำหมี่ 29 ลำ ความหมายของลาย : ดวงดาว ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคม 29 ลำ ล้อมลายโคม 13 ลำ ลายประกอบ คือ ลายโคมห้า ลายหมากจับ ลายหมี่ข้อหว่าน
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 29 ลำ หรือจำนวน 29 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
91
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 29 ลำ คิดเป็น (29 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 28) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (229 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (57 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
92
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 28 ลำเต็ม 229 เส้น 1 ลำ 57 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 29 ขีน
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน น้ำตาลอ่อน ย้อมด้วย เปลือกมะพร้าวสด
ขาดรูป
เส้นพุ่ง สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง น้ำตาล ย้อมด้วย เปลือกมะพร้าว
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
93
ขาดรูป
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายแบน แสงโสม นางน้อย ทองธนา นางน้อย ทองธนา นางน้อย ทองธนา 94
ลายทรงเลือกที่ 12
ชื่อลาย : ดุจดาว จำนวนลำหมี่ 29 ลำ
ล ู ม อ้
ความหมายของลาย : ดวงดาว ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคม 29 ลำ ล้อมลายโคม 13 ลำ ลายประกอบ คือ ลายโคมห้า ลายหมากจับ ลายหมี่ข้อหว่าน
ข อ ร
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 29 ลำ หรือจำนวน 29 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
95
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 29 ลำ คิดเป็น (29 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 28) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (229 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (57 ÷ 2)
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 28 ลำเต็ม 229 เส้น 1 ลำ 57 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 29 ขีน
ล ู ม อ้
ข อ ร
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
96
วัสดุธรรมชาติที่ใช้ย้อม เส้นยืน น้ำตาลอ่อน ย้อมด้วย เปลือกมะพร้าวสด
ล ู ม อ้
ข อ ร
เส้นพุ่ง สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง น้ำตาล ย้อมด้วย เปลือกมะพร้าว
ขาดรูป
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
97
ขาดรูป
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสราวุธ สิทธิกูล นางแพงสี โมกไธสง นายสราวุธ สิทธิกูล นางแพงสี โมกไธสง
ลายทรงเลือกที่ 13
ชื่อลาย : พรรณราย จำนวนลำหมี่ 31 ลำ ความหมายของลาย : ความงามที่ผุดผ่อง ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมเก้าล้อม ลายหมากจับ 4 หน่วย เลื่อมระยับสลับกันไป ลายประกอบ คือ ลายหมากจับ (เก้าลำสอดไส้) ลายหมี่ข้อ (สิบสองข้อสามลำ)
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 31 ลำ หรือจำนวน 27 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
99
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุง่ ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าทีม่ คี วามกว้างของห น้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 31 ลำ คิดเป็น (31-1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 30) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (213 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (53 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
100
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 30 ลำเต็ม 213 เส้น 1 ลำ 53 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 27 ขีน
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน สีน้ำเงินเข้ม ย้อมด้วย คราม
ขาดรูป
เส้นยืน สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง สีเหลือง ย้อมด้วย ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
101
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางประคอง ภาสะฐิติ นางชนิกา สินไธสง นางชนิกา สินไธสง นางสมบัติ บุบผามาลัย
ลายทรงเลือกที่ 14
ชื่อลาย : โคมส่องแสง จำนวนลำหมี่ 33 ลำ ความหมายของลาย : ให้แสงสว่าง ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมเก้า (2 แบบ) สอดไส้ลายหมากจับแทนลายโคมที่ให้แสงสว่าง ลายประกอบ คือ ลายหมากจั บ เป็ น รั ศ มี หรื อ ลำแสงของโคม ลายโคมเก้ า (ข้ อ เดี ย ว) สอดไส้หมากจับ
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 33 ลำ หรือจำนวน 25 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
103
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้นไหมพุ่งที่จะใช้ ใช้เส้นไหมประมาณ 125 กรัม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่ง ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 33 ลำ คิดเป็น (33 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 32) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (200 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (50 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
104
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 32 ลำเต็ม 200 เส้น 1 ลำ 50 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 25 ขีน
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน สีเหลืองอมเขียว ย้อมด้วย ฝักคูนสด ขาดรูป
เส้นยืน สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง สีเหลือง ย้อมด้วย สมอ ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
105
ชื่อลาย โคมสองแสง
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายแบน แสงโสม นางชนิกา สินไธสง นายสุรโชติ ตามเจริญ นางประคอง นางสมบัติ บุบผามาลัย
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน สีเหลืองอมเขียว ย้อมด้วย ฝักคูนสด ขาดรูป
ขาดรูป
เส้นยืน สีแดง ย้อมด้วย ครั่งทับด้วยสมอ สีเหลือง ย้อมด้วย ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
107
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางบุญสิน นางบุญสิน - นางบุญสิน - นางสมบัติ รูปทรง
ลายทรงเลือกที่ 15
ชื่อลาย : แมกไม้ จำนวนลำหมี่ 33 ลำ ความหมายของลาย : ความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณ ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมผ่าซีก ลายหมากจับ แทนต้นไม้/พุ่มไม้ ลายประกอบ คือ ลายคมผ่าซีกต่ อ ก้ า น ลายโคมห้ า ลายหมี่ ข้ อ (เขื่ อ น) ลายหมี่ ข้ อ หว่ า น ลายโคมห้า ลายเอี้ยสามชั้น (เยี่ยวควาย) ลายโคมห้า
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมี่หรือค้นหมี่เพื่อการทอผ้ามัดหมี่ลายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามที่ต้องกา ร เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 33 ลำ หรือจำนวน 25 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
109
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 33 ลำ คิดเป็น (33 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 32) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (200 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (50 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
110
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 32 ลำเต็ม 200 เส้น 1 ลำ 50 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 25 ขีน
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน สีน้ำตาลฟาง ย้อมด้วย เปลือก มะพร้าวสด
เส้นยืน สีน้ำตาลอ่อน ย้อมด้วย เปลือกต้นเปือย ครั่ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
ขาดรูป
111
ขาดรูป
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางอำนวย น้อยตรีมูล นางอำนวย น้อยตรีมูล นางอำนวย น้อยตรีมูล นางอำนวย น้อยตรีมูล
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน
สีน้ำตาลฟาง ย้อมด้วย เปลือกมะพร้าวสด
เส้นยืน
สีน้ำตาลชมพู ย้อมด้วย เปลือกต้นพังคี แก่นยอ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
ขาดรูป
113
ขาดรูป
ล ู ม อ้
ขาดรูป
ข อ ร ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางอำนวย น้อยตรีมูล นางอำนวย น้อยตรีมูล นางอำนวย น้อยตรีมูล นางอำนวย น้อยตรีมูล 114
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน สีน้ำตาลฟาง ย้อมด้วย เปลือก มะพร้าวสด
ล ู ม อ้
ข อ ร
เส้นยืน สีน้ำตาลชมพู ย้อมด้วย เปลือกต้นพังคี แก่นยอ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
ขาดรูป
115
ขาดรูป
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสราวุธิ สิทธิกูล นางพานิตย์ เขียวกระเบื้อง นายสราวุธิ สิทธิกูล นางเทพ หงศ์ชุมแพ
ลายทรงเลือกที่ 16
ชื่อลาย : สร้อยระย้า จำนวนลำหมี่ 33 ลำ ความหมายของลาย : ความสวยงามที่ต่อเนื่อง ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมห้าล้อมหน่วย ลายประกอบ คือ ลายโคมห้า ลายโคมสิบสาม ลายสร้อย ประกอบด้วย ลายโคมห้าล้อมหน่วย ซึ่งในหน่วยนี้ ประกอบด้วย ลายโคมห้า ล้อมลายโคมสิบสาม
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 33 ลำ หรือจำนวน 25 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
117
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้นไหมพุ่งที่จะใช้ ใช้เส้นไหมประมาณ 125 กรัม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่ง ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 33 ลำ คิดเป็น (33 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 32) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 เส้น ใช้เส้นด้ายพาด (200 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (50 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
118
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 32 ลำเต็ม 200 เส้น 1 ลำ 50 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 25 ขีน
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน สีครีม ย้อมด้วย เส้นไหมฟอก
ขาดรูป
เส้นยืน สีน้ำตาลแดง ย้อมด้วย ประโฮด คราม สีเหลืองอ่อน ย้อมด้วย ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
119
ขาดรูป
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางสมใจ คงชัยภูมิ นางสมใจ คงชัยภูมิ นางสมใจ คงชัยภูมิ นางสมใจ คงชัยภูมิ
ลายทรงเลือกที่ 17
ชื่อลาย : นพเก้า จำนวนลำหมี่ 33 ลำ ความหมายของลาย : สิ่งดีงามเก้าประการ ประกอบด้วย ลายหลัก คือ โคมห้าเก้าหน่วย แทนนพเก้า หรือแก้วมณีเก้าดวง ลายประกอบ คือ ลายโคมสามสิบสาม ลายโคมห้า ลายโคมสิบเก้า ลายโคมเก้า ลายโคมห้า ลายโคมสิบเจ็ด ลายโคมเก้า ลายโคมเก้า
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 33 ลำ หรือจำนวน 25 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายมีความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
121
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้นไหมพุ่งที่จะใช้ ใช้เส้นไหมประมาณ 125 กรัม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่ง ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 33 ลำ คิดเป็น (33 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 32) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (200 ÷ 4) ค้นหมี่ไป-กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (50 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
122
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 32 ลำเต็ม 200 เส้น 1 ลำ 50 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 25 ขีน
วัสดุธรรมชาติทีใช้ย้อม เส้นยืน สีน้ำตาลอ่อน ย้อมด้วยเปลือกงิ้วป่า กระถินบ้าน หมักโคลน
ขาดรูป
ขาดรูป
ขาดรูป
ขาดรูป
เส้นยืน สีน้ำตาลอมแดง ย้อมด้วย ครั่ง มะเกลือ สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
123
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางสมใจ คงชัยภูมิ นางสมใจ คงชัยภูมิ นางสมใจ คงชัยภูมิ นางสมใจ คงชัยภูมิ
เส้นยืน สีน้ำตาลอ่อน ย้อมด้วยเปลือกงิ้วป่า กระถินบ้าน หมักโคลน
ขาดรูป
ขาดรูป
ขาดรูป
ขาดรูป
เส้นยืน สีน้ำตาลอมแดง ย้อมด้วย ครั่ง มะเกลือ สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
125
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสราวุธิ สิทธิกูล นางสาวพานิต เขียวกระเบี้อง นายสราวุธิ สิทธิกูล นางบ่อเซียง เขียวกระเบี้อง
เส้นยืน สีน้ำตาล ย้อมด้วย เปลือกประดู่ หมักโคลน
เส้นยืน สีเขียว ย้อมด้วย ประโฮด คราม สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
127
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสราวุธ สิทธิกูล - นายสราวุธ สิทธิกูล -
ลายทรงเลือกที่ 18
ชื่อลาย : แสงเทียน จำนวนลำหมี่ 33 ลำ ความหมายของลาย : ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายประกอบ คือ
แสงสว่างไสว สุกสกาว ลายโคมโอบหน่วย ลายโคมห้า และลายซีกโคมห้าล้อมโคมเก้า ลาย ประกอบด้วยลายโคมสิบเก้า ล้อมลายหมีโ่ คมห้า 4 มุม โอบลายหน่วย (ลายหน่วย ประกอบด้วย ลายโคมห้า ลายซีกโคมห้าล้อมลายโคมเก้า)
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 33 ลำ หรือจำนวน 25 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
129
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้นไหมพุ่งที่จะใช้ ใช้เส้นไหมประมาณ 125 กรัม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่ง ประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิว้ หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าทีเ่ ป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 33 ลำ คิดเป็น (33 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 32) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (200 ÷ 4) ค้นหมี่ไป-กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (50 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
130
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 32 ลำเต็ม 200 เส้น 1 ลำ 50 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 25 ขีน
เส้นยืน สีฟ้า ย้อมด้วย คราม
เส้นยืน สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง สีเหลือง ย้อมด้วย ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
131
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นางน้อย ไชยโคตร นางน้อย ไชยโคตร นางน้อย ไชยโคตร นางน้อย ไชยโคตร
ลายทรงเลือกที่ 19
ชื่อลาย : รวงผึ้ง จำนวนลำหมี่ 35 ลำ ความหมายของลาย : ความสามัคคี รากฐานความมั่นคงแข็งแรง ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมสองชั้นล้อมโคมห้า ลายประกอบ คือ ลายโคมสองชั้น ลายหมี่ข้อหว่าน
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 35 ลำ หรือจำนวน 24 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
133
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรัมในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึ้นไป ฉะนั้นผ้าไหม 1 ผืน จะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มี ความกว้างของหน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้า ที่เป็นลวดลายยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 35 ลำ คิดเป็น (35 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 34) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (188 ÷ 4) ค้นหมี่ไป-กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (47 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
134
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 34 ลำเต็ม 188 เส้น 1 ลำ 47 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 24 ขีน
เส้นยืน สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง
เส้นยืน สีชมพู ย้อมด้วย ครั่ง สีเหลือง ย้อมด้วย ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
135
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่โดย ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสุรโชติ ตามเจริญ นางกบ - นายกัลยา จันนุบิน นางยรรยง วันทะมาต นางประคอง
ลายทรงเลือกที่ 20
ชื่อลาย : นิจนิรันดร์ จำนวนลำหมี่ 35 ลำ ความหมายของลาย : ความดีงามที่ยั่งยืน ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมล้อมหมี่ข้อหว่าน ลายประกอบ คือ ลายโคมสามสิบเอ็ด ลายหมี่ข้อหว่าน ลายโคมเก้า ลายโคมห้า ลายโคมสิบสาม ลายข้อหว่าน
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 35 ลำ หรือจำนวน 24 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
137
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 35 ลำ คิดเป็น (35 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 35) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (188 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (47 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
138
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 34 ลำเต็ม 188 เส้น 1 ลำ 47 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 24 ขีน
เส้นยืน สีฟ้าคราม ย้อมด้วย คราม
เส้นยืน สีเขียว ย้อมด้วย เข คราม สีแดง ย้อมด้วย ครั่ง สีคราม ย้อมด้วย คราม สีน้ำเงินเข้ม ย้อมด้วย คราม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
139
ออกแบบลวดลายโดย ออกแบบสีโดย มัดหมี่ ย้อมสีโดย ทอโดย
นายแบน แสงโสม นายวิโรจน์ แก้วเรือง นายประทีป มีศิลป์ นางจรรยา ปั้นเหน่งเพชร นายสุรโชติ ตามเจริญ นางบัวสอน เหมือยไธสง นายสุรโชติ ตามเจริญ นางจันดี โมมกไธสง
ลายทรงเลือกที่ 21
ชื่อลาย : ล้อมเพ็ชร จำนวนลำหมี่ 37 ลำ ความหมายของลาย : ความงามที่โดดเด่น ประกอบด้วย ลายหลัก คือ ลายโคมสิบเก้า ล้อมโคมเจ็ด ลายประกอบ คือ ลายข้อหว่าน ลายโคมห้า
การโยกหมี่ ไ หมหรื อ ค้ น หมี่ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามยาวของผ้ า และหน้ า กว้ า งตามที่ ต้ อ งการ ควรโยกหมี่หรือค้นหมี่ โดยการใช้เส้นไหมพุ่งให้พอดีกับจำนวนตามที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละลวดลาย ความยาว 2 เมตรและให้เหลือเศษ ที่มัดลวดลายเพียงเล็กน้อยเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ดังนั้น การโยกหมีห่ รือค้นหมีเ่ พือ่ การทอผ้ามัดหมีล่ ายนี้ ควรมีการกำหนดหน้าผ้าและความยาวตามทีต่ อ้ งการ เช่น เมื่อเสร็จแล้วจะมีความกว้าง 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ผ้าส่วนที่ทอเป็นลวดลายยาว 2 เมตร และทอเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร จำนวนลวดลายหมี่ที่จะต้อง โยกมี 37 ลำ หรือจำนวน 22 ขีน เพื่อให้ได้ลวดลายตามความยาว 2 เมตร และเป็นผ้าพื้นอีก 2 เมตร ในการโยกหมี่เส้นพุ่ง กำหนดไว้ 80 เส้นต่อนิ้ว เมื่อใช้เส้นไหม2 หรือไหมสาวเลยเป็นเส้นพุ่ง กรณี ใ ช้ ไ หม1 (ไหมน้ อ ย) ก็ ต้ อ งเพิ่ ม จำนวนเส้ น พุ่ ง ต่ อ นิ้ ว เป็ น 90 เส้ น หรื อ 100 เส้ น ทั้ ง นี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
141
การโยกหมี่ไหมหรือค้นหมี่ การคำนวณเส้ น ไหมพุ่ ง ที่ จ ะใช้ ใช้ เ ส้ น ไหมประมาณ 125 กรั ม ในการมัดหมี่ จะทอผ้าไหมได้ 1 เมตรขึน้ ไป ฉะนัน้ ผ้าไหม 1 ผืนจะมีความยาว 4 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งประมาณ 500 กรัม สำหรับทอผ้าที่มีความกว้างของ หน้าผ้า 42 นิ้ว หรือ 105 เซนติเมตร ความยาวของผืนผ้าที่เป็นลวดลาย ยาว 2 เมตร ผ้าไหมพื้นเรียบยาว 2 เมตร รวมเป็น 4 เมตร วิธีการคำนวณเส้นด้ายพาด และ ขีนเพื่อทำการค้นหมี่ ผ้าหน้ากว้าง 42 นิ้ว มีความยาว ใน 1 นิ้ว มีเส้นพุ่ง ผ้า 1 ผืน มีความยาว 2 เมตร ใช้เส้นไหมพุ่งทั้งหมด (80 × 80) ค้นหมี่ หรือ โยกหมี่ 37 ลำ คิดเป็น (37 - 1) ได้เส้นไหมใน 1 ลำ (6,400 ÷ 36) ค้นหมี่ 2 รอบได้ 4 เส้น เรียกว่า ใน 1 ลำ ใช้เส้นด้ายพาด (178 ÷ 4) ค้นหมี่ไป - กลับ 2 เส้น ได้ ได้จำนวนขีน (44 ÷ 2)
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
142
80 นิ้ว 80 เส้น 80 นิ้ว 6,400 เส้น 36 ลำเต็ม 178 เส้น 1 ลำ 44 เส้นด้ายพาด 1 ขีน 22 ขีน
เส้นยืน สีเหลืองนวล ย้อมด้วย ไหมปกติ ขาดรูป
เส้นยืน สีคราม ย้อมด้วย คราม เส้นยืน สีเหลือง ย้อมด้วย ประโฮด
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
143
ขาดรูป
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
144
ความเป็นมา ผ้าไหมตรานกยูงพระราชทาน เมื่อ วันที่ 11 มิถุนายน 2545 สถาบันวิจัยหม่อนไหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ร่วมกับคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิ ช ย์ และมู ล นิ ธิ ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ ในสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชนิ น าถ ได้รว่ มกันจัดสัมมนา “การคุม้ ครองไหมไทย” ขึน้ ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพมหานคร โดยได้เชิญ นักวิชาการในทุกสาขาที่เกี่ยงข้องกับไหมทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วมประชุมเพื่อกำหนดทิศทางและ วิธีการคุ้มครองไหมไทย โดยพิจารณาทั้งด้านพันธุ์ไหม กระบวนการผลิต ชนิดผ้าไหมและผลิตภัณฑ์ที่ ผลิตในประเทศ สืบเนือ่ งจากมีผนู้ ำเข้าเส้นไหมและเส้นใยสังเคราะห์อนื่ จากต่างประเทศทัง้ ชนิดทีถ่ กู กฎหมาย และเส้นไหมลักลอบซึ่งผิดกฏหมายและเส้นไม่ได้คุณภาพ แล้วนำมาผลิตผ้าไหม จึงทำให้ผ้าไหมไทย ด้ อ ยคุ ณ ภาพลง แต่ ผู้ ผ ลิ ต กลั บ ใช้ ต ราสั ญ ลั ก ษณ์ ว่ า ผ้ า ไหมไทย (Thai Silk) เพื่ อ ทำการค้ า ทำให้ ผู้ ซื้ อ ไม่ มั่ น ใจคุ ณ ภาพไหมไทยโดยเฉพาะลู ก ค้ า ชาวต่ า งชาติ ซึ่ ง เป็ น พระราชอาคั น ตุ ก ะ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชีนีนาถที่ได้มาร่วมงานวันประกวดผ้าไหมไทยเป็นประจำทุก ปี ณ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร ได้พบว่าคุณภาพผ้าไหมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึง่ สร้างความผิดหวังกับคุณภาพสินค้าไหมไทยทีเ่ คยมีชอื่ เสียงขจรขจายไปทัว่ โลก ด้วยปัญหาดังกล่าว สมเด็จพระนางฯ พระบรมราชีนีนาถจึงทรงมีพระราชดำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการหาสาเหตุ ของปัญหาและแนวทางแก้ไข คณะทำงานชุดแรกที่ร่วมหารือกับท่านผู้หญิงจรุษจิต ที่ขะระ นางราชเลขาในพระองค์สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อ 2546 ได้แก่ 1. นายวิทย์วฒ ั น์ กุญชร ณ อยุธยา ทีป่ รึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายจตุรนต์ ฉายแสง) 2. นายเผ่าทอง ทองเจือ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ 3. นางจรรยา ปัน้ เหน่งเพชร ผูเ้ ชียวชาญด้านหม่อนไหม กรมวิชาการเกษตร 4. นายประทีป มีศลิ ป์ ผูอ้ ำนวยการศูนย์บริการวิชาการด้านพืช และปัจจัยการผลิต อุบลราชธานี กรมวิชาการเกษตร 5. นายสุรเดช อัศวินทรางกูร นักวิชาการตรวจสอบสิทบัตร 8 ว. กรมทรัพสินทางปัญญา กระทรวงพานิชย์ 6. นางอุศณีย์ ศิริเจริญ นักวิชาการตรวจสอบสิทบัตร 8 ว. กรมทรัพสินทางปัญญา กระทรวงพานิชย์
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
145
จากผลการสัมมนาระดมสมองในครั้งนั้นและการประชุมของคณะทำงานฯ และผู้เกี่ยวข้อง อีกหลายครั้ง ทำให้ได้ข้อบังคับว่าด้วยการใช้เครื่องหมายรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย (ตรานกยูงพระราชทาน) ซึ่งจัดทำตามบทบัญญัติมาตรา 82 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ คุ้มครองภูมิปัญญาไหมไทยและกระบวนการผลิตที่เป็น วัฒนธรรมของชาติให้ได้มาตรฐานในการนี้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทาน สัญลักษณ์ “นกยูงไทย” ให้ เป็นเครื่องหมายรับรองเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยสำนั ก งานปลั ด สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ใ นฐานะที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานกลางได้ เ ป็ น ผู้ ข อ จดทะเบียนเครื่องหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทยซึ่งมี 4 ชนิด ได้แก่ 1 นกยูงสีทอง Royal Thai Silk 2 นกยูงสีเงิน Classic Thai Silk 3 นกยูงสีน้ำเงิน Thai Silk 4 นกยูงสีเขียว Thai Silk Blend และเพือ่ ให้มาตรฐานนีไ้ ด้เป็นทีร่ จู้ กั แพร่หลาย สามารถนำไปใช้ได้ทวั่ โลก กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญาและ บริษัทเอนกกรุ๊ป ได้ดำเนินการจดทะเบียนในต่างประเทศรวม............... ประเทศ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 โดย บริษัท เอนกกรุ๊ป จำกัด จึงได้จดทะเบียนเครื่องหมายในต่างประเทศ ในการออกแบบ และผลิตดวงตรานกยูง มีหลายหน่วยงานที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนดำเนิน การได้แก่ • ในการออกแบบเครื่องหมายตรานกยูง โดย นายเผ่าทอง ทองเจือ และคณะทำงาน ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • การออกแบบ การผลิตให้มีชั้นความลับ โดย ธนาคารแห่งประเทศไทย และบริษัท เอเซอร์ โฟโต้นิค จำกัด ต่อมา วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2548 สถาบันหม่อนไหมแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาท (สมมช.) สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้รับ โอนการจดเครื่องหมายรับรองดังกล่าว มาจากสำนักงานปลัดนายกรัฐมนตรี เพื่อมาดำเนินการ และรับผิดชอบการจดทะเบียนเครื่องหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์เครื่องไหมไทยโดย สมมช. ได้ประกาศให้บริการกับผู้ผลิตผ้าไหม (ผู้ทอผ้าไหม) ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา และเพื่อเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ราษฎรผูู้ทอผ้าไหมและประชาชนทั่วไปให้รู้จักคุ้นเคย มาตรฐานดังกล่าว สมมช. จึงได้จดั งาน “ตรานกยูงพระราชทาน สืบสานตำนานไหมไทย” ขึน้ โดยครัง้ แรกจัด ระหว่างวันที่ 29 กรกฏาคม 2549 ถึง วันที่ 2 สิงหาคม 2549 ณ ห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน กรุ ง เทพฯ สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯพระบรมราชิ นี น าถ ได้ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯให้ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ทรงเปิดงาน เมื่อวันที่ มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
146
29 กรกฏาคม 2549 ในโอกาสนี้ ได้ทรงพระกรุณาพระราชทานใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผา้ ไหมไทย ตรานกยู ง พระราชทานสี ท องฉบั บ แรกแก่ มู ล นิ ธิ ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ ในสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถโดย ฯพณฯ นายธานิน กรัยวิเชียร องคมนตรี ในฐานะรองประธานมูลนิธิฯ ได้เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทาน พร้อมทัง้ เกษตรกรและผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั ใบรับรองฯ เป็นรุน่ แรกจำนวน 32 ราย อี ก ทั้ ง ได้ ท รงติ ด ดวงตรานกยู ง พระราชทานชนิ ด สี ท อง (ตรานกยู ง สี ท อง) ดวงแรก หมายเลข ก0000001 บนผ้าไหมมัดหมี่โฮลที่ผลิตโดยสมาชิกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ อีกด้วย นับได้วา่ เป็นขวัญ กำลังใจ เป็นความภาคภูมใิ จ และเป็นมงคลอย่างสูงแก่ผผู้ ลิตผ้าไหม ทัง้ ยังเป็นการสร้าง ความเชื่อมั่น ความมั่นใจในมาตรฐานของผ้าไหมไทย ให้กับทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้ ซึ่งนับได้ว่าเป็น ก้าวแรกในการสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของประเทศไทยนับแต่นั้นมา สำหรั บ ผ้ า ไหม “มัดหมี่ลายไหม่ที่ทรงเลือก” ในหนั ง สื อ เล่ ม นี้ ทอขึ้ น ตามมาตรฐาน ตรานกยูงสีทอง โดยใช้เส้นไหมพันธุไ์ ทยพืน้ บ้าน ชนิดทีส่ าวด้วยมือลงกระบุง การควบตีเกลียวเส้นไหม ทำด้วยมือ ไม่ใช้มอเตอร์ การลอกกาวและย้อมสี ใช้สารธรรมชาติทั้งสิ้น แล้วทอด้วยกี่กระทบชนิดที่พุ่ง กระสวยด้วยมือ ซึ่งเป็นเครื่องมือและภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนไทยอย่างแท้จริง เพื่อเป็นไปตาม พระราชดำริ ด้านผ้าไหมมัดหมีข่ องไทย ให้ยงั คงอยูแ่ ละสืบต่อไปสูอ่ นุชนรุน่ หลัง ได้รู้ ได้เห็น ได้ทำ และ ได้ใช้ในสิ่งที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงมีพระราชปณิธานมุ่งมั่นอย่างแนวแน่ และจริงจัง ในอันที่จะจรรโลงศิลปะภูมิปัญญา และวัฒนธรรมเหล่านี้ไว้ให้คงอยู่คู่ชาติไทยสืบไป
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
147
รายละเอียดการผลิตผ้าไหมตรานกยูงพระราชทาน กระบวนการผลิต นกยูงทอง : Royal Thai Silk
เป็นผ้าไหมที่ผลิตด้วยเส้นไหมและวัตถุดิบ รวมทั้งกระบวนการผลิตที่เป็น ภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิมอย่างแท้จริง โดย • ใช้เป็นเส้นไหมพันธ์ุไทยพื้นบ้านเป็นทั้งเส้นพุ่งและเส้นยืน • เส้นไหมต้องสาวด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ ห้ามสาวเข้าอัก • ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม • ต้องผลิตในประเทศไทยเท่านั้น
นกยูงสีเงิน : Classic Thai Silk
เป็ น ผ้ า ไหมที่ ผ ลิ ต ขึ้ น โดยยั ง คงอนุ รั ก ษ์ ภู มิ ปั ญ ญาพื้ น บ้ า นผสมผสานกั บ การประยุกต์เครื่องมือและกระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ดังนี้ • ใช้เป็นเส้นไหมพันธ์ุไทยปรับปรุงเป็นทั้งเส้นพุ่งและเส้นยืน • เส้นไหมต้องสาวด้วยอุปกรณ์ที่ใช้มอเตอร์ไม่เกิน 5 แรงม้า • ทอด้วยกี่ทอมือ (กี่กระทบหรือกี่กระตุกก็ได้) • ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม • ต้องผลิตด้วยในประเทศไทยเท่านั้น
นกยูงน้ำเงิน : Thai Silk
เป็นผ้าไหมชนิดทีผ่ ลิตด้วยภูมปิ ญ ั ญาของไทยแบบประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิต เข้ากับสมัยนิยมและเชิงธุรกิจ ดังนี้ • ใช้เส้นไหมแท้เป็นทั้งเส้นพุ่งและเส้นยืน • ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ • ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม • ต้องผลิตด้วยในประเทศไทยเท่านั้น
นกยูงเขียว : Thai Silk Blend
เป็นผ้าไหมทีผ่ ลิตด้วยกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทีผ่ สมผสานกับ ภูมปิ ญ ั ญาไทย เพือ่ ได้ลวดลายและสีสนั ทีม่ กี ารผสมผสานระหว่างเส้นใยไหมแท้ กับเส้นใยอืน่ ทีม่ าจากธรรมชาติหรือเส้นใยสังเคราะห์แบบต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ การใช้งานหรือตามความต้องการของผู้บริโภค • ใช้เส้นไหมแท้ผสมกับเส้นใยอื่น • ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ • ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม • ต้องผลิตด้วยในประเทศไทยเท่านั้น
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
148
พันธุ์ไหม / เส้นไหม
วิธีการสาวไหม
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
การทอ
149
หมายเหตุ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานใบรับรองตรานกยูงฯ แก่เกษตกรและผู้ประกอบการที่ได้รับใบรับรองฯ ครั้งแรก และผู้ให้การสนับสนุนการดำเนินงานครั้งแรก เมื่อวันที่ 29 ก.ค. 2549
นาง จังหวัด
นางศรีนวล หมวกทอง จังหวัด อุตรดิตถ์
นางวงเดือน อุดมเดชาเวทย์ จังหวัด นครพนม
ชื่อ ที่อยู่
นางสุรัตน สาระสิทธ์ จังหวัด บุรีรัมย์
ชื่อ ที่อยู่
นางสุนิศา นิลเลิศ จังหวัด บุรีรัมย์
นางสุดสวย ลิ้มโธสง จังหวัด บุรีรัมย์
นางบุญหลาย ผาดโธสง จังหวัด บุรีรัมย์
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
150
นางสำเนียง อินโธสง จังหวัด บุรีรัมย์
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
นางสาวนิษฐา รุจิประชากร จังหวัด ราชบุรี
ชื่อ ที่อยู่
นางกมลเนตร ไกรตระกุล จังหวัด ขอนแก่น
นางหอมหวล โพธิวัฒ จังหวัด ศรีสะเกษ
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
นางปราณีต วงภักดี จังหวัด ศรีสะเกษ
นางลุนนี พงสุระ จังหวัด ศรีสะเกษ
ชื่อ ที่อยู่
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
151
นางขันทอง แสงทอง จังหวัด ศรีสะเกษ
ชื่อ ที่อยู่
นางประคอง ภาสะฐิติ จังหวัด บุรีรัมย์
นางจิตรา จันทร์แสง จังหวัด นครราชสีมา
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
ชื่อ ที่อยู่
152
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่
ชื่อ ที่อยู่ มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
153
ทำเนียบ ผู้ผลิตผ้าไหมมัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก นายสราวุธ สิทธิกูล ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นายสุรโชติ ตามเจริญ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางประคอง ภาสะฐิติ ที่อยู่ 119 หมู่ที่ 1 ต.นาโพธิ์ อ. นาโพธิ์ จ.บุรีรัมย์ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ -
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
154
นางลำใย เลไธสง ที่อยู่ 78/1 หมู่ที่ 1 ต.นาโพธิ์ อ. นาโพธิ์ จ.บุรีรัมย์ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางนฤมล จิตไธสง ที่อยู่ ขาดรูป
เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางบรรยง วันทะมาต ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
155
นางสาวพานิตย์ เขียวกระเบื้อง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางสาวพานิตย์ เขียวกระเบื้อง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางบ่อเชียง เขียวกระเบื้อง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
156
นางชนิกา รินไธสง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางจารี เครือเนียม ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางพฤหัสบดี ตามเจริญ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
157
นางสุขุมา จำปาพันธุ์ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางนารี เข็มทอง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางทองยุ่น โพธิ์ขำ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
158
นางอนัญญา เค้าโนนกอก ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางวงศ์สิน โบราณ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางไหม วาจาน้อย ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
159
นางไข่มุก ธิศาเวช ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางน้อย ทองธนา ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางแพงสี โมกไธสง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
160
นางสมบัติ บุบผามาลัย ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางบุญสิน ราษฏรเจริญ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางสมบัติ รูปสูง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
161
นางอำนวย น้อยตรีมูล ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางเทพ หงศ์ชุมแพ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางสมใจ คงชัยภูมิ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
162
นางน้อย ไชยโคตร ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางกบ ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางกัลยา จันนุบิน ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
163
นางบัวสอน เหมือยไธสง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางจันดี โมกไธสง ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
นางบุญสิน ที่อยู่ เบอร์โทร ความถนัดหรือความเชี่ยวชาญ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
164
คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน หนังสือ ผ้ามัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
165
คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน หนังสือ ผ้ามัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
166
กิตติกรรมประกาศ
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
167
ประเทศที่รับจดทะเบียนเครื่องหมายรับรอง ตรานกยูงพระราชทาน
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
168
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
169
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
170
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
171
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
172
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
173
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
174
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
175
ผู้สนับสนุนการผลิตผ้าไหมมัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก และจัดพิมพ์หนังสือ โดย บริษัท อเนกกรุ๊ป จำกัด (โลโก้)+ ที่อยู่
มัดหมี่ลายใหม่ที่ทรงเลือก
176