ประเพณีไทย

Page 1

ประเพณีไทย

นางสาวจุฑามาศ จันทนะ เลขที่ 046 หมู่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


ประเพณีของไทย

ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา

เป็นประเพณีที่กระทากันเมื่อใกล้ถึงฤดูเข้าพรรษาซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ พระภิกษุจะต้องอยู่ประจาวัดตลอด 3 เดือนมาตั้งแต่โบราณกาล การหล่อเทียนเข้าพรรษานี้มีอยู่เป็นประจา ทุกปี เพราะในระยะเข้าพรรษานี้ พระภิกษุจะต้องมีการสวดมนต์ทาวัตรทุกเช้าเย็นและใน การนี้จะต้องมีธูป เทียนจุดบูชาด้วย พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย จึงพร้อมใจกันหล่อเทียนเข้าพรรษาสาหรับให้พระภิกษุจุดเป็น การกุศล ทานอย่างหนึ่งเพราะเชื่อกันว่าในการให้ทานด้วยแสงสว่างจะมีอานิสงฆ์เพิ่มพูนปัญญาหูตาสว่างไสว ตามชนบท การหล่อเทียน เข้าพรรษาทากันอย่างเอิกเกริกสนุกสนานมาก เมื่อหล่อเสร็จแล้ว ก็จะมีการแห่แหน รอบพระอุโบสถ 3 รอบ แล้วนาไปบูชาพระ ตลอดระยะเวลา 3 เดือน บางแห่งก็มีการประกวดการตกแต่งมี การแห่แหนรอบเมืองด้วยริ้วขบวนที่สวยงามและถือว่าเป็นงาน ประจาปีทีเดียวในวันนั้นจะมีการร่วมกันทาบุญ ตักบาตรถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ เป็นการร่วมกุศลกันในหมู่บ้านนั้น

กิจกรรมต่าง ๆ ทีค่ วรปฏิบัตใิ นวันเข้าพรรษา - ร่วมกิจกรรมทาเทียนจานาพรรษา - ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบน้าฝน และจตุปัจจัย แก่พระภิกษุ สามเณร - ร่วมทาบุญ ตักบาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล - อธิษฐานงดเว้นอบายมุขต่าง ๆ


ประเพณีสงกรานต์

ในสมัยโบราณ คนไทยถือว่า วันขึ้น 1 ต่า เดือนอ้าย ซึ่งจะตรงในช่วงเดือน พฤศจิกายนหรือธันวาคม ให้เป็นวันขึ้นปีใหม่ แต่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการเปลี่ยนให้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ จนต่อมาในสมัยยุค จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในปี พ.ศ. 2483 ได้เปลี่ยนวันปีใหม่ให้เป็นวันสากล คือ วันที่ 1 มกราคม แต่ถึงอย่างไร คนโบราณก็ยังคงคุ้นเคยกับวันปีใหม่ไทย ในเดือนเมษายน จึงได้กาหนดให้วันที่ 13 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ไทยร่วมด้วย

นางสงกรานต์ ในโบราณมีการกาหนดไว้ถึง 7 นางด้วยกัน ซึ่งแต่ละนางก็จะมีความหมาย คาทานายที่แตกต่างกันออกไป โดยทั้ง 7 นางสงกานต์ จะประกอบไปด้วย 1. นางทุงษะเทวี 2. นางรากษเทวี 3. นางโคราคเทวี 4. นางกิริณีเทวี 5. นางมณฑาเทวี 6. นางกิมิทาเทวี 7. นางมโหธรเทวี


ประเพณีลอยกระทง

ประเพณีลอยกระทงนั้นมีมาแต่โบราณ โดยมีคติความเชื่อหลายอย่าง เช่น เชื่อว่าเป็นการบูชาและขอขมาแม่พระคงคา เป็นการ สะเดาะเคราะห์ เป็นการบูชาพระเจ้าในศาสนาพราหมณ์ หรือเป็นการบูชารอยพระพุทธบาท เป็นต้น การลอยกระทงนิยมทากันใน วันเพ็ญ เดือน 12 ของทุก ๆ ปี อันเป็นช่วงที่น้าในแม่น้าลาคลองขึ้นสูงและอากาศเริ่มเย็นลง ตามพระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสอง เดือน และตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ได้กล่าวว่า นางนพมาศ หรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ พระสนมเอกในพระร่วงเจ้าแห่งกรุงสุโขทัย เป็น ผู้ริเริ่มประดิษฐ์กระทงสาหรับลอยประทีปเป็นรูปดอกบัวบานขึ้น ซึ่งคนทั่วไปนิยมทาตามสืบต่อมา นอกจากนั้นในศิลาจารึกหลักที่ 1 ยังได้กล่าวถึง งานเผาเทียน เล่นไฟ ของกรุงสุโขทัยไว้ด้วยว่า เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทาให้ผู้รู้ทั้งหลายสันนิษฐาน ต้องตรงกันว่า งานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน

เพลง ราวงวันลอยกระทง คาร้อง แก้ว อัจฉริยะกุล ทานอง เอื้อ สุนทรสนาน วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้านองเต็มตลิ่ง เราทั้งหลายชายหญิงสนุกกันจริง วันลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอยกระทงกันแล้ว ขอเชิญน้องแก้วออกมาราวง ราวงวันลอยกระทง ราวงวันลอยกระทง บุญจะส่งให้เราสุขใจ บุญจะส่งให้เราสุขใจ วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้านองเต็มตลิ่ง เราทั้งหลายชายหญิงสนุกกันจริง วันลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอยกระทงกันแล้ว ขอเชิญน้องแก้วออกมาราวง ราวงวันลอยกระทง ราวงวันลอยกระทง บุญจะส่งให้เราสุขใจ บุญจะส่งให้เราสุขใจ ฯ


ใบความรู้ เรือ่ ง ประเพณีไทย 4 ภาค

ภาคเหนือ

ประเพณียเี่ ป็ง ประเพณียี่เปงจะเริ่มตั้งแต่ วันขึ้น 13 ค่า ซึ่งถือว่าเป็น “วันดา” หรือวันจ่ายของ เตรียมไปทาบุญเลี้ยงพระที่วัด ครั้นถึงวันขึ้น 14 ค่า พ่ออุ้ยแม่อยุ้ และผู้มีศรัทธาก็ จะพากันไปถือศีล ฟังธรรม และทาบุญเลี้ยงพระที่วัด มีการทากระทงขนาดใหญ่ตั้ง ไว้ที่ลานวัด ในกระทงนั้นจะใส่ของกินของใช้ใครจะเอาของมาร่วมสมทบด้วยก็ได้ เพื่อเป็นทานแก่คนยากจน ครั้นถึง วันขึ้น 15 ค่า จึงนากระทงใหญ่ที่วัดและกระทง เล็ก ๆ ของส่วนตัวไปลอยในลาน้า

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟ เป็นหนึ่งในฮีตสิบสองเดือนของชาว อีสาน นิยมทากันในเดือน 6 หรือเดือน 7 อันเป็นช่วงฤดูฝนเข้าสู่การทานา ตกกล้า หว่าน ไถ เพื่อเป็นการบูชาเทพยดาอารักษ์ หลักบ้านหลักเมืองและบูชาพญาแถนขอฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล โดยมีความเชื่อ ว่าเมื่อจัดงานนี้แล้วเทพยดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายจะดลบันดาลให้ฝนตกต้อง ตามฤดูกาล ทาให้พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์


ภาคกลาง

ประเพณีประเพณีรบั บัว พิธีกรรมของประเพณีรับบัวจะเริ่มต้นในวันขึ้น ๑๓ ค่า เดือน ๑๑ โดยใน ตอนเย็นชาวพระประแดงและเพื่อนบ้านใกล้เคียง จะลงเรือและร่องไป ตามแม่น้าเจ้าพระยาบ้าง ตามคลองสาโรงบ้าง แต่ทุกคนจะมีจุดหมาย เดียวกันคือไปที่หมู่บ้านบางพลี โดยในเรือที่ร่องกันมานั่นจะมีเครื่อง ดนตรีนานาชนิด เช่น ปี่ ซอ แง แบ กรับ และกลอง เป็นต้น และทุกคน จะร้องราทาเพลงกันอย่างสนุกสนาน ส่วนชาวบางพลีก็จะเตรียมดอกบัว และอาหารไว้ต้อนรับแขกผู้มาเยือ

ภาคใต้

ประเพณีชกั พระ ด้วยจิตอันศรัทธายิ่งต่องาน เมื่อถึงวันชักพระ ชาวบ้านต่างร่วมกันทาบุญตักบาตร อันเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานบนบุษบกบนเรือพระ รถพระ ซึ่งตกแต่งอย่างงดงาม จากนั้นจึงออกแรงชักพระ เรือพระ ออกจากวัด สมโภชไปตามถนน ลาคลอง ผู้ คนหนาตาด้วยจิตศรัทธาเป็นหนึ่งเดียวกัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.