BARK ANIMATION DESIGN
คานา รายงานนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของวิชา ARTI3322 ANIMATION DESIGN จัดทาขึ ้นเพื่อ ค้ นคว้ าและ ปฎิบตั ิงาน แอนนิเมชัน่ เพื่อการประกวดในโครงการ Animation Adobe Design Awards ซึง่ กลุม่ BARK ได้ นาเสนอ Animation เรื่ อง ผุพงั ...ผูกพันธ์ ผิดพลาดประการใดขออภัย ณ ที่นี ้
สมาชิกในกลุม่ 1.นาย สมณะ นรมิตร 5111312699 SOUND EFFECT / STORY BOARD Publish Blog : http://samana-arti3322.blogspot.com/ E-mail : samana5113@gmail.com
2. นาย นพ สุขสงวนศรี 5111313382 ART DIRECTOR / ILLUSTATOR Publish Blog : http://nop-arti3322.blogspot.com E-mail : nops511@gmail.com
3. นางสาว ศิริภทั ร์ ทองสุขนอก 5211304174 STORY / ANIMETION Publish Blog : http://siripatarti3322.blogspot.com E-mail : siripat.thongsuknok@gmail.com 4. นางสาว จันทนา อาษาศรี 5211308589 CHARACTER / BG DESIGN Publish Blog : http://juntanaarti3322.blogspot.
E-mail : juntana.arsasri@gmail.com
ส.1 สืบค้ น แอนิเมชัน (Animation) หมายถึง กระบวนการที่เฟรมแต่ละเฟรมของภาพยนตร์ ถูกผลิตขึ ้นต่างหากจาก กันทีละเฟรม แล้ วนามาร้ อยเรียงเข้ าด้ วยกัน โดยการฉายต่อเนื่องกัน ไม่วา่ จากวิธีการ ใช้ คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ถ่ายภาพรูปวาด หรือ หรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจาลองที่คอ่ ย ๆ ขยับเมื่อนาภาพดังกล่าวมา ฉาย ด้ วยความเร็ว ตังแต่ ้ 16 เฟรมต่อวินาที ขึ ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่าภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ ต่อเนื่องกัน ทังนี ้ ้เนื่องจาก การเห็นภาพติดตาในทาง คอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบอนิเมชันที่ใช้ กนั อย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต ได้ แก่เก็บในรูปแบบ GIF MNG SVG และ แฟลช
แอนิเมชั่น (Animation) หมายถึง "การสร้ างภาพเคลื่อนไหว" ด้ วยการนาภาพนิ่งมาเรียงลาดับกัน และ แสดงผลอย่างต่อเนื่อง ทาให้ ดวงตาเห็นภาพที่มีการเคลื่อนไหวในลักษณะภาพติดตา (Persistence of Vision) เมื่อตามนุษย์ มองเห็นภาพที่ฉา่่ย อย่างต่อเนื่อง เรตินาระรักษาภาพนี ้ไว้ ในระยะสันๆ ้ ประมาณ 1/3 วินาที หากมีภาพ อื่นแทรกเข้ ามาในระยะเวลาดังกล่าว สมองของมนุษย์จะเชื่อมโยงภาพทังสองเข้ ้ าด้ วยกันทาให้ เห็นเป็ นภาพเคลื่อนไหวที่มีความ ต่อเนื่องกัน แม้ วา่ แอนิเมชัน่ จะใช้ หลักการเดียว กับวิดิโอ แต่แอนิเมชัน่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ กบั งานต่างๆได้ มากมาย เช่นงานภาพยนตร์ งาน โทรทัศน์ งานพัฒนาเกมส์ งานสถาปั ตย์ งานก่อสร้ าง งานด้ านวิทยาศาสตร์ หรืองานพัฒนาเว็บไซต์ เป็ นต้ น ชนิดของแอนิเมชัน่ สามารถแบ่งออกได้ เป็ นสามชนิดคือ 1. Drawn Animation คือแอนิเมชัน่ ที่เกิดจากการวาดภาพหลายๆพันภาพ แต่การฉาย ภาพเหล่านันผ่ ้ านกล้ องอาจใช้ เวลาไม่กี่นาที ข้ อดีของการทาแอนิเมชัน่ ชนิดนี ้คือ มีความเป็ นศิลปะ สวยงาม น่าดูชม แต่ข้อเสีย คือ ต้ องใช้ เวลาในการผลิตมาก ต้ องใช้ แอนิเมเตอร์จานวนมากและต้ นทุนก็ สูงตามไปด้ วย
2. Stop Motion หรือเรียกว่า Model Animation เป็ นการถ่ายภาพแต่ละขณะของหุ่นจาลองที่คอ่ ยๆขยับ อาจจะเป็ นของเล่น หรืออาจจะสร้ างตัวละครจาก Plasticine วัสดุที่คล้ ายกับดินน ้ามัน โดยโมเดลที่สร้ างขึ ้นมาสามารถใช้ ได้ อีกหลายครัง้ และยังสามารถผลิตได้ หลายตัว ทาให้ สามารถถ่ายทา ได้ หลายฉากในเวลาเดียวกันแต่การทา Stop Motmotion นัน้ ต้ องอาศัยเวลาและความทุ่มเทมาก วิธีนี ้เป็ นงานที่ต้องอาศัยความอดทนมาก 3. Computer Animation ปั จจุบนั มีซอฟท์ที่สามารถช่วยให้ การทาแอนิเมชัน่ ง่ายขึ ้น เช่น โปรแกรม Maya, Macromedia และ 3D Studio Max เป็ นต้ น วิธีนี ้เป็ นวิธีที่ประหยัดเวลาการผลิตและประหยัดต้ นทุนเป็ น อย่างมาก เช่น ภาพยนตร์เรื่อง Toy Story ใช้ แอนิเมเตอร์เพียง 110 คนเท่านัน4. ้ Motion Paths คือ รูปแบบการนาเสนอที่ ผู้จดั ทาสามารถกาหนดทิศทาง และระยะทางของการเคลื่อนไหวของวัตถุได้ เช่น กาหนดให้ เลื่อนจากซ้ าย ไปขวา หมุนวนในทิศทางต่างๆ เป็ นต้ น
Program Illustater , Program Photoshop มุมกล้ อง และ ศัพท์เทคนิค
การกาหนดมุมกล้ องได้ ดีจะสามารถสื่อความหมายได้ ดีตามไปด้ วย มาดูมมุ กล้ องที่สาคัญๆกันหน่อย
ว่ าด้ วยเรื่องขนาดภาพ 1. C.U. ย่อมาจาก Close up ชื่อในวงการเรี ยก ซียู
ภาพ CU จะใช้ สาหรับเจาะรายละเอียดบนใบหน้ า (หรื อส่วนอื่นๆก็ได้ ) เน้ นความสาคัญเล็กใน รายละเอียดของ object นั ้นๆ ขนาดของภาพจะเห็นประมาณ หัวถึงคาง เรี ยกว่า CU ดังภาพ 2. M.S. ย่อมาจาก Medium Shot ชื่อในวงการคือ มีเดี ้ยม
ภาพขนาดมีเดี ้ยม จะเริ่ มตั ้งแต่หวั ถึงเอว หรื อลงมาอีกหน่อยถึงเข่าก็ได้ แยกย่อยเป็ น medium close up , medium Long shot และอื่นๆ ภาพขนานนี ้จะเน้ นที่ตวั object รวม ๆ เห็นรายละเอียดในภาพรวม สามารถถ่ายทอด movement ของ object ได้ ในระดับนึง 3. L.S. ย่อมาจาก Long Shot ชื่อในวงการ ลองฉอต
ภาพลองฉอต เป็ นภาพระยะไกล เห็นรายละเอียดของ สภาพแวดล้ อม ว่าทาอะไรที่ไหน ส่วนใหญ่จะใช้ เล่า เกี่ยวกับสถานที่ เวลา (ใช้ ในการอื่นก็มีเหมือนกัน) 4. E L S ย่อมากจาก Extra logn shot ชื่อในวงการ เอ็กตร้ าลองฉอต ภาพขนาดโคตรกว้ าง บางทีแทบจะไม่เห็นตัว object เลยก็ได้ เน้ นสนาที่ลกู เดียวให้ เห็นถึงความกว้ าง ความใหญ่ ความสูง หรือความแตกต่างระหว่าง สถามที่กบั object 5. E C U ย่อมาจาก Extream Close Up ชื่อในวงการ เอ็กตรีมโคสสอัพ
ภาพขนาดโคตรใกล้ เก็นรายละเอียดเล็ก ๆ เช่น เม็ดเหงื่อบนจมูก ภาพสะท้ อนในดวงตา บางที่เป็ นฉาก โคตรซูมเห็นชันผิ ้ วหนังว่ามีคอลาเจนในชันผิ ้ วมากน้ อยแค่ไหนก็ได้
มุมกล้ อง หมายถึง ทิศทางที่ตงกล้ ั ้ องกับวัตถุที่ถกู ถ่าย ประกอบด้ วยมุมหลักๆ ดังนี ้ 1. มุมกล้ อง ออบเจกทีฟ (Objective Camera Angle) มุมกล้ องมุมนี ้ทาให้ ผ้ ดู ไู ด้ เห็นภาพโดยตรงจากเลนส์กล้ อง ซึ่งทาหน้ าที่เสมือนตาผู้ดู 2. มุมกล้ อง ซับเจกทีฟ (Subjective Camera Angle) มุมกล้ องมุมนี ้ใช้ กล้ องแทนผู้ด ู ทาให้ ผ้ ดู เู ป็ นเสมือนผู้แสดงที่อยู่นอกจอ ผู้แสดงจะมองหรือพูดกับเลนส์ กล้ อง ทาให้ ร้ ูสกึ ว่าผู้แสดงในจอมองหรือพูดกับผู้ดโู ดยตรง ทาให้ ผ้ ดู รู ้ ูสกึ ว่าเข้ าไปมีสว่ นร่วมใน ภาพยนตร์ เรื่องนัน้ 3. มุมกล้ อง พอยต์ ออฟ วิว (Point of view camera angle, POV) มุมกล้ องมุมนี ้ผู้กากับให้ ผ้ ดู เู ห็นภาพเหตุการณ์จากสายตาของผู้แสดงอีกทีหนึ่ง ผู้ดจู ะเห็นผู้แสดงจากมุม กล้ องออบเจกทีฟ และเห็นภาพที่ผ้ แู สดงเห็นจากมุมกล้ องพอยต์ ออฟ วิว ตัวอย่างเช่น ภาพแรกผู้ดเู ห็นภาพ
เฮลิคอปเตอร์บินเหนือกรุงเทพฯ ตัดภาพไปที่คนขับมองลงมาข้ างล่าง แล้ วตัดเป็ นภาพการจราจรใน กรุงเทพฯ ภาพการจราจรในกรุงเทพฯ เป็ นภาพจากมุมกล้ องพอยต์ ออฟ วิว ของคนขับเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ 4. มุมที่ผ้ กู ากับกาหนดขึ ้นเอง (Director’s Interpretative Camera Angle) เป็ นมุมกล้ องที่ผ้ กู ากับอาจกาหนดมุมกล้ องขึ ้นมาเพื่อให้ เรื่องราวเร้ าใจ ชวนติดตามยิ่งขึ ้น เพื่อให้ การ สื่อสารเข้ าถึงอารมณ์ของผู้ดโู ทรทัศน์ได้ อย่างเต็มที่ มุมมองภาพ หมายถึง จุดดูภาพที่ปรากฏบนจอภาพยนตร์และจอโทรทัศน์ ผู้กากับจะกาหนดว่าจะเสนอภาพจากมุมใด คือให้ ผ้ ดู มู องเห็นภาพจากมุมใดจึงจะน่าสนใจและสมจริงกับเรื่องราวที่เสนอ มุมมองภาพหรือที่นิยม เรียกว่ามุมกล้ องโดยทัว่ ไปจะประกอบด้ วย 3 มุม ได้ แก่ 1. มุมสูง (High Angle) ตังกล้ ้ องถ่ายภาพยนตร์และโทรทัศน์ไว้ สงู กว่าวัตถุ ถ้ าเป็ นภาพสถานที่กว้ างใหญ่ การถ่ายภาพไกลจากมุม สูงทาให้ เห็นภาพได้ กว้ างไกล เป็ นการเปิ ดฉากแนะนาสถานที่ได้ เป็ นอย่างดี แต่ถ้าเป็ นการถ่ายคน จะเป็ น การเสนอให้ เห็นว่าคนๆ นันไม่ ้ สาคัญ เป็ นคนต่าต้ อย ไม่สง่าผ่าเผย 2. ภาพมุมระดับสายตา (Eye Level Angle) เป็ นภาพที่ตงกล้ ั ้ องในระดับสายตาของคน หรือของวัตถุที่ถกู ถ่าย ภาพในระดับสายตาเพื่อสื่อความหมาย ว่าภาพที่ปรากฏจะเป็ นภาพให้ ความรู้สกึ ธรรมดา ไม่เด่นอะไร 3. ภาพมุมต่า (Low Angle) เป็ นภาพที่ตงกล้ ั ้ องถ่ายในระดับต่ากว่าคนหรือวัตถุที่ถกู ถ่าย เป็ นภาพที่แหงนดู สื่อความหมายหรือให้ เกิด ความรู้สกึ ว่าคนหรือวัตถุที่ถกู ถ่ายมีความสาคัญมากกว่าปกติ น่าเคารพ นับถือ ขนาดภาพ หมายถึง บริเวณของภาพที่ถ่าย มักจะเรียกว่า ช็อต (Shot) ประกอบด้ วยขนาดต่างๆ ดังนี ้ 1. ภาพขนาดที่ถ่ายไกลมาก (Extreme Long Shot = ELS) เป็ นภาพที่ถ่ายด้ วยเลนส์กว้ าง และถ่ายจากที่ไกล อาจจะถ่ายจากที่สงู ด้ วย เพื่อให้ เห็นความยิ่งใหญ่ของ สถานที่ ภาพขนาดนี ้มักใช้ เป็ นภาพเปิ ดเรื่องและแนะนาสถานที่ที่เรื่องราวนันๆ ้ เกิดขึ ้น 2. ภาพถ่ายไกล (Long Shot = LS) เป็ นภาพที่ถ่ายให้ ครอบคลุมบริเวณพื ้นที่ที่เกิดเหตุการณ์ ถ้ าเป็ นภาพคนจะถ่ายเต็มตัว
3. ภาพถ่ายปานกลาง (Medium Shot = MS) ถ้ าเป็ นภาพคนจะเป็ นภาพครึ่งตัว 4. ภาพใกล้ (Close Up = CU) ถ้ าเป็ นภาพคนจะถ่ายจากไหล่ขึ ้นไปถึงศีรษะ เพื่อแสดงให้ เห็นความรู้สกึ ของผู้แสดง หรือรายละเอียดของ สิ่งที่นาเสนอให้ เห็นรายละเอียดชัดเจนยิ่งขึ ้น 5. ภาพใกล้ มาก (Extreme Close Up = ECU) เป็ นภาพที่ถ่ายใกล้ มาก เน้ นเฉพาะจุดที่ต้องการจะเน้ น เช่น เน้ นที่ตาหวานเยิ ้ม แสดงถึงตาที่มีความรัก ตา ที่แดง มีน ้าตา แสดงถึงความเศร้ าโศก
โครงการ Animation Adobe Design Awards 1. จัดทา story board 2. ออกแบบ character ตัวละคร 3. สร้ างตัวละครใน Adobe 4. ตัดต่อใน Adobe Flash 5. ตัดต่อ Sound
ส.3 1.Text 1.1 เรื่อง ผุพงั ...ผูกพันธแนวเรื่อง(Theme) เป็ นเรื่องแนว ดราม่า(Drama)
กลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่ นมัธยมจนถึงวัยทางาน ดูได้ ทกุ เพศ
ความยาว บรรยากาศของเรื่อง ยุคปั จจุบนั ซอยเล็กๆ
ตัวละครหลัก คนเก็บของเก่า(ฟู) ฝูงสุนัข
ความต้ องการในการนาเสนอ(Brief Concept) ต้ องการนาเสนอเรื่ องราวความรักของคนที่โดนสังคมดูถกู เฉยชาและ สัตว์ที่โดนทอดทิ ้ง จากที่ไม่ชอบกัน และกัน ต้ องเอาตัวรอดไปวันๆ ทาให้ เกิดเรื่ องราวความผูกพันธ์ของทัง2 ้ ที่เกิดขึน้ ด้ วยความไม่ร้ ู ตวั
ผู้แต่ งเรื่อง ... นางสาว ศิริภทั ร์ ทองสุขนอก
1.2 เนือ้ เรื่อง(Story Line)... 1. 2.
เรื่ อง ผุพงั ...ผูกพันธ์ เนือ้ เรื่ อง(Story Line)....
คนเก็บของเก่าต่างถิ่นที่เพิ่งย้ ายเข้ ามาอยู่ ไม่มีใครรู้ ชื่อเสียงเรี ยงนาม คนแถวนัน้ จะเรี ยกคนเก็บของเก่าคนนี ้ ว่า “ฟู” ฟูมาอยู่ใหม่จงึ ไม่ร้ ู ทิศทางของแถวนี ้ ไม่ร้ ู เส้ นทางอันตราย ทุกวันฟูจะขับรถตามถนนธรรมดาแต่ด้วยเสียงคาด่าว่า นินทาสารพัดทาให้ ฟูทนไม่ได้ ฟูเลือกที่จะไม่โต้ เถียง ฟูหนีคานินทาเหล่านัน้ มาที่ซอยอันตรายซอยหนึ่งซึง่ ฟูไม่ร้ ู เลยว่า ซอยนีเ้ ป็ นซอยอันตรายและซอยต้ องห้ าม เช้ าวันใหม่ฟูไปเส้ นทางใหม่ที่คิดว่าดีกว่าแต่ฟูกลับพบว่ามีฝงู สุนัขที่น่าราคาญรอเขาอยู่ที่กลางทาง มันเป็ นเจ้ าถิ่นของ ซอยนี ้ แต่ถงึ อย่างนัน้ ฟูก็เลือกที่จะสู้กบั ฝูงสุนัขที่น่าราคาญนี ้ ดีกว่าที่จะออกไปพบเจอกับเสียงพากษ์ วิจารณ์อนั น่า ราคาญของผู้คน วันที่หนึ่ง..... ณ เวลา 8.30น. แต๊ กๆ ๆ ๆ เสียงรถเก็บของเก่าของฟู ดังขึน้ ในซอยอันตราย ซึง่ มีฝงู สุนัขน่าราคาญ มันวิ่งมากัด มันเห่า มันหอน ฟูจงึ รี บขับหนี วันที่สอง...... ณ เวลา 8.30น. แต๊ กๆ ๆ ๆ เสียงรถเก็บของเก่าของฟู ดังขึน้ อีกครัง้ ในซอยอันตราย ซึง่ มีฝงู สุนัขน่าราคาญเช่นเคย มันวิ่งมากัด มันเห่า มันหอน ฟูจงึ รี บขับหนี วันที่สาม...... ณ เวลา 8.30น. แต๊ กๆ ๆ ๆ เสียงรถของฟู ดังขึน้ อีกครัง้ ในซอยอันตราย ซึง่ มีฝงู สุนัขน่าราคาญมาดักรอ มันวิ่งมากัด มันเห่า มันหอน แต่ฟูกลับโยนกระดูกให้ วันที่ส่ ี....... ณ เวลา 8.30น. แต๊ กๆ ๆ ๆ เสียงรถของฟู ดังขึน้ อีกครัง้ ในซอยอันตราย ซึง่ มีฝงู สุนัขน่าราคาญเช่นเคย มันวิ่งมากัด มันเห่า มันหอน ฟูโยนกระดูกให้ เหมือนเดิมพร้ อมลงไปลูบหัวพวกมัน พวกมันเห่าและจะกัด ฟูจงึ หนีอีกครัง้ วันที่ห้า...... ณ เวลา 8.30น. แต๊ กๆ ๆ ๆ เสียงรถของฟู ดังขึน้ อีกครัง้ ในซอยอันตราย ซึง่ มีฝงู สุนัขน่าราคาญเช่นเคย มันวิ่งมากัด มันเห่า มันหอน ฟูโยนกระดูกให้ อีกครัง้ พร้ อมลงไปลูบหัวพวกมัน แต่พวกมันกลับเงียบและยอมให้ ลบู หัวแต่โดยดี แล้ วฟูก็ขับรถจากไป
วันที่หก...... ณ เวลา 8.30น. แต๊ กๆ ๆ ๆ เสียงรถของฟู ดังขึน้ อีกครัง้ ในซอยอันตราย ซึง่ มีฝงู สุนัขน่าราคาญเช่นเคย มันวิ่งมากัด มันเห่า มันหอน ฟูโยนกระดูกให้ อีกครัง้ พร้ อมลงไปลูบหัวพวกมันและเล่นกันอย่างสนุกสนาน แล้ วฟูก็ขับรถจากไป วันเจ็ด...... ณ เวลา 8.30น. แต๊ กๆ ๆ ๆ เสียงรถของฟู ดังขึน้ อีกครัง้ ในซอยอันตราย ซึง่ มีฝงู สุนัขน่าราคาญเช่นเคย มันวิ่งมากัด มันเห่า มันหอน ฟูโยนกระดูกให้ พร้ อมลงไปลูบหัวพวกมันและเล่นกันอย่างสนุกสนานอย่างเคย แล้ วฟูก็ขับรถจากไป ...............แต่ขับมาได้ ระยะหนึ่งก็ดนั เกิดเหตุไม่คาดฝั นขึน้ “ฟูโดนรถชน” สภาพของฟูเป็ นตายร้ ายดียงั ไงไม่มีใครรู้ วันที่แปด........ ณ เวลา 8.30น. ไม่มีเสียงรถของฟูมาซอยนี ้ ฝูงสุนัข มันก็ยงั เห่า ยังหอน ถึงแม้ ไม่มีเสียงรถของฟูผ่านมา วันที่เก้ า..... เป็ นเช่นวันที่แปด จนเวลาผ่านล่วงเลยมาถึง วันสิบ….วันสิบเอ็ด….วันสิบสอง….วันสิบสาม...สิบสี่...สิบห้ า....ผ่านไป วันแล้ ววันเล่า สุนัขมันก็ยงั เห่า หอน เวลาเดิม เหมือนเดิมทุกวัน พวกมันทุกตัวต่างเศร้ าและไม่ร่าเริ ง วันที่สิบหก ก็ยงั ไม่มีเสียงรถของฟูผ่านมาเหมือนเดิม แต่มีชายคนหนึ่งเดินถือไม้ ค ้า ใส่หมวก และถุงใบใหญ่ ผ่านมาแทน ฝูงสุนัข มันวิ่งจะมากัด มันเห่าชายคนนี ้ ชายคนนีห้ ยุดเดิน และนั่งลง ฝูงสุนัขเห่าไม่หยุดและทาเสียงขุ่ เขาเทกระดูกออกมา มันก็ยงั ไม่หยุดเห่า จนกระทัง่ …….. เขาถอดหมวกออก แล้ วปฏิกิริยาของพวกมันเปลี่ยนไปในทันที 2. ออกแบบตัวละคร โดย นางสาว จันทนา อาษาศรี 3. วาดตัวละคร โดย นางสาว ศิริภัทร์ ทองสุขนอก
Story board
พื ้นหลัง/ฉาก/เสริ ม/สีบรรยากาศ
2.2 ตัวละคร CHARACTER Design (ฟู)
CHARACTER Design (ฝูงสุนัข)
Animation ขัน้ ตอนการทาAnimation เรื่องผุพงั ผูกพันธ์ ทาในโปรแกรม Flash Cs5 โดย 1. เปิ ดโปรแกรมขึ ้น และเลือกActionScript 3.0
2. Import รูปภาพที่เราต้ องการ โดยไปที่ File > Import > Import to stage แล้ วเลือกไฟล์ที่ต้องการ
3. เมื่อได้ รูปแล้ วคลิกขวาที่จดุ ดาใน Layer แล้ วเลือก Create Classic Tween
4. กด F8 เพื่อเลือก Motion Tween ( เลือกเพื่อทาให้Opjectขยับเป็ นสัดส่วนของมัน เวลานาไปใช้ ใน Layer อื่น ก็จะได้ ไม่ต้องทาใหม่ และสามารถใช้ ได้ เลย แล้ ว Opjectจะขยับเหมือนเดิมทุกอย่าง )
5. Double Click Opjectนันที ้ ่เราสร้ าง Motion Tween ไว้ เพื่อเข้ าหน้ าของ Motion Tween แล้ วทา ตามขันตอนที ้ ่ 4 อีกครัง้ หนึ่ง - เพิ่ม Layer และเลือกภาพที่ต้องการแล้ วเปลี่ยนชื่อใน Layer นันๆ ้ เพื่อกันลืม - เลือก จุดหมายปลายทางของ Opjectนันโดย ้ กด F6
6. ต่อไปจะทาให้ ล้อหมุน คือเลือกจุดต้ นทางที่ Layer ของล้ อ แล้ วไปที่ Tweening> Rotate เลือก CW เพื่อให้ หมุน
7. กด Ctrl+Enterเพื่อดูผลของOpjectที่สงั่ การ
ตามขันตอนที ้ ่กล่าวมาเป็ นบางตอนเท่านัน้ แต่สว่ นใหญ่ในเรื่องราวของการทา จะใช้ วิธีเดียวกันหมด
การใส่ Sound ขั้นตอนนี้คือการเพิ่มอรรถรสของAnimation ให้น่า ติดตาม และตื่นเต้นมากขึ้น เสี ยงประกอบคือส่ วนสาคัญอีกที่หนึ่งที่จะต้องใช้เวลาคัดสรรเสี ยง ให้ตรงกับเนื้อเรื่ อง ตอน และการกระทาของตัวละคร
ดูผลงานได้ ท่ ี http://www.youtube.com/watch?v=NforuZjqg9M&context=C33baf81ADOEgsToPDskJs4tCpgTEjMN3ZscSYgl9