education

Page 1

อ.สุจิตรา ศรี ฮาด

ระบบคอมพิวเตอร์


1. ระบบคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ หมายถึงเครื่ องจักรกลทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์คิดค้น ขึ้นมา เพื่ออานวยความสะดวก ในด้านต่าง ๆ เช่น การคานวณ การ ออกแบบ การเก็บข้อมูล โดยมนุษย์สามารถเขียนโปรแกรมหรื อคาสัง่ สัง่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานตามขั้นตอนที่กาหนด และประมวลผลออกมา ตามที่ตอ้ งการได้ • ระบบคอมพิวเตอร์ คือ องค์ประกอบหลัก ที่จะทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ สามารถทางาน ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่ วนใดส่ วนหนึ่ง แล้ว คอมพิวเตอร์กไ็ ม่สามารถที่จะทางานได้


1. ระบบคอมพิวเตอร์ (ต่ อ) องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 1. ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์หรื อชิ้นส่ วนของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มี วงจรไฟฟ้ าอยูภ่ ายในเป็ นส่ วนใหญ่ สามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ แป้ นพิมพ์ สแกนเนอร์ เมนบอร์ ด ฮาร์ ดดิสก์ เป็ นต้น


1. ระบบคอมพิวเตอร์ (ต่ อ) 2. ซอฟแวร์ (Software) คือ โปรแกรมหรื อชุดคาสั่ง ที่สั่งควบคุมให้ฮาร์ ดแวร์ และเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางานตามที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ ซอฟต์แวร์ จะถูกบรรจุอยูใ่ นสื่ อ หรื อวัสดุที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ฟล็อปปี้ ดิสก์, ฮาร์ ดดิสก์, ซี ดีรอม, เทปไดร์ฟ และดีวีดีรอม เป็ นต้น


1. ระบบคอมพิวเตอร์ (ต่ อ) 3. พีเพิลแวร์ (Peopleware) คือ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่น นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ผูเ้ ขียน โปรแกรม (Programmer) ผูใ้ ช้โปรแกรม (User) โดยสรุ ปก็คือ บุคคล ใดก็ตามที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ จะถือว่าเป็ นพีเพิลแวร์ท้ งั สิ้ น


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ 1. หน่ วยป้อนข้ อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการป้ อนข้อมูลเข้า เครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการป้ อนข้อมูลเข้าสู่เครื่ อง คอมพิวเตอร์ ได้แก่ แป้ นพิมพ์, เม้า สแกนเนอร์, จอยสติ๊ก, กล้องดิจิตอล


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ 2. หน่ วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หรื อย่อว่า ซีพยี ู (CPU) เป็ นวงจรอิเลคทรอนิกส์ที่ทางาน หรื อประมวลผล ตามชุดของคาสัง่ เครื่ องจากซอฟต์แวร์ หน่วยประมวลผลเปรี ยบเสมือนเป็ นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทาหน้าที่ตดั สิ นใจหรื อคานวณ จากคาสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรี ยบเทียบ การกระทาการทางคณิ ตศาสตร์ ฯลฯ


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) CPU ประกอบด้วย 3 ส่ วนหลักได้แก่ 1.1 ส่ วนควบคุม(Control Unit) 1.2 ส่ วนการคานวณทางคณิ ตศาสตร์ และตรรกะศาสตร์ เป็ นส่ วนของการคานวณต่างๆ 1.3 ส่ วนหน่วยความจา ช่วยในการเก็บข้อมูล ชัว่ คราวเพื่อนาไปประมวลผล


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) - หน่ วยความจา (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจาข้อมูลให้กบั เครื่ อง คอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิด คือ • หน่วยความจาถาวร(ROM) เป็ นหน่วยความจาที่สามารถจาข้อมูลได้ ตลอดเวลา

ROM


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) • ส่ วนอีกประเภทหนึ่ง คือ หน่วยความจาชัว่ คราว(RAM) จะจาข้อมูลได้ เฉพาะช่วงที่มีการเปิ ดไฟเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ เท่านั้นหน่วยความจา ชัว่ คราวถือว่าเป็ นหน่วยความจาหลักภายในเครื่ องสามารถซื้ อมาติดตั้ง เพิ่มเติมได้ RAM Main board


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) 3. หน่ วยแสดงผล (Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลที่ ผ่านการประมวลผลในรู ปของข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรื อ เสี ยง อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแสดงผล ได้แก่ จอภาพ, เครื่ องพิมพ์, ลาโพง


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) • หน่ วยความจาสารอง (Storage Unit) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เก็บ ข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป เนื่องจากหน่วยความจาแรม จาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิ ดไฟเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น ถ้าต้องการเก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาส ต่อไป จะต้องบันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจาสารอง ฮาร์ ดดิสก์

ฟลอบปี้ ดิสก์

ดิสก์ไดร์ ฟ

ซีดรี อม

ทัมท์ไดร์ฟ


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ (ต่ อ) • แผงวงจรหลัก (Main board) คือ แผงวงจรที่ติดตั้งภายในเคสของ คอมพิวเตอร์ แผงเมนบอร์ดเป็ นที่ติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ อิเล็กทรอนิกส์ให้เชื่อมต่อถึงกัน เป็ นที่ติดตั้งซีพียู หน่วยความจารอม หน่วยความจาแรม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ และพอร์ตเชื่อมต่อออกไป ภายนอก


ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ทสี่ ามารถเพิม่ ได้ • การ์ ดจอ คือ การ์ดแสดงผล,VGA Card เป็ นคาเรี ยกต่างๆ กัน แต่จริ งแล้ว ก็หมายความถึงอุปกรณ์ชิ้นนี้ การ์ดจอเป็ นอุปกรณ์สาหรับการแสดงผลของ คอมพิวเตอร์ โดยการ์ดจอจะเชื่อมต่อกันระหว่างเมนบอร์ดกับสายสัญญาณ VGA ที่ต่อกับจอแสดงผล การใช้การ์ดจอโดยมักจะใช้ในงานที่ตอ้ งการการ แสดงผลที่มากกว่าการใช้งานทัว่ ไป เช่นการตัดต่อภาพยนตร์, งานด้านกราฟ ฟิ ค


3. ซอฟต์ แวร์ คอมพิวเตอร์ 3.1 ซอฟต์ แวร์ ระบบ (System Software) คือ โปรแกรมที่ใช้ใน การควบคุมระบบการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ท้ งั หมด เช่น การบูท เครื่ อง การสาเนาข้อมูล 3.2 ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (Application Software) เป็ นซอฟแวร์ ที่ถูกจัดทาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะด้านหรื อเฉพาะองค์กรใดองค์กรหนึ่ง 3.3 โปรแกรมสาเร็จรูป (Package Software) คือ ซอฟต์แวร์ที่ สร้างขึ้นเพื่อใช้ในสานักงานทัว่ ๆ ไป สร้างโดยบริ ษทั ที่มีความชานาญ ในด้านนั้น ๆ


4. กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ • การทางานของคอมพิวเตอร์ เริ่ มจากการป้ อนข้อมูลเข้าทางหน่วยป้ อน ข้อมูล (Input Unit) ผ่านไปยังหน่วยประมวลผลข้อมูล (CPU : Central Processing Unit) โดยหน่วยประมวลผลข้อมูลกลาง จะทางานร่ วมกับหน่วยความจา (Memory Unit) เมื่อได้ผลลัพธ์ที่ ต้องการ จะส่ งข้อมูลออกไปยังหน่วยแสดงผล (Output Unit)


5. รูปแบบของข้ อมูล • ข้ อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ สิ่ งของ หรื อเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่บุคคลหรื อองค์กรให้ความสนใจศึกษา ยัง ไม่ผา่ นกระบวนการประมวลผลให้อยูใ่ นรู ปแบบที่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ ฉะนั้นข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ จึงหมายถึง ข้อมูลดิบ ที่ นาเข้าสู่ระบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์


5. รูปแบบของข้ อมูล (ต่ อ) • สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้ผา่ นการ ประมวลผลในหน่วยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร์มาแล้ว ได้แก่ ผ่านการคานวณ การจัดเรี ยง การเปรี ยบเทียบ เป็ นต้น ผลลัพธ์ที่ได้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้ เรี ยกว่า สารสนเทศ ซึ่ง สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในขั้นตอนนี้อาจจะเป็ นข้อมูลดิบ สาหรับกระบวนการอื่นๆ อีกก็ได้


5. รูปแบบของข้ อมูล (ต่ อ) 5.1 ตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลที่เป็ นจานวนนับ สามารถนาไปคานวณได้ เช่น จานวนเงินเดือน ราคาสิ นค้า ระยะทาง อายุ ความสูง น้ าหนัง เป็ นต้น 5.2 ตัวอักษรและข้ อความ ได้แก่ ข้อมูลที่เป็ นตัวอักษร สัญลักษณ์พิเศษ และข้อความ เช่น ชื่อ-สกุล ที่อยู่ เพศ สถานศึกษา รายการสิ นค้า เป็ น ข้อมูลที่ไม่สามารถคานวณได้ 5.3 ภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหว ได้แก่ ข้อมูลประเภทที่เป็ นภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหว ภาพบุคคล สถานที่ เครื่ องบิน รถยนต์ ภูเขา น้ าตก 5.4 เสี ยง คือ ข้อมูลที่เป็ นเสี ยง เช่น เสี ยงพูด เสี ยงเพลง


6. การจัดเก็บและดูแลข้ อมูล 6.1 บิต (Bit or Binary Digit) บิต คือ หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดใช้ เลขฐานสองหนึ่งหลักเป็ นสัญลักษณ์ คือ 0 หรื อ 1

6.2 ไบต์ (Byte) ไบต์ คือ กลุ่มของเลขฐานสองหลาย ๆ ตัว หรื อหลายบิต นามารวมกัน เช่น นาเลขฐานสองจานวน 8 บิต มารวมกันเป็ น 1 ไบต์ ซึ่ง ข้อมูล 1 ไบต์ สามารถเก็บตัวอักขระที่เป็ นตัวอักษรตัวเลขหรื อสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 1 ตัวอักษร เรี ยกว่า 1 character เช่น 01000001


6. การจัดเก็บและดูแลข้ อมูล (ต่ อ) 6.3 คา (word) หมายถึง หน่วยของข้ อมูลกลุม่ หนึ่ง จานวนหนึง่ ไบต์ หรื อมากกว่า เช่น ถ้ ากาหนดให้ หนึง่ คาเท่ากับ 2 ไบต์ แสดงว่ามีคา่ 16 บิต


6. การจัดเก็บและดูแลข้ อมูล (ต่ อ) 6.4 ฟิ ลด์ (Field) หมายถึง การเก็บข้อมูล 1 ตัวอักษรหรื อมากกว่าที่มี ความสัมพันธ์กนั มารวมกันไว้ สามารถสื่ อความหมายและบอก คุณลักษณะที่เราสนใจได้


6. การจัดเก็บและดูแลข้ อมูล (ต่ อ) 6.2 เรคอร์ ด (Record) หมายถึง การเก็บข้อมูลประเภทฟิ ลด์ที่มี ความสัมพันธ์กนั หลาย ๆ ฟิ ลด์ รวมกัน เป็ นชุดข้อมูล เรี ยกว่าหนึ่งเร คอร์ด เช่น เรคอร์ด ของนักเรี ยนประกอบด้วย ฟิ ลด์รหัสนักศึกษา ชื่อสกุล คะแนน แผนก ฯลฯ 6.3 ไฟล์ (File) หมายถึง การเก็บข้อมูลประเภทเรคอร์ดที่มี ความสัมพันธ์กนั หลายๆ เรคร์อด เช่น ไฟล์ที่เก็บข้อมูลพนักงาน นักศึกษา รายการสิ นค้า


6. การจัดเก็บและดูแลข้ อมูล (ต่ อ) 6.4 ฐานข้ อมูล (Database) ฐานข้อมูล หมายถึง การรวบรวมไฟล์ ที่มี ความสัมพันธ์กนั มาเก็บไว้ ด้วยกัน เป็ นฐานข้อมูลเดียวกัน เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการจัดการข้อมูลและการนาไปใช้ อีกทั้งยังช่วยลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล ของ องค์กรอีกด้วย เช่นฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลรายการสิ นค้า ฐานข้อมูล นักศึกษาเป็ นต้น


7. การจัดเก็บข้ อมูลระบบแอสกี้ • วงการคอมพิวเตอร์ ได้ กาหนดรหัสที่ใช้ เก็บแทนข้ อมูลที่เรี ยกว่า ระบบ แอสกี ้ (ASCII) เพื่อให้ การแลกเปลี่ยนข้ อมูลข่าวสารระหว่างเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนั มีมาตรฐานเดียวกัน ระบบรหัสมาตรฐาน ASCII ประกอบด้ วยตัวเลขฐานสองจานวน 7 หรื อ 8 บิต รวมเป็ น รหัสแทนอักขระ 1 ตัว


การสื่ อสารข้ อมูล Data Communication


คุณสมบัตพิ นื้ ฐานของการสื่ อสารข้ อมูล 1. ความถูกต้องของการส่ ง (Delivery) 2. ความถูกต้องของข้อมูล (Accuracy) 3. เวลาที่เหมาะสม (Timeliness)


องค์ ประกอบของการสื่ อสาร

1. 2. 3. 4. 5.

ข้ อมูลข่าวสาร ผู้สง่ ผู้รับ สื่อที่ใช้ ในการส่ง โพรโตคอล


ทิศทางของการสื่ อสาร 1. การสื่ อสารแบบ Simplex หรื อการสื่ อสารแบบทางเดียว


ทิศทางของการสื่ อสาร (ต่ อ) 2. การสื่ อสารแบบ Half-Duplex หรื อการสื่ อสารแบบทางใดทางหนึ่ง


ทิศทางของการสื่ อสาร (ต่ อ) 3. การสื่ อสารแบบ Full-Duplex หรื อการสื่ อสารแบบสองทาง


Transmission medium


8. อุปกรณ์ รับ- ส่ งข้ อมูล

Transmission medium คือ ตัวกลาง ในการ รับส่ งข้อมูล ข่าวสาร ฯระหว่าง ผูส้ ่ ง ไปยังผูร้ ับ


ประเภทของตัวกลางในการสื่ อสาร Transmission media แบบไร้ สาย (wireless)

แบบใช้ สาย (wired) Twisted-pair cable

Coaxial cable

Fiber-optic cable

Free space


การส่ งสั ญญาณ แบบใช้ สาย


อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในเครือข่ ายมีสาย • การ์ ดแลน LAN (Network Interface Card:NIC)

มีไว้ใช้รับ/ส่ งข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยมีสายเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ซึ่ งจะเรี ยกสายนี้วา่ “สายแลน” การเชื่อมต่อเครื อข่ายจะช่วยให้เราสามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างเครื่ องได้สะดวกขึ้น


อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในเครือข่ ายไร้ สาย • การ์ ดไวเลส


อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในเครือข่ ายมีสาย

• โมเด็ม


อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในเครือข่ ายไร้ สาย • แอร์ การ์ ด


อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในเครือข่ ายมีสาย (ต่ อ) • อุปกรณ์ กระจายสั ญญาณ Hub และ Switch

Hub Switch


• สายคู่ตีเกลียวไม่ มีฉนวนหุ้ม

Unshielded Twisted Pair (UTP)

มีลกั ษณะเป็ นสายทองแดงขนาดเล็กมีฉนวนหุม้ ราคาถูก ติดตั้งง่าย มีความน่าเชื่อถือ สู งในการเชื่อมต่อแบบ STAR แต่มีขอ้ เสี ยคือมีอตั ราการส่ งข้อมูลต่า มีระยะทาง การส่ งสัญญาณสั้นและสัญญาณรบกวนสู ง


• สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม

Shield Twisted Pair (STP)

มีลกั ษณะเป็ นสายทองแดงขนาดเล็กตีเกลียวคู่ แต่ละคู่มีฉนวนหุม้ อีกชั้น เรี ยกว่า Shield เพื่อลดสัญญาณสอดแทรก และมีฉนวนหุม้ ชั้นนอก มีขอ้ ดีคือคุณภาพ การรับ-ส่ งข้อมูลสู งกว่าสายแบบ UTP สัญญาณรบกวนน้อยกว่าสายแบบ UTP แต่ราคาถูกกว่า


• สายโคแอกเชียล Coaxial cable

• สายโคแอกเชียลเป็ นสายที่มีความเร็ วในการถ่ายโอนข้อมูล ประกอบด้วยสายตัวนา สัญญาณเส้นหนึ่งอยูต่ รงกลางเรี ยกว่า Inter Conductor หุม้ ด้วยฉนวน Insulator Filter แล้วล้อมรอบด้วยตัวนาอีกชั้นหนึ่งทาน้าที่เป็ นสายดิน เรี ยกว่า Outer Conductor สายโคแอกเชียลมีขอ้ ดีเรื่ องความเร็ วสู งในการ ส่ งข้อมูล สามารถส่ งได้ท้ งั สัญญาณเสี ยง วิดีโอและข้อมูล ข้อเสี ยคือราคาแพง ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสู ง


• สายใยแก้ วนาแสง Fiber Optical

• เส้นใยแก้วนาแสงหรื อไฟเบอร์ ออปติก เป็ นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ ทามาจากแก้วซึ่ งมีความบริ สุทธิ์ สูงมาก เส้นใยแก้วนาแสงมีลกั ษณะเป็ นเส้นยาว ขนาดเล็ก มีขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา เส้นใยแก้วนาแสงที่ดีตอ้ งสามารถ นาสัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้ โดยมีการสูญเสี ยของสัญญาณแสง น้อยมาก ข้อดีคือรับ-ส่ งข้อมูลด้วยความเร็ วสู ง ใช้แสงในการส่ งข้อมูล จึงไม่ตอ้ ง ระมัดระวังเรื่ องสัญญาณไฟฟ้ ารบกวน แต่ขอ้ เสี ยคือราคาแพงกว่าสัญญาณประเภท อื่น ต้องใช้ความชานาญในการติดตั้ง


การผสมสั ญญาณ (Multiplexing)


• อะไร คือ Multiplexing ? Multiplexing คือ กระบวนการทาง เทคนิคที่ถูกสร้ างขึน้ มาเพื่อนามาใช้ ในการ ส่ งข้ อมูล (Transmission) หลายตัวไปพร้ อมกัน (สามารถส่ งข้ อมูล หลาย ๆ ตัวไปในสายเดียวกัน)ไปยังผู้รับ ปลายทาง


รู ปแสดงการ Multiplexing


• Multiplexing เกิดขึน้ เมื่อใด Multiplexing เกิดขึน้ เมือ่ ใด 1.เมื่อใดก็ตามที่ความจุของสายสื่ อสารมีการส่ งมากกว่า 1อุปกรณ์ มีการส่ งออกมาไปยังผูร้ ับที่มากกว่า 1 เครื่ องเมื่อนั้น link สามารถที่จะ share สายสื่ อสารให้สามารถส่ งออกไปพร้อมกันได้โดยแยกไปส่ งผูร้ ับ แต่ละคน 2.Multiplexing จะยอมให้ผสู ้ ่ งหลายคนสามารถที่จะ share ความจุของสายสื่ อสารร่ วมกัน


• Multiplexing VS No Multiplexing


การส่ งสั ญญาณ แบบไร้ สาย


การส่ งสั ญญาณแบบไร้ สาย คือ อะไร การส่ งสัญญาณแบบไร้สายจะใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นตัวกลาง สาหรับนาพาข้อมูลออกไป โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ านี้สามารถแบ่ง ความถี่ออกเป็ นย่านความถี่ต่างๆ ได้ การส่ งสัญญาณแบบไร้สายนี้เรี ยก อีกอย่างหนึ่งว่า “การสื่ อสารแบบไร้ สาย” (Wireless Communication)


รูปแบบการแพร่ กระจายของสั ญญาณ 1. แบบเฉพาะทิศทาง (Directional) เป็ นการกาหนดทิศทางของสัญญาณ สายอากาศจะส่ งลาคลื่นแม่เหล็กออกไป โดยสายอากาศเครื่ องส่ งและเครื่ องรับจะต้องติดตั้งอยูใ่ นแนวระนาบเดียวกัน เช่น การ สื่ อสาร ด้วยคลื่นไมโครเวฟ อุปกรณ์รับส่ งจาเป็ นต้องสื่ อสารกันอยูใ่ นระดับสายตา

2. แบบทุกทิศทาง (Omnidirectional) เป็ นแบบกระจายรอบทิศทาง ซึ่ งสัญญาณจะถูกส่ งออกไปทุกทิศทางในอากาศ ทาให้สามารถรับสัญญาณเหล่านี้ได้ดว้ ยการตั้งเสาอากาศ เช่น วิทยุกระจายเสี ยง หรื อ การแพร่ ภาพสัญญาณโทรทัศน์


(Radio)

(Microwave System)

(Infrared)


• การส่ งสั ญญาณแบบไร้ สาย

1. คลืน่ วิทยุ (Radio) เป็ นการส่ งข้อมูลโดยใช้คลื่นวิทยุความถี่ต้ งั แต่ 3 kHz - 1 GHz คลื่นวิทยุจะใช้วธิ ี การแพร่ สัญญาณแบบกระจายออกไปรอบ ทิศทาง


• การส่ งสั ญญาณแบบไร้ สาย

2. ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) เป็ นการส่ งข้อมูลโดยใช้คลื่นวิทยุความถี่สูง ระหว่าง 1 ถึง 300 GHzเป็ นช่วงความถี่ของคลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ ซึ่ งคลื่นดังกล่าว นี้จะสามารถทะลุผา่ นไปยังชั้นบรรยากาศไปยังนอกโลกการส่ งสัญญาณข้อมูลจะทาการ ส่ งต่อๆ กันไป จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง ซึ่งการส่ งสัญญาณข้อมูลระหว่าง สถานี สัญญาณข้อมูลจะเดินทางเป็ นเส้นตรง


• การส่ งสั ญญาณแบบไร้ สาย

3.ระบบนี้จะใช้คลื่นความถี่สูงอยูร่ ะหว่าง 300 GHz ถึง 400 THz ที่เรี ยกว่า “แสง อินฟราเรด” คลื่นประเภทนี้จะเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรง ไม่สามารถทะลุผา่ นสิ่ งกีดขวางได้ เราจะพบคลื่นประเภทนี้ในการสื่ อสารระยะใกล้ๆ


Thank you


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.