คู่มือชุมชนวัดทับทิมแดง

Page 1

คูมือชุมชน

การใช ส ิ ท ธิ ต  อ หน ว ยงานภาครั ฐ และภาคเอกชนใน การดำเนิ น การช ว ยเหลื อ ชุ ม ชน


จัดทําโดย นักศึกษากลุ​ุ่ม ๒ โครงการ “ สะพานสู่ดวงดาว” หลักวิชาชีพนักกฎหมาย ห้องเรียน ผศ.ดร.ปกป้อง ศรีสนิท คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ชุมชนตัวอยาง : ชุมชนวัดทับทิมแดง ตำบลคลองสอง อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี

คูมือประชาชนฉบับนี้เปรียบเสมือนสะพานเชื่อมชุมชนกับหนวยงานตางๆทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อเปนแนวทางใหกับประชาชนในชุมชนสามารถ ตระหนักถึงสิทธิของตนเองในการติดตอขอความชวยเหลือเพื่อแกไขปญหาใน ดานตางๆ ไดอยางสะดวกมากขึ้น โดยไดรวบรวมวิธีการติดตอรวมถึงขอ กฎหมายมาในคูมือฉบับนี้แลว


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ปญหาตางๆในชุมชน

การกําจัดขยะและสิ่งปฏิกูล

สาธารณูปโภค

การติดต่อกับราชการ

การเสนอโครงการ

การกระจายข่าวสาร

ทางสาธารณะ

การระบายน้ําเน่าเสีย

การตรวจสอบภาครัฐ

ทัศนียภาพชุมชน

หน้า 4


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

เรามารูจัก “สิทธิชุมชน” กันดีกวา ! สิทธิชุมชน คืออะไร ? “สิ ท ธิ ช ุ ม ชน”

คื อ ประโยชน์ หรื อ สิ ่ งที ่ ช ุ ม ชนมี เพื ่ อ จั ด การ

ทรัพยากรต่างๆที่มีในอาณาบริเวณของชุมชน ทําให้เกิดการพัฒนา และการดํารงอยู่อย่างยั่งยืน และสามารถเอาชนะความไม่เป็นธรรม ต่างๆทั้งที่เกิดจากการแทรกแซงของรัฐและปัญหาจากสังคมในด้าน ต่ า งๆ ซึ ่ ง สิ ท ธิ ช ุ ม ชนนี ้ ไ ด้ ม ี ก ารรั บ รองในรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราช อาณาจักรไทย นับเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะทําให้ชุมชนมีความเข้ม แข็งและปลอดจากปัญหาต่างๆ ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ประชาชนในชุมชน ทุกคนควรตระหนักและรับรู้ถึงสิทธิต่างๆที่ตนเองและชุมชนมี

หน้า 5


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

สิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๖๖ บุคคลซึ่งรวม กันเปนชุมชน ชุมชนทองถิ่น หรือ ชุมชนทองถิ่นดั้งเดิม ยอมมีสิทธิ อนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปวัฒนธรรม อันดีของทองถิ่นและของชาติ และ มีสวนรวมในการจัดการ การบำรุง รักษา และการใชประโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม รวมทั้งความหลากหลายทาง ชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน มาตรา ๖๗ สิทธิของ บุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและ ชุมชนในการอนุรักษ บำรุงรักษา และการไดประโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพ และใน การคุมครอง สงเสริม และรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดำรง ชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องใน สิ่งแวดลอม ที่จะไมกอใหเกิด อันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของ ตน ยอมไดรับความคุมครองตาม ความเหมาะสม

การดำเนินโครงการหรือ

กิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทาง ดาน คุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทำมิได เวนแตจะไดศึกษา และประเมินผลกระทบตอคุณภาพ สิ่งแวดลอมและสุขภาพของ ประชาชนในชุมชน และจัดใหมี กระบวนการรับฟงความคิดเห็น ของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย กอน รวมทั้งไดใหองคการอิสระ ซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการ เอกชนดานสิ่งแวดลอมและ สุขภาพ และผูแทนสถาบัน อุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาดาน สิ่งแวดลอมหรือ ทรัพยากรธรรมชาติหรือดาน สุขภาพใหความเห็นประกอบกอน มีการดำเนินการดังกลาว สิทธิของชุมชนที่จะฟอง หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐที่เปน นิติบุคคล เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตาม บทบัญญัตินี้ ยอมไดรับความ คุมครอง

หน้า 6


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ปญหาสิ่งแวดลอมชุมชน

ปญหาสิ่งแวดลอมชุมชน อาจแบงไดเปน 2 เรื่องไดแก 1.การจัดการขยะ 2.การบำรุงทางน้ำ

ประชาชนในชุมชนสามารถ ที่จะติดตอหนวยงานของรัฐผูมี อำนาจหนาที่ หรือหนวยงาน เอกชนที่เกี่ยวของในดานนี้ เพื่อขอความชวยเหลือหรือรอง เรียนในปญหาที่เกิดขึ้นได

หน้า 7


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ปญหาสิ่งแวดลอมชุมชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ได ม ี ก ารกำหนดภารกิ จ ของรั ฐ ใน การดำเนินการดานสิ่งแวดลอมดังนี้

(๓) จัดใหมีการวางผังเมือง พัฒนา และดํา เนินการตามผังเมืองอยางมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล เพื่อประโยชนในการดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน

มาตรา ๘๕

รัฐตองดําเนินการตามแนว (๔) จัดใหมีแผนการบริหารจัดการทรัพยากร นโยบายดานที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และ น ้ ํ า แ ล ะ ท ร ั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ต ิ อ ื ่ น อยางเปนระบบ และเกิดประโยชนตอสวน สิ่งแวดลอม ดังตอไปนี้ รวม ทั้งตองใหประชาชนมีสวนรวมในการ (๑) กํ า หนดหลั ก เกณฑ ก ารใช ท ี ่ ด ิ น สงวน บํารุงรักษา และใช ประโยชนจาก ใหครอบคลุมทั่วประเทศ โดยใหคํานึงถึง ทรัพยากร ความ สอดคล อ งกั บ สภาพแวดล อ มทาง ธรรมชาติและความหลากหลายทาง ธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ํา วิถีชีวิตของชุม ชีวภาพอยางสมดุล ชนทองถิ่น และการดูแล รักษาทรัพยากร ธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ และกําหน (๕) สงเสริม บํารุงรักษา และคุมครอง ดมาตรฐานการใช ท ี ่ ด ิ น อย า งยั ่ ง ยื น โดย คุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการพัฒนาที่ ตองให ประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ ยั ่ ง ยื น ตลอดจนควบคุ ม และกํ า จั ด ภาวะ จากหลักเกณฑการใชที่ดินนั้นมีสวนรวมใน มลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุ ณ ภาพชี ว ิ ต ของประชาชน โดย การตัดสินใจดวย ประชาชนชุ ม ชนท อ งถิ ่ น และองค ก รปก (๒) กระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธร ครองสวนทองถิ่น ตองมีสวนรวมในการ รมและดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ กําหนดแนวทางการดําเนินงาน หรือ สิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกร รมอยางทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่น รวมทั้งจัดหาแหลงน้ํา เพื่อใหเกษตรกรมี น้ําใชอยางพอเพียงและเหมาะสม แกการเกษตร

หน้า 8


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาครัฐในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม

การพิจารณาหนวยงานของ รัฐผูมีอำนาจหนาที่ดังกลาวตอง พิ จ ารณาเบื ้ อ งต น จากกฎหมาย เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ซึ่งไดแกพระ ราชบั ญ ญั ต ิ ส  ง เสริ ม และรั ก ษา คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ในพระราชบัญญัตินี้ได กำหนดใหอำนาจของหนวยงานที่ กำหนดไว ต ามกฎหมายเฉพาะ ก อ น ซึ ่ ง การปกครองในระดั บ ชุ ม ชนนั ้ น อยู  ภ ายใต ก ารบริ ห าร ของภาครัฐสวนทองถิ่นหรือที่รูจัก กันในนามองคการกระจายอำนาจ ไดแก องคการบริหารสวนตำบล องค ก ารบริ ห ารส ว นจั ง หวั ด

เทศบาล กรุงเทพมหานคร พัทยา ตามพระราชบัญญัติการสาธารณ สุขพ.ศ.๒๕๓๕ ซึ่งกำหนดใหเขต ราชการสวนทองถิ่นเปนผูกำจัดสิ่ง ปฏิกูลและมูลฝอย โดยการกำจัด ขยะดังกลาวเขตราชการสวนทอง ถิ่นสามารถอาศัยอำนาจตามพระ ราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดอัตราคา ธรรมเนียมการกำจัดสิ่งปฏิกูลและ มู ล ฝอยซึ ่ ง ต อ งมี จ ำนวนไม เ กิ น อัตราที่กฎกระทรวงกำหนด หรือ เขตราชการสวนทองถิ่นอาจมอบ อำนาจให เ อกชนผู  ท ำสั ญ ญา สัมปทานบริการสาธารณะกำจัด ขยะก็ได โดยใหคิดอัตราคาบริการ หน้า 9


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาครัฐในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม พื ้ น ที ่ ท างกายภาพของตำบลคลองสอง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานีอยูภายใตการ ดู แ ลของเทศบาลเมื อ งคลองหลวง อำเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เทศบาลเมือง คลองหลวงจึงมีหนาที่พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไขฉบับที่ ๑๒ พ.ศ.๒๕๔๖ ซึ่ง กำหนดใหเทศบาลเมืองมีอำนาจหนาที่ในสวนที่ เกี่ยวของกับการกำจัดขยะและการกำจัดมลพิษใน ลำน้ำสาธารณะ โดยมีขอความกำหนดวา ๑. บำรุงทางบกและทางน้ำ เชน การจัดเก็บขยะ ในทางน้ำสาธารณะ การบำบัดน้ำเสียในคลองน้ำ สาธารณะ

๒. หนาที่รักษาความสะอาดของถนน หรือ ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล เชน การจัดหาถังขยะใหเพียงพอ ตอความตองการของประชาชน การจัดเก็บสิ่ง ปฏิกูลและมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพตามระยะเวลา และเพียงพอตอความตองการของประชาชนใน พื้นที่ h เปนหนาที่ของเทศบาลเมืองตองวางแผน ดำเนินการในเรื่องดังกลาว ซึ่งอำนาจหนาที่ในกอง งานของเทศบาลเมืองคลองหลวงนั้น ไดกำหนดให เปนหนาที่รับผิดชอบของ กองสาธารณะสุขและ สิ่งแวดลอม

หน้า 10


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาครัฐในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม ! กองสาธารณะสุขและสิ่งแวดลอม แบงสวนราชการภายในออกเปน ๔ งาน คือ ๑. งานสงเสริมสุขภาพและสาธารณสุข ๒. งานรักษาความปลอดภัย ๓.งานควบคุมและจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ๔. งานปองกันและควบคุมโรคติดตอ1 h

มีอำนาจเกี่ยวกับการสำรวจการควบคุมโรค การสุขาภิบาลอื่นๆ ตามแผนการสาธารณสุขและขอ บั ง คั บ ตำบลการวางแผนการสาธารณสุ ข การ ประมวลและวิเคราะหขอมูลทางสถิติที่เกี่ยวของกับ สาธารณสุข งานเฝาระวังโรค การเผยแพรฝกอบรม การใหสุขศึกษา การจัดทำงบประมาณตามแผนงาน สาธารณสุข งานดานสิ่งแวดลอม งานใหบริการ สาธารณสุข การควบคุมการฆาสัตว จำหนายเนื้อ สัตว และปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของ

h หากเกิดการละเลยหรือดำเนินการลาชาเกิด ขึ้น ประชาชนในชุมชนจึงสามารถรองเรียนการให บริการดังกลาวตอผูวาราชการจังหวัดปทุมธานี ซึ่ง เปนผูมีอำนาจหนาที่กำกับดูแลการดำเนินกิจการ ของเทศบาลเมือง เพื่อใหใชอำนาจกำกับดูแลชี้แจง ตักเตือนใหกระทำการดังกลาวภายในระยะเวลาที่ กำหนดไดในเบื้องตน h h ในเรื่องของสิทธิของประชาชนที่จะขอทราบ ขอมูลเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย รวม ถึงขอมูลเกี่ยวกับลำน้ำนั้นตามพระราชบัญญัติสง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.๒๕๓๕ ได กำหนดใหประชาชนสามารถขอทราบขอมูลในเรื่อง การสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมได เวนแต ขอมูลนั้นเปนขอมูลความลับของทางราชการ

หน้า 11


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาคเอกชนในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม

ดานการกำจัดขยะ ในส ว นของโครงการด า น การกำจั ด ขยะนั ้ น เบื ้ อ งต น ประชาชนในชุ ม ชนอาจเสนอ โครงการตอภาคเอกชนเพื่อขอรับ บริจาคถังขยะในจำนวนที่เพียงพอ ตอความตองการของชุมชนก็ได ซึ่งถือเปนโครงการพื้นฐานในการ จัดการขยะเบื้องตน h h ซึ่งตัวอยางหนวยงาน เอกชนที่มีโครงการบริจาคถังขยะ ใหแกหนวยงานของรัฐและชุมชน ไดแก

บริ ษ ั ท เชฟรอนประเทศไทย สำรวจและผลิต จำกัด ที่อยู อาคาร ๓ ไทยพาณิชยปารค พลาซา ๑๙ ถนนรัชดาภิเษก เขต จตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐๒๕๔๕๕๕๕๕ โทรสาร ๐๒๕๔๕๕๕๕๔ บริษัทนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย จำกัด ที ่ อ ยู  อ าคารเอเซี ย เสริ ม กิ จ 49 ซอยพิพัฒน (สีลม 3) ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพฯ ๑๐๕๐๐ โทร ๐๒๒๓๑๕๘๐๐ หน้า 12


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาคเอกชนในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม

มูลนิธิเพื่อการพัฒนาสิ่งแวดลอมและพลังงาน ทําหนาที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจัดการส่ิงแวดลอม และพลังงาน โดยเนนการ อนุรักษ พลังงานและการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางคุมคา และการใหคําปรึกษาโครงการ ทีสงเสริมกา รมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดลอม และพลังงาน

บริษัท ตรีอรรถบูรณ จำกัด ที่อยูสำนักงานใหญ ๖๙/๕ หมู ๑๑ ถนนพุทธมณฑลสาย ๕ ตำบลไรขิง อำเภอสามพราณ จังหวัดนครปฐม ๗๓๒๑๐ โทร ๐๒๘๑๑๘๑๑๘ โทรสาร ๐๒๘๑๑๘๑๑๕ marketing@tre-atthaboon.com

ที่อยู ๑๒/๙ อาคารเอวี ช้ัน 3A ถนนเทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐๒-๕๘๐-๖๒๔๒-๔๓ โทรสาร ๐๒-๕๘๐-๕๑๐๓

ดานการบำรุงทางน้ำ ! !

!

ในดานนี้โครงการที่ชุมชนสามารถขอความอนุเคราะหจากภาคเอกชนในเบื้องตนคือ โครงการ ปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณคลอง โดยการดำเนินโครงการอาจขอความอนุเคราะหบริจาคทรัพยสินหรือหากทาง ชุมชนมีงบประมาณหรือทรัพยสินที่ใชพัฒนาในเรื่องนี้อยูแลว อาจขอความอนุเคราะหแรงงานจากหนวยงาน ตางๆได h ตัวอยางหนวยงานที่ใหความสำคัญและมีนโยบายสนับสนุนในเรื่องนี้มีดังตอไปนี้

หน้า 13


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาคเอกชนในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม มูลนิธิกองทุนเพื่อสิ่งแวดลอมไทย 8/118 ลาดพราว 71 ซอยนาคนิวาส 48 ถนนนาคนิวาส แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท 02-542-4283 / โทรสาร 02-542-4287 ตอ 18 E-mail: envcorpthai@yahoo.com / Website: www.envcorpthai.org

ภาระหนาที่ของประชาชนตอ สวนรวมและสวนราชการ

h สำหรั บ การทิ ้ ง สิ ่ ง ปฏิ ก ู ล นั ้ น ประชาชนใน ชุมชนควรนำไปทิ้งในบริเวณถังขยะที่เทศบาลจัด ไวให

h ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกอบพระ ราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไขฉบับที่ ๑๓ พ.ศ.๒๕๔๖ ไดกำหนดใหประชาชนตองใหความ รวมมือแกเจาหนาที่ผูปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการสง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม h h ในตำบลคลองสองนั้น นโยบายสำคัญของ เทศบาลเมืองคลองหลวงคือการเก็บคาขยะตาม เทศบัญญัติการกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยครัวเรือน ละ ๔๐ บาท/เดือน จึงถือเปนหนาที่ของประชาชน ภายในชุมชนตองชำระคาบริการดังกลาวในทุกๆ คนเดือน h h

h หากถังขยะมีจำนวนไมเพียงพอควรใสถุง ดำปดใหมิดชิดกันสัตวคุยเขี่ยแลวนำไปวางทิ้งไว บริ เ วณข า งถั ง ขยะเพื ่ อ รอการจั ด เก็ บ ของทาง เทศบาล h ในกรณี ท ี ่ เ จ า พนั ก งานท อ งถิ ่ น เห็ น ว า มี ประชาชนในชุมชนคนหนึ่งคนใดกำจัดขยะใหเปน เหตุเดือนรอนรำคาญแกเพื่อนบานหรือสาธารณะ เจาพนักงานทองถิ่นอาจออกคำสั่งใหประชาชนใน ชุมชนจัดการเหตุรำคาญใหเรียบรอย ซึ่งหากฝาฝน ไมปฏิบัติตามยอมตองระวางโทษจำคุกไมเกินหนึ่ง เดือน ปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕

หน้า 14


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ปญหาสาธารณูปโภคชุมชน

สาธารณูปโภคคือ บริการสาธารณะที่จัดทำเพื่ออำนวยประโยชนแก ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จำเปนตอการดำเนินชีวิต เชน การไฟฟา การ ประปา การเดินรถประจำทาง โทรศัพท

หน้า 15


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาครัฐในการจัดการปัญหาสาธารณูปโภค

พระราชบั ญ ญั ต ิ เ ทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไขฉบับที่ ๑๒ พ.ศ.๒๕๔๖ ไดกำหนดหนาที่ให เทศบาลอาจทำกิจการในบางเรื่อง ได ซึ่งรวมถึง h -การจั ด กิ จ การให ม ี น ้ ำ สะอาดหรือน้ำประปา h -การจั ด กิ จ การให ม ี แ ละ บำรุงทางระบายน้ำ h -ปรับปรุงแหลงเสื่อมโทรม และรักษาความสะอาดเรียบรอย ของทองถิ่น h สำหรับอำนาจหนาที่สอง ประการดั ง กล า วนี ้ เทศบาล สามารถใชอำนาจดุลพินิจตามที่ !

หน้า 16

กฎหมายกำหนดให สำหรับการ จั ด สร า งหรื อ บำรุ ง รั ก ษาทาง ระบายน้ำหรือไมก็ได ซึ่งอำนาจ ดุ ล พิ น ิ จ ในส ว นนี ้ ม ี ล ั ก ษณะเป น ดุลพินิจตัดสินใจ คือ เทศบาลตอง ใชดุลพินิจใหเหมาะสมแกสภาพ การณ ด  ว ย ต อ งคำนึ ง ถึ ง ความ ตองการของชุมชนวาจำเปนตอง กระทำการดังกลาวมากนอยเพียง ใด หากเทศบาลไมใชดุลพินิจให เหมาะสมแกสภาพการณหรือใช ดุ ล พิ น ิ จ ไม ก ระทำการเป น ไปใน ทางที่ผิด ประชาชนอาจยื่นเรื่อง ให ศ าลปกครองไต ส วนเรื ่ อ งดั ง กลาวได


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาครัฐในการจัดการปัญหาสาธารณูปโภค ในส ว นของตำบลคลองสอง อำเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี หนาที่ดังกลาวเปน งานรับผิดชอบของ กองชาง เทศบาลเมือง คลองหลวง อำเภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุมธานี h กองชาง มีอำนาจเกี่ยวกับการสำรวจ งาน บำรุง ซอม และจัดทำทะเบียน สิ่งกอสรางที่อยูใน ความรับผิดชอบของเทศบาล การใหคำปรึกษา เกี ่ ย วกั บ การจั ด ทำโครงการ และการออกแบบ กอสรางแกเทศบาล และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ งานควบคุ ม อาคาร การดู แ ลควบคุ ม ปรึ ก ษา ซ อ มแซมวั ส ดุ ค รุ ภ ั ณ ฑ แ ละปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ อ ื ่ น ที ่ เกี่ยวของ แบงสวนราชการภายในออกเปน ๔ งาน คือ

h h h h h งานสำรวจออกแบบ

งานกอสรางและซอมบำรุง

งานประสานสาธารณูปโภค งานควบคุมอาคารและผังเมือง2

หน้า 17


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หน่วยงานภาคเอกชนในการจัดการสาธารณูปโภค ในป ญ หาเรื ่ อ งน้ ำ และการระบายน้ ำ ประชาชนในชุ ม ชนอาจมี ส  ว นร ว มในการเสนอ โครงการหรือรวมตัวทำหนังสือแจงตอเทศบาลเพื่อ ใหเทศบาลทำหนังสือขอความชวยเหลือจากกรม ราชทัณฑ ใหชวยดำเนินการรอกทอระบายน้ำ หรือ กำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยตางๆที่กอใหเกิดปญหา แกระบบระบายน้ำได h h ตัวอยางหนวยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวของ บริษัท ทองถวิล บริการ จำกัด ที่อยู สำนักงานใหญ (ระยอง) เลขที่ ๔๔ ถ.หัวน้ำตก ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง โทรศัพท ๐๓๘๖๙๔๕๕๐ โทรสาร ๐๓๘๖๙๔๕๕๖ www.thongtawil.com Email: admin@thongthawil.com

บริการแกไขทออุดตัน ชักโครกตัน สวมตัน หองน้ำตัน ครัวตัน ซิงคตัน ลอกราง ขุดบอ โดยไมตอง ทุบ ดวยเครื่องมือที่ทันสมัย พรอมทีมงานผูชำนาญการดานทออุดตันโดยเฉพาะ

หน้า 18


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ภาระหนาที่ของประชาชนตอสวนรวม ! ตามพระราชบัญญัติการสาธารณะสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดกำหนดใหทางระบายน้ำซึ่งอยูในสถานที่ ที่ไมเหมาะสมหรือการระบายน้ำที่ปราศจากการ ควบคุมไมใหมีกลิ่นเหม็นหรือละอองสารพิษจาก อาคารอันเปนที่อยูอาศัยของคนและสัตวถือเปน เหตุรำคาญ เชนการระบายน้ำเสียลงสูคลองน้ำ การทิ้งขยะลงสูคลองน้ำ ทำใหคลองน้ำเกิดความ สกปรก ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ใหอำนาจเจาหนาที่ทอง

ถิ่นออกคำสั่งเปนหนังสือใหผูนั้นหยุดกระทำการดัง กลาวและจัดการตามความเหมาะสมได หากไม ปฏิบัติตามคำสั่งของเจาพนักงานทองถิ่น เจา พนักงานทองถิ่นมีสิทธิดำเนินการตามที่เห็นวา เหมาะสม และเรียกเก็บคาใชจายกับผูนั้นได ซึ่งผู นั้นอาจมีโทษตามกฎหมายฉบับนี้คือตองระวาง โทษจำคุกไมเกินหนึ่งเดือน ปรับไมเกินสองพัน บาท หรือทั้งจำทั้งปรับดวย

หน้า 19


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ปญหาทางและสิ่งปลูกสรางสาธารณะ

_

ทางสาธารณะ เปนทางที่ทุกคนสามารถใชประโยชนรวมกันได มิไดเปนของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง

_

ชุมชนวัดทับทิมแดงนั้นมีที่ตั้งชุมชนอยูตรงบริเวณถนนรังสิต นครนายก31 ซึ่งอยูในความดูแลของเทศบาลเมืองคลองหลวงโดยเปนถนนที่สรางขึ้นเลียบ คลองสองทั้งสองฝงคลองซึ่งเปนเสนทางที่ใชเชื่อมระหวางถนนสายหลักสอง สายคือ ๑. ถนนคลองหลวง ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3214 และ ๒. ถนนรังสิต-นครนายก ทางหลวงแผนดินหมายเลข 305

หน้า 20


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หนวยงานภาครัฐในการจัดการทาง/สิ่งปลูกสราง การบำรุงรักษาทาง สาธารณะหรื อ การสร า งทาง สาธารณะนั ้ น เป น หน า ที ่ ข อง เทศบาลตามพระราชบั ญ ญั ต ิ เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไขฉบับที่ ๑๓ พ.ศ.๒๕๔๖ กำหนดใหเปน หน า ที ่ ข องเทศบาลในการบำรุ ง ทางบกหรื อ ถนน ซึ ่ ง พระราช บัญญัติฉบับนี้ไดกำหนดใหเปนสิ่ง ที ่ เ ทศบาลต อ งกระทำการบำรุ ง ทางสาธารณะใหมีอยูสภาพดีอยู เสมอ สำหรับเทศบาลเมือง คลองหลวงที ่ ม ี เ ขตรั บ ผิ ด ชอบ ครอบคลุมตำบลคลองสองนั้น มี กองผูรับผิดชอบงานคือกองชาง !

บำรุงรักษาพระราชบัญญัตินี้ก็ ให อ ำนาจอธิ บ ดี ก รมโยธาธิ การ มีอำนาจกำหนด มาตรฐานและลั ก ษณะของ ทางหลวงและงานทาง รวมทั้ง กำหนดเขตทางหลวง ที่จอด รถ ระยะแนวตนไมและเสา พาดสาย ได ซึ่งรวมถึงการ ออกแบบสรางเนินเพื่อชะลอ ความเร็วรถภายในชุมชนดวย

h ในสวนการกำกับดูและการ กอสรางหรือบำรุงรักษาทางหลวง ที่อยูในเขตเทศบาลนี้ ตามพระ ราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.๒๕๓๕ ใหเรียกวาทางหลวงเทศบาล ซึ่ง การอำนวยการสรางหรือบำรุงนั้น กำหนดใหอำนาจนายกเทศมนตรี เทศบาลเปนผูมีอำนาจกำกับดูแล การสร า งหรื อ บำรุ ง ให เ ป น ที ่ เรียบรอย โดยการกอสรางหรือ หน้า 21


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หนวยงานภาครัฐในการจัดการทาง/สิ่งปลูกสราง ในส ว นการดู แ ลไม ใ ห รถยนตที่ขับผานชุมชนนั้นเปน ไปตามพระราชบัญญัติจราจร ทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ แกไข ฉบับที่ ๘ พ.ศ.๒๕๕๑ ได กำหนดความเร็วของรถยนตไว ดังนี้ !

h ๑.สำหรับรถบรรทุกที่มี น้ำหนักรถรวมทั้งน้ำหนัก บรรทุกเกิน ๑,๒๐๐ กิโลกรัม หรือรถบรรทุกคนโดยสารให ขับในเขตเทศบาลไมเกิน ๖๐ กิโลเมตรตอชั่วโมง

๒.สำหรั บ รถยนต อื่นนอกจากรถที่ระบุไวใน ๑ ขณะที ่ ล ากจู ง รถพ ว ง รถยนตบรรทุกที่มีน้ำหนัก รถรวมทั ้ ง น้ ำ หนั ก บรรทุ ก เกิน ๑,๒๐๐ กิโลกรัม หรือ รถยนตสามลอใหขับในเขต เทศบาล ไม เ กิ น ๔๕ กิโลเมตรตอชั่วโมง

หน้า 22

๓.สำหรั บ รถยนต อื่นนอกจากรถที่ระบุไวใน ๑ หรือ ๒ หรือรถ จักรยานยนต ใหขับในเขต เทศบาล ไม เ กิ น ๘๐ กิโลเมตรตอชั่วโมง h หากประชาชนผูขับ รถผานในเขตชุมชนที่ตั้งอยู ในเขตเทศบาลไม ป ฏิ บ ั ต ิ ตามขางตน กฎหมายให อำนาจใหพนักงานจราจรวา กลาวตักเตือน หรือเปรียบ เที ย บปรั บ ตามอั ต ราที ่ สมควรได


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หนวยงานภาครัฐในการจัดการทาง/สิ่งปลูกสราง

สะพานและทาขาม !

! ในสวนของการสราง สะพานหรื อ ท า ข า มภายในชุ ม ชน นั ้ น ชุ ม ชนที ่ อ ยู  ใ นเขตเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แกไขฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดกำหนดใหเทศบาลอาจ ดำเนินการจัดใหมีทาเทียบเรือหรือ ทาขามได ซึ่งในสวนนี้กฎหมายไม ได ก ำหนดชั ด เจนให เ ทศบาลมี อำนาจหน า ที ่ ต  อ งกระทำการดั ง กลาว เทศบาลสามารถใชดุลพินิจที่ จะดำเนินการดังกลาวหรือไมก็ได

ตามความเหมาะสม แต ก ารใช ดุลพินิจดังกลาวก็ตองเปนดุลพินิจ โดยชอบดวย มิ ใ ช เ ป น การใช ดุลพินิจเพื่อกลั่น แกลงประชาชน ภายในชุมชน

หน้า 23


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หนวยงานภาครัฐในการจัดการทาง/สิ่งปลูกสราง

]

หอกระจายขาว

h ๑. ปลัดเทศบาลหรือชางโยธา ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นๆ h ในเรื ่ อ งนี ้ ร ะเบี ย บกระทรวง หรือบุคคลอื่นที่องคกรปกครองสวน มหาดไทยวาดวยการดำเนินงานหอก ท อ งถิ ่ น นั ้ น ๆได ม อบหมายเป น ที ่ ระจายขาวประจำหมูบานและชุมชน ปรึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ระบุใหองคกรปกครอง สวนทองถิ่นสงเสริมและสนับสนุนการ h ๒. ผูที่องคกรปกครองสวน ดำเนิ น งานหอกระจายข า วประจำ ทองถิ่นมอบหมาย ไมเกิน ๓ คน เปน หมูบานและชุมชนในเขตที่รับผิดชอบ กรรมการ ในเขตเทศบาลไดแตผูที่ เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งแกคณะ เทศบาลไดมอบหมาย กรรมการบริหารการดำเนินงานหอก ระจายข า วประจำชุ ม ชน ซึ ่ ง คณะ h ๓. ประชาชนที่ประชาชนใน กรรมการบริหารการดำเนินงานหอก หมูบานไดลงมติคัดเลือกตามจำนวนที่ ระจายขาวประจำชุมชนนั้นในสวนของ เห็นสมควร เขตพื ้ น ที ่ ท ี ่ อ ยู  ใ นความดู แ ลของ เทศบาลมีที่มาจาก h h หน้า 24

h โดยคณะกรรมการดั ง กล า ว มี ห น า ที ่ ด ู แ ละรั ก ษาหอกระจายข า ว แจ ง แก อ งค ก รปกครองส ว นท อ งถิ ่ น ดำเนินการในกรณีที่หอกระจายขาว ชำรุดเสียหาย จัดทำผังรายการผลิต ขาว คัดเลือกขาวสารที่จะเผยแพร ควบคุมการเผยแพรขาวสาร คัดหาผู ประกาศขาวประจำชุมชน h จากหนาที่การจัดหอกระจาย ข า วชุ ม ชนตามพระราชบั ญ ญั ต ิ เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไขฉบับที่ ๑๓ พ.ศ.๒๕๔๖ กำหนดใหเทศบาลมีหนา ที ่ ต  อ งจั ด ตั ้ ง หอกระจายข า วให แ ก ชุมชน ซึ่งเปนหนาที่เครงครัดตอง ดำเนินการ


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

หนวยงานภาคเอกชนในการจัดการทาง/สิ่งปลูกสราง บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) อาคารรสาทาวเวอร ๒ ชั้น ๒๐ เลขที่ ๕๕๕ ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจัตร เขตจตุจัตร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทรศัพท ๐๒๙๓๗๑๐๐๐ โทรสาร ๐๒๙๓๗๑๒๒๓ เวปไซด : http://www.tatasteelthailand.com ๒. บริษัท สามารถคอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่อยู เลขที่ ๙๙/๑ หมู ๔ ชั้น ๓๕ อาคารซอฟทแวรปารค ถนน แจงวัฒนะ ตำบลคลองเกลือ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท ๐๒๕๐๒๖๐๐๐ กิจกรรมสรางสรรคประโยชนสูสังคมไทยของ "กลุมบริษัทสามารถ" ทั้งภายในและภายนอกที่จัดขึ้นอยางตอเนื่อง เพื่อสรางสรรคใหคน ไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเอื้อประโยชนตอสังคมสูงสุดอยาง รอบดานในการเสริมรากฐานที่แข็งแรงและยั่งยืนใหกับสังคมไทย

๓. บริษัท ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ที่อยู เลขที่ ๑ ถนนปูนซีเมนตไทย บางซื่อ กรุงเทพฯ ๑๐๘๐๐ โทร ๐๒๕๘๖๓๓๓๓,๐๒๕๘๖๔๔๔๔

หน้า 25


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ภาระหนาที่ของประชาชนตอสวนรวม

h ในดานการจราจรการขับรถเขาออกชุมชนของประชาชนควรตระหนักถึงวินัยจราจร ที่เครงครัด โดยการเคารพกฎหมายตามที่กำหนดไวในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ แกไขฉบับที่ ๘ พ.ศ.๒๕๕๑ และมีจิตสำนึกถึงเพื่อนรวมทางและประชาชนรอบขางถนนเสมอ ซึ่ง จะแกปญหาการเกิดอุบัติเหตุไดในระดับหนึ่ง โดยเทศบาลไมตองเสียงบประมาณเพิ่มเติมสราง เครื่องมือควบคุมความเร็ว !

h

h

h สวนเรื่องหอกระจายขาวนั้น แมเทศบาลจะไมดำเนินการสรางใหแกชุมชน เมื่อประชาชน ภายในชุมชนรูขาวสารของทางราชการ ตามหลักเพื่อนบานที่ดีจึงควรแจงแกเพื่อนบานเพื่อการรับ ทราบขอมูลที่ทั่วถึงของชุมชน หน้า 26


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

การตรวจสอบภาครัฐ ๑. การใชสิทธิตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ การบัญญัติสิทธิขั้นพื้นฐานในการรับรูขอมูลขาวสารของทางราชการไดมีบัญญัติไวใน มาตรา ๕๖ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งบุคคลยอมมีสิทธิไดรับ ทราบและเขาถึงขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น เวนแตการเปดเผยขอมูลหรือขาวสารนั้นจะกระทบตอความ มั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือ สวนไดเสียอันพึงไดรับความคุมครองของบุคคล อื่น หรือเปนขอมูลสวนบุคคล h h h h h “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือสิ่ง ใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทำไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไม วาจะไดจัดทำไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทำใหสิ่งที่บันทึกไว ปรากฏได ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ไดกำหนดใหหนวยงานของรัฐตองสงขอมูลเหลานี้ลงพิมพใน ราชกิจจานุเบกษา เพื่อใหประชาชนสามารถรับรูขอมูลในเบื้องตนของหนวยงานราชการไดคือ h - โครงสรางและการจัดองคกรในการดำเนินงาน !

h

- สรุปอำนาจหนาที่ที่สำคัญและวิธีการดำเนินงาน

h - สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคำแนะนำในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ h h - กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการ h ตีความทั้งนี้เฉพาะที่จัดใหมีขึ้นโดยมีสภาพอยางกฎ เพื่อใหมีผลเปนการทั่วไปตอเอกชนที่ เกี่ยวของ h h - ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนด โดยใหหนวยงานของรัฐรวบรวมและจัดใหมีขอมูลขาวสารดังกลาวไวเพื่อขายหรือ จำหนายจายแจก ณ ที่ทำการของหนวยงานราชการตามสมควรดวย หน้า 27


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

การตรวจสอบภาครัฐ ๑. การใชสิทธิตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ พระราชบัญญัติไดกำหนดใหหนวยงานของรัฐตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการ อยางนอยดังตอไปนี้ไวใหประชาชนเขาตรวจดูได ทั้งนี้ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการ กำหนด h ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแยงและคำสั่งที่ h เกี่ยวของในการพิจารณาวินิจฉัยดังกลาว h h - นโยบายหรือการตีความที่ไมเขาขายตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา !

!

h

- แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจำปของปที่กำลังดำเนินการ

h h h h

- คูมือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหนาที่ ของเอกชน

h h h h h h

- สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกับเอกชน การจัดทำบริการสาธารณะh

h h

- ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนดโดยขอมูลขาวสารที่จัดใหประชาชนเขา ตรวจดูนั้น หากมีสวนใดสวนหนึ่งเปนสวนตองหามไมใหเปดเผยใหตัดทอนสวนนั้นออกไป

- สิ่งที่ไดมีการตีพิมพลงในราชกิจจานุเบกษา

- มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ใหระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลขาวสารที่นำมาใชใน การพิจารณาไวดวย

หน้า 28


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

การตรวจสอบภาครัฐ ๑. การใชสิทธิตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ h หากประชาชนผูใดเห็นวาหนวยงานของรัฐไมจัดพิมพขอมูลดังกลาวใหแกประชาชน หรือ ปฏิบัติหนาที่ลาชา หรือไมไดรับความสะดวกโดยไมมีเหตุอันสมควร ประชาชนมีสิทธิรองเรียนตอ คณะกรรมการได h h h คณะกรรมการดังกลาวคือคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ซึ่งหากหนวยงานของ รัฐปฏิเสธวาไมมีขอมูลขาวสารตามคำขอไมวากรณีใดๆ หากผูมีคำขอไมเชื่อวาเปนความจริงและ รองเรียนตอคณะกรรมการ ใหคณะกรรมมีอำนาจเขาดำเนินการตรวจสอบขอมูลขาวสารของ ราชการที่เกี่ยวของได และแจงผลการตรวจสอบใหผูรองเรียนทราบ โดยหนวยงานของรัฐหรือเจา หนาที่ของรัฐตองยินยอมใหคณะกรรมการหรือผูที่คณะกรรมการมอบหมายเขาตรวจสอบขอมูล ขาวสารที่อยูในความครอบครองได ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารที่เปดเผยไดหรือไมไดก็ตาม h h h โดยประชาชนตองเขียนคำขอเปนหนังสือยื่นตอหนวยงานของรัฐเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร ของทางราชการ ในการขอขอมูลขาวสารตอเทศบาลคลองหลวงก็ใชคำขอเดียวกับหนวยงานของ รัฐอื่น ซึ่งมีแบบฟอรมพื้นฐานกำหนดไวแนนอน โดยประชาชนตองกรอกขอมูลใหถูกตองครบถวน แลวนำไปยื่นตอเทศบาลคลองหลวง เจาหนาที่จะจัดหาขอมูลตามที่ตองการให แตหากขอมูลดัง กลาวมีจำนวนมากเกินไปพระราชบัญญัติไดกำหนดใหเจาหนาที่มีเวลาตามสมควรที่จะจัดหา ขอมูลตามที่ขอใหแกประชาชนผูขอได

หน้า 29


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

การตรวจสอบภาครั การตรวจสอบภาครัฐฐ

๒. การยื่นคำรองทุกข รองเรียนตอ เทศบาล h

site=130&page_id=130&wb_id=48&send_c ols=1&wd=195&wdt=px&control=

h

๓. สงขอความรองเรียน รองทุกขทางเว็บไซด ในส ว นนี ้ เ ทศบาลคลองหลวงได ก ำหนดช อ ง ของเทศบาลเมืองคลองหลวง ตาม URL : ทางการรองทุกข รองเรียน ใหประชาชน http://www.khlongluang.go.th/center/ ภายในชุมชนสามารถทำได ๓ ชองทาง คือ website/management/website_dragdrop/ index_menu.php? ๑. สงขอความรองเรียน รองทุกขทาง E-mail site=130&page_id=1162&control= ไปที่ admin@khlongluang.go.th ๒. สงขอความรองทุกขผานทางเว็บบอรดของ เทศบาลเมืองคลองหลวง ตาม URL : http:// www.thaimallplaza.com/center/website/site/ index_webboard.php? หน้า 30


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

การตรวจสอบภาครัฐฐ การตรวจสอบภาครั เบอรโทรศัพทติดตอเทศบาลเมืองคลองหลวง

หน้า 31


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

การตรวจสอบภาครัฐฐ การตรวจสอบภาครั ๓.การยื่นคำรองทุกขตอผูวาราชการจังหวัดผูมีอำนาจหนาที่กำกับ ดูแลเทศบาล h พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แกไข โดยพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนดอำนาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัด ใหมีอำนาจกำกับดูแลเทศบาลซึ่งตั้งอยูในจังหวัด ซึ่ง รวมถึงเทศบาลเมืองดวย เทศบาลเมืองคลองหลวงจึง อยูในเขตอำนาจของผูวาราชการจังหวัดปทุมธานี ซึ่ง มีหนาที่กำกับดูแลใหเทศบาลปฏิบัติการตามอำนาจ หนาที่โดยถูกตองตามกฎหมาย รวมถึงมีอำนาจชี้แจง แนะนำตักเตือนเทศบาล และตรวจสอบกิจการ โดย การเรียกรายงานและเอกสารหรือสถิติจากเทศบาลมาตรวจสอบได รวมถึงเรียกสมาชิกสภา เทศบาลหรือพนักงานเทศบาลมาชี้แจงหรือสอบสวนก็ได ซึ่งหากเทศบาลไมปฏิบัติตามคำ แนะนำผูวาราชการจังหวัดมีสิทธิยุบอำนาจสภาเทศบาลได หากประชาชนเห็นวาเทศบาลไม ดำเนินการใดๆตามที่กฎหมายกำหนด จึงสามารถสงขอรองเรียนทางจดหมายไปยังผูวาราชการ จังหวัดใหใชอำนาจดังกลาวได

หน้า 32


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

การตรวจสอบภาครั การตรวจสอบภาครั ฐฐ ๔. การยื่นฟองหนวยงานของรัฐตอศาลปกครองกรณีละเลยการปฏิบัติหนาที่ หรือปฏิบัติหนาที่ลาชาเกินสมควร h

หากสวนราชการหรือเจาหนาที่ของรัฐผูมีสวนเกี่ยวของดังกลาวละเลยไมยอมดำเนินการ ในระยะเวลาที่เหมาะสม หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐอาจถูกฟองตอศาลปกครองได โดยศาลอาจมีคำสั่งใหดำเนินการดังกลาวภายในระยะเวลาที่เหมาะสมได ตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ หนวยงานในราชการสวนทองถิ่น ไดแก บรรดาองคกรปกครองสวนทองถิ่น กรุงเทพมหานคร พัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตำบล เทศบาล รวมอยูในนิยามคำวาหนวยงานของรัฐดวย และขาราชการ หรือลูกจางไมวาจะเปนลูกจางประจำหรือลูกจางชั่วคราวลวนแลวแตอยูในคำนิยามของคำวา ขาราชการตามพระราชบัญญัตินี้ Y โดยการฟองคดีตอศาลปกครองนั้นผูฟองอาจทำเปนคำฟองจัดเตรียมไวแลวไปยื่นตอศาล ปกครองที่มีเขตอำนาจเหนือ หรืออาจสงไปรษณียลงทะเบียนตอบรับไปที่ศาลปกครองในเขต อำนาจเหนือก็ได โดยการยื่นฟองนี้ตองมีคำขอใหหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐ ผูมีสวน เกี่ยวของดำเนินการภายในกำหนดตามคำสั่งของศาล ซึ่งตำบลคลองสองอยูในเขตอำนาจศาล ปกครองกลาง ตั้งอยูที่ สำนักงานศาลปกครอง เลขที่ ๑๒๐ หมูที่ ๓ ถนนแจงวัฒนะ แขวง ทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๐ โทรศัพท ๐๒๑๔๑๑๑๑๑ สายดวนศาลปกครอง ๑๓๕๕ Y สำหรับระยะเวลาการยื่นฟองตอศาลปกครองนั้นกำหนดใหยื่นฟองภายใน ๙๐ วัน นับแต มีคำขอใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐปฏิบัติ หรือหากเปนเรื่องที่เกี่ยวกับ ประโยชนสาธารณะยอมไมมีอายุความ

หน้า 33


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ตัวอยางแบบคำขอขอมูลขาวสาร

หน้า 34


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ตัวอยางคำฟองคดีปกครอง

หน้า 35


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ตัวอยางใบมอบอำนาจ

หน้า 36


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

แบบฟอรมการเขียนโครงการเพื่อขอความชวยเหลือจากหนวยงานภาคเอกชน ชื่อโครงการh h

h

h

ผูรับผิดชอบโครงการ......................................................................................................................... h สถานที่

........................................................................................................................................................................

ผูเขารวมโครงการ

........................................................................................................................................................................

หลักการและเหตุผลh h

h

........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

วัตถุประสงคh

........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

รูปแบบโครงการh

h

........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

ขั้นตอนการดำเนินการh

........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

ผลที่คาดวาจะไดรับ

........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงชื่อ......................................................... ( ...........................................................) ประธานชุมชนวัดทับทิมแดง หน้า 37


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

โครงสรางบริหารงานเทศบาล

หน้า 38


คูมืชุมชน การใชสิทธิตอหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในการดำเนินการชวยเหลือชุมชน

ขอบคุณขอมูลจาก... เว็บไซตเทศบาลคลองหลวง http://www.khlongluang.go.th เว็บไซตตำบลทาศาลา http://www.tazala.go.th

หน้า 39


ชุมชนจะเขมแข็งได... ทุกคนตองชวยกันสราง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.