พิมพครั้งที่ 6
ับลูกวัว นมวัวเหมาะสำหมรดีกวานะ ลูกคนกินนมแ
หนังสือเลมนี้จัดทำโดย พิมพครั้งที่ 1-2 (2553) จำนวน 40,000 เลม พิมพครั้งที่ 3-4 (2554) จำนวน 30,000 เลม พิมพครั้งที่ 5 ม.ค. 2557 จำนวน 20,000 เลม พิมพครั้งที่ 6 มิ.ย. 2558 จำนวน 20,000 เลม สามารถดาวนโหลดหนังสือเลมนี้ในรูปแบบไฟล pdf ไดที่ www.breastfeedingthai.com
คำนำ ทุกวันนี้พอแมสวนใหญรูดีวา “นมแม” เปน “สิ่งที่ดีที่สุด” สำหรับทารก แตก็ยังเขาใจวานมผสม ก็ดีไมแพนมแม ในขณะที่บุคคลอื่นในครอบครัวที่มี อิทธิพลตอการเลี้ยงทารกคนใหม (เชน ยา ยาย พี่ปานาอา หรือกระทั่งผูชวยเลี้ยงลูก) สวนใหญจะ เขาใจวา นมผสมดีกวานมแม
เมื่อเขาใจเชนนั้น การเลือกระหวาง “นมแม” หรือ “นมผสม” ก็ เหมือนกับการเลือกระหวาง “ดีที่สุด” กับ “ดีพอๆ กัน” ซึ่งจบลงตรง “อะไรก็ได” ที่งายและสะดวก แตความเขาใจดังกลาวนั้นเปนความเขาใจที่ “ไมถูกตอง”
หากตองการหนังสือจำนวนมากเพื่อนำไปเผยแพร กรุณาสงจดหมายแจงความประสงคไปยัง
การเลือกระหวาง “นมแม” กับ “นมผสม” ไมควรเปน “อะไรก็ได” เพราะมันเปนการเลือกระหวาง “ความเปนปกติ” กับ “ความเสี่ยงที่จะเจ็บปวย”
breastfeedingthai 1222 ถ.ศรีนครินทร สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
ผู ผ ลิ ต นมผสมทำงานอย า งหนั ก ที ่ จ ะปกป ด ความจริ ง ข อ นี ้ รวมทั้ง สรางภาพบิดเบือนเพื่อทำใหคนเชื่อวา นมผสมมีความปลอดภัย และดีเทาๆ กับนมแม หรือบางครั้งโกหกวา ดีกวานมแม
หรือติดตอ admin@breastfeedingthai.com โทร. 081-467-7628
หนังสือเลมนี้ตองการใหพอแมทุกคนไดรับรูขอมูลที่ถูกตองกอน ตัดสินใจเลือก คณะผูจัดทำ พฤษภาคม 2553 3
สารบัญ
สารบัญ
คำนำ...3
คำเตือนที่ไมเปดเผย...26
อาหารทดแทนที่ไมจำเปน...7
ทำไมตองใชตามคำแนะนำของแพทย...26 อันตรายที่อาจเกิดจากการใชนมผสมโดยไมจำเปน...28 วิธีเตรียมนมผสมที่ถูกตอง (ที่ผูผลิตไมเคยบอก)...29
ทำไมถึงมีนมผสม...7 ผลกำไรบนความเสี่ยงของสุขภาพทารก...8
นมผสมดีไมแพนมแมจริงหรือ...10 ของปลอมก็คือของปลอม...10 ทำไมถึงใชนมวัว หรือนมถั่วเหลือง แทนนมแม...10 หลอกผูบริโภคดวยงานวิจัย...11
นมแม... สูตรลับที่ไมมีใครรู...13 สูตรที่เลียนแบบไมได...13 สูตรพิเศษ เฉพาะสำหรับลูกคุณ...13 นมผสมสูตรตอเนื่อง ระวังใหดี...14
ความจริงที่ถูกปกปด...15 DHA และ ARA ในนมผสม... โฆษณาชวนเชื่อ...15 DHA 5-6 เทา ดีจริงหรือ...16 แอลฟา-แล็คตัลบูมิน ของวัว ไมเหมือนของคน…19 โรคแพโปรตีนนมวัว มัจจุราชเงียบจากนมผสม...20 ผลิตภัณฑที่ไมปลอดเชื้อ...24
การตลาดไรจริยธรรม...30 การตลาดผานโรงพยาบาล...30 ถานมผสมมีอันตราย ทำไมแพทยสวนใหญจึงแนะนำ...31 ใครทำใหแมมีนมไมพอ...32 นอย... แตพอเพียง...33 สะกดจิตดวยคำโฆษณา...35
นมแม หรือ นมผสม?...37 ทำไม? นมแมตัวเล็ก นมวัวตัวโต...37 แมตองกินอะไร น้ำนมจึงจะดีพอสำหรับลูก...39 อาหารของวัว ดีกวาอาหารของแมหรือเปลา...41 นมแมมีคุณคานานแคไหน...43 ทางเลือกสุดทายที่ตองไมเลือก...45
ภาคผนวก...46 โรงพยาบาลที่สนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนมแม...46 แหลงความรูเพื่อการเลี้ยงลูกดวยนมแม...48 เชิงอรรถและขอมูลอางอิง...52 ทำไมถึงมีหนังสือเลมนี้...54 รวมพลังลดโลกรอน...58
อาหารทดแทนที่ไมจำเปน ทำไมถึงมีนมผสม แมทุกคนมีน้ำนมตามธรรมชาติเพียงพอสำหรับลูกของตัวเอง แลว ทำไม? บริษทั นมผสมจึงพยายามสรางสารทดแทนนมแมขน้ึ มา ทัง้ ทีไ่ มจำเปน เพราะผูผลิตนมผสมเล็งเห็นวา... หากสรางความตองการและการ พึ่งพิงสารทดแทนนมแมได จะสามารถทำกำไรไดอยางมหาศาลนั่นเอง
อธิบายคำศัพท คำวา “นมผสม” “นมผง” “นมกระปอง” “นมชง” “นมขวด” ที่ใชในหนังสือเลมนี้ หมายความถึง “นมผงดัดแปลงสำหรับ ทารก” ทุกชนิด ไมวาจะทำมาจากวัตถุดิบ หลักใดๆ อันไดแก นมวัว นมแพะ นมถั่ว เหลือง หรือสารสังเคราะหอื่นๆ
ตั้งแตดั้งเดิมทารกกินนมแมซึ่งมีทั้งสารอาหารและภูมิคุมกันครบ ถวน การใหนมแมเปนวิถีธรรมชาติปกติในการเลี้ยงทารก มีบางกรณีที่พบได นอยมากเทานั้นที่ผูหญิงไมสามารถใหนมแมแกลูกได หรือทารกถูกทอดทิ้ง จึงมีการคิดคนนมผสมขึ้นเปนครั้งแรกในป ค.ศ.1867 เพื่อใชในสถานการณที่ พบนอยมากๆ เหลานี้ แตเมื่อเวลาผานไปบริษัทนมผสมไมพอใจเพียงแคตลาดกลุมเล็กๆ เทานั้น จึงเริ่มสงเสริมใหมีการใชผลิตภัณฑมากขึ้น โดยอางวาเปนนมที่ “ทดแทนนมแมไดอยางปลอดภัยและเชื่อถือได” การโหมโฆษณาอยางตอเนื่อง เพื่อทำใหคนเชื่อวา นมผสม เปน ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร ทันสมัย และสะดวกกวานมแม จึงทำใหเกิด ความตองการผลิตภัณฑที่จริงๆ แลวแทบจะไมมีความจำเปนตองใชเลย
7
ผลกำไรบนความเสี่ยงของสุขภาพทารก “นมผสม” เปนเพียง “สารอาหารทดแทนนมแม” ในสถานการณที่จำเปนดานการแพทย การใชนมผสมสามารถชวย ชีวิตเด็กได แตในทางกลับกัน การใหทารกกินนมผสมแทนนมแมในกรณีที่ไม จำเปนนั้น ถือเปน “ความเสี่ยง” ตอสุขภาพของทารกอยางแทจริง การจะใหผูคนยอมรับนมผสมซึ่งมีคุณสมบัติดอยกวานมแมมาก ไดนั้น ผูผลิตตองเปลี่ยนมุมมองการเลี้ยงดูเด็กเสียใหม โดยสรางภาพความ ทันสมัยและความเหนือกวาในแงวิทยาศาสตรใหเกิดขึ้นในใจของผูใหบริการ สาธารณสุขและพอแม บริษัทนมผสมใชชองทางของระบบบริการสาธารณสุขเปนการเปด ตลาด ใหบุคลากรสาธารณสุขเปนผูแจกตัวอยางฟรี เพื่อจูงใจใหแมเลี้ยงลูก ดวยนมผสม
ค.ศ.1979 มีนมผสม ออกจำหนายถึง 50 ยี่หอ 200 ชนิด กระจาย อยูในประเทศตางๆ กวา 100 ประเทศทั่วโลก ค.ศ.1994 องคการอนามัยโลก รายงานวาทุกๆ ป ทารกประมาณ 1.5 ลานคน เสียชีวิตเพราะไมไดกินนมแม ขณะที่อีกหลายลานเปนโรคขาด อาหารและโรคอื่น ๆ
ทั้งในประเทศร่ำรวยและยากจน ทุกๆ วันจะมีทารกตองเขารับการรักษาตัว ในโรงพยาบาลหลายพันคน เนื่องจากไดรับอาหารหรือของเหลวอื่นที่ไมใชนมแม แผนกกุมารเวชกรรมไมไดเต็มไปดวยทารก ที่ไดกินแตนมแมลวนๆ เลย1
หลังคลอดบุตรแมและทารกจะกลับบานไปพรอมกับนมผสม “แจกฟรี” จำนวนหนึ่ง เมื่อนมผสมที่ไดรับแจกฟรีหมดลง ทารกก็ไมยอมดูดนมจากอก แมแลว และตอมน้ำนมของแมก็เริ่มแหงไปอีกดวย ทำใหแมตองกลับไปซื้อ นมผสมเพื่อเลี้ยงทารกตอไป การใหทารกกินนมแมถูกเปลี่ยนจากพฤติกรรมปกติธรรมดาเปน ขบวนการที่ยุงยากลำบากและลาสมัย ยอดขายนมผสมเติบโตอยางรวดเร็ว พรอมๆ กับอัตราการเจ็บปวย และเสียชีวิตของทารกที่เพิ่มสูงขึ้น ตั้งแต ค.ศ.1960 เปนตนมา อัตราการ เลี้ยงลูกดวยนมแมลดต่ำลงอยางรวดเร็วในหลายๆ สวนของโลก 8
9
นมผสมดีไมแพนมแมจริงหรือ ของปลอมก็คือของปลอม
ผูผลิตนมผสมตองเติมสารสังเคราะหตางๆ ลงไปในนมวัว หรือนม ถั่วเหลือง เพื่อจะโฆษณาอวดอางวามีสารอาหารครบถวนเหมือนนมแม หรือ มากกวานมแม
ผูผลิตนมผสมใชเวลามากกวาศตวรรษในการพยายามวิเคราะห แยกแยะสวนประกอบแตละชนิดของนมแม และนำสารสังเคราะหมาประกอบ เปน “นมทดแทน”
แตสารตางๆ ที่เติมแตงเขาไปนั้นเปน “สารสังเคราะหทางเคมี” ซึ่ง ไมมีทางเลียนแบบสารธรรมชาติในนมแมได
บริษทั ผูผ ลิตนมผสมอางวา นมผสมมีสารอาหารหลากหลายใกลเคียง กับนมแม รวมทั้งทุมโฆษณาเพื่อสรางภาพความคลายคลึงหรือเหนือกวา นมแม
หลอกผูบริโภคดวยงานวิจัย
แตการผลิตนมผสมที่มีคุณสมบัติเหมือนน้ำนมแมเปนสิ่งที่เปนไป ไมได เพราะกระทัง่ ทุกวันนีก้ ย็ งั ไมมใี ครรู “สวนประกอบทัง้ หมด” ของน้ำนมแม ในบรรดาส ว นประกอบของนมแม ท ี ่ น ั ก วิ ท ยาศาสตร ส ามารถ วิเคราะหไดแลว นมแมก็ยังมีสวนประกอบอีกมากกวา 100 ชนิด ที่นมผสม ไมมี ทำไมถึงใชนมวัว หรือนมถั่วเหลือง แทนนมแม การเลือกใชนมวัว หรือนมถั่วเหลือง เปนวัตถุดิบหลักของนมผสม ไมใชเพราะมันมีคุณสมบัติใกลเคียงน้ำนมแมมากที่สุด แตเพราะมันเปน วัตถุดิบที่หางายและราคาถูก ทำใหผูผลิตสามารถทำกำไรไดมาก
10
ยังไมมหี ลักฐานทีช่ ดั เจนวา สารสังเคราะหทเ่ี ลียนแบบสารธรรมชาติ ในนมแมจะมีประโยชนกับทารกจริงหรือไม บริษัทผูผลิตมักอางงานวิจัยเพื่อโฆษณาสรรพคุณของนมผสม แต การวิจัยสวนใหญมักจะไดทุนจากบริษัทผลิตนมผสมเอง และไมมีการรับรอง หรือตรวจสอบจากองคกรวิจัยอิสระที่เชื่อถือไดจริง สาเหตุที่งานวิจัยของบริษัทนมผสมไมมีการรับรองจากองคกรวิจัย อิสระ ก็เพราะบริษัทนมผสมไมสามารถนำผลิตภัณฑเหลานั้นไปทดลองกับ ทารกจริงๆ ไดจำนวนมากพอ และเมือ่ ใดทีผ่ ลทดลองแสดงวาผลิตภัณฑนน้ั ไมปลอดภัย ผลทดลอง เหลานั้นก็มักจะถูกตัดออกจากผลงานวิจัยที่นำมารายงานใหสาธารณชน ทราบ เมื ่ อ เกิ ด ป ญ หาจากการบริ โ ภคนมผสมที ่ จ ำหน า ยในท อ งตลาด บริษัทนมผสมจะแกปญหาดวยการเปลี่ยนสวนผสม และนำออกมาวางขาย ในรูปของนมผสมสูตรใหมในราคาที่แพงขึ้น แตผูบริโภคจะไมมีโอกาสรูเลย วา สวนผสมใหมจะกอใหเกิดปญหาอีกหรือไม 11
เมื่อใดที่มีนมผสมสูตรใหมออกวางจำหนาย ก็เทากับวาบริษัทนม ผสมกำลังทดลองผลิตภัณฑใหมของตนเอง โดยใชผูบริโภคทั่วไปเปนหนู ทดลองนั่นเอง
นมแม... สูตรลับที่ไมมีใครรู สูตรที่เลียนแบบไมได ขอมูลที่พอแมสวนใหญไมเคยรับรูเลยก็คือ ขอเท็จจริงที่วา “นมผง ดัดแปลงสำหรับทารก” นั้น มีองคประกอบที่หางไกลจากนมแมมาก
“การเปลี่ยนแปลงสูตรนมผสมยังคงเกิดขึ้น อยางตอเนื่อง และนับเปนการทดลองที่ใหญที่สุด ที่ทำโดยตรงกับมนุษยโดยปราศจากการควบคุม”2 Kathleen Auerbach
นมผสมหรือนมผงดัดแปลงสำหรับทารก ในภาษาอังกฤษใชคำวา “Formula” ซึ่งแปลวา “สูตร” แตในความเปนจริง ไมมีผูผลิตนมผสมรายใดรู “สูตร” ที่แทจริงของนมแม ยิ่งมีการคิดคนมากขึ้นเทาไหร ผูผลิตทั้งหลายก็ยิ่งตองยอมรับวา “เปนไปไมไดเลยที่จะผลิตนมผสมใหเลียนแบบนมแมได” เพราะ “นมแม” มีสวนประกอบนับพันชนิด มีทั้งเซลลมีชีวิตตางๆ ฮอรโมนหลายชนิด เอนไซมที่มีฤทธิ์ทำปฏิกิริยา อิมมูโนโกลบูลิน (ภูมิคุมกัน โรค) และสารประกอบที่มีโครงสรางเฉพาะซึ่งไมสามารถทำเลียนแบบในนม ผสมสำหรับทารกได สูตรพิเศษ เฉพาะสำหรับลูกคุณ น้ำนมของแมแตละคนถูกผลิตขึ้นมาอยางเหมาะสมที่สุดสำหรับ ลูกของตน ถาลูกคลอดกอนกำหนด น้ำนมที่รางกายแมผลิตออกมาก็จะ เหมาะสมที่สุดกับลูกที่คลอดกอนกำหนด ภูมิคุมกันโรคในนมแมปรับเปลี่ยนไปตามเชื้อโรคที่มีอยูในสภาพ แวดลอมของแตละคน
12
13
ในขณะที่นมผสมแตละยี่หอนั้น ผลิตขึ้นตามความตองการของ ผูผลิต เหมือนกันหมดสำหรับทารกทุกคน ซึ่งที่จริงแลวไมมีคุณสมบัติที่ เหมาะสมสำหรับทารกคนใดเลย
ความจริงที่ถูกปกปด DHA และ ARA ในนมผสม... โฆษณาชวนเชื่อ
ความตองการสารอาหารของทารกเปลี่ยนแปลงไปตามวัย น้ำนม แมก็ปรับเปลี่ยนองคประกอบและสัดสวนไปตามความตองการของทารกใน แตละชวงอายุโดยอัตโนมัติ
DHA เปนกรดไขมันที่พบมากในสมองและเยื่อกระจกตา ทารก สามารถสราง DHA ไดเอง แตอาจจะมีปริมาณไมมากพอ น้ำนมแมจึงมี DHA ธรรมชาติ อยูในปริมาณมาก
แมที่เลี้ยงลูกดวยนมแมไมตองกังวลเลยวา เปลี่ยนสูตรนม หรือตองเพิ่มสารอาหารอะไรใหลูกอีก
ARA เปนกรดไขมันทีเ่ ชือ่ วาเปนองคประกอบสำคัญในระบบประสาท สวนกลาง
เมื่อลูกโตขึ้นจะตอง
นมผสมสูตรตอเนื่อง ระวังใหดี
นมวัวหรือนมถั่วเหลืองไมมี DHA ตามธรรมชาติ บริษัทผูผลิตจึง ตองเติม DHA สังเคราะหลงในนมผสม
แมที่เลี้ยงลูกดวยนมผสม ตองเผชิญกับความเสี่ยงครั้งใหญทุกครั้ง ที่ตองเปลี่ยนสูตรนมผสมตามชวงอายุ
นักวิจัยพบวาการเติม DHA สังเคราะห ในนมผสม ทำใหระดับ ARA ที่มีอยูตามธรรมชาติ ในกลามเนื้อของทารกลดต่ำลงกวาปกติ3
คำแนะนำ (ซึ่งความจริงควรเปน “คำเตือน” มากกวา) ของนมผสม สูตรตอเนื่อง คือ ไมควรเปลี่ยนนมสูตรใหมทุกมื้อในทันที ใหคอยๆ เปลี่ยน นมผสมสูตรใหมทีละมื้อ เพื่อสังเกตอาการวาทารกจะมีปญหากับนมสูตรใหม หรือไม
บริษัทนมผสมจึงแกไขความผิดพลาดนี้โดยการเติม ARA สังเคราะห ในนมผสมที่เติม DHA สังเคราะห ดวย
เหตุใดอาหารที่ผูผลิตโฆษณาวา ดีที่สุดเพื่อสุขภาพและความฉลาด ของลูกนอย จึงตองมีคำเตือนเชนนี้
DHA และ ARA สังเคราะหที่ใชเติมในนมผสม ผลิตจากการหมัก สาหรายในสารอาหารเหลว แลวนำสาหรายแหงไปบมกับสารละลายเฮ็กเซน* เพื่อสกัดน้ำมัน DHA และ ARA สังเคราะหออกมา *สารละลายเฮ็กเซนเปนสารละลายที่ใชในวงการอุตสาหกรรมทั่วไป มีคุณสมบัติเปนพิษตอ จึงตองถูกกำจัดออกจากน้ำมัน DHA สังเคราะห ดวยขบวนการกลั่น การ กรอง และการแยกชั้น
14
15
กลามเนื้อสมอง
DHA และ ARA สังเคราะห มีโครงสรางโมเลกุลตางจาก DHA และ ARA ตามธรรมชาติในนมแม ทารกบางคนที่ไมสามารถยอย DHA และ ARA สังเคราะหได จะเกิดอาการระคายเคืองในระบบทางเดินอาหาร สำนักงานอาหารและยาสหรัฐฯ (FDA) ไดรับรายงาน 98 ฉบับ4 เกี่ยวกับทารกที่มีปฏิกริยาตอบสนองตอ DHA และ ARA สังเคราะห โดย มีอาการตั้งแตการอาเจียนหรือทองรวงทองเสีย (ซึ่งอาการจะหายไปเมื่อหยุด ใหนมผสมสูตรเติม DHA และ ARA สังเคราะห) จนถึงกรณีที่ตองเขาหอง ไอซียูเพราะชักหรือขาดน้ำรุนแรง ผูเชี่ยวชาญของสถาบันยา (Institute of Medicine) ของสหรัฐ อเมริกาเชื่อวามีทารกจำนวนมากเจ็บปวยเนื่องจากกินนมผสมสูตร DHA และ ARA สังเคราะห แตไมไดสงรายงานให FDA เนื่องจากแพทย พยาบาล และพอแมไมไดเชื่อมโยงอาการเจ็บปวยของทารกกับการกินนมผสมสูตร DHA และ ARA
DHA 5-6 เทา ดีจริงหรือ DHA และ ARA ธรรมชาติในนมแมจะมีการปรับปริมาณอัตโนมัติ ในแตละชวงเวลาอยางเหมาะสม เพื่อใหเขาไปปรับสมดุลระบบภายใน รางกายของทารกไดอยางทันทวงที และทำใหเซลลสมอง และระบบการ ทำงานตางๆ ของทารกพัฒนาไดอยางสมบูรณเต็มที่ จากงานวิจัยในปจจุบัน ยังไมทราบวาปริมาณ DHA และ ARA สังเคราะหในนมผสมควรจะเปนเทาใด และตองมีสัดสวนอยางไร
ถา DHA และ ARA สังเคราะหที่เติมแตงเขาไป มากเกินกวาปริมาณ ที่ทารกสามารถดูดซึมได สวนที่เกินจะตองถูกกำจัดออกทางไต แตไตของ ทารกยังพัฒนาไมเต็มที่จนกวาจะอายุ 2 ป จึงไมสามารถกำจัดสารสังเคราะห สวนเกินได สารเหลานี้อาจกลายเปนสารตกคางและเปนพิษตอรางกาย ผูผลิตนมผสมอวดอางวา DHA และ ARA สังเคราะหที่เติมในนมผสม มีสวนชวยพัฒนาสมองและสายตา แตผลการวิจัยที่นาเชื่อถือไดพบวา ทารกกินนมผสมที่เติม DHA และ ARA สังเคราะห ไมไดมีพัฒนาการดีกวาทารกที่กินนมผสมสูตรธรรมดา เลย5 งานวิจัยบางสวนที่สรุปวานมผสมที่เติม DHA และ ARA สังเคราะห ทำใหเด็กฉลาดกวา ลวนแตเปนงานวิจัยที่สนับสนุนโดยผูผลิตนมผสมเอง นอกจากนี้ผูผลิตก็ไมมีหลักฐานที่ยืนยันความปลอดภัยสำหรับทารกในการ บริโภค DHA และ ARA สังเคราะห แตบริษัทนมผสมก็ยังนำ DHA และ ARA สังเคราะห มาใชในนมผสม เพียงเพื่อใหขายนมผสมไดมากขึ้นและตั้งราคา ขายไดสูงขึ้น
เมื่อตนเดือนธันวาคม ค.ศ.2009 ศาลกลางสหรัฐมีคำตัดสินวาบริษัทผูผลิตนมผสม ยักษใหญรายหนึ่งของโลก มีความผิดฐานโฆษณาดวยการใหขอมูลบิดเบือน จากความเปนจริง6 คำโฆษณาของผูผลิตนมผสมรายนี้อางวา นมผสมยี่หอของตนไดรับการพิสูจนทางการแพทยวา ชวยพัฒนาการเจริญเติบโตของสมองและสายตา การใชนมผสมอื่นๆ อาจทำใหทารกมีพัฒนาการที่ดอยกวา ซึ่งเปนคำกลาวอางที่ไมเปนความจริง และไมสามารถหาหลักฐานมาพิสูจนได
16
17
แอลฟา-แล็คตัลบูมิน ของวัว ไมเหมือนของคน
มารเท็ค ไบโอไซแอนซ คอรปอเรชั่น (Martek Biosciences Corporation) ผูผลิตและจำหนาย DHA และ ARA สังเคราะห ใหกับบริษัทผลิตนมผสมเกือบทุกบริษัท ยอมรับวา จุดประสงคของสารเติมแตงเหลานี้ ไมใชเพื่อสงเสริมพัฒนาการที่มีสุขภาพของทารก แตเพื่อใชเปนเครื่องมือในการทำการตลาดและโฆษณา ในเอกสารที่บริษัททำขึ้นเพื่อกระตุนการลงทุนจากนักลงทุน มารเท็คระบุอยางชัดเจนวา “ในปจจุบันนมผสมสำหรับทารกกลายเปนสินคาโภคภัณฑ ซึ่งสินคาทุกยี่หอแทบจะเหมือนกันทุกประการ ทุกบริษัทจึงตองแขงขันกันอยางดุเดือด ใหกับยี่หอของตนในการสรางความแตกตาง ถึงแม DHA และ ARA สังเคราะหจะไมมีประโยชน แตเราเชื่อวามันก็ยังจะถูกนำไปเติมในนมผสมอยางแพรหลาย เพื่อใชเปนเครื่องมือทางการตลาดและทำใหบริษัทเหลานั้น สามารถโฆษณาได วานมผสมของบริษัทตัวเอง “ใกลเคียงกับนมแมมากที่สุด”7
18
ในนมประกอบดวยโปรตนีหลกัสองชนดิคอื เวยและเคซนี โปรตนีเวยใน นมววัมี “โบวนี แอลฟา-แลคตลับมูนิ 20%” เบตา - แลคโตโกลบลูนิ 50% และ โปรตนีอืน่ ๆ 30% ในขณะทนมแม ี มี “ฮวิแมน แอลฟา - แลคตลับมูนิ 45%” โปรตนีชนดิอืนี่ ๆ 55% และ ไมมี เบตา - แลคโตโกลบลูนิเลย อาการแพนมววัเกดิจากการแพโปรตนีเคซนีและเบตา-แลคโตโกลบลูนิ บรษิทันมผสมพยายามลดสดัสวนโปรตนีเคซนีและเพิม่ โปรตนีเวยเพือี่ ให ใกลเคยีงกบันมแม แตเนือ่ งจากโปรตนีเวยในนมววัมอีงคประกอบตางจากนมแม การจะทาํใหทารกไดรบักรดอะมโินจาํเปนในปรมิาณทีเ่ หมาะสม นมผสมจึงตองมี ปรมิาณโปรตนีทสีงูกวานมแมมาก ซึง่ มรีายงานวาทารกที่ไดรบัโปรตนีปรมิาณสงู ๆ ในชวง 2 ปแรกมโีอกาสเปนโรคอวนในตอนโต บรษิทันมผสมจงึพยายามหาวธิเีพิม่ แอลฟา - แลคตลับมูนิและลดเบตา แลคโตโกลบลูนิในโปรตนีเวยจากนมววั เพือ่ ทีจ่ ะสามารถลดปรมิาณโปรตนีในนม ผสม ใหเปนไปตามคาํแนะนาํของงานวจิยัหลายชิน้ ทีร่ ะบวุา การลดปรมิาณโปรตนี ในนมผสมลงอาจจะชวยปองกนัการเปนโรคอวนในเดก็ได อยางไรกต็ามบรษิทันมผสมไมไดกลาวถงึขอเทจ็จริงนี้ แตกลบัตอกย้ำ ประโยชนของ แอลฟา-แลคตลับมูนิในนมแม แลวย้ำวาในนมผสมม”แอลฟาี แลคตลับมูนิ” แตไมไดบอกวาเปน “แอลฟา- แลคตลับมูนิ”คนละชนดิกนั ไมได บอกวาทตีองเปลีย่ นสตูร ตองเพิม่ “แอลฟา- แลคตลับมูนิ” เพราะทารกมโีอกาส เปนโรคอวนและโอกาสแพเบตา - แลคโตโกลบลูนิในนมผสมสตูรเดมิ 19
โรคแพโปรตีนนมวัว มัจจุราชเงียบจากนมผสม วัตถุดบิ หลักของนมผสม คือ นมวัว นมวัวมีโปรตีนมากกวาน้ำนมแม 3 เทา เปนโปรตีนเคซีนซึ่งมีขนาด ใหญและหยาบเหนียว เหมาะกับลูกวัวซึ่งเปนสัตวที่มี 4 กระเพาะ ทารกไมสามารถยอยน้ำนมวัวไดโดยตรง การผลิตนมผสมจึงตองนำ น้ำนมวัวไปผานกระบวนการสังเคราะหเพื่อเจือจางและยอยขนาดของโปรตีน ลงเพื่อใหสามารถใชเปนอาหารสำหรับทารกได ถึงแมจะถูกดัดแปลงแลวก็ตาม ปลอดภัยสำหรับทารกทุกคน
นมผสมก็ไมไดเปนอาหารทีด่ แี ละ
ในระยะ 4-6 เดือนแรก เยื่อบุทางเดินอาหาร ระบบน้ำยอยตางๆ และระบบภูมิคุมกันของทารกยังไมพัฒนาเต็มที่ การไดรับนมผสมหรืออาหาร อื่น ซึ่งเปนสารแปลกปลอม นอกจากจะเปนสิ่งที่ทารกไมสามารถยอยไดแลว ยังทำใหทารกเสี่ยงตอการเกิดอาการแพ ทารกที่ไวตอสารกระตุนภูมิแพ จะแสดงอาการใหเห็นในทันทีที่ได รับนมผสม แตทารกสวนใหญจะแสดงอาการเมื่อไดรับนมผสมติดตอกันเปน ระยะเวลาหนึ่ง
อาการตางๆ ที่เกิดขึ้น เปนกระบวนการที่รางกายทารกพยายามขับ ลางพิษที่เกิดจากนมผสมออกจากรางกาย แตพอแมสวนใหญไมเขาใจและ ไมรูสาเหตุ เนื่องจากอาการเหลานั้นเปนดูอาการปวยธรรมดาๆ ที่คนทั่วไป เชื่อวามักจะเกิดขึ้นเปนปกติในทารก แตในความเปนจริงแลว อาการปวย เหลานีเ้ กิดขึน้ นอยมากในทารกทีก่ นิ นมแม นอกจากนี้กระบวนการขั บ ล า งพิ ษตามธรรมชาติ ด ั ง กล า วยั ง ถู ก ขัดขวางโดยยาปฏิชีวนะและการรักษาตางๆ แทนที่จะจัดการที่ตนเหตุดวย การหยุดนมผสม ดังนัน้ ไมวา จะรักษาเทาไหร อาการปวยก็ไมหายเสียที เพราะรางกาย ทารกตองรับศึกสองดาน ดานหนึง่ คือ อาการแพนมผสมทีถ่ กู ปอนเขาไป อยางไมหยุดยัง้ อีกดาน คือ ผลขางเคียงจากยาปฏิชวี นะและยารักษาอาการ อืน่ ๆ นั่นเปนเหตุผลที่ทำใหเด็กมีสุขภาพออนแอ เจ็บไขไดปวยเปนประจำ ไมวาจะระวังแคไหน ก็ยังปวยอยูดี ในรอบสิบปทผ่ี า นมา เด็กไทยเปนภูมแิ พมากกวาเดิม 3-4 เทา โดย เฉพาะเด็กกรุงเทพฯ เปนโรคภูมแิ พถงึ รอยละ 40
บางคนอาจมีผื่นแพตามรางกาย ปากเจอบวม รองไหงอแงโดยไม ทราบสาเหตุ บางก็จะมีความผิดปกติในระบบทางเดินหายใจ เชน เปนหวัด บอย คัดจมูก น้ำมูกไหลเรื้อรัง ไอ จาม หลอดลมอักเสบ หรืออาการผิดปกติ ในระบบทางเดินอาหาร เชน คลื่นไส อาเจียน ทองผูก ทองเสีย เปนตน 20
21
พอแมบางคนเชื่อวา นมผสมสูตรนมแพะ เหมาะสมที่จะใชทดแทนนมผสมสูตรนมวัว ในกรณีที่ทารกมีอาการแพนมวัว แตโปรตีนในนมแพะมีโครงสรางใกลเคียงกับนมวัวมาก ดังนั้นทารกสวนใหญที่แพโปรตีนในนมวัว ก็จะแพโปรตีนในนมแพะดวยเชนกัน
การที่แมตั้งครรภบำรุงรางกายดวยการดื่มนมวัว หรือนมชงที่มีสวนผสมของนมวัวในระหวางตั้งครรภมากๆ ตามโฆษณาชวนเชื่อ จะทำใหทารกที่เกิดมามีความเสี่ยงสูง ที่จะแพนมวัว และทำใหปวยเปนโรคภูมิแพไดงายกวาคนทั่วไป ดังนั้นแมตั้งครรภควรรับประทานอาหารเสริมแคลเซียม ชนิดอื่นแทนการดื่มนมวัว
นมถั่วเหลืองก็สามารถกอใหเกิดอาการแพ ไดมากพอ ๆ กับนมวัว ยิ่งไปกวานั้นทารกที่กินนมผสมสูตรถั่วเหลืองยังมีโอกาส ที่จะแพถั่วเหลืองในอาหารไดมากขึ้นในภายหลัง
22
23
ผลิตภัณฑที่ไมปลอดเชื้อ คุณรูหรือไมวา... นมผงดัดแปลงสำหรับทารกทุกยี่หอที่ขายกันอยูทั่วโลกในปจจุบัน ไมใชผลิตภัณฑปลอดเชือ้ 8 แมจะบรรจุอยูใ นกระปองหรือบรรจุภณ ั ฑทป่ี ด สนิท มาจากโรงงานก็ตาม นมกระปองเหลานีไ้ มไดผา นกระบวนการสเตอริไรส (การฆาเชือ้ โรค) ในระหวางการผลิต เพราะกระบวนการสเตอริไรสตองใชความรอนสูงเพื่อ ฆาเชื้อโรค ซึ่งจะทำลายคุณคาของสารอาหารที่มีอยูในผลิตภัณฑนั้นไปดวย กระบวนการผลิ ต นมผงดั ด แปลงสำหรั บ ทารกมี ห ลายขั ้ น ตอน จึงมีโอกาสเกิดการปนเปอนของเชื้อโรคชนิดตางๆ ในกระบวนการผลิตได ตลอดเวลา เชื้อแบคทีเรียอันตรายที่อาจปนเปอนในนมผสมไดแก ซัลโมเนลลา (Salmonella) หรือ เอ็นเทอรโรแบคเตอร ซาคาซากิ (Enterobacter sakazakii) ซึ่งเปนเชื้อโรคที่เจริญเติบโตไดดีในน้ำนมอุนๆ และแพรพันธุไดอยางรวดเร็ว สามารถกอใหเกิดการติดเชื้อที่รุนแรง เชน ภาวะโลหิตเปนพิษ ลำไสอักเสบ เยื่อหุมสมองอักเสบ ซึ่งอาจเปนอันตรายถึงชีวิตได บริษัทอาจจะทำการสุมตรวจนมผสมเพื่อตรวจหาเชื้อโรค สุมตรวจไมสามารถรับประกันความปลอดเชื้อได
แตการ
เราจึงไมสามารถรูไ ดเลยวา นมกระปองทีเ่ รากำลังจะเปดมาใชเลีย้ ง ทารกนัน้ จะมีเชือ้ โรคปนเปอ นอยูห รือไม กวาเราจะรู ก็ตอ เมือ่ เกิดอันตราย กับทารกทีไ่ ดรบั นมผสมเหลานัน้ ไปแลวเทานัน้ 24
บอยครัง้ ทีเ่ รามักจะเหมารวมไปวาอาการปวยของทารก (เชน อาการ ทองรวง หรือการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร) เกิดจากน้ำที่ใชเตรียม นมผสมไมสะอาด หรือขวดนม จุกนม และอุปกรณที่ใชเตรียมนมผสมไม สะอาด ทั้งๆ ที่อาการเจ็บปวยหรือติดเชื้อนั้นอาจจะเกิดจากเชื้อโรคที่ปนเปอน มาในนมผสมนั่นเอง
ระหวาง พ.ศ. 2543–2556 (สิงหาคม) มีรายงาน การเรียกเก็บนมผสมยี่หอตางๆ และผลิตภัณฑที่ไมปลอดภัย สำหรับทารกออกจากทองตลาดถึง 102 ครั้ง9 ในหลาย สิบประเทศทั่วโลก แมแตประเทศที่พัฒนาแลวอยางสหรัฐ อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส ฯลฯ สาเหตุของ การเรียกเก็บไดแก มีสารอาหารไมตรงตามที่ระบุไวในฉลาก มีการปนเปอนของเชื้อโรคอันตราย มีสวนผสมที่ยังไมไดรับการพิสูจนวามีความปลอดภัย ฯลฯ สำหรับในประเทศไทยมีการเรียกเก็บนมผสมคืน ครั้งลาสุด เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.255610 จำนวน 2 ยี่หอ ไดแก Dupro Step2, Hi-Q Step 1&2, Hi-Q Super Gold Step 1&2 25
คำเตือนที่ไมเปดเผย ทำไมตองใชตามคำแนะนำของแพทย นมผสมทุกยี่หอจะระบุวิธีใชวา “ควรใชตามคำแนะนำของแพทย” ทำใหเขาใจวา ความตองการสารอาหารของทารกแตละคนจะแตกตางกันไป และแพทยจะสามารถวิเคราะหความแตกตางนี้และเลือกนมผสมใหเหมาะ กับทารกได
ไมกอ ใหเกิดการแพ ทัง้ ๆ ทีย่ งั มีทารกอีกจำนวนมากทีม่ อี าการแพและเจ็บปวย จากการกินนมผสมสูตรใหมนั้นเอง ดวยกลยุทธทางการตลาด การโฆษณาทางสื่อตางๆ ที่ใชภาพเด็ก หนาตานารัก ฉลาดเฉลียว และคุณแมสมัยใหมที่เปนดาราหรือบุคคลมี ชื่อเสียง ทำใหพอแมหลงเชื่อวานมผสมดีและปลอดภัยไมตางจากนมแม โดย ไมตระหนักเลยวา ทุกครั้งที่เปดนมกระปองใหลูกกินนั้นมีความเสี่ยงและ อันตรายรออยูเสมอ
แตในความเปนจริงแลวมันไมใชสิ่งที่ถูกตองและเปนไปไมได ในทางปฏิบัติ แพทยจะ “ทดลอง” ใหนมยี่หอใดยี่หอหนึ่งกับทารก กอน ถาพบวาทารกมีปญหาก็จะใหทารก“ทดลอง” ยี่หออื่นหรือชนิดอื่นตอไป พอแมสวนใหญไมทันตระหนักวา การตองเปลี่ยนยี่หอหรือชนิดของ นมผสมไปเรื่อยๆ จนกวาจะพบนมผสมที่ลูกสามารถกินไดโดยไมมีปญหานั้น ไมตางกับการใหลูกเปน “หนูทดลอง” นมผสมแตละยี่หอเลย การทดลองกินนมยี่หอตางๆ ทำใหทารกบางคนตองเจ็บปวยทรมาน อยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ทารกบางรายมีอาการแพทันทีที่ไดรับนมผสมใน ครั้งแรก แตบางรายตองใชเวลานานกวานั้นจึงจะแสดงอาการ ทำใหพอแม หรื อ บางครั ้ ง แม แ ต แ พทย เ องก็ ไ ม ท ราบว า สาเหตุ ข องความเจ็ บ ป ว ยของ ทารกมาจากนมผสมที่กินอยูทุกวันนั่นเอง
แทจริงแลว ขอความที่ระบุวา “ควรใชตามคำแนะนำของแพทย” อาจไมใช “คำเตือน” สำหรับพอแม แตเปน “เกราะปองกัน” ใหกับผูผลิตนมผสมในกรณีที่ทารกเกิดอันตราย จากกินนมผสมตางหาก เพราะผูผลิตนมผสมสามารถใชเปนขออางไดวา การเจ็บปวยหรือการเสียชีวิตของทารกจาก การกินนมผสมนั้น เกิดจากการใชไมถูกตอง มากกวาอันตรายจากตัวผลิตภัณฑเอง
ผูผลิตนมผสมรูถึงอันตรายเหลานี้ดี แตแทนที่จะแสดงคำเตือนใน การใชใหชัดเจนและเหมาะสมบนฉลากบรรจุภัณฑ ผูผลิตกลับหลอกลวง ผูบริโภคตอไปวา นมผสมของตนไดพัฒนาสูตรใหม สามารถยอยไดงายและ 26
27
อันตรายที่อาจเกิดจากการใชนมผสมโดยไมจำเปน
วิธีเตรียมนมผสมที่ถูกตอง (ที่ผูผลิตไมเคยบอก)
นมผสมไมวาเปดใหม เชื้อโรคไดตลอดเวลา
เนื่องจากนมผสมไมใชผลิตภัณฑที่ปลอดเชื้อ องคการอนามัยโลกจึง ออกคูมือเพื่อแนะนำวิธีการเตรียมนมผสม11 ขึ้นมาโดยเฉพาะ
น้ำซึ่งใชเตรียมนมผสมอาจไมสะอาดพอ ขวดและจุกนมที่ไมไดทำความสะอาดอยางถูกตองก็อาจมีเชื้อโรคที่ เปนอันตราย ถวน
ใชนมผสมในสัดสวนที่นอยเกินไป ทารกอาจไดรับสารอาหารไมครบ
ใชนมผสมในสัดสวนที่มากเกินไป ทารกอาจมีปญหากับการยอย และทำใหรางกายขาดน้ำ สารสั ง เคราะห ท ี ่ เ ติ ม ในนมผสมบางอย า งมี ป ริ ม าณมากเกิ น ไป และรางกายทารกไมสามารถขับออกมาได จะสงผลเสียกับสุขภาพของทารก ร า งกายทารกบางคนไวต อ สารสั ง เคราะห บ างอย า งในนมผสม ทำใหเกิดการแพ และเจ็บปวยไดงาย
28
หนึ่งในคำแนะนำนั้นระบุวา... น้ำที่ใชเตรียมนมผสมตองตมใหเดือดแลวปลอยใหอุณหภูมิลดลง แตตองไมต่ำกวา 70 องศาเซลเซียส (ถาน้ำมีอุณหภูมิต่ำกวานี้จะไมสามารถ ฆาเชื้อโรคที่ปนเปอนอยูในนมผสมได) แลวจึงคอยผสมนมผงลงไป จากนั้น จึงทิ้งไวใหเย็นลง จนกระทั่งสามารถปอนทารกไดโดยไมลวกปาก คำแนะนำนี้... ไมมีอยูบนฉลากของนมผสมแมแตยี่หอเดียว
gn er!
Da
หรือเปดทิ้งไวก็อาจจะมีการปนเปอนของ
29
การตลาดไรจริยธรรม จากจุดเริ่มตนของ “อาหารทดแทนนมแม” ที่ไมจำเปน ปจจุบัน อุตสากรรมนมผสมมียอดขายทั่วโลกนับแสนลานบาทในแตละป ซึ่งมาพรอม กับผลเสียทางสุขภาพที่เพิ่มขึ้นของทารก เพราะไมไดกินนมแม
ถานมผสมมีอันตราย ทำไมแพทยสวนใหญจึงแนะนำ กอนที่จะมีนมผสม แมทุกคนรูวิธีเลี้ยงลูกดวยนมแม เพราะเปนสิ่ง จำเปนตอการรอดชีวิตและดำรงเผาพันธุของมนุษย ในบางประเทศที่ยังไมถูกครอบงำดวยการตลาดของนมผสม การที่ ผูหญิงไมสามารถเลี้ยงลูกดวยนมแม หรือไมรูวิธีเลี้ยงลูกดวยนมแมเปนเรื่อง แปลกประหลาด เพราะ “ผูหญิงทุกคนตองรูวาจะเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางไร”
การตลาดผานโรงพยาบาล บริษัทนมผสมใชบุคลากรทางการแพทย และโรงพยาบาลเปน ชองทางหลักในการจำหนายสินคาของตน เพราะการที่แพทยเปนผูแนะนำ หรือสั่งนมผสมใหทารกนั้น เสมือนเปนการรับประกันคุณภาพใหกับนมผสม นั้นวาดีจริงเหมือนโฆษณา ทำใหพอแมทุกคนไมเคยระแวงหรือตระหนักถึง อันตรายของนมผสมเลย จากการสำรวจพบวา หลังจากกลับบาน 93% ของแมจะยังคงใช นมผสมยีห่ อ เดิมทีไ่ ดรบั จากโรงพยาบาลนัน้ ดังนั้น แตละบริษัทจึงแขงขันกันเสนอผลตอบแทนจำนวนมหาศาล ใหกับแพทยและโรงพยาบาล เพื่อใหบริษัทของตนไดสิทธิแตเพียงผูเดียวใน การจัดจำหนายผลิตภัณฑของตนผานโรงพยาบาล
เนื่องจากการเลี้ยงลูกดวยนมแมเปนเรื่องธรรมชาติ และเปนทักษะ ที่มนุษยแตละรุนถายทอดประสบการณตอๆ กันมา ดังนั้นในหลักสูตรแพทย จึงไมมีวิชาที่สอนเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแม หรือวิธีชวยเหลือและแก ปญหาใหแมที่เลี้ยงลูกดวยนมแม กุมารแพทยเรียนรูเฉพาะเรื่องสุขภาพและความเจ็บปวยของทารก และการรักษาอาการเจ็บปวยเหลานั้น ในสังคมทีก่ ารเลีย้ งลูกดวยนมผสมกลายเปนเรือ่ งธรรมดา ทักษะ พื้นฐานที่จำเปนตอการเอาตัวรอดและดำรงเผาพันธุของมนุษยซึ่งเปนสัตว เลีย้ งลูกดวยนมนีก้ ำลังสูญหายไป กวาหนึ่งชั่วอายุคนแลวที่สังคมทั่วไปไมมีภาพของเด็กทารกดูดนม แมใหเห็น มีแตภาพพอแมปอนลูกดวยขวดนม เมื่อแมมือใหมไมรูวาจะเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางไร หรือเขาใจผิดวา ตัวเองไมมนี ำ้ นม กุมารแพทยซง่ึ ไมไดเรียนเรือ่ งการเลีย้ งลูกดวยนมแมจาก หลักสูตรของแพทย และไมเคยมีประสบการณจากการเลีย้ งลูกดวยนมตนเอง มากอน ก็ไมรูวาจะชวยแมเหลานั้นไดอยางไร นอกจากสั่งนมผสมใหทารก
30
31
ยิ่งไปกวานั้นกุมารแพทยบางสวนไดรับขอมูลดานเดียวจากบริษัท ผูผลิตวา นมผสมเปนสารอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารกรองจากนมแม ชวย แกปญหาใหแมที่ไมสามารถเลี้ยงลูกดวยนมแมได ทั้งที่ความเปนจริงแลว นมผสมคือ สาเหตุสำคัญที่ทำใหแมตองลมเหลวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแม
แมจะไมไดรับสัญญาณวาตองผลิตน้ำนม ไมไดรับการกระตุนใหหลั่งฮอรโมน ในการผลิตน้ำนม
นอย... แตพอเพียง
ใครทำใหแมมีนมไมพอ มนุษยเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ในสภาวะปกติ ไมมีสัตวเลี้ยงลูก ดวยนมชนิดใดในโลกนี้ที่คลอดลูกมาแลว แมของมันจะไมสามารถผลิตน้ำนม ใหลกู กินไดพอ แตมนุษยซง่ึ เปนสัตวเลีย้ งลูกดวยนมทีฉ่ ลาดทีส่ ดุ กลับมีปญ หา มีนมไมพอใหลูกกิน ทำไมจึงเปนเชนนั้น
ทันทีที่ออกมาจากทองแม ทารกตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ขนานใหญ จากที่เคยไดรับทุกอยางจากแมผานสายสะดือ ทารกจะตองหายใจ ทางจมูก กินอาหารทางปาก ระบบยอยอาหารเริ่มทำงานเอง น้ำนมแมในวันแรกๆ จึงมีปริมาณนอยมาก แตเปนน้ำนมที่อุดมไป ดวยคุณคาทางอาหารอยางมหาศาลที่เราเรียกวา น้ำนมเหลือง หรือ โคลอส ตรัม นั่นเอง
สัตวเลี้ยงลูกดวยนมทุกชนิด เมื่อคลอดลูกแลวแมลูกออนจะอยูกับ ลูกของมันตลอดเวลา เพื่อปกปองภัยอันตรายและใหอาหารลูกดวยการให ดูดนม ลูกออนจะแยกจากแมของมันก็ตอเมื่อโตพอที่จะหาอาหารเองไดแลว เทานั้น
การดูดกระตุนบอยๆ ทำใหน้ำนมเริ่มมีปริมาณมากขึ้นทีละนอย สัมพันธกับระบบยอยอาหารของทารกที่คอยๆ เริ่มทำงาน น้ำนมแมสามารถ ยอยไดงาย ยอยเร็ว สารอาหารในนมแมจะถูกดูดซึมไปใชไดทั้งหมด
ทันทีที่ลูกคลอดออกมาและดูดนมแม รางกายของแมจะไดรับ สัญญาณอัตโนมัติวาตองผลิตน้ำนมเพื่อตอบสนองความตองการของลูก
แมทุกวันนี้ไมรูวาการที่น้ำนมแมในวันแรกๆ มีปริมาณนอยๆ เพียง แคซึมเปนหยดๆ นั้นเปนสิ่งปกติ เพราะกระเพาะของทารกแรกคลอดนั้นมี ความจุเพียง 5-7 ซีซี หรือ 1-1.5 ชอนชาเทานั้น
ในอดีตมนุษยก็เปนเชนนั้น แตปจจุบัน แมกับลูกมักจะถูกแยกจาก กันในทันทีหลังคลอด สัญชาตญาณในการดูดนมของทารกแรกคลอดจะมีมากที่สุดภายใน หนึง่ ชัว่ โมงแรกหลังคลอด แตเมือ่ ลูกถูกแยกจากแมโดยทีไ่ มไดดดู นม รางกาย 32
ทารกไมจำเปนตองกินน้ำนมมากๆ ในวันแรกๆ เพราะมีสารอาหาร ที่สะสมมาจากในทองแมมากพอที่จะอยูไดสองถึงสามวันโดยไมตองกินอะไร เลย
33
ธรรมชาติสรางใหนมแมมีปริมาณนอยในวันแรกๆ เพื่อใหทารกตอง ดูดนมบอยๆ ใหกระเพาะเล็กๆ ที่ไมเคยทำงานมากอน ไดรับการฝกทีละนอยๆ ระบบการยอยและระบบการขับถายก็จะคอย ๆ หัดทำงานไปพรอมๆ กัน นอกจากนั้น การที่แมไดโอบกอดลูกบอยๆ ในขณะที่ใหนมยังเปน การชวยใหทารกปรับตัวเขากับโลกใหมที่แตกตางจากโลกภายในทองแมอีก ดวย ภาพแมวัวที่ถูกรีดนมพุงเปนสายใสถังใบใหญ ปจจุบันเห็นบอยกวาภาพของแมที่ใหลูกดูดนมจากเตา
เปนภาพที่คนใน
เมื่อแมมือใหมเห็นวานมของตนเองนั้นเห็นแคซึมเปนหยดๆ บีบ เทาไรก็ไมออก ทำใหแมมือใหมเขาใจวาตนเองไมมีน้ำนม เมื่อลูกรองไหเปน อยางมากเพราะไมคุนเคยกับสภาพแวดลอมที่แตกตางจากในทองแมโดย สิ้นเชิง กลับเขาใจวาลูกรองเพราะไดกินนมไมพอ วิธีเตรียมนมผสมบนฉลากขางกระปองก็ตอกย้ำใหเกิดความเขาใจ ผิดมากยิ่งขึ้น ดวยการระบุปริมาณที่มากเกินกวาความเปนจริง เปนกลยุทธ ทางการตลาดงายๆ ที่ทำใหแมคิดวาทารกแรกคลอดตองการกินนมมากๆ และคิดวาตนเองไมมีน้ำนมมากพอ ชวงสองถึงสามเดือนแรก ทารกที่กินนมแมจะตองการดูดนมบอยๆ เปนสิบๆ ครั้งตอวัน ถี่หาง ชาเร็ว ไมเปนเวลาที่แนนอน แมที่เขาใจจะไมเปน กังวล แตจะตอบสนองความตองการของลูกโดยไมถูกจำกัดดวยเวลา
สะกดจิตดวยคำโฆษณา “ใหใชผลิตภัณฑนี้ เมื่อนมแมไมพอ” ขอความนี้เปนคำสะกดจิตของ ผูผลิตนมผสมทุกยี่หอ เปนขอความงายๆ ในสื่อโฆษณาที่ใชไดผลมาเปนเวลา นาน ทุกวันนี้พอแมสวนใหญหลงเชื่อไปแลววา การที่นมแมไมพอนั้นเปน เรื่องปกติ โดยไมทันไดตระหนักเลยวา มนุษยดำรงเผาพันธุกันมาไดอยางไร ตั้งแตยุคดึกดำบรรพ โดยปราศจากนมผสม กลยุทธทางการตลาดของนมผสมสรางภาพใหคนทั่วไปเขาใจผิดวา ทารกจะตองกินนมวันละเทานั้นเทานี้ครั้ง ครั้งละเทานั้นเทานี้ออนซ เมื่อ แมมือใหมอานคูมือการเลี้ยงลูกที่เขียนตามสูตรของนมผสม ก็จะหลงเขาใจ ผิดโดยงายวาตัวเองมีน้ำนมไมพอ และตองเสริมดวยนมผสม เมื่อเริ่มเสริมดวยนมผสม กลไกการผลิตน้ำนมของรางกายแมจะ ไมไดรับการกระตุนมากพอ เปนการสงสัญญาณใหรางกายรับรูวาไมมีความ ตองการ รางกายจะผลิตน้ำนมนอยลง เมื่อแมเพิ่มนมผสมใหทารกมากขึ้น ในที่สุดน้ำนมแมก็จะแหงหายไปภายในเวลาไมนาน ถาเราเชื่อมั่นในกฎของธรรมชาติ ไมหลงตามกลยุทธของผูผลิตนม ผสม แมทุกคนก็จะมีน้ำนมพอสำหรับลูกของตนแนนอน
ขอเพียงเขาใจ ยังไงนมแมก็พอเสมอ
34
35
นมแม หรือ นมผสม? ทำไม? นมแมตัวเล็ก นมวัวตัวโต วัวเปนสัตวสี่เทา ตองใชกำลังรางกายในการมีชีวิตรอด ลูกของมัน จึงยืนไดทันทีที่คลอด สมองไมใชอวัยวะที่จำเปนสำหรับลูกวัว จากน้ำหนักแรกคลอดประมาณ 45 ก.ก. วัวใชเวลาเพียง 2 ป เพื่อ ใหรางกายเจริญเติบโตเต็มที่ มีน้ำหนักประมาณ 1,000 ก.ก. น้ำนมวัวจึงมีโปรตีนสูงกวาน้ำนมคน เพราะลูกวัวจำเปนตองโตอยาง รวดเร็วเพื่อความอยูรอดในทองทุง มนุษยเปนสัตวสองเทาที่ใชสมองในการดำรงชีวิตมากกวาใชกำลัง รางกาย พัฒนาการของทารกเริ่มตนจากการสัมผัส ไดยิน มองเห็น และจดจำ ไปพรอมๆ กับการเคลื่อนไหวกลามเนื้อ ตองใชเวลาเกือบ 1 ปกวาจะสามารถ ยืนและเดินได ลูกคนแรกคลอดมีน้ำหนักประมาณ 3 ก.ก. ตองใชเวลา 18-20 ป เพื่อใหรางกายโตเต็มที่ น้ำหนักประมาณ 50-100 ก.ก. น้ำนมคนจึงมีโปรตีนและไขมันนอยกวาน้ำนมวัว เพราะธรรมชาติ ตองการใหลูกคนกินนมบอยๆ เพื่อที่แมจะไดอยูใกลลูกตลอดเวลา เปนการ ปกปองภัยอันตรายใหกับลูก
เมื่อเปรียบเทียบกับทารกที่กินนมผสม ทารกที่กินนมแมจะโตชากวา และมีไขมันนอยกวา แตความจริงแลว เปนการเติบโตที่ปกติ เหมาะสม และ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณดี กราฟแสดงน้ำหนักและสวนสูงของทารกในปจจุบัน แสดงถึงอัตรา การเจริญเติบโตของทารกที่กินนมผสมเปนสวนใหญ ซึ่งเปนอัตราการเจริญ เติบโตเฉพาะทางรางกายที่เร็วและมากกวาปกติของทารกที่กินนมแม การที่ทารกโตเร็วหรือมีน้ำหนักมากเกินไป ไมเปนผลดีกับสุขภาพ ของทารกในระยะยาว ทารกเหลานี้มีแนวโนมที่จะโตขึ้นเปนเด็กอวน และ กลายเปนผูใ หญอว นซึง่ มีความเสีย่ งของการเปนโรคความดันสูง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจ ในที่สุด ทารกทุกคนมีเวลาเพียงแค 2-3 ปที่จะสรางภูมิคุมกันและพัฒนา สมองใหเต็มที่ดวยการกินนมแม และมีเวลาอีกเกือบ 20 ปที่จะพัฒนารางกาย ใหเจริญเติบโตดวยอาหารอื่นๆ อีกมากมาย การใหทารกกินนมผสมเพื่อพัฒนารางกายใหโตเร็วใน 2-3 ปแรก แลวพลาดชวงเวลาสำคัญที่จะเสริมสรางภูมิคุมกันและพัฒนาสมองดวยนม แม เปนสิ่งที่ถูกตองหรือไม
นอกจากนี้ น้ำนมคนยังมีไขมันมาก และเปนกรดไขมันชนิดพิเศษที่ ไมมีในนมของสัตวอื่น เพื่อพัฒนาสมอง เพราะสมองสมองของมนุษยจะ เจริญเติบโตเร็วมากภายใน 1-2 ปแรกของชีวิต 36
37
แมตองกินอะไร น้ำนมจึงจะดีพอสำหรับลูก สังคมบริโภคนิยมทำใหเกิดความเชื่อวา ของคุณภาพดีราคาถูก ไมมี อยูจริง พอแมจำนวนมากยอมจายเงินซื้อนมผสมราคาแพง เพราะเชื่อวา ราคาที่แพงกวาหมายถึงคุณภาพที่ดีกวา นั่นหมายความวาผูที่มีฐานะการเงิน ดีกวาก็จะสามารถสรรหาสิ่งที่มีคุณภาพดีกวาใหลูกของตน แตน้ำนมแมเปนความเทาเทียมเพียงอยางเดียวที่ธรรมชาติมีใหกับ ทารกทุกคนโดยไมเลือกสถานะ เพราะรางกายของแมทุกคนสามารถผลิต น้ำนมที่มีคุณภาพดีเทาเทียมกัน
แม ท ี ่ ร ั บ ประทานอาหารหลากหลายตามธรรมชาติ ใ นปริ ม าณที ่ เหมาะสม ถึงแมจะไมใชอาหารราคาแพง ก็สามารถผลิตน้ำนมที่มีคุณคาที่ สุดสำหรับทารกอยูเสมอ เวลานาน นอย
และถ า แม ไ ม ไ ด เ ป น โรคขาดสารอาหารอย า งรุ น แรงเป น ระยะ ก็มั่นใจไดเลยวาน้ำนมจะมีคุณภาพดีและมีคุณคาที่สุดสำหรับลูก
รางกายของแมจะมีการเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติเพื่อการสราง น้ำนมสำหรับบำรุงและเลี้ยงดูทารก เริ่มจากการสะสมไขมันไวในรางกาย มากขึ้นในระหวางตั้งครรภ เพื่อสำรองไวใชเปนแหลงพลังงานสำหรับการ ผลิตน้ำนมหลังคลอด ชวงใหนมลูก การเผาผลาญอาหารของแมจะมีประสิทธิภาพสูงกวา ปกติ เปนการชวยรักษาพลังงานเอาไว ทำใหรางกายสามารถผลิตน้ำนมที่มี คุณภาพดีและมีปริมาณเพียงพอตอความตองการของทารก โดยไมจำเปน ตองไดรับสารอาหารมากกวาปกติมากนัก ผูเปนแมอาจจะกังวลวาจะน้ำนมของตนจะมีคุณคาทางอาหารพอ สำหรับลูกนอยหรือไม รวมทั้งกังวลวาการรับประทานอาหารหรือโภชนาการ ของตนเองจะมีผลตอคุณภาพของน้ำนมหรือไม สิ่งเหลานี้ไมใชเรื่องที่ตองกังวลเลย เพราะรางกายสามารถดึงสาร อาหารที่แมรับประทานไปผลิตน้ำนมไดอยางมีประสิทธิภาพ 38
39
อาหารของวัว ดีกวาอาหารของแมหรือเปลา แมที่ใหนมลูกจำนวนไมนอยเปนกังวลวา ตนเองจะกินอาหารที่มี ประโยชนไมเพียงพอ หรือเมื่อจำเปนตองกินยาเพื่อรักษาอาการเจ็บปวย ยา นั้นจะสงผานไปทางน้ำนมที่ใหลูกกินหรือไม แตแทบไมมีพอแมคนใดเปนกังวลเลยวา นมวัวที่เปนวัตถุดิบหลัก ในการผลิตนมผสมของทารกนั้น จะมาจากแมวัวที่กินอาหารอะไร เปนโรค อะไร และไดรับยาอันตรายอะไรมาบาง แมวัวในปจจุบันจะถูกคัดเลือกสายพันธุ ฉีดกระตุนดวยสารเรงการ เจริญเติบโตและฮอรโมนตางๆ เพื่อใหสามารถผลิตน้ำนมไดมากกวาปกติถึง สิบเทา วัวเหลานี้จะถูกเลี้ยงรวมกันในคอกอยางแออัด เพื่อความสะดวกใน การดูแลและรีดนมเชา-เย็น อาหารของวัวเหลานี้ คือ อาหารเม็ดสังเคราะห หรือหญาที่ปลูกดวย การใสปุยวิทยาศาสตร และอาจปนเปอนไปดวยสารเคมีหรือยาฆาแมลง เมื่อวัวเปนโรค ก็จะไดรับยาปฏิชีวนะหรือยาอื่นๆ ทั้งกินและฉีด ใน ปริมาณที่สูงมาก เพราะเปนสัตวขนาดใหญ
ปกติลูกวัวแรกคลอดตองการน้ำนมประมาณ 3-10 ลิตรตอวัน แตแมวัวในปจจุบันถูกกระตุนดวยสารเรงการ เจริญเติบโตและฮอรโมนตางๆ เพื่อใหสามารถผลิตน้ำนมได มากถึง 30-70 ลิตรตอวัน ดังนั้นลูกวัวในปจจุบันจึงตองถูกแยกจากแมวัวทันที หลังจากคลอด เพราะถาปลอยใหลูกวัวอยูกับแมวัวและกิน นมทั้งหมดที่แมวัวผลิตได (30-70 ลิตร) ลูกวัวอาจจะตาย เพราะไมสามารถบริโภคน้ำนมมากขนาดนั้นได แตถาลูกวัว กินนมเพียงเทาที่มันตองการ (3-10 ลิตร) เตานมของแมวัว ก็จะคัดมากจนเกิดการอักเสบ และอาจตองตายเชนกัน
แลวเหตุใดแมจึงไวใจคุณภาพของนมวัว มากกวานมตัวเอง
40
41
นมแมมีคุณคานานแคไหน นมแมเปนอาหารที่ใหคุณคาแกทารกตลอดเวลาไมวาจะนานแคไหน ตั้งแตแรกคลอดถึง 6 เดือน นมแมเปนอาหารเพียงอยางเดียวที่ ทารกตองการ
องคการอนามัยโลกและยูนิเซฟ แนะนำใหเลี้ยงทารกดวย นมแมเพียงอยางเดียวเปนระยะเวลา 6 เดือน หลังจากนั้นใหนม แมควบคูกับอาหารเสริมไปจนทารกอายุ 2 ป หรือมากกวา12
ในชวงอายุ 6-12 เดือน ทารกควรไดรับนมแมรวมกับอาหารเสริม สำหรับทารก เพื่อใหทารกไดเรียนรูวิธีรับประทานอาหารอื่น โดยอาหารเสริม นั้นมีหนาที่เพียง “สงเสริม” นมแม ไมใชอาหารหลักหรือทดแทนนมแม
เพื่อเปนการชวยเหลือใหแมสามารถเลี้ยงลูกดวยนมแมได ตามคำแนะนำ ควรมีขอปฏิบัติดังนี้
เมื่ออายุครบขวบ ทารกจะมีฟนและสามารถรับประทานอาหารปกติ ไดแลว น้ำนมแมจะมีปริมาณลดลงตามธรรมชาติ แตสารอาหารและภูมิ คุมกันไมไดลดลงตามปริมาณ ภูมิคุมกันบางชนิด กลับยิ่งมีมากขึ้นอีกดวยใน ชวง 1-2 ปหลัง
ใหทารกกินนมแมเพียงอยางเดียวเปนเวลา 6 เดือน โดย ไมจำเปนตองใหอาหารอื่น แมแตน้ำ
ตราบใดที่ทารกยังคงไดกินนมแมรวมกับอาหารปกติหลากหลาย ชนิดในปริมาณที่มากกวาปริมาณต่ำสุดที่รางกายควรไดรับ การเสริมดวยนม วัวหรือนมผสมก็ไมใชสิ่งจำเปนสำหรับทารก
42
ใหทารกดูดนมแมภายในหนึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด
ใหทารกดูดนมแมบอยเทาที่ทารกตองการ เวลา ไมวากลางวันหรือกลางคืน ไมใชขวดนม จุกนม หรือจุกหลอก
43
โดยไมจำกัด
ทางเลือกสุดทายที่ตองไมเลือก องคการอนามัยโลกใหคำแนะนำเกี่ยวกับการใหอาหารที่ดีที่สุด สำหรับทารก13 เรียงตามลำดับดังนี้ 1. ใหทารกกินนมจากอกแมของตนเอง 2. ใหทารกกินนมแมของตนเองที่บีบหรือปมออกมา (โดยปอนดวย ชอนหรือถวย) 3. ใหทารกกินนมจากแมคนอื่น (น้ำนมบริจาคผานธนาคารน้ำนม) 4. ใหทารกกินนมผสม สามทางเลือกแรกที่องคการอนามัยโลกแนะนำไว ชัดเจนวา...
แสดงใหเห็น
“น้ำนมคน คือ อาหารที่เหมาะสมที่สุดสำหรับลูกคน” นมผสมเปนเพียง “ทางเลือกสุดทาย” เทานั้นเอง
ภาคผนวก
สัตวเลี้ยงลูกดวยนมแตละชนิดผลิตน้ำนมที่มีสารอาหารและแรธาตุ แตกตางกัน เพื่อตอบสนองความตองการของลูกอยางเหมาะสม การใหทารกกินนมผสมที่ทำจากน้ำนมของสัตวอื่นหรือวัตถุดิบ ชนิดอื่น เปนการใหอาหารที่ผิดจากความตองการตามธรรมชาติของมนุษย โดยสิ้นเชิง 44
45
โรงพยาบาลที่สนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนมแม
7. โรงพยาบาลมีนโยบายยินยอมใหลูกพักอยูกับแมตลอดเวลา (Room In) หากแมตองการหรือไม?
การเลือกฝากครรภและคลอดในโรงพยาบาลที่สนับสนุนและให ความสำคัญกับการเลี้ยงลูกดวยนมแมจะชวยใหความตั้งใจที่จะเลี้ยงลูกดวย นมแมเปนผลสำเร็จไดงายขึ้น การคลอดในโรงพยาบาลที่ขาดการสนับสนุน การเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางจริงจัง จะทำใหการเลี้ยงลูกดวยนมแมเปนเรื่อง ยากลำบาก
8. กรณีที่แมและลูกไมไดอยูหองเดียวกัน พยาบาลสามารถนำ ทารกมาใหดูดนมแมไดทุกมื้อตามที่ทารกตองการ หรือแมสามารถเดินไปให นมลูกเองไดสะดวกหรือไม?
ตอไปนี้เปนรายการตรวจสอบวา โรงพยาบาลนั้นๆ สนับสนุนการ เลี้ยงลูกดวยนมแมจริงจังแคไหน 1. โรงพยาบาลมีนโยบายสงเสริมการเลี้ยงลูกดวยนมแม และไมมี การแจกตัวอยางนมผสม ถามีขอบงชี้ทางการแพทยวาจำเปนตองใหนมผสม ก็จะปอนดวยวิธีอื่นโดยไมใชขวดหรือจุกนม ใชหรือไม? 2. โรงพยาบาลมีการจัดอบรมคุณแมเพื่อใหความรูในการเลี้ยงลูก ดวยนมแมหรือไม? 3. โรงพยาบาลมีแพทยหรือพยาบาลผูเชี่ยวชาญที่ไดรับการอบรม เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแมโดยเฉพาะอยางพอเพียงหรือไม? 4. โรงพยาบาลมีคลีนิคนมแมที่คอยใหคำปรึกษาและชวยเหลือคุณ แมกรณีมีปญหาในการเลี้ยงลูกดวยนมแมหรือไม?
9. โรงพยาบาลมีเครื่องปมน้ำนมใหคุณแมใชอยางพอเพียง ใน กรณีที่คุณแมตองการปมกระตุน หรือทารกแรกคลอดมีปญหาทางสุขภาพทำ ใหดูดนมแมไมไดหรือไม? 10. อัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมของเด็กที่คลอดในโรงพยาบาลนี้ สูงกวาอัตราการเลี้ยงลูกดวยนมผสมหรือไม? ทุกคำตอบวาใชได 1 คะแนน 8 - 10 คะแนน: โรงพยาบาลสนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนมแมอยาง จริงจัง คุณแมสามารถเลือกคลอดที่โรงพยาบาลแหงนี้ไดอยางสบายใจ 5 - 7 คะแนน: โรงพยาบาลสนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนมแม แต อาจมีวิธีปฏิบัติบางอยางที่อาจเปนอุปสรรคตอการเลี้ยงลูกดวยนมแม
5. โรงพยาบาลสนับสนุนใหทารกแรกคลอดไดดูดนมแมภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอดหรือไม?
0 - 4 คะแนน: โรงพยาบาลขาดการสนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนม แม ถาเปนไปได ควรเปลีย่ นโรงพยาบาล หรือถาจำเปนตองคลอดทีโ่ รงพยาบาลนี้ คุณแมตองเตรียมตัวและศึกษาหาความรูมากๆ เพื่อหลีกเลี่ยงอุปสรรคที่ จะเกิดขึ้น
46
47
แหลงความรูเพื่อการเลี้ยงลูกดวยนมแม แมวาทุกวันนี้การเลี้ยงลูกดวยนมแมจะไมงายนัก แตก็ไมไดยากเกิน กวาที่คนทั่วไปจะทำได การเตรียมตัวลวงหนา หาความรู และมีผูใหคำแนะนำ ที่ถูกตอง จะชวยใหการเลี้ยงลูกดวยนมแมของทุก ครอบครัวงายขึ้น
รายชื่อ Support Group ใน facebook ที่สามารถขอเขารวมกลุมเพื่อปรึกษาและขอความชวยเหลือได คุณแมนักปม ทำทุกอยางเพื่อลูก:
www.facebook.com/groups/pumpingmoms คุณแมนักปม Rumble Tuff:
www.facebook.com/groups/pumpmom คุณแมนักปม Unimom:
รายชื่อเว็บไซตที่ใหความรูเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแม www.breastfeedingthai.com www.thaibreastfeeding.org
www.facebook.com/groups/unimompumping นมแมแบงปน:
www.facebook.com/groups/NommaeSharing Ardo Family
รายชื่อเพจที่ใหความรูเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแม breastfeedingthai: www.facebook.com/breastfeedingthai นมแม: www.facebook.com/thaibreastfeeding พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจนกิจ: http://goo.gl/HOkMI9 นมแม แบบแฮปป: www.facebook.com/HappyBreastfeeding มูลนิธิศูนยนมแมแหงประเทศไทย: www.facebook.com/Thaibf รานนมแม: www.facebook.com/NommaeShop นมพอแบบเฮฟวี่: www.facebook.com/HeavyBreastfeeding
48
www.facebook.com/groups/ardofamily พยาบาลนักปม
www.facebook.com/groups/pumpingnurse นมแมทางไกล
www.facebook.com/groups/sofarsoclose/
49
ศูนยใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแม 1. คลีนิคนมแม รพ.ศิริราช โทร.02-419-7000 ตอ 5995 2. คลีนิคนมแม สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติ โทร.02-354-8333 ตอ 502 3. คลีนิคนมแม รพ.เจริญกรุงประชารักษ โทร.02-289-7000 ตอ 7134 (จ.-ศ.) ตอ 7130 (ส.-อา.) 4. คลินิกนมแม รพ.ธรรมศาสตรฯ รังสิต โทร.02-926-9999, 02-929-1415 5. คลีนิคนมแม รพ.วชิระ ภูเก็ต โทร.076-361-234 ตอ 1244 6. คลีนิคนมแม รพ.บุรีรัมย โทร.044-615-002 ตอ 3551 7. คลินิกนมแม รพ.พระนารายณฯ ลพบุรี โทร.036-621537 ตอ 4007 8. คลินิกนมแม รพ.พระปกเกลา จันทบุรี โทร.039-324-975-84 ตอ 3454, 3455 9. คลินิกนมแม รพ.อุตรดิตถ โทร.055-411-064 ตอ 7128 10. คลินิกนมแม รพ.นครปฐม โทร.034-254-150-4 ตอ1018 11. ศูนยอนามัยที่ 1 บางเขน กรุงเทพฯ โทร.02-521-3064, 02-521-3066 12. ศูนยอนามัยที่ 2 สระบุรี โทร.036-300-830-32 13. ศูนยอนามัยที่ 3 ชลบุรี โทร.038-786-974-7 14. ศูนยอนามัยที่ 4 ราชบุรี โทร.032-337-509 15. ศูนยอนามัยที่ 5 นครราชสีมา โทร.044-291-677 16. ศูนยอนามัยที่ 6 ขอนแกน โทร.043-243-210 17. ศูนยอนามัยที่ 7 อุบลราชธานี โทร.045-288-586 18. ศูนยอนามัยที่ 8 นครสวรรค โทร.056-255-451 19. ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก โทร.055-299-280 20. ศูนยอนามัยที่ 10 เชียงใหม โทร.053-276-856 21. ศูนยอนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช โทร.075-399-460 22. ศูนยอนามัยที่ 12 ยะลา โทร.073-214-200 50
51
เชิงอรรถ
1. Palmer G. The Politics of Breastfeeding. Print & Martin, 2009, p. 48. 2. Auerbach,K. “One Result of Marketing: Breastfeeding Is the Exception in Infant Feeding. Editorial. Journal of Tropical Pediatrics 38 (5), 1992, p. 210-213. 3. Charlotte Vallaeys. DHA/ARA, 2008, p. 4. http://cornucopia.org/DHA/DHA_FullReport.pdf. 2008 4. Charlotte Vallaeys. FDA Adverse Reaction Reports: The Tip of the Iceberg?, 2008, p.14. http://cornucopia.org/DHA/DHA_FullReport.pdf 5. Charlotte Vallaeys. The Scientific Community’s Uncertainty. 2008, p.-16. http://cornucopia.org/DHA/DHA_FullReport.pdf 6. Rupal Parekh. Mead Johnson must pay rival in ad suit, 2009. http://www.chicagobusiness.com/cgi-bin/news.pl?id=36329 7. Charlotte Vallaeys .The True Motivation for Adding DHA and ARA in Infant Formula: The Perfect Marketing Tool? 2008, p. 5. http://cornucopia.org/DHA/DHA_FullReport.pdf 8. http://www.who.int/foodsafety/publications/micro/ pif_guidelines.pdf 9. http://www.ibfan.org/fact-contaminants-reports_recall.html 10. http://www.ibfan.org/art/product-list-recalls-2012-2013.pdf 11. http://www.who.int/foodsafety/publications/micro/ PIF_Care_en.pdf 12. http://www.who.int/nutrition/topics/exclusive_breastfeeding/ en/index.html 13. Global Strategy for Infant and Young Child Feeding (2003) WHO Geneva p.10
52
ขอมูลอางอิง
• Palmer G. The Politics of Breastfeeding. Print & Martin, 2009. • Baumslag N. & Michels D.L. Milk Money and Madness. Bergin & Garvey, 1995. • Newman J. & Pitman T. The Ultimate Breastfeeding Book of Answers. Three Rivers Press, 2006. • La Leche League International. The Womanly Art of Breast feeding. Plume, 2004. • Sterken E. The International Code of Marketing of Breastmilk Substitutes บทความประกอบการบรรยายของวิทยากร การประชุม วิชาการนมแมแหงชาติ ครั้งที่ 1 (14-16 ธ.ค. 2548) • พญ.ยุพยง แหงเชาวนิช. Influence of Marketing บทความ ประกอบการบรรยายของวิทยากร การประชุมวิชาการนมแมแหง ชาติ ครั้งที่ 1 (14-16 ธ.ค. 2548) • นพ.ไพบูลย จาตุรปญญา. นม มัจจุราชเงียบ. 2543 • ศ.คลินิก นพ.วีระพงษ ฉัตรานนท. สมองดี เริ่มที่นมแม. http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=685 • http://www.ibfan.org/art/510-19.pdf • http://www.breastfeeding.com/reading_room/what_should_ know_formula.html • https://www.smahcp.co.uk/…/milk-prote…/information-683.aspx… • http://beta.freefromuk.com/condition/22 • Koletzko B et al. Am Journal of Clinical Nutrition 2009; 89 (suppl): 1S-7S
53
ทำไมถึงมีหนังสือเลมนี้ จากคำแนะนำสั้นๆ ของแมตัวเองวา “เชื่อแมสิ... ใหลูกกินนมแม แลวจะสบาย” บวกกับคำพูดของพอของลูกที่วา “ลูกคนก็ตองกินนมคน” ทำให แมมือใหมที่ไมรูเรื่องราวอะไรเกี่ยวกับนมแมมากอนเลยคนหนึ่ง เลือกที่จะ “เลี้ยงลูกดวยนมแม” เมื่อ 10 ปที่แลว การเลี้ยงลูกคนแรกดวยนมแม ในสังคมที่คนสวน ใหญเลี้ยงลูกดวยนมขวดนั้นไมใชเรื่องงายเลย ไมมีที่ปรึกษา ไมมีตัวอยางใหดู ไมรูวาจะตองทำอยางไร เมื่อเกิดปญหาหรือลังเลสงสัย ถามใครก็ตาม ทุกคนลวนแตแนะนำใหใชนมผสมทั้งสิ้น ไมมีแมแตคนเดียวที่จะยืนหยัดและ ชวยยืนยันใหเลี้ยงลูกดวยนมแมตอไป ความดันทุรัง ทำใหลูกคนแรกเติบโตมาไดโดยไมจำเปนตองพึ่งพา นมผสม เติบโตมาพรอมกับสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ ชวยยืนยันความเชื่อที่วา “นมแม” เปนอาหารที่เหมาะสมที่สุดสำหรับ “ลูก” จริงๆ แตความพยายามที่จะแนะนำใหคนที่รูจัก เลี้ยงลูกดวยนมแมในชวง แรกนั้น ลมเหลวเปนสวนใหญ เพราะทุกคนเชื่อวาแมตอง “โชคดี” เทานั้น จึงจะมีนมเลี้ยงลูกได เมื่อมีลูกคนที่สอง หนังสือตางๆ คูมือจากตางประเทศ รวมถึง อินเตอรเน็ต ชวยเปดโลกความรูเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแมใหกวางขึ้น ความรูใหมๆ และความเขาใจที่ถูกตองทำใหการเลี้ยงลูกคนที่สองดวยนมแม งายขึ้น เว็บไซต www.breastfeedingthai.com เริ่มตนขึ้นหลังจากจับความ 54
ไดวา การที่แมสวนใหญเลี้ยงลูกดวยนมแมไมสำเร็จนั้น และไมไดรับคำแนะนำที่ถูกตอง
เกิดจากความไมรู
ความรูและคำแนะนำที่ถูกตอง รวมกับประสบการณของแมๆ ทั้ง หลายที่แบงปนกันในเว็บ ชวยใหแมมือใหมประสบความสำเร็จกับการเลี้ยง ลูกดวยนมแมมากขึ้นเรื่อย ๆ แตกวาสี่ปในการทำเว็บไซต ก็ทำใหพวกเรารูวา “อุปสรรค” ที่แทจริง ของการเลี้ยงลูกดวยนมแมนั้นไมเพียงแตพอแมมือใหมไมมีความรูที่ถูกตอง เกี่ยวกับนมแมเทานั้น แตเปนความไมรูถึง “อันตราย” ของนมผสมตางหาก แมมือใหมสวนใหญถูกทำใหเขาใจผิดวา ตนเองไมสามารถผลิต น้ำนมพอสำหรับลูกที่ตนเองเปนผูอุมทองมาถึงเกาเดือนได หรือถาปริมาณ มากพอ ก็ยังอาจจะมีคุณภาพ “ไมดีพอ” ที่จะทำใหลูกโตเทาๆ กับลูกคนอื่นที่ กินนมผสม กลยุทธการตลาดชวยสรางภาพใหนมผสมกลายเปน “ผลิตภัณฑที่ แสนวิเศษ” สะดวกซื้อ สะดวกใช ไดอยางงายดาย ในขณะที่ “นมแม” กลาย เปน “ของดี” ที่นอยคนจะสามารถทำได อัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมที่ลดต่ำลงทั่วโลก ปญหาทางสุขภาพ และวิกฤตการตายของทารกที่เพิ่มขึ้นในหลายประเทศ ทำใหที่ประชุม World Health Assembly ครั้งที่ 34 ใน พ.ศ.2524 โดยองคการอนามัยโลกและ องคการยูนิเซฟ มีสมาชิก 118 จาก 119 ประเทศ* ยินยอมทำขอตกลง ยอมรับ หลั ก เกณฑ ส ากลว า ด ว ยการตลาดอาหารเสริ ม และอาหารทดแทนนมแม (International Code of Marketing of Breast-milk Substitutes) *เสียงคัดคานเพียงหนึ่งเดียวมาจากสหรัฐอเมริกา ดวยเกรงวา International Code อาจมี ผลกระทบตอกำไรโดยรวม
55
ใจความสำคัญของ หลักเกณฑฯ นี้คือการหามโฆษณาและประชาสัมพันธนมผงหรือผลิตภัณฑทดแทนนมแมอื่นๆ รวมถึงการหามใชขวดนม และจุกนมในประเทศ หรือในระบบสาธารณสุขของประเทศ เพื่อปกปอง สุขภาพของเด็กและทารก รัฐบาลไทยยอมรับหลักเกณฑนี้ตั้งแต พ.ศ.2524 แต International Baby Food Action Network (IBFAN) และ International Code Documentation Centre (ICDC) รายงานวา ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งในโลกที่มีการ ละเมิดหลักเกณฑฯ มากที่สุด ซึ่งมีการแจกจายและโฆษณานมผสมอยาง เต็มที่ ขอมูลจากองคการยูนิเซฟ พบวา อัตราการเลี้ยงลูกดวยนมแมเพียง อยางเดียวในชวง 6 เดือนแรกของประเทศไทย เปนอัตราที่ต่ำที่สุดในทวีป เอเชีย และยังเปนอัตราที่ต่ำที่สุดแหงหนึ่งในโลกอีกดวย
ใปนจริงแลว นมผสมนั้นก็อาจมี “อันตราย” ไมแพยาดังกลาวเลย ในแตละป มีทารกเกิดใหมจำนวนแปดแสนคน ควรไดรับความเสี่ยงเพียงเพื่อผลกำไรเทานั้น
พวกเราเชื่อวา หากสังคมไดรับรูถึง “อันตราย” และ “ความเสี่ยง” จากการใชนมผสมโดยไมจำเปนแลว คนเปนแมทุกคนจะไดรับการสนับสนุน ชวยเหลือ และใหกำลังใจในการเลี้ยงลูกดวยนมแมมากกวาที่เปนอยูนี้ webmother@breastfeedingthai.com 18 ตุลาคม 2556
แมตั้งครรภจำนวนมาก ยอมอดทนกับอาการเจ็บปวยเล็กๆ นอยๆ โดยไมใชยารักษา เพราะกังวลวายานั้นอาจเปนอันตรายกับลูกในทอง เพราะ คำเตือนวา“ยาอันตราย”นั้นเห็นเดนชัดกวาคุณสมบัติในการรักษาโรคของยา นั้น แตเมื่อแมถูกกดดันจากคนรอบขางวา ตนเองอาจจะไมสามารถผลิต น้ำนมใหลูกได กลับไมมีใครลังเลเลยที่จะชงนมผสมใหทารกกิน ทั้งๆ ที่ความ
56
ทารกเหลานั้นไม
57
รวมพลังลดโลกรอน ในระหว า งการเตรี ย มต น ฉบั บ เพื ่ อ จั ด พิ ม พ ห นั ง สื อ เล ม นี ้ คณะผูจัดทำไดรับความคิดเห็นและขอเสนอแนะจำนวนมากจากกัลยาณมิตร หลายทาน หนึ่งในความคิดเห็นเหลานั้น คือ การตัดตนไมเพื่อทำกระดาษมา พิ ม พ ห นั ง สื อ เล ม นี ้ จ ะเป น การใช ท รั พ ยากรของโลกที ่ ค ุ ม ค า หรื อ ไม หากหนังสือนี้ไมมีคนอาน คงตองยอมรับวาเรื่องนี้เปนสิ่งที่พวกเราไมไดคิดถึงมากอน แต เมื่อรับฟงแลวก็เห็นดวยวาเปนประเด็นที่มีความสำคัญ พวกเราจึงพยายาม ทำหนังสือเลมนี้ใหเปนหนังสือที่อานไดงาย อานจบไดภายในเวลาไมนาน และใหความรูกับผูอานตรงตามเจตนา ถาหนังสือเลมนี้สามารถชวยใหแมมือใหม มุงมั่นตั้งใจ และสามารถ เลี้ยงลูกดวยนมตนเองไดมากขึ้นหรือนานขึ้น ไมวาจะเดือนเดียว หกเดือน หรือสองป ก็สามารถชวยลดการใชทรัพยากรของโลกไปไดมากแลว เพราะ จำนวนขยะที่เกิดจากการผลิตและบริโภคนมผสมนั้นมากกวาการเลี้ยงลูกดวย นมแมมหาศาล
หากอานจบหรือไมประสงคจะใชแลว โปรดมอบหนังสือเลมนี้ใหกับพอแม ผูที่กำลังจะมีลูกคนใหมตอไป
คลิก
นอกจากนี้ การสงตอหนังสือเลมนี้ใหกับผูอื่นเมื่อไมใชประโยชนแลว ก็จะยิ่งชวยทำใหหนังสือเลมนี้ไดทำหนาที่คุมคากับการใชทรัพยากรของโลก มากขึ้นไปอีก
เพื่อรับขอมูลและขาวสารเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกดวยนมแม
58
59
www.facebook.com/breastfeedingthai
บันทึกชื่อผูอานหนังสือเลมนี้ 1. ชื่อ.......................................................................จังหวัด............................... 2. ชื่อ.......................................................................จังหวัด............................... 3. ชื่อ.......................................................................จังหวัด............................... 4. ชื่อ.......................................................................จังหวัด............................... 5. ชื่อ.......................................................................จังหวัด............................... 6. ชื่อ.......................................................................จังหวัด............................... 7. ชื่อ.......................................................................จังหวัด............................... 8. ชื่อ........................................................................จังหวัด............................... 9. ชื่อ........................................................................จังหวัด............................... 10. ชื่อ.......................................................................จังหวัด...............................