Computer เบื้องต้น

Page 1

คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น ระบบสารสนเทศ

และ

ระบบเครื อข่าย


คำนำ

ปัจจุบนั นี้นบั เป็ นยุคแห่งข้อมูลและข่าวสารที่เรี ยกกันสั้นๆว่า “ยุคโลกาภิวฒั น์” ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีเป็ นส่วนสาคัญในชีวิตประจาวัน ของมนุ ษ ย์มากขึ้ น “คอมพิวเตอร์ ” (COMPUTER) นับว่าเป็ น เทคโนโลยีประเภทหนึ่ งที่ ก ้า วเข้า มามี บ ทบาทต่ อ การดารงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์เ ป็ นอย่ า งมาก การเรี ยนวิชา คอมพิวเตอร์จึงเป็ นสิ่ งที่ จาเป็ นสาหรั บเยาวชนในปั จ จุ บัน ดังนั้น สถานศึก ษาต่ างๆ จึ งจัด ให้วิชา คอมพิวเตอร์เป็ นส่วนหนึ่งของการเรี ยนการสอน ในระดับชั้นอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ อาชีวศึกษา โรงเรีย นสุนันทาวิ ท ยา ได้เล็งเห็ นความสาคัญในการพัฒนาการเรี ยนการสอนคอมพิวเตอร์ ใน สถานศึกษา จึงได้จดั ทา E-Magazine หรื อ Magazine Online วิชาคอมพิวเตอร์ โดยเรี ยบเรี ยงจากเอกสาร และ ซอฟแวร์ต่างๆ ให้สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของกระทรวงศึก ษาธิก าร เพื่อเป็ นงานวิชาการสาหรับการเรี ยนสอนนักเรี ยนในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 เนื้ อหา หลักสูตรประกอบไปด้วย การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ระบบสารสนเทศและระบบเครื อข่าย การใช้งานMicrosoft Excel นอกจากนี้ ภายในเล่มจะมีแบบฝึ กหัดท้ายบท สาหรับนักเรี ยนเพื่อเสริ มทักษะทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ เมื่อ นักเรี ยนได้เรี ยนรู้ และฝึ กปฏิบตั ิจนครบเนื้ อหาภายในเล่มแล้ว จะทาให้นักเรี ยนมีความรู้ความสามารถที่จะใช้ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น และใช้คอมพิวเตอร์ระบบมัลติมีเดียในโปรแกรมต่างๆ ได้ คณะผูจ้ ัด ทาจึ งได้สร้ าง E-Magazine หรื อ Magazine Online วิชาคอมพิว เตอร์ เล่มนี้ ขึ้ น มา เพื่อเป็ น ประโยชน์ต่ อการเรี ยนการสอนสาหรับ สถานศึกษาต่ างๆ และเป็ นการเตรี ยมความพร้ อมให้แก่ผเู้ รี ยนในการ นาไปประยุกต์กบั การทางานในยุคปัจจุบนั มิได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจาหน่าย

โรงเรี ยนสุนนั ทาวิทยา พ.ศ. 2555


สารบัญ หน้ า คานา บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

บทที่ 4

อ้างอิง

คอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้นเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ ความหมายของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่สาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ โครงสร้ างพืน้ ฐานและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 2.1 หลักการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2.2 หน่วยรับข้อมูล 2.3 หน่วยประมวลผลกลางหรื อที่เรี ยกว่า ซีพียู 2.3.1 หน่วยควบคุม 2.3.2 หน่วยคานวณและตรรกะ 2.4 หน่วยความจาหลัก 2.5 หน่วยแสดงผล ระบบสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ คุณสมบัติของข้อมูล ชนิดและลักษณะของข้อมูล ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของเครื อข่าย ตัวกลาง หรื อ สายเชื่อมโยงในระบบเครื อข่าย

ก 1 1 1 1 3 3 4 5 5 5 5 7 8 8 9 10 10 14 17 19


1

บทที่ 1 ความรู้ เบื้องต้ นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Introduction to Computer)  ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ Computer คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ที่มนุ ษย์สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้การทางานที่มีความ ซับซ้อนขึ้น หรื อมีปริ มาณมากเสร็ จลงได้อย่างถูกต้องภายในระยะเวลาอันรวดเร็ ว การทางานของคอมพิวเตอร์ จะทางานตามลาดับคาสัง่ ที่เก็บไว้ภายในหน่วยความจาและสามารถรับข้อมูลภายนอก คานวณหรื อเปรี ยบเทียบ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ซึ่งสามารถเก็บไว้เพื่อนาไปใช้ต่อไป

 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 1. HARDWARE (ฮาร์ ด แวร์ ) หมายถึ ง เครื่ องคอมพิ ว เตอร์ และอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ร่ วมกับ เครื่ อง คอมพิวเตอร์ 2. SOFTWARE (ซอฟท์แวร์ ) หมายถึง โปรแกรมหรื อชุดคาสั่งที่จะสั่งให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทางาน ตามที่เราต้องการ 3. PEOPLEWARE (พีเพิลแวร์ ) หมายถึง บุคคลที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ นั่นคือ ผูใ้ ช้เครื่ อง และผูเ้ ขียนโปรแกรม ฯลฯ  ส่ วนประกอบต่าง ๆ ที่สาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ (HARDWARE)

หน่วยแสดงผล Monitor (จอภาพ) Disk drive (เครื่ องขับจานแม่เหล็ก) หน่วยประมวลผลกลาง CPU

หน่วยรับข้ อมูล Keyboard (แป้นพิมพ์) หน่วยแสดงผล Printer (เครื่ องพิมพ์)


2 1. จอภาพ (MONITER เรี ยกว่า มอนิเตอร์ ) เป็ นหน่วยแสดงผล ใช้แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากหน่วยประมวลผลของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เปรี ยบเสมือนปากของ คนเราที่สามารถบอกข่าวสาร หรื อพูดจากับคนอื่นได้รู้เรื่ อง 2. เครื่องดิสไดรฟ์ (DISK DRIVE เรี ยกว่า ดีส ไดรพ์) เป็ นหน่วยความจาเพิ่มเติมใช้อ่านหรื อบันทึก ข้อมูลในแผ่นดิสเก็ต เปรี ยบเสมือนกับตาของคนเราที่ใช้อ่านหนังสือต่างๆ เพื่อส่งผ่านสมองให้จดจา 3. CPU (CENTRAL PROCESSING UNIT เรี ยกว่า ซีพียู ) เป็ นหน่ วยประมวลผลกลางที่ใช้ บันทึก คิดคานวณ รวมถึงการทางานในส่ วนต่างๆ ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เปรี ยบได้กบั สมองของคนเราที่ใช้ จดจาสิ่งต่างๆ คิดคานวณ และควบคุมการทางานในส่วนต่างๆ ของร่ างกาย 4. แป้นพิมพ์ (KEYBOARD เรี ยกว่า คียบ์ อร์ ด) เป็ นหน่ วยรับข้อมูลที่ใช้ในการป้ อนคาสั่งและข้อมูล เข้าสู่หน่วยความจาของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เปรี ยบได้กบั หูของคนเราที่สามารถฟังแล้วเข้าใจว่าคนอื่นพูดอะไร กับเรา 5. เครื่องพิมพ์ (PRINTER เรี ยกว่า ปริ๊ นเตอร์ ) เป็ นหน่วยแสดงผลของข้อมูลใช้ในการพิมพ์ผลงานที่ ได้จากหน้าจอภาพแสดงปรากฏที่กระดาษ (Paper) เปรี ยบได้กบั ปากของคนเรา เช่นเดียวกับจอภาพนัน่ เอง

 ส่ วนประกอบอื่น ๆ สาหรับการเรียนรู้ 1. จุดกระพริบ (CURSOR) เป็ นจุดที่บอกตาแหน่ งที่รอรับคาสั่งจากผูใ้ ช้ ซึ่งจุดกระพริ บจะอยู่ใน สถานะใดนั้นขึ้นอยูก่ บั โปรแกรมที่ใช้งาน โดยทัว่ ไปแล้วจะอยูใ่ นรู ปของขีด ( | ) 2. ปุ่ มเปิ ด - ปิ ด (POWER) เป็ นปุ่ มที่ใช้สวิสต์สาหรับเปิ ดหรื อปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตาแหน่ งของ ปุ่ มอยูท่ ี่ CPU ส่วนลักษณะรู ปร่ างของปุ่ มขึ้นอยูก่ บั รุ่ นและยีห่ อ้ ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ 3. RESET เป็ นปุ่ มที่ ใ ช้ก าหนดให้ค อมพิว เตอร์ เ ริ่ ม ต้น การทางานใหม่ (ใช้ใ นกรณี ที่ เครื่ อง คอมพิวเตอร์คา้ งหรื อแฮ้งก์)


3

บทที่ 2 โครงสร้ างพืน้ ฐานและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 2.1 หลักการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก การทางานของเครื่ องคอมพิว เตอร์ คื อ จะต้องป้ อนข้อมูลผ่าน หน่ วยรับ ข้ อ มูล (Input Unit) จากนั้นข้อมูลจะส่ งผ่านเข้าสู่กระบวนการทางานของ หน่ วยประมวลผลกลางหรือที่เรีย กว่ า ซีพียู (CPU: Central Processing Unit) โดยจะทางานร่ วมกับ หน่ วยความจาหลัก (Memory Unit) และ หน่ วยความจา สารอง (Secondary Memory Unit) ของระบบเพื่อประมวลผลคาสั่งและแสดงผลการทางานออกทาง หน่ วย แสดงผล (Output Unit) ดังภาพด้านล่าง หน่ วยความจาหลัก

หน่ วยรับข้อมูล

หน่ วยประมวลผลกลาง (CPU)

หน่ วยแสดงผล

หน่ วยความจาสารอง โดยปกติก ารทางานหนึ่ ง ๆ ของเครื่ องคอมพิว เตอร์ จะเริ่ มจากผูใ้ ช้ป้อนข้อมูลผ่านทางหน่ วยรับเข้า ได้แก่ อุปกรณ์รับเข้ าข้ อมูล (Input Device) เช่น แผงแป้ นอักขระ เมาส์ โดยข้อมูลที่ป้อนเข้าไปจะได้รับการ เปลี่ยนแปลงให้อยูใ่ นรู ปสัญญาณดิจิตอล ซึ่งประกอบด้วยเลข 0 และ 1 คาสั่งและข้อมูลดังกล่าวจะถูกส่ งต่อไป ยังหน่วยประมวลผลกลางเพื่อประมวลผลตามคาสั่งต่อไป และในระหว่างการประมวลผลหากมีคาสั่งให้นา ผลลัพธ์จากการประมวลผลไปจัดเก็บในหน่วยความจาหลัก ซึ่งหน่วยความจาหลักที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลจากการ ประมวลผลไปจัดเก็บในหน่วยความจาหลัก ซึ่งหน่วยความจาหลักที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลจากการประมวลผลเป็ น การชัว่ คราวนี้เรี ยกว่า แรม (Random Access Memory : RAM) ข้อมูลดังกล่าวจะถูกส่ งไปยังหน่ วยความจา หลักพร้อมทั้งค่าที่อา้ งอิงถึงตาแหน่ งในการจัดเก็บ ทั้งนี้ เนื่ องจากภายในหน่ วยความจาหลักมีพ้ืนที่ใช้จดั เก็บ ข้อมูลหลายประเภท ในขณะเดียวกันอาจมีคาสัง่ ให้นาผลลัพธ์จากการประมวลผลดังกล่าวไปแสดงผลผ่านทาง


4 หน่วยส่งออก ซึ่งอาจเป็ น จอภาพ (Monitor) หรื อ เครื่องพิมพ์ (Printer) นอกจากนี้เราสามารถบันทึกข้อมูลที่ อยูใ่ นแรมลงในหน่วยความจาสารอง อันได้แก่ แผ่ นบันทึก (diskette) ,ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory : CD-ROM) เพื่อนาข้อมูลดังกล่าวกลับมาใช้อีกในอนาคตได้ โดยการอ่านข้อมูลที่ บนั ทึกในสื่ อ ดังกล่ าวผ่านทางเครื่ อ งขับ (drive) และในปั จ จุ บัน มี ก ารคิ ด ค้น หน่ ว ยความจ าสารองที่ พฒ ั นามาจาก หน่ วยความจาหลักประเภทที่เรี ยกว่า รอม (Read Only Memory : ROM) ทาให้สามารถบันทึกข้อมูลได้ ปริ มาณมากขึ้นและมีขนาดเล็กสะดวกต่อการพกพา และจากที่กล่าวมาทั้งหมดการส่งข้อมูลผ่านไปยังหน่วยต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ จะผ่านทาง ระบบบัส (bus) ไม่ว่าจะเป็ นบัสข้อมูล (data bus) ทาหน้าที่ส่ง สัญญาณข้อมูล บัสที่อยู่ (address bus) ทาหน้าที่ส่งตาแหน่งอ้างอิงในหน่วยความจาหลักไปยังหน่ วยความจา หลักในขณะที่มีการสัง่ จัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาดังกล่าว หรื อ บัสควบคุม (Control bus) ที่ทาหน้าที่ส่ง สัญญาณควบคุมไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ

2.2 หน่ วยรับข้ อมูล (Input Unit) หน่ วยรับข้ อมูล หมายถึง อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลชนิ ดต่าง ๆ เข้าสู่เครื่ องคอมพิวเตอร์ มี อุปกรณ์หลายชนิ ด ได้แก่ แป้ นพิมพ์ , เมาส์ , สแกนเนอร์ เครื่ องอ่านรหัสบาร์ โค้ด , ไมโครโฟน และกล้อง ดิจิตอล เป็ นต้น


5 2.3 หน่ วยประมวลผลกลางหรือที่เรียกว่า ซีพยี ู (CPU: Central Processing Unit) หน่ ว ยประมวลผล หมายถึ ง อุ ป กรณ์ ที่ ท าหน้ า ที่ ป ระมวลผลค าสั่ง เปรี ยบเสมื อ นสมองของ คอมพิวเตอร์ที่ผใู้ ช้ป้อนคาสัง่ ให้โดยผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล หน่วยประมวลผลหรื อ หน่ วยประมวลผลกลาง ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เรี ยกว่า ซีพยี ู (CPU: Central Processing Unit)

ซึ่งหน่วยประมวลผลกลางเป็ นวงจรไฟฟ้ ามีหน่วยสาคัญที่ทาหน้าที่แตกต่างกัน 2 หน่ วย ได้แก่ หน่ วย ควบคุม (Control Unit :CLU) และ หน่ วยคานวณและตรรกะ หรื อ เอแอลยู (Arithmetic and Logic Unit :ALU) 2.3.1 หน่ วยควบคุม (Control Unit :CLU) หน่ วยควบคุ มเป็ นหน่ วยที่ทาหน้าที่ ประสานงาน และควบคุมการทางานของระบบคอมพิว เตอร์ หน่วยนี้ทางานคล้ายกับสมองคนซึ่งควบคุมให้ระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่ างกายทางานประสานกัน และยังทา หน้าที่ควบคุมให้อุปกรณ์รับข้อมูล ส่งข้อมูลไปที่หน่วยความจา ติดต่อกับอุปกรณ์แสดงผลเพื่อสั่งให้นาข้อมูล จากหน่วยความจาไปยังอุปกรณ์แสดงผล โดยหน่ วยควบคุมของคอมพิวเตอร์ จะแปลความหมายของคาสั่งใน โปรแกรมของผูใ้ ช้ และควบคุมให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทางานตามคาสัง่ นั้น ๆ 2.3.2 หน่ วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit :ALU) หน่วยคานวณและตรรกะเป็ นหน่วยที่ทาหน้าที่คานวณทางเลขคณิ ตได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และ เปรี ยบเทียบทางตรรกะเพื่อทาการตัดสินใจ เช่น ทาการเปรี ยบเทียบข้อมูลเพื่อตรวจสอบว่าปริ มาณหนึ่ ง น้อย กว่า เท่ากับ หรื อ มากกว่า อีกปริ มาณหนึ่ ง แล้วส่ งผลการเปรี ยบเทียบว่าจริ งหรื อเท็จไปยังหน่ วยความจาเพื่อ ทางานต่อไป ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในเงื่อนไข การทางานของเอแอลยู คือ รับข้อมูลจากหน่วยความจามาไว้ ในที่เก็บชัว่ คราวของเอแอลยูซ่ึงเรี ยกว่า เรจิสเตอร์ (Register) เพื่อทาการคานวณแล้วส่ งผลลัพธ์กลับไปยัง หน่วยความจา ทั้งนี้ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ข้อมูลและคาสั่งจะอยู่ในรู ปของสัญญาณไฟฟ้ าแล้ว ส่งไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านระบบส่งถ่ายข้อมูลผ่านในที่เรี ยกว่า บัส (Bus)


6 กลไกการทางานของหน่วยประมวลผลกลางมีความสลับซับซ้อน ผูพ้ ฒั นาซีพียไู ด้สร้างกลไกให้ทางาน ได้ดีข้ นึ โดยแบ่งการทางานเป็ นส่วน ๆ มีการทางานแบบขนาน และทางานเหลื่อมกันเพื่อให้ทางานได้เร็วขึ้น ซึ่งในด้านความเร็วของซีพียถู กู กาหนดโดยปัจจัย 2 อย่าง คือ ปัจจัยที่ 1 คือ สถาปัตยกรรมภายในของซีพียแู ต่ละรุ่ น ซีพียทู ี่ได้รับการออกแบบภายในที่ดีกว่าย่อมมี ประสิทธิภาพในการประมวลผลที่ดีกว่า การพัฒนาทางด้านสถาปัตยกรรมก็มีส่วนทาให้ลกั ษณะของซีพียู แตกต่างกันไป ปัจจัยที่ 2 คือ ปัจจัยที่เป็ นตัวกาหนดความเร็วของซีพียู คือ ความถี่ของสัญญาณนาฬิกา (Clock) ซึ่งเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าที่คอยกาหนดจังหวะการทางานประสานของวงจรภายในให้สอดคล้องกัน ในอดีต สัญญาณดังกล่าวจะมีความถี่ในหน่วยเป็ นเมกะเฮิรตซ์ (Megahertz) หรื อล้านครั้งต่อวินาที ดังนั้นสาหรับซีพียทู ี่มีสถาปัตยกรรมภายในเหมือนกันทุกประการ แต่ความถี่สญ ั ญาณนาฬิกาต่างกัน ซีพียตู วั ที่ มีความถี่สญ ั ญาณนาฬิกาสูงกว่าจะทางานได้เร็ วกว่าและซีพียทู ี่มีอยูใ่ นปัจจุบนั มีความถี่ในระดับจิกะเฮิรตซ์

2.4 หน่ วยความจาหลัก (Memory Unit) หน่ วยความจา คือ หน่วยความจาที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง ซึ่งหน่ วยประมวลผลกลางสามารถ ใช้ง านได้โ ดยตรง หน่ ว ยความจ าชนิ ด นี้ จะเก็ บข้อ มูล และชุ ด ค าสั่ง ในระหว่ า งการประมวลผลและมี กระแสไฟฟ้ า เมื่อปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ขอ้ มูลในหน่วยความจานี้จะหายไป ซึ่งหน่ วยความจานี้ มีความสาคัญ มากในการทางานร่ วมกับซีพีย ู โดยทัว่ ไปแล้วหน่วยความจาแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มคือ หน่ ว ยความจาที่ใช้พ้ืนที่สาหรั บการประมวลผลของซีพีย ู เรี ยกว่า หน่ วยความจาหลัก มีอุปกรณ์ สาคัญที่ใช้ในการทางานคือ รอม (Read Only Memory : ROM) เป็ นหน่วยความจาชนิดถาวรที่อยู่ในเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่บรรจุในหน่วยความจาชนิ ดนี้ จะยังคงอยู่แม้จะปิ ดเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไปแล้วก็ตาม และ หน่ วยความจาหลักอีกประเภทหนึ่ งคือ แรม (Random Access Memory : RAM) เป็ นหน่ วยความจาหลักที่ สามารถนาโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรื อหน่วยความจาสารอง ซึ่งแตกต่างจากรอมคือสามารถ เก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีไฟฟ้ าเลี้ยงวงจรอยูเ่ ท่านั้น หากปิ ดเครื่ องข้อมูลจะหายไปทันทีและข้อมูลจะกลับมา ทางานใหม่ก็ต่อเมื่อมีการเปิ ดเครื่ องอีกครั้ง


7 หน่วยความจาที่ใช้บนั ทึกแฟ้ มข้อมูลประเภทต่าง ๆ เรี ยกว่า หน่ วยความจาสารอง เช่น แผ่นบันทึก (diskette) ,ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory : CD-ROM) , Flash Drive เป็ นต้น

2.5 หน่ วยแสดงผล (Output Unit) หน่ วยแสดงผล หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลการทางานของคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่ กับชนิดของอุปกรณ์น้ นั ๆ เช่น การแสดงผลออกทางมอนิเตอร์หรื อจอภาพ(Monitor) , การพิมพ์ขอ้ ความออก ทางเครื่ องพิมพ์ (Printer) , การนาเสียงออกจากเครื่ องคอมพิวเตอร์โดยใช้ลาโพง (Speaker) หรื อ หูฟัง (Headphone) , Projector เป็ นต้น


8

บทที่ 3 ระบบสารสนเทศ ( Information System : IS ) ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่มีการนาเอาเทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล ภายในองค์กร ซึ่งระบบสารสนเทศจะเกี่ยวข้องกับผูใ้ ช้ ซอฟต์แวร์ ฮาร์ ดแวร์ ระบบเครื อข่าย กระบวนการ ข้อมูล และการจัดการภายในองค์กร จึงทาให้ระบบสารสนเทศกลายเป็ นเครื่ องมือสาคัญที่ช่ว ยในการดาเนิ น กิจการทางธุรกิจต่าง ๆ โดยเป็ นการนาเอาคอมพิวเตอร์ เข้ามาจัดการกับข้อมูลขององค์กรให้ได้ผลลัพธ์ออกมา เป็ นสารสนเทศ เพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจของผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อผูบ้ ริ หารได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ วยิง่ ขึ้น Hardware ธุรกิจ กลยุทธ์ กฎเกณฑ์ กระบวนการ

Software

ฐานข้อมูล

การสื่อสาร ความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรและระบบสารสนเทศ IS

 ความหมายของข้ อมูล สารสนเทศ และองค์ความรู้  ข้ อมูล (Data) เป็ นข้อมูลดิบ (raw data) คือข้อมูลที่เป็ นหน่ วยพื้นฐานซึ่งยังไม่มีความหมายและไม่ สามารถนาไปตีความได้ สาหรับข้อมูลดิบนั่นอาจจะถูกจัดเก็บและแยกประเภท ได้แก่ รู ปแบบของตัวเลข ตัวอักษร รู ปภาพ เสียงและสื่อต่าง ๆ เป็ นต้น แต่ยงั ไม่ได้มีการจัดโครงสร้างเพื่อทาให้สื่อความหมายกับผูร้ ับ  สารสนเทศ (Information) คื อ ข้อมูลดิ บที่ถูก จัดโครงสร้ างของข้อมูล และน าข้อมูลนั้นไปผ่าน กระบวนการประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่สามารถแสดงความหมาย มีคุณค่า และสรุ ปตีความได้สาหรับ ผูใ้ ช้  องค์ความรู้ (Knowledge) จะประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศนามารวมกัน โดยผ่านกระบวนการใน การประมวลผล และถูกจัดโครงสร้างเพื่อให้แสดงถึงความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ที่เกิดจากการเรี ยนรู้ หรื อ รวบรวมสะสมไว้ รวมไปถึงความเชี่ยวชาญต่าง ๆ ซึ่งเมื่อเปรี ยบเทียบกับสารสนเทศแล้วองค์ความรู้น้ นั จะมีคุณค่ามากกว่า อีกทั้งยังสามารถนาองค์ความรู้ไปประยุกต์เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิงานได้


9  ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ คาว่า เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ความจริ งเกี่ยวกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาทาให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ เทคโนโลยีจึงเป็ นวิธีการในการสร้างมูลค่าเพิ่ม ของสิ่ งต่าง ๆ ทาให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น เช่น ทรายหรื อซิลิคอน (silicon) เป็ นสารแร่ ที่พบเห็นทัว่ ไปตาม ชายหาด หากนามาสกัดด้วยเทคนิควิธีการสร้างชิป (Chip) จะทาให้สารแร่ ซิลิคอนนั้นมีคุณค่าและมูลค่าเพิ่มขึ้น

 ข้ อมูลและสารสนเทศ คาว่า ข้ อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริ งหรื อเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งต่าง ๆ เช่น คน , สัตว์ ,สิ่ งของ หรื อ สถานที่ ฯ โดยอยูใ่ นรู ปแบบที่เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการประมวลผลข้อมูลอาจเป็ น ตัวเลข ตัวอักขระ หรื อ สัญลักษณ์ใด ๆ ซึ่งกรรมวิธีการรวบรวมข้อมูล เป็ นจุดเริ่ มต้นของการดาเนินงาน การ รวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ขอ้ มูลรวดเร็ ว ถูกต้องแม่นยา ครบถ้วน ปั จจุบนั มีเทคโนโลยีหลายอย่างที่สนับสนุ น การรวบรวมข้อมูล เช่น ไปรษณี ยเ์ ครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต โทรสาร เครื่ องกราดตรวจ (Scanner) , เครื่ องอ่าน รหัสแท่ง (Bar Code reader)

 คุณสมบัตขิ องข้ อมูล การจัดเก็บข้อมูลจาเป็ นต้องมีแผนในการดาเนิ นการ หรื อ กล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะน ามาใช้ ประโยชน์ องค์กรจาเป็ นต้องลงทุนทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่ องจักร และ อุปกรณ์ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร ขึ้นมารองรับระบบ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึ งถึงปั ญหาต่าง ๆ และพยายามมองปั ญหาแบบที่ เป็ นจริ ง สามารถดาเนิ น การได้ให้ประสิ ทธิ ผลคุ ้มค่ากับการลงทุน ข้อมูลที่ ดี จะต้องมีคุณสมบัติข้นั พื้นฐาน ดังนี้ 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ถ้าข้อมูลที่เก็บมาเชื่อถือไม่ได้ จะทาให้เกิดผลเสี ยอย่างมาก ผูใ้ ช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรื อนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็ นเหตุให้ขอ้ มูลต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ ได้ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด 2. ความรวดเร็วและเป็ นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็ นต้องให้ทนั ต่อความต้องการของผูใ้ ช้ ทันสมัย และ ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบนั 3. ความสมบูรณ์ ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์คือข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ ซึ่งจะขึ้นกับ วิธีการรวบรวมข้อมูลและวิธีการประมวลผล ดังนั้นในการดาเนิ นการรวบรวมข้อมูลต้องสารวจและสอบถาม ความต้องการในการใช้ขอ้ มูลเพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่มีความสมบูรณ์


10 4. ความกระชับและชัดเจน การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พ้ืนที่มากจึงจาเป็ นต้องออกแบบโครงสร้าง ข้อมูลให้กระชับและสื่อความหมายได้ อาจมีการใช้รหัสแทนข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อจัดเก็บไว้อย่างเป็ นระบบ 5. ความสอดคล้ อ ง ความต้องการเป็ นเรื่ องที่ สาคัญ ดังนั้น จึ งต้องมีก ารสารวจเพื่อหาความต้องการของ หน่วยงานและองค์กร ดูสภาพการใช้ขอ้ มูล และขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ

 ชนิดและลักษณะของข้ อมูล ข้อมูลสาหรับการประมวลผลแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ 1. ข้ อ มูล ชนิ ด จานวน (Numeric Data) หมายถึง ข้อ มูล ที่ ส ามารถน าไปค านวณได้ข ้อ มูล ชนิ ด นี้ เขียนได้หลายรู ปแบบ เช่น 1.1 จานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12 , 9 , 107 , -54 1.2 จ านวนทศนิ ย ม หมายถึ ง ตัว เลขที่ มี จุ ด ทศนิ ย ม ซึ่ ง อาจมี ค่ า เป็ นจ านวนเต็ ม เช่ น 12.0 หรื อ เป็ นจานวนที่มีทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763 เลขทศนิยมนีส้ ามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ - แบบที่ใช้ กนั ทั่วไป เช่น 9.0 , 17.63 , 119.3267 , -14.47 - แบบที่ใช้ ในงานทางวิทยาศาสตร์ เช่น 123.0 x 10 4 ซึ่งหมายถึง 1230000.0 13.76 x 10 3 ซึ่งหมายถึง 0.01376 -1764.0 x 10 3 ซึ่งหมายถึง -176400.0 -1764.0 x 10 3 ซึ่งหมายถึง -17.64 2. ข้ อมูลชนิด อัก ขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถนาไปคานวณได้ แต่ อาจน าไป เรี ยงลาดับได้ ข้อมูลอาจเป็ นตัวหนังสื อ ตัวเลขหรื อเครื่ องหมายใด ๆ เช่น Computer , ON-LINE , 17454 , &456

 ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดเตรี ย มข้อมูลเพื่อใช้ในการจัดการนั้น จะต้องมีความถูกต้อง ครบถ้ว นสมบูร ณ์ ทันสมัย สั้น กะทัดรัดได้ใจความ มีความหมายและใช้งานได้ ประเภทของระบบสารสนเทศที่มีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทางานนั้นสามารถแบ่งออกตามระดับของการจัดการภายในองค์กรได้เป็ น 3 ระดับ ดังนี้


11 1. ระบบประมวลผลธุรกิจ (Transaction Processing System :TPS) เป็ นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการสนับสนุนการทางานของผูป้ ฏิบตั ิงานที่ทาเป็ นประจาทุกวัน หรื อที่ เรี ยกว่า Transaction เช่น ระบบบัญชี ระบบเงินเดือน ระบบสิ นค้าคงคลัง เป็ นต้น ซึ่งระบบเหล่านี้ เป็ น พื้นฐานสาคัญของระบบสารสนเทศ สาหรับระบบ TPS นั้นการปฏิบตั ิงานส่ วนใหญ่จะเกี่ยวกับขั้นตอนการ ทางานพื้น ฐานทัว่ ไปและมีจานวนข้อมูลในระบบมาก ประกอบกับเป็ นข้อมูลที่ ได้มาจากภายในองค์ก รเอง ผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ TPS จะอยูใ่ นรู ปของรายละเอียดและรายงานประจาวันในการปฏิบตั ิงาน 2. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information System :MIS) หรื อที่เรี ยกว่า ระบบรายงานผลข้ อมูล (Information reporting System) ถือเป็ นระบบสารสนเทศที่ เป็ นการจัด เตรี ยมข้อมูลเพื่ อใช้ในการจัด การระดับกลาง โดยข้อมูลจะอยู่ในลัก ษณะรายงานสรุ ปผลการ ปฏิบตั ิงานหรื อมีการจัดหมวดหมู่ขอ้ มูลที่ได้มาจากรากฐานข้อมูลทั้งหมดที่มีอยูภ่ ายในองค์กร รวมทั้งในระบบ TPS ทั้งนี้รายงานที่ได้จากระบบ MIS นั้นมีวตั ถุประสงค์ในการจัดการและบอกถึงสถานะปัจจุบนั ของกิจกรรม ภายในองค์กร เพื่อใช้ในการตรวจสอบและควบคุมการทางานต่าง ๆ ประกอบกับช่วยในการตัดสิ นใจเชิงกล ยุทธ์ขององค์กรด้วย 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS) ระบบสนับสนุ นการตัดสิ นใจ (DDS) เป็ นกลุ่มของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สร้างขึ้นมาเฉพาะด้าน เพื่อเป็ นเครื่ องมือช่ว ยสนับสนุ น การทางานของผูจ้ ดั การหรื อผูบ้ ริ หารระดับสูงในการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ มีอยู่ ภายในองค์กร รวมทั้งข้อมูลที่ได้มาจากภายนอกองค์กรด้วย ในการพัฒนาระบบ DDS ขึ้นมาได้น้ นั ภายใน องค์กรจะต้องมีการพัฒนาระบบ MIS และ TPS ขึ้นมาใช้งานก่อน สาหรับการวิเคราะห์ขอ้ มูลของระบบ DDS จะเป็ นรู ปแบบของการตัดสินใจที่ไม่มีรูปแบบที่แน่นอนเพราะต้องขึ้นอยูก่ บั วิจารณญาณของผูบ้ ริ หารใน การตัดสินใจประกอบด้วย

 กระบวนการจัดการข้ อมูลและสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศจาเป็ นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยดาเนิ นการ เริ่ มตั้งแต่การรวบรวม และตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็ นสารสนเทศ และการดูแลรักษาข้อมูลเพื่อการใช้งาน

 การรวบรวมและตรวจสอบข้ อมูล 1. การรวบรวมข้ อมูล ปัจจุบนั มีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บข้อมูลอยูเ่ ป็ นจานวนมาก เช่น การป้ อนข้อมูลเข้า เครื่ องคอมพิวเตอร์ผา่ นแผงแป้ นอักขระ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การกราดตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝน ดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ


12 2. การตรวจสอบข้ อมูล เมื่อมีการรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็ นต้องมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อความถูกต้อง ข้อมูล ทีเก็บเข้าในระบบต้องมีความน่าเชื่อถือ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบโดยสายตามนุ ษย์หรื อตั้ง กฎเกณฑ์ให้คอมพิวเตอร์ตรวจสอบ

 การประมวลผลข้ อมูล การประมวลผลข้อมูลอาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1. การจัดกลุ่มข้ อมูล ข้อมูลที่เก็บอาจมีการจัดกลุ่มเพื่อเตรี ยมไว้สาหรับการใช้งานการแบ่งแยกกลุ่มวิธีการที่ ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรี ยนมีการแจกแจง หรื อ แบ่งกลุ่มประวัตินักเรี ยนตามระดับชั้นเรี ยน ข้อมูลในสมุด โทรศัพท์หน้าเหลืองมีการจัดกลุ่มเลขหมายโทรศัพท์ตามชนิ ดสินค้าและบริ การ 2. การจัดเรียงข้ อมูล เมื่อจัดกลุ่มแล้ว ควรมีการจัดเรี ยงข้อมูลตามลาดับตัวเลข หรื อ อักขระ เพื่อให้เรี ยกใช้งาน ได้ง่าย และประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรี ยงข้อมูล เช่น การจัดเรี ยงบัตรข้อมูลผูแ้ ต่งหนังสื อในตูบ้ ตั รรายการ ของห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรี ยงชื่อคนในสมุดรายนามผูใ้ ช้โทรศัพท์ตามลาดับตัวอักษร 3. การสรุ ป ผล บางครั้ งข้อมูลที่ จดั เก็บมีจ านวนมาก จาเป็ นต้องมีก ารสรุ ปผลหรื อสรุ ปเป็ นรายงาน เพื่อ นาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุ ปนี้จะสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรี ยนแยกตามชั้นเรี ยนแต่ละ ชั้น 4. การคานวณ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมานั้น ข้อมูลบางส่ วนเป็ นข้อมูลจานวนที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหา ผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด ้วย เช่น การ คานวณเกรดเฉลี่ยของนักเรี ยนแต่ละคน

 การดูแลรักษาข้ อมูล การดูแลรักษาข้อมูลอาจประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 1. การเก็บรักษาข้ อ มูล การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลมาบัน ทึกเก็บไว้ในสื่ อบันทึกต่ าง ๆ เช่ น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยงั รวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ 2. การทาสาเนาข้ อมูล การทาสาเนาเพื่อเก็บรักษาข้อมูล หรื อ นาไปแจกจ่าย จึงควรคานึ ง ถึงความจุและความ ทนทานของสื่อบันทึกข้อมูล 3. การสื่ อสารและเผยแพร่ ข้อมูล ข้อมูลต้องกระจายหรื อส่ งต่อไปยังผูใ้ ช้งานที่ ห่างไกลได้ง่าย การสื่ อสาร ข้อมูลจึงเป็ นเรื่ องสาคัญและมีบทบาทที่สาคัญยิง่ ที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผูใ้ ช้ทาได้รวดเร็ วและทันเวลา


13 4. การปรับปรุ งข้ อมูล ข้อมูลที่ จดั เก็บไว้มีจุดประสงค์เพื่อการใช้งาน เช่น ในการตัดสิ นใจเพื่อดาเนิ นการ ดังนั้นข้อมูลจึงต้องมีการปรับปรุ งให้ทนั สมัยอยู่ตลอดเวลา และจัดเก็บอย่างเป็ นระบบเพื่อการค้นหาได้อย่าง รวดเร็ ว ปั จ จุบันผูบ้ ริ หารต้องสามารถปฏิบตั ิ งานได้ร วดเร็ วขึ้ น เพื่อตอบสนองต่ อการแข่ งขันตลอดจนการ ผลักดันของสังคมที่มีการใช้ระบบสื่อสารข้อมูลที่ทนั สมัยมากขึ้น การแข่งขันในธุรกิจจึงมากขึ้นตามลาดับ มี การใช้คอมพิวเตอร์มาวิเคราะห์ แยกแยะ และจัดสรรข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ


14

บทที่ 4 ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (Network) เครือข่ าย คือ การเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ที่มีความสามารถในการรับ – ส่ ง ข้อมูลตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูล โปรแกรม หรื อ อุปกรณ์บางอย่าง ร่ วมกันได้ การที่ระบบเครื อข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่าง แพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกันเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้ สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่ วมกันได้ สิ่ งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้าย ข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรื อการสื่ อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึง การนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรื อการนาข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรื อไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เป็ นเครื อข่ายจึงเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม การเชื่อมต่อ ในความหมายของระบบเครื อข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยูท่ ี่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยงั รวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่กา้ วหน้าทาให้การทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่ องบริ การแฟ้ มข้อมูลเป็ นที่เก็บรวบรวมแฟ้ มข้อมูลต่างๆ มีการทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่ วยจัดการ ระบบสื่ อสารหน่วยบริ การใช้เครื่ องพิมพ์ หน่วยบริ การการใช้ซีดี หน่วยบริ การปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบ สาหรั บต่อเข้าในระบบเครื อข่ายเพื่อจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ ง ในรู ป เป็ นตัวอย่างเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ที่จดั กลุ่มเชื่อมโยงเป็ นระบบ

ตัวอย่ ำงเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ ท่ จี ัดกลุ่มอุปกรณ์ รอบข้ ำงเชื่อมโยงเป็ นระบบ


15 เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฏิบตั ิ การร่ วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ทุก ชิ้นที่ต่ออยูบ่ นเครื อข่ายทางานร่ วมกันได้ท้ งั หมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผูใ้ ช้เห็นเสมือนใช้งานใน อุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็ นวิธีการในการนาเอาอุปกรณ์ต่างชนิ ดจานวนมาก มารวมกันเป็ นเสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยีห่ อ้ ต่างบริ ษทั ก็ได้

 โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล หมายถึง ข้อกาหนดมาตรฐานหรื อข้อตกลงที่ควบคุมการสื่ อสารข้อมูลในเครื อข่าย ซึ่งจะ ควบคุมให้ระบบการสื่อสารข้อมูลนั้นเป็ นไปอย่างถูกต้องและมีมาตรฐานเดียวกัน ถ้าไม่มีโปรโตคอลนี้ เครื่ อง คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายอาจจะติด ต่ อเชื่อมโยงกัน ได้แต่จ ะไม่สามารถสื่ อสารกันได้ ดังนั้น คอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงกันอยูใ่ นเครื อข่ายจะสื่อสารกันได้ จะต้องใช้โปรโตคอลชนิดเดียวกัน เช่นเดียวกับคนเราถ้าจะพูดคุย กันรู้เรื่ องจะต้องพูดภาษาเดี ยวกัน จึงอาจกล่าวได้ว่าโปรโตคอลเปรี ยบเสมือนเป็ นภาษากลางในการสื่ อสาร ข้อมูลนัน่ เอง  ประเภทของเครือข่ าย การแบ่งประเภทของเครื อข่ายนั้นโดยส่ วนมากจะพิจารณาตามขนาดหรื อระยะทางที่เชื่อมต่ออุปกรณ์ เข้าด้วยกันภายในเครื อข่าย ซึ่งสามารถจะแบ่งประเภทตามขนาดออกได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้


16  เครือข่ ายเฉพาะบริเวณหรือแลน (LAN : Local Area Network) เป็ นเครื อข่ายสื่อสารระยะใกล้ซ่ึงครอบคลุมพื้นที่บริ เวณเดียวกันหรื อใกล้เคียงกันที่มีระยะทางไม่เกิน 1 ไมล์ โดยอาจจะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในสานักงานที่อยูใ่ นตึกเดียวกันหรื อระหว่างตึกที่ ใกล้เคียงกันเข้าเป็ นเครื อข่าย LAN ถูกออกแบบเพื่อให้ผใู้ ช้สามารถจะใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ในเครื อข่ายร่ วมกัน ได้ ซึ่งทรัพยากรนั้นอาจจะเป็ นฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื อข้อมูลสารสนเทศ มักนิยมเชื่อมต่อกันเป็ นโครงสร้าง แบบบัน , แบบวงแหวนและแบบดาว

b.Lan หลายวง วง a.Lan 1 วง

a.Lan 1 วง

Backbone

H U B

 เครือข่ ายมหานครหรือแมน (MAN : Metropolitan Area Network) เป็ นเครื อข่ ายสื่ อสารที่ครอบคลุมพื้นที่ในระยะทางที่ไกลกว่า LAN ซึ่งอาจจะเป็ นการเชื่อมต่อกัน ระหว่างเมืองกับเมืองหรื อระหว่างจังหวัดกับจังหวัด โดยที่ MAN นั้นอาจจะเป็ นการเชื่อมต่อกันระหว่าง คอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายเดียวกัน หรื ออาจจะเป็ นการเชื่อมต่อระหว่างเครื อข่าย LAN หลาย ๆ เครื อข่ายเข้าด้วยกัน เพื่อทาให้สามารถส่ งข้อมูลและใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้ในระยะทางที่ไกล ขึ้น เช่น เครื อข่ายของบริ ษทั ที่มีสาขาต่าง ๆ อยูใ่ นแต่ละจังหวัด

เครือข่ ายสาธารณะในเมือง


17  เครือข่ ายมหานครระยะไกลหรือแวน (WAN : Wide Area Network) เป็ นเครื อข่ายสื่อสารที่ครอบคลุมพื้นที่ในระยะทางที่ไกลมาก ในระดับประเทศ ระดับทวีป หรื อทัว่ ทั้ง โลก โดยส่ วนมากแล้ว WAN นั้นจะเป็ นการเชื่อมต่อระหว่างเครื อข่าย LAN หลาย ๆ เครื อข่ายเข้าด้วยกัน เพื่อทาให้สามารถส่งข้อมูลและใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น ดังนั้นเครื อข่าย WAN จาเป็ นที่ จะต้องใช้อุปกรณ์และสายสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูงเพื่อที่จะสามารถส่งข้อมูลต่าง ๆ ได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น โดยข้อมูลนั้นจะต้องไม่มีความผิดพลาดและสูญหาย ซึ่งอาจจะเชื่อมต่อโดยผ่านระบบโทรศัพท์ สายใยแก้วนา แสง ไมโครเวฟหรื อดาวเทียม เป็ นต้น

 โครงสร้ างของเครือข่ าย (Network Topology) การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ให้เป็ นเครื อข่ายนั้นสามารถที่จะออกแบบโครงสร้างของการเชื่อมต่อกันใน ระดับกายภาพได้หลายรู ปแบบ โดยแต่ละรู ปแบบนั้นมีขอ้ ดีและข้อเสี ยแตกต่างกันออกไป สาหรับโครงสร้าง ของการเชื่อมต่อเบื้องต้นมีอยู่ 5 แบบด้วยกันคือ 1. แบบร่ างแห (Mesh) เป็ นการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันในลักษณะ ร่ างแห โดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ท้ งั หมดจะมีการเชื่อมต่อแบบ Point –to-Point คือสาย สื่อสารที่เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัวจะไม่ถกู แบ่งใช้งานร่ วมกับอุปกรณ์ตวั อื่น


18 2. แบบดาว (Star) เป็ นการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์แต่ละตัวเข้ากับฮับ (Hub) แบบ Point – to-Point โดยการรับส่งข้อมูลทั้งหมดจะต้องผ่านฮับเสมอ ซึ่งฮับจะเป็ นศูนย์กลางในการควบคุมการติดต่อ ระหว่างอุปกรณ์ในเครื อข่ายทั้งหมด

HUB

3. แบบต้นไม้ (Tree) เป็ นโครงสร้างที่พฒั นามาจากโครงสร้างแบบดาว ซึ่งรู ปแบบการเชื่อมต่อจะมีลกั ษณะ เหมือนกับโครงสร้างแบบดาว แตกต่ างกันตรงที่จะมีการเชื่อมต่อกันระหว่างฮับกับฮับด้ว ย ซึ่งจะทาให้ สามารถเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์เข้าเป็ นเครื อข่ายได้มากขึ้น

HUB HUB

HUB

HUB

HUB

4. แบบบัส (Bus) เป็ นการเชื่อมต่อแบบ Multipoint คือ คอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ท้งั หมดจะเชื่อมต่อเข้า กับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียวและจะใช้งานสายหลักนี้ร่วมกันในการส่งสัญญาณต่าง ๆ

drop line

tap จุดสิ้นสุดเคเบิล

drop line

tap

drop line

tap backbone

drop line

tap

จุดสิ้นสุดเคเบิล


19 5. แบบวงแหวน (Ring) เป็ นโครงสร้างที่อุปกรณ์แต่ละตัวจะเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่อยู่ขา้ ง ๆ ทั้งสองฝั่ง แบบ Point –to-Point โดยมีการเชื่อมต่อกันแบบวงแหวน คือสัญญาณจะถูกส่ งผ่านภายในวงแหวน เป็ นทิศทางเดียวจากอุปกรณ์หนึ่งไปสู่อีกอุปกรณ์หนึ่งจนกระทัง่ ถึงอุปกรณ์ที่เป็ นเครื่ องรับสัญญาณ

 ตัวกลาง หรือ สายเชื่อมโยงในระบบเครือข่ าย ตัวกลางหรื อสายเชื่อมโยง เป็ นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่ง ลักษณะของตัวกลางต่าง ๆ มีดงั ต่อไปนี้ 1) สายคู่บดิ เกลียว สายคู่บดิ เกลียว (twisted pair) เป็ นสายสัญญาณซึ่งภายในจะมีสายทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตาม มาตรฐานเพื่อลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรื อจากภายนอก เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนี้ยอมให้สญ ั ญาณไฟฟ้ าความถี่สูงผ่านได้ถึง 10 Hz หรื อ 10 Hz เช่น สายคู่บิดเกลียว 1 คู่ จะสามารถส่งสัญญาณเสียงได้ถึง 12 ช่องทาง สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยูก่ บั ความ หนาของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ ากาลังแรงได้ ทา ให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่วนสูง โดยทัว่ ไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็ นลักษณะ คลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้หลายเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางได้ไกลหลายกิโลเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้ าหนักเบาง่ายต่อการติดตั้ง จึงถูกใช้งานอย่าง กว้างขวาง ตัวอย่างคือ สายโทรศัพท์ สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ


20 ก. สายคู่บดิ เกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วยฉนวน ชั้นนอกที่หนาอีกชั้นดังรู ป เพื่อป้ องกันการรบกวนของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้ า

สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน

ข. สายคู่บดิ เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair :UTP) เป็ นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ด้วย ฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้นดังรู ป ทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถป้ องกันการรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ าได้นอ้ ยกว่าชนิดแรก

สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่ห้ มุ ฉนวน

2) สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียลเป็ นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันมาก ไม่ว่าใน ระบบเครื อข่ายเฉพาะที่ ในการส่งข้อมูลระยะไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรื อการส่งข้อมูลสัญญาณวีดิทศั น์ สายโคแอกเชียลที่ใช้ทวั่ ไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทลั และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูล สัญญาณอนาล็อก สายโคแอกเชียลจะมีฉนวนหุม้ ป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า และสัญญาณ รบกวนอื่น ๆ ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่ที่สญ ั ญาณไฟฟ้ าสามารถผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง

ลักษณะของสายโคแอกเชียล


21 3) เส้ นใยนาแสง เส้ นใยนาแสง (fiber optic) เป็ นการใช้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราความ หนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก ปัจจุบนั ถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตจะใช้ได้ดว้ ยความเร็ว 10 เม กะบิต ถ้าใช้กบั FDDI จะใช้ได้ดว้ ยความเร็ วสูงถึง 100 เมกะบิต เส้นใยนาแสงมีลกั ษณะพิเศษที่ใช้สาหรับ เชื่อมโยงแบบจุดไปจุด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใช้กบั การเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร ระยะความยาวของ เส้นใยนาแสงแต่ละเส้นใช้ความยาวได้ถึง 2 กิโลเมตร เส้นใยนาแสงจึงถูกนาไปใช้เป็ นสายแกนหลัก เส้นใยนาแสงนี้จะมีบทบาทมากขึ้น เพราะมีแนวโน้มที่จะให้ความเร็ วที่สูงมาก

ลักษณะของเส้ นใยนาแสง


อ้ างอิง

http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/intro.htm http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/8_0.html http://blog.eduzones.com/banny/3474


ผู้จัดทำ ชื่อ นำงสำวทิพย์วรรณ ถนอมสัตย์ เกิดวันที่ 6 สิงหำคม พ.ศ. 2529 อยู่บ้ำนเลขที่ 38 หมู่ 2 ตำบลหนองโสน อำเภอเมืองตรำด จังหวัด ตรำด 23000 สถำนที่ทำงำน โรงเรียนสุนนั ทำวิทยำ 19 ถนนวิวัฒนะ ตำบลบำงพระ อำเภอเมืองตรำด จังหวัดตรำด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.