Machinery journal issue 9 27 september 2014

Page 1

mACHInERY

TECHnoLogY JouRnAL

Issue 9, September 2014


THAILAnD mACHInERY TECHnoLogY JouRnAL September 2014 Contents บรรณาธิการ ทศพล เฉตรไธสง กราฟฟก&ขาว สําเร็จ เกษยา วิเคราะหขอมูล ศิโรรัตน สุภาษา ทศพล เฉตรไธสง ที่ปรึกษา ไพโรจน มีทวี พศิน แปลกสิริ ณัฐพล รัตนมาลี ติดตอโฆษณา ประชาสัมพันธ สําเร็จ เกษยา ทศพล เฉตรไธสง 02 – 713 – 6290 – 2 ตอ 132, 141

1 1

News Updates Economics News

3

Machinery News

5

Machinery Industry Status ภาวะเศรษฐกิจรายเดือน

10

ภาวะอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลรายเดือน

13

Contact Us

17


โทรศัพท : 02 713 6290 – 2 ตอ 132


EConomIC nEws

เอสเอ็มอีญี่ปุนตบเทาเขาลงทุนไทย พุงเปาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง โดย แนวหนา ญี่ปุนขน 10 จังหวัดแหลงทุนไทย เนนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสูง ทั้งยานยนต อากาศยาน เครื่องมือแพทย ชี้เอสเอ็มอี ญี่ปุนมองไทยนาลงทุนสุดในอาเซียน

นางอรรชกา สี บุ ญ เรื อ ง อธิ บ ดี ก รมส ง เสริ ม อุตสาหกรรม (กสอ.) เปดเผยภายหลังลงนามบันทึกความ รวมมือดานการพัฒนาอุตสาหกรรมให เกิดความร วมมือ พั ฒ นาผู ป ระกอบการเอสเอ็ ม อี ระหว า งกระทรวง อุตสาหกรรม และจังหวัดไอจิ ประเทศญี่ปุนวา ไอจิ เปน จังหวัดที่ 6 ของประเทศญี่ปุน ที่รวมลงนามความรวมมือ พัฒนาผูประกอบการเอสเอ็มอีระหวางกันภายในสิ้นปนี้ จะมีอีก 4 จังหวัด ที่จะมารวมลงนามในลักษณะดังกลา ว เชนจังหวัดคาวาซากิ, ฟุกุโอกะ, มินะมิโบโซ รวมเปน10 จั ง หวัด ซึ่ ง ญี่ ปุนถือเปนประเทศที่ให ค วามสนใจเข า มา ลงทุนในไทยเปน อันดั บตน ๆ โดยเฉพาะอุต สาหกรรม ชิ้ น ส ว นที่ ใ ช เ ทคโนโลยี ชั้ น สู ง เช น ชิ้ น ส ว นยานยนต

3 1

ชิ้นส วน, เครื่องจั ก รอุตสาหกรรม, ชิ้นส วนอากาศยาน, เครื่องมือแพทย สาระสํ าคั ญในการลงนามเอ็มโอยูเชนสรา งเสริ ม ความสั ม พัน ธ ร ะหวา งกระทรวงอุ ต ฯ และจั ง หวั ด ไอจิ สนับสนุนใหเกิดความรวมมือระหวางผูประกอบการเอส เอ็ ม อี ข องไทยและจั ง หวั ด ไอจิ รวมทั้ ง ร ว มมื อ พั ฒ นา ผูป ระกอบการเอสเอ็ ม อี ใ นขยายธุ ร กิ จ ในระดั บ สากล พร อ มแลกเปลี่ ย นข อ มู ล การดํ า เนิ น กิ จ กรรมที่ ส ร า ง ความสัมพันธในดานเศรษฐกิจทั้ง 2 ฝาย เชน จัดโครงการ แลกเปลี่ย นข อมูลด า นอุตฯ ส ง เสริ มเชื่อมโยงคลัส เตอร อุตฯ ระหวางกันมีผลตั้งแต 10 กันยายน 2557


EConomIC nEws

เอสเอ็มอีญี่ปุนตบเทาเขาลงทุนไทย พุงเปาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง โดย แนวหนา นายฮิ เ ดอากิ โอมุ ร ะ ผู ว า ราชการจั ง หวั ด ไอจิ ประเทศญี่ ปุน กลาววา ได ส อบถามนัก ลงทุนในจั ง หวัด ไอจิ พบวา มีความตองการเขามาลงทุนในไทยเปนอันดับ ที่ 1 ในอาเซีย น แมบางสวนจะไปลงทุนในอินโดนีเซี ย และมาเลเซีย เนื่องจากนักลงทุนมองวาไทยเปนศูนยกลาง การลงทุนของอาเซียน ขณะนี้มีนักลงทุนจากจังหวัดไอจิ เข ามา ลง ทุ น ในไทยมา กก ว า 2 84 บริ ษั ท มี 4 1 6 โรงงาน เปนการลงทุนขนาดใหญ ในอุตฯ ชิ้นสวนยาน ยนต ชิ้นสวนอากาศยาน และเครื่องมือแพทย เชน บริษัท โตโยตามอเตอร ทั้งนี้ตองการใหรัฐบาลไทยสรางสภาพแวดลอมที่ น า ลงทุ น เช น ดู แ ลระบบสาธารณู ป โภค รวมถึ ง โครงสรางพื้นฐานที่สําคัญไมตองการใหเกิดเหตุการณ น้าํ ทวมซ้ํารอยป 2554 อีก สวนสถานการณทางการเมืองไทยในชวงที่ผานมา เรามี ค วามเป น ห ว ง แต ข ณะนี้ ท ราบว า คลี่ ค ลายลง แลว และประเทศญี่ปุนมีความหวังวาจะไดรับการรับรอง รัฐบาลไทยในเร็วๆ นี้

4

“ไอจิ ถือเปนจั ง หวัด ที่มีข นาดเศรษฐกิจ ใหญ เปน อันดับ 3 ของประเทศญี่ ปุน การลงนามครั้ งนี้ห วังวา จะ ชวยใหเอสเอ็มอีไทยและเอสเอ็มอีไอจิ รวมมือกันมากขึ้น เพราะไทยนอกจากเปนแหลงลงทุนแลวยังเปนประเทศที่ มีผลิตภั ณฑ มวลรวมภายในประเทศ (จี ดี พี) ตอหั วของ ประชากรกํ า ลัง เพิ่ ม ส ง ผลให ตลาดบริ โ ภคในประเทศ เติบโต ไทยจึงไดรับการคาดหวังจากนานาประเทศ” นอกจากนี้เมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา จังหวัดไอจิ ได เปดศูนยข อมูลการลงทุนที่ก รุง เทพฯ เพื่อสนับสนุน ผู ป ระ กอบก าร เอสเอ็ ม อี ที่ ส นใจเข า มา ลง ทุ น ใน ไทย เพราะเห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพของไทยในฐานะเป น ศูนยก ลางของอาเซียน หวัง วา ศูนยดัง กลาว จะเปนฐาน สนับสนุนอุตสาหกรรมจากจั งหวัด ไอจิ เขา มาลงทุนใน ไทยตอไป


mACHInERY nEws กสอ.ดัน 11 อุตสาหกรรม กระตุนจีดีพีเศรษฐกิจ

กสอ.ยกระดั บอุ ตสาหกรรมไทยสูสากล ผานโครงการพั ฒนาอุตสาหกรรมการผลิ ตเพื่ อยกระดั บ ความสามารถการ แขงขัน (MDICP) หวังยกระดับ ความสามารถการแขงขันครบวงจรทั้งในและตางประเทศ มุง 11 อุ ตสาหกรรมผลัก ดั น ประเทศ ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เปดเผยวา กระทรวงอุตสาหกรรมและกรมส งเสริมอุตสาหกรรมได รวมมือกั นจัดทํา แผนการยกระดั บ อุตสาหกรรมไทย โดยมุงการ พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิต และการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอันนําไปสูนวัตกรรม อีกทั้งการพัฒนาองคกรดานการ จัดการความรู ผา นโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อยกระดั บความสามารถการแขง ขัน (MDICP) ซึ่ งมุงเปาไปที่ อุตสาหกรรม 11 ประเภท ไดแก 1. อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน มีมูลคาการสงออกในครึ่งปแรกของป 2557 รวม 492,635 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอย ละ 0.6 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันในปที่ผานมา ปจจุบันรถยนตมีอายุการใชงานเพิ่มมากขึ้น ยิ่งจําเปนตองเปลี่ยนอะไหล ทดแทนชิ้นสวนที่เสื่อมอายุไป ทั้งนี้ จึงตองเรงพัฒนาดานเทคโนโลยีที่ชวยยืดอายุการใชงานของอะไหลรถยนตได นานมาก ยิ่งขึ้น

5 1


mACHInERY nEws กสอ.ดัน 11 อุตสาหกรรม กระตุนจีดีพีเศรษฐกิจ 2. อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ในชวงไตร มาสแรกของป 2557 มีมูลคาการสงออก (ไมรวมทองคํายัง ไมขึ้นรูป) มีมูลคา 58,936 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 4.86 เมื่อ เที ย บกั บ ช ว งเวลาเดี ย วกั น ในป ที่ ผ า นมา ทั้ ง นี้ เ ป น กลุ ม อุตสาหกรรมที่ทักษะฝมือแรงงานสูง สามารถผลิตสินคาที่มี คุณภาพแตหากมีขอจํากัดในการพัฒนาผลิตภัณฑ เนื่องจาก ไมมีเทคโนโลยีเครื่องจักรเปนของตนเอง จึงตองเรงสงเสริม และพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรใหสามารถผลิตอัญมณีและ เครื่องประดับไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3. อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส มีมูลคาส ง ออกในไตรมาสแรกของป 2557 อยู ที่ 427,212ล า นบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 0.99 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมา ทั้ง นี้เนื่องจากการผลิตส วนใหญ ยั งเปนการรั บจ างผลิตใน สวนของอุปกรณและชิ้นสวนพื้นฐาน ซึ่งตองเผชิญกับคูแขง ที่มีตนทุนค าแรงที่ถูก และเทคโนโลยี ที่ทันสมัยกวา ทํา ให กลุมอุตสาหกรรมนี้จําเปนตองพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต ใหเทียบเทาในระดับสากล 4. อุ ตสาหกรรมเครื่อ งหนังและรองเทา มีมูลคา การ สงออกในชวงครึ่งปแรกของป 2557 อยูที่ 29,868 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 0.38 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันในปที่ผาน

6

มา เปนหนึ่งในอุตสาหกรรมแฟชั่นที่มีความสําคัญตอระบบ เศรษฐกิจ และเปนที่ยอมรับของตางชาติ เนื่องจากแรงงาน ไทยมีฝมือและมีค วามชํานาญสู ง แตยัง ขาดการสนับสนุน จากอุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข อ ง และการพั ฒ นาด า นการ ออกแบบยั ง อยู ใ นระดั บ ต่ํ า เมื่ อ เที ย บกั บ คู แ ข ง ทั้ ง นี้ จึ ง จําเปนตองเรงสงเสริมและพัฒนาดานแฟชั่นกับหนวยงานที่ เกี่ยว ของทั้งภาครั ฐและเอกชนในการพัฒนาการออกแบบ ตลาดและสรางตราสินคาแฟชั่นไทย 5. อุ ต สาหกรรมไม แ ละเครื่ อ งเรื อ น มี มู ล ค า การ สงออกในชวงครึ่งปแรกของป 2557 อยูที่ 54,951 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 15 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันในปที่ผา น มา ผู ประกอบการยั ง ขาดความรู ค วามเข า ใจในเรื่ อ งของ การตลาด การลงทุน การพัฒนาดานการออกแบบ และขาด แคลนนั ก ออกแบบให เ หมาะสม กั บ ตลาดสากล รวมถึ ง ตนทุนรวมของอุตสาหกรรมอยู ในระดั บสู ง กวา คู แข ง ขั น เชน ค าแรงงาน ค า วัตถุดิ บ เปนตน จึ งมีก ารสนับสนุนให ผู ป ระกอบการใช CLMV เนื่ อ งเป น กลุ ม ประเทศที่ มี พรมแดนติดกับไทย ประกอบกับมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ และมีคาจางแรงงานที่ไมสูงมากนัก


mACHInERY nEws กสอ.ดัน 11 อุตสาหกรรม กระตุนจีดีพีเศรษฐกิจ 6. อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม ในชวงครึ่งป แรกของป 2557 มีมูลคาการสงออกอยูที่ 121,211 ลานบาท ลดลงรอยละ 0.11 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันในปที่ผาน มา เปนอุตสาหกรรมที่มีความประณีตและเปนที่ตองการของ ตลาด แตเนื่องจากคาแรงที่สูงขึ้นจนอาจเกิดการโยกยายฐาน การผลิ ต ของผู ว า จ า ง จึ ง ต อ งมี ก ารพั ฒ นาการออกแบบ ผลิตภัณฑ เพื่อสรางสินคาที่เปนตราสินคาของไทยเองและ พัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตใหมี ความรวดเร็วและแมนยํา ยิ่งขึ้น 7. อุ ตสาหกรรมยางพารา/ผลิ ตภั ณฑย าง ในชวง 4 เดือนแรกของป 2557 มีมูลคาการสงออกอยูที่ 80,852 ลาน บาท ลดลงรอยละ 10.7 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันในปที่ ผานมา ไทยถือเปนผูผลิตและสงออกยางไดเปนอันดับตนๆ ของโลก แต ห ากยั ง เสี ย เปรี ย บมาเลเซี ย ในเรื่ อ งของ เทคโนโลยีการผลิตและระบบลอจิสติกส ในการสงออก อีก ทั้งยังขาดการพัฒนาและการแปรรูปผลิตภัณฑยาง ทั้งนี้เพื่อ เปนการเพิ่มมูลค า และคุณค าของยางธรรมชาติ จึงตองเร ง พัฒนาและใหความรูแกผูประกอบการ 8. อุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป ในชวงครึ่ง ป แรกของป 2557 มีมูลคาการสงออกโดยรวมอยูที่ 5-6 แสน ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 6 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันใน ปที่ผานมา เปนอุตสาหกรรมที่สร างรายไดให ประเทศเปน จํานวนมาก เนื่องจากสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศบา น เรานั้ น เอื้ อ ต อ การเพาะปลู ก ทํ า ให ไ ด วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี ม ากทั้ ง คุ ณ ภาพและปริ ม าณ และเพื่ อ เป น การเพิ่ ม รายได ใ ห แ ก เกษตรกร/ผูประกอบการ อีกทั้งสรางมูลคาเพิ่มใหแกผลผลิต จากภาคการเกษตร เราจึงมีการชวยเหลือผูประกอบการผาน การจัดอบรมใหความรู หรือโครงการตางๆ ในเรื่องของการ ใชเทคโนโลยีในการแปรรูปและพัฒนาวัตถุดิบ การวิจัยและ พัฒนาสินค าอาหาร การควบคุ มและตรวจสอบคุณภาพใน กระบวนการผลิต เปนตน

7

9. อุตสาหกรรมยาและเคมีภัณฑ ในไตรมาสแรกของ ป 2557 มี มู ล ค า การส ง ออกรวม 69,557 ล า นบาท เป น อุตสาหกรรมที่ยั ง ตอ งพึ่ ง พาวั ตถุ ดิ บ นํา เข า เป นส วนใหญ เนื่องจากศักยภาพในการผลิตคอนขางต่ํา อีกทั้งตองใชเงิ น ลงทุนสูงมาก เราจึงไดรวมมือกับหลายหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งภาครัฐและเอกชนในการเขา ไปชวยเหลือและสนับสนุน ในเรื่องของเงินทุน 10. อุตสาหกรรมวัสดุกอสราง ในไตรมาสแรกของป 2557 ลดลงรอยละ 12.4 โดยลดลงทั้ง การกอสรา งภาครั ฐ และภาคเอกชน ทั้งนี้ผูประกอบการในกลุมอุตสาหกรรมนี้มี เทคโนโลยี ใ นการผลิ ต ที่ ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หากแตมีตนทุนของราคาสินคาสูง เนื่องจากคาแรงงานและ คาขนสง และขาดการวิจัยและพัฒนาสินคาตางๆ ใหทันสมัย เมื่อเทีย บกั บตา งชาติ ทั้งนี้ จึ ง ตองเขา ไปชวยพัฒ นาสิ นค า โดยต อ ยอดจากงานวิ จั ย โดยร ว มกั บ สถานศึ ก ษาหรื อ สถาบันวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ 11. อุ ต สาหกรรมเซรามิ ก และแก ว ในไตรมาสที่ 2/2557 มีมูลคาการสงออกอยูที่ 6,494 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอย ละ 10.47 เมื่อเทียบกั บชวงเวลาเดี ยวกั นในปที่ผานมา เปน อุตสาหกรรมที่มีแรงงานมากฝมือทําใหสินคามีคุณภาพสู ง แตหากขาดผลิตภัณฑสินคาที่เปนของตัวเอง เนื่องจากเปนผู รั บจ า งผลิต ทํา ให ไ มมีอํา นาจในการกํ า หนดหรื อกํ า หนด ราคาและสรางมูลคาเพิ่มจากเอกลักษณ เฉพาะตัวได เราจึง จําเปนตองสงเสริมและสนับสนุนใหผูรับจางผลิตมีการสราง ตราสินคา เปนของตนเอง


mACHInERY nEws กสอ.ดัน 11 อุตสาหกรรม กระตุนจีดีพีเศรษฐกิจ ทั้งนี้ โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อยกระดับความสามารถการแขงขัน (MDICP) มีเปาหมายเพื่อพัฒนา ระบบการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อยกระดับความสามารถให วิสาหกิจสามารถแขงขันทั้งในประเทศและระดับสากล นับ ถึงปจจุบันมีวิสาหกิจเขารวมโครงการทั้งในสวนกลาง และสวนภูมิภาค รวมเปนจํานวนกวา 740 กิจการ โดยตลอด 15 ป ของการจัด โครงการสามารถสรางผลิตภาพใหเศรษฐกิ จไทยไดเพิ่มขึ้นกวา 40,000 ลานบาท โดยเฉพาะในป 2556 มี วิสาหกิจเขารวมโครงการกวา 56 กิจการ สามารถสรางมูลคายอดขายเพิ่มขึ้นกวา 3,390.86 ลานบาท ลดตนทุนการผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คิดเปนมูลคา 459.04 ลานบาท และมีการลงทุนขยายกิจการเปนมูลคา 116.40 ลานบาท มี การจางงานเพิ่มขึ้น 243 คน สามารถลดของเสียอันเนื่องมาจากกระบวนการผลิตมูลคากวา 92.31 ลานบาท มีการพัฒนา ผลิตภัณฑใหม จํานวน 446 เรื่อง ดานดร.อรรชกา สีบุญเรือง อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กลาววา กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ในฐานะ หนวยงานที่ใหการสงเสริม สนับสนุนผูประกอบการ SMEs ในภาคอุตสาหกรรม ไดจัดทําโครงการพัฒนาอุตสาหกรรม การผลิตเพื่อยกระดับความสามารถการแขงขัน (MDICP) ร วมกั บกระทรวงอุตสาหกรรม ภายใตแนวคิดเพื่อเปนการ พัฒนาอุตสาหกรรม SMEs ไทยใหส ามารถก าวเขาสู ระบบการคาในระดับสากล และสามารถสรา งสมรรถนะในการ แขงขันไดอยางยั่งยืน

8



ภาวะเศรษฐกิจไทยเดือนกรกฎาคม ป2557 เศรษฐกิจเดือนกรกฎาคม 2557 ในภาพรวมทรงตัวเมื่อเทียบกับเดือนกอน การใชจาย ในประเทศปรับดีขึ้น ความเชื่อมั่นภาคครัวเรือนและธุรกิจตอสถานการณทางเศรษฐกิจและ การเมืองดีขึ้น และรายไดนอกภาคเกษตรสนับสนุนใหกําลังซื้อของครัวเรือนเพิ่มขึ้น สงผลให ความตองการในประเทศขยายตัวตามการบริ โภคและการลงทุ นภาคเอกชนที่ป รั บ ดีขึ้ น ประกอบกับการใชจายของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นนั้นกลับมามีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ มากขึ้น อยางไรก็ตาม การสงออกยังฟนตัวชา และภาคการผลิตอยูระหวางการระบายสินคา คงคลัง สงผลใหก ารผลิตภาคอุตสาหกรรมอยูในภาวะทรงตัว สํา หรับภาคการทองเที่ยวมี สั ญ ญาณปรั บ ดี ขึ้ น เป น ลํ า ดั บ หลั ง จากสถานการณ ท างการเมื อ งมี ค วามชั ด เจนและ นักทองเที่ยวตางชาติเริ่มคลายความกังวล ดานเสถียรภาพในประเทศ อัตราการวางงานอยู ในระดั บ ต่ํ า อั ต ราเงิ น เฟ อ ลดลงตามราคาอาหารสดและพลั ง งาน ขณะที่ เ สถี ย รภาพ ตางประเทศอยูในเกณฑมั่นคง ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลจากการสงกลับกําไรและเงินปนผล ของบริษั ทตางชาติ สํา หรับดุลเงินทุนเคลื่อนยายเกิ นดุลหลังจากนักลงทุนตางชาติมี ความ เชื่ อ มั่ น ต อ เศรษฐกิ จ ไทยมากขึ้ น และกลั บ มาลงทุ น ในตราสารหนี้ ข องภาครั ฐ โดยรวม ดุลการชําระเงินเกินดุล

ในเดือนกรกฎาคม ป 2557 มี ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจที่สง สัญญาณบวก ตออุตสาหกรรมเครื่องจักรกล ไทย ไดแก การอุปโภคบริโภค ภาคเอกชน ปรับตัวดีขึ้นตาม การใชจายในหมวดสินคาไม คงทน และขยายตัวเปนครั้ง แรกนับจาก ส.ค. 56

การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวจากเดือนกอนตามการใชจายในหมวดสินคาไมคงทน เชน ปริมาณการใชเชื้อเพลิง อาหารและเครื่องดื่มและสินคาที่ใชในครัวเรือน ขณะที่การใช จายในหมวดสินคาคงทนยังคอนขางทรงตัว ในภาพรวมการบริโภคภาคเอกชนเริ่มขยายตัว จากระยะเดียวกันปกอน ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวรอยละ 0.2 เปนครั้ง แรกนับจากเดือนสิงหาคม 2556 ตามการจัดเก็บภาษีมลู คาเพิ่มจากฐานการบริโภคใน ประเทศ และดัชนีเชื้อเพลิง การลงทุนภาคเอกชน ปรับดีขึ้นเล็กนอยจากเดือนกอน โดยเฉพาะภาคกอสรางในพื้นที่นอก เขตเทศบาล จากความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจดีขึ้น รวมทัง้ ผูประกอบการบางสวนเริ่มลงทุน หลังจากไดรับอนุมัติสงเสริมการลงทุนและใบอนุญาต รง. 4 ซึ่งไมสามารถอนุมัติไดในชวง กอนหนา แตหากเทียบกับระยะเดียวกันปกอน การลงทุนภาคเอกชนยังหดตัว โดยดัชนีการ ลงทุนภาคเอกชนหดตัวรอยละ 2.7 การสงออกสินคา ในเดือนนี้มีมูลคา 18,700 ลานดอลลารสรอ. หดตัวจากทั้งเดือนกอนและ ระยะเดียวกันปกอน โดยเฉพาะการสงออกเคมีภัณฑ ปโตรเลียม ยางพารา และสินคา อิเล็กทรอนิกส เนื่องจากอุปสงคจากภูมภิ าคเอเชียที่ยังคงชะลอตัวราคายางพาราที่ตกต่าํ รวมทั้งปจจัยชั่วคราวจากการปดซอมบํารุงโรงกลั่นและขอจํากัดดานเทคโนโลยีการผลิตของ ไทยที่ไมสามารถตอบสนองตอรสนิยมของตลาดไดมากนัก

10

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

Analyst by ISIT


ภาวะเศรษฐกิจไทยเดือนกรกฎาคม ป 2557 การนําเขาสินคา มีมูลคา 17,249 ลานดอลลารสรอ. เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนตามการนําเขาสินคา ทุนเปนสําคัญ แตโดยรวมการนําเขาสินคายังอยูในระดับต่ําภาคอุตสาหกรรมยังมีสินคาคงคลังใน ระดับสูง ผูประกอบการจึงพยายามระบายสต็อกและยังไมเพิ่มระดับการผลิต ทําใหการนําเขา วัตถุดิบและสินคาขั้นกลางยังอยูในระดับต่ํา ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมหดตัวรอยละ 5.2 รายไดเกษตรกร ทรงตัวจากเดือนกอน แตหดตัวเมื่อเทียบกับระยะเดียวกันปกอนจากผลของ ราคา โดยเฉพาะขาวและยางพาราที่สต็อกโลกอยูในระดับสูง ประกอบกับอุปสงคจากจีนชะลอ ลง อยา งไรก็ ดีการชะลอการระบายสต็อกขา วของทางการ ผลผลิตขา วที่ออกสูตลาดนอยลง รวมถึงความตองการปาลมน้ํามันในตลาดโลกที่มากขึ้นชวยใหราคาสินคาเกษตรไมปรับต่ําลง ตอเนื่อง ดานผลผลิตสินคาเกษตรขยายตัวจากระยะเดียวกันปก อน โดยเฉพาะยางพาราและ ปาลม น้ํามั นที่มี การขยายพื้นที่เ พาะปลูกในชวงก อนหนา แตห ากเทียบกั บ เดือนก อนผลผลิต สินคาเกษตรคอนขางทรงตัว ภาครัฐ ใชจายโดยรวมเพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปกอน ตามการเบิกจายเงินอุดหนุนใหสถาบัน การเงินเฉพาะกิจเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยธรรมชาติและรายจายเพื่อการศึกษา อยางไรก็ดี การ เบิกจายงบลงทุนยังทําไดคอนขางชา สําหรับรายไดนําสงลดลงเล็กนอยจากระยะเดียวกันปกอน ตามการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตและภาษีฐานการคาระหวางประเทศ สอดคลองกับยอดจําหนาย ยานยนตและภาวะการคาตางประเทศที่ลดลงจากปกอน รายจายที่มากกวารายไดทําใหรัฐบาล ขาดดุลเงินสด 36 พันลานบาท

11

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

ในเดื อ นกรกฎาคม 2557 นี้ มี ตั ว ชี้ วั ด ทางเศรษฐกิ จ ที่ ยั ง ส ง สั ญ ญาณลบ ต อ อุ ต สาหกรรม เครื่องจักรกลไทย ไดแก การลงทุ นภาคเอกชน ยั ง หดตั ว แมจะปรับดีขึ้นเล็กนอยจากเดือน กอน จากภาคกอสราง เนื่องจาก ความเชื่อมั่นที่ดีขึ้นของภาคธุรกิจ รวมทั้งผูประกอบการบางสวนเริ่ม ล ง ทุ น ห ลั ง จ า ก ไ ด รั บ อ นุ มั ติ สงเสริมการลงทุนและใบอนุญาต รง. 4 รายได เ กษตรกร หดตั ว จากผล ของราคา โดยเฉพาะข า วและ ย า ง พ า รา ที่ ส ต็ อก โล ก อยู ใ น ระดับสูง ประกอบกับอุปสงคจาก จีนชะลอลง การสงออกสินคา หดตัวหลังจาก ข ย า ย ตั ว ใ น เ ดื อ น ก อ น ห น า โดยเฉพาะการส ง ออกเคมีภั ณ ฑ ปโตรเลียม ยางพารา และสินค า อิเ ล็กทรอนิกส เนื่องจากอุปสงค จากภูมิภาคเอเชียที่ยังคงชะลอตัว และราคายางพาราที่ตกต่ํา

Analyst by ISIT


การทองเที่ยวมีสัญญาณปรับดีขึ้นเปนลําดับภายหลังสถานการณทาง การเมืองมีความชัดเจนและนักทองเที่ยวตางชาติเริ่มคลายความกังวล


ภาวะอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลเดือนกรกฎาคม 2557 ภาพรวมมูลคาการนําเขา-สงออก และดุลการคาเครื่องจักรกลของไทย เดือนกรกฎาคม 2557

ในเดือนกรกฎาคม ป 2557 ภาวะอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล ของไทยปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นจากเดือนกอนหนา และเดือน เดี ย วกั น ป กอ น สะท อ นจากมู ล ค า การนํ า เข า และส ง ออกที่ ขยายตัว โดยการนําเข าขยายตัวรอยละ 4 ขณะที่การสงออก ขยายตัวรอยละ 18.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน สวนหนึ่ง เปนผลมาจากความเชื่อมั่นของภาคเอกชนในประเทศที่ปรับตัว ดี ขึ้ น ต อเนื่อ ง โดยการบริ โ ภคภาคเอกชนเริ่ มเป นบวก และ ผลผลิ ต ภาคอุต สาหกรรมหดตั ว ช า ลง ส งผลให การนํา เข า ยั ง ขยายตั ว ต อเนื่อง คาดว า ในอนาคตผู ป ระกอบการจะนํา เข า เครื่องจักรเพิ่มขึ้ นหลังจากได รับอนุมัติส งเสริมการลงทุนและ ใบอนุญาต รง. 4 ขณะที่ภาคสงออกไดรับอานิสงสจากการฟน ตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศคูคาสําคัญอยางสหรัฐฯ และกลุมประเทศ CLMV การนําเขาเครื่องจักรกลในเดือนนี้ขยายตัวรอยละ 4 เมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันปกอน คิดเปนมูลคา 44, 735 ลานบาท จาก การนําเขาที่เพิ่มขึ้นในทุกหมวด ยกเวนเครื่องจักรกลการเกษตร โดยหมวดเครื่ อ งมื อ กลขยายตั ว ร อ ยละ 14.1 และหมวด เครื่อ งจัก รอุต สาหกรรมขยายตั ว ร อยละ 3.1 ขณะที่ ห มวด เครื่องจักรกลการเกษตรหดตัวรอยละ 14.2 และเมื่อเทียบกับ เดือนกอนหนา สินคาในกลุมเครื่องจักรกลทุกหมวดปรับตัวดีขึ้น การสง ออกเครื่ องจั กรกลไทยในเดื อนนี้ป รั บ เพิ่มขึ้ นรอ ยละ 18.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน และขยายตัวเรงขึ้นจาก เดือนกอนหนาที่ ขยายตัวรอยละ 16.4 คิดเปนมูลคาอยูที่ 21, 498 ลานบาท โดยสงออกเพิ่มขึ้นในทุกหมวดโดยเฉพาะหมวด เครื่ อ งมื อ กลที่ ข ยายตั ว สู ง ถึ ง ร อ ยละ 70.1 ขณะที่ ห มวด เครื่ อ งจั ก รกลการเกษตรขยายตั ว ร อ ยละ 14 และหมวด เครื่องจักรอุตสาหกรรมขยายตัวรอยละ 13.1 อยางไรก็ดี เมื่อ เที ย บกับ เดื อนกอนหนา ทุ กหมวดปรับ ตัว ดี ขึ้ น ยกเว นหมวด เครื่องจักรกลการเกษตร ดุลการคาเครื่องจักรกลของไทยในเดือนนี้ขาดดุลการคาลดลง จากเดือนกอน อยูที่ 23, 238 ลานบาท

13


มูลคาการนําเขา-สงออก และดุลการคาเครื่องจักรกลการเกษตรของไทย เดือนกรกฎาคม 2557

มูลคาการคาเครื่องจักรกลการเกษตรในเดือนกรกฎาคม ป 2557 การผลิตภาคเกษตรกรรมขยายตัวรอยละ 4.3 จากระยะเดียวกันป กอนตามการเพิ่มขึ้ นของผลผลิตผลไม เปนสําคั ญ เนื่องจากสภาพ อากาศเหมาะสม รวมถึ ง ผลผลิ ต ยางพาราและปาล ม ามั น น ที่ เพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่เพาะปลูกในชวงกอนหนาขณะที่ผลผลิต ข า วลดลงจากปริ ม าณนาในระบบชลประทานที่ ไ ม เ อื้อ อํ านวย ประกอบกับการลดการปลูกขาวนาปรังรอบ 2 ในปนี้สวนหนึ่งจาก ผลของการยกเลิ ก โครงการรั บ จํ า นํ า ข า ว ขณะที่ ร าคาสิ น ค า เกษตรกรรมหดตัวรอยละ 5.2 สงผลใหรายไดเกษตรกรหดตัวรอย ละ 1.2 ชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่หดตัวรอยละ 6.6 ทําใหการ นําเขาเครื่องจักรกลการเกษตรหดตั วรอยละ 14.2 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันปกอน คิดเปนมูลคา 2, 871 ลานบาท สงผลใหในชวง 7 เดือนแรกป นี้ มีการนําเขาเครื่องจักรกลการเกษตรเพิ่มขึ้นรอย ละ 2 โดยกลุมสินคาเครื่องจักรงานเกษตรกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นรอย ละ 1.2 ขณะที่กลุมสินคาเครื่องจักรงานปศุสัตวปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 18.4 โดยสินค าที่มี การนําเขาเพิ่ มขึ้ นสู งสุ ด ไดแ ก เครื่ องทํ าแห ง (รอยละ 27.2) สวนสินคาที่มีนําเขาลดลงต่ําสุดไดแก แทรกเตอร รถพวง รถกึ่งรถพวงและสวนประกอบ (-33.4) การสงออก หากพิจารณาตลาดสงออก 5 อันดั บแรก ที่มีสัดสวน การสงออกรวมกันที่รอยละ 46 ของมูลคาการสงออกเครื่องจักรกล การเกษตรในป 2556 ซึ่งไดแก กัมพูชา สหรัฐฯ ลาว ญี่ปุน และ อินเดี ย มีข ยายตั วร อยละ 51.4, 65.3, 37.0, 2.8 และ -42 ตามลํ าดั บ ส ง ผลให การส งออกเครื่ องจักรกลการเกษตรเดื อนนี้ ขยายตั วร อยละ 14.0 เมื่ อเทีย บกับ ชวงเดี ยวกันป กอน คิ ดเป น มูลคา 1, 461 ลานบาท และทําใหในชวง 7 เดือนแรกของปนี้ มี การสงออกเครื่องจักรกลการเกษตรเพิ่มขึ้นรอยละ 36.9 โดยกลุม สิ น ค าเครื่ อ งจัก รงานเกษตรกรรมขยายตั ว ร อ ยละ 37 ขณะที่ เครื่ องจักรงานปศุสัต วข ยายตัวรอยละ 28.1 โดยสินคาที่ สง ออก เพิ่ ม ขึ้ น สู ง สุ ด ได แ ก แทรกเตอร รถพ ว ง รถกึ่ ง รถพ ว งและ สวนประกอบ (รอยละ 59.8) ขณะที่ สินค าที่ ส งออกลดลงต่ําสุ ด ไดแก เครื่องรีดนม (รอยละ -87) ดุลการคาเครื่องจักรกลการเกษตรของไทยในเดือนนี้ขาดดุลการคา เพิ่มขึ้นจากเดือนกอน มูลคาการขาดดุลการคาอยูที่ 1, 409 ลาน บาท

14


มูลคาการนําเขา-สงออก และดุลการคาเครื่องจักรอุตสาหกรรมของไทย เดือนกรกฎาคม 2557

มูลคาการคาเครื่ อ งจั ก รอุ ตสาหกรรมในเดื อ นกรกฎาคม ป 2557 การผลิ ตภาคอุตสาหกรรมทรงตัวจากเดือนกอน เพราะหลาย อุตสาหกรรมยังคงอยูในชวงของการระบายสินคาคงคลังจึงยังไม เพิ่มระดับการผลิตตามความตองการสินคาที่ปรับดีขึ้น แตหาก เทียบกับระยะเดียวกันปกอน การผลิตหดตัวตอเนื่องที่รอยละ 5.2 ชะลอลงจากเดือนกอนที่หดตัวรอยละ 6.7 ซึ่งสาเหตุหลัก มาจากการผลิต ยานยนต เ พื่อขายในประเทศที่ล ดลง และจะ ยังคงเป นปจจัย ฉุดอีกระยะหนึ่ง ประกอบกับ ปจจัยพิเศษจาก การป ด โรงกลั่ น ขนาดใหญ ส ง ผลให การนํา เข า เครื่อ งจั ก ร อุตสาหกรรมในเดือนนี้ขยายตัว รอยละ 3.1 เมื่อเทียบกับชว ง เดียวกันปกอน คิดเปนมูลคา 31, 872 ลานบาท สงผลใหในชวง 7 เดือนแรกปนี้ มีการนําเขาเครื่องจักรอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นรอย ละ 6.7 โดยกลุ ม สิ น ค า ที่ มี ก ารนํ า เข า เพิ่ ม ขึ้ น สู ง สุ ด ได แ ก เครื่องจักรอุตสาหกรรมเหมืองแร (รอยละ 169.5) ขณะที่กลุม สินคา ที่มีการนําเขา ลดลต่ํ าสุ ดไดแ ก เครื่องจักรอุต สาหกรรม เครื่องหนัง (รอยละ -21.3) การสงออก การสงออกเครื่องจักรอุตสาหกรรมเดือนนี้ขยายตัว รอยละ 13.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน คิดเปนมูลคา 17, 118 ล า นบาท ส ง ผลให ใ นช ว ง 7 เดื อนแรกป นี้ การส ง ออก เครื่องจักรอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นรอยละ 28.9 โดยกลุมสินคา ที่ สงออกสูงสุดไดแก เครื่องจักรอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ (รอยละ 223.4) ขณะที่ กลุ มสินคา ที่ส งออกลดลงต่ํา สุด ได แ ก เครื่องจักรอุตสาหกรรมเครื่องหนัง (รอยละ 64.3) ดุ ล การค า เครื่ อ งจั ก รอุ ต สาหกรรมของไทยในเดื อ นนี้ ข าด ดุลการคาลดลงจากเดือนกอน โดยมูลคาการขาดดุลการคาอยูที่ 14, 755 ลานบาท

15


มูลคาการนําเขา-สงออก และดุลการคาเครื่องมือกลของไทย เดือนกรกฎาคม 2557

มูลคาการคาเครื่องมือกลในเดือนกรกฎาคม ป 2557 การนําเขาเครื่องมือกลในเดือนนี้ขยายตัวรอยละ 14.1 โดย เปนหมวดเครื่องจักรกลที่มีอัตราการขยายตั วสู งสุด และมี มูลคาอยูที่ 9, 993 ลานบาท สงผลใหในชวง 7 เดือนแรกปนี้ การนําเขาเครื่องมือกลขยายตัวรอยละ 12.2 จากการนําเขา ของกลุมสินคาเครื่องมือกลที่ขยายตัวรอยละ 14.1 ขณะที่ กลุมสินคาเครื่องใชมือหดตัวรอยละ 11.3 โดยสินคาที่มีการ นําเขาเพิ่มขึ้นสูงสุดไดแก เครื่องมือกล เจาะ ควาน เซาะ ทํา เกลียว (รอยละ 59.2) สวนสินคาที่มีการนําเขาลดลงต่ําสุ ด ไดแ ก เครื่องมือกล แปรรูปหิ น เซรามิก คอนกรีต (รอยละ 37.3) การสงออก มูลค าการสง ออกอยูที่ 2, 919 ล านบาท โดย ตลาดส งออกเครื่องมือกลของไทย 5 อันดั บแรกที่ มีสัดสว น รวมกันรอยละ 50 ของมูลคาการสงออกเครื่องมือกลทั้งหมด ของในป 2556 ไดแ ก ญี่ปุ น สหรัฐ ฯ จีน อินโดนีเ ซีย และ อินเดีย มีการขยายตัวรอยละ 87.8, 83.9, 32, -42.7 และ 30 ตามลํ า ดั บ ส ง ผลให การสง ออกเครื่องมือกลในเดื อนนี้ ขยายตั วรอยละ 70.1 และทําใหในชว ง 7 เดือนแรกป นี้ มี การสงออกเครื่องมือกลเพิ่มขึ้นรอยละ 28.7 โดยกลุมสินคา เครื่องมือกลขยายตัวรอยละ 29.8 ขณะที่กลุมสินคาเครื่องใช มือขยายตั วรอยละ 24.9 โดยสินค าที่ สง ออกเพิ่มขึ้นสูง สุ ด ไดแก เครื่องมือกล กลึงโลหะ (รอยละ 97.1) สวนสินคา ที่ สงออกลดลงต่ําสุด ไดแก เครื่องมือกล แบบศูนยรวม (รอย ละ 39.9) ดุลการคาเครื่องมือกลของไทยในเดือนนี้ขาดดุลการคาลดลง จากเดือนกอนอยูที่ 7, 074 ลานบาท

16


THAILAnD mACHInERY TECHnoLogY JouRnAL Contact Us

September 2014

THAILAND MACHINERY TECHNOLOGY JOURNAL

แผนกบริการเทคนิคอุตสาหกรรม โทร 02 712 4402-7 ตอ 132 E-mail: miu@isit.or.th

!!! หากทานใด สนใจประชาสัมพันธขาวสารการเปดตัวสินคาในกลุมเครื่องจักรกลของบริษัท หรือกิจกรรมทีเ่ ปนประโยชน ตอเพื่อนรวมวงการ ทานสามารถติดตอโดยตรงกับทีมงาน MIU ไดที่ โทร 02-713-6290-2 ตอ 132


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.